โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480

ดัชนี การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

10 ความสัมพันธ์: พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476การเลือกตั้งทางอ้อมการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในประเทศไทยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยามสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2สารคดี (นิตยสาร)คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 8

พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)

ระยาพหลพลพยุหเสนา (แถวหน้าซ้ายมือ) นำคณะรัฐมนตรีของไทยเข้าเยือนประเทศญี่ปุ่น และพบกับ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้าตรงกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2485 ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เดิมชื่อว่า "พจน์ พหลโยธิน" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 2 เกิดวันที่ 29 มีนาคม..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480และพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475

การปฏิวัติสยาม..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480และการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไท..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งทางอ้อม

การเลือกตั้งทางอ้อม (indirect election) หมายถึง การเลือกตั้งในสองระดับ กล่าวคือ ประชาชนผู้มีสิทธิการเลือกตั้งเลือกตัวแทนหรือคณะบุคคล จากนั้นตัวแทนหรือคณะบุคคลที่ได้รับการเลือกตั้งจะไปดำเนินการเลือกผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองนั้นๆ ต่อไป ลักษณะเช่นนี้จึงกล่าวได้ว่าการเลือกตั้งทางอ้อมเป็นรูปแบบที่ผู้ใช้สิทธิเลือกตั้งไม่ได้ลงคะแนนเลือกผู้สมัครให้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองนั้นได้โดยตรง แต่เป็นการมอบหมายสิทธิในการตัดสินใจให้กับตัวแทนหรือคณะบุคคลให้ทำหน้าที่แทน วัตถุประสงค์สำคัญของการเลือกตั้งทางอ้อม คือ การให้บุคคลหรือคณะบุคคลที่มีความเหมาะสมในการใช้วิจารณญาณ ทำการตัดสินใจแทนผู้ออกเสียงลงคะแนนในการเลือกผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการทำหน้าที่ตามตำแหน่งทางการเมืองนั้น ๆ ตัวอย่าง การเลือกตั้งทางอ้อม ได้แก่ การเลือกตั้งประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา ที่ใช้ระบบ คณะผู้เลือกตั้ง (Electoral College) ซึ่งหมายถึง ผู้แทนราษฎรของแต่ละรัฐที่จะเป็นผู้เลือกตั้งประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีแทนราษฎรในรัฐของตน ในอดีตพวกกลุ่มผู้แทนเหล่านี้ถือว่าเป็นชนชั้นนำและเป็นผู้มีโอกาสตัดสินใจในการเลือกตั้งอย่างแท้จริง แต่ในปัจจุบันพวกผู้แทนกลุ่มนี้ต้องทำตามนโยบายของพรรคของตน ถ้าพรรคของตนสนับสนุนใครก็ต้องเลือกคนนั้น จำนวนผู้แทนของรัฐใดจะมีผู้แทนเท่าใดถือเอาจำนวนของผู้แทนของรัฐนั้นในวุฒิสภา (the Senate)และสภาผู้แทนราษฎร(the House of Representatives) ร่วมกัน นอกจากนี้แล้ว ยังพบรูปแบบการได้มาซึ่งผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองที่สำคัญ ๆ โดยวิธีการเลือกตั้งทางอ้อม ได้แก่ ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในระบบรัฐสภา ที่ประชาชนไม่ได้เป็นผู้เลือกนายกรัฐมนตรีได้โดยตรง แต่อาศัยการลงมติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ประชาชนในแต่ละเขตหรือตามบัญชีรายชื่อได้เลือกไปแล้ว ให้ทำหน้าที่ในการลงมติเลือกบุคคลที่เหมาะสมเป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งโดยทั่วไปมักเป็นผู้นำพรรคเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎร เป็นต้น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480และการเลือกตั้งทางอ้อม · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในประเทศไทย

การเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง' เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร โดยผู้มีสิทธิเลือกตั้งออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นรายบุคคลตามการแบ่งเขตเลือกตั้งที่กำหนด เขตละ 1 คน การคำนวณเกณฑ์จำนวนราษฎรต่อสมาชิก 1 คน ต้องคำนวณจากจำนวนราษฎรทั้งประเทศตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ประกาศในปีสุดท้ายก่อนปีที่มีการเลือกตั้ง เฉลี่ยด้วยจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 400 คน ส่วนจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละจังหวัดจะพึงมีนั้น ให้นำจำนวนราษฎรต่อสมาชิก 1 คนที่คำนวณได้มาเฉลี่ยจำนวนราษฎรในจังหวัดนั้น หากจังหวัดใดมีราษฎรไม่ถึงเกณฑ์จำนวนราษฎรต่อสมาชิก 1 คน ให้จังหวัดนั้นมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 1 คน และจังหวัดใดที่มีราษฎรเกินเกณฑ์จำนวนราษฎรต่อสมาชิก 1 คนก็ให้จังหวัดนั้นมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพิ่มขึ้นอีก 1 คน ทุกจำนวนราษฎรที่ถึงเกณฑ์จำนวนราษฎรต่อสมาชิก 1 คน เมื่อได้จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของแต่ละจังหวัดแล้ว ถ้าจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรยังไม่ครบ 400 คน จังหวัดใดมีเศษเหลือจากการคำนวณมากที่สุดก็ให้จังหวัดนั้นมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพิ่มขึ้นอีก 1 คน และเพิ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามวิธีการดังกล่าวให้แก่จังหวัดที่มีเศษที่เหลือจากการคำนวณในลำดับรองลงมาตามลำดับจนครบ 400 คน ในการแบ่งเขตเลือกตั้งนั้น จังหวัดที่มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ไม่เกิน 1 คนให้ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง และจังหวัดใดที่มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เกิน 1 คน ต้องแบ่งเขตจังหวัดออกเป็นเขตเลือกตั้งมีจำนวนเท่าจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่พึงมี โดยจัดให้แต่ละเขตเลือกตั้งมีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 1 คน และจังหวัดใดที่มีการแบ่งเขตเลือกตั้งมากกว่า 1 เขต ต้องแบ่งพื้นที่ของเขตเลือกตั้งแต่ละเขตให้ติดต่อกัน และต้องให้จำนวนราษฎรในแต่ละเขตใกล้เคียงกันด้ว.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480และการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม หรือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 ประกาศและบังคับใช้เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2475 และได้รับการยกเลิกอย่าง “สันติ” เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2489 เนื่องจากการประกาศและบังคับใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ รวมอายุการประกาศและบังคับใช้ 13 ปี 5 เดือน มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 3 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2482 แก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยนามประเทศจาก “สยาม” เป็น “ไทย” ตามข้อเสนอของรัฐบาล ซึ่งมีพลตรี หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) เป็นนายกรัฐมนตรี ยังผลให้ชื่อของรัฐธรรมนูญต้องเปลี่ยนเป็น “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย” ไปด้วย ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2483 แก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยบทเฉพาะกาล ซึ่งเสนอโดยขุนบุรัสการกิตติคดี (เหมือน บุรัสการ) ผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี โดยการสนับสนุนของรัฐบาล ซึ่งมีนายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี อันมีผลให้บทเฉพาะกาลซึ่งควรจะต้องสิ้นสุดในวันที่ 10 ธันวาคม 2485 เป็นอย่างช้า ยืดเวลาออกไปอีก 10 ปี แก่นแท้ของการเสนอยึดบทเฉพาะกาลก็คือ การคงอยู่ต่อไปอีกของสมาชิกประเภทที่ 2 อันมาจากการแต่งตั้ง ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2485 แก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามข้อเสนอของรัฐบาล ซึ่งมีจอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ยังผลให้สามารถขยายเวลาอยู่ในตำแหน่งผู้แทนราษฎรออกไปอีกคราวละ 2 ปี.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1 (15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2480) เป็นสภาผู้แทนราษฎรชุดแรกของไทย ได้มาจากการแต่งตั้งและเลือกตั้งโดยอ้อม สภาชุดแรกนี้อยู่ทำหน้าที่จนครบวาระ สภาพผู้แทนราษฎรไทยชุดถัดไปที่อยู่จนครบวาระโดยไม่ถูกยุบสภาหรือรัฐประหารคือ สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 7 และ 21.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2 (10 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 11 กันยายน พ.ศ. 2481) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 182 คน โดยประเภทที่ 1 มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 78 คนจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 78 คน และมีการแต่งตั้งเพิ่ม 13 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก รัฐบาลพ่ายแพ้การลงมติในสภาฯ กรณี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สารคดี (นิตยสาร)

นิตยสารสารคดี เป็นนิตยสารของไทย ที่มุ่งเน้นบทความแนวสารคดีโดยเฉพาะ ครอบคลุมทั้งเรื่องธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ บุคคล ชีวิต ศิลปวัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยเริ่มวางแผงฉบับปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528 โดยอยู่ในเครือของ บริษัท วิริยะธุรกิจ จำกัด โดยมีจุดเริ่มต้นจาก คุณสุชาดา จักพิสุทธิ์ บรรณาธิการคนแรก คุณจำนงค์ ศรีนวล บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ คุณสกล เกษมพันธ์ ช่างภาพสารคดี คุณสุดารา สุจฉายา และคุณวันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์เป็นนักเขียนรุ่นบุกเบิก โดยมีความคิดทำหนังสือที่มีสาระความรู้หลากหลาย ให้ความสำคัญกับการถ่ายภาพและการออกแบบรูปเล่มเป็นพิเศษ ปัจจุบันมีคุณสุวัฒน์ อัศวไชยชาญ เป็นบรรณาธิการบริหาร สำนักงานนิตยสารสารคดีตั้งอยู่ที่ บริษัทวิริยะธุรกิจ 28,30 ซอยวัดปรินายก แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480และสารคดี (นิตยสาร) · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 8

ระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 8 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร, (ซ้ายสุด) จิตร ณ สงขลา, (แถวบนซ้ายสุด) หลวงชำนาญยุทธศิลป์, (ที่ 3 จากซ้าย) ควง อภัยวงศ์ คณะรัฐมนตรี คณะที่ 8 ของไทย (21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการลงวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ประกอบด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) และ นายพลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่น อินทรโยธิน) ลงนามในประกาศ พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา) ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2480การเลือกตั้งครั้งที่ 2 ของประเทศไทย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »