โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554

ดัชนี การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554

การประท้วงในจัตุรัสทาห์รีร์ กรุงไคโร เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 การปฏิวัติอียิปต..

16 ความสัมพันธ์: กองทัพอียิปต์การทุจริตการดื้อแพ่งการปฏิวัติตูนิเซียการเดินขบวนภาวะเงินเฟ้อสถานการณ์ฉุกเฉินอะเล็กซานเดรียอาหรับสปริงอิศอม ชะร็อฟฮุสนี มุบาร็อกจัตุรัสทาห์รีร์ค่าจ้างขั้นต่ำไคโรเสรีภาพในการพูดเดอะนิวยอร์กไทมส์

กองทัพอียิปต์

กองทัพอียิปต์ เป็นกองทัพใหญ่สุดในทวีปแอฟริกา ตะวันออกกลาง และใหญ่เป็นอันดับ 10 ของโลก ประกอบด้วยกองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศและกองบัญชาการป้องกันทางอากาศ นอกจากนี้ อียิปต์ยังมีกำลังกึ่งทหารขนาดใหญ่ กำลังความมั่นคงกลางอยู่ในความควบคุมของกระทรวงมหาดไทย กำลังพิทักษ์ชายแดนอียิปต์และกำลังพิทักษ์ชาติอียิปต์อยู่ในความควบคุมของกระทรวงกลาโหม.

ใหม่!!: การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554และกองทัพอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

การทุจริต

การทุจริต ในทางปรัชญา เทววิทยา และเรื่องอื่น ๆ ทางศีลธรรม หมายถึงความไม่บริสุทธิ์ทางศีลธรรมหรือจิตวิญญาณ หรือความประพฤติที่เบี่ยงเบนไปจากอุดมคต.

ใหม่!!: การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554และการทุจริต · ดูเพิ่มเติม »

การดื้อแพ่ง

การดื้อแพ่ง หรือ การขัดขืนอย่างสงบ (civil disobedience) หรือ "อารยะขัดขืน" เป็นรูปแบบการต่อต้านทางการเมืองอย่างสงบเพื่อกดดันให้รัฐบาลเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางการเมืองที่เป็นอยู่ ในอดีต มีการใช้แนวทางดื้อแพ่งในการเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้านอังกฤษในประเทศอินเดีย ในการต่อสู้กับการแบ่งแยกสีผิวในแอฟริกาใต้ ในการเคลื่อนไหวด้านสิทธิพลเมืองของอเมริกา และในยุโรป รวมถึงประเทศแถบสแกนดิเนเวียในการต่อต้านการยึดครองของนาซี แนวคิดนี้ริเริ่มโดยเฮนรี เดวิด ธอโร นักเขียนชาวอเมริกันในบทความชื่อดื้อแพ่ง ในชื่อเดิมว่า การต่อต้านรัฐบาลพลเมือง ซึ่งแนวคิดที่ผลักดันบทความนี้ก็คือการพึ่งตนเอง และการที่บุคคลจะมีจุดยืนที่ถูกต้องเมื่อพวกเขา "ลงจากหลังของคนอื่น" นั่นคือ การต่อสู้กับรัฐบาลนั้นประชาชนไม่จำเป็นต้องต่อสู้ทางกายภาพ แต่ประชาชนจะต้องไม่ให้การสนับสนุนรัฐบาลหรือให้รัฐบาลสนับสนุนตน (ถ้าไม่เห็นด้วยกับรัฐบาล) บทความนี้มีอิทธิพลอย่างมากต่อผู้ที่ยึดแนวทางดื้อแพ่งนี้ ในบทความนี้ทอโรอธิบายเหตุผลที่เขาไม่ยอมจ่ายภาษีเพื่อเป็นการประท้วงระบบทาสและสงครามเม็กซิกัน-อเมริกัน เพื่อที่จะแสดงออกถึงดื้อแพ่ง ผู้ขัดขืนอาจเลือกที่จะฝ่าฝืนกฎหมายใดเป็นการเฉพาะ เช่น กีดขวางทางสัญจรอย่างสงบ หรือเข้ายึดครองสถานที่อย่างผิดกฎหมาย ผู้ประท้วงกระทำการจลาจลอย่างสันติเหล่านี้ โดยคาดหวังว่าพวกตนจะถูกจับกุม หรือกระทั่งถูกทำร้ายร่างกายโดยเจ้าหน้าที.

ใหม่!!: การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554และการดื้อแพ่ง · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติตูนิเซีย

ผู้ประท้วงต่อต้านรัฐบาลตูนิเซียโบกธงชาติ เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2554 ซีน อัลอาบิดีน บิน อะลี การปฏิวัติตูนิเซีย หรือ การปฏิวัติซีดีบูซีด หรือ การปฏิวัติดอกมะลิ เป็นการรณรงค์การต่อต้านของพลเมือง (civil resistance) อย่างเข้มข้น รวมถึงชุดการเดินขบวนตามท้องถนนซึ่งเกิดขึ้นในประเทศตูนิเซีย เหตุการณ์ดังกล่าวเริ่มต้นในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554และการปฏิวัติตูนิเซีย · ดูเพิ่มเติม »

การเดินขบวน

งผ่านคบเพลิงโอลิมปิก ค.ศ. 2008 การเดินขบวนวันจันทร์ในเยอรมนีตะวันออก การเคลื่อนไหวของขบวนการสิทธิพลเมืองอเมริกันใน วอชิงตัน โดยเดินแถวไปสู่อนุสาวรีย์วอชิงตัน เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม ค.ศ. 1963 การปฏิวัติออเรนจ์ ผู้เดินขบวนจัดตั้งค่ายพักแรมเพื่อเดินขบวนกันอย่างยืดเยื้อ การเดินขบวนเพื่อสนับสนุน ข้อตกลงเจนีวา (Geneva Accord) เมื่อ ค.ศ. 2004 การประท้วงการเลือกตั้งในอิหร่าน พ.ศ. 2552 ประชาชนชาวไต้หวันปิดล้อมทำเนียบประธานาธิบดีที่กรุงไทเปเพื่อกดดันให้ เฉิน สุยเปี่ยน ประธานาธิบดีจีนลาออก การเดินขบวนหน้ารัฐสภาอังกฤษ การเดินขบวน (demonstration) เป็นรูปแบบหนึ่งของการเคลื่อนไหวโดยปราศจากความรุนแรง (nonviolent) ของกลุ่มบุคคลเพื่อประโยชน์ทางการเมืองหรืออื่น ๆ ซึ่งปรกติมักมีการเดินรณรงค์เป็นขบวน และมีการชุมนุมพูดจาปราศรัย และบางทีก็อาจมีการปิดล้อม (blockade) และการยึดพื้นที่ประท้วง (sit-in) ด้วย ซึ่งการเดินขบวนจัดเป็นกิจกรรมหนึ่งในลัทธิกิจกรรมนิยม (activism) อันเป็นความนิยมกระทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุความมุ่งหมายทางการเมืองของกลุ่มตน การเดินขบวนอาจมีขึ้นเพื่อแสดงมุมมองเกี่ยวกับประเด็นสาธารณะ ไม่ว่าจะเป็นมุมมองด้านบวกก็ดี ด้านลบก็ดี และประเด็นเช่นว่ามักเกี่ยวกับการร้องทุกข์หรือความอยุติธรรมทางสังคม แต่บางครั้งก็เกี่ยวกับเศรษฐกิจ โดยผู้เดินขบวนมักเห็นว่ากิจกรรมของตนจะประสบความสำเร็จยิ่งขึ้นถ้ามีผู้ร่วมกิจกรรมมากขึ้น ในภาษาอังกฤษ คำ "demonstration" เพิ่งเริ่มใช้ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 เพื่อแทนที่ "monster meeting" อันหมายความว่า "การชุนนุมของอมนุษย์" ซึ่งคำ "demonstration" นั้นบัญญัติขึ้นโดยกลุ่มผู้ประท้วงในไอร์แลนด์ที่ได้รับอิทธิพลในการชุมนุมจากนักการเมือง แดเนียล โอคอนเนล (Daniel O'Connell) Oxford English Dictionary.

ใหม่!!: การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554และการเดินขบวน · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะเงินเฟ้อ

อัตราเงินเฟ้อทั่วโลกในปี 2550 ภาวะเงินเฟ้อ (inflation) หมายถึง การที่ระดับราคาสินค้าหรือบริการในระยะเวลาหนึ่งสูงขึ้นเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่อง ภาวะเงินเฟ้อมีผลต่อเศรษฐกิจทั้งบวกและลบ ผลเสียที่เกี่ยวข้องกับภาวะเงินเฟ้อรวมถึงการเพิ่มของต้นทุนค่าเสียโอกาสในการไม่ใช้เงินและการทำให้ผู้บริโภคกักตุนสินค้าเนื่องจากประเมินว่าราคาจะเพิ่มขึ้นในอนาคต (หากอัตราเงินเฟ้อเพิ่มอย่างรวดเร็ว) ผลเชิงบวกของอัตราเงินเฟ้อมีดังนี้.

ใหม่!!: การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554และภาวะเงินเฟ้อ · ดูเพิ่มเติม »

สถานการณ์ฉุกเฉิน

นการณ์ฉุกเฉิน (state of emergency) คือ สถานการณ์อันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งรัฐ หรืออันอาจทำให้รัฐตกอยู่ในภาวะคับขันหรือภาวะการรบหรือการสงคราม ซึ่งฝ่ายบริหารรัฐมีอำนาจประกาศว่าพื้นที่ใดกำลังตกอยู่ในสถานการณ์เช่นว่าโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายของรัฐนั้น ๆ ซึ่งให้อำนาจพิเศษในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน และมักเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล อย่างไรก็ดี กฎหมายว่าด้วยสถานการณ์ฉุกเฉินเป็นกฎหมายที่ให้อำนาจพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ไม่เบ็ดเสร็จเท่ากฎอัยการศึกหรือกฎหมายที่ใช้ในสภาวะสงคราม การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินมักมีภายหลังจากการเกิดภัยธรรมชาติ การก่อความไม่สงบ หรือการประกาศสงคราม ซึ่งอาจมีผลให้เจ้าหน้าที่บางฝ่ายต้องหยุดการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ลงชั่วคราว โดยอำนาจหน้าที่เช่นว่านั้นอาจรวมศูนย์ไปยังเจ้าหน้าที่อีกฝ่ายเพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมสถานการณ์โดยไม่ชักช้า และอาจนำไปสู่การห้ามออกจากเคหสถาน (curfew) หรือการห้ามมั่วสุมชุมนุมกันเพื่อการใด ๆ ก็ดี ณ พื้นที่นั้นในระหว่างที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน.

ใหม่!!: การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554และสถานการณ์ฉุกเฉิน · ดูเพิ่มเติม »

อะเล็กซานเดรีย

อะเล็กซานเดรีย หรือในภาษาอาหรับเรียก อัลอัสกันดะริย์ยะ (Alexandria; الإسكندرية; Αλεξάνδρεια; คอปติก: Ⲣⲁⲕⲟⲧⲉ) เป็นเมืองใหญ่อันดับสองในประเทศอียิปต์ รองจากกรุงไคโร มีประชากรประมาณ 3-5 ล้านคน และเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศอียิปต.

ใหม่!!: การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554และอะเล็กซานเดรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาหรับสปริง

อาหรับสปริง (Arab Spring, الثورات العربية‎ al-Thawrāt al-ʻArabiyyah) เป็นคลื่นปฏิวัติการเดินขบวน การประท้วงและสงครามซึ่งเกิดขึ้นในโลกอาหรับตั้งแต่วันที่ 18 ธันวาคม 2553 ตราบจนปัจจุบัน ผู้ปกครองถูกโค่นจากอำนาจในตูนิเซีย อียิปต์ ลิเบีย และเยเมน การก่อการกำเริบพลเมืองอุบัติขึ้นในบาห์เรน และซีเรีย การประท้วงใหญ่เกิดขึ้นในอัลจีเรีย อิรัก จอร์แดน คูเวต โมร็อกโก และซูดาน และการประท้วงเล็กเกิดในเลบานอน มอริเตเนีย โอมาน ซาอุดิอาระเบีย จิบูตี และเวสเทิร์นสะฮารา การประท้วงมีเทคนิคการดื้อแพ่งร่วมกันในการรณรงค์ต่อเนื่องซึ่งเกี่ยวข้องกับการนัดหยุดงาน การเดินขบวน การเดินแถว และการชุมนม เช่นเดียวกับการใช้โซเชียลมีเดียในการจัดระเบียบ สื่อสารและสร้างความตระหนักเมื่อเผชิญกับความพยายามของรัฐในการปราบปรามและตรวจพิจารณาอินเทอร์เน็ต การเดินขบวนอาหรับสปริงหลายประเทศเผชิญกับการตอบสนองรุนแรงจากทางการ เช่นเดียวกับทหารอาสาสมัครนิยมรัฐบาลและการเดินขบวนโต้ตอบ การโจมตีเหล่านี้ได้รับการสนองจากผู้ประท้วงด้วยความรุนแรงในบางกรณี.

ใหม่!!: การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554และอาหรับสปริง · ดูเพิ่มเติม »

อิศอม ชะร็อฟ

อิศอม ชะร็อฟ อิศอม อับเดลอะซีซ ชะร็อฟ (عصام عبد العزيز شرف; Essam Abdel-Aziz Sharaf; เกิด 26 ตุลาคม พ.ศ. 2495) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศอียิปต์ระหว่างวันที่ 3 มีนาคม-7 ธันวาคม พ.ศ. 2554 โดยก่อนหน้าเขาดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554และอิศอม ชะร็อฟ · ดูเพิ่มเติม »

ฮุสนี มุบาร็อก

นี มุบาร็อก หรือชื่อเต็มว่า มุฮัมมัด ฮุสนี ซัยยิด มุบาร็อก (محمد حسني سيد مبارك‎,; Muhammad Hosni Sayyid Mubarak) ดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีคนที่ 4 แห่งสาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ เคยดำรงตำแหน่งเป็นรองประธานาธิบดี ในปี ค.ศ. 1975 ในสมัยประธานาธิบดี อันวัร อัสซาดาต และเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดี เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1981 จนกระทั่งลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 หลังจากการประท้วงนาน 18 วัน.

ใหม่!!: การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554และฮุสนี มุบาร็อก · ดูเพิ่มเติม »

จัตุรัสทาห์รีร์

การจราจรรอบจัตุรัสทาห์รีร์ในยามค่ำคืน จัตุรัสทาห์รีร์ (ميدان التحرير; Tahrir Square; หมายถึง "จัตุรัสการปลดปล่อย") เป็นจัตุรัสสาธารณะขนาดใหญ่ในกรุงไคโร ประเทศอียิปต์ เดิมจัตุรัสถูกเรียกว่า มิดันอิสไมเลยะ หลังจากผู้ปกครองสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 อิสมาอิล ปาชา ผู้ซึ่งมอบหมายให้ก่อสร้างรูปแบบ "กรุงปารีสริมฝั่งแม่น้ำไนล์" ขึ้นเป็นเขตใหม่ของเมือง ภายหลังการปฏิวัติอียิปต..

ใหม่!!: การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554และจัตุรัสทาห์รีร์ · ดูเพิ่มเติม »

ค่าจ้างขั้นต่ำ

้างขั้นต่ำ เป็นค่าตอบแทนต่ำสุดซึ่งนายจ้างจะต้องจ่ายแก่ลูกจ้างเป็นรายชั่วโมง รายวันหรือรายเดือนตามที่กฎหมายกำหนด หรือมีความหมายเหมือนกับค่าแรงต่ำสุดซึ่งลูกจ้างจะขายแรงงานของตน แม้ว่ากฎหมายค่าจ้างขั้นต่ำจะมีผลใช้บังคับในหลายรัฐ ก็ยังมีความเห็นต่างในผลดีและผลเสียของค่าจ้างขั้นต่ำ ผู้สนับสนุนค่าจ้างขั้นต่ำบอกว่า จะเป็นการเพิ่มมาตรฐานชีวิตของลูกจ้างและลดความยากจน ขณะที่ฝ่ายไม่เห็นด้วยว่า ถ้าค่าจ้างขั้นต่ำสูงพอจะเห็นผลได้ดังนั้น ก็จะเป็นการเพิ่มอัตราว่างงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในหมู่ลูกจ้างที่มีผลิตภาพต่ำเพราะขาดประสบการณ์หรือพิการ ดังนั้นจึงเป็นการทำร้ายแรงงานที่มีฝีมือน้อยกว่าและเป็นประโยชน์แก่แรงงานที่มีฝีมือสูงกว.

ใหม่!!: การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554และค่าจ้างขั้นต่ำ · ดูเพิ่มเติม »

ไคโร

ร เมืองหลวงของประเทศอียิปต์ ไคโร (القاهرة; Cairo) เป็นเมืองหลวงของประเทศอียิปต์ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำไนล์ ไคโรมีประชากรประมาณ 15.2 ล้านคน ซึ่งเป็นเมืองที่ประชากรมากที่สุดในทวีปแอฟริกา และเป็นหนึ่งในเมืองที่มีประชากรหนาแน่นแห่งหนึ่งในโลก ชื่อเมือง "ไคโร" ในภาษาอาหรับมีความหมายว่า "ชัยชนะ" โดยความเชื่อว่าเกิดจากที่มีการมองเห็นดาวอังคารในช่วงที่ก่อสร้างเมือง และดาวอังคารเปรียบเสมือนสัญลักษณ์ของการทำลายล้าง อย่างไรก็ตามในอีกความเชื่อหนึ่ง ชื่อไคโรมาจากที่เมืองไคโรเป็นเมืองที่รบชนะทุกกองทัพที่มาตีเมืองไคโร รวมไปถึงกองทัพมองโกล กองทัพครูเสด หรือแม้แต่กองทัพออตโตมัน.

ใหม่!!: การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554และไคโร · ดูเพิ่มเติม »

เสรีภาพในการพูด

รีภาพในการพูด (freedom of speech) หรือเสรีภาพในการแสดงออก (freedom of expression) เป็นสิทธิการเมืองในการสื่อสารความคิดของบุคคลผ่านการพูด คำวา เสรีภาพในการแสดงออก บางครั้งใช้เป็นคำไวพจน์ แต่ยังรวมไปถึงพฤติการณ์ใด ๆ ในการแสวงหา ทั้งด้วยการพูด การแสดงท่าทาง หรือการสื่อสารด้วยตัวหนังสือ ไม่ว่าจะบนหน้ากระดาษหรือในโลกออนไลน์ ตลอดจนในรูปแบบอื่นๆ เช่น เสียงเพลง ภาพถ่าย ภาพกราฟิกหรือภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ นอกจากนี้ยังรวมถึงสิทธิในการค้นคว้า หา เข้าถึงหรือได้รับข้อมูล ความรู้สึกนึกคิด ความเห็นที่มีการสื่อสารและเผยแพร่และนำข้อสนเทศหรือความคิดโดยไม่คำนึงถึงสื่อที่ใช้ ในทางปฏิบัติ สิทธิในเสรีภาพการพูดมิได้มีสมบูรณ์ในทุกประเทศ และสิทธินี้โดยทั่วไปมักถูกจำกัด เช่นเดียวกับการหมิ่นประมาท การดูหมิ่นซึ่งหน้า ความลามก และการยุยงให้ก่ออาชญากรรม สิทธิในเสรีภาพการพูดได้รับการยอมรับเป็นสิทธิมนุษยชนภายใต้ข้อ 19 แห่งปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน และได้รับการยอมรับในกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศในกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ข้อ 19 แห่งกติกาฯ บัญญัติว่า "ทุกคนจักมีสิทธิออกความเห็นโดยไม่ถูกแทรกแซง" และ "ทุกคนจักมีสิทธิในเสรีภาพการพูด สิทธินี้จักรวมไปถึงเสรีภาพในการแสวงหา ได้รับและส่งต่อข้อสนเทศและความคิดในทุกรูปแบบ โดยไม่คำนึงถึงขอบเขต ไม่ว่าจะโดยการพูด การเขียนหรือการพิมพ์ ในรูปของศิลปะ หรือผ่านสื่ออื่นใดที่เป็นทางเลือกของเขา" หากข้อ 19 ยังบัญญัติต่อไปว่าการใช้สิทธิเหล่านี้มี "หน้าที่และความรับผิดชอบพิเศษ" และอาจ "ดังนั้น ต้องถูกจำกัดบ้าง" เมื่อจำเป็น "เพื่อความเคารพถึงสิทธิหรือชื่อเสียงของคนอื่น" หรือ "เพื่อคุ้มครองความมั่นคงของชาติหรือความสงบเรียบร้อย หรือการสาธารณสุข หรือศีลธรรม" สิทธิในเสรีภาพในการแสดงออกถูกตีความรวมถึงสิทธิในการถ่ายรูปและเผยแพร่ภาพถ่ายบุคคลแปลกหน้าในพื้นที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาตหรือการรับรู้จากพวกเขา อย่างไรก็ตามในคดีตามกฎหมายในประเทศเนเธอร์แลนด์สิทธิเสรีภาพในการแสดงออกไม่รวมถึงสิทธิในการใช้รูปถ่ายในลักษณะเหยียดสีผิวเพื่อปลุกระดมความเกลียดชังทางเชื้อชาติหรือการเลือกปฏิบัติชาติพัน.

ใหม่!!: การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554และเสรีภาพในการพูด · ดูเพิ่มเติม »

เดอะนิวยอร์กไทมส์

อะนิวยอร์กไทมส์ (The New York Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันที่ตีพิมพ์ในนครนิวยอร์กและจัดจำหน่ายไปทั่วโลก จัดการโดยบริษัทเดอะนิวยอร์กไทมส์ซึ่งตีพิมพ์หนังสือพิมพ์อื่นๆอีก 15 ฉบับ รวมถึง International Herald Tribune และ The Boston Globe ด้วย เดอะนิวยอร์กไทมส์เป็นหนังสือพิมพ์มหานครที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มีฉายาว่า "Gray Lady" (สุภาพสตรีสีเทา) ก็เพราะหน้าตาและสำนวนที่ขรึมขลัง ถูกเรียกว่าเป็นหนังสือพิมพ์ที่บันทึกแห่งการณ์ต่างๆของชาติ เพราะมันมักถูกใช้เป็นแหล่งอ้างอิงที่เป็นทางการและได้รับความเชื่อถือ ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554และเดอะนิวยอร์กไทมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

การประท้วงในอียิปต์ พ.ศ. 2554

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »