โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กรมราชเลขานุการในพระองค์

ดัชนี กรมราชเลขานุการในพระองค์

กรมราชเลขานุการในพระองค์ (เดิมคือ สำนักราชเลขาธิการ) เป็นหน่วยงานราชการในสังกัด สำนักพระราชวัง ซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวกับการเลขานุการในองค์ พระมหากษัตริย์ เกี่ยวกับงานหนังสือที่หน่วยราชการ เอกชนและบุคคลทั่วไปส่งเข้ามา เพื่อขอให้นำความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณา ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต พระบรมราชวินิจฉัยและพระมหากรุณา แล้วแต่กรณี รวมทั้งทำหน้าที่รับพระราชทานพระราชดำริและพระราชดำรัส เพื่อเชิญไปยังหน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง มีบทบาทเป็นผู้ประสานงานระหว่างพระมหากษัตริย์กับรัฐบาล และหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐหรือเอกชนและบุคคลทั่วไป ทั้งที่เป็นราชการแผ่นดินและการส่วนพระองค์ ก่อตั้งขึ้นในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในตอนนั้นเรียกว่าออฟฟิศไปรเวตสิเกรตารีหลวง หรือกรมราชเลขาธิการ.

62 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2433พ.ศ. 2455พ.ศ. 2462พ.ศ. 2475พ.ศ. 2493พ.ศ. 2512พ.ศ. 2538พ.ศ. 2543พ.ศ. 2555พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560พระบรมมหาราชวังพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระมหากษัตริย์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุพลอากาศตรีพลอากาศโทพลอากาศเอกพลเอกกรุงเทพมหานครกฤษณ์ กาญจนกุญชรกษมา วรวรรณ ณ อยุธยาภรณี มหานนท์มูลนิธิอานันทมหิดลยศทหารและตำรวจไทยสมเด็จพระราชินีนาถสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสำนักพระราชวังสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์สุภรภ์เพ็ญ หลวงเทพนิมิตสถิตย์พงษ์ สุขวิมลหม่อมราชวงศ์บุตรี วีระไวทยะหม่อมราชวงศ์จีริกัญญา โชติกเสถียรหม่อมหลวงพีระพงศ์ เกษมศรีหม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์หม่อมเจ้านิกรเทวัญ เทวกุลอาสา สารสินจรุงจิตต์ ทีขะระถนนหน้าพระลานทูบีนัมเบอร์วันทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)คณะองคมนตรีเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์)เขตพระนคร...เครือข่ายกาญจนาภิเษก1 สิงหาคม1 ตุลาคม11 ธันวาคม13 กรกฎาคม14 กันยายน15 กุมภาพันธ์18 กันยายน2 พฤษภาคม24 มิถุนายน30 กันยายน9 ธันวาคม ขยายดัชนี (12 มากกว่า) »

พ.ศ. 2433

ทธศักราช 2433 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1890 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพ.ศ. 2433 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2455

ทธศักราช 2455 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1912 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพ.ศ. 2455 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพ.ศ. 2462 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมมหาราชวัง

ระบรมมหาราชวัง หรือพระราชวังพระนคร เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน พระบรมมหาราชวังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับที่ 16 ของโลก โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมในปี พ.ศ. 2549 เป็นจำนวนถึง 8,995,000 คน.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพระบรมมหาราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์

กษัตริย์ หรือ พระมหากษัตริย์ คือประมุขหรือผู้ปกครองสูงสุดของรัฐ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือในราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีน้อยมากซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็ก พระมหากษัตริย์เป็นได้ด้วยการสืบสันตติวงศ์หรือโดยการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมแล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ การสืบสันตติวงศ์ของพระมหากษัตริย์จะสืบทอดต่อกันมาโดยเชื้อพระวงศ์ เรียกว่าพระราชวงศ์ เมื่อสิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ์ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะเป็นตันพระราชวงศ์ใหม่ หรือเป็นผู้สถาปนาพระราชวงศ์ พระมหากษัตริย์อาจมีคำเรียกแตกต่างกัน เช่น พระราชาธิบดี พระจักรพรรดิ พระราชา เจ้ามหาชีวิต เป็นต้น กษัตริย์ ในสังคมฮินดู ยังหมายถึงวรรณะที่ 2 จาก 4 วรรณะ คือวรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพระมหากษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมตอมรพันธ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ ประสูติเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2403 เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 49 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่ท้าวทรงกันดาล (เจ้าจอมมารดาหุ่น) พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ ทรงรับราชการในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งแต..

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี

มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี พระนามเดิม พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม เป็นพระราชโอรสลำดับที่ ๑๕ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแช่ม (กัลยาณมิตร) บุตรีพระยามหาอำมาตย์ (ชื่น) เมื่อ..

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ (พระนามเดิม: หม่อมหลวงโสมสวลี กิติยากร; ประสูติ: 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2500) เป็นพระภคินี (ลูกพี่ลูกน้อง) และอดีตพระวรชายาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เป็นธิดาคนโตของหม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร กับท่านผู้หญิงพันธุ์สวลี กิติยากร พระองค์เป็นทั้งพระภาติยะและอดีตพระสุณิสาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องจากอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรซึ่งขณะนั้นดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พระองค์มีพระอิสริยยศเป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรชายาฯ ถือเป็นเจ้านายที่ดำรงพระอิสริยยศเป็น พระวรชายา พระองค์แรก มีพระราชธิดา คือ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา แต่หลังการหย่าในปี..

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ · ดูเพิ่มเติม »

พลอากาศตรี

ลอากาศตรี (Air vice-marshal) คือยศนายพลระดับสองดาวของเจ้าหน้าที่ระดับสูงในกองทัพอากาศ ยศซึ่งเกิดขึ้นและยังคงถูกใช้โดยกองทัพอากาศ ยศยังถูกใช้โดยกองทัพอากาศของหลายประเทศซึ่งมีอิทธิพลทางประวัติศาสตร์ของอังกฤษ โดยทั่วไปพลอากาศโท เทียบเท่ากับพลตรีในกองทัพบกและพลเรือตรีในกองทัพเรือ.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพลอากาศตรี · ดูเพิ่มเติม »

พลอากาศโท

ลอากาศโท (Air marshal) คือยศนายพลระดับสามดาวของเจ้าหน้าที่ระดับสูงในกองทัพอากาศ ยศซึ่งเกิดขึ้นและยังคงถูกใช้โดยกองทัพอากาศ ยศยังถูกใช้โดยกองทัพอากาศของหลายประเทศซึ่งมีอิทธิพลทางประวัติศาสตร์ของอังกฤษ โดยทั่วไปพลอากาศโท เทียบเท่ากับพลโทในกองทัพบกและพลเรือโทในกองทัพเรือ.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพลอากาศโท · ดูเพิ่มเติม »

พลอากาศเอก

ลอากาศเอก (air chief marshal) คือ ยศของเจ้าพนักงานทหารอากาศระดับสี่ดาว ซึ่งใช้เป็นครั้งแรกในกองทัพอากาศอังกฤษ และปัจจุบันก็ยังใช้อยู่ในกองทัพดังกล่าว ยศนี้ยังได้รับการใช้ในกองทัพอากาศของหลาย ๆ ประเทศซึ่งได้รับอิทธิพลทางประวัติศาสตร์มาจากประเทศอังกฤษ เจ้าพนักงานซึ่งดำรงยศพลอากาศเอกนี้มักเป็นเจ้าพนักงานชั้นผู้ใหญ่อย่างยิ่ง เช่น เป็นผู้บัญชาการกองทัพหรือกองทัพอากาศระดับชาต.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพลอากาศเอก · ดูเพิ่มเติม »

พลเอก

ลเอก (General officer) คือ ยศของเจ้าหน้าที่ระดับสูงในกองทัพบก และในกองทัพเรือและกองทัพอากาศสำหรับบางประเทศ คำว่า "General" หรือ "นายพล" ถูกนำมาใช้ได้สองแบบ คือ โดยทั่วไปหมายถึงนายทหารชั้นยศนายพลทั้งหมดตั้งแต่ พลจัตวา ถึง พลเอก และใช้เฉพาะเจาะจงหมายถึงยศพลเอก.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และพลเอก · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณ์ กาญจนกุญชร

กฤษณ์ กาญจนกุญชร (เกิด 14 ตุลาคม พ.ศ. 2491) กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อธิบดีกรมราชเลขานุการในพระองค์ อดีตราชเลขาธิการในพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว กรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และกฤษณ์ กาญจนกุญชร · ดูเพิ่มเติม »

กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา

ณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา กรรมการกฤษฎีกาอดีตเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อธิบดีกรมสามัญศึกษาคนสุดท้าย เลขาธิการคณะกรรมการการประถมศึกษา (กปช.) ที่ปรึกษาโครงการตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และตำแหน่งอื่นๆ อีกหลายตำแหน่งในกระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ภรณี มหานนท์

ร.ท่านผู้หญิง ภรณี มหานนท์ มีชื่อเดิมว่าภรณี กีร์ติบุตร รองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถสำนักราชเลขาธิการ ท่านผู้หญิง ภรณี มหานนท์ เป็นบุตรีของพล.ต.ท.ประจวบ กีร์ติบุตร และ คุณหญิงกระจ่างศรี กีร์ติบุตร เกิดเมื่อปีพ.ศ. 2488 เป็นบุตรสาวคนโต ในจำนวนพี่น้อง 4 คน คือ ท่านผู้หญิงภรณี มหานนท์,สุวิสาส์ กีรติบุตร,สุรพิทย์ กีรติบุตร,จิตตระเสน กีรติบุตร และต่อมาสมรสกับพล.ต.อ.ณรงค์ มหานนท์ อดีตอธิบดีกรมตำรวจ จบการศึกษาจาก โรงเรียนมาแตร์เดอีจนจบมัธยมปีที่ 8 เมื่อ 2504 คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ รุ่นที่ 14 (เรียน 3 เดือนก็สอบชิงทุน) ปริญญาตรีทางสังคมวิทยา ที่คอลเลจ ออฟนิวโรเชล นิวยอร์ก และ ปริญญาโทและเอก ทางรัฐประศาสนศาสตร์จากมหาวิทยาลัยนิวยอร์ก ท่านผู้หญิง ภรณี มหานนท์ เริ่มเข้าทำงานเป็นเจ้าหน้าที่กรมวิเทศสหการ,2512 กรรมการบริหารสมาคมนักเรียนเก่ามาแตร์เดอีวิทยาลัย,2513 อาจารย์ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า),2518 ผู้เชี่ยวชาญทางรัฐประศาสนศาสตร์ อีสเวสเซนเตอร์ ฮาวาย,2518 รองเลขาธิการสภาสังคมสงเคราะห์,2523 รองคณบดี คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า),2525 คณบดี คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า), 1 ตุลาคม 2526 นายกสมาคมแม่บ้านตำรวจ คนที่ 1 (ปี 2526-2530),เลขาธิการสหพันธ์สตรีนักธุรกิจ และวิชาชีพ กรรมการสมาคมไทย-อเมริกัน,2531 ที่ปรึกษาสมาคมนักเรียนเก่ามาแตร์เดอีวิทยาลัย และ นายกสมาคมนักเรียนเก่ามาแตร์เดอีวิทยาลัย ต่อมาท่านผู้หญิง ภรณี มหานนท์ ได้เข้ารับราชการที่สำนักราชเลขาธิการ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2528 เป็นวิทยากรพิเศษ กองราชเลขานุการ,1 ตุลาคม 2529 รองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ฝ่ายศิลปาชีพ (เทียบเท่าผู้ช่วยราชเลขาธิการ)และเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2545 เป็นรองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ (เทียบเท่ารองราชเลขาธิการ)ในปัจจุบัน ท่านผู้หญิง ภรณี มหานนท์ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท่านผู้หญิง) 5 พฤษภาคม 2541,ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) 5 พฤษภาคม 2539,มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก 5 ธันวาคม 2538 และมหาวชิรมงกุฎ 5 ธันวาคม 2534 และได้รับรางวัลสุภาพสตรีผู้มีบุคคลิกดีเด่นสาขาข้าราชการของสมาคมส่งเสริมบุคคลิกสตรี เมื่อ พ.ศ. 2530.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และภรณี มหานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิอานันทมหิดล

ตราสัญลักษณ์ มูลนิธิอานันทมหิดล (Anandamahidol Foundation) เป็นมูลนิธิที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งขึ้น เพื่อมุ่งส่งเสริมสนับสนุนนักศึกษาและบัณฑิตชาวไทยที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการสาขาต่าง ๆ ให้ได้รับโอกาสไปศึกษาต่อเพิ่มเติม ณ ต่างประเทศ ในระดับที่สูงขึ้น เพื่อให้เป็นบุคคลชั้นนำของประเทศในสาขาวิชานั้น ๆ และนำความรู้ความเชี่ยวชาญกลับมารับใช้ประเทศชาติต่อไปหลังจากสำเร็จการศึกษาระดับสูงสุดแล้ว ในระยะแรก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จัดตั้งทุนอานันทมหิดล และทรงเริ่มพระราชทานทุนในสาขาแพทยศาสตร์เป็นสาขาแรก ต่อมา ได้มีพระบรมราชวินิจฉัยให้เปลี่ยนสถานภาพจากทุนเป็นมูลนิธิ ชื่อ มูลนิธิอานันทมหิดล และได้ขยายขอบเขตการพระราชทานทุนเพิ่มขึ้นในหลายสาขา ครอบคลุมทั้งสาขาวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ ชมรมผู้รับพระราชทานทุนอานันทมหิดล.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และมูลนิธิอานันทมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ยศทหารและตำรวจไทย

รื่องราชอิสริยาภรณ์และตราสัญลักษณ์ของกองทัพไทย ยศทหารและตำรวจไทยตามแบบชาติตะวันตกเริ่มกำหนดให้มียศทหารและตำรวจไทยขึ้นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นยุคที่มีการปรับปรุง และจัดระบบระเบียบการบริหารราชการแผ่นดินใหม่ตามแบบยุโรปในทุกด้าน โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แยกยศและบรรดาศักดิ์ออกจากกันอย่างเด็ดขาด และโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติสำหรับลำดับยศนายทหารบกขึ้นในปี พ.ศ. 2431 กำหนดให้มียศทหารบกตามลำดับชั้นแบบอารยประเทศ ต่อมาเมื่อจัดระเบียบฝ่ายทหารบกเรียบร้อยแล้วจึงให้จัดระเบียบยศทหารเรือ โดยอนุโลมตามแบบกองทัพเรือต่างประเทศเป็นลำดับถัดมา เมื่อมีการจัดตั้งกองทัพอากาศในสมัยรัชกาลที่ 8 ก็ได้จัดระเบียบยศทหารโดยอนุโลมตามแบบกองทัพเรือ ส่วนยศของตำรวจนั้นได้นำรูปแบบยศของกองทัพบกมาปรับใช้โดยอนุโลม ยศต่างๆ ในประเทศไทยสมัยปัจจุบันมีกฎหมายรองรับเป็นพระราชบัญญัติยศทหาร พุทธศักราช 2479 สำหรับยศของสามเหล่าทัพ และพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาต..

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และยศทหารและตำรวจไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถ

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยแบบรัฐสภา สมเด็จพระราชินีนาถ (Queen Regnant) คือ พระมหากษัตริย์หญิงผู้ครองราชสมบัติด้วยสิทธิ์ของพระองค์เอง ต่างจาก "สมเด็จพระราชินี" (Queen Consort) ซึ่งเป็นพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติ และไม่ทรงมีอำนาจในการบริหารราชกิจของบ้านเมืองอย่างเป็นทางการใด ๆ โดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์มีทั้ง "สมเด็จพระราชาธิบดี" (King Regnant) และ "พระมหากษัตริย์พระราชสวามี" (King Consort) แต่เกิดขึ้นได้ยาก และมีการใช้พระอิสริยยศเพียงสองครั้งในประวัติศาสตร์ราชวงศ์อังกฤษ ระบอบราชาธิปไตยในปัจจุบันที่ให้สมเด็จพระราชินีนาถทรงครองราชบัลลังก์ พระสวามีของพระองค์จะไม่ได้มีพระอิสริยยศเป็นพระราชา แต่เป็นเพียงแค่ชั้นเจ้าชายเท่านั้น พระราชสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระสวามีคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสก็อตแลนด์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชสวามีในอาณาจักรของพระองค์เอง แต่ไม่เป็นที่ชื่นชอบของพสกนิกรและการอภิเษกสมรสกินเวลาเพียงไม่นาน พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระราชินีนาถแห่งชาวสก็อต ทรงได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี พระมหากษัตริย์ที่ปกครองร่วมกันเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และที่ 1 แห่งไอร์แลนด์ แต่ถือเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองร่วมกันครั้งเดียว และเป็นทางการที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ แต่หลังจากนั้นมา พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถในประเทศอังกฤษได้รับการสถาปนาเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" (Prince Consort) (มีเพียงคนเดียวที่ได้รับการแต่งตั้งพระอิสริยยศนี้อย่างเป็นทางการคือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) การเสวยราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถจะเกิดขึ้นเมื่อลำดับการสืบราชบัลลังก์เอื้ออำนวย วิธีการสืบราชสมบัติ (เป็นพระมหากษัตริย์ หัวหน้าเผ่า ฯลฯ) และรวมถึงการแต่งตั้ง (พระมหากษัตริย์ในรัฐสภา หรือ คณะมนตรีแต่งตั้งรัชทายาท) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติก่อนที่สุด (primogeniture) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติหลังที่สุด (ultimogeniture) ขอบเขตในการสืบราชสมบัติอาจยึดจากสายทางพระชนก สายทางพระชนนีหรือทั้งสองฝ่าย หรือที่ไม่ค่อยเกิดขึ้น (เมื่อถึงคราวจำเป็น) มาจากการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการสืบราชสมบัติโดยตามเพศ อาจจะให้ทั้งชายและหญิง จำกัดแต่เพศชายเท่านั้น หรือจำกัดแต่เพศหญิงเท่านั้น การสืบราชบัลลังก์ที่เป็นแบบแผนมากที่สุดตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายตลอดจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นแบบการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดา (male-preference primogeniture) กล่าวคือ ลำดับการสืบราชบัลลังก์อยู่ในบรรดาพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ตามลำดับการประสูติก่อนแล้วจึงตามมาด้วยของพระราชธิดา ในบางอาณาจักรทางประวัติศาสตร์ห้ามมิให้มีการสืบราชสมบัติโดยผู้หญิงหรือผ่านทางเชื้อสายของผู้หญิง แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีบางแห่งที่ยังคงยึดถือหลักเกณฑ์นี้ตามกฎหมายแซลิก ดังตัวอย่างเช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก แต่เมื่อกษัตริย์ดัตช์พระองค์สุดท้ายเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2433 และสืบราชบัลลังก์ต่อมาโดยพระราชธิดา กฎหมายแซลิกจึงไม่ยอมให้ลักเซมเบิร์กยอมรับพระองค์ในฐานะเป็นแกรนด์ดัชเชสผู้ปกครองตามพระราชสิทธิของพระองค์เอง เช่นเดียวกับตอนที่ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์แห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ พระองค์ไม่ได้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งแฮโนเวอร์ด้วย ถึงแม้ว่าสมเด็จพระปิตุลาธิราชของพระองค์ทรงเคยเป็นกษัตริย์ของทั้งสองประเทศมาก่อน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ประเทศสวีเดน นอร์เวย์ เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ได้แก้ไขพระราชบัญญัติการสืบราชบัลลังก์จากการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดามาเป็นมีสิทธิสืบราชสมบัติเท่ากันตามลำดับการประสูติโดยไม่จำกัดเรื่องเพศ ในบางกรณี การเปลี่ยนแปลงอาจยังไม่ส่งผลอะไรมากมายจนกว่ารุ่นต่อจากรุ่นปัจจุบันเกิดขึ้นมา เพื่อหลีกเลี่ยงการยึดตำแหน่งของบุคคลที่อยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์มาก่อน โดยเฉพาะในพระอิสริยยศพิเศษ.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และสมเด็จพระราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500) พระราชธิดาพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระขนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ในพระราชวังดุสิตสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี มีพระธิดา 2 พระองค์ คือ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ พระองค์ทรงเป็นเจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์ผู้มีผลงานดีเด่นของโลกในสาขาสารเคมีก่อมะเร็ง และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม ทรงก่อตั้งสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สำนักพระราชวัง

ำนักพระราชวัง (Bureau of the Royal Household; BRH) เป็นหน่วยงานของทางราชการมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลและรับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระราชวัง ตลอดจนดูแลรักษาทรัพย์สินและผลประโยชน์ในองค์ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้บังคับบัญชาสำนักพระราชวัง และเลขาธิการพระราชวังเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชกิจราชการ.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และสำนักพระราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์

ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ (Crown Property Bureau; อักษรย่อ: CPB) เป็นนิติบุคคล มีหน้าที่จัดการ ดูแลรักษา จัดหาผลประโยชน์ และดำเนินการอื่นใดอันเกี่ยวกับทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ (ซึ่งประกอบด้วย ทรัพย์สินส่วนพระองค์ และทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์) ตามที่พระมหากษัตริย์ทรงมอบหมาย ยกสถานะขึ้นเป็นนิติบุคคลเมื่อปีวันที่ 18 กุมภาพัน..

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

สุภรภ์เพ็ญ หลวงเทพนิมิต

ท่านผู้หญิงสุภรภ์เพ็ญ หลวงเทพนิมิต หรือชื่อเดิม สุภรเพ็ญ หลวงเทพ (สกุลเดิม ณ พัทลุง) รองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สำนักราชเลขาธิการ และผู้รับผิดชอบโรงฝึกศิลปาชีพฯ สวนจิตรลดา ท่านผู้หญิงสุภรภ์เพ็ญสมรสกับพันเอก ศิรช์ณรงค์ หลวงเทพนิมิต.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และสุภรภ์เพ็ญ หลวงเทพนิมิต · ดูเพิ่มเติม »

สถิตย์พงษ์ สุขวิมล

ลอากาศเอก สถิตย์พงษ์ สุขวิมล เลขาธิการพระราชวัง เล่ม ๑๓๕ ตอน ๕๕ ง พิเศษ หน้า ๒ ๑๒ มีนาคม..

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และสถิตย์พงษ์ สุขวิมล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์บุตรี วีระไวทยะ

ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ คุณข้าหลวงในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ผู้บริหารงานในพระองค์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และประจำสำนักพระราชวังพิเศษ สำนักพระราชวัง อดีตรองราชเลขาธิการ สำนักราชเลขาธิการ.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และหม่อมราชวงศ์บุตรี วีระไวทยะ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์จีริกัญญา โชติกเสถียร

ท่านผู้หญิงจีริกัญญา โชติกเสถียร มีนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์จีริกัญญา กิติยากร (4 พฤษภาคม พ.ศ. 2490) เป็นธิดาของหม่อมเจ้าจีรินันท์ กิติยากร กับหม่อมสมลักษณ์ กิติยากร ณ อยุธยา (สกุลเดิม ทิพย์สมัย) สมรสกับหรรษา โชติกเสถียร มีบุตร 2 คน คือ จิตีวันต์ โชติกเสถียร และอภิธร โชติกเสถียร ปัจจุบันเป็นผู้ช่วยราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยได้ถวายงานรับใช้มาโดยตลอ.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และหม่อมราชวงศ์จีริกัญญา โชติกเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงพีระพงศ์ เกษมศรี

หม่อมหลวงพีระพงศ์ เกษมศรี (24 กันยายน พ.ศ. 2475 - 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2543) อดีตเอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรแห่งประเทศไทยประจำสหประชาชาติ เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงโตเกียว และกรุงวอชิงตัน และอดีตราชเลขาธิการ ซึ่งได้ล้มป่วยด้วยโรคมะเร็งหลอดอาหาร และถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคหัวใจล้มเหลว เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 ด้วยวัย 65 ปี.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และหม่อมหลวงพีระพงศ์ เกษมศรี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์

หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ (26 มกราคม พ.ศ. 2466 - 7 เมษายน พ.ศ. 2549) อดีตราชเลขาธิการ และองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรมด้วยอาการไตวาย และหัวใจวาย เมื่อเวลา 01.53 น. วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2549 ที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สิริอายุ 83 ปี.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และหม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้านิกรเทวัญ เทวกุล

หม่อมเจ้านิกรเทวัญ เทวกุล (16 มกราคม พ.ศ. 2440 - 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2519) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการกับหม่อมพุก เทวกุล ณ อยุธยา และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และหม่อมเจ้านิกรเทวัญ เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

อาสา สารสิน

นายอาสา สารสิน (26 พฤษภาคม 2479 -) อดีตราชเลขาธิการในพระองค์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และอดีต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และอาสา สารสิน · ดูเพิ่มเติม »

จรุงจิตต์ ทีขะระ

ท่านผู้หญิงจรุงจิตต์ ทีขะระ เป็นนางสนองพระโอษฐ์ และ ราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และจรุงจิตต์ ทีขะระ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนหน้าพระลาน

ถนนหน้าพระลาน(ช่วงที่ผ่านมหาวิทยาลัยศิลปากร) ตึกแถวริมถนนหน้าพระลาน ถนนหน้าพระลาน (Thanon Na Phra Lan) เป็นถนนในแขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ตั้งต้นจากปลายถนนราชดำเนินในต่อถนนสนามไชยที่มุมป้อมเผด็จดัสกร ไปตามกำแพงพระบรมมหาราชวัง ตัดกับถนนมหาราช ไปสุดที่ท่าช้างวังหลวง ถนนหน้าพระลานเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น โดยขยายจากถนนเดิมที่มีอยู่ก่อนแล้วตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช แต่เป็นถนนนูนดินสูง เหตุที่ชื่อถนนหน้าพระลานเพราะเป็นถนนที่อยู่หน้าพระลานพระบรมมหาราชวัง ỒỒ หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ถนนในเขตพระนคร.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และถนนหน้าพระลาน · ดูเพิ่มเติม »

ทูบีนัมเบอร์วัน

TO BE NUMBER ONE โครงการทูบีนัมเบอร์วัน (TO BE NUMBER ONE) คือโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ใน ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงเป็นองค์ประธานอำนวยการโครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพต.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และทูบีนัมเบอร์วัน · ดูเพิ่มเติม »

ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี

ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี (พระนามเดิม สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี; ประสูติ: 5 เมษายน 2494) เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระเชษฐภคินีพระองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร หลังจากทรงสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ณ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกาแล้ว ทรงประกาศลาออกจากฐานันดรศักดิ์เป็นสามัญชน เพื่อเข้าพระพิธีเสกสมรสกับปีเตอร์ แลดด์ เจนเซนในพระบรมหาราชวังตามพระราชประเพณี แล้วเสด็จไปประทับด้วยพระสวามี ณ สหรัฐอเมริกาเมื่อ..

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี · ดูเพิ่มเติม »

ดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)

Aquatint of a Doctor of Divinity at the University of Oxford, in the scarlet and black academic robes corresponding to his position. From Rudolph Ackermann's ''History of Oxford'', 1814. ดอกเตอร์ หรือ ด็อกเตอร์ (doctor) เป็นคำศัพท์ที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษโดยคำศัพท์คำนี้มีรากศัพท์ในภาษาละติน doctor เป็นคำนานที่มาจากกริยาในภาษาละติน docēre แปลว่าสอน ดอกเตอร์ถูกใช้มานานในทวีปยุโรปตั้งแต่การก่อต้งสถาบันอุดมศึกษา และถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายในหลายประเทศทั่วโลก ในภาษาอังกฤษ ดอกเตอร์เป็นคำนำหน้าชื่อของผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก รวมถึงแพทย์และทันตแพทย์ ในประเทศไทย คำนำหน้าชื่อนี้ใช้เฉพาะในความหมายของผู้สำเร็จปริญญาเอกเท่านั้น เพราะมีคำนำหน้าอื่นสำหรับแพทย์และทันตแพท.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม) · ดูเพิ่มเติม »

คณะองคมนตรี

ณะองคมนตรี (privy council) คือ กลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่ประมุขแห่งรัฐ โดยทั่วไปในประเทศที่ปกครองแบบราชาธิปไตย ในภาษาอังกฤษ คำว่า "privy" หมายถึง "ส่วนตัว" หรือ "ลับ" ดังนั้นแรกเริ่มเดิมที privy council คือคณะที่ปรึกษาที่ใกล้ชิดที่สุดของกษัตริย์ที่ให้คำปรึกษาที่รักษาเป็นความลับในเรื่องกิจการรัฐ ประเทศที่มีสภาองคมนตรีหรือองค์กรเทียบเท่าในปัจจุบัน เช่น สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ, ประเทศแคนาดา, ราชอาณาจักรเดนมาร์ก, ราชอาณาจักรตองกา และ ราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และคณะองคมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์)

้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) มีนามเดิมว่า ลออ ไกรฤกษ์ (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2417 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2499) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 7 อดีตเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระนคร

ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และเขตพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

เครือข่ายกาญจนาภิเษก

รือข่ายกาญจนาภิเษก (Golden Jubilee Network) คือ เว็บไซต์ที่เชื่อมโยงข้อมูลความรู้เกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อาทิ พระราชกรณียกิจ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กระแสพระราชดำรัส ตลอดจนข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับประเทศไทย จัดทำขึ้นเนื่องในวโรกาสพระราชพิธีกาญจนาภิเษก 50 ปี แห่งการครองราชย์ เปิดให้ใช้งานเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2539 เวลา 09.09 น. โดยมีเครือข่ายขององค์กรที่ถวายงานแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทำหน้าที่สนับสนุนข้อมูลด้านพระราชกรณียกิจ และโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เครือข่ายกาญจนาภิเษกเป็นเว็บไซต์ที่มีผู้เข้าชมจากประเทศไทยมากเป็นอันดับที่ 2,384 (19 กันยายน 2557) จากการจัดอันดับโดยอะเล็กซ.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และเครือข่ายกาญจนาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

1 สิงหาคม

วันที่ 1 สิงหาคม เป็นวันที่ 213 ของปี (วันที่ 214 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 152 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และ1 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 ธันวาคม

วันที่ 11 ธันวาคม เป็นวันที่ 345 ของปี (วันที่ 346 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 20 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และ11 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 กรกฎาคม

วันที่ 13 กรกฎาคม เป็นวันที่ 194 ของปี (วันที่ 195 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 171 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และ13 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 กันยายน

วันที่ 14 กันยายน เป็นวันที่ 257 ของปี (วันที่ 258 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 108 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และ14 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

15 กุมภาพันธ์

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 46 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 319 วันในปีนั้น (320 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และ15 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

18 กันยายน

วันที่ 18 กันยายน เป็นวันที่ 261 ของปี (วันที่ 262 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 104 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และ18 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

2 พฤษภาคม

วันที่ 2 พฤษภาคม เป็นวันที่ 122 ของปี (วันที่ 123 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 243 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และ2 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 มิถุนายน

วันที่ 24 มิถุนายน เป็นวันที่ 175 ของปี (วันที่ 176 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 190 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และ24 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

30 กันยายน

วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และ30 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

9 ธันวาคม

วันที่ 9 ธันวาคม เป็นวันที่ 343 ของปี (วันที่ 344 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 22 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรมราชเลขานุการในพระองค์และ9 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ราชเลขาธิการราชเลขานุการสำนักราชเลขาธิการไปรเวตสิเกรตารี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »