โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถาน

ดัชนี การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถาน

การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง เป็นหลักการถอดตัวอักษรไทยเป็นอักษรโรมันอย่างเป็นทางการโดยราชบัณฑิตยสถาน ใช้ในสำหรับหนังสือและสิ่งพิมพ์ของรัฐบาล และป้ายชื่อถนนต่าง ๆ ในประเทศไทย รูปแบบใหม่ประกาศใช้เมื่อ 11 มกราคม พ.ศ. 2542 ระบบการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันของราชบัณฑิตยสถานเป็นระบบที่นิยมใช้ในการเขียนคำทับศัพท์ระบบหนึ่งในภาษาไท.

9 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2542การทับศัพท์วรรณยุกต์สำนักงานราชบัณฑิตยสภาอักษรละตินธองทิงลิชISO 1194011 มกราคม

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถานและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์

ตัวอย่างหนึ่งของการเปรียบเทียบอักษรเพื่อการทับศัพท์ จากอักษรซีริลลิกไปเป็นอักษรละติน การทับศัพท์ หรือ การปริวรรต คือ การถอดอักษร หรือแปลงข้อความจากระบบการเขียนหรือภาษาหนึ่งไปสู่อีกระบบหนึ่งอย่างมีหลักการ เพื่อให้สามารถเขียนคำในภาษาต่างประเทศด้วยภาษาและอักษรในภาษานั้น ๆ ได้สะดวก เช่น การทับศัพท์ภาษาอังกฤษซึ่งเขียนด้วยอักษรโรมัน มาเป็นอักษรไทยเพื่อใช้ในภาษาไทย หรือการทับศัพท์ภาษาไทย ไปเป็นอักษรโรมันเพื่อใช้ในภาษาอังกฤษ เป็นต้น ส่วนมากใช้กับวิสามานยนาม อาทิ ชื่อบุคคล สถานที่ หรือชื่อเฉพาะที่ไม่สามารถแปลความหมายเป็นภาษาอื่นได้โดยสะดวก.

ใหม่!!: การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถานและการทับศัพท์ · ดูเพิ่มเติม »

วรรณยุกต์

วรรณยุกต์ (tone) หรือ วรรณยุต หมายถึง ระดับเสียง หรือเครื่องหมายแทนระดับเสียง ที่กำกับพยางค์ของคำในภาษา เสียงวรรณยุกต์หนึ่งอาจมีระดับเสียงต่ำ เสียงสูง เพียงอย่างเดียว หรือเป็นการทอดเสียงจากระดับเสียงหนึ่ง ไปยังอีกระดับเสียงหนึ่ง ก็ได้ ภาษาในโลกนี้มีทั้งที่ใช้วรรณยุกต์ และไม่ใช้วรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์หนึ่งๆ อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีการประสมคำหรือเปลี่ยนตำแหน่งการเน้นเสียง.

ใหม่!!: การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถานและวรรณยุกต์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ใหม่!!: การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรละติน

อักษรละติน หรือ อักษรโรมัน เป็นระบบตัวเขียนแบบตัวอักษร สันนิษฐานว่าอักษรละตินมีที่มาจากอักษรคิวมี (Cumae alphabet) ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรกรีกอีกทอดหนึ่ง ที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก โดยเฉพาะประเทศในยุโรปและอเมริกา และประเทศในเอเชียที่นำอักษรละตินมาใช้ในภายหลังเช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเวียดนาม ประเทศมาเลเซีย ประเทศเติร์กเมนิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอาเซอร์ไบจาน ประเทศตุรกี และประเทศฟิลิปปินส์ รวมถึงการเขียนภาษาด้วยอักษรโรมัน (romanization) ในภาษาต่างๆ เช่น พินอิน (ภาษาจีน) หรือ โรมะจิ (ภาษาญี่ปุ่น).

ใหม่!!: การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถานและอักษรละติน · ดูเพิ่มเติม »

ธอง

องในลักษณะของชุดชั้นใน — ธองแบบทั่วไปในด้านซ้าย และธองแบบจี-สตริง ในด้านขวา ธอง หรือ ทอง หรือ ตอง (thong) เป็นลักษณะของกางเกงสำหรับชุดชั้นใน หรือชุดว่ายน้ำ มีลักษณะแถบที่บางในด้านหลัง เมื่อใส่แล้วจะมีการเผยแก้มก้นออกมา ธองนั้นมีหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับความหนา วัสดุ และชนิด โดยมีการสวมใส่ทั้งผู้ชายและผู้หญิง ในประเทศบราซิลกางเกงลักษณะนี้เรียกว่า ตังกา (tanga) ธองมีหลายประเภทไม่ว่า จี-สตริง วี-สตริง ที-สตริง.

ใหม่!!: การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถานและธอง · ดูเพิ่มเติม »

ทิงลิช

การใช้ภาษาอังกฤษแบบทิงลิชบนป้ายประกาศของทางการ ทิงลิช ในภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน (Tinglish, Thenglish หรือ Thainglish) หรือ ไทยกลิช ในภาษาอังกฤษแบบบริติช (Thaiglish) หรือเรียก ไทยลิช (Thailish) ก็มี เป็นชื่อรูปแบบภาษาอังกฤษซึ่งใช้ในหมู่คนไทย มีลักษณะไม่สมบูรณ์เพราะเอารูปแบบภาษาแม่ของตนมาปนกับภาษาอังกฤษ ความไม่สมบูรณ์เช่นนั้นเป็นต้นว่าเรื่องการออกเสียง เรียงคำ ไวยากรณ์ และประดิดประดอยคำใหม่ให้.

ใหม่!!: การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถานและทิงลิช · ดูเพิ่มเติม »

ISO 11940

ISO 11940 เป็นมาตรฐานสากลสำหรับการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันซึ่งเผยแพร่ในปี พ.ศ. 2541 และปรับปรุงในปี พ.ศ. 2546 การถอดอักษรแบบนี้จะถอดตามรูปที่ปรากฏตามลำดับ ไม่เป็นไปตามอักขรวิธี เช่นคำว่า "เชียงใหม่" ระบบนี้จะถอดได้เป็น echīyngıh̄m̀ ซึ่งไม่สามารถอ่านได้ แม้ทำ Unicode Normalisation แล้วก็จะกลายเป็น "ชเ–ียงหใม่" ถอดได้เป็น cheīyngh̄ım̀ ซึ่งพอจะอ่านได้แต่ก็ยังไม่สมบูรณ์ นอกจากนั้นระบบนี้จำเป็นต้องใช้อักขระที่ไม่ได้อยู่บนแอสกี ระบบนี้จึงไม่เป็นที่นิยมใช้.

ใหม่!!: การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถานและISO 11940 · ดูเพิ่มเติม »

11 มกราคม

วันที่ 11 มกราคม เป็นวันที่ 11 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 354 วันในปีนั้น (355 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถานและ11 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

การถอดอักษรไทยเป็นอักษรลาตินแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถานการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงการเขียนอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »