โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551

ดัชนี การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

34 ความสัมพันธ์: ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์พ.ศ. 2551พรรคพลังประชาชนพรรคประชาธิปัตย์พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552มหาวิทยาลัยสวนดุสิตมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญรถไฟฟ้ามหานครลีนา จังจรรจาหม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุลอภิรักษ์ โกษะโยธินผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจำลอง ศรีเมืองถนนพระรามที่ 5ทำเนียบรัฐบาลไทยประภัสร์ จงสงวนปลอดประสพ สุรัสวดีปานปรีย์ พหิทธานุกรเกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์เมตตา เต็มชำนาญเขตดุสิต1 กันยายน10 กันยายน14 กันยายน2 กันยายน22 สิงหาคม27 สิงหาคม30 สิงหาคม5 ตุลาคม

ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์

ูวิทย์ กมลวิศิษฏ์ หรือนามแฝงว่า Davis Kamol (เกิด 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504 เยาวราช) เป็นอดีตนักการเมืองชาวไทย อดีตหัวหน้าพรรค และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อพรรครักประเทศไทย อดีตสมาชิกพรรคสู้เพื่อไทย และอดีตรองหัวหน้าพรรคชาติไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพลังประชาชน

อาจหมายถึง.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และพรรคพลังประชาชน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย

ันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (People's Alliance for Democracy, PAD) หรือเรียกว่า กลุ่มพันธมิตรกู้ชาติ หรือ กลุ่มคนเสื้อเหลือง เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทยที่มีบทบาทสำคัญในช่วง พ.ศ. 2548-2552 โดยเป็นการรวมตัวจากหลายองค์กรทั่วประเทศ และได้รับการสนับสนุนจากหลายฝ่าย ภายใต้จุดประสงค์ในการขับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และแสดงความต้องการให้อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทนอย่างเปิดเผยBloomberg,, 19 December 2008 กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยมีแกนนำคนสำคัญ ได้แก่ สนธิ ลิ้มทองกุล และพลตรีจำลอง ศรีเมือง สัญลักษณ์หลักของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย มีการใช้สีเหลืองเป็นสัญลักษณ์หลัก และมีการใส่เสื้อสีเหลืองพร้อมผ้าโพกศีรษะที่มีข้อความว่า "กู้ชาติ" และผ้าพันคอสีฟ้า และมีมือตบเป็นเครื่องมือสัญลักษณ์ ในปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551

การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไต..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

แต่เดิม ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นข้าราชการการเมืองที่มาจากแต่งตั้งโดยคณะรัฐมนตรีตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552

ปสเตอร์รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2552 การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (Suan Dusit University) จาก โรงเรียนการเรือนแห่งแรกของประเทศไทย สู่การเป็น มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เป็นสถาบันที่มีชื่อเสียงทางด้าน การศึกษาปฐมวัย คหกรรมศาสตร์ ธุรกิจบริการ ธุรกิจการโรงแรม ธุรกิจการบิน และ " โรงเรียนกฎหมายและการเมือง ".

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และมหาวิทยาลัยสวนดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (Assumption University) หรือ เอแบค (ABAC) จัดอยู่ในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล มี 2 วิทยาเขตหลัก วิทยาเขตหัวหมาก ตั้งอยู่ที่ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร วิทยาเขตสุวรรณภูมิ ตั้งอยู่ที่ ตำบลบางเสาธง อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ และ 2 ศูนย์การศึกษา city campus ในห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ศูนย์การศึกษา ACC Campus มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทยที่มีระบบการสอนหลักสูตรนานาชาติ และยังเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่มีจำนวนศาสตราจารย์มากที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร

รถไฟฟ้ามหานคร (Metropolitan Rapid Transit, MRT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ดำเนินการโดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) รถไฟฟ้ามหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และสายฉลองรัชธรรม.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และรถไฟฟ้ามหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ลีนา จังจรรจา

ลีนา จังจรรจา เป็นที่รู้จักในชื่อ ลีน่าจัง (เกิด 14 กันยายน พ.ศ. 2502) เป็นอดีตหัวหน้าพรรคมหาประชาชน เคยลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในปี 2547, 2551 และ 2552 นอกจากนี้ ยังเปิดร้านขายเครื่องสำอาง "ไฮโซไซตี้" ที่ประตูน้ำเซ็นเตอร์ และประกอบอาชีพทนายความ.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และลีนา จังจรรจา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุล

ร้อยตรี หม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุล พิธีกร และผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ อดีตผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 และความรู้ความสามารถในการเป็นพิธีกร ทั้งเรื่องประเด็นข่าวเศรษฐกิจ และต่างประเทศอีกด้ว.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และหม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

อภิรักษ์ โกษะโยธิน

นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน (30 มีนาคม พ.ศ. 2504 —) เป็นรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์, อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี และอดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และอภิรักษ์ โกษะโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ กรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทย มีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี แต่ในปัจจุบันหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีคำสั่งแต่งตั้งอัศวิน ขวัญเมือง เป็นผู้ว่าราชการคนปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป โดยกำหนดให้ดำรงตำแหน่งจนกว่าจะมีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีคําสั่งเปลี่ยนแปลงเป็นประการอื่น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

จำลอง ศรีเมือง

ลตรี จำลอง ศรีเมือง แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ 2 สมัย ผู้ก่อตั้ง และหัวหน้าพรรคพลังธรรมคนแรก เป็นแกนนำของผู้ชุมนุมในเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ ปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และจำลอง ศรีเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 5

นนพระรามที่ 5 (Thanon Rama V) เป็นถนนในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ถนนลูกหลวง แขวงสวนจิตรลดา บริเวณด้านข้างทำเนียบรัฐบาล เลียบคลองเปรมประชากรไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนพิษณุโลกที่สี่แยกพาณิชยการ ตัดกับถนนศรีอยุธยาที่สี่แยกวัดเบญจฯ ตัดกับถนนราชวิถีที่สี่แยกราชวิถี ตัดกับถนนสุโขทัยที่สี่แยกสุโขทัย ข้ามคลองสามเสนเข้าสู่พื้นที่แขวงถนนนครไชยศรี ตัดกับถนนนครไชยศรีที่สี่แยกราชวัตร ตัดกับถนนอำนวยสงครามและถนนเศรษฐศิริที่สี่แยกเกษะโกมล และสิ้นสุดเมื่อไปตัดกับถนนทหารที่สี่แยกสะพานแดง (ถนนสายที่ตรงต่อเนื่องไปคือถนนเตชะวณิช) ถนนพระรามที่ 5 เดิมชื่อ "ถนนลก" เป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเป็นถนนในโครงการถนนอำเภอดุสิต โดยได้ทรงริเริ่มขึ้นพร้อมกับการสร้างพระราชวังดุสิตใน พ.ศ. 2441 ชื่อถนนลกเป็นภาษาจีนมาจากชื่อภาพเครื่องลายครามที่มีภาพลก คือ เทพเจ้าจีนใส่หมวกมีใบพัด 2 ข้าง หรือกวางอยู่ด้วย กวางกับหมวกนั้นมีความหมายว่าเกียรติยศนั่นเอง ครั้นเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2462 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อถนนลก ตั้งแต่ถนนลูกหลวงถึงถนนเตชะวณิชเป็น "ถนนพระรามที่ 5" เพราะมีประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังดุสิตและถนนสายนี้ขึ้น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และถนนพระรามที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบรัฐบาลไทย

ทำเนียบรัฐบาล เป็นสถานที่ราชการสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานที่ทำงานของรัฐบาลไทย นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ตลอดจนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี, สถานที่ประชุมคณะรัฐมนตรี, สถานที่ต้อนรับบุคคลสำคัญระดับผู้นำต่างประเทศ ซึ่งมาเยือนประเทศไทย และยังใช้เป็นสถานที่จัดรัฐพิธี เช่น งานสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ เป็นต้น ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 2 ไร่ 3 งาน 44 ตารางว.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และทำเนียบรัฐบาลไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประภัสร์ จงสงวน

ประภัสร์ จงสงวน อดีตผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไทย อดีตผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551 อดีตผู้ว่าการการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) 3 วาระ (พ.ศ. 2540-พ.ศ. 2551).

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และประภัสร์ จงสงวน · ดูเพิ่มเติม »

ปลอดประสพ สุรัสวดี

ปลอดประสพ สุรัสวดี (เกิด: 3 มีนาคม พ.ศ. 2488) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลของ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตอธิบดีกรมประมง อดีตอธิบดีกรมป่าไม้ อดีตอธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง อดีตปลัดกระทรวงกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อดีตผู้อำนวยการเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี และศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาต.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และปลอดประสพ สุรัสวดี · ดูเพิ่มเติม »

ปานปรีย์ พหิทธานุกร

ร.ปานปรีย์ พหิทธานุกร อดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตผู้แทนการค้าไทย ในช่วงรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร และอดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (นายแพทย์สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี).

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และปานปรีย์ พหิทธานุกร · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์

Dr.Dan's 60th Birthday: 60 ปี คนดีมีพลัง ศาสตราจารย์ เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (เกิด 9 กันยายน พ.ศ. 2498, ชื่อเล่น: แดน) หรือที่รู้จักกันในนาม ดร.แดน กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์สาธารณรัฐซิมบับเวประจำประเทศไทย และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 นักวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ อดีตอาจารย์หลายมหาวิทยาลัย เคยลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพ พ.ศ. 2551 ในหมายเลข 2 มีผลงานด้านการเขียนหนังสือมากมาย ในหลากหลายสาขา เช่น เศรษฐกิจ นโยบายการศึกษา การต่างประเทศ สังคม การเมือง การศึกษา ความสำเร็จ การดำเนินชีวิต โดยมีหนังสือมากกว่า 200 เล่ม และมีผลงานบทความตีพิมพ์ลงวารสารวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศเป็นประจำมากกว่า 500 เรื่อง และแสดงทัศนะต่างๆมากกว่า 4000 เรื่อง.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และเกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เมตตา เต็มชำนาญ

ร.อ.เมตตา เต็มชำนาญ กับป้ายโฆษณาหาเสียง ร้อยเอก เมตตา เต็มชำนาญ (ชื่อเล่น: ตู่) เป็นอดีตนายทหารสังกัดกองทัพบก และนักการเมือง ลงรับสมัครเลือกตั้งหลายครั้ง ทั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและการเลือกตั้งทั่วไป แต่ไม่เคยได้รับเลือก ร.อ.เมตตา เกิดเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2491 จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย รับราชการในสังกัดสำนักงานเลขานุการกองทัพบก เคยลงรับสมัครเลือกตั้งครั้งแรก ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในการเลือกตั้งทั่วไป เมื่อปี พ.ศ. 2526 แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง จากนั้น ได้ลงเลือกตั้งอีกครั้งในการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547 โดยไม่สังกัดพรรคการเมืองใด ๆ หมายเลข 9 โดยมีนโยบาย เช่น ปลูกผลไม้ที่เกาะกลางถนนในกรุงเทพมหานคร ให้เด็ดรับประทานได้ ได้รับคะแนนไปทั้งหมด 1,965 คะแนน จากนั้นได้ลงรับสมัครเลือกตั้งอีกครั้ง ในปี พ.ศ. 2551 เป็นผู้สมัครอิสระอีกครั้ง ในหมายเลข 3 ก็ไม่ได้รับการเลือกตั้งอีก โดยได้คะแนนไป 2,105 คะแนน ในการเลือกตั้งทั่วไป เคยลงรับสมัครเลือกตั้งในพื้นที่เขต 1 กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาราช ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ซึ่งก็ไม่ได้รับการเลือกตั้ง และรับสมัครเลือกตั้งผู้ว่าฯอีกครั้ง ในปี พ.ศ. 2556 ได้เบอร์ 3 ได้คะแนนไปทั้งหมด 1,301 คะแนน ร.อ.เมตตา มีฉายาว่า "ตู่ ติงลี่" เนื่องจากเป็นนักแสดงประกอบจากละครโทรทัศน์และภาพยนตร์หลายเรื่อง อาทิ แหวนทองเหลือง, อตีตา, สุริโยไท และตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสา เป็นต้น และเคยเป็นผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ เรื่อง ไอัขุนเพลง ด้วย ในปี พ.ศ. 2522.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และเมตตา เต็มชำนาญ · ดูเพิ่มเติม »

เขตดุสิต

ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และเขตดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

1 กันยายน

วันที่ 1 กันยายน เป็นวันที่ 244 ของปี (วันที่ 245 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 121 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และ1 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

10 กันยายน

วันที่ 10 กันยายน เป็นวันที่ 253 ของปี (วันที่ 254 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 112 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และ10 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

14 กันยายน

วันที่ 14 กันยายน เป็นวันที่ 257 ของปี (วันที่ 258 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 108 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และ14 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

2 กันยายน

วันที่ 2 กันยายน เป็นวันที่ 245 ของปี (วันที่ 246 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 120 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และ2 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

22 สิงหาคม

วันที่ 22 สิงหาคม เป็นวันที่ 234 ของปี (วันที่ 235 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 131 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และ22 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 สิงหาคม

วันที่ 27 สิงหาคม เป็นวันที่ 239 ของปี (วันที่ 240 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 126 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และ27 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 สิงหาคม

วันที่ 30 สิงหาคม เป็นวันที่ 242 ของปี (วันที่ 243 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 123 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และ30 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 ตุลาคม

วันที่ 5 ตุลาคม เป็นวันที่ 278 ของปี (วันที่ 279 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 87 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551และ5 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ตุลาคม พ.ศ. 2551

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »