โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

ดัชนี สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ หรือ พระมหาธรรมราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 31 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่ 4 ในราชวงศ์บ้านพลูหลวง.

34 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2296พ.ศ. 2303พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระมหากษัตริย์ไทยพระอุบาลีเถระพระแสนเมืองพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์กรมพระราชวังบวรสถานพิมุขกรมพระราชวังบวรสถานมงคลกรมหมื่นเทพพิพิธกรมหลวงพิพิธมนตรีกรมหลวงอภัยนุชิตกรมขุนวิมลพัตรราชวงศ์บ้านพลูหลวงราชวงศ์จักรีรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีสมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าทองอิน กรมพระราชวังบวรสถานพิมุขสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรสมเด็จพระเจ้าปราสาททองสยามนิกายอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)อาณาจักรอยุธยาคำให้การชาวกรุงเก่าประเทศศรีลังกานายจบคชประสิทธิ์นางกุสาวดีเจ้าฟ้าพินทวดีเจ้าฟ้าสังวาลย์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์

พ.ศ. 2296

ทธศักราช 2296 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและพ.ศ. 2296 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2303

ทธศักราช 2303 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและพ.ศ. 2303 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระอุบาลีเถระ

ระอุบาลีเถระ เป็นพระธรรมทูตในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศแห่ง กรุงศรีอยุธยา ทีเดินทางไปยังประเทศศรีลังกาตามคำร้องของฝ่ายศรีลังกาในการเป็นพระอุปัชฌาย์ อุปสมบทแก่สามเณรชาวสิงหล เพื่อสืบทอดพุทธศาสนาในศรีลังกาขณะนั้น อีกทั้งท่านยังเป็นผู้ริเริ่มให้มีการจัดเทศกาลแห่พระเขี้ยวแก้ว (เอสาละ เปราเหรา) ในเมืองกัณฏี ซึ่งเป็นประเพณีที่มีชื่อเสียงและถือเป็นสัญลักษณ์ของศรีลังกา ท่านเป็นที่จดจำในเรื่องความกล้าหาญที่ได้ข้ามน้ำข้ามทะเลไปยังศรีลังกา และได้มรณภาพที่นั่นนับเป็นพระธรรมทูตที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและพระอุบาลีเถระ · ดูเพิ่มเติม »

พระแสนเมือง

ระแสนเมือง ทรงครองแคว้นล้านนาโดยมีอาณาเขตอิทธิพลด้านตะวันตกของแคว้นล้านนาเดิมในฐานะเจ้าเมืองเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2189 - 2202 ในรัชกาลนี้ พม่าเริ่มมีปัญหากับจีนฮ่อซึ่งเป็นกองกำลังของราชวงศ์หมิงที่ถูกขับไล่ลงมาทางใต้โดยราชวงศ์ชิง พระแสนเมือง เป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ที่ปกครองโดยพม่า โดยนครถูกยึดครองในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ผู้คนและหญิงสาวในเมืองนั้นถูกกวาดต้อนเป็นอย่างมาก หนึ่งในนั้น คือ เจ้านางสมบุญ (ภายหลังในเป็น พระนางกุสาวดี) ได้เป็นบาทบริจาริกาในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และมีพระโอรสด้วยกัน 1 พระองค์ คือ พระเจ้าเสือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและพระแสนเมือง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าวรวรรณากร เป็นพระบิดาแห่งการละครร้อง เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาเขียน ทรง เป็นกวีและนักประพันธ์ ทรงเข้ารับราชการในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งรองเสนาบดี กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ทรงเป็นต้นราชสกุลวรวรรณ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข

กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข หรือ กรมพระราชวังหลัง เป็นตำแหน่งรองลงมาจากกรมพระราชวังบวรสถานมงคลที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งขึ้น เกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยอยุธยา โดยสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช ทรงสร้างวังขึ้นหลังพระราชวังหลวง พระราชทานให้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระเอกาทศรถ ดังนั้น จึงเกิดคำว่า "วังหลัง" ขึ้นมา ต่อมา ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โปรดให้พระไตรภูวนาถทิตยวงศ์ พระราชอนุชา ประทับที่วังหลังอีกพระองค์ อย่างไรก็ตาม ทั้งสมเด็จพระเอกาทศรถและพระไตรภูวนาถทิตยวงศ์เพียงแต่ประทับอยู่ในวังหลังเท่านั้น แต่ไม่ได้มีการเพิ่มยศศักดิ์แต่ประการใด ในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา เมื่อพระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์ ทรงแต่งตั้งหลวงสรศักดิ์ขึ้นเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล และได้แต่งตั้งให้นายจบคชประสิทธิ์ขึ้นเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข" ให้ทรงรับพระราชบัญชา ซึ่งถือเป็นกรมพระราชวังหลังพระองค์แรกในสมัยอยุธยา ต่อมา ในรัชสมัยสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 หรือ สมเด็จพระเจ้าเสือ พระองค์ทรงสถาปนา "เจ้าฟ้าเพชร" พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ที่กรมพระราชวังบวรสถานมงคล หรือ พระบัณฑูรใหญ่ และทรงสถาปนา "เจ้าฟ้าพร" พระราชโอรสพระองค์เล็กที่กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข แต่โปรดให้ออกพระนามกรมว่า "พระบัณฑูรน้อย" เนื่องจากพระองค์อาจจะทรงรังเกียจตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขเนื่องจากในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชาเมื่อทรงสถาปนานายจบคชประสิทธิขึ้นเป็นกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขได้ไม่นาน นายจบคชประสิทธิก็ถูกสำเร็จโทษ หรืออาจจะเป็นเพราะพระองค์ทรงต้องการยกย่องพระยศของเจ้าฟ้าพรให้เสมอกับกรมพระราชวังบวรสถานมงคลก็เป็นไปได้อย่างใดอย่างหนึ่ง เมื่อถึงสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงสถาปนาให้สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าทองอิน กรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์ ซึ่งทรงมีความดีความชอบรบทัพจับศึกมาแต่ครั้งกรุงธนบุรี ขึ้นดำรงตำแหน่ง "กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข" พระองค์แรกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ภายหลังการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขแล้ว ถือเป็นการสิ้นสุดของตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข เนื่องจากไม่มีการสถาปนากรมพระราชวังหลังขึ้นอีกเล.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข · ดูเพิ่มเติม »

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่เรียกกันเป็นสามัญว่าวังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์สยามทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระมหาอุปราช และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติต่อไป ตำแหน่งพระมหาอุปราชปรากฏครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อมาสมเด็จพระเพทราชาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ภายหลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เลิกธรรมเนียมตั้งพระมหาอุปราช แล้วทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชแทน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและกรมพระราชวังบวรสถานมงคล · ดูเพิ่มเติม »

กรมหมื่นเทพพิพิธ

กรมหมื่นเทพพิพิธ พระนามเดิมคือ พระองค์เจ้าแขก พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ผนวชในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าเอกทัศ ต่อมามีความผิดฐานคิดกบฏ จึงถูกเนรเทศออกไปอยู่ที่ลังกา และ เมื่อพระเจ้ามังระส่งกองทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา กรมหมื่นเทพพิพิธได้ทราบว่าพม่าทำการปิดล้อมกรุงศรีอยุธยา จึงได้เดินทางกลับไทย เกลี้ยกล่อมผู้คนทางหัวเมืองชายทะเลภาคตะวันออกเพื่อจะเข้ากู้กรุงศรีฯ แต่ไม่สำเร็จ จึงหนีไปเกลี้ยกล่อม พระยานครราชสีมา เจ้าเมืองนครราชสีมาให้เข้าร่วมช่วยกอบกู้กรุงศรีฯ แต่พระยานครราชสีมาไม่ยอม จึงทำการเกลี้ยกล่อมชาวบ้านบริเวณนั้นให้เข้าร่วมเป็นพวกของพระองค์ และให้ หม่อมเจ้าประยง พระโอรส กับ หลวงมหาพิชัย นำไพร่พลไปลอบสังหารพระยานครราชสีมา และยึดเมืองได้ในที่สุด ต่อมา หลวงแพ่ง น้องพระยานครราชสีมาได้ไปเกณฑ์พลจากเมืองพิมาย เพื่อไปตีเมืองนครราชสีมาเอาเมืองคืน ปรากฏว่ารบชนะ จึงจับกรมหมื่นเทพพิพิธได้ หลวงแพ่งต้องการที่จะประหารชีวิตกรมหมื่นเทพพิพิธเสีย แต่เจ้าพิมายมีความสงสารจึงขอชีวิตไว้ และขอนำกรมหมื่นเทพพิพิธไปคุมไว้ที่เมืองพิมาย แต่เจ้าพิมายจงรักภักดีต่อเจ้ากรุงศรีอยุธยามาก จึงยกกรมหมื่นเทพพิพิธขึ้นเป็นเจ้าแผ่นดินเมืองพิมาย สถาปนาเมืองพิมายเป็นราชธานีต่อจากกรุงศรีอยุธยา ส่วนเจ้าพิมายนั้นนั้นได้ถูกแต่งตั้งให้เป็น เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ ผู้สำเร็จราชการบ้านเมืองทั้งหมด หลังจากนั้น เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ก็ได้สังหารหลวงแพ่ง แล้วยึดเมืองนครราชสีมา และ หัวเมืองน้อยใหญ่ทั้งปวงมารวมกับพิมายทั้งหมด เมืองพิมายมีอาณาเขตตั้งแต่แขวงหัวเมืองตะวันออกฝ่ายดอน ไปจนถึงแดนกรุงศรีสัตนาคนหุตและกรุงกัมพูชาธิบดี ฝ่ายใต้ลงมาถึงเมืองสระบุรีตลอดลำน้ำแควป่าสัก ภายหลังสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงสถาปนา กรุงธนบุรี พระองค์ทรงมีบัญชาให้ พระราชวรินทร์ (ทองด้วง) และ พระมหามนตรี (บุญมา) ยกทัพมาตีชุมนุมของกรมหมื่นเทพพิพิธ กองทัพพิมายของกรมหมื่นเทพพิพิธมิอาจต่อสู้ได้ พระองค์จึงพาครอบครัวหนีไปเมืองเวียงจันทน์ แต่ถูก ขุนชนะ กรมการเมืองนครราชสีมาตามจับตัวได้ทัน จึงนำตัวมาถวายพระเจ้ากรุงธนบุรี ในภายแรกพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงไม่ปรารถนาจะสำเร็จโทษ แต่กรมหมื่นเทพพิพิธไม่ยอมสวามิภักดิ์ต่อพระองค์ พระองค์จึงจำต้องสำเร็จโทษกรมหมื่นเท.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและกรมหมื่นเทพพิพิธ · ดูเพิ่มเติม »

กรมหลวงพิพิธมนตรี

กรมพระเทพามาตุ มีพระอิสริยยศเดิมว่า กรมหลวงพิพิธมนตรี หรือ กรมหลวงพิจิตรมนตรี เป็นพระอัครมเหสีน้อยในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และเป็นสมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและกรมหลวงพิพิธมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

กรมหลวงอภัยนุชิต

กรมหลวงอภัยนุชิต หรือ พระพันวัสสาใหญ่ พระอัครมเหสีเอกใน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และเป็นพระมารดาของ เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ หรือ เจ้าฟ้ากุ้ง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและกรมหลวงอภัยนุชิต · ดูเพิ่มเติม »

กรมขุนวิมลพัตร

กรมขุนวิมลพัตรประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 177 หรือ กรมขุนวิมวัต เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และเป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ หลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง พระองค์ถูกกวาดต้อนไปประทับ ณ พระราชวังหลวงอังวะจนกระทั่งสวรรคตพระราชพงศาวดารพม่า, หน้า 1135.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและกรมขุนวิมลพัตร · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์บ้านพลูหลวง

ราชวงศ์บ้านพลูหลวง เป็นราชวงศ์ที่ 5 และเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองอาณาจักรอยุธยาก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและราชวงศ์บ้านพลูหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8

มเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 หรือคำให้การชาวกรุงเก่าว่า สมเด็จพระสุริเยนทราธิบดี เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 29 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่สองแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองร..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9

มเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 หรือ สมเด็จพระที่นั่งท้ายสระพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), หน้า 347 หรือ พระเจ้าท้ายสระนามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 165 หรือ พระเจ้าภูมินทราชา หรือ พระเจ้าบรรยงก์รัตนาสน์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 30 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่สามแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์

มเด็จพระบรมราชา (ที่ 3) หรือ สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ หรือ สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 33 และเป็นรัชกาลสุดท้ายแห่งอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

มเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 (พ.ศ. 2174/2175 - 2231; ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 27 ในสมัยกรุงศรีอ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าทองอิน กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข

กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข พระนามเดิม ทองอิน (28 มีนาคม พ.ศ. 2289 - 20 ธันวาคม พ.ศ. 2349) เป็นพระภาคิไนยในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และเป็นพระโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสา กรมพระยาเทพสุดาวดี กับพระอินทรรักษา (เสม).

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและสมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าทองอิน กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร

มเด็จพระเจ้าอุทุมพร (พระราชพงศาวดารพม่าเรียก สุรประทุมราชา) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 32 แห่งอาณาจักรอยุธยา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และมีพระสมัญญานามว่า ขุนหลวงหาวั.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง

มเด็จพระเจ้าปราสาททอง (ครองราชย์ พ.ศ. 2172 - 2199) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 24 แห่งอาณาจักรอยุธยา และทรงเป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ปราสาททอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง · ดูเพิ่มเติม »

สยามนิกาย

มนิกาย เป็นคณะสงฆ์เถรวาทลัทธิลังกาวงศ์คณะหนึ่งในประเทศศรีลังกา ก่อตั้งโดยพระอุบาลีเถร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและสยามนิกาย · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

คำให้การชาวกรุงเก่า

ำให้การชาวกรุงเก่า เป็นหนังสือพงศาวดารบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทยโดยเฉพาะช่วงอาณาจักรอยุธยา ตั้งแต่ก่อตั้งอาณาจักร จนกระทั่งเสียแก่พม่าใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและคำให้การชาวกรุงเก่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศศรีลังกา

รีลังกา (ශ්රී ලංකා; இலங்கை) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา (ශ්රී ලංකා ප්රජාතාන්ත්රික සමාජවාදී ජනරජය; இலங்கை சனநாயக சோசலிசக் குடியரசு) เป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ นอกชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของอนุทวีปอินเดีย ชื่อในอดีตได้แก่ ลังกา ลังกาทวีป สิงหลทวีป และ ซีลอน ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ในสมัยอาณานิคมจนถึง พ.ศ. 2517 มีพรมแดนทางทะเลติดต่อกับอินเดียทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และมัลดีฟส์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและประเทศศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

นายจบคชประสิทธิ์

นายจบคชประสิทธิ์ เป็นกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขพระองค์แรกแห่งกรุงศรีอ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและนายจบคชประสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

นางกุสาวดี

นางกุสาวดี เป็นพระราชธิดาของพระเจ้าเชียงใหม่ ได้เป็นสนมในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แต่หลังจากนางตั้งครรภ์ได้ทรงยกให้เป็นภรรยาของสมเด็จพระเพทราชา ส่วนพระราชโอรสนั้นต่อมาได้ขึ้นครองราชเป็นพระเจ้าสุริเยนทราธิบดี (พระเจ้าเสือ).

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและนางกุสาวดี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าพินทวดี

้าฟ้าพินทวดี (พ.ศ. 2250 - พ.ศ. 2344) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 3 ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศกับกรมหลวงพิพิธมนตรี พระองค์ทรงเป็นเจ้านายในสมัยกรุงศรีอยุธยาเพียงไม่กี่พระองค์ที่มีพระชนมายุยืนยาวมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งพระองค์มีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดราชประเพณีในราชสำนักฝ่ายในตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาสู่ราชสำนักรัตนโกสินทร์ ทำให้ประเพณีโบราณไม่สูญหายไป.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและเจ้าฟ้าพินทวดี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าสังวาลย์

้าฟ้าสังวาลย์คำให้การขุนหลวง วัดประดู่ทรงธรรม, ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 285 หรือ อินทสุชาเทวีคำให้การชาวกรุงเก่า, ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 116 บางแห่งออกพระนามว่าเจ้าฟ้านิ่มพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 366-367 หรือนวนคำให้การชาวกรุงเก่า, ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 175 เป็นพระมเหสีฝ่ายซ้ายในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และเป็นพระชนนีของเจ้าฟ้ากุณฑล และเจ้าฟ้ามงกุฎ ซึ่งทั้งสองพระองค์ได้พระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง อิเหนา และ ดาหลัง เจ้าฟ้าสังวาลย์ทรงคบชู้กับเจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ จึงต้องพระอาญาเฆี่ยนจนกระทั่งพิราลัย สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจึงให้นำพระศพของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศและเจ้าฟ้าสังวาลย์ไปฝัง ณ วัดไชยวัฒนารามคำให้การขุนหลวงหาวัด (ฉบับหลวง), ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 488.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและเจ้าฟ้าสังวาลย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ซึ่งมีพระนามเดิมว่า เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ หรือพระนามที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า เจ้าฟ้ากุ้ง เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและกรมหลวงอภัยนุชิต พระองค์มีพระปรีชาสามารถหลายด้าน โดยเฉพาะด้านวรรณกรรมนั้น ทรงพระนิพนธ์วรรณกรรมไว้หลายเรื่อง เช่น กาพย์เห่เรือ นันโทปนันทสูตรคำหลวง พระมาลัยคำหลวง เนื่องจากพระองค์ลักลอบเป็นชู้กับพระสนมของพระราชบิดาจึงต้องพระอาญาให้เฆี่ยน เป็นเหตุให้พระองค์เสด็จสวรรคตในที.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและเจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

กรมขุนเสนีนุรักษ์สมเด็จพระเจ้าบรมโกศพระบรมโกศพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศพระเจ้าบรมโกศเจ้าฟ้าบรม กรมขุนเสนีย์นุรักษ์เจ้าฟ้าพร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »