โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟ

ดัชนี การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟ

ทาเทียนา ฉายพระรูปที่พระราชวังลีวาเดีย ค.ศ. 1913 การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟ อันเป็นราชวงศ์ปกครองจักรวรรดิรัสเซีย และผู้เลือกจะช่วยราชวงศ์ให้เสด็จลี้ภัยไปต่างประเทศ ได้แก่ ดร.

19 ความสัมพันธ์: บอริส เยลต์ซินบอลเชวิกกริกอรี รัสปูตินการทำเครื่องหมายกางเขนมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ราชวงศ์โรมานอฟวลาดีมีร์ เลนินสาธารณรัฐรัสเซียอะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซียจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซียจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซียจักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซียจักรวรรดิรัสเซียคริสตจักรรัสเซียออร์ทอดอกซ์แกรนด์ดัชเชสมารีเยีย นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย (1899–1918)แกรนด์ดัชเชสตะตยานา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซียเยคาเตรินบุร์กเจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

บอริส เยลต์ซิน

อริส นีโคลาเยวิช เยลต์ซิน (Бори́с Никола́евич Е́льцин, Boris Yeltsin, 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2474 - 23 เมษายน พ.ศ. 2550) เป็นประธานาธิบดีคนแรกของสหพันธรัฐรัสเซีย ดำรงตำแหน่งระหว่าง..

ใหม่!!: การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟและบอริส เยลต์ซิน · ดูเพิ่มเติม »

บอลเชวิก

การประชุมพรรคบอลเชวิก บอลเชวิก (Bolshevik "บอลเชอวิก"; большеви́к "บาลชือวิก") แผลงมาจากคำว่าБольшинство แปลว่า ส่วนใหญ่ หรือ หมู่มาก บอลเชวิก หมายถึงสมาชิกของกลุ่ม ๆ หนึ่งภายในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (RSDLP ย่อมาจาก Russian Social Democratic Labour Party) ซึ่งนิยมลัทธิมากซ์ กลุ่มนี้นำโดยเลนิน ในพรรคนี้ยังมีอีกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า меньшевик เมนเชวิก ซึ่งแผลงมาจากคำในภาษารัสเซีย Меньшинство แปลว่า ส่วนน้อย กลุ่มเมนเชวิกนำโดย จูเลียส มาร์ตอฟ เพื่อนสนิทและเพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดคนหนึ่งของเลนิน การแตกคอกันมีขึ้นในการประชุมใหญ่ของพรรคครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่กรุงบรัสเซลส์และลอนดอน เมื่อปี ค.ศ. 1903 และท้ายที่สุดแล้วกลุ่มบอลเชวิกก็กลายมาเป็นพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต พวกบอลเชวิกมองเศรษฐกิจในแนวสัมคมนิยมสุดขั้วและเชื่อในความเป็นสากลของชนชั้นกรรมาชีพ พวกเขายึดหลักอำนาจเผด็จการพรรคเดียวและเป้าหมายสูงสุดเรื่องการปฏิวัติโลก พวกเขาปฏิเสธความเป็นชาติรัฐของรัสเซีย ความเชื่อและแนวทางปฏิบัติของพวกเขามักถูกเรียกรวม ๆ ว่า ลัทธิบอลเชวิก (Bolshevism).

ใหม่!!: การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟและบอลเชวิก · ดูเพิ่มเติม »

กริกอรี รัสปูติน

กรีกอรี เอฟีโมวิช รัสปูติน (Григо́рий Ефи́мович Распу́тин (Grigoriy Efimovič Rasputin); Grigori Yefimovich Rasputin; 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1869 – 30 ธันวาคม ค.ศ. 1916) เป็นชาวนา นักรหัสยลัทธิ ผู้รักษาโรคด้วยเรื่องที่เพศ (Sex healing) และเป็นผู้ถวายคำแนะนำอย่างลับ ๆ แก่ราชวงศ์โรมานอฟ ต่อมา กลายเป็นผู้มีอิทธิพลในเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก หลังจากเมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1915 ซาร์นีโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซียทรงบังคับบัญชากองทัพในสงครามโลกครั้งที่ 1.

ใหม่!!: การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟและกริกอรี รัสปูติน · ดูเพิ่มเติม »

การทำเครื่องหมายกางเขน

ั้นตอนการทำเครื่องหมายกางเขนในแบบคาทอลิก การทำเครื่องหมายกางเขน หรือที่ชาวคาทอลิกเรียกว่า การทำสำคัญมหากางเขน คณะภคินีพระหฤทัยพระเยซูเจ้าแห่งกรุงเทพฯ (Sign of the Cross; Signum Crucis) เป็นรูปแบบการปฏิบัติอย่างหนึ่งของผู้นับถือศาสนาคริสต์ โดยมักมีการกล่าว "เดชะพระนาม พระบิดา และพระบุตร และพระจิต อาแมน" ประกอบด้วย การทำเช่นนี้เป็นการระลึกถึงการตรึงกางเขนของพระเยซู แบบดั้งเดิมทำจากขวาไปซ้าย ซึ่งใช้โดยสมาชิกคริสตจักรอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์และคริสตจักรคาทอลิกตะวันออก ส่วนแบบใหม่ทำจากซ้ายไปขวาใช้โดยคริสตจักรคาทอลิก แองกลิคัน ลูเทอแรน และโอเรียนทัลออร์โธด็อกซ์ ธรรมเนียมปฏิบัตินี้สันนิษฐานว่าเริ่มมีมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 2 แล้ว.

ใหม่!!: การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟและการทำเครื่องหมายกางเขน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (University of Cambridge)ใช้ชื่อทางการว่า นายกสภา อนุสาสก และคณาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (The Chancellor, Masters, and Scholars of the University of Cambridge) เป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดกลางค่อนข้างใหญ่ในสหราชอาณาจักร มีความเก่าแก่เป็นอันดับที่สองของสหราชอาณาจักร ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 1752 โดยมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งก่อนหน้านั้นคือ มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่เป็นอันดับที่สี่ของโลกและยังเปิดดำเนินการอยู่อีกด้วย มหาวิทยาลัยก่อกำเนิดจากคณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยซึ่งขัดแย้งกับชาวบ้านที่เมืองอ๊อกซฟอร์ด มหาวิทยาลัยเคมบริจด์และมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมักได้รับการจัดอันดับต้น ๆ ของการจัดอันดับโดยสำนักต่าง ๆ จนมีการเรียกรวมกันว่า อ๊อกซบริดจ์ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เป็นมหาวิทยาลัยที่มีผู้ได้รางวัลโนเบลสูงที่สุด ในบรรดามหาวิทยาลัยทั้งหลายในโลก กล่าวคือ 81 รางวัล นิสิตและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัย จะถูกจัดให้สังกัดแต่ละวิทยาลัยแบบคณะอาศัย (College)หมายถึง คณะที่เป็นที่อยู่ของนักศึกษาจากหลายสาขาวิชา นักศึกษาจะพักอาศัยกินอยู่และทบทวนวิชาเรียนในคณะอาศัย แต่การเรียนการทำวิจัยต้องทำในคณะวิชา จำนวนทั้งสิ้น 31 แห่ง โดยคละกันมาจากคณะวิชา (School) 6 คณะ โดยวิทยาลัยแต่ละแห่งอาศัยบริหารงานอย่างเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน ลักษณะการบริหารเช่นนี้มีให้เห็นในมหาวิทยาลัยเคนต์ และมหาวิทยาลัยเดอแรม อาคารต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยเป็นอาคารแทรกตัวตามร้านรวงในเมือง แทนที่จะเป็นกลุ่มอาคารในพื้นที่ของตนเองเช่นมหาวิทยาลัยยุคใหม่ อาคารเหล่านั้นบางหลังมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อย่างมาก มหาวิทยาลัยจัดให้มีสำนักพิมพ์เป็นของตนเอง ซึ่งถือเป็นสำนักพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของโลกที่สังกัดมหาวิทยาลัย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังมีห้องสมุดขนาดใหญ่อีกด้ว.

ใหม่!!: การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โรมานอฟ

งราชวงศ์โรมานอฟ ตราแผ่นดินของจักรวรรดิรัสเซีย ตราประจำพระราชวงศ์ ราชวงศ์โรมานอฟ ตามสำเนียงอังกฤษ หรือ รามานาฟ ตามสำเนียงรัสเซีย (Romanov) เป็นราชวงศ์ที่สองและราชวงศ์สุดท้ายของรัสเซีย โดยราชวงศ์นี้ปกครองจักรวรรดิรัสเซียตั้งแต่ ค.ศ. 1613 ถึง ค.ศ. 1917 กษัตริย์โรมานอฟพระองค์แรก คือพระเจ้าซาร์มิฮาอิลที่ 1 ได้รับแต่งตั้งใน ค.ศ. 1613 ภายหลังสมัยแห่งความวุ่นวาย (Time of Troubles) ราชวงศ์นี้ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เกือบตลอดเวลา โดยได้มีความพยายามร่างรัฐธรรมนูญ โดยพระจักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 2 แต่พระองค์ก็ถูกลอบปลงพระชนม์เสียก่อน แม้ว่าจักรพรรดินีโคไลที่ 2 จะทรงตั้งสภาดูมาใน ค.ศ. 1905 ก็มิได้มีสิทธิในการออกกฎหมายอย่างเต็มที่ จนเกิดการปฏิวัติใหญ่ในรัสเซีย จักรพรรดินิโคสัสที่ 2 ต้องทรงสละราชสมบัติในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 และถูกปลงพระชนม์โดยกำลังของฝ่ายบอลเชวิกในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1918 ซึ่งสาเหตุของการปลงพระชนม์เนื่องด้วย พระจักรพรรดินิโคสัสที่ 2 เข้าร่วมสงครามและทุ่มงบประมาณไปกับสงครามมาก ทำให้เศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลให้ประชาชนก่อการปฏิวัติ และทางราชวงศ์ได้พยายามหลบหนีแต่ไม่สำเร็จ ได้ถูกนำมากักตัวและถูกลอบปลงพระชนม.

ใหม่!!: การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟและราชวงศ์โรมานอฟ · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีมีร์ เลนิน

วลาดีมีร์ เลนิน (Vladimir Lenin) มีชื่อเต็มว่า วลาดีมีร์ อิลลิช อุลยานอฟ (Vladimir Ilyich Ulyanov, Владимир Ильич Ульянов) เป็นผู้นำนักปฏิวัติมาร์กซิส คนแรกของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่สถาปนาเมื่อ..

ใหม่!!: การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟและวลาดีมีร์ เลนิน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐรัสเซีย

รณรัฐรัสเซีย (p) เป็นองค์การทางการเมืองอายุสั้นซึ่งในทางนิตินัยควบคุมดินแดนของอดีตจักรวรรดิรัสเซียหลังการสละราชสมบัติของจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 เมื่อวันที่ 15 มีนาคม..

ใหม่!!: การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟและสาธารณรัฐรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

อะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย

แกรนด์ดุ๊กอะเลกเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย (Алексе́й Никола́евич, Alexei Nikolaevich) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2447 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) มกุฎราชกุมารองค์สุดท้ายของรัสเซีย เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย แห่งราชวงศ์โรมานอฟ และจักรพรรดินีอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย ประสูติ ณ พระราชวังฤดูร้อนปีเตอร์ฮอฟ มีพระภคินี 4 พระองค์คือ.

ใหม่!!: การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟและอะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย หรือ ปีเตอร์มหาราช (Пётр I Великий, 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2215 - 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2268) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิรัสเซียตั้งแต่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2225 จนกระทั่งสวรรคต และถือได้ว่าเป็นหนึ่งในผู้ทรงอำนาจของยุโรปในสมัยนั้น ในช่วงระยะเวลาของรัชสมัยจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 มหาราช พระองค์ได้ทรงสร้างประเทศเป็น “จักรวรรดิ” ที่เป็นที่น่าเกรงขามได้สำเร็จ การติดต่อด้านการค้าและการทูตกับต่างประเทศ การรับเอาความเจริญทางด้านการทหาร การช่างและวิทยาศาสตร์มาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาประเทศ ในสมัยต้นราชวงศ์โรมานอฟล้วนแต่เป็นการแผ้วทางไปสู่ความยิ่งใหญ่ของการเป็นมหาอํานาจของรัสเซีย เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตใน..

ใหม่!!: การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟและจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย

ระราชพิธีบรมราชาภิเษกของจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 (1896) จักรพรรดินีโคไลที่ 2 (Николай II, Николай Александрович Романов, tr.) หรือ นิโคลัสที่ 2 (Nicholas II; 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2411 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) เป็นจักรพรรดิแห่งรัสเซีย, แกรนด์ดยุคฟินแลนด์และกษัตริย์แห่งโปแลนด์โดยสิทธิ์พระองค์สุดท้าย เช่นเดียวกับจักรพรรดิรัสเซียองค์อื่นๆ พระองค์เป็นที่รู้จักด้วยพระอิสริยยศ ซาร์ บรรดาศักดิ์โดยย่ออย่างเป็นทางการของพระองค์ คือ นิโคลัสที่ 2 จักรพรรดิและอัตตาธิปัตย์แห่งปวงรัสเซีย ศาสนจักรออโธด็อกซ์รัสเซียออกพระนามพระองค์ว่า นักบุญนิโคลัสผู้แบกมหาทรมาน (Passion-Bearer) และถูกเรียกว่า นักบุญนิโคลัสมรณสักขี จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 ทรงปกครองตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟและจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซีย

ักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (Александра Фёдоровна) พระอิสริยยศเดิมคือ เจ้าหญิงอลิกซ์แห่งเฮสส์และไรน์ (วิกตอเรีย อลิกซ์ เฮเลนา หลุยส์ เบียทริซ; 6 มิถุนายน พ.ศ. 2415 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) ทรงเป็นจักรพรรดินีมเหสีในซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย พระองค์เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร และทรงเปลี่ยนพระนามเป็น อะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา เมื่อทรงรับศีลในนิกายออร์โธด็อกซ์รัสเซีย พระจักรพรรดินีอเล็กซานดราทรงเป็นที่รู้จักดีที่สุดในฐานะที่ทรงเป็นจักรพรรดินีพระองค์สุดท้ายของรัสเซีย เป็นหนึ่งในผู้ที่เป็นพาหะของโรคเฮโมฟีเลียและในเรื่องการสนับสนุนการควบคุมแบบเบ็ดเสร็จของจักรวรรดิรัสเซีย มิตรภาพในด้านลบกับกริกอรี รัสปูติน ผู้ลึกลับชาวรัสเซีย ถือเป็นปัจจัยสำคัญต่อพระชนม์ชีพของพระองค์ด้ว.

ใหม่!!: การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟและจักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิรัสเซีย

ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.

ใหม่!!: การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟและจักรวรรดิรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

คริสตจักรรัสเซียออร์ทอดอกซ์

ริสตจักรรัสเซียออร์ทอดอกซ์ หรือ ศาสนจักรออร์โธดอกซ์รัสเซีย (Русская Православная Церковь; Russian Orthodox Church) ในยุคก่อนปี..

ใหม่!!: การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟและคริสตจักรรัสเซียออร์ทอดอกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสมารีเยีย นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย (1899–1918)

แกรนด์ดัชเชสมารีเยีย นีคะลายีฟนา (Великая Княжна Мария Николаевна) (26 มิถุนายน พ.ศ. 2442 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สามในซาร์นีโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซียกับซารีนาอะเลคซันดรา พระองค์ทรงถูกประหารในการปฏิวัติรัสเซีย พ.ศ. 2460 ในตอนแรกพระองค์ยังทรงเยาว์เกินไปที่จะไปเป็นพยาบาลอาสาในกาชาด เหมือนพระเชษฐภคินีของพระองค์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง พระองค์จึงทรงอยู่เป็นผู้อุปถัมภ์ของโรงพยาบาล แทนที่จะไปออกเยี่ยมทหารที่ได้รับบาดเจ็บ ตลอดพระชนม์ชีพของพระองค์ พระองค์ทรงสนใจเรื่องเกี่ยวกัยการทหารมาก.

ใหม่!!: การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟและแกรนด์ดัชเชสมารีเยีย นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย (1899–1918) · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสตะตยานา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย

แกรนด์ดัชเชสตะตยานา นีคะลายีฟนา (Великая Княжна Татьяна Николаевна ประสูติ: 29 พฤษภาคม ระบบเก่า, 10 มิถุนายน ระบบใหม่ ค.ศ. 1897 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1918 ซึ่งหลังจากปี ค.ศ. 1900 จะมีการเฉลิมฉลองวันคล้ายวันประสูติของพระองค์ในวันที่ 11 มิถุนายน) เป็นพระราชธิดาองค์ที่สองในสมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 และ สมเด็จพระจักรพรรดินีอเล็กซานดรา พระองค์เป็นพระขนิษฐาในแกรนด์ดัชเชสโอลกา และเป็นพระภคินีในแกรนด์ดัสเชส มาเรีย แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียาและมกุฏราราชกุมารซาเรวิชอะเลคเซย์ ทรงมีอุปนิสัยส่วนพระองค์คล้ายพระราชชนนีวันๆเจ้าหญิงพระองค์นี้จะเข้าออกห้องสีม่วงซึ่งเป็นห้องที่ประทับของจักรพรรดินี อเล็กซานดราและจะทรงขลุกอยู่กับพระราชชนนีถามเกี่ยวกับเรื่องผู้หญิงทุกวัน พระองค์สวรรคตในวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1918 พร้อมกับเชื้อพระวงศ์โรมานอฟพระองค์อื่น ๆ จากเหตุการณ์สังหารหมู่พระราชวงศ์โรมานอฟโดยพรรคบอลเชว.

ใหม่!!: การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟและแกรนด์ดัชเชสตะตยานา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เยคาเตรินบุร์ก

ตรินบุร์ก (p) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 4 ของประเทศรัสเซีย และเป็นเมืองศูนย์กลางการปกครองของแคว้นสเวียร์ดลอฟ.

ใหม่!!: การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟและเยคาเตรินบุร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์

้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์ (Princess Victoria of Hesse and by Rhine) หรือพระนามหลังการสมรสคือ วิกตอเรีย เมานต์แบ็ทแตน มาร์เชเนสแห่งมิลด์ฟอร์ดเฮเวน (Victoria Mountbatten, Marchioness of Milford Haven) เป็นเจ้าหญิงอังกฤษเชื้อสายเยอรมัน เป็นพระธิดาองค์ใหญ่ของแกรนด์ดยุกลุดวิกที่ 4 แห่งเฮสส์และไรน์กับเจ้าหญิงอลิซแห่งสหราชอาณาจักร ทำให้ทรงมีศักดิ์เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร พระชนนีของพระองค์สิ้นพระชนม์ขณะที่พระขนิษฐาและพระอนุชายังทรงพระเยาว์ จึงทำให้ทรงมีภาระความรับผิดชอบต่อทุกพระองค์ก่อนเวลาอันควร พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายหลุยส์แห่งแบ็ตเต็นเบิร์ก พระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งทรงรับราชการอยู่ในราชนาวีแห่งอังกฤษด้วยความรักและทรงมีชีวิตสมรสในสถานที่ต่างๆ ของทวีปยุโรป อันเป็นสถานที่ปฏิบัติราชการในราชนาวีของพระสวามี และได้เสด็จเยี่ยมพระประยูรญาติด้วย ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 เจ้าหญิงและพระสวามีทรงสละพระอิสริยยศเยอรมันและใช้ราชสกุลที่ฟังดูเป็นอังกฤษว่า เมานท์แบ็ตเต็น พระขนิษฐาสองพระองค์ซึ่งได้อภิเษกสมรสเข้าไปยังพระราชวงศ์รัสเซียทรงถูกปลงพระชนม์โดยกลุ่มปฏิวัติคอมมิวนิสต์ พระองค์ทรงมีทัศนคติแบบเสรีนิยม เปิดเผย ชอบปฏิบัติ และฉลาด นอกจากนี้พระองค์ยังได้เป็นพระอัยยิกาของเจ้าฟ้าชายฟิลิป ดยุคแห่งเอดินเบอระ พระราชสวามีในสมเด็จพระบรมราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 อีกด้ว.

ใหม่!!: การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟและเจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์ · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

ซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก (Saint Petersburg; Санкт-Петербу́рг, เป็นเมืองท่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของสหพันธรัฐรัสเซีย ตั้งอยู่ปากแม่น้ำเนวา ริมอ่าวฟินแลนด์ในทะเลบอลติก เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กสร้างโดยพระเจ้าซาร์ปีเตอร์มหาราช เมื่อ พ.ศ. 2246 โดยตัวเมืองเริ่มสร้างด้วยการถมทรายและหินเป็นจำนวนมากเพราะว่าพื้นที่เดิมของเมืองนั้นเป็นดินเลนของทะเล พระองค์ทรงเลือกที่จะสร้างเมืองที่บริเวณนี้เพราะว่าตัวเมืองมีทางออกทะเลบอลติกและสามารถติดต่อไปทางยุโรปและประเทศอื่นๆได้ง่าย เพื่อการปฏิรูปรัสเซียให้ทัดเทียมกับประเทศอื่น ๆ ในยุโรปได้โดยง่าย ต่อมาเมืองเซนต์ปีเตอร์เบิร์กจึงได้รับสมญานามว่าหน้าต่างแห่งยุโรป และได้เป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิรัสเซียเป็นเวลา 206 ปี (หลังจากนั้นได้ย้ายเมืองหลวงไปที่มอสโก เมื่อ พ.ศ. 2461) ชื่อเดิมของเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กคือ เปโตรกราด (Petrograd, Петрогра́д, ใช้ในช่วง พ.ศ. 2457-2467) และ เลนินกราด (Leningrad, Ленингра́д, ใช้ในช่วง พ.ศ. 2467-2534) ปัจจุบันเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กมีประชากรมากกว่า 4.7 ล้านคน เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของรัสเซีย และเป็นมรดกโลกขององค์กรยูเนสโก.

ใหม่!!: การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟและเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »