โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กลุ่มดาวเข็มทิศ

ดัชนี กลุ่มดาวเข็มทิศ

กลุ่มดาวเข็มทิศ เป็นกลุ่มดาวขนาดเล็กในซีกฟ้าใต้ ตั้งชื่อโดยนิโกลา-ลุย เดอ ลากาย ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 เดิมชื่อ Pyxis Nautica ปัจจุบันส่วนใหญ่เข้าใจกันว่าแทนเข็มทิศของกลุ่มดาวเรืออาร์โก แม้จะเชื่อว่ากรีกโบราณไม่ได้ใช้เข็มทิศในการเดินเรือ หมวดหมู่:กลุ่มดาว หมวดหมู่:กลุ่มดาวเข็มทิศ หมวดหมู่:กลุ่มดาวเรืออาร์โก.

9 ความสัมพันธ์: กรีซโบราณกลุ่มดาวกลุ่มดาวท้ายเรือกลุ่มดาวงูไฮดรากลุ่มดาวใบเรือกลุ่มดาวเรืออาร์โกกลุ่มดาวเครื่องสูบลมคริสต์ศตวรรษที่ 18เข็มทิศ

กรีซโบราณ

กรีซโบราณ (Ancient Greece) เป็นคำที่ใช้เรียกถึงบริเวณที่มีการพูดภาษากรีกในโลกยุคโบราณ ซึ่งไม่เพียงอ้างถึงพื้นที่คาบสมุทรของกรีซยุคปัจจุบันเท่านั้น แต่ยังกล่าวรวมถึงอารยธรรมกรีกโบราณซึ่งเป็นที่ตั้งรกรากถิ่นฐานโดยชาวกรีกในยุคโบราณอันได้แก่ ไซปรัส, บริเวณชายฝั่งของทะเลอีเจียนของตุรกี (หรือที่รู้จักในนามไอโอเนีย), ซิซิลีและทางใต้ของอิตาลี (หรือที่รู้จักในนามแมกนา เกรเชีย) และถิ่นฐานซึ่งกระจายออกไปของชาวกรีกตามชายฝั่งต่างๆซึ่งปัจจุบันเป็นประเทศ บัลแกเรีย ฝรั่งเศส ยูเครน โรมาเนีย ลิเบีย สเปน อัลแบเนีย และอียิปต.

ใหม่!!: กลุ่มดาวเข็มทิศและกรีซโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มดาว

กลุ่มดาวนายพราน เป็นกลุ่มดาวที่โดดเด่น สามารถมองเห็นได้จากทั่วโลก (แต่ไม่ตลอดทั้งปี) กลุ่มดาว คือ กลุ่มของดาวฤกษ์ ที่สามารถเชื่อมต่อกันเป็นรูปร่างต่าง ๆ ตามแต่จินตนาการในอวกาศสามมิต.

ใหม่!!: กลุ่มดาวเข็มทิศและกลุ่มดาว · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มดาวท้ายเรือ

กลุ่มดาวท้ายเรือ เป็นกลุ่มดาวหนึ่งทางซีกโลกใต้ เป็นส่วนที่ใหญ่ที่สุดจากการแบ่งกลุ่มดาวเรืออาร์โก หมวดหมู่:กลุ่มดาว หมวดหมู่:กลุ่มดาวเรืออาร์โก หมวดหมู่:กลุ่มดาวท้ายเรือ.

ใหม่!!: กลุ่มดาวเข็มทิศและกลุ่มดาวท้ายเรือ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มดาวงูไฮดรา

กลุ่มดาวงูไฮดรา เป็นกลุ่มดาวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในบรรดากลุ่มดาว 88 กลุ่มที่รับรองโดยสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล และเป็นหนึ่งในกลุ่มดาว 48 กลุ่มที่อยู่ในรายการของทอเลมี.

ใหม่!!: กลุ่มดาวเข็มทิศและกลุ่มดาวงูไฮดรา · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มดาวใบเรือ

กลุ่มดาวใบเรือ เป็นกลุ่มดาวในซีกฟ้าใต้ ที่ในอดีตเคยเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มดาวเรืออาร์โก บใเรือ หมวดหมู่:กลุ่มดาวเรืออาร์โก หมวดหมู่:กลุ่มดาวใบเรือ.

ใหม่!!: กลุ่มดาวเข็มทิศและกลุ่มดาวใบเรือ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มดาวเรืออาร์โก

กลุ่มดาวเรืออาร์โก (Argo Navis) เป็นกลุ่มดาวหนึ่งที่เคยระบุชื่อไว้ในสมัยโบราณ เป็นกลุ่มดาวที่มีพื้นที่บนท้องฟ้ามากที่สุด โดยมีความกว้างประมาณ 75 องศาในท้องฟ้า อยู่ทางตะวันออกของกลุ่มดาวหมาใหญ่ (Canis Major) ทางใต้ของกลุ่มดาวยูนิคอร์น (Monoceros) และกลุ่มดาวงูไฮดรา (Hydra) แต่พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ระหว่างทางช้างเผือก ภายหลังในศตวรรษที่ 18 (ค.ศ. 1763) นักดาราศาสตร์ชาวฝรั่งเศสชื่อ เดอ ลากาย (De Lacaille) ได้ตัดแบ่งเป็นกลุ่มดาวย่อย ๆ 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มดาวกระดูกงูเรือ (Carina) กลุ่มดาวท้ายเรือ (Puppis) กลุ่มดาวเข็มทิศ (Pyx) และกลุ่มดาวใบเรือ (Vela) กลุ่มดาวนี้ปรากฏในท้องฟ้าซีกใต้ ที่อดีตเคยเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มดาวเรืออาร์โก หมวดหมู่:กลุ่มดาว หมวดหมู่:กลุ่มดาวเรืออาร์โก.

ใหม่!!: กลุ่มดาวเข็มทิศและกลุ่มดาวเรืออาร์โก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มดาวเครื่องสูบลม

กลุ่มดาวเครื่องสูบลม เป็นกลุ่มดาวใหม่ที่เพิ่งกำเนิดขึ้นเมื่อกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่โรเบิร์ต บอยล์ ผู้ประดิษฐ์เครื่องสูบลม กลุ่มดาวนี้มีชื่อละตินเดิมว่า Antlia Pneumatica ต่อมานักดาราศาสตร์ตัดทอนให้ชื่อสั้นลง กลุ่มดาวเครื่องสูบลมล้อมรอบด้วยกลุ่มดาวงูไฮดรา กลุ่มดาวเข็มทิศ กลุ่มดาวใบเรือ และกลุ่มดาวคนครึ่งม้.

ใหม่!!: กลุ่มดาวเข็มทิศและกลุ่มดาวเครื่องสูบลม · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 18

ริสต์ศตวรรษที่ 18 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1701 ถึง ค.ศ. 1800.

ใหม่!!: กลุ่มดาวเข็มทิศและคริสต์ศตวรรษที่ 18 · ดูเพิ่มเติม »

เข็มทิศ

็มทิศ เข็มทิศ คือเครื่องมือสำหรับใช้หาทิศทาง มีเข็มแม่เหล็กที่แกว่งไกวได้อิสระในแนวนอนทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้ ตามแรงดึงดูดของแม่เหล็กโลก และที่หน้าปัดมีส่วนแบ่งสำหรับหาทิศทางโดยรอบ เข็มทิศจึงมีปลายชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ (อักษร N หรือ น) เมื่อทราบทิศเหนือแล้วก็ย่อมหาทิศอื่นได้โดยหันหน้าไปทางทิศเหนือ ด้านขวามือเป็นทิศตะวันออก ด้านซ้ายมือเป็นทิศตะวันตก ด้านหลังเป็นทิศใต้ การบอกทิศทางในแผนที่โดยทั่วไป คือการบอกเป็นทิศที่สำคัญ 4 ทิศ คือทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก หรืออาจจะบอกละเอียดเป็น 8,16 หรือ 32 ทิศก็ได้.

ใหม่!!: กลุ่มดาวเข็มทิศและเข็มทิศ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Pyxis

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »