โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดช

ดัชนี พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดช

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดช ทรงเป็นต้นราชสกุลอิศรเสนา ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันจันทร์ แรม 2 ค่ำ เดือน 12 ปีวอก ตรงกับวันที่ 3 พฤศจิกายน..

40 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)พระยาประชาชีพ (ศิลา)พระเพชรคีรี (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคมพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ราชวงศ์จักรีราชสกุลวังหน้าศาสตราจารย์สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีหม่อมผิว สุขสวัสดิ์ ณ อยุธยาหม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุลหม่อมเจ้าภัทรลดา ดิศกุลหม่อมเจ้าทินทัต สุขสวัสดิ์หม่อมเทวาธิราช (หม่อมราชวงศ์แดง อิศรเสนา)ทัศนีย์ บุณยคุปต์ขจร ภะรตราชาดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)แม่เจ้าหม่อมราชวงศ์รถแก้วเจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)เจ้าพัฒนา ณ ลำพูนเจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่)เจ้าวรทัศน์ ณ ลำพูนเจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนเจ้าสุริยา ณ ลำพูนเจ้าอินทยงยศโชติเจ้าจอมมารดาสำลี ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์เจ้าจักรคำขจรศักดิ์เจ้าดารารัตน์ ณ ลำพูน

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 - สวรรคต 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ฉิม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา) (19 ธันวาคม พ.ศ. 2429 - 28 ธันวาคม พ.ศ. 2518) ผู้บัญชาการ (อธิการบดี) คนที่ 2 แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ดูแลนักเรียนไทยในประเทศอังกฤษ ปลัดเทศบาลนครกรุงเทพคนแรก เทศมนตรีและสมาชิกว.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและพระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาประชาชีพ (ศิลา)

มเด็จเจ้าฟ้าศิลา หรือ พระยาประชาชีพ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้รับราชการจนได้รับพระราชทาน ให้ดำรงบรรดาศักดิ์และราชทินนาม ที่ พระยาประชาชีพ พระองค์ทรงเป็นต้นสกุล "ศิลานนท์".

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและพระยาประชาชีพ (ศิลา) · ดูเพิ่มเติม »

พระเพชรคีรี (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง)

ันเอก พระเพชรคีรีศรีราชสงคราม (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง) อดีตผู้นำสกุล ณ ลำปาง อดีตเจ้าเมืองสงขลา อดีตผู้บังคับการพิเศษกรมทหารบกจังหวัดนครลำปาง และเป็นเจ้านายที่ข้าราชการเคารพนับถือเป็นอย่างมาก เป็นราชบุตรองค์โตของพลตำรวจตรี เจ้าราชวงศ์ (แก้วปราบเมรุ ณ ลำปาง) ท..

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและพระเพชรคีรี (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน

นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน หรือ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (23 มกราคม พ.ศ. 2424 - 14 กันยายน พ.ศ. 2479) พระบิดาแห่งกิจการวิทยุกระจายเสียงไทย พระบิดาแห่งการรถไฟไทย พระบิดาแห่งการท่องเที่ยวไทย และ พระบิดาแห่งโรตารีไท.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม

นายพลตรี นายพลเรือเอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแพ เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2399 พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ เป็นพระเจ้าน้องยาเธอที่มีบทบาทในงานวรรณกรรมในช่วงต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นเจ้าของและบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ดรุโณวาท ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ฉบับแรกที่เผยแพร่แก่ประชาชน และดำเนินการโดยคนไทย เริ่มออกฉบับแรกเมื่อ พ.ศ. 2417 ชื่อหนังสือมีความหมายว่า "โอวาทหรือคำสอนของคนหนุ่ม" มีทั้งสารคดีและบันเทิงคดี มีสาระทันสมัย แสดงความสามารถและสติปัญญาของคนหนุ่มรุ่นใหม่ในยุคนั้น พระองค์เจ้าเกษมสันตโสภาคย์ รับราชการในโรงพิมพ์และการเสื้อหมวก เป็นพนักงานจารึกอักษรในแผ่นศิลาประดับวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2467 สิริพระชันษาได้ 67 ปี.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์

ระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์ จางวางมหาดเล็ก มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร (6 กันยายน พ.ศ. 2421 - 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2475) จางวางพิเศษพระราชวังบางปะอิน.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์

ตราจารย์ ดร.พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมรสกับเจ้าสุภัทรา (สกุลเดิม ณ ลำพูน) อังกสิทธิ์ นัดดาในเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์สุดท้.ดร.พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ เป็นอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรั.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและพงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา

ตราจารย์ กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2539) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 อดีตเลขาธิการพระราชวัง และอดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลั.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อังกฤษ: Chiang Mai University; อักษรย่อ: มช.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทยที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค ตามโครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูม..

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

ราชสกุล

ราชสกุล เป็นนามสกุลสำหรับผู้สืบเชื้อสายมาจากตระกูลวงศ์ในพระมหากษัตริย์ เกิดขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและราชสกุล · ดูเพิ่มเติม »

วังหน้า

วังหน้า อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและวังหน้า · ดูเพิ่มเติม »

ศาสตราจารย์

ตราจารย์ (อักษรย่อ ศ.) คือผู้มีความเชี่ยวชาญในศิลปะวิทยาการเฉพาะด้าน หรือผู้สอนผู้มีความชำนาญระดับสูง ศาสตราจารย์อาจได้รับการคัดเลือกแล้วแต่งตั้งตามตำแหน่งทางวิชาการ หรือมีคุณวุฒิในระดับที่ควรแก่การยกย่อง มีคนในวงการอ้างถึงและยกผลงานให้เป็นทฤษฎี หรือมีผลงานวิจัยที่ส่งผลกระทบโดยกว้าง ความหมายของ ศาสตราจารย์ (professor) แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ สำหรับประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษในกลุ่มเครือจักรภพ (ยกเว้นแคนาดาและไอร์แลนด์) คำนี้หมายถึง อาจารย์อาวุโสที่ดำรงตำแหน่งระดับภาควิชา โดยเฉพาะหัวหน้าภาควิชา หรือหมายถึงตำแหน่งที่ได้รับเป็นการเฉพาะบุคคล สำหรับแคนาดาและสหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์เป็นตำแหน่งสำหรับอาจารย์อาวุโสในสถาบันอุดมศึกษาทั่วไป ตำแหน่งศาสตราจารย์ในอเมริกาและแคนาดาเปิดกว้างสำหรับอาจารย์จำนวนมากกว่าตำแหน่งในกลุ่มเครือจักรภพ หลายประเทศในทวีปยุโรป อาทิ เยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย คำว่า ศาสตราจารย์ ใช้เป็นคำนำหน้าชื่อตามกฎหมาย ซึ่งมีจำนวนจำกัด เช่นเดียวกับกลุ่มประเทศในเครือจักรภพ สำหรับประเทศไทยคำว่า ศาสตราจารย์ สามารถใช้นำหน้าชื่อได้ตามที่บุคคลนั้นต้องการ ประเทศที่พูดภาษาสเปนในลาตินอเมริกา คำว่า ศาสตราจารย์ (profesor) ใช้แก่ผู้ที่ทำหน้าที่สอนในโรงเรียน สถาบัน โรงเรียนเทคนิค โรงเรียนอาชีวศึกษา วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย โดยไม่คำนึงถึงระดับของเนื้อหาวิชา หรือระดับชั้นหรืออายุของนักเรียนนักศึกษา ซึ่งรวมไปถึงระดับอนุบาล ประถม มัธยมด้วยเป็นต้น ถึงเช่นนั้นก็ตาม ศาสตราจารย์ที่สอนอยู่ในมหาวิทยาลัยจะระบุว่าเป็น ศาสตราจารย์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและศาสตราจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์

มเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ พระนามเดิม จุ้ย (29 มีนาคม พ.ศ. 2316 - 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2360) เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลั.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม..

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมผิว สุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา

หม่อมผิว สุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม: วสุวัต; 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2438 – 30 กันยายน พ.ศ. 2534) เป็นครู และนักเขียน มีผลงานเรื่องสั้น และนวนิยาย เจ้าของนามปากกา "วรรณสิริ" ผู้เขียน วนิดา, นางทาส และนางครวญ ที่ได้รับความนิยม มีผู้นำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ และละครโทรทัศน์หลายครั้ง.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและหม่อมผิว สุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุล

หม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุล (28 พฤษภาคม พ.ศ. 2464 - 14 สิงหาคม พ.ศ. 2543) เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กับ หม่อมหลวงใหญ่ หรือ ลำดวน อิศรเสน.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและหม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าภัทรลดา ดิศกุล

หม่อมเจ้าภัทรลดา ดิศกุล มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าภัทรลดา ฉัตรไชย ประสูติเมื่อ 21 มีนาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและหม่อมเจ้าภัทรลดา ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าทินทัต สุขสวัสดิ์

ร้อยเอก หม่อมเจ้าทินทัต สุขสวัสดิ์ (10 กรกฎาคม พ.ศ. 2433 - 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2463) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชกับหม่อมแช่ม สุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา สมรสกับหม่อมผิว สุขสวัสดิ์ ณ อ.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและหม่อมเจ้าทินทัต สุขสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเทวาธิราช (หม่อมราชวงศ์แดง อิศรเสนา)

ร้อยเอก หม่อมเทวาธิราช (ม.ร.ว.แดง อิศรเสนา).., ร..ม. เกิดในสมัยรัชกาลที่ ๓ ตรงกับวันอังคารที่ ๒๔ กันยายน..

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและหม่อมเทวาธิราช (หม่อมราชวงศ์แดง อิศรเสนา) · ดูเพิ่มเติม »

ทัศนีย์ บุณยคุปต์

ท่านผู้หญิง ดร.ทัศนีย์ บุณยคุปต์ มีชื่อเดิมว่า ท่านผู้หญิง ทัศนีย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา อดีตอาจารย์ใหญ่โรงเรียนจิตรลดา เกิดเมื่อวันที่ 9 กันยายน..

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและทัศนีย์ บุณยคุปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ขจร ภะรตราชา

ท่านผู้หญิง ขจร ภะรตราชา ท่านผู้หญิง ขจร ภะรตราชา เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ ๒๑ กรกฎาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและขจร ภะรตราชา · ดูเพิ่มเติม »

ดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)

Aquatint of a Doctor of Divinity at the University of Oxford, in the scarlet and black academic robes corresponding to his position. From Rudolph Ackermann's ''History of Oxford'', 1814. ดอกเตอร์ หรือ ด็อกเตอร์ (doctor) เป็นคำศัพท์ที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษโดยคำศัพท์คำนี้มีรากศัพท์ในภาษาละติน doctor เป็นคำนานที่มาจากกริยาในภาษาละติน docēre แปลว่าสอน ดอกเตอร์ถูกใช้มานานในทวีปยุโรปตั้งแต่การก่อต้งสถาบันอุดมศึกษา และถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายในหลายประเทศทั่วโลก ในภาษาอังกฤษ ดอกเตอร์เป็นคำนำหน้าชื่อของผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก รวมถึงแพทย์และทันตแพทย์ ในประเทศไทย คำนำหน้าชื่อนี้ใช้เฉพาะในความหมายของผู้สำเร็จปริญญาเอกเท่านั้น เพราะมีคำนำหน้าอื่นสำหรับแพทย์และทันตแพท.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม) · ดูเพิ่มเติม »

แม่เจ้าหม่อมราชวงศ์รถแก้ว

แม่เจ้ารถแก้ว หรือพระนามเดิม หม่อมราชวงศ์หญิงรถแก้ว อิศรเสนา เป็นชายาในเจ้าอินทยงยศโชติ เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 9 และเป็นธิดาในหม่อมเจ้าสัตบุศ อิศรเสนา (พระโอรสในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดช) กับเจ้าหญิงในราชวงศ์ทิพย์จักร (เชื้อเจ้าเจ็ดตน).

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและแม่เจ้าหม่อมราชวงศ์รถแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)

มหาเสวกเอก เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา; 31 มีนาคม พ.ศ. 2405 - 26 มกราคม พ.ศ. 2484) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัง.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและเจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพัฒนา ณ ลำพูน

้าพัฒนา ณ ลำพูน (11 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 - พ.ศ. 2512) เจ้านายฝ่ายเหนือ ราชบุตรองค์สุดท้ายในเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์สุดท้าย กับแม่เจ้าส่วนบุญจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าพัฒนา ณ ลำพูน ถึงแก่อนิจกรรมในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและเจ้าพัฒนา ณ ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน

้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน (พ.ศ. 2449 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538) เจ้านายฝ่ายเหนือ ราชบุตรองค์โตใน เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์สุดท้าย กับแม่เจ้าขานแก้วขจรศักดิ์ เจ้าพงศ์ธาดา เป็นผู้เป็นพุทธบริษัท ทำนุบำรุงพรพพุทธศาสนาตลอด และสอนให้บุตรทุกคนประพฤติดี ปฏิบัติชอบ เมื่อครั้งไปรับราชการที่จังหวัดนครปฐม เจ้าพงศ์ธาดา มีพี่น้องร่วมบิดามารดา 4 ท่าน คือ เจ้าลำเจียก ณ ลำพูน เจ้าวรรณรา ณ ลำพูน เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน และเจ้ารัทธาธร ณ ลำพูน และมีน้องต่างมาดา จำนวน 4 คน คือ เจ้าประกายคำ ณ ลำพูน เจ้าสุริยา ณ ลำพูน เจ้าวรทัศน์ ณ ลำพูน และเจ้าพัฒนา ณ ลำพูน.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและเจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่)

รองอำมาตย์เอก พลตรี เจ้าราชบุตร หรือพระนามเดิมคือ เจ้าวงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่ เป็นเจ้าราชบุตรองค์สุดท้ายแห่งจังหวัดเชียงใหม่ อดีตผู้บังคับการพิเศษกรมผสมที่ 7 ราชองครักษ์พิเศษ อดีตสมาชิกวุฒิสภา และเป็นราชโอรสในพลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 กับแม่เจ้าจามรีวง.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าวรทัศน์ ณ ลำพูน

้าวรทัศน์ ณ ลำพูน (12 มิถุนายน พ.ศ. 2454 - 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508) อดีตรัฐมนตรีในรัฐบาลของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน 2 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและเจ้าวรทัศน์ ณ ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน

ลอากาศตรี เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน (พ.ศ. 2483 -) เจ้านายฝ่ายเหนือ ผู้สืบราชสกุลเจ้าผู้ครองนครลำพูน เป็นบุตรคนโตในเจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน กับท่านหญิงจิตรจง ณ ลำพูน มีศักดิ์เป็นพระนัดดาในเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์สุดท้าย นอกจากหน้าที่ในการสืบราชสกุลแล้ว เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน ยังเป็นผู้ดูแลคุ้มหลวงของเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ ซึ่งตั้งอยู่ที่ตำบลอุโมงค์ อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและเจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าสุริยา ณ ลำพูน

้าสุริยา ณ ลำพูน เจ้านายฝ่ายเหนือ ราชบุตรองค์ในเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์สุดท้าย กับหม่อมแว่นแก้ว และเป็นอดีตอัยการจังหวัดตาก.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและเจ้าสุริยา ณ ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอินทยงยศโชติ

้าอินทยงยศโชติ (110px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์ที่ 9 ในราชวงศ์ทิพย์จักร.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและเจ้าอินทยงยศโชติ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาสำลี ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์

้าจอมมารดาสำลี หรือ พระองค์เจ้าหญิงสำลีวรรณ เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี และเป็นพระสนมในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ วังหน้าในรัชกาลที่ 2 พระองค์เจ้าหญิงสำลีวรรณ เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 17 ในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาอำพัน พระสนมเอก (เจ้าจอมมารดาอำพัน เป็นธิดาของเจ้าอุปราชจันทร์ แห่งเมืองนครศรีธรรมราช เป็นต้นสกุล "จันทโรจวงศ์") มีพระเชษฐาร่วมเจ้าจอมมารดาคือ พระองค์เจ้าชายอรนิกา (พระราชโอรสพระองค์ที่ 9 ในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี) เจ้าจอมมารดา พระองค์เจ้าหญิงสำลีวรรณ มีพระราชโอรสพระราชธิดากับสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ ทั้งสิ้น 6 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและเจ้าจอมมารดาสำลี ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจักรคำขจรศักดิ์

ลตรี มหาอำมาตย์โท เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ (120px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าดารารัตน์ ณ ลำพูน

ณ เจ้าดารารัตน์ ณ ลำพูน ประธานมูลนิธิจักรคำขจรศักดิ์ และที่ปรึกษาสมาคมผู้บำเพ็ญประโยชน์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ (ศูนย์ฝึกภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่) เจ้าดารารัตน์เป็นเจ้านายฝ่ายเหนือที่มีบทบาทสำคัญในกิจกรรมต่าง.

ใหม่!!: พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดชและเจ้าดารารัตน์ ณ ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดช

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »