โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ไนโตรเจน

ดัชนี ไนโตรเจน

นโตรเจน (Nitrogen) เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ N และเลขอะตอม 7 เป็นอโลหะที่มีสถานะเป็นแก๊สที่มีอยู่ทั่วไป โดยปกติไม่มีสี กลิ่น หรือรส แต่ละโมเลกุลมี 2 อะตอม ไนโตรเจนเป็นส่วนประกอบของบรรยากาศ ของโลกถึง 78 เปอร์เซ็นต์ และเป็นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อในสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ไนโตรเจนยังเป็นส่วนประกอบในสารประกอบที่สำคัญหลายชนิด เช่น กรดอะมิโน แอมโมเนีย กรดไนตริก และสารจำพวกไซยาไน.

416 ความสัมพันธ์: ATC รหัส V03บรรยากาศบรรยากาศของโลกบรอมเฟนิรามีนบามิพีนบาแคมพิซิลินบิวพรีนอร์ฟีนบิวคลิซีนช้างฟลูมิควินฟลูริโทรมัยซินฟลูคลอกซาซิลลินฟลีรอกซาซินฟอสฟอรัสฟินีติซิลลินพ.ศ. 2316พรูลิฟลอกซาซินพลังงานไอออไนเซชันของธาตุ (หน้าข้อมูล)พลูโทเนียมพาราเซตามอลพิวรีนพิวเมคซิลลินัมพืชกินสัตว์พีฟลอกซาซินกระบวนการอะเดียแบติกกระบวนการฮาเบอร์กรดยูริกกรดปิเปมิดิกกรดนาลิดิซิกกรดไนตริกกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลกัตเตชันกาบหอยแครงกากน้ำตาลการรับรู้รสการหมักเชิงอุตสาหกรรมการจัดการทาลัสซีเมียการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ (หน้าข้อมูล)การทดสอบไบยูเร็ตการขาดธาตุเหล็กการปลูกพืชหมุนเวียนการนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)การแพร่การเผาไหม้กาติฟลอกซาซินกาเฟอีนมลพิษทางอากาศมอร์ฟีนมะกล่ำตาช้างมิโนไซคลีน...มีลอกซิแคมมีควิตาซีนมีซิลลินัมมีแทมพิซิลลินมนุษย์ยางระบบนิเวศในน้ำรัศมีวานเดอร์วาลส์รัศมีอะตอมของธาตุ (หน้าข้อมูล)รายชื่อสถานะออกซิเดชันของธาตุรายชื่อของธาตุตามหมายเลขรายการธาตุเคมีริโตนาเวียร์รูฟลอกซาซินรูปาตาดีนรูเมนรีมิเฟนทานิลร็อกซิโทรมัยซินลมดาวฤกษ์ลอราคาร์เบฟลาทามอกเซฟลินโคมัยซินลูพินลีโวฟลอกซาซินวัฏจักรทางชีวธรณีเคมีวัฏจักรไนโตรเจนวัลแกนซิโคลเวียร์วาลาไซโคลเวียร์วีสเตียเรียวงจรซีเอ็นโอศึกศิลามหัศจรรย์ อัลบาทรอสสารละลายสารอาหารสำหรับพืชสารประกอบของก๊าซมีตระกูลสารประกอบแอลิแฟติกสารประกอบโคออร์ดิเนชันสาหร่ายวุ้นสิ่งมีชีวิตนอกโลกสูตรเคมีสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสตาวูดีนสปริงสปาร์ฟลอกซาซินสไปรามัยซินหญ้าฝรั่นหม้อแกงลิงออฟลอกซาซินออกซาซิลลินออกซาโตไมด์ออกซิมอร์ฟีนออกซิโคโดนออกซิเจนเหลวออกซิเตตราไซคลีนอะบาคาเวียร์อะลิเมมาซีนอะทาซานาเวียร์อะคริวาสทีนอะตอมอะซาตาดีนอะซิดอกซิลลินอะซิโทรมัยซินอะแมนตาดีนอะโซลซิลลินอะไซโคลเวียร์อะเซลาสทีนอัลเฟนทานิลอันดับพันธะอันดับของขนาด (ความยาว)อาร์กอนอาหารอินทรีย์อินดินาเวียร์อินโดลอินโดเมตทาซินอิเล็กโตรเนกาทิวิตีอิเล็กโตรเนกาทิวิตีของธาตุ (หน้าข้อมูล)อีบาสทีนอีฟาวิเรนซ์อีพิซิลลินอีพินาสทีนอีมิควิมอดอีนอกซาซินอโลหะอ็องแซลม์ ปาแย็งฮีสตาไพร์โรดีนฮีตาซิลลินผักตบชวาผายลมจุดหลอมเหลวของธาตุ (หน้าข้อมูล)จุดผลิตน้ำมันสูงสุดจุดเดือดของธาตุ (หน้าข้อมูล)ธาตุธาตุกึ่งโลหะธาตุคาบ 2ธาตุเรพริเซนเททิฟถั่วลิสงนาถั่วเขียวถ่านกัมมันต์ถ่านหินทฤษฎีออร์บิทัลเชิงโมเลกุลทอนไซลามีนทาลาสทีนทีมาฟลอกซาซินทีนาลิดีนข้อความอาเรซีโบดวงอาทิตย์ดาวพลูโตดาวพุธดาวศุกร์ดาวอังคารดิริโทรมัยซินดิสโพรเซียมดีลาเวียร์ดีนคลอร์เพน็อกซามีนคลอโรฟิลล์คลอโรพิรามีนคลาริโทรมัยซินคลินดามัยซินคลีมาสทีนความยาวพันธะความร้อนที่ทำให้หลอมรวมกันของธาตุ (หน้าข้อมูล)ความร้อนที่ทำให้เกิดการระเหยของธาตุ (หน้าข้อมูล)ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอความหนาแน่นของธาตุ (หน้าข้อมูล)ความดันไอของธาตุ (หน้าข้อมูล)ความเร็วเสียงของธาตุ (หน้าข้อมูล)ความเป็นโลหะ (ดาราศาสตร์)คาบ (ตารางธาตุ)คาร์เบนิซิลลินคาร์เฟนทานิลคีโตติเฟนคโลนะเซแพมตารางธาตุ (บล็อก)ตารางธาตุ (กว้าง)ตารางธาตุ (การจัดเรียงอิเล็กตรอน)ตารางธาตุ (มาตรฐาน)ตารางธาตุ (โลหะ และ อโลหะ)ตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมใหญ่ตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมเล็กตารางธาตุแนวดิ่งตารางไอโซโทป (สมบูรณ์)ตารางไอโซโทป (แบ่งส่วน)ซัลฟาฟูราโซลซัลฟามอกโซลซัลฟาลีนซัลฟาดิมิดีนซัลฟานิลาไมด์ซัลฟาไพริดีนซัลฟาไอโซดิมิดีนซัลฟาไทอะโซลซัลฟาไทโอยูเรียซัลฟาไดอะซีนซัลฟาไดเมโทซีนซัลฟาเฟนาโซลซัลฟาเพอรินซัลฟาเมอราซีนซัลฟาเมตทอกซีไพริดาซีนซัลฟาเมตทอกซีไดอะซีนซัลฟาเมโทมิดีนซัลฟาเมโทซาโซลซัลฟาเมไทโซลซัลทามิซิลลินซัลซิตาบีนซัลแบคแตมซัลเบนิซิลลินซาควินาเวียร์ซานามิเวียร์ซิโดวูดีนซิโปรฟลอกซาซินซิโนซาซินซูเฟนทานิลซูเปอร์เทสเตอร์ซีลีคอกซิบประวัติของตารางธาตุปรากฏการณ์เรือนกระจกปริสตินามัยซินปิร์โรบิวตามีนปิปเปอราซิลลินปิโตรเลียมปุ๋ยอินทรีย์ปุ๋ยขี้นกนอร์ฟลอกซาซินนิกโทเจนนิวตรอนนิโคตินนิเวศวิทยาน้ำอสุจิน้ำปลาแบคทีเรียที่ตรึงไนโตรเจนได้แฟมซิโคลเวียร์แกนซิโคลเวียร์แก๊สเรือนกระจกแม่น้ำแยงซีแลนทานัมแหนแดงแอมปรีนาเวียร์แอมโมเนียแอมโมเนียมคลอไรด์แอมโมเนียมซัลเฟตแอลคาลอยด์แอนตาโซลีนแถบลำดับหลักแดเนียล รัทเทอร์ฟอร์ดโบรมาซีนโบรดิโมพริมโฟมิเวียร์เซนโพรพิซิลลินโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนโมโนโซเดียมกลูตาเมตโมเลกุลชีวภาพโรกิตามัยซินโรลิเตตราไซคลีนโรคลดความกดโรซอกซาซินโลก (ดาวเคราะห์)โลมิฟลอกซาซินโลปินาเวียร์โอลีแอนโดมัยซินโอโซเมมาซีนโจซามัยซินโทรลีแอนโดมัยซินโทรวาฟลอกซาซินโคลมีโตซิลลินโคดีอีนโปรเมทาซีนโปรเคนเบนซิลเพนิซิลลินไพรอกซิแคมไพแวมพิซิลลินไพโรโฟริกไพเมตไทซีนไกลโคสะมิโนไกลแคนไมดีกามัยซินไมโอกามัยซินไมโซลาสทีนไรบาวิรินไรแมนตาดีนไรโซสเฟียร์ไรโซเบียมไลนิโซลิดไลโซโซมไวดาราบีนไอดอกซูริดีนไอโซไทเพนดิลไฮดรอกซีเอทิลโปรเมทาซีนไฮโดรมอร์โฟนไฮโดรโคโดนไธเอธิลเปอราซีนไทรทัน (ดาวบริวาร)ไททัน (ดาวบริวาร)ไทคาร์ซิลลินไทแอมเฟนิคอลไทโอยูเรียไดดาโนซีนไดคลอกซาซิลลินไดโคลฟีแนคไดไฮโดรโคดีอีนไดไนโตรเจน เทโตรไซด์ไดเฟนิลพิราลีนไดเฟนไฮดรามีนไดเมตินดีนไดเมนไฮดริเนทไคทินไตรฟลูริดีนไตรโตควอลีนไตรไอโอโดไทโรนีนไตรเพเลนนามีนไตรเมโทพริมไซคลิซีนไซโดโฟเวียร์ไซโปรเฮปตาดีนไนตรัสออกไซด์ไนตริกออกไซด์ไนโตรเจนออกไซด์ไนเตรตเบนซาทีนเบนซิลเพนิซิลลินเบนซิมิดาโซลเบนซิลเพนิซิลลินเฟนิรามีนเฟนินดามีนเฟนทานิลเพชรโฮปเพทิดีนเพนกวินจักรพรรดิเพนาเมกซิลลินเพนิซิลลินเพนซิโคลเวียร์เกรพพาฟลอกซาซินเกาะแคโรไลน์เมบไฮโดรลินเมพิรามีนเมลามีนเมธีนามีนเมทาพิริลีนเมทาโดนเมทิซิลลินเมทไดลาซีนเมคลิซีนเมตาไซคลีนเมซโลซิลลินเมแทบอลิซึมเลโวเซทิริซีนเวเลนซ์เส้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติเอสทีเอส-129เอนเซลาดัสเฮโรอีนเฮเทโรทรอพเจมิฟลอกซาซินเทลิโทรมัยซินเทอร์เฟนาดีนเทโมซิลลินเขนงนายพรานเข็มขัดจรวดเบลล์เดกซ์บรอมเฟนิรามีนเดกซ์คลอเฟนิรามีนเดสลอร์อาตาดีนเดปโตรพีนเคมีอินทรีย์เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยาเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบถังกรวดเตโตรโดท็อกซินเซฟพิราไมด์เซฟพิโรมเซฟมีตาโซลเซฟมีนอกซิมเซฟราดีนเซฟาพิรินเซฟาดรอกซิลเซฟาคลอร์เซฟาตริซีนเซฟาซีโดนเซฟาซีไตรล์เซฟาแมนโดลเซฟาโลริดีนเซฟาโลตินเซฟาโซลินเซฟิซิมเซฟูรอกซิมเซฟีพิมเซฟีตาเมทเซฟทีโซลเซฟดิโตเรนเซฟดิเนียร์เซฟตาซิดิมเซฟติบูเทนเซฟติซอกซิมเซฟซูโลดินเซฟโฟแทกซิมเซฟโปรซิลเซฟโปดอกซิมเซฟไตรอะโซนเซโฟราไนด์เซโฟรซาดีนเซโฟดิกซิมเซโฟตีแทนเซโฟซิตินเซโฟเพอราโซนเซโฟเตียมเนบิวลาปูเนลฟินาเวียร์เนวิราพีนเนินพุโคลนNNepenthes rajah162173 รีวงู790377 เซดนา ขยายดัชนี (366 มากกว่า) »

ATC รหัส V03

วนของ ระบบจำแนกประเภทยาตามการรักษาทางกายวิภาคศาสตร์ (Anatomical Therapeutic Chemical Classification System) V อื่นๆ (Various).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและATC รหัส V03 · ดูเพิ่มเติม »

บรรยากาศ

มุมมองของชั้นบรรยากาศที่ตื่นตัวของดาวพฤหัสบดี รวมทั้งจุดแดงใหญ่ (Great Red Spot) บรรยากาศ หมายถึงชั้นแก๊สชนิดต่าง ๆ ที่ปกคลุมอยู่ทั่วดาวเคราะห์หรือวัตถุท้องฟ้านั้น ๆ ซึ่งจะแตกต่างกันไปในแต่ละดาว บางดาวไม่มีชั้นบรรยากาศ สำหรับบรรยากาศของโลกนั้นเป็นอากาศที่ห้อหุ้มโลก ประกอบไปด้วยไนโตรเจน, ออกซิเจน และแก๊สอื่น ๆ มีขอบเขตนับจากระดับน้ำทะเลขึ้นไปประมาณ 1000 กิโลเมตรโดยเฉลี่ย ดาวเคราะห์ชั้นในมีส่วนประกอบเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นหลัก ส่วนดาวเคราะห์ชั้นนอกมีไฮโดรเจน, ฮีเลียม และแก๊สอื่นๆ เป็นหลัก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและบรรยากาศ · ดูเพิ่มเติม »

บรรยากาศของโลก

ลักษณะบรรยากาศของโลก บรรยากาศของโลก คือ อากาศที่ห่อหุ้มโลกอยู่โดยรอบ วันที่สืบค้น 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและบรรยากาศของโลก · ดูเพิ่มเติม »

บรอมเฟนิรามีน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและบรอมเฟนิรามีน · ดูเพิ่มเติม »

บามิพีน

บามิพีน (Bamipine) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและบามิพีน · ดูเพิ่มเติม »

บาแคมพิซิลิน

บาแคมพิซิลิน (Bacampicillin) หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและบาแคมพิซิลิน · ดูเพิ่มเติม »

บิวพรีนอร์ฟีน

วพรีนอร์ฟีน หรือ bupe (Buprenorphine) เป็นยาในกลุ่ม โอปิออยด์ ที่มีฤทธิ์เป็นตัวทำการ ย่อย(agonist) และปฏิปักษ์ (antagonist) บิวพรีนอร์ฟีนไฮโดรคลอไรด์นำออกทำตลาดครั้งแรกในปี ค.ศ. 1980 โดยเรคกิตต์และโคลแมน (ปัจจุบันคือเรคกิตต์เบนค์กิเซอร์ (Reckitt Benckiser)) เป็นยาบรรเทาปวด ครั้งแรกใช้รักษาการติดยาในกลุ่มโอปิออยด์ จัดเป็นยาประเภท Schedule III โดยอนุสัญญาว่าด้วยสารที่มีฤทธิ์ต่อจิตประสาท (Convention on Psychotropic Substances).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและบิวพรีนอร์ฟีน · ดูเพิ่มเติม »

บิวคลิซีน

บิวคลิซีน (Buclizine) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและบิวคลิซีน · ดูเพิ่มเติม »

ช้าง

รงกระดูกช้างแอฟริกา ช้าง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดใหญ่วงศ์ Elephantidae โดยแบ่งเป็นสองสกุล ได้แก่ Elephas และ Loxodonta ช้างในปัจจุบันเหลือ 3 สปีชีส์ คือ ช้างแอฟริกา, ช้างป่าแอฟริกา และช้างเอเชีย (หรือที่รู้จักกันในชื่อ ช้างอินเดีย) ส่วนสปีชีส์และสกุลอื่นของวงศ์ Elephantidae ล้วนสูญพันธุ์ไปหมดแล้ว บางสปีชีส์หรือสกุลสูญพันธุ์ไปตั้งแต่ยุคน้ำแข็งครั้งหลังสุด ถึงแม้ว่าช้างแมมมอธในรูปแคระอาจสืบสายพันธุ์ต่อมาจนถึง 2,000 ปีก่อนคริสตกาล ช้างและสัตว์ในวงศ์ Elephantidae อื่น ๆ เคยถูกจัดเป็นประเภทเดียวกับสัตว์หนังหนาอื่น ๆ ชื่อว่าอันดับ Pachydermata ซึ่งปัจจุบันเลิกใช้แล้ว ช้างนับเป็นสัตว์บกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน ใช้เวลาการตั้งครรภ์ถึง 22 เดือน ซึ่งนับว่านานที่สุดในบรรดาสัตว์บกทุกชนิด ช้างแรกเกิดมีน้ำหนักเฉลี่ย 120 กิโลกรัม มีอายุขัยอยู่ระหว่าง 50 ถึง 70 ปี แต่ช้างอายุมากที่สุดที่เคยบันทึกไว้มีอายุถึง 109 ปี ช้างขนาดใหญ่ที่สุดที่เคยบันทึกไว้อาศัยอยู่ในแองโกลาในปี..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ฟลูมิควิน

ฟลูมิควิน (Flumequine) หมวดหมู่:ควิโนโลน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและฟลูมิควิน · ดูเพิ่มเติม »

ฟลูริโทรมัยซิน

ฟลูริโทรมัยซิน (Flurithromycin) เป็นยาปฏิชีวนะประเภทแมคโคไรด์ หมวดหมู่:แมกโครไลด์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและฟลูริโทรมัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

ฟลูคลอกซาซิลลิน

ฟลูคลอกซาซิลลิน (Flucloxacillin) หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและฟลูคลอกซาซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

ฟลีรอกซาซิน

ฟลีรอกซาซิน (Fleroxacin) เป็นยาปฏชีวนะในกลุ่ม Fluoroquinolones ใช้สำหรับรักษาโรคติดเชื้อเกี่ยวกับระบบการสืบพันธุ์ โรคติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร โรคติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร และถูกห้ามใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2533 เนื่องจากมีผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ขั้นร้ายแรง ทำให้ตามีความไวต่อแสง ในบางกรณีหากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานอาจมีผลให้ตาเป็นต้อกระจก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและฟลีรอกซาซิน · ดูเพิ่มเติม »

ฟอสฟอรัส

ฟอสฟอรัส (phosphorus) เป็นธาตุอโลหะ เลขอะตอม 15 สัญลักษณ์ P ฟอสฟอรัสอยู่ในกลุ่มไนโตรเจน มีวาเลนซ์ได้มาก ปรากฏในหลายอัลโลโทรป พบทั้งในหินฟอสเฟต และเซลล์สิ่งมีชีวิตทุกเซลล์ (ในสารประกอบในดีเอ็นเอ) เนื่องจากสามารถทำปฏิกิริยาได้สูง จึงไม่ปรากฏในรูปอิสระในธรรมชาติ คำว่า ฟอสฟอรัส มาจากภาษากรีกแปลว่า 'ส่องแสง' และ 'นำพา' เพราะฟอสฟอรัสเรืองแสงอ่อน ๆ เมื่อมีออกซิเจน หรือมาจากภาษาละติน แปลว่า 'ดาวประกายพรึก' ค้นพบประมาณปี 1669 โดยนักเล่นแร่แปรธาตุชาวเยอรมัน เฮนนิก แบรนด์ ในขณะที่ภาษาไทยในสมัยก่อน เรียก ฟอสฟอรัส ว่า 'ฝาสุภเรศ' ฟอสฟอรัสเป็นอโลหะอยู่ในหมู่ที่ VA หมู่เดียวกับธาตุไนโตรเจนในธรรมชาติไม่พบฟอสฟอรัสในรูปของธาตุอิสระ แต่จะพบในรูปของสารประกอบฟอสเฟตที่สำคัญได้แก่หินฟอสเฟต หรือแคลเซียมฟอสเฟต (Ca2(PO4)2) ฟลูออไรอะปาไทต์ (Ca5F (PO4)3) นอกจากนี้ยังพบฟอสฟอรัสในไข่แดง กระดูก ฟัน สมอง เส้นประสาทของคนและสัตว์ ฟอสฟอรัสสามารถเตรียมได้จากแคลเซียมฟอสเฟต โดยใช้แคลเซียมฟอสเฟตทำปฏิกิริยากับคาร์บอนในรูปถ่านโค๊ก และซิลิคอนไดออกไซด์ (SiO2) ในเตาไฟฟ้า ฟอสฟอรัสเป็นธาตุอาหารที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของรากพืช โดยธาตุฟอสฟอรัสจะช่วยให้รากของพืชแข็งแรง และแผ่กระจายได้รวดเร็วขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ลำต้นแข็งแรงตามไปด้วย ปกติแล้วธาตุฟอสฟอรัสจะมีอยู่ในดินมากพออยู่แล้ว เป็นธาตุที่ไม่ค่อยเคลื่อนที่ในดินหรือละลายน้ำได้ยากซึ่งจะทำให้พืชดูดเอาไปใช้ได้ยากด้วย แม้แต่ปุ๋ยที่ใส่ลงไปในดินโดยตรงก็ประมาณกันไว้ว่า 80-90 % ของธาตุฟอสฟอรัสทั้งหมดนั้นจะถูกดินยึดไว้โดยการทำปฏิกิริยากับแร่ธาตุต่าง ๆ ในดิน ดังนั้น ธาตุฟอสฟอรัสในดินมีกำเนิดมาจากการสลายตัวผุพังของแร่บางชนิดในดิน การสลายตัวของสารอินทรียวัตถุในดินก็จะสามารถปลดปล่อยฟอสฟอรัสออกมาเป็นประโยชน์ต่อพืชที่ปลูกได้เช่นเดียวกับไนโตรเจน ดังนั้น การใช้ปุ๋ยคอกนอกจากจะได้ธาตุไนโตรเจนแล้วก็ยังได้ฟอสฟอรัสอีกด้วย ธาตุฟอสฟอรัสในดินที่จะเป็นประโยชน์ต่อพืชได้ จะต้องอยู่ในรูปของอนุมูลของ สารประกอบที่เรียกว่า ฟอสเฟตไอออน (H2PO4- และ HPO4-) ซึ่งจะต้องละลายอยู่ในน้ำในดิน สารประกอบของฟอสฟอรัสในดินมีอยู่เป็นจำนวนมากแต่ส่วนใหญ่ละลายน้ำยาก ดังนั้นจึงมักจะมีปัญหาเสมอว่าดินถึงแม้จะมีฟอสฟอรัสมากก็จริงแต่พืชก็ยังขาดฟอสฟอรัส เพราะส่วนใหญ่อยู่ในรูปที่ละลายน้ำยากนั่นเอง นอกจากนั้นแร่ธาตุต่าง ๆ ในดินชอบที่จะทำปฏิกิริยากับอนุมูลฟอสเฟตที่ละลายน้ำได้ ดังนั้นปุ๋ยฟอสเฟตที่ละลายน้ำได้เมื่อใส่ลงไปในดินประมาณ 80-90% จะทำปฏิกิริยากับแร่ธาตุในดินกลายเป็นสารประกอบที่ละลายน้ำยากไม่อาจเป็นประโยชน์ต่อพืชได้ ดังนั้นการใส่ปุ๋ยฟอสเฟตจึงไม่ควรคลุกเคล้าให้เข้ากับดินเพราะยิ่งจะทำให้ปุ๋ยทำปฏิกิริยากับแร่ธาตุต่าง ๆ ในดินได้เร็วยิ่งขึ้น แต่ควรจะใส่แบบเป็นจุดหรือโรยเป็นแถบให้ลึกลงไปในดินในบริเวณรากของพืชปุ๋ย ฟอสเฟตนี้ถึงแม้จะอยู่ใกล้ชิดกับรากก็จะไม่เป็นอันตรายแก่รากแต่อย่างใด ปุ๋ยคอกจะช่วยป้องกันไม่ให้ปุ๋ยฟอสเฟตทำปฏิกิริยากับแร่ธาตุในดินและสูญเสีย ความเป็นประโยชน์ต่อพืชเร็วจนเกินไป พืชเมื่อขาดฟอสฟอรัสจะมีต้นแคระแกร็นใบมีสีเขียวคล้ำ ใบล่าง ๆ จะมีสีม่วงตามบริเวณขอบใบ รากของพืชชะงักการเจริญเติบโต พืชไม่ออกดอกและผล พืชที่ได้รับฟอสฟอรัสอย่างเพียงพอจะมีระบบรากที่แข็งแรงแพร่กระจายอยู่ในดิน อย่างกว้างขวาง สามารถดึงดูดน้ำและธาตุอาหารได้ดี การออกดอกออกผลจะเร็วขึ้น ฟอสฟอรัสช่วยในการสังเคราะห์ด้วยแสง สร้างแป้งและน้ำตาล เป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ที่สำคัญหลายชนิด ช่วยเสริมสร้างส่วนที่เป็นดอก การผสมเกสร ตลอดจนการติดเมล็ด สร้างระบบรากให้แข็งแรง ช่วยในการแตกกอ และช่วยให้ลำต้นแข็งแรงไม่ล้มง่าย ช่วยให้พืชดูดใช้ธาตุไนโตรเจนและโมลิบดีนัมได้ดีขึ้น ธาตุนี้มักพบในรูปที่พืชไม่สามารถดูดไปใช้ได้ เนื่องจากจะถูกตรึงอยู่ในดิน ส่วนใหญ่พืชจะแสดงอาการขาดธาตุนี้บ่อยครั้ง แม้ว่าในดินที่มีธาตุฟอสฟอรัสอยู่เป็นจำนวนมากก็ตามถ้าขาดธาตุฟอสฟอรัสราก พืชจะไม่เจริญ มีรากฝอยน้อย ต้นเตี้ย ใบและต้นมีสีเข้มและบางครั้งมีสีม่วงหรือแดงเกิดขึ้น พืชแก่ช้ากว่าปกติ เช่น การผลิดอก ออกผลช้า มีการแตกกอน้อย การติดเมล็ดน้อย หรือบางครั้งไม่ติดเมล็.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ฟินีติซิลลิน

ฟินีติซิลลิน (Pheneticillin) เป็นยาปฏิชีวนะในจำพวกของเพนิซิลลิน หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและฟินีติซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2316

ทธศักราช 2316 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและพ.ศ. 2316 · ดูเพิ่มเติม »

พรูลิฟลอกซาซิน

พรูลิฟลอกซาซิน (Prulifloxacin) หมวดหมู่:ควิโนโลน หมวดหมู่:คาร์บอเนต หมวดหมู่:กรดคาร์บอกซิลิก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและพรูลิฟลอกซาซิน · ดูเพิ่มเติม »

พลังงานไอออไนเซชันของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ลังงานไอออไนเซชัน ของธาตุเคมี (หน้าข้อมูล).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและพลังงานไอออไนเซชันของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

พลูโทเนียม

ลูโทเนียม (Plutonium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 94 และสัญลักษณ์ คือ Pu เป็นธาตุโลหะกัมมันตรังสี เป็นโลหะแอกทิไนด์สีขาวเงิน และจะมัวลงเมื่อสัมผัสอากาศซึ่งเกิดจากการรวมตัวกับออกซิเจน โดยปกติ พลูโทเนียมมี 6 ไอโซโทป และ 4 สถานะออกซิเดชัน สามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับคาร์บอน ฮาโลเจน ไนโตรเจน และซิลิกอน เมื่อสัมผัสอากาศชื้นจะสร้างสารประกอบออกไซด์และไฮไดรด์มากกว่า 70 % ของปริมาตรซึ่งจะแตกออกเป็นผงแป้งที่สามารถติดไฟได้เอง พลูโทเนียมมีพิษที่เกิดจากการแผ่รังสีที่จะสะสมที่ไขกระดูก นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติอื่น ๆ ที่ทำให้การจัดการพลูโทเนียมเป็นเรื่องที่อันตรายมาก ไอโซโทปที่สำคัญของพลูโทเนียม คือ พลูโทเนียม-239 ซึ่งมีครึ่งชีวิต 24,100 ปี พลูโทเนียม-239 และ 241 เป็นวัสดุฟิสไซล์ ซึ่งหมายความว่านิวเคลียสของอะตอมสามารถแตกตัว โดยการชนของนิวตรอนความร้อนเคลื่อนที่ช้า ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงาน รังสีแกมมา และนิวตรอนจำนวนมาก ด้วยเหตุนี้ จึงสามารถเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ได้ นำไปสู่การประยุกต์สร้างอาวุธนิวเคลียร์และเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ไอโซโทปที่เสถียรที่สุด คือ พลูโทเนียม-244 ซึ่งมีครึ่งชีวิตประมาณ 80 ล้านปี นานพอที่จะสามารถพบได้ในธรรมชาติ พลูโทเนียม-238 มีครึ่งชีวิต 88 ปี และปลดปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมา มันเป็นแหล่งความร้อนของเครื่องผลิตไฟฟ้าด้วยความร้อนจากไอโซโทปรังสี ซึ่งใช้ในการให้พลังงานในยานอวกาศ พลูโทเนียม-240 มีอัตราของการแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมด้วยตัวเองสูง เป็นการเพิ่มอัตรานิวตรอนพื้นฐานของตัวอย่างที่มีไอโซโทปนี้ประกอบอยู่ด้วย การมีอยู่ของ Pu-240 เป็นข้อจำกัดสมรรถภาพของพลูโทเนียมที่ใช้ในอาวุธหรือแหล่งพลังงานและเป็นตัวกำหนดเกรดของพลูโทเนียม: อาวุธ (19%) ธาตุลำดับที่ 94 สังเคราะห์ได้เป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและพลูโทเนียม · ดูเพิ่มเติม »

พาราเซตามอล

ราเซตามอล (Paracetamol (INN)) หรือ อะเซตามีโนเฟน (acetaminophen (USAN)) ทั้งหมดย่อมาจาก para-acetylaminophenol เป็นยาที่สามารถจำหน่ายได้โดยไม่ต้องมีใบสั่งแพทย์ (OTC) มีฤทธิ์แก้ปวดและลดไข้ ซึ่งเป็นยาพื้นฐานที่มักใช้เพื่อบรรเทาไข้ อาการปวดศีรษะ และอาการปวดเมื่อย และรักษาให้หายจากโรคหวัดและไข้หวัด พาราเซตามอลประกอบด้วยยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตรอยด์ (NSAIDs) และโอปิออยด์ พาราเซตามอลมักใช้รักษาอาการปวดพื้นฐานถึงการปวดอย่างซับซ้อน โดยทั่วไปพาราเซตามอลจะปลอดภัยต่อมนุษย์หากได้รับในปริมาณที่เหมาะสม แต่หากได้รับปริมาณมากเกินไป (เกิน 1000 มิลลิกรัมต่อโดส หรือ 4,000 มิลลิกรัมต่อวันในผู้ใหญ่ หรือเกิน 2,000 มิลลิกรัมต่อวันสำหรับผู้ดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์) จะทำให้เกิดความเสียหายต่อการทำงานของตับได้ แต่ผู้ป่วยบางรายที่รับประทานในปริมาณปกติก็สามารถส่งผลต่อตับได้เช่นเดียวกับผู้ที่รับในปริมาณมากเกินไปเช่นกัน แต่หากกรณีดังกล่าวพบได้น้อยมาก อันตรายจากการใช้ยานี้จะมากขึ้นในผู้ดื่มแอลกอฮอล์ พิษของพาราเซตามอลสามารถทำให้แกิดภาวะตับล้มเหลวซึ่งมีการพบแล้วในโลกตะวันตก อาทิในสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย และนิวซีแลน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและพาราเซตามอล · ดูเพิ่มเติม »

พิวรีน

#Traube purine synthesis --> พิวรีน (purine) เป็นสารประกอบอินทรีย์ประเภทเฮเตอโรไซคลิกและอะโรมาติก ที่มีวงแหวนไพริมิดีน (pyrimidine) เชื่อมกับวงแหวนอิมิดาโซล และให้ชื่อของมันกับกลุ่มโมเลกุลที่เรียกว่า พิวรีน ซึ่งรวมพิวรีนที่มีการแทนที่โครงสร้างและเทาโทเมอร์ ต่าง ๆ ของพิวรีน เป็นสารประกอบเฮเตอโรไซคลิกแบบมีไนโตรเจนที่มีมากที่สุดในธรรมชาติ และละลายน้ำได้ พิวรีนพบอย่างเข้มข้นในเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์เนื้อ โดยเฉพาะเครื่องในรวมทั้งตับไต โดยทั่วไปแล้ว พืชผักจะมีพิวรีนต่ำ ตัวอย่างของอาหารที่มีพิวรีนสูงรวมทั้ง ต่อมไทมัส ตับอ่อน ปลาแอนโชวี่ ปลาซาร์ดีน ตับ ไตของวัวควาย สมอง สารสกัดจากเนื้อ ปลาเฮร์ริง ปลาแมกเคอเรล หอยเชลล์ เนื้อสัตว์ที่ล่าเพื่ออาหารหรือเพื่อการกีฬา เบียร์ (โดยได้จากยีสต์) และน้ำเกรวี อาหารที่มีพิวรีนกลาง ๆ รวมทั้ง เนื้อวัวควาย เนื้อหมู ปลาและอาหารทะเล ผักแอสพารากัส ต้นกะหล่ำดอก ผักโขมจีน เห็ด ถั่วลันเตา ถั่วเล็นทิล ถั่ว ข้าวโอ๊ต รำข้าวสาลี และจมูกข้าวสาลี พิวรีนและไพริมิดีนเป็นกลุ่มสองกลุ่มของเบสไนโตรเจน (nitrogenous base) และก็เป็นกลุ่มสองกลุ่มของเบสนิวคลีโอไทด์ (nucleotide base/nucleobase) ด้วย deoxyribonucleotide 2 อย่างใน 4 อย่าง คือ deoxyadenosine และ guanosine, ribonucleotide 2 อย่างใน 4 อย่าง คือ adenosine/adenosine monophosphate (AMP) และ guanosine/guanosine monophosphate (GMP) ซึ่งเป็นหน่วยพื้นฐานของดีเอ็นเอและอาร์เอ็นเอตามลำดับ ก็เป็นพิวรีน เพื่อจะสร้างดีเอ็นเอและอาร์เอ็นเอ เซลล์จำเป็นต้องใช้พิวรีนและไพรมิดีนเป็นจำนวนพอ ๆ กัน ทั้งพิวรีนและไพริมิดีนต่างก็เป็นสารยับยั้งและสารก่อฤทธิ์ต่อพวกตนเอง คือ เมื่อพิวรีนก่อตัวขึ้น มันจะยับยั้งเอนไซม์ที่ใช้สร้างพิวรีนเพิ่ม พร้อมกับก่อฤทธิ์ของเอนไซม์ที่ใช้สร้างไพริมิดีน และไพริมิดีนก็ทั้งยับยั้งตนเองและออกฤทธิ์ให้สร้างพิวรีนในลักษณะเช่นเดียวกัน เพราะเหตุนี้ จึงมีสารทั้งสองอยู่ในเซลล์เกือบเท่า ๆ กันตลอดเวล.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและพิวรีน · ดูเพิ่มเติม »

พิวเมคซิลลินัม

พิวเมคซิลลินัม (Pivmecillinam) หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและพิวเมคซิลลินัม · ดูเพิ่มเติม »

พืชกินสัตว์

''Nepenthes mirabilis'' ที่ขึ้นอยู่ริมถนน พืชกินสัตว์ (carnivorous plant) คือ พืชที่ได้สารอาหารบางส่วนหรือส่วนใหญ่ (แต่ไม่รวมถึงพลังงาน) จากการดักและบริโภคสัตว์หรือสัตว์เซลล์เดียวซึ่งปรกติได้แก่แมลงและสัตว์ขาปล้องเหล่าอื่น ๆ โดยเป็นผลจากการปรับตัวให้อยู่รอดในดินที่มีสารอาหารน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งไนโตรเจน เช่น ดินที่มีสภาพเป็นกรด หิน ฯลฯ ศาสตรนิพนธ์อันเลื่องชื่อฉบับแรกซึ่งว่าด้วยพืชชนิดนี้นั้นเป็นผลงานของชาลส์ ดาร์วิน เมื่อปี..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและพืชกินสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

พีฟลอกซาซิน

พีฟลอกซาซิน (Pefloxacin) หมวดหมู่:ควิโนโลน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและพีฟลอกซาซิน · ดูเพิ่มเติม »

กระบวนการอะเดียแบติก

กระบวนการอะเดียแบติก ในทางอุณหพลศาสตร์คือกระบวนการที่ไม่มีการถ่ายเทความร้อนเข้าและออกจากระบบ กระบวนการอะเดียแบติกที่ผันกลับได้จะเรียกว่ากระบวนการไอเซนโทรปิก กระบวนการที่จะเรียกว่าเป็นกระบวนการอะเดียแบติกนั้นจะเกิดขึ้นได้เมื่อการเปลี่ยนแปลงนั้นรวดเร็วจนความร้อนไม่สามารถถ่ายเทระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อมได้ทัน กระบวนการอะเดียแบติกกับกระบวนการไอโซเทอร์มอล คือ กระบวนการไอโซเทอร์มอลจะเกิดขึ้นได้เมื่อการเปลี่ยนแปลงเกิดได้ช้ามากจนความร้อนเปลี่ยนแปลงไปเป็นพลังงานในรูปอื่นโดยการทำงานของร.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและกระบวนการอะเดียแบติก · ดูเพิ่มเติม »

กระบวนการฮาเบอร์

กระบวนการฮาเบอร์ หรือเรียกว่า กระบวนการฮาเบอร์-โบสช์ เป็นปฏิกิริยาการตรึงไนโตรเจนของแก๊สไนโตรเจนและแก๊สไฮโดรเจน เหนือเหล็กเสริมสมรรถนะหรือตัวเร่งปฏิกิริยารูทีเนียม ซึ่งเป็นกระบวนการที่ใช้ผลิตแอมโมเนียEnriching the Earth: Fritz Haber, Carl Bosch, and the Transformation of World Food Production by Vaclav Smil (2001) ISBN 0-262-19449-XHager, Thomas (2008).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและกระบวนการฮาเบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กรดยูริก

กรดยูริก (Uric acid) เป็นสารประกอบเฮเทอโรไซคลิก (heterocyclic) ที่มีคาร์บอน ไนโตรเจน ออกซิเจน และไฮโดรเจน โดยมีสูตรเคมีเป็น C5H4N4O3 มันมีรูปแบบทั้งเป็นไอออนและเกลือที่เรียกว่าเกลือยูเรต (urate) และเกลือกรดยูเรต (acid urate) เช่น ammonium acid urate กรดยูริกเป็นผลของกระบวนการสลายทางเมแทบอลิซึมของนิวคลีโอไทด์คือพิวรีน (purine) และเป็นองค์ประกอบปกติของปัสสาวะ การมีกรดยูริกในเลือดสูงอาจทำให้เกิดโรคเกาต์ และสัมพันธ์กับโรคอื่น ๆ รวมทั้งโรคเบาหวาน และนิ่วในไตที่เกิดจาก ammonium acid urate.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและกรดยูริก · ดูเพิ่มเติม »

กรดปิเปมิดิก

กรดปิเปมิดิก (Pipemidic acid) หมวดหมู่:ควิโนโลน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและกรดปิเปมิดิก · ดูเพิ่มเติม »

กรดนาลิดิซิก

กรดนาลิดิซิก (Nalidixic acid) หมวดหมู่:ควิโนโลน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและกรดนาลิดิซิก · ดูเพิ่มเติม »

กรดไนตริก

กรดไนตริก หรือ กรดดินประสิว (Nitric acid) เป็นกรดที่มีอันตราย หากสัมผัสจะทำให้เกิดแผลไหม้ขั้นรุนแรง กรดไนตริกนี้ ค้นพบโดยการสังเคราะห์ โดย "Muslim alchemist Jabir ibn Hayyan" ประมาณ ค.ศ. 800 กรดไนตริกบริสุทธ์ 100% (ปราศจากน้ำ) จะเป็นของเหลวที่มีความหนาแน่น 1,552 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร และจะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิ -42 °C ลูกบาศก์ โดยจะเป็นผลึกสีขาว และจะเดือดที่อุณหภูมิ 83 °C แต่ก็สามารถเดือดในที่ ที่มีแสงสว่าง ทั้ง ๆ ที่อยู่ในอุณหภูมิห้อง สารประกอบเคมีในกรดไนตริก (HNO3), หรือ อควา ฟอร์ติส (aqua fortis) หรือ สปิริต ออฟ ไนเตอร์ (spirit of nitre) เป็นของเหลวที่กัดกร่อนและไม่มีสี เป็นกรดที่มีพิษที่สามารถทำให้เกิดแผลไฟไหม้อย่างรุนแรง สารละลายที่มีกรดไนตริกมากกว่า 86% เรียกว่า fuming nitric acidและสามารถกัดกร่อนโลหะมีตะกูลได้ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ขาว (white fuming nitric acid) และแดง (red fuming nitric acid).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและกรดไนตริก · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) คือ กล้องโทรทรรศน์ในวงโคจรของโลกที่กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีนำส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อเดือนเมษายน..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล · ดูเพิ่มเติม »

กัตเตชัน

กัตเตชันที่ใบหญ้าถอดปล้อง กัตเตชันบนใบสตรอเบอรี กัตเตชัน (guttation) เป็นการเสียน้ำในรูปของหยดน้ำของพืช ซึ่งเกิดในกรณีที่ในอากาศอิ่มตัวด้วยน้ำ มีความชื้นสูง การคายน้ำเกิดขึ้นได้น้อย แต่การดูดน้ำของรากยังเป็นปกติ เกิดขึ้นโดยน้ำถูกดันผ่านไซเลมเข้าสู่เทรคีดที่เล็กที่สุดในใบ แล้วถูกดันออกไปสู่กลุ่มเซลล์พาเรนไคมาที่เรียกอีพิเทม (epithem) เข้าสู่ช่องว่างที่สะสมน้ำได้ (water cavity) แล้วจึงออกจากใบทางรูเปิดที่เรียกไฮดาโทด (hydathode).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและกัตเตชัน · ดูเพิ่มเติม »

กาบหอยแครง

กาบหอยแครง (Venus Flytrap) เป็นพืชกินสัตว์ที่ดักจับและย่อยกินเหยื่อที่จับได้ซึ่งส่วนมากเป็นแมลงและแมง กาบหอยแครงมีโครงสร้างกับดักคล้ายคล้ายบานพับแบ่งออกเป็น 2 กลีบ อยู่ที่ปลายใบของแต่ละใบ และมีขนกระตุ้นบางๆบนพื้นผิวด้านในกับดัก เมื่อแมลงมาสัมผัสขนกระตุ้นสองครั้ง กับดักจะงับเข้าหากัน การที่ต้องการสิ่งกระตุ้นที่ซับซ้อนนี้ก็เพื่อป้องกันการสูญเสียพลังงานไปกับการดักจับสิ่งอื่นที่ไม่ใช่อาหาร ชื่อ Venus Flytrap นั้นอ้างอิงถึงเทพีวีนัส เทพีแห่งความรักของชาวโรมัน ขณะที่ชื่อสกุล Dionaea (เทพีไดโอนี Dionaea เป็นสกุลที่มีเพียงชนิดเดียวและเป็นญาติใกล้ชิดกับ Aldrovanda vesiculosa และสกุลหยาดน้ำค้าง).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและกาบหอยแครง · ดูเพิ่มเติม »

กากน้ำตาล

กากน้ำตาล (molasses "โมลาส") มีรากศัพท์มาจากคำว่า “melaço” ในภาษาโปรตุเกสmerriam-webster กากน้ำตาลเป็นของเหลวลักษณะเหนียวข้นสีน้ำตาลดำ ที่เป็นผลพลอยจากการผลิตน้ำตาลทราย ซึ่งไม่สามารถจะตกผลึกน้ำตาลได้อีก เป็นเนื้อของสิ่งที่ไม่ใช่น้ำตาลที่ละลายปนอยู่ในน้ำอ้อย ซึ่งประกอบด้วยน้ำตาลซูโครส น้ำตาลอินเวอร์ท (invert sugar) และสารเคมี เช่น ปูนขาว ที่ใช้ในการตกตะกอนให้น้ำอ้อยใส Thai Sugar Mill Group กากน้ำตาลมีระดับพลังงานระดับต่ำถึงปานกลางขึ้นอยู่กับปริมาณของน้ำที่มีอยู่ในกากน้ำตาล มีโพแทสเซียม และมีปริมาณน้ำในระดับสูง ทำให้เกิดเชื้อราได้ง่าย กากน้ำตาลแบ่งได้หลายชน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและกากน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

การรับรู้รส

ตุ่มรับรส (Taste bud) รส หรือ รสชาติ (Taste, gustatory perception, gustation) เป็นเรื่องเกี่ยวกับประสาทสัมผัสหนึ่งในห้า (นับตามโบราณ) โดยเป็นความรู้สึกที่ได้จากระบบรู้รส (gustatory system) รสเป็นความรู้สึกที่ได้เมื่อสารในปากก่อปฏิกิริยาเคมีกับเซลล์รับรส (taste receptor cell) ที่อยู่ในตุ่มรับรส (taste bud) ในช่องปากโดยมากที่ลิ้น รสพร้อม ๆ กับกลิ่น และการกระตุ้นที่ประสาทไทรเจมินัล (ซึ่งทำให้รู้เนื้ออาหาร ความเจ็บปวด และอุณหภูมิ) จะเป็นตัวกำหนดความอร่อยของอาหารหรือสารอื่น ๆ กล่าวอีกอย่างก็คือ ระบบรู้รสจะตรวจจับโมเลกุลอาหารและเครื่องดื่มเป็นต้น โดยมากที่ละลายในน้ำหรือไขมันได้ ซึ่งเมื่อรวมกับข้อมูลจากระบบรู้กลิ่นและระบบรับความรู้สึกทางกาย จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพของสารอาหาร ปริมาณ และความปลอดภัยของสิ่งที่เข้ามาในปาก มีรสชาติหลัก ๆ 5 อย่างคือ หวาน เปรี้ยว เค็ม ขม และอุมะมิ ซึ่งรู้ผ่านวิถีประสาทที่แยกจากกัน ส่วนการรับรู้รสแบบผสมอาจเกิดขึ้นที่เปลือกสมองส่วนการรู้รสโดยประมวลข้อมูลที่ได้ในเบื้องต้นจากหน่วยรับรสหลัก ๆ การรับรู้รสจะเริ่มตั้งแต่สารที่มีรสทำปฏิกิริยากับน้ำลายซึ่งท่วมตุ่มรับรสที่อยู่บนโครงสร้างต่าง ๆ เช่นปุ่มลิ้น ทำให้โมเลกุลรสมีโอกาสทำปฏิกิริยากับหน่วยรับรสที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรสซึ่งอยู่รวมตัวกันที่ตุ่มรับรส รสหวาน อุมะมิ และขม จะเริ่มจากการจับกันของโมเลกุลกับ G protein-coupled receptors ที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรส ส่วนความเค็มและความหวานจะรู้ได้เมื่อโลหะแอลคาไลหรือไอออนไฮโดรเจน (ตามลำดับ) ไหลเข้าไปในเซลล์รับรส ในที่สุดเซลล์รับรสก็จะลดขั้วแล้วส่งสัญญาณกลิ่นผ่านใยประสาทรับความรู้สึกไปยังระบบประสาทกลาง สมองก็จะประมวลผลข้อมูลรสซึ่งในที่สุดก็ทำให้รู้รส รสพื้นฐานจะมีส่วนต่อความรู้สึกอร่อยของอาหารในปาก ปัจจัยอื่น ๆ รวมทั้งกลิ่น ที่ตรวจจับโดยเยื่อบุผิวรับกลิ่นในจมูก, เนื้ออาหาร ที่ตรวจจับโดยตัวรับแรงกล และประสาทกล้ามเนื้อต่าง ๆ เป็นต้น, อุณหภูมิที่ตรวจจับโดยปลายประสาทรับร้อน, ความเย็น (เช่นที่ได้จากเมนทอล) กับรสเผ็สที่ได้จากตัวรับรู้สารเคมี, รูปลักษณ์ที่ปรากฏของอาหาร ที่เห็นได้ผ่านเซลล์รับแสงในจอตา, และสภาพทางจิตใจเอง เพราะเรารู้ทั้งรสที่เป็นอันตรายและมีประโยชน์ รสพื้นฐานทั้งหมดสามารถจัดเป็นไม่น่าพอใจ (aversive) หรือทำให้อยากอาหาร (appetitive) ความขมช่วยเตือนว่าอาจมีพิษ ในขณะที่ความหวานช่วยระบุอาหารที่สมบูรณ์ด้วยพลังงาน สำหรับมนุษย์ การรู้รสจะเริ่มลดลงราว ๆ อายุ 50 ปี เพราะการเสียปุ่มลิ้นและการผลิตน้ำลายที่น้อยลง ทำให้ผู้สูงอายุมักทานรสจัดขึ้นเทียบกับเด็ก เช่น ต้องเติมเกลือ เติมพริกเป็นต้น ซึ่งอาจเป็นปัญหาต่อผู้มีความดันโลหิตสูงหรือมีปัญหาธำรงดุลอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย มนุษย์สามารถรู้รสแบบผิดปกติเพราะเป็นโรค dysgeusia สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหมดไม่ได้รู้รสได้เหมือน ๆ กัน สัตว์ฟันแทะบางชนิดสามารถรู้รสแป้ง (ซึ่งมนุษย์ไม่สามารถ) แมวไม่สามารถรู้รสหวาน และสัตว์กินเนื้อหลายอย่างรวมทั้งหมาไฮยีน่า ปลาโลมา และสิงโตทะเลต่างก็ได้เสียการรู้รสชาติอาจถึง 4 อย่างจาก 5 อย่างที่บรรพบุรุษของพวกมันรู้.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและการรับรู้รส · ดูเพิ่มเติม »

การหมักเชิงอุตสาหกรรม

การหมักเชิงอุตสาหกรรม (Industrial fermentation) เป็นการหมักจุลินทรีย์ เช่น แบคทีเรียและเห็ดรา ที่ทำโดยตั้งใจเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ที่เป็นประโยชน์ ที่สามารถใช้เป็นอาหารหรือเพื่อประโยชน์อื่น ๆ ในอุตสาหกรรม สารเคมีที่มีขายทั่วไปบางอย่าง เช่น กรดน้ำส้ม กรดซิตริก และเอทานอล ล้วนผลิตโดยวิธีการหมัก ความช้าเร็วของกระบวนการหมักขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของจุลินทรีย์ เซลล์ องค์ประกอบของเซลล์ เอนไซม์ รวมทั้งอุณหภูมิและค่ากรด และสำหรับการหมักบางชนิด ออกซิเจน กระบวนการสกัดผลิตภัณฑ์ออกมา บ่อยครั้งต้องเพิ่มความเข้มข้นของสารละลายที่เจือจางนั้น เอนไซม์ที่ผลิตขายทั้งหมด เช่น lipase, invertase, และ rennet จะทำโดยการหมักที่ใช้จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม ในบางกรณี มวลชีวภาพของจุลินทรีย์นั่นแหละเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น ยีสต์ขนมอบ (Saccharomyces cerevisiae) และแบคทีเรียที่เปลี่ยนแล็กโทสเป็นกรดแล็กติกที่ใช้ในการผลิตชีส โดยทั่วไปแล้ว สามารถแบ่งการหมักได้ออกเป็น 4 จำพวก คือ.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและการหมักเชิงอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

การจัดการทาลัสซีเมีย

* สำหรับทาลัสซีเมียอย่างอ่อน คนไข้ที่มีลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) ไม่จำเป็นต้องรักษาหรือดูแลหลังจากได้วินิจฉัยแล้ว แต่คนไข้ทาลัสซีเมียแบบบีตาควรทราบว่า สภาพของตนสามารถวินิจฉัยผิดว่าเป็นภาวะเลือดจางเหตุขาดธาตุเหล็กซึ่งสามัญได้ และควรปฏิเสธการรักษาแบบลองยาเสริมเหล็ก (iron supplement) แม้ว่าการขาดธาตุเหล็กอาจเกิดขึ้นได้เมื่อตั้งครรภ์หรือมีเลือดออกเรื้อรัง เมื่อมีครอบครัว ควรปรึกษาแพทย์เรื่องโรคทางพันธุกรรมทุกอย่าง โดยเฉพาะถ้าลูกเสี่ยงมีโรคแบบรุนแรงที่ป้องกันได้.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและการจัดการทาลัสซีเมีย · ดูเพิ่มเติม »

การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

การทดสอบไบยูเร็ต

ีม่วงของการทดสอบไบยูเร็ตที่เป็นบวก การทดสอบไบยูเร็ตเป็นวิธีการที่ใช้ตรวจสอบพันธะเพปไทด์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยารีดักชั่นของไอออน copper(II) ไปเป็น copper(I) ที่จะไปเกิดสารเชิงซ้อนกับไนโตรเจนของพันธะเพปไทด์ในสารละลายที่เป็นเบส ถ้าเกิดสีม่วงแสดงว่ามีโปรตีน การทดสอบไบยูเร็ตนี้ใช้หาปริมาณโปรตีนได้เพราะพันธะเพปไทด์เกิดขึ้นในความถี่เดียวกันต่อโปรตีน 1 กรัม ในโปรตีนหลายชนิด ความเข้มของสีที่มีการดูดกลืนที่ 540 nm แปรผันโดยตรงกับความเข้มข้นของโปรตีน การทดสอบทำได้โดยเติมปริมาณที่เท่ากันของ 1% KOH (โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์) และ 1 % CuSO4 2-3 หยด ลงในสารละลายตัวอย่าง ถ้ามีโปรตีนจะเกิดสีม่วงโดยตรวจจวัดโปรตีนได้ที่ประมาณ 5-160 mg/ml.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและการทดสอบไบยูเร็ต · ดูเพิ่มเติม »

การขาดธาตุเหล็ก

การขาดธาตุเหล็ก หรือ ภาวะขาดธาตุเหล็ก (Iron deficiency) เป็นการขาดสารอาหารที่สามัญที่สุดในโลก ธาตุเหล็กมีอยู่ในเซลล์ทั้งหมดของร่างกายมนุษย์และมีหน้าที่สำคัญมากหลายอย่าง เช่น การนำเอาออกซิเจนไปยังอวัยวะต่าง ๆ จากปอด โดยเป็นองค์ประกอบกุญแจสำคัญของโปรตีนเฮโมโกลบินในเลือด, การเป็นสื่อนำอิเล็กตรอนภายในเซลล์ในรูป cytochrome, การอำนวยการใช้และการเก็บออกซิเจนภายในกล้ามเนื้อโดยเป็นส่วนของไมโยโกลบิน, และเป็นสิ่งที่จำเป็นในปฏิกิริยาของเอนไซม์ในอวัยวะต่าง ๆ การมีธาตุเหล็กน้อยเกินไปสามารถรบกวนหน้าที่จำเป็นต่าง ๆ เหล่านี้ โดยทำให้เกิดโรค และอาจให้ถึงตายได้ ปริมาณธาตุเหล็กทั้งหมดในร่างกายมีประมาณ 3.8 ก. ในชาย และ 2.3 ก. ในหญิง ส่วนในน้ำเลือด เหล็กจะเวียนไปกับเลือดโดยยึดกับโปรตีน transferrin อย่างแน่น มีกลไกหลายอย่างที่ควบคุมเมแทบอลิซึมของเหล็กในมนุษย์ และป้องกันไม่ให้ขาด กลไกควบคุมหลักอยู่ในทางเดินอาหาร แต่ถ้าการสูญเสียเหล็กไม่สามารถชดเชยได้จากการทานอาหาร ภาวะขาดเหล็กก็จะเกิดขึ้นในที่สุด และถ้าไม่รักษา ก็จะลามไปเป็นภาวะโลหิตจางเหตุขาดธาตุเหล็ก (iron deficiency anemia) แต่ก่อนจะถึงภาวะโลหิตจาง ภาวะการขาดธาตุเหล็กโดยที่ยังไม่ถึงภาวะโลหิตจางเรียกว่า Latent Iron Deficiency (LID) หรือ Iron-deficient erythropoiesis (IDE) การขาดธาตุเหล็กที่ไม่รักษาอาจนำไปสู่ภาวะโลหิตจากเหตุขาดธาตุเหล็ก ซึ่งเป็นภาวะโลหิตจางที่สามัญ โดยมีเม็ดเลือดแดง (erythrocytes) หรือเฮโมโกลบิน ไม่พอ คือ ภาวะโลหิตจางเหตุขาดธาตุเหล็กจะเกิดขึ้นเมื่อร่างกายมีเหล็กไม่พอ มีผลลดการผลิตโปรตีนเฮโมโกลบิน ซึ่งเป็นตัวจับออกซิเจนและทำให้เม็ดเลือดแดงสามารถส่งออกซิเจนให้กับอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย เด็ก หญิงช่วงวัยเจริญพันธุ์ และบุคคลที่มีอาหารไม่สมบูรณ์เสี่ยงต่อโรคมากที่สุด กรณีโดยมากของภาวะโลหิตจางเหตุขาดธาตุเล็กไม่รุนแรง แต่ถ้าไม่รักษาก็อาจสามารถสร้างปัญหาเช่นหัวใจเต้นเร็วหรือไม่ปกติ ปัญหาระหว่างการตั้งครรภ์ การโตช้าสำหรับทารกหรือเด็ก 75-381 refend more than 1000 refend.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและการขาดธาตุเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

การปลูกพืชหมุนเวียน

กดาวเทียมที่แสดงแปลงพืชกลมในเคานตี้แฮสเคลในแคนซัสในปลายเดือน มิถุนายน ค.ศ. 2001 พืชที่แข็งแรงเป็นสีเขียว ข้าวโพดที่มีลำต้นเป็นใบก็จะเติบโตเป็นต้น ข้าวฟ่างที่มีลักษณะคล้ายข้าวโพดโตช้ากว่าฉะนั้นก็ยังเล็กกว่าซึ่งอาจจะเป็นสีเขียวอ่อน ข้าวสาลีเป็นสีทองที่เก็บเกี่ยวกันในเดือนมิถุนายน ทุ่งสีน้ำตาลเป็นบริเวณที่เพิ่งเสร็จจากการเก็บเกี่ยวและไถทิ้งไว้สำหรับปลูกพืชผลในปีต่อไป การปลูกพืชหมุนเวียน (Crop rotation หรือ Crop sequencing) เป็นระบบการเกษตรกรรมที่ใช้การปลูกพืชหลายชนิดที่ต่างชนิดกันในบริเวณเดียวกันตามลำดับของฤดูเพื่อให้ได้ประโยชน์หลายอย่างเช่นเพื่อเลี่ยงการสร้างสมของตัวกำเนิดโรค (Pathogens) หรือ ศัตรูพืช (Pest) ที่มักจะเกิดขึ้นถ้าปลูกพืชชนิดเดียวต่อเนื่องกัน นอกจากนั้นก็เพื่อสร้างความสมดุลของสารอาหารเนื้อดินที่ไม่ถูกดูดออกไปจากการปลูกพืชชนิดเดียวเป็นเวลานาน การปลูกพืชหมุนเวียนที่ทำกันมามักจะเป็นการปลูกพืชที่ช่วยสร้างเสริมไนโตรเจนโดยการใช้ปุ๋ยพืชสด (green manure) พร้อมกับการ ปลูกธัญพืชและพืชชนิดอื่น ซึ่งเป็นองค์ประกอบของระบบการปลูกพืชหลากชนิด (Polyculture) (ที่ตรงกันข้ามกับ ระบบการปลูกพืชชนิดเดียว (Monoculture) นอกจากนั้นการปลูกพืชหมุนเวียนก็ยังเป็นการปรับปรุงโครงสร้างของดิน (soil structure) และ ความสมบูรณ์ของดิน (soil fertility) โดยการสลับเปลี่ยนระหว่างการปลูกพืชรากลึกกับพืชรากตื้น ระบบการปลูกพืชหมุนเวียนเป็นระบบที่ใช้กันมานานตั้งแต่สมัยโบราณเช่นในสมัยโรมันที่ใช้ระบบเกษตรกรรมสองแปลงที่เกษตรกรจะปลูกพืชในแปลงหนึ่งและไถอีกแปลงหนึ่งว่างไว้สำหรับการเพาะปลูกในปีต่อไป หรือเมื่อมาถึงยุคกลางยุคกลางที่วิวัฒนาการเป็นระบบเกษตรกรรมสามแปลงที่ใช้กันต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและการปลูกพืชหมุนเวียน · ดูเพิ่มเติม »

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)

การนำความร้อนของธาตุเคมี (หน้าข้อมูล).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและการนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

การแพร่

แสดงการผสมกันของสารสองสารด้วยการแพร่ การแพร่ เป็นการกระจายตัวของโมเลกุลของสสารจากจุดที่มีความเข้มข้นสูงกว่า ไปยังจุดที่มีความเข้มข้นต่ำกว่าด้วยการเคลื่อนที่เชิงสุ่มของโมเลกุล การแพร่จะทำให้ เกิดการผสมของวัสดุอย่างช้าๆ สำหรับเฟสหนึ่งๆของวัสดุใดๆก็ตามที่มีอุณหภูมิสม่ำเสมอ และไม่มีแรงภายนอกมากระทำกับอนุภาค กระบวนการแพร่ก็จะยังคงเกิดถึงแม้ว่า สสารจะผสมกันโดยสมบูรณ์หรือเข้าสู่ภาวะสมดุลแล้ว โดยพื้นฐานแล้ว การเคลื่อนที่ของโมเลกุล จากพื้นที่ที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่ความเข้มข้นที่ต่ำกว่าเรียกว่าการแพร่ทั้งสิ้น ตัวอย่างการแพร่ เช่น การแพร่ของเกล็ดด่างทับทิมในน้ำ การแพร่ของน้ำหวานในน้ำ การแพร่ของสีน้ำในน้ำ โดยปกติแล้วการแพร่ของโมเลกุลจะอธิบายทางคณิตศาสตร์ได้โดยผ่าน กฎของฟิก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและการแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

การเผาไหม้

การเผาไหม้ เกิดจากปฏิกิริยาการรวมตัวกันของเชื้อเพลิงกับออกซิเจนอย่างรวดเร็ว พร้อมเกิดการลุกไหม้ และคายความร้อน ในการเผาไหม้ส่วนใหญ่จะไม่ใช้ออกซิเจนล้วนๆ แต่จะใช้อากาศแทนเนื่องจากอากาศมีออกซิเจนอยู่ 21% โดยปริมาตร หรือ 23% โดยน้ำหนัก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและการเผาไหม้ · ดูเพิ่มเติม »

กาติฟลอกซาซิน

กาติฟลอกซาซิน (Gatifloxacin).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและกาติฟลอกซาซิน · ดูเพิ่มเติม »

กาเฟอีน

กาเฟอีน (caféine) เป็นสารแซนทีนอัลคาลอยด์ ซึ่งสามารถพบได้ในอาหารหลายชนิดได้แก่ เมล็ดกาแฟ, ชา, โคล่า กาเฟอีนถือว่าเป็นยากำจัดศัตรูพืชโดยธรรมชาติ เพราะมันออกฤทธิ์ทำให้อัมพาต และสามารถฆ่าแมลงบางชนิดได้ กาเฟอีนยังมีฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้ร่างกายเกิดความตื่นตัวและลดความง่วงได้ เครื่องดื่มหลายชนิดมีกาเฟอีนเป็นส่วนผสม เช่นในกาแฟ น้ำชา น้ำอัดลม รวมทั้งเครื่องดื่มชูกำลัง ด้วยเหตุนี้จึงทำให้กาเฟอีนเป็นสารกระตุ้นประสาทที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและกาเฟอีน · ดูเพิ่มเติม »

มลพิษทางอากาศ

มลพิษทางอากาศจากโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์แห่งหนึ่ง มลพิษทางอากาศ (Air pollution) คือการเกิดฝุ่นละออง โมเลกุลชีวภาพ หรือวัตถุอันตรายชนิดอื่น ๆ ในชั้นบรรยากาศของโลก เป็นสาเหตุของโรค การเสียชีวิตในมนุษย์ และทำลายสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เช่น พืชพันธุ์ สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ หรือสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง ชั้นบรรยากาศเป็นระบบแก๊สธรรมชาติที่ซับซ้อนที่จำเป็นต่อชีวิตบนโลก การลดลงของโอโซนในชั้นสตราโทสเฟียร์เนื่องจากมลพิษทางอากาศถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพของมนุษย์ รวมถึงระบบนิเวศของโลกด้วย มลพิษทางอากาศภายในอาคาร และคุณภาพของอากาศในเมืองจัดเป็นปัญหามลพิษโลก 2 ปัญหาที่เลวร้ายที่สุด จากรายงานชื่อ สถานที่ที่ประสบมลพิษมากที่สุดในโลก (World's Worst Polluted Places) ของสถาบันแบล็กสมิธ (Blacksmith Institute) ในปี..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและมลพิษทางอากาศ · ดูเพิ่มเติม »

มอร์ฟีน

มอร์ฟีน (Morphine) ที่ขายภายใต้ชื่อการค้าหลายชื่อ เป็นยาระงับปวดชนิดยาเข้าฝิ่น ออกฤทธิ์โดยตรงต่อระบบประสาทส่วนกลางเพื่อลดความรู้สึกปวด ใช้ได้ทั้งกับอาการปวดเฉียบพลันและปวดเรื้อรัง มอร์ฟีนยังมักใช้กับอาการปวดจากกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือดและระหว่างการคลอด สามารถให้ทางปาก โดยฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ฉีดใต้ผิวหนัง เข้าหลอดเลือดดำ เข้าช่องว่างระหว่างไขสันหลัง หรือทางทวารหนัก ฤทธิ์สูงสุดอยู่ประมาณ 20 นาทีเมื่อให้เข้าหลอดเลือดดำ และ 60 นาทีเมื่อให้ทางปาก ส่วนระยะออกฤทธิ์อยู่ระหว่าง 3 ถึง 7 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังมีสูตรออกฤทธิ์ยาว ผลข้างเคียงรุนแรงที่อาจเกิดได้มีความพยายามหายใจลดและความดันเลือดต่ำ มอร์ฟีนมีศักยะสูงสำหรับการติดยาและการใช้เป็นสารเสพติด หากลดขนาดหลังการใช้ระยะยาว อาจเกิดอาการถอนได้ ผลข้างเคียงทั่วไปมีซึม อาเจียนและท้องผูก แนะนำให้ระวังเมื่อใช้ระหว่างตั้งครรภ์หรือเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพราะมอร์ฟีนจะมีผลต่อทารก ฟรีดริช แซร์ทัวร์เนอร์เป็นผู้แรกที่แยกมอร์ฟีนระหว่าง..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและมอร์ฟีน · ดูเพิ่มเติม »

มะกล่ำตาช้าง

มะกล่ำตาช้าง, มะกล่ำต้น, มะแค้ก, หมากแค้ก, มะแดง, มะหัวแดง หรือ มะโหกแดง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Leguminasae วงศ์ย่อย Mimosoideae โคนต้นมีพูพอน ผิวเรียบ สีเทาอมน้ำตาล ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ใบย่อยรูปไข่ ดอกช่อแบบแตกแขนง เกสรตัวผู้สีเหลืองจำนวนมาก เห็นเป็นพู่ ผลเดี่ยว เป็นฝักแบน ยาวขดเป็นวง เมื่ออ่อนสีเขียวอ่อน สุกแล้วสีน้ำตาล เป็นผลแห้ง แตกตามตะเข็บ เมล็ดแบนสีแดง เป็นพืชที่ตรึงก๊าซไนโตรเจน ใช้เป็นอาหารสัตว์ สมุนไพร และยังเป็นไม้ประดับได้ เนื้อไม้มีความแข็งแกร่งมากใช้ทำเรือและใช้ทำเครื่องเรือน มะกล่ำตาช้างเป็นพืชที่มีพิษ โดยเฉพาะส่วนเมล็ดสีแดงมีพิษสูงมาก หากรับประทานเข้าไป อาจทำให้เสียชีวิตได้ รากมีรสเปรี้ยว ใช้เป็นยาแก้ร้อนใน เมล็ดและใบแก้ริดสีดวงทวารหนัก ใช้เป็นยาเบื่อพยาธิ เมล็ดมะกล่ำ 1 เมล็ดใช้เทียบเป็นหน่วยกล่ำในมาตราชั่งตวงวัดโบราณ โดย 2 กล่อมเป็น 1 กล่ำ และ 2 กล่ำเป็น 1.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและมะกล่ำตาช้าง · ดูเพิ่มเติม »

มิโนไซคลีน

มิโนไซคลีน (Minocycline) หมวดหมู่:เตตราไซคลีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและมิโนไซคลีน · ดูเพิ่มเติม »

มีลอกซิแคม

2 มีลอกซิแคม มีลอกซิแคม (Meloxicam) เป็นยาประเภท เอ็นเซด ใช้รักษาอาการของโรค ข้ออักเสบ อาการปวดระดูขั้นเริ่มแรก ไข้ (อาการตัวร้อน) และเป็น ยาบรรเทาปวด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อาการอักเสบ มีคุณสมบัติทั่วไปใกล้เคียงกับ ไพรอกซิแคม (piroxicam) ในยุโรปวางตลาดในชื่อการค้าว่า Movalis, Melox, และ Recoxa.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและมีลอกซิแคม · ดูเพิ่มเติม »

มีควิตาซีน

มีควิทาซีน (Mequitazine) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและมีควิตาซีน · ดูเพิ่มเติม »

มีซิลลินัม

มีซิลลินัม(Mecillinam) หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและมีซิลลินัม · ดูเพิ่มเติม »

มีแทมพิซิลลิน

มีแทมพิซิลลิน(Metampicillin) หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและมีแทมพิซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์

มนุษย์ (ภาษาละตินแปลว่า "คนฉลาด" หรือ "ผู้รู้") เป็นสปีชีส์เดียวที่ยังมีชีวิตอยู่ในสกุล Homo ในทางกายวิภาค มนุษย์สมัยใหม่ถือกำเนิดขึ้นในทวีปแอฟริการาว 200,000 ปีที่แล้ว และบรรลุความนำสมัยทางพฤติกรรม (behavioral modernity) อย่างสมบูรณ์เมื่อราว 50,000 ปีที่แล้ว เชื้อสายมนุษย์แยกออกจากบรรพบุรุษร่วมสุดท้ายกับชิมแพนซี สิ่งมีชีวิตที่ใกล้ชิดที่สุด เมื่อราว 5 ล้านปีที่แล้วในแอฟริกา ก่อนจะวิวัฒนาการไปเป็นออสตราโลพิเธซีน (Australopithecines) และสุดท้ายเป็นสกุล Homo สปีชีส์ โฮโม แรก ๆ ที่อพยพออกจากแอฟริกา คือ Homo erectus, Homo ergaster ร่วมกับ Homo heidelbergensis ซึ่งถูกมองว่าเป็นบรรพบุรุษสายตรงของมนุษย์สมัยใหม่ Homo sapiens ยังเดินหน้าตั้งถิ่นฐานในทวีปต่าง ๆ โดยมาถึงยูเรเซียระหว่าง 125,000-60,000 ปีที่แล้ว ทวีปออสเตรเลียราว 40,000 ปีที่แล้ว ทวีปอเมริการาว 15,000 ปีที่แล้ว และเกาะห่างไกล เช่น ฮาวาย เกาะอีสเตอร์ มาดากัสการ์และนิวซีแลนด์ระหว่าง..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

ยาง

การเก็บน้ำยาง ยาง คือวัสดุพอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยไฮโดรเจนและคาร์บอน ยางเป็นวัสดุที่มีความยืดหยุ่นสูง ยางที่มีต้นกำเนิดจากธรรมชาติจะมาจากของเหลวของพืชบางชนิด ซึ่งมีลักษณะเป็นของเหลวสีขาว คล้ายน้ำนม มีสมบัติเป็นคอลลอยด์ อนุภาคเล็ก มีตัวกลางเป็นน้ำ ยางในสภาพของเหลวเรียกว่าน้ำยาง ยางที่เกิดจากพืชนี้เรียกว่ายางธรรมชาติ ในขณะเดียวกันมนุษย์สามารถสร้างยางสังเคราะห์ได้จากปิโตรเลียม.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและยาง · ดูเพิ่มเติม »

ระบบนิเวศในน้ำ

ริเวณปากน้ำและบริเวณชายฝั่งซึ่งเชื่อมต่อระหว่างน้ำจืดและน้ำเค็ม ระบบนิเวศในน้ำ (aquatic ecosystem) คือ ระบบนิเวศน้ำซึ่งจัดเป็นสังคมของสิ่งชีวิตที่อยู่ในน้ำ สังคมของสิ่งมีชีวิตจะขึ้นอยู่กับลักษณะและสภาพแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตนั้นอาศัยอยู่ ระบบนิเวศในน้ำจะแบ่งออกเป็น สองประเภทคือ ระบบนิเวศทางทะเลและระบบนิเวศน้ำจื.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและระบบนิเวศในน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

รัศมีวานเดอร์วาลส์

รัศมีวานเดอร์วาลส์ (Van der Waals radius)ของอะตอม คือ รัศมีของทรงกลมแข็งในจินตนาการที่สามารถนำมาใช้เป็นรูปจำลองของอะตอมได้หลายวัตถุประสงค์ รัศมีวานเดอร์วาลส์กำหนดโดยการวัดที่ว่างระหว่างคู่ของอะตอมที่ไม่เชื่อมติดกันของแก้วเจียระไน รัศมีวานเดอร์วาลส์เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นตามชื่อของโยฮันเนส ดิเดอริก วานเดอร์วาลส์ ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์เมื่อ พ.ศ. 2453 แก๊สจริงจะไม่มีพฤติกรรมตรงตามการทำนาย ในบางกรณี การเบี่ยงเบนอาจเกิดขึ้นได้มาก ตัวอย่างเช่น แก๊สอุดมคติอาจไม่มีทางเป็นของเหลวหรือของแข็งได้เลยไม่ว่าถูกทำให้เย็นหรือถูกอัดแน่นอย่างไร ดังนั้นการปรับเปลี่ยนกฎแก๊สอุดมคติ P\tilde.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและรัศมีวานเดอร์วาลส์ · ดูเพิ่มเติม »

รัศมีอะตอมของธาตุ (หน้าข้อมูล)

รัศมีอะตอมของธาตุ (หน้าข้อมูล).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและรัศมีอะตอมของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานะออกซิเดชันของธาตุ

้านล่างนี้เป็นรายชื่อสถานะออกซิเดชันของธาต.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและรายชื่อสถานะออกซิเดชันของธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อของธาตุตามหมายเลข

หมวดหมู่:เคมี.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและรายชื่อของธาตุตามหมายเลข · ดูเพิ่มเติม »

รายการธาตุเคมี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและรายการธาตุเคมี · ดูเพิ่มเติม »

ริโตนาเวียร์

ริโตนาเวียร์ (Ritonavir) หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและริโตนาเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

รูฟลอกซาซิน

รูฟลอกซาซิน (Rufloxacin) หมวดหมู่:ควิโนโลน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและรูฟลอกซาซิน · ดูเพิ่มเติม »

รูปาตาดีน

รูปาตาดีน (Rupatadine) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและรูปาตาดีน · ดูเพิ่มเติม »

รูเมน

ระบบย่อยอาหารของสัตว์เคี้ยวเอื้อง – กระเพาะรูเมนมีขนาดใหญ่สุดและติดต่อกับส่วนของเรติคิวลัม รูเมน หรือ กระเพาะผ้าขี้ริ้ว เป็นกระเพาะอาหารลำดับแรกของสัตว์เคี้ยวเอื้อง ทางเดินอาหารของสัตว์เคี้ยวเอื้อง มีลักษณะต่างจากสัตว์กินพืชอื่นๆ คือ ส่วนกระเพาะอาหารแบ่งออกเป็น 4 ส่วน บางครั้งจึงเรียกสัตว์จำพวกนี้ว่า สัตว์สี่กระเพาะ โดยเรียงตามลำดับดังนี้ รูเมน (rumen) เรติคิวลัม (reticulum) โอมาซัม (omasum) และ อะโบมาซัม (abomasum).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและรูเมน · ดูเพิ่มเติม »

รีมิเฟนทานิล

รีมิเฟนทานิล(Remifentanil) เป็นยากลุ่ม โอปิออยด์ สังเคราะห์ที่มีฤทธิ์สั้นแต่แรงมาก และสรรพคุณเป็น ยาบรรเทาปวด ด้วย มักจะให้คนคนไข้ในระหว่างการผ่าตัดเพื่อบรรเทาและ ระงับความรู้สึก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและรีมิเฟนทานิล · ดูเพิ่มเติม »

ร็อกซิโทรมัยซิน

ร็อกซิโทรมัยซิน (Roxithromycin) หมวดหมู่:แมกโครไลด์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและร็อกซิโทรมัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

ลมดาวฤกษ์

ลมดาวฤกษ์ (Stellar wind) คือการไหลของแก๊สทั้งแบบธรรมดาและแบบมีประจุออกจากชั้นบรรยากาศรอบนอกของดาวฤกษ์ ซึ่งถูกขับออกมาโดยคุณลักษณะของขั้วแม่เหล็กที่ไหลออกจากดาวฤกษ์อายุน้อยซึ่งยังไม่ค่อยถูกชน อย่างไรก็ดี การไหลออกของลมดาวฤกษ์ไม่ได้เป็นไปในลักษณะสมมาตรของทรงกลม และดาวฤกษ์ต่างประเภทกันก็จะให้ลมดาวฤกษ์ออกมาที่มีคุณสมบัติแตกต่างกัน ดาวฤกษ์ที่อยู่ในช่วงท้ายของแถบลำดับหลักซึ่งใกล้จะสิ้นอายุขัยมักปล่อยลมดาวฤกษ์ที่มีมวลมากแต่ค่อนข้างช้า (\dot > 10^ มวลดวงอาทิตย์ต่อปี และ v.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและลมดาวฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ลอราคาร์เบฟ

ลอราคาร์เบฟ (Loracarbef) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและลอราคาร์เบฟ · ดูเพิ่มเติม »

ลาทามอกเซฟ

ลาทามอกเซฟ (Latamoxef) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและลาทามอกเซฟ · ดูเพิ่มเติม »

ลินโคมัยซิน

ลินโคมัยซิน (Lincomycin) เป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มลินโคซาไมด์ ผลิตจากเชื้อ Streptomyces lincolnensis สามารถใช้เป็นสารตั้งต้นเพื่อดัดแปลงเป็นยา clindamycin ด้วยการใช้ thionyl chloride เพื่อเปลี่ยนเอาอะตอมคลอไรด์ไปแทนหมู่ 7-hydroxyl ด้วยการ inverse chirality ปัจจุบันมีที่ใช้น้อยมาก หมวดหมู่:แมกโครไลด์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและลินโคมัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

ลูพิน

''Lupinus polyphyllus '' ลูพิน (Lupin หรือ lupine) เป็นพืชดอกที่อยู่ในสกุลลูพินนัส (Lupinus) ในวงศ์ถั่วที่มีด้วยกันทั้งหมดราว 200 ถึง 600 สปีชีส์ขึ้นอยู่กับแหล่งข้อมูล มีศูนย์กลางอยู่ในอเมริกาใต้, ทางตะวันตกของอเมริกาเหนือ, บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน และ แอฟริกา ลูพินส่วนใหญ่เป็นพืชยืนต้นสูงราว 0.3 ถึง 1.5 เมตร แต่บางชนิตก็เป็นพืชปีเดียว และบางชนิดก็เป็นไม้พุ่มที่สูงถึง 3 เมตร (ลูพินพุ่ม) และมีอยู่สปีชีส์หนึ่งจากเม็กซิโกที่สูงถึง 8 เมตรและมีลำต้นที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร ใบมีลักษณะเด่นที่จำได้ง่ายสีเขียวออกไปทางเขียวอมเทาเล็กน้อย บางสปีชีส์ก็มีขนหนาสีเงินบนใบ ใบมีลักษณะเหมือนใบปาล์มที่แยกออกเป็น 5 ถึง 28 แฉก แต่บางสปีชีส์ก็ไม่มีแฉกเช่นที่พบทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ทรงดอกเหมือนข้าวโพดที่เป็นดอกเหมือนดอกถั่วกระจายออกไปรอบแกนกลางแต่ละดอกก็ยาวราว 1 ถึง 2 เซนติเมตร เมล็ดออกจากฝักแต่ละฝักก็มีหลายเมล็ด ลูพินก็เช่นเดียวกับพืชวงศ์ถั่วอื่นๆ ที่สามารถเปลี่ยนไนโตรเจนจากบรรยากาศให้เป็นไนโตรเจนให้เป็นแอมโมเนียได้ ซึ่งเป็นการเพิ่มปุ๋ยให้แก่พืชอื่นสกุลลูพินนัสมีไรโซเบียมแบบที่เรียกว่า Bradyrhizobium ลูพินเป็นทั้งดอกไม้ป่าและไม้บ้าน โครงสร้างของพุ่มและดอกมีลักษณะเด่นเหมาะแก่การปลูกตกแต่งสวน สีก็มีแทบทุกสีที่รวมทั้งเหลือง ชมพู แดง ม่วงน้ำเงิน ม่วงแดง และขาว.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและลูพิน · ดูเพิ่มเติม »

ลีโวฟลอกซาซิน

ลีโวฟลอกซาซิน (Levofloxacin).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและลีโวฟลอกซาซิน · ดูเพิ่มเติม »

วัฏจักรทางชีวธรณีเคมี

วัฏจักรของไนโตรเจน วัฏจักรที่สำคัญอย่างหนึ่งของวัฏจักรทางชีวธรณีเคมี วัฏจักรชีวธรณีเคมี (Biogeochemical cycle) โดยนิยามเชิงนิเวศวิทยาคือวงจรหรือแนวกระบวนการที่เกี่ยวกับการที่ธาตุหลักทางเคมีหรือโมเลกุลเคลื่อนที่ผ่านสภาพแวดล้อมของระบบนิเวศทั้งที่มีชีวิต (ชีวภาพ) และไม่มีชีวิต (ธรณีภาพ) โดยหลักการแล้ว วัฏจักรทุกวัฏจักรย่อมซ้ำกระบวนการเสมอ แม้ว่าในบางวัฏจักร จะใช้เวลาซ้ำกระบวนการนานมาก โดยการเปลี่ยนรูปนี้จะเกิดผ่านทั้งบรรยากาศ น้ำ และบนบก รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากปัจจัยทางกายภาพและชีวภาพ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีส่วนร่วมในวัฏจักร แต่ที่มีบทบาทมากที่สุดคือจุลินทรีย์ เพราะมีกระบวนการทางเมตาบอลิซึมที่หลากหลาย แหล่งพลังงานสำคัญของการหมุนเวียนของแร่ธาตุต่างๆคือพลังงานจากแสงอาทิตย์ และพลังงานจากสารที่อยู่ในสภาพรีดิวซ์ พลังงานเหล่านี้จะถ่ายทอดไปในระบบนิเวศและทำให้ระบบนิเวศทำงานได้ ธาตุที่มีการหมุนเวียนในวัฏจักรนี้ มีทั้งธาตุอาหารหลัก เช่น คาร์บอน ไนโตรเจน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ฟอสฟอรัส และกำมะถัน ธาตุอาหารรอง ได้แก่ แมกนีเซียม โปตัสเซียม โซเดียม และธาตุฮาโลเจน ธาตุอาหารเสริม ได้แก่ โบรอน โคบอลต์ โครเมียม ทองแดง โมลิบดินัม นิกเกิล ซีลีเนียม และสังกะสี ธาตุที่ไม่จำเป็นต่อสิ่งมีชีวิต สามารถเข้ามาหมุนเวียนในวัฏจักรได้เช่นกัน เช่น โลหะหนักต่าง.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและวัฏจักรทางชีวธรณีเคมี · ดูเพิ่มเติม »

วัฏจักรไนโตรเจน

วัฏจักรไนโตรเจน วัฏจักรไนโตรเจน (Nitrogen Cycle) คือ วัฏจักรทางชีวธรณีเคมี ซึ่งอธิบายถึงการแปลงสภาพของไนโตรเจนและสารประกอบที่มีไนโตรเจนเป็นส่วนประกอบในธรรมชาต.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและวัฏจักรไนโตรเจน · ดูเพิ่มเติม »

วัลแกนซิโคลเวียร์

วัลแกนซิโคลเวียร์ (Valganciclovir) หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส หมวดหมู่:แอลกอฮอล์ หมวดหมู่:อนุพันธ์ของกรดอะมิโน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและวัลแกนซิโคลเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

วาลาไซโคลเวียร์

วาลาไซโคลเวียร์ (valacyclovir) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:เคมี หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส หมวดหมู่:อนุพันธ์ของกรดอะมิโน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและวาลาไซโคลเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

วีสเตียเรีย

วีสเตียเรีย (Wisteria, Wistaria หรือ Wysteria) เป็นพืชในสกุลไม้ดอก ในพืชวงศ์ถั่ว, พืชที่มีฝักซึ่งเป็นหนึ่งใน10 ของสายพันธุ์ไม้เถาวัลย์ มีต้นกำเนิดทางทิศตะวันออกของสหรัฐอเมริกา และจีน เกาหลี และญี่ปุ่น บางสายพันธุ์นิยมปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในจีนและญี่ปุ่น แต่สำหรับไม้น้ำที่มีชื่อว่า 'water wisteria' ที่จริงแล้วคือพืช Hygrophila difformis ในวงศ์ Acanthaceae.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและวีสเตียเรีย · ดูเพิ่มเติม »

วงจรซีเอ็นโอ

วงจรซีเอ็นโอ (CNO Cycle) มาจากวงจรปฏิกิริยาคาร์บอน-ไนโตรเจน-ออกซิเจน บางครั้งก็เรียกว่า วงจรเบเทอ-ไวซ์เซกเกอร์ (Bethe-Weizsäcker Cycle) คือปฏิกิริยาฟิวชั่นชนิดหนึ่งในจำนวนสองชนิดซึ่งดาวฤกษ์ใช้ในการแปลงไฮโดรเจนไปเป็นฮีเลียม ปฏิกิริยาอีกชนิดหนึ่งคือห่วงโซ่โปรตอน-โปรตอน สิ่งที่วงจรซีเอ็นโอต่างจากห่วงโซ่โปรตอน-โปรตอนคือมันเป็นวงจรเร่งปฏิกิริยา (Catalytic Cycle) แบบจำลองทางทฤษฎีแสดงให้เห็นว่าวงจรซีเอ็นโอนั้นเป็นแหล่งกำเนิดหลักของพลังงานในดาวฤกษ์ที่มีมวลมากกว่า 1.3 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ ส่วนห่วงโซ่โปรตอน-โปรตอนนั้นจะมีความสำคัญในดาวฤกษ์ที่มีมวลประมาณเท่ากับดวงอาทิตย์หรือน้อยกว่า ความแตกต่างนี้มีเหตุจากระดับอุณหภูมิที่แตกต่างกัน คือ ในห่วงโซ่โปรตอน-โปรตอน ปฏิกิริยาจะเริ่มต้นที่อุณหภูมิประมาณ 4 x 106 เคลวิน ซึ่งทำให้มันเป็นแรงหลักในดาวฤกษ์ขนาดเล็ก ห่วงโซ่ซีเอ็นโอเริ่มต้นที่อุณหภูมิประมาณ 13 x 106 เคลวิน แต่พลังงานที่ได้ออกมานั้นเพิ่มขึ้นเร็วกว่าการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิ ที่ประมาณ 17 x 106 เคลวิน วงจรซีเอ็นโอก็จะเริ่มเป็นแหล่งกำเนิดพลังงานหลัก ดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิที่แกนกลางประมาณ 15.7 x 106 เคลวิน และมีเพียง 1.7% ของนิวเคลียสฮีเลียมที่เกิดขึ้นในดวงอาทิตย์ที่มีกำเนิดมาจากวงจรซีเอ็นโอ ผู้เสนอกระบวนการซีเอ็นโอมี 2 คนซึ่งต่างก็ทำงานแยกกัน ได้แก่ คาร์ล ฟอน ไวซ์เซกเกอร์ และ ฮานส์ เบเทอ โดยค้นพบในปี..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและวงจรซีเอ็นโอ · ดูเพิ่มเติม »

ศึกศิลามหัศจรรย์ อัลบาทรอส

ึกศิลามหัศจรรย์ อัลบาทรอส (Holy Crystal Albatross) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวต่อสู้, แฟนตาซีและสงคราม แต่งเรื่องและวาดภาพโดย วากากิ ทามิกิ มีเนื้อหาเกี่ยวกับเด็กหนุ่มผู้เข้าไปพัวพันกับเหล่า "โมโนไบล์" สิ่งมีชีวิตจากต่างโลกผู้เผาผลาญ "แร่ธาตุ" เป็นพลังงาน และกำลังต่อสู้กันเป็นสงครามเพื่อแย่งชิง "ไอโซโทปแห่งศิลาศักดิ์สิทธ์" คอนเซปต์ของตัวละครจะอิงไปตามธาตุต่างๆในตารางธาต.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและศึกศิลามหัศจรรย์ อัลบาทรอส · ดูเพิ่มเติม »

สารละลาย

รละลายเกลือแกงในน้ำ ในทางเคมี สารละลาย (solution) คือสารผสมที่เป็นเนื้อเดียวกัน ซึ่งมีสสารหนึ่งชนิดหรือมากกว่าเป็นตัวละลาย ละลายอยู่ในสารอีกชนิดหนึ่งซึ่งเป็นตัวทำละลาย ตัวอย่างเช่น ไม่เพียงแต่ของแข็งที่สามารถละลายในของเหลว เหมือนเกลือหรือน้ำตาลที่ละลายในน้ำ (หรือแม้แต่ทองคำที่ละลายในปรอทแล้วเกิดเป็นอะมัลกัม (amalgam)) แต่ก๊าซก็สามารถละลายในของเหลวได้ เช่น คาร์บอนไดออกไซด์หรือออกซิเจนสามารถละลายในน้ำได้.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและสารละลาย · ดูเพิ่มเติม »

สารอาหารสำหรับพืช

ตุอาหารสำหรับพืช หมายถึง ธาตุอาหารที่จำเป็นสำหรับการเติบโตของพืช ซึ่งสามารถถูกจัดได้จากเกณฑ์คือ (1) ถ้าเกิดพืชขาดสารอาหารนี้แล้ว ทำให้พืชไม่สามารถวงจรชีวิตได้ตามปกติ หรือ (2) สารนั้นเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของพืชหรือส่วนประกอบของสารตัวกลางในกระบวนการสร้างและสลาย (metabolite)Emanuel Epstein, Mineral Nutrition of Plants: Principles and Perspectives, 1972.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและสารอาหารสำหรับพืช · ดูเพิ่มเติม »

สารประกอบของก๊าซมีตระกูล

รประกอบของก๊าซมีตระกูล คือสารประกอบทางเคมีของธาตุในหมู่ขวาสุดของตารางธาตุ หรือกลุ่มก๊าซมีตระกูล.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและสารประกอบของก๊าซมีตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

สารประกอบแอลิแฟติก

รประกอบแอลิแฟติก (Aliphatic Compound IPA:; G. aleiphar, fat, oil) คือสารประกอบในศาสตร์เคมีอินทรีย์ที่ประกอบด้วยคาร์บอนและไฮโดรเจน (สารประกอบไฮโดรคาร์บอน) ประเภทที่ไม่มีวงอโรมาติก สารประกอบแอลิแฟติกสามารถประกอบด้วยวง (cyclic) ดั่งไซโคลเฮกเซนหรืออไซคลิก สารประกอบอาจอยู่ในรูปอิ่มตัว เช่น เฮกเซนหรือไม่อิ่มตัว เช่น เฮกซีน ก็ได้ ในสารประกอบแอลิแฟติก อะตอมของคาร์บอนจะสร้างพันธะแก่กันอาจอยู่ในแบบโซ่ตรง (straight chains), โซ่กิ่ง (branched chains), หรือไม่เป็นวงอโรมาติกก็ได้ (อลิไซคลิก) และอาจสร้างพันธะเดี่ยว (แอลเคน), พันธะคู่ (แอลคีน) หรือพันธะสาม (แอลไคน์) นอกเหนือจากไฮโดรเจนนั้น ยังมีอะตอมของธาตุอื่นๆสามารถสร้างพันธะกับคาร์บอนได้ โดยส่วนมากจะได้แก่อะตอมของออกซิเจน, ไนโตรเจน ซัลเฟอร์ และโคลรีน สารประกอบแอลิแฟติกอย่างง่ายที่สุดคือมีเทน (CH4) อลิฟาติยังรวมไปถึงสารจำพวกแอลเคน อาทิ พาราฟิน ไฮโดรคาร์บอน, แอลคีน อาทิ เอทิลีน และแอลไคน์ เช่น อะเซทิลีน กรดไขมัน ซึ่งจะประกอบด้วยแอลิแฟติกแบบไม่มีกิ่งต่อเข้ากับหมู่คาร์บอกซิล.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและสารประกอบแอลิแฟติก · ดูเพิ่มเติม »

สารประกอบโคออร์ดิเนชัน

'''รูป 1:''' อัลเฟรด เวอร์เนอร์ (Alfred Werner) นักเคมีชาวสวิสส์ ผู้ที่วางรากฐานวิชาเคมีโคออร์ดิเนชัน ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี เกี่ยวกับการศึกษาสารประกอบโคออร์ดิเนชัน สารประกอบโคออร์ดิเนชัน (Coordination Compounds) หรือสารเชิงซ้อนโคออร์ดิเนชัน (coordination complexes) หมายถึง สารประกอบที่ประกอบด้วย โคออร์ดิเนชันเอนทิตี (coordination entity) หรือ โคออร์ดิเนชันสเฟียร์ (coordination sphere) ซึ่ง โคออร์ดิเนชันเอนทิตี คือ ไอออนหรือโมเลกุลที่ประกอบด้วย อะตอมกลาง (central atom)(โดยปกติแล้วจะเป็นอะตอมของธาตุโลหะ) สร้างพันธะเชื่อมต่อกับอะตอมหรือกลุ่มของอะตอมรอบๆ แต่ละอะตอมหรือกลุ่มอะตอมดังกล่าวที่สร้างพันธะกับอะตอมกลางเรียกว่า ลิแกนด์ (ligand) "Nomenclature of Inorganic Chemistry (IUPAC Recommendations 2005)" (2005) p. 145 – IR-9.1.2.2 Coordination compounds and the coordination entity http://old.iupac.org/publications/books/rbook/Red_Book_2005.pdf.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและสารประกอบโคออร์ดิเนชัน · ดูเพิ่มเติม »

สาหร่ายวุ้น

หร่ายวุ้น อยู่ในกลุ่ม Red algae มีตั้งแต่สีดำแดง,สีแดง,สีน้ำตาล,สีน้ำตาลแดง,สีชมพู,สีม่วงเข้ม,สีม่วงแดง,สีเทา,สีเขียว,สีเหลือง หรือใส เกือบทุกชนิดสามารถรับประทานได้ หรือนำมาสกัดวุ้น จึงรวมเรียกว่า สาหร่ายวุ้น มีชื่อพื้นเมืองว่า สาหร่ายผมนาง (Gracilaria fisheri) และชื่อสามัญว่า สาหร่ายวุ้น.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและสาหร่ายวุ้น · ดูเพิ่มเติม »

สิ่งมีชีวิตนอกโลก

นหุ่นยนต์รถสำรวจคิวริออซิตี้โรเวอร์) มนุษย์ต่างดาวในจินตนาการของคนส่วนใหญ่ มนุษย์ต่างดาว (alien) เป็นสิ่งที่เชื่อว่าอาจมีอยู่จริงแต่ยังไม่มีข้อพิสูจน์ ลักษณะเป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่นอกโลก ซึ่งในความคิดของคนส่วนใหญ่ มักจะวาดภาพ มนุษย์ต่างดาว ลักษณะคล้ายคนแต่ ตัวเขียว หัวโต ตาโต เคยมาเยือนโลกโดยมากับ จานบิน สิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrial life) (จากคำภาษาละติน: extra และ terrestris) ถูกกำหนดให้เป็นชีวิตที่ไม่ได้เกิดจากโลก มันมักจะหมายถึง สิ่งมีชีวิตนอกโลก หรือเรียกเพียงว่า มนุษย์ต่างดาว (หรือมนุษย์ต่างดาวในอวกาศเพื่อให้แตกต่างจากคำจำกัดความอื่น ๆ ของมนุษย์ต่างภิภพหรือมนุษย์ต่างดาว) รูปแบบชีวิตเหล่านี้ตามสมมติฐานของชีวิตช่วงระยะเริ่มจากสิ่งมีชีวิตจำพวกแบคทีเรียขั้นพื้นฐานเหมือนสิ่งมีชีวิตที่เรียบง่ายไปไกลจนถึงขั้นที่มีความซับซ้อนมากขึ้นเกินกว่าสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า มนุษย์ ความเป็นไปได้ว่ายังอาจจะมีไวรัส (viruses) ที่มีการดำรงชีวิตอยู่แบบสิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrially) ได้รับการเสนอขึ้น การพัฒนาและการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับชีวิตต่างดาวที่เป็นที่รู้จักกันในนามของวิชาที่เรียกว่า "ชีววิทยานอกโลก" หรือ "ชีวดาราศาสตร์" ("exobiology" or "astrobiology") แม้ว่าวิชาชีวดาราศาสตร์จะยังคงพิจารณาถึงชีวิตที่เกิดขึ้นที่เป็นขั้นพื้นฐานบนโลกที่ใช้ในบริบททางดาราศาสตร์อยู่ก็ตาม นักวิทยาศาสตร์หลายคนคิดว่าชีวิตนอกโลกเป็นสิ่งที่มีความเป็นไปได้ แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานโดยตรงในการดำรงอยู่ของมัน นับตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 20 ได้มีการค้นหาอย่างต่อเนื่องสำหรับสัญญาณของชีวิตนอกโลก, จากวิทยุที่ใช้ในการตรวจจับสัญญาณต่างดาวที่มีความเป็นไปได้, ไปจนถึงกล้องโทรทรรศน์ที่ใช้ในการค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่มีศักยภาพเพียงพอสำหรับเป็นสถานที่เอื้ออาศัยสำหรับสภาพชีวิตที่อาจสามารถทำให้เกิดขึ้นได้ นอกจากนี้มันก็ยังมีบทบาทที่สำคัญต่องานเขียนทางด้านเกี่ยวกับนิยายวิทยาศาสตร์ (science fiction) อีกด้วย ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา, ผลงานทางด้านนิยายวิทยาศาสตร์, โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีส่วนร่วมของฮอลลีวู้ด, ได้ช่วยเพิ่มทวีความสนใจให้มากขึ้นของประชาชนในความเป็นไปได้เกี่ยวกับชีวิตนอกโลก บางส่วนสนับสนุนให้ใช้วิธีการเชิงรุกสำหรับในความพยายามและได้รับการติดต่อกับสิ่งมีชีวิตจากห้วงอวกาศ, ในขณะที่อีกบางส่วน ยืนยันว่ามันก็อาจจะเป็นอันตรายต่อมนุษย์เราชาวโลกเราได้สำหรับในการที่จะกระตือรือร้นเรียกร้องความสนใจจากมนุษย์ต่างดาว ในอดีตที่ผ่านมา, ความขัดแย้งกันระหว่างวัฒนธรรมที่เจริญและคนพื้นเมืองนั้นก็ยังไม่ได้เป็นไปด้วยดี.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและสิ่งมีชีวิตนอกโลก · ดูเพิ่มเติม »

สูตรเคมี

ูตรเคมี (chemical formula) เป็นวิธีรวบรัดที่ใช้แสดงข้อมูลเกี่ยวกับอะตอมที่อยู่ในสารประกอบเคมีนั้นๆ สูตรเคมีจะแสดงเอกลักษณ์ของธาตุเคมีต่างๆ โดยใช้สัญลักษณ์ธาตุ และจำนวนอะตอมของธาตุนั้นๆที่มีอยู่ในหนึ่งโมเลกุลของสารประกอบ จำนวนอะตอมถ้ามีมากกว่าหนึ่งจะแสดงเป็นตัวห้อย (subscript) คือส่วนล่างของบรรทัด ที่อยู่ด้านหลังสัญลักษณ์ธาตุ สำหรับสารประกอบที่ไม่เป็นโมเลกุล ตัวห้อยจะแสดงเป็นอัตราส่วนของธาตุในสูตรเอมพิริคัล (empirical formula) สูตรเคมีที่ใช้สำหรับสารประกอบที่เป็นกลุ่มซีรีส์ซึ่งมีความแตกต่างกันที่ค่าคงที่ค่าหนึ่ง เราเรียกว่า สูตรทั่วไป และกลุ่มซีรี่เราเรียกว่า โฮโมโลกัส ซีรีส์ (homologous series) และสมาชิกในกลุ่มเราเรียกว่า โฮโมลอกส์ (homologs).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและสูตรเคมี · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สตาวูดีน

thumb สตาวูดีน(Stavudine) หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและสตาวูดีน · ดูเพิ่มเติม »

สปริง

ปริง คือ ขดสปริง หมายถึง Coil Spring เป็นขดลวดที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางขนาดต่างๆ ขดเป็นวง รูปทรงกระบอก โดยทั่วไปหมายถึงการยืดหด ยุบ หรือขยายตัว ของอุปกรณ์ เรียกว่า สปริง เช่น การสปริงของยางยืด (Rubber Spring) เป็นต้น ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ว่า สปริงหมายถึง สิ่งที่ยืดหรือหดแล้วคืนตัวได้เอง (อ. spring) สปริงมีหลายประเภท หลายรูปแบบ ที่นิยมใช้อยู่ในปัจจุบัน ได้แก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและสปริง · ดูเพิ่มเติม »

สปาร์ฟลอกซาซิน

สปาร์ฟลอกซาซิน (Sparfloxacin) หมวดหมู่:ควิโนโลน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและสปาร์ฟลอกซาซิน · ดูเพิ่มเติม »

สไปรามัยซิน

สไปรามัยซิน (Spiramycin) หมวดหมู่:แมกโครไลด์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและสไปรามัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าฝรั่น

หญ้าฝรั่น หรือ สรั่น บรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและหญ้าฝรั่น · ดูเพิ่มเติม »

หม้อแกงลิง

หม้อแกงลิง (Nepenthes ampullaria) (มาจากภาษาละติน: ampulla.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและหม้อแกงลิง · ดูเพิ่มเติม »

ออฟลอกซาซิน

ออฟลอกซาซิน (Ofloxacin).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและออฟลอกซาซิน · ดูเพิ่มเติม »

ออกซาซิลลิน

ออกซาซิลลิน (Oxacillin) หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและออกซาซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

ออกซาโตไมด์

ออกซาโทไมด์ (Oxatomide) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและออกซาโตไมด์ · ดูเพิ่มเติม »

ออกซิมอร์ฟีน

ออกซิมอร์ฟีน หรือ ออกซิมอร์ฟีน (Oxymorphine หรือ Oxymorphone) เป็นสารสังเคราะห์ที่มีความแรงมากฤทธิ์ของมันคือเป็น ยาเสพติด ยาบรรเทาปวด คล้าย มอร์ฟีน ในทางคลีนิคให้ยาคนไข้โดยการฉีด หรือ ยาเหน็บ ขนาดการใช้ (dosages) สำหรับการฉีดคือ 1 มก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและออกซิมอร์ฟีน · ดูเพิ่มเติม »

ออกซิโคโดน

ออกซิโคโดน (oxycodone) เป็นสารสังเคราะห์ โอปิออยด์ ที่ทำให้ติดยาสูงมากมันเป็นยาบรรเทาปวด ที่สังเคราะห์ได้จาก ทีบาอีน (thebaine) มันเป็นยาใช้รับประทานที่มีประสิทธิภาพสูงมาก และมักทำตลาดเป็นสูตรผสม เช่น กับแอสไพรินหรือพาราเซตามอล Tylox ใช้สำหรับบรรเทาอาการปวด และทำออกมาในรูปควบคุมการปลดปล่อย (sustained-release form) ให้ยาออกฤทธิ์ได้ยาวนานผู้ผลิตคือ Purdue Pharma และชื่อการค้าคือ OxyContin และประเภทออกฤทธิ์ทันที (instant-release forms) มีชื่อทางการค้าว่า OxyIR OxyNorm และ rcolone OxyContin มีในรูปยาเม็ดขนาด 10, 20, 40 และ 80 มก. และด้วยกลไกการปลดปล่อยนี้ทำให้ยาออกฤทธิ์ได้นาน 8-12 ชั่วโมง.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและออกซิโคโดน · ดูเพิ่มเติม »

ออกซิเจนเหลว

ังบรรจุออกซิเจนเหลว ออกซิเจนเหลว (liquid oxygen; ย่อ LOX) เป็นออกซิเจนในรูปของเหลวอุณหภูมิต่ำมาก ได้จากการกลั่นลำดับส่วนอากาศเหลว มีสีฟ้าอ่อน มีคุณสมบัติเป็นพาราแมกเนติก ออกซิเจนเหลวมีความหนาแน่น 1.141 g/cm3 (1.141 kg/L, 1141 kg/m3) มีจุดเยือกแข็งที่ 54.36 K (−218.79 °C, −361.82 °F) มีจุดเดือดที่ 90.19 K (−182.96 °C, −297.33 °F) ที่ 101.325 kPa (760 mmHg) มีอัตราส่วนขยายตัว 1:861 ภายใต้ 1 บรรยากาศมาตรฐาน (100 kPa) และที่ 20 °C (68 °F) ด้วยเหตุนี้ จึงมีการขนส่งออกซิเจนเหลวทางอากาศเพื่อใช้หายใจในเชิงพาณิชย์และทางการทหาร ด้วยอุณหภูมิที่ต่ำมาก วัตถุที่สัมผัสกับออกซิเจนเหลวจะเปราะ ออกซิเจนเหลวเป็นตัวออกซิไดซ์ที่มีฤทธิ์สูง หากเผาออกซิเจนเหลวจะทำให้เกิดการระเบิดอย่างรุนแรง วัตถุที่ราดด้วยออกซิเจนเหลวเมื่อถูกเผาจะไหม้อย่างรวดเร็ว ออกซิเจนเหลวใช้เป็นก๊าซเชิงอุตสาหกรรมและใช้เป็นตัวออกซิไดซ์ในการขับเคลื่อนยานอวกาศ โดยผสมกับไฮโดรเจนเหลว เคโรซีนและมีเทน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและออกซิเจนเหลว · ดูเพิ่มเติม »

ออกซิเตตราไซคลีน

ออกซี่เตตร้าซัยคลิน(Oxytetracycline) หมวดหมู่:เตตราไซคลีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและออกซิเตตราไซคลีน · ดูเพิ่มเติม »

อะบาคาเวียร์

อะบาคาเวียร์(Abacavir) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอะบาคาเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

อะลิเมมาซีน

อะลิเมมาซีน (Alimemazine).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอะลิเมมาซีน · ดูเพิ่มเติม »

อะทาซานาเวียร์

อะทาซานาเวียร์(Atazanavir) หรือชื่อทางการค้าว่า Reyataz (หรือที่รู้จักว่า BMS-232632) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอะทาซานาเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

อะคริวาสทีน

อะคริวาสทีน (Acrivastine).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอะคริวาสทีน · ดูเพิ่มเติม »

อะตอม

อะตอม (άτομον; Atom) คือหน่วยพื้นฐานของสสาร ประกอบด้วยส่วนของนิวเคลียสที่หนาแน่นมากอยู่ตรงศูนย์กลาง ล้อมรอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนที่มีประจุลบ นิวเคลียสของอะตอมประกอบด้วยโปรตอนที่มีประจุบวกกับนิวตรอนซึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้า (ยกเว้นในกรณีของ ไฮโดรเจน-1 ซึ่งเป็นนิวไคลด์ชนิดเดียวที่เสถียรโดยไม่มีนิวตรอนเลย) อิเล็กตรอนของอะตอมถูกดึงดูดอยู่กับนิวเคลียสด้วยแรงแม่เหล็กไฟฟ้า ในทำนองเดียวกัน กลุ่มของอะตอมสามารถดึงดูดกันและกันก่อตัวเป็นโมเลกุลได้ อะตอมที่มีจำนวนโปรตอนและอิเล็กตรอนเท่ากันจะมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า มิฉะนั้นแล้วมันอาจมีประจุเป็นบวก (เพราะขาดอิเล็กตรอน) หรือลบ (เพราะมีอิเล็กตรอนเกิน) ซึ่งเรียกว่า ไอออน เราจัดประเภทของอะตอมด้วยจำนวนโปรตอนและนิวตรอนที่อยู่ในนิวเคลียส จำนวนโปรตอนเป็นตัวบ่งบอกชนิดของธาตุเคมี และจำนวนนิวตรอนบ่งบอกชนิดไอโซโทปของธาตุนั้น "อะตอม" มาจากภาษากรีกว่า ἄτομος/átomos, α-τεμνω ซึ่งหมายความว่า ไม่สามารถแบ่งได้อีกต่อไป หลักการของอะตอมในฐานะส่วนประกอบที่เล็กที่สุดของสสารที่ไม่สามารถแบ่งได้อีกต่อไปถูกเสนอขึ้นครั้งแรกโดยนักปรัชญาชาวอินเดียและนักปรัชญาชาวกรีก ซึ่งจะตรงกันข้ามกับปรัชญาอีกสายหนึ่งที่เชื่อว่าสสารสามารถแบ่งแยกได้ไปเรื่อยๆ โดยไม่มีสิ้นสุด (คล้ายกับปัญหา discrete หรือ continuum) ในคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 นักเคมีเริ่มวางแนวคิดทางกายภาพจากหลักการนี้โดยแสดงให้เห็นว่าวัตถุหนึ่งๆ ควรจะประกอบด้วยอนุภาคพื้นฐานที่ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีกต่อไป ระหว่างช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักฟิสิกส์ค้นพบส่วนประกอบย่อยของอะตอมและโครงสร้างภายในของอะตอม ซึ่งเป็นการแสดงว่า "อะตอม" ที่ค้นพบตั้งแต่แรกยังสามารถแบ่งแยกได้อีก และไม่ใช่ "อะตอม" ในความหมายที่ตั้งมาแต่แรก กลศาสตร์ควอนตัมเป็นทฤษฎีที่สามารถนำมาใช้สร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของอะตอมได้เป็นผลสำเร็จ ตามความเข้าใจในปัจจุบัน อะตอมเป็นวัตถุขนาดเล็กที่มีมวลน้อยมาก เราสามารถสังเกตการณ์อะตอมเดี่ยวๆ ได้โดยอาศัยเครื่องมือพิเศษ เช่น กล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราดในอุโมงค์ มวลประมาณ 99.9% ของอะตอมกระจุกรวมกันอยู่ในนิวเคลียสไอโซโทปส่วนมากมีนิวคลีออนมากกว่าอิเล็กตรอน ในกรณีของ ไฮโดรเจน-1 ซึ่งมีอิเล็กตรอนและนิวคลีออนเดี่ยวอย่างละ 1 ตัว มีโปรตอนอยู่ \begin\frac \approx 0.9995\end, หรือ 99.95% ของมวลอะตอมทั้งหมด โดยมีโปรตอนและนิวตรอนเป็นมวลที่เหลือประมาณเท่า ๆ กัน ธาตุแต่ละตัวจะมีอย่างน้อยหนึ่งไอโซโทปที่มีนิวเคลียสซึ่งไม่เสถียรและเกิดการเสื่อมสลายโดยการแผ่รังสี ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดการแปรนิวเคลียสที่ทำให้จำนวนโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียสเปลี่ยนแปลงไป อิเล็กตรอนที่โคจรรอบอะตอมจะมีระดับพลังงานที่เสถียรอยู่จำนวนหนึ่งในลักษณะของวงโคจรอะตอม และสามารถเปลี่ยนแปลงระดับไปมาระหว่างกันได้โดยการดูดซับหรือปลดปล่อยโฟตอนที่สอดคล้องกับระดับพลังงานที่ต่างกัน อิเล็กตรอนเหล่านี้เป็นตัวกำหนดคุณสมบัติทางเคมีของธาตุ และมีอิทธิพลอย่างมากต่อคุณสมบัติทางแม่เหล็กของอะตอม แนวคิดที่ว่าสสารประกอบด้วยหน่วยย่อยๆ ไม่ต่อเนื่องกันและไม่สามารถแบ่งออกเป็นชิ้นส่วนที่เล็กไปได้อีก เกิดขึ้นมานับเป็นพันปีแล้ว แนวคิดเหล่านี้มีรากฐานอยู่บนการให้เหตุผลทางปรัชญา นักปรัชญาได้เรียกการศึกษาด้านนี้ว่า ปรัชญาธรรมชาติ (Natural Philosophy) จนถึงยุคหลังจากเซอร์ ไอแซค นิวตัน จึงได้มีการบัญญัติศัพท์คำว่า 'วิทยาศาสตร์' (Science) เกิดขึ้น (นิวตันเรียกตัวเองว่าเป็น นักปรัชญาธรรมชาติ (natural philosopher)) ทดลองและการสังเกตการณ์ ธรรมชาติของอะตอม ของนักปรัชญาธรรมชาติ (นักวิทยาศาสตร์) ทำให้เกิดการค้นพบใหม่ ๆ มากมาย การอ้างอิงถึงแนวคิดอะตอมยุคแรก ๆ สืบย้อนไปได้ถึงยุคอินเดียโบราณในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล โดยปรากฏครั้งแรกในศาสนาเชน สำนักศึกษานยายะและไวเศษิกะได้พัฒนาทฤษฎีให้ละเอียดลึกซึ้งขึ้นว่าอะตอมประกอบกันกลายเป็นวัตถุที่ซับซ้อนกว่าได้อย่างไร ทางด้านตะวันตก การอ้างอิงถึงอะตอมเริ่มขึ้นหนึ่งศตวรรษหลังจากนั้นโดยลิวคิพพุส (Leucippus) ซึ่งต่อมาศิษย์ของเขาคือ ดีโมครีตุส ได้นำแนวคิดของเขามาจัดระเบียบให้ดียิ่งขึ้น ราว 450 ปีก่อนคริสตกาล ดีโมครีตุสกำหนดคำว่า átomos (ἄτομος) ขึ้น ซึ่งมีความหมายว่า "ตัดแยกไม่ได้" หรือ "ชิ้นส่วนของสสารที่เล็กที่สุดไม่อาจแบ่งแยกได้อีก" เมื่อแรกที่ จอห์น ดาลตัน ตั้งทฤษฎีเกี่ยวกับอะตอม นักวิทยาศาสตร์ในสมัยนั้นเข้าใจว่า 'อะตอม' ที่ค้นพบนั้นไม่สามารถแบ่งแยกได้อีกแล้ว ถึงแม้ต่อมาจะได้มีการค้นพบว่า 'อะตอม' ยังประกอบไปด้วย โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน แต่นักวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันก็ยังคงใช้คำเดิมที่ดีโมครีตุสบัญญัติเอาไว้ ลัทธินิยมคอร์พัสคิวลาร์ (Corpuscularianism) ที่เสนอโดยนักเล่นแร่แปรธาตุในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ซูโด-กีเบอร์ (Pseudo-Geber) หรือบางครั้งก็เรียกกันว่า พอลแห่งทารันโท แนวคิดนี้กล่าวว่าวัตถุทางกายภาพทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาคขนาดละเอียดเรียกว่า คอร์พัสเคิล (corpuscle) เป็นชั้นภายในและภายนอก แนวคิดนี้คล้ายคลึงกับทฤษฎีอะตอม ยกเว้นว่าอะตอมนั้นไม่ควรจะแบ่งต่อไปได้อีกแล้ว ขณะที่คอร์พัสเคิลนั้นยังสามารถแบ่งได้อีกในหลักการ ตัวอย่างตามวิธีนี้คือ เราสามารถแทรกปรอทเข้าไปในโลหะอื่นและเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายในของมันได้ แนวคิดนิยมคอร์พัสคิวลาร์อยู่ยั่งยืนยงเป็นทฤษฎีหลักตลอดเวลาหลายร้อยปีต่อมา ในปี..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอะตอม · ดูเพิ่มเติม »

อะซาตาดีน

อะซาตาดีน (Azatadine).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอะซาตาดีน · ดูเพิ่มเติม »

อะซิดอกซิลลิน

อะซิดอกซิลลิน(Azidocillin) หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอะซิดอกซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

อะซิโทรมัยซิน

อะซิโทรมัยซิน (Azithromycin) หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก หมวดหมู่:แมกโครไลด์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอะซิโทรมัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

อะแมนตาดีน

อะมันตาดีน (Amantadine หรือ 1-อะมิโน(amino) อะดามันเทน (adamantane)) เป็น ยาต้านไวรัส ที่อนุมัติใช้โดยFDA ในปี 1976 เพื่อใช้รักษาโรคไข้หวัดใหญ่ ไทป์ เอ ในผู้ใหญ่ยาตัวนี้ช่วยลดอาการของ โรคปาร์กินสัน ได้ด้วย แต่มีกลุ่มอาการข้างเคียงเอ็กตร้าปิรามิดัล ซิสเต็ม(extrapyramidal system) มันถูกใช้เป็นยาแอนตี้ปาร์กินสันร่วมกับ แอล-โดปา (L-DOPA) อะมันตาดีนเป็นอนุพันธ์ของ อะดามันเทน เหมือนกับไรแมนตาดีน (rimantadine).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอะแมนตาดีน · ดูเพิ่มเติม »

อะโซลซิลลิน

อะโซลซิลลิน(Azlocillin) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาปฏิชีวนะ.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอะโซลซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

อะไซโคลเวียร์

อะไซโคลเวียร์ (อังกฤษ:Aciclovir ตามแบบ INN หรือ acyclovir ตามแบบ USAN) เป็นยาต้านไวรัสที่มีชื่อทางการค้าว่า โซวิแรกซ์® (Zovirax&reg) มีพิษต่อเซลล์น้อย (cytotoxicity)ขอบเขตการต้านไวรัสที่แคบคือมีประสิทธิภาพในการต้านไวรัสดังนี้.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอะไซโคลเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

อะเซลาสทีน

อะเซลาสทีน (azelastine).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอะเซลาสทีน · ดูเพิ่มเติม »

อัลเฟนทานิล

ูตรโครงสร้างของอัลเฟนทานิล อัลเฟนทานิล (Alfentanil หรือ Alfenta) เป็นยาฉีด (parenteral) ออกฤทธิ์สั้นประเภทโอปิออยด์ เป็นยาบรรเทาปวดที่ใช้ระงับความรู้สึกในการผ่าตัด มีปัญหาต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด น้อย แต่มีการกดระบบหายใจที่รุนแรง.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอัลเฟนทานิล · ดูเพิ่มเติม »

อันดับพันธะ

ันธะในคาร์บอเนตไอออนซึ่งมีอันดับพันธะเท่ากับ 1.33 และอะตอมของออกซิเจนมีประจุ -2/3 อันดับพันธะ (Bond Order; B.O.) เป็นตัวเลขที่แสดงถึงจำนวนพันธะเคมีระหว่างอะตอมสองอะตอม เช่น พันธะโคเวเลนต์ในโมเลกุลไนโตรเจน N≡N อันดับพันธะเท่ากับ 3 ในขณะที่พันธะในโมเลกุลอะเซทิลีน H−C≡C−H พันธะระหว่างอะตอมของคาร์บอนมีอันดับพันธะเท่ากับ 3 และพันธะ C−H มีอันดับพันธะเท่ากับ 1 เป็นต้น อันดับพันธะเป็นตัวชี้วัดความเสถียร (Stability) ของพันธะและมีความสัมพันธ์กับความยาวพันธะอีกด้วย อย่างไรก็ตาม อันดับพันธะไม่จำเป็นต้องเป็นเลขจำนวนเต็ม ซึ่งในทฤษฎีพันธะเวเลนซ์ (Valence Bond Theory)สามารถคำนวณอันดับพันธะ (B.O.) ได้โดยพิจารณาจำนวนอิเล็กตรอนในออร์บิทัลสร้างพันธะ (Number of Bonding Electrons)และจำนวนอิเล็กตรอนในออร์บิทัลต้านการสร้างพันธะ (Number of Antibonding Electrons) ดังสมการ.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอันดับพันธะ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (ความยาว)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอันดับของขนาด (ความยาว) · ดูเพิ่มเติม »

อาร์กอน

อาร์กอน (Argon) เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ Ar และเลขอะตอม 18 เป็นก๊าซมีตระกูล ตัวที่ 3 อยู่ในกลุ่ม 18 ก๊าซอาร์กอนประกอบเป็น 1% ของบรรยากาศของโลก ชื่ออาร์กอน มาจากภาษากรีกจากคำว่า αργον แปลว่า ไม่ว่องไว (inactive) ในขณะที่มีการอ้างอิงถึงความจริงที่ว่าองค์ประกอบเกือบจะไม่มีปฏิกิริยาทางเคมี ออคเต็ต สมบูรณ์ (ครบ8อิเล็กตรอน) ในเปลือกนอกทำให้อะตอมอาร์กอนที่มีความเสถียรภาพและความทนทานต่อพันธะกับองค์ประกอบอื่นๆที่อุณหภูมิสามจุดเท่ากับ 83.8058K เป็นจุดคงที่ที่กำหนดในอุณหภูมิระดับนานาชาติปี1990 อาร์กอนที่ผลิตโดยอุตสาหกรรมการกลั่นลำดับส่วนของอากาศและของเหลว อาร์กอนส่วนใหญ่จะใช้เป็นก๊าซเฉื่อยในการเชื่อมและกระบวนการทางอุตสาหกรรมที่อุณหภูมิสูงมีสารอื่นๆที่ปกติจะไม่ทำปฏิกิริยากลายเป็นทำปฏิกิริยา ตัวอย่างเช่น ชั้นบรรยากาศอาร์กอนนอกจากนี้ยังมีการปลดปล่อยก๊าซหลอด อาร์กอนทำให้ก๊าซสีเขียว-สีฟ้า โดเด่นด้วยแสงเลเซอร์ นอกจากนั่นอาร์กอนยังใช้ในการริเริ่มการเรืองแสงอีกด้ว.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอาร์กอน · ดูเพิ่มเติม »

อาหารอินทรีย์

ผักอินทรีย์ที่ตลาดเกษตรกรในอาร์เจนตินา อาหารอินทรีย์ (organic food) เป็นผลผลิตจากการทำไร่นาอินทรีย์ ปัจจุบัน สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก ญี่ปุ่น และประเทศอื่น ๆ อีกหลายประเทศได้ออกกฎให้ผู้ผลิตต้องมีใบรับรองอาหารอินทรีย์หากต้องการทำตลาดอาหารอินทรีย์ในประเทศของตน โดยมีเงื่อนไขว่า อาหารอินทรีย์ต้องเป็นผลผลิตที่ได้มาตรฐานที่รัฐและองค์กรสากลตั้งขึ้น การผลิตอาหารอินทรีย์เป็นอุตสาหกรรมที่มีกฎระเบียบที่เข้มงวด และแตกต่างกับการซื้อขายโดยตรงระหว่างชาวสวนกับผู้บริโภค แม้ว่ามาตรฐานของคำว่า "-อินทรีย์" (organic) จะแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ แต่โดยทั่วไปแล้ว การทำไร่นาอินทรีย์หมายถึง การทำไร่นาในสถานที่ที่กำหนดและการเพาะปลูกที่มีเงื่อนไขสนับสนุนให้เกิดการผสมผสานกระบวนการทางวัฒนธรรม ชีวภาพ และกลภาพที่จะดูแลวัฏจักรการหมุนเวียนของทรัพยากรให้เกิดความสมดุลทางธรรมชาติและรักษาความหลากหลายทางชีววิทยา โดยไม่อนุญาตให้มีการใช้ยาฆ่าแมลงแบบสังเคราะห์และปุ๋ยเคมี อย่างไรก็ตาม ยาฆ่าแมลงที่ผลิตจากผลผลิตทางธรรมชาติบางชนิดอาจยอมรับได้หากถูกนำมาใช้งานภายใต้ข้อยกเว้นแต่ในจำนวนไม่มากนัก โดยทั่วไป อาหารอินทรีย์ต้องเป็นอาหารที่ไม่มีการฉายรังสี ใช้สารเคมี หรือใช้วัตถุเจือปนอาหารทางเคมี มีหลักฐานมากพอที่จะยืนยันได้ว่า อาหารอินทรีย์มีความปลอดภัยและมีประโยชน์ต่อสุขภาพมากกว่าอาหารธรรมดาทั่วไปBlair, Robert.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอาหารอินทรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

อินดินาเวียร์

อินดินาเวียร์ (Indinavir) หมวดหมู่:แอลกอฮอล์ หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอินดินาเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

อินโดล

อินโดล(อังกฤษ:Indole)เป็นสารประกอบอินทรีย์ประเภทอะโรมาติก เฮเทอโรไซคลิก มันเป็นโครงสร้าง 2 วงแหวน (bicyclic structure) ส่วนที่เป็น 6 เหลี่ยมเรียกเบนซีนเชื่อมกับวงแหวน 5 เหลี่ยมที่มีอะตอมไนโตรเจน1 อะตอม เชื่อมต่อกับคาร์บอน 4 อะตอมซึ่งเรียกว่า วงแหวน ไพร์โรล (pyrrole) การเชื่อมต่อไนโตรเจนกับวงแหวนอะโรมาติก มีความหมายว่าอินโดลจะประพฤติตัวไม่เป็นด่าง และมันก็ไม่เป็นอามีนธรรมดา อินโดลเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้องมีกลิ่น คล้าย อุจจาระ แต่ที่ความเข้มข้นต่ำๆ มันจะมีกลิ่นดอกไม้ โครงสร้าง อินโดล สามารถพบได้ในสารประกอบอินทรีย์มากมายเช่น กรดอะมิโน ทริปโตแฟน (tryptophan) ในอัลคะลอยด์ หรือ ในปิกเมนต์ อินโดล (indole) เป็นคำที่ได้จาก อินดิโก (indigo) เป็นสีน้ำเงินที่ได้จากพืชชนิดหนึ่ง โมเลกุลของอินดิโก ประกอบด้วยโครงสร้างอินโดล 2 หน่วยมาเชื่อมกัน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอินโดล · ดูเพิ่มเติม »

อินโดเมตทาซิน

อินโดเมตทาซิน (อังกฤษ:Indomethacin หรือ indometacin) เป็นยาในกลุ่ม เอ็นเซด ใช้ล.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอินโดเมตทาซิน · ดูเพิ่มเติม »

อิเล็กโตรเนกาทิวิตี

อิเล็กโตรเนกาติวิตี (อังกฤษ: Electronegativity,::\chi) เป็นค่าที่แสดงถึงความสามารถของอะตอมในการที่จะดึงอิเล็กตรอนเข้าหาตัวเองเมื่อเกิดพันธะเคมี (chemical bond) ทั้งนี้ มีการเสนอวิธีการแสดงอิเล็กโตรเนกาทิวิตีหลายวิธี อาทิ เพาลิง สเกล (Pauling scale) ถูกเสนอในปี ค.ศ. 1932 มูลลิเกน สเกล (Mulliken scale) ถูกเสนอในปี ค.ศ. 1934 และ ออลล์เรด-โรโชสเกล (Allred-Rochow scale).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอิเล็กโตรเนกาทิวิตี · ดูเพิ่มเติม »

อิเล็กโตรเนกาทิวิตีของธาตุ (หน้าข้อมูล)

อิเล็กโตรเนกาทิวิตีของธาตุเคมี (หน้าข้อมูล).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอิเล็กโตรเนกาทิวิตีของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

อีบาสทีน

อีบาสทีน (Ebastine) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอีบาสทีน · ดูเพิ่มเติม »

อีฟาวิเรนซ์

อีฟาวิเรนซ์(Efavirenz) หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอีฟาวิเรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

อีพิซิลลิน

อีพิซิลลิน (Epicillin) หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอีพิซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

อีพินาสทีน

อีพินาสทีน (Epinastine).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอีพินาสทีน · ดูเพิ่มเติม »

อีมิควิมอด

อีมิควิมอด(Imiquimod) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอีมิควิมอด · ดูเพิ่มเติม »

อีนอกซาซิน

อีนอกซาซิน (Enoxacin) หมวดหมู่:ควิโนโลน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอีนอกซาซิน · ดูเพิ่มเติม »

อโลหะ

แก๊สมีตระกูลนอกเหนือจากไฮโดรเจน อโลหะอยู่ในบล็อก-p ธาตุฮีเลียมแม้เป็นธาตุบล็อก-s แต่ปกติวางอยู่เหนือนีออน (ในบล็อก-p) เนื่องจากคุณสมบัติแก๊สมีตระกูลของมัน ในวิชาเคมี อโลหะเป็นธาตุเคมีซึ่งส่วนมากขาดคุณสมบัติของโลหะ ทางกายภาพ อโลหะมักกลายเป็นไอ (ระเหย) ง่าย มีความยืดหยุ่นต่ำ และเป็นฉนวนความร้อนและไฟฟ้าที่ดี ในทางเคมี ธาตุเหลานี้มักมีพลังงานไอออไนเซชันและค่าอิเล็กโตรเนกาทิวิตี (electronegativity) สูง และให้หรือได้อิเล็กตรอนเมื่อทำปฏิกิริยากับธาตุหรือสารประกอบอื่น มีสิบเจ็ดธาตุที่จัดเป็นอโลหะโดยทั่วไป ส่วนมากเป็นแก๊ส (ไฮโดรเจน ฮีเลียม ไนโตรเจน ออกซิเจน ฟลูออรีน นีออน คลอรีน อาร์กอน คริปทอน ซีนอนและเรดอน) หนึ่งธาตุเป็นของเหลว (โบรมีน) และส่วนน้อยเป็นของแข็ง (คาร์บอน ฟอสฟอรัส กำมะถัน เซเลเนียมและไอโอดีน) ธาตุอโลหะมีโครงสร้างซึ่งมีเลขโคออร์ดิเนชัน (อะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด) น้อยลงเรื่อย ๆ เมื่อเลื่อนไปทางขวามือของตารางธาตุแบบมาตรฐาน อโลหะหลายอะตอมมีโครงสร้างที่มีอะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุดสามอะตอม เช่นในกรณีของคาร์บอน (ในสถานะมาตรฐานกราฟีน) หรือสองอะตอม เช่นในกรณีของกำมะถัน อโลหะสองอะตอม เช่น ไฮโดรเจน มีอะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุดหนึ่งอะตอม และแก๊สมีตระกูลอะตอมเดียว เช่น ฮีเลียม ไม่มีอะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด ยิ่งมีจำนวนอะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุดน้อยลงเท่าใดยิ่งสัมพันธ์กับการลดลงของความเป็นโลหะและเพิ่มความเป็นอโลหะมากขึ้นเท่านั้น แต่ข้อแตกต่างระหว่างอโลหะสามหมวดในแง่ของความเป็นโลหะที่ลดนั้นไม่สัมบูรณ์ มีขอบเขตทับซ้อนกันเมื่อธาตุรอบนอกในแต่ละหมวดแสดง (หรือเริ่มแสดง) คุณสมบัติที่ต่างกันน้อย คล้ายลูกผสมหรือไม่ตรงแบบ แม้ว่าธาตุโลหะมีมากกว่าอโลหะห้าเท่า แต่ธาตุอโลหะสองธาตุ ไฮโดรเจนและฮีเลียม ประกอบเป็นร้อยละ 99 ของเอกภพที่สังเกตได้ และหนึ่งธาตุ ออกซิเจน ประกอบเป็นเกือบครึ่งหนึ่งของเปลือกโลก มหาสมุทรและบรรยากาศของโลก สิ่งมีชีวิตยังประกอบด้วยอโลหะแทบทั้งหมด และธาตุอโลหะก่อสารประกอบมากกว่าโลหะมาก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอโลหะ · ดูเพิ่มเติม »

อ็องแซลม์ ปาแย็ง

อ็องแซลม์ ปาแย็ง (Anselme Payen; 6 มกราคม ค.ศ. 1795 – 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1878) เป็นนักเคมีชาวฝรั่งเศส เกิดที่กรุงปารีส ได้รับการศึกษาจากบิดาก่อนจะเรียนต่อด้านเคมีที่วิทยาลัยสารพัดช่าง (École Polytechnique) เมื่อปาแย็งอายุได้ 23 ปี เขาทำงานเป็นผู้จัดการโรงงานผลิตบอแรกซ์ ปาแย็งพัฒนากระบวนการสังเคราะห์บอแรกซ์จากโซเดียมและกรดบอริก วิธีนี้ช่วยลดการนำเข้าบอแรกซ์จากอินเดียตะวันออกและสิ้นสุดการผูกขาดตลาดการค้าบอแรกซ์ของดัตช์ นอกจากนี้เขายังพัฒนากระบวนการผลิตน้ำตาล แป้งและแอลกอฮอล์จากมันฝรั่ง คิดค้นวิธีคำนวณหาปริมาณไนโตรเจนและประดิษฐ์ดีคัลเลอริมิเตอร์ (decolorimeter) เพื่อใช้ศึกษาคุณสมบัติของน้ำตาล ในปี..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและอ็องแซลม์ ปาแย็ง · ดูเพิ่มเติม »

ฮีสตาไพร์โรดีน

ฮีสตาไพร์โรดีน (Histapyrrodine) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและฮีสตาไพร์โรดีน · ดูเพิ่มเติม »

ฮีตาซิลลิน

ฮีตาซิลลิน(Hetacillin) หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและฮีตาซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

ผักตบชวา

ผักตบชวา เป็นพืชน้ำล้มลุกอายุหลายฤดู สามารถอยู่ได้ทุกสภาพน้ำ มีถิ่นกำเนิดในแถบลุ่มน้ำแอมะซอน ประเทศบราซิล ในทวีปอเมริกาใต้ มีดอก สีม่วงอ่อน คล้ายช่อดอกกล้วยไม้ และแพร่พันธุ์ได้อย่างรวดเร็วจนกลายเป็นวัชพืชที่ร้ายแรงในแหล่งน้ำทั่วไป มีชื่อเรียกในแต่ละท้องถิ่นดังนี้: ผักปอด, สวะ, ผักโรค, ผักตบชวา, ผักยะวา, ผักอีโยก, ผักป่อง.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและผักตบชวา · ดูเพิ่มเติม »

ผายลม

ผายลม หรือ ตด ในภาษาพูด โดยทั่วไปเป็นอาการที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของมนุษย์ ในวันหนึ่งๆ มนุษย์อาจผายลมได้ 10-20 ครั้ง ซึ่งคิดเป็นปริมาณแก๊สที่ปล่อยออกมา คือ 0.5-1 ลิตรต่อวัน ผายลมเกิดจากการรวมตัวของแก๊สหลายชนิด แก๊สที่ไม่มีกลิ่น 99% มีส่วนประกอบหลักๆ ได้แก่ ไนโตรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจน ออกซิเจน และมีเทน ส่วนแก๊สที่มีกลิ่นมี 1% เท่านั้นซึ่งเกิดจากการหมักหมมของอาหารในลำไส้ใหญ่ และทำให้เกิดแก๊สจำพวกกำมะถัน ได้แก่ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซึ่งเป็นสารที่มีกลิ่นเฉพาะตัว ปกติมนุษย์ขับแก๊สส่วนเกินออกจากร่างกายได้ 2 ทาง คือ การขับออกทางปาก (เรอ) และการขับออกทางทวารหนัก (ผายลม หรือตด) หากแก๊สนั้นไม่ขับออกมาจะทำให้มีการสะสมไว้ในทางเดินอาหาร จะทำให้รู้สึกอึดอัด แน่นท้อง ปวดมวนในท้อง และเกิดอาการท้องอืดตามม.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและผายลม · ดูเพิ่มเติม »

จุดหลอมเหลวของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและจุดหลอมเหลวของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

จุดผลิตน้ำมันสูงสุด

กราฟแสดงการผลิตน้ำมันโลก ทั้งข้อมูลตามประวัติและข้อมูลอนาคตตามที่คาดหมาย และตามที่เสนอโดยนักธรณีวิทยา ดร. คิง ฮับเบิร์ต ได้ถึงจุดสูงสุดที่ 1.5 ล้านล้านลิตร (12,500 ล้านบาร์เรล) ต่อปีที่ประมาณปี ค.ศ. 2000 (พ.ศ. 2543) การผลิตน้ำมันดิบของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งแสดงลักษณะคล้ายคลึงกับเส้นโค้งฮับเบิร์ต (Hubbert curve) แต่ให้สังเกตความแตกต่างที่เกิดขึ้นเมื่อไม่กีปีมานี้ จุดผลิตน้ำมันสูงสุด (Peak oil) เป็นเหตุการณ์ตามทฤษฎีจุดสูงสุดฮับเบิร์ต (Hubbert peak theory) ของ ดร.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและจุดผลิตน้ำมันสูงสุด · ดูเพิ่มเติม »

จุดเดือดของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและจุดเดือดของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุ

ในทางเคมี ธาตุ คือ สารบริสุทธิ์ซึ่งประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานเลขอะตอม อันเป็นจำนวนของโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุนั้น ตัวอย่างธาตุที่คุ้นเคยกัน เช่น คาร์บอน ออกซิเจน อะลูมิเนียม เหล็ก ทองแดง ทองคำ ปรอทและตะกั่ว จนถึงเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุกึ่งโลหะ

ตุกึ่งโลหะ (metalloids) เป็นธาตุที่มีองค์ประกอบทางเคมีซึ่งมีคุณสมบัติก้ำกึ่งระหว่างสมบัติของโลหะกับอโลหะ โดยไม่มีการกำหนดมาตรฐานหรือข้อตกลงที่แน่นอนของการเป็นธาตุกึ่งโลหะ ส่วนใหญ่เป็นสารกึ่งตัวนำ (semiconductors) โดยปกติทั่วไปแล้วธาตุกึ่งโลหะ ประกอบด้วย 6 ธาตุ คือ โบรอน, ซิลิคอน, เจอร์เมเนียม, สารหนู, พลวงและเทลลูเรียม แต่บางครั้งการจำแนกธาตุกึ่งโลหะได้รวม คาร์บอน, อะลูมิเนียม, ซีลีเนียม, พอโลเนียมและแอสทาทีนไว้ด้วย ในตารางธาตุทั่วไปนั้นสามารถพบธาตุกึ่งโลหะได้ที่บริเวณเส้นทแยงมุมของ บล็อก-p โดยเริ่มจากโบรอนไปจนถึงแอสทาทีน ในบางตารางธาตุที่ประกอบด้วยเส้นแบ่งระหว่างโลหะกับอโลหะและธาตุกึ่งโลหะนั้นจะอยู่ติดกับเส้นแบ่งนี้ ธาตุกึ่งโลหะมีลักษณะเหมือนโลหะ แต่เปราะและนำไฟฟ้าได้ไม่ดี ในทางเคมีนั้นธาตุกึ่งโลหะมีสมบัติคล้ายกับธาตุอโลหะ และยังสามารถผสมกับโลหะได้เป็นอัลลอยหรือโลหะผสม คุณสมบัติทางฟิสิกส์และทางเคมีส่วนใหญ่เป็นกลางในธรรมชาติ สารประกอบและธาตุกึ่งโลหะใช้ในการผลิตโลหะผสม, สารชีวภาพ, ตัวเร่งปฏิกิริยา, สารทนไฟ, แก้วและใยแก้วนำแสง คุณสมบัติทางไฟฟ้าของซิลิกอนและเจอเมเนียมได้มีการใช้ประโยชน์ในสถานประกอบการอุตสาหกรรมของสารกึ่งตัวนำในปี 1950 และได้มีการพัฒนาอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีสถานะเป็นของแข็งในต้นปี 1960 กึ่งโลหะเป็นองค์ประกอบที่มีคุณสมบัติเป็นกลาง หรือเรียกว่าไฮบริด กึ่งโลหะได้เป็นที่แพร่หลายในปี 1940-1960 กึ่งโลหะบางครั้งถูกเรียกว่ากึ่งโลหะ จากการปฏิบัติที่นิยม กึ่งโลหะเป็นคำที่มีความหมายที่แตกต่างกันในทางฟิสิกส์มากกว่าในทางเคมี ทางฟิสิกส์จะมีความหมายโดยเฉพาะหมายถึงโครงสร้างวงอิเล็กทรอนิกส์ของสาร.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและธาตุกึ่งโลหะ · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุคาบ 2

ธาตุคาบ 2 (period 2 element) คือทั้งหมดที่อยู่ในแถวที่ 2 ของตารางธาตุ มีรายละเอียดดังนี้: ธาตุเคมีในคาบที่ 2 หมู่ '''1''' '''2''' '''3''' '''4''' '''5''' '''6''' '''7''' '''8''' '''9''' '''10''' '''11''' '''12''' '''13''' '''14''' '''15''' '''16''' '''17''' '''18''' #ชื่อธาตุ 3Li 4Be 5B 6C 7N 8O 9F 10Ne e--conf. โลหะแอลคาไล โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท แลนทาไนด์ แอกทิไนด์ โลหะทรานซิชัน โลหะหลังทรานซิชัน ธาตุกึ่งโลหะ อโลหะ แฮโลเจน ก๊าซมีตระกูล หมวดหมู่:ตารางธาตุ.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและธาตุคาบ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุเรพริเซนเททิฟ

ในเคมีและฟิสิกส์อะตอม ธาตุเรพริเซนเททิฟ (representative element) เป็นกลุ่มของธาตุในที่มีธาตุที่เบาที่สุดของแต่ละกลุ่ม ได้แก่ ฮีเลียม ลิเทียม เบริลเลียม โบรอน คาร์บอน ไนโตรเจน ออกซิเจน และฟลูออรีนซึ่งจัดอยู่ในตารางธาตุแล้ว ลิเทียมและเบริลเลียมอยู่ในบล็อก-s ธาตุที่เหลืออยู่ในบล็อก-p ในบางครั้งธาตุหมู่ 12 ซึ่งประกอบไปด้วยสังกะสี (Zn) แคดเมียม (Cd) และปรอท (Hg) ก็อาจจะถูกรวมเป็นธาตุเรพริเซนเททิฟด้วย และยังมีนักวิทยาศาสตร์บางครั้งที่สนับสนุนเรื่องนี้.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและธาตุเรพริเซนเททิฟ · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วลิสงนา

ั่วลิสงนา ชื่ออื่น: หญ้าปล้องหวาย (ชลบุรี) คัดแซก (ปราจีนบุรี) หญ้าเกล็ดหอยใหญ่ (อ่างทอง) ถั่วลิสงนาเป็นพืชตระกูลถั่ว (Fabaceae) เท่าที่พบในธรรมชาติ ถั่วลิสงนาเป็นพืชที่เจริญได้ง่าย ไม่เลือกชนิดและสภาพของดินนัก และคงจะทนทานต่อสภาพแวดล้อมได้ดีพอสมควร จึงพบอยู่ได้ทั่วทุกภาคของประเทศไทย เข้าใจว่าเป็นถั่วพื้นเมืองของไทยด้วย ถั่วลิสงนาอาจมีชื่อท้องถิ่นที่เรียกกันได้ในแต่ละท้องที่ เช่น หญ้าน้ำผึ้ง หญ้าเถาถั่ว หญ้าถั่ว หรือถั่วนา ถั่วลิสงนามีโปรตีนถึง 16.2% นับได้ว่าถั่วลิสงนาเป็นถั่วอีกชนิดหนึ่งที่เหมาะสำหรับใช้ปรับปรุงทุ่งหญ้า จะทำเป็นหญ้าแห้งหรือปล่อยสัตว์ลงแทะเล็มก็ได้ เนื่องจากรากถั่วลิสงนายังสามารถสร้างปมราก (nodules) ซึ่งไปจับไนโตรเจนในอากาศเพื่อช่วยบำรุงดินได้ด้วย ในต่างประเทศ อาทิ ประเทศมาเลเซีย จะนำถั่วลิสงนามาใช้เป็นพืชสมุนไพร หรือประเทศจีนจะนำต้นแห้งของถั่วลิสงนามาตัดเป็นท่อนๆ ผสมกับชะเอมชงน้ำดื่มแทนน้ำชา ทำให้สดชื่น แก้อาการกระหายน้ำ.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและถั่วลิสงนา · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วเขียว

ั่วเขียว เป็นพืชตระกูลถั่ว ที่ให้เมล็ดที่มีเปลือกสีเขียว แต่เนื้อเมล็ดสีเหลือง ถั่วเขียวเป็นพืชที่มีอายุสั้น หรือวงจรชีวิตของถั่วเขียวมันสั้น จึงใช้น้ำน้อยกว่าพืชไร่อื่นหลายชนิด และงอกได้เร็ว สามารถใช้ในระบบปลูกพืช เช่น ทดแทนข้าวนาปรัง ปลูกก่อนข้าวโพดในพื้นที่ประสพภัยแล้ง ใช้ปลูกก่อนหรือหลังการทำนาหรือทำไร่ เพื่อตัดวงจรการระบาดของศัตรูพืช ช่วย บำรุงรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน ตรึงไนโตรเจนได้ดี สามารถใช้เป็นปุ๋ยพืชสดให้ปริมาณไนโตรเจนสูง ถั่วเขียวใช้เป็นวัตถุดิบ ในการผลิตแป้งวุ้นเส้น เพาะถั่วงอก และประกอบอาหารอื่นๆ ถั่วเขียวมีสองชนิด ได้แก่ ถั่วเขียวผิวมัน และถั่วเขียวผิวดำ.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและถั่วเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ถ่านกัมมันต์

นกัมมันต์ (activated carbon หรือ activated charcoal) โดยทั่วไปมันเป็นวัสดุที่ประกอบด้วย คาร์บอน ที่ได้จาก ถ่าน ถูกระบุว่าเป็นวัสดุที่มีพื้นที่ผิว สูงมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสามารถใน การดูดซับไนโตรเจนมีสูงมาก เพราะว่ามันมีรูเล็กๆ (microporosity) จำนวนมาก และสามารถเพิ่มพลังการดูดซับได้อีกโดยใช้สารเคมีปรั.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและถ่านกัมมันต์ · ดูเพิ่มเติม »

ถ่านหิน

นหิน ถ่านหิน คือ หินตะกอนชนิดหนึ่งที่เกิดจากการตกตะกอนสะสมของซากพืชในยุคดึกดำบรรพ์เป็นเวลายาวนานหลายล้านปี จนตะกอนนั้นได้เปลี่ยนสภาพไปและมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นธาตุคาร์บอน โดยมีธาตุอื่นๆทั้งที่เป็นก๊าซและของเหลวปนอยู่ด้วยในสัดส่วนที่น้อยกว่าและเป็นแร่เชื้อเพลิงสามารถติดไฟได้ มีสีน้ำตาลอ่อนจนถึงสีดำ มีทั้งชนิดผิวมันและผิวด้าน น้ำหนักเบา ถ่านหินประกอบด้วยธาตุที่สำคัญ 4 อย่างได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และออกซิเจน นอกจากนั้น มีธาตุหรือสารอื่น เช่น กำมะถัน เจือปนเล็กน้อย ถ่านหินที่มีจำนวนคาร์บอนสูงและมีธาตุอื่น ๆ ต่ำ เมื่อนำมาเผาจะให้ความร้อนมาก ถือว่าเป็นถ่านหินคุณภาพดี.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและถ่านหิน · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีออร์บิทัลเชิงโมเลกุล

ทฤษฎีออร์บิทัลเชิงโมเลกุล (molecular orbital (MO) theory) เป็นทฤษฎีที่อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างอิเล็กทรอนิกของโมเลกุลโดยไม่ได้พิจารณาว่าอิเล็กตรอนจะอยู่เฉพาะในพันธะระหว่างอะตอมเท่านั้น แต่พิจารณาว่าอิเล็กตรอนมีการเคลื่อนที่ไปทั่วโมเลกุลภายใต้อิทธิพลของนิวเคลียสทั้งหมดที่มีในโมเลกุลโดยตัวทฤษฎีใช้ความรู้เกี่ยวกับกลศาสตร์ควอนตัมในการอธิบายพฤติกรรมของอิเล็กตรอน เมื่อเรากล่าวถึงออร์บิทัลเชิงอะตอม (atomic orbitals; AOs) เราจะพิจารณาว่าออร์บิทัลประกอบด้วยอิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆอะตอมหนึ่งๆนั้น ออร์บิทัลเชิงโมเลกุล (molecular orbitals; MOs) จะพิจารณาว่าประกอบด้วยเวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอมต่างๆที่ประกอบกันเป็นโมเลกุลนั่นเอง โดยทฤษฎีออร์บิทัลเชิงโมเลกุลถูกเสนอขึ้นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 จากการศึกษาการเกิดพันธะเคมีโดยการประมาณตำแหน่งของอิเล็กตรอนที่เกิดพันธะหรือออร์บิทัลเชิงโมเลกุลเป็นการรวมกันเชิงเส้นตรงของออร์บิทัลเชิงอะตอม (Linear Combinations of Atomic Orbitals; LCAO) ซึ่งการประมาณนี้ในปัจจุบันจะประยุกต์ใช้ทฤษฎีฟังก์ชันนัลความหนาแน่น (Density Functional Theory; DFT) หรือ แบบจำลองฮาร์ทรี-ฟอกก์ (Hartree–Fock (HF) models) กับสมการชเรอดิงเงอร.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและทฤษฎีออร์บิทัลเชิงโมเลกุล · ดูเพิ่มเติม »

ทอนไซลามีน

ทอนไซลามีน (Thonzylamine) คือสารต้านฮิสตามีนและแอนติโคลิเนอร์จิกใช้เป็นยาแก้คัน หมวดหมู่:เอมีน หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและทอนไซลามีน · ดูเพิ่มเติม »

ทาลาสทีน

ทาลาสทีน (talastine) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและทาลาสทีน · ดูเพิ่มเติม »

ทีมาฟลอกซาซิน

ทีมาฟลอกซาซิน (temafloxacin) หมวดหมู่:ควิโนโลน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและทีมาฟลอกซาซิน · ดูเพิ่มเติม »

ทีนาลิดีน

ทีนาลิดีน (Thenalidine) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและทีนาลิดีน · ดูเพิ่มเติม »

ข้อความอาเรซีโบ

้อความอาเรซีโบจัดเรียงเป็น 73 แถว คูณ 23 คอลัมน์ มีการเน้นสี แสดงให้เห็นข้อความแต่ละส่วน ข้อความอาเรซีโบ (Arecibo message) เป็นข้อความคลื่นวิทยุที่ส่งไปในอวกาศ เล็งไปที่กระจุกดาวดาวเอ็ม 13 ซึ่งอยู่ห่างจากโลกเป็นระยะทาง 25,000 ปีแสง เนื่องในพิธีฉลองการปรับปรุงหอดูดาวอาเรซีโบเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 สัญญาณวิทยุที่ส่งขึ้นไปนี้ มีความยาว 1,679 บิต (เลขฐานสองจำนวน 1,679 ตัว) เป็นเวลา 169 วินาที ข้อความที่ส่งขึ้นไปมีความยาว 1,679 บิต เนื่องจากเป็นตัวเลข semiprime สามารถแยกตัวประกอบได้เป็นจำนวนเฉพาะสองจำนวนคือ 23 กับ 73 ซึ่งสามารถจัดเรียงเป็นภาพได้เพียงสองแบบคือ ขนาด 23 แถว คูณ 73 คอลัมน์ หรือ 73 แถว คูณ 23 คอลัมน์ (ดังรูป) ข้อความอาเรซีโบออกแบบโดย ดร. แฟรงก์ เดรก แห่งมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ ร่วมกับคาร์ล เซแกน สามารถแบ่งได้เป็น 7 ส่วน (ในภาพมีการเพิ่มสีเพื่อให้แยกแยะได้สะดวก) คือ.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและข้อความอาเรซีโบ · ดูเพิ่มเติม »

ดวงอาทิตย์

วงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ ณ ใจกลางระบบสุริยะ เป็นพลาสมาร้อนทรงเกือบกลมสมบูรณ์ โดยมีการเคลื่อนท่พาซึ่งผลิตสนามแม่เหล็กผ่านกระบวนการไดนาโม ปัจจุบันเป็นแหล่งพลังงานสำคัญที่สุดสำหรับสิ่งมีชีวิตบนโลก มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.39 ล้านกิโลเมตร ใหญ่กว่าโลก 109 เท่า และมีมวลประมาณ 330,000 เท่าของโลก คิดเป็นประมาณ 99.86% ของมวลทั้งหมดของระบบสุริยะ มวลประมาณสามในสี่ของดวงอาทิตย์เป็นไฮโดรเจน ส่วนที่เหลือเป็นฮีเลียมเป็นหลัก โดยมีปริมาณธาตุหนักกว่าเล็กน้อย รวมทั้งออกซิเจน คาร์บอน นีออนและเหล็ก ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ลำดับหลักระดับจี (G2V) ตามการจัดประเภทดาวฤกษ์ ซึ่งเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า "ดาวแคระเหลือง" ดวงอาทิตย์เกิดเมื่อประมาณ 4.6 พันล้านปีก่อนจากการยุบทางความโน้มถ่วงของสสารภายในบริเวณเมฆโมเลกุลขนาดใหญ่ สสารนี้ส่วนใหญ่รวมอยู่ที่ใจกลาง ส่วนที่เหลือแบนลงเป็นแผ่นโคจรซึ่งกลายเป็นระบบสุริยะ มวลใจกลางร้อนและหนาแน่นมากจนเริ่มเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น ณ แก่น ซึ่งเชื่อว่าเป็นกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ส่วนใหญ่ ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณครึ่งอายุขัย ไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนักเป็นเวลากว่า 4 พันล้านปีมาแล้วและจะค่อนข้างเสถียรไปอีก 5 พันล้านปี หลังฟิวชันไฮโดรเจนในแก่นของมันลดลงถึงจุดที่ไม่อยู่ในดุลยภาพอุทกสถิตต่อไป แก่นของดวงอาทิตย์จะมีความหนาแน่นและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นส่วนชั้นนอกของดวงอาทิตย์จะขยายออกจนสุดท้ายเป็นดาวยักษ์แดง มีการคำนวณว่าดวงอาทิตย์จะใหญ่พอกลืนวงโคจรปัจจุบันของดาวพุทธและดาวศุกร์ และทำให้โลกอาศัยอยู่ไม่ได้ มนุษย์ทราบความสำคัญของดวงอาทิตย์ที่มีโลกมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และบางวัฒนธรรมถือดวงอาทิตย์เป็นเทวดา การหมุนของโลกและวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลกเป็นรากฐานของปฏิทินสุริยคติ ซึ่งเป็นปฏิทินที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและดวงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวพลูโต

วพลูโต (Pluto; ดัชนีดาวเคราะห์น้อย: 134340 พลูโต) เป็นดาวเคราะห์แคระในแถบไคเปอร์ วงแหวนของวัตถุพ้นดาวเนปจูน โดยเป็นวัตถุแถบไคเปอร์ชิ้นแรกที่ถูกค้นพบ มันมีขนาดใหญ่ที่สุดและมีมวลมากที่สุดเป็นอันดับสองในบรรดาดาวเคราะห์แคระที่รู้จักในระบบสุริยะ และยังเป็นวัตถุที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 9 และมวลมากเป็นอันดับที่ 10 ในระบบสุริยะที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ดาวพลูโตเป็นวัตถุแถบไคเปอร์ที่ใหญ่ที่สุดโดยปริมาตร แต่มีมวลน้อยกว่าอีริส ซึ่งเป็นวัตถุในแถบหินกระจาย ดาวพลูโตมีลักษณะเหมือนกับวัตถุอื่น ๆ ในบริเวณเดียวกัน กล่าวคือ ประกอบไปด้วยหินและน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ มีมวลและปริมาตรประมาณ 1 ใน 6 และ 1 ใน 3 ของดวงจันทร์ตามลำดับ วงโคจรของดาวพลูโตมีความเยื้องศูนย์กลางมาก อยู่ที่ 30 ถึง 49 หน่วยดาราศาสตร์ (4.4 – 7.4 พันล้านกิโลเมตร) จากดวงอาทิตย์ หมายความว่าเมื่อดาวพลูโตอยู่ในตำแหน่งที่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด มันจะอยู่ใกล้กว่าวงโคจรของดาวเนปจูนเสียอีก แต่เนื่องด้วยการสั่นพ้องของวงโคจร ทำให้ดาวเคราะห์ทั้งสองดวงไม่สามารถโคจรมาชนกันได้ ในปี..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและดาวพลูโต · ดูเพิ่มเติม »

ดาวพุธ

วพุธเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และเป็นดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดในระบบสุริยะ ใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์ 87.969 วัน ดาวพุธมักปรากฏใกล้ หรืออยู่ภายใต้แสงจ้าของดวงอาทิตย์ทำให้สังเกตเห็นได้ยาก ดาวพุธไม่มีดาวบริวาร ยานอวกาศเพียงลำเดียวที่เคยสำรวจดาวพุธในระยะใกล้คือยานมาริเนอร์ 10เมื่อปี พ.ศ. 2517-2518 (ค.ศ. 1974-1975) และสามารถทำแผนที่พื้นผิวดาวพุธได้เพียง 40-45% เท่านั้น ดาวพุธมีสภาพพื้นผิวขรุขระเนื่องจากการพุ่งชนของอุกกาบาต ไม่มีดวงจันทร์เป็นบริวารและไม่มีแรงโน้มถ่วงมากพอที่จะสร้างชั้นบรรยากาศ ดาวพุธมีแกนกลางเป็นเหล็กขนาดใหญ่ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของสนามแม่เหล็กโลกล้อมรอบดาวพุธไว้ ชื่อละตินของดาวพุธ (Mercury) มาจากคำเต็มว่า Mercurius เทพนำสารของพระเจ้า สัญลักษณ์แทนดาวพุธ คือ เป็นรูปคทาของเทพเจ้าเมอคิวรี ก่อนศตวรรษที่ 5 ดาวพุธมีสองชื่อ คือ เฮอร์เมส เมื่อปรากฏในเวลาหัวค่ำ และอพอลโล เมื่อปรากฏในเวลาเช้ามืด เชื่อว่าพีทาโกรัสเป็นคนแรกที่ระบุว่าทั้งสองเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวกัน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและดาวพุธ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวศุกร์

วศุกร์ (Venus) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 2 ดาวศุกร์มีเส้นผ่านศูนย์กลางเป็น 3 เท่าของดวงจันทร์ และ มีขนาดใหญ่กว่าดาวพุธและดาวอังคาร 2 เท่าตัว ชื่อละตินของดาวศุกร์ (Venus) มาจากเทพีแห่งความรักของโรมัน ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์หิน มีขนาดใกล้เคียงกับโลก บางครั้งเรียกว่า "น้องสาว" ของโลก แม้ว่าวงโคจรของดาวเคราะห์ทุกดวงจะเป็นวงรี วงโคจรของดาวศุกร์จัดว่าเกือบเป็นวงกลม มีความเยื้องศูนย์กลาง (ความรี) น้อยที่สุด สำหรับวัตถุในธรรมชาติ ดาวศุกร์เป็นวัตถุท้องฟ้าที่สว่างที่สุดเป็นลำดับที่ 3 รองจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ เนื่องจากดาวศุกร์มีวงโคจรใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก จึงมีมุมห่างจากดวงอาทิตย์ไม่เกิน 47.8° มองเห็นได้เฉพาะในเวลาเช้ามืดหรือหัวค่ำเท่านั้น ขณะปรากฏในท้องฟ้าเวลาหัวค่ำทางทิศตะวันตก เรียกว่า "ดาวประจำเมือง" และเมื่อปรากฏในท้องฟ้าเวลาเช้ามืดทางทิศตะวันออก เรียกว่า "ดาวประกายพรึก" หรือ "ดาวรุ่ง" ชาวบาบิโลนโบราณรู้จักดาวศุกร์มาตั้งแต่ราว 1,600 ปีก่อนคริสตกาล แต่เชื่อว่าด้วยความสว่างสุกใสของดาวศุกร์ น่าจะเป็นที่รู้จักมาก่อนหน้านั้นนานแล้วนับตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ สัญลักษณ์แทนดาวศุกร์ คือ ♀.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและดาวศุกร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวอังคาร

วอังคาร (Mars) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สี่จากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์เล็กที่สุดอันดับที่สองในระบบสุริยะรองจากดาวพุธ ในภาษาอังกฤษได้ชื่อตามเทพเจ้าแห่งสงครามของโรมัน มักได้รับขนานนาม "ดาวแดง" เพราะมีออกไซด์ของเหล็กดาษดื่นบนพื้นผิวทำให้มีสีออกแดงเรื่อ ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์หินที่มีบรรยากาศเบาบาง มีลักษณะพื้นผิวคล้ายคลึงกับทั้งหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ และภูเขาไฟ หุบเขา ทะเลทราย ตลอดจนพิดน้ำแข็งขั้วดาวที่ปรากฏบนโลก คาบการหมุนรอบตัวเองและวัฏจักรฤดูกาลของดาวอังคารก็มีความคล้ายคลึงกับโลกซึ่งความเอียงก่อให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ ดาวอังคารเป็นที่ตั้งของโอลิมปัสมอนส์ ภูเขาไฟใหญ่ที่สุดบนดาวอังคารและสูงสุดอันดับสองในระบบสุริยะเท่าที่มีการค้นพบ และเป็นที่ตั้งของเวลส์มาริเนริส แคนยอนขนาดใหญ่อันดับต้น ๆ ในระบบสุริยะ แอ่งบอเรียลิสที่ราบเรียบในซีกเหนือของดาวปกคลุมกว่าร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมดและอาจเป็นลักษณะการถูกอุกกาบาตชนครั้งใหญ่ ดาวอังคารมีดาวบริวารสองดวง คือ โฟบอสและดีมอสซึ่งต่างก็มีขนาดเล็กและมีรูปร่างบิดเบี้ยว ทั้งคู่อาจเป็นดาวเคราะห์น้อยที่ถูกจับไว้ คล้ายกับทรอยของดาวอังคาร เช่น 5261 ยูเรกา ก่อนหน้าการบินผ่านดาวอังคารที่สำเร็จครั้งแรกของ มาริเนอร์ 4 เมื่อปี 1965 หลายคนคาดว่ามีน้ำในรูปของเหลวบนพื้นผิวดาวอังคาร แนวคิดนี้อาศัยผลต่างเป็นคาบที่สังเกตได้ของรอยมืดและรอยสว่าง โดยเฉพาะในละติจูดขั้วดาวซึ่งดูเป็นทะเลและทวีป บางคนแปลความรอยมืดริ้วลายขนานเป็นร่องทดน้ำสำหรับน้ำในรูปของเหลว ภายหลัง มีการอธิบายว่าภูมิประเทศเส้นตรงเหล่านั้นเป็นภาพลวงตา แม้ว่าหลักฐานทางธรณีวิทยาที่ภารกิจไร้คนบังคับรวบรวมชี้ว่า ครั้งหนึ่งดาวอังคารเคยมีน้ำปริมาณมากปกคลุมบนพื้นผิว ณ ช่วงใดช่วงหนึ่งในระยะต้น ๆ ของอายุ ในปี 2005 เรดาร์เผยว่ามีน้ำแข็งน้ำ (water ice) ปริมาณมากขั้วทั้งสองของดาว และที่ละติจูดกลาง ยานสำรวจภาคพื้นดาวอังคารสปิริต พบตัวอย่างสารประกอบเคมีที่มีโมเลกุลน้ำเมื่อเดือนมีนาคม 2007 ส่วนลงจอดฟีนิกซ์ พบตัวอย่างน้ำแข็งน้ำโดยตรงในดินส่วนตื้นของดาวอังคารเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2008 มียานอวกาศที่กำลังปฏิบัติงานอยู่เจ็ดลำ ห้าลำอยู่ในวงโคจร ได้แก่ 2001 มาร์สโอดิสซี มาร์สเอ็กซ์เพรส มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ เมเว็น และมาร์สออร์บิเตอร์มิชชัน และสองลำบนพื้นผิว ได้แก่ ยานสำรวจภาคพื้นดาวอังคารออปพอร์ทูนิตี และยานมาร์สไซแอนซ์แลบอราทอรีคิวริออซิตี การสังเกตโดย มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ เปิดเผยว่ามีความเป็นไปได้ที่จะมีน้ำไหลในช่วงเดือนที่ร้อนที่สุดบนดาวอังคาร ในปี 2013 ยานคิวริออซิตี ของนาซาค้นพบว่าดินของดาวอังคารมีน้ำเป็นองค์ประกอบระหว่างร้อยละ 1.5 ถึง 3 โดยมวล แม้ว่าน้ำนั้นจะติดอยู่กับสารประกอบอื่น ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงได้โดยอิสระ กำลังมีการสืบค้นเพื่อประเมินศักยภาพความสามารถอยู่อาศัยได้ในอดีตของดาวอังคาร ตลอดจนความเป็นไปได้ที่จะมีสิ่งมีชีวิตหลงเหลืออยู่ มีการสืบค้นบริเวณนั้นโดยส่วนลงจอด ''ไวกิง'' โรเวอร์ สปิริต และออปพอร์ทูนิตี ส่วนลงจอดฟีนิกซ์ และโรเวอร์ คิวริออซิตี มีการวางแผนภารกิจทางชีวดาราศาสตร์ไว้แล้ว ซึ่งรวม มาร์ส 2020 และเอ็กโซมาร์สโรเวอร์ ดาวอังคารสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจากโลกโดยง่ายซึ่งจะปรากฏให้เห็นเป็นสีออกแดง มีความส่องสว่างปรากฏได้ถึง −2.91 ซึ่งเป็นรองเพียงดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์ ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ กล้องโทรทรรศน์ภาคพื้นดินโดยทั่วไปมีขีดจำกัดการมองเห็นรายละเอียดของภูมิประเทศขนาดประมาณ 300 กิโลเมตรเมื่อโลกและดาวอังคารเข้าใกล้กันมากที่สุดอันเป็นผลจากบรรยากาศของโลก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและดาวอังคาร · ดูเพิ่มเติม »

ดิริโทรมัยซิน

ดิริโทรมัยซิน (Dirithromycin) หมวดหมู่:แมกโครไลด์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและดิริโทรมัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

ดิสโพรเซียม

รเซียม (Dysprosium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 66 และสัญลักษณ์คือ Dy ดิสโพรเซียมเป็นธาตุโลหะเอิร์ธหายากมีลักษณะสีเงินวาวอ่อนนุ่มสามารถตัดได้ด้วยมีดมีความเสถียรในอากาศที่อุณหภูมิห้องละลายได้ดีในกรดเจือจางและเข้มข้นโดยจะปล่อยก๊าซไฮโดรเจนออกม.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและดิสโพรเซียม · ดูเพิ่มเติม »

ดีลาเวียร์ดีน

ดีลาเวียร์ดีน (Delavirdine) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและดีลาเวียร์ดีน · ดูเพิ่มเติม »

คลอร์เพน็อกซามีน

คลอร์เพน็อกซามีน (Chlorphenoxamine) เป็นสารต้านฮิสทามีนและสารต้านโคลีเนอร์จิก มักใช้เป็นยาแก้คัน หมวดหมู่:เอมีน หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและคลอร์เพน็อกซามีน · ดูเพิ่มเติม »

คลอโรฟิลล์

ลอโรฟิลล์พบได้ตามคลอโรพลาสต์ คลอโรฟิลล์ (Chlorophyll) เป็นสารประกอบที่พบได้ในส่วนที่มีสีเขียวของพืช โดยพบมากที่ใบของพืชนอกจากนี้ยังพบได้ที่แบคทีเรียที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ และยังพบได้ในสาหร่ายเกือบทุกชนิด นอกจากนี้คลอโรฟิลล์ทำหน้าที่เป็นโมเลกุลรับพลังงานจากแสง และนำพลังงานดังกล่าวไปใช้ในการสร้างพลังงานเคมีโดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เพื่อสร้างสารอินทรีย์ เช่น น้ำตาล และนำไปใช้เพื่อการดำรงชีวิต คลอโรฟิลล์ อยู่ในโครงสร้างที่เรียกว่า เยื่อหุ้มไทลาคอยล์ (Thylakoid membrane) ซึ่งเป็นเยื่อหุ้มที่อยู่ภายใน คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) ภาคภูมิ พระประเสร.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและคลอโรฟิลล์ · ดูเพิ่มเติม »

คลอโรพิรามีน

คลอโรไพรามีน (Chloropyramine) เป็นสารต้านฮิสทามีน หมวดหมู่:เอมีน หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและคลอโรพิรามีน · ดูเพิ่มเติม »

คลาริโทรมัยซิน

คลาริโทรมัยซิน (Clarithromycin) เป็นยาปฏิชีวนะประเภทแมคโคไรด์ หมวดหมู่:แมกโครไลด์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและคลาริโทรมัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

คลินดามัยซิน

คลินดามัยซิน (Clindamycin) เป็นยาปฏิชีวนะประเภทลินโคซาไมด์ หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก หมวดหมู่:แมกโครไลด์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและคลินดามัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

คลีมาสทีน

คลีมาสทีน (Clemastine) หรือ มาคลาสทีน เป็นสาราต้านฮิสทามีนและสารต้านพาราซิมพาเทติก หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและคลีมาสทีน · ดูเพิ่มเติม »

ความยาวพันธะ

วามยาวพันธะภายในโมเลกุลของคาร์บอนิลซัลไฟด์ ความยาวพันธะ (Bond Length) คือ ระยะทางระหว่างจุดศูนย์กลางของอะตอมที่สร้างพันธะเคมีกัน ซึ่งความยาวพันธะระหว่างอะตอมคู่หนึ่งๆจะมีค่าเฉพาะในแต่ละโมเลกุลและมีค่าแตกต่างกันขึ้นอยู่กับวิธีการวัด เช่น การวัดโดยใช้เทคนิคการเลี้ยวเบนอิเล็กตรอนในสถานะแก๊ส (gas-phase electron-diffraction)ความยาวพันธะจะเท่ากับระยะทางเฉลี่ยระหว่างอะตอมของสถานะการสั่น (vibrational states)ณ อุณหภูมิหนึ่งๆ หากการวัดใช้เทคนิคทางโครงสร้างรังสีเอ็กซ์ (X-ray crystal structural method)แล้ว ความยาวพันธะจะเท่ากับระยะทางระหว่างจุดกึ่งกลางของที่มีความหนาแน่นของอิเล็กตรอนรอบๆนิวเคลียสทั้งสอง เป็นต้น ดังนั้น ความยาวพันธะที่นักเคมีกล่าวถึงกันจึงหมายถึงความยาวพันธะเฉลี่ยที่ได้จากการเฉลี่ยความยาวพันธะที่พบในโมเลกุลต่างๆ อนึ่ง ความยาวพันธะยังมีความสัมพันธ์กับอันดับพันธะ (bond order) อีกด้ว.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและความยาวพันธะ · ดูเพิ่มเติม »

ความร้อนที่ทำให้หลอมรวมกันของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและความร้อนที่ทำให้หลอมรวมกันของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

ความร้อนที่ทำให้เกิดการระเหยของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและความร้อนที่ทำให้เกิดการระเหยของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ

วามร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ เป็นสมบัติเฉพาะตัวของสารที่บอกปริมาณพลังงานที่ต้องใช้หรือคายออกมาในการเปลี่ยนสถานะระหว่างของเหลวกับแก๊ส เมื่อมีอุณหภูมิเท่ากับจุดเดือดของสารนั้น ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอมีหน่วยดังนี้.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ · ดูเพิ่มเติม »

ความหนาแน่นของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและความหนาแน่นของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

ความดันไอของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและความดันไอของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

ความเร็วเสียงของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและความเร็วเสียงของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

ความเป็นโลหะ (ดาราศาสตร์)

ในทางดาราศาสตร์และจักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ ความเป็นโลหะ (metallicity) ของวัตถุคือค่าสัดส่วนองค์ประกอบของสสารในวัตถุนั้นที่มีส่วนประกอบของธาตุทางเคมีชนิดอื่นมากกว่าไฮโดรเจนและฮีเลียม ทั้งนี้ ดาวฤกษ์ซึ่งเป็นวัตถุที่สามารถมองเห็นได้ชัดในเอกภพมักประกอบด้วยไฮโดรเจนกับฮีเลียม นักดาราศาสตร์จึงนิยมเรียกส่วนที่เหลือ (ในที่ว่างดำมืด) ว่าเป็น "โลหะ" เพื่อความสะดวกในการบรรยายถึงส่วนที่เหลือทั้งหมด จากคำนิยามนี้ เนบิวลาซึ่งมีส่วนประกอบของคาร์บอน ไนโตรเจน ออกซิเจน และนีออน อยู่อย่างล้นเหลือ จึงถูกเรียกว่าเป็น "วัตถุอุดมโลหะ" ในทางฟิสิกส์ดาราศาสตร์ แม้ว่าองค์ประกอบเหล่านั้นไม่ได้เป็นโลหะจริงๆ ตามความหมายของเคมีดั้งเดิม จึงจำเป็นอย่างยิ่งต้องระมัดระวังไม่นำไปปะปนกับคำว่า "โลหะ" (metal หรือ metallic) โดยทั่วไป ความเป็นโลหะของวัตถุทางดาราศาสตร์อาจพิจารณาได้จากอายุของวัตถุนั้นๆ เมื่อแรกที่เอกภพก่อตัวขึ้นตามทฤษฎีบิกแบง มีองค์ประกอบของไฮโดรเจนอยู่อย่างมากมาย ซึ่งเมื่อผ่านช่วงนิวคลีโอซินทีสิสในยุคแรกเริ่มแล้ว จึงได้เกิดสัดส่วนฮีเลียมเพิ่มจำนวนมากขึ้น กับลิเทียมและเบริลเลียมอีกจำนวนเล็กน้อย แต่ยังไม่มีธาตุหนักเกิดขึ้น ดาวฤกษ์ที่อายุเก่าแก่จึงมักมีส่วนประกอบโลหะอยู่ค่อนข้างน้อย แต่ข้อเท็จจริงที่พบจากการเฝ้าสังเกตดาวฤกษ์จำนวนมากและพบส่วนประกอบของธาตุหนักอยู่ด้วย ยังเป็นปริศนาที่ไขไม่ออก คำอธิบายในปัจจุบันจึงเป็นการนำเสนอข้อมูลการมีอยู่ของดาวฤกษ์ชนิด Population III เชื่อกันว่า ถ้าไม่มีโลหะ ก็มีแต่เพียงดาวฤกษ์ที่มีมวลมากอย่างมหาศาลเท่านั้นที่จะก่อตัวขึ้นมาได้ และในช่วงปลายอายุขัยของมันก็จะมีการสร้างธาตุ 26 ชนิดแรกไปจนถึงเหล็กในตารางธาตุ ผ่านกระบวนการนิวคลีโอซินทีสิส ในเมื่อดาวฤกษ์เหล่านี้มีมวลมหาศาล แบบจำลองในปัจจุบันจึงระบุถึงการสิ้นอายุขัยของมันในลักษณะซูเปอร์โนวา ซึ่งทำให้สสารภายในของดาวแตกกระจายและแผ่ออกไปในเอกภพ ทำให้เกิดเป็นดาวฤกษ์ในรุ่นถัดมาที่มีส่วนประกอบของธาตุหนักอยู่ดังที่เราพบเห็นในปัจจุบัน ตามทฤษฎีเท่าที่มีในปี..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและความเป็นโลหะ (ดาราศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

คาบ (ตารางธาตุ)

350px ในตารางธาตุนั้น ธาตุต่างๆ จะถูกจัดเรียงให้อยู่ในรูปแบบเชิงตารางอันประกอบด้วยแถวและคอลัมน์ เราเรียกแถวหนึ่งๆ ในตารางธาตุเรียกว่าคาบ (period) และเรียกคอลัมน์หนึ่งๆ ในตารางธาตุว่าหมู่ (group) การจัดเรียงธาตุในเชิงตารางนี้ทำให้ธาตุที่มีคุณสมบัติทางเคมีใกล้เคียงกันถูกจัดไว้ในหมู่เดียวกัน ธาตุที่อยู่ในคาบเดียวกันจะมีจำนวนชั้นของอิเล็กตรอน (electron shell) เท่ากัน โดยจำนวนของอิเล็กตรอนและโปรตอนของธาตุในคาบเดียวกันนี้จะเพิ่มขึ้นทีละหนึ่ง พร้อมทั้งความเป็นโลหะที่ลดลงจากธาตุหมู่ทางด้านซ้ายมือไปยังขวามือของตารางธาตุ ในขณะที่อิเล็กตรอนจะถูกจัดเรียงในชั้นใหม่เมื่อชั้นเดิมถูกจัดเรียงจนเต็ม หรือก็คือเริ่มคาบใหม่ในตารางธาตุ การจัดเรียงเช่นนี้ทำให้เกิดการวนซ้ำของธาตุที่มีคุณสมบัติทางเคมีที่ใกล้เคียงกันเมื่อเพิ่มเลขอะตอม ยกตัวอย่างเช่น โลหะอัลคาไลน์ ถูกจัดเรียงอยู่ในหมู่ 1 และมีคุณสมบัติทางเคมีที่คล้ายกัน เช่น ความไวต่อปฏิกิริยาเคมี หรือ มีแนวโน้มในการสูญเสียอิเล็กตรอน 1 ตัวเมื่อทำปฏิกิริยากับธาตุอื่นเพื่อที่จะจัดเรียงอิเล็กตรอนให้มีลักษณะเหมือนการจัดเรียงอิเล็กตรอนของแก๊สเฉื่อย ปัจจุบันตารางธาตุจัดเรียงธาตุไว้ทั้งสิ้น 118 ธาตุ กลศาสตร์ควอนตัมสมัยใหม่อธิบายการวนซ้ำของคุณสมบัติเคมีของธาตุเหล่านี้โดยใช้ชั้นของอิเล็กตรอน อิเล็กตรอนจะถูกเติมในชั้นอิเล็กตรอนตามลำดับที่แสดงในแผนภาพด้านขวาตามเลขอะตอมที่เพิ่มขึ้น การเพิ่มอิเล็กตรอนภายในชั้นเทียบได้กับคาบในตารางธาตุ ใน s-block และ p-block ของตารางธาตุ ธาตุในคาบเดียวกันไม่แสดงแนวโน้มหรือความคล้ายคลึงในคุณสมบัติเคมี (แนวโน้มของธาตุภายในหมู่เดียวกันชัดเจนกว่า) อย่างไรก็ดี ใน d-block แนวโน้มคุณสมบัติของธาตุภายในคาบเดียวกันเพิ่มความเด่นชัดมากขึ้น และยิ่งเห็นชัดเจนในกลุ่มธาตุใน f-block (โดยเฉพาะกลุ่มของแลนทาไนด์).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและคาบ (ตารางธาตุ) · ดูเพิ่มเติม »

คาร์เบนิซิลลิน

คาร์เบนิซิลลิน (Carbenicillin) เป็นยาปฏิชีวนะประเภทเพนิซิลลิน หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและคาร์เบนิซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

คาร์เฟนทานิล

ร์เฟนทานิล (Carfentanil หรือ Carfentanyl) เป็นอานาลอกของโอปิออยด์ เฟนทานิล (Fentanyl) ที่นิยมแพร่หลาย ซึ่งมีความแรงประมาณ 10,000 เท่าของ มอร์ฟีน และประมาณ 100 เท่า ของ เฟนทานิล (ยาตัวนี้มีฤทธิ์ต่อมนุษย์ในปริมาณเริ่มต้นตั้งแต่ 1 µกรัม)ผลิตและนำออกจำหน่ายในชื่อ ไวลด์นิล(Wildnil) โดยใช้เป็น ยากล่อมประสาท (tranquilizer)ในสัตว์ขนาดใหญ่เท่านั้น ไม่ใช้ในมนุษย์เพราะความแรงของมัน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและคาร์เฟนทานิล · ดูเพิ่มเติม »

คีโตติเฟน

คีโตติเฟน (Ketotifen) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและคีโตติเฟน · ดูเพิ่มเติม »

คโลนะเซแพม

ลนะเซแพม (Clonazepam) เป็นยากันชักและรักษาโรคตื่นตระหนก และความผิดปกติของการเคลื่อนไหวที่เรียกว่า อาการนั่งไม่ติดที่ (akathisia) เป็นยากลุ่มเบ็นโซไดอาเซพีน --> ใช้โดยการรับประทาน มีผลภายในหนึ่ง ชม.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและคโลนะเซแพม · ดูเพิ่มเติม »

ตารางธาตุ (บล็อก)

'''หมู่''' '''1''' '''2''' '''3''' '''4''' '''5''' '''6''' '''7''' '''8''' '''9''' '''10''' '''11''' '''12''' '''13''' '''14''' '''15''' '''16''' '''17''' '''18''' '''คาบ''' '''1''' 1H 2He '''2''' 3Li 4Be 5B 6C 7N 8O 9F 10Ne '''3''' 11Na 12Mg 13Al 14Si 15P 16S 17Cl 18Ar '''4''' 19K 20Ca 21Sc 22Ti 23V 24Cr 25Mn 26Fe 27Co 28Ni 29Cu 30Zn 31Ga 32Ge 33As 34Se 35Br 36Kr '''5''' 37Rb 38Sr 39Y 40Zr 41Nb 42Mo 43Tc 44Ru 45Rh 46Pd 47Ag 48Cd 49In 50Sn 51Sb 52Te 53I 54Xe '''6''' 55Cs 56Ba * 72Hf 73Ta 74W 75Re 76Os 77Ir 78Pt 79Au 80Hg 81Tl 82Pb 83Bi 84Po 85At 86Rn '''7''' 87 Fr 88Ra ** 104Rf 105Db 106Sg 107Bh 108Hs 109Mt 110Ds 111Rg 112Cn 113Nh 114Fl 115Mc 116Lv 117Ts 118Og * แลนทาไนด์s 57La 58Ce 59Pr 60Nd 61Pm 62Sm 63Eu 64Gd 65Tb 66Dy 67Ho 68Er 69Tm 70Yb 71Lu ** แอกทิไนด์ 89Ac 90Th 91Pa 92U 93Np 94Pu 95Am 96Cm 97Bk 98Cf 99Es 100Fm 101Md 102No 103Lr บล็อก บล็อก-dบล็อก-fบล็อก-pบล็อก-s ความหมายสีของเลขอะตอม.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและตารางธาตุ (บล็อก) · ดูเพิ่มเติม »

ตารางธาตุ (กว้าง)

ตารางธาตุเคมีแบบกว้าง '''หมู่''' → '''1''' '''2''' '''3''' '''4''' '''5''' '''6''' '''7''' '''8''' '''9''' '''10''' '''11''' '''12''' '''13''' '''14''' '''15''' '''16''' '''17''' '''18''' I II III IV V VI VII VIII '''คาบ''' ↓ '''1''' 1H 2He '''2''' 3Li 4Be 5B 6C 7N 8O 9F 10Ne '''3''' 11 Na 12 Mg 13Al 14Si 15P 16S 17Cl 18Ar '''4''' 19K 20Ca 21Sc 22Ti 23V 24Cr 25Mn 26Fe 27Co 28Ni 29Cu 30Zn 31Ga 32Ge 33As 34Se 35Br 36Kr '''5''' 37Rb 38Sr 39Y 40Zr 41Nb 42Mo 43Tc 44Ru 45Rh 46Pd 47Ag 48Cd 49In 50Sn 51Sb 52Te 53I 54Xe '''6''' 55Cs 56Ba 57La 58Ce 59Pr 60Nd 61Pm 62Sm 63Eu 64Gd 65Tb 66Dy 67Ho 68Er 69Tm 70Yb 71 Lu 72Hf 73Ta 74W 75Re 76Os 77Ir 78Pt 79Au 80Hg 81Tl 82Pb 83Bi 84Po 85At 86Rn '''7''' 87 Fr 88Ra 89Ac 90Th 91Pa 92U 93Np 94Pu 95Am 96Cm 97Bk 98Cf 99Es 100Fm 101Md 102No 103Lr 104Rf 105Db 106Sg 107Bh 108Hs 109Mt 110Ds 111Rg 112Cn 113Nh 114Fl 115Mc 116Lv 117Ts 118Og อนุกรมเคมีตารางธาตุ ความหมายสีของเลขอะตอม.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและตารางธาตุ (กว้าง) · ดูเพิ่มเติม »

ตารางธาตุ (การจัดเรียงอิเล็กตรอน)

หมวดหมู่:ตารางธาตุ.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและตารางธาตุ (การจัดเรียงอิเล็กตรอน) · ดูเพิ่มเติม »

ตารางธาตุ (มาตรฐาน)

รูปแบบตารางธาตุแบบมาตรฐานที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์และเลขอะตอมของธาตุแต่ละชน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและตารางธาตุ (มาตรฐาน) · ดูเพิ่มเติม »

ตารางธาตุ (โลหะ และ อโลหะ)

วามหมายสีของเลขอะตอม.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและตารางธาตุ (โลหะ และ อโลหะ) · ดูเพิ่มเติม »

ตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมใหญ่

หมวดหมู่:ตารางธาตุ.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมเล็ก

ที่ควรรู้ นิโฮเนียม113 Nh เทนเนสซีน117 Ts *** *** น้ำหนักอะตอมโดยการประมาณเท่านั้น อนุกรมเคมีตารางธาตุ หมวดหมู่:ตารางธาตุ en:Periodic table (detailed).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ตารางธาตุแนวดิ่ง

ตารางธาตุแนวดิ่ง ความหมายสีของเลขอะตอม.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและตารางธาตุแนวดิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ตารางไอโซโทป (สมบูรณ์)

ตารางไอโซโทป นี้แสดงไอโซโทปทั้งหมดของธาตุเคมีที่เป็นที่รู้จักกัน ถูกจัดโดยเลขอะตอมเพิ่มจากซ้ายไปขวา และเลขนิวตรอนเพิ่มจากบนลงล่าง ค่าครึ่งชีวิตแสดงให้เห็นด้วยสีของเซลล์ไอโซโทปแต่ละเซลล์ (ตารางสีด้านขวา) ขอบที่มีสีบอกค่าครึ่งชีวิตของnuclear isomer ในสถานะที่เสถียรที่สุด สำหรับตารางที่เหมือนกันแต่ถูกจัดให้ดูง่ายกว่า, ดูตารางไอโซโทป (แบ่งส่วน).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและตารางไอโซโทป (สมบูรณ์) · ดูเพิ่มเติม »

ตารางไอโซโทป (แบ่งส่วน)

ตารางไอโซโทป นี้แสดงไอโซโทปทั้งหมดของธาตุเคมีที่เป็นที่รู้จักกัน ถูกจัดโดยเลขอะตอมเพิ่มจากซ้ายไปขวา และเลขนิวตรอนเพิ่มจากบนลงล่าง ค่าครึ่งชีวิตแสดงให้เห็นด้วยสีของเซลล์ไอโซโทปแต่ละเซลล์ (ตารางสีด้านขวา) ขอบที่มีสีบอกค่าครึ่งชีวิตของnuclear isomer ในสถานะที่เสถียรที่สุด สำหรับตารางที่เหมือนกันแต่รวมเป็นตารางเดียว, ดูตารางไอโซโทป (สมบูรณ์) The data for these tables came from Brookhaven National Laboratory which has an interactive with data on ~3000 nuclides.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและตารางไอโซโทป (แบ่งส่วน) · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟาฟูราโซล

ซัลฟาฟูราโซล (Sulfafurazole) หมวดหมู่:ซัลฟา.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลฟาฟูราโซล · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟามอกโซล

ซัลฟามอกโซล (Sulfamoxole) เป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มซัลฟานิลาไมด์ หมวดหมู่:ซัลฟา.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลฟามอกโซล · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟาลีน

ซัลฟาลีน (Sulfalene) เป็นยาต้านแบคทีเรียประเภทซัลฟานิลาไมด์ชนิดหนึ่ง มักนำมาใช้รักษาโรคหลอดลมอักเสบชนิดเรื้อรัง โรคติดเชื้อในกระเพาะปัสสาวะ และโรคมาลาเรีย หมวดหมู่:ซัลฟา.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลฟาลีน · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟาดิมิดีน

ซัลฟาดิมิดีน (Sulfadimidine) เป็นยาในตระกูลซัลฟานาไมด์ หมวดหมู่:ซัลฟา.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลฟาดิมิดีน · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟานิลาไมด์

ซัลฟานิลาไมด์ (Sulfanilamide)เป็นยาเภสัชต้านเชื้อแบดทีเรี.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลฟานิลาไมด์ · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟาไพริดีน

ซัลฟาไพริดีน (Sulfapyridine) หมวดหมู่:ซัลฟา.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลฟาไพริดีน · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟาไอโซดิมิดีน

ซัลฟาไอโซดิมิดีน (Sulfisomidine) หมวดหมู่:ซัลฟา.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลฟาไอโซดิมิดีน · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟาไทอะโซล

ซัลฟาไทอะโซล (Sulfathiazole) หมวดหมู่:ซัลฟา.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลฟาไทอะโซล · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟาไทโอยูเรีย

ซัลฟาไทโอยูเรีย (Sulfathiourea) หมวดหมู่:ซัลฟา.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลฟาไทโอยูเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟาไดอะซีน

ซัลฟาไดอะซีน (Sulfadiazine) เป็นยาปฏิชีวนะประเทศซัลฟานาไม.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลฟาไดอะซีน · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟาไดเมโทซีน

ซัลฟาไดเมโทซีน (Sulfadimethoxine) เป็นยาปฏิชีวนะประเภทซัลฟานาไมด์ หมวดหมู่:ซัลฟา.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลฟาไดเมโทซีน · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟาเฟนาโซล

ซัลฟาเฟนาโซล (Sulfaphenazole) เป็นยาปฏิชีวนะประเภทซัลฟานาไมด์ หมวดหมู่:ซัลฟา.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลฟาเฟนาโซล · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟาเพอริน

ซัลฟาเพอริน (sulfaperine) เป็นยาฆ่าเชื้อชนิดซัลโฟนาไมด์ หมวดหมู่:ซัลฟา.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลฟาเพอริน · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟาเมอราซีน

ซัลฟาเมอราซีน (Sulfamerazine) เป็นยาปฏิชีวนะประเภทซัลฟานาไมด์ หมวดหมู่:ซัลฟา.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลฟาเมอราซีน · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟาเมตทอกซีไพริดาซีน

ซัลฟาเมตทอกซีไพริดาซีน (Sulfamethoxypyridazine) เป็นยาปฏิชีวนะประเภทซัลฟานาไมด์ มักใช้ในการรักษาการระคายเคืองในช่องคลอดและปากอักเสบเชื้อราชนิดเฉียบพลันรุนแรง หมวดหมู่:ซัลฟา.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลฟาเมตทอกซีไพริดาซีน · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟาเมตทอกซีไดอะซีน

ซัลฟาเมตทอกซีไดอะซีน (Sulfametoxydiazine) เป็นยาปฏิชีวนะประเภทซัลฟานาไมด์ มักใช้ในการรักษาการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ หมวดหมู่:ซัลฟา.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลฟาเมตทอกซีไดอะซีน · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟาเมโทมิดีน

หมวดหมู่:ซัลฟา.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลฟาเมโทมิดีน · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟาเมโทซาโซล

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลฟาเมโทซาโซล · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟาเมไทโซล

ซัลฟาเมไทโซล (Sulfamethizole) เป็นยาปฏิชีวนะประเภทซัลฟานาไมด์ หมวดหมู่:ซัลฟา.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลฟาเมไทโซล · ดูเพิ่มเติม »

ซัลทามิซิลลิน

ซัลทามิซิลลิน (Sultamicillin) เป็นยาปฏิชีวนะในรูปแบบสำหรับรับประทานที่ผสมระหว่างยาปฏิชีวนะสองตัว คือ แอมพลิซิลลิน/ซัลแบคแตม ประกอบด้วยแอมพลิซิลินในรูปที่เป็นเอสเทอร์ และซัลแบคแตม เครื่องหมายการค้าของยาชนิดนี้มีหลายแบบเช่น Saltum และ Unasyn.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลทามิซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

ซัลซิตาบีน

ซัลซิตาบีน (Zalcitabine หรือ 2'-3'-dideoxycytidine, ddC หรือ dideoxycytidine) เป็นสารที่มีโครงสร้างคล้ายนิวคลีโอไซด์ และยับยั้งการทำงานของ Reverse transcriptase ชื่อทางการค้าคือ Hivid เป็นตัวที่มีประสิทธิภาพน้อยกว่าสารที่มีโครงสร้างอย่างเดียวกัน ปริมาณที่แนะนำให้ใช้คือ 0.750 mg (1 เม็ด) ทุกๆ 8.ม. ต้องใช้สามครั้งต่อวัน และมีผลข้างเคียงที่น่าวิตก จึงใช้น้อยสำหรับการรักษาโรคเอดส์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลซิตาบีน · ดูเพิ่มเติม »

ซัลแบคแตม

ซัลแบคแตม (Sulbactam) หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลแบคแตม · ดูเพิ่มเติม »

ซัลเบนิซิลลิน

ซัลเบนิซิลลิน (Sulbenicillin) หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซัลเบนิซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

ซาควินาเวียร์

ซาควินาเวียร์ (อังกฤษ:Saquinavir) (ฟอร์โตเวส®เป็นชื่อทางการค้าของโรช Fortovase&reg) เป็นยาประเภท โปรตีเอส อินฮิบิเตอร์ (protease inhibitor) ใช้รักษาโรคในกลุ่มอาการ เอชไอวี (HIV) ซาควินาเวียร์ มีไซเลต (Saquinavir mesylate-Invirase®, Roche) เป็นตำรับยาของซาควินาเวียร์ที่ทำขึ้นมาเพื่อใช้ร่วมกับ โปรตีเอส อินฮิบิเตอร์ ตัวอื่นเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดซึมยา สูตรโครงสร้างของ'''ซาควินาเวียร์''' เมื่อรับประทานยาซาควินาเวียร์ตามลำพังพบว่าการดูดซึมช้ามาก แต่ถ้าคนไข้ได้รับยาเอชไอวีโปรตีเอส อินฮิบิเตอร์อีกตัวที่ชื่อ ริโตนาเวียร์ (ritonavir) เข้าไปด้วย พบว่าการดูดซึมของซาควินาเวียร์จะดีขึ้นมากที่เป็นเช่นนี้เพราะว่าริโตนาเวียร์จะไปยับยั้งเอ็นไซม์ ไซโตโครม พี450 3เอ4 (Cytochrome P450 3A4) ซึ่งเอ็นไซม์ตัวนี้จะไปเมตทาโบไลต์ ซาควินาเวียร์ให้หมดฤทธิ์ยา หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส หมวดหมู่:ควิโนไลน์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซาควินาเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซานามิเวียร์

ซานามิเวียร์ (Zanamivir) หมวดหมู่:กวานิดีน หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซานามิเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซิโดวูดีน

ซิโดวูดีน หรืออะซิโดไทมิดีน (Zidovudine โดย INN หรือ azidothymidine มีชื่อย่อว่า - AZT) เป็นยาต้านรีโทรไวรัส (antiretroviral drug) เป็นยาตัวแรกที่ใช้เป็น ยาต้านไวรัส (antiviral drug) และใช้รักษา HIV ยาพวกนี้จำหน่ายในชื่อทางการค้าว.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซิโดวูดีน · ดูเพิ่มเติม »

ซิโปรฟลอกซาซิน

ซิโปรฟลอกซาซิน (Ciprofloxacin).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซิโปรฟลอกซาซิน · ดูเพิ่มเติม »

ซิโนซาซิน

ซิโนซาซิน (Cinoxacin) หมวดหมู่:ยาต้านจุลชีพ หมวดหมู่:ควิโนโลน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซิโนซาซิน · ดูเพิ่มเติม »

ซูเฟนทานิล

ซูเฟนทานิล (Sufentanil) เป็นยาที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มยาบรรเทาปวดประเภทโอปิออยด์ ในหลายประเทศใช้ชื่อว่า Sufentanyl ซูเฟนทานิลถูกทำตลาดในชื่อทางการค้าที่แตกต่างกันหลายชื่อเช่น ซูเฟนตา (Sufenta) ข้อบ่งใช้หลักของยาตัวนี้คือ ใช้บรรเทาอาการปวดในคนไข้วิกฤตบริบาลและคนไข้ผ่าตัดโดยใช้ในช่วงเวลาสั้นๆ มันมีคุณสมบัติในการทำให้สงบช่วยบรรเทาปวด และระงับความรู้สึกในระหว่างการผ่าตักได้ดี.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซูเฟนทานิล · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์เทสเตอร์

ซูเปอร์เทสเตอร์ ให้ใช้ศัพท์ต่างประเทศของคำว่า super และ taster แทนคำไทยได้, วิธีถอดอักษรโรมันเป็นไทยของราชบัณฑิตยสถานจะเขียนว่า "ซุปเป้อร์เท้สเต้อร์" (supertaster แปลอย่างหนึ่งได้ว่า สุดยอดคนชิมอาหาร) เป็นบุคคลผู้ที่สามารถรับรสของสิ่งที่อยู่ที่ลิ้น ในระดับที่เข้มข้นมากกว่าคนอื่นโดยเฉลี่ย ในประชากรทั้งหมด ผู้หญิง 35% และผู้ชาย 15% เป็นซูเปอร์เทสเตอร์ และมีโอกาสที่จะสืบเชื้อสายมาจากคนเอเซีย คนอัฟริกา และคนอเมริกาใต้มากกว่าคนเชื้อชาติอื่น ๆ BBC เหตุของระดับการตอบสนองที่สูงขึ้นเช่นนี้ยังไม่ชัดเจน ถึงแม้จะเชื่อกันว่า มีเหตุเกี่ยวข้องกับการมียีน TAS2R38 ซึ่งทำให้สามารถรับรสของสาร PropylthiouracilPropylthiouracil เป็นยาที่แปลงมาจากสาร Thiouracil ใช้ในการรักษาโรคไทรอยด์รวมทั้งโรคคอพอกตาโปนโดยลดฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ และ PhenylthiocarbamidePhenylthiocarbamide หรือเรียกว่า phenylthiourea เป็นสารประกอบประเภท organosulfur thiourea มีวงแหวนแบบ phenyl เป็นสารมีคุณสมบัติพิเศษที่มีรสชาติอาจจะเป็นขมมากหรือไม่มีรสอะไรเลย ขึ้นอยู่กับยีนของผู้ลิ้มรส ได้ และโดยส่วนหนึ่ง มีเหตุจากมีปุ่มรูปดอกเห็ด (fungiform papillae ที่ประกอบด้วยเซลล์รับรส) บนลิ้นที่มากกว่าปกติ การได้เปรียบของความสามารถนี้ในวิวัฒนาการไม่ใชัดเจน ในสิ่งแวดล้อมบางประเภท การตอบสนองทางรสชาติในระดับที่สูงขึ้น โดยเฉพาะต่อรสขม อาจจะเป็นความได้เปรียบที่สำคัญใช้ในการหลีกเลี่ยงสารแอลคาลอยด์ที่อาจเป็นพิษในพืช แต่ในสิ่งแวดล้อมอื่น การตอบสนองในระดับที่สูงขึ้นอาจจะจำกัดอาหารที่ทานแล้วรู้สึกอร่อย fungiform papillae ที่ลิ้นปรากฏเพราะสีอาหารสีน้ำเงิน คำนี้บัญญัติโดยนักจิตวิทยาเชิงทดลองชื่อว่า ลินดา บาร์โทชัก ซึ่งทำงานวิจัยเป็นอาชีพเป็นเวลานานเกี่ยวกับความแตกต่างในยีนของการรับรู้รส ในต้นคริสต์ทศวรรษที่ 1990 ดร.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซูเปอร์เทสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีลีคอกซิบ

ซีลีคอกซิบ (Celecoxib) เป็นยาประเภท เอ็นเซด (NSAID) ใช้ในการรักษา โรคข้อเสื่อม โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ อาการปวด เฉียบพลัน อาการปวดประจำเดือน อาการผิดปกติในระบบประจำเดือน และลดการเติบโตของเนื้องอกในลำไส้ใหญ่และไส้ตรงในคนไข้ โรคของลำไส้บางชนิด เช่น ติ่งเนื้อในลำไส้ ยานี้ถูกทำตลาดโดย ไฟเซอร์ ซึ่งมี ชื่อทางการค้าว่า Celebrex.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและซีลีคอกซิบ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติของตารางธาตุ

ในปี..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและประวัติของตารางธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

ปรากฏการณ์เรือนกระจก

แผนภูมิแสดงการแลกเปลี่ยนพลังงานระหว่างดวงอาทิตย์ พื้นผิวโลก ชั้นบรรยากาศของโลก และอวกาศ ความสามารถของชั้นบรรยากาศในการจับและนำพลังงานที่แผ่ออกมาจากพื้นผิวโลกกลับมาใช้ใหม่เป็นลักษณะนิยามของปรากฏการณ์เรือนกระจก ปรากฏการณ์เรือนกระจก (greenhouse effect) คือ ขบวนการที่รังสีความร้อนจากพื้นผิวโลกจะถูกดูดซับโดยก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ และแผ่รังสีออกไปอีกครั้งในทุกทิศทาง เนื่องจากการแผ่รังสีออกไปอีกครั้งถูกส่งกลับมายังพื้นผิวโลกและบรรยากาศด้านล่าง เป็นผลทำให้ระดับอุณหภูมิพื้นผิวโลกเฉลี่ยสูงขึ้นถ้าไม่มีก๊าซเหล่านี้A concise description of the greenhouse effect is given in the Intergovernmental Panel on Climate Change Fourth Assessment Report, "What is the Greenhouse Effect?", IIPCC Fourth Assessment Report, Chapter 1, page 115: "เพื่อความสมดุลของพลังงานที่ส่งมาจากดวงอาทิตย์ โลกโดยเฉลี่ยต้องแผ่รังสีพลังงานจำนวนที่เท่ากันกลับไปสู่อวกาศ เพราะว่าโลกเย็นกว่าดวงอาทิตย์ โลกจึงแผ่รังสีที่ความยาวคลื่นที่ยาวกว่าในแถบความถี่อินฟราเรด รังสีความร้อนที่ปล่อยออกมาจากพื้นดินและมหาสมุทรจำนวนมากนี้จะถูกดูดซับในชั้นบรรยากาศรวมทั้งหมู่เมฆและแผ่รังสีอีกครั้งกลับมายังโลก ขบวนการนี้เรียกว่าปรากฏการณ์เรือนกระจก" Stephen H. Schneider, in Geosphere-biosphere Interactions and Climate, Lennart O. Bengtsson and Claus U. Hammer, eds., Cambridge University Press, 2001, ISBN 0-521-78238-4, pp.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและปรากฏการณ์เรือนกระจก · ดูเพิ่มเติม »

ปริสตินามัยซิน

ปริสตินามัยซิน (Pristinamycin) หมวดหมู่:แมกโครไลด์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและปริสตินามัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

ปิร์โรบิวตามีน

ไพร์โรบิวตามีน (Pyrrobutamine) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและปิร์โรบิวตามีน · ดูเพิ่มเติม »

ปิปเปอราซิลลิน

ปิปเปอราซิลลิน (Piperacillin).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและปิปเปอราซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

ปิโตรเลียม

แหล่งน้ำมันสำรองทั่วโลกที่พิสูจน์แล้วใน ค.ศ. 2009 บ่อปิโตรเลียมแห่งหนึ่งในเท็กซัส ปิโตรเลียม (petroleum, petra (หิน) + oleum (น้ำมัน) รวมหมายถึง "น้ำมันที่ได้จากหิน") หรือ น้ำมันดิบ เป็นของเหลวไวไฟที่เกิดเองตามธรรมชาติ ประกอบด้วยสารผสมซับซ้อนระหว่างไฮโดรคาร์บอนที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่างกัน กับสารประกอบอินทรีย์ที่เป็นของเหลวอื่น ๆ ซึ่งพบในชั้นธรณีวิทยาใต้ผิวโลก เป็นเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ เกิดได้จากซากสิ่งมีชีวิต (มักเป็นแพลงก์ตอนสัตว์และสาหร่าย) จำนวนมากทับถมกันใต้หินตะกอนและได้รับความร้อนและความดันมหาศาล การขุดเจาะน้ำมันเป็นวิธีการส่วนใหญ่ในการได้มาซึ่งปิโตรเลียม ซึ่งเป็นขั้นตอนหลังการศึกษาโครงสร้างธรณีวิทยา การวิเคราะห์แอ่งตะกอน และลักษณะหินกักเก็บปิโตรเลียม หลังขุดเจาะขึ้นมาแล้ว ปิโตรเลียมจะถูกกลั่นและแยกเป็นผลิตภัณฑ์บริโภคหลายชนิด ตั้งแต่แก๊สโซลีนและน้ำมันก๊าด ไปจนถึงยางมะตอยและตัวทำปฏิกิริยาเคมีซึ่งใช้ในการทำพลาสติกและเภสัชภัณฑ์ นอกจากนี้ ปิโตรเลียมยังใช้ในการผลิตวัสดุอีกหลายชนิด ปิโตรเลียมมีธาตุองค์ประกอบหลัก 2 ชนิด คือ คาร์บอนและไฮโดรเจน และอาจมีธาตุอโลหะชนิดอื่นปนอยู่ด้วย เช่น กำมะถัน ออกซิเจน และไนโตรเจน ทั้งนี้ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ รวมถึงความร้อนและความดันของสภาพแวดล้อมในการเกิดและการกักเก็บปิโตรเลียม แบ่งตามสถานะได้เป็นสองชนิดหลัก คือ น้ำมันดิบและแก๊สธรรมชาติ โดยแก๊สธรรมชาตินั้น ประกอบด้วยคาร์บอนตั้งแต่ 1-4 อะตอม.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและปิโตรเลียม · ดูเพิ่มเติม »

ปุ๋ยอินทรีย์

ปุ๋ยอินทรีย์ (Organic Fertilizer) หรือ ปุ๋ยหมัก (Compost) คือ ปุ๋ยที่ได้จากการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุทางชีวเคมีโดยจุลินทรีย์กลุ่มใช้ออกซิเจน (Aerobic Microorganisms) จนเป็นประโยชน์ต่อพืช ปุ๋ยอินทรีย์ เป็นปุ๋ยทำจากวัสดุอินทรีย์ มีธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์สำหรับการเจริญเติบโตของพืช ผลิตจากวัสดุอินทรีย์ ของเสียจากโรงงาน(บางประเภท) มูลวัว มูลไก่ มูลค้างคาว ซากต้นไม้ ใบไม้ กรดอะมิโน โดโลไมท์ และแร่ธาตุต่าง ๆ นำมาบด เติมจุลินทรีย์ บ่มหมัก กลับกอง จนย่อยสลายกลายเป็นปุ๋ย ปุ๋ยอินทรีย์ที่ดี จะต้องประกอบด้วยแร่ธาตุครบทั้ง 13 ชนิดที่พืชต้องการ ดังนี้ แร่ธาตุหลัก ซึ่งพืชต้องการในปริมาณสูงมาก ประกอบด้ว.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและปุ๋ยอินทรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปุ๋ยขี้นก

รังของ Peruvian Booby ทำด้วย “ขี้นก” ปุ๋ยขี้นก (Guano) มาจากภาษาเกชัวว่า “wanu” ที่มาจากภาษาสเปนที่แปลว่าสิ่งที่มาจากการขับถ่าย (อุจจาระและปัสสาวะ) ของนกทะเล, ค้างคาว และแมวน้ำ ขี้นกเป็นปุ๋ยที่มีประสิทธิภาพ และเป็นส่วนผสมที่ใช้ทำดินปืนเพราะมีฟอสฟอรัส และ ไนโตรเจนสูง และไม่มีกลิ่น โมโนแคลเซียมฟอสเฟตที่ทำจากขี้นกใช้ในการการหว่านปุ๋ยทางอากาศ ดินที่ขาดสารชีวภาพสามารถทำให้เป็นดินที่มีประสิทธิภาพได้โดยการใช้ปุ๋ยขี้นก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและปุ๋ยขี้นก · ดูเพิ่มเติม »

นอร์ฟลอกซาซิน

นอร์ฟลอกซาซิน (Norfloxacin).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและนอร์ฟลอกซาซิน · ดูเพิ่มเติม »

นิกโทเจน

ตุหมู่ไนโตรเจน หรือ นิโคเจน หรือ นิกโทเจน (Nitrogen group หรือ pnicogens หรือ pnictogens) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในหมู่ 15 ของตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 5 โดยอิเล็กตรอน 2 ตัวอยู่ในวงโคจรย่อยเอส (s subshell) อีก 3 ตัวอยู่ในวงโคจรย่อยพี (p subshell) ดังนั้นธาตุเหล่านี้จึงมีอิเล็กตรอน 3 ตัวอยู่ในวงโคจรนอกสุด และ 3 ตัว ในภาวะที่อะตอมไม่อยู่ในระดับไอโอไนส์ (non-ionized state) สารประกอบของธาตุเหล่านี้ เรียกว่า นิกไทด์ (pnictides).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและนิกโทเจน · ดูเพิ่มเติม »

นิวตรอน

นิวตรอน (neutron) เป็น อนุภาคย่อยของอะตอม ตัวหนึ่ง มีสัญญลักษณ์ n หรือ n0 ที่ไม่มี ประจุไฟฟ้า และมีมวลใหญ่กว่ามวลของ โปรตอน เล็กน้อย โปรตอนและนิวตรอนแต่ละตัวมีมวลประมาณหนึ่งหน่วย มวลอะตอม โปรตอนและนิวตรอนประกอบกันขึ้นเป็น นิวเคลียส ของหนึ่งอะตอม และทั้งสองตัวนี้รวมกันเรียกว่า นิวคลีออน คุณสมบัติของพวกมันถูกอธิบายอยู่ใน ฟิสิกส์นิวเคลียร์ นิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอนจำนวน Z ตัว โดยที่ Z จะเรียกว่า เลขอะตอม และนิวตรอนจำนวน N ตัว โดยที่ N คือ เลขนิวตรอน เลขอะตอมใช้กำหนดคุณสมบัติทางเคมีของอะตอม และเลขนิวตรอนใช้กำหนด ไอโซโทป หรือ นิวไคลด์ คำว่าไอโซโทปและนิวไคลด์มักจะถูกใช้เป็นคำพ้อง แต่พวกมันหมายถึงคุณสมบัติทางเคมีและทางนิวเคลียร์ตามลำดับ เลขมวล ของอะตอมใช้สัญลักษณ์ A จะเท่ากับ Z+N ยกตัวอย่างเช่น คาร์บอนมีเลขอะตอมเท่ากับ 6 และคาร์บอน-12 ที่เป็นไอโซโทปที่พบอย่างมากมายของมันมี 6 นิวตรอนขณะคาร์บอน-13 ที่เป็นไอโซโทปที่หายากของมันมี 7 นิวตรอน องค์ประกอบบางอย่างจะเกิดขึ้นเองในธรรมชาติโดยมีไอโซโทปที่เสถียรเพียงหนึ่งตัว เช่นฟลูออรีน (ดู นิวไคลด์ที่เสถียร) องค์ประกอบอื่น ๆ จะเกิดขึ้นโดยมีไอโซโทปที่เสถียรเป็นจำนวนมาก เช่นดีบุกที่มีสิบไอโซโทปที่เสถียร แม้ว่านิวตรอนจะไม่ได้เป็นองค์ประกอบทางเคมี มันจะรวมอยู่ใน ตารางของนิวไคลด์ ภายในนิวเคลียส โปรตอนและนิวตรอนจะยึดเหนี่ยวอยู่ด้วยกันด้วย แรงนิวเคลียร์ และนิวตรอนเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับความมั่นคงของนิวเคลียส นิวตรอนถูกผลิตขึ้นแบบทำสำเนาในปฏิกิริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น และ นิวเคลียร์ฟิชชัน พวกมันเป็นผู้สนับสนุนหลักใน การสังเคราะห์นิวเคลียส ขององค์ประกอบทางเคมีภายในดวงดาวผ่านกระบวนการฟิวชัน, ฟิชชั่นและ การจับยึดนิวตรอน นิวตรอนเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการผลิตพลังงานนิวเคลียร์ ในทศวรรษหลังจากที่นิวตรอนที่ถูกค้นพบในปี 1932 นิวตรอนถูกนำมาใช้เพื่อให้เกิดการกลายพันธ์ของนิวเคลียส (nuclear transmutation) ในหลายประเภท ด้วยการค้นพบของ นิวเคลียร์ฟิชชัน ในปี 1938 ทุกคนก็ตระหนักได้อย่างรวดเร็วว่า ถ้าการฟิชชันสามารถผลิตนิวตรอนขึ้นมาได้ นิวตรอนแต่ละตัวเหล่านี้อาจก่อให้เกิดฟิชชันต่อไปได้อีกในกระบวนการต่อเนื่องที่เรียกว่า ปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ เหตุการณ์และการค้นพบเหล่านี้นำไปสู่​​เครื่องปฏิกรณ์ที่ยั่งยืนด้วยตนเองเป็นครั้งแรก (Chicago Pile-1, 1942) และอาวุธนิวเคลียร์ครั้งแรก (ทรินิตี้ 1945) นิวตรอนอิสระหรือนิวตรอนอิสระใด ๆ ของนิวเคลียสเป็นรูปแบบหนึ่งของ การแผ่รังสีจากการแตกตัวเป็นไอออน ดังนั้นมันจึงเป็นอันตรายต่อชีวภาพโดยขึ้นอยู่กับปริมาณที่รับ สนาม "พื้นหลังนิวตรอน" ขนาดเล็กในธรรมชาติของนิวตรอนอิสระจะมีอยู่บนโลก ซึ่งเกิดจากมิวออนรังสีคอสมิก และจากกัมมันตภาพรังสีตามธรรมชาติขององค์ประกอบที่ทำฟิชชันได้ตามธรรมชาติในเปลือกโลก แหล่งที่ผลิตนิวตรอนโดยเฉพาะเช่นเครื่องกำเนิดนิวตรอน, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์เพื่อการวิจัยและแหล่งผลิตนิวตรอนแบบสปอลเลชัน (Spallation Source) ที่ผลิตนิวตรอนอิสระสำหรับการใช้งานในการฉายรังสีและในการทดลองการกระเจิงนิวตรอน คำว่า "นิวตรอน" มาจากภาษากรีก neutral ที่แปลว่า เป็นกลาง เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด เป็นผู้ตั้งทฤษฎีการมีอยู่ของนิวตรอนเมื่อปี ค.ศ. 1920 โดยเขาพบว่าอะตอมของธาตุทุกชนิด เลขมวลจะมีค่าใกล้เคียงกับ 2 เท่าของเลขอะตอมเสมอ จึงสันนิษฐานได้ว่ามีอนุภาคอีกชนิดหนึ่งที่ยังไม่ถูกค้น.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและนิวตรอน · ดูเพิ่มเติม »

นิโคติน

นิโคติน (Nicotine) เป็นสารประกอบอัลคาลอยด์ชนิดหนึ่ง ไม่มีสี ซึ่งพบในต้นยาสูบทุกสายพันธุ์ และความเข้มข้นจะมีมากในใบยาสูบมากกว่าส่วนอื่นๆ เมื่อนำใบยาสูบมาตากแห้งแล้ว จะมีนิโคตินประกอบอยู่ 0.3-5% ของน้ำหนักทั้งหมด ปฏิกิริยาทางชีวเคมีจะเกิดขึ้นที่รากของต้น และเปลี่ยนมาสะสมที่ใบ นิโคตินมีฤทธิ์เป็นพิษกับระบบประสาท และถือเป็นยาฆ่าแมลงอย่างหนึ่ง แต่ถ้าได้รับในจำนวนไม่มาก จะก่อให้เกิดการกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง แต่ถ้าได้รับในจำนวนมาก อาจจะถึงตายได้ โดยเมื่อได้รับมากถึงจำนวนหนึ่ง จะเปลี่ยนจากการกระตุ้นสมองเป็นการกดสมอง สารนิโคติน ยังสามารถพบได้ในพืชจำพวกอื่นอีกคือ พืชตระกูล Solanaceae (nightshade) ได้แก่ มะเขือเทศ, มันฝรั่ง, มะเขือม่วง, พริกไทยเขียว และในใบของต้น Coca แต่พบว่ามีจำนวนเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับน้ำหนัก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและนิโคติน · ดูเพิ่มเติม »

นิเวศวิทยา

นิเวศวิทยา (ecology) (มาจากภาษากรีก: οἶκος "บ้าน"; -λογία, "การศึกษาของ") คือ การวิเคราะห์และการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ของปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมของสิ่งมีชีวิต ได้แก่ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่มีต่อกันและกัน และปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่มีกับสิ่งแวดล้อมแบบ'อชีวนะ' (abiotic) ของสิ่งมีชีวิตนั้น หัวข้อนักนิเวศวิทยามักสนใจจะรวมถึงความหลากหลายทางนิเวศวิทยา การกระจาย ปริมาณ (ชีวมวล) จำนวน (ประชากร) ของสิ่งมีชีวิต เช่นเดียวกับการแข่งขันระหว่างพวกมันภายในและระหว่างระบบนิเวศ ปฏิสัมพันธ์ที่เป็นองค์ประกอบของระบบนิเวศมีลักษณะเป็นไดนามิค ซึ่งประกอบไปด้วย สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศ ชุมชนของสิ่งมีชีวิตที่พวกมันสร้างขึ้น และองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตของสภาพแวดล้อมของสิ่งมีชีวิต กระบวนการในระบบนิเวศ (ecosystem process) เช่น การผลิตโดยผู้ผลิต (เช่น พืช สาหร่าย) การเกิดขึ้นของดิน (pedogenesis) วัฏจักรสารอาหาร และกิจกรรมการสร้างสภาวะที่เหมาะสม (niche construction) จะเป็นตัวกำหนดการไหลของพลังงานและสสารจากสถานะหนึ่งไปยังอีกสถานะหนึ่งในระบบนิเวศ กระบวนการเหล่านี้จะทำงานอย่างเป็นปกติโดยสิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทที่เฉพาะเจาะจงและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนั้น โดยความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) ที่หมายถึงความหลากหลายของสายพันธุ์ ของยีน และของระบบนิเวศ จะช่วยเพิ่มการบริการในระบบนิเวศ (ecosystem services) นิเวศวิทยาเป็นสาขาการศึกษาแบบสหวิทยาการที่รวมชีววิทยาและวิทยาศาสตร์โลก โดยคำว่า "ระบบนิเวศ" ("Ökologie") เกิดขึ้นในปี 1866 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน แอรนส์ แฮกเกล (Ernst Haeckel) (1834-1919) ความคิดเกี่ยวกับนิเวศวิทยาเป็นผลลัพธ์ที่เกิดจากความคิดในเชิงปรัชญา โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากจริยธรรมและการเมือง นักปรัชญากรีกโบราณเช่น Hippocrates และ อริสโตเติล ได้วางรากฐานของนิเวศวิทยาในการศึกษาเรื่อง 'ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ' (natural history) ของพวกเขา นิเวศวิทยาสมัยใหม่ถูกแปลงให้เป็น 'วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ' ที่เข้มงวดมากขึ้นในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 แนวคิดวิวัฒนาการในการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตและ 'การคัดเลือกโดยธรรมชาติ' กลายเป็นเสาหลักของ 'ทฤษฎีทางนิเวศวิทยาสมัยใหม่' คำว่านิเวศวิทยาเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับ 'ชีววิทยาวิวัฒนาการ' พันธุศาสตร์ และ พฤฒิกรรมของสัตว์ที่อาศัยอยู่ในธรรมชาติ (ethology) ความเข้าใจถึงกระบวนการที่ความหลากหลายทางชีวภาพจะสามารถส่งผลกระทบต่อการทำงานของระบบนิเวศเป็นหัวข้อที่สำคัญในการศึกษาระบบนิเวศ โดยนักนิเวศวิทยาพยายามที่จะอธิบายดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและนิเวศวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

น้ำอสุจิ

น้ำอสุจิ น้ำอสุจิ (Semen, seminal fluid) เป็นสารประกอบอินทรีย์เหลวที่อาจมีตัวอสุจิอยู่ ในภาษาบาลี อะ แปลว่าไม่ สุจิ หรือสุจี แปลว่าสะอาด น้ำอสุจิ จึงแปลว่า น้ำที่ไม่สะอาด เป็นน้ำที่หลั่งออกจากอวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์และจากอวัยวะทางเพศอื่น ๆ ของสัตว์เพศชาย และสามารถทำการผสมพันธุ์กับไข่ของเพศหญิงได้ ในมนุษย์ น้ำอสุจิมีองค์ประกอบอื่น ๆ นอกจากตัวอสุจิ คือมีเอนไซม์ต่าง ๆ และน้ำตาลประเภทฟรุกโทส ที่ช่วยเลี้ยงตัวอสุจิให้ดำรงรอดอยู่ได้ และเป็นสื่อเพื่อที่ตัวอสุจิจะเคลื่อนที่ หรือ "ว่ายน้ำ" ไปได้ น้ำอสุจิโดยมากเกิดจากต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ seminal vesicle ว่า "ถุงน้ำอสุจิ, ถุงพักน้ำอสุจิ" (หรือมีชื่ออื่นว่า ถุงน้ำอสุจิ, ถุงพักน้ำอสุจิ) ซึ่งเป็นอวัยวะอยู่ที่เชิงกราน แต่ว่าตัวอสุจิเองสร้างจากอัณฑะ ส่วนกระบวนการที่นำไปสู่การปล่อยน้ำอสุจิเรียกว่า การหลั่งน้ำอสุจิ ในมนุษย์ น้ำอสุจิเป็นของเหลวสีขาวข้นที่หลั่งออกโดยผู้ชาย เมื่อถึงจุดสุดยอด เมื่อมีเพศสัมพันธ์ เมื่อมีการสำเร็จความใคร่ หรือเมื่อขับออกตามธรรมชาติที่เรียกว่าฝันเปียก โดยจะมีการหลั่งน้ำอสุจิแต่ละครั้งประมาณ 3-4 ซีซี มีจำนวนตัวอสุจิเฉลี่ยประมาณ 300-500 ล้านตัว.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและน้ำอสุจิ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำปลา

น้ำปลา น้ำปลา เป็นเครื่องปรุงรสที่ได้จากการหมักปลา กับเกลือให้มีรสเค็มและกลิ่นชวนรับประทาน เป็นส่วนผสมสำคัญของแกงและน้ำจิ้มหลายชนิด น้ำปลาเป็นส่วนผสมสำคัญของอาหารในประเทศเวียดนาม, ไทย, ลาว, กัมพูชา และฟิลิปปินส์ และใช้ในอีกหลายประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นอกจากนี้น้ำปลายังใช้เป็นน้ำจิ้มในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ปลา, กุ้ง, หมู และไก่ ส่วนทางตอนใต้ของจีน จะใช้น้ำปลาเป็นส่วนผสมของน้ำซุปและอาหารตุ๋น ส่วนชาวแต้จิ๋วเรียกว่า "หื่อโหล่ว" (魚露) เป็นเคล็ดลับทำให้อาหารอร่อย เป็นหนึ่งใน "สามรัตนะของอาหารแต้จิ๋ว" อันประกอบด้วย น้ำปลา, หัวไชโป๊และเกี้ยมไฉ่ ขณะที่ภาษาฝรั่งเศสเรียกว่า "น็อกนัม" (Nuoc-mâm) โดยเรียกตามภาษาเวียดนาม ในประเทศไทย น้ำปลาเชื่อว่าเป็นนวัตกรรมที่ได้มาจากชาวแต้จิ๋วอพยพ หรือมาจากจีนตอนใต้ เข้ามาสู่ไทยในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 เมื่อปี..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและน้ำปลา · ดูเพิ่มเติม »

แบคทีเรียที่ตรึงไนโตรเจนได้

แหนแดง เซลล์ของ Azotobacter แบคทีเรียที่ตรึงไนโตรเจนได้ (Nitrogen fixing bacteria หรือ Diazotroph)เป็นแบคทีเรียหรืออาร์เคียที่ใช้ก๊าซไนโตรเจนเป็นแหล่งไนโตรเจนได้ โดยเปลี่ยนก๊าซไนโตรเจนให้กลายเป็นแอมโมเนี.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและแบคทีเรียที่ตรึงไนโตรเจนได้ · ดูเพิ่มเติม »

แฟมซิโคลเวียร์

แฟมซิโคลเวียร์ (Famciclovir) ฟแฟมซิโคลเวียร์ ฟแฟมซิโคลเวียร์ ฟแฟมซิโคลเวียร์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและแฟมซิโคลเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

แกนซิโคลเวียร์

แกนซิโคลเวียร์โซเดียม (Ganciclovir sodium) ชื่อการค้าคือ Cytovene® เป็น ยาต้านไวรัส ใช้รักษาและป้องกันโรคที่เกิดจาก ไซโตเมกะโลไวรัส (CMV).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและแกนซิโคลเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

แก๊สเรือนกระจก

ice core) ล่าง: ปริมาณสุทธิของคาร์บอนที่เพิ่มในบรรยากาศเปรียบเทียบกับคาร์บอนที่ปลดปล่อยจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (fossil fuel) แก๊สเรือนกระจก (greenhouse gas) หรือบางครั้งเรียกย่อๆว่า GHG คือแก๊สในบรรยากาศที่ดูดซับและปลดปล่อยรังสีภายในช่วงความถี่(คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า)อินฟราเรดร้อน (thermal infrared range) ทำให้เกิดการสูญเสียความร้อนบางส่วนออกสู่ห้วงอวกาศภายนอกและปลดปล่อยความร้อนกลับสู่พื้นผิวโลก ขบวนการนี้จึงเป็นสาเหตุพื้นฐานของปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse effect) แก๊สเรือนกระจกมีความจำเป็นและมีความสำคัญต่อการรักษาระดับอุณหภูมิของโลก หากปราศจากแก๊สเรือนกระจก โลกจะหนาวเย็นจนสิ่งมีชีวิตอยู่อาศัยไม่ได้ อุณหภูมิในโลกจะต่ำกว่าปัจจุบันที่ 14 °C (57 °F) ลงอีก 33 °C (59 °F) แต่การมีแก๊สเรือนกระจกมากเกินไปก็เป็นเหตุให้อุณหภูมิสูงขึ้นถึงระดับเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตดังที่เป็นอยู่กับบรรยากาศของดาวศุกร์ซึ่งมีบรรยากาศที่ประกอบด้วยคาร์บอนไดออกไซด์มากถึงร้อยละ 96.5 มีผลให้อุณหภูมิผิวพื้นร้อนมากถึง 467 °C (872 °F) คำว่า “แก๊สเรือนกระจก” บนโลกหมายถึงแก๊สต่างๆ เรียงตามลำดับความอุดมคือ ไอน้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์ โอโซน และ คลอโรฟลูโอโรคาร์บอน (Chlorofluorocarbon) แก๊สเรือนกระจกเกิดเองตามธรรมชาติและจากกระบวนการอุตสาหกรรมซึ่งปัจจุบันทำให้ระดับคาร์บอนไดออกไซด์มีในบรรยากาศ 380 ppmv และที่ปรากฏในแกนน้ำแข็งตัวอย่าง (ดูแผนภูมิ) จะเห็นว่าระดับของคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศปัจจุบันสูงกว่าระดับเมื่อก่อนยุคอุตสาหกรรมประมาณ 100 ppmv.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและแก๊สเรือนกระจก · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำแยงซี

้นทางแม่น้ำแยงซีในประเทศจีน แม่น้ำแยงซี, แยงซีเกียง (Yangtze river) หรือแม่น้ำฉางเจียง เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในทวีปเอเชีย และเป็นแม่น้ำที่ยาวเป็นอันดับที่ 3 ของโลก รองจากแม่น้ำไนล์ในทวีปแอฟริกาและแม่น้ำแอมะซอนในทวีปอเมริกาใต้ แม่น้ำแยงซียาว 6,300 กิโลเมตร ต้นน้ำอยู่ที่มณฑลชิงไห่และทิเบต ในทิศตะวันตกของสาธารณรัฐประชาชนจีน และไหลมาทางทิศตะวันออก ออกสู่ทะเลจีนตะวันออก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและแม่น้ำแยงซี · ดูเพิ่มเติม »

แลนทานัม

แลนทานัม (อังกฤษ:Lanthanum) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 57 และสัญลักษณ์คือ La แลนทานัมเป็นธาตุโลหะมีลักษณะเป็นสีเงินขาวอ่อนนุ่มยืดเป็นเส้นตีเป็นแผ่นได้และตัดได้ด้วยมีด แลนทานัมเป็นธาตุโลหะหนักที่ไวต่อปฏิกิริยาเคมีมากตัวหนึ่ง มันสามารถทำปฏิกิริยาได้โดยตรงกับธาต.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและแลนทานัม · ดูเพิ่มเติม »

แหนแดง

แหนแดง (อังกฤษ: Mosquito fern, Water fern) เป็นพืชน้ำเล็ก ๆ พวกเฟิร์นพบเจริญเติบโตอยู่บนผิวน้ำในที่มีน้ำขังในเขตร้อนและอบอุ่นทั่วไป.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและแหนแดง · ดูเพิ่มเติม »

แอมปรีนาเวียร์

แอมปรีนาเวียร์(Amprenavir) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและแอมปรีนาเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอมโมเนีย

แอมโมเนีย เป็น สารประกอบเคมี ที่ประกอบด้วยธาตุ ไนโตรเจน และ ไฮโดรเจน โดยมี สูตรเคมี ดังนี้ NH3.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและแอมโมเนีย · ดูเพิ่มเติม »

แอมโมเนียมคลอไรด์

ณสมบัติ ทั่วไป Sample of ammonium chlorideแอมโมเนียมคลอไรด์ กายภาพ เคมีความร้อน (Thermochemistry) ความปลอดภัย (Safety) SI units were used where possible.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและแอมโมเนียมคลอไรด์ · ดูเพิ่มเติม »

แอมโมเนียมซัลเฟต

ณสมบัติ ทั่วไป แอมโมเนียมซัลเฟตแอมโมเนียมซัลเฟต กายภาพ เคมีความร้อน (Thermochemistry) ความปลอดภัย (Safety) SI units were used where possible.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและแอมโมเนียมซัลเฟต · ดูเพิ่มเติม »

แอลคาลอยด์

isbn.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและแอลคาลอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนตาโซลีน

แอนตาโซลีน (Antazoline) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและแอนตาโซลีน · ดูเพิ่มเติม »

แถบลำดับหลัก

ไดอะแกรมของแฮร์ทสชปรุง-รัสเซลล์ ที่พล็อตความสว่างแท้จริง (หรือความส่องสว่างสัมบูรณ์) ของดาวฤกษ์เทียบกับดัชนีสี แถบลำดับหลักจะมองเห็นเป็นแถบขวางโดดเด่นวิ่งจากด้านบนซ้ายลงไปยังด้านล่างขวา แถบลำดับหลัก (Main sequence) คือชื่อเรียกแถบต่อเนื่องและมีลักษณะพิเศษที่ปรากฏอยู่บนแผนภาพคู่ลำดับระหว่างสีของดาวฤกษ์กับความสว่าง แผนภาพคู่ลำดับสี-ความสว่างนี้รู้จักกันทั่วไปในชื่อ ไดอะแกรมของแฮร์ทสชปรุง-รัสเซลล์ หรือ HR Diagram ซึ่งเป็นผลการศึกษาร่วมกันระหว่างเอจนาร์ แฮร์ทสชปรุง กับเฮนรี นอร์ริส รัสเซลล์ ดาวที่อยู่บนแถบนี้จะรู้จักกันว่า ดาวบนแถบลำดับหลัก หรือดาวฤกษ์แคระ หลังจากที่ดาวฤกษ์ก่อตัวขึ้นแล้ว มันจะสร้างพลังงานออกมาจากย่านใจกลางอันหนาแน่นและร้อนจัดโดยปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันของอะตอมไฮโดรเจนไปเป็นฮีเลียม ระหว่างที่กระบวนการนี้ดำเนินไปในช่วงอายุของดาว จะสามารถระบุตำแหน่งบนแถบลำดับหลักได้โดยใช้มวลของดาวเป็นข้อมูลเบื้องต้น ประกอบกับข้อมูลองค์ประกอบทางเคมีและปัจจัยอื่น ๆ อีก โดยทั่วไปยิ่งดาวฤกษ์มีมวลมากก็จะยิ่งมีช่วงอายุบนแถบลำดับหลักสั้นยิ่งขึ้น หลังจากเชื้อเพลิงไฮโดรเจนที่แกนกลางถูกใช้จนหมดไป ดาวฤกษ์ก็จะเคลื่อนออกไปจากแถบลำดับหลัก บางคราวอาจพิจารณาแถบลำดับหลักออกเป็นแถบบนและแถบล่าง ขึ้นกับกระบวนการที่ดาวฤกษ์ใช้ในการสร้างพลังงาน ดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อยกว่า 1.5 เท่าของมวลดวงอาทิตย์จะหลอมอะตอมไฮโดรเจนเข้าด้วยกันพร้อมกับกระบวนการสร้างฮีเลียม กระบวนการนี้เรียกว่า ปฏิกิริยาลูกโซ่โปรตอน-โปรตอน ถ้าดาวฤกษ์มีมวลมากกว่านี้ ก็จะอยู่ในแถบลำดับหลักบน นิวเคลียร์ฟิวชันจะใช้อะตอมของคาร์บอน ไนโตรเจน และออกซิเจนเป็นสื่อกลางในการผลิตฮีเลียมจากอะตอมไฮโดรเจน เนื่องจากอุณหภูมิของดาวฤกษ์ที่แกนกลางกับที่พื้นผิวดาวนั้นมีความเหลื่อมล้ำกันอยู่ จึงมีการส่งผ่านพลังงานขึ้นมาอย่างต่อเนื่องผ่านชั้นดาวจนกระทั่งมันแผ่รังสีออกไปจากบรรยากาศของดาว กลไกสองประการที่ใช้ในการส่งผ่านพลังงานเหล่านี้คือ การแผ่รังสี และการพาความร้อน ในประเภทที่ขึ้นกับเงื่อนไขเฉพาะของดาวแต่ละดวง การพาความร้อนจะเกิดขึ้นในบริเวณที่อุณหภูมิมีความแตกต่างกันอย่างมาก หรือเป็นพื้นที่อับแสง หรือทั้งสองอย่าง เมื่อมีการพาความร้อนเกิดขึ้นในแกนกลาง มันจะกระตุ้นเศษเถ้าฮีเลียมขึ้น เป็นการรักษาระดับสัดส่วนของเชื้อเพลิงที่จะนำไปใช้ในปฏิกิริยาฟิวชัน หมวดหมู่:ดาวฤกษ์แถบลำดับหลัก หมวดหมู่:ประเภทของดาวฤกษ์ หมวดหมู่:วิวัฒนาการของดาวฤกษ์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและแถบลำดับหลัก · ดูเพิ่มเติม »

แดเนียล รัทเทอร์ฟอร์ด

แดเนียล รัทเทอร์ฟอร์ด (Daniel Rutherford; 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1749 – 15 ธันวาคม ค.ศ. 1819) เป็นแพทย์ นักเคมีและนักพฤกษศาสตร์ชาวสกอตแลนด์ เกิดที่เมืองเอดินบะระ เป็นบุตรของศาสตราจารย์จอห์น รัทเทอร์ฟอร์ดและแอนน์ แมคเคย์ เรียนที่โรงเรียนมันเดลส์และมหาวิทยาลัยเอดินบะระ ที่นั่นรัทเทอร์ฟอร์ดได้เรียนกับโจเซฟ แบล็ก ซึ่งกำลังศึกษาคุณสมบัติของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ รัทเทอร์ฟอร์ดและแบล็กร่วมกันทดลองนำหนูมาขังในพื้นที่ปิดจนเสียชีวิตและจุดเทียน จนพบว่าที่หนูเสียชีวิตและเทียนดับเกิดจากก๊าซชนิดหนึ่งซึ่งไม่ติดไฟและใช้หายใจไม่ได้ รัทเทอร์ฟอร์ดเรียกก๊าซชนิดนี้ว่า "noxious air" หรือ "phlogisticated air" เขารายงานผลการทดลองนี้ในปี..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและแดเนียล รัทเทอร์ฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

โบรมาซีน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโบรมาซีน · ดูเพิ่มเติม »

โบรดิโมพริม

โบรดิโมพริม (brodimoprim) หมวดหมู่:ซัลฟา.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโบรดิโมพริม · ดูเพิ่มเติม »

โฟมิเวียร์เซน

โฟมิเวียร์เซน (Fomivirsen) ฟโฟมิเวียร์เซน ฟโฟมิเวียร์เซน ฟโฟมิเวียร์เซน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโฟมิเวียร์เซน · ดูเพิ่มเติม »

โพรพิซิลลิน

โพรพิซิลลิน (Propicillin) หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโพรพิซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

โพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน

ีเอเอชที่พบทั่วไปตามเข็มนาฬิกาจากบนลงล่าง: เบนอีอะซีฟีแนนไทรลีน, ไพรีน และ ไดเบนเอเอชแอนทราซีน pages.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน · ดูเพิ่มเติม »

โมโนโซเดียมกลูตาเมต

มโนโซเดียมกลูตาเมต (monosodium glutamate) มักเรียกกันว่า ผงชูรส วัตถุเจือปนอาหารประเภทวัตถุปรุงแต่งรสอาหารที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย โมโนโซเดียมกลูตาเมตมีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาวไม่มีกลิ่น มีคุณสมบัติในการเป็นสารเพิ่มรสชาติอาหาร ทำให้อาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น เนื่องจากเมื่อโมโนโซเดียมกลูตาเมตละลายน้ำ จะแตกตัวได้โซเดียมและกลูตาเมตอิสระที่มีสมบัติในการเพิ่มรสชาติอาหาร โดยช่วยเพิ่มรสชาติของรสชาติพื้นฐาน 4 รสที่เรารู้จักกันดีคือ รสหวาน รสเค็ม รสเปรี้ยว และรสขม ให้เด่นชัดมากขึ้น ในการศึกษาทางเภสัชวิทยาเกี่ยวกับรสชาติพบว่าผงชูรสสามารถกระตุ้น Glutamate Receptor แล้วทำให้เกิดรสชาติเฉพาะตัวที่เรียกว่ารสอูมามิ (Umami) ซึ่งเป็นรสที่ 5 ที่มนุษย์สามารถรับรู้ได้และมีเอกลักษณ์แตกต่างจากรสชาติพื้นฐานทั้ง 4 โมโนโซเดียมกลูตาเมตเป็นสารประกอบประเภทกลูตาเมตซึ่งเป็นเกลือของ กรดกลูตามิก (Glutamic acid) อันเป็นกรดอะมิโนชนิดหนึ่งที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของโปรตีนทั่วไป เช่น โปรตีนในเนื้อสัตว์ โปรตีนในนม และโปรตีนในพืช โดยกลูตาเมตจะจับอยู่กับกรดอะมิโนตัวอื่นๆ เกิดเป็นโครงสร้างของโปรตีน กลูตาเมตที่อยู่ในรูปของโปรตีนจะไม่มีกลิ่นรสและไม่มีคุณสมบัติทำให้เกิดรสอูมามิในอาหาร แต่เมื่อเกิดการย่อยสลายของโปรตีน เช่น เกิดกระบวนการหมัก การบ่ม การสุกงอมของผักและผลไม้ การทำให้สุกด้วยความร้อน จะทำให้กลูตาเมตในโปรตีนเกิดการสลายแยกตัวออกมาเป็นกลูตาเมตอิสระ ซึ่งเป็นตัวที่ทำให้เกิดรสอูมามิในอาหาร นอกจากนี้ ยังได้มีการค้นพบว่าสารที่เกิดจากการย่อยสลายไรโบนิวคลีโอไทด์ในนิวเคลียสของเซลล์สิ่งมีชีวิตซึ่งได้แก่ ไอโนซิเนต(Inosinate) และกัวไนเลต(Guanylate)ก็มีคุณสมบัติให้รสอูมามิเช่นเดียวกับกลูตาเมตอิสระ ยิ่งไปกว่านั้นยังพบว่าไอโนซิเนตและกัวไนเลตมีคุณสมบัติในการเสริมรสอูมามิให้เด่นชัดมากขึ้นเมื่อใช้ร่วมกับกลูตาเมต โดยผลการเสริมกันนี้มีลักษณะแบบ Synergistic Effect.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโมโนโซเดียมกลูตาเมต · ดูเพิ่มเติม »

โมเลกุลชีวภาพ

รงสร้างสามมิติของไมโอโกลบิน แสดงเกลียวแอลฟาที่เน้นสี โปรตีนนี้เป็นตัวแรกที่โครงสร้างได้รับการอธิบายโดยผลิกศาสตร์รังสีเอ็กซ์ (X-ray crystallography) โดย Max Perutz และ John Kendrew ใน ค.ศ. 1958 เป็นผลงานที่ทำให้ทั้งสองได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี โมเลกุลชีวภาพ หรือ ชีวโมเลกุล (biomolecule) หมายถึง โมเลกุลใด ๆ ที่สิ่งมีชีวิตสังเคราะห์ขึ้น รวมทั้ง มหโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น โปรตีน พอลิแซคคาไรด์ ลิพิด และกรดนิวคลีอิก และโมเลกุลขนาดเล็ก เช่น เมทาบอไลต์ (metabolite) จัดเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย มีโมเลกุลตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่มาก มีธาตุไฮโดรเจนและคาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลักแต่ละชนิดมีโครงสร้าง สมบัติและปฏิกิริยาที่ต่างกัน ทำให้มีหน้าทีและประโยชน์ต่อร่างกายแตกต่างกันไป.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโมเลกุลชีวภาพ · ดูเพิ่มเติม »

โรกิตามัยซิน

โรกิตามัยซิน (Rokitamycin) หมวดหมู่:แมกโครไลด์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโรกิตามัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

โรลิเตตราไซคลีน

โรลิเตตร้าซัยคลิน (Rolitetracycline) หมวดหมู่:เตตราไซคลีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโรลิเตตราไซคลีน · ดูเพิ่มเติม »

โรคลดความกด

รคลดความกด หรือ โรคเคซอง หรือ โรคน้ำหีบ หรือ โรคน้ำหนีบ หรือ ความเมาความกดอากาศ (Decompression sickness หรือ DCS หรือเรียกเป็นภาษาพื้นบ้านว่า divers' disease, the bends หรือ caisson disease) เป็นโรคที่เกิดจากการเกิดฟองก๊าซในเลือดหรือในเนื้อเยื่อ มักเกิดจากการดำน้ำและมีการลอยตัวขึ้นเร็ว ก๊าซไนโตรเจนอยู่ในภาวะเกินความอิ่มตัวเมื่อความดันอากาศลดลง กลายสภาพเป็นฟองอากาศ ซึ่งสามารถเกิดได้กับทุกส่วนของร่างกายทั้งส่วนที่เป็นของแข็งหรือของเหลว เช่น เกิดฟองอากาศที่กล้ามเนื้อข้อต่อจะมีอาการปวด ถ้าเข้าสู่กระแสเลือดไปอุดเส้นเลือดที่ไขสันหลังหรือสมองจะทำให้สลบ หรือเป็นอัมพาต.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโรคลดความกด · ดูเพิ่มเติม »

โรซอกซาซิน

โรซอกซาซิน (Rosoxacin) รโซอกซาซิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโรซอกซาซิน · ดูเพิ่มเติม »

โลก (ดาวเคราะห์)

ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโลก (ดาวเคราะห์) · ดูเพิ่มเติม »

โลมิฟลอกซาซิน

ลมิฟลอกซาซิน (Lomefloxacin).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโลมิฟลอกซาซิน · ดูเพิ่มเติม »

โลปินาเวียร์

โลปินาเวียร์ (Lopinavir) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโลปินาเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

โอลีแอนโดมัยซิน

โอลีแอนโดมัยซิน (Oleandomycin) หมวดหมู่:แมกโครไลด์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโอลีแอนโดมัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

โอโซเมมาซีน

โอโซเมมาซีน (Oxomemazine) หมวดหมู่:เอมีน หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโอโซเมมาซีน · ดูเพิ่มเติม »

โจซามัยซิน

โจซามัยซิน (Josamycin) หมวดหมู่:แมกโครไลด์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโจซามัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

โทรลีแอนโดมัยซิน

โทรลีแอนโดมัยซิน (Troleandomycin) เป็นยาปฏิชีวนะประเภทแมคโคไรด์ หมวดหมู่:แมกโครไลด์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโทรลีแอนโดมัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

โทรวาฟลอกซาซิน

โทรวาฟลอกซาซิน (Trovafloxacin) หมวดหมู่:ควิโนโลน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโทรวาฟลอกซาซิน · ดูเพิ่มเติม »

โคลมีโตซิลลิน

โคลมีโตซิลลิน (Clometocillin) หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโคลมีโตซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

โคดีอีน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโคดีอีน · ดูเพิ่มเติม »

โปรเมทาซีน

ปรเมทาซีน (Promethazine).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโปรเมทาซีน · ดูเพิ่มเติม »

โปรเคนเบนซิลเพนิซิลลิน

โปรเคนเบนซิลเพนิซิลลิน (Procaine benzylpenicillin หรือ Penicillin G Procaine USAN) หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและโปรเคนเบนซิลเพนิซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

ไพรอกซิแคม

รอกซิแคม (Piroxicam ใน USA มีชื่อทางการว่า Feldene) เป็นยาประเภท เอ็นเซด (nonsteroidal anti-inflammatory drug-NSAID) ใช้บรรเทาอาการ ข้ออักเสบ อาการปวดระดู ตัวร้อน และเป็น ยาบรรเทาปวด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่มีการ อักเสบ มันถูกใช้เป็น ยาสัตว์ รักษา เนื้องอก เช่นเนื้องอกที่ กระเพาะปัสสาวะ ลำไส้ใหญ่ และ มะเร็ง ต่อมลูกหมาก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไพรอกซิแคม · ดูเพิ่มเติม »

ไพแวมพิซิลลิน

ไพแวมพิซิลลิน (Pivampicillin) พไพแวมพิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไพแวมพิซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

ไพโรโฟริก

ลูโทเนียมติดไฟที่ดูเหมือนถ่านที่ยังคุอยู่ภายใต้สภาวะที่มีเงื่อนไขบางอย่าง วัสดุไพโรโฟริก (pyrophoric มากจากภาษากรีก πυροφορος, purophoros, "เกิดติดไฟ") เป็นวัสดุที่เกิดการลุกไหม้เองได้ ที่อุณหภูมิลุกไหม้เองต่ำกว่าอุณหภูมิห้อง เช่น ไอออน (II) ซัลไฟด์และโลหะหลายชนิดที่ทำปฏิกิริยากับสารอื่น รวมถึงยูเรเนียมด้วยเมื่อนำมาทำให้เป็นผงหรือแผ่นบางๆ วัสดุไพโรโฟริกเหล่านี้มักทำปฏิกิริยากับน้ำ และจะติดไฟได้เองเมื่อสัมผัสกับน้ำหรืออากาศชื้น วัสดุเหล่านั้นสามารถควบคุมความปลอดภัยได้โดยเก็บไว้ในอาร์กอนหรือไนโตรเจน วัสดุไพโรโฟริกส่วนมากสามารถดับได้ด้วยเครื่องดับเพลิงแบบ ดี ซึ่งใช้สำหรับดับโลหะติดไฟ.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไพโรโฟริก · ดูเพิ่มเติม »

ไพเมตไทซีน

ไพเมตไทซีน (Pimethixene) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไพเมตไทซีน · ดูเพิ่มเติม »

ไกลโคสะมิโนไกลแคน

อนดรอยตินซัลเฟต ไฮยาลูโรแนน (-4GlcUA''β''1-3GlcNAc''β''1-) n ไกลโคสะมิโนไกลแคน (glycosaminoglycan; GAG) หรือ มิวโคโพลีแซ็กคาไรด์ (mucopolysaccharide) เป็นโพลีแซ็กคาไรด์สายยาวไม่แตกแขนงซึ่งประกอบด้วยหน่วยไดแซ็กคาไรด์ซ้ำๆ หลายหน่วย ซึ่งหน่วยที่ซ้ำประกอบจากน้ำตาลเฮกโซส (หรือน้ำตาลที่มีคาร์บอน 6 อะตอม) หรือกรดเฮกซูโรนิก เชื่อมกับเฮกโซซามีน (น้ำตาลที่มีคาร์บอน 6 อะตอมที่มีส่วนประกอบของไนโตรเจน).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไกลโคสะมิโนไกลแคน · ดูเพิ่มเติม »

ไมดีกามัยซิน

ไมดีกามัยซิน (Midecamycin) หมวดหมู่:แมกโครไลด์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไมดีกามัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

ไมโอกามัยซิน

ไมโอกามัยซิน (Miocamycin) หมวดหมู่:แมกโครไลด์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไมโอกามัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

ไมโซลาสทีน

ไมโซลาสทีน (Mizolastine) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไมโซลาสทีน · ดูเพิ่มเติม »

ไรบาวิริน

รบาวิริน (อังกฤษ:Ribavirin) เป็นยาต้านไวรัส ที่มีผลต่อไวรัสชนิด DNA และ RNA ไรบาวิรินเป็นยาแอนตี้เมตทาโบไลต์ของนิวคลิโอไซด์ (nucleoside) ที่ฤทธิ์แทรกแซงการสำเนารหัสพันธุกรรมของไวรัส ยาตัวนี้มีชื่อทางการค้าดังนี้.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไรบาวิริน · ดูเพิ่มเติม »

ไรแมนตาดีน

ไรแมนตาดีน(Rimantadine) หมวดหมู่:เอมีน หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไรแมนตาดีน · ดูเพิ่มเติม »

ไรโซสเฟียร์

รโซสเฟียร์ (Rhizosphere) หมายถึงดินที่เกาะอยู่ตามบริเวณรอบรากพืชหลังจากเขย่าดินที่เกาะอยู่หลวมๆออกไปแล้ว ขนาดของไรโซสเฟียร์ขึ้นกับขนาดของราก พืชที่มีระบบรากฝอยจะมีพื้นที่ผิวมากกว่าระบบรากแก้วบริเวณไรโซสเฟียร์เป็นที่อยู่อาศัยของจุลินทรีย์ และมีการพึ่งพาอาศัยระหว่างรากพืชกับจุลินทรีย์ บริเวณพื้นผิวของรากพืชเรียกว่าไรโซแพลน (Rhizoplane) ความสัมพันธ์ระหว่างรากพืชกับจุลินทรีย์อีกแบบหนึ่งเรียกว่าไรโซชีท (Rhizosheath)เป็นชั้นหนาของดินที่เกาะกับรากพืชเป็นท่อ ยึดเกกาะกันด้วยสารคล้ายเมือกที่รากพืชหลั่งออกมา ส่วนใหญ่พบในหญ้าทะเลทราย เป็นการปรับตัวของรากพืชเพื่อเพิ่มความชื้น เพิ่มความสัมพันธ์ระหว่างรากกับจุลินทรีย์และเพิ่มการตรึงไนโตรเจน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไรโซสเฟียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไรโซเบียม

รโซเบียม (Rhizobium) เป็นจีนัสของแบคทีเรียที่อยู่ในปมรากของพืชตระกูลถั่ว มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงตลอดวงชีวิต แหล่งพลังงานของไรโซเบียมได้แก่ มอลโตส ซูโครส กลูโคสและแมนนิทอลแต่ไม่สามารถใช้เซลลูโลส แป้งและเพกตินเป็นแหล่งพลังงานได้ สมศักดิ์ วังใน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไรโซเบียม · ดูเพิ่มเติม »

ไลนิโซลิด

ลนิโซลิด (Linezolid) เป็นยาปฏิชีวนะชนิดหนึ่งที่ใช้ในการรักษาโรคติดเชื้อที่มีสาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรียกรัมบวกที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะชนิดอื่น ไลนิโซลิดสามารถออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียกรัมบวกได้เกือบทุกสายพันธ์ุ รวมถึงเชื้อแบคทีเรียในสกุลสเตรปโตคอกคัส (Streptococcus), สกุลเอนเทอโรคอคคัสที่ดื้อต่อยาแวนโคมัยซิน (Vancomycin-resistant Enterococcus; VRE), และเชื้อสแตปฟิโลคอคคัส ออเรียสที่ดื้อต่อยาเมทิซิลลิน (Methicillin-resistant Staphylococcus aureus; MRSA) ส่วนมากแล้วมักใช้ยานี้ในการรักษาโรคติดเชื้อดังข้างต้นบริเวณผิวหนังและในปอด อย่างไรก็ตาม ยานี้อาจถูกใช้ในโรคติดเชื้อแบคทีเรียอื่นได้เช่นกัน เช่น วัณโรคที่ดื้อต่อยารักษาวัณโรคสูตรปกติ โดยยานี้สามารถบริหารยาได้ทั้งการฉีดเข้าหลอดเลือดดำ (intravenous) และการรับประทาน การใช้ยาไลนิโซลิดในระยะเวลาสั้นนั้นมีความปลอดภัยค่อนข้างสูง ทั้งในกลุ่มผู้ป่วยปกติ และผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรัง หรือโรคตับอักเสบ อาการไม่พึงประสงค์ทั่วไปที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่ได้รับยานี้ในช่วงสั้น ได้แก่ ปวดศีรษะ, ท้องเสีย, ผื่น, และอาเจียน ส่วนอาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรงที่อาจเกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยบางราย ได้แก่ กลุ่มอาการเซโรโทนิน (Serotonin syndrome), การกดไขกระดูก (Bone marrow suppression) และภาวะเลือดเป็นกรดแล็กติก (lactic acidosis) โดยความเสี่ยงต่อการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรงจะเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยยะเมื่อใช้ยาไลนิโซลิดต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลานานมากกว่า 2 สัปดาห์ ในบางครั้งการใช้ยานี้ต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานอาจทำให้เกิดการทำลายเส้นประสาทส่วนปลายจนไม่สามารถฟื้นฟูกลับคืนสภาพเดิมได้ ซึ่งรวมถึงการทำลายเส้นประสาทที่ควบคุมการทำงานของการมองเห็นด้วย ไลนิโซลิดเป็นยาปฏิชีวนะอีกชนิดหนึ่งในยากลุ่มออกซาโซลิโดน (Oxazolidone) เนื่องจากยาดังกล่าวมีคุณสมบัติในการยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย ทำให้ยาดังกล่าวสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตและฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าในปัจจุบันจะมีนาปฏิชีวนะหลายชนิดที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้างโปรตีนของเชื้อแบคทีเรียได้เหมือนกับไลนิโซลิด แต่โดยแท้จริงแล้ว ไลนิโซลิดนั้นมีกลไกการออกฤทธิ์ที่แตกต่างไปจากยาปฏิชีวนะชนิดอื่น กล่าวคือ ยาดังกล่าวจะไปออกฤทธิ์ยับยั้งขั้นตอนแรกในการสร้างโปรตีน ในขณะที่ยาปฏิชีวนะอื่นนั้นจะออกฤทธิ์ในขั้นตอนที่เป็นลำดับถัดมา ด้วยกลไกการออกฤทธิ์ที่แตกต่างจากยาปฏิชีวนะชนิดอื่นนี้ ทำให้อุบัติการณ์การดื้อต่อยาไลนิโซลิดของเชื้อแบคทีเรียในปัจจุบันยังอยู่ในระดับที่ค่อนข้างต่ำ (ข้อมูล ปี ค.ศ. 2014) ไลนิโซลิดถูกค้นพบในช่วงกลางทศวรรต 1990 และได้รับการรับรองให้มีการผลิตเชิงการค้าในปี..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไลนิโซลิด · ดูเพิ่มเติม »

ไลโซโซม

ลโซโซม ทำหน้าที่เป็นผู้ขนส่งเอนไซม์ที่ใช้ในการย่อยสลายโปรตีน ไขมัน และคาร์โบไฮเดรต มีลักษณะเป็นถุง มีเยื่อหุ้มชั้นเดียว พบในเซลล์สัตว์และพืชบางชนิด และเม็ดเลือดขาว เซลล์พืชบางชนิด เช่น กาบหอยแครง หม้อข้าวหม้อแกงลิงเป็นพืชที่ขาดสารอาหารบางชนิด เช่น N (ไนโตรเจน) จึงใช้ไลโซโซมในการย่อยแมลง.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไลโซโซม · ดูเพิ่มเติม »

ไวดาราบีน

ไวดาราบีน (Vidarabine) เป็น ยาต้านไวรัสที่มีฤทธิ์รักษา โรคเริม (herpes simplex) และ โรคงูสวัด (varicella zoster viruses) วไวดาราบีน วไวดาราบีน วไวดาราบีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไวดาราบีน · ดูเพิ่มเติม »

ไอดอกซูริดีน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไอดอกซูริดีน · ดูเพิ่มเติม »

ไอโซไทเพนดิล

ไอโซไทเพนดิล (Isothipendyl) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไอโซไทเพนดิล · ดูเพิ่มเติม »

ไฮดรอกซีเอทิลโปรเมทาซีน

ไฮดรอกซีเอทิลโปรเมทาซีน (Hydroxyethylpromethazine) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน หมวดหมู่:แอลกอฮอล์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไฮดรอกซีเอทิลโปรเมทาซีน · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรมอร์โฟน

รมอร์โฟน (Hydromorphone) เป็นยาที่ใช้รักษาอาการปวดระดับปานกลางถึงขั้นรุนแรง ไฮโดรมอร์โฟนมีชื่อทางการค้าว่า Dilaudid® และ Palladone® มันจัดอยู่ในกลุ่มของยาตัวทำการโอปิออยด์ โดยทั่วไปมักใช้ในคนไข้หลังผ่าตัด หรือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บสาหัส ช่องทางการให้ยาคือ ฉีดเข้าเส้น ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ เหน็บทางทวารหนัก หรือรับประทาน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไฮโดรมอร์โฟน · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรโคโดน

รโคโดน (Hydrocodone หรือ dihydrocodeinone มีชื่อทางการค้าว่า Vicodin Anexsia Dicodid Hycodan Hycomine Lorcet Lortab Norco Tussionex Vicoprofen) เป็นสารประกอบในกลุ่มโอปิออยด์ ได้จากธรรมชาติโดยการสกัดจากโอปิแอต โคดีอีน หรือทีบาอีน ไฮโดรโคโดนเป็นยาชนิดรับประทานที่มีฤทธิ์เสพติด บรรเทาปวด และแก้ไอ ปริมาณยาที่ใช้ในการรักษา 5-10 มก. มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาเทียบเท่ากับ 30 - 60 มก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไฮโดรโคโดน · ดูเพิ่มเติม »

ไธเอธิลเปอราซีน

ไธเอธิลเปอราซีน (Thiethylperazine) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไธเอธิลเปอราซีน · ดูเพิ่มเติม »

ไทรทัน (ดาวบริวาร)

ทรทัน ไทรทัน (Triton) เป็นดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดของดาวเนปจูน เป็นสถานที่เพียงหนึ่งในสามแห่งในระบบสุริยะ ที่มีก๊าซไนโตรเจนในบรรยากาศ นอกเหนือจากโลก และดาวบริวารไททัน (Titan Moon) ของดาวเสาร์ ไทรทันมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2,707 ก.ม. มีอุณหภูมิพื้นผิวประมาณ -235 องศาเซลเซียส (35 เคลวิน) สภาพภูมิประเทศเป็นหุบเหวและร่องลึกมากมาย เนื่องจากอุณหภูมิที่ต่ำทำให้เกิดน้ำแข็ง และน้ำแข็งละลายกลับไปกลับมาซ้ำแล้วซ้ำเล่า นอกจากนั้นยังมีภูเขาไฟน้ำแข็ง (Ice Valcanoes) ที่พ่นน้ำพุแรงดันสูง ประกอบด้วยไนโตรเจนเหลว มีเทนแข็ง และฝุ่นที่เย็นจัดขึ้นไปกว่า 8 กิโลเมตร เหนือพื้นผิวของดาวบริวาร ลักษณะพื้นผิวดาวบริวารจะแวววาวจากหินแข็ง โดยมีส่วนผสมด้วยละอองอนุภาคสีดำขนาดเล็ก ถูกหุ้มด้วยผลึกน้ำแข็ง (เกิดจาก Ice carbonaceous) มีส่วนประกอบของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจน และก๊าซมีเทน ฟุ้งกระจายเป็นหมอกบางๆ เหนือพื้น โดยมีน้ำแข็งทั้งหมดประมาณ 25% ไทรทันเป็นวัตถุแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Object) มีถิ่นกำเนิดอยู่บริเวณขอบของระบบสุริยะ เลยวงโคจรของดาวพลูโต ออกไปและถูกดาวเนปจูนดูดจับเข้ามาเป็นบริวาร รูปทรงสัณฐานของไทรทันที่สังเกตเห็น จะมีแนวเฉดฟ้าอ่อนจาก Nitrogen ice เช่นเดียวกับไอของน้ำแข็งแห้ง.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไทรทัน (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

ไททัน (ดาวบริวาร)

ไททัน (Titan) คือ ดาวบริวารที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของดาวเสาร์ มีระยะห่างจากดาวเสาร์เป็นลำดับที่ 20 เป็นดาวบริวารดวงเดียวที่เป็นที่ทราบกันว่ามีชั้นบรรยากาศที่หนาแน่น และเป็นวัตถุเพียงชนิดเดียวนอกจากโลกที่มีการค้นพบว่ามีร่องรอยของน้ำอยู่บนดาว ไททันมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่าดาวบริวารของโลกประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ และมีมวลมากกว่าประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ เป็นดาวบริวารที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ในระบบสุริยะ รองจากดาวบริวารแกนีมีดของดาวพฤหัสบดี และมีขนาดใหญ่กว่าดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดซึ่งคือ ดาวพุธ (ถึงแม้ว่าจะมีมวลน้อยกว่าเพียงครึ่งเดียวก็ตาม) ผู้คนได้รู้ว่าไททันเป็นดาวบริวารดวงแรกของดาวเสาร์ หลังจากที่ถูกค้นพบเมื่อปี พ.ศ. 2198 (ค.ศ. 1655) โดยคริสตียาน เฮยเคินส์ (Christiaan Huygens) นักดาราศาสตร์ชาวดัตช์ ไททันประกอบด้วยน้ำ น้ำแข็ง และหินเป็นหลัก ด้วยความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศของไททัน ทำให้เราไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับพื้นผิวของมันมากนัก จนกระทั่งยานอวกาศ "กัสซีนี-เฮยเคินส์" (Cassini–Huygens) ได้เดินทางไปถึงในปี พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) รวมถึงการค้นพบทะเลสาบไฮโดรคาร์บอนเหลว บริเวณขั้วของดาวโดยดาวเทียม ลักษณะของพื้นผิวนั้น ทางธรณีวิทยาถือว่ายังค่อนข้างใหม่ ถึงแม้ว่าจะประกอบด้วยภูเขาและภูเขาไฟน้ำแข็ง (cryovolcano) ก็ตาม ชั้นบรรยากาศของไททันประกอบด้วยไนโตรเจนเป็นส่วนใหญ่ สภาพอากาศจะมีเมฆมีเทนและอีเทน ลมและฝน ซึ่งทำให้เกิดสภาพพื้นผิวที่มีลักษณะคล้ายกับโลกของเรา เช่น ทะเลทราย และแนวชายฝั่ง หมวดหมู่:ดาวบริวารของดาวเสาร์ หมวดหมู่:วัตถุทางดาราศาสตร์ที่ค้นพบในปี พ.ศ. 2198.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไททัน (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

ไทคาร์ซิลลิน

ไทคาร์ซิลลิน (Ticarcillin) หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไทคาร์ซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

ไทแอมเฟนิคอล

ไทแอมฟีนิคอล (Thiamphenicol) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาปฏิชีวนะ.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไทแอมเฟนิคอล · ดูเพิ่มเติม »

ไทโอยูเรีย

ทโอยูเรีย (Thiourea; สูตรโครงสร้าง: SC(NH2)2) เป็นสารอินทรีย์ที่มีกำมะถันหรือออร์กาโนซัลเฟอร์ชนิดหนึ่ง โครงสร้างคล้ายกับยูเรีย ยกเว้นออกซิเจนอะตอมหนึ่งของยูเรียถูกแทนที่ด้วยกำมะถัน การออกฤทธิ์ของสารทั้งสองต่างกันมาก โดยไทโอยูเรียจะใช้เป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์สารเคมี ไทโอยูเรียมักจะหมายถึงกลุ่มของสารเคมีที่มีโครงสร้างทั่วไปเป็น (R1R2N)(R3R4N)C.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไทโอยูเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ไดดาโนซีน

ไดดาโนซีน (Didanosine) หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไดดาโนซีน · ดูเพิ่มเติม »

ไดคลอกซาซิลลิน

ไดคลอกซาซิลลิน (Dicloxacillin) เป็นยาที่ใช้ฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของโรคติดเชื้อต่าง ๆ ได้แก่ โรคติดเชื้อบริเวณทางเดินหายใจส่วนบน (เช่น โรคหลอดลมอักเสบ โรคคอหอยอักเสบ) โรคติดเชื้อบริเวณทางเดินหายใจส่วนล่าง (เช่น โรคปอดอักเสบ) และโรคติดเชื้อบริเวณผิวหนังและเนื้อเยื่ออ่อน หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไดคลอกซาซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

ไดโคลฟีแนค

ลฟีแนค (Diclofenac) เป็นยาประเภท เอ็นเซด (NSAID) มีฤทธิ์ลด การอักเสบ ในโรค ข้ออักเสบ (arthritis) หรือ การบาดเจ็บ ชนิดเฉียบพลัน และสามารถใช้ลดอาการปวด ประจำเดือน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไดโคลฟีแนค · ดูเพิ่มเติม »

ไดไฮโดรโคดีอีน

รโคดีอีน (Dihydrocodeine; ชื่อย่อ: DHC หรือ DF-118) เป็นยาบรรเทาปวดสังเคราะห์กลุ่มโอปิออยด์ ใช้แก้ปวดหลังการผ่าตัด อาการหายใจลำบาก หรือเป็นยาแก้ไอ ถูกพัฒนาขึ้นมาในช่วงต้นปี..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไดไฮโดรโคดีอีน · ดูเพิ่มเติม »

ไดไนโตรเจน เทโตรไซด์

นโตรเจน เทโตรไซด์ หรือ ไนโตรเจน เทโตรไซด์ เป็นสารประกอบโดยมีสูตรเคมีว่า N2O4 สารตัวนี้เป็นสารที่มีประโยชน์ในการสังเคราะห์สารเคมี มันเป็นส่วนผสมที่สมดุลกับก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ไดไนโตรเจน เทโตรไซด์ เป็นออกซิไดเซอร์ที่มีประสิท.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไดไนโตรเจน เทโตรไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไดเฟนิลพิราลีน

ไดเฟนิลพิราลีน (Diphenylpyraline) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไดเฟนิลพิราลีน · ดูเพิ่มเติม »

ไดเฟนไฮดรามีน

ฟนไฮดรามีน (Diphenhydramine).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไดเฟนไฮดรามีน · ดูเพิ่มเติม »

ไดเมตินดีน

ไดเมตินดีน (Dimetindene) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไดเมตินดีน · ดูเพิ่มเติม »

ไดเมนไฮดริเนท

มนไฮดริเนท (Dimenhydrinate).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไดเมนไฮดริเนท · ดูเพิ่มเติม »

ไคทิน

''N''-acetylglucosamineสองหน่วยที่จะเรียงซ้ำกันจนเป็นสายยาวด้วยพันธะแบบ β-1, 4 ไคทิน (Chitin;C8H13O5N) n เป็นโครงสร้างภายนอกของเซลล์สัตว์ พบในเปลือกหอย กุ้ง ปู และแมลง เป็นโฮโมโพลีแซคคาไรด์ของ N-acetyl-D-glucosamine ซึ่งเป็นอนุพันธ์ของกลูโคส ต่อกันด้วยพันธะ β ไคทินเป็นสารที่มีการนำไปใช้ประโยชน์ทางการแพทย์และอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไคทิน · ดูเพิ่มเติม »

ไตรฟลูริดีน

ไตรฟลูริดีน (Trifluridine) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:เคมี หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไตรฟลูริดีน · ดูเพิ่มเติม »

ไตรโตควอลีน

ไตรโตควอลีน (Tritoqualine) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไตรโตควอลีน · ดูเพิ่มเติม »

ไตรไอโอโดไทโรนีน

ตรไอโอโดไทโรนีน (triiodothyronine), C15H12I3NO4 หรือที่รู้จักในชื่อ T3 เป็นฮอร์โมนจากต่อมไทรอ.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไตรไอโอโดไทโรนีน · ดูเพิ่มเติม »

ไตรเพเลนนามีน

ตรเพเลนนามีน (Tripelennamine).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไตรเพเลนนามีน · ดูเพิ่มเติม »

ไตรเมโทพริม

ไตรเมโทพริม (Trimethoprim) หมวดหมู่:ซัลฟา หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไตรเมโทพริม · ดูเพิ่มเติม »

ไซคลิซีน

ซคลิซีน (Cyclizine).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไซคลิซีน · ดูเพิ่มเติม »

ไซโดโฟเวียร์

ไซโดโฟเวียร์ (Cidofovir) พัฒนาขึ้นโดย ไกลีด ไซเอนซ์ (Gilead Sciences) และทำตลาดเองในสหรัฐอเมริกา ใช้ชื่อการค้าว่า วิสไทด์ (Vistide) และนอกสหรัฐอเมริกาทำตลาดโดยไฟเซอร์ไพเซอร์ ไฟเวอร์ (Pfizer)) เป็นยาฉีด ต้านไวรัส ที่ใช้รักษาโรคที่เกิดจากเชื้อไซโตเมกาโลไวรัส (cytomegalovirus-CMV) ที่ทำให้เกิด ม่านตาอักเสบ (retinitis) ในคนไข้ที่เป็นเอดส์ โดยการออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์ดีเอ็นเอในการขยายพันธุของไวรัส ซีเอ็มวี (CMV) มีรายงานเป็นสถิติยืนยันชัดเจนว่า ไซโดโฟเวียร์มีประสิทธิภาพในการชลอการลุกรามของไวรัส ซีเอ็มวี (CMV) ที่ทำให้ม่านตาอักเสบ ทั้งในคนไข้ที่ล้มเหลวจากการรักษาด้วยวิธีอื่นและคนไข้ที่วินิจฉัยแล้วแต่ยังได้รักษา การให้ยาก็ไม่จำเป็นต้องทำอย่างต่อเนื่องเพียงให้ 1-2 สัปดาห์ต่อครั้ง หมวดหมู่:เอมีน หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส หมวดหมู่:แอลกอฮอล์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไซโดโฟเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไซโปรเฮปตาดีน

ซโปรเฮปตาดีน (Cyproheptadine) มีชื่อการค้า Cyheptine Cyprogin Cyprosian Polytab มีฤทธิ์ยับยั้งฮิสทามีนที่ตัวรับ H1 แบบแข่งขัน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไซโปรเฮปตาดีน · ดูเพิ่มเติม »

ไนตรัสออกไซด์

แนวโน้มในการเป็นแก๊สเรือนกระจก ถังแก๊สไนตรัสออกไซด์สำหรับใช้ในทางทันตกรรม ไนตรัสออกไซด์ หรือ แก๊สหัวเราะ (Nitrous oxide หรือ laughing gas) คือสารประกอบทางเคมีที่มีสูตรทางเคมีว่า N2O ที่อุณหภูมิห้อง ไนตรัสออกไซด์จะไม่มีสี และเป็นแก๊สไม่ติดไฟ ไนตรัสออกไซด์มีกลิ่นหอมและมีรสหวานเล็กน้อย มีการนำไนตรัสออกไซด์ไปใช้ในการผ่าตัดและทางทันตกรรมเพื่อให้เกิดอาการชาและเพื่อการระงับความปวด โดยทั่วไปรู้จักกันในชื่อ “แก๊สหัวเราะ” เนื่องจากเมื่อสูดดมแล้วจะให้ความรู้สึกเคลิ้มสุขหรือครึ้มใจ เป็นคุณสมบัติที่ทำให้มีการใช้ในเชิงนันทนาการโดยการใช้เป็นยาดม และยังมีการนำไปใช้ในการแข่งรถยนต์โดยให้เป็นตัวเติมออกซิเจนเพื่อเพิ่มกำลังให้เครื่องยนต์อีกด้ว.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไนตรัสออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไนตริกออกไซด์

นตริกออกไซด์ (Nitric oxide; NO) หรือไนโตรเจนออกไซด์ หรือไนโตรเจนมอนอกไซด์ เป็น โมเลกุล ที่มีสูตรทางเคมีเป็นNO เป็นอนุมูลอิสระ ที่อยู่ในรูปของก๊าซ สามารถเคลื่อนที่ได้ดีในเซลล์ ทั้งบริเวณที่ชอบน้ำและไม่ชอบน้ำ และมีความสำคัญในทางอุตสาหกรรมไนตริกออกไซด์เป็นผลพลอยได้ของการเผาไหม้สารอินทรีย์ในที่ที่มีอากาศ เช่นเครื่องยนต์ โรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้เชื้อเพลิงจากฟอสซิล และเกิดขึ้นตามธรรมชาติระหว่างการเกิดฟ้าผ่า พืชสามารถสังเคราะห์ NO ขึ้นได้โดยวิถีกระบวนการสร้างและสลายที่ใช้ Arginine หรือไนไตรต์ เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องที่สำคัญในพืช ได้แก่ nitrate reductase (NR) ซึ่งเปลี่ยนไนไตร์ลเป็น NO โดยมีโมลิบดินัมเป็นโคแฟกเตอร์ เอนไซม์อีกตัวหนึ่งที่เกี่ยวข้องคือ xanthine oxidoreductase ซึ่งมีโมลิบดินัมและโคบอลต์เป็นองค์ประกอบด้วย Arasimowicz, M., and Floryszak-Wieczorek, J. 2007.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไนตริกออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไนโตรเจนออกไซด์

นโตรเจนออกไซด์ (NOx) หรือ กลุ่มก๊าซที่มี (Highly reactive gases) เป็นก๊าซซึ่งมีองค์ประกอบทางเคมีของไนโตรเจนและออกซิเจน ในอัตราส่วนแตกต่างกัน ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ยกเว้นก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ เมื่อรวมตัวกับอนุภาคอื่น ๆ ในอากาศ จะเห็นคล้ายตดเป็นชั้นสีน้ำตาลแดง.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไนโตรเจนออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไนเตรต

นเตรต ในทางอนินทรีย์เคมีเป็นเกลือของกรดไนตริก ไนเตรตไอออน เป็น พอลิอะตอมิกไอออน (polyatomic ion) ซึ่งมีสูตรเอมไพริกัล ดังนี้ NO3− และมีน้ำหนักโมเลกุลเท่ากับ 62.01 ดัลตัน (daltons) มันเป็นด่างร่วม (conjugate) ของกรดไนตริก ไนเตรตไอออนมีโครงสร้างเป็นสามเหลี่ยมแบนราบ (trigonal planar-โดยแต่ละออร์บิทัลทำมุมกัน 120 องศา) และสามารถแทนด้วยลูกผสม (hybrid) ดังรูปข้างล่างนี้ 300px เกลือไนเตรตเกิดเมื่อไอออนประจุไฟฟ้าบวกเข้าเชื่อมต่อกับอะตอมของออกซิเจน ประจุไฟฟ้าลบตัวหนึ่งของไนเตรตไอออน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและไนเตรต · ดูเพิ่มเติม »

เบนซาทีนเบนซิลเพนิซิลลิน

เบนซาทีนเบนซิลเพนิซิลลิน (Benzathine benzylpenicillin-Penicillin G) หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเบนซาทีนเบนซิลเพนิซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

เบนซิมิดาโซล

นซิมิดาโซล ชื่อเคมีเบนซิมิดาโซล สูตรเคมีC7H6N2 มวล โมเลกุล118.05 g/mol จุดหลอมเหลว170 - 172 °C จุดเดือด> 360 °C CAS number51-17-2 SMILESC1(NC.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเบนซิมิดาโซล · ดูเพิ่มเติม »

เบนซิลเพนิซิลลิน

เบนซิลเพนิซิลลิน (benzylpenicillin) หรือเพนิซิลลิน จี (penicillin G) เป็นยาเพนิซิลลินชนิดมาตรฐาน โดยตัว G ย่อมาจาก Gold Standard หมายถึงมาตรฐานสูงสุดในการรักษา เพนิซิลลินจีเป็นยาที่ให้ทางหลอดเลือดดำเนื่องจากไม่คงทนในกรดไฮโดรคลอริกซึ่งมีอยู่ในกระเพาะอาหาร หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเบนซิลเพนิซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

เฟนิรามีน

ฟนิรามีน (Pheniramine) หมวดหมู่:เอมีน หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเฟนิรามีน · ดูเพิ่มเติม »

เฟนินดามีน

เฟนินดามีน (Phenindamine) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเฟนินดามีน · ดูเพิ่มเติม »

เฟนทานิล

ฟนทานิล (Fentanyl) เป็นยาบรรเทาปวด ในกลุ่มโอปิออยด์ สังคราะห์ได้ครั้งแรกในประเทศเบลเยียม ประมาณปลายปี 1950 มีฤทธิ์บรรเทาปวดมากกว่า มอร์ฟีน 80 เท่า ถูกนำมาใช้ทาง การแพทย์ ในปี 1960 โดยใช้ฉีดเข้าเส้นเป็น ยาระงับความรู้สึก มีชื่อทางการค้าว่า Sublimaze เฟนทานิลมีค่า LD50 เท่ากับ 3.1 มก/กก ในหนู LD50 ในมนุษย์ยังไม่ทราบ เฟนทานิลเป็นยาควบคุมประเภท Schedule II.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเฟนทานิล · ดูเพิ่มเติม »

เพชรโฮป

รโฮป (Hope Diamond) เป็นเพชรขนาดใหญ่ หนัก 45.52 กะรัต (9.10 กรัม) สีน้ำเงินเข้ม ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาสมิธโซเนียนในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เพชรโฮปมองด้วยตาเปล่าเห็นเป็นสีน้ำเงินเพราะมีธาตุโบรอนปริมาณเล็กน้อยอยู่ในโครงสร้างผลึก แต่จะเรืองแสงสีแดงเมื่ออาบแสงอัลตราไวโอเล็ต เพชรดังกล่าวจัดเป็นเพชรประเภท 2 บี และดังกระฉ่อนเพราะเล่าว่าเป็นเพชรต้องคำสาป มันมีประวัติศาสตร์บันทึกยาวนานโดยมีช่องว่างอยู่บ้างเมื่อมันได้เปลี่ยนมือหลายครั้งระหว่างทางจากอินเดียไปฝรั่งเศส ไปอังกฤษและสหรัฐอเมริกา เพชรโฮปได้รับการอธิบายว่าเป็น "เพชรที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลก" และเป็นงานศิลปะที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดเป็นอันดับสองของโลก รองจากภาพโมนาลิซ.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเพชรโฮป · ดูเพิ่มเติม »

เพทิดีน

เพทิดีน (Pethidine ชื่อโดย INN) หรือ meperidine (USAN) (มีชื่ออื่น ๆ อีกดังนี้: isonipecaine; lidol; operidine; pethanol; piridosal; Algil®; Alodan®; Centralgin®; Demerol®; Dispadol®; Dolantin®; Dolestine®; Dolosal®; Dolsin®; Mefedina®) เป็นยาในกลุ่มโอปิออยด์ที่ออกฤทธิ์เร็ว มีฤทธิ์เป็นยาบรรเทาปวดด้วย ในสหรัฐอเมริการู้จักกันทั่วไปในชื่อ เมเพอริดีน โดยมีชื่อการค้าว่า ดีเมอรอล (Demerol) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:โอปิออยด์ หมวดหมู่:ยาบรรเทาปวด หมวดหมู่:ยาเสพติด.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเพทิดีน · ดูเพิ่มเติม »

เพนกวินจักรพรรดิ

นกวินจักรพรรดิ (Emperor Penguin) เป็นเพนกวินที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในบรรดาสปีชีส์ต่างๆ ที่มีถิ่นฐานอยู่ในทวีปแอนตาร์กติกา ตัวผู้และตัวเมียมีสีขนและขนาดใกล้เคียงกัน สูงราว และหนักระหว่าง 22–37 กิโลกรัม (48–82 ปอนด์) ขนด้านหลังสีดำตัดกันกับขนด้านหน้าตรงบริเวณท้องที่มีสีขาว อกตอนบนสีเหลืองอ่อนและค่อยๆ ไล่ลงมาจนเป็นสีขาว และบริเวณหูเป็นสีเหลืองจัด เพนกวินจักรพรรดิก็เป็นเช่นเดียวกันกับเพนกวินชนิดอื่นที่เป็นนกที่บินไม่ได้ แต่มีรูปร่างที่เพรียวและปีกที่ลู่ตามตัวแต่แข็งแบนเหมือนครีบที่เหมาะกับการเป็นสัตว์น้ำมากกว่าที่จะเป็นนก อาหารที่บริโภคส่วนใหญ่เป็นปลา และรวมทั้งสัตว์ประเภทกุ้ง-กั้ง-ปู (crustacean) เช่น ตัวเคย และ สัตว์ประเภทเซฟาโลพอดเช่นปลาหมึก เมื่อดำน้ำหาอาหารเพนกวินจักรพรรดิสามารถอยู่ใต้น้ำได้นานถึง 18 นาที และสามารถดำน้ำได้ลึกถึง 535 เมตรเนื่องจากลักษณะหลายอย่างที่ช่วยในการอยู่ใต้น้ำได้นานเช่นโครงสร้างของฮีโมโกลบินที่ทำให้มีชีวิตอยู่ได้ในบรรยากาศที่มีระดับออกซิเจนต่ำ โครงกระดูกที่แน่นที่ช่วยต้านความกดดันสูง (barotrauma) และความสามารถในการลดการเผาผลาญของร่างกาย (กระบวนการสร้างและสลาย) และการปิดการทำงานอวัยวะที่ไม่จำเป็นได้ เพนกวินจักรพรรดิมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีจากการเดินทางราว 50 ถึง 120 กิโลเมตรจากฝั่งทะเลไปยังบริเวณที่ทำการผสมพันธุ์ทุกปีเพื่อที่จะไปหาคู่ ผสมพันธุ์ กกและฟักไข่ และเลี้ยงลูกนกที่เกิดใหม่ และเป็นเพนกวินชนิดเดียวที่ผสมพันธุ์ระหว่างฤดูหนาวแบบอาร์กติก แหล่งผสมพันธุ์อาจจะเป็นบริเวณกว้างใหญ่ที่มีเพนกวินอาศัยอยู่ด้วยกันเป็นพันๆตัว ตัวเมียจะออกไข่ฟองเดียวทิ้งไว้ให้ตัวผู้ยืนกกระหว่างขาเป็นเวลาสองเดือนขณะที่ตัวเองเดินกลับไปทะเลเพื่อไปหาอาหารให้ตัวเองและนำกลับมาให้ลูกที่เกิดใหม่ เมื่อกลับมาทั้งพ่อและแม่ก็จะสลับกันเลี้ยงลูก อายุเฉลี่ยของเพนกวินจักรพรรดิราว 20 ปีและบางตัวอาจจะถึง 50 ปีก็ได้.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเพนกวินจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

เพนาเมกซิลลิน

เพนาเมกซิลลิน หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเพนาเมกซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

เพนิซิลลิน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเพนิซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

เพนซิโคลเวียร์

เพนซิโคลเวียร์ (Penciclovir) พเพนซิโคลเวียร์ พเพนซิโคลเวียร์ พเพนซิโคลเวียร์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเพนซิโคลเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

เกรพพาฟลอกซาซิน

กรพพาฟลอกซาซิน (Grepafloxacin).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเกรพพาฟลอกซาซิน · ดูเพิ่มเติม »

เกาะแคโรไลน์

กาะแคโรไลน์ (Caroline Island) หรือ แคโรไลน์อะทอลล์ (Caroline Atoll) บ้างเรียก เกาะมิลเลนเนียม (Millennium Island) และ เกาะเบสซีซา (Beccisa Island) เป็นเกาะปะการังวงแหวนไร้คนอาศัยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะไลน์ใต้ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลาง ชาวยุโรปพบเกาะนี้ครั้งแรกเมื่อประมาณ..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเกาะแคโรไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เมบไฮโดรลิน

เมบไฮโดรลิน (Mebhydrolin) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเมบไฮโดรลิน · ดูเพิ่มเติม »

เมพิรามีน

เมไพรามีน (Mepyramine) หมวดหมู่:เอมีน หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเมพิรามีน · ดูเพิ่มเติม »

เมลามีน

มลามีน Melamine เป็นเบสอินทรีย์ มีสูตรทางเคมีว่า C3H6N6, และชื่อทาง IUPAC ว่า 1,3,5-triazine-2,4,6-triamine เมลามีนเป็นสารที่ละลายน้ำได้เพียงเล็กน้อย เมลามีนเป็นไทรเมอร์ (หรือสารประกอบที่เกิดจากโมเลกุล 3 ตัวที่เหมือนกันแตกเป็นสามขา) ของไซยานาไมด์ (cyanamide) เช่นเดียวกันกับไซยานาไมด์ เมลามีนประกอบด้วยไนโตรเจน 66% (โดยมวล) เป็นสารที่มีคุณสมบัติหน่วงไฟเมื่ออยูในรูปของเรซินด้วยการปลดปล่อยไนโตรเจนออกมาเมื่อลุกใหม้หรือถูกเผา มีการนำเอา Dicyandiamide (หรือ cyanoguanidine), ที่เป็นไดเมอร์ (สองส่วน - dimer) ของไซยานาไมด์มาใช้เป็นสารหน่วงไฟเช่นกัน เมลามีนเป็นสารในกระบวนการสร้างและสลาย (metabolite) ของ “ไซโลมาซีน (cyromazine) ซึ่งเป็นยาฆ่าแมลงชนิดหนึ่ง เป็นสารที่เกิดขึ้นในตัวของสัตว์เลือดอุ่นที่ย่อยไซโลมาซีน มีรายงานด้วยเช่นกันว่าไซโลมาซีนเปลี่ยนเป็นเมลามีนในพื.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเมลามีน · ดูเพิ่มเติม »

เมธีนามีน

มธีนามีน หรือ เฮกซะเมทิลีนเตตรามีน (Methenamine หรือ Hexamethylenetetramine) เป็นสารประกอบอินทรีย์เฮเทอโรไซคลิก มีสูตรโครงสร้างคือ (CH2)6N4 ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายได้ดีในน้ำและตัวทำละลายอินทรีย์ที่มีขั้ว โครงสร้างโมเลกุลมีลักษณะคล้ายกรงเหมือนกับอะดาแมนแทน เมธีนามีนถูกนำมาใช้ประโยชน์ในการสังเคราะห์สารประกอบเคมีอื่น เช่น พลาสติก ยา สารเติมแต่งยาง สารนี้มีจุดระเหิด ณ สภาวะสุญญากาศที่ 280 องศาเซลเซียส เมธีนามีนเป็นสารที่ได้จากการเกิดปฏิกิริยาระหว่างงฟอร์มาลดีไฮด์กับแอมโมเนีย ถูกค้นพบโดยอเล็กซานเดอร์ บัทเลรอฟ เมื่อ..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเมธีนามีน · ดูเพิ่มเติม »

เมทาพิริลีน

เมทาพิริลีน (Methapyrilene) หมวดหมู่:เอมีน หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเมทาพิริลีน · ดูเพิ่มเติม »

เมทาโดน

มทาโดน (Methadone) เป็นยาสังเคราะห์จำพวกโอปิออยด์ มีฤทธิ์เป็นยาบรรเทาปวด ถูกสังเคราะห์ขึ้นในปี ค.ศ. 1937 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ชื่อ Max Bockmühl และ Gustav Ehrhart ที่ IG Farben (Hoechst-Am-Main) ซึ่งกำลังวิจัยหายาบรรเทาปวดที่มีความเหมาะสมในระหว่างการผ่าตัดและมีผลข้างเคียงที่ทำให้ติดน้อย เมทาโดนจัดเป็นยาประเภท Schedule II ภายใต้ อนุสัญญาว่าด้วยยาเสพติด (Single Convention on Narcotic Drugs).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเมทาโดน · ดูเพิ่มเติม »

เมทิซิลลิน

เมทิซิลลิน(Methicillin) หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเมทิซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

เมทไดลาซีน

เมทไดลาซีน (Methdilazine) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเมทไดลาซีน · ดูเพิ่มเติม »

เมคลิซีน

เมคลิซีน (Meclizine) หรือ เมคโลซีน (Meclozine) หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเมคลิซีน · ดูเพิ่มเติม »

เมตาไซคลีน

ไลมีซัยคลิน(Metacycline) หมวดหมู่:เตตราไซคลีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเมตาไซคลีน · ดูเพิ่มเติม »

เมซโลซิลลิน

เมซโลซิลลิน (Mezlocillin) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาปฏิชีวนะ.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเมซโลซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

เมแทบอลิซึม

กระบวนการสร้างและสลาย หรือ เมแทบอลิซึม (metabolism) มาจากภาษากรีก μεταβολή ("metabolē") มีความหมายว่า "เปลี่ยนแปลง" เป็นกลุ่มปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในเซลล์สิ่งมีชีวิตเพื่อค้ำจุนชีวิต วัตถุประสงค์หลักสามประการของเมแทบอลิซึม ได้แก่ การเปลี่ยนอาหารและเชื้อเพลิงให้เป็นพลังงานในการดำเนินกระบวนการของเซลล์ การเปลี่ยนอาหารและเชื้อเพลิงเป็นหน่วยย่อยของโปรตีน ลิพิด กรดนิวคลิอิกและคาร์โบไฮเดรตบางชนิด และการขจัดของเสียไนโตรเจน ปฏิกิริยาเหล่านี้มีเอนไซม์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เพื่อให้สิ่งมีชีวิตเติบโตและเจริญพันธุ์ คงไว้ซึ่งโครงสร้างและตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม "เมแทบอลิซึม" ยังสามารถหมายถึง ผลรวมของปฏิกิริยาเคมีทั้งหมดที่เกิดในสิ่งมีชีวิต รวมทั้งการย่อยและการขนส่งสสารเข้าสู่เซลล์และระหว่างเซลล์ กลุ่มปฏิกิริยาเหล่านี้เรียกว่า เมแทบอลิซึมสารอินเทอร์มีเดียต (intermediary หรือ intermediate metabolism) โดยปกติ เมแทบอลิซึมแบ่งได้เป็นสองประเภท คือ แคแทบอลิซึม (catabolism) ที่เป็นการสลายสสารอินทรีย์ ตัวอย่างเช่น การสลายกลูโคสให้เป็นไพรูเวต เพื่อให้ได้พลังงานในการหายใจระดับเซลล์ และแอแนบอลิซึม (anabolism) ที่หมายถึงการสร้างส่วนประกอบของเซลล์ เช่น โปรตีนและกรดนิวคลีอิก ทั้งนี้ การเกิดแคแทบอลิซึมส่วนใหญ่มักมีการปลดปล่อยพลังงานออกมา ส่วนการเกิดแอแนบอลิซึมนั้นจะมีการใช้พลังงานเพื่อเกิดปฏิกิริยา ปฏิกิริยาเคมีของเมแทบอลิซึมถูกจัดอยู่ในวิถีเมแทบอลิซึม (metabolic pathway) ซึ่งสารเคมีชนิดหนึ่งๆ จะถูกเปลี่ยนแปลงหลายขั้นตอนจนกลายเป็นสารชนิดอื่น โดยอาศัยการเข้าทำปฏิกิริยาของใช้เอนไซม์หลายชนิด ทั้งนี้ เอนไซม์ชนิดต่างๆ นั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเกิดเมแทบอลิซึม เพราะเอนไซม์จะเป็นตัวกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาเคมีเหล่านั้น โดยการเข้าจับกับปฏิกิริยาที่เกิดเองได้ (spontaneous process) อยู่แล้วในร่างกาย และหลังการเกิดปฏิกิริยาจะมีปลดปล่อยพลังงานออกมา พลังงานที่เกิดขึ้นนี้จะถูกนำไปใช้ในปฏิกิริยาเคมีอื่นของสิ่งมีชีวิตที่ไม่อาจเกิดขึ้นได้เองหากปราศจากพลังงาน จึงอาจกล่าวได้ว่า เอนไซม์ทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ทำให้ปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ของร่างกายดำเนินไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ เอนไซม์ยังทำหน้าที่ควบคุมวิถีเมแทบอลิซึมในกระบวนการการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในสิ่งแวดล้อมของเซลล์หรือสัญญาณจากเซลล์อื่น ระบบเมแทบอลิซึมของสิ่งมีชีวิตจะเป็นตัวกำหนดว่า สารใดที่มีคุณค่าทางโภชนาการและเป็นพิษสำหรับสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ตัวอย่างเช่น โปรคาริโอตบางชนิดใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์เป็นสารอาหาร ทว่าแก๊สดังกล่าวกลับเป็นสารที่ก่อให้เกิดพิษแก่สัตว์ ทั้งนี้ ความเร็วของเมแทบอลิซึม หรืออัตราเมแทบอลิกนั้น ส่งผลต่อปริมาณอาหารที่สิ่งมีชีวิตต้องการ รวมไปถึงวิธีที่สิ่งมีชีวิตนั้นจะได้อาหารมาด้วย คุณลักษณะที่โดดเด่นของเมแทบอลิซึม คือ ความคล้ายคลึงกันของวิถีเมแทบอลิซึมและส่วนประกอบพื้นฐาน แม้จะในสปีชีส์ที่ต่างกันมากก็ตาม ตัวอย่างเช่น กลุ่มกรดคาร์บอกซิลิกที่ทราบกันดีว่าเป็นสารตัวกลางในวัฏจักรเครปส์นั้นพบได้ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่มีการศึกษาในปัจจุบัน ตั้งแต่สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวอย่างแบคทีเรีย Escherichia coli ไปจนถึงสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ขนาดใหญ่อย่างช้าง ความคล้ายคลึงกันอย่างน่าประหลาดใจของวิถีเมแทบอลิซึมเหล่านี้เป็นไปได้ว่าอาจเป็นผลเนื่องมาจากวิถีเมแทบอลิซึมที่ปรากฏขึ้นในช่วงแรกของประวัติศาสตร์วิวัฒนาการ และสืบมาจนถึงปัจจุบันเพราะประสิทธิผลของกระบวนการนี้.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเมแทบอลิซึม · ดูเพิ่มเติม »

เลโวเซทิริซีน

เลโวเซทิริซีน (Levocetirizine) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน หมวดหมู่:กรดคาร์บอกซิลิก หมวดหมู่:อนุพันธ์ของเบนซีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเลโวเซทิริซีน · ดูเพิ่มเติม »

เวเลนซ์

วเลนซ์ หรือ เวเลนซี (valence or valency) ของธาตุเคมีเป็นการระบุความสามารถของอะตอมในการเกิดเป็นสารประกอบหรือโมเลกุล โดยหลักการเกี่ยวกับเวเลนซีนี้ได้ถูกพัฒนาในครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และใช้ในการอธิบายโครงสร้างของสารได้ทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ แม้ว่าแนวคิดเกี่ยวกับเวเลนซ์จะถูกกล่าวถึงมานานแต่ยังสามารถใช้ได้กับอีกทฤษฎีเกี่ยวกับพันธะเคมี อาทิ ทฤษฎีอะตอมทรงลูกบาศก์ (cubical atom) โครงสร้างลิวอีส (Lewis structures) ทฤษฎีพันธะเวเลนซ์ (valence bond theory; VBT) ทฤษฎีออร์บิทัลเชิงโมเลกุล (molecular orbital theory; MOT) ทฤษฎีการผลักกันของคู่อิเล็กตรอนวงเวเลนซ์ (valence shell electron pair repulsion theory; VSEPR) รวมถึงทฤษฎีควอนตัมสมัยใหม่ เป็นต้น.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเวเลนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติ

้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติ คือ เส้นเวลาที่บอกถึงประวัติศาสตร์ของธรรมชาติตั้งแต่การเกิดบิกแบงจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเส้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติ · ดูเพิ่มเติม »

เอสทีเอส-129

STS-129 เป็นภาจกิจกระสวยอวกาศของนาซ่าในสถานีอวกาศนานาชาติ เริ่มต้นในวันที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009 ในเวลา 14:28 EST และลงจอดในวันที่ 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009 ในเวลา 09:44 EST บนรันเวย์ที่ 33 ในสถานที่จอดกระสวยศูนย์อวกาศเคนเนดี STS-129 ได้มุ่งเน้นระยะส่วนประกอบสำรองนอกสถานี เที่ยวบิน 11 วันรวมเดินในอวกาศ 3 วัน อ่าวแน่ะดำเนินการสองขนาดใหญ่ ExPRESS Logistics Carrier ได้แก่ วัดการหมุนสำรอง 2 เครื่องมือ ถังไนโตรเจน 2 ชุด เครื่องสูบน้ำ 2 โมดูล ประกอบด้วยถังแอมโมเนีย การเสร็จสิ้นปฏิบัติภารกิจกระสวยอวกาศนี้เหลือหกเที่ยวบินที่เหลืออยู่จนถึงเสร็จสิ้นโครงการกระสวยอวกาศหลังจาก STS-135 ได้รับการอนุมัติในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเอสทีเอส-129 · ดูเพิ่มเติม »

เอนเซลาดัส

อนเซลาดัส (Enceladus) หรือ Saturn II เป็นดาวบริวารขนาดใหญ่อันดับที่ 6 ของดาวเสาร์ ค้นพบโดยนักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษเชื้อสายเยอรมันนาม วิลเลียม เฮอร์เชล เมื่อ..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเอนเซลาดัส · ดูเพิ่มเติม »

เฮโรอีน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเฮโรอีน · ดูเพิ่มเติม »

เฮเทโรทรอพ

ทโรทรอพ (Heterotroph เป็นคำสมาสภาษากรีกมาจากคำว่า heterone แปลว่าผู้อื่น และ troph แปลว่าโภชนาการ) คือสิ่งมีชีวิตที่ต้องการอินทรียสารจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เป็นแหล่งคาร์บอนเพื่อใช้ในการเจริญเติบโตและการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ เฮเทโรทรอพ หรือเรียกกันว่าผู้บริโภคในห่วงโซ่อาหาร เป็นสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ซึ่งตรงข้ามกับออโตทรอพที่ต้องการแค่แหล่งพลังงานหรือแหล่งคาร์บอนที่มาจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือไบคาร์บอเนตก็สามารถสร้างอาหารเองได้ โดยไม่ต้องอาศัยสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร สัตว์ทุกชนิดถือว่าเป็นเฮเทโรทรอพ เช่นเดียวกันกับสิ่งมีชีวิตจำพวกเห็ดราหรือฟังไจ รวมถึงแบคทีเรียหลายสายพันธุ์ และยังมีพืชประเภทกาฝากบางชนิดที่กลายไปเป็นเฮเทโรทรอพบางส่วน หรือเฮเทโรทรอพเต็มตัวก็มี แต่ในขณะที่พืชกินเนื้อนำเหยื่อที่เป็นแมลงไปเป็นแหล่งไนโตรเจนของพวกมัน แต่พืชจำพวกนี้ก็ยังถือว่าเป็นออโตทรอพ สิ่งมีชีวิตจำพวกเฮเทโรทรอพนั้นไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ดังที่กล่าวข้างต้น นั่นคือ ความไม่สามารถในการสังเคราะห์อินทรียสารที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลักจากแหล่งอนินทรียสารในสิ่งแวดล้อมได้ (ดังเช่นการที่สัตว์ไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้ ต่างจากพืชที่สามารถทำได้) และจึงต้องอาศัยแหล่งอาหารที่มาจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ทั้งออโตทรอพ และเฮเทโรทรอพ การที่จะกำหนดว่าสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์ใดที่อยู่ในจำพวกเฮเทโรทรอพ สิ่งมีชีวิตสายพันธุ์นั้นจะต้องอาศัยคาร์บอนมาจากอินทรียสารหรือสิ่งชีวิตอื่น แม้ว่าสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์นั้นจะอาศัยไนโตรเจนมาจากอินทรียสารหรือสิ่งมีชีวิตอื่น แต่ยังคงอาศัยคาร์บอนจากอนินทรียสาร ก็ยังถือว่าสายพันธุ์นั้นเป็นออโตทรอพ ถ้าสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์ใดๆ อาศัยคาร์บอนจากอินทรียสารหรือสิ่งมีชีวิตอื่น จะสามารถแบ่งเฮเทโรทรอพย่อยลงมาตามแหล่งพลังงานของแต่ละสายพันธุ์ได้อีก 2 ประเภทคือ.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเฮเทโรทรอพ · ดูเพิ่มเติม »

เจมิฟลอกซาซิน

เจมิฟลอกซาซิน (Gemifloxacin) หมวดหมู่:ควิโนโลน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเจมิฟลอกซาซิน · ดูเพิ่มเติม »

เทลิโทรมัยซิน

เทลิโทรมัยซิน (Telithromycin) หมวดหมู่:แมกโครไลด์.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเทลิโทรมัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

เทอร์เฟนาดีน

ทอร์เฟนาดีน (Terfenadine) เป็นยาที่มีฤทธิยับยั้งฮิสทามีนที่ตัวรับ H1 แบบคัดเลือก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเทอร์เฟนาดีน · ดูเพิ่มเติม »

เทโมซิลลิน

เทโมซิลลิน (Temocillin) หมวดหมู่:เพนิซิลลิน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเทโมซิลลิน · ดูเพิ่มเติม »

เขนงนายพราน

นงนายพรานเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเขนงนายพราน · ดูเพิ่มเติม »

เข็มขัดจรวดเบลล์

ีน ชูเมกเกอร์ กำลังสวมเข็มขัดจรวดเบลล์ในขณะที่กำลังทำการฝึกอบรมเหล่าบรรดานักบินอวกาศ เข็มขัดจรวดเบลล์ คืออุปกรณ์rocket propulsion) พลังงานต่ำที่ช่วยให้บุคคลสามารถที่จะเดินทางหรือกระโดดข้ามสิ่งกีดขวางในระยะทางขนาดเล็กได้อย่างปลอดภัย มันได้ถูกจัดไว้ให้เป็นชนิดหนึ่งของยานบินจรวดส่วนบุคคล (rocket pack).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเข็มขัดจรวดเบลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เดกซ์บรอมเฟนิรามีน

เดกซ์บรอมเฟนิรามีน (Dexbrompheniramine) หมวดหมู่:เอมีน หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเดกซ์บรอมเฟนิรามีน · ดูเพิ่มเติม »

เดกซ์คลอเฟนิรามีน

กซ์คลอเฟนิรามีน (Dexchlorpheniramine) เป็นยาที่มีสรรพคุณยับยั้งฮิสทามีนที่ตัวรับ H1 แบบแข่งขัน บรรเทาอาการหวัด อาการแพ้ เช่น แพ้สารเคมี แพ้อากาศ แพ้ฝุ่นละออง บรรเทาอาการคัน เป็นต้น.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเดกซ์คลอเฟนิรามีน · ดูเพิ่มเติม »

เดสลอร์อาตาดีน

เดสลอร์อาตาดีน (Desloratadine) หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเดสลอร์อาตาดีน · ดูเพิ่มเติม »

เดปโตรพีน

เดปโตรพีน (Deptropine) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สารต้านฮิสทามีน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเดปโตรพีน · ดูเพิ่มเติม »

เคมีอินทรีย์

มีอินทรีย์ (Organic chemistry) เป็นสาขาย่อยในวิชาเคมี ที่ว่าด้วยการศึกษาโครงสร้าง คุณสมบัติ องค์ประกอบ ปฏิกิริยา และการเตรียม (ด้วยการสังเคราะห์หรือด้วยวิธีการอื่น) สารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนเป็นหลัก ไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์ของพวกมันอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ สารประกอบเหล่านี้อาจมีธาตุอื่นอีกจำนวนหนึ่งด้วยก็ได้ เช่น ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ออกซิเจน แฮโลเจน เช่นเดียวกับฟอสฟอรัส ซิลิกอนและซัลเฟอร์ สารประกอบอินทรีย์เป็นพื้นฐานกระบวนการของสิ่งมีชีวิตบนโลกแทบทั้งสิ้น (โดยมีข้อยกเว้นเล็กน้อยมาก) สารประกอบเหล่านี้มีโครงสร้างหลากหลายมาก ลักษณะการนำไปใช้ของสารประกอบอินทรีย์ก็มีมากมาย โดยเป็นได้ทั้งพื้นฐานของ หรือเป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น พลาสติก ยา สารที่ได้จากน้ำมันปิโตรเคมี อาหาร วัตถุระเบิด และสี.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเคมีอินทรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยา

รื่องฟอกไอเสียแบบใช้เหล็กเป็นแกนรองรับสารเร่งปฏิกิริยา เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยา (catalytic converter) เป็นอุปกรณ์สำหรับ กำจัด ลด ปริมาณมลพิษ ที่เกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ของเครื่องยนต์ ก่อนปล่อยออกสู่บรรยาก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยา · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบถังกรวด

กรวดเชื้อเพลิงสำหรับการทำปฏิกิริยา เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบถังกรวด (Pebble bed reactor (PBR)) เป็นเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ในยุคที่ 3+ จัดว่าเป็นเทคโนโลยีพลังงานนิวเคลียร์ที่ทันสมัยที่สุดในปัจจุบัน ซึ่งใช้เทคโนโลยีที่มีความปลอดภัยและประสิทธิภาพสูงมากขึ้นและมีต้นทุนถูกกว่าจากเครื่องปฏิกรณ์แบบทั่วไปที่ใช้น้ำเป็นสารหน่วงนิวตรอน และใช้เป็นสารระบายความร้อนด้วย ในขณะที่เครื่องปฏิกรณ์แบบถังกรวดใช้ pyrolytic graphite เป็นสารหน่วงนิวตรอน และใช้ก๊าซเฉื่อย เป็นสารระบายความร้อนที่มีอุณหภูมิสูงมาก ในการขับกังหันของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าโดยตรง ทำให้ไม่ต้องใช้ระบบเครื่องกำเนิดไอน้ำที่มีความซับซ้อน รวมทั้งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการถ่ายเทพลังงาน โดยทำให้สัดส่วนของการผลิตไฟฟ้าต่อความร้อน มีค่าประมาณ 50% นอกจากนั้น ก๊าซจะไม่ละลายส่วนประกอบที่ปนเปื้อนรังสีออกมา และไม่ดูดกลืนนิวตรอนเหมือนกับการใช้น้ำ ดังนั้นแกนเครื่องปฏิกรณ์จึงมีของเหลวที่มีกัมมันตภาพรังสีในปริมาณที่น้อยกว่าแบบเดิมมาก จึงมีความเสี่ยงด้านผลกระทบทางรังสีที่น้อยลง และยังทำให้ต้นทุนต่ำกว่าเครื่องปฏิกรณ์แบบใช้น้ำมวล.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบถังกรวด · ดูเพิ่มเติม »

เตโตรโดท็อกซิน

ตโตรโดท็อกซิน (tetrodotoxin, ตัวย่อ: TTX) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เตโตรด็อก (tetrodox) มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น Anhydrotetrodotoxin, 4-epitetrodoxin, Tetraodonic acid เป็นชื่อเรียกพิษที่อยู่ในตัวปลาปักเป้า เตโตรโดท็อกซินมีสูตรเคมีว่า C11 H17 N3 O8 มีน้ำหนักโมเลกุล 319.268 โดยสกัดครั้งแรกได้จากนักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่นชื่อ ดร.โยชิซุมิ ทะฮะระ ในปี ค.ศ. 1909 เตโตรโดท็อกซิน เป็นสารพิษชนิดที่ออกฤทธิ์ทำลายระบบประสาท โดยจะเข้าไปจับกับ fast sodium channel ของผนังหุ้มเซลล์ประสาทก่อให้เกิดการ action potential ทำให้ไม่สามารถส่งสัญญาณประสาทได้ ซึ่งส่งผลต่อเซลล์ประสาททั่วร่างกายยกเว้นเซลล์ประสาทที่หัวใจ เมื่อพิษดังกล่าวส่งผลทำลายประสาทจะทำให้เซลล์ประสาทของกล้ามเนื้อไม่สามารถส่งสัญญาณให้กล้ามเนื้อบริเวณดังกล่าวทำงานได้ กล้ามเนื้อจึงเป็นอัมพาต และเมื่อกล้ามเนื้อเป็นอัมพาตก็ส่งผลต่อกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับระบบหายใจเป็นอัมพาตตามด้วย ทำให้ผู้ได้รับพิษหายใจไม่ออกและเสียชีวิตจากการหายใจไม่ออก อาการกว่าพิษจะกำเริบใช้เวลาประมาณ 20 นาทีถึง 3 ชั่วโมง ในบางกรณีอาจแสดงอาการเพียงแค่ 4 นาที เท่านั้นจากการรับประทานปลาปักเป้าเข้าไป โดยจะมีอาการชาที่ปากและลิ้น มีอาการชาและชักกระตุกบริเวณใบหน้าและแขนขา ปวดศีรษะ ปวดท้อง มีอาการคลื่นไส้อาเจียน และอาจมีอาการท้องเสีย กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต ชัก หมดสติ การเต้นของหัวใจช้าลง ความดันโลหิตต่ำ และเสียชีวิตได้ ส่วนอาการที่รุนแรงที่สุดคือ เกิดอัมพาตของกล้ามเนื้อช่วยหายใจ ทำให้ระบบหายใจล้มเหลว และเสียชีวิตในเวลา 4-6 ชั่วโมง แต่ก็มีรายงานการเสียชีวิตเร็วที่สุดหลังจากได้รับพิษไปเพียง 20 นาทีเท่านั้น แท้จริงแล้วการสร้างพิษในปลาปักเป้ามิได้เกิดจากเซลล์ของตัวปลาเอง นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่าเกิดจากการที่ปลาปักเป้าไปเกินแพลงก์ตอนบางชนิดในกลุ่มไดโนแฟลกเจลเลตที่มีพิษ หรือกินหอยหรือหนอนที่กินแพลงก์ตอนดังกล่าวเข้าไป ทำให้เกิดสารพิษสะสม หรืออาจเกิดจากแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในลำไส้ของปลา เตโตรโดท็อกซิน มีความรุนแรงกว่าไซยาไนด์ถึง 1,200 เท่า และทนความร้อนได้สูงถึง 200 องศาเซลเซียส ดังนั้นจึงไม่สามารถทำลายพิษได้ด้วยการใช้ความร้อนปกติในการปรุงอาหาร และไม่มียาแก้พิษใด ๆ ต่อต้านได้ ซึ่งเตโตรโดท็อกซินนั้นอยู่ในอวัยวะทุกส่วนของปลาปักเป้า โดยที่มีปริมาณการสะสมของพิษไม่เท่ากัน ส่วนที่สะสมพิษมาก ได้แก่ รังไข่, อัณฑะ, ตับ, ผิวหนัง และลำไส้ พบน้อยในกล้ามเนื้อ แต่แม้การรับประทานเนื้อปลาไปเพียงแค่ 1 มิลลิกรัม ก็ทำให้เสียชีวิตได้ ยิ่งโดยเฉพาะผู้มีอาการแพ้อย่างรุนแรงมีโอกาสเสียชีวิตได้สูงถึงร้อยละ 50 หากได้รับพิษเข้าไป การที่ปลาปักเป้ามีพิษที่ร้ายแรงเช่นนี้ในร่างกายก็เพื่อป้องตัวกันจากการถูกกินจากสัตว์อื่นนั่นเอง ซึ่งพิษของปลาปักเป้านั้นไม่ได้แปรเปลี่ยนไปตามสภาพสิ่งแวดล้อมหรือฤดูกาลเช่นเดียวกับแมงดาทะเล นอกจากนี้แล้ว ในตัวปลาปักเป้าเองยังมีพิษอีกชนิดหนึ่ง ที่มีลักษณะคล้ายเตโตรโดท็อกซิน นั่นคือ ซาซิท็อกซิน (Saxitoxin, STX) ซึ่งมักพบในปลาปักเป้าที่อยู่ในน้ำจืด ซึ่งการปรุงปลาปักเป้าเพื่อการรับประทาน นิยมกันมากในแบบอาหารญี่ปุ่น โดยเฉพาะการทำเป็นซาซิมิหรือปลาดิบ ในประเทศญี่ปุ่น พ่อครัวที่จะแล่เนื้อปลาและปรุง ต้องขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตจากทางการเสียก่อน ซึ่งจากการศึกษาวิจัยในประเทศญี่ปุ่น พบว่าผู้ที่ได้รับพิษจากปลาปักเป้าร้อยละ 50 เกิดจากการกินตับของปลา ร้อยละ 43 เกิดจากการกินไข่ และร้อยละ 7 เกิดจากการกินหนัง โดยปลาปักเป้าชนิดที่มีสารพิษในตัวน้อยที่สุดหรือแทบไม่มีเลย คือ Takifugu oblongus ที่พบในน่านน้ำของแถบอินโด-แปซิฟิก แต่กระนั้นก็ยังสามารถทำให้ผู้ที่รับประทานเข้าไปเสียชีวิตอยู่ดี.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเตโตรโดท็อกซิน · ดูเพิ่มเติม »

เซฟพิราไมด์

เซฟพิราไมด์ (Cefpiramide) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟพิราไมด์ · ดูเพิ่มเติม »

เซฟพิโรม

เซฟพิโรม (Cefpirome) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟพิโรม · ดูเพิ่มเติม »

เซฟมีตาโซล

เซฟมีตาโซล (Cefmetazole) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟมีตาโซล · ดูเพิ่มเติม »

เซฟมีนอกซิม

เซฟมีนอกซิม (Cefmenoxime) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟมีนอกซิม · ดูเพิ่มเติม »

เซฟราดีน

เซฟราดีน (Cefradine) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟราดีน · ดูเพิ่มเติม »

เซฟาพิริน

เซฟาพิริน (Cefapirin) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟาพิริน · ดูเพิ่มเติม »

เซฟาดรอกซิล

เซฟาดรอกซิล (Cefadroxil) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน หมวดหมู่:ฟีนอล.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟาดรอกซิล · ดูเพิ่มเติม »

เซฟาคลอร์

เซฟาคลอร์ (Cefaclor) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟาคลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เซฟาตริซีน

เซฟาตริซีน (Cefatrizine) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟาตริซีน · ดูเพิ่มเติม »

เซฟาซีโดน

เซฟาซีโดน (Cefazedone) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟาซีโดน · ดูเพิ่มเติม »

เซฟาซีไตรล์

เซฟาซีไตรล์ (Cefacetrile) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟาซีไตรล์ · ดูเพิ่มเติม »

เซฟาแมนโดล

เซฟาแมนโดล (Cefamandole) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟาแมนโดล · ดูเพิ่มเติม »

เซฟาโลริดีน

เซฟาโลริดีน (Cephaloridine) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟาโลริดีน · ดูเพิ่มเติม »

เซฟาโลติน

เซฟาโลติน (Cefalotin) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟาโลติน · ดูเพิ่มเติม »

เซฟาโซลิน

เซฟาโซลิน (Cefazolin) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟาโซลิน · ดูเพิ่มเติม »

เซฟิซิม

เซฟิกซิม (Cefixime) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟิซิม · ดูเพิ่มเติม »

เซฟูรอกซิม

เซฟูรอกซิม (Cefuroxime) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟูรอกซิม · ดูเพิ่มเติม »

เซฟีพิม

เซฟีพิม (Cefepime) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟีพิม · ดูเพิ่มเติม »

เซฟีตาเมท

ซฟีตาเมท (Cefetamet) คือยาปฏิชีวนะเซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟีตาเมท · ดูเพิ่มเติม »

เซฟทีโซล

เซฟทีโซล (Ceftezole) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟทีโซล · ดูเพิ่มเติม »

เซฟดิโตเรน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟดิโตเรน · ดูเพิ่มเติม »

เซฟดิเนียร์

เซฟดิเนียร์ (Cefdinir) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟดิเนียร์ · ดูเพิ่มเติม »

เซฟตาซิดิม

เซฟตาซิดิม (Ceftazidime) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟตาซิดิม · ดูเพิ่มเติม »

เซฟติบูเทน

เซฟติบูเทน (Ceftibuten) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟติบูเทน · ดูเพิ่มเติม »

เซฟติซอกซิม

เซฟติซอกซิม (Ceftizoxime) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟติซอกซิม · ดูเพิ่มเติม »

เซฟซูโลดิน

เซฟซูโลดิน (Cefsulodin) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟซูโลดิน · ดูเพิ่มเติม »

เซฟโฟแทกซิม

เซฟโฟแทกซิม (Cefotaxime) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟโฟแทกซิม · ดูเพิ่มเติม »

เซฟโปรซิล

เซฟโปรซิล (Cefprozil) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน หมวดหมู่:ฟีนอล.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟโปรซิล · ดูเพิ่มเติม »

เซฟโปดอกซิม

เซฟโปดอกซิม (cefpodoxime) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟโปดอกซิม · ดูเพิ่มเติม »

เซฟไตรอะโซน

ซฟไตรอะโซน (Ceftriaxone) เป็นยาปฏิชีวนะชนิดหนึ่ง ใช้รักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียได้หลายโรค เช่น หูชั้นกลางอักเสบ เยื่อบุหัวใจอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ปอดอักเสบ การติดเชื้อในกระดูกและข้อ การติดเชื้อในช่องท้อง การติดเชื้อที่ผิวหนัง ทางเดินปัสสาวะอักเสบ หนองใน และการอักเสบในอุ้งเชิงกราน เป็นต้น บางครั้งอาจใช้ก่อนการผ่าตัดหรือหลังบาดแผลจากการถูกกัดเพื่อป้องกันการติดเชื้อ สามารถให้ได้ผ่านการให้ทางหลอดเลือดดำหรือฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ ผลข้างเคียงที่พบบ่อยคืออาการเจ็บปวดที่ตำแหน่งฉีดยา และการแพ้ยา ผลข้างเคียงอื่น เช่น ท้องเสียจากเชื้อ ''C. difficile'' โลหิตจางแบบมีเม็ดเลือดแดงแตก โรคของถุงน้ำดี และอาการชัก โดยทั่วไปจะไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ยาเพนิซิลลินอย่างรุนแรง แต่ถ้าแพ้แบบมีอาการไม่รุนแรงบางครั้งอาจพิจารณาให้ใช้ได้ ห้ามให้ยานี้เข้าทางหลอดเลือดดำพร้อมกับแคลเซียม หลักฐานใหม่ๆ บ่งชี้ว่าการใช้ยานี้ในสตรีตั้งครรภ์หรือให้นมบุตรน่าจะทำได้โดยปลอดภัย ยานี้เป็นยาในกลุ่มเซฟาโลสปอรินรุ่นที่สาม ซึ่งทำงานโดยป้องกันไม่ให้แบคทีเรียสร้างผนังเซลล์ได้ ยานี้ถูกค้นพบเมื่อช่วงต้นคริสตทศวรรษ 1980s โดยบริษัทฮอฟฟ์แมน-ลา โรช ได้รับการจัดเป็นหนึ่งในรายการยาสำคัญต้นแบบขององค์การอนามัยโลก และถือเป็นยาที่ปลอดภัยและใช้ได้ผลดีที่สุดชนิดหนึ่งในระบบบริการสุขภาพ ปัจจัยมีผลิตจำหน่ายได้ทั่วไป ถือเป็นยาที่มีราคาไม่แพง ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วราคาขายส่งของยานี้อยู่ที่ประมาณ 0.20-2.32 ดอลลาร์สหรัฐต่อโดส (ข้อมูลปี พ.ศ. 2557) ค่ารักษาด้วยยานี้ในประเทศสหรัฐอเมริกามักจะอยู่ที่ไม่เกิน 25 ดอลลาร์สหรัฐ ตลอดการรักษา In the United States a course of treatment is typically less than 25 USD.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซฟไตรอะโซน · ดูเพิ่มเติม »

เซโฟราไนด์

เซโฟราไนด์ (Ceforanide) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซโฟราไนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เซโฟรซาดีน

เซโฟรซาดีน (Cefroxadine) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซโฟรซาดีน · ดูเพิ่มเติม »

เซโฟดิกซิม

เซโฟดิกซิม (Cefodizime) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซโฟดิกซิม · ดูเพิ่มเติม »

เซโฟตีแทน

เซโฟตีแทน (Cefotetan) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซโฟตีแทน · ดูเพิ่มเติม »

เซโฟซิติน

เซโฟซิติน (Cefoxitin) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซโฟซิติน · ดูเพิ่มเติม »

เซโฟเพอราโซน

เซโฟเพอราโซน (Cefoperazone) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซโฟเพอราโซน · ดูเพิ่มเติม »

เซโฟเตียม

เซโฟเตียม (Cefotiam) หมวดหมู่:เซฟาโลสปอริน.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเซโฟเตียม · ดูเพิ่มเติม »

เนบิวลาปู

นบิวลาปู (บัญชีการตั้งชื่อ M1, NGC 1952 หรือ Taurus A) เป็นซากซูเปอร์โนวาและเนบิวลาลมพัลซาร์ในกลุ่มดาววัว เนบิวลานี้ได้รับการสังเกตโดยจอห์น เบวิส ในปี..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเนบิวลาปู · ดูเพิ่มเติม »

เนลฟินาเวียร์

เนลฟินาเวียร์ (Nelfinavir) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส หมวดหมู่:ฟีนอล.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเนลฟินาเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

เนวิราพีน

นวิราพีน (Nevirapine) เป็นยาที่ใช้บรรเทากลุ่มอาการต่างๆ ในโรค เอดส์ (AIDS) เป็นยาในกลุ่ม นอน-นิวคลิโอไซด์ รีเวอรส์ ทรานสคริปเทส อินฮิบิเตอร์ (non-nucleoside reverse transcriptase inhibitors (NNRTIs)) มีชื่อทางการค้าว่า วิรามูน (Viramune).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเนวิราพีน · ดูเพิ่มเติม »

เนินพุโคลน

เนินพุโคลน (mud volcano; mud dome) หมายถึง หมวดหินที่เกิดขึ้นจากของเหลวและแก๊สที่ปลดปล่อยออกมาในทางธรณีวิทยา ทว่ามีกระบวนการที่แตกต่างอย่างหลากหลาย ซึ่งอาจซึ่งก่อให้เกิดผลในลักษณะเช่นนี้ อุณหภูมิในกระบวนการนี้จะเย็นกว่ากระบวนการเกิดหินอัคนีเป็นอย่างมาก โครงสร้างที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีเส้นผ่าศูนย์กลางถึง 10 กิโลเมตร และมีความสูงถึง 700 เมตร แก๊สที่ปล่อยออกมาในเนินพุโคลนนี้ เป็นแก๊สมีเทน 80% พร้อมกันนี้ยังมีไนโตรเจนและคาร์บอนไดออกไซด์อีกเล็กน้อย วัตถุที่ถูกขับออกมานั้นมีลักษณะหนืด ประกอบด้วยของวัตถุแข็งขนาดเล็กละเอียด แขวนลอยอยู่ในของเหลว ซึ่งอาจรวมถึงน้ำ (มักจะเป็นกรด หรือเกลือ) และของเหลวจำพวกไฮโดรคาร์บอน เคยพบที่ประเทศไต้หวัน จังหวัดเกาสวง เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงพอสมควร ผู้หญิงนิยมนำโคลนไปพอกหน้าเป็นเครื่องสำอางค์บำรุงผิว หมวดหมู่:วิทยาภูเขาไฟ.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและเนินพุโคลน · ดูเพิ่มเติม »

N

N (ตัวใหญ่:N ตัวเล็ก:n) เป็นอักษรละตินในลำดับที่ 14.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและN · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes rajah

Nepenthes rajah (มาจากภาษามลายู: rajah.

ใหม่!!: ไนโตรเจนและNepenthes rajah · ดูเพิ่มเติม »

162173 รีวงู

162173 รีวงู (Ryugu) หรือ ตามการตั้งชื่อดาวเคราะห์น้อยชั่วคราว เป็นเทห์ฟ้าใกล้โลก (NEO) และเป็นดาวเคราะห์น้อยที่มีศักยภาพเป็นอันตรายต่อโลก (PHO) ดวงหนึ่งในกลุ่มอะพอลโล มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 กิโลเมตร ถือเป็นเทหวัตถุสีเข้มที่จัดอยู่ในชนิดของสเปกตรัมประเภท Cg ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นดาวเคราะห์น้อยทั้งประเภท G และ C ดาวเคราะห์น้อยรีวงูเป็นเป้าหมายของการสำรวจโดยยานสำรวจอวกาศ ฮายาบูสะ2 ซึ่งถูกปล่อยจากโลกเมื่อเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและ162173 รีวงู · ดูเพิ่มเติม »

7

7 (เจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 6 (หก) และอยู่ก่อนหน้า 8 (แปด).

ใหม่!!: ไนโตรเจนและ7 · ดูเพิ่มเติม »

90377 เซดนา

วเคราะห์แคระเซดนา อยู่ในวงกลมสีเขียว ภาพจำลองดาวเคราะห์แคระเซดนาที่วาดขึ้นโดยศิลปิน 90377 เซดนา (Sedna) เป็นดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ในบริเวณส่วนนอกของระบบสุริยะ ในปี..

ใหม่!!: ไนโตรเจนและ90377 เซดนา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Nitrogenก๊าซไนโตรเจน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »