โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ไคโร

ดัชนี ไคโร

ร เมืองหลวงของประเทศอียิปต์ ไคโร (القاهرة; Cairo) เป็นเมืองหลวงของประเทศอียิปต์ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำไนล์ ไคโรมีประชากรประมาณ 15.2 ล้านคน ซึ่งเป็นเมืองที่ประชากรมากที่สุดในทวีปแอฟริกา และเป็นหนึ่งในเมืองที่มีประชากรหนาแน่นแห่งหนึ่งในโลก ชื่อเมือง "ไคโร" ในภาษาอาหรับมีความหมายว่า "ชัยชนะ" โดยความเชื่อว่าเกิดจากที่มีการมองเห็นดาวอังคารในช่วงที่ก่อสร้างเมือง และดาวอังคารเปรียบเสมือนสัญลักษณ์ของการทำลายล้าง อย่างไรก็ตามในอีกความเชื่อหนึ่ง ชื่อไคโรมาจากที่เมืองไคโรเป็นเมืองที่รบชนะทุกกองทัพที่มาตีเมืองไคโร รวมไปถึงกองทัพมองโกล กองทัพครูเสด หรือแม้แต่กองทัพออตโตมัน.

268 ความสัมพันธ์: ชะรีฟ อิกรอมีฟรานซิส เบคอน (ศิลปิน)ฟัตฮียะฮ์ ฆอลีฟาฏิมะฮ์ อัชชะรีฟฟาโรห์สนาอิบฟาโรห์ฮอร์ฟุตบอลทีมชาติอิสราเอลฟุตบอลทีมชาติโอมานฟุตบอลในออลแอฟริกาเกมส์ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือกฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา – รอบที่ 3ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี 1997ฟุตซอลทีมชาติอียิปต์พ.ศ. 2341พ.ศ. 2344พ.ศ. 2488พ.ศ. 2524พ.ศ. 2549พ.ศ. 2559พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์พระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์พระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบียพีระมิดคาเฟรพีระมิดเมนคูเรกลุ่มภาษาเซมิติกกัฟรุชชัยค์การล่องเรือในแม่น้ำการคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2020การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554การประชุมสันติภาพเจนีวาการประชุมไคโรการแลกเปลี่ยนนักโทษกิลัด ชาลิตการใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซลกินชาซากีฬาใน พ.ศ. 2549กีซาญะมาล อับดุนนาศิรญิดดะฮ์ฏ็อนฏอภาษาอาหรับมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัรมหาสุสานกิซามะห์มูด ฮะซัน (นักฟุตบอล)มัรวาน มัวะห์ซินมาตรการรับมือการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ที่เกี่ยวข้องกับสุกรมิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016...มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017มิสเวิลด์ 2010มิสเวิลด์ 2011มิสเวิลด์ 2016มิสเวิลด์ 2017มุฮัมมัด อับดุชชาฟีมุฮัมมัด อับดุฮ์มุฮัมมัด เศาะลาห์ยัสเซอร์ อาราฟัตยึดวอลล์สตรีทยูไนเต็ดบัดดีแบส์รหัสมรณะรัฐประหารในประเทศอียิปต์ พ.ศ. 2556รัฐเคาะลีฟะฮ์รัฐเคาะลีฟะฮ์ฟาติมียะห์รัฐเคดีฟอียิปต์ราชอาณาจักรอิตาลีรายชื่อระบบรถรางและรถไฟฟ้ารางเบารายชื่อระบบรถไฟในเมืองรายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อนครที่ใหญ่ที่สุดในโลกรายชื่อนครในประเทศอียิปต์รายชื่อแหล่งมรดกโลกในรัฐอาหรับรายชื่อแหล่งมรดกโลกในทวีปแอฟริการายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอียิปต์รายชื่อเขตการปกครองรายพระนามพระมหากษัตริย์ราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลีรายพระนามพระมหากษัตริย์ที่ทรงมีความผิดปกติทางจิตรายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกรถไฟใต้ดินไคโรละติฟา อัลซัยยัตลิเบียนอาหรับแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 114วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกาวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1971วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1991วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1999วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 2003วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 2015วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกาวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปีวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปีวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2015วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปีวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1972วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1992วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 รอบคัดเลือกวอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 2015วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์แอฟริกาวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกาวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2015วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2017วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2015วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2016วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2017วิวัฒนาการของมนุษย์ศาลรัฐธรรมนูญศาสนาพุทธในประเทศอียิปต์สมาพันธ์วอลเลย์บอลแอฟริกาสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์สมเด็จพระราชินีรานยาแห่งจอร์แดนสมเด็จพระราชินีอาลียาแห่งจอร์แดนสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระเจ้าปัฟโลสแห่งกรีซสมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวียสวนสัตว์กิซาสหพันธ์สาธารณรัฐอาหรับสหสาธารณรัฐอาหรับสาธารณรัฐอียิปต์ (2496–2501)สุลตานะห์เมเลก ตูร์ฮานสงครามกลางเมืองลิเบียสงครามยมคิปปูร์สงครามครูเสดครั้งที่ 5สงครามครูเสดครั้งที่ 7สโมสรกีฬาอัลอะฮ์ลีหอสมุดนักฮัมมาดีอะห์มัด ฮะซัน มะห์ญูบอะห์มัด ฮิญาซี (นักฟุตบอล)อะเลปโปอะเล็กซานเดรียอัมมานอัยมัน อัซเซาะวาฮิรีอัครบิดรแห่งอะเล็กซานเดรียอันวัร อัสซาดาตอาสนวิหารอาห์โมส อิตาปิอาอีดาอาโมส-ซิทามุนอาโมส-เมริทอามุนอาโมส-เฮนุททาเมฮูอิบน์ ค็อลดูนอุมัร อัชชะรีฟอียิปต์แอร์อียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 667อียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 804อียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 864องค์การอนามัยโลกอเวคเคนนิงเรคอร์ดสฮาซัน อัลบันนาจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์จุดหมายปลายทางของการบินไทยจุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์จุดหมายปลายทางของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์จุดหมายปลายทางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์จุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์จุดหมายปลายทางของสายการบินไชน่าแอร์ไลน์จุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์จุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์จูเซปเป แวร์ดีทวีปแอฟริกาทาชเคนต์ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนท่าอากาศยานนานาชาติไคโรดาการ์แรลลีดาห์ชูร์ดาเมียตตาดิอะเมซิ่งเรซ 5ดิอินโนเซนส์ออฟมุสลิมคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศคาทอลิกตะวันออกคณะกรรมการมรดกโลกคณะผู้แทนทางทูตของประเทศบรูไนดารุสซาลามคณะผู้แทนทางทูตของประเทศบังกลาเทศคณะผู้แทนทางทูตของประเทศบาห์เรนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศฟิลิปปินส์คณะผู้แทนทางทูตของประเทศพม่าคณะผู้แทนทางทูตของประเทศกาตาร์คณะผู้แทนทางทูตของประเทศญี่ปุ่นคณะผู้แทนทางทูตของประเทศมองโกเลียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศมาเลเซียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศศรีลังกาคณะผู้แทนทางทูตของประเทศสิงคโปร์คณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอาร์มีเนียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอาเซอร์ไบจานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิรักคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิตาลีคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอุซเบกิสถานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์แดนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์เจียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจีนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศคาซัคสถานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศคูเวตคณะผู้แทนทางทูตของประเทศซาอุดีอาระเบียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศซีเรียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศปากีสถานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศโอมานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกสคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทยคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไซปรัสคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีใต้คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีเหนือคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเยเมนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเลบานอนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเวียดนามคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเนปาลต้นสมัยกลางซิบฆัตตุลลอฮ์ โมญัดเดดีซิอามุน (พระราชโอรสในทุตโมสที่สาม)ซิอามุน (ลูกชายของอาโมสที่ 1)ซิตทัตฮัตฮอร์ยูเนตซินานประชากรโลกประวัติการบินไทยประเทศอิสราเอลประเทศอียิปต์ปริศนาสมบัติอัจฉริยะปอเนาะนะญีบ มะห์ฟูซนารีมาน ศอดิกนางงามจักรวาล 2008นางงามจักรวาล 2009นางงามจักรวาล 2010นางงามจักรวาล 2014นางงามนานาชาติ 2014นาซลี ศ็อบรีแบกแดดแช่ม พรหมยงค์แพนอาหรับเกมส์แพนอาหรับเกมส์ 1961แอฟริกันเกมส์แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2019 รอบคัดเลือก กลุ่ม อีแอร์อาระเบียแอร์อินเดียโบสถ์น้อยบรันกัชชีโบโกตาโรมโรงพยาบาล 57357โลกอาหรับโจโจ้ ล่าข้ามศตวรรษ ภาค 3โดโรธี ฮอดจ์กินโตเกียวไทยในอียิปต์ไนโรบีเมืองหลวงเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับเม็กซิโกซิตีเราะมะฎอน ศุบฮีเลกอสเสือโคร่งแคสเปียนเหตุโจมตีคณะผู้แทนทางทูต พ.ศ. 2555เหตุโจมตีในอัลมินยา พ.ศ. 2560เอธิโอเปียแอร์ไลน์เจ้าหญิงชีเวการ์ อีบราฮิมเจ้าหญิงฟัยซะฮ์แห่งอียิปต์เจ้าหญิงฟัตมา เนสลีชาห์เจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวีเจ้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์เจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อตเจ้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์เขตอภิมหานครโตเกียวเควี 62เซาเปาลู22 มีนาคม6 ตุลาคม ขยายดัชนี (218 มากกว่า) »

ชะรีฟ อิกรอมี

รีฟ อิกรอมี (شريف إكرامي; เกิด 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1983) เป็นผู้รักษาประตูฟุตบอลชาวอียิปต์ ปัจจุบันลงเล่นให้กับสโมสรกีฬาอัลอะฮ์ลีและทีมชาติอียิปต์ โดยก่อนหน้านี้เขาเคยเล่นให้กับไฟเยอโนร์ด, Ankaragücü และ El Gouna อิกรอมีเคยเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลโลกเยาวชน 2 ครั้ง ในปี 2001 (จัดขึ้นที่อาร์เจนตินา) ที่อียิปต์ได้เหรียญทองแดง และปี 2003 (จัดขึ้นที่สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์) และในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ไคโรและชะรีฟ อิกรอมี · ดูเพิ่มเติม »

ฟรานซิส เบคอน (ศิลปิน)

ฟรานซิส เบคอน เป็นศิลปินชาวอังกฤษในยุคสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ที่สร้างสรรค์ผลงานในลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ หรือลัทธิแสดงพลังอารมณ์(expressionism) ลัทธิแสดงพลังอารมณ์ถือเป็นความเคลื่อนไหวในช่วงต้นคริสศตวรรษที่ 20 งานเหล่านี้มักแสดงถึงความเป็นจริงที่บิดเบือนและอารมณ์อันรุนแรง ดังจะเห็นได้ในผลงานของเบคอนที่มักจะใช้ลายเส้นแสดงความบิดเบี้ยว และอารมณ์ความรู้สึกเร่าร้อนรุนแรง โดยศิลปินมักสะท้อนแนวคิดด้านร้ายของสังคม การเมือง หรือเรื่องทางเพศผ่านผลงานของตน ช่วงชีวิตของฟรานซิส เบคอนมีโอกาสได้เดินทางไปยังสถานที่ต่าง ๆ และได้รับแรงบันดาลใจจนเกิดผลงานที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ซึ่งนับได้ว่าฟรานซิส เบคอนเป็นศิลปินคนหนึ่งที่ถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ รอบตัวผ่านผลงานไว้อย่างมากม.

ใหม่!!: ไคโรและฟรานซิส เบคอน (ศิลปิน) · ดูเพิ่มเติม »

ฟัตฮียะฮ์ ฆอลี

้าหญิงฟัตฮียะห์แห่งอียิปต์ (อาหรับ: فتحية غالي‎) หรือ ฟัตฮียะห์ กาลี (Fathia Ghali) ประสูติเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1930 ณ กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ โดยเป็นพระราชธิดาองค์ในพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีนาซลีแห่งอียิปต์ พระองค์ถือเป็นพระขนิษฐาองค์เล็กในพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต.

ใหม่!!: ไคโรและฟัตฮียะฮ์ ฆอลี · ดูเพิ่มเติม »

ฟาฏิมะฮ์ อัชชะรีฟ

ซัยยิดาฟาฏิมะฮ์ อัชชะรีฟ (فاطمة الشريف) หรือ ฟาฏิมะฮ์ อัซซานูซี (فاطمة السنوسي; ค.ศ. 1911 – 3 ตุลาคม ค.ศ. 2009) เป็นพระราชินีในพระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบีย เป็นสมเด็จพระราชินีเพียงพระองค์เดียวของลิเบียก่อนการปฏิวัติโดยพันเอกมูอัมมาร์ กัดดาฟี ในปี..

ใหม่!!: ไคโรและฟาฏิมะฮ์ อัชชะรีฟ · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์สนาอิบ

ฟาโรห์เมนเคาเร สนาอิบ เป็นฟาโรห์อียิปต์ในช่วงยุคกลางที่สอง ตามที่ไอยคุปต์คิมริโฮลต์และดาร์เรลล์เบเคอร์เขาเป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์ Abydos แม้ว่าพวกเขาจะออกจากตำแหน่งของเขาภายในราชวงศ์ อีกทางเลือกหนึ่ง Jürgen von Beckerath เห็นว่าฟาโรห์สนาอิบเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ใกล้ถึงจุดสิ้นสุดของราชวงศ์ที่ 13.

ใหม่!!: ไคโรและฟาโรห์สนาอิบ · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์ฮอร์

ฟาโรห์ฮอร์ (Hor) เป็นกษัตริย์แห่งอียิปต์ในราชวงศ์ที่ 13 ปรากฏในรายการกษัตริย์ตูรินว่า Au-IB-Ra พระองค์ส่วนใหญ่มีแนวโน้มขึ้นครองราชย์เพียงช่วงเวลาสั้น ๆ ไม่นานพอที่จะเตรียมความพร้อมพีระมิด ซึ่งอยู่ในราชวงศ์นี้ยังอยู่สถานที่ฝังศพทั่วไปสำหรับกษัตร.

ใหม่!!: ไคโรและฟาโรห์ฮอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอิสราเอล

ฟุตบอลทีมชาติอิสราเอล (נבחרת ישראל בכדורגל) เป็นฟุตบอลทีมชาติจากประเทศอิสราเอล ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลอิสราเอล (IFA).

ใหม่!!: ไคโรและฟุตบอลทีมชาติอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติโอมาน

ฟุตบอลทีมชาติโอมาน เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศโอมาน อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลโอมาน ทีมชาติโอมานยังไม่มีผลงานในระดับโลก สำหรับในระดับภูมิภาคเอเชีย ทีมชาติโอมานได้ร่วมเล่นใน เอเชียนคัพ 2 ครั้ง คือใน เอเชียนคัพ 2004 และ 2007.

ใหม่!!: ไคโรและฟุตบอลทีมชาติโอมาน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลในออลแอฟริกาเกมส์

การแข่งขันฟุตบอล ในการแข่งขันกีฬาออลแอฟริกาเกมส์ เริ่มขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1965 และฟุตบอลหญิงเริ่มในปี ค.ศ. 2003 จะมีการจัดขึ้นทุกครั้งที่มีการแข่งขันออลแอฟริกาเกม.

ใหม่!!: ไคโรและฟุตบอลในออลแอฟริกาเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก

ฟุตบอลโลก 2018 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 14 มิถุนายน - 15 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ไคโรและฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา – รอบที่ 3

รอบที่สาม ของ ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา (ซีเอเอฟ) จะแข่งขันตั้งแต่วันที่ 3 ตุลาคม..

ใหม่!!: ไคโรและฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา – รอบที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี 1997

การแข่งขันฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี 1997, เริ่มทำการแข่งขันตั้งแต่ 4 ถึง 21 กันยายน ค.ศ. 1997 นับเป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี ครั้งที่ 7 จัดขึ้นใน4เมืองของประเทศอียิปต์ ได้แก่ ไคโร, อิสเมอิลีอา, อะเล็กซานเดรีย, และ พอร์ตซาอ.

ใหม่!!: ไคโรและฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี 1997 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตซอลทีมชาติอียิปต์

ฟุตซอลทีมชาติอียิปต์ (Egypt national futsal team)เป็นทีมฟุตซอลซึ่งเป็นตัวแทนของประเทศอียิปต์ในการแข่งขันระดับนานาชาติเช่น ฟุตซอลชิงแชมป์โลก และฟุตซอลชิงแชมป์แอฟริกา และอยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลแห่งอียิปต์ อียิปต์เป็นหนึ่งในทีมที่แข็งแกร่งที่สุดในแอฟริกาที่ได้รับถ้วยรางวัลจากฟุตซอลแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ถึง 3 สมัย ได้เข้าร่วมฟุตซอลชิงแชมป์โลก6ครั้ง โดยเข้าร่วมครั้งแรกในปี1996 และในปี2004อียิปต์ได้ประเดิมสนามพบกับเจ้าภาพซึ่งผลการแข่งขันนั้นอียิปต์เป็นผ่ายชนะไป 12-0.

ใหม่!!: ไคโรและฟุตซอลทีมชาติอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2341

ทธศักราช 2341 ตรงกับคริสต์ศักราช 1798 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ไคโรและพ.ศ. 2341 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2344

ทธศักราช 2344 ตรงกับคริสต์ศักราช 1801 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ไคโรและพ.ศ. 2344 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ไคโรและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ไคโรและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ไคโรและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: ไคโรและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี

ระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย: محمدرضا شاه پهلوی, พระราชสมภพ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1919 ณ เตหะราน ประเทศอิหร่าน – สวรรคต 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 ณ ไคโร ประเทศอียิปต์) หรือ จักรพรรดิชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี พระองค์ทรงเป็นชาห์แห่งอิหร่านซึ่งเป็นชาห์องค์สุดท้ายที่ปกครองอิหร่าน โดยพระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ผู้ก่อตั้งราชวงศ์ปาห์ลาวีซึ่งเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองประเทศอิหร่านก่อนการปฏิวัติอิสลาม พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ได้รับการขนานพระนามเป็น ชาฮันชาห์ (Shahanshah ราชันย์แห่งราชา เทียบเท่าตำแหน่งจักรพรรดิ), อัรยาเมหร์ (Aryamehr แสงแห่งอารยัน) และ บอซอร์ก อาร์เตสตาราน (Bozorg Arteshtārān จอมทัพ, เปอร์เซีย:بزرگ ارتشتاران).

ใหม่!!: ไคโรและพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์

ระเจ้าฟารูกที่ 1 แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فاروق الأول Fārūq al-Awwal) (11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1920-18 มีนาคม ค.ศ. 1965) กษัตริย์แห่งอียิปต์และซูดาน และองค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ แห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี โดยพระองค์ครองราชย์ต่อจากพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ พระราชบิดา ส่วนพระขนิษฐาของพระองค์ เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ ได้อภิเษกสมรสกับพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี เป็นราชินีแห่งอิหร่าน ก่อนเกิดการปฏิวัติอียิปต์ ค.ศ. 1952 ได้ทำการถอดพระองค์ออกจากราชสมบัติ แล้วยกพระราชโอรสของพระองค์เป็นกษัตริย์องค์ต่อมาพระนามว่า พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ แต่ปกครองได้เพียงปีเดียวรัฐบาลก็ได้ทำการล้มล้างราชวงศ์ เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบสาธารณรั.

ใหม่!!: ไคโรและพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์

ระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فؤاد الأول‎) (26 มีนาคม ค.ศ. 1868-28 เมษายน ค.ศ. 1936) สุลต่านและกษัตริย์อียิปต์และซูดาน, องค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ พระองค์เป็นกษัตริย์องค์ที่เก้าแห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี โดยพระองค์ครองราชย์เป็นสุลต่านแห่งอียิปต์และซูดานเมื่อ ค.ศ. 1917 โดยครองราชย์ต่อจากพระเชษฐาของพระองค์ คือ สุลต่านฮุสเซน คามิล โดยพระองค์ตั้งตนเป็นกษัตริย์พระองค์แรกของอียิปต์ หลังจากพ้นจากการปกครองของสหราชอาณาจักร เมื่อ ค.ศ. 1922.

ใหม่!!: ไคโรและพระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์

ระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ (الملك فؤاد الثاني) (พระราชสมภพ 16 มกราคม ค.ศ. 1952-) กษัตริย์แห่งอียิปต์และซูดาน และองค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ แห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลีองค์สุดท้าย โดยได้รับการสถาปนาเป็นกษัตริย์ขณะที่พระองค์มีพระชันษาเพียง 7 เดือน เนื่องจากพระราชบิดา คือ พระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ทรงประกาศสละราชสมบัต.

ใหม่!!: ไคโรและพระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบีย

มเด็จพระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบีย (إدريس الأول), (พระนามเดิม: ซัยยิด มุฮัมมัด อิดริส บิน มุฮัมมัด อัลมะห์ดี อัสเซนุสซียะห์; Sayyid Muhammad Idris bin Muhammad al-Mahdi as-Senussi), 12 มีนาคม..

ใหม่!!: ไคโรและพระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

พีระมิดคาเฟร

ีระมิดคาเฟร และ มหาสฟิงซ์ พีระมิดคาเฟร หรือ คีเฟรน (Khafre, Chephren) เป็นพีระมิดในประเทศอียิปต์ ตั้งอยู่บริเวณที่ราบสูงกีซา ชานกรุงไคโร สร้างโดย ฟาโรห์คาเฟร ผู้เป็นราชโอรสของ ฟาโรห์คูฟู โดยสร้างขึ้นเคียงข้าง พีระมิดของพระราชบิดา และสำเร็จด้วยขนาดใกล้เคียงกัน ที่ความสูง 144 เมตร (ปัจจุบันคงเหลือความสูง 136 เมตร) ฐานแต่ละด้านกว้างประมาณ 215 เมตร และเอียงทำมุมประมาณ 53 องศา เนื่องจากพีระมิดนี้ ก่อสร้างอยู่บนพื้นหินที่สูงกว่า และตั้งอยู่เป็นองค์กลางของ พีระมิดทั้ง 3 แห่งกีซา ทำให้เมื่อมองด้วยตา พีระมิดคาเฟร จะมีขนาดใหญ่กว่า พีระมิดคูฟู ทั้งที่ในความเป็นจริงมีความสูงน้อยกว่า และมีขนาดฐานแคบกว่า ลักษณะสำคัญอีกอย่างหนึ่ง ของพีระมิดคาเฟรคือ ส่วนยอดของพีระมิดยังคงมีชั้นหินปูนขัดมัน ที่ชาวอียิปต์โบราณก่อสร้าง ปิดเป็นผิวชั้นนอกของพีระมิดหลงเหลืออยู่ หินปูนขัดมันที่เป็นผิวชั้นนอกนี้ บางก้อนมีน้ำหนัก ถึง 7 เมตริกตัน บริเวณใกล้เคียงกับพีระมิดคาเฟรจะมี มหาสฟิงซ์ ที่มักปรากฏอยู่ในภาพถ่ายพร้อมกับ พีระมิดคาเฟร มหาสฟิงซ์นี้เป็นรูปแกะสลักจากหินก้อนเดียว ที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในโลก และยังนับเป็นอนุสาวรีย์แบบแกะสลักลอยตัวที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอีกด้ว.

ใหม่!!: ไคโรและพีระมิดคาเฟร · ดูเพิ่มเติม »

พีระมิดเมนคูเร

ีระมิดเมนคูเร พีระมิดเมนคูเร หรือ เมนคาวเร (Menkaure) หนึ่งในพีระมิดในประเทศอียิปต์ ที่ตั้งอยู่บริเวณที่ราบสูงกีซา ทางทิศตะวันตกนอกกรุงไคโร สร้างโดย ฟาโรห์เมนคูเร หรือชื่อในภาษากรีกคือ ฟาโรห์ไมซีรีนัส (Micerinus) ทรงเป็นราชโอรสของ ฟาโรห์คาเฟร ผู้สร้างพีระมิดคาเฟร และเป็นพระนัดดาของฟาโรห์คูฟู ผู้สร้างมหาพีระมิดแห่งกิซ่า ฟาโรห์เมนคูเรได้สร้างพีระมิด ขึ้นเป็นหลังที่สามที่ความสูง 65.5 เมตร (ปัจจุบันคงเหลือ ความสูง 62 เมตร) ฐานแต่ละด้านกว้างประมาณ 105 เมตร และเอียงทำมุมประมาณ 51 องศา ซึ่งแม้จะมีขนาดเล็กที่สุด ในหมู่พีระมิดทั้ง 3 แห่งกิซ่า แต่ก็ยังสูงประมาณอาคาร 18 ชั้น (เมื่อคิดความสูงที่ชั้นละ 3.5 เมตร) ทางทิศใต้ของพีระมิดเมนคูเร มีการสร้างหมู่พีระมิดราชินีทั้ง 3 (The Three Queen's Pyramids) เป็นที่ไว้พระศพของราชินี 3 องค์ในสมัยของฟาโรห์เมนคูเร หมู่พีระมิดราชินีทั้ง 3 นี้มักปรากฏในภาพถ่ายร่วมกับพีระมิดเมนคูเร Map of Giza pyramid complex สำหรับ พีระมิดเมนคูเร นี้ขอตั้งข้อสังเกตว่า หากนับตำแหน่ง มุมด้านตะวันออกเฉียงใต้ ของพีระมิดเมนคูเร เป็นตำแหน่งอ้างอิง และหาก พีระมิดเมนคูเร มีขนาดใหญ่ประมาณเท่ากับ พีระมิดคาเฟร มุมด้านตะวันออกเฉียงเหนือของพีระมิด จะต่อกับมุมด้านตะวันตกเฉียงใต้ ของพีระมิดคาเฟรพอดี และมีระยะห่างกันเท่ากับระยะระหว่างพีระมิดคูฟูและคาเฟร นั่นคือเป็นไปได้ว่า เดิมการก่อสร้าง พีระมิดเมนคูเร อาจมีความตั้งใจสร้างให้มีขนาด เท่ากับพีระมิดแห่งกีซา 2 หลังก่อน แต่ต่อมาตัดสินใจก่อสร้าง เป็นขนาดเล็กอย่างที่เห็นปัจจุบัน พีระมิดในประเทศอียิปต์ เป็นหนึ่งในพีระมิดที่เป็นที่รู้จักโดยมีหลายแห่งในประเทศอียิปต์ เป็นสิ่งก่อสร้างของชาวอียิปต์โบราณสมัยก่อนยุคเหล็ก โดยเฉพาะ พีระมิดคูฟู ใน หมู่พีระมิดแห่งกิซ่า นับเป็นสิ่งก่อสร้าง ขนาดใหญ่ที่สุด ที่มนุษย์เคยสร้างขึ้นมา ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าทางวิทยาการ ที่น่าอัศจรรย์ของอียิปต์โบราณ.

ใหม่!!: ไคโรและพีระมิดเมนคูเร · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติก

หมายของอมาร์นา เขียนด้วย ภาษาอัคคาเดีย กลุ่มภาษาเซมิติก (Semitic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่มีผู้พูดมากกว่า 300 ล้านคนในปริเวณแอฟริกาเหนือ ตะวันออกกลางและจะงอยของแอฟริกา เป็นสาขาย่อยในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก และเป็นสาขาเดียวของตระกูลนี้ที่มีผู้พูดในทวีปเอเชีย กลุ่มภาษาเซมิติกที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาอาหรับ (ภาษาแม่ 325 ล้านคน) รองลงมาคือภาษาอัมฮารา (27 ล้านคน) ภาษาตึกรึญญา (6.9 ล้านคน) และภาษาฮีบรู (5 ล้านคน) กลุ่มภาษาเซมิติกเป็นกลุ่มภาษาแรกๆ ที่มีระบบการเขียน ภาษาอัคคาเดียเริ่มเขียนตั้งแต่ราว 2,000 ปีก่อนพุทธศักราช นอกจากนั้นยังมีอักษรโบราณที่ใช้เขียนกลุ่มภาษาเซมิติกมากมาย เช่น อักษรฟินิเชีย อักษรอาหรับ อักษรแอราเมอิก อักษรซีรีแอก อักษรอาระเบียใต้ และอักษรเอธิโอปิก มีภาษามอลตาเท่านั้นที่เป็นกลุ่มภาษานี้แต่เขียนด้วยอักษรโรมัน ชื่อของกลุ่มภาษานี้มาจาก เซม บุตรชายของโนอาห์ ในไบเบิล.

ใหม่!!: ไคโรและกลุ่มภาษาเซมิติก · ดูเพิ่มเติม »

กัฟรุชชัยค์

กัฟรุชชัยค์ หรือ กัฟรุชเชค (كفر الشيخ) เป็นเมืองหลักของเขตผู้ว่าการกัฟรุชชัยค์ ประเทศอียิปต์ ห่างจากกรุงไคโรไปทางทิศเหนือราว 134 กิโลเมตร บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนล์ จากข้อมูลเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ไคโรและกัฟรุชชัยค์ · ดูเพิ่มเติม »

การล่องเรือในแม่น้ำ

การล่องเรือในแม่น้ำ (อังกฤษ: River cruise) คือ การเดินทางไปตามแม่น้ำภายในประเทศ มักจะจอดหยุดที่พักเรือ เนื่องจากการล่องเรือในแม่น้ำอยู่ภายในเมืองของประเทศนั้น.

ใหม่!!: ไคโรและการล่องเรือในแม่น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

การคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2020

การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิก 2020 และพาราลิมปิก 2020 มีเมื่องที่เสนอตัวเป็นเจ้าภาพทั้งหมด 6 เมือง ได้แก.

ใหม่!!: ไคโรและการคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554

การประท้วงในจัตุรัสทาห์รีร์ กรุงไคโร เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 การปฏิวัติอียิปต..

ใหม่!!: ไคโรและการปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมสันติภาพเจนีวา

การประชุมสันติภาพเจนีวา จัดขึ้นเมื่อวันที่ 9 มกราคม..

ใหม่!!: ไคโรและการประชุมสันติภาพเจนีวา · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมไคโร

การประชุมไคโร (รหัสนามว่า เซ็กทันท์; sextant) เมื่อวันที่ 22–26 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ไคโรและการประชุมไคโร · ดูเพิ่มเติม »

การแลกเปลี่ยนนักโทษกิลัด ชาลิต

นายกรัฐมนตรีอิสราเอลต้อนรับชาลิตกลับสู่มาตุภูมิ วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2554 การแลกเปลี่ยนนักโทษกิลัด ชาลิต หลังความตกลงระหว่างอิสราเอลกับกลุ่มฮามาส ในการปล่อยตัวทหารอิสราเอล กิลัด ชาลิต แลกกับการปล่อยตัวนักโทษ 1,027 คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวปาเลสไตน์และอาหรับ-อิสราเอล แม้ในบรรดานักโทษที่ปล่อยตัวมานั้นจะมีนักโทษชาวยูเครน ชาวจอร์แดน และชาวซีเรีย อย่างละคนด้วยก็ตาม นักโทษจำนวนนี้ 280 คนถูกตัดสินจำคุกตลอดชีวิตในข้อหาวางแผนและเตรียมการก่อการร้ายต่อเป้าหมายอิสราเอล.

ใหม่!!: ไคโรและการแลกเปลี่ยนนักโทษกิลัด ชาลิต · ดูเพิ่มเติม »

การใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซล

ตัวอย่างราคาน้ำมันจากประเทศเยอรมนีเมื่อปี พ.ศ. 2550 ราคาอยู่ที่ 1.319 €/L.

ใหม่!!: ไคโรและการใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซล · ดูเพิ่มเติม »

กินชาซา

กินชาซา (Kinshasa) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก หรือเป็นที่รู้จักในชื่อประเทศซาอีร์ในช่วงปี 1971 ถึง 1997 เมืองตั้งอยู่ริมแม่น้ำคองโก แต่เดิมเป็นหมู่บ้านชาวประมง ปัจจุบันเป็นพื้นที่เมือง มีประชากร 10,076,099 คนในปี 2009 ส่วนกรุงบราซาวีลของสาธารณรัฐคองโก (มีประชากรราว 1.5 ล้านคนในปี 2007 รวมเขตชานเมืองแล้ว) ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามแม่น้ำคองโกของกินชาซา หากรวมประชากรเข้ากับกรุงบราซาวีลแล้ว มีประชากรเกือบ 12 ล้านคน และเพราะว่าเขตการบริหารที่กว้างขวางอย่างมาก กว่า 60% ของพื้นที่เมืองเป็นชนบทธรรมชาติ และพื้นที่ในเมืองมีเพียงส่วนน้อยในเขตตะวันตกไกลของเมือง กินชาซาเป็นเมืองที่มีสถานะเทียบเท่าเมืองโจฮันเนสเบิร์ก ที่เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเขตกึ่งสะฮารา และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 3 ของทวีป รองจากเมืองเลกอสและไคโร และยังมักถูกพิจารณาว่าเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 2 รองจากปารีสที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส และหากแนวโน้มด้านสถิติประชากรอย่างต่อเนื่อง กรุงกินชาซาจะมีประชากรมากกว่ากรุงปารีสก่อนปี 2020.

ใหม่!!: ไคโรและกินชาซา · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาใน พ.ศ. 2549

กีฬาใน พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: ไคโรและกีฬาใน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

กีซา

กีซา (Giza) หรือ อัลญีซะฮ์ (الجيزة) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศอียิปต์ ตั้งอยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไนล์ อยู่ห่างจากศูนย์กลางของไคโรไปทางตะวันตกเฉียงใต้ ราว 20 กิโลเมตร กีซาเป็นเมืองหลวงของเขตผู้ว่าการกีซา เมืองมีประชากร 2,681,863 คนจากการสำรวจประชากรใน..

ใหม่!!: ไคโรและกีซา · ดูเพิ่มเติม »

ญะมาล อับดุนนาศิร

ญะมาล อับดุนนาศิร ญะมาล อับดุนนาศิร ฮุซัยน์ (جمال عبد الناصر حسين; Gamal Abdel Nasser Hussein; 15 มกราคม 1918 - 28 กันยายน 1970) เกิดเมื่อวันที่ 15 มกราคม 1918 เป็นอดีตประธานาธิบดีคนที่ 2 หลังจากประธานาธิบดีมุฮัมมัด นะญีบ เข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งอียิปต์เมื่อ 1954 จนกระทั่งสิ้นชีวิต 28 กันยายน 1970 รวมอายุ 52 ปี เป็นคนสำคัญที่ถอดถอนกษัตริย์ฟารูก ออกจากตำแหน่ง.

ใหม่!!: ไคโรและญะมาล อับดุนนาศิร · ดูเพิ่มเติม »

ญิดดะฮ์

แผนที่แสดงที่ตั้งเมืองญิดดะฮ์ ญิดดะฮ์ (جدّة) หรือ เจดดาห์ (Jeddah, Jiddah) เป็นเมืองที่อยู่ในประเทศซาอุดีอาระเบี.

ใหม่!!: ไคโรและญิดดะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฏ็อนฏอ

ฏ็อนฏอ (طنطا) เป็นนครในประเทศอียิปต์ที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ มีประชากรประมาณ 429,000 คน (ค.ศ. 2008) เมืองตั้งอยู่ห่างจากกรุงไคโรไปทางทิศเหนือ 94 กิโลเมตร (58 ไมล์) และห่างจากเมืองอะเล็กซานเดรียไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ 130 กิโลเมตร (81 ไมล์) เป็นเมืองหลักของเขตผู้ว่าการอัลฆ็อรบียะฮ์ เป็นศูนย์กลางการปั่นฝ้าย และมีถนนสายหลักที่มุ่งหน้าสู่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนล.

ใหม่!!: ไคโรและฏ็อนฏอ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: ไคโรและภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร

มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร (جامعة الأزهر الشريف; Al-Azhar University) เป็นองค์กรศาสนาแห่งโลกอิสลาม ก่อตั้ง ณ กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ ประวัติศาสตร์ได้จารึกว่า อัลอัซฮัร ก่อกำเนิดในต้นรัชสมัยแห่งราชวงศ์ฟาติมียะห์ ในอียิปต์ เมื่อปี พ.ศ. 1517 เป็นศูนย์กลางการศึกษาด้านภาษาอาหรับและวรรณคดี มีหลักสูตรการสอนตามแนวของซุนนี เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่อันดับที่สองที่มีการเรียนการสอนจนถึงปัจจุบัน มีพื้นที่เชื่อมต่อกับมัสยิดอัลอัซฮัร เจตนารมณ์ของมหาลัยอัลอัซฮัร คือให้การศึกษาและเผยแผ่ศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: ไคโรและมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร · ดูเพิ่มเติม »

มหาสุสานกิซา

มหาสุสานกิซา (أهرامات الجيزة,"พีรามิดแห่งกิซา") เป็นโบราณสถานในเขตชานเมืองของกรุงไคโร ประเทศอียิปต์ มหาสุสานโบราณที่ซับซ้อน ซึ่งรวมถึงพีระมิดขนาดเล็ก พีรามิดนี้เป็นที่รู้จักกันดีว่าเป็นที่ประติมากรรมยิ่งใหญ่ของชาวอียิปต์ สฟิงซ์ขนาดใหญ่ที่รู้จักกันว่าเป็นสุสานที่ยิ่งใหญ่ สุสานที่สร้างขึ้นจากคนงานโดยใช้กลวิธีที่ซับซ้อน มันตั้งอยู่ลึก 9 กิโลเมตร (5 ไมล์) เข้าไปในทะเลทรายจากเขตเมืองเก่าของกิซ่าบนแม่น้ำไนล์ ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเมืองไคโรประมาณ 25 กิโลเมตร (15 ไมล์) พีรามิดนี้มีประวัติศาสตร์ปรากฏอยู่ว่ามีขนาดใหญ่ที่สุดและเป็นสัญลักษณ์ของอียิปต์โบราณ ที่มี่ถูกคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคโบราณ มันคือของสิ่งมหัศจรรย์ยุคโบราณแห่งเดียวที่ยังเหลืออยู่ องค์การยูเนสโกได้ประกาศให้ที่นี่เป็นมรดกโลกเมื่อปี..

ใหม่!!: ไคโรและมหาสุสานกิซา · ดูเพิ่มเติม »

มะห์มูด ฮะซัน (นักฟุตบอล)

มะห์มูด อิบรอฮิม ฮะซัน (محمود حسن; เกิด 1 ตุลาคม ค.ศ. 1994) หรือ เทรเซแก (Trézéguet) เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวอียิปต์ โดยลงเล่นตำแหน่งกองกลางให้กับทีมชาติอียิปต์ สโมสรแรกในอาชีพของเขาคืออัลอะฮ์ลี ก่อนที่จะถูกปล่อยยืมตัวให้กับอันเดอร์เลคต์ในปี..

ใหม่!!: ไคโรและมะห์มูด ฮะซัน (นักฟุตบอล) · ดูเพิ่มเติม »

มัรวาน มัวะห์ซิน

มัรวาน มัวะห์ซิน (مروان محسن فهمي ثروت; เกิด 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1989) เป็นนักฟุตบอลชาวอียิปต์ ปัจจุบันลงเล่นให้กับอัลอะฮ์ลีในพรีเมียร์ลีกอียิปต์ และยังเล่นให้กับทีมชาติอียิปต์ด้วย เขาลงเล่นทีมชาตินัดแรกเมื่อวันที่ 3 กันยายน..

ใหม่!!: ไคโรและมัรวาน มัวะห์ซิน · ดูเพิ่มเติม »

มาตรการรับมือการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ที่เกี่ยวข้องกับสุกร

รัฐบาลของประเทศทั่วโลกมีมาตรการรับมือการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 โดยที่บางประเทศออกมาตรการซึ่งอาจผิดธรรมดาอย่างมากต่อสุกร ซึ่งได้รวมไปถึงการกำจัดสุกรภายในประเทศทั้งหมดในอียิปต์ และการลดจำนวนหมูป่าในสวนสัตว์แบกแดดในอิรัก การฆ่าหมูจำนวนมากเหล่านี้เกิดขึ้นในประเทศมุสลิม และมีการกล่าวอ้างว่าการจำกัดทางศาสนาต่อการบริโภคสุกรเป็นอิทธิพลต่อการตัดสินใจดำเนินการดังกล่าว ประเทศอื่นหลายประเทศได้สั่งห้ามการค้าสุกรและผลิตภัณฑ์สุกรระหว่างประเทศ องค์การอนามัยโลก (WHO) กล่าวว่า ไม่มีเหตุผลที่จะเชื่อได้ว่าสุกรเป็นพาหะนำไวรัสไข้หวัดใหญ่มาสู่มนุษย์ เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม เหตุการณ์การค้นพบการเป็นพาหะไข้หวัดใหญ่จากมนุษย์สู่สุกรถูกค้นพในไร่ในอัลเบอร์ตา ที่ซึ่งมีการค้นพบสุกรที่ติดเชื้อ เป็นที่น่าสงสัยว่าคนงานรับจ้างในไร่ดังกล่าวติดโรคซึ่งเพิ่งจะกลับมาจากเม็กซิโก ได้ส่งไวรัสไข้หวัดใหญ่ไปสู่สัตว.

ใหม่!!: ไคโรและมาตรการรับมือการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ที่เกี่ยวข้องกับสุกร · ดูเพิ่มเติม »

มิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014

มิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014, ครั้งที่ 43 จัดขึ้นในวันที่ 4 ธันวาคม..

ใหม่!!: ไคโรและมิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015 (Miss Grand International 2015) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 3 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายถูกจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ไคโรและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 (Miss Grand International 2016) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 4 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ไคโรและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017 (Miss Grand International 2017) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 5 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ไคโรและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2010

มิสเวิลด์ 2010 (Miss World 2010) เป็นการประกวดมิสเวิลด์ ครั้งที่ 60 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2553 โดยแต่เดิมนั้นการประกวดมิสเวิลด์ในปีนี้จะจัดขึ้นที่เมืองญาจาง ประเทศเวียดนาม ซึ่งเคยเป็นเจ้าภาพในการจัดประกวดนางงามจักรวาล 2008 มาก่อน แต่เวียดนามได้ขอสละสิทธิ์ในการเป็นเจ้าภาพการประกวดมิสเวิลด์ ด้วยเหตุผลคือขาดงบประมาณและขาดการสนับสนุนจากรัฐบาล ทำให้การประกวดปีนี้ต้องกลับมาจัดที่เมืองซานย่า ประเทศจีนอีกครั้ง หลังจากที่เคยเป็นเจ้าภาพไปแล้วเมื่อปี พ.ศ. 2550 การประกวดในปีนี้มีสาวงามเข้าร่วมประกวดทั้งหมด 115 คนจากทั่วโลก โดยมี ไคแอน อัลโดริโน มิสเวิลด์ 2552 จากประเทศยิบรอลตาร์ ได้มาส่งมอบตำแหน่งให้กับ อเล็กซานเดรีย มิลล์ส สาวงามวัย 18 ปีจากประเทศสหรัฐอเมริกา ครองตำแหน่งมิสเวิลด์ประจำปีนี้.

ใหม่!!: ไคโรและมิสเวิลด์ 2010 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2011

มิสเวิลด์ 2011 เป็นการจัดประกวดมิสเวิลด์ครั้งที่ 61 โดยการประกวดจะจัดขึ้นในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2554 และจะจัดขึ้นที่ Earls Court Exhibition Centre กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ โดยผู้ที่ได้รับตำแหน่งมิสเวิลด์ 2554 จะมาสืบต่อตำแหน่งและปฏิบัติหน้าที่ต่อจาก อเล็กซานดร้า มิลส์ มิสเวิลด์ 2553 ต่อไป.

ใหม่!!: ไคโรและมิสเวิลด์ 2011 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2016

มิสเวิลด์ 2016 การประกวดมิสเวิลด์ครั้งที่ 66 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: ไคโรและมิสเวิลด์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2017

มิสเวิลด์ 2017 ครั้งที่ 67 ของการประกวดมิสเวิลด์ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ไคโรและมิสเวิลด์ 2017 · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด อับดุชชาฟี

มุฮัมมัด อับดุชชาฟี (محمد عبد الشافي; เกิด 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1985) เป็นนักฟุตบอลชาวอียิปต์ ปัจจุบันลงเล่นตำแหน่งแบ็คซ้ายให้กับสโมสรฟุตบอลอัลอะฮ์ลีในซาอุดีโปรเฟสชันนัลลีกและทีมชาติอียิปต์ อับดุชชาฟีติดทีมชาติครั้งแรกเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม..

ใหม่!!: ไคโรและมุฮัมมัด อับดุชชาฟี · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด อับดุฮ์

มุฮัมหมัด อับดุฮ์ มุฮัมมัด อับดุฮ์ (Mohammed Abduh, محمد عبده) เป็นนักอิสลามนิยมชาวอียิปต์ เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ไคโรและมุฮัมมัด อับดุฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด เศาะลาห์

มุฮัมมัด เศาะลาห์ ฆอลี (محمد صلاح غالى; Mohammed Salah Ghaly; เกิดวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ. 1992) เป็นนักฟุตบอลชาวอียิปต์ ปัจจุบันเล่นให้กับลิเวอร์พูล และทีมชาติอียิปต์ ในตำแหน่งกองหน้.

ใหม่!!: ไคโรและมุฮัมมัด เศาะลาห์ · ดูเพิ่มเติม »

ยัสเซอร์ อาราฟัต

ัสเซอร์ อาราฟัต (ياسر عرفات ยาซิร อะเราะฟาต; 24 สิงหาคม พ.ศ. 2472 — 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547) เป็นที่รู้จักในชื่อในการรบว่า อะบู อัมมาร์ (ابو عمّار) ชื่อจริงคือ โมฮัมหมัด อับดุล ราห์มาน อัลดุล ราอูฟ อาราฟัต อัล กุดวา (محمد عبد الرؤوف القدوة الحسيني) เป็นผู้นำชาวปาเลสไตน์ เป็นประธานองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ (PLO) ประธานองค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ (PNA) และผู้นำฟะตะห์ (Fatah) พรรคการเมืองและอดีตกลุ่มกำลังกึ่งทหารที่เขาก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ไคโรและยัสเซอร์ อาราฟัต · ดูเพิ่มเติม »

ยึดวอลล์สตรีท

ออคคิวพายวอลล์สตรีท (Occupy Wall Street) เป็นชุดการเดินขบวนประท้วงที่เกิดขึ้นที่นครนิวยอร์ก เดิมการประท้วงเรียกร้องโดยกลุ่มกิจกรรมนิยมแคนาดา แอดบัสเตอร์ส (Adbusters) ได้รับแรงบันดาลใจจากขบวนการอาหรับสปริง โดยเฉพาะการประท้วงจัตุรัสตอห์รีร์ (Tahrir Square) ในกรุงไคโร อันเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554 และจากการประท้วงในสเปน ผู้ประท้วงส่วนใหญ่ประท้วงต่อความไม่เท่าเทียมทางสังคมและเศรษฐกิจ ความโลภของภาคธุรกิจ (corporate greed) และอิทธิพลของเงินบรรษัทและนักวิ่งเต้นในรัฐบาล และความกังวลอื่น ๆ แอดบัสเตอร์สแถลงว่า "เริ่มต้นจากข้อเรียกร้องง่าย ๆ หนึ่งข้อ คณะกรรมาธิการของประธานาธิบดีให้แยกเงินจากการเมือง เราเริ่มต้นจัดวาระให้แก่อเมริกาใหม่", Adbusters, July 13, 2011; accessed September 30, 2011 โดยจนถึงวันที่ 1 ตุลาคม การเดินขบวนที่คล้ายกันมีจัดขึ้นในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี., ลอสแอนเจลิส, บอสตัน, ชิคาโก, ไมอามี, พอร์ตแลนด์ รัฐเมน, พอร์ตแลนด์ รัฐโอริกอน, ซีแอตเทิล, เดนเวอร์ และ คลีฟแลนด์ แม้การประท้วงดังกล่าวจะเสนอโดยนิตยสารแอดบัสเตอร์ส แต่การเดินขบวนดังกล่าวไม่มีผู้นำ นักเคลื่อนไหวจากกลุ่มนิรนามได้กระตุ้นให้ผู้ติดตามมีส่วนในการประท้วง ซึ่งเพิ่มความสนใจแก่กลุ่ม การประท้วงดังกล่าวรวมประชาชนในจุดยืนทางการเมืองต่าง ๆ กันมารวมกัน.

ใหม่!!: ไคโรและยึดวอลล์สตรีท · ดูเพิ่มเติม »

ยูไนเต็ดบัดดีแบส์

One-World Buddy Bear ยูไนเต็ดบัดดีแบส์ (United Buddy Bears) Buddy Bears ในเบอร์ลิน: Buddy Bears ออกสู่สายตาชาวโลกเมื่อปี 2001 ผู้ริเริ่มคือเอวาและเคลาส์ เฮอร์ลิทซ์ ได้รับแรงบันดาลใจจากแนวความคิดในการแสดงศิลปะบนถนนของเมืองใหญ่ ๆ และจึงตัดสินใจเริ่มต้นโครงการศิลปะที่ไม่เหมือนใครในท้องถนนของกรุงเบอร์ลิน เมื่อนึกถึงประติมากรรมที่เหมาะสมมากที่สุดสำหรับเมืองหลวงของเยอรมนี พวกเขาเลือกหมีได้โดยง่าย หมีเป็นสัตว์นำสารที่รู้จักกันมากที่สุดในเบอร์ลิน และได้รับคัดเลือกให้เสนอสารเพื่อชนะใจชาวเบอร์ลิน รวมทั้งแขกที่มาเยี่ยมเยือนด้วย ในบริบทนี้ จึงเป็นเรื่องสำคัญสำหรับเอวาและเคลาส์ เฮอร์ลิทซ์ที่ต้องแสดงรูปหมีที่บ่งบอกถึงความอบอุ่นและความสุข มิได้ใช้เวลานานนักในการคิดตั้งชื่อให้กับเจ้าหมี คือ บั๊ดดี้ แบร์ (Buddy Bear) โรมัน สโตรบ์ล เป็นผู้ได้รับมอบหมายให้ออกแบบหมีตัวตรง และด้วยประติมากรรมชิ้นนี้ ดาวดวงใหม่ของกรุงเบอร์ลินก็เกิดขึ้น ในฤดูใบไม้ผลิปี 2001 ได้มีการสร้างสรรค์เหล่าหมีกว่า 150 ตัวในอิริยาบถการออกแบบที่หลากหลาย นับจากเดือนมิถุนายน 2001 เรื่อยมา ได้มีการนำเสนอในหลากหลายสถานที่ของกรุงเบอร์ลินด้วย ประติมากรรมของเหล่าหมีนี้ได้รับการตอบรับอย่างดียิ่ง ไม่ว่าจะที่จุดใดของเมืองก็มีให้ชมอยู่ทุกแห่ง ดึงดูดความสนใจจากผู้หลงใหลอย่างมากมาย จากนั้นไม่นาน โครงการนี้ได้รับการพัฒนาเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับหมีอย่างกว้างขวางและเด่นชัด ความสำเร็จของ Buddy Bears นำสู่การขยายการนำเสนออย่างเป็นทางการในถนนสายต่าง ๆ ของกรุงเบอร์ลินจนถึงสิ้นปี 2002.

ใหม่!!: ไคโรและยูไนเต็ดบัดดีแบส์ · ดูเพิ่มเติม »

รหัสมรณะ

รหัสมรณะ ชื่อภาษาไทยของนวนิยายภาษาอังกฤษเรื่อง The Key to Rebecca เขียนโดย เคน ฟอลเลตต์ นักเขียนชาวอังกฤษ.

ใหม่!!: ไคโรและรหัสมรณะ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศอียิปต์ พ.ศ. 2556

วันที่ 3 กรกฎาคม 2556 พลเอก อับดุล ฟาตะห์ อัล-เซสซี (Abdul Fatah al-Sisi) ถอดประธานาธิบดีมุฮัมมัด มุรซี (Mohamed Morsi) และระงับรัฐธรรมนูญแห่งอียิปต์หลังมีการประท้วงสาธารณะ เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นหลังการประท้วงสาธารณะขนานใหญ่ในประเทศอียิปต์ทั้งสนับสนุนและต่อต้านมุรซี และมีคำเตือนจากกองทัพให้ประธานาธิบดีสนองตอบข้อเรียกร้องของผู้ประท้วง มิฉะนั้นกองทัพจะดำเนินตามแผนของตน อัล-เซสซีประกาศให้อัดลี มันซูร์ (Adly Mansour) เป็นประธานาธิบดีอียิปต์ชั่วคราว มุรซีถูกกักบริเวณอยู่ในบ้านและมีการจับกุมผู้นำภราดรภาพมุสลิม (Muslim Brotherhood) จากนั้น ได้เกิดการเดินขบวนและการปะทะระหว่างผู้สนับสนุนและผู้คัดค้านรัฐประหารทั่วประเทศอียิปต์ การประท้วงต่อต้านมุรซีเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน ตรงกับวันครบรอบหนึ่งปีพิธีเข้ารับตำแหน่งของมุรซี ผู้ประท้วงหลายล้านคนทั่วประเทศออกมาตามท้องถนนและเรียกร้องให้ประธานาธิบดีลาออกทันที สาเหตุรวมถึงการกล่าวหาว่ามุรซีเป็นเผด็จการเพิ่มขึ้นและผลักดันวาระศาสนาอิสลามโดยไม่คำนึงถึงผู้คัดค้านฆราวาสนิยม (secular) การเดินขบวนประท้วง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นไปโดยสงบ กลายเป็นรุนแรงเมื่อผู้ประท้วงต่อต้านมุรซีห้าคนถูกสังหารในการปะทะและเหตุยิงกันหลายครั้ง ขณะเดียวกัน ผู้สนับสนุนมุรซีจัดการชุมนุมในนครนาสซ์ (Nasr City) อันเป็นย่านของกรุงไคโร เช้าวันที่ 1 กรกฎาคม ผู้ประท้วงต่อต้านมุรซีปล้นสะดมสำนักงานใหญ่ประจำชาติของกลุ่มภารดรภาพมุสลิมในกรุงไคโร ผู้ประท้วงขว้างปาวัตถุใส่กระจกและปล้นอาคาร ทั้งขโมยอุปกรณ์สำนักงานและเอกสาร กระทรวงสาธารณสุขและประชากรยืนยันว่ามีผู้เสียชีวิตแปดคนในเหตุปะทะรอบสำนักงานใหญ่ วันที่ 3 กรกฎาคม มือปืนเปิดฉากยิงใส่การชุมนุมสนับสนุนมุรซี เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิต 16-18 คน และมีผู้ได้รับบาดเจ็บ 200 คน ขณะเดียวกัน ระหว่างที่มีการประท้วงต่อต้านรัฐบาล ก็มีการประท้วงสนับสนุนมุรซีขนาดเล็กกว่าด้วย สถานการณ์บานปลายเป็นวิกฤตการณ์การเมืองและรัฐธรรมนูญระดับชาติ เมื่อมุรซีปฏิเสธข้อเรียกร้องของกองทัพที่ให้เขาสละอำนาจและกองทัพขู่ว่าจะยึดอำนาจหากนักการเมืองพลเรือนไม่ระงับสถานการณ์ มุรซีกล่าวสุนทรพจน์ท้าทายซึ่งเขาย้ำความชอบธรรมของเขาในฐานะที่เป็นประธานาธิบดีที่ได้รับเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตยและวิจารณ์กองทัพที่ถือฝ่ายในวิกฤตการณ์นี้ วันที่ 3 กรกฎาคม กองทัพอียิปต์ประกาศยุติการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของมุรซี ระงับรัฐธรรมนูญ และให้มีการเลือกตั้งประธานาธิบดีใหม่โดยเร็ว กองทัพแต่งตั้งให้อัดลี มันซูร์ ประธานศาลสูงสุด เป็นประธานาธิบดีชั่วคราว และมอบหมายให้เขาตั้งรัฐบาลเปลี่ยนผ่านที่นิยมนักวิชาการ (technocratic) มุรซีถูกกักบริเวณอยู่ในบ้านและผู้นำภราดรภาพมุสลิมถูกจับ แถลงการณ์ดังกล่าวตามมาด้วยการเดินขบวนและการปะทะระหว่างผู้สนับสนุนและผู้คัดค้านรัฐประหารทั่วประเทศอียิปต์ ฝ่ายแกรนด์ชีคแห่งอัลอัซฮัร (Grand Sheikh of Al Azhar) อะห์มัด มุฮัมมัด อัฏฏ็อยยิบ พระสันตะปาปาทาวาดรอสที่ 2 แห่งศาสนจักรคอปติก เช่นเดียวกับผู้นำฝ่ายค้าน โมฮัมเหม็ด เอลบาราเด ออกแถลงการณ์หลังแถลงการณ์ของกองทัพเช่นกัน ประชาคมนานาชาติมีปฏิกิริยาต่อเหตุการณ์ปะปนกัน โลกอาหรับส่วนใหญ่สนับสนุนหรือเป็นกลาง ยกเว้นประเทศตูนิเซียอันเป็นจุดเริ่มต้นของอาหรับสปริง รัฐอื่นไม่ประณามก็แสดงความกังวลต่อรัฐประหารดังกล่าว เนื่องจากระเบียบของสหภาพแอฟริกาว่าด้วยการขัดขวางการปกครองด้วยรัฐธรรมนูญโดยรัฐสมาชิก อียิปต์จึงถูกระงับสมาชิกภาพ นอกจากนี้ ยังมีการถกเถียงในสื่อว่าด้วยการอธิบายเหตุการณ์เหล่านี้ การประท้วงสนับสนุนมุรซีดำเนินต่อไปอย่างน้อยถึงวันที่ 21 กรกฎาคม.

ใหม่!!: ไคโรและรัฐประหารในประเทศอียิปต์ พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์

รัฐเคาะลีฟะฮ์ (Caliphate จาก خليفة khilāfa) เป็นเขตการปกครองแบบหนึ่งในอาณาจักรมุสลิมที่มีประมุขเป็นเคาะลีฟะฮ์ที่มาจากปรัชญาว่าเป็นผู้สืบอำนาจมาจากนบีมุฮัมมัดศาสดาของศาสนาอิสลาม ซุนนีย์ระบุว่าเคาะลีฟะฮ์ควรจะเป็นผู้ที่ได้รับเลือกโดยชูรา ผู้ได้รับเลือกโดยมุสลิมหรือผู้แทน ชีอะฮ์เชื่อว่าเคาะลีฟะฮ์คืออิมามผู้สืบเชื้อสายมาจากอะฮฺลุลบัยตฺ (Ahl al-Bayt) ตั้งแต่สมัยมุฮัมมัดมาจนถึงปี..

ใหม่!!: ไคโรและรัฐเคาะลีฟะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์ฟาติมียะห์

การปกครองฟาฏิมียะห์คือขบวนการปกครองที่เริ่มตนขึ้นเมื่อปี ๙๐๙ (ค.ศ)และทำการปกครองเป็นเวลาสองศตวรรษ(จนถึงปี ๑๑๗๑ ค.ศ)โดยปกครองภาคเหนือของแอฟริกาและเอเชียตะวันออกกลาง รวมถึงทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ผู้ปกครองฟาฏิมีคือผู้นำชีอะห์นิกายอิสมาอีลียะห์ และชื่อขบวนการของพวกเขาคือ ฟาฏิมี หมายถึงท่านหญิงฟาฏีมะห์(ซ)บุตรสาวของท่านศาสดา(ศ็อลฯ) พวกเขาได้ก่อตั้งรัฐบาลขึ้นถึงมากกว่าสองศตวรรษในแถบตะวันออกกลางและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และมีความรักต่อวิชาความรู้และการค้าขายเป็นอย่างมาก ไคโรเมืองหลวงของประเทศอียิปต์ ถูกก่อตั้งโดย การปกครองฟาฏิมี คอลีฟะห์ การปกครองฟาฏิมี ถูกก่อตั้งเมื่อปี ๙๐๙ (ค.ศ) ณ แอฟริกาเหนือ และขยายตัวอย่างรวดเร็วสู่ ประเทศ ซิซิลี ปาเลสไตน์ อียิปต์ และ ซีเรีย และมีอิทธิพลมากที่สุดในยุคคอลีฟะห์คนที่แปด คือ อัลมุสตันศัร บิลลาฮ์ (เสียชีวิตเมื่อปี ๑๐๙๔)ในช่วงสองศตวรรษแห่งการปกครอง พวกเขาได้ทำการปกครองที่ราบรื่นสดใส่ บนรากฐานของสติปัญญา เศรษฐกิจที่สมบูร์ และวัฒนธรรมที่น่าสนใจ ฟาฏีมียอนคือกลุ่มชีอะห์นิการอิสมาอีลียะห์ ซึ่งเป็นผู้ที่คัดค้านการปกครองของอับบาซีโดยอ้างว่าพวกเขาคือผู้ปกครองที่เป็นธรรม การปกครองอันยาวนานของฟาฏิมีทำให้นิกายชีอะห์ถูกเผยแพร่อย่างกว้างขว้าง ในยุคดังกล่าวสถาบันการศึกษาอิสลามที่ยิ่งใหญ่ อาธิ ญาเมะอฺ อัลอัซฮัร ถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อเผยแพร่แนวทางอิสมาอีลียะห์ ซึ่งมีผลงานการเขียนมากมายเกี่ยวกับอิสมาอีลียะ กลุ่มฟาฏีมีมุ่งมั่นในการเผยแพร่จึงส่งทูตของตนไปยังประเทศ และ เมืองต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่แนวคิดของตนและสามารถขยายความเชื่ออิสมาอีลียะอย่างกว้างขว้างในประเทศ เยเมน อินเดีย และภาคตะวันออกของประเทศอิหร่าน ผู้นำของฟาฏีมี อัลมะฮ์ดี บิลลาฮ อะบูมุฮัมหมัด อุบัยดัลลอฮ               ปกครองเมื่อปี ๙๐๙ (ค.ศ) อัลกออิม บิอัมริลลาฮ อะบูกอเซ็มมุฮัมหมัด ปกครองเมื่อปี ๙๓๔(ค.ศ) อัลมันศูรบิลลาฮ อะบูฏอฮิรอิสมาอีล                              ปกครองเมื่อปี ๙๔๖(ค.ศ) อัลมุอิซ ลิดีนิลลาฮ์ อะบูตะมีม มุอิด                               ปกครองเมื่อปี ๙๕๓(ค.ศ) อัลอะซีซ บิลลาฮ์ อะบูมันศูร นิซาร์                                ปกครองเมื่อปี ๙๗๕ (ค.ศ) อัลฮากิม บิอัมริลลาฮ์ อะบูอาลีมันศูร                              ปกครองเมื่อปี ๙๙๖ (ค.ศ) อัซซอฮิร ลา อิรอซ ดีนิลลาฮ์ อะบูลฮะซัน อะลี           ปกครองเมื่อปี ๑๐๒๑ อัลมุซตันศิร บิลลาฮ์ อะบูตะมีม มุอิด                             ปกครองเมื่อปี ๑๐๓๖ อัลมุสตะอฺลี บิลลาฮ์ อะบูกอเซ็มอะห์หมัด                    ปกครองเมื่อปี ๑๐๙๔ อัลอัมร์ บิอะห์กามิลลาฮ์ อะบูอะลี มันศูร                      ปกครองเมื่อปี ๑๑๐๑ (ค.ศ) อัลฮาฟิซ ลิดีนิลลาฮ์ อะบูอัลมัยมูน อับดุลมะญีด         ปกครองเมื่อปี ๑๑๓๐(ค.ศ) อัลซิฟิร บิอัมริลลาฮ์ อะบูมันศูร อิสมาอีล                     ปกครองเมื่อปี ๑๑๔๙(ค.ศ) อัลฟาอิร บินัศริลลาฮ์ อะบูกอเซ็ม อีซา                          ปกครองเมื่อปี ๑๑๕๔(ค.ศ) อัลอาฎิด ลิดีนิลลาฮ์ อะบูมุฮัมหมัดอับดุลลอฮ              ปกครองเมื่อปี ๑๑๖๐-๑๑๗๑(ค.ศ)  .

ใหม่!!: ไคโรและรัฐเคาะลีฟะฮ์ฟาติมียะห์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคดีฟอียิปต์

รัฐเคดีฟอียิปต์ (Khedivate of Egypt; خديوية مصر; ออตโตมันเติร์ก: خدیویت مصر Hıdiviyet-i Mısır) เป็นรัฐบรรณาการของจักรวรรดิออตโตมัน ปกครองโดยราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี คำว่า "เคดีฟ" (khedive) ในภาษาตุรกีออตโตมัน หมายถึง "อุปราช" ใช้ครั้งแรกโดยมูฮัมหมัด อาลี ปาชา แต่ไม่ได้รับการยอมรับจนกระทั่งถึงปี..

ใหม่!!: ไคโรและรัฐเคดีฟอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ. 1946 เมื่อประชาชนชาวอิตาลีได้มีการลงประชามติให้มีการเปลี่ยนผ่านการปกครองจากระบบราชอาณาจักรไปสู่ความเป็นสาธารณรัฐ อิตาลีได้ประกาศสงครามต่อออสเตรียในปี..

ใหม่!!: ไคโรและราชอาณาจักรอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อระบบรถรางและรถไฟฟ้ารางเบา

รายชื่อระบบรถรางและรถไฟฟ้ารางเบาทั่วโลก.

ใหม่!!: ไคโรและรายชื่อระบบรถรางและรถไฟฟ้ารางเบา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อระบบรถไฟในเมือง

ประเทศที่มีระบบรถไฟในเมือง นครและเมืองที่มีระบบรถไฟในเมือง รายชื่อระบบรถไฟในเมือง (Metro) ของประเทศต่าง ๆ มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก โดยที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ. 2406 ปัจจุบันมีเมืองทั้งหมด 162 เมืองที่มีระบบรถไฟในเมือง.

ใหม่!!: ไคโรและรายชื่อระบบรถไฟในเมือง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ

รายชื่อสนามกีฬาฟุตบอลเรียงตามความจุ นับตามจำนวนเก้าอี้ ตามข้อกำหนดฟีฟ่าขั้นต่ำ 40,000 ที่นั่ง ที่สามารถจัดการแข่งขันรายการระดับฟุตบอลโลกได้ จำนวนรายชื่อดังกล่าวมีทั้งสนามกีฬาแห่งชาติ และสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอล ส่วนใหญ่จะเป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์และสนามฟุตบอล.

ใหม่!!: ไคโรและรายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ไคโรและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนครที่ใหญ่ที่สุดในโลก

รายชื่อของเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลกเรียงตามประชากร ความหนาแน่น การจำกัดความของคำว่า"เมือง".

ใหม่!!: ไคโรและรายชื่อนครที่ใหญ่ที่สุดในโลก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนครในประเทศอียิปต์

แผนที่ประเทศอียิปต์ ไคโร เมืองหลวงของประเทศอียิปต์ อเล็กซานเดรีย กีซา พอร์ตซาอ.

ใหม่!!: ไคโรและรายชื่อนครในประเทศอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในรัฐอาหรับ

มรดกโลก คือสถานที่ที่องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) คัดเลือกเพื่อแสดงว่าสถานที่นั้นมีความสำคัญทางวัฒนธรรมหรือธรรมชาติ รายชื่อด้านล่างคือรายชื่อแหล่งมรดกที่ตั้งอยู่ในรัฐอาหรับ ชื่อทางการเป็นชื่อที่ใช้ในการจดทะเบียนในบัญชีมรดกโลก ชื่อภาษาไทยเป็นชื่อที่แปลชื่อทางการ โดยศูนย์ข้อมูลมรดกโลก กระทรวงวัฒนธรรม ปี คือปีที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก.

ใหม่!!: ไคโรและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในรัฐอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในทวีปแอฟริกา

#fc4444 7 แห่งขึ้นไป มรดกโลก คือสถานที่ที่องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) คัดเลือกเพื่อแสดงว่าสถานที่นั้นมีความสำคัญทางวัฒนธรรมหรือธรรมชาติ รายชื่อด้านล่างคือรายชื่อแหล่งมรดกที่ตั้งอยู่ในทวีปแอฟริกา ชื่อทางการเป็นชื่อที่ใช้ในการจดทะเบียนในบัญชีมรดกโลก ชื่อภาษาไทยเป็นชื่อที่แปลชื่อทางการ โดยศูนย์ข้อมูลมรดกโลก กระทรวงวัฒนธรรม ปี คือปีที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก.

ใหม่!!: ไคโรและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในทวีปแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอียิปต์

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศอียิปต์ทั้งสิ้น 7 แหล่ง.

ใหม่!!: ไคโรและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตการปกครอง

รายชื่อเขตปกครองในระดับบนสุดของประเทศต่าง ๆ ที่มีการปกครองแบบสหพันธรัฐหรือรัฐรวม รวมทั้งเขตการปกครองในระดับบนสุดของเอกรัฐหรือรัฐเดี่ยวบางแห่ง.

ใหม่!!: ไคโรและรายชื่อเขตการปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี

ราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลีเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศอียิปต์ระหว่างปี ค.ศ. 1805-ค.ศ. 1953.

ใหม่!!: ไคโรและรายพระนามพระมหากษัตริย์ราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ที่ทรงมีความผิดปกติทางจิต

ระเจ้าเนบูคัดเนซซาร์ที่ 2 วาดโดยวิลเลียม เบลก บรรยายถึงสภาพอาการวิปลาสของพระองค์ ทรงเสียพระจริตและมีสภาพความเป็นอยู่แบบสัตว์เดรัจฉานเป็นเวลา 7 ปี นี้คือรายพระนามพระมหากษัตริย์ซึ่งนักประวัติศาสตร์ถือว่า เสียพระจริตในบางลักษณะ ในหลาย ๆ กรณี เป็นเรื่องยากที่จะชี้ชัดว่า พระมหากษัตริย์ในอดีตพระองค์นั้น ๆ ทรงมีความผิดปกติทรงจิตจริงหรือไม่ เพราะพระองค์อาจเพียงมีพระจริยาวัตรนอกลู่นอกทาง หรือมีพระโรคทางพระกาย หรือนักประวัติศาสตร์เพียงรังเกียจเดียดฉันท์พระอง.

ใหม่!!: ไคโรและรายพระนามพระมหากษัตริย์ที่ทรงมีความผิดปกติทางจิต · ดูเพิ่มเติม »

รายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก

การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก เป็ยพิธีการของการวิ่งเพลิงโอลิมปิกจากเมืองโอลิมเปีย, ประเทศกรีซ ไปยังสถานที่จัดกีฬาโอลิมปิก ในครั้งนั้นๆ โดยครั้งแรกได้เริ่มในโอลิมปิกเบอร์ลิน 1936 และต่อจากนั้นก็ได้มีการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกในทุกๆครั้ง โอลิมปิกครั้งก่อนๆได้มีการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกในหลายประเทศ แต่ในปัจจุบันคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ได้จำกัดให้วิ่งคบเพลิงภายในประเทศ หลังเกิดการประท้วงใน การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 2008.

ใหม่!!: ไคโรและรายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินไคโร

รถไฟใต้ดินไคโร (مترو أنفاق القاهرة or مترو الأنفاق) เป็นเส้นทางรถไฟใต้ดินแห่งแรกในกรุงไคโร ประเทศอียิปต์ ปัจจุบันเปิดทำการแล้ว 3 เส้นทาง ดำเนินการโดย National Authority for Tunnels ใช้รางสแตนดาร์ดเกจ (1435 มม.) ในปี ค.ศ. 2011 มีผู้โดยสารมาใช้บริการรถไฟฟ้าเกือบ 4 ล้านคนต่อวันhttp://www.4-traders.com/VINCI-4725/news/VINCI-Opening-of-Phase-1-of-Line-3-of-the-Cairo-metro-14035130/.

ใหม่!!: ไคโรและรถไฟใต้ดินไคโร · ดูเพิ่มเติม »

ละติฟา อัลซัยยัต

ละติฟา อัลซัยยัต (Latifa al-Zayyat; لطيفة الزيات; 8 สิงหาคม ค.ศ. 1923 – 10 กันยายน ค.ศ. 1996) เป็นนักเขียนชาวอียิปต์ เกิดที่เมืองดาเมียตตา ในจักรวรรดิออตโตมัน (ปัจจุบันอยู่ในประเทศอียิปต์) เรียนจบจากมหาวิทยาลัยไคโร ก่อนจะทำงานเป็นอาจารย์สอนภาษาอังกฤษที่นั่น ในปี..

ใหม่!!: ไคโรและละติฟา อัลซัยยัต · ดูเพิ่มเติม »

ลิเบียนอาหรับแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 114

ลิเบียนอาหรับแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 114 (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น ลิเบียนแอร์ไลน์) เป็นเที่ยวบินพาณิชย์ของลิเบีย เดินทางจากทริโปลี มุ่งหน้าสู่ไคโร เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2516 ระหว่างทางเกิดพายุทรายทำให้ทัศนวิสัยไม่ดี นักบินจึงทำการบินด้วยระบบอิเลคโทรนิคส์ และหลงเข้าไปในเขตยึดครองของอิสราเอลเหนือคลองสุเอซ บริเวณคาบสมุทรไซนาย และถูกสกัดกั้นโดยเครื่องบินขับไล่ แฟนทอม เอฟ-4 ของกองทัพอากาศอิสราเอล และต้องร่อนลงจอดฉุกเฉินลงบนเนินทราย ทำให้มีผู้เสียชีวิต 108 คน รอดชีวิต 5 คน รวมทั้งนักบินผู้ช่วยชาวลิเบี.

ใหม่!!: ไคโรและลิเบียนอาหรับแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 114 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา (African Men's Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายสำหรับทีมชาติในทวีปแอฟริกา จัดขึ้นโดยสมาพันธ์วอลเลย์บอลแอฟริกา (ซีเอวีบี) การแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้นในปี..

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1971

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1971 (1971 Men's African Volleyball Championship) จัดขึ้นในเมืองไคโร, ประเทศอียิปต์ มี 7 ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันในครั้งนี้.

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1971 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1991

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1991 (1991 Men's African Volleyball Championship) จัดขึ้นในเมืองไคโร, ประเทศอียิปต์ มี 10 ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันในครั้งนี้.

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1991 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1999

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1999 (1999 Men's African Volleyball Championship) จัดขึ้นในเมืองไคโร, ประเทศอียิปต์ มี 6 ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันในครั้งนี้.

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1999 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 2003

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 2003  (2003 Men's African Volleyball Championship) จัดขึ้นที่เมืองไคโร ประเทศอียิปต์ จัดแข่งขันตั้งแต่วันที่ 1 ถึง 6 สิงหาคม.

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 2003 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 2015

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 2015 (2015 Men's African Volleyball Championship) จัดขึ้นในไคโร, ประเทศอียิปต์ ระหว่างวันที่ 22–30 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 2015 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก (ซีเอวีบี) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลกเพื่อหาสมาชิก 4 ประเทศ เข้าร่วมการแข่งขัน ที่ประเทศโปแลน.

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี (FIVB Volleyball Boys' U19 World Championship) หรือที่เรียกว่า วอลเลย์บอลยุวชนชายชิงแชมป์โลก (FIVB Volleyball Boys' Youth World Championship) ระหว่างปี..

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี (FIVB Volleyball Men's U21 World Championship) หรือชื่อเดิม วอลเลย์บอลเยาวชนชายชิงแชมป์โลก (FIVB Volleyball Men's Junior World Championship) ตั้งแต..

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2015

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2015 (2015 FIVB Volleyball Men's U21 World Championship) จัดขึ้นในประเทศเม็กซิโก ระหว่างวันที่ 11–20 กันยายน..

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2015 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี (FIVB Volleyball Men's U23 World Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลระหว่างประเทศสำหรับประเภททีมชายที่อายุไม่เกิน 23 ปี อยู่ภายใต้การกำกับของสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ (เอฟไอวีบี) การแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้นในปี..

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017 (2017 FIVB Volleyball Men's U23 World Championship) จะจัดขึ้นเป็นครั้งที่ 3 ของการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ และเป็นการแข่งขันชิงแชมป์โลกสำหรับทีมชาติที่มีอายุไม่เกิน 23 ปี อยู่ภายใต้การกำกับของสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ การแข่งขันจะจัดขึ้นที่ไคโร ประเทศอียิปต์ ระหว่างวันที่ 18–26 สิงหาคม..

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017 (2017 Asian Men's U23 Volleyball Championship) เป็นครั้งที่ 2 ของการแข่งขัน ซึ่งจัดขึ้นที่อาร์เดบิล, ประเทศอิหร่าน ระหว่างวันที่ 1–9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1972

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1972 เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชาย จำนวน 12 ทีม ภายใต้การกำกับดูแลการแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ร่วมกับ สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (เอฟไอวีบี) และนับเป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 3 นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1972 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1992

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1992 เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชาย จำนวน 12 ทีม ภายใต้การกำกับดูแลการแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ร่วมกับ สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (เอฟไอวีบี) และนับเป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 8 นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1992 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชาย จำนวน 12 ทีม ภายใต้การกำกับดูแลการแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ร่วมกับ สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (เอฟไอวีบี) และนับเป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 10 นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 รอบคัดเลือก

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 รอบคัดเลือก (Volleyball at the 2000 Summer Olympics – Men's qualification) จัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน..

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 รอบคัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 2015

วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 2015 (2015 FIVB Volleyball Men's World Cup) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายระหว่างประเทศ จะจัดแข่งขันระหว่างวันที่ 8-23 กันยายน..

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 2015 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์แอฟริกา

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์แอฟริกา (African Women's Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงในระดับทวีปแอฟริกา การแข่งขันนี้อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลแอฟริกา (ซีเอวีบี) จัดขึ้นหมุนเวียนสลับกันไปทุกๆ 2 ปี โดยครั้งแรกจัดขึ้นในปี..

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์แอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก (ซีเอวีบี) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลกเพื่อหาสมาชิก 2 ประเทศ เข้าร่วมการแข่งขัน ที่ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2015

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2015 (2015 FIVB Volleyball Women's U20 World Championship) จัดขึ้นในประเทศเปอร์โตริโก ระหว่างวันที่ 3–12 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2015 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2017

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2017 (2017 FIVB Volleyball Women's U20 World Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลครั้งที่ 19 ของการแข่งขัน และเป็นการแข่งขันชิงแชมป์โลกสำหรับทีมชาติที่มีอายุไม่เกิน 20 ปี โดยอยู่ภายใต้การกำกับของสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ (FIVB) ซึ่งมีกำหนดจัดขึ้นที่ประเทศเม็กซิโก ในเมืองโบกาเดลรีโอ และ กอร์โดบา ระหว่างวันที่ 14 กรกฎาคม – 23 กรกฎาคม ค.ศ. 2017 มีทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 16 ทีม.

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2017 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2015

วอลเลย์บอลชายเวิลด์ลีก 2015 (2015 FIVB Volleyball World League) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชาย จำนวน 32 ทีม เริ่มทำการแข่งขันตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม – 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2015 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2016

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2016 (2016 FIVB Volleyball World League) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายระดับโลก จำนวน 36 ทีม เริ่มทำการแข่งขันตั้งแต่วันที่ 17 มิถุนายน – 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2016 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2017

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2017 (2017 FIVB Volleyball World League) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายระดับโลก จำนวน 36 ทีม เริ่มทำการแข่งขันตั้งแต่วันที่ 2 มิถุนายน – 2 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ไคโรและวอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2017 · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการของมนุษย์

''Homo sapiens sapiens'' ชาวอาข่าในประเทศไทย วิวัฒนาการของมนุษย์ (Human evolution) เป็นกระบวนการวิวัฒนาการที่นำไปสู่การปรากฏขึ้นของ "มนุษย์ปัจจุบัน" (modern human มีนามตามอนุกรมวิธานว่า Homo sapiens หรือ Homo sapiens sapiens) ซึ่งแม้ว่าจริง ๆ แล้วจะเริ่มต้นตั้งแต่บรรพบุรุษแรกของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด แต่บทความนี้ครอบคลุมเพียงแค่ประวัติวิวัฒนาการของสัตว์อันดับวานร (primate) โดยเฉพาะของสกุล โฮโม (Homo) และการปรากฏขึ้นของมนุษย์สปีชีส์ Homo sapiens ที่จัดเป็นสัตว์วงศ์ลิงใหญ่เท่านั้น การศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการมนุษย์นั้นต้องอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์หลายสาขา รวมทั้งมานุษยวิทยาเชิงกายภาพ (หรือ มานุษยวิทยาเชิงชีวภาพ), วานรวิทยา, โบราณคดี, บรรพชีวินวิทยา, พฤติกรรมวิทยา, ภาษาศาสตร์, จิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการ (evolutionary psychology), คัพภวิทยา และพันธุศาสตร์ กระบวนการวิวัฒนาการเป็นความเปลี่ยนแปลงของลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตผ่านหลายชั่วยุคชีวิต เป็นกระบวนการที่ทำให้เกิดความหลายหลากกับสิ่งมีชีวิตในทุกระดับชั้น รวมทั้งระดับสปีชีส์ ระดับสิ่งมีชีวิตแต่ละชีวิต และแม้กระทั่งโครงสร้างระดับโมเลกุลเช่นดีเอ็นเอและโปรตีน สิ่งมีชีวิตทั้งหมดในโลกสืบสายมาจากบรรพบุรุษเดียวกันที่มีชีวิตประมาณ 3.8 พันล้านปีก่อน การเกิดสปีชีส์ใหม่ ๆ และการแยกสายพันธุ์ออกจากกันของสิ่งมีชีวิต สามารถอนุมานได้จากลักษณะสืบสายพันธุ์ทางสัณฐานและทางเคมีชีวภาพ หรือโดยลำดับดีเอ็นเอที่มีร่วมกัน คือ ลักษณะสืบสายพันธุ์และลำดับดีเอ็นเอที่มีกำเนิดเดียวกัน จะมีความคล้ายคลึงกันระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันเร็ว ๆ นี้มากกว่าระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันมานานแล้ว ดังนั้นความคล้ายคลึงกันและความแตกต่างกันจึงสามารถใช้สร้างแบบของต้นไม้สายพันธุ์สิ่งมีชีวิต ที่แสดงความสัมพันธ์เชิงญาติ โดยใช้สิ่งมีชีวิตที่ยังมีอยู่หรือใช้ซากดึกดำบรรพ์เป็นหลักฐานข้อมูล รูปแบบความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในโลกเปลี่ยนแปลงไปเพราะการเกิดขึ้นของสปีชีส์ใหม่ ๆ และการสูญพันธุ์ไปของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ งานวิจัยต่าง ๆ ทางพันธุศาสตร์แสดงว่า สัตว์อันดับวานรรวมทั้งมนุษย์แยกออกจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทอื่น ๆ เมื่อประมาณ โดยมีซากดึกดำบรรพ์ปรากฏเป็นครั้งแรกสุดเมื่อประมาณ ส่วนลิงวงศ์ชะนี (Hylobatidae) แยกสายพันธุ์ออกจากสายพันธุ์วงศ์ลิงใหญ่ (Hominidae) รวมทั้งมนุษย์ ซึ่งเป็นวงศ์หนึ่ง ๆ ของสัตว์อันดับวานรนั้น เมื่อ แล้วลิงวงศ์ Ponginae (ลิงอุรังอุตัง) ก็แยกออกจากสายพันธุ์เมื่อประมาณ จากนั้น การเดินด้วยสองเท้า (bipedalism) ซึ่งเป็นการปรับตัวพื้นฐานที่สุดของสัตว์เผ่า Hominini ซึ่งเป็นสายพันธุ์ของมนุษย์ที่ลิงชิมแปนซีได้แยกออกไปแล้ว ก็เริ่มปรากฏในสัตว์สองเท้าแรกสุดในสกุล Sahelanthropus หรือ Orrorin โดยมีสกุล Ardipithecus ซึ่งเป็นสัตว์สองเท้าที่มีหลักฐานชัดเจนกว่า ตามมาทีหลัง ส่วนลิงกอริลลาและลิงชิมแปนซีแยกออกจากสายพันธุ์ในช่วงเวลาใกล้ ๆ กัน คือลิงกอริลลาเมื่อ และลิงชิมแปนซีเมื่อ โดยอาจจะมี Sahelanthropus เป็นบรรพบุรุษสุดท้ายร่วมกันระหว่างชิมแปนซีและมนุษย์ สัตว์สองเท้ายุคเริ่มต้นเหล่านี้ในที่สุดก็วิวัฒนาการมาเป็นเผ่า hominini เผ่าย่อย Australopithecina (australopithecine ปกติรวมสกุล Australopithecus, Paranthropus, และในบางที่ Ardipithecus) ที่ และหลังจากนั้นจึงเป็นเผ่าย่อย Hominina ซึ่งรวมเอามนุษย์สกุล โฮโม เท่านั้น มนุษย์สกุลโฮโมที่มีหลักฐานยืนยันพวกแรกที่สุดเป็นสปีชีส์ Homo habilis ซึ่งเกิดขึ้นประมาณ โดยเชื่อกันว่า สืบสายพันธุ์มาจาก homonin ในสกุล Australopithecus เป็นสปีชีส์แรก ๆ ที่มีหลักฐานชัดเจนว่าใช้เครื่องมือหิน และการปรับตัวของสายพันธุ์มนุษย์อีกอย่างหนึ่งคือ การขยายขนาดของสมอง (encephalization) ก็ได้เริ่มขึ้นที่มนุษย์ยุคต้นนี้ ซึ่งมีขนาดสมองที่ประมาณ 610 ซม3 คือมีขนาดใหญ่กว่าของลิงชิมแปนซีเล็กน้อย (ระหว่าง 300-500 ซม3) มีนักวิทยาศาสตร์ที่เสนอว่า นี้อยู่ในช่วงเวลาที่ยีนมนุษย์ประเภท SRGAP2 มีจำนวนเป็นสองเท่าเทียบกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ ซึ่งทำให้เกิดการพัฒนาของสมองกลีบหน้าได้รวดเร็วกว่าในสัตว์อื่น ๆ ต่อมา มนุษย์สปีชีส์ Homo erectus/ergaster ก็เกิดขึ้นในช่วงประมาณ ที่มีปริมาตรกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าของลิงชิมแปนซีคือ 850 ซม3 การขยายขนาดของสมองเช่นนี้เทียบเท่ากับมีเซลล์ประสาทเพิ่มขึ้น 125,000 เซลล์ทุกชั่วยุคคน สปีชีส์นี้เชื่อว่าเป็นพวกแรก ๆ ที่สามารถควบคุมไฟ และใช้เครื่องมือหินที่มีเทคโนโลยีที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น เป็นมนุษย์สกุล Homo พวกแรกที่อพยพออกไปตั้งถิ่นฐานทั่วทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย และทวีปยุโรป อาจเริ่มตั้งแต่ ดังนั้น การวิวัฒนาการของสายพันธุ์มนุษย์ก่อนหน้านี้ล้วนเป็นไปในแอฟริกาเท่านั้น ส่วนกลุ่มมนุษย์โบราณที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า Archaic humans ก็เกิดวิวัฒนาการขึ้นต่อมาประมาณ 600,000 ปีก่อน สืบสายพันธุ์มาจาก H. erectus/ergaster เป็นกลุ่มมนุษย์ที่อาจเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ปัจจุบัน โดยเฉพาะคือมนุษย์โบราณ H. heidelbergensis/rhodesiensis หลังจากนั้น มนุษย์สปีชีส์ ''Homo sapiens'' ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน (anatomically modern human) ก็เกิดขึ้นโดยมีวิวัฒนาการมาจากมนุษย์โบราณในยุคหินกลาง (แอฟริกา) คือประมาณ 300,000 ปีก่อน ตามทฤษฎี "กำเนิดมนุษย์ปัจจุบันเร็ว ๆ นี้จากแอฟริกา" มนุษย์ปัจจุบันได้วิวัฒนาการในทวีปแอฟริกาแล้วจึงอพยพออกจากทวีปประมาณ 50,000-100,000 ปีก่อน (ต่างหากจากมนุษย์ในยุคก่อน ๆ) ไปตั้งถิ่นฐานแทนที่กลุ่มมนุษย์สปีชีส์ H. erectus, H. denisova, H. floresiensis และ H. neanderthalensis ในที่ต่าง ๆ ที่เป็นเชื้อสายของมนุษย์ที่อพยพออกมาจากทวีปแอฟริกาในยุคก่อน ๆ โดยอาจได้ผสมพันธุ์กับมนุษย์โบราณก่อน ๆ เหล่านั้น หลักฐานโดยดีเอ็นเอในปี..

ใหม่!!: ไคโรและวิวัฒนาการของมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลรัฐธรรมนูญ

ลรัฐธรรมนูญ (constitutional court) เป็นศาลสูงที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ โดยมีอำนาจหลักที่จะวินิจฉัยว่า กฎหมายใดมีปัญหาเรื่องความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่ เช่น ขัดกับสิทธิและเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้หรือไม่ ในหลาย ๆ ประเทศ ไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นเอกเทศ และศาลยุติธรรมตามธรรมดาจะรับคดีดังกล่าวเอง นอกจากนี้ ในหลาย ๆ ประเทศก็ไม่เรียกองค์กรนี้ว่า "ศาลรัฐธรรมนูญ" และบางประเทศก็เรียกศาลยุติธรรมว่า ศาลรัฐธรรมนูญ เช่น ศาลสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกาได้ชื่อว่าเป็น "ศาลรัฐธรรมนูญที่เก่าแก่ที่สุดในโลก" เพราะเป็นศาลแรกในโลกที่วินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายต่าง ๆ (คดีระหว่างมาร์บิวรีกับเมดิสัน) แม้ว่าในประเทศสหรัฐอเมริกาจะไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นการเฉพาะก็ตาม ส่วนประเทศที่สถาปนาศาลรัฐธรรมนูญอย่างเอกเทศเป็นแห่งแรกของโลกนั้น คือ ประเทศออสเตรีย ซึ่งดำเนินการใน..

ใหม่!!: ไคโรและศาลรัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศอียิปต์

พระพุทธศาสนาในประเทศอียิปต์เริ่มต้นขึ้น เมื่อพระเจ้าอโศกมหาราช แห่งมคธได้ส่งทูตมาเจริญสัมพันธไมตรีกับต่างอาณาจักร โดยอาณาจักรไกริน ซึ่งอยู่ใกล้กับอียิปต์ก็เป็นหนึ่งในนั้นด้วย พร้อมกันนนั้นพระเจ้าอโศกมหาราชจึงได้ส่งพระธรรมทูตมาเผยแผ่ด้วย ในบริเวณเมืองอเล็กซานเดรีย ของอียิปต์ด้วย แต่ก็สูญหายไป ต่อมาอีกหลายศตวรรษได้มีชาวญี่ปุ่น ลังกา เกาหลี อินเดีย และไทย เดินทางเข้าไปทำงาน ศึกษา หรือท่องเที่ยว และได้มีการถ่ายทอดความรู้หลักธรรมเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาต่างๆให้แก่ชาวอียิปต์ แต่ก็มีชาวพุทธอียิปต์ไม่เกิน 1 หมื่นคน ซึ่งส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในเมืองไคโร และเมืองอเล็กซานเดรีย นอกจากนั้น ชาวพุทธต่างถิ่นที่เข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศอียิปต์ ในช่วงวันวิสาขบูชาจะปฏิบัติศาสนกิจด้วยการเวียนเทียนกันเป็นกลุ่มเล็กๆ และมีการแสดงหลักธรรมเป็นเวลาสั้นๆ ส่วนการเผยแผ่ศาสนานั้นเป็นไปได้ยาก เนื่องจากเป็นสังคมเล็กๆท่ามกลางสังคมมุสลิมจำนวนมาก การเผยแผ่จึงเป็นไปได้ยาก หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ศาสนาพุทธ หมวดหมู่:ประเทศอียิปต์.

ใหม่!!: ไคโรและศาสนาพุทธในประเทศอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธ์วอลเลย์บอลแอฟริกา

มาพันธ์วอลเลย์บอลแอฟริกา (Confédération Africaine de Volleyball) หรือชื่อย่อ CAVB เป็นปกครองสำหรับกีฬาวอลเลย์บอลในทวีปแอฟริกา สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงไคโร ประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ไคโรและสมาพันธ์วอลเลย์บอลแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์

มเด็จพระราชินีฟารีดา (الملكة فريده; พระราชสมภพ: 5 กันยายน พ.ศ. 2464 – สวรรคต: 16 ตุลาคม พ.ศ. 2531) หรือพระนามเดิม ซาฟินาซ ษูลฟิการ (صافيناز ذوالفقار Sāfināz Dhū l-Fiqār) เป็นอดีตพระราชินีในพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต.

ใหม่!!: ไคโรและสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีรานยาแห่งจอร์แดน

มเด็จพระราชินีรานยาแห่งจอร์แดน (رانيا العبد الله Rānyā al-‘abdu l-Lāh) พระนามเดิม รานยา อัลยัสซิน (ประสูติ 31 สิงหาคม ค.ศ. 1970 ณ คูเวตซิตี ประเทศคูเวต) พระบรมราชินีองค์ปัจจุบันของประเทศจอร์แดน เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลาห์ที่ 2 แห่งจอร์แดน พระองค์ทรงมีบทบาทในด้านการส่งเสริมสิทธิสตรีภายในประเทศจอร์แดน โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงกฎหมายเพื่อปกป้องสิทธิสตรีและให้มีความทัดเทียมกับบุรุษเพศ แต่ไม่ประสบผลสำเร็จนัก สืบเนื่องมาจากการต่อต้านของกลุ่มอนุรักษนิยม นอกจากนี้สมเด็จพระราชินีรานยายังทรงพระสิริโฉมที่งดงาม ทำให้พระองค์เป็นสตรีที่มีเสน่ห์ดึงดูดใจมากที่สุดเป็นอันดับที่สองรองจากนิโคล คิดแมน จากการสำรวจจากประชาชนในปี ค.ศ. 2002.

ใหม่!!: ไคโรและสมเด็จพระราชินีรานยาแห่งจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีอาลียาแห่งจอร์แดน

มเด็จพระราชินีอาลียาแห่งจอร์แดน (علياء الحسين) พระนามเดิม อาลียา บาฮาอัดดีน ตูคัน (ประสูติ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1948 - สวรรคต 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1977) พระมเหสีองค์ที่สามในสมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน พระองค์เป็นชาวอียิปต์เชื้อสายปาเลสไตน์ตระกูลตูคันที่มาจากเมืองนาบลัส หลังการครองคู่กับพระราชาธิบดีฮุสเซนได้ไม่นาน ในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1977 พระองค์ก็เสด็จสวรรคตจากอุบัติเหตุเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่งตก สิริรวมพระชนมายุได้ 28 พรรษ.

ใหม่!!: ไคโรและสมเด็จพระราชินีอาลียาแห่งจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ. 2483) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเดนมาร์ก ในฐานะที่เป็นพระราชธิดาองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์กกับเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระนางทรงสืบราชบัลลังก์เดนมาร์กหลังจากการเสด็จสวรรคตของพระราชบิดาในวันที่ 14 มกราคม..

ใหม่!!: ไคโรและสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าปัฟโลสแห่งกรีซ

มเด็จพระเจ้าปัฟโลสแห่งกรีซ (Παύλος, Βασιλεύς των Ελλήνων, 14 ธันวาคม พ.ศ. 2444 - 6 มีนาคม พ.ศ. 2507) เป็นพระราชาธิบดีแห่งเฮเลนส์ ตั้งแต่ 1 เมษายน พ.ศ. 2490 - 6 มีนาคม พ.ศ. 2507.

ใหม่!!: ไคโรและสมเด็จพระเจ้าปัฟโลสแห่งกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย

มเด็จพระราชาธิบดีปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย หรือทรงเป็นที่รู้จักในพระนาม พระเจ้าปีเตอร์ที่ 2 คาราจอร์เจวิช (ภาษาเซอร์เบีย, ภาษาโครแอต, ภาษาบอสเนีย, ภาษาเซอร์เบีย-โครเอเชีย: Petar II Karađorđević อักษรซีริลลิก: Петар II Карађорђевић) (6 กันยายน พ.ศ. 2466 - 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่สามและองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ก่อนหน้านี้เรียกว่าราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และสโลวีนในช่วงก่อน พ.ศ. 2472 พระองค์เป็นพระโอรสพระองค์โตใน สมเด็จพระราชาธิบดีอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย กับ เจ้าหญิงมาเรียแห่งโรมาเนีย พระบิดามารดาอุปถัมภ์ของพระองค์คือ สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร กับ สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ โบวส์-ลีออนแห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ไคโรและสมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

สวนสัตว์กิซา

วนสัตว์กิซา เป็นสวนสัตว์ขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ที่กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ มีพื้นที่เกือบ 100 ไร่ (0.40 กม. 2) เป็นที่จัดแสดงสัตว์ป่า สัตว์ปีก ทุกชนิด มีทั้ง อูฐ หมีดำ สิงโตทะเลแคลิฟอร์เนีย ยีราฟ ฮิปโปโปเตมัส สิงโตทะเล นกกระจอกเทศ ลิงหลากหลากชนิด นกมอคอรว์สีแดง.

ใหม่!!: ไคโรและสวนสัตว์กิซา · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐอาหรับ

หพันธ์สาธารณรัฐอาหรับ (اتحاد الجمهوريات العربية Ittiħād Al-Jumhūriyyāt Al-`Arabiyya) เป็นความพยายามรวมลิเบีย อียิปต์และซีเรียของมูอัมมาร์ อัล-กัดดาฟี แม้จะได้รับการรับรองจาก การลงประชามติเกี่ยวกับสหพันธ์สาธารณรัฐอาหรั..

ใหม่!!: ไคโรและสหพันธ์สาธารณรัฐอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

สหสาธารณรัฐอาหรับ

หสาธารณรัฐอาหรับ (United Arab Republic; UAR; الجمهورية العربية المتحدة) เป็นสหภาพทางการเมืองอายุสั้นระหว่าง อียิปต์ และ ซีเรีย การรวมตัวกันเริ่มต้นเมื่อ..

ใหม่!!: ไคโรและสหสาธารณรัฐอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐอียิปต์ (2496–2501)

รณรัฐอียิปต์ (جمهورية مصر, Ǧumhūriyyat Maṣr) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของประเทศอียิปต์นับแต่การล้มเลิกพระมหากษัตริย์อียิปต์และซูดานในปี 2496 จนสหภาพของอียิปต์กับซีเรียเป็นสหสาธารณรัฐอาหรับในปี 2501 ปฏิญญาสาธารณรัฐมีหลังการปฏิวัติอียิปต์ ค.ศ. 1952 กระตุ้นโดยความเสื่อมนิยมของพระเจ้าฟารูก ผู้ทรงถูกมองว่าอ่อนแอเกินไปเมื่อเผชิญกับอังกฤษ กอปรกับความปราชัยในสงครามอาหรับ-อิสราเอล ปี 2491 ด้วยปฏิญญาสาธารณรัฐ มูฮัมหม้ด นาจิบสาบานตนเป็นประธานาธิบดีอียิปต์คนแรก รับตำแหน่งได้เกือบหนึ่งปีครั้ง ก่อนถูกนักปฏิวัติด้วยกันบังคับให้ลาออก หลังนาจิบลาออก ตำแหน่งประธานาธิบดีว่างจนการเลือกตั้งญะมาล อับดุนนาศิร ในปี 2501.

ใหม่!!: ไคโรและสาธารณรัฐอียิปต์ (2496–2501) · ดูเพิ่มเติม »

สุลตานะห์เมเลก ตูร์ฮาน

ลตานะห์เมเลก ตูร์ฮาน (27 ตุลาคม พ.ศ. 2412 - 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2499) เป็นพระคู่ครองพระองค์ที่ 2 ของสุลต่านฮุสเซน กาเมลแห่งอียิปต์ หลังจากที่พระราชสวามีของพระองค์ครองบัลลังก์ในปี พ.ศ. 2457 พระองค์ก็ทรงเป็นที่รู้จักกันในฐานะ สุลตานะห์เมเลก.

ใหม่!!: ไคโรและสุลตานะห์เมเลก ตูร์ฮาน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองลิเบีย

งครามกลางเมืองลิเบี..

ใหม่!!: ไคโรและสงครามกลางเมืองลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามยมคิปปูร์

งครามยมคิปปูร์, สงครามเราะมะฎอนหรือสงครามตุลาคม (Yom Kippur War, Ramadan War, หรือ October War; หรือ מלחמת יום כיפור) เป็นสงครามรบกันระหว่างแนวร่วมรัฐอาหรับซึ่งมีประเทศอียิปต์และซีเรียเป็นผู้นำต่ออิสราเอลตั้งแต่วันที่ 6 ถึง 25 ตุลาคม 2516 การสู้รบส่วนใหญ่เกิดในคาบสมุทรไซนายและที่ราบสูงโกลัน ดินแดนซึ่งอิสราเอลยึดครองตั้งแต่สงครามหกวันเมื่อปี 2510 ประธานาธิบดีอียิปต์ อันวัร อัสซาดาต ยังต้องการเปิดคลองสุเอซอีกครั้ง ทั้งสองประเทศมิได้วางแผนเจาะจงทำลายอิสราเอล แต่ผู้นำอิสราเอลไม่อาจมั่นใจได้ สงครามเริ่มต้นเมื่อแนวร่วมอาหรับเปิดฉากจู่โจมร่วมต่อที่ตั้งของอิสราเอลในดินแดนที่อิสราเอลยึดครองในวันยมคิปปูร์ (Yom Kippur) ซึ่งเป็นวันศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในศาสนายูดาย ซึ่งในปีนั้นยังตรงกับเดือนเราะมะฎอนศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาอิสลามด้วย กำลังอียิปต์และซีเรียข้ามเส้นหยุดยิงเข้าสู่คาบสมุทรไซนายและที่ราบสูงโกลันตามลำดับ ทั้งสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตเริ่มความพยายามส่งกำลังบำรุงแก่พันธมิตรของตนระหว่างสงคราม และนำไปสู่การเกือบเผชิญหน้ากันระหว่างอภิมหาอำนาจนิวเคลียร์สองประเทศ สงครามเริ่มต้นด้วยการข้ามคลองสุเอซครั้งใหญ่ที่สำเร็จของอียิปต์ หลังข้ามเส้นหยุดยิง กำลังอียิปต์รุดหน้าโดยแทบไม่มีการต้านทานเข้าสู่คาบสมุทรไซนาย หลังสามวันผ่านไป อิสราเอลได้ระดมพลกำลังส่วนใหญ่และหยุดยั้งการรุกของอียิปต์ ทำให้เกิดการตรึงอำนาจทางทหาร ฝ่ายซีเรียประสานงานการโจมตีที่ราบสูงโกลันให้พร้อมกับการรุกของอียิปต์ และทีแรกได้ดินแดนเพิ่มอย่างคุกคามสู่ดินแดนที่อิสราเอลถือครอง ทว่า ภายในสามวัน กำลังอิสราเอลผลักซีเรียเข้าสู่เส้นหยุดยิงก่อนสงคราม จากนั้นกำลังป้องกันอิสราเอลเปิดฉากการตีโต้ตอบสี่วันลึกเข้าไปในประเทศซีเรีย ภายในหนึ่งสัปดาห์ ปืนใหญ่อิสราเอลเริ่มระดมยิงชานกรุงดามัสกัส เมื่อประธานาธิบดีอียิปต์ซาดาตเริ่มกังวลเกี่ยวกับบูรณภาพของพันธมิตรหลักของเขา เขาเชื่อว่าการยึดจุดผ่านยุทธศาสตร์สองจุดซึ่งตั้งอยู่ลึกในไซนายจะทำให้ฐานะของเขาแข็งแรงขึ้นระหว่างการเจรจาหลังสงคราม ฉะนั้นเขาจึงสั่งให้อียิปต์กลับไปรุกอีก แต่การเข้าตีนั้นถูกขับกลับมาอย่างรวดเร็ว จากนั้นอิสราเอลตีโต้ตอบที่แนวต่อระหว่างกองทัพอียิปต์สองกองทัพ ข้ามคลองสุเอซเข้าประเทศอียิปต์ และเริ่มรุกหน้าอย่างช้า ๆ ลงใต้และไปทางตะวันตกสู่นครสุเอซในการสู้รบอย่างหนักกว่าหนึ่งสัปดาห์ซึ่งทำให้ทั้งสองฝ่ายเสียกำลังพลมาก วันที่ 22 ตุลาคม การหยุดยิงที่สหประชาชาติเป็นนายหน้าคลี่คลายอย่างรวดเร็ว โดยต่างฝ่ายต่างโทษอีกฝ่ายว่าละเมิด ในวันที่ 24 ตุลาคม อิสราเอลพัฒนาฐานะของตนอย่างมากและสำเร็จการล้อมกองทัพที่สามของอียิปต์และนครสุเอซ การพัฒนานี้นำไปสู่ความตึงเครียดระหว่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ผลคือ มีการกำหนดการหยุดยิงครั้งที่สองด้วยความร่วมมือตั้งแต่วันที่ 25 ตุลาคมถึงสิ้นสงคราม สงครามนี้มีการส่อความกว้างขวาง โลกอาหรับซึ่งประสบความอับอายในการแตกล่าฝ่ายเดียวของพันธมิตรอียิปต์–ซีเรีย–จอร์แดนในสงครามหกวัน รู้สึกว่าได้แก้ตัวทางจิตใจจากความสำเร็จขั้นต้นในความขัดแย้งนี้ ในประเทศอิสราเอล แม้มีความสำเร็จทางปฏิบัติการและยุทธวิธีอันน่าประทับใจในสมรภูมิ แต่สงครามนี้นำให้มีการตระหนักว่าไม่มีการรับประกันว่าประเทศอิสราเอลจะครอบงำรัฐอาหรับในทางทหารได้เสมอไป ดังที่เคยเป็นมาตลอดสงครามอาหรับ–อิสราเอลครั้งที่หนึ่ง สงครามสุเอซและสงครามหกวันก่อนหน้านี้ การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ปูทางสู่กระบวนการสันติภาพต่อมา ข้อตกลงค่ายเดวิดปี 2521 ในภายหลังนำสู่การคืนคาบสมุทรไซนายให้ประเทศอียิปต์และการคืนความสัมพันธ์ ซึ่งเป็นการรับรองอิสราเอลอย่างสันติโดยประเทศอาหรับเป็นครั้งแรก ประเทศอียิปต์ยังตีตนออกห่างจากสหภาพโซเวียตต่อไปและออกจากเขตอิทธิพลโซเวียตโดยสิ้นเชิง.

ใหม่!!: ไคโรและสงครามยมคิปปูร์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดครั้งที่ 5

นักรบครูเสดฟรีเชียนเผชิญกับหอที่ดามิยัตตาในอียิปต์ สงครามครูเสดครั้งที่ 5 (Fifth Crusade) (ค.ศ. 1217-ค.ศ. 1221) เป็นสงครามครูเสดที่พยายามยึดเยรูซาเลมและดินแดนศักดิ์สิทธิ์ทั้งหมดคืนโดยเริ่มด้วยการโจมตีรัฐมหาอำนาจของอัยยูบิดในอียิปต์ สมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 3 ทรงรวบรวมกองทัพครูเสดโดยการนำของเลโอโปลด์ที่ 4 ดยุคแห่งออสเตรีย (Leopold VI, Duke of Austria) และ สมเด็จพระเจ้าแอนดรูว์ที่ 2 แห่งฮังการี ต่อมาในปี..

ใหม่!!: ไคโรและสงครามครูเสดครั้งที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดครั้งที่ 7

งครามครูเสดครั้งที่ 7 (Seventh Crusade; ค.ศ. 1248 – 1254) เป็นการทัพครูเสด ที่ฝ่ายคริสต์ นำทัพโดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส รบกับสุลต่านแห่งราชวงศ์อัยยูบีย์ อัสซาลิห์ อัยยู.

ใหม่!!: ไคโรและสงครามครูเสดครั้งที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรกีฬาอัลอะฮ์ลี

มสรกีฬาอัลอะฮ์ลี (อารบิก: النادي الأهلي للألعاب الرياضية) (El Nady El Ahly El Riady, แปล:สโมสรกีฬาแห่งชาติ) เป็นสโมสรกีฬาตั้งอยู่ที่กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ มีชื่อเสียงในด้านทีมฟุตบอลซึ่งกำลังแข่งขันในพรีเมียร์ลีกอียิปต์ ลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศ อัลอะฮ์ลีก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 เมษายน..

ใหม่!!: ไคโรและสโมสรกีฬาอัลอะฮ์ลี · ดูเพิ่มเติม »

หอสมุดนักฮัมมาดี

หอสมุดนักฮัมมาดี (Nag Hammadi Library) เป็นกลุ่มของหนังสือที่ค้นพบที่หมู่บ้านนักฮัมมาดีทางใต้ของกรุงไคโร ประเทศอียิปต์ เมื่อ..

ใหม่!!: ไคโรและหอสมุดนักฮัมมาดี · ดูเพิ่มเติม »

อะห์มัด ฮะซัน มะห์ญูบ

อะห์มัด ฮะซัน มะห์ญูบ (อาหรับ: أحمد حسن محجوب; เกิด 5 มีนาคม ค.ศ. 1993) หรือ กูกา หรือ โกกา เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวอียิปต์ ปัจจุบันลงเล่นให้กับสปอร์ติกกลูบีดีบรากาและทีมชาติอียิปต์ในตำแหน่งกองหน้า ช่วงที่เล่นให้กับทีมชาติอายุไม่เกิน 20 ปี กูกาเคยเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2013 โดยเขาทำสองประตูในการพบกับอิรัก และอังกฤษ นอกจากนี้ยังจ่ายบอลสำเร็จในนัดที่พบกับชิลี ในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ไคโรและอะห์มัด ฮะซัน มะห์ญูบ · ดูเพิ่มเติม »

อะห์มัด ฮิญาซี (นักฟุตบอล)

อะห์มัด ฮิญาซี (أحمد حجازي; เกิด 25 มกราคม ค.ศ. 1991) เป็นนักฟุตบอลชาวอียิปต์ ปัจจุบันลงเล่นตำแหน่งกองหลังให้กับสโมสรฟุตบอลเวสต์บรอมมิชอัลเบียนในพรีเมียร์ลีก และทีมชาติอียิปต์ เขาลงเล่นให้กับทีมชาติมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ไคโรและอะห์มัด ฮิญาซี (นักฟุตบอล) · ดูเพิ่มเติม »

อะเลปโป

อะเลปโป (Aleppo) หรือ ฮะลับ (حلب / ALA-LC) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศซีเรีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ เป็นเมืองหลวงของเขตผู้ว่าราชการอะเลปโป ซึ่งเป็นเขตผู้ว่าราชการที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศ มีประชากรอย่างเป็นทางการ 2,132,100 คน (ค.ศ. 2004) เป็นหนึ่งในเมืองที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเลแวนต์ ร่วมหลายศตวรรษที่เมืองที่ใหญ่ที่สุดในเกรตเตอร์ซีเรีย และเป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 3 ของอาณาจักรออตโตมัน รองจากอิสตันบูลและไคโรRussell, Alexander (1794),, 2nd Edition, Vol.

ใหม่!!: ไคโรและอะเลปโป · ดูเพิ่มเติม »

อะเล็กซานเดรีย

อะเล็กซานเดรีย หรือในภาษาอาหรับเรียก อัลอัสกันดะริย์ยะ (Alexandria; الإسكندرية; Αλεξάνδρεια; คอปติก: Ⲣⲁⲕⲟⲧⲉ) เป็นเมืองใหญ่อันดับสองในประเทศอียิปต์ รองจากกรุงไคโร มีประชากรประมาณ 3-5 ล้านคน และเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ไคโรและอะเล็กซานเดรีย · ดูเพิ่มเติม »

อัมมาน

อัมมาน (Amman; عمان) เป็นเมืองหลวงของประเทศจอร์แดนและเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศจอร์แดน มีประชากรประมาณ 3 ล้านกว่าคน.

ใหม่!!: ไคโรและอัมมาน · ดูเพิ่มเติม »

อัยมัน อัซเซาะวาฮิรี

อัยมัน มุฮัมมัด เราะบี อัซเซาะวาฮิรี (أيمن محمد ربيع الظواهري‎, Ayman Mohammed Rabie al-Zawahiri; เกิด 19 มิถุนายน พ.ศ. 2494) เป็นนักเทววิทยาอิสลามชาวอียิปต์ ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำของกลุ่มก่อการร้ายอัลกออิดะฮ์ ก่อนหน้านั้นเขาเคยเป็น "เอมีร์" (emir) คนที่สองและคนสุดท้ายของญิฮาดอิสลามอียิปต์ โดยสืบทอดตำแหน่งเอมีร์สืบต่อจากอับบัด อัล-ซูมาร์ เมื่อเขาถูกทางการอียิปต์ตัดสินจำคุกตลอดชีวิต ภรรยาของอัซเซาะวาฮิรีและลูกสามคนจากทั้งหมดหกคนถูกสังหารในการโจมตีทางอากาศในอัฟกานิสถานโดยกองทัพสหรัฐเมื่อปลายปี..

ใหม่!!: ไคโรและอัยมัน อัซเซาะวาฮิรี · ดูเพิ่มเติม »

อัครบิดรแห่งอะเล็กซานเดรีย

อัครบิดรแห่งอะเล็กซานเดรีย (Patriarch of Alexandria) คือประมุขฝ่ายคริสตจักรในเมืองอะเล็กซานเดรีย (ปัจจุบันอยู่ในเขตประเทศอียิปต์) นับเป็น 1 ใน 3 ตำแหน่งประมุขฝ่ายคริสตจักรที่เก่าแก่ที่สุด (อีก 2 ตำแหน่งคือ อัครบิดรแห่งโรมและอัครบิดรแห่งแอนติออก) โดยเฮราคลัส อัครบิดรองค์ที่ 13 แห่งอะเล็กซานเดรียเป็นบุคคลแรกที่ได้รับสมัญญานามว่า "พระสันตะปาปา" (ส่วนอัครบิดรแห่งโรมเริ่มใช้สมัญญานี้ราวคริสต์ศตวรรษที่ 6).

ใหม่!!: ไคโรและอัครบิดรแห่งอะเล็กซานเดรีย · ดูเพิ่มเติม »

อันวัร อัสซาดาต

มุฮัมมัด อันวัร อัสซาดาต (محمد أنور السادات; Muhammad Anwar al-Sadat; 25 ธันวาคม พ.ศ. 2461 - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2524) นักการทหาร นักการเมืองและประธานาธิบดีแห่งอียิปต์ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2513 - 6 ตุลาคม..

ใหม่!!: ไคโรและอันวัร อัสซาดาต · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหาร

อาสนวิหาร อาสนวิหารเซ็นต์บาร์บารา (St Barbara's church) เมือง Kutná Hora สาธารณรัฐเช็ก อาสนะบิชอปที่อาสนวิหารโวลเทอร์รา (Volterra Cathedral) ประเทศอิตาลี อาสนวิหาร (Cathedral; Cathédrale; Kathedrale/Dom; Cattedrale/Duomo) คือคริสต์ศาสนสถานประเภทหนึ่งที่คริสต์ศาสนิกชนใช้ทำการนมัสการพระเจ้า (โดยเฉพาะในคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ แองกลิคัน และลูเทอแรน อาสนวิหารจะเป็นโบสถ์ประจำตำแหน่งของมุขนายก ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของมุขมณฑลซึ่งเป็นเขตปกครองของบิชอป คำว่าอาสนวิหารใช้ได้หลายความหมาย บางอาสนวิหารของคริสตจักรปฏิรูปที่สกอตแลนด์ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรแห่งสกอตแลนด์ยังใช้คำว่าเรียกตัวเองว่าอาสนวิหารอยู่ทั้งที่โบสถ์นั้นไม่มีตำแหน่งมุขนายกประจำ ฉะนั้นในบางกรณีคำว่าอาสนวิหารจึงใช้เรียกโบสถ์ที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งอาสนะของบิชอปแต่มีลักษณะใหญ่โตน่าประทับใจ นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์จะไม่ใช้คำว่าอาสนวิหารแต่จะใช้คำว่าโบสถ์ใหญ่ (the great church) แต่เมื่อแปลเป็นภาษาอังกฤษก็จะใช้คำว่า “cathedral” เมื่อพูดถึงโบสถ์ใหญ่ นิกายออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์จะไม่มีอาสนวิหารอย่างที่ว่าแต่จะมีโบสถ์หลักเช่นโบสถ์เซนต์มาร์กที่ไคโรซึ่งก็เรียกกันว่า “cathedral” เช่นกัน อาสนวิหารหลายแห่งในทวีปยุโรปไม่เรียกตัวเองว่าอาสนวิหารแต่จะเรียกตัวเองว่า Minster หรือ Münster เช่น ที่เมืองยอร์ก หรือ ลิงคอล์น ในประเทศอังกฤษ แต่คนทั่วไปก็ยังเรียกทั้งสองแห่งนี้ว่า “อาสนวิหาร” ในประเทศเยอรมนี ทั้งสองคำนี้มีรากมาจากคำว่า monasterium ใน ภาษาละติน เพราะแต่เดิมอาสนวิหารเหล่านี้เคยอยู่ภายใต้การปกครองของแคนัน (canon) ที่อยู่ในชุมชนนั้นหรืออาจจะเคยเป็นแอบบีย์มาก่อนการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: ไคโรและอาสนวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

อาห์โมส อิตาปิ

อาห์โมส อิตาปิ หรือ อาห์โมส อิตาไป เป็นเจ้าหญิงและพระราชินีแห่งราชวงศ์ที่สิบเจ็ด ตอนปลายและในต้นราชวงศ์ที่สิบแป.

ใหม่!!: ไคโรและอาห์โมส อิตาปิ · ดูเพิ่มเติม »

อาอีดา

ทเรซา สโตลซ์ รับบทอาอีดาในการแสดงที่ปาร์มา ปี 1872 ราดาเมส จากต้นฉบับภาพร่างโดยออกุสต์ มาริเอตต์ อาอีดา (Aïda ออกเสียง /ɑːˈiːdɑː/, มาจาก عايدة‎, ออกเสียง) เป็นอุปรากรภาษาอิตาลีความยาว 4 องก์ โดยจูเซปเป แวร์ดี แต่งคำร้องโดยอันโตนีโอ กิสลานโซนี จากต้นฉบับร่างโดยออกุสต์ มาริเอตต์ นักอียิปต์วิทยาชาวฝรั่งเศส แวร์ดีแต่งอุปรากรเรื่องนี้ตามคำสั่งว่าจ้างจากอิชมาอิล พาชา ผู้ปกครองแห่งอียิปต์และซูดาน เพื่อจัดแสดงที่คีดิฟโอเปราเฮาส์ ไคโร ประเทศอียิปต์ในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: ไคโรและอาอีดา · ดูเพิ่มเติม »

อาโมส-ซิทามุน

อาโมส-ซิทอามุน หรือ ซิทามุน เป็นเจ้าหญิงแห่งราชวงศ์ที่สิบแปดตอนต้นของอียิปต์โบราณ.

ใหม่!!: ไคโรและอาโมส-ซิทามุน · ดูเพิ่มเติม »

อาโมส-เมริทอามุน

อาโมส-เมริทอามุน ("เกิดจากดวงจันทร์รักเทพอามุน") เป็นเจ้าหญิงแห่งราชวงศ์ที่สิบเจ็ดของอียิปต์โบราณ พระองค์เป็นพระราชธิดาของฟาโรห์ทาโอที่สอง พระศพของพระองค์ถูกค้นพบใน Deir el-Bahari (DB320) และตอนนี้อยู่ในพิพิธภัณฑ์อียิปต์ในกรุงไคโร Grafton Elliot Smith ชี้ให้เห็นถึงคำอธิบายของมัมมี่ว่าวิธีการทำมัมมี่สอดคล้องกับราชวงศ์ที่สิบแปด ยังคงเป็นของหญิงชราคนหนึ่งที่ค่อนข้างสั้นในสัดส่วน การตรวจสอบของพระศพของพระองค์แสดงให้เห็นว่าพระองค์ได้รับบาดแผลที่ศีรษะก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ ซึ่งมีลักษณะของแผลที่ยั่งยืนเมื่อล้มกลับ หรืออาจได้รับความเสียหายจากการถูกโจรปล้นหลุมฝังพระศพG.E. Smith, Catalogue General Antiquites Egyptiennes du Musee du Caire: The Royal Mummies, 1912, pp 6-8 and pl IV.

ใหม่!!: ไคโรและอาโมส-เมริทอามุน · ดูเพิ่มเติม »

อาโมส-เฮนุททาเมฮู

อาโมส-เฮนุททาเมฮู (พระนามมีความหมายว่า "ดวงจันทร์แห่งผู้หญิงในเมืองอียิปต์ล่าง") เป็นเจ้าหญิงและพระราชินีแห่งราชวงศ์ที่สิบเจ็.

ใหม่!!: ไคโรและอาโมส-เฮนุททาเมฮู · ดูเพิ่มเติม »

อิบน์ ค็อลดูน

อะบู ซัยด์ อับดุรเราะห์มาน บิน มุฮัมมัด บิน ค็อลดูน อัลฮัฎเราะมี (أبو زيد عبد الرحمن بن محمد بن خلدون الحضرمي; 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1332 – 19 มีนาคม ค.ศ. 1406) เป็นนักประวัติศาสตร์และนักประวัติศาสตร์นิพนธ์มุสลิมชาวตูนิเซียเชื้อสายอัลอันดะลุส และได้รับการยกย่องจากนักวิชาการหลายคนว่าเป็นหนึ่งในบิดาแห่งองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์นิพนธ์ สังคมวิทยา และเศรษฐศาสตร์สมัยใหม่ อิบน์ ค็อลดูน เป็นที่รู้จักมากที่สุดจากผลงานที่มีชื่อว่า อัลมุก็อดดิมะฮ์ ซึ่งได้รับการค้นพบ ประเมินค่า และตระหนักถึงคุณค่าเป็นครั้งแรกในวงวิชาการของยุโรปช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 แต่ผลงานชิ้นดังกล่าวก็มีอิทธิพลอย่างมากต่อนักประวัติศาสตร์ชาวออตโตมันในคริสต์ศตวรรษที่ 17 อย่างฮัจญี เคาะลีฟะฮ์ และมุศเฏาะฟา นะอีมา ซึ่งอาศัยทฤษฎีของเขาในการวิเคราะห์ความเจริญรุ่งเรืองและความเสื่อมถอยของจักรวรรดิออตโตมันเช่นกัน ภายหลังในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักวิชาการตะวันตกจึงยอมรับว่าอิบน์ ค็อลดูน เป็นหนึ่งในบรรดานักปรัชญาที่ยิ่งใหญ่ที่สุดจากโลกมุสลิม.

ใหม่!!: ไคโรและอิบน์ ค็อลดูน · ดูเพิ่มเติม »

อุมัร อัชชะรีฟ

อุมัร อัชชะรีฟ (عمر الشريف; Omar al-Sharif; 10 เมษายน ค.ศ. 1932 – 10 กรกฎาคม ค.ศ. 2015) เป็นนักแสดงชาวอียิปต์ที่เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ และเคยได้รับรางวัลลูกโลกทองคำ มีชื่อเสียงจากบทบาทในภาพยนตร์เรื่อง ลอว์เรนซ์ออฟอาระเบีย (Lawrence of Arabia - 1962) คู่กับปีเตอร์ โอ ทูล, ดอกเตอร์ชิวาโก (Doctor Zhivago, 1965) คู่กับจูลี คริสตี และบุษบาหน้าเป็น (Funny Girl, 1968) คู่กับบาร์บารา สไตรแซนด์ อุมัร อัชชะรีฟ เกิดที่เมืองอะเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปต์ ในครอบครัวที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก เชื้อสายเลบานอน เดิมชื่อว่า ไมเคิล ดิมีตรี ชัลฮูบ (Michael Demitri Shalhoub) จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยไคโร เข้าสู่วงการแสดงตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ไคโรและอุมัร อัชชะรีฟ · ดูเพิ่มเติม »

อียิปต์แอร์

อียิปต์แอร์ (อาหรับ: مصر للطيران) เป็นสายการบินแห่งชาติ และเป็นรัฐวิสาหกิจของประเทศอียิปต์ ให้บริการในเส้นทางมากกว่า 75 จุดหมายปลายทาง โดยให้บริการหลักจากท่าอากาศยานนานาชาติไคโร ในกลุ่มประเทศตะวันออกกลาง, ยุโรป, เอเชีย และอเมริกา อียิปต์แอร์ ยังเป็นสมาชิกของอาหรับแอร์ แคริเออร์ ออร์แกไนเซชั่น (الإتحاد العربي للنقل الجوي) และกำลังเจรจาเข้าร่วมเป็นพันธมิตรสายการบินสตาร์อัลไลแอนซ์ โดยมีลุฟต์ฮันซาให้การสนับบสนุน นอกจากนี้อียิปต์แอร์ยังเป็นสายการบินขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของทวีปแอฟริกา เป็นรองจากแอฟริกันแอร์เว.

ใหม่!!: ไคโรและอียิปต์แอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 667

อียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 667เป็นอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับสายการบินอียิปต์แอร์ เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เดินทางจาก ไคโร ไปยัง เจดดะห์ ด้วยเครื่องบินรุ่นโบอิง777-266ER.

ใหม่!!: ไคโรและอียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 667 · ดูเพิ่มเติม »

อียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 804

อียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 804 (MS804/MSR804) เป็นเที่ยวบินโดยสารระหว่างประเทศจากท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล ไปยังท่าอากาศยานนานาชาติไคโร ดำเนินการโดยอียิปต์แอร์ ซึ่งตกไปในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ไคโรและอียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 804 · ดูเพิ่มเติม »

อียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 864

การบินอียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 864 เดินทางออกจากท่าอากาศยานนานาชาติไคโร กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2519 พร้อมด้วยผู้โดยสาร 43 คน และลูกเรือ 9 คน ไปยังปลายทางคือท่าอากาศยานนานาชาติกรุงเทพ ฯ (หรือสนามบินนานาชาติดอนเมืองในปัจจุบัน) เมื่อเวลา 3 นาฬิกา 30 นาที เที่ยวบินที่ 864 ติดต่อกับหอบังคับการบินเพื่อลงที่ท่าอากาศยานนานาชาติกรุงเทพ ฯ หลังจากที่หอบังคับการบินแจ้งกับเที่ยวบิน 864 ว่าพร้อมให้เที่ยวบิน 864 ลงจอดได้ ตัวเครื่องได้ตกลงบริเวณโรงงานอุตสาหกรรมห่างจากท่าอากาศยานนานาชาติกรุงเทพ ฯ ขึ้นไปทางเหนือประมาณ 2 กิโลเมตร ผู้โดยสารและลูกเรือบนเครื่อง เสียชีวิตทั้งลำ พร้อมทั้งผู้เสียชีวิตบนภาคพื้นอีก 19 คน,Accident description of EgyptAir Flight 864.

ใหม่!!: ไคโรและอียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 864 · ดูเพิ่มเติม »

องค์การอนามัยโลก

องค์การอนามัยโลก (World Health Organization ตัวย่อ WHO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ซึ่งรับผิดชอบการประสานงานด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ ก่อตั้งเมื่อ 7 เมษายน..

ใหม่!!: ไคโรและองค์การอนามัยโลก · ดูเพิ่มเติม »

อเวคเคนนิงเรคอร์ดส

อเวคเคนนิงเรคอร์ดส (Awakening Records) เป็นสื่อถ่ายทำของสหราชอาณาจักร ก่อตั้งโดยผู้ประกอบการคนอเมริกันและอังกฤษใน.. 2003 ในการเผยแผ่อิสลามแบบสมัยใหม่ และการค้าขายดนตรี.

ใหม่!!: ไคโรและอเวคเคนนิงเรคอร์ดส · ดูเพิ่มเติม »

ฮาซัน อัลบันนา

ซัน อัลบันนา (حسن أحمد عبد الرحمن محمد البنا الساعاتي; Hassan al-Banna) มีชื่อเต็มว่า ฮาซัน อะห์หมัด อับดุลอับดุลเราะห์มาน อัลบันนา อัซซาอาตี เป็นผู้ก่อตั้ง กลุ่ม "อิควานมุสลิมีน" ในอียิปต์ เกิดเมื่อ 14 ตุลาคม..1906 เสียชีวิตจากการถูกฆาตกรรมเมื่อ 12 กุมภาพัน..1949 เป็นมุสลิมที่มีอิทธิพลมากที่สุดในศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: ไคโรและฮาซัน อัลบันนา · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์

รายชื่อต่อไปนี้เป็นจุดหมายปลายของสายการบินบริติช แอร์เวย์ โดยที่ไม่ได้รวมจุดหมายปลายทางของสายการบินลูก และสายการบินแฟรนไชส์ (บีเอ คอนเนคท์, จีบีแอร์เวย์, บริติชเมดิเตอร์เรเนียน แอร์เวย์).

ใหม่!!: ไคโรและจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของการบินไทย

โบอิง 747-400 ของการบินไทยกำลังบินขึ้น ในวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 การบินไทย ได้ให้บริการการบินไปยังท่าอากาศยานทั้งหมด 64 แห่ง ใน 35 ประเทศ (รวมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและประเทศไทย) ครอบคลุม 3 ทวีป ดังรายการต่อไปนี้ โดยมีท่าอากาศยานนานาชาติเวียนนา เมืองเวียนนา เป็นท่าอากาศยานที่ 64 ที่ทำการบินไทยทำการบินประจำ ในปี..

ใหม่!!: ไคโรและจุดหมายปลายทางของการบินไทย · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์

ในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ไคโรและจุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์

รายชื่อนี้เป็นจุดหมายปลายทางการเดินทางที่สายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์เปิดให้บริการ ตามข้อมูลในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: ไคโรและจุดหมายปลายทางของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์

This is a list of airports to which Swiss International Air Lines flies (as of March 2009).

ใหม่!!: ไคโรและจุดหมายปลายทางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์

ประเทศจุดหมายปลายทางของโคเรียนแอร์ แอร์บัส เอ 380 ของสายการบินโคเรียนแอร์ โคเรียนแอร์ ให้บริการเที่ยวบินสู่จุดหมายปลายทาง 13 แห่งในประเทศ และ 115 แห่งใน 50 ประเทศใน 5 ทวีป เมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2013 โคเรียนแอร์ให้บริการเที่ยวบินระหว่างอินช็อนกับอีก 22 เมืองในจีนแผ่นดินใหญ่ พร้อมกับ เอเชียนาแอร์ไลน์ ซึ่งให้บริการเที่ยวบินไปจีนเช่นกัน.

ใหม่!!: ไคโรและจุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินไชน่าแอร์ไลน์

หมายปลายทางของสายการบินไชนาแอร์ไลน.

ใหม่!!: ไคโรและจุดหมายปลายทางของสายการบินไชน่าแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไคโรและจุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์

หน้านี้คือรายชื่อจุดหมายปลายทางของเที่ยวบินต่าง ๆ ของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์ ทั้งนี้ไม่รวมถึงสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก ซึ่งเป็นสายการบินขนส่งสินค้.

ใหม่!!: ไคโรและจุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จูเซปเป แวร์ดี

Verdi จูเซปเป ฟอร์ตูนีโน ฟรันเชสโก แวร์ดี (Giuseppe Verdi) เป็นคีตกวีชาวอิตาลี เกิดเมื่อวันที่10 ตุลาคม พ.ศ. 2356 (ค.ศ. 1813) เสียชีวิตเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2444 (ค.ศ. 1901) โด่งดังจากอุปรากรเรื่อง ลา ทราเวียตตา ไอด้า โอเทลโล ผลงานของเขาได้รับความนิยมอย่างสูงเมื่อเขายังมีชีวิตอยู่ และต่อเนื่องจวบจนปัจจุบัน แวร์ดีเกิดที่หมู่บ้าน Le Roncole ในอำเภอตาโร ซึ่งขณะนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดินโปเลียน โบนาปาร์ต ในปี พ.ศ. 2367 (ค.ศ. 1824) เขาได้ย้ายถิ่นฐานไปอยู่ที่เมืองบุสเชโต ที่ซึ่งเขาได้เรียนดนตรีกับเฟอร์ดินานโด โปรแวร์สิ เขาได้ประพันธ์ซิมโฟนี ขึ้นมาบทหนึ่งจากเพลงโหมโรงของอุปรากรเรื่อง กัลบกแห่งเมืองเซวิลล์ (Il barbiere di Siviglia) ของ จิโออัคคิโน รอสสินี จากนั้นก็ได้ย้ายไปอยู่ที่นครมิลาน เพื่อสมัครเข้าเรียนที่วิทยาลัยดนตรีแต่ก็ถูกปฏิเสธ เขาจึงเรียนแบบส่วนตัวกับวินเซนโซ ลาวินยา ผลงานประพันธ์อุปรากรเรื่องแรกของเขาคือ Oberto, conte di San Bonifacio (เปิดการแสดงครั้งแรกที่กรุงมิลาน เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2382) ตามด้วยเรื่อง Un giorno di regno (ซึ่งเป็นความพยายามประพันธ์อุปรากรชวนหัวเพียงครั้งเดียว ซึ่งมีเพียง Falstaff อีกเรื่องในช่วงบั้นปลายชีวิตของเขา) แต่เขาประสบความสำเร็จครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2385 (ค.ศ. 1842) จากเรื่อง Nabucco ที่ได้เปิดแสดงที่โรงละครลา สกาล่า ในนครมิลาน โดยมีนักแสดงนำได้แก่จูเซปปินา สเตร็ปโปนี ร้องเสียงโซปราโน ในบทของอาบิไก นักร้องสาวได้กลายเป็นภรรยาน้อยของแวร์ดี เขาได้แต่งงานกับหล่อนในอีกหลายปีให้หลัง ภายหลังการเสียชีวิตของภรรยาของเขา หลังจากที่อุปรากรเรื่อง I Lombardi alla prima crociata (เปิดแสดงครั้งแรกที่นครมิลาน เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2386) ที่มีเนื้อหาบางส่วนเกี่ยวข้องกับสถานการณ์การเมือง เรื่องErnani ก็ประสบความสำเร็จในการเปิดแสดงที่โรงละครลา เฟนิกซ์ ในนครเวนีซเช่นกัน ในปีต่อมา อุปรากรเรื่อง Giovanna d'Arco และ La Forza del Destino ก็ตอกย้ำความโด่งดังของแวร์ดี แต่เขาเห็นว่าการแสดงงานของเขาที่โรงละครลา สกาล่านั้นยังไม่เข้าขั้น เป็นเหตุให้เขาปฏิเสธการเปิดแสดงอุปรากรเรื่องต่อ ๆ มาในมิลาน อันได้แก่เรื่อง Atilla, Alzira และ แมคเบ็ท ในได้ถูกนำออกแสดงในเมืองต่าง ๆ ทั่ว ประเทศอิตาลี ส่วนเรื่อง I Masnadieri นั้นได้ถูกประพันธ์ขึ้นที่กรุงลอนดอน ในขณะที่นครมิลาน พ่ายแพ้และถูกจักรวรรดิออสเตรียเข้ายึดครอง แวร์ดีได้ประพันธ์อุปรากรเรื่อง Il Corsaro, La Battaglia di Legnano และ Luisa Miller รวมทั้งเรื่อง Manon Lescaut ที่แต่งไม่จบ หลังจากข่าวอื้อฉาวเกี่ยวกับบทประพันธ์เรื่อง Stiffelio ในปี พ.ศ. 2394 (ค.ศ. 1851) เรื่อง Rigoletto ก็ประสบความสำเร็จอย่างท่วมท้นในการเปิดแสดงที่โรงละครลา เฟนิกซ์ ในนครเวนีซ ในปี พ.ศ. 2396 (ค.ศ. 1853) เขาประสบความสำเร็จครั้งสำคัญอีกครั้งจากเรื่องIl Trovatore ที่โรงละครอพอลโลในกรุงโรม แต่การเปิดการแสดงภาคภาษาฝรั่งเศสในนครเวนีซไม่ประสบความสำเร็จเท่าใดนัก อุปรากรเรื่องอื่น ๆ ที่ประพันธ์ขึ้นในช่วงนี้ ได้แก่ งูพิษแห่งเกาะซิซิลี (เปิดแสดงที่กรุงปารีส) Aroldo (งานที่สร้างขึ้นมาจากเรื่อง Stiffelioเดิม) และเรื่อง Simon Boccanegra กับ Un ballo in maschera (ที่ถูกห้ามนำออกแสดง) แวร์ดีได้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างมากในการรวมชาติของประเทศอิตาลี (เขาได้ประพันธ์บทเพลง Inno delle Nazioni ซึ่งได้รวมเอาเพลงชาติต่าง ๆ ในยุโรปไว้ด้วยกัน เช่น เพลง Fratelli d'Italia Marseillaise และ God Save the King ในปี พ.ศ. 2405 (ค.ศ. 1862) และได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งวุฒิสมาชิก จากนั้นก็ได้นำผลงานเก่ามาแก้ไขเล็กน้อย จนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2409 (ค.ศ. 1866) เมื่อDon Carlos ได้ถูกนำออกแสดงครั้งแรกที่กรุงปารีส ในปี พ.ศ. 2415 (ค.ศ. 1872) เมื่อเขานำเรื่องไอด้า ออกแสดงที่โรงละครลา สกาล่าก็ประสบความสำเร็จอย่างท่วมท้น เขาได้ประพันธ์ให้แก่ผู้สำเร็จราชการแห่งอียิปต์กับเนื่องในโอกาสพิธีเปิดโรงละครแห่งใหม่ในกรุงไคโร และสำหรับการเปิดคลองสุเอซ ผลงานของแวร์ดีมีความเป็นชาตินิยมของชาวอิตาลีอยู่ในตัว (เป็นต้นว่าเพลงชาวยิวสำหรับกลุ่มนักร้องประสานเสียงขับร้องในเรื่อง Nabucco ที่มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า Va Pensiero นั้น ได้รับการเสนอให้เป็นเพลงชาติอิตาลีมาอย่างสม่ำเสมอ โดยไม่ได้มีความหมายในเชิงเหยียดเชื้อชาติ) เป็นที่น่าประหลาดใจ เมื่อมีคนพบว่าชื่อของเขา Verdi เป็นตัวอักษรย่อของคำว่า Vittorio Emanuele Re D’Italia (วิคเตอร์ เอ็มมานูเอล กษัตริย์แห่งอิตาลี) ในช่วงเวลาที่ชาวเมืองมิลาน (ซึ่งยังตกอยู่ภายใต้การปกครองของออสเตรีย) ได้เริ่มหันมาสนับสนุนความพยายามรวมชาติอิตาลีของวิคเตอร์ เอ็มมานูเอล กลุ่มแนวร่วมหลบหนีเข้าเมืองได้เริ่มคบคิดที่จะให้กษัตริย์ Sardaigne บุกมิลาน เนื่องจากการกดขี่ของชาวออสเตรียนั้นรุนแรงเกินไป กลุ่มคนเหล่านี้ได้เริ่มการปลุกระดมที่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า « Viva VERDI » (« V.E.R.D.I. จงเจริญ ») แวร์ดีทราบเรื่องการนำชื่อของเขาไปใช้ ซึ่งโดยหลักแล้วเขาควรจะห้าม แต่เขาก็ไม่ได้ห้าม เรื่องราวอื่น ๆ ที่เกี่ยวพันกับการเมืองของแวร์ดีได้ถูกนำเสนอในบทอุปรากรเรื่อง I Lombardi แวร์ดีเสียชีวิตอย่างกะทันหันในปี พ.ศ. 2444 (ค.ศ. 1901) ที่นครมิลาน หลังจากการก่อสร้างคฤหาสน์ Casa di Riposo เสร็จสิ้น (เขาตั้งใจให้เป็นที่พักชั่วคราวของเหล่าศิลปินตกยาก) พีธีศพของเขาจัดขึ้นอย่างอลังการ ผู้เข้าร่วมราว 250,000 คนได้มาแสดงความคารวะต่อปูชนียบุคคลผู้หนึ่งของวงการดนตรีอิตาลี.

ใหม่!!: ไคโรและจูเซปเป แวร์ดี · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ใหม่!!: ไคโรและทวีปแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ทาชเคนต์

ทางอากาศกรุงทาชเคนต์ ทาชเคนต์ (Tashkent หรือ Toshkent; อุซเบก: Тошкент; Ташкент; ชื่อมีความหมายในภาษาอุซเบกว่า "นครศิลา") เป็นเมืองหลวงของประเทศอุซเบกิสถาน มีประชากรประมาณ 2 ล้านคน.

ใหม่!!: ไคโรและทาชเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน (ฮังกึล: 인천국제공항, ฮันจา: 仁川國際空港) ตั้งอยู่ที่เกาะยางจอง เมืองอินช็อน ประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของโซล โดยรองรับการเป็นท่าอากาศยานหลักของเกาหลีใต้ และสายการบินแห่งชาติอย่างโคเรียนแอร์ รวมทั้งเอเชียน่าแอร์ไลน์ และคาร์โก360 แทนที่ท่าอากาศยานกิมโป (เดิมคือท่าอากาศยานนานาชาติกิโป) นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ไคโรและท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติไคโร

ท่าอากาศยานนานาชาติไคโร (อาหรับ: مطار القاهرة الدولي) ตั้งอยู่ที่กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 15 กิโลเมตร เป็นประตูสำคัญในการเข้าออกอียิปต์ และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของอียิปต์แอร์ ไคโรเป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากเป็นอันดับ 2 ของทวีปแอฟริกา เป็นรองจากท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบ ที่เมืองโจฮันเนสเบิร์ก.

ใหม่!!: ไคโรและท่าอากาศยานนานาชาติไคโร · ดูเพิ่มเติม »

ดาการ์แรลลี

การ์แรลลี หรือ เดอะ ดาการ์ ในอดีตรู้จักกันในชื่อ ปารีส-ดาการ์ เป็นการแข่งขันรถประจำปี ที่จัดการแข่งขันโดยองค์กรกีฬาอามอรี (Amaury Sport Organisation - ASO) บริษัทสัญชาติฝรั่งเศสที่ก่อตั้งโดยฟิลิปเป อามอรี จัดการแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 1978 เส้นทางการแข่งขันส่วนใหญ่เริ่มต้นจากปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีเส้นทางผ่านภูมิประเทศทุรกันดารหลากหลายชนิดทั้งทะเลทราย บ่อโคลน ทุ่งหญ้า ทุ่งหิน หุบผาสูงชัน เนินทรายในทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ไปสิ้นสุดที่ดาการ์ ประเทศเซเนกัล แต่หลังจากเกิดเหตุการณ์สังหารนักท่องเที่ยวชาวฝรั่งเศสในประเทศมอริเตเนียในช่วงปลายปี 2007 โดยกลุ่มก่อการร้ายอัลกออิดะฮ์ ทำให้เกิดความกังวลเรื่องความปลอดภัยของผู้ร่วมแข่งขัน จนต้องงดการแข่งขันในช่วงต้นปี 2008 และย้ายการแข่งขันไปจัดในทวีปอเมริกาใต้ ที่อาร์เจนตินาและชิลี ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ไคโรและดาการ์แรลลี · ดูเพิ่มเติม »

ดาห์ชูร์

center ดาห์ชูร์ เป็นสถานที่ฝังพระศพของอียิปต์โบราณ ซึ่งที่ตั้งอยู่ในทะเลทรายของฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไนล์ประมาณ 40 กิโลเมตรทางใต้ของกรุงไคโร มันเป็นที่รู้จักมากที่สุดสำหรับพีระมิดมิดหลายแห่ง และมีอยู่สองแห่ง ซึ่งเป็นพีระมิดที่เก่าแก่ที่สุดและใหญ่ที่สุดและรักษาที่ดีที่สุดในอียิปต์สร้างเมื่อประมาณ 2613-2589 ปีก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: ไคโรและดาห์ชูร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาเมียตตา

การยึดเมืองดาเมียตตาโดยนักรบครูเสด ดาเมียตตา (Damietta หรือ Damiata หรือ Domyat) หรือ ดุมยาฏ (دمياط) เป็นเมืองท่าและเมืองหลักของเขตผู้ว่าการดาเมียตตาในประเทศอียิปต์ ดาเมียตตาตั้งอยู่ที่จุดที่แม่น้ำไนล์ไหลออกสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนราว 200 กิโลเมตรทางตอนเหนือของกรุงไคโร.

ใหม่!!: ไคโรและดาเมียตตา · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 5

อะเมซิ่ง เรซ 5 (The Amazing Race 5) เป็นฤดูกาลที่ 5 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: ไคโรและดิอะเมซิ่งเรซ 5 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอินโนเซนส์ออฟมุสลิม

อินโนเซนส์ออฟมุสลิม เป็นภาพยนตร์อิสระ เกี่ยวกับศาสนาและการเมือง เข้าใจว่าเขียนและกำกับโดย นาคูลา เบสลีย์ นาคูลา (Nakoula Basseley Nakoula) โดยใช้ชื่อแฝงว่า "แซม บาซิล" (Sam Bacile) นอกจากนี้ ยังอ้างว่าเป็นนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ชาวอิสราเอล-ยิว มีรายงานภายหลังว่า เขาเป็นชาวอียิปต์โดยกำเนิด นับถือศาสนาคริสต์นิกายคอปติก และในอดีตเคยใช้สมนามมาแล้วหลายชื่อ เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ไคโรและดิอินโนเซนส์ออฟมุสลิม · ดูเพิ่มเติม »

คอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ

การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Olympiad in Informatics - IOI) เป็นการแข่งขันเกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร์ประจำปี เป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา คอมพิวเตอร์โอลิมปิกครั้งแรกเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) การแข่งขันประกอบด้วยการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์สองวัน เป็นการแก้ปัญหาด้วยขั้นตอนวิธีต่างๆ ผู้เข้าแข่งขันจะแข่งเป็นทีม ทีมละไม่เกิน 4 คนจากแต่ละประเทศ (อาจยกเว้นประเทศเจ้าภาพที่สามารถมีผู้เข้าแข่งขันเกิน 4 คนได้) แต่การแข่งขันจะเป็นการแข่งเดี่ยว มีผู้เข้าแข่งขันจาก 81 ประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2547 นักเรียนที่เข้าแข่งขันจะมาจากการแข่งขันการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภายในประเทศ เพื่อเป็นตัวแทนประเทศนั้น.

ใหม่!!: ไคโรและคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คาทอลิกตะวันออก

ระศาสนจักรคาทอลิกตะวันออก หรือ ศาสนจักรคาทอลิกจารีตตะวันออก (Eastern Catholic Churches) เป็นคริสตศาสนจักรตะวันออก 23 ศาสนจักรที่ร่วมเอกภาพสมบูรณ์กับพระสันตะปาปาแห่งโรมโดยยอมรับพระองค์เป็นประมุขสูงสุดของศาสนจักรแต่มีอำนาจปกครองตนเอง มีจารีตธรรมประเพณีเป็นของตนเองและเป็นส่วนหนึ่งของนิกายคาทอลิกทั่วโลก สถานะพิเศษของศาสนจักรคาทอลิกจารีตตะวันออกได้รับการรับรองโดยกฤษฎีกาจากสภาสังคายนาวาติกันครั้งที่ 2 ใน Orientalium ecclesiarum (กฤษฎีกาว่าด้วยพระศาสนจักรคาทอลิกตะวันออก) จากข้อมูลหนังสือ Annuario Pontificio ฉบับปี 2016 ได้ให้ข้อมูลว่ามีคริสตศาสนิกชนนิกายคาทอลิกที่เป็นคาทอลิกตะวันออกเกือบ 18 ล้านคน (จำนวนทั้งสิ้น 17,881,222 คน) คิดเป็นประมาณ 1.4-1.5% ของจำนวนคริสตศาสนิกชนคาทอลิกทั้งหมดและกระจายออกไปทั่วโลก ตราอาร์มของพระอัครสังฆราชใหญ่สวีอาโตสลาฟ เชฟชุคแห่งศาสนจักรยูเครนกรีกคาทอลิก.

ใหม่!!: ไคโรและคาทอลิกตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการมรดกโลก

ลโก้ของยูเนสโกในคณะกรรมการมรดกโลก คณะกรรมการมรดกโลก (World Heritage Committee) ถูกก่อตั้งโดยเป็นส่วนหนึ่งของของมรดกโลกของยูเนสโก คณะกรรมการมรดกโลกจะมีการประชุมร่วมกันหลายครั้งในแต่ละปี เพื่ออภิปรายถึงแผนการจัดการเกี่ยวกับแหล่งมรดกโลกที่ยังคงอยู่ และรับรายชื่อสถานที่ที่ประเทศต่างๆเสนอให้ได้รับการพิจารณาให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก และจะมีการประชุมครั้งหนึ่งที่เรียกว่า การประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ (World Heritage Committee Session) ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี เพื่อตัดสินว่าสถานที่ที่ได้รับการเสนอชื่อแห่งใดที่จะได้รับการขึ้นทะเบียนอย่างเป็นทางการ การประชุมสมัยสามัญประจำปีจะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันจัดในเมืองสำคัญต่างๆจากทั่วโลก ซึ่งนอกจากครั้งที่จัดขึ้นที่กรุงปารีส อันเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ขององค์การยูเนสโกแล้ว จะมีเพียงประเทศที่สมาชิกของคณะกรรมการมรดกโลกเท่านั้นที่จะได้รับสิทธิในการจัดการประชุมครั้งต่อไป โดยจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ และรับรองได้ว่าสมาชิกภาพของประเทศนั้นๆจะไม่หมดวาระลงเสียก่อนที่จะได้จัดการประชุม.

ใหม่!!: ไคโรและคณะกรรมการมรดกโลก · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศบรูไนดารุสซาลาม

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตบรูไน สถานทูตและสถานกงสุลบรูไนนอกประเท.

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศบรูไนดารุสซาลาม · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศบังกลาเทศ

รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศบังกลาเทศในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศบังกลาเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศบาห์เรน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตบาห์เรน สถานทูตและสถานกงสุลบาห์เรนในต่างแดน.

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศบาห์เรน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศฟิลิปปินส์

นทูตและสถานกงสุลฟิลิปปินส์ในประเทศต่าง.

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศพม่า

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตของพม่า สถานทูตพม่าในกรุงวอร์ชิงตัน สถานทูตและสถานกงสุลพม่าในประเทศต่าง.

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศกาตาร์

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตกาตาร์ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศกาตาร์ในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศกาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศญี่ปุ่น

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตญี่ปุ่นประจำอยู่ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศญี่ปุ่นในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศมองโกเลีย

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตมองโกเลีย สถานทูตและสถานกงสุลมองโกเลียในต่างแดน.

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศมาเลเซีย

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตมาเลเซีย สถานทูต สถานกงสุล ฯลฯ มาเลเซียในต่างแดน.

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศศรีลังกา

รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศศรีลังกาในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศสิงคโปร์

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตของสิงคโปร์ สถานทูตและสถานกงสุลสิงคโปร์ในประเทศต่าง ๆ สิงคโปร์เปิดความสัมพันธ์ทางการทูตครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2508 กับประเทศมาเลเชีย และสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตสเปน ประเทศสเปนเป็นประเทศหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกว้างขวางเกือบทั่วโลก รายชื่อข้างล่างนี้คือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของสเปนในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศอาร์มีเนีย

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตอาร์มีเนีย รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศอาร์มีเนียในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศอาเซอร์ไบจาน

นเอกอัครราชทูต รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศอาเซอร์ไบจานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิรัก

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตอิรัก รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศอิรักในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิตาลี

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตอิตาลี รายชื่อข้างล่างคือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศอิตาลีในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศอุซเบกิสถาน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตอุซเบกิสถาน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลของอุซเบกิสถานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์แดน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตจอร์แดน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของจอร์แดนในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์เจีย

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตจอร์เจีย รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลของจอร์เจียในประเทศต่างๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศจีน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตจีน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของสาธารณรัฐประชาชนจีนในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศคาซัคสถาน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตคาซัคสถาน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลของคาซัคสถานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศคาซัคสถาน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศคูเวต

นทูตและสถานกงสุลของประเทศคูเวตในประเทศต่าง.

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศคูเวต · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศซาอุดีอาระเบีย

รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศซาอุดีอาระเบียในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศซาอุดีอาระเบีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศซีเรีย

รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศซีเรียในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศซีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศปากีสถาน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตปากีสถาน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศปากีสถานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศปากีสถาน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศโอมาน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตโอมาน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศโอมานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศโอมาน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกส

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตโปรตุเกส ประเทศโปรตุเกสเป็นประเทศหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกว้างขวางเกือบทั่วโลก รายชื่อข้างล่างนี้คือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของโปรตุเกสในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทย

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางทูตไทย สถานทูตและสถานกงสุลไทยในต่างแดน.

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศไซปรัส

ประเทศที่มีคณะทูตไซปรัสประจำอยู่ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศไซปรัสในประเทศต่างๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไซปรัส · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีใต้

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเกาหลีใต้ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของเกาหลีใต้ในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีเหนือ

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเกาหลีเหนือ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของเกาหลีเหนือในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเยเมน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเยเมน สถานทูตและสถานกงสุลเยเมนในประเทศต่าง.

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเยเมน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเลบานอน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเลบานอน รายชื่อสถานทูตและสถานกงสุลเลบานอนในประเทศต่าง.

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเวียดนาม

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเวียดนาม สถานทูตและสถานกงสุลเวียดนามในต่างแดน.

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเนปาล

รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศเนปาลในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ไคโรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

ต้นสมัยกลาง

ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg. Lat. 316. foll. 131v/132r) ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages) เป็นสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป เริ่มขึ้นหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันและดำเนินต่อเนื่องกันเป็นเวลาประมาณห้าร้อยปีโดยเริ่มตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 500 จนกระทั่งมาถึงราวปี ค.ศ. 1000 ต้นสมัยกลางสิ้นสุดแล้วจึงต่อด้วยสมัยกลางยุครุ่งโรจน.

ใหม่!!: ไคโรและต้นสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ซิบฆัตตุลลอฮ์ โมญัดเดดี

ซิบฆัตตุลลอฮ์ โมญัดเดดี (Sibghatullah Mojaddedi; صبغت الله مجددی; เกิดประมาณ ค.ศ. 1926) เป็นนักการเมืองชาวอัฟกานิสถาน เป็นประธานาธิบดีอัฟกานิสถานระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: ไคโรและซิบฆัตตุลลอฮ์ โมญัดเดดี · ดูเพิ่มเติม »

ซิอามุน (พระราชโอรสในทุตโมสที่สาม)

ซิอามุน (พระนามมีความหมายว่า "ลูกชายของเทพอามุน") เป็นเจ้าชายของราชวงศ์ที่สิบแปดแห่งอียิปต์โบราณซึ่งเป็นพระราชโอรสของฟาโรห์ทุตโมสที่หนึ่ง พระองค์ได้รับการตั้งพระนามตามรูปปั้นของเซนเนเฟอร์ (ปัจจุบันอยู่ในพิพิธภัณฑ์อียิปต์ในไคโร) ซึ่งมีชีวิตอยู่ในช่วงรัชสมัยฟาโรห์ทุตโมสที่สาม.

ใหม่!!: ไคโรและซิอามุน (พระราชโอรสในทุตโมสที่สาม) · ดูเพิ่มเติม »

ซิอามุน (ลูกชายของอาโมสที่ 1)

ซิอามุน เป็นเจ้าชายแห่งอียิปต์โบราณ ชื่อของเขาหมายถึง "ลูกชายของเทพอามุน" ซิอามุน เป็นเจ้าชายในช่วงต้นราชวงศ์ที่สิบแปดของอียิปต์โบราณ พระองค์เป็นพระราชโอรสของฟาโรห์อาโมสที่หนึ่งกับพระมเหสีอาโมส-เนเฟอร์ทาริ พระศพของพระองค์ถูกค้นพบใน Deir el-Bahari (DB320) และตอนนี้อยู่ในพิพิธภัณฑ์อียิปต์ในกรุงไคโร.

ใหม่!!: ไคโรและซิอามุน (ลูกชายของอาโมสที่ 1) · ดูเพิ่มเติม »

ซิตทัตฮัตฮอร์ยูเนต

ซิตทัตฮัตฮอร์ยูเนต (ชื่อของเธอหมายถึง "ลูกสาวของเทพีฮาเธอร์แห่งเดนเดร่า") เป็นพระราชธิดาของฟาโรห์อียิปต์โบราณแห่งราชวงศ์ที่ 12 ส่วนใหญ่รู้จักจากการฝังพระศพของพระองค์ที่ El-Lahun ซึ่งมีสมบัติล้ำค่าของเครื่องเพชรพลอยที่พบได้ที่สุสานของพระองค์ พระองค์อาจจะเป็นธิดาของฟาโรห์เซนุสเรตที่ 2 สุสานถูกค้นพบในปี 1914 โดย Flinders Petrie และ Guy Brunton โดยในสุสานมีสมบัติล้ำค่าของเครื่องเพชรพลอยจำนวนมาก ปัจจุบันสิ่งของจากสุสานถูกจัตแสดงที่ พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทัน ในนครนิวยอร์กAidan Dodson & Dyan Hilton, The Complete Royal Families of Ancient Egypt, Thames & Hudson (2004) ISBN 0-500-05128-3, p.99 ส่วนมงกุฎของซิตทัตฮัตฮอร์ยูเนต ถูกจัตแสดงที่Egyptian Museum ในกรุงไคโร.

ใหม่!!: ไคโรและซิตทัตฮัตฮอร์ยูเนต · ดูเพิ่มเติม »

ซินาน

ซินาน หรือมีชื่อเต็มว่า โคกา มิมาร์ ซินาน อากา (Koca Mimar Sinan Agha - Ḳoca Mi‘mār Sinān Āġā (Ottoman Turkish: قوجه معمار سنان آغا) อีกชื่อที่เรียกกันคือ มิมาร์ ซินาน (15 เมษายน, ค.ศ. 1489 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1588) เป็น สถาปนิกหลวง (Chief architect) แห่งจักรวรรดิออตโตมัน ในสมัยสุลต่านเซลิมที่ 1, สุลต่านเซลิมที่ 2 และสุลต่านมูราดที่สาม ผลงานชิ้นสำคัญที่สุดของเขาคือ มัสยิดเซลิมที่เมืองเอเดอร์เน แต่งานที่ทำให้เขามีชื่อเสียงที่สุดคือ คือ มัสยิดสุไลมานในเมืองอิสตันบูล ซินานยังนับได้ว่าเป็น วิศวกรแผ่นดินไหวคนแรกของโลกอีกด้วย มัสยิด เซลิมี (Selimiye Mosque) สร้างโดย ซินาน ในปี ค.ศ. 1575 ที่เมืองเออร์ดี ประเทศ ตุรกี ภาพ ซินาน ใน ธนบัตรแบบเก่าของตุรกี มิมาร์เป็นชาวคริสต์โดยกำเนิด มาจากครอบครัวในอานาโตเลียที่เมืองเล็กๆ ชื่อ อากีร์นา(Ağırnas) ใกล้กับเมือง กีเซอรี (Kayseri) สันนิษฐานว่าครอบครัวมีสายเลือดกรีก หรืออาร์มีเนีย ในปี ค.ศ.1511 เขาได้ถูกครอบครัวส่งตัวมาตามธรรมเนียมการส่งลูกชายคนหัวปีเพื่อให้ไป รับใช้ในอาณาจักรผู้ปกครอง ให้มาใช้แรงงานใน อาณาจักรอ๊อตโตมาน ที่เมืองอิสตันบูล โดย ณ ที่นี้ เขาได้เปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม มิมาร์ได้มีโอกาสรับใช้ขุนนางผู้ใหญ่ปาร์กาลิ อิบราฮิม ปาชาผู้เป็นมหาเสนาบดี (Grand Vizier İbrahim Paşa) และได้ถูกสนับสนันให้เล่าเรียนในสังกัดของขุนนางผู้นี้ และได้รับการตั้งชืออิสลามว่า "ซินาน" หลังจากนั้นเขาก็ได้รับการเล่าเรียนเกี่ยวกับการก่อสร้าง สามปีผ่านไปก็มีฝีมือแกร่งกล้าขึ้น จนได้เข้าร่วมกับกองทัพของสุลต่าน เซลิม ที่หนึ่ง ในช่วงแผนขยายดินแดนของอาณาจักร ซินานได้รับราชการทหารทำงานในกองวิศวกรรม (engineering corps) เมื่อครั้งอาณาจักรออตโตมัน เข้ายึดกรุงไคโรได้เป็นผลสำเร็จ ซินานได้รับการเลื่อนขั้นให้เป็นสถาปนิกเอก โดยรับหน้าที่รื้อถอนอาคารที่ไม่ตรงกับผังเมือง เขายังได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ผู้บัญชาการกองพันทหารราบ (commander of an infantry division) แต่เขาก็ขอย้ายตัวเองไปอยู่กองสรรพาวุธแทน ในครั้งที่มีการทำสงครามกับอาณาจักรเปอร์เซีย ในปี 1535 ซินานรับผิดชอบในการสร้างกองเรือ ข้ามทะเลสาบ แวน เนื่องด้วยความชอบดังกล่าว ทำให้เขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นราชองครักษ์ (Haseki'i หรือ Sergeant-at-Arms) ในองค์สุลต่าน ซึ่งเป็น ยศที่สูงมาก งานสถาปัตยกรรมชิ้นแรกของ ซินาน คือ มัสยิด เซเซด (Şehzade Mosque) สร้างในปี ค.ศ.1548 เขาได้ทำการก่อสร้าง มัสยิดสุไลมาน (Süleymaniye Mosque) ในปี ค.ศ.1550 สร้างเสร็จในปี ค.ศ.1557. ก่อนหน้านี้ ไม่มีอาคารมัสยิดแห่งใด้ที่สร้างด้วยหลังคา Dome on Pendentives โดยใช้หลักการเดียวกับ มัสยิด เฮเจีย โซเฟีย (Hagia Sophia)มาก่อน ซินานได้เขียน ประวัติชีวิตของตัวเอง ชื่อ “Tezkiretü’l Bünyan”, โดยได้กล่าวถึงงาน ส่วนตัว เกี่ยวกับ มัสยิดเซลิมี โดยมีส่วนหนึ่งในหนังสือ บันทึกไว้ว่า เมื่อครั้งหนึ่ง ซินานได้มีโอกาสพบปะกับสถาปนิกชาวคริสเตียน สถาปนิกคนนี้ได้กล่าวเยาะเย้ยซินานว่า "ท่านไม่มีทางที่จะสร้างโดมที่ใหญ่กว่าโดมของเฮเจีย โซเฟียได้ โดยเฉพาะในฐานะที่ท่านเป็นมุสลิม" คำพูดประโยคนั้น เป็นสิ่งที่สร้างแรงบันดาลใจให้ซินานสร้างมัสยิด เซลิมี ขึ้นมา และเมื่อโครงการสำเร็จลง ซินานได้บันทึกไว้ว่า มัสยิดเซลิมี มีโดมที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทิ้ง เฮเจีย โซเฟียไปมาก แต่ในความเป็นจริงแล้ว ความสูงจากระดับพื้นของ มัสยิดเซลิมี นั้นไม่ได้สูงเท่า เฮเจีย โซเฟีย และ เส้นผ่าศูนย์กลางของโดมก็ใหญ่กว่าเพียงครึ่งเมตร (เทียบกับโดมที่อายุเก่าแก่กว่าถึงพันปีอย่าง เฮเจีย โซเฟีย) อย่างไรก็ตาม หากนับจากฐานของมัสยิดแล้ว เซลิมี ก็มีความสูงมากกว่า และมีคุณสมบัติของความเสถียรมากกว่า และมีการใช้เทคโนโลยีการก่อสร้างที่มีความเรียบง่ายมากกว่า ในขณะที่ มัสยิดเซลิมี เสร็จลงนั้น ซินานมีอายุ 80 ปี ซินาน เสียชีวิตในปี ค.ศ. 1588 ศพของเขาได้รับการฝังไว้ใน หลุมศพนอกกำแพงของ มัสยิดสุไลมาน (Süleymaniye Mosque) ในส่วนพื้นที่ทางเหนือ ตรงข้ามกับถนนชื่อ มิมาร์ ซินาน คาเดซิ (Mimar Sinan Caddesi) ซึ่งได้รับการตั้งชื่อให้เป็นเกียรติกับเขา นอกจากนี้ชื่อของเขายังได้รับการนำไปตั้งกับแอ่งบนดาวพุธ (crater on Mercury) อีกด้วย หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2032 หมวดหมู่:สถาปนิกชาวตุรกี หมวดหมู่:สถาปนิกในคริสต์ศตวรรษที่ 16 หมวดหมู่:วิศวกรชาวตุรกี หมวดหมู่:ชาวตุรกี.

ใหม่!!: ไคโรและซินาน · ดูเพิ่มเติม »

ประชากรโลก

ประมาณประชากรโลกตั้งแต่ปี 1800 ถึง 2100 ตามhttp://esa.un.org/wpp/unpp/panel_population.htm ผลการคาดคะเนของสหประชาชาติเมื่อปี 2010 ('''แดง''' '''ส้ม''' '''เขียว''') และhttp://www.census.gov/ipc/www/worldhis.html การประมาณในอดีตของสำนักสำมะโนสหรัฐ ('''ดำ''') ตัวเลขประชากรที่บันทึกจริงเป็นสี'''น้ำเงิน''' ตามการประมาณสูงสุด ประชากรโลกอาจสูงถึง 16,000 ล้านคนในปี 2100 ตามการประมาณต่ำสุด ประชากรโลกอาจลดลงเหลือ 6 พันล้านคน ประชากรโลก เป็นจำนวนมนุษย์ทั้งหมดที่ยังมีชีวิตอยู่บนโลก ซึ่งปัจจุบันองค์การสหประชาชาติ (UN) ประมาณการว่าประชากรโลกมีจำนวนราวๆ 7,300 ล้านคน ณ เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ไคโรและประชากรโลก · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติการบินไทย

ำนักงานการบินไทย สาขาท่าอากาศยานดอนเมือง ประวัติบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) กำเนิดจากที่รัฐบาลไทยให้ บริษัท เดินอากาศไทย จำกัด กับสายการบินสแกนดิเนเวียน ทำสัญญาร่วมทุนระหว่างกัน เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2502 จากนั้นในวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2503 บริษัท การบินไทย จำกัด จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นด้วยทุนประเดิม 2 ล้านบาท เพื่อดำเนินธุรกิจสายการบินระหว่างประเทศ โดยมีเที่ยวบินปฐมฤกษ์ไปยังฮ่องกง เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ปีเดียวกัน ต่อมาในวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2520 เอสเอเอสคืนหุ้นให้เดินอากาศไทย หลังจากครบระยะเวลาตามสัญญาร่วมทุน แล้วโอนให้แก่กระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ตามมติคณะรัฐมนตรี และในที่สุดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2531 เดินอากาศไทย ซึ่งดำเนินธุรกิจสายการบินภายในประเทศ ก็รวมกิจการเข้ากับการบินไทย เพื่อให้สายการบินแห่งชาติเป็นหนึ่งเดียว ตามมติคณะรัฐมนตรีเศรษฐกิจ จากนั้นในวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 การบินไทยเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตามมติคณะรัฐมนตรี และจดทะเบียนแปลงสภาพเป็นบริษัทมหาชน เมื่อปี พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: ไคโรและประวัติการบินไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิสราเอล

ประเทศอิสราเอล (Israel; יִשְׂרָאֵל; إِسْرَائِيل) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐอิสราเอล (State of Israel; מְדִינַת יִשְׂרָאֵל; دَوْلَة إِسْرَائِيل) เป็นประเทศในตะวันออกกลางบนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและชายฝั่งเหนือของทะเลแดง มีเขตแดนทางบกติดต่อกับประเทศเลบานอนทางทิศเหนือ ประเทศซีเรียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศจอร์แดนทางทิศตะวันออก ดินแดนเวสต์แบงก์และฉนวนกาซาของปาเลสไตน์ทางทิศตะวันออกและตะวันตกตามลำดับ และประเทศอียิปต์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประเทศอิสราเอลมีภูมิลักษณ์หลากหลายแม้มีพื้นที่ค่อนข้างเล็ก เทลอาวีฟเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีของประเทศ ส่วนที่ตั้งรัฐบาลและเมืองหลวงตามประกาศคือ เยรูซาเลม แม้อำนาจอธิปไตยของรัฐเหนือเยรูซาเลมยังไม่มีการรับรองในระดับนานาประเทศThe Jerusalem Law states that "Jerusalem, complete and united, is the capital of Israel" and the city serves as the seat of the government, home to the President's residence, government offices, supreme court, and parliament.

ใหม่!!: ไคโรและประเทศอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์

รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.

ใหม่!!: ไคโรและประเทศอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ปริศนาสมบัติอัจฉริยะ

ปริศนาสมบัติอัจฉริยะ (The 39 Clues) เป็นวรรณกรรมแนวผจญภัยที่ผสมผสานกับเกมออนไลน์และการสะสมการ์ด ในสหรัฐอเมริกาจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สกอลาสทิก ส่วนฉบับภาษาไทยจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์เนมแอนด์โนเบิล ในเครือบันลือกรุ๊ป ซึ่งเป็นเครือเดียวกับสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น เป็นวรรณกรรมชุดที่มีผู้เขียนมากกว่า 1 คน โดยมีริก ไรออร์แดน (ผู้เขียน เพอร์ซีย์ แจ็กสัน) เป็นผู้เขียนเล่มแรก หนังสือฉบับภาษาไทยตีพิมพ์มาแล้วทั้งหมด 10 เล่ม ประกอบด้วย ผจญค่ายกลกระดูก, หนึ่งโน้ตมรณะ, จอมโจรจอมดาบ, ความลับสุสานฟาโรห์, วงล้อมทมิฬ, ปฏิบัติการทะเลใต้, บุกรังอสรพิษ, รหัสลับจักรพรรดิโลกไม่ลืม, ฝ่าพายุแคริบเบียน และมหันตภัยปลายทาง.

ใหม่!!: ไคโรและปริศนาสมบัติอัจฉริยะ · ดูเพิ่มเติม »

ปอเนาะ

ปอเนาะแห่งหนึ่งในจังหวัดนราธิวาส ที่พักนักศึกษาภายในปอเนาะแห่งหนึ่งในจังหวัดนราธิวาส ปอเนาะ (ภาษามลายูปัตตานี เพี้ยนจาก pondok "ปนโดะก์" ในภาษามลายูกลาง ยืมมาจากภาษาอาหรับ فندق "ฟุนดุก" แปลว่า โรงแรม) หมายถึงสำนักสอนศาสนาอิสลามที่มีหอพักนักเรียนอยู่ในบริเวณสำนัก ซึ่งโดยปกติจะเป็นกระท่อมเล็ก ๆ ทุก ๆ ตำบลในสามจังหวัดภาคใต้มีปอเนาะมากกว่าหนึ่งปอเน.

ใหม่!!: ไคโรและปอเนาะ · ดูเพิ่มเติม »

นะญีบ มะห์ฟูซ

นะญีบ มะห์ฟูซ หรือ นะกีบ มะห์ฟูซ (نجيب محفوظ; 11 ธันวาคม ค.ศ. 1911 - 30 สิงหาคม ค.ศ. 2006) เป็นนักเขียนชาวอียิปต์ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี..

ใหม่!!: ไคโรและนะญีบ มะห์ฟูซ · ดูเพิ่มเติม »

นารีมาน ศอดิก

นารีมาน ศอดิก (อาหรับ:ناريمان صادق Nārīmān Sādiq, ประสูติ 31 ตุลาคม ค.ศ. 1933 —สวรรคต 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2005) เป็นธิดาของนายฮุสเซน ฟาห์มี ศอดิก เบย์ และนางอาซีลา คามิล โดยนารีมานเป็นพระมเหสีองค์ที่สองของพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต.

ใหม่!!: ไคโรและนารีมาน ศอดิก · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2008

นางงามจักรวาล 2008 (Miss Universe 2008) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 57 จัดในวันที่ 14 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ไคโรและนางงามจักรวาล 2008 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2009

นที่จัดการประกวด เกาะแอตแลนติส พาราไดซ์, บาฮามาส. นางงามจักรวาล 2009 (Miss Universe 2009) เป็นการจัดการประกวดครั้งที่ 58 จัดในวันที่ 24 สิงหาคม..

ใหม่!!: ไคโรและนางงามจักรวาล 2009 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2010

นที่ในการจัดการประกวดรอบตัดสิน มันดาเลย์ เบย์ รีสอร์ต. นางงามจักรวาล 2010 (Miss Universe 2010) เป็นการจัดการประกวดครั้งที่ 59 จัดในวันที่ 24 สิงหาคม..

ใหม่!!: ไคโรและนางงามจักรวาล 2010 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2014

นางงามจักรวาล 2014 (Miss Universe 2014) เป็นการจัดประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 63 กำหนดจัดวันที่ 25 มกราคม..

ใหม่!!: ไคโรและนางงามจักรวาล 2014 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามนานาชาติ 2014

นางงามนานาชาติ 2014 ป็นผลการประกวดมิสนานาชาติครั้งที่ 54 จัดโดยสมาคมวัฒนธรรมระหว่างประเทศซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ไคโรและนางงามนานาชาติ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

นาซลี ศ็อบรี

มเด็จพระราชินีนาซลี (الملكة نازلي; พระราชสมภพ: 25 มิถุนายน พ.ศ. 2437 – สวรรคต: 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2521) มีพระนามแต่แรกประสูติว่า นาซลี ศ็อบรี (نزلي صبري / نازلى صبرى‎ Nāzlī Ṣabrī; Nazlı Sabri) และหลังเข้ารีตคริสตังพระองค์มีพระนามทางศาสนาว่า แมรี อีลิซาเบท (Mary Elizabeth) เป็นพระราชินีและพระชายาพระองค์ที่สองในพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต.

ใหม่!!: ไคโรและนาซลี ศ็อบรี · ดูเพิ่มเติม »

แบกแดด

แผนที่แสดงที่ตั้งแบกแดดในอิรัก แบกแดด ประเทศอิรัก แบกแดด (Baghdad, Bagdad; بغداد‎ บัฆดาด; بەغدا) เป็นเมืองหลวงของประเทศอิรัก มีประชากรในเขตนครประมาณ 7,000,000 คน เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในอิรักการประมาณการจำนวนประชากรทั้งหมดแต่ละชิ้นนั้นแตกต่างอย่างสำคัญ Encyclopædia Britannica ระบุจำนวนในปี..

ใหม่!!: ไคโรและแบกแดด · ดูเพิ่มเติม »

แช่ม พรหมยงค์

นายแช่ม พรหมยงค์ มีชื่อและนามสกุลเดิมว่า ซำซุดดิน มุสตาฟา เกิดเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2444 ที่ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ บิดาชื่อ นายจำปา หรือ มุสตาฟา เป็นโต๊ะอิหม่าม แห่งมัสยิดพระประแดงและเป็นอาจารย์สอนศาสนาอิสลาม นายแช่มเองนั้นจบการศึกษาด้านศาสนาอิสลามจากมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร ณ กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ ในทางการเมือง นายบรรจง ศรีจรูญ เพื่อนสนิทซึ่งศึกษาอยู่ในเวลาเดียวกันได้ชักชวน นายแช่ม ให้เข้าเป็นสมาชิกคณะราษฎร ในวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง นายแช่มและนายบรรจง ทำหน้าที่ควบคุมตัวเจ้านายและพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูง ให้เข้าประทับในพระที่นั่งอนันตสมาคม และทำหน้าที่แจกใบปลิวเพื่อทำความเข้าใจในระบอบประชาธิปไตยแก่ราษฎร นายแช่ม พรหมยงค์ มีความสนิทสนมและนับถือ นายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าคณะราษฎรฝ่ายมันสมองเป็นอย่างมาก ถึงกับเปลี่ยนนามสกุลเป็น พรหมยงค์ เพื่อให้คล้ายคลึงกับ พนมยงค์ นามสกุลของนายปรีดี อีกด้วย ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้เข้าเป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทย นายแช่ม พรหมยงค์ ขณะนำเสด็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ชมมัสยิดต้นสน (พ.ศ. 2489) เมื่อนายปรีดี พนมยงค์ได้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และมีดำริที่จะฟื้นฟูตำแหน่งจุฬาราชมนตรีขึ้นมาใหม่ หลังจากที่ชะงักไปหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง นายแช่มซึ่งเป็นข้าราชการกรมโฆษณาการและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาชายแดนภาคใต้ในขณะนั้น จึงได้รับการแต่งตั้งเป็นจุฬาราชมนตรีเมื่อ..

ใหม่!!: ไคโรและแช่ม พรหมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

แพนอาหรับเกมส์

กีฬาแพนอาหรับเกมส์ (Pan Arab Games เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ระหว่างประเทศในโลกอาหรับ ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มกำหนดการแข่งขันตั้งแต่ การแข่งขันครั้งแรกถึงครั้งที่ 8 และตั้งแต่แพนอาหรับเกมส์ครั้งที่ 9 เป็นต้นมา บริหารจัดการแข่งขันโดย คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งสหภาพอาหรับ (Union of Arab National Olympic Committees; UANOC).

ใหม่!!: ไคโรและแพนอาหรับเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

แพนอาหรับเกมส์ 1961

แพนอาหรับเกมส์ 1961 การแข่งขันกีฬาแพนอาหรับเกมส์ครั้งที่ 3 จัดขึ้นที่คาซาบลังกา ประเทศโมร็อกโก ระหว่างวันที่ 24 สิงหาคม - 9 กันยายน..

ใหม่!!: ไคโรและแพนอาหรับเกมส์ 1961 · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกันเกมส์

แอฟริกันเกมส์ (African Games) อาจเรียก ออลแอฟริกาเกมส์ (All-African Games) หรือ แพนแอฟริกันเกมส์ (Pan African Games) เป็นมหกรรมกีฬาหลากหลายชนิดของทวีปแอฟริกา ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มกำหนดการแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งแอฟริกา (Association of National Olympic Committees of Africa; ANOCA) ภายใต้การรับรองโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee; IOC) มีประเทศผู้เข้าร่วมการแข่งขันอย่างน้อยที่สุด 40 ประเทศ การแข่งขันแอฟริกันเกมส์ครั้งแรกจัดขึ้นที่กรุงบราซซาวิล สาธารณรัฐคองโก เมื่อปี..

ใหม่!!: ไคโรและแอฟริกันเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2019 รอบคัดเลือก กลุ่ม อี

กลุ่ม อี ของ แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2019 รอบคัดเลือก จะเป็นหนึ่งของ 12 กลุ่มที่จะตัดสินหาทีมที่เข้าไปสู่ทัวร์นาเมนต์ แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2019 รอบสุดท้.

ใหม่!!: ไคโรและแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2019 รอบคัดเลือก กลุ่ม อี · ดูเพิ่มเติม »

แอร์อาระเบีย

แอร์ อาระเบีย (العربية للطيران) คือ สารการบินต้นทุนต่ำ มีสำนักงานใหญ่อยู่ในศูนย์ขนส่งสินค้าชาร์จาห์ ท่าอากาศยานนานาชาติชาร์จาห์, ชาร์จาห์, สหรัฐอาหรับเอมิเรส สายการบินดำเนินการให้บริการสู่จุดหมายปลายทาง 51 สถานที่ใน ตะวันออกกลาง, อเมริกาเหนือ, the ชมพูทวีป, เอเชียกลาง และ ยุโรปใน 22 ประเทศจากชาร์จาห์ 28 จุดหมายปลายทางใน 9 ประเทศจากคาซาบลังกา, เฟซ, นาดอร์ และ แทนเจียร์ และ 6 จุดหมายปลายทางใน 4 ประเทศจากอะเล็กซานเดรีย ท่าอากาศยานหลักคือ ท่าอากาศยานนานาชาติชาร์จาห์ สิ่งที่แตกต่างของแอร์อาระเบียที่เป็นสารการบินต้นทุนต่ำที่ให้บริการเชื่อมต่อกับหลายเที่ยวบินในท่าอากาศยานหลัก โดยมุ่งเน้นไปในกลุ่มเมืองอะเล็กซานเดรียและคาซาบลังก.

ใหม่!!: ไคโรและแอร์อาระเบีย · ดูเพิ่มเติม »

แอร์อินเดีย

แอร์อินเดีย (एअर इंडिया) เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศอินเดีย สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองมุมไบ เป็นสายการบินที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 16 ของทวีปเอเชีย ให้บริการใน 24 จุดหมายปลายทางทั่วโลก และมีข้อตกลงการบินร่วมอีกกว่า 13 สายการบิน.

ใหม่!!: ไคโรและแอร์อินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อยบรันกัชชี

ปลบรันคาชชิ (Brancacci Chapel, Capella dei Brancacci) เป็นชาเปลที่ตั้งอยู่ภายในวัดซานตามาเรียเดลคาร์มิเนที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สิ่งที่สำคัญที่สุดภายในชาเปลคืองานจิตรกรรมฝาผนังชิ้นเอกโดยมาซาชิโอ ที่เป็นภาพชุดชีวิตของนักบุญฟรานซิสแห่งอาซิซิ ที่เขียนให้แก่พ่อค้าไหมเฟลิเช บรันคาชชิหลานของเปียโตร บรันคาชชิผู้สร้างชาเปล ความงามของงานเขียนจิตรกรรมฝาผนังภายในชาเปลนี้ทำให้ได้ชื่อว่าเป็น “ชาเปลซิสตินแห่งยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนต้น” ใน และเป็นงานเขียนที่มีอิทธิพลมากที่สุดชิ้นหนึ่งของสมัยที่ว่านี้ เปียโตร บรันคาชชิสร้างชาเปลนี้ในปี..

ใหม่!!: ไคโรและโบสถ์น้อยบรันกัชชี · ดูเพิ่มเติม »

โบโกตา

กตา (Bogotá) ชื่อทางการคือ โบโกตาดิสตรีโตกาปีตัล (Bogotá Distrito Capital) (หมายถึง "เขตเมืองหลวงโบโกตา") และยังมีชื่อเรียกว่า ซานตาเฟเดโบโกตา (Santa Fe de Bogotá) เป็นเมืองหลวงของประเทศโคลอมเบีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดของประเทศ คือ 7,321,831 คน (จากการสำรวจปี พ.ศ. 2548) ส่วนเขตนครหลวง (metropolitan area) ซึ่งรวมเขตเทศบาลโซอาชา (Soacha) ไว้ด้วยนั้นมีประชากรประมาณ 7,881,156 คน.

ใหม่!!: ไคโรและโบโกตา · ดูเพิ่มเติม »

โรม

ลอสเซียม สัญลักษณ์ที่สำคัญของโรม โรม (Rome; Roma) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของแคว้นลัตซีโยและประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ในเขตตัวเมืองมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคน ถ้ารวมเมืองโดยรอบจะมีประมาณ 4.3 ล้านคน โดยมีจำนวนประชากรใกล้เคียงกับมิลานและเนเปิลส์ นอกจากนี้ โรมยังเป็นที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นดินแดนที่ประทับของพระสันตะปาปาแห่งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอีกด้วย หลังสิ้นสุดยุคกลาง โรมได้อยู่ภายใต้การปกครองของพระสันตะปาปา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ผู้ซึ่งสร้างสรรค์ให้โรมกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีเช่นเดียวกับฟลอเรนซ์ ซึ่งในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แบบที่เห็นในปัจจุบัน และมีเกลันเจโลได้วาดภาพปูนเปียกประดับภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ศิลปินและสถาปนิกที่มีชื่อเสียงอย่างบรามันเต แบร์นินี และราฟาเอล ซึ่งพำนักอยู่ในโรมเป็นครั้งคราว ได้มีส่วนช่วยสรางสรรค์สถาปัตยกรรมแบบสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแบบบารอกในโรมด้วยเช่นกัน ใน พ.ศ. 2550 โรมเป็นเมืองที่มีผู้มาเยือนมากเป็นอันดับที่ 11 ของโลก มากเป็นอันดับสามในสหภาพยุโรป และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในอิตาลี ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ใจกลางเมืองได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ อนุสรณ์สถานและพิพิธภัณฑ์อย่างพิพิธภัณฑ์วาติกันและโคลอสเซียมยังจัดอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวเยี่ยมชมมากที่สุด 50 อันดับแรกของโลก (พิพิธภัณฑ์วาติกันมีนักท่องเที่ยว 4.2 ล้านคนต่อปี และโคลอสเซียมมี 4 ล้านคนต่อปี).

ใหม่!!: ไคโรและโรม · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาล 57357

รงพยาบาล 57357 (مستشفى 57357; 57357 Hospital) ตั้งอยู่ ณ กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ ซึ่งเป็นหนึ่งในโรงพยาบาลที่เชี่ยวชาญด้านโรคมะเร็งเด็ก ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก การระดมทุนสำหรับโรงพยาบาล ประกอบด้วยเทศกาลระดมทุนที่มีผู้เข้าร่วมเป็นจำนวนมาก โดยเริ่มขึ้นในปี..

ใหม่!!: ไคโรและโรงพยาบาล 57357 · ดูเพิ่มเติม »

โลกอาหรับ

แผนที่โลกอาหรับ โดยอิงนิยามดินแดนมาตรฐานของโลกอาหรับซึ่งประกอบด้วยรัฐและดินแดนอันเป็นสมาชิกสันนิบาตอาหรับ โลกอาหรับ หมายถึง รัฐ ดินแดนและประชากรที่พูดภาษาอาหรับในแอฟริกาเหนือ เอเชียตะวันตกและที่อื่นใดFrishkopf: 61: "No universally accepted definition of 'the Arab world' exists, but it is generally assumed to include the twenty-two countries belonging to the Arab League that have a combined population of about 280 million (Seib 2005, 604).

ใหม่!!: ไคโรและโลกอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

โจโจ้ ล่าข้ามศตวรรษ ภาค 3

้ ล่าข้ามศตวรรษ ภาค 3: นักรบประกายดาว (JoJo's Bizare Adventure Part 3: Stardust Crusaders) เป็นตอนหนึ่งของการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง โจโจ้ ล่าข้ามศตวรรษ ของฮิโรฮิโกะ อารากิ และว่ากันว่าเป็นภาคที่ได้รับความนิยมมากที.

ใหม่!!: ไคโรและโจโจ้ ล่าข้ามศตวรรษ ภาค 3 · ดูเพิ่มเติม »

โดโรธี ฮอดจ์กิน

รธี แมรี ฮอดจ์กิน (Dorothy Mary Hodgkin; 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1910 – 29 กรกฎาคม ค.ศ. 1994) หรือ โดโรธี โครว์ฟุต ฮอดจ์กิน (Dorothy Crowfoot Hodgkin) หรือ โดโรธี ฮอดจ์กิน (Dorothy Hodgkin) เป็นนักชีวเคมีชาวบริติช เป็นผู้พัฒนาเทคนิกผลิกศาสตร์รังสีเอกซ์เพื่ออธิบายโครงสร้างสารชีวโมเลกุล เธอได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีประจำปี..

ใหม่!!: ไคโรและโดโรธี ฮอดจ์กิน · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียว

ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563.

ใหม่!!: ไคโรและโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

ไทยในอียิปต์

วไทยในประเทศอียิปต์ เป็นบุคคลที่มีเชื้อสายหรือสัญชาติไทยที่พำนักอยู่ประเทศอียิปต์ แบ่งเป็นบุคคลที่เข้ามาศึกษา, ผู้ใช้แรงงาน และผู้พำนักถาวรจากการสมรส ชาวไทยที่เข้ามาศึกษาส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม และเข้าศึกษาในสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงของประเทศอียิปต์ อย่างมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร (Al Azhar University) ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง และมีความเก่าแก่กว่ามหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดของสหราชอาณาจักรด้วย นอกจากนี้ยังมีมหาวิทยาลัยอเมริกัน (The American University in Cairo) และมหาวิทยาลัยไคโรที่มีชื่อเสียงในการศึกษาด้านตะวันออกกลางและอาหรับศึกษา แต่การสมัครเข้าไม่สะดวกนักเพราะสภาการศึกษาของอียิปต์ยังไม่รับรองวุฒิการศึกษาของสถาบันการศึกษาในไทย นอกจากนักศึกษาก็ยังมีชาวไทยที่เข้ามาประกอบอาชีพเช่น ร้านอาหารไทย โดยเฉพาะสปาและหมอนวดซึ่งมีชาวไทยทำมากกว่า 300-500 คน รองลงมาคือ ช่างทอง และช่างเพชร หรือบางส่วนได้สมรสกับชาวอียิปต์ ซึ่งมีหญิงไทยจำนวนมากสมรสกับชาวอียิปต์ในต่างเมืองโดยมิได้ติดต่อกับสังคมไทยในอียิปต์ตามหัวเมืองใหญ่เล.

ใหม่!!: ไคโรและไทยในอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ไนโรบี

ทิวทัศน์กรุงไนโรบี ไนโรบี (Nairobi) เป็นเมืองหลวงของประเทศเคนยา และยังเป็นเมืองศูนย์กลางธุรกิจ การพาณิชย์ และอุตสาหกรรมในภูมิภาคแอฟริกาตะวันออก มีจำนวนประชากรราว 3-4 ล้านคน(ไม่สำรวจ) ตั้งแต่ปี 1899 เป็นต้นมาไนโรบีได้เติบโตขึ้นเรื่อย ๆ เริ่มจากสร้างทางรถไฟเชื่อมระหว่างอูกานดากับเคนยาทำให้ไนโรบีกลายเป็นเมืองศูนย์กลางการคมนาคมในภูมิภาคแอฟริกาตะวันออก ปัจจุบันกรุงไนโรบีนับเป็นเมืองหนึ่งในทวีปแอฟริกาที่เต็มไปด้วยตึกระฟ้า และเป็นเมืองใหญ่ของทวีปแอฟริกา นอกจากกรุงไคโร เลกอส โจฮันเนสเบิร์ก หมวดหมู่:ประเทศเคนยา หมวดหมู่:เมืองหลวง.

ใหม่!!: ไคโรและไนโรบี · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหลวง

มืองหลวง หรือ ราชธานี คือ เมืองหลักที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาล ส่วนใหญ่เป็นที่ตั้งของทำเนียบรัฐบาล คำในภาษาอังกฤษ capital มาจากภาษาละติน caput หมายถึง "หัว" และอาจเกี่ยวข้อง เนินเขาแคปิทอไลน์ เนินเขาที่สูงที่สุดในโรมโบราณ ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์และศาสนา ในภาษาไทย มีหลายคำที่ใช้ในความหมายนี้ เช่น กรุง หรือ พระนคร สำหรับคำว่าเมืองหลวงนั้นยังก็มีความหมายเป็นสองนัย กล่าวคือ หมายถึงเมืองใหญ่ (หลวง หมายถึง ใหญ่) หรือเมืองของหลวง (คือเมืองของพระเจ้าแผ่นดิน, เพราะเป็นที่ประทับของกษัตริย์) เมืองหลวงในบางประเทศ มีขนาดเล็กกว่าเมืองอื่น เช่นใน สหรัฐอเมริกา อินเดีย บราซิล สำหรับคำว่าเมืองหลวงนี้ อาจเป็นเมืองหลวงของรัฐ (ในประเทศที่ปกครองแบบสาธารณรัฐ เป็นต้น) หรือเมืองหลวงของเขตการปกครองระดับใดๆ ก็ได้ เช่น อำเภอเมือง เปรียบเหมือนเป็นเมืองหลวงของจังหวั.

ใหม่!!: ไคโรและเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับ

มืองหลวงทางวัฒนธรรมอาหรับ อยู่ภายใต้การจัดการขององค์การยูเนสโก ในโครงการเมืองหลวงทางวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมอาหรับและสร้างความร่วมมือในภูมิภาคอาหรั.

ใหม่!!: ไคโรและเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

เม็กซิโกซิตี

ตราประจำกรุงเม็กซิโกซิตีตั้งแต่ ค.ศ. 1523 เม็กซิโกซิตี (Mexico City) หรือ ซิวดัดเดเมคีโก (Ciudad de México) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเม็กซิโก ตั้งอยู่ในหุบเขาเม็กซิโกบริเวณกึ่งกลางประเทศ เม็กซิโกซิตีมีพื้นที่ประมาณ 1,499 ตารางกิโลเมตร หรือถ้ารวมบริเวณมหานครด้วยจะมีพื้นที่รวมประมาณ 4,979 ตารางกิโลเมตร ประชากรในเม็กซิโกซิตี (ปี 2548) มี 8,605,239 คน ถ้ารวมเขตมหานครทั้งหมดมีประชากร 17,844,829 คน เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ไคโรและเม็กซิโกซิตี · ดูเพิ่มเติม »

เราะมะฎอน ศุบฮี

ราะมะฎอน ศุบฮี (translit; เกิด 23 มกราคม ค.ศ. 1997) เป็นนักฟุตบอลชาวอียิปต์ ปัจจุบันลงเล่นตำแหน่งปีกให้ฮัดเดอส์ฟีลด์ทาวน์และทีมชาติอียิปต์ ศุบฮีเริ่มต้นอาชีพฟุตบอลกับอัลอะฮ์ลี โดยลงเล่นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ไคโรและเราะมะฎอน ศุบฮี · ดูเพิ่มเติม »

เลกอส

ตลาดในนครเลกอส ปัจจุบันเลกอสเป็นเมืองที่ประชากรหนาแน่นมากแห่งหนึ่งของโลก เลกอส หรือ ลากอส (Lagos) จัดว่าเป็นเมืองใหญ่อันดับสองของทวีปแอฟริกา รองจากกรุงไคโรของอียิปต์ เลกอสเป็นเมืองที่มีจำนวนประชากรหนาแน่นมาก มีจำนวนประชากรถึง 15.5 ล้านคน เป็นเมืองศูนย์กลางธุรกิจ การบิน การพาณิชย์ อุตสาหกรรมน้ำมันในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก และเป็นอดีตเมืองหลวงของประเทศไนจีเรีย เนื่องจากเลกอสเป็นเมืองที่ใหญ่มาก มีประชากรอาศัยหนาแน่นเกินไป ดังนั้นรัฐบาลไนจีเรียจึงได้ย้ายเมืองหลวงจากเลกอสไปอยู่ที่กรุงอาบูจาแทน ปัจจุบันเลกอสจึงจัดเป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งของโลก เพราะไนจีเรียจัดเป็นประเทศที่ส่งออกน้ำมันรายใหญ่ที่สุดในทวีปแอฟริก.

ใหม่!!: ไคโรและเลกอส · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่งแคสเปียน

ือโคร่งแคสเปียน หรือ เสือโคร่งเปอร์เซีย (Caspian tiger, Persian tiger.; ببر قزويني) เสือโคร่งสายพันธุย่อยสายพันธุ์หนึ่งที่สูญพันธุ์ไปแล้ว มีการกระจายพันธุ์อยู่ในภูมิภาคเอเชียกลางจนถึงตะวันออกกลาง เช่น อัฟกานิสถาน, เทือกเขาคอเคซัส, ภาคตะวันตกของจีน, ที่ราบสูงแมนจูเรีย, อิหร่าน, อิรัก, ตุรกี, มองโกเลีย, คาซัคสถาน, ทาจิกิสถาน, คีร์กีซสถาน, เติร์กเมนิสถาน และอุซเบกิสถาน รวมถึงอาจจะแพร่กระจายพันธุ์ไปถึงซูดานในแอฟริกาเหนือด้วยก็เป็นได้ เนื่องจากมีผู้พบขนเสือโคร่งวางขายในตลาดของไคโร อียิปต์ ในปี ค.ศ. 1951 ซึ่งขนเสือผืนนี้มาจากซูดาน เสือโคร่งแคสเปียน มีลักษณะคล้ายคลึงกับเสือโคร่งไซบีเรีย (P. t. altaica) มาก นับเป็นเสือโคร่งที่มีขนาดใหญ่อีกสายพันธุ์หนึ่ง โดยตัวผู้ในเตอร์กิสถานมีความยาวลำตัว 270 เซนติเมตร นับเป็นสถิติที่ใหญ่สุดเท่าที่มีการบันทึกมา ในขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็กลงมา น้ำหนักตัวเต็มที่ประมาณ 240 กิโลกรัม ล่ากวางและหมูป่า รวมถึงไก่ฟ้า กินเป็นอาหาร ถิ่นที่อยู่อาศัยของเสือโคร่ง 2 สายพันธุ์นี้ต่อติดกัน โดยเสือโคร่งแคสเปียนจะกระจายพันธุ์อยู่แถบตะวันตกของภูมิภาคเอเชียกลาง และเสือโคร่งไซบีเรียจะกระจายพันธุ์อยู่ทางตะวันออกของภูมิภาคเอเชียกลางจนถึงเอเชียเหนือ ภาพวาดแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของลายที่หางของเสือโคร่งแคสเปียน (ซ้าย) กับเสือโคร่งไซบีเรีย (ขวา) เสือโคร่งแคสเปียน สูญพันธุ์ไปตั้งแต่ต้นทศวรรษที่ 70 โดยที่เทือกเขาคอเคซัสตัวสุดท้ายถูกฆ่าตายไปในปี ค.ศ. 1922 ใกล้กับทบิลิซี จอร์เจีย หลังจากไปฆ่าสัตว์เลี้ยงในฟาร์มของชาวบ้าน เสือโคร่งแคสเปียนตัวสุดท้ายในตุรกีถูกฆ่าในปี ค.ศ. 1970 ใกล้กับอูลูเดเร ฮักการี ในอิรักเคยพบเสือโคร่งแคสเปียนเพียงตัวเดียว ถูกฆ่าใกล้กับโมซูล ในปี ค.ศ. 1887 ในอิหร่าน เสือโคร่งแคสเปียนตัวสุดท้ายถูกฆ่าในปี ค.ศ. 1959 ในโกลีสตาน เสือโคร่งแคสเปียนตัวหนึ่งในลุ่มแม่น้ำทาริม ของจีนถูกฆ่าตายในปี ค.ศ. 1899 ใกล้กับทะเลสาบลอปนอร์ในมณฑลซินเจียง และหลังจากทศวรรษที่ 20 ก็ไม่มีใครเห็นเสือโคร่งสายพันธุ์นี้ในลุ่มแม่น้ำนี้อีกเลย เสือโคร่งแคสเปียนหายไปจากลุ่มแม่น้ำมานัสในเทือกเขาเทียนซานทางตะวันตกของอุรุมชี ในทศวรรษที่ 60 ที่แม่น้ำไอรี ซึ่งเป็นแหล่งอาศัยสำคัญแหล่งสุดท้ายในบริเวณทะเลสาบบัลฮัช มีผู้พบครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1948 และตอนปลายแม่น้ำอามูดาร์ยาบริเวณชายแดนระหว่างเติร์กเมนิสถาน, อุซเบกิสถาน และอัฟกานิสถาน เชื่อว่าสูญพันธุ์ไปตั้งแต่ต้นทศวรรษที่ 70 แล้ว แม้จะมีรายงานอย่างไม่เป็นทางการว่าพบเสือโคร่งแคสเปียนบริเวณทะเลอารัลใกล้กับนูคัส ในปี ค.ศ. 1968 หรือในเขตสงวนทางธรรมชาติทิโกรวายาบัลกา ซึ่งเป็นป่ากกริมแม่น้ำอามูดาร์ยา บริเวณชายแดนทาจิกิสถานและอัฟกานิสถาน มีผู้พบเห็นครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1953 แต่มีผู้อ้างว่าพบเห็นรอยเท้าคล้ายรอยเท้าเสือโคร่งขนาดใหญ่ในปี..

ใหม่!!: ไคโรและเสือโคร่งแคสเปียน · ดูเพิ่มเติม »

เหตุโจมตีคณะผู้แทนทางทูต พ.ศ. 2555

วันที่ 11 กันยายน..

ใหม่!!: ไคโรและเหตุโจมตีคณะผู้แทนทางทูต พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุโจมตีในอัลมินยา พ.ศ. 2560

มื่อวันที่ 26 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ไคโรและเหตุโจมตีในอัลมินยา พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

เอธิโอเปียแอร์ไลน์

อิง 777-200LRของเอธิโอเปียแอร์ไลน์ เอธิโอเปียแอร์ไลน์ เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศเอธิโอเปีย มีฐานอยู่ที่กรุงอาดดิสอาบาบา เอธิโอเปีย ให้บริการขนส่งผู้โดยสายและสินค้าระดับนานาชาติไปสู่จุดหมายปลายทาง 65 แห่งทั่วโลก รวมทั้งจุดหมายปลายทางในประเทศอีก 17 แห่ง และให้บริการเครื่องบินเช่าขนส่งผู้โดยสารและสินค้า มีศูนย์กลางหลักอยู่ท่าอากาศยานนานาชาติโบเล กรุงอาดดิสอ.

ใหม่!!: ไคโรและเอธิโอเปียแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงชีเวการ์ อีบราฮิม

้าหญิงชีเวการ์ อีบราฮิม (Şivekiar İbrahim; 25 ตุลาคม ค.ศ. 1876 – 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1947) พระธิดาในเจ้าชายอีบราฮิม ฟาห์มี อะห์มัด ปาชา กับวิจดัน นัฟจูวัน คานุม เป็นอดีตพระชายาในพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต.

ใหม่!!: ไคโรและเจ้าหญิงชีเวการ์ อีบราฮิม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงฟัยซะฮ์แห่งอียิปต์

้าหญิงฟัยซะฮ์แห่งอียิปต์ (شاهدخت فايزة; الأميرة فايزة; ประสูติ: 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 — สิ้นพระชนม์: 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2537) เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าฟุอาดที่ 1 กับสมเด็จพระราชินีนาซลีแห่งอียิปต.

ใหม่!!: ไคโรและเจ้าหญิงฟัยซะฮ์แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงฟัตมา เนสลีชาห์

้าหญิงฟัตมา เนสลีชาห์แห่งออตโตมัน (ตุรกี:Fatma Neslişah Osmanoğlu Sultan; ประสูติ: 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1921 — สิ้นพระชนม์ 2 เมษายน ค.ศ. 2012) พระปนัดดาของกาหลิบคนสุดท้ายแห่งจักรวรรดิออตโตมัน โดยพระบิดาคือเจ้าชายเซซาด โอมาร์ ฟารุก เอฟเฟนดี เป็นโอรสในกาหลิบอับดุลเมซิดที่ 2 กับพระมเหสีพระองค์แรก และพระมารดาคือเจ้าหญิงรูกิเย ซาบิฮะ สุลต่าน เป็นพระธิดาในสุลต่าน และกาหลิบคนสุดท้ายแห่งออตโตมัน สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 6 กับพระมเหสีพระองค์แรก.

ใหม่!!: ไคโรและเจ้าหญิงฟัตมา เนสลีชาห์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี

้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี (ประสูติ 12 มีนาคม พ.ศ. 2506-) พระราชธิดาพระองค์กลางในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี กับจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี ชาห์และจักรพรรดินีองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวี และประเทศอิหร่าน.

ใหม่!!: ไคโรและเจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์

้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فادية Fādiya, ประสูติ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1943-26 ธันวาคม ค.ศ. 2002) พระราชธิดาองค์เล็กในพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์ พระมเหสีพระองค์แรก.

ใหม่!!: ไคโรและเจ้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต

้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต (Princess Margaret of Connaught; มาร์กาเร็ต วิกตอเรีย ชาร์ล็อต ออกัสตา นอร่าห์ ภายหลังคือ มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน; 15 มกราคม พ.ศ. 2425 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2463) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในเจ้าชายอาร์เธอร์ ดยุกแห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์น พระราชโอรสพระองค์ที่สามในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรและ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี กับ เจ้าหญิงหลุยส์ มาร์กาเรเทแห่งปรัสเซีย พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเจ้าหญิงแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และมีพระนามลำลองในหมู่พระญาติสนิทและพระสหายว่า "เดซี่".

ใหม่!!: ไคโรและเจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์

้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์ (อาหรับ: فوزية Fawziya, ประสูติ 7 เมษายน ค.ศ. 1940 - สิ้นพระชนม์ 27 มกราคม ค.ศ. 2005) พระราชธิดาพระองค์กลางของพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต.

ใหม่!!: ไคโรและเจ้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตอภิมหานครโตเกียว

ตอภิมหานครโตเกียว หมายถึงพื้นที่ของโตเกียวและปริมณฑล ตั้งอยู่ในภาคคันโต ของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นเขตมหานครที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่น ตามด้วย เขตมหานครเคฮันชิง ตามประมาณการของสหประชาชาติในปี 2014 เขตอภิมหานครนี้มีประชากรกว่า 37,883,000 คน ทำให้พื้นที่แห่งนี้กลายเป็นและถือเป็นเขตปริมณฑลที่มีขนาดประชากรมากที่สุดของโลก ครอบคลุมพื้นที่มากกว่า 13,500 ตารางกิโลเมตร และมีความหนาแน่นประชากรอยู่ที่ 2,642 คน/ตารางกิโลเมตร มากกว่าความหนาแน่นประชากรของบังกลาเทศถึงเท่าตัว เขตอภิมหานครโตเกียวยังเป็นเขตปริมณฑลที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดของโลก ด้วยมูลค่าจีดีพี (ตัวเงิน) ในปี 2008 ราว 53 ล้านล้านบาท (165 ล้านล้านเยน) และจากการวิจัยที่ตีพิมพ์โดย PricewaterhouseCoopers เขตอภิมหานครโตเกียว มีจีดีพี (อำนาจซื้อ) 1.479 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งทำให้เขตมหานครโตเกียวกลายเป็นเขตเมืองที่มีกำลังการบริโภคสูงสุดสุดในโลก.

ใหม่!!: ไคโรและเขตอภิมหานครโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

เควี 62

วี 62 (KV62) เป็นชื่อสุสานในหุบผากษัตริย์ (Valley of the Kings) ประเทศอียิปต์ ที่ไว้พระศพของทุตอังค์อามุน (Tutankhamun) และมีชื่อเสียงเพราะทรัพย์สมบัติที่พบข้างใน ในปี 1922 เฮาเวิร์ด คาร์เตอร์ (Howard Carter) พบสุสานนี้อยู่ในหุบผาซึ่งมีซากบ้านเรือนคนงานที่สร้างขึ้นในสมัยอาณาจักรใหม่ปกคลุมอยู่ นี้เป็นเหตุผลที่สุสานรอดพ้นจากการระดมขุดกรุอย่างร้ายแรงที่สุดในช่วงนั้น เมื่อพบสุสานแล้ว ปรากฏว่า ภายในมีข้าวของเรียงไว้ระเกะระกะ คาร์เตอร์ได้ถ่ายภาพพวงมาลัยพวงหนึ่งไว้ซึ่งพอแตะแล้วก็สลายเป็นผงธุลีไป การขนทรัพย์สินออกจากสุสานใช้เวลา 8 ปี เนื่องจากสภาพของสุสานเอง และความประสงค์ของคาร์เตอร์ที่จะบันทึกข้อมูลไว้ให้ละเอียดที่สุด ทรัพย์สินดังกล่าวขนไปไว้ที่พิพิธภัณฑ์อียิปต์ในกรุงไคโร หลังฝังพระศพแล้วไม่นาน ขโมยขึ้นสุสานนี้อย่างน้อย 2 ครั้ง พระทวารบานนอกสุดของห้องไว้พระศพนั้นถูกเปิดทิ้งไว้และมิได้ลั่นดาล มีการประเมินว่า ร้อยละ 60 ของอัญมณีในพระคลังของสุสานถูกลักพาออกไป.

ใหม่!!: ไคโรและเควี 62 · ดูเพิ่มเติม »

เซาเปาลู

นตัวเมืองเซาเปาลู right right right เซาเปาลู (São Paulo) เป็นเมืองหลวงของรัฐเซาเปาลู ประเทศบราซิล เมืองนี้เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศและใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลกตามจำนวนประชากร ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของบราซิล นอกจากนี้ยังเป็นเมืองที่มีความมั่งคั่งที่สุดในประเทศ ชื่อเซาเปาลูเป็นภาษาโปรตุเกส มีความหมายว่า "นักบุญพอล" เซาเปาลูมีเนื้อที่ 1,523 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 10,886,518 คน ซึ่งทำให้เมืองนี้เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศบราซิล ทวีปอเมริกาใต้ และซีกโลกใต้ (เขตมหานคร: ประมาณ 19 ล้านคน) เซาเปาลูเดิมเป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ ที่ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1554 โดยคณะมิชชันนารีนิกายเยซูอิตชาวโปรตุเกส ต่อมาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 โปรตุเกสก็เริ่มเข้ามาขยายอำนาจในอเมริกาใต้ (ภายในเขตที่กำหนดไว้ในสนธิสัญญาตอร์เดซียัส) โดยส่งคณะนักสำรวจเข้ามาครอบครองดินแดนแถบนี้และค้นหาทองคำ เพชร และทรัพยากรอื่น ๆ ซึ่งมีส่วนทำให้เซาเปาลูขยายตัวมากขึ้น จนในที่สุดก็ยกฐานะขึ้นเป็นเมืองอย่างเป็นทางการเมื่อปี ค.ศ. 1711 ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 คลื่นผู้อพยพจากประเทศอิตาลี โปรตุเกส สเปน เยอรมนี และประเทศอื่น ๆ ก็เริ่มเข้ามาในเซาเปาลูเพื่อทำงานในไร่กาแฟภายในรัฐ จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 การค้ากาแฟตกต่ำลง ผู้ประกอบการจึงเริ่มหันไปลงทุนในการพัฒนาอุตสาหกรรมในเมือง โดยในครึ่งแรกของศตวรรษ นอกจากชาวยุโรปแล้ว ชาวญี่ปุ่นและชาวอาหรับก็อพยพเข้ามาด้วย และตลอดศตวรรษเดียวกันนี้ เศรษฐกิจที่เฟื่องฟูของเซาเปาลูก็เป็นตัวดึงดูดให้ประชากรจากรัฐอื่น ๆ ที่ยากจนในบราซิลเข้ามาทำงานในเมืองนี้เช่นกัน.

ใหม่!!: ไคโรและเซาเปาลู · ดูเพิ่มเติม »

22 มีนาคม

วันที่ 22 มีนาคม เป็นวันที่ 81 ของปี (วันที่ 82 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 284 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไคโรและ22 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 ตุลาคม

วันที่ 6 ตุลาคม เป็นวันที่ 279 ของปี (วันที่ 280 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 86 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไคโรและ6 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Cairoกรุงไคโรอัล กาฮิราห์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »