โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ไปยาลน้อย

ดัชนี ไปยาลน้อย

ปยาลน้อย หรือ เปยยาลน้อย (ฯ) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนอย่างหนึ่งในการเขียนภาษาไทย ใช้ย่อคำเพื่อให้เขียนสั้นลง โดยเขียนแต่ส่วนหน้า ละส่วนหลังเอาไว้ แล้วใส่ไปยาลน้อยไว้แทน ยังไม่ปรากฏที่มาที่ชัดเจน คำว่า ไปยาล มาจากคำว่า เปยฺยาล ในภาษาบาลี แปลว่า ย่อ.

7 ความสัมพันธ์: พระปรมาภิไธย (พระมหากษัตริย์ไทย)สัปปายะสภาสถานสดุดีอัสสัมชัญอักษรไทยอักษรเขมรอังคั่นเครื่องหมายวรรคตอน

พระปรมาภิไธย (พระมหากษัตริย์ไทย)

อักษรพระปรมาภิไธยย่อ มปร ในตราสัญลักษณ์ ครบ 200 ปี แห่งการพระบรมราชสมภพ ตราสัญลักษณ์พระปรมาภิไธยย่อ ภปร ตราสัญลักษณ์พระปรมาภิไธยย่อ วปร อักษรพระปรมาภิไธยย่อ จปร ในตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรียนวัดบวรนิเวศ พระปรมาภิไธย (พระ+ปรม+อภิไธย แปลว่า ชื่ออันประเสริฐยิ่ง) ศ.ดร.กาญจนา นาคสกุล, จาก เว็บไซต์ ราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง พระนามของพระมหากษัตริย์ราชเจ้า ตามที่จารึกในพระสุพรรณบัฏ หลังจากที่ได้มีพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว ซึ่งเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 1 และใช้มาจนถึงพระมหากษัตริย์พระองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: ไปยาลน้อยและพระปรมาภิไธย (พระมหากษัตริย์ไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สัปปายะสภาสถาน

ัปปายะสภาสถาน เป็นโครงการก่อสร้างรัฐสภาแห่งใหม่ของประเทศไทยและแห่งที่ 3 ของประเทศไทยแทนที่อาคารเดิมบริเวณข้างสวนสัตว์ดุสิต โครงการก่อสร้างตั้งอยู่ติดริ่มฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา บนถนนทหาร (เกียกกาย) แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต โครงการได้ริเริ่มขึ้นในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551 สมัยที่นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ในการประชุมจัดหาสถานที่ก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ จนมีมติเลือกที่เดินราชพัสดุถนนทหาร (เกียกกาย) แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต เป็นสถานที่ในการก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ สัปปายะสภาสถาน เป็นผลงานชนะเลิศการประกวดแบบของธีรพล นิยม ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) จากผู้ส่งประกวดทั้งหมด 5 ราย โครงการได้เริ่มวางเสาเข็มตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน..

ใหม่!!: ไปยาลน้อยและสัปปายะสภาสถาน · ดูเพิ่มเติม »

สดุดีอัสสัมชัญ

ลงสดุดีอัสสัมชัญ (Glorify Assumption) เป็นเพลงหนึ่งที่ได้ชื่อว่าเป็นเพลงที่ปลุกความเป็น “อัสสัมชัญ” ในบรรดานักเรียนให้พลุ่งพล่านในสายเลือด เป็นเพลงที่ถูกนำไปใช้เป็นเพลงประจำสถาบันในเครือมูลนิธิคณะภราดาเซนต์คาเบรียลแขวงประเทศไทย ที่มีนามว่าอัสสัมชัญหลายแห่ง เว้นแต่ โรงเรียนเซนต์คาเบรียล โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา ที่มีเพลงประจำโรงเรียนเป็นแบบเฉพาะหรือใช้เพลงสีแดงและขาวเป็นเพลงประจำโรงเรียน แต่ก็ยังคงใช้เพลงสดุดีอัสสัมชัญเป็นเพลงของโรงเรียนด้วย เช่น โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัยใช้เพลงเกียรติศักดิ์ MC ซึ่งดัดแปลงเพลงสดุดีอัสสัมชัญเป็นเพลงใหม่ที่เข้ากับโรงเรียนมงฟอร์ต ใช้ในการประกวดผู้นำเชียร์ในงานกรีฑาสีของโรงเรียนทุกปี ที่มาของเพลงสดุดีอัสสัมชัญนั้น พบว่า ตั้งแต..

ใหม่!!: ไปยาลน้อยและสดุดีอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรไทย

อักษรไทย เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาไทย และภาษากลุ่มน้อยอื่น ๆ ในประเทศไทย มีพยัญชนะ 44 รูป สระ 21 รูป วรรณยุกต์ 4 รูป และเครื่องหมายอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง พยัญชนะไทยจะเรียงตัวไปตามแนวนอน จากซ้ายไปขวา ส่วนสระจะอยู่หน้า บน ล่าง และหลังพยัญชนะประกอบคำแล้วแต่ชนิดของสระ อักษรไทยไม่มีการแยกอักษรตัวใหญ่หรืออักษรตัวเล็กอย่างอักษรโรมัน และไม่มีการเว้นวรรคระหว่างคำ เมื่อจบหนึ่งประโยคจะลงท้ายด้วยการเว้นวรรค กับมีเครื่องหมายวรรคตอนจำนวนหนึ่ง ภาษาไทยมีตัวเลขเป็นของตัวเอง แต่นิยมใช้เลขอารบิกเป็นส่วนใหญ่ในชีวิตประจำวัน.

ใหม่!!: ไปยาลน้อยและอักษรไทย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเขมร

ตัวอย่างอักษรเขมรสองแบบ อักษรเขมร (អក្សរខ្មែរ)​ ​คือรูปอักษรที่ดัดแปลงมาจากอักษรหลังปัลลวะ (ราว พ.ศ. 1200-1400) ซึ่งเป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรปัลลวะ (ราว พ.ศ. 1100-1200) อีกต่อหนึ่ง อักษรปัลลวะนี้ เป็นอักษรที่มาจากอินเดียตอนใต้ ซึ่งเป็นชุดอักษรที่มีกำเนิดมาจากอักษรพราหมี ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช (ราว พุทธศตวรรษที่ 3) จารึกอักษรเขมรเก่าสุด พบที่ปราสาทโบเร็.ตาแก้ว ทางใต้ของพนมเปญ อายุราว..

ใหม่!!: ไปยาลน้อยและอักษรเขมร · ดูเพิ่มเติม »

อังคั่น

อังคั่น เป็นชื่อเรียกรวมของเครื่องหมายวรรคตอนโบราณ แบ่งเป็นอังคั่นเดี่ยวและอังคั่นคู่ อังคั่นเดี่ยว หรือ คั่นเดี่ยว หรือ ขั้นเดี่ยว (ฯ) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนที่นิยมใช้ในหนังสือไทยสมัยโบราณ ใช้เมื่อจบบท ตอน หรือเรื่อง ทั้งคำประพันธ์ร้อยกรองและร้อยแก้ว ใช้สัญลักษณ์เดียวกันกับไปยาลน้อย ปัจจุบันมีอังคั่นเดี่ยวให้เห็นในหนังสือวรรณคดีและตำราเรียนภาษาไทยเท่านั้น อังคั่นคู่ หรือ คั่นคู่ หรือ ขั้นคู่ (๚) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนปรากฏในหนังสือไทยโบราณ ใช้ในบทกวีต่างๆ โดยมีไว้ใช้จบตอน นอกจากนี้ยังมีการใช้อังคั่นคู่กับเครื่องหมายอื่น ได้แก่ อังคั่นวิสรรชนีย์ (ฯะ, ๚ะ) ใช้เมื่อจบบทกวี และ อังคั่นวิสรรชนีย์โคมูตร (๚ะ๛) ใช้จบบริบูรณ์ อังคั่นคู่ไม่มีปรากฏบนแป้นพิมพ์ภาษาไทย แต่มีอยู่ในรหัสอักขระ TIS 620 ที่ 0xFA (250) และรหัสยูนิโคดที่ U+0E5A.

ใหม่!!: ไปยาลน้อยและอังคั่น · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องหมายวรรคตอน

รื่องหมายวรรคตอน เป็นเครื่องหมาย หรือสัญลักษณ์ที่เขียนขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเขียนอักษรในภาษาหนึ่ง ๆ เพื่อประโยชน์ในการแบ่งวรรคตอน มักจะไม่เกี่ยวกับระบบเสียงใด ๆ ทั้งสิ้น ในแต่ละภาษาจะมีเครื่องหมายวรรคตอนต่าง ๆ กัน และมีกฎเกณฑ์การใช้ต่าง ๆ กัน ซึ่งผู้ใช้ภาษานั้นจะต้องทราบ และใช้ตามกฎที่ปฏิบัติกันมา เพื่อให้มีความเข้าใจในภาษาไปในทางเดียวกัน.

ใหม่!!: ไปยาลน้อยและเครื่องหมายวรรคตอน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ฯพณฯ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »