โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ

ดัชนี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ พระนามเดิม พระองค์เจ้าปราโมช เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและเจ้าจอมมารดาอัมพา ประสูติ เมื่อวันอังคาร แรม 9 ค่ำ เดือน 4 ปีชวด ตรงกับวันที่ 11 มีนาคม..

13 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปรีดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากลาง กรมพระเทเวศร์วัชรินทร์พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมลักษณวงศ์ กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากรกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญกรมพระราชวังบวรสถานมงคลราชวงศ์จักรีสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)หม่อมเจ้าฉวีวาด ปราโมชเจ้าจอมมารดาอัมพา ในรัชกาลที่ 2

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 - สวรรคต 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ฉิม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศมหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 รองจากพระบรมเชษฐา สูงศักดิ์กว่า "วังหน้า" กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (พระมหาอุปราช)พระองค์ใดในอดีต เมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2394 เมื่อมีพระชนมายุได้ 43 พรรษ.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ

ลตำรวจเอก พลโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าคำรบ ปราโมช (3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2414 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2482) พระโอรส ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ และหม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช ประสูติเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2414 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ ทรงเป็นทหารบก ทรงดำรงตำแหน่งแม่ทัพกองทัพน้อยที่ 2 (ปัจจุบันคือ กองทัพภาคที่ 3) ระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปรีดา

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปรีดา (12 พฤษภาคม พ.ศ. 2378 - 16 กันยายน พ.ศ. 2457) (พระนามเดิม:หม่อมเจ้าปรีดา ปราโมช) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ กับหม่อมพลับ ปราโมช ณ อยุธยา พระองค์เจ้าปรีดา ประสูติเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2378 ได้รับการสถาปนาเป็นพระองค์เจ้าในรัชกาลที่ 5 พระองค์เจ้าปรีดาทรงปรีชาสามารถในด้านการช่าง จนได้ตำแหน่งบังคับการกรมช่างกระจก ต่อจากพระบิดา และทรงสะสมเครื่องโต๊ะ เครื่องลายคราม จนทรงเชี่ยวชาญ ในสมัยนิยมเล่นเครื่องโต๊ะ ทรงได้รับการนับถือว่าเป็นอาจารย์ เรียกกันในหมู่ผู้นิยมว่า มหามุนี เป็นที่ปรึกษาแก่ผู้เล่นเครื่องโต๊ะทั่วไป พระองค์เจ้าปรีดาสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2457 พระชันษา 80 ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ฌ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 12 เมษายน..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปรีดา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากลาง กรมพระเทเวศร์วัชรินทร์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากลาง กรมพระเทเวศร์วัชรินทร์ ประสูติเมื่อวันเสาร์ เดือน 3 แรม 12 ค่ำ ปีฉลู สัปตศก..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากลาง กรมพระเทเวศร์วัชรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมลักษณวงศ์ กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมลักษณวงศ์ กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชายเฉลิมลักษณวงศ์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 35 ในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาขลิบ พระองค์เจ้าเฉลิมลักษณวงศ์ ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน 9 ขึ้น 4 ค่ำ ปีฉลู เบญจศก..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพและพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมลักษณวงศ์ กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร · ดูเพิ่มเติม »

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ (6 กันยายน พ.ศ. 2381 — 28 สิงหาคม พ.ศ. 2428) เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลพระองค์สุดท้ายในสมัยกรุงรัตนโกสินทร.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพและกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ · ดูเพิ่มเติม »

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่เรียกกันเป็นสามัญว่าวังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์สยามทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระมหาอุปราช และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติต่อไป ตำแหน่งพระมหาอุปราชปรากฏครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อมาสมเด็จพระเพทราชาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ภายหลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เลิกธรรมเนียมตั้งพระมหาอุปราช แล้วทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชแทน.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพและกรมพระราชวังบวรสถานมงคล · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพและราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)

มเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ นามเดิม ช่วง บุนนาค (พ.ศ. 2351 – พ.ศ. 2425) เป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ของสยามในสมัยรัตนโกสินทร์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการเมืองการปกครองของสยาม โดยเริ่มเข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งนับเป็นผู้ที่ดำรงตำแหน่ง "สมเด็จเจ้าพระยา" เป็นคนสุดท้าย นอกจากนี้ ท่านยังมีบทบาทในการอัญเชิญพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นครองสิริราชสมบัติและได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2416 ด้วย นอกจากด้านการปกครองแล้ว ท่านยังมีบทบาทสำคัญในด้านวรรณกรรม การละคร และดนตรี รวมถึงเป็นแม่กองในการก่อสร้าง บูรณะ ซ่อมแซม สถานที่ต่าง ๆ มากมาย เช่น พระนครคีรี พระอภิเนาว์นิเวศน์ คลองผดุงกรุงเกษม เป็นต้น สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์มีชีวิตยืนยาวถึง 5 รัชกาล ตั้งแต่เกิดในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และถึงแก่พิราลัยด้วยโรคลมขณะที่กำลังเดินทางกลับจากราชบุรี เมื่อ พ.ศ. 2425 ในสมัยต้นรัชกาลที่ 5 โดยมีอายุยืนยาวถึง 74 ปี.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพและสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าฉวีวาด ปราโมช

หม่อมเจ้าฉวีวาด ปราโมช ประสูติระหว่างปี 2397-2399 เป็นพระธิดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ (พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย) กับหม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช (หลานปู่ในกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข) เมื่อทรงเจริญวัยทรงได้รับการหมั้นหมายกับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากร พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่มารู้ภายหลังว่าท่านทรงมีหม่อมชื่อหม่อมสุ่น คัคณางค์ ณ อยุธยา อยู่ในวังแล้วคนหนึ่ง ด้วยทรงมีความคิดแนวก้าวหน้า ท่านจึงไม่ทรงยินยอม ทรงบังคับให้กรมหลวงพิชิตปรีชากรทรงเลิกรากับหม่อมสุ่น แต่กรมหลวงพิชิตปรีชากรทรงไม่ยินยอม นอกจากหม่อมเจ้าฉวีวาดไม่ทรงยินยอมด้วยแล้ว ทั้งยังแสดงพระอาการเอาแต่พระทัยผิดวิสัยกุลสตรีในสมัยนั้น คือทรงโยนพระของหมั้นทิ้งทางพระบัญชรตำหนักเรี่ยราดกับพื้น จนกรมหลวงพิชิตปรีชากร ทรงต้องให้มหาดเล็กมาเก็บคืนไป หม่อมเจ้าฉวีวาด ปราโมช เสกสมรสกับพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมลักษณวงศ์ กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร พระโอรสในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว และทรงมีความสนิทสนมกับครอบครัวนายโทมัส น็อกซ์ กงสุลอังกฤษ ในเวลาต่อมาท่านได้ทรงก้าวเข้าไปพัวพันกับความขัดแย้งระหว่างวังหลวงและวังหน้า โดยในวันรุ่งขึ้นหลังเหตุระเบิดที่ตึกดินในวังหลวง ท่านทรงว่าจ้างเรือสำเภาขนสมบัติและผู้ติดตามหนีไปยังเขมร พร้อมคณะละครของเจ้าจอมมารดาอัมพา ในรัชกาลที่ 2 ซึ่งถือเป็นคณะละครที่มีชื่อเสียงที่สุดในราชสำนักสยาม จนเรือถึงราชสำนักเขมร ซึ่งได้รับการตอบรับอย่างดีจากพระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์ (พระนามเดิม คือ นักองค์ราชาวดี) ด้วยความพอพระทัยในหม่อมเจ้าฉวีวาด ปราโมชและคณะละครที่ท่านนำมา โรงละครโรงใหญ่ของเจ้าจอมมารดาอำภา ไกรฤกษ์ ได้กลายเป็นต้นแบบของละครในประเทศเขมรปัจจุบันนี้ ครั้งเวลาล่วงเลยไป ท่านคืนสู่สยามในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และทรงบวชเป็นรูปชี ทรงใช้พระชนม์ชีพอย่างสงบ และสิ้นชีพิตักษัยเมื่อมีพระชนมายุได้ 80 ปี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช กล่าวอ้างในหนังสือ "โครงกระดูกในตู้" ว่าพระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์โปรดสถาปนาหม่อมเจ้าฉวีวาด ปราโมช เป็นพระชายา มีพระอิสริยยศเป็นพระราชเทวี มีพระราชโอรสพระองค์หนึ่งคือ พระองค์เจ้านโรดม พานคุลี จึงมีการกล่าวถึง "โครงกระดูกในตู้" ว่าให้ข้อมูลเกี่ยวกับหม่อมเจ้าฉวีฉาดผิดจากข้อเท็จจริงทั้งในเว็บพันทิป และเรือนไทย โดยได้ให้ข้อมูลว่าหม่อมเจ้าฉวีวาดมิได้เสกสมรสกับพระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์ และไม่มีความเกี่ยวข้องกับวิกฤตวังหน้า แท้จริงแล้วหม่อมเจ้าฉวีวาด ปราโมชได้สมรสกับสามัญชนกัมพูชา 5 คน มีบุตรชายเพียงคนเดียวคือ นุด หรือ น.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพและหม่อมเจ้าฉวีวาด ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาอัมพา ในรัชกาลที่ 2

้าจอมมารดาอัมพา ในปัจฉิมวัย เจ้าจอมมารดาอัมพา มีสมญาในการแสดงว่า อัมพากาญจหนา เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีพระทายาทสืบเชื้อสายในสายราชสกุลกปิตถา และปราโม.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพและเจ้าจอมมารดาอัมพา ในรัชกาลที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

กรมหมื่นวรจักรธรานุภาพกรมขุนวรจักรธรานุภาพพระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »