โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กระสวยอวกาศแอตแลนติส

ดัชนี กระสวยอวกาศแอตแลนติส

STS-129 กระสวยอวกาศ แอตแลนติส (Orbiter Vehicle Designation OV-104) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 4 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-104 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ ดิสคัฟเวอรี และ เอนเดฟเวอร์) กระสวยอวกาศแอตแลนติส ถูกตั้งชื่อตามเรือสำรวจหลักของสถาบันสมุทรศาสตร์ เริ่มทำการบินครั้งแรกในเที่ยวบิน STS-51-J วันที่ 19 มกราคม..

26 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2522พ.ศ. 2528พ.ศ. 2550พ.ศ. 2554กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลกล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมป์ตันกาลิเลโอ (ยานอวกาศ)กิโลเมตรภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ศูนย์อวกาศเคนเนดีสหรัฐสถานีอวกาศสถานีอวกาศนานาชาตินักบินอวกาศนาซาแบตเตอรี่โคลัมบัส (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)ไมล์เอสทีเอส-129เอสทีเอส-27เอสทีเอส-7929 มกราคม3 ตุลาคม9 มิถุนายน

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี

STS-92, พ.ศ. 2543 (ภาพจากองค์การนาซา) กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี (Orbiter Vehicle Designation: OV-103) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 3 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-103 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ แอตแลนติส และ เอนเดฟเวอร์) เริ่มบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) ดิสคัฟเวอรี ถือเป็นกระสวยอวกาศปฏิบัติการลำที่สาม (ไม่รวมกระสวยอวกาศ''เอนเทอร์ไพรซ์'' ซึ่งเป็นยานทดสอบ) และเป็นกระสวยอวกาศลำที่มีระยะปฏิบัติการยาวนานที่สุด ในบรรดากระสวยอวกาศทั้งหมด ดิสคัฟเวอรีมีปฏิบัติการหลายชนิด ทั้งงานวิจัย และภารกิจร่วมกับสถานีอวกาศนานาชาติ กระสวยอวกาศลำนี้ได้ชื่อมาจากเรือสำรวจหลายลำในอดีตที่ชื่อ ดิสคัฟเวอรี โดยเรือดิสคัฟเวอรีลำแรก คือ HMS Discovery ของอังกฤษ ซึ่งเป็นเรือสำรวจที่พา เจมส์ คุก เดินทางครั้งสำคัญ นอกจากนี้ยังมีเรือดิสคัฟเวอรีอื่น ๆ อีกมากมาย กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรียังมีชื่อตรงกับยานอวกาศในภาพยนตร์เรื่อง 2001: A Space Odyssey ด้วย ยานดิสคัฟเวอรีเป็นกระสวยอวกาศที่ขึ้นไปปล่อยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) รวมทั้งภารกิจซ่อมแซมกล้องฮับเบิลในครั้งที่สองและสามด้วย นอกจากนี้ยังมีภารกิจปล่อยโพร้บยูลิสซิส (Ulysses) และดาวเทียม TDRS สามดวง ยานดิสคัฟเวอรีได้รับเลือกถึงสองครั้งให้ทำหน้าที่แทนกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ และกระสวยอวกาศโคลัมเบีย ที่ระเบิดเมื่อ ค.ศ. 1986 และ ค.ศ. 2003 ตามลำดั.

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและกระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์

กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ (Orbiter Vehicle Designation: OV-105) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 5 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-105 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ ''ดิสคัฟเวอรี'' และ ''แอตแลนติส'') เอนเดฟเวอร์เป็นกระสวยอวกาศที่นาซาสร้างขึ้นใช้งานเป็นลำสุดท้าย เอนเดฟเวอร์ สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ทดแทนกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ ในวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) เริ่มบินครั้งแรกในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ในภารกิจที่ STS-49 ยานเอนเดฟเวอร์ได้รับเลือกให้ปฏิบัติภารกิจสำคัญมากมาย เช่น ปล่อยดาวเทียม เชื่อมต่อกับสถานีอวกาศเมียร์ของรัสเซีย และลำเลียงชิ้นส่วนของสถานีอวกาศนานาชาติ กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ปฏิบัติภารกิจสุดท้ายคือ STS-134 วันที่ 16 พฤษภาคม..

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) คือ กล้องโทรทรรศน์ในวงโคจรของโลกที่กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีนำส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อเดือนเมษายน..

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมป์ตัน

กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมพ์ตัน หรือ กล้องรังสีแกมมาคอมพ์ตัน (Compton Gamma-ray Observatory) เป็นหอสังเกตการณ์ดวงที่สองของนาซาในโครงการหอดูดาวเอกที่ส่งขึ้นสู่อวกาศ หลังจากที่ส่งกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลขึ้นไปก่อนหน้านั้น กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมพ์ตันตั้งชื่อตาม ดร.

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและกล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมป์ตัน · ดูเพิ่มเติม »

กาลิเลโอ (ยานอวกาศ)

นกาลิเลโอ ยานกาลิเลโอ เป็นยานสำรวจดาวพฤหัสบดี ถูกส่งออกจากโลกเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม ค.ศ. 1989 (พ.ศ. 2532) ใช้เวลา 6 ปีในการเดินทางไปยังดาวพฤหัสบดี ในระหว่างทางยานกาลิเลโอได้เข้าใกล้ดาวเคราะห์น้อยเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้มีชื่อว่า แกสปรา และต่อมาได้ผ่านใกล้ดาวเคราะห์น้อยอีกดวงหนึ่งชื่อ ไอดา ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1995 (พ.ศ. 2538) ยานกาลิเลโอก็ปล่อยหัวสำรวจลงไปในบรรยากาศของดาวพฤหัสบดี ยานโคจรของยานกาลิเลโอให้รายละเอียดในระยะใกล้ของดาวพฤหัสบดีและดาวบริวารที่ไม่เคยมีมาก่อน.

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและกาลิเลโอ (ยานอวกาศ) · ดูเพิ่มเติม »

กิโลเมตร

กิโลเมตร อักษรย่อ กม. (mètre, km) เป็นหน่วยวัดความยาว มีขนาดเท่ากับ 1 × 103 เมตร.

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์

''ชาเลนเจอร์''ระเบิด คร่าชีวิตลูกเรือทั้งหมด 7 คน ไมเคิล เจ. สมิท, ดิก สโคบี, โรนัลด์ แมคแนร์; (แถวหลัง) เอลลิสัน โอนิซึกะ, คริสตา แมคออลิฟ, เกรกอรี จาร์วิส, จูดิธ เรสนิค ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์เกิดเมื่อวันที่ 28 มกราคม..

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์อวกาศเคนเนดี

ูนย์อวกาศ จอห์น เอฟ.

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและศูนย์อวกาศเคนเนดี · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีอวกาศ

ำลองของสถานีอวกาศนานาชาติสมบูรณ์แบบ ในปี พ.ศ. 2549 สถานีอวกาศ (Space station เป็นสิ่งก่อสร้างที่ออกแบบโดยมนุษย์ เพื่อใช้เป็นที่อยู่การดำรงชีพในอวกาศ โดยอยู่ในวงโคจรต่ำ (LEO) สถานีอวกาศนานาชาติ (International Space Station) หรือ ISS เป็นห้องปฏิบัติการลอยฟ้าซึ่งโคจรรอบโลกที่ระยะสูง 410 กิโลเมตร เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 27,744 กิโลเมตร/ชั่วโมง โคจรรอบโลก 1 รอบใช้เวลา 92 นาที สร้้างขึ้นด้วยความร่วมมือจาก 16 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา รัสเซีย ญี่ปุ่น แคนาดา ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี เดนมาร์ก สวีเดน เบลเยียม เนเธอร์แลน์ สเปน อังกฤษ สวิสเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ และบราซิล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำการค้นคว้าและทดลองทางวิทยาศาสตร์หลากหลายสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์ อุตุนิยมวิทยา วัสดุศาสตร์ ชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ เนื่องจากสถานีอวกาศอยู่ในสภาพไร้แรงโน้มถ่วง นักวิทยาศาสตร์จึงสามารถทำการทดลองหรือประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ซึ่งไม่สามารถกระทำบนพื้นผิวโลกได้  ดังนั้นสถานีอวกาศนานาชาติจึงมีความสำคัญต่ออนาคตของมนุษยชาติเป็นอย่างมาก.

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและสถานีอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีอวกาศนานาชาติ

นีอวกาศนานาชาติ (International Space Station, ISS, Междунаро́дная косми́ческая ста́нция, МКС, Station spatiale internationale, SSI) เป็นห้องทดลองและสถานอำนวยความสะดวกสำหรับงานค้นคว้าวิจัยในระดับนานาชาติซึ่งถูกประกอบขึ้นในวงโคจรต่ำของโลก การก่อสร้างเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและสถานีอวกาศนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

นักบินอวกาศ

รูซ แมคแคนด์เลส 2 นักบินอวกาศชาวอเมริกัน ขณะทำงานอยู่นอกกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ เมื่อ พ.ศ. 2527 (ภาพจากองค์การนาซา) นักบินอวกาศ คือ บุคคลที่เดินทางไปกับยานอวกาศ ไม่ว่าจะไปในฐานะใด และไม่ว่าจะไปด้วยยานอวกาศแบบไหน ทั้งที่โคจรรอบโลก (ในระยะสูงจากพื้นราว 80-100 กิโลเมตรขึ้นไป) หรือที่เดินทางออกไปยังตำแหน่งอื่นใดนอกวงโคจรของโลก คำว่า นักบินอวกาศ ในภาษาไทย นั้น ตรงกับคำศัพท์ในภาษาอังกฤษ ว่าแอสโตรนอท (astronaut) ซึ่งมีความหมายอย่างที่กล่าวมา เป็นที่น่าสังเกตว่า คำว่า นักบินอวกาศ ไม่ได้มีความหมายเฉพาะผู้ที่เป็นนักบิน (pilot) เท่านั้น แต่มีความหมายอย่างที่อาจเข้าใจได้ง่ายๆ ว่า ลูกเรืออวกาศ นั่นเอง อย่างไรก็ตาม ในภาษาไทยยังมีคำศัพท์อีกคำ ที่มีความหมายเช่นนี้ นั่นคือ มนุษย์อวกาศ คำว่า แอสโตรนอท ในภาษาอังกฤษนั้น มีที่มาจากคำศัพท์ในภาษากรีก สองคำ คือ astro หมายถึงดวงดาว และ nautes ซึ่งหมายถึง กะลาสี ปัจจุบันมีนักบินอวกาศหลายชาติ จึงมีการสร้างคำสำหรับเรียกนักบินอวกาศของแต่ละชาติต่างๆ กัน เช่น นักบินในโครงการอวกาศของรัสเซีย เรียกว่า คอสโมนอท (cosmonaut) อันเป็นการสร้างคำจากคำศัพท์จากภาษากรีกเช่นกัน โดยใช้คำว่า kosmo ที่หมายถึง อวกาศ และคำว่า nautes ที่หมายถึง กะลาสี ส่วนในยุโรป มีการสร้างศัพท์ขึ้นใหม่ ว่า สเปชันนอท (spationaut) เป็นคำประสม ระหว่าง space ในภาษาละติน (อวกาศ) และ nautes ในภาษากรีก (กะลาสี) โดยมีความหมายว่านักบินอวกาศ หรือมนุษย์อวกาศ นั่นเอง นอกจากนี้ยังมีคำว่า ไทโคนอท (Taikonaut) เป็นคำศัพท์ที่คิดขึ้นใหม่ เมื่อ เดือนพฤษภาคม ปี..

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและนักบินอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

นาซา

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ตามรัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ เป็นหน่วยงานส่วนราชการ รับผิดชอบในโครงการอวกาศและงานวิจัยห้วงอากาศอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของสหรัฐอเมริกา คอยจัดการหรือควบคุมระบบงานวิจัยทั้งกับฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 องค์การนาซาได้ประกาศภารกิจหลักคือการบุกเบิกอนาคตแห่งการสำรวจอวกาศ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทางการบินและอวกาศ คำขวัญขององค์การนาซาคือ "เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน" (For the benefit of all).

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและนาซา · ดูเพิ่มเติม »

แบตเตอรี่

แบตเตอรี่ (Battery) เป็นอุปกรณ์ที่ประกอบด้วย เซลล์ไฟฟ้าเคมี หนึ่งเซลล์หรือมากกว่า ที่มีการเชื่อมต่อภายนอกเพื่อให้กำลังงานกับอุปกรณ์ไฟฟ้า แบตเตอรี่มี ขั้วบวก (cathode) และ ขั้วลบ (anode) ขั้วที่มีเครื่องหมายบวกจะมีพลังงานศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าขั้วที่มีเครื่องหมายลบ ขั้วที่มีเครื่องหมายลบคือแหล่งที่มาของอิเล็กตรอนที่เมื่อเชื่อมต่อกับวงจรภายนอกแล้วอิเล็กตรอนเหล่านี้จะไหลและส่งมอบพลังงานให้กับอุปกรณ์ภายนอก เมื่อแบตเตอรี่เชื่อมต่อกับวงจรภายนอก สาร อิเล็กโทรไลต์ มีความสามารถที่จะเคลื่อนที่โดยทำตัวเป็นไอออน ยอมให้ปฏิกิริยาทางเคมีทำงานแล้วเสร็จในขั้วไฟฟ้าที่อยู่ห่างกัน เป็นการส่งมอบพลังงานให้กับวงจรภายนอก การเคลื่อนไหวของไอออนเหล่านั้นที่อยู่ในแบตเตอรี่ที่ทำให้เกิดกระแสไหลออกจากแบตเตอรี่เพื่อปฏิบัติงาน ในอดีตคำว่า "แบตเตอรี่" หมายถึงเฉพาะอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ แต่การใช้งานได้มีการพัฒนาให้รวมถึงอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยเซลล์เพียงเซลล์เดียว แบตเตอรี่ปฐมภูมิจะถูกใช้เพียงครั้งเดียวหรือ "ใช้แล้วทิ้ง"; วัสดุที่ใช้ทำขั้วไฟฟ้าจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในช่วงปล่อยประจุออก (discharge) ตัวอย่างที่พบบ่อยก็คือ แบตเตอรี่อัลคาไลน์ ที่ใช้สำหรับ ไฟฉาย และอีกหลายอุปกรณ์พกพา แบตเตอรี่ทุติยภูมิ (แบตเตอรี่ประจุใหม่ได้) สามารถดิสชาร์จและชาร์จใหม่ได้หลายครั้ง ในการนี้องค์ประกอบเดิมของขั้วไฟฟ้าสามารถเรียกคืนสภาพเดิมได้โดยกระแสย้อนกลับ ตัวอย่างเช่น แบตเตอรี่ตะกั่วกรด ที่ใช้ในยานพาหนะและแบตเตอรี่ ลิเธียมไอออน ที่ใช้สำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบเคลื่อนย้ายได้ แบตเตอรี่มาในหลายรูปทรงและหลายขนาด จากเซลล์ขนาดเล็กที่ให้พลังงานกับ เครื่องช่วยฟัง และนาฬิกาข้อมือ จนถึงแบตเตอรี่แบงค์ที่มีขนาดเท่าห้องที่ให้พลังงานเตรียมพร้อมสำหรับ ชุมสายโทรศัพท์ และ ศูนย์ข้อมูล คอมพิวเตอร์ ตามการคาดการณ์ในปี 2005 อุตสาหกรรมแบตเตอรี่ทั่วโลกสร้างมูลค่า 48 พันล้านดอลาร์สหรัฐในการขายในแต่ละปี ด้วยการเจริญเติบโตประจำปี 6% แบตเตอรี่มีค่า พลังงานเฉพาะ (พลังงานต่อหน่วยมวล) ต่ำกว่ามากเมื่อเทียบกับ เชื้อเพลิง ทั้งหลาย เช่นน้ำมัน แต่ก็สามารถชดเชยได้บ้างโดยประสิทธิภาพที่สูงของมอเตอร์ไฟฟ้าในการผลิตงานด้านกลไกเมื่อเทียบกับเครื่องยนต์สันดาป.

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและแบตเตอรี่ · ดูเพิ่มเติม »

โคลัมบัส (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)

มดูลโคลัมบัส บนสถานีอวกาศนานาชาติ โคลัมบัส (Columbus) เป็นห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสถานีอวกาศนานาชาติ เป็นชิ้นส่วนใหญ่ที่สุดที่สร้างโดยองค์การอวกาศยุโรป (ESA) โมดูลโคลัมบัสก่อสร้างที่เมืองตูริน ประเทศอิตาลี เช่นเดียวกับโมดูลฮาร์โมนีและโมดูล Tranquility โดยบริษัท Alcatel Alenia Space ที่มีฐานในกรุงโรม การออกแบบสถาปัตยกรรมการใช้งาน (รวมถึงซอฟต์แวร์) ของห้องทดลองดำเนินการโดย EADS ในเยอรมนี และนำมาประกอบรวมกันก่อนจะนำส่งไปที่ศูนย์อวกาศเคนเนดีในฟลอริดา โมดูลถูกนำส่งขึ้นด้วยกระสวยอวกาศแอตแลนติส เที่ยวบิน STS-122 เมื่อวันที่ 7 กุมภาพัน..

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและโคลัมบัส (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ) · ดูเพิ่มเติม »

ไมล์

มล์ คือหน่วยมาตรฐานอังกฤษที่ใช้วัดระยะทาง มักย่อว่า mi จากภาษาอังกฤษ mile 1 ไมล์มีค่าเท่ากั.

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและไมล์ · ดูเพิ่มเติม »

เอสทีเอส-129

STS-129 เป็นภาจกิจกระสวยอวกาศของนาซ่าในสถานีอวกาศนานาชาติ เริ่มต้นในวันที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009 ในเวลา 14:28 EST และลงจอดในวันที่ 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009 ในเวลา 09:44 EST บนรันเวย์ที่ 33 ในสถานที่จอดกระสวยศูนย์อวกาศเคนเนดี STS-129 ได้มุ่งเน้นระยะส่วนประกอบสำรองนอกสถานี เที่ยวบิน 11 วันรวมเดินในอวกาศ 3 วัน อ่าวแน่ะดำเนินการสองขนาดใหญ่ ExPRESS Logistics Carrier ได้แก่ วัดการหมุนสำรอง 2 เครื่องมือ ถังไนโตรเจน 2 ชุด เครื่องสูบน้ำ 2 โมดูล ประกอบด้วยถังแอมโมเนีย การเสร็จสิ้นปฏิบัติภารกิจกระสวยอวกาศนี้เหลือหกเที่ยวบินที่เหลืออยู่จนถึงเสร็จสิ้นโครงการกระสวยอวกาศหลังจาก STS-135 ได้รับการอนุมัติในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011.

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและเอสทีเอส-129 · ดูเพิ่มเติม »

เอสทีเอส-27

STS-27 เป็นภารกิจการส่งกระสวยอวกาศของนาซาครั้งที่ 27 และเป็นเที่ยวบินครั้งที่ 3 ของกระสวยอวกาศแอตแลนติส STS-27 ถูกเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 1988 ใช้เวลาในการปฏิบัติภารกิจสี่วัน เป็นภารกิจการส่งกระสวยอวกาศครั้งที่สองหลังจากที่เกิดเหตุภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์เมื่อมกราคม ค.ศ. 1986 ข้อมูลของ STS-27 ถูกจัดเก็บโดยกระทรวงกลาโหมสหรัฐ ระบบบกันความร้อนของกระสวยอวกาศในภารกิจนี้ได้รับความเสียหายอย่างมากในระหว่างการลิฟ-ออฟ (lift-off) ซึ่งยังกระทบกับปีกด้านขวาของกระสวยอวกาศอีกด้วย ฮูต กิบสัน เมื่อเขาได้เห็นความเสียหายของกระสวยอวกาศ เขาได้กล่าวว่า "วีอาร์โกอิ่งทูดาย" (พวกเรากำลังไปสู่ความตาย) เหตุการณ์นี้มีความคล้ายคลึงกับเหตุการณ์ของ STS-107 เมื่อ 15 ปีที่แล้วที่เกิดจากระบบความร้อนเสียหายระหว่างกับโลก แต่เหตุการณ์ในกระสวยอวกาศภารกิจนี้สามารถขึ้นสู่วงโคจรได้สำเร็จ และปฏิบัติภารกิจได้สำเร็.

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและเอสทีเอส-27 · ดูเพิ่มเติม »

เอสทีเอส-79

STS-79 เป็นโครงการเที่ยวบินของกระสวยอวกาศอเมริกันครั้งที่ 79 และเป็นครั้งที่ 11 ของเที่ยวบินในกระสวยอวกาศแอตแลนติส ความหลากหลายของการทดลองทางวิทยาศาสตร์ได้ดำเนินการยังบนกระสวยอวกาศแอตแลนติสโดยพวกลูกเรือ เป็นภารกิจกระสวยครั้งแรกนัดพบกับสถานีอวกาศเมียร์ประกอบอย่างเต็มที่ และนัดพบครั้งที่ 4 ขอกระสวยอวกาศไปยังสถานีอวก.

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและเอสทีเอส-79 · ดูเพิ่มเติม »

29 มกราคม

วันที่ 29 มกราคม เป็นวันที่ 29 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 336 วันในปีนั้น (337 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและ29 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

3 ตุลาคม

วันที่ 3 ตุลาคม เป็นวันที่ 276 ของปี (วันที่ 277 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 89 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและ3 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 มิถุนายน

วันที่ 9 มิถุนายน เป็นวันที่ 160 ของปี (วันที่ 161 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 205 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กระสวยอวกาศแอตแลนติสและ9 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Space Shuttle AtlantisSpace Shuttle Orbiter Atlantisยานอวกาศแอตแลนติสยานขนส่งอวกาศแอตแลนติสยานแอตแลนติส

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »