โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กัว ฟู่เฉิง

ดัชนี กัว ฟู่เฉิง

กัว ฟู่เฉิง (จีน: 郭富城, พินอิน: Guō Fùchéng) หรือชื่อภาษาอังกฤษว่า แอรอน กัว (Aaron Kwok) เกิดวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1965 ที่เมืองตงก่วน มณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีน โดยเป็นลูกชายคนสุดท้องของครอบครัว มีพี่ชาย 2 คนและพี่สาว 1 คน กัว ฟู่เฉิง เป็นนักร้อง นักแสดงของฮ่องกงที่มีชื่อเสียงโด่งดังขึ้นมาในช่วงทศวรรษที่ 90 จนได้รับการขนานนามว่าเป็น สี่จตุรเทพแห่งฮ่องกง ร่วมกับ หลิว เต๋อหัว, หลี่หมิง และจาง เซี๊ยะโหย่ว กัว ฟู่เฉิง เข้าสู่วงการบันเทิงในปี ค.ศ. 1984 จากการเป็นนักเต้นหรือแดนเซอร์ในสังกัดทีวีบี และหันไปร้องเพลงและแสดงละครที่ไต้หวันจนมีชื่อเสียง จึงกลับมาฮ่องกงอีกครั้ง สังกัดวอร์เนอร์ มิวสิก และมีผลงานโฆษณาอยู่บ่อย ๆ โดยเฉพาะกับเป๊ปซี่ (ซึ่งเคยร่วมแสดงกับ ศรีริต้า เจนเซ่น) ผลงานด้านภาพยนตร์มีบทบาทที่เป็นที่จดจำ คือ การรับบทเป็น ปู้จิ้งอวิ๋น หัวหน้าหอเมฆา ผู้ไม่เคยหลั่งน้ำตา ในภาพยนตร์กำลังภายในที่ประสบความสำเร็จอย่างยิ่ง เรื่อง The Storm Riders ในปี ค.ศ. 1998 และ The Storm Warriors ในปี ค.ศ. 2009 คู่กับ เจิ้ง อี้เจี้ยน ซึ่งทั้งคู่ก็ได้ร้องเพลงประกอบเรื่องด้วย ด้านผลงานเพลงส่วนใหญ่เป็นสไตล์แดนซ์ป็อป และยังเคยทำแนวเพลงมาหลากหลาย ไม่ว่าจะร็อกแอนด์โรล, บัลลาด, อาร์แอนด์บี, โซล, อีเลกโทรนิก และเพลงจีน.

40 ความสัมพันธ์: ชอลิ้วเฮียงบัลลาดฟงอวิ๋น ขี่พายุทะลุฟ้า (ภาพยนตร์)ฟงอวิ๋น ขี่พายุทะลุฟ้า 2 (ภาพยนตร์)พ.ศ. 2508พ.ศ. 2527พ.ศ. 2541พ.ศ. 2552พินอินกลุ่มภาษาจีนการโฆษณาภาพยนตร์จีนภาพยนตร์จีนกำลังภายในภาษาอังกฤษมณฑลกวางตุ้งยึดเมืองแหวกมิติริทึมแอนด์บลูส์ร็อกแอนด์โรลวอร์เนอร์มิวสิกกรุ๊ปศรีริต้า เจนเซ่นหลิว เต๋อหัวหลี หมิงอินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบสฮ่องกงจาง เสฺวโหย่วดนตรีอิเล็กทรอนิกส์คริสต์ทศวรรษ 1990ตายกี่ชาติก็ขาดเธอไม่ได้ประเทศไต้หวันแดนซ์ป็อปโซล (แนวดนตรี)ไซอิ๋ว 2 ตอน ศึกราชาวานรพิชิตมารไซอิ๋ว 3 ตอน ศึกราชาวานรตะลุยเมืองแม่ม่ายไซอิ๋ว 3D ตอน กำเนิดราชาวานรเห้งเจียเจิ้ง อี้เจี้ยนเป๊ปซี่2 คมล่าถล่มเมือง2 คมล่าถล่มเมือง 226 ตุลาคม

ชอลิ้วเฮียง

นิยาย ชอลิ้วเฮียง (Chu Liu Xiang Xi Lie) เป็นนิยายที่โด่งดังมากชุดหนึ่งของโกวเล้ง เขียนขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและชอลิ้วเฮียง · ดูเพิ่มเติม »

บัลลาด

ัลลาด (ballad แบลเลิด) หรือศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถานสาขาวิชาวรรณกรรมคือ ลำนำนิทาน เป็นรูปแบบหนึ่งของคำประพันธ์ โดยมากมีความหมายถึงทางด้านดนตรี เรื่องเล่า บัลลาดมีความหมายเจาะจงของบทกวีอังกฤษและไอร์แลนด์และเพลงที่อยู่ในช่วงถัดจากยุคกลางจนถึงศตวรรษที่ 19 และใช้อย่างแพร่หลายในยุโรปและต่อมาในอเมริกาเหนือ ออสเตรเลียและแอฟริกา มักเขียนและขายในแผ่นกระดาษหน้าเดียว รูปแบบนี้มักใช้กับกวีและนักประพันธ์ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมาเพื่อเขียนลำนำโคลงสั้น ๆ ต่อมาในศตวรรษที่ 19 ใช้ในความหมายของเพลงป็อป ความรักช้า ๆ และความหมายนี้มักใช้ในความหมายแบบเดียวกันกับเพลงรัก.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและบัลลาด · ดูเพิ่มเติม »

ฟงอวิ๋น ขี่พายุทะลุฟ้า (ภาพยนตร์)

ฟงอวิ๋น ขี่พายุทะลุฟ้า ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์จีนกำลังภายในเรื่อง The Storm Riders, 風雲之雄霸天下 (ฟงอวิ๋น สงป้าเทียนเจี้ย: ฟงอวิ๋น ที่หนึ่งในใต้หล้า) นำแสดงโดย กัว ฟู่เฉิง, เจิ้ง อี้เจี้ยน, ซอนนี่ ชิบะ, หยาง กงหยู, ซูฉี ร่วมด้วย หวง ชิวเซิน (นักแสดงรับเชิญ) กำกับการแสดงโดย แอนดริว เล.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและฟงอวิ๋น ขี่พายุทะลุฟ้า (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ฟงอวิ๋น ขี่พายุทะลุฟ้า 2 (ภาพยนตร์)

ฟงอวิ๋น ขี่พายุทะลุฟ้า 2 (อังกฤษ: The Storm Warriors, จีนตัวย่อ: 风云II, จีนตัวเต็ม: 風雲II) ภาพยนตร์กำลังภายในภาคต่อของ ฟงอวิ๋น ขี่พายุทะลุฟ้า (The Storm Riders) ในปี พ.ศ. 2541 กำกับโดย พี่น้องแปง ฉายในฮ่องกง 17 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และในประเทศไทย 24 ธันวาคม ปีเดียวกัน.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและฟงอวิ๋น ขี่พายุทะลุฟ้า 2 (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและพ.ศ. 2527 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พินอิน

นอิน หรือ ฮั่นยฺหวี่พินอิน (แปลว่า สะกดเสียงภาษาจีน) คือระบบในการถอดเสียงภาษาจีนมาตรฐาน ด้วยตัวอักษรละติน ความหมายของพินอินคือ "การรวมเสียงเข้าด้วยกัน" (โดยนัยก็คือ การเขียนแบบสัทศาสตร์ การสะกด การถอดเสียง หรือการทับศัพท์) พินอินเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2501 และเริ่มใช้กันในปี พ.ศ. 2522 โดย รัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยใช้แทนที่ระบบการถอดเสียงแบบเก่า เช่น ระบบเวดและไจลส์ และระบบจู้อิน นอกจากนี้ ยังมีการออกแบบระบบอื่น ๆ สำหรับนำไปใช้กับภาษาพูดของจีนในถิ่นต่าง ๆ และภาษาของชนกลุ่มน้อยที่ไม่ใช้ภาษาฮั่น ในสาธารณรัฐประชาชนจีนด้วย นับแต่นั้นมา พินอินก็เป็นที่ยอมรับจากสถาบันนานาชาติหลายแห่ง รวมทั้งรัฐบาลสิงคโปร์ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน และสมาคมหอสมุดอเมริกัน โดยถือว่าเป็นระบบการถอดเสียงที่เหมาะสมสำหรับภาษาจีนกลาง ครั้นปี พ.ศ. 2522 องค์การมาตรฐานนานาชาติ (ISO) ก็ได้รับเอาพินอินเป็นระบบมาตรฐาน (ISO 7098) ในการถ่ายทอดเสียงภาษาจีนปัจจุบันด้วยอักษรโรมัน (the standard romanization for modern Chinese) สิ่งสำคัญที่ต้องระลึกไว้ก็คือ พินอินนั้น เป็นการทับศัพท์ด้วยอักษรโรมัน (Romanization) มิใช่การถอดเสียงแบบภาษาอังกฤษ (Anglicization) นั่นคือ การกำหนดให้ใช้ตัวอักษรตัวหนึ่ง สำหรับแทนเสียงหนึ่ง ๆ ในภาษาจีนไว้อย่างตายตัว เช่น b และ d ในระบบพินอิน เป็นเสียง "ป" และ "ต" ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างจากระบบการออกเสียงส่วนใหญ่ ไม่ว่าอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือภาษาอื่นในยุโรป ขณะที่อักษร j หรือ q นั้นมีเสียงไม่ตรงกับในภาษาอังกฤษเลย กล่าวสั้น ๆ ก็คือ พินอินมุ่งที่จะใช้อักษรโรมัน เพื่อแทนเสียงใดเสียงหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อความสะดวกในการเขียน มิได้ยืมเสียงจากระบบของอักษรโรมันมาใช้ การใช้ระบบนี้นอกจากทำให้ชาวต่างชาติเขียนอ่านภาษาจีนได้สะดวกแล้ว ยังสามารถใช้กับคอมพิวเตอร์ได้สะดวกอย่างยิ่งด้วย ต่อไปนี้เป็นการถอดเสียงภาษาจีน (ที่เขียนด้วยอักษรโรมันในระบบพินอิน) ด้วยอักษรไทย โปรดสังเกตว่า บางหน่วยเสียงในภาษาจีนไม่มีหน่วยเสียงที่ตรงกันในภาษาไทย จึงต้องอนุโลมใช้อักษรที่ใกล้เคียง ในที่นี้จึงมีอักษรไทยบางตัว ที่ต้องใช้แทนหน่วยเสียงในภาษาจีนมากกว่าหนึ่งหน่วยเสียง ทั้งนี้เพื่อเป็น "เกณฑ์อย่างคร่าว ๆ" สำหรับการเขียนคำทับศัพท์ภาษาจีน.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและพินอิน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาจีน

ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและกลุ่มภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

การโฆษณา

การโฆษณา (advertising) เป็นการประกาศสินค้าหรือบริการให้ประชาชนโดยทั่วไปทราบ เป็นเครื่องมือสื่อสารทางเพื่อบอกกล่าวให้ผู้บริโภครู้สึกถึงคุณค่าและความแตกต่าง รู้จักและก่อให้เกิดพฤติกรรมการซื้อสินค้าหรือใช้บริการนั้น ในอดีตการเริ่มต้นของการโฆษณาจะเป็นลักษณะของการร้องป่าวประกาศเชิญชวน ปัจจุบันทำโดยเผยแพร่งานโฆษณา ผ่านสื่อต่าง ๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ สื่อวิทยุ เป็นต้น โดยเจ้าของกิจการจะว่าจ้างบริษัทรับทำโฆษณา เพื่อทำการโฆษณาสินค้าและบริการในสื่อต่าง ๆ เช่น ป้ายโฆษณากลางแจ้งตามถนนสายหลัก ซึ่งเป็นสื่อที่ช่วยประหยัดงบประมาณได้และสามารถตอกย้ำตราสินค้าได้อีกทางใดทางหนึ่ง.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและการโฆษณา · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์จีน

The House of 72 Tennents (1973) ภาพยนตร์จีน คือภาพยนตร์ที่พูดภาษาจีน แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ ภาพยนตร์ฮ่องกง ภาพยนตร์ไต้หวัน และ ภาพยนตร์จีนแผ่นดินใหญ่ สำหรับในประเทศไทยภาพยนตร์จีนมักหมายถึงภาพยนตร์ฮ่องกง ภาษาจีนในภาพยนตร์จีน ส่วนใหญ่เป็น ภาษาจีนแมนดารินและภาษาจีนกวางตุ้ง สิ่งที่ทำให้หนังทั้งสองภาษาแตกต่างกันมากที่สุด ก็คือจุดประสงค์ในการสร้าง ขณะที่หนังแมนดารินนั้น มีเป้าหมายส่วนหนึ่งในการทำเพื่อฉายวงกว้าง ทั้งตลาดทั่วทั้งเอเซีย และอาจจะไปไกลได้มากกว่านั้นอีก เพราะศักยภาพของภาษาแมนดาริน ที่เป็นภาษาที่ใช้แพร่หลายในทั่วโลก ตรงกันข้ามหนังกวางตุ้งนั้นมีคนดูที่จำกัดเฉพาะอยู่ในกลุ่มผู้พูดภาษากวางตุ้ง หรือ อาจจะพูดได้ว่าเป็นหนัง ของคนฮ่องกงที่ทำเองดูเอง ก็ว่าได้ เมื่อจุดประสงค์ในการสร้างต่างกัน เงินทุน และความทะเยอทยาน ในหนังทั้งสองแบบก็ต่างกันตามไปด้ว.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและภาพยนตร์จีน · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์จีนกำลังภายใน

กภาพยนตร์เรื่อง "พยัคฆ์ระห่ำ มังกรผยองโลก" ภาพยนตร์จีนกำลังภายใน เกิดขึ้นในช่วงทศวรรษที่ 60 เช่น หงส์ทองคะนองศึก, The Magnificent Trio, One-Armed Swordsman ฯลฯ ผลิตในฮ่องกงและไต้หวัน ภาพยนตร์จีนกำลังภายในมักแฝงปรัชญาตะวันออกเอาไว้ บางเรื่องแฝงการหลุดพ้นจากลาภยศ กิเลส ตัณหา ราคะทั้งปวง หรือเน้นการเสียสละตนเองเพื่อผดุงคุณธรรมตามความเชื่อแห่งตน ในช่วงทศวรรษที่ 60 - 70 ฉากต่อสู้ของหนังกำลังภายในเป็นความตื่นตาตื่นใจสูงสุดของโลกภาพยนตร์ตะวันออก การหกขเมนตีลังกา ลีลาประดาบที่รวดเร็ว กลายเป็นความบังเทิงที่ได้รับความนิยม ภาพยนตร์ประเภทนี้ถูกพัฒนาขึ้นโดยผู้กำกับคิวบู๊คนสำคัญของชอว์บราเดอร์ที่ชื่อว่าหลิวเจียเหลียง ในปี 2000 ภาพยนตร์เรื่องพยัคฆ์ระห่ำ มังกรผยองโลก กำกับโดยอั้งลี่ นับเป็นภาพยนตร์จีนกำลังภายในที่ออกฉายทั่วโลก และยังได้รับรางวัลออสการ์อีกด้ว.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและภาพยนตร์จีนกำลังภายใน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลกวางตุ้ง

มณฑลกวางตุ้ง หรือ กว่างตง แบ่งการปกครองออกเป็น 21 เมืองใหญ่ 30 เมืองระดับอำเภอ 42 อำเภอและ 3 เขตปกครองตนเอง ตั้งอยู่ตอนใต้สุดของประเทศ ทางใต้ติดกับทะเลจีนใต้ ใกล้กับเกาะฮ่องกงและมาเก๊า เป็นประตูสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ มณฑลนี้นี่เองที่ประชากรส่วนมากได้อพยพไปตั้งถิ่นฐานในต่างประเทศ 100 กว่าปีที่แล้ว.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและมณฑลกวางตุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ยึดเมืองแหวกมิติ

ึดเมืองแหวกมิติ เป็นภาพยนตร์ฮ่องกงที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและยึดเมืองแหวกมิติ · ดูเพิ่มเติม »

ริทึมแอนด์บลูส์

ริทึมแอนด์บลูส์ (rhythm and blues หรือรู้จักกันในชื่อ R&B หรือ RnB) เป็นแนวเพลงที่ได้รับความนิยม โดยผสมผสานระหว่างเพลงแนว แจ๊ส กอสเปล และบลูส์ โดยเริ่มแรกจะเล่นโดยศิลปินแอฟริกัน-อเมริกัน.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและริทึมแอนด์บลูส์ · ดูเพิ่มเติม »

ร็อกแอนด์โรล

อลวิส เพรสลีย์ นักร้องร็อกแอนด์โรลที่มีอิทธิพลที่สุดคนนึงในยุคนั้น ร็อกแอนด์โรล (Rock and roll หรือ rock 'n' roll) คือแนวเพลงประเภทหนึ่งที่ได้พัฒนาในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ช่วงปลายยุค 40s จนมาได้รับความนิยมในต้นยุค 50s และได้แพร่ขยายความนิยมไปทั่วโลก ซึ่งในปัจจุบันเราจะเรียกกันสั้นๆว่า "ร็อก" ส่วนเรื่องจังหวะจะเป็นจังหวะ บูกี้ วูกี้ บลูส์ โดยจะทำให้เด๋นโดยจังหวะแบ็ค บีท (Back Beat) ซึ่งต่อมาจะใช้กลองสแนร์ ดนตรีร็อกแอนด์โรลช่วงแรกจะเล่นโดยกีตาร์ไฟฟ้า หนึ่งหรือสองตัว (1 ลีด,1 ริทึม),กีตาร์เบส (หรือดับเบิ้ลเบส),ชุดกลอง ส่วนคีย์บอร์ดจะเป็นส่วนเสริม ร็อกแอนด์โรลในช่วงต้นยุค 50s มักจะใช้แซกโซโฟนนำดนตรี ต่อมาจึงเปลี่ยนมาเป็นกีตาร์ช่วงกลางยุค 50s เปียโนก็ถูกใช้เป็นส่วนสำคัญในดนตรีร็อกแอนด์โรลช่วงกลางยุค 40s ความได้รับความนิยมในดนตรีร็อกแอนด์โรลเป็นอย่างมากได้แพร่กระจายสู่สังคม นอกจากทางด้านดนตรีแล้ว ยังมีผลต่อแฟชั่น ไลฟ์สไตล์ ภาษา ศิลปินที่มีชื่อเสียงอย่างมากคือ เอลวิส เพรสลีย์ ที่สร้างภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์ในรูปแบบของร็อกแอนด์โรล ในปี..

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและร็อกแอนด์โรล · ดูเพิ่มเติม »

วอร์เนอร์มิวสิกกรุ๊ป

วอร์เนอร์มิวสิกกรุ๊ป (Warner Music Group) หรือ ดับเบิลยูเอ็มจี (WMG) เป็นกลุ่มธุรกิจและกลุ่มค่ายเพลงที่ใหญ่ที่สุดในอุตสาหกรรมการบันทึกเสียง เป็นหนึ่งในสี่ค่ายเพลงยักษ์ใหญ่ หรือที่เรียกกันว่า บิ๊กโฟร์ (Big Four) ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1929 ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นชื่อ วอร์เนอร์มิวสิกกรุ๊ป (WMG) ใน ค.ศ. 2003.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและวอร์เนอร์มิวสิกกรุ๊ป · ดูเพิ่มเติม »

ศรีริต้า เจนเซ่น

รีริต้า เจนเซ่น (27 ตุลาคม พ.ศ. 2524) ชื่อเล่น ริต้า เป็นศิลปินนักแสดงชาวไทยสังกัดสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและศรีริต้า เจนเซ่น · ดูเพิ่มเติม »

หลิว เต๋อหัว

ูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ หลิว เต๋อหัว (Lau4 Dak1-waa4 เหล่า ตั๊กหว่า) หรือ แอนดี้ เล่า (Andy Lau) เกิดวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) เป็นนักแสดง นักร้องชาวฮ่องกง.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและหลิว เต๋อหัว · ดูเพิ่มเติม »

หลี หมิง

หลี หมิง (黎明; Leon Lai) นักร้องและนักแสดงชาวฮ่องกง เขาเกิดที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน เขาได้เดินทางมาฮ่องกงแล้วเริ่มเข้าสู่วงการบันเทิง มีผลงานภาพยนตร์ที่คนไทยรู้จักกันเป็นอย่างดี ได้แก่ เถียน มี มี่ 3650 วันรักเธอคนเดียว นอกจากนี้ หลีหมิงยังเคยร่วมแสดงกับ เฉินหลง ในภาพยนตร์เรื่อง ซิตี้ฮันเตอร์, ร่วมแสดงกับทาเคชิ คาเนชิโร่ ใน นักฆ่าตาชั้นเดียว, ร่วมแสดงกับซูฉี ใน คนบินตอร์ปิโด, ร่วมแสดงกับเจิ้ง อี้เจี้ยน ใน อึดคู่อันตราย และเคยร่วมแสดงกับหลิวเต๋อหัวกับเหลียงเฉาเหว่ย ในภาพยนตร์เรื่อง 2 คน 2 คม ภาค 3 (ปิดตำนานสองคนสองคม) หลี หมิงจบการศึกษาจาก Kingway Princeton ประเทศอังกฤษ นอกจากนี้ หลีหมิงยังเคยถ่ายมิวสิควิดีโอคู่กับ จวน จีฮุน (นักแสดงชาวเกาหลีจากภาพยนตร์เรื่อง ยัยตัวร้ายกับนายเจี๋ยมเจี้ยม) ในเพลงที่ชื่อว่า "If I Can See You Again" ในช่วงปี..1999 มาแล้วด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและหลี หมิง · ดูเพิ่มเติม »

อินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบส

อินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบส (The Internet Movie Database หรือ IMDb) เป็นฐานข้อมูลออนไลน์รวบรวมเกี่ยวกับเรื่องราวของ นักแสดง ผู้กำกับ และบุคคลที่เกี่ยวข้องในวงการภาพยนตร์ IMDb เปิดให้บริการตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและอินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบส · ดูเพิ่มเติม »

ฮ่องกง

องกง (Hong Kong; 香港) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

จาง เสฺวโหย่ว

ง เสฺวโหย่ว (Zoeng1 Hok6-jau5 เจิ๊ง หอกเหยา) มีชื่อภาษาอังกฤษว่า แจ็กกี เจิง (Jacky Cheung) เกิดเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1961 ที่เมืองเทียนจิน ใกล้กับกรุงปักกิ่ง โดยเป็นลูกคนกลาง มีพี่ชายและน้องสาวอย่างละ 1 คน หลังจากเรียนจบชั้นมัธยมปลาย ได้เข้าทำงานที่กรมพัฒนาการค้าของฮ่องกงและสายการบินคาเธ่ย์ แปซิฟิค จาง เสฺวโหย่ว มีชื่อเสียงขึ้นมาจากประกวดร้องเพลงในปี ค.ศ. 1984 เมื่อเป็นผู้ชนะเลิศจากผู้เข้าประกวดกว่า 10,000 คน ของทั้ง 18 เขตของฮ่องกง หลังจากนั้นจึงได้เซ็นสัญญากับบริษัทโพลีแกรม อัลบั้มชุดแรกสร้างยอดขายได้ถึง 200,000 แผ่น พร้อมกับได้ออกอีกหลายอัลบั้มมาจนถึงปัจจุบัน มีผลงานเพลงมากมาย จนมีคำกล่าวว่า มีคนจีนที่ไหนก็มีเพลงของจาง เสฺวโหย่ว ที่นั่น และได้รับฉายาว่า "เทพเจ้าแห่งเพลง" (God of Songs, 歌神) ในยุคทศวรรษที่ 90 จาง เสฺวโหย่ว ได้รับการกล่าวขานให้เป็น สี่จตุรเทพแห่งฮ่องกง ร่วมกับ หลิว เต๋อหัว, กัว ฟู่เฉิง และหลี่หมิง โดยเจ้าตัวได้เผยว่ารู้สึกกดดันมากเมื่อได้รับการยกย่องเช่นนี้ ด้านผลงานการแสดง ได้แก่ The Swordsman ในปี ค.ศ. 1990 จากการกำกับของ ฉีเคอะ, Bullet in the Head ในปีเดียวกัน จากการกำกับของ จอห์น วู, As Tears Go By ในปี ค.ศ. 1989 และรับบท อั้งฉิกกง ใน Ashes of Time ในปี ค.ศ. 1994 จากการกำกับของ หว่อง คาไว เป็นต้น ผลงานในระยะหลังได้แก่ การรับบทเชิญเพียงปรากฏตัวสั้น ๆ ในตอนเปิดเรื่อง Bodyguards and Assassins ในปี ค.ศ. 2009 และ Crossing Hennessy ในปี ค.ศ. 2010 ชีวิตส่วนตัว ชอบเล่นบาสเก็ตบอลและว่ายน้ำ ด้านครอบครัวสมรสกับหลอ เหม่ยเวย ในปี ค.ศ. 1996 มีลูกสาว 2 คน ปัจจุบันอาศัยอยู่ที่ฮ่องกง ในปี ค.ศ. 2007 มีข่าวปรากฏในหนังสือพิมพ์ว่า จาง เสฺวโหย่ว ได้ไล่สาวใช้ชาวฟิลิปปินส์ออกเป็นจำนวนถึง 21 คน ภายในรอบ 3 ปี จนถูกติดชื่อขึ้นบัญชีดำของบริษัทจัดหาแรงงาน แต่เรื่องนี้เจ้าตัวและภรรยาออกมาปฏ.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและจาง เสฺวโหย่ว · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์

นตรีอิเล็กทรอนิกส์ (electronic music) เป็นดนตรีที่ใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ในการผลิตขึ้นมา โดยทั่วไปแล้วความโดดเด่นของดนตรีสามารถเกิดขึ้นโดยใช้เครื่องดนตรีไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีเครื่องไฟฟ้า"The stuff of electronic music is electrically produced or modified sounds.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1990

คริสต์ทศวรรษ 1990 (1990s) เป็นทศวรรษที่เริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1990 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 1999 เป็นทศวรรษสุดท้ายของศตวรรษที่ 20 เป็นทศวรรษแรกที่ตามมาด้วยผลกระทบของการสิ้นสุดสงครามเย็น คริสต์ทศวรรษ 1990.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและคริสต์ทศวรรษ 1990 · ดูเพิ่มเติม »

ตายกี่ชาติก็ขาดเธอไม่ได้

ตายกี่ชาติก็ขาดเธอไม่ได้ (อังกฤษ: Saviour Of The Saul) เป็นภาพยนตร์ฮ่องกงแอกชั่นจากปี ค.ศ. 1992 กำกับโดย หยวน ขุย และ เจฟฟรีย์ เลา นำแสดงโดย หลิว เต๋อหัว, เหมย ยั่นฟาง ภาพยนตร์เรื่องนี้มีภาคต่อคือ ตายกี่ชาติก็ขาดเธอไม่ได้ 2.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและตายกี่ชาติก็ขาดเธอไม่ได้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไต้หวัน

ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและประเทศไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

แดนซ์ป็อป

แดนซ์ป็อป (Dance-pop) เป็นแนวเพลงประเภทอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์และแนวเพลงย่อยของป็อป เกิดขึ้นหลังยุคดิสโก้ ราวปี..

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและแดนซ์ป็อป · ดูเพิ่มเติม »

โซล (แนวดนตรี)

ซล เป็นแนวเพลงประเภทหนึ่งที่รวมกันระหว่างอาร์แอนด์บีและกอสเปล กำเนิดในประเทศสหรัฐอเมริกา จากร็อกแอนด์โรลฮอลล์ออฟเฟม โซลมีความหมายว่า "ดนตรีที่เกิดขึ้นโดยคนผิวสี ในอเมริกา ที่เปลี่ยนรูปจากกอสเปลและอาร์แอนด์บี ในจังหวะที่สนุกสนาน โดยไม่มีเนื้อหาเกี่ยวกับทางศาสนา" การแสดงจะผ่านทางอารมณ์ และเมโลดี้มีการตกแต่งในลักษณะคีตปฏิภาณ นอกจากนี้ยังใช้ซาวด์แบบวนและเป็นเครื่องเสริม จังหวะที่ติดหู อาจมีการตบมือประกอบ การเคลื่อนไหวแบบพลาสติก องค์ประกอบอีกอย่างของโซลที่เรียกว่า call and response ที่เป็นการร้องโต้ตอบกันระหว่าง นักร้อง กับคอรัส โดยเฉพาะเสียงที่ตึง.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและโซล (แนวดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

ไซอิ๋ว 2 ตอน ศึกราชาวานรพิชิตมาร

ซอิ๋ว 2 ตอน ศึกราชาวานรพิชิตมาร (The Monkey King 2) เป็นภาพยนตร์จีนที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและไซอิ๋ว 2 ตอน ศึกราชาวานรพิชิตมาร · ดูเพิ่มเติม »

ไซอิ๋ว 3 ตอน ศึกราชาวานรตะลุยเมืองแม่ม่าย

ซอิ๋ว 3 ตอน ศึกราชาวานรตะลุยเมืองแม่ม่าย (The Monkey King 3) เป็นภาพยนตร์จีนที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและไซอิ๋ว 3 ตอน ศึกราชาวานรตะลุยเมืองแม่ม่าย · ดูเพิ่มเติม »

ไซอิ๋ว 3D ตอน กำเนิดราชาวานร

ซอิ๋ว 3D ตอน กำเนิดราชาวานร หรือ ไซอิ๋ว ตอนกำเนิดราชาวานร (อังกฤษ: The Monkey King) เป็นภาพยนตร์จีนที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและไซอิ๋ว 3D ตอน กำเนิดราชาวานร · ดูเพิ่มเติม »

เห้งเจีย

alt.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและเห้งเจีย · ดูเพิ่มเติม »

เจิ้ง อี้เจี้ยน

้ง อี้เจี้ยน (鄭伊健, พินอิน: Zheng Yi-Jian) มีชื่อภาษาอังกฤษว่า อีกิ้น เจิ้ง (Ekin Cheng) และมีชื่อเล่นเป็นภาษาอังกฤษ 2 ชื่อว่า Noodle Cheng กับ Dior Cheng เกิดเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967) ที่ฮ่องกง โดยเป็นลูกชายคนกลางมีพี่ชายและน้องชายอย่างละคน.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและเจิ้ง อี้เจี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

เป๊ปซี่

ป๊ปซี่ โคล่า คือ เครื่องดื่มอัดลมที่ผลิตโดยบริษัทเป๊ปซี่ ซึ่งเป็นบริษัทคู่แข่งรายสำคัญของโคคา โคล่า เป๊ปซี่ โคล่ากำเนิดขึ้นครั้งแรกโดยการคิดค้นของเภสัชกรคาแร็ป แรดแฮมที่นิวเบิร์น นอร์ทแคโรไลนา ช่วงทศวรรษ1800-1900 แรกเริ่มเครื่องดื่มชนิดนี้ตั้งชื่อว่า "เครื่องดื่มของแบรด (Brad's drink)" โดยมีเจตนาจะผลิตเครื่องดื่มชนิดนี้ขึ้นเพื่อช่วยรักษาอาการปวดท้อง ต่อมาแรดแฮมจึงตั้งชื่อเครื่องดื่มนี้ว่าเป๊ปซี่จากอาการปวดท้องที่เรียกว่า ดิสเป๊ปเซีย ชื่อเป๊ปซี่นั้นจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 1903 ส่วนผสมของเป๊ปซี่ถือเป็นความลับทางการค้าเช่นเดียวกับสูตรผสมของ โค้ก เคเอฟซี และแม็คโดนัลด์ ในปี..

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและเป๊ปซี่ · ดูเพิ่มเติม »

2 คมล่าถล่มเมือง

ำหรับ Cold War ในความหมายอื่นดูที่: สงครามเย็น 2 คมล่าถล่มเมือง (Cold War; จีนตัวเต็ม: 寒戰; จีนตัวย่อ: 寒战; พินอิน: Hán Zhàn) ภาพยนตร์ดราม่าแอ็คชั่นสัญชาติฮ่องกง ในปี ค.ศ. 2012 ภาพยนตร์เรื่องนี้มีภาคต่อคือ Cold War 2.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและ2 คมล่าถล่มเมือง · ดูเพิ่มเติม »

2 คมล่าถล่มเมือง 2

ำหรับ Cold War 2 ในความหมายอื่นดูที่: สงครามเย็นครั้งที่สอง 2 คมล่าถล่มเมือง 2 (Cold War 2; จีนตัวเต็ม: 寒戰II; จีนตัวย่อ: 寒战II; พินอิน: Hán Zhàn Èr) เป็นภาพยนตร์ดราม่าแอ็คชั่น แนวอาชญากรรมสัญชาติฮ่องกง ในปี ค.ศ. 2012 กำกับภาพยนตร์โดย เหลียง หยงหมั่น และ ซันนี่ ลุก และเป็นการกลับมาแสดงภาพยนตร์ของดาราชั้นนำ คือ กัว ฟู่เฉิง, เหลียง เจียฮุย, หยาง ไฉ่หนี, เผิง อวี๋เยี่ยน, หลี่ จื้อถิง, หม่า อี้ลี่ และ อเล็กซ์ สุย และในภาคนี้ยังมีนักแสดงมาสมทบด้วยคือ โจว เหวินฟะ, หมั่น หยงชาน, หยาง โย่วหนิง และ บีบี้ โจว ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกฉายในไทยวันที่ 8 ธันวาคม 2016 ในรูปแบบ 2D, 3D และ IMAX 3D ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์ภาคต่อของ 2 คมล่าถล่มเมือง.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและ2 คมล่าถล่มเมือง 2 · ดูเพิ่มเติม »

26 ตุลาคม

วันที่ 26 ตุลาคม เป็นวันที่ 299 ของปี (วันที่ 300 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 66 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กัว ฟู่เฉิงและ26 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Aaron Kwokกัว ฟูเฉิงกัวฟู่เฉิง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »