โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การเร็นเดอร์

ดัชนี การเร็นเดอร์

ตัวอย่างการเร็นเดอร์อาคาร 3 มิติในคอมพิวเตอร์ คำนวณผลออกมาดังรูป การเร็นเดอร์ราชบัณฑิตยสถาน.

8 ความสัมพันธ์: ระบบพิกัดระบบภาพสามมิติดิจิทัลคอมพิวเตอร์แอนิเมชันแสงพร่าโกลบอลอินลูมิเนชันเรขาคณิตSpecular reflection

ระบบพิกัด

ระบบพิกัดคาร์ทีเซียนสองมิติ ระบบพิกัดคาร์ทีเซียนสามมิติ พิกัด หมายถึง ค่าของตัวเลขที่ใช้อธิบายตำแหน่งของจุดบนระนาบหรือปริภูมิ ตัวอย่างเช่น ระดับความสูงจากน้ำทะเลก็เป็นพิกัดอย่างหนึ่งที่อธิบายตำแหน่งของจุดเหนือระดับพื้นผิวโลก ส่วนระบบพิกัดคือวิธีการอย่างเป็นระบบที่มีการให้ค่าคู่อันดับหรือสามสิ่งอันดับแทนตำแหน่งของแต่ละจุดบนระนาบหรือปริภูมิ ซึ่งคู่อันดับหรือสามสิ่งอันดับหนึ่งชุดจะหมายถึงตำแหน่งเพียงตำแหน่งเดียวเท่านั้น ดังตัวอย่าง สามสิ่งอันดับที่ประกอบด้วย ละติจูด ลองจิจูด และอัลติจูด (ระดับความสูง) เป็นระบบพิกัดที่ใช้ระบุตำแหน่งของจุดเหนือพื้นผิวโลก พิกัดอาจนิยามได้ในบริบททั่วไป เช่น ถ้าหากเราไม่สนใจความสูง ดังนั้นละติจูดและลองจิจูดจึงสามารถเป็นระบบพิกัดเหนือพื้นผิวโลกก็ได้ โดยสมมติให้โลกมีรูปร่างใกล้เคียงทรงกลม พิกัดเช่นนี้เป็นสิ่งสำคัญในดาราศาสตร์ ซึ่งใช้สำหรับอธิบายตำแหน่งของเทหวัตถุบนท้องฟ้าโดยไม่สนใจระยะทาง (ดูเพิ่มที่ระบบพิกัดทรงกลมฟ้า) อย่างไรก็ตาม บทความนี้จะมุ่งประเด็นไปที่ระบบพิกัดบนระนาบและปริภูมิสามมิติเท่านั้น เพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจในขอบเขตของคณิตศาสตร์มูลฐาน.

ใหม่!!: การเร็นเดอร์และระบบพิกัด · ดูเพิ่มเติม »

ระบบภาพสามมิติ

แผ่นภาพ 2 มิติสองภาพวางเคียง ดูแบบไขว้ตา จึงจะเห็นเป็นภาพสามมิติ ''ภาพแมนฮัตตัน ประมาณ พ.ศ. 2452'' ระบบภาพสามมิติ หรือ สเตอริโอสโคปี หรือ สเตอริโอสโคปิก หรือ ระบบภาพทรีดี หรือ ระบบภาพสามดี (Stereoscopy หรือ stereoscopic imaging หรือ 3-D imaging) เป็นเทคนิคในการสร้างภาวะลวงตา (จากภาพถ่าย หรือ ภาพยนตร์ ที่อยู่บนระนาบสองมิติ แบนๆ) ให้ดูมีมิติความตื้นลึก (illusion of depth) หลักการเบื้องต้นคือ ส่งภาพสองมิติ 2 ภาพสำหรับตาแต่ละข้างโดยมีมุมมองต่างกันเล็กน้อย เสมือนกับที่สองตาของคนเห็นภาพตามธรรมชาติ การถ่ายภาพ 3 มิติถูกนำมาใช้ในการทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ (photogrammetry) และเพื่อความบันเทิง โดยทำเป็นภาพสามมิติ (ภาพสเตอริโอแกรมส์, stereograms) ซึ่งดูด้วยกล้องดูภาพสามมิติ (สเตอริโอสโคป, stereoscope) การถ่ายภาพสามมิติมีประโยชน์ในการดูภาพเห็นมิติตื้นลึก ภาพถ่ายสามมิติในการอุตสาหกรรมสมัยใหม่อาจใช้เครื่องสแกนภาพ 3 มิติ (3D scanners) สำหรับสแกนและบันทึกข้อมูล 3 มิติ ข้อมูลความลึกสร้างจากภาพ 2 ภาพโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย ด้วยการใส่จุดภาพสมนัยลงบนภาพซ้ายและภาพขว.

ใหม่!!: การเร็นเดอร์และระบบภาพสามมิติ · ดูเพิ่มเติม »

ดิจิทัล

ทัล (digital), เฉพาะชื่อเฉพาะอาจสะกดเป็น ดิจิทอล หรือ ดิจิตอล) หรือในศัพท์บัญญัติว่า เชิงเลข ในทฤษฎีข้อมูลหรือระบบข้อมูล เป็นวิธีแทนความหมายของข้อมูลหรือชิ้นงานต่างๆในรูปแบบของตัวเลข โดยเฉพาะเลขฐานสอง ที่ไม่ต่อเนื่องกัน ซึ่งต่างจากระบบแอนะล็อกที่ใช้ค่าต่อเนื่องหรือสัญญาณแอนะล็อกซึ่งเป็นค่าต่อเนื่อง หรือแทนความหมายของข้อมูลโดยการใช้ฟังชั่นที่ต่อเนื่อง ถึงแม้ว่า การแทนความหมายเป็นดิจิทัลจะไม่ต่อเนื่อง ข้อมูลที่ถูกแปลความหมายนั้นสามารถเป็นได้ทั้งไม่ต่อเนื่อง (เช่นตัวเลขหรือตัวหนังสือ) หรือต่อเนื่อง (เช่นเสียง,ภาพและการวัดอื่นๆ) คำว่าดิจิทัลที่มาจากแหล่งเดียวกันกับคำว่า digit และ digitus (ภาษาละตินแปลว่านิ้ว) เพราะนิ้วมือมักจะใช้สำหรับการนับที่ไม่ต่อเนื่อง นักคณิตศาสตร์ จอร์จ CStibitz ของห้องปฏิบัติการโทรศัพท์เบลล์ ใช้คำว่าดิจิทัลในการอ้างอิงถึงพัลส์ไฟฟ้าเร็วที่ปล่อยออกมาจากอุปกรณ์ที่ออกแบบเพื่อเล็งและยิงปืนต่อต้านอากาศยานในปี 1942 มันเป็นที่นิยมใช้มากที่สุดในการระบบคำนวณและระบบอิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อข้อมูลในโลกแห่งความเป็นจริงจะถูกแปลงเป็นรูปแบบตัวเลขฐานสองเช่นในเสียงออดิโอดิจิทัลและการถ่ายภาพดิจิทัล.

ใหม่!!: การเร็นเดอร์และดิจิทัล · ดูเพิ่มเติม »

คอมพิวเตอร์แอนิเมชัน

แอนิเมชันลักษณะโมชันแคปเจอร์ คอมพิวเตอร์แอนิเมชัน (computer animation) คือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์โดยอาศัยเครื่องมือ ที่สร้างจากแนวคิดทางคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ช่วยในการสร้าง ดัดแปลง และให้แสงและเงาเฟรมตลอดจนการประมวลผลการเคลื่อนที่ต่าง ๆ โดยเครื่องมือที่ว่าประกอบด้วยฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ที่สร้างขึ้นจาก ระเบียบวิธี ขั้นตอนวิธี หลักการ กฎ หรือ การคำนวณต่าง ๆ เช่น.

ใหม่!!: การเร็นเดอร์และคอมพิวเตอร์แอนิเมชัน · ดูเพิ่มเติม »

แสงพร่า

การสะท้อนของแสงพร่าเป็นสะท้อนแสงไปคนละทิศละทาง แสงพร่า หรือ diffusion หมายถึงการที่แสงสะท้อนหรือกระทบตัวกลางที่มีพื้นผิวไม่เรียบ และกระจายทิศทางการสะท้อนหรือการนำแสง โดยไม่อิงกับแนวฉาก ทำให้วัตถุที่สะท้อนมีความสว่างเท่าๆโดยไม่ขึ้นกับทิศทางของผู้สังเกตเหมือนการสะท้อนแบบกระจกหรือ specular เช่นการสะท้อนแบบ diffuse ของแป้ง หรือในการวิ่งผ่านการที่แสงวิ่งผ่านเทฟลอนหรือกระดาษ (diffuse transmission) โดยทั่วไปวัสดุจะสะท้อนแสงได้ทั้งแบบ specular และแบบ diffuse ผสมกันในสัดส่วนต่างๆกันไปตามชนิดของวัสดุ ซึ่งถ้าวัสดุสะท้อนแบบ diffuse ทั้งหมด (ไม่มีแบบ specular ผสม) แสงสะท้อนจะกระจายทั่วครึ่งทรงกลมโดยรอบพื้นผิวนั้น (2π สเตอเรเดียน).

ใหม่!!: การเร็นเดอร์และแสงพร่า · ดูเพิ่มเติม »

โกลบอลอินลูมิเนชัน

กลบอลอินลูมิเนชัน (Global illumination) เป็นชื่อเรียกรวมทั่วๆไปของขั้นตอนวิธีที่ใช้ในการเร็นเดอร์ในคอมพิวเตอร์กราฟิกสามมิติเพื่อเพิ่มความสมจริงของแสงเงาให้กับแบบ ขั้นตอนวิธีเหล่านี้จะไม่มองแค่ว่าแสงจะต้องเดินทางมาจากต้นกำเนิดแสงโดยตรง แต่จะมองว่าแสงซึ่งมาจากต้นกำเนิดนั้นๆอาจสะท้อนมาจากพื้นผิวของวัตถุอื่นๆที่อยู่ในฉากด้วย ในทางทฤษฎี การสะท้อน การหักเห เงา ล้วนแล้วแต่เป็นตัวอย่างของ Global illumination เพราะในการจำลอง วัตถุหนึ่งๆจะมีผลต่อการเร็นเดอร์ของวัตถุอื่นๆ ไม่ใช่เฉพาะผลจากการกระทบของแสงที่มาจากต้นกำเนิดแสงโดยตรงเท่านั้น อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติจะนับเพียงการจำลองการสะท้อนแสงแบบฟุ้งกระจายและการสะท้อนหรือหักเหของแสงจากพื้นผิวโค้งเท่านั้น เรามักพบว่าภาพที่ถูกให้แสงและเงาด้วยกระบวนการแบบ global illumination มีความสมจริงมากกว่าภาพที่ให้แสงและเงาแบบคำนวณจากต้นกำเนิดแสงโดยตรงเท่านั้น อย่างไรก็ตามกระบวนการคำนวณแสงในลักษณะนี้จะใช้กำลังในการประมวลผลสูงมากและใช้เวลานานกว่าวิธีอื่น วิธีการหนึ่งซึ่งเป็นที่นิยมในการคำนวณ global illumination คือการคำนวณแล้วจัดเก็บผลที่ได้ลงในตัววัตถุ(เช่นในรูปของพอยต์คลาวด์) วิธีนี้เรียกว่า radiosity ซึ่งผลลัพธ์นี้สามารถนำไปใช้สร้างภาพจากมุมมองต่างๆ โดยจะถูกใช้เป็นแนวทางที่จะคำนวณแสงในฉากคร่าวๆเป็นการลดความซ้ำซ้อนในการคำนวณแสงจริงๆซึ่งใช้เวลามาก Radiosity, ray tracing, beam tracing, cone tracing, path tracing, metropolis light transport, ambient occlusion, photon mapping, และ image based lighting เป็นตัวอย่างของขั้นตอนวิธีที่ใช้ในการเร็นเดอร์แบบ global illumination ซึ่งขั้นตอนเหล่านี้มักถูกนำผสมผสานมาใช้ร่วมกันเพื่อให้ให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องยิ่งขึ้นและใช้เวลาน้อยลง.

ใหม่!!: การเร็นเดอร์และโกลบอลอินลูมิเนชัน · ดูเพิ่มเติม »

เรขาคณิต

รขาคณิต (Geometry; กรีก: γεωμετρία; geo.

ใหม่!!: การเร็นเดอร์และเรขาคณิต · ดูเพิ่มเติม »

Specular reflection

การสะท้อนแสงแบบ specular มุมตกกระทบ (''θi'') จะมีค่าเท่ากับมุมสะท้อน (''θr'') Specular reflection เป็นลักษณะการสะท้อนแสงที่สมบูรณ์เช่นการสะท้อนของกระจกเงา หรืออาจหมายถึงการสะท้อนบางช่วงของสเปกตรัมที่มีลักษณะดังกล่าวก็ได้ โดยการสะท้อนแบบนี้จะแตกต่างจากการสะท้อนแบบ Diffuse reflection ที่ความสว่างจะไม่ขึ้นกับมุมมอง เช่นถ้าเราเดินผ่านตัวถังรถยนต์ซึ่งมักใช้สีสะท้อนแสงเป็นเงาวาวแบบ specular เราจะเห็นแสงสะท้อนเปลี่ยนไปในแต่ละมุมมอง ต่างจากถนนคอนกรีตที่เป็นการสะท้อนแบบ diffuse มากกว่า specular โดยเราจะเห็นพื้นผิวคอนกรีตเป็นสีเดิมไม่ว่าจะมองมาจากทิศทางใ.

ใหม่!!: การเร็นเดอร์และSpecular reflection · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

การสร้างภาพจากแบบจำลองการสร้างเป็นภาพการสร้างเป็นภาพสุดท้ายการให้แสงและเงาการเรนเดอร์การเรนเดอร์ภาพด้วยคอมพิวเตอร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »