โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กลุ่มดาวพิณ

ดัชนี กลุ่มดาวพิณ

กลุ่มดาวพิณ เป็นหนึ่งในกลุ่มดาว 48 กลุ่มในรายการของทอเลมี และยังเป็นกลุ่มดาวในรายชื่อกลุ่มดาวสมัยใหม่ 88 กลุ่มที่รับรองโดยสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล กลุ่มดาวนี้มีขนาดเล็ก แต่หาง่ายเพราะมีดาวฤกษ์สว่างอย่างดาวเวกา ซึ่งเป็นปลายด้านหนึ่งของสามเหลี่ยมฤดูร้อน หมวดหมู่:กลุ่มดาว หมวดหมู่:กลุ่มดาวพิณ.

11 ความสัมพันธ์: พิณกลุ่มดาวกลุ่มดาวมังกรกลุ่มดาวหมาจิ้งจอกกลุ่มดาวหงส์กลุ่มดาวเฮอร์คิวลีสสหพันธ์ดาราศาสตร์สากลสามเหลี่ยมฤดูร้อนทอเลมีดาวฤกษ์ดาวเวกา

พิณ

ฟล์:Double_harp.JPG|ฮาร์ป ไฟล์:ReinassanceLute.jpg|ลูต พิณ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กลุ่มดาวพิณและพิณ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มดาว

กลุ่มดาวนายพราน เป็นกลุ่มดาวที่โดดเด่น สามารถมองเห็นได้จากทั่วโลก (แต่ไม่ตลอดทั้งปี) กลุ่มดาว คือ กลุ่มของดาวฤกษ์ ที่สามารถเชื่อมต่อกันเป็นรูปร่างต่าง ๆ ตามแต่จินตนาการในอวกาศสามมิต.

ใหม่!!: กลุ่มดาวพิณและกลุ่มดาว · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มดาวมังกร

กลุ่มดาวมังกร เป็นกลุ่มดาวในซีกฟ้าเหนือ สามารถเห็นวนรอบขั้วฟ้าจากตำบลที่มีละติจูดสูง ๆ กลุ่มดาวนี้เป็นหนึ่งในกลุ่มดาว 48 กลุ่มในรายการของทอเลมี และยังเป็นกลุ่มดาวในรายชื่อกลุ่มดาวสมัยใหม่ 88 กลุ่มที่รับรองโดยสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล มังกร หมวดหมู่:กลุ่มดาวมังกร.

ใหม่!!: กลุ่มดาวพิณและกลุ่มดาวมังกร · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มดาวหมาจิ้งจอก

กลุ่มดาวหมาจิ้งจอก เป็นกลุ่มดาวจาง ๆ ในซีกฟ้าเหนือ อยู่ตรงกลางของสามเหลี่ยมฤดูร้อนที่ประกอบขึ้นจากดาวสว่าง 3 ดวง คือ ดาวเดเนบ, ดาวเวกา และดาวตานกอินทรี หมวดหมู่:กลุ่มดาว หมวดหมู่:กลุ่มดาวหมาจิ้งจอก.

ใหม่!!: กลุ่มดาวพิณและกลุ่มดาวหมาจิ้งจอก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มดาวหงส์

กลุ่มดาวหงส์ เป็นกลุ่มดาวในซีกเหนือของทรงกลมฟ้า เป็นหนึ่งในจำนวนกลุ่มดาว 48 กลุ่มในรายการของทอเลมี (Ptolemy) และยังเป็นกลุ่มดาวในรายการกลุ่มดาว 88 กลุ่มที่รับรองโดยสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล บางครั้งมีผู้เรียกกลุ่มดาวนี้ว่า กลุ่มดาวกางเขนเหนือ เพื่อให้เข้าคู่กับกลุ่มดาวกางเขนใต้ กลุ่มดาวนี้ มักวาดภาพให้เป็นรูปหงส์กางปีกบินตามแนวของทางช้างเผือก และหันหัวไปทางทิศใต้ หมวดหมู่:กลุ่มดาว หมวดหมู่:กลุ่มดาวหงส์.

ใหม่!!: กลุ่มดาวพิณและกลุ่มดาวหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มดาวเฮอร์คิวลีส

กลุ่มดาวเฮอร์คิวลีส เป็นกลุ่มดาวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ในกลุ่มดาว 88 กลุ่มที่รับรองโดยสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล และเป็นหนึ่งในกลุ่มดาว 48 กลุ่มที่อยู่ในรายการของทอเลมี ชื่อของกลุ่มดาวมาจากชื่อของเฮอร์คิวลีสในเทพปกรณัมโรมัน ดาวที่สว่างที่สุดของกลุ่มดาวนี้คือดาว"บีตาเฮอร์คิวลิส"หรือ"คอร์โนเฟอรอส(Kornephoros)" ซึ่งดาวดวงนี้ยังเป็นดาวที่เทพที่สุดบนท้องฟ้าอีกด้วย หมวดหมู่:กลุ่มดาว หมวดหมู่:กลุ่มดาวเฮอร์คิวลีส.

ใหม่!!: กลุ่มดาวพิณและกลุ่มดาวเฮอร์คิวลีส · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล

หพันธ์ดาราศาสตร์สากล (ไอเอยู) (IAU - International Astronomical Union) เป็นองค์กรที่รวมกลุ่มสมาคมดาราศาสตร์ต่าง ๆ จากทั่วโลกเข้าด้วยกัน และเป็นสมาชิกของสภาวิทยาศาสตร์นานาชาติ (ไอซีเอสยู) มีอำนาจในการตั้งชื่อดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย รวมถึงวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์อื่น ๆ สหพันธ์ดาราศาสตร์สากลประกอบด้วยคณะทำงานตั้งชื่อระบบดาวเคราะห์ (Working Group for Planetary System Nomenclature - WGPSN) ซึ่งเป็นผู้ดำเนินการในการประชุมตั้งชื่อวัตถุต่าง ๆ และรับผิดชอบระบบโทรเลขดาราศาสตร์ แม้ว่าไม่ได้เป็นผู้ดำเนินการเองโดยตรง สหพันธ์ดาราศาสตร์สากลก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2462 (ค.ศ. 1919) จากการควบรวมเข้าด้วยกันระหว่างโครงการในระดับนานาชาติหลายโครงการ ได้แก่ แผนที่ท้องฟ้า (Carte du Ciel) สหพันธ์สุริยะ (Solar Union) และ สำนักงานเวลาสากล (Bureau International de l'Heure) ประธานสหพันธ์คนแรก คือ เบนจามิน เบลลอ.

ใหม่!!: กลุ่มดาวพิณและสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล · ดูเพิ่มเติม »

สามเหลี่ยมฤดูร้อน

มเหลี่ยมฤดูร้อน สามเหลี่ยมฤดูร้อน เป็นแนวเส้นสมมุติบนท้องฟ้าซีกโลกเหนือที่ดูคล้ายรูปสามเหลี่ยม เชื่อมต่อระหว่างดาวสามดวงคือ ดาวดวงตานกอินทรี ดาวเดเน็บ และดาวเวกา ซึ่งอยู่ในกลุ่มดาวนกอินทรี กลุ่มดาวหงส์ และกลุ่มดาวพิณ ตามลำดับ คำนี้เป็นที่นิยมขึ้นมาเนื่องจากนักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษ ชื่อ เซอร์แพทริก มัวร์ ในราวคริสต์ทศวรรษ 1950 แม้เขาจะไม่ได้เป็นคนคิดขึ้นก็ตาม ผู้ตั้งชื่อเป็นนักดาราศาสตร์ชาวออสเตรียคือ ออสวัลด์ โทมัส เรียกดาวสามดวงนี้ว่า "Grosses Dreieck" (หมายถึง สามเหลี่ยมใหญ่) ในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1920 ต่อมาในปี 1934 เขาเรียกมันว่า "Sommerliches Dreieck" (หมายถึง สามเหลี่ยมฤดูร้อน) ก่อนหน้านั้นในปี..

ใหม่!!: กลุ่มดาวพิณและสามเหลี่ยมฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

ทอเลมี

ลาดิออส โตเลเมออส (Κλαύδιος Πτολεμαῖος) รู้จักในชื่อภาษาอังกฤษว่า ทอเลมี (Ptolemy) เป็นนักภูมิศาสตร์ นักดาราศาสตร์ และนักโหราศาสตร์ชาวกรีกโบราณ คาดว่ามีชีวิตและทำงานอยู่ในเมืองอเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปต์ ทอเลมีเป็นผู้แต่งตำราที่สำคัญหลายเล่ม ที่ถือว่าเป็นคัมภีร์ทางวิชาการ ในจำนวนนี้ มีสองเล่มที่ได้ใช้สืบต่อไปในวิทยาการของอาหรับและยุโรป เล่มแรกคือคัมภีร์ดาราศาสตร์ในชื่อว่า The Mathematical Compilation (Μαθηματική Σύνταξις ซึ่งภายหลังถูกเปลี่ยนชื่อเป็น The Greatest Compilation (Η Μεγάλη Σύνταξις ชาวอาหรับได้แปลหนังสือเล่มนี้ และให้ชื่อใหม่เป็นภาษาอารบิกว่า "al-majisti" ซึ่งภายหลังจากนั้นถูกแปลเป็นภาษาละตินว่า อัลมาเจสต์ (Almagest) อัลมาเจสต์เป็นหนังสือเกี่ยวกับเรื่องการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ ด้วยหลักการทางคณิตศาสตร์ว่า: โลกมีลักษณะเป็นทรงกลม เป็นศูนย์กลางของจักรวาล และหยุดนิ่งไม่มีการเคลื่อนไหว; โดยทฤษฎีนี้ได้รับการยอมรับยาวนานถึง 1,400 กว่าปี จนกระทั่งสมัยของ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส ตำราอีกเล่มหนึ่งคือ "ภูมิศาสตร์" ซึ่งเกี่ยวกับความรู้ด้านภูมิศาสตร์ในโลกยุคกรีก-โรมัน อย่างละเอี.

ใหม่!!: กลุ่มดาวพิณและทอเลมี · ดูเพิ่มเติม »

ดาวฤกษ์

นก่อตัวของดาวฤกษ์ในดาราจักรเมฆแมเจลแลนใหญ่ ภาพจาก NASA/ESA ดาวฤกษ์ คือวัตถุท้องฟ้าที่เป็นก้อนพลาสมาสว่างขนาดใหญ่ที่คงอยู่ได้ด้วยแรงโน้มถ่วง ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด คือ ดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานหลักของโลก เราสามารถมองเห็นดาวฤกษ์อื่น ๆ ได้บนท้องฟ้ายามราตรี หากไม่มีแสงจากดวงอาทิตย์บดบัง ในประวัติศาสตร์ ดาวฤกษ์ที่โดดเด่นที่สุดบนทรงกลมท้องฟ้าจะถูกจัดเข้าด้วยกันเป็นกลุ่มดาว และดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดจะได้รับการตั้งชื่อโดยเฉพาะ นักดาราศาสตร์ได้จัดทำบัญชีรายชื่อดาวฤกษ์เพิ่มเติมขึ้นมากมาย เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการตั้งชื่อดาวฤกษ์ ตลอดอายุขัยส่วนใหญ่ของดาวฤกษ์ มันจะเปล่งแสงได้เนื่องจากปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ฟิวชั่นที่แกนของดาว ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงานจากภายในของดาว จากนั้นจึงแผ่รังสีออกไปสู่อวกาศ ธาตุเคมีเกือบทั้งหมดซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและหนักกว่าฮีเลียมมีกำเนิดมาจากดาวฤกษ์ทั้งสิ้น โดยอาจเกิดจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของดาวฤกษ์ระหว่างที่ดาวยังมีชีวิตอยู่ หรือเกิดจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของซูเปอร์โนวาหลังจากที่ดาวฤกษ์เกิดการระเบิดหลังสิ้นอายุขัย นักดาราศาสตร์สามารถระบุขนาดของมวล อายุ ส่วนประกอบทางเคมี และคุณสมบัติของดาวฤกษ์อีกหลายประการได้จากการสังเกตสเปกตรัม ความสว่าง และการเคลื่อนที่ในอวกาศ มวลรวมของดาวฤกษ์เป็นตัวกำหนดหลักในลำดับวิวัฒนาการและชะตากรรมในบั้นปลายของดาว ส่วนคุณสมบัติอื่นของดาวฤกษ์ เช่น เส้นผ่านศูนย์กลาง การหมุน การเคลื่อนที่ และอุณหภูมิ ถูกกำหนดจากประวัติวิวัฒนาการของมัน แผนภาพคู่ลำดับระหว่างอุณหภูมิกับความสว่างของดาวฤกษ์จำนวนมาก ที่รู้จักกันในชื่อ ไดอะแกรมของแฮร์ทสชปรุง-รัสเซลล์ (H-R ไดอะแกรม) ช่วยทำให้สามารถระบุอายุและรูปแบบวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ได้ ดาวฤกษ์ถือกำเนิดขึ้นจากเมฆโมเลกุลที่ยุบตัวโดยมีไฮโดรเจนเป็นส่วนประกอบหลัก รวมไปถึงฮีเลียม และธาตุอื่นที่หนักกว่าอีกจำนวนหนึ่ง เมื่อแก่นของดาวฤกษ์มีความหนาแน่นมากเพียงพอ ไฮโดรเจนบางส่วนจะถูกเปลี่ยนเป็นฮีเลียมผ่านกระบวนการนิวเคลียร์ฟิวชั่นอย่างต่อเนื่อง ส่วนภายในที่เหลือของดาวฤกษ์จะนำพลังงานออกจากแก่นผ่านทางกระบวนการแผ่รังสีและการพาความร้อนประกอบกัน ความดันภายในของดาวฤกษ์ป้องกันมิให้มันยุบตัวต่อไปจากแรงโน้มถ่วงของมันเอง เมื่อเชื้อเพลิงไฮโดรเจนที่แก่นของดาวหมด ดาวฤกษ์ที่มีมวลอย่างน้อย 0.4 เท่าของดวงอาทิตย์ จะพองตัวออกจนกลายเป็นดาวยักษ์แดง ซึ่งในบางกรณี ดาวเหล่านี้จะหลอมธาตุที่หนักกว่าที่แก่นหรือในเปลือกรอบแก่นของดาว จากนั้น ดาวยักษ์แดงจะวิวัฒนาการไปสู่รูปแบบเสื่อม มีการรีไซเคิลบางส่วนของสสารไปสู่สสารระหว่างดาว สสารเหล่านี้จะก่อให้เกิดดาวฤกษ์รุ่นใหม่ซึ่งมีอัตราส่วนของธาตุหนักที่สูงกว่า ระบบดาวคู่และระบบดาวหลายดวงประกอบด้วยดาวฤกษ์สองดวงหรือมากกว่านั้นซึ่งยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงโน้มถ่วง และส่วนใหญ่มักจะโคจรรอบกันในวงโคจรที่เสถียร เมื่อดาวฤกษ์ในระบบดาวดังกล่าวสองดวงมีวงโคจรใกล้กันมากเกินไป ปฏิกิริยาแรงโน้มถ่วงระหว่างดาวฤกษ์อาจส่งผลกระทบใหญ่หลวงต่อวิวัฒนาการของพวกมันได้ ดาวฤกษ์สามารถรวมตัวกันเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในโครงสร้างขนาดใหญ่ที่ยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงโน้มถ่วง เช่น กระจุกดาว หรือ ดาราจักร ได้.

ใหม่!!: กลุ่มดาวพิณและดาวฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเวกา

วเวกา (Vega) หรือแอลฟาพิณ (Alpha Lyrae) เป็นดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดในกลุ่มดาวพิณ ดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดเป็นอันดับห้าในท้องฟ้าราตรี และดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดเป็นอันดับสองในซีกฟ้าเหนือ รองจากดาวอาร์คตุรุส ดาวเวกาอยู่ค่อนข้างใกล้โลก ระยะห่างจากโลก 25 ปีแสง และดาวเวกา กับดาวอาร์คตุรุสและดาวซิริอุส เป็นหนึ่งในกลุ่มดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดในย่านดวงอาทิตย์ นักดาราศาสตร์ศึกษาดาวเวกาอย่างละเอียด ทำให้ได้ชื่อว่า "อาจเป็นดาวฤกษ์ที่สำคัญที่สุดในท้องฟ้ารองจากดวงอาทิตย์" ดาวเวกาเคยเป็นดาวเหนือเมื่อราว 12,000 ปีก่อน..

ใหม่!!: กลุ่มดาวพิณและดาวเวกา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ดาวพิณ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »