โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โลก

ดัชนี โลก

"เดอะบลูมาร์เบิล" ภาพถ่ายดาวเคราะห์โลกจากยาน ''อพอลโล 17'' โลก (loka; world) มีความหมายโดยปริยายหมายถึงหมู่มนุษย์ รวมทั้งอารยธรรมมนุษย์โดยรวมทั้งหมด โดยเฉพาะในด้านประสบการณ์ ประวัติศาสตร์ หรือสภาพของมนุษย์โดยทั่ว ๆ ไป ทั้งนี้ คำว่า ทั่วโลก หมายถึงสถานที่ใด ๆ บนดาวเคราะห์โลก ในทางปรัชญามองโลกอยู่ 2 แบบ คือ.

797 ความสัมพันธ์: บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลกบรรยากาศของโลกชอกเวฟ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)บัมเบิลบี (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)บันไดระยะห่างของจักรวาลบั้งไฟพญานาคชิมูระ ชินปาจิชิมูระ ทาเอะบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ชีววิทยาวิวัฒนาการช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีช็อกโกแลตช้างตระกูลพรหมพงศ์ช้างตระกูลอิศวรพงศ์บ้านวิชาเยนทร์ฟอร์ด มอนดิโอฟอลเลน (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)ฟิสิกส์ทฤษฎีฟุตบอลทีมชาติไทยพ.ศ. 1พ.ศ. 2439พ.ศ. 2453พ.ศ. 2461พ.ศ. 2467พ.ศ. 2483พ.ศ. 2500พ.ศ. 2504พ.ศ. 2505พ.ศ. 2509พ.ศ. 2513พ.ศ. 2514พ.ศ. 2529พ.ศ. 2546พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2571พ.ศ. 2605พรหมันพระผู้สร้างพระแม่ภูมีพระแม่องค์ธรรมพระแม่ปฤถวีพร็อกซิมาคนครึ่งม้า บีพลีสทีชเชอร์ สอนนักรักซะพัลซาร์ปูพาราลิมปิกฤดูร้อน 2008พาวเวอร์ดอลส์พาคิเซทัสพิพิธภัณฑสถานพิธีกรรมในงานศพไทย...พื้นดินพีทีวี นิวส์กฎบัตรซาราโกซากฎหมายอวกาศกฎของทิทิอุส-โบเดอกระสวยอวกาศโคลัมเบียกระจุกดาวลูกไก่กระจุกดาวแฝดกระจุกดาวเปิดกราวิตี้ มฤตยูแรงโน้มถ่วงกลางวันกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือกลุ่มดาวหมีเล็กกลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20กลีเซอ 317 บีกลีเซอ 581กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลกวมกันยายน พ.ศ. 2546การชนกับนิบิรุการชนกันของดาราจักรแอนดรอมิดากับทางช้างเผือกการกัดกร่อนการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์การวัดการสลายให้อนุภาคแอลฟาการสำรวจด้วยคลื่นไหวสะเทือนแบบสะท้อนการสืบเชื้อสายร่วมกันการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่การหมุนการหมุนควงการคว่ำบาตรการติดต่อสื่อสารสะท้อนพื้นผิวดวงจันทร์การปลอมเอกสารการแสดงแผนที่การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาคการ์ตูนการไหลตามฤดูกาลของน้ำบนดาวอังคารการเคลื่อนผ่านทางดาราศาสตร์กาลิเลโอ (ยานอวกาศ)กาลิเลโอ กาลิเลอีกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิตกิตฮับกึ่งเขตร้อนกีฬาพาราลิมปิกกีฬามหาวิทยาลัยโลกกีฬาโอลิมปิกกีโยม เลอ ฌ็องตีฐานทัพสุดท้าย เชื้อร้ายถล่มโลกภาพยนตร์ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์มนุษย์มลพิษทางอากาศมวลดวงอาทิตย์มหกรรมปั้นทรายโลกมหัศจรรย์กระบี่เจ้าพิภพมหาบุรุษซามูไรมหายุคพาลีโอโซอิกมหายุคมีโซโซอิกมหาวิทยาลัยรังสิตมหาวิทยาลัยศิลปากรมหาสมุทรมหาสมุทรพายุมหาสมุทรแอตแลนติกมหาสมุทรแปซิฟิกมหาสมุทรใต้มหาเผ่าพันธุ์แห่งยิธมังกรจีนมัตสึไดระ คาทาคุริโกะมาริเนอร์ 9มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2มิราเคิล (พืช)มิลลิวินาทีมิลิทรีเวิลด์เกมส์มิตซูบิชิ มอเตอร์สมิตซูโอะ ชิบาฮาชิมือมุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกีมีฮาอิล กอร์บาชอฟมณีแดนสรวงมดมนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบันยอดเขากันเจนชุงคายามาซากิ ซางารุยางิว คิวเบยุคยุคพาลีโอจีนยุคจูแรสซิกยุคครีเทเชียสยุคน้ำแข็งยุคโลหะยุคไทรแอสซิกยูทูบ เรดยูโรปา (ดาวบริวาร)รหัสวินาศโลกรอยเตอร์สระบบพิกัดระบบพิกัดทรงกลมฟ้าระบบสุริยะระบบโลกเป็นศูนย์กลางระยะเชิงมุมระเบียบวิธีแบบวิทยาศาสตร์รักบี้โลกรัศมีดวงอาทิตย์รังสรรค์นิยมแบบโลกมีอายุน้อยราชันย์แห่งภูตรายชื่อบรรณพิภพในจักรวาลของอสิมอฟรายชื่อรัฐเอกราชเรียงตามสินทรัพย์ต่างประเทศรายชื่อดาราจักรรายชื่อดาวฤกษ์เรียงตามโชติมาตรปรากฏรายชื่อตอนในทีน ไททันส์รายชื่อตัวละครในกินทามะรายชื่อตัวละครในลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิงรายชื่อตัวละครในเพชรพระอุมารายชื่อประเทศจากการผลิตซิลิคอนรายชื่อประเทศจากการผลิตแร่เงินรายชื่อประเทศตามจำนวนประชากร (สหประชาชาติ)รายชื่อประเทศตามจำนวนประชากรในอดีต (ประมาณการโดยสหประชาชาติ)รายชื่อประเทศตามดัชนีการพัฒนามนุษย์รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดรายชื่อประเทศเรียงตามพื้นที่ป่าไม้รายชื่อประเทศเรียงตามการบริโภคแก๊สธรรมชาติรายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตถ่านหินรายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตไทเทเนียมรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตฟลูออไรต์รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตลิเทียมรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตอะลูมิเนียมรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตทองแดงรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตดีบุกรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแพลทินัมรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแมกนีเซียมรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตเฟลด์สปาร์รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนสายโทรศัพท์ในการใช้งานรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากรในปี พ.ศ. 1543รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีการใช้งานรายชื่อประเทศเรียงตามขนาดเครือข่ายทางรถไฟรายชื่อประเทศเรียงตามความหนาแน่นประชากรรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อประเทศเรียงตามประชากรเมืองรายชื่อเขตการปกครองรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยราศีพฤษภราเซีย สุลต่าน จอมนางเหนือแผ่นดินรถไฟฟ้าปารีสรถไฟใต้ดินทาชเคนต์ร่มชูชีพร็อคกี้ 3 ตอน กระชากมงกุฏฤดูกาลลมลองจิจูดละติจูดลิฟต์อวกาศลูกกระสุนปืนใหญ่ของนิวตันลูกโลกลีดส์อิชธีส์ล่าสุดขอบจักรวาลล็อกฮีด ยู-2วอยเอจเจอร์ 1วอร์ ออฟ เดอะ เวิลด์ส อภิมหาสงครามล้างโลกวัฏจักรคาร์บอนวัดไลย์วัดเขาสมโภชน์วันวันวิสาขบูชาวาวาอูวิญญาณวิลเลอบรอร์ด สแน็ลลียึสวิวัฒนาการวิษุวัตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีนวิทยาศาสตร์โลกวิทยาดาวเคราะห์วิดีโอโฟนวี 382 กระดูกงูเรือวีวี ซีฟิอัสวงกลมละติจูดวงศ์ปลาบู่วงศ์ปลากระเบนหางสั้นวงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทยวงแหวนของดาวเนปจูนวงโคจรวงโคจรพ้องคาบโลกวงโคจรต่ำของโลกศาสนาฮินดูศาสนาฮินดูแบบบาหลีศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดส.ว.า.ท. หน่วยจู่โจมระห่ำโลกสกายซิตี (ฉางชา)สกุลเงินตราสก็อตต์ มอฟฟ์แฟตต์สภามวยโลกสมมติฐานโลกยุติธรรมสมาคมมวยโลกสมาคมเนชั่นแนล จีโอกราฟิกสมุดหน้าเหลืองสรรพันตรเทวนิยมสวนสยามสหพันธ์มวยนานาชาติสะพานพระราม 8สะเก็ดดาวสัญลักษณ์ทางดาราศาสตร์สัตว์เลื้อยคลานสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมสำนักแพร่ภาพข่าวแห่งยุโรปสิงหาคม พ.ศ. 2546สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิตนอกโลกสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติสุริยวิถีสุริยุปราคาสุริยุปราคา 1 กันยายน พ.ศ. 2559สุริยุปราคา 11 สิงหาคม พ.ศ. 2561สุริยุปราคา 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555สุริยุปราคา 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2580สุริยุปราคา 13 กันยายน พ.ศ. 2558สุริยุปราคา 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2574สุริยุปราคา 14 ธันวาคม พ.ศ. 2563สุริยุปราคา 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561สุริยุปราคา 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2562สุริยุปราคา 2 กันยายน พ.ศ. 2578สุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2577สุริยุปราคา 20 เมษายน พ.ศ. 2566สุริยุปราคา 21 สิงหาคม พ.ศ. 2560สุริยุปราคา 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2571สุริยุปราคา 23 ตุลาคม พ.ศ. 2557สุริยุปราคา 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2573สุริยุปราคา 30 มีนาคม พ.ศ. 2576สุริยุปราคา 30 เมษายน พ.ศ. 2565สุริยุปราคา 4 ธันวาคม พ.ศ. 2564สุริยุปราคา 6 มกราคม พ.ศ. 2562สุริยุปราคา 8 เมษายน พ.ศ. 2567สุริยุปราคา 9 มีนาคม พ.ศ. 2559สุริยุปราคาบางส่วน 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2561สุริยุปราคาบนดวงจันทร์สุขาวดีสีดา ราม ศึกรักมหาลงกาสถานีแผ่นดินไหวสงครามมหาเทพประจัญบานสงครามเทพเจ้าสงครามเทวดาสตรอว์เบอร์รีสตาร์คราฟต์สนธยาสโตรมาโตไลต์สไปเดอร์-แมนสเปซแจม ทะลุมิติมหัศจรรย์หมาป่าดิงโกหมูป่าอินโดจีนหมู่คาร์บอนหมู่โบรอนหลักพื้นฐานที่เถรวาทและมหายานมีร่วมกันหลักฐานทางวิทยาศาสตร์หลักสูตรหลักข้อเชื่อของอัครทูตหลักข้อเชื่อไนซีนหลุมดำหิมะภาคหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์หนังสือปฐมกาลหนุมาน สงครามมหาเทพหนูหนูหริ่งบ้านหนูไฮโซ ขอเป็นฮีโร่สักวันหน่วยฐานเอสไอหน่วยที่ยอมรับให้ใช้แก่ระบบเอสไอหน่วยดาราศาสตร์ห้างไนติงเกลอภินิหาร ฮาติมอภินิหารไวกิ้งพิชิตมังกรอสัมปทานชาดกออกซิเจนอะอิ คะโงะอะครอสเดอะยูนิเวิร์สอะตอมอักษรจีนตัวย่ออัลติเมทไฟต์ติงแชมเปียนชิพอัตราเร็วของแสงอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยอันดับของขนาด (พื้นที่)อันดับของขนาด (อุณหภูมิ)อันดับของขนาด (จำนวน)อันดับของขนาด (ความยาว)อันดับของขนาด (ความหนาแน่น)อันดับของขนาด (ความเร็ว)อันดับของขนาด (เวลา)อาริสโตเติลอาร์กติกอาร์มาเก็ดดอน วันโลกาวินาศอาร์คแองเจิ้ลอาร์เธอร์ ซี. คลาร์กอาณาจักรชั้นที่สองอาณาจักรแห่งกาลเวลาอำเภอวังน้ำเขียวอิปไซลอนแอนดรอมิดา บี (ดาวเคราะห์)อิปไซลอนแอนดรอมิดา ซีอินทรีอิโต คาโมทาโร่อุลกมณีอุทกภาคอุณหพลศาสตร์อุณหภูมิห้องอุตสาหกรรมอุปราคาอี.ที. (เพลง)อี.ที. เพื่อนรักอีนิด ไบลตันอีเห็นน้ำอินโดจีนองศา (มุม)องค์กรมวยโลกฮัลค์ฮายาบูสะ2ฮาร์เวสต์มูน (เกมชุด)ฮาเดส (เซนต์เซย่า)ฮาเซงาว่า ไทโซฮิจิคาตะ โทชิโร่ฮีเลียมผลงานวีดิทัศน์ของเคที เพร์รีผานกู่ผู้บริหารผีชีวะ 3 สงครามสูญพันธุ์ไวรัสผีชีวะ 4 สงครามแตกพันธุ์ไวรัสผีชีวะ 5 สงครามไวรัสล้างนรกผีเสื้อหนอนใบกระท้อนผ่าทะลุฟ้า รักทะลุมิติจรวดจอมโจรคิดจอห์น คิว ตัดเส้นตายนาทีมรณะจักรวาลวิทยาจัง เหิงจันทรุปราคาจันทร์ดับจันทร์เพ็ญจิงเว่ยจุดทิศหลักจุดปลายระยะทางวงโคจรจุดแดงใหญ่จูปิเตอร์, เนปจูน และพลูโต (การาวัจโจ)จูโน (ยานอวกาศ)จีเอฟเอเจ-1ธรณีวิทยาธรณีแอ่นตัวธรณีเคมีธารน้ำแข็งธาตุธาตุหมู่ 10ธาตุหมู่ 11ธาตุหมู่ 12ธาตุหมู่ 3ธาตุหมู่ 4ธาตุหมู่ 5ธาตุหมู่ 6ธาตุหมู่ 7ธาตุหมู่ 8ธาตุหมู่ 9ธงชาติกินีธงชาติจิบูตีถ้าคุณแน่? อย่าแพ้ เด็ก (ประถม)!ทรอปิกออฟแคปริคอร์นทรานส์ฟอร์เมอร์ส 5: อัศวินรุ่นสุดท้ายทราเวียนทริปเปิ้ลเอ็กซ์ ทลายแผนยึดโลกทรงกลมฟ้าทฤษฎีไดนาโมทวีปทวีปยูเรเชียทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียทวีปแอนตาร์กติกาทากาสุงิ ชินสุเกะทาคามาจิ นาโนฮะทางช้างเผือกทิศตะวันออกทิศใต้ทูตสวรรค์ที-34 เมนเตอร์ที-38 ทาลอนทีวี 24ที่ตั้งของโลกในเอกภพท้องฟ้าขบวนการกลับสู่เยรูซาเลมขั้วโลกใต้ขั้วโลกเหนือข้อความอาเรซีโบดวงอาทิตย์ดวงจันทร์ดับเบิลยูเอเอสพี-12บีดั๊บเบิ้ล เอ (1991)ดาราศาสตร์ดาราจักรดาวบริวารดาวบริวารของดาวยูเรนัสดาวพฤหัสบดีดาวพลูโตดาวพุธดาวยูเรนัสดาวฤกษ์ดาวล้อมเดือนดาวศุกร์ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ดาวหางดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9ดาวหางบีลาดาวอีริสดาวเสาร์ดาวเหนือดาวเทียมดาวเทียมโอซุมิดาวเทียมโคบีดาวเคราะห์มหาสมุทรดาวเคราะห์คล้ายโลกดาวเคราะห์นอกระบบดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกดาวเนปจูนดิสคัฟเวอรี่ แชนแนลดิอะเมซิ่งเรซดิอะเมซิ่งเรซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน)ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงคชศาสตร์คริสต์สหัสวรรษที่ 5คริสต์สหัสวรรษที่ 6คริสเตียน เดอะ ไลออนครีษมายันคลื่นความคิดควอตซ์ความยาวความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์ความหลากหลายทางชีวภาพความหนาแน่นความผิดปกติทางอารมณ์ความต่างที่สองตาความโน้มถ่วงพื้นผิวความเชื่อเรื่องการสร้างโลกของจีนความเอียงของวงโคจรความเอียงของแกนควิดดิชในยุคต่าง ๆคอนโด้ อิซาโอะคาบการหมุนรอบตัวเองคาบดาราคติคาวาคามิ บันไซคาซึระ โคทาโร่คิม พอสสิเบิลคิจิมะ มาทาโกะคนธรรพ์ค้างคาวแม่ไก่ป่าฝนงูจงอางตามล่านักฆ่าแอนดรอยด์ตุลาการทมิฬตุลาคม พ.ศ. 2546ตูโปเลฟ ตู-144ต้องรอดซัมซุงซันเอาท์เทจซากาตะ กินโทกิซามูไรทรูปเปอร์ซารุโทบิ อายาเมะซูเปอร์มูนซูเปอร์นักรบดับทัพอสูรซูเปอร์แมนซูเปอร์เอิร์ธซี-47 สกายเทรนซีกโลกใต้ซีกโลกเหนือซีเอ็นเอ็นปฏิทรรศน์ฝาแฝดประชากรโลกประวัติศาสตร์ฟิสิกส์ประวัติศาสตร์โลกประเทศฝรั่งเศสประเทศอียิปต์ประเทศจีนประเทศไต้หวันประเทศเกาหลีใต้ปรากฏการณ์โลกร้อนปริศนาโดมครอบเมืองปลาปลาคู้ปลาค้างคาวดอยอินทนนท์ปลาไทเมนปักกิ่งปัจจัยสี่ปารีสปูม้าปีป่าสันทรายนกอัลบาทรอสนอกรีตนักบุญองค์อุปถัมภ์นักสืบหุ่นยนต์ (ชุดหนังสือ)นากจมูกขนนากเล็กเล็บสั้นนาทีแสงนางกาลอัคคีนาคราชนาซานิบิรุ (แก้ความกำกวม)นิกโทเจนนิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัสนครหุ่นยนต์นครนิวยอร์กนครโลหะน้ำหนักน้ำทะเลน้ำขึ้นลงน้ำเหลวนอกโลกแชลโคเจนแบล็ก & ไวต์แบทแมน บีกินส์แบดเจอร์แฟนพันธุ์แท้ 2003แฟนพันธุ์แท้ 2004แฟนพันธุ์แท้ ซูเปอร์แฟนแฟนท่อม ฮีโร่พันธุ์อมตะแพระไดส์ลอสต์แกมมา (อุปราคา)แกมมา1 สิงโต บีแกร็ดแก๊งระเบิด เนิร์ดกู้โลกแก่นโลกแมกนีเซียมแม็กนีโตสเฟียร์แรงแรงกิริยาแสงโลก (ดาราศาสตร์)แหล่งน้ำแอฟริกาใต้สะฮาราแอร์ฟอร์ซวันแอนาเล็มมาแอนโทรโปซีนแอโร แอล-29 เดลฟินแผนที่แผ่นจานทองคำของวอยเอจเจอร์แผ่นดินไหวแถบดาวเคราะห์น้อยแทนาทอสแซรอสโบบอยบอยโบอิง 747โฟมัลฮอต บีโกล์ (ภาพยนตร์)โกลเดนไฮนด์โกดโมบิลสูท กันดั้ม 08th ทีมโยสไตน์ กอร์เดอร์โรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์โรเบิร์ต แวดโลว์โลก (ดาวเคราะห์)โลกยามเช้าโลกใหม่โอลิมปัส (ภูเขาไฟ)โอลิมปิกฤดูร้อนโอลิมปิกฤดูหนาวโอคิตะ โซโกะโอโทเซะโอไรออน (ยานอวกาศ)โจตันโดกาปองโดราเอมอนโครงสร้างของโลกโซเดียมคลอไรด์ไมมัส (ดาวบริวาร)ไมล์ทะเลไมโครซอฟท์ไมเคิล แจ็กสัน: ดิอิมมอร์ทัลเวิลด์ทัวร์ไอดอลมาสเตอร์ เซโนกลอสเซียไอแอพิตัส (ดาวบริวาร)ไอโอตา นาฬิกา บีไอ้แมงมุมในรูปแบบอื่นไทบีเรียมไทรทัน (ดาวบริวาร)ไททัน (ดาวบริวาร)ไทเทเนียมไซด์สไวป์เชอร์ล็อก โฮมส์เพชรพระอุมาเพลบลูดอตเพศสัมพันธ์ในอวกาศเกมวัดดวงเกาะตาปูเมสเซนเจอร์ (ยานอวกาศ)เมตรเมซีเย 103เมซีเย 106เมเว็นเรอูนียงเรือรบอวกาศยามาโตะเรือของกาลิเลโอเวลามาตรฐานกรีนิชเวิลด์เกมส์เวนอมเศรษฐกิจญี่ปุ่นเสราฟิมเสือเสือโคร่งเสือโคร่งบาหลีเสือโคร่งสุมาตราเสือโคร่งอินโดจีนเส้นศูนย์สูตรเส้นศูนย์สูตรฟ้าเส้นขนานที่ 10 องศาใต้เส้นขนานที่ 10 องศาเหนือเส้นขนานที่ 15 องศาใต้เส้นขนานที่ 15 องศาเหนือเส้นขนานที่ 20 องศาใต้เส้นขนานที่ 20 องศาเหนือเส้นขนานที่ 25 องศาใต้เส้นขนานที่ 25 องศาเหนือเส้นขนานที่ 30 องศาใต้เส้นขนานที่ 30 องศาเหนือเส้นขนานที่ 35 องศาใต้เส้นขนานที่ 35 องศาเหนือเส้นขนานที่ 36 องศาเหนือเส้นขนานที่ 40 องศาใต้เส้นขนานที่ 40 องศาเหนือเส้นขนานที่ 41 องศาเหนือเส้นขนานที่ 45 องศาใต้เส้นขนานที่ 5 องศาใต้เส้นขนานที่ 5 องศาเหนือเส้นขนานที่ 50 องศาใต้เส้นขนานที่ 50 องศาเหนือเส้นขนานที่ 55 องศาใต้เส้นขนานที่ 55 องศาเหนือเส้นขนานที่ 60 องศาเหนือเส้นขนานที่ 65 องศาเหนือเส้นขนานที่ 70 องศาเหนือเส้นขนานที่ 75 องศาเหนือเส้นขนานที่ 80 องศาเหนือเส้นขนานที่ 82 องศาเหนือเส้นขนานที่ 83 องศาเหนือเส้นโลกเส้นโครงแผนที่แบบเมอร์เคเตอร์เส้นเวลากราฟิกของยุคแห่งดวงดาวเส้นเวลากราฟิกของจักรวาลเส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะเส้นเวลาการค้นพบดาวเคราะห์และดาวบริวารในระบบสุริยะเส้นเวลาของอนาคตไกลเส้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติเหมายันเหยียบนรกสุญญากาศเหตุการณ์การสูญพันธุ์ยุคครีเทเชียส–พาลีโอจีนเอชอาร์ 8799 บีเอชดี 147018 ซีเอชดี 147513 บีเอชดี 17156 บีเอชดี 189733 บีเอชดี 215497 บีเอชดี 28185 บีเอชดี 69830เอชไอพี 13044เอพิโทรคอยด์เอกภพที่สังเกตได้เอลเดอร์ธิงเอสอาร์-71 แบล็คเบิร์ดเอสเอ็น 1987เอเอิร์ธไรซ์เอิร์ทเอิร์ท (อนุกรมเคมี)เอนเซลาดัสเอ็มเธียเตอร์เอ็งกะเอ็นเอชเคเจริญ โอทอง และอรวรรณ โอทองเจ้าชายน้อย (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2558)เจ้าชายแห่งเปอร์เซีย: มหาสงครามทะเลทรายแห่งกาลเวลาเทพประยุทธ์พิชิตฟ้าเทราคาโตะ ซือเทวัสนิยมเทวดานพเคราะห์เทศกาลโต๊ะจีนลิงเทอร์มิเนเตอร์เขมรแดงเขาโรไรมาเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียนเขตร้อนเขตเวลาเข็มทิศเดอะ มอฟฟ์แฟตส์เดอะ มาร์เชียน กู้ตาย 140 ล้านไมล์เดอะบลูมาร์เบิลเดอะบิ๊กเอียร์เดอะซิมส์ (ชุดวิดีโอเกม)เครื่องดื่มชูกำลังเควซาร์เคอร์บัลสเปซโปรแกรมเคปเลอร์-20เอฟเคปเลอร์-37บีเคปเลอร์-69ซีเต๋าเซอร์ไวเวอร์ วานูอาตูเปาโล มัลดีนีเปตราเนบิวลากระดูกงูเรือเนบิวลาปูBD+14°4559 bExpo Zaragoza 2008Fortnum & MasonMOA-2007-BLG-192LbMOA-2007-BLG-400LbOnegai My MelodyPSR B1257+12Slavonic Channel InternationalSN 10541 E+14 m²1 E+22 m²1 E23 m1 E26 m1 E3 m1 E4 m1 E6 m1 E7 m1 E8 m14 กรกฎาคม14 เฮอร์คิวลีส ซี1515 กรกฎาคม15 ตุลาคม16 มกราคม16 มิถุนายน162173 รีวงู17 สิงหาคม18 พฤษภาคม19 สิงหาคม19 ธันวาคม2 กรกฎาคม2 คนไม่ใช่คน 3: สงครามสมองกลพันธุ์ใหม่20 กุมภาพันธ์2012 ดีเอ1421 กันยายน23 สิงหาคม24 พฤษภาคม24 กรกฎาคม24 สิงหาคม2เอส33 กุมภาพันธ์3 มกราคม3 ตุลาคม30 พฤศจิกายน30 ตุลาคม44 ตุลาคม47 หมีใหญ่ บี55 ปู55 ปู อี61 หญิงสาว บี61 หญิงสาว ดี61 หญิงสาว ซี77 กุมภาพันธ์80 วันรอบโลก ขยายดัชนี (747 มากกว่า) »

บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก

อาณาจักรและโดเมน สีม่วงคือแบคทีเรีย สีเทาเข้มคืออาร์เคีย สีน้ำตาลคือยูแคริโอต โดยยูแคริโอตยังแบ่งออกเป็น 5 อาณาจักรคือ สัตว์(แดง) ฟังไจ(น้ำเงิน) พืช(เขียว) โครมาลวีโอลาตา(น้ำทะเล) และ โพรทิสตา(เหลืองทอง) โดยมีจุดศูนย์กลางคือ บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก (LUCA) บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก (last universal common ancestor; ตัวย่อ: LUCA) หมายถึง สิ่งมีชีวิตรุ่นล่าสุด ที่เป็นบรรพบุรุษร่วมกันของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดบนโลกนี้ คล้ายคลึงกับ บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุด (MRCA) ซึ่งหมายความถึงสับเซตใดๆของ LUCA ขณะที่ LUCA เองมีความหมายครอบคลุมถึงทุกเซตทั้งหม.

ใหม่!!: โลกและบรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก · ดูเพิ่มเติม »

บรรยากาศของโลก

ลักษณะบรรยากาศของโลก บรรยากาศของโลก คือ อากาศที่ห่อหุ้มโลกอยู่โดยรอบ วันที่สืบค้น 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: โลกและบรรยากาศของโลก · ดูเพิ่มเติม »

ชอกเวฟ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)

อกเวฟ (Shockwave) เป็นชื่อตัวละครหุ่นยนต์ฝ่ายเดสทรอน หรือ ดีเซปติคอนส์ จากการ์ตูนชุดเรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส (Transformers).

ใหม่!!: โลกและชอกเวฟ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส) · ดูเพิ่มเติม »

บัมเบิลบี (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)

ัมเบิล / บัมเบิลบี (BUMBLEBEE) คือ ชื่อตัวละครจากภาพยนตร์เรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ชื่อนี้มาจากสีของตัวละคร ที่เป็นสีเหลืองสลับดำ คล้ายกับสีของผึ้งบัมเบิลบี.

ใหม่!!: โลกและบัมเบิลบี (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส) · ดูเพิ่มเติม »

บันไดระยะห่างของจักรวาล

แผนภูมิบันไดระยะห่างของจักรวาล บันไดระยะห่างของจักรวาล (Cosmic distance ladder หรือ Extragalactic Distance Scale) เป็นกระบวนการต่อเนื่องที่นักดาราศาสตร์ใช้ในการบรรยายระยะห่างของวัตถุท้องฟ้า การวัดระยะทางโดยตรงที่แท้จริงของเทหวัตถุหนึ่งๆ จะทำได้ก็ต่อเมื่อวัตถุนั้นอยู่ "ใกล้" กับโลกพอที่จะทำได้เท่านั้น (คือระยะไม่เกินหนึ่งพันพาร์เซก) ดังนั้นเทคนิคในการอธิบายถึงระยะห่างของวัตถุที่อยู่ไกลกว่านั้นจึงต้องใช้วิธีการหลากหลายโดยอาศัยความสัมพันธ์กับวัตถุใกล้เคียง กระบวนการต่างๆ เหล่านั้นจะอิงอยู่กับ เทียนมาตรฐาน ซึ่งหมายถึงวัตถุดาราศาสตร์ที่ทราบค่าความส่องสว่างที่แน่นอน.

ใหม่!!: โลกและบันไดระยะห่างของจักรวาล · ดูเพิ่มเติม »

บั้งไฟพญานาค

กล่าวกันว่าบั้งไฟพญานาคเป็นดวงไฟที่พุ่งขึ้นกลางลำน้ำโขง (ภาพจำลอง) ภาพถ่ายกระสุนส่องวิถีเปิดหน้ากล้องนาน 30 วินาที ในคืนวันออกพรรษาปี 2555 ที่บ้านตาลชุม อำเภอรัตนวาปี บั้งไฟพญานาค หรือก่อนปี 2529 เรียก บั้งไฟผี เป็นปรากฏการณ์ที่กล่าวกันว่าเห็นที่แม่น้ำโขง ลักษณะเป็นลูกกลมเรืองแสงลอยขึ้นจากน้ำขึ้นไปในอากาศ จำนวนลูกไฟมีรายงานระหว่างหลายสิบถึงหลายพันลูกต่อคืน บั้งไฟพญานาคเกิดช่วงวันออกพรรษาทุกปี ในปี 2555 ผู้จัดการออนไลน์ ลงข่าวที่มีช่างภาพไปถ่ายภาพบั้งไฟพญานาค ช่างภาพเล่าว่า จากสายตาพวกเขาเห็นตรงกันว่าลูกไฟนั้นขึ้นจากน้ำ แต่ภาพที่บันทึกด้วยการเปิดหน้ากล้อง 5–30 วินาทีเป็นภาพต่อเนื่องเหมือนเลเซอร์ซึ่งมีจุดเริ่มอยู่บนบกของฝั่งลาวที่ห่างจากไทยประมาณ 1 กิโลเมตร ช่างภาพอีกคนว่า บริเวณที่จัดไว้ให้ชมปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาคนั้นมืดมาก ในปี 2558 มีผู้คาดว่าปรากฏการณ์ดังกล่าวทำให้มีเงินสะพัดกว่า 150 ล้านบาท นอกจาก "บั้งไฟพญานาค" แล้ว ยังมีปรากฏารณ์ลูกไฟโดยมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันในบริเวณอื่นของโลก.

ใหม่!!: โลกและบั้งไฟพญานาค · ดูเพิ่มเติม »

ชิมูระ ชินปาจิ

มูระ ชินปาจิ เป็นหนึ่งในตัวละครหลักในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซราจิ เป็นสมาชิกคนที่ 2 ของร้านรับจ้างสารพัด มักทำหน้าที่ตบมุกตัวละครอื่น.

ใหม่!!: โลกและชิมูระ ชินปาจิ · ดูเพิ่มเติม »

ชิมูระ ทาเอะ

มูระ ทาเอะ หรือ โอทาเอะ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซราจิ เป็นพี่สาวของชิมูระ ชินป.

ใหม่!!: โลกและชิมูระ ทาเอะ · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: โลกและบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

ชีววิทยาวิวัฒนาการ

ีววิทยาวิวัฒนาการ (Evolutionary biology) เป็นสาขาย่อยของชีววิทยาที่ศึกษากระบวนการวิวัฒนาการที่ได้สร้างความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตบนโลก เริ่มตั้งแต่สิ่งมีชีวิตที่เป็นบรรพบุรุษร่วมเดียวกัน กระบวนการนี้รวมทั้ง การคัดเลือกโดยธรรมชาติ การสืบเชื้อสายร่วมกัน และการเกิดสปีชีส์ สาขานี้พัฒนามาจากการศึกษาที่นักชีววิทยาชาวอังกฤษ เซอร์ จูเลียน ฮักซ์ลีย์ เรียกว่า modern evolutionary synthesis (ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930) ซึ่งก็เป็นความรู้จากสาขาอื่น ๆ ทางชีววิทยาที่มีอยู่แล้วแต่ยังไม่ได้นำมารวมกันเป็นต้นว่าพันธุศาสตร์ นิเวศวิทยา systematics และบรรพชีวินวิทยา งานวิจัยในปัจจุบันได้ขยายรวมสถาปัตยกรรมทางพันธุกรรมในการปรับตัว, วิวัฒนาการเชิงโมเลกุล (molecular evolution), และปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการวิวัฒนาการรวมทั้งการคัดเลือกทางเพศ การเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจง และชีวภูมิศาสตร์ ส่วนสาขาที่ใหม่กว่าคือ ชีววิทยาพัฒนาการเชิงวิวัฒนาการ (evolutionary developmental biology, evo-devo) จะศึกษาว่าปัจจัยอะไรเป็นตัวควบคุมพัฒนาการของตัวอ่อน และดังนั้นจึงเป็นสาขาวิชาที่สังเคราะห์และรวมชีววิทยาการเจริญ (developmental biology) และสาขาอื่น ๆ ที่สังเคราะห์ความรู้ทางวิวัฒนาการต่าง.

ใหม่!!: โลกและชีววิทยาวิวัฒนาการ · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ใหม่!!: โลกและช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ดูเพิ่มเติม »

ช็อกโกแลต

็อกโกแลต ช็อกโกแลต (chocolate; ช็อก(กะ)เล็ต) คือผลิตผลที่ได้มาจากเมล็ดของต้นโกโก้เขตร้อน ช็อกโกแลตเป็นส่วนผสมของของหวานหลายชนิดไม่ว่าจะเป็นไอศกรีม ลูกอม คุกกี้ เค้ก หรือว่าพาย ช็อกโกแลตถือได้ว่าเป็นของหวานอย่างหนึ่งที่ถูกใจคนทั่วโลก ช็อกโกแลตทำจากการหมัก คั่ว และบดอย่างละเอียดของเมล็ดโกโก้ซึ่งได้มาจากต้นโกโก้เขตร้อน (tropical cacao tree) ซึ่งมีต้นกำเนิดจากอเมริกากลางและเม็กซิโก ต้นโกโก้นั้นค้นพบโดยชาวอินเดียนแดงและชาวอัซเตก (Aztecs) แต่ในปัจจุบันได้แพร่กระจายและปลูกไปทั่วเขตร้อน เมล็ดของต้นโกโก้นั้นมีรสฝาดที่เข้มข้นมาก ผลผลิตของเมล็ดโกโก้รู้จักกันในนาม "ช็อกโกแลต" หรือบางส่วนของโลกในนาม "โกโก้" ผลิตภัณฑ์จากเมล็ดโกโก้รู้จักภายใต้หลายชื่อที่แตกต่างกันไปในส่วนต่าง ๆ ของโลก ในอเมริกา อุตสาหกรรมช็อกโกแลตได้จำกัดความไว้.

ใหม่!!: โลกและช็อกโกแลต · ดูเพิ่มเติม »

ช้างตระกูลพรหมพงศ์

้างตระกูลพรหมพงศ์ เป็นหนึ่งช้างเผือกสี่ตระกูลซึ่งสร้างโดยมหาเทพ พระพรหมในวิชาไตรเทพของศาสนาพราหมณ์ โดยตำราพระคชศาสตร์ และตำรานารายณ์ประทมสินธุ์ ได้กล่าวถึงการกำเนิดช้างมงคลว่า พระนารายณ์บรรทมบนเกษียรสมุทร บังเกิดดอกบัวจากพระอุทรมี ๘ กลีบ ๑๗๓ เกสร จึงนำไปถวายพระอิศวร ที่เขาไกรลาศ พระอิศวรแบ่งเกสรดอกบัวนั้นประทานแก่พระองค์เอง พระอิศวร รับเกสรไว้ ๘ เกสร ประทานแก่ พระพรหม จำนวน ๒๔ เกสร ประทานแก่ พระวิษณุ หรือพระนารายณ์ จำนวน ๘ เกสร และประทานแก่พระอัคคีหรือพระเพลิง จำนวน ๑๓๕ เกสร พระอิศวร พระพรหม พระวิษณุ และพระเพลิง มหาเทพทั้ง ๔ ต่างสร้างช้างเผือกตระกูลต่างๆ ๔ ตระกูล จากดอกบัวนั้นดอกบัวให้เป็นโลก พระพรหม พระอิศวร พระวิษณุและพระอัคนี มหาเทพทั้ง 4 ทรงเนรมิตช้างจากกลีบและเกสรบัว ที่พระนารายณ์ประทาน และสามารถแบ่งช้างมงคลเป็น 4 ตระกูล ตามนามแห่งเทพผู้ให้กำเนิด คือ ๑. ช้างตระกูลพรหมพงศ์ สร้างขึ้นโดย พระพรหม อันพระพรหมให้บังเกิดด้วยเกสรประทุมชาติ์ ช้างตระกูลนี้เมื่อมาสู่พระบารมีย่อมให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองทั้งทางวัตถุและวิทยาการต่างๆ พระพรหมได้สร้าง ๑. ช้างไอยราพตอยู่ทิศบูรพา เกสรหนึ่งทิ้งออกไปข้างทิศบูรพา เกิดเป็นช้างชื่อไอยราพต สมบูรณด้วยลักษณะ ๑๕ ประการ สีกายดุจสีเมฆเมื่อคลุ้มฝน เท้าทั้ง ๔ เท้ากลมดังกงฉัตร เล็บเสมอ หน้าสูงท้ายต่ำอย่างสิงห์ ตัวใหญ่กว่าช้างทั้งปวง ตาใหญ่ดังดาวประกายพฤกษ งายาวขึ้นขวางวงดังภุชงค์นาค หลังราบดังคันธนูปลายหูปรบหน้า หลัง ถึงกัน โขมดทั้ง ๒ สูง เสียงดุจเสียงสังข์ หาง บังคลองต้องด้วยลักษณะ ๑๕ ประการ.

ใหม่!!: โลกและช้างตระกูลพรหมพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ช้างตระกูลอิศวรพงศ์

้างตระกูลอิศวรพงศ์ เป็นหนึ่งช้างเผือกสี่ตระกูลซึ่งสร้างโดยมหาเทพ พระอิศวรในวิชาไตรเทพของศาสนาพราหมณ์ โดยตำราพระคชศาสตร์ และตำรานารายณ์ประทมสินธุ์ ได้กล่าวถึงการกำเนิดช้างมงคลว่า พระนารายณ์บรรทมบนเกษียรสมุทร บังเกิดดอกบัวจากพระอุทรมี ๘ กลีบ ๑๗๓ เกสร จึงนำไปถวายพระอิศวร ที่เขาไกรลาศ พระอิศวรแบ่งเกสรดอกบัวนั้นประทานแก่พระองค์เอง พระอิศวร รับเกสรไว้ ๘ เกสร ประทานแก่ พระพรหม จำนวน ๒๔ เกสร ประทานแก่ พระวิษณุ หรือพระนารายณ์ จำนวน ๘ เกสร และประทานแก่พระอัคคีหรือพระเพลิง จำนวน ๑๓๕ เกสร พระอิศวร พระพรหม พระวิษณุ และพระเพลิง มหาเทพทั้ง ๔ ต่างสร้างช้างเผือกตระกูลต่างๆ ๔ ตระกูล จากเกสรดอกบัวนั้นดอกบัวให้เป็นโลก พระพรหม พระอิศวร พระวิษณุและพระอัคนี มหาเทพทั้ง 4 ทรงเนรมิตช้างจากกลีบและเกสรบัว ที่พระนารายณ์ประทาน และสามารถแบ่งช้างมงคลเป็น 4 ตระกูล ตามนามแห่งเทพผู้ให้กำเนิด คือ ช้างตระกูลอิศวรพงศ์ สร้างขึ้นโดย พระอิศวร อันพระอิศวรให้บังเกิดด้วยเกสรประทุมชาติ์ ช้างตระกูลนี้ พระอิศวรเป็นเจ้าให้บังเกิดชาติ์กระษัตริย์ ชื่อว่าอิศวรพงศ์สมบูรณ์ด้วยลักษณะ เนื้อดำสนิทผิวเนื้อละเอียดเกลี้ยง งาทั้ง ๒ งาใหญ่ขึ้นเสมอกัน เท้าใหญ่ น้ำเต้ากลม โขมดสูง งวงเรียวเป็นต้นปลาย ปากดุจพวยสังข์ คอกลม เมื่อเดินนั้นยกคอ หลังเป็นคันธนู ท้ายเป็นสุกร ผนฎท้องตามวงหลัง อกใหญ่ หน้าสูงกว่าท้าย เท้าหน้าทั้ง ๒ อ่อน เท้าหน้าหลังเรียวรัดฝักบัวกลม หางเป็นข้อห่วง สนับงาเป็น ๒ ชั้น ขนับเสมอมิได้พร่อง หูใหญ่ช่อม่วงยาวข้างขวามีใบหูอ่อนนุ่มมีขนมากกว่าข้างซ้าย หน้าใหญ่ สรรพงามพร้อมต้องด้วยลักษณะช้างตระกูลนี้เมื่อมาสู่พระบารมีย่อมให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองทั้งทางวัตถุและวิทยาการต่างๆ พระอิศวรได้สร้าง อัฐคชาธาร อันพระอิศวรเป็นเจ้าให้บังเกิดด้วยเกสรประทุมชาติ์หรือด้วยเกสรดอกบัวทั้ง ๘ เกสร บังเกิดช้างทั้ง ๘ คือ เกสรที่ ๑. อ้อมจักรวาฬ เกสรหนึ่งทิ้งออกไปให้บังเกิดเป็นช้างหนึ่งชื่อว่าอ้อมจักรวาฬ งาซ้ายเสมอหน้างวง งาขวากอดงวงทับบนงาซ้ายหนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: โลกและช้างตระกูลอิศวรพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

บ้านวิชาเยนทร์

บ้านวิชาเยนทร์ หรือบ้านหลวงรับราชทูต จังหวัดลพบุรี บ้านวิชาเยนทร์ หรือ บ้านหลวงรับราชทูต ตั้งอยู่ทางเหนือของวังนารายณ์ราชนิเวศน์ และวัดเสาธงทอง ทางตะวันตกใกล้กับวัดปืน ที่มีกรุพระหูยาน และทางตะวันออกใกล้กับเทวสถานปรางค์แขก บ้านหลวงรับราชทูตแบ่งได้ 3 ส่วน ด้านตะวันออกเป็นบ้านพักของคณะทูตชาวฝรั่งเศส ส่วนด้านตะวันตกเป็นบ้านพักของเจ้าพระยาวิชาเยนทร์ขุนนางชาวกรีก และท้าวทองกีบม้า ภรรยา ส่วนกลางเป็นที่ตั้งของโบสถ์ของคริสต์ศาสนาที่สถาปัตยกรรมเป็นแบบ Renaissence ผสมสถาปัตยกรรมไทย แห่งแรกของไทย และของโลก หมวดหมู่:จังหวัดลพบุรี หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา.

ใหม่!!: โลกและบ้านวิชาเยนทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟอร์ด มอนดิโอ

ฟอร์ด มอนดิโอ (Ford Mondeo) เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลางที่ผลิตโดยบริษัทฟอร์ดมอเตอร์ เริ่มผลิตตั้งแต่ พ.ศ. 2535 และมีจำหน่ายอยู่ทั่วโลก โดยมาแทนที่รถยนต์นั่งขนาดกลางรุ่นเก่า ฟอร์ด เซียรา (Ford Sierra) ซึ่งเลิกผลิตในปี พ.ศ. 2535 คำว่า "Mondeo" มาจากภาษาละตินที่แปลว่า โลก ฟอร์ด มอนดิโอ เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลางที่ผลิตขึ้นสำหรับตลาดยุโรปเท่านั้น แต่เคยมีขายในตลาดเอเชีย รวมถึงประเทศไทย ซึ่งฟอร์ด มอนดิโอเคยมีขายในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2537-2542 แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยมมากนัก ฟอร์ด มอนดิโอ มีวิวัฒนาการตามช่วงเวลาได้ 5 Generation (รุ่น) ดังนี้.

ใหม่!!: โลกและฟอร์ด มอนดิโอ · ดูเพิ่มเติม »

ฟอลเลน (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)

อะ ฟอลเลน (The fallen) เป็นชื่อตัวละครจากภาพยนตร์ซีรีส์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส (Transformers).

ใหม่!!: โลกและฟอลเลน (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส) · ดูเพิ่มเติม »

ฟิสิกส์ทฤษฎี

ฟิสิกส์ทฤษฎี คือ สาขาวิชาฟิสิกส์แขนงหนึ่งที่นำแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ความคิดเชิงนามธรรมของวัตถุเชิงกายภาพและระบบต่าง ๆ ให้อยู่ในหลักการเหตุผล อธิบายและทำนายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ซึ่งแตกต่างจากฟิสิกส์ทดลองจากการใช้อุปกรณ์การทดลองที่จะตรวจหาปรากฏการณ์เหล่านี้ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์มักจะมาจากอิทธิพลระหว่างการเรียนรู้จากการทดลองและทฤษฎีโดยปกติ แต่ฟิสิกส์ทฤษฎียึดติดกับความเคร่งครัดทางคณิตศาสตร์ ซึ่งได้ให้ความสำคัญกับการทดลองและการสังเกตค่อนข้างน้อยในบางกรณี อาทิ ในขณะที่พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ได้พิจารณาถึงการแปลงลอเรนซ์ซึ่งทำให้สมการของแมกซ์เวลล์ไม่เปลี่ยนแปลง แต่ไม่ได้สนใจถึงการทดลองของมิเชลสัน-มอร์ลีย์ที่ทำเกี่ยวกับอีเธอร์ที่มีผลต่อการเคลื่อนของโลก ในทางกลับกัน ไอน์สไตน์ได้รับรางวัลโนเบลสำหรับการอธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกซึ่งไม่มีการอ้างอิงในเชิงทฤษฎีใด ๆ ทั้งสิ้น.

ใหม่!!: โลกและฟิสิกส์ทฤษฎี · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติไทย

ฟุตบอลทีมชาติไทย เป็นตัวแทนของประเทศไทยในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ และอยู่ภายใต้การบริหารของสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยทีมมีประวัติของความสำเร็จในการแข่งขันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือชนะเลิศอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 5 สมัย และชนะเลิศซีเกมส์ 10 สมัย โดยทีมชาติไทยยังสามารถคว้าอันดับ 3 ในเอเชียนคัพ 1972 และเข้าร่วมการแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2 ครั้ง และในเอเชียนเกมส์ 4 ครั้ง โดยอันดับโลกฟีฟ่าที่ทีมชาติไทยทำอันดับได้ดีที่สุด คือ อันดับที่ 42 ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2541 ปัจจุบันทีมชาติไทยอยู่อันดับที่ 122 ของโลก อันดับที่ 23 ของเอเชีย และอยู่ในอันดับที่ 3 ของอาเซียน จากการจัดอันดับโดยฟีฟ่า (12 เมษายน พ.ศ. 2561).

ใหม่!!: โลกและฟุตบอลทีมชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1

ทธศักราช 1 ใกล้เคียงกับ ก่อน..

ใหม่!!: โลกและพ.ศ. 1 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2439

ทธศักราช 2439 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1896 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โลกและพ.ศ. 2439 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2453

ทธศักราช 2453 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1910 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โลกและพ.ศ. 2453 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2461

ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: โลกและพ.ศ. 2461 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2467

ทธศักราช 2467 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1924 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โลกและพ.ศ. 2467 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โลกและพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: โลกและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โลกและพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: โลกและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: โลกและพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โลกและพ.ศ. 2513 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โลกและพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โลกและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: โลกและพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: โลกและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: โลกและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2571

ทธศักราช 2571 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2028 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: โลกและพ.ศ. 2571 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2605

ทธศักราช 2605 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2062 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โลกและพ.ศ. 2605 · ดูเพิ่มเติม »

พรหมัน

ตามความเชื่อในศาสนาฮินดู พรหมัน (อ่านว่า พฺรม-มัน; ब्रह्मन्) คือความเป็นจริงสูงสุด เป็นสิ่งสัมบูรณ์ ไม่มีรูปร่าง ไร้ขีดจำกัด เป็นพระวิญญาณบริสุทธิ์ เป็นที่มาและจุดหมายปลายทางของสรรพสิ่งในสกลจักรวาล คัมภีร์อุปนิษัทระบุว่าสรรพสัตว์รับรู้พรหมันได้ใน 2 ลักษณะ คือ.

ใหม่!!: โลกและพรหมัน · ดูเพิ่มเติม »

พระผู้สร้าง

ระยาห์เวห์ทรงสร้างอาดัม พระผู้สร้าง (Creator) หมายถึง พระเป็นเจ้า (ตามความเชื่อแบบเอกเทวนิยม) หรือเทวดาผู้เป็นใหญ่ (ตามความเชื่อแบบพหุเทวนิยม) ที่มีอำนาจบันดาลให้โลก (ทั้งเอกภพและจักรวาล) เกิดขึ้น.

ใหม่!!: โลกและพระผู้สร้าง · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่ภูมี

ระแม่ภูมี (भूमि; Bhūmi) หรือ พระแม่ภู เป็นพระเทวีแห่งโลก ปรากฏในตำนานทั้งศาสนาพราหมณ์-ศาสนาฮินดู ในฐานะชายาองค์ที่สองของพระวิษณุ ซึ่งเป็นธิดาองค์ที่3ของท้าวหิมวัตและพระนางเมนกา แล้วยังเป็นพี่น้องกับพระแม่คงคาและพระแม่อุมาเทวีอีกด้วย โดยคล้ายกับความเชื่อเรื่องพระแม่ธรณีในศาสนาพุท.

ใหม่!!: โลกและพระแม่ภูมี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่องค์ธรรม

อักษร 母 ''หมู่'' หมายถึง ''''พระแม่องค์ธรรม'''' พระเป็นเจ้าตามความเชื่อของลัทธิเซียนเทียนเต้าและอีก 5 ลัทธิที่แตกแขนงออกมา พระแม่องค์ธรรม (老母 เหลาหมู่)สายทอง (พงศาธรรม ๑), ศุภนิมิต ผู้แปล, กรุงเทพฯ: ส่งเสริมคุณภาพชีวิต, ม.ป.ป., หน้า 9 คือพระเป็นเจ้าตามความเชื่อของลัทธิบัวขาว รวมถึงลัทธิศาสนาต่าง ๆ ในประเทศจีนที่สืบมาจากลัทธินี้ด้วย เช่น ลัทธิเซียนเทียนเต้า ลัทธิอนุตตรธรรม ลัทธิถงซั่นเซ่อ ลัทธิฉือฮุ่ยถัง ลัทธิเทียนเต๋อเซิ่ง และลัทธิเต้าเยวี่ยน, Division of Religion and Philosophy, University of Cumbria, เรียกข้อมูลวันที่ 7 มกราคม..

ใหม่!!: โลกและพระแม่องค์ธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่ปฤถวี

ระแม่ปฤถวี (Prithvi) เป็นเทวีแห่งโลก ปรากฏในตำนานศาสนาพราหมณ์-ศาสนาฮินดู ปัจจุบันรู้จักในนามพระแม่ภูมี ซึ่งเป็นชายาองค์ที่สองของพระวิษณุ และคล้ายกับความเชื่อเรื่องพระแม่ธรณีในศาสนาพุท.

ใหม่!!: โลกและพระแม่ปฤถวี · ดูเพิ่มเติม »

พร็อกซิมาคนครึ่งม้า บี

ร็อกซิมาคนครึ่งม้า บี (Proxima Centauri b) หรือเรียก พร็อกซิมา บี (Proxima b) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบในเขตอาศัยได้ โคจรรอบดาวฤกษ์พร็อกซิมาคนครึ่งม้า ซึ่งเป็นดาวฤกษ์ประเภทดาวแคระแดงในกลุ่มดาวคนครึ่งม้า และถือเป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด โดยห่างจากโลกราว 4.2 ปีแสง (1.3 พาร์เซก หรือ 40 ล้านล้านกิโลเมตร) ทำให้ดาวเคราะห์นอกระบบดวงนี้เป็นดาวเคราะห์ที่มีศักยภาพต่อการอยู่อาศัยได้ที่อยู่ใกล้ระบบสุริยะมากที่สุดเท่าที่รู้จัก ดาวพร็อกซิมาคนครึ่งม้า บี ค้นพบโดยคณะนักดาราศาสตร์จากหอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป ประกาศการค้นพบในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: โลกและพร็อกซิมาคนครึ่งม้า บี · ดูเพิ่มเติม »

พลีสทีชเชอร์ สอนนักรักซะ

ลีสทีชเชอร์ สอนนักรักซะ (Please Teacher!) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวโรแมนติกคอเมดี้ มีเนื้อหาเกี่ยวกับเด็กนักเรียนมัธยมปลายคนหนึ่งที่ถูกสถานการณ์บังคับให้แต่งงานกับครูประจำชั้น ซึ่งความจริงแล้วเป็นมนุษย์ต่างดาวที่ถูกส่งมาสำรวจโลก บริษัทโดมุเป็นผู้สร้าง พลีสทีชเชอร์ สอนนักรักซะ ในรูปแบบภาพยนตร์การ์ตูนชุดความยาว 12 ตอน และนำออกแพร่ภาพเป็นครั้งแรกทางสถานี WOWOW ในประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2545 ถึงวันที่ 28 มีนาคม ของปีเดียวกัน นอกจากนี้ยังสร้างโอวีเอ ซึ่งมีเนื้อหาเป็นตอนที่ 13 ของภาคภาพยนตร์การ์ตูนชุด ออกจำหน่ายในวันที่ 25 สิงหาคม 2545 พลีสทีชเชอร์ สอนนักรักซะยังถูกดัดแปลงเป็นมังงะลงตีพิมพ์ในนิตยสารเด็งเกคิไดโอรายเดือน โดยมี ชิซุรุ ฮายาชิยะ เป็นผู้วาดภาพ ในประเทศไทย พลีสทีชเชอร์ สอนนักรักซะ ได้ลิขสิทธิ์จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ Negibose และออกวางจำหน่ายในรูปแบบวีซีดีและดีวีดีลิขสิทธิ์ โดยบริษัท i-Berry.

ใหม่!!: โลกและพลีสทีชเชอร์ สอนนักรักซะ · ดูเพิ่มเติม »

พัลซาร์ปู

ัลซาร์ปู (PSR B0531+21) เป็นดาวนิวตรอนอายุค่อนข้างน้อย และเป็นดาวศูนย์กลางในเนบิวลาปู ซากที่เหลืออยู่ของซูเปอร์โนวา SN 1054 ซึ่งได้รับการสังเกตการณ์อย่างกว้างขวางจากโลกในปี พ.ศ. 1597 พัลซาร์ปูได้รับการค้นพบใน..

ใหม่!!: โลกและพัลซาร์ปู · ดูเพิ่มเติม »

พาราลิมปิกฤดูร้อน 2008

ราลิมปิกฤดูร้อน 2008 (XIII Paralympic Games) เป็นการจัดการแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกครั้งที่ 13 ที่เมืองปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นเจ้าภาพ เริ่มตั้งแต่วันที่ 6 กันยายน ถึง 17 กันยายน พ.ศ. 2551 และ หู จิ่นเทา เป็นประธานในพิธีเปิดการแข่งขัน เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2548 คณะกรรมการโอลิมปิกสากลประกาศคำขวัญของโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 คือ "One World, One Dream" ซึ่งใช้คำขวัญนี้ในการแข่งขันพาราลิมปิกครั้งที่ 13 อีกด้วย การแข่งขันครั้งนี้มีนักกีฬาจากทุกทวีปเข้าร่วมการแข่งขันรวมแล้ว 3,985 คน จาก 148 ประเทศ ซึ่งจะเป็นการแข่งขันพาราลิมปิกที่มีนักกีฬาเข้าร่วมมากที.

ใหม่!!: โลกและพาราลิมปิกฤดูร้อน 2008 · ดูเพิ่มเติม »

พาวเวอร์ดอลส์

right ภาพจากเกม พาวเวอร์ดอลส์ 2 พาวเวอร์ดอลส์ (POWER DoLLS) เป็นเกมซิมูเลชั่นแนววางแผนการรบ พัฒนาโดยบริษัท โคงะโดสตูดิโอ (ปัจจุบันคือ บริษัท โคงะโดสตูดิโอ จำกัด) ซึ่งออกวางจำหน่ายในรูปแบบของเกมคอมพิวเตอร์, PC-FX และ เพลย์สเตชัน เนื้อหาของเกม พาวเวอร์ดอลส์ ได้เริ่มต้นขึ้นในปี..

ใหม่!!: โลกและพาวเวอร์ดอลส์ · ดูเพิ่มเติม »

พาคิเซทัส

พาคิเซทัส (Pakicetus) เป็นวาฬชนิดแรกๆของโลก อาศัยอยู่เมื่อ 50 ล้านปีมาแล้วประมาณยุคเทอร์เชียรี ยาวประมาณ 2 เมตร ใช้ชีวิตอยู่บนบกและในน้ำ เป็นวาฬพวกแรกๆที่รู้จัก รูปร่างตอนอยู่บนบกจะมีรูปร่างคล้ายหมาป่า เขาเชื่อกันว่ามันคือ ปลาวาฬที่วิ่งเดินได้ ชื่อของมันมาจากสถานที่มันถูกค้นพบคือ ปากีสถาน thumbnail หมวดหมู่:วาฬ หมวดหมู่:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมยุคก่อนประวัติศาสตร์ในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:สัตว์ที่พบในประเทศปากีสถาน.

ใหม่!!: โลกและพาคิเซทัส · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑสถาน

ท้องฟ้าจำลอง พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ตั้งอยู่ที่กรุงเทพมหานคร พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ พิพิธภัณฑ์ที่เปิดให้สาธารณชนเข้าชมได้แห่งแรกของโลก ตั้งอยู่ที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส หอศิลป์อุฟฟีซี เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดในอิตาลี เกาะพิพิธภัณฑ์ ตั้งอยู่ที่เบอร์ลิน พิพิธภัณฑ์บริติช ตั้งอยู่ที่ลอนดอน พิพิธภัณฑ์อินเดีย ตั้งอยู่ที่โกลกาตา ประเทศอินเดีย เป็นพิพิธภัณฑเก่าและใหญ่ที่สุดในอินเดีย พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติฟินแลนด์ ตั้งอยู่ที่เฮลซิงกิ พิพิธภัณฑสถาน หรือ พิพิธภัณฑ์ เป็นอาคารหรือสถาบัน ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเก็บรักษาวัตถุที่มนุษย์ทำขึ้น.

ใหม่!!: โลกและพิพิธภัณฑสถาน · ดูเพิ่มเติม »

พิธีกรรมในงานศพไทย

ีกรรมในงานศพไทย แบ่งออกเป็น 3 พิธี ได้แก่ พิธีรดน้ำศพ พิธีสวดอภิธรรม และพิธีฌาปณก.

ใหม่!!: โลกและพิธีกรรมในงานศพไทย · ดูเพิ่มเติม »

พื้นดิน

แผนที่แสดงเนื้อที่ของพื้นดินบนโลก โดยใช้เฉดสีเขียวและเหลือง พื้นดิน หรือ แผ่นดิน (Land หรือ dry land) คือ พื้นผิวที่เป็นของแข็งบนโลกซึ่งไม่ได้ครอบคลุมถึงพื้นน้ำ พื้นดินเป็นพื้นที่ประกอบกิจกรรมส่วนใหญ่ของมนุษย์ตลอดประวัติศาสตร์ซึ่งมีคุณูปการต่อการเกษตรกรรม ที่อยู่อาศัย และเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ สิ่งมีชีวิตบนพื้นดินบางชนิด เช่น พืชบกและสัตว์บก ได้พัฒนาจากสายพันธ์ดั้งเดิมซึ่งเคยอาศัยอยู่ในน้ำมาก่อน พื้นที่ซึ่งเป็นบริเวณที่พื้นดินติดกับพื้นน้ำจะถูกเรียกว่าพื้นที่ชายฝั่ง การแบ่งแยกระหว่างพื้นดินและพื้นน้ำเป็นแนวคิดพื้นฐานของมนุษย์ซึ่งแตกต่างออกไปตามเขตอำนาจในแต่ละท้องที่หรือปัจจัยอื่น ๆ เขตแดนทางทะเลเป็นตัวอย่างหนึ่งของการแบ่งแยกโดยใช้หลักทางการเมือง มีเขตแดนทางธรรมชาติหลายอย่างซึ่งช่วยในการกำหนดพื้นน้ำและพื้นดินได้อย่างชัดเจน ธรณีสัณฐานที่เป็นหินแข็งจะแบ่งแยกได้ง่ายกว่าเขตแดนที่เป็นบึงหรือแอ่งน้ำเมื่อไม่มีตำแหน่งที่ชัดเจนของบริเวณที่เป็นจุดสิ้นสุดของพื้นดินและจุดเริ่มต้นของพื้นน้ำ การแบ่งแยกอาจแตกต่างกันไปตามกระแสน้ำและสภาพอาก.

ใหม่!!: โลกและพื้นดิน · ดูเพิ่มเติม »

พีทีวี นิวส์

ีทีวี นิวส์ PTV News (ชื่อเดิมคือ PTV World) เป็นสถานีข่าวตลอด 24 ชั่วโมง จากประเทศปากีสถาน เป็นข่าวภาคภาษาอังกฤษและภาษาอุรดูโดยเฉพาะกลุ่มชาวปากีสถาน จะมีรายการข่าวภาคภาษาอังกฤษ อากรับ/Sindhi/Gujrati/Pashto/Kashmiri ตั้งแต่เป็นปี..

ใหม่!!: โลกและพีทีวี นิวส์ · ดูเพิ่มเติม »

กฎบัตรซาราโกซา

กฎบัตรซาราโกซา 2551 (THE 2008 ZARAGOZA CHARTER) การจัดแสดงนิทรรศการนานาชาติ ณ เมืองซาราโกซา เป็นการจัดแสดงนิทรรศการครั้งแรกที่กำหนดแนวคิดหลัก คือ น้ำและการพัฒนาที่ยั่งยืน (Water and Sustainable Development) และจัดแสดงที่ริมฝั่งแม่น้ำเอโบร เมืองซาราโกซา ราชอาณาจักรสเปน โดยมีประเทศต่างๆ เข้าร่วมงานถึง 104 ประเทศ องค์กรระดับนานาชาติ 3 แห่ง ตลอดจนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเมืองต่างๆในราชอาณาจักรสเปน องค์การนิทรรศการนานาชาติ หรือ BIE หรือ (The Bureau International des Expositions; International Exhibitions Bureau) ได้ให้คำแนะนำแนวคิดการจัดแสดงนิทรรศการครั้งนี้ให้สอดคล้องกับงานขององค์การสหประชาชาติเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำ BIE ตั้งเป้าหมายการจัดนิทรรศการระดับนานาชาติที่แสดงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยตรง และเป็นการให้ความรู้แก่สาธารณชน การจัดงานที่ซาราโกซาครั้งนี้ตั้ง เป้าหมาย ให้ผู้เข้าชมหลายล้านคนได้รับความรู้เกี่ยวกับน้ำและปัญหาในการพัฒนาที่ยั่งยืน นอกจากงานนี้จะเป็นแหล่งรวมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแล้ว กิจกรรมของการประชุมสัมมนาเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำ (Water Tribune)เป็นการถ่ายทอดความรู้และทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ ตลอดจนความท้าทายในการจัดการทรัพยากรน้ำที่มนุษยชาติกำลังประสบอยู่ในปัจจุบันและในอนาคต ตลอดระยะเวลา 93 วันของการจัดแสดงนิทรรศการ เวทีนี้เป็นกิจกรรมใหญ่ที่สุดและรวบรวมกิจกรรมระดับนานาชาติเกี่ยวกับน้ำและการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งหมดไว้ การประชุมสัมมนาทรัพยากรน้ำนี้ เสร็จสิ้นก่อนวันปิดงานแสดงนิทรรศการเป็นเวลา 2 วัน โดยการนำเสนอบทสรุปและการวิเคราะห์ในรูปของกฎบัตรซาราโกซา 2008 (The 2008 Zaragoza Charter).

ใหม่!!: โลกและกฎบัตรซาราโกซา · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายอวกาศ

กฎหมายอวกาศ (อังกฤษ: space law) เป็นของเขตของกฎหมายซึ่งครอบคลุมกฎหมายประเทศและกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมในอวกาศ ทนายความระหว่างประเทศยังไม่สามารถตกลงเพื่อกำหนดคำจำกัดความของ "อวกาศ" ได้ ถึงแม้ว่าทนายความส่วนใหญ่จะเห็นด้วยว่าอวกาศโดยทั่วไปเริ่มต้นจากความสูงที่ต่ำที่สุดที่วัตถุสามารถโคจรรอบโลกได้ คือ ประมาณ 100 กิโลเมตรจากระดับน้ำทะเล การก่อตั้งขอบเขตของกฎหมายอวกาศเริ่มขึ้นเมื่อมีการส่งดาวเทียมดวงแรกของโลก สปุตนิก โดยสหภาพโซเวียตในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: โลกและกฎหมายอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

กฎของทิทิอุส-โบเดอ

กฎของทิทิอุส-โบเดอ (Titius–Bode law) หรือบางแห่งเรียกว่า กฎของโบเดอ คือสมมุติฐานเกี่ยวกับวงโคจรของวัตถุทางดาราศาสตร์ที่ค่ากึ่งแกนเอกต่างๆ กันกับดวงอาทิตย์ ว่ามีความสัมพันธ์ในลักษณะเอกซ์โพเนนเชียลตามลำดับของดาวเคราะห์ ถูกเสนอขึ้นในปี..

ใหม่!!: โลกและกฎของทิทิอุส-โบเดอ · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศโคลัมเบีย

กระสวยอวกาศโคลัมเบีย (Orbiter Vehicle Designation: OV-102) เป็นกระสวยอวกาศลำแรกที่ใช้งานจริงของนาซา ซึ่งภารกิจแรกในเที่ยวบิน STS-1 เมื่อวันที่ 12 เมษายน ถึง 14 เมษายน ในปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ.1981) จนมาถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 กระสวยอวกาศโคลัมเบียได้เกิดอุบัติเหตุระเบิดขึ้นเหนือรัฐเทกซัสขณะกลับสู่โลก หลังภารกิจครั้งที่ 28 เสร็จสิ้น ทำให้ลูกเรือในยานทั้ง 7 คนเสียชีวิต.

ใหม่!!: โลกและกระสวยอวกาศโคลัมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

กระจุกดาวลูกไก่

กระจุกดาวลูกไก่ หรือ กระจุกดาวไพลยาดีส (Pleiades) หรือวัตถุเมสสิเยร์ M45 หรือ ดาวพี่น้องทั้งเจ็ด เป็นกระจุกดาวเปิดในกลุ่มดาววัว ประกอบด้วยดาวฤกษ์ระดับ B ที่มีประวัติการสังเกตมาตั้งแต่สมัยกลาง นับเป็นหนึ่งในกระจุกดาวที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด และอาจเป็นกระจุกดาวที่มีชื่อเสียงมากที่สุดและสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนด้วยตาเปล่า กระจุกดาวนี้ประกอบด้วยดาวฤกษ์สีน้ำเงินที่มีอายุราว 100 ล้านปี แต่เดิมเคยเชื่อว่าเศษฝุ่นที่ทำให้เกิดการสะท้อนแสงจาง ๆ เรืองรองรอบดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดน่าจะเป็นเศษที่หลงเหลือจากการก่อตัวของกระจุกดาว (จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เนบิวลามายา ตามชื่อดาวมายา) แต่ปัจจุบันเป็นที่ประจักษ์แล้วว่าไม่มีความเกี่ยวข้องกัน เป็นเพียงฝุ่นเมฆในสสารระหว่างดาวที่ดาวฤกษ์กำลังเคลื่อนผ่านเท่านั้น นักดาราศาสตร์คาดการณ์ว่ากระจุกดาวนี้จะมีอายุต่อไปอีกอย่างน้อย 250 ล้านปี หลังจากนั้นก็จะกระจัดกระจายออกไปเนื่องจากปฏิกิริยาแรงโน้มถ่วงที่เกิดจากดาราจักรเพื่อนบ้านใกล้เคียง.

ใหม่!!: โลกและกระจุกดาวลูกไก่ · ดูเพิ่มเติม »

กระจุกดาวแฝด

กระจุกดาวแฝด NGC 884 และ NGC 869 กระจุกดาวแฝด (Double Cluster) เป็นชื่อสามัญที่ใช้เรียกกระจุกดาวเปิดสองแห่ง NGC 884 และ NGC 869 ซึ่งสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า กระจุกดาวทั้งสองอยู่ใกล้ๆ กันในกลุ่มดาวเพอร์ซีอัส โดยอยู่ห่างจากเราไปประมาณ 7,600 และ 6,800 ปีแสง ตามลำดับ จะเห็นว่ากระจุกดาวทั้งสองก็อยู่ใกล้กันมากเช่นเดียวกันในห้วงอวกาศ กระจุกดาวแฝดคู่นี้ถือเป็นกระจุกดาวอายุค่อนข้างน้อย โดย NGC 869 มีอายุประมาณ 5.6 ล้านปี และ NGC 884 มีอายุราว 3.2 ล้านปี ทั้งนี้อ้างอิงจาก 2000 Sky Catalogue ขณะที่กระจุกดาวลูกไก่มีอายุโดยประมาณอยู่ระหว่าง 75 ล้านปีถึง 150 ล้านปี กระจุกดาวทั้งสองมีปรากฏการณ์การเคลื่อนไปทางน้ำเงิน NGC 869 กำลังเคลื่อนเข้าหาโลกด้วยความเร็ว 22 กิโลเมตร/วินาที ส่วน NGC 884 ก็เดินทางเข้าหาโลกด้วยความเร็วใกล้เคียงกันคือ 21 กิโลเมตร/วินาที ลำดับความร้อนสูงที่สุดของมันบนแถบลำดับหลักของดาวฤกษ์อยู่ที่ระดับสเปกตรัม B0.

ใหม่!!: โลกและกระจุกดาวแฝด · ดูเพิ่มเติม »

กระจุกดาวเปิด

กระจุกดาวลูกไก่ หนึ่งในกระจุกดาวเปิดที่มีชื่อเสียงมากที่สุด กระจุกดาวเปิด (Open Cluster) เป็นกลุ่มของดาวฤกษ์จำนวนหลายพันดวงที่รวมกลุ่มกันอยู่ในเมฆโมเลกุลขนาดยักษ์ชุดเดียวกัน และมีแรงโน้มถ่วงดึงดูดต่อกันและกันอย่างหลวมๆ กระจุกดาวเปิดจะพบได้ในดาราจักรชนิดก้นหอยและชนิดไร้รูปร่างเท่านั้น ซึ่งเป็นดาราจักรที่ยังมีการก่อตัวของดาวฤกษ์ดำเนินอยู่ โดยทั่วไปมีอายุน้อยกว่าร้อยล้านปี และมักถูกรบกวนจากกระจุกดาวอื่นหรือกลุ่มเมฆที่มันโคจรอยู่ใกล้ๆ ทำให้สูญเสียสมาชิกในกระจุกดาวไปบ้างในการประจันหน้าเช่นนั้น กระจุกดาวเปิดที่มีอายุน้อยอาจยังคงอยู่ในกลุ่มเมฆโมเลกุลซึ่งมันก่อตัวขึ้นมา ส่องแสงและความร้อนจนสามารถสร้างบริเวณเอช 2 ขึ้นมาได้ เมื่อเวลาผ่านไป แรงดันของการแผ่รังสีจากกระจุกดาวจะทำให้เมฆโมเลกุลกระจัดกระจายออกไป โดยทั่วไปมวลของแก๊สในกลุ่มเมฆประมาณ 10% จะรวมเข้าอยู่ในดาวฤกษ์ก่อนที่แรงดันของการแผ่รังสีจะผลักพวกมันออกไปเสีย กระจุกดาวเปิดเป็นวัตถุท้องฟ้าที่สำคัญมากในการศึกษาวิวัฒนาการของดวงดาว เพราะดาวฤกษ์ในกระจุกดาวเดียวกันจะมีอายุใกล้เคียงกันและมีลักษณะทางเคมีคล้ายคลึงกัน การศึกษาผลกระทบต่อตัวแปรอันละเอียดอ่อนต่างๆ ของคุณลักษณะของดวงดาวจึงทำได้ง่ายกว่าการศึกษาดาวฤกษ์เดี่ยวๆ กระจุกดาวเปิดจำนวนหนึ่ง เช่น กระจุกดาวลูกไก่ กระจุกดาวสามเหลี่ยมหน้าวัว หรือ กระจุกดาวอัลฟาเพอร์เซย์ เป็นกระจุกดาวที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า กระจุกดาวบางจำพวกเช่นกระจุกดาวแฝดจะมองเห็นได้ค่อนข้างยากหากไม่ใช้เครื่องมือช่วย ส่วนอื่นๆ ที่เหลือจะมองเห็นได้โดยใช้กล้องสองตาหรือกล้องโทรทรรศน.

ใหม่!!: โลกและกระจุกดาวเปิด · ดูเพิ่มเติม »

กราวิตี้ มฤตยูแรงโน้มถ่วง

กราวิตี้ มฤตยูแรงโน้มถ่วง (Gravity) เป็นภาพยนตร์แนวไซไฟ ร่วมเขียน, ร่วมผลิต, ร่วมตัดต่อ และกำกับโดยอัลฟอนโซ กวารอน นำแสดงโดยซานดรา บุลล็อก และจอร์จ คลูนีย์ โดยรับบทเป็นนักบินอวกาศที่ยังมีชีวิตรอดในสถานีอวกาศที่ได้รับความเสียหาย โดยออกฉายในวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 2013 ในระบบ 3 มิติ และไอแมกซ์ 3 มิต.

ใหม่!!: โลกและกราวิตี้ มฤตยูแรงโน้มถ่วง · ดูเพิ่มเติม »

กลางวัน

วลา 13:00 UTC ของวันที่ 2 เมษายน กลางวันคือพื้นที่สว่างในภาพ กลางวัน (Daytime) โดยทั่วไปหมายถึงช่วงเวลาที่แสงอาทิตย์ได้ฉายลงบนพื้นผิวโลก หรือเท่ากับช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์ขึ้นไปจนถึงดวงอาทิตย์ตก เมื่อโลกหมุนไปตำแหน่งของกลางวันก็จะเปลี่ยนไป ความยาวนานของกลางวันขึ้นอยู่กับตำแหน่งบนโลกและความเอียงของแกนโลกที่หันเข้าหาดวงอาทิตย์ ส่วนด้านที่แสงอาทิตย์ไม่ได้ฉายลงบนโลกเรียกว่ากลางคืน ทำนองเดียวกับดาวเคราะห์อื่นๆ กลางวันคือช่วงเวลาที่พื้นผิวของดาวเคราะห์นั้นได้รับแสงสว่างจากดาวฤกษ์ในระบบสุริยะของตนเอง.

ใหม่!!: โลกและกลางวัน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ (Northwest Semitic languages) เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก มีผู้พูดประมาณ 8 ล้านคนในปัจจุบัน แบ่งได้เป็น 3 สาขา คือ ภาษายูการิติก (ตายแล้ว) ภาษาคานาอันไนต์ (รวมภาษาฮีบรู) และภาษาอราเมอิก บางครั้งรวมกลุ่มภาษานี้เข้ากับภาษาอาหรับแล้วจัดเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง ภาษายูการิติกที่ตายแล้วเป็นหลักฐานรุ่นแรกสุดของกลุ่มภาษานี้ ภาษายูการิติกไม่มีเสียง /dˤ/ (ḍ) แต่แทนที่ด้วยเสียง /sˤ/ (ṣ) (ลักษณะเดียวกับที่ปรากฏในภาษาอัคคาเดีย) เสียงนี้กลายเป็นเสียง /ʕ/ ในภาษาอราเมอิก (ในภาษาอราเมอิกโบราณ เสียงนี้เขียนด้วยอักษรกอฟ) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าภาษายูการิติกไม่ได้เป็นภาษาต้นแบบของกลุ่มนี้ ตัวอย่างการเปลี่ยนเสียงนี้พบได้ในคำว่า “โลก”: ภาษายูการิติก /ʔarsˤ/ (’arṣ), ภาษาฮีบรู /ʔɛrɛsˤ/ (’ereṣ) และภาษาอราเมอิก /ʔarʕaː/ (’ar‘ā’) ภาษายูการิติกต่างจากภาษาในกลุ่มเดียวกันตรงที่ว่ายังคงมีคำที่ขึ้นต้นด้วย /w/ ในขณะที่ภาษาที่เหลือแทนที่ด้วย /y/ แหล่งที่เป็นต้นกำเนิดของภาษานี้ได้แก่บริเวณที่ในปัจจุบันเป็นประเทศอิสราเอล ซีเรีย จอร์แดน เลบานอนและคาบสมุทรไซนาย การเลื่อนเสียงสระจาก /aː/ เป็น /oː/ เป็นการแยกภาษาคานาอันไนต์ออกจากภาษายูการิติก ตัวอย่างการเปลี่ยนเสียง ได้แก.

ใหม่!!: โลกและกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มดาวหมีเล็ก

กลุ่มดาวหมีเล็ก เป็นกลุ่มดาวในซีกฟ้าเหนือ หนึ่งในกลุ่มดาว 48 กลุ่มในรายการของทอเลมี และยังเป็นกลุ่มดาวในรายชื่อกลุ่มดาว 88 กลุ่มที่รับรองโดยสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล ปัจจุบันกลุ่มดาวนี้อยู่ในบริเวณขั้วฟ้าเหนือ แต่ไม่ได้เป็นเช่นนี้ตลอดไป เพราะแกนหมุนของโลกมีการส่าย หมวดหมู่:กลุ่มดาว หมวดหมู่:กลุ่มดาวหมีเล็ก.

ใหม่!!: โลกและกลุ่มดาวหมีเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20

กลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20 (สีฟ้าอ่อน คือกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป) กลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20 (Group of Twenty Finance Ministers and Central Bank Governors) ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2542 เป็นกลุ่มรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และผู้บริหารธนาคารกลางจากประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจขนาดใหญ่ 19 ประเทศ รวมกับสหภาพยุโรป (อียู) ประเทศทั้ง 19 ประเทศ ประกอบด้วยกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำ 8 ประเทศ (จี-8) คือ อังกฤษ แคนาดา ฝรั่งเศส อิตาลี ญี่ปุ่น เยอรมนี รัสเซีย และสหรัฐอเมริกา และกลุ่มประเทศระบบเศรษฐกิจเกิดใหม่ขนาดใหญ่อีก 11 ประเทศ ซึ่งประกอบด้วย อาร์เจนตินา ออสเตรเลีย บราซิล จีน อินเดีย อินโดนีเซีย เม็กซิโก ซาอุดีอาระเบีย แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้ และตุรกี ประเทศในกลุ่มจี 20 มีขนาดเศรษฐกิจรวมกันเท่ากับร้อยละ 90 ของเศรษฐกิจโลก และมีประชากรรวมกันประมาณ 2 ใน 3 ของโลก.

ใหม่!!: โลกและกลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20 · ดูเพิ่มเติม »

กลีเซอ 317 บี

กลีเซอ 317 บี เป็นดาวเคราะห์นอกระบบ ที่อยู่ห่างออกไปจากโลกประมาณ 50 ปีแสง โดยอยู่ในกลุ่มดาวเข็มทิศ เป็นดาวที่ประกาศไว้ในปี ค.ศ. 2007 เป็นดาวที่โคจรอยู่ในวงโคจรของดาวแคระแดง คือ กลีเซอ 317 เป็นวงโคจรดาวแก๊สยักษ์มีประมาณ 95% ระยะห่างระหว่างโลกกับดวงอาทิต.

ใหม่!!: โลกและกลีเซอ 317 บี · ดูเพิ่มเติม »

กลีเซอ 581

กลีเซอ 581 (Gliese 581, กฺลี-เสอะ) เป็นดาวแคระแดงในกลุ่มดาวคันชั่ง อยู่ห่างจากโลก 20.3 ปีแสง มีชนิดสเปกตรัมเป็น M3V ดาวดวงนี้จัดเป็นดาวแปรแสงชนิด เอชโอ ไลเบร ค้นพบเป็นครั้งแรกโดย เฟรดริค วิลเฮล์ม ออกุสต์ อาร์เจแลนเดอร์ ในปี ค.ศ. 1863 และตีพิมพ์ลงในแค็ตตาล็อกดาว บีดี ในชื่อ บีดี-07° 4003 กลีเซอ 581 เมื่อเปรียบเทียบกับดวงอาทิตย์ของเรา ดาวเคราะห์ของกลีเซอ 581 กลีเซอ 581 มีมวลประมาณหนึ่งในสามของดวงอาทิตย์ของเรา และเชื่อว่ามีดาวเคราะห์อย่างน้อย 3 ดวงโคจรอยู่รอบๆ ดวงแรกคือ กลีเซอ 581 บี มีขนาดใกล้เคียงกับดาวเนปจูน ค้นพบในปี พ.ศ. 2549 ดวงที่สองคือ กลีเซอ 581 ซี มีขนาด 1.5 เท่าของโลก ค้นพบในปี พ.ศ. 2550 มีความเป็นไปได้ว่าจะเป็นดาวเคราะห์นอกระบบหินแข็งดวงแรก นอกจากนี้ยังมีข้อมูลอีกว่ามีความเป็นไปได้ที่จะมีดาวเคราะห์ดวงที่สาม กลีเซอ 581 ดี ซึ่งมีมวลประมาณ 8 เท่าของโลกและมีคาบการโคจร 84 วัน.

ใหม่!!: โลกและกลีเซอ 581 · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) คือ กล้องโทรทรรศน์ในวงโคจรของโลกที่กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีนำส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อเดือนเมษายน..

ใหม่!!: โลกและกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล · ดูเพิ่มเติม »

กวม

กวม (Guam; ชามอร์โร: Guåhån) หรือชื่อทางการว่า ดินแดนกวมของสหรัฐอเมริกา (U.S. Territory of Guam) เป็นเกาะหนึ่งในมหาสมุทรแปซิฟิก และเป็นดินแดนที่ยังไม่ได้ปกครองตนเองของสหรัฐอเมริกา ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวชามอร์โรซึ่งอพยพมาอยู่ที่เกาะเป็นครั้งแรกเมื่อ 3,500 ปีมาแล้ว กวมเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและอยู่ทางใต้สุดของหมู่เกาะมาเรียนา มีเมืองหลวงคือ ฮากัตญา (Hagåtña) เดิมเรียกว่า "อากาญา" (Agana) รายได้หลักของเกาะมาจากการท่องเที่ยว (โดยเฉพาะจากญี่ปุ่น) และจากการเป็นฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกา สหประชาชาติจัดให้กวมอยู่ในรายชื่อดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองและมีประชากรทั้งเกาะประมาณ 173,000คน.

ใหม่!!: โลกและกวม · ดูเพิ่มเติม »

กันยายน พ.ศ. 2546

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โลกและกันยายน พ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

การชนกับนิบิรุ

การชนกับนิบิรุ เป็นแนวคิดที่เสนอว่าอาจมีการชนกันครั้งหายนะระหว่างโลกกับวัตถุดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ (ซึ่งอาจชนหรือพลาดไปอย่างเฉียดฉิว) ซึ่งมีคนบางกลุ่มเชื่อว่าเหตุการณ์ดังกล่าวจะเกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ผู้ที่เชื่อว่าเหตุการณ์สิ้นโลกดังกล่าวจะเกิดขึ้นนั้นมักเรียกวัตถุนี้ว่า ดาวเคราะห์เอกซ์ หรือนิบิรุ แนวคิดที่ว่าวัตถุที่มีขนาดเท่าดาวเคราะห์อาจชนกับโลกหรือเคลื่อนที่ผ่านโลกไปในอนาคตอันใกล้นี้ไม่ได้รับการสนับสนุนจากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ใด นักดาราศาสตร์และนักวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์ปฏิเสธแนวคิดดังกล่าวโดยระบุว่าเป็นการสรุปผลโดยปราศจากข้อเท็จจริง แนวคิดดังกล่าวได้รับการเสนอครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: โลกและการชนกับนิบิรุ · ดูเพิ่มเติม »

การชนกันของดาราจักรแอนดรอมิดากับทางช้างเผือก

แนวคิดของนาซา ในการชนกันของดาราจักรโดยใช้ภาพคอมพิวเตอร์สร้างขึ้น การชนกันของดาราจักรแอนดรอมิดากับดาราจักรทางช้างเผือก (Andromeda–Milky Way collision) เป็นการชนกันของดาราจักร ซึ่งคาดว่าจะเกิดขึ้นในประมาณ 4 พันล้านปี ระหว่าง 2 ดาราจักรที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มท้องถิ่น คือ ดาราจักรทางช้างเผือก ซึ่งประกอบด้วยระบบสุริยะและโลก กับดาราจักรแอนดรอมิดาMuir, Hazel.

ใหม่!!: โลกและการชนกันของดาราจักรแอนดรอมิดากับทางช้างเผือก · ดูเพิ่มเติม »

การกัดกร่อน

นิม การกัดกร่อนโลหะที่พบได้บ่อย การกัดกร่อน (corrosion) หมายถึงภาวะซึ่งวัตถุหรือสิ่งประดิษฐ์ทางด้านวิศวกรรมทำปฏิกิริยากับสภาพแวดล้อม ทำให้ให้เกิดการเสื่อมสภาพของวัตถุนั้น ส่งผลให้ประสิทธิภาพการทำการทำงานหรือวัตถุประสงค์การใช้งานลดลง.

ใหม่!!: โลกและการกัดกร่อน · ดูเพิ่มเติม »

การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์

การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ หมายถึงการกระทำที่เกี่ยวข้องกับการคัดลอกซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับอนุญาต โดยมีหลายประเทศที่มีกฎหมายลิขสิทธิ์ที่มีกฎหมายบังคับ แต่ระดับการบังคับแตกต่างกันไป ระบบคอมพิวเตอร์ที่เก่าแก่ที่สุดในทุกวันนี้มีอายุราว 40 ปี ในด้านลิขสิทธิ์แล้วจะไม่หมดลิขสิทธิ์ไปจนราวปี..

ใหม่!!: โลกและการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ · ดูเพิ่มเติม »

การวัด

หน่วยวัดบางชนิดที่เกี่ยวข้องกับร่างกายมนุษย์ ในทางวิทยาศาสตร์ การวัด คือกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งขนาดของปริมาณอันหนึ่ง เช่นความยาวหรือมวล และเกี่ยวข้องกับ หมวดหมู่:มาตรวิทยา โครงวิทย์.

ใหม่!!: โลกและการวัด · ดูเพิ่มเติม »

การสลายให้อนุภาคแอลฟา

การสลายให้อนุภาคแอลฟาการสลายให้อนุภาคแอลฟา (Alpha decay) เป็นรูปแบบหนึ่งของการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีซึ่งนิวเคลียสอะตอมจะปลดปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมา ดังนั้นจึงเปลี่ยนสภาพ (หรือ 'สลาย') อะตอมโดยสูญเสียเลขมวล 4 และเลขอะตอม 2 เช่น: U \rightarrow Th + He^ Suchocki, John.

ใหม่!!: โลกและการสลายให้อนุภาคแอลฟา · ดูเพิ่มเติม »

การสำรวจด้วยคลื่นไหวสะเทือนแบบสะท้อน

การสำรวจด้วยคลื่นไหวสะเทือนแบบสะท้อน (Reflection seismology หรือ Seismic reflection) เป็นรูปแบบการสำรวจทางธรณีฟิสิกส์อย่างหนึ่งซึ่งใช้หลักการของวิทยาแผ่นดินไหวในการประมาณสิ่งที่อยู่ใต้ผิวของโลกจากคลื่นแผ่นดินไหวที่สะท้อนกลับมา การสำรวจด้วยวิธีการดังกล่าวจำเป็นต้องอาศัยแหล่งพลังงานกำเนิดแผ่นดินไหวที่อยู่ภายใต้การควบคุม เช่น ไดนาไมต์ เป็นต้น โดยการจดบันทึกเวลาที่ใช้ในการสะท้อนกลับเข้าสู่ตัวรับคลื่น ทำให้การประมาณความลึกของพื้นผิวซึ่งทำให้เกิดการสะท้อนนั้นเป็นไปได้ ซึ่งเป็นวิธีการเดียวกันกับโซนาร์และการหาตำแหน่งของวัตถุโดยใช้เวลาและทิศทาง.

ใหม่!!: โลกและการสำรวจด้วยคลื่นไหวสะเทือนแบบสะท้อน · ดูเพิ่มเติม »

การสืบเชื้อสายร่วมกัน

ในสาขาชีววิทยาวิวัฒนาการ การสืบเชื้อสายร่วมกัน หรือ การสืบสกุลร่วมกัน (Common descent) เป็นทฤษฎีที่อธิบายว่ากลุ่มสิ่งมีชีวิตหนึ่ง ๆ ได้มีบรรพบุรุษร่วมกันใกล้สุด (most recent common ancestor, MRCA) อย่างไร มีหลักฐานว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหมดบนโลกสืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษร่วมกัน และในปี 2559 นักวิทยาศาสตร์ก็ได้ระบุยีน 355 ตัวจากบรรพบุรุษร่วมกันของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่ยังมีชีวิตอยู่บนโลก สิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กันจะมีบรรพบุรุษร่วมกันในช่วงการเกิดสปีชีส์ ที่สปีชีส์ต่าง ๆ จะกำเนิดจากกลุ่มบรรพบุรุษเดียวกัน โดยกลุ่มที่มีบรรพบุรุษร่วมกันใกล้กันกว่า ก็จะเป็นญาติใกล้ชิดกันมากกว่า และสิ่งมีชีวิตที่ยังมีชีวิตอยู่ทั้งหมดก็ได้มีบรรพบุรุษร่วมกันที่เรียกว่า บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก (LUCA) ซึ่งมีชีวิตประมาณ 3,900 ล้านปีก่อน (โดยโลกเกิดเมื่อ 4,450 ล้านปี ± 1% ก่อน) หลักฐานที่เก่าแก่ที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก 2 ชิ้นก็คือ.

ใหม่!!: โลกและการสืบเชื้อสายร่วมกัน · ดูเพิ่มเติม »

การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่

ำลองเหตุการณ์ดาวเคราะห์น้อยพุ่งเข้าชนโลก เมื่อ 65 ล้านปีที่แล้ว การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ (mass extinction) เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เป็นข้อสันนิษฐานว่า เป็นสาเหตุให้สิ่งมีชีวิตบนโลกหลากชนิดหลายสายพันธุ์ต้องสูญพันธุ์ไปในเวลาพร้อมๆกันหรือไล่เลี่ยกัน เหตุการณ์การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ ไม่ได้เกิดขึ้นแค่เพียงครั้งเดียว ในช่วง ยุคครีเตเชียส (Cretaceous) ซึ่งเป็นยุคที่ไดโนเสาร์เป็นสิ่งมีชีวิตอันดับบนสุดของห่วงโซ่อาหารอย่างที่คนทั่วไปเข้าใจ หากแต่การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่เคยเกิดขึ้นมาแล้วหลายครั้ง การประเมินระยะเวลาการเกิดเหตุการณ์ ทำโดยการวินิจฉัยจากซากฟอสซิลจากทะเลเป็นส่วนใหญ่ เนื่องมาจากว่าสามารถ ค้นพบได้ง่ายกว่าฟอสซิลที่อยู่บนบก เหตุการณ์การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ที่เป็นที่สนใจและผู้คนทั่วไปรู้จักกันดีที่สุดคือ เหตุการณ์การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ในช่วงยุคครีเตเชียส (Cretaceous) เมื่อราว 65 ล้านปีที่แล้ว ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ไดโนเสาร์ขนาดใหญ่สูญพันธุ์ทั้งหมด เมื่อทำการศึกษาพบว่าตั้งแต่ 550 ล้านปีก่อนเป็นต้นมา ได้เกิดการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ขึ้นทั้งหมดประมาณ 5 ครั้ง ซึ่งทำให้สิ่งมีชีวิตสูญพันธุ์ไปราวๆ 50% ของทั้งหมด เนื่องจากระยะเวลาที่เกิดขึ้นนานมาก การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ก่อนหน้ายุคครีเตเชียสมักลำบากในการศึกษารายละเอียด เพราะหลักฐานซากฟอสซิลสำหรับตรวจสอบมีหลงเหลือน้อยมาก.

ใหม่!!: โลกและการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

การหมุน

ทรงกลมหมุนรอบแกน การหมุน (Rotation) เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุรอบตัวเองในทิศทางเป็นวงกลม วัตถุสองมิติจะหมุนรอบจุด วัตถุสามมิติจะหมุนรอบแกน ถ้าจุดศูนย์กลางการหมุนอยู่ภายนอกวัตถุ จะเรียกว่าการโคจร เช่น การโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ หมวดหมู่:กลศาสตร์ดั้งเดิม หมวดหมู่:เรขาคณิตแบบยุคลิด หมวดหมู่:ฟิสิกส์ หมวดหมู่:การกำหนดทิศทาง หมวดหมู่:การหมุน.

ใหม่!!: โลกและการหมุน · ดูเพิ่มเติม »

การหมุนควง

การหมุนควงของไจโรสโคป การหมุนควง หมายถึง การหมุนของวัตถุรอบแกน โดยแกนในการหมุนก็หมุนเป็นวงกลมอยู่ด้วย เช่น การหมุนของโลกและดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ มันสามารถกำหนดเป็นความเปลี่ยนแปลงในทิศทางของแกนหมุนที่มุมออยเลอร์ที่สอง (Euler angle) (การแกว่ง) เป็นค่าคงที่ แรงบิดฟรีและแรงบิดเหนี่ยวนำ: ในวิชาฟิสิกส์, การหมุนควงมีสองประเภท คือ: แรงบิดอิสระ (torque-free) และแรงบิดเหนี่ยวนำ (torque-induced) ในทางดาราศาสตร์, "การหมุนควง" หมายถึงการเปลี่ยนแปลงใด ๆ อย่างช้า ๆ ในหลาย ๆ พารามิเตอร์ของการหมุนหรือการโคจรของวัตถุทางดาราศาสตร์, และโดยเฉพาะอย่างยิ่งการหมุนควงของอิควิน็อกซ์ (precession of the equinoxes) ของโลก ดูส่วนดาราศาสตร์ (ด้านล่าง).

ใหม่!!: โลกและการหมุนควง · ดูเพิ่มเติม »

การคว่ำบาตร

การคว่ำบาตร (boycott) หมายถึง การยุติการติดต่อกันในมิติใดมิติหนึ่ง เพื่อประโยชน์ในการลงโทษ ต่อรอง หรือเพื่อตักเตือน โดยที่มาของคำว่าคว่ำบาตรในภาษาไทยมาจากศัพท์ในพระไตรปิฎกเถรวาท แต่ส่วนใหญ่คำว่าคว่ำบาตรในประเทศไทยนั้นมักถูกใช้แทนความหมายของคำว่า boycott ในภาษาอังกฤษ ที่เป็นความหมายในด้านการค้าหรือการเมือง การคว่ำบาตร (boycott หรือ บอยคอต) ในทางการค้า มักจะใช้ในระดับการค้าระหว่างประเทศ โดยกลไกการคว่ำบาตรอาจจะมีทั้ง การไม่ยอมขายสินค้าหรือบริการให้ประเทศคู่ค้า หรือไม่ซื้อสินค้าหรือบริการจากประเทศคู่ค้า หรืออาจจะทั้งสองกรณีก็ได้ การคว่ำบาตรในความหมายทางการค้าจึงถือได้ว่าเป็นอาวุธทางเศรษฐกิจที่ร้ายกาจอย่างหนึ่ง เพื่อใช้ต่อรองให้คู่กรณีจำยอมในข้อตกลงด้านอื่น ๆ เช่น ด้านการทูต การเมือง วัฒนธรรม การทหาร หรือแม้แต่ด้านการค้า เนื่องเพราะทุกประเทศในโลกต้องค้าขายกัน เพื่อแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการที่ตนเองไม่สามารถผลิตเองได้ หรือผลิตได้ไม่พอกับความต้องการในประเท.

ใหม่!!: โลกและการคว่ำบาตร · ดูเพิ่มเติม »

การติดต่อสื่อสารสะท้อนพื้นผิวดวงจันทร์

วงจันทร์ การติดต่อสื่อสารสะท้อนพื้นผิวดวงจันทร์ (Earth-Moon-Earth หรือ Moon bounce) มักเรียกกันสั้นๆ ว่า EME หมายถึงการติดต่อสื่อสารโดยการส่งสัญญาณวิทยุจากโลกไปสะท้อนพื้นผิวของดวงจันทร์กลับมายังโลก ซึ่งพื้นผิวของดวงจันทร์จะสะท้อน คลื่นวิทยุคล้ายกับการติดต่อสื่อสารย่าน HF ที่ใช้ชั้นบรรยากาศสะท้อนคลื่นวิทยุเพื่อช่วยในการติดต่อสื่อสารให้สามารถเกิดขึ้นได้ แต่การใช้ดวงจันทร์สะท้อนคลื่นวิทยุนั้นมีความยากกว่ามาก เนื่องจากดวงจันทร์อยู่ห่างจากโลกมาก ทั้งยังมีการลดทอนสัญญาณที่ผ่านชั้นบรรยากาศ และปัจจัยอื่นๆ อีกหลายอย่าง ดังนั้นการติดต่อ EME นับได้ว่าเป็นความท้าทายอย่างมากของ นักวิทยุสมัครเล่นที่จะทดลอง.

ใหม่!!: โลกและการติดต่อสื่อสารสะท้อนพื้นผิวดวงจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

การปลอมเอกสาร

การปลอมเอกสาร (forgery) หมายถึง กระบวนการทำ ใช้ หรือแปลงซึ่งวัตถุ สถิติ หรือเอกสารใด ๆ ภายในวัตถุประสงค์เพื่อการหลอกลวง สำหรับ "การปลอมเงินหรือตราสาร" (counterfeit) นั้นเป็นความผิดในข่ายเดียวกันแต่เป็นอีกจำพวกหนึ่งซึ่งมีรายละเอียดแตกต่างออกไป ส่วนการนำสิ่งที่ปลอมหรือแปลงดังกล่าวไปใช้เรียก "การใช้เอกสารปลอม" (uttering) นอกจากนี้ ยังมีการปลอมหรือแปลงเครื่องอุปโภคบริโภคซึ่งกระทำโดยผู้ที่มิใช่ผู้ผลิตหรือผู้ได้รับมอบหมายให้ผลิตตัวจริง แต่นำยี่ห้อ ธง หรือเครื่องหมายการค้าของเขาไปใช้ เรียก "การปลอมแปลงเครื่องหมายการค้า" (misbranding) การปลอมหรือแปลงสิ่งข้างต้น กับทั้งการใช้ของปลอมดังกล่าวนี้ ถือเป็นความผิดอาญาตามกฎหมายของประเทศส่วนใหญ่ในโลกรวมถึงประเทศไทยเรา การปลอมเอกสาร หมวดหมู่:ความผิดอาญา หมวดหมู่:การเสแสร้ง หมวดหมู่:มิจฉาชีพ หมวดหมู่:อาชญากรรม.

ใหม่!!: โลกและการปลอมเอกสาร · ดูเพิ่มเติม »

การแสดงแผนที่

ำนักข่าวกรองกลางสหรัฐอเมริกา โดยทั่วไปแล้วการแสดงแผนที่ คือระบบการเปลี่ยนตำแหน่งของละติจูดและลองจิจูดบนพื้นผิวทรงกลมซึ่งในที่นี้คือโลก ให้มาอยู่บนแผ่นกระดาษที่มีลักษณะเรียบ ดังนั้นการแสดงแผนที่จึงเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับการทำแผนที่ การแสดงแผนที่มีอยู่ด้วยกันหลายประเภท ซึ่งในแต่ละประเภทมีข้อจำกัดที่เกิดจากการบิดเบี้ยวSnyder.

ใหม่!!: โลกและการแสดงแผนที่ · ดูเพิ่มเติม »

การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค

แผนที่แสดงแผ่นเปลือกโลก แผ่นเปลือกโลก การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค (plate tectonics; มาจากภาษากรีก: τέκτων, "tektōn" แปลว่า "ผู้สร้าง") เป็นทฤษฎีเชิงธรณีวิทยาที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่ออธิบายถึงหลักฐานจากการสังเกตการเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกขนาดใหญ่ โดยทฤษฎีนี้ได้พัฒนาต่อยอดจากทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีปเดิมที่ถูกเสนอขึ้นมาระหว่าง พ.ศ. 2443-2493 ทฤษฎีธรณีแปรสัณฐานนี้ได้รับการยอมรับเป็นที่แพร่หลายหลังจากการเสนอแนวคิดที่เกี่ยวกับการกระจายของพื้นทะเลในคริสต์ทศวรรษที่ 1960 (ช่วงต้น พ.ศ. 2500) โครงสร้างส่วนนอกของโลกนั้นแบ่งตามคุณสมบัติของชั้นหินต่อคลื่นไหวสะเทือนได้สองชั้น ชั้นที่อยู่นอกสุดคือชั้นธรณีภาคชั้นดินแข็ง (lithosphere) อันประกอบด้วยเปลือกโลกและเนื้อโลก (mantle) ชั้นบนซึ่งมีอุณหภูมิต่ำและแข็งเกร็ง ชั้นล่างลงไปคือชั้นฐานธรณีภาคชั้นดินอ่อน (asthenosphere) ซึ่งมีสถานะเป็นของแข็งแต่มีความยืดหยุ่นค่อนข้างต่ำและขาดความแข็งแรง อีกทั้งยังสามารถเคลื่อนที่ได้คล้ายของเหลวเมื่อพิจารณาในช่วงระยะเวลาเชิงธรณีวิทยา ชั้นแมนเทิลที่อยู่ลึกลงไปภายใต้ชั้นดินอ่อนนั้นจะมีความแข็งมากขึ้นอีกครั้ง กระนั้นความแข็งดังกล่าวไม่ได้มาจากการเย็นลงของอุณหภูมิ แต่เนื่องมาจากความดันที่มีอยู่สูง ธรณีภาคแบ่งเป็นแผ่นเปลือกโลกหลายแผ่นประกอบกัน ในกรณีของโลกสามารถแบ่งเป็นแผ่นขนาดใหญ่ได้เจ็ดแผ่น และแผ่นขนาดเล็กอีกจำนวนมาก แผ่นเปลือกโลกเหล่านี้เคลื่อนที่สัมพันธ์กับแผ่นเปลือกโลกอื่นๆ ขอบของเปลือกโลกสามารถแบ่งได้เป็นสามประเภทตามลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกสัมพัทธ์ของแผ่นเปลือกโลกสองแผ่นนั้น คือ ขอบเปลือกโลกที่มีการชนกันหรือบรรจบกัน, ขอบเปลือกโลกที่มีการแยกตัวออกจากกันหรือกระจายจากกัน และขอบเขตที่มีการแปลงสภาพ ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาต่างๆ ได้แก่แผ่นดินไหว, ภูเขาไฟปะทุ, การก่อตัวของภูเขา และการเกิดขึ้นของเหวสมุทรนั้นจะเกิดขึ้นพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของขอบเขตแผ่นดิน การเคลื่อนตัวด้านข้างของแผ่นดินนั้นมีอัตราเร็วอยู่ระหว่าง 0.66 ถึง 8.50 เซนติเมตรต่อปี.

ใหม่!!: โลกและการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค · ดูเพิ่มเติม »

การ์ตูน

ตัวอย่างการ์ตูน ตัวอย่างแอนิเมชัน การ์ตูน (cartoon) คือทัศนศิลป์สองมิติรูปแบบหนึ่ง ซึ่งความหมายที่เฉพาะเจาะจงแปรเปลี่ยนไปตามเวลา ความหมายในสมัยใหม่โดยทั่วไปหมายถึง การวาดเส้นหรือจิตรกรรมแบบกึ่งสัจนิยมหรืออสัจนิยม (กึ่งเหมือนจริงหรือไม่เหมือนจริง) เพื่อการเสียดสี การล้อเลียน ความขบขัน หรือการแสดงออกซึ่งกระบวนแบบเชิงศิลปะ ศิลปินผู้วาดการ์ตูนเรียกว่านักเขียนการ์ตูน (cartoonist) ในยุคอดีต การ์ตูนหมายถึงภาพร่างหรือภาพวาดที่ใช้การเรียนการศึกษาแทนการใช้ภาพจริง ในปัจจุบันการ์ตูนมักจะหมายถึงแอนิเมชัน ซึ่งเป็นเทคนิคในการสร้างการ์ตูนในยุคปัจจุบัน ที่มีการฉายทางโทรทัศน์ หรือภาพยนตร์ ในความหมายอื่น การ์ตูนใช้แทนรายการสำหรับเด็กที่มีการใช้สัตว์หรือสิ่งมีชีวิตอย่างอื่นเคลื่อนไหวในลักษณะเหมือนมนุษย์ การ์ตูนปัจจุบันจะพบได้จากหนังสือ, หนังสือพิมพ์ (ซึ่งมักเป็นเรื่องเกี่ยวกับข่าว การเมือง บันเทิง), โปสเตอร์, ภาพยนตร์ เป็นต้น นายแพทย์ ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เคยกล่าวถึงการ์ตูนว่า "หน้าที่หนึ่งของการ์ตูน คือกระตุกความคิดของเยาวชน ไม่ต้องสอน".

ใหม่!!: โลกและการ์ตูน · ดูเพิ่มเติม »

การไหลตามฤดูกาลของน้ำบนดาวอังคาร

การไหลในฤดูร้อนบนเนินดาวอังคารในปล่องภูเขาไฟนิวตัน การสังเกตจากมาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ขององค์การนาซาได้เปิดเผยว่า อาจมีการไหลของน้ำในช่วงเดือนที่อบอุ่นที่สุดบนดาวอังคาร การวิจัยเสนอว่า ในอดีตอาจเคยมีน้ำในสถานะของเหลวไหลอยู่บนพื้นผิวของดาว ปกคลุมเป็นบริเวณกว้างคล้ายกับมหาสมุทรบนโลก อย่างไรก็ตาม คำถามยังคงมีอยู่ว่าน้ำหายไปไหนหมด ในแถลงการณ์ที่ออกโดยนาซาเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม..

ใหม่!!: โลกและการไหลตามฤดูกาลของน้ำบนดาวอังคาร · ดูเพิ่มเติม »

การเคลื่อนผ่านทางดาราศาสตร์

วงจันทร์เคลื่อนผ่านหน้าดวงอาทิตย์ จับภาพได้ขณะทำการปรับแต่งกล้องถ่ายภาพอัลตราไวโอเลตของยานอวกาศ STEREO ภาพของดวงจันทร์ดูเล็กกว่าที่เห็นบนโลกมาก เพราะระยะห่างระหว่างยานกับดวงจันทร์ไกลกว่าระยะห่างระหว่างโลกกับดวงจันทร์มาก การเคลื่อนผ่าน หรือ การเคลื่อนผ่านทางดาราศาสตร์ มีความหมายในทางดาราศาสตร์อยู่ 3 แบบ คือ.

ใหม่!!: โลกและการเคลื่อนผ่านทางดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

กาลิเลโอ (ยานอวกาศ)

นกาลิเลโอ ยานกาลิเลโอ เป็นยานสำรวจดาวพฤหัสบดี ถูกส่งออกจากโลกเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม ค.ศ. 1989 (พ.ศ. 2532) ใช้เวลา 6 ปีในการเดินทางไปยังดาวพฤหัสบดี ในระหว่างทางยานกาลิเลโอได้เข้าใกล้ดาวเคราะห์น้อยเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้มีชื่อว่า แกสปรา และต่อมาได้ผ่านใกล้ดาวเคราะห์น้อยอีกดวงหนึ่งชื่อ ไอดา ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1995 (พ.ศ. 2538) ยานกาลิเลโอก็ปล่อยหัวสำรวจลงไปในบรรยากาศของดาวพฤหัสบดี ยานโคจรของยานกาลิเลโอให้รายละเอียดในระยะใกล้ของดาวพฤหัสบดีและดาวบริวารที่ไม่เคยมีมาก่อน.

ใหม่!!: โลกและกาลิเลโอ (ยานอวกาศ) · ดูเพิ่มเติม »

กาลิเลโอ กาลิเลอี

กาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei; 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1564 - 8 มกราคม ค.ศ. 1642) เป็นชาวทัสกันหรือชาวอิตาลี ซึ่งมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ผลงานของกาลิเลโอมีมากมาย งานที่โดดเด่นเช่นการพัฒนาเทคนิคของกล้องโทรทรรศน์และผลสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ที่สำคัญจากกล้องโทรทรรศน์ที่พัฒนามากขึ้น งานของเขาช่วยสนับสนุนแนวคิดของโคเปอร์นิคัสอย่างชัดเจนที่สุด กาลิเลโอได้รับขนานนามว่าเป็น "บิดาแห่งดาราศาสตร์สมัยใหม่" "บิดาแห่งฟิสิกส์สมัยใหม่"Weidhorn, Manfred (2005).

ใหม่!!: โลกและกาลิเลโอ กาลิเลอี · ดูเพิ่มเติม »

กำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต

กำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต (Abiogenesis) เป็นสมมติฐานเกี่ยวกับกระบวนการทางธรรมชาติเกี่ยวกับการกำเนิดของสิ่งมีชีวิตจากสิ่งไม่มีชีวิตบนโลก เช่น ปลาเกิดจากดินโคลนในแม่น้ำลำคลอง โดยสมมติฐานนี้ตั้งแต่สมัยอริสโตเติล ซึ่งฟรานเซสโก เรดิ และหลุยส์ ปาสเตอร์ ได้พิสูจน์ว่าสิ่งมีชีวิตไม่สามารถเกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต สมมติฐานจึงไม่เป็นที่ยอมรั.

ใหม่!!: โลกและกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

กิตฮับ

กิตฮับ (GitHub) เป็นเว็บที่ใช้กิตหรือพื้นที่เก็บข้อมูลการควบคุมเวอร์ชันและบริการพื้นที่บนอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีทั้งหมดของการแบ่งการควบคุมเวอร์ชันและการจัดการซอร์ซโค้ด (SCM) การทำงานของกิตเช่นเดียวกับการเพิ่มคุณสมบัติของตัวเอง โดยมีการควบคุมการเข้าถึงและหลายคุณสมบัติการทำงานร่วมกัน เช่น การติดตามข้อผิดพลาด, คำขอคุณลักษณะ, การจัดภารกิจ และวิกิสำหรับทุกโครงการ กิตฮับเสนอแผนพื้นที่เก็บทั้งแบบเอกชนและเสรีในบัญชีเดียวกัน ซึ่งมักใช้ในการเป็นเจ้าของงานโครงการซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ ณ เดือนเมษายน..

ใหม่!!: โลกและกิตฮับ · ดูเพิ่มเติม »

กึ่งเขตร้อน

กึ่งเขตร้อน (subtropics) คือ เขตทางภูมิศาสตร์และภูมิอากาศซึ่งบอกได้คร่าว ๆ ว่าตั้งอยู่ระหว่างเส้นละติจูดเขตร้อน (ทรอปิกออฟแคนเซอร์และทรอปิกออฟแคปริคอร์น) และเส้นขนานที่ 38 ในซีกโลกเหนือและใต้ ภูมิอากาศแบบกึ่งเขตร้อนสามารถพบได้ในที่สูงในเขตร้อน เช่น ตลอดที่ราบสูงเม็กซิโกและในประเทศเวียดนามและไต้หวัน การจัดประเภทภูมิอากาศออกเป็นหกประเภทใช้คำดังกล่าวเพื่อช่วยนิยามหมวดอุณหภูมิและหยาดน้ำฟ้าต่าง ๆ ของโลก ในเขตอบอุ่น แปดเดือนแต่ละปีมีอุณหภูมิเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ 10 °C (50.0 °F) โดยเดือนที่มีอุณหภูมิต่ำสุดมีอุณหภูมิระหว่าง 2 ถึง 13 °C (35.6 ถึง 55.4 °F) หมวดหมู่:ภูมิอากาศ หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์กายภาพ.

ใหม่!!: โลกและกึ่งเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาพาราลิมปิก

กีฬาพาราลิมปิก (Paralympic Games) เป็นการแข่งขันกีฬาสำหรับคนพิการหลายประเภทจากทั่วโลก โดยอยู่ในความรับผิดชอบของคณะกรรมการพาราลิมปิกสากล (International Paralympic Committee; IPC) โดยในปัจจุบัน กีฬาพาราลิมปิกจะจัดขึ้น หลังจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสิ้นสุดลง และประเทศเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิกครั้งนั้น ก็จะเป็นเจ้าภาพจัดแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกด้ว.

ใหม่!!: โลกและกีฬาพาราลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยโลก

กีฬามหาวิทยาลัยโลก (Universiade) เป็นชื่อการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างนักศึกษามหาวิทยาลัยจากนานาชาติทั่วโลก อยู่ในการกำกับดูแลของ สหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยโลก (Federation of International University Sports - FISU) โดยชื่อ Universiade เป็นการนำศัพท์ภาษาอังกฤษ 2 คำ คือ university (มหาวิทยาลัย) และ olympiad (โอลิมปิก) มาสนธิกัน การจัดการแข่งขันจะจัดขึ้นทุกสองปี โดยมีกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาวและกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน ซึ่งทั้งสองมหกรรมกีฬานี้จะจัดแข่งขันในปีเดียวกัน แต่ต่างเวลาและสถานที่ การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกเริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2504 โดยจัดขึ้นที่เมืองตูริน ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: โลกและกีฬามหาวิทยาลัยโลก · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาโอลิมปิก

กีฬาโอลิมปิก (อังกฤษ: Olympic Games, ฝรั่งเศส: les Jeux olympiques, JO) หรือโอลิมปิกส์ (อังกฤษ: Olympics) สมัยใหม่ เป็นการแข่งขันระหว่างประเทศที่สำคัญ ทั้งกีฬาฤดูร้อนและฤดูหนาว โดยมีนักกีฬาหลายพันคนเข้าร่วมการแข่งขันหลายชนิดกีฬา กีฬาโอลิมปิกถูกมองว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่สำคัญที่สุดของโลก โดยมีประเทศเข้าร่วมกว่า 200 ประเทศ ปัจจุบัน กีฬาโอลิมปิกจัดขึ้นทุกสองปี ผลัดกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อนกับโอลิมปิกฤดูหนาว หมายความว่า โอลิมปิกฤดูร้อนและโอลิมปิกฤดูหนาวจะจัดห่างกันสี่ปี การสร้างสรรค์กีฬาโอลิมปิกได้รับแรงบันดาลใจจากกีฬาโอลิมปิกโบราณ ซึ่งจัดขึ้นในโอลิมเปีย กรีซ จากศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 บารอน ปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง ก่อตั้งคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ใน..

ใหม่!!: โลกและกีฬาโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

กีโยม เลอ ฌ็องตี

กีโยม โฌแซ็ฟ อียาแซ็งต์ ฌ็อง-บาติสต์ เลอ ฌ็องตี เดอ ลา กาแลซีแยร์ (Guillaume Joseph Hyacinthe Jean-Baptiste Le Gentil de la Galaisière, 12 กันยายน พ.ศ. 2268 - 22 ตุลาคม พ.ศ. 2335) เป็นนักดาราศาสตร์ชาวฝรั่งเศส เกิดในเมืองกูต็องส์ ตอนแรกเขาสนใจเรื่องศาสนา ต่อมาก็เบนเข็มทิศไปสนใจเรื่องดาราศาสตร์แทน เขาพยายามจะคำนวณระยะทางระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์โดยใช้หลักการไตรแองกูเลชันวัดเส้นทางโคจรดาวศุกร์ผ่านดวงอาทิตย์ เลอ ฌ็องตี เดินทางจากฝรั่งเศสหนึ่งปีล่วงหน้าเพื่อสังเกตการโคจรที่อินเดีย แต่เหตุสุดวิสัยทำให้เขายังคงอยู่ในทะเลในวันที่เกิดการโคจรพาดผ่านซึ่งถือเป็นเรื่องเลวร้ายเพราะเครื่องมือที่ใช้วัดต้องอยู่กับที่ แต่ทะเลไม่เป็นเช่นนั้น เขายังไม่เสียใจ ยังคงเดินหน้าไปอินเดียเพื่อรอการพาดผ่านอีกครั้ง ในปี 1769 ซึ่งมีเวลาเตรียมตัวอีก 8 ปี เขาตรวจสอบเครื่องมือทั้งหมดจนพบว่าสมบูรณ์ จนในวันที่ 4 มิถุนายน 1769 อากาศแจ่มใส แต่พอดาวศุกร์เริ่มเคลื่อนเข้ามา เมฆกลับมาบังทำให้เขามองไม่เห็นอะไรเลย ด้วยความผิดหวังอย่างมาก เลอ ฌ็องตีจึงเก็บของเตรียมกลับบ้าน แต่เขากลับติดเชื้อที่ลำไส้ใหญ่ ต้องพักอีกเกือบปี ในที่สุดก็ขึ้นเรือ เรือเกือบล่มเพราะพายุ ในที่สุดก็กลับถึงบ้านหลังจากหายไป 11 ปีโดยไม่ได้อะไรเลย ญาติของเขาประกาศว่าเขาเป็นบุคคลที่เสียชีวิตแล้ว แล้วก็เอาทรัพย์สินของเขาไป ต่อมาเลอ ฌ็องตี ก็ตายอย่างสงบในปี 1792 นับเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่อุทิศตัวเพื่อวิทยาศาสตร์อย่างแท้จริง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2268 หมวดหมู่:นักดาราศาสตร์ชาวฝรั่งเศส.

ใหม่!!: โลกและกีโยม เลอ ฌ็องตี · ดูเพิ่มเติม »

ฐานทัพสุดท้าย เชื้อร้ายถล่มโลก

นทัพสุดท้าย เชื้อร้ายถล่มโลก (อังกฤษ:The Last Ship) เป็นละครโทรทัศน์อเมริกาที่สร้างในปี ค.ศ. 2014 นำแสดงโดย อีริค เดน, รอน่า มิตร้า, อดัม เบล์ดวิน, ชาลส์ พาร์เนลล์ ออกอากาศทางช่อง โมโน 29 ทุกวันจันทร์ - อังคาร 10.50 น.

ใหม่!!: โลกและฐานทัพสุดท้าย เชื้อร้ายถล่มโลก · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์

กล้องถ่ายภาพเคลื่อนไหวของฟ็อกซ์ในยุคแรก ๆ ภาพยนตร์ หรือ หนัง คือ กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนำออกฉายให้เห็นภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทำแล้วเป็นเพียงภาพนิ่งจำนวนมาก ที่มีอิริยาบถหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกันเป็นช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทำและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็นการแสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นชนิดฟิล์มเนกาทีฟ (negative) หรือฟิล์มโพซิทีฟ (positive) ซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือกระทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏรูปหรือเสียงหรือทั้งรูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือเสียง หรือทั้งรูปและเสียงได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์หรือเครื่องอย่างอื่นทำนองเดียวกัน และหมายความตลอดถึงฟิล์มซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏสี เพื่ออัดลงในฟิลม์ชนิดดังกล่าว เป็นสาขาที่สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะในรูปของภาพเคลื่อนไหว และเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมบันเทิง.

ใหม่!!: โลกและภาพยนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์

แผนที่โลก ภูมิศาสตร์ (geography) เป็นสาขาวิชาหนึ่งที่ทำการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะ ของสถานที่ที่ปรากฏอยู่บนพื้นผิวโลก ภูมิศาสตร์จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดวางสิ่งต่าง ๆ และความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่แบ่งแยกสิ่งหนึ่งออกจากสิ่งอื่น ๆ โดยภูมิศาสตร์พยายามค้นหาเพื่อที่จะตีความให้กระจ่างถึงความสำคัญ ของสิ่งที่เหมือนและแตกต่างกันระหว่างพื้นที่ในรูปของสาเหตุและความเกี่ยวเนื่อง ปัจจุบันการศึกษาด้านภูมิศาสตร์ จะมุ่งเน้นความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดเบื้องต้นที่เกี่ยวกับพื้นที่มากกว่าที่จะศึกษาลักษณะเฉพาะและสถานที่ต่าง ๆ ของโลกอย่างคร่าว ๆ อย่างที่เคยปฏิบัติขึ้นมาในระยะแรก ๆ ภูมิศาสตร์ได้เปลี่ยนแนวทางมาสู่การศึกษารายละเอียดของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่นั้น ๆ โดยเฉพาะ ซึ่งจะใช้การศึกษานี้พิจารณาว่า "มีสิ่งใดบ้างที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดสิ่งนั้นสิ่งนี้ขึ้น และแต่ละสิ่งมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไร" โดยถือรูปแบบและวิธีการดังกล่าวว่า เป็นการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ ภายใต้สภาวะต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือเกิดปรากฏการณ์พิเศษในพื้นที่นั้น ๆ ขึ้น และถือว่าเป็น ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ ที่เกิดขึ้น ซึ่งมีหลายลักษณะ เช่น ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยาของโลก ลักษณะทางสภาพภูมิอากาศ เป็นต้น โดยจะมีความเกี่ยวเนื่องและมีความสัมพันธ์ระหว่างกันในแต่ละลักษณะที่กล่าวถึง.

ใหม่!!: โลกและภูมิศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์มนุษย์

350px คาร์ล ริทเทอร์ นักภูมิศาสตร์ชาวเยอรมัน - ถือกันว่าเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกภูมิศาสตร์สมัยใหม่ คู่กับ อเล็กซานเดอร์ ฟอน ฮุมโบลด์ท ภูมิศาสตร์มนุษย์ เป็นหนึ่งในสองสาขาหลักของภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์มนุษย์คือการศึกษาความเข้าใจและการใช้งานผืนโลกของมนุษย์ และกระบวนการที่มีผลกระทบต่อสิ่งนั้น มันเกี่ยวโยงกับทั้งสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ภูมิศาสตร์มนุษย์นั้นโดยทั่วไปแตกต่างอยากมากจากภูมิศาสตร์กายภาพ โดยมันเน้นมากกว่าในการศึกษาแบบแผนที่จับต้องไม่ได้หรือเป็นนามธรรมรอบ ๆ กิจกรรมของมนุษย์ และเปิดรับวิธีวิจัยเชิงคุณภาพมากกว่า ภูมิศาสตร์มนุษย์รวมเอาแง่มุมทางมนุษย์ การเมือง วัฒนธรรม สังคม และเศรษฐกิจของสังคมศาสตร์เอาไว้ ในขณะที่จุดเน้นหลักของภูมิศาสตร์มนุษย์จะไม่ใช่ภูมิทัศน์เชิงกายภาพของโลก แต่มันก็เป็นไปไม่ได้ที่จะคุยเรื่องภูมิศาสตร์มนุษย์ โดยไม่พูดถึงภูมิทัศน์ทางกายภาพที่กิจกรรมของมนุษย์ดำเนินอยู่ในนั้น และโดยไม่พูดถึงภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นตัวเชื่อมสำคัญระหว่างมนุษย์และโลก ภูมิศาสตร์มนุษย์นั้นมีความหลากหลายทั้งในวิธีวิทยาและทฤษฎี ซึ่งรวมถึงวิธีในแบบสตรีนิยม มาร์กซิสม์ หลังโครงสร้างนิยม ฯลฯ และใช้ทั้งระเบียบวิธีเชิงคุณภาพ (เช่น ชาติพันธุ์วรรณาและการสัมภาษณ์) และเชิงปริมาณ (เช่น การสำรวจทางสถิติ, การวิเคราะห์ทางสถิติ, และการสร้างตัวแบบ) สาขาหลักของภูมิศาสตร์มนุษย์ ได้แก่ วัฒนธรรม, การพัฒนา, เศรษฐกิจ, สุขภาพ, ประวัติศาสตร์, การเมือง, ประชากร, การท่องเที่ยว, และเมือง.

ใหม่!!: โลกและภูมิศาสตร์มนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

มลพิษทางอากาศ

มลพิษทางอากาศจากโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์แห่งหนึ่ง มลพิษทางอากาศ (Air pollution) คือการเกิดฝุ่นละออง โมเลกุลชีวภาพ หรือวัตถุอันตรายชนิดอื่น ๆ ในชั้นบรรยากาศของโลก เป็นสาเหตุของโรค การเสียชีวิตในมนุษย์ และทำลายสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เช่น พืชพันธุ์ สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ หรือสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง ชั้นบรรยากาศเป็นระบบแก๊สธรรมชาติที่ซับซ้อนที่จำเป็นต่อชีวิตบนโลก การลดลงของโอโซนในชั้นสตราโทสเฟียร์เนื่องจากมลพิษทางอากาศถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพของมนุษย์ รวมถึงระบบนิเวศของโลกด้วย มลพิษทางอากาศภายในอาคาร และคุณภาพของอากาศในเมืองจัดเป็นปัญหามลพิษโลก 2 ปัญหาที่เลวร้ายที่สุด จากรายงานชื่อ สถานที่ที่ประสบมลพิษมากที่สุดในโลก (World's Worst Polluted Places) ของสถาบันแบล็กสมิธ (Blacksmith Institute) ในปี..

ใหม่!!: โลกและมลพิษทางอากาศ · ดูเพิ่มเติม »

มวลดวงอาทิตย์

มวลดวงอาทิตย์ เป็นวิธีพื้นฐานในการบรรยายค่ามวลในทางดาราศาสตร์ สำหรับใช้อธิบายถึงมวลดาวฤกษ์หรือมวลดาราจักร มีค่าเท่ากับมวลของดวงอาทิตย์ คือประมาณ 2 โนนิลเลียนกิโลกรัม หรือเท่ากับ 332,950 เท่าของมวลของโลก หรือ 1,048 เท่าของมวลของดาวพฤหัสบดี สัญลักษณ์และค่าพื้นฐานของมวลดวงอาทิตย์แสดงได้ดังนี้ เราสามารถบรรยายมวลดวงอาทิตย์ในรูปของระยะทางเป็นปี คือระยะห่างจากโลกถึงดวงอาทิตย์ (หนึ่งหน่วยดาราศาสตร์ หรือ AU) กับค่าคงที่แรงโน้มถ่วง (G) ได้ดังนี้ จนกระทั่งปัจจุบันยังไม่สามารถบอกตัวเลขที่แท้จริงของหน่วยดาราศาสตร์หรือค่าคงที่แรงโน้มถ่วงได้อย่างถูกต้อง อย่างไรก็ดี การอธิบายถึงมวลสัมพันธ์ของดาวเคราะห์อื่นในระบบสุริยะหรือในระบบดาวคู่ด้วยหน่วยของมวลดวงอาทิตย์ มิได้มีความจำเป็นต้องทราบถึงค่าแท้จริงเหล่านั้น ดังนั้นการบรรยายถึงมวลต่างๆ ด้วยหน่วยของมวลดวงอาทิตย์จึงเป็นวิธีที่มีประโยชน์ที.

ใหม่!!: โลกและมวลดวงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

มหกรรมปั้นทรายโลก

มหกรรมปั้นทรายโลกของไทย (World Sand Sculpture Festival of Thailand) หรือปราสาททราย เริ่มเปิดให้ชมตั้งแต่วันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 มีพื้นที่จอดรถ 500 คัน เป็นการปั้นทรายในด้านศิลปกรรมต่าง ๆ ของทั่วโลก และในไทย ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น ปราสาททราย อยู่ด้านหลัง ห้างบิ๊กซี (เดิมเป็นห้างคาร์ฟูร์).

ใหม่!!: โลกและมหกรรมปั้นทรายโลก · ดูเพิ่มเติม »

มหัศจรรย์กระบี่เจ้าพิภพ

มหัศจรรย์กระบี่เจ้าพิภพ (Legend Of Sword) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: โลกและมหัศจรรย์กระบี่เจ้าพิภพ · ดูเพิ่มเติม »

มหาบุรุษซามูไร

มหาบุรุษซามูไร (The Last Samurai) หรือซามูไรคนสุดท้าย เป็นประเภทผจญภัย สงคราม-ดราม่า ซึ่งออกฉายครั้งแรกในวันที่ 5 ธันวาคม..

ใหม่!!: โลกและมหาบุรุษซามูไร · ดูเพิ่มเติม »

มหายุคพาลีโอโซอิก

มหายุคพาลีโอโซอิก (Paleozoic Era; จากภาษากรีก palaio (παλαιο), "เก่าแก่" และ zoe (ζωη), "ชีวิต", หมายถึง "ชีวิตโบราณ")) เป็นมหายุคแรกสุดจาก 3 มหายุคในบรมยุคฟาเนอโรโซอิก ซึ่งเป็นยุคทางธรณีกาลของโลก ช่วงเวลาของมหายุคพาลีโอโซอิกอยู่ในช่วง 542-251 ล้านปีมาแล้ว และแบ่งย่อยออกเป็นหกยุคเรียงตามลำดับเก่า-ใหม่ ได้แก่ ยุคแคมเบรียน ยุคออร์โดวิเชียน ยุคไซลูเรียน ยุคดีโวเนียน ยุคคาร์บอนิเฟอรัส และ ยุคเพอร์เมียน.

ใหม่!!: โลกและมหายุคพาลีโอโซอิก · ดูเพิ่มเติม »

มหายุคมีโซโซอิก

มหายุคมีโซโซอิก (อังกฤษ: Mesozoic Era) เป็นมหายุคที่สองจาก 3 มหายุคทางธรณีกาลของโลกในบรมยุคฟาเนอโรโซอิก โดยอยู่ถัดจากมหายุคพาลีโอโซอิกและอยู่ก่อนหน้ามหายุคซีโนโซอิก มหายุคมีโซโซอิกมีช่วงอายุตั้งแต่ 251-65 ล้านปีมาแล้ว อยู่ในช่วงเวลาที่มีการแยกตัวออกจากกันของแผ่นดินพันเจีย ทำให้เกิดผืนแผ่นดินลอเรเซียและผืนแผ่นดินกอนด์วานา คั่นกลางด้วยมหาสมุทรเททิส จากนั้นจึงเกิดการแยกตัวขึ้นอีกภายในผืนแผ่นดินทั้งสองทำให้เกิดทวีปต่าง ๆ ดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน มหายุคมีโซโซอิกเป็นมหายุคที่เรียกได้ว่าสัตว์เลื้อยคลานครองโลก.

ใหม่!!: โลกและมหายุคมีโซโซอิก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรังสิต

มหาวิทยาลัยรังสิต (Rangsit University; ชื่อย่อ: มรส. - RSU) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย ถูกจัดอยู่ในลำดับที่ 20 มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในประเทศ นอกจากนี้ยังถูกจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่ดีที่สุด ลำดับที่ 1 ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2528 เปิดสอนหลากหลายหลักสูตร ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก โดยเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่มีจำนวนศาสตราจารย์มากเป็นลำดับต้นๆของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีจำนวนศิลปินดาราศึกษาอยู่เป็นจำนวนมากตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: โลกและมหาวิทยาลัยรังสิต · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University; ชื่อย่อ: มศก. – SU) เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งแรกในประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านศิลปะและการออกแบบ ปัจจุบันเปิดสอนครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสากลอย่างสมบูรณ์ ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร" ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พัฒนาขึ้นเป็นลำดับจนเป็น "โรงเรียนศิลปากร" และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

ใหม่!!: โลกและมหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทร

การแบ่งมหาสมุทรตามแบบต่างๆ แผ่นที่กายภาพก้นทะเล มหาสมุทร (ocean) เป็นผืนน้ำทะเลขนาดใหญ่เชื่อมต่อกัน และครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 3 ใน 4 (71%) ของพื้นผิวโลก มหาสมุทรเรียงตามลำดับขนาดจากมากไปน้อยได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และมหาสมุทรอาร์กติก คำว่า sea หรือทะเล บางครั้งใช้แทนคำว่า "ocean" หรือ "มหาสมุทร" ในภาษาอังกฤษแบบอเมริกันได้ แต่หากเจาะจงการพูดแล้ว sea คือแหล่งน้ำเค็ม (ส่วนหนึ่งของมหาสมุทร) ส่วนที่มีพื้นที่ติดพื้นดิน มวลน้ำเค็มปกคลุมประมาณ 72% ของพื้นผิวโลก (~3.6 กม.2) และถูกแบ่งเป็นมหาสมุทรหลัก ๆ และทะเลขนาดเล็กอีกหลายแห่ง โดยมหาสมุทรจะครอบคลุมพื้นที่โลกประมาณ 71% มหาสมุทรประกอบด้วยน้ำของโลก 97% และนักสมุทรศาสตร์กล่าวว่ามหาสมุทรในโลกเพิ่งได้มีการสำรวจไปได้เพียง 5% เท่านั้น ปริมาตรสุทธิมีประมาณ 1.35 พันล้านลูกบาศก์กิโลเมตร (320 ล้านลูกบาศก์ไมล์) มีความลึกเฉลี่ยที่ เนื่องจากมหาสมุทรเป็นส่วนประกอบหลักของอุทกภาคของโลก มหาสมุทรจึงเป็นสิ่งสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เป็นส่วนหนึ่งในวัฏจักรคาร์บอน และมีอิทธิพลต่อภูมิอากาศและลมฟ้าอากาศ มหาสมุทรเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตกว่า 230,000 สปีชีส์ แม้ว่ามหาสมุทรในส่วนที่ลึก ๆ ส่วนมากยังคงไม่ถูกสำรวจ และเชื่อกันว่ามีสิ่งมีชีวิตใต้น้ำมากกว่า 2 ล้านชนิดอยู่ในนั้น จุดกำเนิดของมหาสมุทรนั้นยังไม่มีคำตอบ แต่มีความคิดว่ามันเกิดขึ้นในบรมยุคเฮเดียน และอาจจะเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดกระบวนการกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต.

ใหม่!!: โลกและมหาสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรพายุ

มหาสมุทรพายุ มหาสมุทรพายุ (Oceanus Procellarum; Ocean of Storms) คือแอ่งกว้างใหญ่บนดวงจันทร์ของโลก อยู่ทางขอบด้านตะวันตกของด้านใกล้ของดวงจันทร์ ที่จริงแล้ว ไม่ได้เป็น มหาสมุทร เพราะไม่ได้มีน้ำแต่อย่างใด แต่เป็นที่ราบขนาดพื้นที่ราว 4,000,000 ตาราง กม.

ใหม่!!: โลกและมหาสมุทรพายุ · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแอตแลนติก

มหาสมุทรแอตแลนติก (Atlantic Ocean) เป็นมหาสมุทรที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 1 ใน 5 ของพื้นผิวโลก ชื่อของมหาสมุทรมาจากนิยายปรัมปรากรีก หมายถึง "ทะเลของแอตลาส" มหาสมุทรแอตแลนติกเป็นแอ่งที่มีรูปร่างเหมือนตัวเอส (S) ติดกับทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ทางตะวันตก ส่วนทางตะวันออกติดกับ ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ปัจจุบันมีการแบ่งมหาสมุทรแอตแลนติกเป็น 2 ส่วน คือ แอตแลนติกเหนือและแอตแลนติกใต้ โดยใช้บริเวณที่เกิดการเปลี่ยนทิศของกระแสน้ำที่ละติจูด 8° เหนือเป็นแนวแบ่ง มหาสมุทรแอตแลนติกเชื่อมกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางมหาสมุทรอาร์กติกซึ่งอยู่ทางเหนือ ส่วนทางใต้เชื่อมทางช่องแคบเดรก จุดเชื่อมต่ออีกแห่งหนึ่งที่สร้างขึ้นโดยมนุษย์ คือ คลองปานามา เส้นแบ่งระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับมหาสมุทรอินเดีย คือ เส้นเมริเดียน 20° ตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรอาร์กติกด้วยเส้นที่ลากจากกรีนแลนด์ ผ่านตอนใต้สุดของสฟาลบาร์ (Svalbard) ไปยังตอนเหนือของนอร์เวย์ มหาสมุทรแอตแลนติกมีพื้นน้ำประมาณ 106,460,000 ตารางกิโลเมตร ปริมาตรของมหาสมุทรเมื่อรวมทะเลที่อยู่ติดกันมีค่า 310,410,900 ลูกบาศก์กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 3,646 เมตร จุดที่ลึกที่สุดคือปวยร์โตรีโกเทรนช์มีความลึก 8,486 เมตร (27,840 ฟุต).

ใหม่!!: โลกและมหาสมุทรแอตแลนติก · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแปซิฟิก

มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: โลกและมหาสมุทรแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรใต้

มหาสมุทรใต้(2002). มหาสมุทรใต้ (Southern Ocean) หรือที่รู้จักกันในชื่อ มหาสมุทรแอนตาร์กติก (Antarctic Ocean) เป็นมหาสมุทรที่อยู่ล้อมรอบทวีปแอนตาร์กติกา มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ของโลก และเป็นที่สุดท้ายที่องค์การอุทกศาสตร์สากล (International Hydrographic Organization) นิยามให้เป็นมหาสมุทรเมื่อปี พ.ศ. 2543 แม้ว่าจะเป็นที่ยอมรับกันมาก่อนหน้านั้นในหมู่ผู้ที่เกี่ยวข้องกับวงการสมุทรศาสตร์นานแล้ว โดยในอดีต มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย มีขอบเขตไกลลงไปถึงทวีปแอนตาร์กติกา มหาสมุทรใต้มีรูปร่างเป็นวงกลมล้อมรอบทวีปแอนตาร์กติกา นับจากละติจูด 60° ใต้ ลงไปถึงชายฝั่งแอนตาร์กติกา อย่างไรก็ตาม นิยามนี้ไม่ได้ใช้ตรงกันทั่วโลก ในประเทศออสเตรเลีย มหาสมุทรใต้ยังรวมถึงพื้นที่ที่เป็นผืนน้ำระหว่างชายฝั่งทางใต้ของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์กับทวีปแอนตาร์กติกา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแผนที่ชายฝั่งของเกาะทัสมาเนียและออสเตรเลียใต้ ที่ระบุพื้นที่นั้นว่าเป็น มหาสมุทรใต้ แทนที่จะเป็น มหาสมุทรอินเดีย ปัจจุบันไม่ค่อยเป็นที่ยอมรับกันของคนทั่วไป.

ใหม่!!: โลกและมหาสมุทรใต้ · ดูเพิ่มเติม »

มหาเผ่าพันธุ์แห่งยิธ

มหาเผ่าพันธุ์แห่งยิธ (Great Race of Yith) หรือ ยิธเธียน เป็นมนุษย์ต่างดาวซึ่งมีบทบาทในเรื่องชุดตำนานคธูลู ยิธเธียนปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น The Shadow Out of Time ของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ซึ่งเผยแพร่ในปีพ.ศ. 2482 ยิธเธียนได้รับการเรียกว่า มหาเผ่าพันธุ์ เนื่องจากเป็นเผ่าพันธุ์ที่มีความชำนาญในการเดินทางข้ามกาลเวล.

ใหม่!!: โลกและมหาเผ่าพันธุ์แห่งยิธ · ดูเพิ่มเติม »

มังกรจีน

วาดมังกรจีนโบราณ มังกรจีน (อักษรจีนตัวเต็ม: 龍; อักษรจีนตัวย่อ: 龙; พินอิน: lóng; ฮกเกี้ยน: เล้ง; ไทยถิ่นเหนือ: ลวง) เป็นสัญลักษณ์โดดเด่นอันหนึ่งของจักรพรรดิและวัฒนธรรมจีน มีลักษณะที่มาจากสัตว์หลาย ๆ ชนิดผสมผสานกัน ลักษณะลำตัวยาวเหมือนงู มีเขี้ยวขนาดใหญ่หนึ่งคู่อยู่ที่บริเวณขากรรไกรด้านบน มีหนวดยาวลักษณะเหมือนกับไม้เลื้อย และมีแผงคอเหมือนกับของสิงโตอยู่บน คอ, คาง และข้อศอก มีเกล็ดสีเขียวเข้มทั่วทั้งบริเวณลำตัวรวมทั้งสิ้น 117 เกล็ด ซึ่งเกล็ดมังกรจำนวน 81 แผ่น มีคุณสมบัติเป็นหยางซึ่งเป็นเกล็ดที่มีความดี เกล็ดมังกรจำนวน 36 แผ่น มีคุณสมบัติเป็นหยินซึ่งจะเป็นเกล็ดที่มีความชั่ว ลักษณะเขาของมังกรจะมีสันหลังทอดยาวไปตามหลังและหาง เป็นหนามยาวและสั้นสลับกัน มีขา 4 ขาและกรงเล็บแข็งแรง เกล็ดของมังกรจีนนั้น จะมีลักษณะเฉพาะเปลี่ยนไปตามแต่ละชนิดของมังกร ตั้งแต่สีเขียวเข้มจนถึงสีทอง หรือบางแหล่งกล่าวกันว่า มังกรจีนนั้นมีหลายสี เช่น สีน้ำเงิน สีดำ สีขาว สีแดง สีเขียว หรือสีเหลือง แต่ในกรณีของมังกรชนิด chiao หลังของมังกรจะเป็นสีเขียว บริเวณด้านข้างเป็นสีเหลือง และใต้ท้องเป็นสีแดงเข้ม มังกรจีนชนิดหนึ่งจะมีปีกที่ด้านข้างของลำตัว และสามารถที่จะเดินบนน้ำได้ แต่สำหรับมังกรจีนอีกชนิดหนึ่งเมื่อสะบัดแผงคอไปข้างหน้าและข้างหลัง จะทำให้เกิดเสียงที่ฟังดูเหมือนกับเสียงขลุ่ย มังกรจีนจะมีโหนกอยู่บนหัวซึ่งทำให้สามารถบินได้ เรียกโหนกที่อยู่บนหัวว่า ch’ih muh แต่ถ้ามังกรจีนตัวใดไม่มีโหนกที่บริเวณหัว จะกำคทาเล็ก ๆ ที่เรียกว่า po-shan ซึ่งสามารถทำให้มังกรลอยตัวในอากาศได้(ปัจจุบัน ประเทศทางตะวันตก ก็เพิ่งเจอ วัตถุลึกลับบางอย่างสามารถลอยในอากาศได้เป็นระยะเวลาสั้นๆ) ในประเทศจีนคนโบราณมีความเชื่อกันว่ามังกรคือสัตว์ที่ทรงพลังและศักดิ์สิทธิ์แห่งฟ้าและดิน ได้รับการกล่าวกันว่ามีความเป็นมิตร มากกว่าความร้ายกาจ เป็นสัญลักษณ์ที่นำมาซึ่งความสุข และความอุดมสมบูรณ์ของบ้านเมือง พบได้ใน แม่น้ำและทะเลสาบ ชอบที่จะอยู่ท่ามกลางสายฝน มังกรได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้สร้างกฎแห่งความใจบุญ และเป็นสิ่งที่เสริมสร้างความมั่นใจ และความเชื่อมั่นให้แก่กษัตริย์ในราชวงศ์ชิง กษัตริย์จะนั่งบนบัลลังก์มังกร เดินทางโดยเรือมังกร เสวยอาหารบนโต๊ะมังกร และบรรทมบนเตียงมังกร.

ใหม่!!: โลกและมังกรจีน · ดูเพิ่มเติม »

มัตสึไดระ คาทาคุริโกะ

มัตสึไดระ คาทาคุริโกะ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ใหม่!!: โลกและมัตสึไดระ คาทาคุริโกะ · ดูเพิ่มเติม »

มาริเนอร์ 9

มาริเนอร์ 9 (Mariner 9 / Mariner Mars '71 / Mariner-I) เป็นยานสำรวจอวกาศขององค์การนาซาในโครงการมาริเนอร์ที่ช่วยในภารกิจการสำรวจดาวอังคาร ยานออกเดินทางสู่ดาวอังคารเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1971 ที่ฐานทัพอากาศแหลมคาเนเวอรัล สหรัฐอเมริกา เดินทางถึงดาวอังคารเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน นับเป็นยานอวกาศลำแรกที่ไปโคจรรอบดาวเคราะห์ดวงอื่น โดยเอาชนะมาร์ส 2 และมาร์ส 3 ของโซเวียตไปเพียงเล็กน้อย มาริเนอร์ 9 ใช้เวลาหลายเดือนเพื่อคอยให้พายุฝุ่นบนดาวอังคารสงบลง แล้วจึงส่งภาพอันน่าอัศจรรย์จากดาวอังคารกลับมายังโลกเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: โลกและมาริเนอร์ 9 · ดูเพิ่มเติม »

มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2

ระประมุขมาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2 (His Highness Susuga Malietoa Tanumafili II) (4 มกราคม พ.ศ. 2456 – 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เป็นพระประมุขแห่งรัฐเอกราชซามัว ทรงพระราชสมภพในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2456 เป็นพระราชโอรสใน มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 1 และโมโมเอ ลูเปอูลูอีวา มาเลอิเซอา ทรงขึ้นครองราชย์พร้อมกับ พระราชาธิบดีประมุขแห่งรัฐมุขตูปัว ตามาเซเซ ซึ่งครองราชย์อยู่ 2 ปี โดยส่วนพระองค์นับถือศาสนาบาไฮ พระราชาธิบดีประมุขแห่งรัฐมาลีเอตัว ขณะครองราชย์ทรงเคยเป็นประมุขแห่งรัฐ ที่มีพระชนมพรรษามากที่สุดในโลก และ ครองราชย์ยาวนานเป็นอันดับ 3 ของโลก พระองค์มีส่วนสำคัญที่ทำให้ซามัวเป็นเอกราชจากนิวซีแลนด์ได้.

ใหม่!!: โลกและมาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

มิราเคิล (พืช)

มิราเคิล (Miracle fruit; Miracle berry) เป็นไม้ผลพื้นเมืองของประเทศกานา ลักษณะต้นมีขนาดทรงพุ่มเล็ก ชอบความชื้นสูงแต่ไม่ชอบแดดจัด ผลสุกแก่จะมีสีแดงสดใส เมื่อรับประทานผลสุกแก่เข้าไปแล้ว ประมาณ 1-2 ชั่วโมง แล้วรับประทานผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว เช่น มะนาว มะยม ระกำ ตามเข้าไปจะไม่รู้สึกเปรี้ยว ในทางตรงกันข้ามกลับกลายเป็นรสชาติหวานคล้ายน้ำตาล.

ใหม่!!: โลกและมิราเคิล (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

มิลลิวินาที

มิลลิวินาที (ตัวย่อ: ms) เป็นหนึ่งในหนึ่งพันของวินาที 10 มิลลิวินาที (หนึ่งในร้อยของวินาที) เรียกว่า เซนติวินาที 100 มิลลิวินาที (หนึ่งในสิบของวินาที) เรียกว่า เดชิวินาที ในหนึ่งวันมี 86,400,000 (24×60×60×1000) มิลลิวินาทีในหนึ่งวัน.

ใหม่!!: โลกและมิลลิวินาที · ดูเพิ่มเติม »

มิลิทรีเวิลด์เกมส์

กีฬามิลิทรีเวิลด์เกมส์ (Military World Games) เป็นการแข่งขันกีฬาประเภทหนึ่งสำหรับทหารทั่วโลก ซึ่งจัดขึ้นทุก 4 ปี.

ใหม่!!: โลกและมิลิทรีเวิลด์เกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

มิตซูบิชิ มอเตอร์ส

มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (Mitsubishi Motors) เป็นบริษัทรถยนต์สัญชาติประเทศญี่ปุ่น มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่แขวงมินะโตะ กรุงโตเกียว มิตซูบิชิ มอเตอร์ส เป็นบริษัทรถยนต์ที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 5 ของญี่ปุ่น และอันดับที่ 13 ของโลก มิตซูบิชิ มอเตอร์ส มีโลโก้ประกอบด้วยสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด 3 รูป หรือเพชร 3 เม็ด (Three Diamond) มีบริษัทในเครือได้แก่ มิตซูบิชิ ฟูโซ่ (Mitsubishi FUSO) ซึ่งเป็นบริษัทผลิตรถบรรทุกให้กับมิตซูบิชิ (ปัจจุบัน ขายให้กับ กลุ่ม Daimler AG.ไปแล้ว) และแรลลีอาร์ต (Ralliart) ซึ่งเป็นบริษัทดูแลด้านกิจกรรมมอเตอร์สปอร์ต รวมถึงการผลิตอุปกรณ์ตกแต่งรถยนต์อย่างเป็นทางการให้กับมิตซูบิชิ มอเตอร.

ใหม่!!: โลกและมิตซูบิชิ มอเตอร์ส · ดูเพิ่มเติม »

มิตซูโอะ ชิบาฮาชิ

มิตซูโอะ ชิบาฮาชิ (มิสึโอะ ชิบะฮะชิ) หรือ อดีตพระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก เป็นอดีตพระภิกษุชาวญี่ปุ่น บวชในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท คณะมหานิกาย ท่านเป็นศิษย์รุ่นแรกของพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท).

ใหม่!!: โลกและมิตซูโอะ ชิบาฮาชิ · ดูเพิ่มเติม »

มือ

มือ (Hand) คืออวัยวะส่วนหนึ่งของร่างกายอยู่ต่อแขน สำหรับจับ หยิบ สิ่งของต่าง.

ใหม่!!: โลกและมือ · ดูเพิ่มเติม »

มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี

นม ชอมสกี เป็นผู้มีชื่อเสียงในฐานะปัญญาชน นักปฏิบัติการ (หรือนักกิจกรรม) ทางการเมือง และนักวิจารณ์ เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาและรัฐบาลอื่น ๆ เขาเรียกตัวเองว่า นักสังคมนิยมแบบอิสรนิยม ผู้สนับสนุนสหการนิยมแบบอนาธิปไตย (anarcho-syndicalism) และมองว่า เป็นผู้รอบรู้สำคัญคนหนึ่งในการเมืองฝ่ายซ้ายของสหรัฐ โนม ชอมสกี ในการประท้วงต่อต้านสงครามในเมืองแวนคูเวอร์ พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: โลกและมุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี · ดูเพิ่มเติม »

มีฮาอิล กอร์บาชอฟ

มีฮาอิล เซียร์เกเยวิช กอร์บาชอฟ (Михаи́л Серге́евич Горбачёв, Mikhail Sergeyevich Gorbachyov) เป็นอดีตประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต ทั้งยังเคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตอีกด้วย ความพยายามปฏิรูปสหภาพของกอร์บาชอฟได้นำไปสู่การล่มสลายของสหภาพโซเวียต และการยุติสงครามเย็น เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพประจำปี..

ใหม่!!: โลกและมีฮาอิล กอร์บาชอฟ · ดูเพิ่มเติม »

มณีแดนสรวง

มณีแดนสรวง เป็นละครโทรทัศน์แนวโรแมนติกและแฟนตาซี บทประพันธ์โดย พงศกร หรือ นายแพทย์พงศกร จินดาวัฒนะ เขียนบทโทรทัศน์โดย ณัชภีม กำกับการแสดงโดย คมกฤษ ตรีวิมล โดยออกอากาศทางไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: โลกและมณีแดนสรวง · ดูเพิ่มเติม »

มด

มด เป็นมดในมด Formicidae อันดับ Hymenoptera มดมีการสร้างรังเป็นอาณาจักรขนาดใหญ่ บางรังมีจำนวนประชากรมากถึงล้านตัว มีการแบ่งวรรณะกันทำหน้าที่คือ วรรณะมดงาน เป็นมดเพศเมียเป็นหมัน ทำหน้าที่หาอาหาร สร้างและซ่อมแซมรัง ปกป้องรังจากศัตรู ดูแลตัวอ่อน และงานอื่น ๆ ทั่วไป เป็นวรรณะที่พบได้มากที่สุด วรรณะสืบพันธุ์ เป็นมดเพศผู้ และราชินี เพศเมีย มีหน้าที่สืบพันธุ์ เนื่องจากมดเป็นสัตว์ในวงศ์ Formicidae จึงสามารถผลิตกรดมดหรือกรดฟอร์มิกได้เป็นลักษณะเฉพาะของสัตว์ในวงศ์นี้.

ใหม่!!: โลกและมด · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน

ในสาขาบรรพมานุษยวิทยา คำว่า มนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน หรือ มนุษย์ปัจจุบัน (anatomically modern human, ตัวย่อ AMH) หรือ โฮโมเซเปียนส์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน (anatomically modern Homo sapiens, ตัวย่อ AMHS) หมายถึงสมาชิกของมนุษย์สปีชีส์ Homo sapiens ที่มีรูปพรรณสัณฐานภายในพิสัยลักษณะปรากฏของมนุษย์ปัจจุบัน มนุษย์ปัจจุบันวิวัฒนาการมาจากมนุษย์โบราณ (archaic humans) ยุคหินกลาง (แอฟริกา) ประมาณ 300,000 ปีก่อน.

ใหม่!!: โลกและมนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขากันเจนชุงคา

right กันเจนชุงคา (Kanchenjunga) หรือ กัญจนชังฆา (कञ्चनजङ्घा) เป็นยอดเขาที่สูงเป็นอันดับสามของโลก รองจากยอดเขาเอเวอเรสต์ และยอดเขาเคทู ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัยบริเวณพรมแดนประเทศอินเดียกับเนปาล มีความสูงกว่า 8,586 เมตร หรือ 28,169 ฟุต ก ก ก หมวดหมู่:เทือกเขาหิมาลัย.

ใหม่!!: โลกและยอดเขากันเจนชุงคา · ดูเพิ่มเติม »

ยามาซากิ ซางารุ

มาซากิ ซางารุ (ชื่อในมังงะภาษาไทย) หรือ ยามาซากิ ซาการุ (ชื่อในอะนิเมะภาษาไทย) เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ใหม่!!: โลกและยามาซากิ ซางารุ · ดูเพิ่มเติม »

ยางิว คิวเบ

งิว คิวเบ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ใหม่!!: โลกและยางิว คิวเบ · ดูเพิ่มเติม »

ยุค

หลายศาสนามีความเชื่อว่าโลกแบ่งออกเป็นหลายยุค (युग).

ใหม่!!: โลกและยุค · ดูเพิ่มเติม »

ยุคพาลีโอจีน

รีเทเชียส←ยุคพาลีโอจีน→ยุคนีโอจีน ยุคพาลีโอจีนแบ่งเป็น 3 สมัย คือ สมัยพาลีโอซีน,สมัยอีโอซีน,สมัยโอลิโกซีน ยุคพาลีโอจีน (Paleogene) เป็นยุคหนึ่งทางธรณีกาลของโลก อยู่ระหว่าง 65.5 ± 0.3 ถึง 23.03 ± 0.05 ล้านปีมาแล้ว และเป็นยุคแรกของมหายุคซีโนโซอิก ยุคนี้กินเวลาประมาณ 42 ล้านปี เป็นยุคที่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดเล็ก มีรูปแบบเรียบง่ายได้วิวัฒนาการเป็นสัตว์ขนาดใหญ่ที่ซับซ้อน หลังเหตุการณ์การสูญพันธุ์ในยุคครีเทเชียส-เทอร์เชียรีในปลายยุคครีเทเชียส นกมีการวิวัฒนาการสู่รูปแบบในปัจจุบันในยุคนี้เช่นกัน.

ใหม่!!: โลกและยุคพาลีโอจีน · ดูเพิ่มเติม »

ยุคจูแรสซิก

ทรแอสซิก←ยุคจูแรสซิก→ยุคครีเทเชียส ยุคจูแรสซิก (Jurassic) เป็นยุคหนึ่งทางธรณีกาลของโลก อยู่ระหว่าง 199.6 ± 0.6 ถึง 145.4 ± 4.0 ล้านปีก่อน ยุคนี้อยู่หลังยุคไทรแอสซิกและอยู่ก่อนยุคครีเทเชียส ยุคนี้ถูกกำหนดช่วงเวลาจากชั้นหิน แต่ช่วงเวลาที่เกิดขึ้นจริงยังไม่สามารถระบุแน่นอน ตัวเลขปีที่ระบุข้างต้นมีโอกาสผิดพลาดได้ 5 ถึง 10 ล้านปี ชื่อจูแรสซิก ตั้งโดย อเล็กซานเดอร์ บรอกเนียร์ต (Alexandre Brogniart) จากปริมาณหินปูนที่สะสมเป็นจำนวนมากในชั้นหินที่ตรวจที่ภูเขาชูรา ตรงรายต่อระหว่างประเทศเยอรมนี ฝรั่งเศส และ สวิตเซอร์แลนด์ ยุคนี้ทำให้เกิดหนังเรื่องจูแรสซิกปาร.

ใหม่!!: โลกและยุคจูแรสซิก · ดูเพิ่มเติม »

ยุคครีเทเชียส

ูแรสซิก←ยุคครีเทเชียส→ยุคพาลีโอจีน ยุคครีเทเชียส (Cretaceous) เป็นยุคหนึ่งทางธรณีกาลของโลก อยู่ในมหายุคมีโซโซอิก ยุคครีเทเชียสอยู่ถัดจากยุคจูแรสซิก คือประมาณ 145.5 ± 4.0 ล้านปีก่อน และอยู่ก่อนหน้ายุคพาลีโอจีน หรือประมาณ 65.5 ล้านปีก่อนถึง 23.03 ล้านปีก่อน ถือเป็นยุคที่ยาวนานที่สุดและกินเวลาเกือบครึ่งหนึ่งของมหายุคมีโซโซอิก จุดสิ้นสุดของยุคครีเทเชียสเป็นรอยต่อระหว่างมหายุคมีโซโซอิกกับมหายุคซีโนโซอิก ชื่อ ครีเทเชียส มาจากภาษาลาติน creta แปลว่าชอล์ก ยุคนี้กำหนดโดยนักธรณีวิทยาชาวเบลเยียม ฌ็อง โดมาลิวส์ ดัลลัว (Jean d'Omalius d'Halloy) เมื่อ ค.ศ. 1822 โดยอาศัยชั้นหินในแอ่งปารีส และตั้งชื่อดังกล่าวจากปริมาณชาล์ก ซึ่งเป็นแคลเซียมคาร์บอเนตจากเปลือกของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในทะเล โดยเฉพาะค็อคโคลิท ที่พบในยุคครีเทเชียสตอนบน ในทวีปยุโรปและบนเกาะอังกฤษ ยุคครีเทเชียสเป็นยุคที่รุ่งเรืองที่สุดของไดโนเสาร์ และเมื่อปลายยุคครีเทเชียสเมื่อ 65 ล้านปีก่อน เกิดการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ทำให้สิ่งมีชีวิตถึง 94% สูญพันธุ์ ซึ่งรวมถึงไดโนเสาร์ด้ว.

ใหม่!!: โลกและยุคครีเทเชียส · ดูเพิ่มเติม »

ยุคน้ำแข็ง

แผ่นน้ำแข็งที่ขยายระหว่างยุคน้ำแข็ง ภาพนี้เป็นแผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก ยุคน้ำแข็ง หรือยุคไครโอจีเนีย (Ice Age)เป็นช่วงเวลาที่มีการลดลงของอุณหภูมิอย่างยาวนานบนพิ้นผิวและชั้นบรรยากาศโลกและโลกเกือบถึงจุดจบ ทำให้เกิดการขยายตัวของแผ่นน้ำแข็งในผืนทวีป แผ่นน้ำแข็งขั้วโลก และธารน้ำแข็งอัลไพน์ เมื่อเริ่มเข้าสู่ยุคน้ำแข็ง หรือยุคไครโอจีเนีย จะมีหิมะตกลงมาอย่างหนักทั่วผืนผิวโลก ทั้งพื้นดิน และพื้นน้ำ เช่น มหาสมุทรแปซิฟิก เป็นต้น เมื่อพื้นผิวมหาสมุทรถูกปกคลุมด้วยหิมะ ทำให้ใต้ท้องมหาสมุทรไม่ได้รับแสงอาทิตย์ หรือได้รับน้อยมาก และหลังจากนั้นได้มีการระเบิดของภูเขาไฟครั้งใหญ่ขึ้น และพ่นเถ้าถ่านออกมาจากปล่องภูเขาไฟจำนวนมาก ทำให้โลกเกิดปรากฏการณ์โลกร้อน(Green House Effect)แล้วน้ำแข็ง และหิมะที่ปกคลุมทั่วโลกนั้นได้ละลายกลายเป็นน้ำ เมื่อน้ำแข็งละลายกลายเป็นน้ำ ทำให้น้ำที่ละลายไปนั้นไหลย้อนกลับขึ้นมาสู่พื้นดินดังเดิม.

ใหม่!!: โลกและยุคน้ำแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

ยุคโลหะ

ลหะ (Metal Age) เป็นยุคที่อยู่ในช่วงยุคก่อนประวัติศาสตร์ เกิดขึ้นเมื่อประมาณ 5,000-900 ปีก่อนพุทธศักราช ยุคที่มนุษย์รู้จักนำเอาแร่โลหะมาจากธรรมชาตินำมาใช้เพื่อประโยชน์ เช่น ทองแดง, สำริด และเหล็ก นำมาหล่อหรือขึ้นเป็นมีด, หอก และดาบ เพื่อใช้ในการล่าสัตว์ หรือมาประกอบเป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ และเครื่องประดับ มนุษย์สมัยนี้พัฒนาการเป็นอยู่อาศัยและการเกษตรกรรมให้ดียิ่งขึ้น เช่น การสร้างบ้านให้ใต้ถุนบ้านสูง.

ใหม่!!: โลกและยุคโลหะ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคไทรแอสซิก

อร์เมียน←ยุคไทรแอสซิก→ยุคจูแรสซิก ยุคไทรแอสซิก (Triassic) เป็นยุคหนึ่งทางธรณีกาลของโลก ตรงกับช่วงเวลาประมาณ 251 ± 0.4 ถึง 199.6 ± 0.6 ล้านปีก่อน ยุคไทรแอสซิกเป็นยุคแรกของมหายุคมีโซโซอิก อยู่หลังยุคเพอร์เมียนและอยู่หน้ายุคจูแรสซิก จุดเริ่มต้นและสิ้นสุดยุคไทรแอสซิกกำหนดจากเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดการสูญพันธุ์มากมาย ซึ่งเหตุการณ์ดังกล่าวสามารถกำหนดจากชั้นหินได้แน่นอน แต่ช่วงเวลาที่เกิดขึ้นยังไม่สามารถระบุได้ละเอียดจริง ๆ มีค่าความผิดพลาดได้หลายล้านปี ในยุคไทรแอสซิก สิ่งมีชีวิตทั้งบนบกและในทะเลมีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ จากพื้นผิวโลกที่มีสภาพแย่ลงอย่างรวดเร็วหลังการสูญพันธุ์ในช่วงรอยต่อระหว่าง ยุคเพอร์เมียน และ ยุคไทรแอสซิก ปะการังในกลุ่มเฮกซะคอราลเลีย (hexacorallia) ถือกำเนิดขึ้น พืชดอกอาจจะวิวัฒนาการในยุคนี้ รวมกระทั่งสัตว์มีกระดูกสันหลังที่บินได้คือเทอโรซอร์ (Pterosaur).

ใหม่!!: โลกและยุคไทรแอสซิก · ดูเพิ่มเติม »

ยูทูบ เรด

ูทูบ เรด (Youtube Red) คือ บริการที่เก็บค่าธรรมเนียมจากสมาชิกที่ยูทูบได้มอบให้กับผู้ใช้อินเตอร์เน็ตในสหรัฐอเมริกา โดยให้การดูวีดีโอในยูทูบได้โดยปราศจากโฆษณา ดาวน์โหลดวีดีโอมาเก็บไว้เพื่อดูออฟไลน์เวลาไม่มีอินเตอร์เน็ต รวมไปถึงการเล่นวีดีโอเบื้องหลังในโทรศัพท์ การเข้าถึงเนื้อหาใหม่ๆที่ไม่เคยมีทีอื่น และการเข้าถึงเพลงโดยไม่มีโฆษณาในเดือนพฤศจิกายน ปี..

ใหม่!!: โลกและยูทูบ เรด · ดูเพิ่มเติม »

ยูโรปา (ดาวบริวาร)

ูโรปา (Europa; Ευρώπη) เป็นดาวบริวารดวงหนึ่งของดาวพฤหัสบดี ค้นพบในปี..

ใหม่!!: โลกและยูโรปา (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

รหัสวินาศโลก

รหัสวินาศโลก (Knowing) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์-หายนะ ออกฉายในวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2552 นำแสดงโดยนิโคลัส เคจ เนื้อเรื่องเกี่ยวกับจอห์น(นิโคลัส เคจ)ที่ค้นพบรหัสลับตัวเลขซึ่งเขียนทำนายวันที่ ปี และตำแหน่งที่จะเกิดหายนะครั้งใหญ่ขึ้นในรอบ50ปี อาทิ เหตุการณ์แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 เหตุการณ์วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 ซึ่งคำนายทั้งหมดถูกต้องและไม่มีข้อผิดพลาด จอห์นพบว่าเหลือเหตุการณ์หายนะอีกสามเหตุการณ์ ซึ่งเขาต้องหยุดยั้งไม่ให้มันเกิดขึ้น ในขณะเดียวกันโลกก็กำลังเผชิญกับความร้อนจากดวงอาทิตย์จอห์นพบว่าดวงอาทิตย์จะปล่อยพลังงานมหาศาลซึ่งจะเกิดเปลวไฟเผาโลกทั้งใบและจะไม่มีสิ่งมีชีวิตรอดพ้นจากเหตุการณ์นี้ไปได้ แต่ในคำนายซึ่งยังเขียนไม่จบกลับมีตัวเลขที่บ่งบอกสถานที่ที่จะทำให้เขารอดพ้นจากเหตุการณ์นี้ไปได้เขาจึงต้องพยายามค้นหาตัวเลขที่ยังเขียนไม่จบและหยุดยั้งไม่ให้หายนะทั้งสามเกิดขึ้นให้จงได้ ภาพยนตร์ใช้ทุนสร้างไป 50ล้านดอลลาร์สหรัฐและทำรายได้ทั่วโลกไปกว่า 183ล้านดอลลาร์สหรัฐ และมีฉากหายนะที่น่าจดจำทั้งสามฉาก คือ ฉากเครื่องบินตก ฉากรถไฟใต้ดินตกราง และฉากเปลวไฟจากดวงอาทิตย์เผาโลก ภาพยนตร์ได้รับคำวิจารณ์ทั้งในแง่บวกและล.

ใหม่!!: โลกและรหัสวินาศโลก · ดูเพิ่มเติม »

รอยเตอร์ส

อาคารสำนักงานใหญ่ที่กรุงลอนดอน สำนักข่าวรอยเตอร์ส (Reuters) คือผู้ให้บริการข้อมูลทางการเงินและรายงานข่าวต่างๆ ให้แก่สำนักข่าวต่างๆ ของโลก สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ โดยรอยเตอร์สได้รับรายได้ส่วนมาก (กว่าร้อยละ 90) จากการให้บริการข้อมูลทางการเงินต่างๆ เช่น ราคาหุ้นในตลาดต่างๆ อัตราแลกเปลี่ยน ราคาน้ำมัน รายงานการวิเคราะห์หลักทรัพย์ เป็นต้น และการให้บริการซื้อขายผ่านอินเทอร์เน็ตต่างๆ โดยปัจจุบันนี้รอยเตอร์สมีส่วนแบ่งการตลาดในด้านการบริการข้อมูลทางการเงินมากเป็นอันดับสอง ประมาณร้อยละ 23 รองจาก บลูมเบิร์ก (Bloomberg) ที่ควบคุมส่วนแบ่งการตลาดมากถึงร้อยละ 33 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 2007 รอยเตอร์สได้รวมกิจการกับบริษัททอมสัน คอร์ปอเรชัน (Thomson Corporation) ผู้ให้บริการข้อมูลทางการเงินรายใหญ่จากแคนาดาที่มีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 11 โดยบริษัทใหม่ได้ใช้ชื่อว่า ทอมสัน รอยเตอร์ส (Thomson Reuters) และจะกลายเป็นผู้ให้บริการทางการเงินรายใหญ่ที่สุดของโลกด้วยส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 34 แซงหน้าบลูมเบิร์กที่มีส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 33.

ใหม่!!: โลกและรอยเตอร์ส · ดูเพิ่มเติม »

ระบบพิกัด

ระบบพิกัดคาร์ทีเซียนสองมิติ ระบบพิกัดคาร์ทีเซียนสามมิติ พิกัด หมายถึง ค่าของตัวเลขที่ใช้อธิบายตำแหน่งของจุดบนระนาบหรือปริภูมิ ตัวอย่างเช่น ระดับความสูงจากน้ำทะเลก็เป็นพิกัดอย่างหนึ่งที่อธิบายตำแหน่งของจุดเหนือระดับพื้นผิวโลก ส่วนระบบพิกัดคือวิธีการอย่างเป็นระบบที่มีการให้ค่าคู่อันดับหรือสามสิ่งอันดับแทนตำแหน่งของแต่ละจุดบนระนาบหรือปริภูมิ ซึ่งคู่อันดับหรือสามสิ่งอันดับหนึ่งชุดจะหมายถึงตำแหน่งเพียงตำแหน่งเดียวเท่านั้น ดังตัวอย่าง สามสิ่งอันดับที่ประกอบด้วย ละติจูด ลองจิจูด และอัลติจูด (ระดับความสูง) เป็นระบบพิกัดที่ใช้ระบุตำแหน่งของจุดเหนือพื้นผิวโลก พิกัดอาจนิยามได้ในบริบททั่วไป เช่น ถ้าหากเราไม่สนใจความสูง ดังนั้นละติจูดและลองจิจูดจึงสามารถเป็นระบบพิกัดเหนือพื้นผิวโลกก็ได้ โดยสมมติให้โลกมีรูปร่างใกล้เคียงทรงกลม พิกัดเช่นนี้เป็นสิ่งสำคัญในดาราศาสตร์ ซึ่งใช้สำหรับอธิบายตำแหน่งของเทหวัตถุบนท้องฟ้าโดยไม่สนใจระยะทาง (ดูเพิ่มที่ระบบพิกัดทรงกลมฟ้า) อย่างไรก็ตาม บทความนี้จะมุ่งประเด็นไปที่ระบบพิกัดบนระนาบและปริภูมิสามมิติเท่านั้น เพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจในขอบเขตของคณิตศาสตร์มูลฐาน.

ใหม่!!: โลกและระบบพิกัด · ดูเพิ่มเติม »

ระบบพิกัดทรงกลมฟ้า

ในทางดาราศาสตร์ ระบบพิกัดทรงกลมฟ้า (Celestial coordinate system) คือระบบสำหรับใช้ในตำแหน่งที่ระบุของวัตถุบนท้องฟ้า เช่น ดาวเทียม,ดาวเคราะห์,ดาวฤกษ์,ดาราจักร และอื่น ๆ ระบบพิกัดสามารถระบุได้อยู่ในตำแหน่งปริภูมิสามมิติ หรือเป็นเพียงแค่ทิศทางของวัตถุบนทรงกลมฟ้า ถ้าระยะห่างไม่เป็นที่รู้จักหรือไม่ได้สำคัญ ระบบพิกัดถูกนำมาใช้ทั้งในระบบพิกัดทรงกลม หรือระบบพิกัดคาร์ทีเซียน ระบบพิกัดทรงกลมที่คาดการณ์เกี่ยวกับทรงกลมฟ้า มีความคล้ายคลึงกับพิกัดภูมิศาสตร์ นำมาใช้บนพื้นผิวของโลก สิ่งเหล่านี้แตกต่างในการเลือกใช้ของเครื่องบินขั้นพื้นฐาน ซึ่งแบ่งออกจากทรงกลมฟ้าเป็นสองเท่ากับ ทรงกลมไปตามวงกลมใหญ่ ระบบพิกัดมุมฉาก อยู่ในหน่วยที่เหมาะสมเป็นแค่เทียบเท่ากับระบบคาร์ทีเซียนของพิกัดทรงกลม แบบเดียวกับพื้นฐานเครื่องบิน (x,y) และทิศทางหลัก (x-axis) แต่ละระบบพิกัดเป็นชื่อสำหรับการเลือกของเครื่องบินพื้นฐาน.

ใหม่!!: โลกและระบบพิกัดทรงกลมฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ (Solar System) ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่น ๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 166 ดวง ดาวเคราะห์แคระ 5 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ อีกนับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึง ดาวเคราะห์น้อย วัตถุในแถบไคเปอร์ ดาวหาง สะเก็ดดาว และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์ โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งย่านต่าง ๆ ของระบบสุริยะ นับจากดวงอาทิตย์ออกมาดังนี้คือ ดาวเคราะห์ชั้นในจำนวน 4 ดวง แถบดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอกจำนวน 4 ดวง และแถบไคเปอร์ซึ่งประกอบด้วยวัตถุที่เย็นจัดเป็นน้ำแข็ง พ้นจากแถบไคเปอร์ออกไปเป็นเขตแถบจานกระจาย ขอบเขตเฮลิโอพอส (เขตแดนตามทฤษฎีที่ซึ่งลมสุริยะสิ้นกำลังลงเนื่องจากมวลสารระหว่างดวงดาว) และพ้นไปจากนั้นคือย่านของเมฆออร์ต กระแสพลาสมาที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ (หรือลมสุริยะ) จะแผ่ตัวไปทั่วระบบสุริยะ สร้างโพรงขนาดใหญ่ขึ้นในสสารระหว่างดาวเรียกกันว่า เฮลิโอสเฟียร์ ซึ่งขยายออกไปจากใจกลางของแถบจานกระจาย ดาวเคราะห์ชั้นเอกทั้ง 8 ดวงในระบบสุริยะ เรียงลำดับจากใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดออกไป มีดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน นับถึงกลางปี ค.ศ. 2008 วัตถุขนาดย่อมกว่าดาวเคราะห์จำนวน 5 ดวง ได้รับการจัดระดับให้เป็นดาวเคราะห์แคระ ได้แก่ ซีรีสในแถบดาวเคราะห์น้อย กับวัตถุอีก 4 ดวงที่โคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในย่านพ้นดาวเนปจูน คือ ดาวพลูโต (ซึ่งเดิมเคยถูกจัดระดับไว้เป็นดาวเคราะห์) เฮาเมอา มาคีมาคี และ อีรีส มีดาวเคราะห์ 6 ดวงและดาวเคราะห์แคระ 3 ดวงที่มีดาวบริวารโคจรอยู่รอบ ๆ เราเรียกดาวบริวารเหล่านี้ว่า "ดวงจันทร์" ตามอย่างดวงจันทร์ของโลก นอกจากนี้ดาวเคราะห์ชั้นนอกยังมีวงแหวนดาวเคราะห์อยู่รอบตัวอันประกอบด้วยเศษฝุ่นและอนุภาคขนาดเล็ก สำหรับคำว่า ระบบดาวเคราะห์ ใช้เมื่อกล่าวถึงระบบดาวโดยทั่วไปที่มีวัตถุต่าง ๆ โคจรรอบดาวฤกษ์ คำว่า "ระบบสุริยะ" ควรใช้เฉพาะกับระบบดาวเคราะห์ที่มีโลกเป็นสมาชิก และไม่ควรเรียกว่า "ระบบสุริยจักรวาล" อย่างที่เรียกกันติดปาก เนื่องจากไม่เกี่ยวข้องกับคำว่า "จักรวาล" ตามนัยที่ใช้ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: โลกและระบบสุริยะ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบโลกเป็นศูนย์กลาง

'''Figure of the heavenly bodies''' — ภาพแบบจำลองโลกเป็นศูนย์กลางจักรวาลขอโตเลมีโดย Bartolomeu Velho ใน ค.ศ. 1568 (Bibliotèque National, Paris) ในทางดาราศาสตร์ แนวคิดโลกเป็นศูนย์กลางจักรวาล หรือ (เอกภพ)มีโลกเป็นแกน (Geocentric Model) คือแนวคิดเก่าแก่ที่ว่าเอกภพทั้งมวลโคจรไปรอบโลกของเราที่อยู่ตรงจุดศูนย์กลางของจักรวาล เป็นแนวคิดที่มีกำเนิดมาแต่ยุคสมัยของกรีกโบราณ โดยมีนักปราชญ์ในยุคนั้นทั้งทอเลมีและอริสโตเติลให้การสนับสนุน นักปรัชญากรีกโบราณล้วนแต่เชื่อว่า ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ตลอดจนดวงดาวต่างๆ ล้วนแต่เคลื่อนที่เป็นวงกลมไปรอบๆ โลก มีแนวคิดคล้ายๆ กันนี้ปรากฏในประเทศจีนเช่นกัน ความคิดและความเชื่อในแนวนี้ได้โยงไปถึงความเชื่อเรื่องเทพเจ้าซึ่งมีมาอย่างนานและความคิดแนวนี้ได้คร่าชีวิตนักวิทยาศาสตร์และนักปรัชญาไปอย่างมากม.

ใหม่!!: โลกและระบบโลกเป็นศูนย์กลาง · ดูเพิ่มเติม »

ระยะเชิงมุม

ในทางคณิตศาสตร์ (หรือกล่าวให้ตรงคือในสาขาเรขาคณิตและตรีโกณมิติ) รวมถึงวิทยาศาสตร์ธรรมชาติทั้งหมด (รวมถึงดาราศาสตร์, ธรณีฟิสิกส์, ฯลฯ) ระยะเชิงมุม (Angular distance) ระหว่างจุดสองจุดซึ่งสังเกตได้จากตำแหน่งที่แตกต่างกัน หมายถึง ขนาดของมุมระหว่างทิศทาง 2 ทิศทางซึ่งเกิดจากผู้สังเกตมุ่งไปยังวัตถุทั้งสองนั้น คำว่า ระยะเชิงมุม จึงมีความหมายจริงในลักษณะของ "มุม" แต่ใช้ในการอธิบายความหมายถึง "ระยะทาง" เชิงเส้นระหว่างวัตถุ (ตัวอย่างเช่น การพิจารณาระยะห่างของดาวฤกษ์ เมื่อสังเกตจากบนโลก).

ใหม่!!: โลกและระยะเชิงมุม · ดูเพิ่มเติม »

ระเบียบวิธีแบบวิทยาศาสตร์

ระเบียบวิธีแบบวิทยาศาสตร์ (scientific method) หรือ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (scientific process) เป็นหลักการพื้นฐานของการตรวจสอบและเสาะหาความรู้ใหม่แบบวิทยาศาสตร์ ที่ใช้หลักฐานทางกายภาพ นักวิทยาศาสตร์เสนอความเชื่อใหม่เกี่ยวกับโลกในรูปของทฤษฎีที่ผ่านขั้นตอนของ การสังเกต, การตั้งสมมติฐาน, และการอนุมาน ผลการทำนายของทฤษฎีเหล่านี้จะถูกทดสอบด้วยการทดลอง ถ้าผลการทำนายนั้นถูกต้องหรือสอดคล้องกับการทดลอง ทฤษฎีดังกล่าวจะถูกเก็บไว้ ทฤษฎีที่ความน่าเชื่อถือจะถูกนำไปทดลองซ้ำเพื่อยืนยันความถูกต้องเพิ่มเติม ระเบียบวิธีนี้ถูกจัดให้เป็นตรรกะสำคัญของธรรมเนียมปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ โดยสาระสำคัญนั้นระเบียบวิธีแบบวิทยาศาสตร์คือวิธีการที่รอบคอบมาก สำหรับสร้างความเข้าใจ ที่มีหลักฐานและยืนยันได้เกี่ยวกับโลก.

ใหม่!!: โลกและระเบียบวิธีแบบวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รักบี้โลก

รักบี้โลก (World Rugby; WR) เป็นองค์กรที่ดำเนินการในกีฬารักบี้ยูเนียนระหว่างประเทศ สำนักงานตั้งอยู่ที่เมือง ดับลิน, สาธารณรัฐไอร์แลน.

ใหม่!!: โลกและรักบี้โลก · ดูเพิ่มเติม »

รัศมีดวงอาทิตย์

รัศมีดวงอาทิตย์ เป็นหน่วยวัดระยะทางซึ่งถูกใช้เพื่อแสดงถึงขนาดของดาวฤกษ์ในทางดาราศาสตร์ โดยมีค่าเท่ากับรัศมีในปัจจุบันของดวงอาทิตย์: รัศมีดวงอาทิตย์มีค่าประมาณ 695,500 กิโลเมตร (432,450 ไมล์) หรือประมาณ 110 เท่าของรัศมีโลก หรือราว 10 เท่าของรัศมีโดยเฉลี่ยของดาวพฤหัสบดี ค่าดังกล่าวเปลี่ยนแปลงได้เล็กน้อยเนื่องจากการหมุนรอบตัวเองของดาว ซึ่งมีผลต่อความรีแป้น 10 ส่วนในล้านส่วน ดูเพิ่มที่ 1 จิกะเมตร สำหรับระยะห่างที่คล้ายกัน.

ใหม่!!: โลกและรัศมีดวงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

รังสรรค์นิยมแบบโลกมีอายุน้อย

รังสรรค์นิยมแบบโลกมีอายุน้อย (Young Earth creationism) เป็นแนวคิดทางศาสนาแบบรังสรรค์นิยม (creationism) ชนิดหนึ่ง ซึ่งเชื่อว่าเอกภพ โลก และสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ถูกสร้างขึ้นด้วยการกระทำโดยตรงของพระเจ้า เมื่อเวลาไม่ถึง 10,000 ปีก่อน ผู้นับถือหลักคือชาวคริสต์ที่ยึดถือการตีความโดยตรงของบทว่าด้วยการสร้างโลกในหนังสือปฐมกาล และเชื่อว่าพระเจ้าสร้างโลกในเวลา 6 วัน ซึ่งแต่ละวันมี 24 ชั่วโมงจริงๆ ในขณะที่แนวคิดรังสรรค์นิยมแบบโลกมีอายุมากเชื่อว่าบทบรรยายว่าด้วยการสร้างโลกในหนังสือปฐมกาลเป็นการบรรยายโดยอุปมาเท่านั้น และเชื่อในอายุของโลกและเอกภพที่ได้จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร.

ใหม่!!: โลกและรังสรรค์นิยมแบบโลกมีอายุน้อย · ดูเพิ่มเติม »

ราชันย์แห่งภูต

ราชันย์แห่งภูต (Shaman King) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ผลงานของ ฮิโรยูกิ ทาเคอิ เรื่องราวเกี่ยวกับ อาซาคุระ โย ผู้มีพลังมองเห็นวิญญาณ และเกิดในตระกูลชาแมน ซึ่งมีหน้าที่ติดต่อกับวิญญาณ และความฝันของโยก็เพื่อที่จะสร้างโลกที่มีแต่ความสุข ทุกคนมีเวลาที่จะผ่อนคลายได้มองสายลม สูดกลิ่นธรรมชาติได้อย่างไม่เร่งร้อนเหมือนโลกปัจจุบัน และสิ่งที่จะช่วย อาซาคุระโยได้ก็คือ การประลองราชันแห่งภูตที่จะได้รับพรจากเกรทสปิริตหากเป็นผู้ชนะ ในประเทศไทย ราชันย์แห่งภูต ได้ลิขสิทธิ์จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์คอมิกส์ ซึ่งตีพิมพ์เป็นตอนๆ ลงในนิตยสารซีคิดส์ ส่วนภาคอะนิเมะ ได้ลิขสิทธิ์จัดจำหน่ายโดยอามีโก้ และเคยออกอากาศทางไอทีวี ในรายการ ไอทีวีการ์ตูนคลับ ทุกวันสาร์-อาทิตย์ เวลา 8.30-9.00 น. ตั้งแต่ 1 มกราคม - กลางเดือนสิงหาคม 2548.

ใหม่!!: โลกและราชันย์แห่งภูต · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบรรณพิภพในจักรวาลของอสิมอฟ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อบรรณพิภพในจักรวาลของอสิมอฟ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรัฐเอกราชเรียงตามสินทรัพย์ต่างประเทศ

้านล่างนี้เป็น รายชื่อรัฐอธิปไตยเรียงตามสินทรัพย์ภายนอก ซึ่งเป็นทรัพย์สินที่อยู่ใน เงินตรา หุ้น และตราสารหนี้ ตารางนี้อ้างอิงจาก รายงานความมั่งคั่งทั่วโลกของอลิอันซ..

ใหม่!!: โลกและรายชื่อรัฐเอกราชเรียงตามสินทรัพย์ต่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อดาราจักร

รายชื่อของดาราจักรที่น่าสนใ.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อดาราจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อดาวฤกษ์เรียงตามโชติมาตรปรากฏ

วฤกษ์สว่างที่สุด จัดว่าเป็นดาวฤกษ์สว่างเนื่องจากมีความส่องสว่างมาก และ/หรือ มันอยู่ใกล้โลกมาก รายชื่อต่อไปนี้เป็นรายชื่อดาวฤกษ์เดี่ยว 91 ดวงที่สว่างที่สุดเมื่อมองจากโลก ภายใต้การสังเกตคลื่นที่ตามองเห็น (กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ดาวฤกษ์ที่มีค่าความส่องสว่างปรากฏน้อยกว่าหรือเท่ากับ +2.50) หากนับความสว่างที่ต่ำลงกว่านี้จะได้รายชื่อดาวฤกษ์เพิ่มอีกเป็นจำนวนมาก แผนภาพท้องฟ้าโดยมากจัดทำโดยนับรวมดาวฤกษ์ที่มีค่าความส่องสว่างปรากฏถึง +11 ในคลื่นที่ตามองเห็น การสำรวจอย่างต่อเนื่องทำให้เราบันทึกรายชื่อดาวฤกษ์ที่มีความสว่างน้อยลงได้มากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อเป็นข้อมูลเปรียบเทียบ วัตถุท้องฟ้าที่มิใช่ดาวฤกษ์ในระบบสุริยะของเราที่มีความสว่างสูงสุด คือน้อยกว่าหรือเท่ากับ +2.50 ได้แก่ ดวงจันทร์ (ความสว่าง -12.9) ดาวศุกร์ (ความสว่าง -4.6) ดาวพฤหัสบดี (ความสว่าง -2.9) ดาวอังคาร (ความสว่าง -2.9) ดาวพุธ (ความสว่าง -1.9) และดาวเสาร์ (ความสว่าง -0.2).

ใหม่!!: โลกและรายชื่อดาวฤกษ์เรียงตามโชติมาตรปรากฏ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในทีน ไททันส์

รายชื่อตอนของการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศสหรัฐอเมริกาเรื่อง ทีนไททัน.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อตอนในทีน ไททันส์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในกินทามะ

งุระ, ฮิจิคาตะ โทชิโร่, โอคิตะ โซโกะ, คอนโด้ อิซาโอะ, ชิมูระ ทาเอะ, ซารุโทบิ อายาเมะ, คาซึระ โคทาโร่, อลิซาเบท, ยามาซากิ ซางารุ, ซากาโมโต้ ทัตสึมะ, ยางิว คิวเบ, ซาดะฮารุ, ฮาเซงาว่า ไทโซ, โอโทเซะ, แคทเธอรีน, ทามะ และทากาสุงิ ชินสุเกะ ต่อไปนี้เป็นรายชื่อตัวละครจากหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง กินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซราจิ เนื้อเรื่องมีฉากในเมืองเอโดะที่ถูกรุกรานโดยมนุษย์ต่างดาว หรือที่เรียกกันว่า ชาวสวรรค์ เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตของอดีตซามูไรที่ชื่อ ซากาตะ กินโทกิ ที่ปัจจุบันทำงานเป็นนักรับจ้างสารพัดเพื่อหาเงินมาจ่ายค่าเช่าบ้าน เนื้อเรื่องส่วนใหญ่จะจบในตอน แต่ก็มีบางโอกาสที่เรื่องราวจะต่อเนื่องยาวนานไปหลายตอน เนื่อเรื่องเริ่มต้นเมื่อเด็กหนุ่มชิมูระ ชินปาจิซึ่งทำงานเป็นลูกจ้างในร้านอาหารถูกนายจ้างและชาวสวรรค์กลั่นแกล้ง แต่ก็ได้ซามูไรนามว่าซากาตะ กินโทกิมาช่วยไว้ ชินปาจิเกิดความรู้สึกนับถือกินโทกิและสมัครเป็นลูกน้องของกินโทกิ เพื่อที่จะเรียนรู้วิถีแห่งซามูไร ต่อมาทั้งสองได้พบกับคางุระ เด็กหญิงชาวเผ่ายาโตะซึ่งเป็นเผ่าพันธุ์ที่แข็งแกร่งมากที่สุดเผ่าหนึ่งในจักรวาล ซึ่งได้มาเป็นลูกน้องของกินโทกิอีกคน ทั้งสามคนทำงานเป็นนักรับจ้างอิสระ โดยตั้งสำนักงานที่ร้านกินจังรับจ้างสารพัด ทั้งสามคนยังได้รู้จักกับคาซึระ โคทาโร่ นักรบขับไล่ต่างแดนที่เป็นเพื่อนสนิทของกินโทกิ และทากาสุงิ ชินสุเกะ นักรบขับไล่ต่างแดนอีกคน แต่หัวรุนแรงกว่าคาซึระ เป็นอดีตเพื่อนของกินโทกิและคาซึระ และเป็นตัวร้ายของเรื่อง นอกจากนี้เหล่านักรับจ้างสารพัดยังได้รู้จักกับกองกำลังตำรวจชินเซ็นงุมิ และมักจะทะเลาะกันบ่อยครั้ง แต่บางครั้งทั้งสองฝ่ายก็ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตัวละครส่วนใหญ่ในการ์ตูนกินทามะได้ต้นแบบจากบุคคลในประวัติศาสตร์จริง โดยเฉพาะตัวละครในกลุ่มชินเซ็นงุมิที่ได้ต้นแบบจากกองกำลังชินเซ็นงุมิในประวัติศาสตร์จริง.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อตัวละครในกินทามะ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง

ตัวละครหลัก รายชื่อตัวละครในลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง ซึ่งเป็นตัวละครการ์ตูนจากการ์ตูนไทยเรื่อง "ลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง".

ใหม่!!: โลกและรายชื่อตัวละครในลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในเพชรพระอุมา

ตัวละครในเพชรพระอุมา เป็นรายละเอียดของตัวละครจากเพชรพระอุมา แยกตามตัวละครหลักและตัวละครรอง ตามแต่ปรากฏในแต่ละภาค ได้แก่ภาคแรกไพรมหากาฬ - แงซายจอมจักรา ในการออกติดตามค้นหาผู้สูญหายและภาคสมบูรณ์จอมพราน - มงกุฎไพร ในการออกติดตามหาเครื่องบิน บี 52 และระเบิดนิวเคลียร.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อตัวละครในเพชรพระอุมา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศจากการผลิตซิลิคอน

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศจากการผลิตซิลิคอน ซี่งเป็นข้อมูลจาก USGS เมื่อปี..

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศจากการผลิตซิลิคอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศจากการผลิตแร่เงิน

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศจากการผลิตแร่เงิน ซึ่งเป็นข้อมูลจาก United States Geological Survey เมื่อปี 2013.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศจากการผลิตแร่เงิน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามจำนวนประชากร (สหประชาชาติ)

้านล่างนี้เป็นรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร ที่องค์การสหประชาชาติสำรวจไว้ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศตามจำนวนประชากร (สหประชาชาติ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามจำนวนประชากรในอดีต (ประมาณการโดยสหประชาชาติ)

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศตามจำนวนประชากรในอดีต โดยเป็นข้อมูลการประมาณการของสหประชาชาต.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศตามจำนวนประชากรในอดีต (ประมาณการโดยสหประชาชาติ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามดัชนีการพัฒนามนุษย์

นี่คือ รายการประเทศทั้งหมดเรียงตามดัชนีการพัฒนามนุษย์ ตามที่รวมอยู่ในรายงานการพัฒนามนุษย์ของสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ รายงานฉบับล่าสุดออกเมื่อวันที่ 21 มีนาคม..

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศตามดัชนีการพัฒนามนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด

นี่คือ รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งรวมถึงรัฐอธิปไตยและเขตการปกครอง เรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด โดยยึดตามมาตรฐานสากล ISO 3166-1 เพื่อจุดประสงค์ทางสถิติ เขตการปกครองจะถูกบรรจุในรายชื่อรวมกับรัฐอธิปไตยด้วย ตัวเลขที่ปรากฏจะแสดงขนาดพื้นที่ทั้งหมด รวมทั้งพื้นดินและพื้นที่น้ำภายในดินแดนนั้นด้วย (เช่น ทะเลสาบ เขื่อน และแม่น้ำ) ซึ่งบางส่วนอาจนับรวมไปถึงพื้นที่ของน้ำภาคพื้นสมุทร (น่านน้ำชายฝั่ง) แต่ไม่นับรวมน่านน้ำอาณาเขตและเขตเศรษฐกิจจำเพาะ สถิติดังกล่าวไม่นับรวมเขตการปกครองซึ่งไม่มีพลเมืองอาศัยอยู่ – รวมทั้งการอ้างสิทธิ์ของหลายประเทศเหนือพื้นที่ของทวีปแอนตาร์กติกา (14,400,000 กม.²) – และการรวมกลุ่มประเทศ เช่น สหภาพยุโรป (4,324,782 กม.²) ซึ่งมีอำนาจอธิปไตย แต่ไม่สามารถพิจารณาว่าเป็นรัฐอธิปไตยหรือเขตการปกครองได้ พื้นที่ทั้งหมดของโลกคิดเป็น 148,940,000 กม.² (คิดเป็น 29.1% ของพื้นผิวโลกทั้งหมด).

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามพื้นที่ป่าไม้

้านล่างนี้เป็นรายชื่อประเทศเรียงตามพื้นที่ป่าไม้ ซึ่งเป็นข้อมูลจากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศเรียงตามพื้นที่ป่าไม้ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามการบริโภคแก๊สธรรมชาติ

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศเรียงตามการบริโภคแก๊สธรรมชาติ เป็นข้อมูลจากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศเรียงตามการบริโภคแก๊สธรรมชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตถ่านหิน

้านล่างนี้เป็นข้อมูลรายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตถ่านหิน เป็นผลการสำรวจเมื่อปี 2555 โดย บีพี เผยแพร่ในปี 2556.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตถ่านหิน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตไทเทเนียม

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตไทเทเนียม ซึ่งเป็นข้อมูลตั้งแต่ปี 2010–2013 เผยแพร่โดย USGS .

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตไทเทเนียม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตฟลูออไรต์

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตฟลูออไรต์ ข้อมูลจาก British Geological Survey เมื่อปี..

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตฟลูออไรต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตลิเทียม

้านล่างนี้เป็นข้อมูลรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตลิเทียมในปี..

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตลิเทียม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตอะลูมิเนียม

้านล่างนี้ เป็นรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตอะลูมิเนียม ข้อมูลจากปี..

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตอะลูมิเนียม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตทองแดง

การส่งออกทองแดงทั่วโลกในปี 2012 ด้านล่างนี้ เป็นรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตทองแดง เป็นข้อมูลจากปี 2014 ข้อมูลเมื่อศตวรรษที่ผ่านม.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตทองแดง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตดีบุก

้านล่างนี้เป็นรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตของดีบุก เป็นข้อมูลจากปี 2557.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตดีบุก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแพลทินัม

กราฟแสดงการผลิตแพลทินัมทั่วโลก (ตัน) ด้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแพลทินัม ซึ่งเป็นข้อมูลจาก United States Geological Survey.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแพลทินัม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแมกนีเซียม

้านล่างนี้ เป็นรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแมกนีเซียม โดยเป็นข้อมูลจาก United States Geological Survey เมื่อปี..

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแมกนีเซียม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตเฟลด์สปาร์

แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตเฟลด์สปาร์ของแต่ละประเทศ (ข้อมูลจากปี 2011) รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตเฟลด์สปาร์ (ข้อมูลจาก เมื่อปี ค.ศ. 2013)  .

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตเฟลด์สปาร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนสายโทรศัพท์ในการใช้งาน

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนสายโทรศัพท์ในการใช้งาน ข้อมูลส่วนมากมาจากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนสายโทรศัพท์ในการใช้งาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากรในปี พ.ศ. 1543

นี้คือรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากรในปี..

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากรในปี พ.ศ. 1543 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีการใช้งาน

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ยังใช้งานอยู.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีการใช้งาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามขนาดเครือข่ายทางรถไฟ

วามเข้าถึงของทางรถไฟในพื้นที่ของแต่ละประเทศ รายชื่อประเทศ เรียงตามความยาวทางรถไฟทั้งหมดที่ใช้งานได้ ณ สิ้นปีของปีที่สำรวจข้อมูล ตามข้อมูลของ สหภาพการรถไฟนานาชาต.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศเรียงตามขนาดเครือข่ายทางรถไฟ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามความหนาแน่นประชากร

รายชื่อประเทศเรียงตามความหนาแน่นประชากร นี่คือรายชื่อประเทศเรียงตามความหนาแน่นประชากร.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศเรียงตามความหนาแน่นประชากร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามประชากรเมือง

รายชื่อประเทศตามประชากรในเมือง.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อประเทศเรียงตามประชากรเมือง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตการปกครอง

รายชื่อเขตปกครองในระดับบนสุดของประเทศต่าง ๆ ที่มีการปกครองแบบสหพันธรัฐหรือรัฐรวม รวมทั้งเขตการปกครองในระดับบนสุดของเอกรัฐหรือรัฐเดี่ยวบางแห่ง.

ใหม่!!: โลกและรายชื่อเขตการปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

รายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้

การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้เป็นระบบการจำแนกห้องสมุดประกอบด้วย 10 หมวดใหญ่ (class) แต่ละหมวดใหญ่แบ่งเป็นสิบหมวดย่อย (division) แต่ละหมวดย่อยมีสิบหมู่ย่อย (section) ตัวอย่างเช่น หมวดใหญ่ 600 ("เทคโนโลยี") มีหมวดย่อย 630 ("เกษตรกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง") ซึ่งมีหมู่ย่อย 636 ("การเลี้ยงสัตว์") ในทางปฏิบัติ มีทั้งหมด 99 จาก 100 หมวดย่อยและ 908 จาก 1000 หมู่ย่อย เนื่องจากบางส่วนเลิกใช้แล้วหรือยังไม่กำหน.

ใหม่!!: โลกและรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ · ดูเพิ่มเติม »

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.

ใหม่!!: โลกและรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

ราศีพฤษภ

ราศีพฤษภ (Taurus จากtaurus แปลว่า "วัวตัวผู้") เป็นราศีที่ 2 ตามตำราของโหราศาสตร์ตะวันตก อยู่ระหว่างราศีเมษกับราศีเมถุน มีสัญลักษณ์เป็นวัว ช่วงวันที่ครอบคลุมของราศีพฤษภนั้น ในแบบสายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 21 เมษายน ถึง 21 พฤษภาคม ส่วนแบบนิรายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 16 พฤษภาคม ถึง 15 มิถุนายน.

ใหม่!!: โลกและราศีพฤษภ · ดูเพิ่มเติม »

ราเซีย สุลต่าน จอมนางเหนือแผ่นดิน

ราเซีย สุลต่าน จอมนางเหนือแผ่นดิน (อังกฤษ: Razia Sultan) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นใน ..

ใหม่!!: โลกและราเซีย สุลต่าน จอมนางเหนือแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าปารีส

รถไฟฟ้าปารีส (Métro de Paris) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ถือเป็นสัญลักษณ์ของเมืองก็ว่าได้ เห็นได้ชัดจากอิทธิพลของนวศิลป์ (Art Nouveau) มีเส้นทางทั้งหมด 16 สาย ส่วนมากมักจะอยู่ใต้ดินและมีความยาวทั้งสิ้น 213 กิโลเมตร (133 ไมล์) และมีสถานี 298 แห่ง รถไฟฟ้าสายแรกเปิดโดยไม่มีพิธีรีตองในปี พ.ศ. 2443 ระหว่างงานนิทรรศการนานาชาติ (Exposition Universelle 1900) หลังจากนั้นระบบขนส่งมวลชนรถไฟฟ้าได้ขยายตัวอย่างรวดเร็วจนกระทั่งเสร็จในช่วงปี พ.ศ. 2463 ส่วนการขยายออกไปยังชานเมืองได้บรรลุในช่วง 10 กว่าปีต่อมา ระบบรถไฟฟ้าปารีสได้ถึงจุดอิ่มตัวในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งระบบรถไฟฟ้าก็ได้นำขบวนรถไฟฟ้าใหม่เข้ามาให้บริการเนื่องจากการจราจรอันคับคั่ง ซึ่งการต่อเติมนั้นเป็นไปได้ยากและมีขีดจำกัดจึงได้เกิดรถไฟฟ้าแอร์เออแอร์ขึ้นในปี พ.ศ. 2503 เป็นต้นมา กรุงปารีสเป็นเมืองที่มีสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินที่หนาแน่นที่สุดในโลก ด้วยสถานีกว่า 245 แห่งภายในเนื้อที่กรุงปารีส 41 ตารางกิโลเมตร (16 ตารางไมล์) แต่ละสายจะมีชื่อเป็นหมายเลขตั้งแต่ 1 ถึง 14 และมีสายรองอีกสองสายคือ สาย 3 (2) และสาย 7 (2) สายรองทั้งสองเคยเป็นส่วนหนึ่งของสาย 3 และ 7 แต่แยกตัวออกมาภายหลังในปี พ.ศ. 2514 และ พ.ศ. 2510 ตามลำดับ รถไฟฟ้าปารีสมีสถานีทั้งหมด 298 แห่ง (382 ป้าย) โดยเชื่อมต่อกับสายอื่น 62 ป้าย มีจำนวนผู้โดยสารใช้บริการประมาณ 4.5 ล้านคนต่อวัน (1,409 ล้านคนต่อปี) ถือเป็นลำดับที่ 4 ของโลก ตามหลังมอสโก โตเกียว และเม็กซิโกซิตี และอยู่ในลำดับที่ 7 ของโลกเมื่อเปรียบเทียบระยะทางการเดินรถไฟฟ้า รองจากนิวยอร์ก โซล โตเกียว มอสโก มาดริด (แต่ถ้ารวมกับแอร์เออแอร์แล้วจะอยู่ในอันดับที่ 1) ส่วนจำนวนสถานีนั้นอยู่ที่ลำดับ 3 ของโลก รองลงมาจากนิวยอร์ก (468 สถานี) และโซล ทั้งนี้สถานีชาเตอแล-เลอาลยังเป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินที่ใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย แต่ละสายจะมีเลขและสีในการบ่งบอก ส่วนทิศทางในการเดินทางเห็นได้จากสถานีปลายทางของแต่ล.

ใหม่!!: โลกและรถไฟฟ้าปารีส · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินทาชเคนต์

รถไฟใต้ดินทาชเคนต์ (Toshkent metropoliteni, Ташкентский метрополитен) เป็นระบบขนส่งทางรางในกรุงทาชเคนต์ เมืองหลวงของประเทศอุซเบกิสถาน เป็นเส้นทางรถไฟใต้ดิน 1 ใน 2 แห่งของภูมิภาคเอเชียกลาง (อีกแห่งคือเมืองอัลมาตี) เริ่มก่อสร้างในสมัยโซเวียต เริ่มเปิดให้บริการในปี ค.ศ. 1977 เป็นเส้นทางที่มีสถานีรถไฟฟ้าหรูหราที่สุดในโลก.

ใหม่!!: โลกและรถไฟใต้ดินทาชเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ร่มชูชีพ

ร่มชูชีพของอพอลโล่ 15 การฝึกร่มชูชีพ ร่มชูชีพ (Parachutes) คือวัตถุที่ช่วยให้มนุษย์และสิ่งของเคลื่อนที่ช้าลงในการตกสู่พื้นโลก หรืออาจช่วยให้วัตถุที่ขนานกับพื้นโลกเคลื่อนที่ช้าลงเช่นในการแข่งรถ คำว่าร่มชูชีพในภาษาอังกฤษ (parachute) มาจากภาษาฝรั่งเศส "para", แปลว่าต่อต้าน "chute" แปลว่าการตก "parachute" จึงหมายถึง ต่อต้านการตก ร่มชูชีพถูกคิดค้นขึ้นในปี..

ใหม่!!: โลกและร่มชูชีพ · ดูเพิ่มเติม »

ร็อคกี้ 3 ตอน กระชากมงกุฏ

ร็อคกี้ 3 ตอน กระชากมงกุฏ (Rocky III) เป็นภาพยนตร์แอคชั่นเกี่ยวกับกีฬาสัญชาติอเมริกา ที่เขียนบท กำกับ และนำแสดงโดย ซิลเวสเตอร์ สตอลโลน.

ใหม่!!: โลกและร็อคกี้ 3 ตอน กระชากมงกุฏ · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูกาล

การโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลก ฤดูกาล (Season) เป็นช่วงเวลาในแต่ละปีที่แบ่งตามสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป เกิดขึ้นจากการที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ เนื่องจากแกนโลกเอียงเป็นมุม 23.5 องศา จึงทำให้ในแต่ละช่วงของปี แต่ละบริเวณจะได้รับแสงแดดไม่เท่ากัน ทำให้มีอุณหภูมิต่างกัน จึงเกิดเป็นฤดูกาลต่าง ๆ ขึ้น ในเขตอบอุ่นและเขตหนาว จะแบ่งออกเป็น 4 ฤดู ได้แก่ ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง และฤดูหนาว ซึ่งโดยทั่วไป ฤดูในเขตอบอุ่นของซีกโลกเหนือจะมีระยะเวลาดังนี้.

ใหม่!!: โลกและฤดูกาล · ดูเพิ่มเติม »

ลม

ต้นไม้ที่กำลังถูกลมพัด ลม เป็นการไหลเวียนของแก๊สในขนาดใหญ่ บนโลก ลมประกอบด้วยการเคลื่อนที่ของอากาศขนาดใหญ่ ส่วนในอวกาศ ลมสุริยะเป็นการเคลื่อนที่ของแก๊สหรืออนุภาคมีประจุจากดวงอาทิตย์ผ่านอวกาศ ขณะที่ลมดาวเคราะห์เป็นการปล่อยแก๊ส (outgassing) ของธาตุเคมีเบาจากชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์สู่อวกาศ โดยทั่วไป การจำแนกประเภทของลมใช้ขนาดเชิงพื้นที่, ความเร็ว, ประเภทของแรงที่เป็นสาเหตุ, ภูมิภาคที่เกิด และผลกระทบ ลมที่แรงที่สุดเท่าที่สังเกตพบบนดาวเคราะห์ในระบบสุริยะเกิดขึ้นบนดาวเนปจูนและดาวเสาร์ ในทางอุตุนิยมวิทยา ลมมักถูกเรียกชื่อตามพลัง และทิศทางซึ่งลมพัดมาจาก ลมความเร็วสูงที่พัดมาสั้น ๆ เรียก ลมกระโชก (gust) ลมแรงที่มีระยะการเกิดปานกลาง (ประมาณหนึ่งนาที) เรียก ลมพายุฝน (squall) ส่วนลมที่มีระยะการเกิดนานนั้นมีหลายชื่อตามความแรงเฉลี่ย เช่น ลม (breeze), เกล, พายุ, เฮอร์ริเคนและไต้ฝุ่น ลมเกิดขึ้นได้หลายขนาด ตั้งแต่พายุฝนฟ้าคะนองที่ไหลเวียนนานหลายสิบนาที ไปถึงลมท้องถิ่นที่เกิดจากการให้ความร้อนจากผิวดิน และเกิดนานไม่กี่ชั่วโมง ไปจนถึงลมทั่วโลกที่เกิดจากความแตกต่างในการดูดซับพลังงานจากดวงอาทิตย์ระหว่างเขตภูมิอากาศบนโลก สองสาเหตุหลักของวงรอบอากาศขนาดใหญ่เกิดจากการให้ความร้อนที่ต่างกันระหว่างเส้นศูนย์สูตรกับขั้วโลก และการหมุนของดาวเคราะห์ (ปรากฏการณ์คอริออลิส) ในเขตร้อน วงรอบความร้อนต่ำเหนือภูมิประเทศและที่ราบสูงสามารถก่อให้เกิดวงรอบมรสุมได้ ในพื้นที่ชายฝั่ง วัฏจักรลมบก/ลมทะเลสามารถกำหนดลมท้องถิ่นได้ ในพื้นที่ซึ่งมีภูมิประเทศขึ้น ๆ ลง ๆ ลมภูเขาและหุบเขาสามารถมีอิทธิพลเหนือลมท้องถิ่นได้ ในอารยธรรมมนุษย์ ลมจุดประกายเทพปกรณัม ส่งอิทธิพลต่อเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ ขยายพิสัยการขนส่งและการสงคราม และเป็นแหล่งพลังงานแก่งานเชิงกล ไฟฟ้าและสันทนาการ ลมเป็นพลังงานแก่การเดินทางโดยแล่นเรือข้ามมหาสมุทรของโลก บอลลูนลมร้อนใช้ลมเพื่อเดินทางระยะสั้น ๆ และการบินที่มีเครื่องยนต์ขับเคลื่อนใช้ลมเพื่อเพิ่มแรงยกและลดการบริโภคเชื้อเพลิง พื้นที่ลมเฉือนเกิดขึ้นจากปรากฏการณ์สภาพบรรยากาศหลายปรากฏการณ์ ซึ่งสามารถนำไปสู่สถานการณ์อันตรายแก่อากาศยานได้ เมื่อลมพัดแรง ต้นไม้และสิ่งปลูกสร้างที่มนุษย์สร้างขึ้นจะได้รับความเสียหายหรือถูกทำลายได้ Yed vav.

ใหม่!!: โลกและลม · ดูเพิ่มเติม »

ลองจิจูด

ลองติจูด (longitude) หรือเดิมเรียกว่า เส้นแวง แทนด้วยอักษรกรีก λ เป็นพิกัดที่ใช้บอกตำแหน่งบนพื้นโลก โดยวัดไปทางตะวันออกหรือตะวันตกจากเส้นสมมติในแนวเหนือ-ใต้ที่เรียกว่าเส้นเมริเดียนแรก พิกัดที่ใช้คู่กัน คือ ละติจูด ลองติจูดมีหน่วยเป็นองศา นับจาก 0 องศาที่เส้นเมริเดียนแรกไปทางตะวันออก +180 องศา และไปทางตะวันตก −180 องศา ลองติจูดต่างจากละติจูด ตรงที่ละติจูดมีเส้นศูนย์สูตรเป็นเส้นอ้างอิงตามธรรมชาติ ลองติจูดจึงต้องกำหนดเส้นสมมติขึ้นมาหนึ่งเส้นสำหรับอ้างอิง ใน ค.ศ. 1884 การประชุมเมอริเดียนนานาชาติ (International Meridian Conference) จึงได้กำหนดให้เส้นเวลากรีนนิช เป็นเส้นเวลาไพร์มเมอริเดียน และเป็นลองติจูด 0 องศา หมวดหมู่:การเดินเรือ หมวดหมู่:ภูมิมาตรศาสตร์ *.

ใหม่!!: โลกและลองจิจูด · ดูเพิ่มเติม »

ละติจูด

ละติจูด (latitude) หรือเดิมเรียกว่า เส้นรุ้ง แทนด้วยอักษรกรีก φ เป็นพิกัดที่ใช้บอกตำแหน่งบนพื้นโลกและแบ่งเขตสภาวะอากาศโดยวัดจากเส้นศูนย์สูตร พิกัดที่ใช้คู่กัน คือ ลองจิจูด พื้นที่ที่มีพิกัดละติจูดต่างกัน จะมีภูมิอากาศ (climate) และสภาพอากาศ (weather) ต่างกัน ละติจูดมีค่าตั้งแต่ 0 องศาที่เส้นศูนย์สูตร ไปจนถึง 90 องศาที่บริเวณขั้วโลก (นับเป็น 90 องศาเหนือหรือใต้) เนื่องจากเป็นการวัดมุมจากจุดสมมติที่เส้นศูนย์สูตรไปยังจุดขั้วโลกที่ 90 อง.

ใหม่!!: โลกและละติจูด · ดูเพิ่มเติม »

ลิฟต์อวกาศ

ลิฟต์อวกาศประกอบด้วยสายเคเบิล ยึดปลายด้านหนึ่งอยู่ที่ผิวโลก ปลายอีกด้านหนึ่งอยู่ในอวกาศ โดยมีน้ำหนักถ่วงที่ปลายเพื่อให้เคเบิลมีแรงตึงตลอดเวลา ลิฟต์อวกาศ (space elevator) เป็นสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ ที่มีการเสนอให้สร้าง เพื่อใช้ในการขนส่งวัสดุจากพิ้นผิวโลกขึ้นไปในอวกาศ รูปแบบที่มีการนำเสนอมักเป็นโครงสร้าง สร้างต่อเนื่องจากผิวโลก ขึ้นไปยังวงโคจรค้างฟ้า และสร้างต่อเนื่องออกไป โดยมีตุ้มน้ำหนักถ่วงที่ปลายอีกด้านหนึ่ง วัสดุที่มีการเสนอให้ใช้ มีลักษณะเป็นเคเบิล หรือแถบรับน้ำหนัก ที่สามารถรับกำลังได้สูง โดยทำเลที่ตั้งโครงสร้างจะอยู่บริเวณแถบเส้นศูนย์สูตร แนวคิดเรื่องลิฟต์อวกาศ ถูกเสนอขึ้นครั้งแรกโดยผู้เชี่ยวชาญด้านอวกาศ และจรวดขับดัน ชาวรัสเซีย ชื่อ คอนสแตนติน โซลคอฟสกี (Constantin Tsiolkovsky, ค.ศ. 1857 - 1935) ได้เขียนบทความชื่อ "Daydream about the Earth and the Heaven" (ฝันกลางวันเกี่ยวกับโลกและสวรรค์) ในปี พ.ศ. 2438 กล่าวถึง "หอคอยสูงเสียดฟ้าจากผิวโลกถึงอวกาศ" ชัยวัฒน์ คุประตกุล, ลิฟต์อวกาศ, สำนักพิมพ์สารคดี,..

ใหม่!!: โลกและลิฟต์อวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

ลูกกระสุนปืนใหญ่ของนิวตัน

300px ลูกกระสุนปืนใหญ่ของนิวตัน (Newton's cannonball) เป็นการทดลองทางความคิดที่ ไอแซก นิวตัน ใช้ตั้งสมมติฐานว่า แรงของความโน้มถ่วงนั้นใช้ได้ทั่วไปและเป็นแรงสำคัญสำหรับการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห.

ใหม่!!: โลกและลูกกระสุนปืนใหญ่ของนิวตัน · ดูเพิ่มเติม »

ลูกโลก

ลูกโลก ลูกโลก (Globe) เป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ใช้สำหรับการศึกษาวิชาภูมิศาสตร์ โดยจำลองลักษณะของโลกหรือเทห์ฟ้าโดยอาจทำมาจากกระดาษ, พลาสติกหรืออื่น ๆ ลูกโลกทำหน้าที่คล้ายแผนที่แต่ต่างจากแผนที่ตรงที่ลูกโลกจะไม่บิดเบือนความจริงแต่จะเป็นเพียงการลดขนาดของโลกหรือเทห์ฟ้านั้น ๆ จึงทำให้สามารถแสดงภาพรวมอย่างสภาพภูมิประเทศ ขนาดประเทศและลักษณะทางกายภาพได้เหมือนจริงมากกว่า แต่ก็มีข้อเสียด้วยเช่นกันคือลูกโลกจะไม่สามารถมองภาพรวมทั้งหมดของโลกในเวลาเดี่ยวกันได้อีกทั้งยังพกพาได้ลำบากด้วยนั้นเอง ลูกโลกมีสองแบบคือลูกโลกธรรมดาหรือในภาษาอังกฤษเรียกว่า terrestrial globe แปลตรงตัวว่าโลกบกกับอีกแบบคือทรงกลมฟ้าในภาษาอังกฤษเรียกว่า celestial globeแปลตรงตัวว่าโลกท้องฟ้าซึ่งปกติแล้วจะแสดงกลุ่มดาวบนท้องฟ้าหรือแสดงดวงดาวบนท้องฟ้าและตำแหน่งของวัตถุทางดาราศาสตร์ที่น่าสนใจ คำว่า globe มาจากภาษาละตินคำว่า globus ซึ่งมีความหมายว่าทรงกลม ลูกโลกนั้นมีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนาน บุคคลที่กล่าวถึงลูกโลกเป็นครั้งแรกคือสตราโบซึ่งได้อธิบายไวใน The Globe of Crates เมื่อ 150 ปีก่อนคริสต์ศักราช มาร์ติน เบไฮม์เป็นคนผลิตลูกโลกที่เก่าแก่ที่สุดชื่อว่าเออดาเฟล (Erdapfel) เมื่อ..

ใหม่!!: โลกและลูกโลก · ดูเพิ่มเติม »

ลีดส์อิชธีส์

ลีดส์อิชธีส์ (Leedsichthys) เป็นชื่อปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง อาศัยอยู่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ซึ่งสูญพันธุ์ไปแล้ว ลีดส์อิชธีส์มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Leedsichthys problematicus อยู่ในวงศ์ Pachycormidae อาศัยอยู่ในทะเลในกลางยุคจูราสสิค (185-155 ล้านปีก่อน) พบฟอสซิลในชั้นหินในยุคนี้ โดยที่ชื่อ Leedsichthys ตั้งตามผู้ค้นพบคือ อัลเฟรด นิโคลสัน ลีดส์ นักสะสมซากดึกดำบรรพ์ชาวอังกฤษ มีความหมายว่า "ปลาของลีดส์" โดยพบในพื้นที่ใกล้เขตเมืองปีเตอร์โบโรห์เมื่อปี ค.ศ. 1886 ในสภาพเป็นเศษกระดูกจนยากจะคาดเดาว่าเป็นปลาชนิดใด หลังจากนั้นมีผู้ค้นพบในอีกหลายพื้นที่เช่น ในเมืองคอลโลเวียน ของอังกฤษ ทางภาคเหนือของเยอรมนีและฝรั่งเศส เมืองออกซ์ฟอร์เดียนของชิลีและเมืองคิมเอริดเกียน ของฝรั่งเศส โดยรวมแล้วพบประมาณ 70 ตัว แต่ไม่สามารถบอกขนาดตัวได้ จนอาร์เธอร์ สมิธ วูดวาร์ดพบตัวอย่างใน ค.ศ. 1889 ประเมินว่ามีขนาดตัวยาว 30 ฟุต หรือราว 9 เมตร โดยเปรียบเทียบหางของลีดส์อิชธีส์กับปลาชนิดอื่นในวงศ์เดียวกันคือฮิพโซคอร์มัส ต่อมาการประเมินจากเอกสารการค้นพบในระยะหลัง รวมถึงตัวอย่างที่สมบูรณ์ในพื้นที่สตาร์ พิท ใกล้เขตวิทเทิลซีย์ เมืองปีเตอร์โบโร ได้ค่าใกล้เคียงกับของวูดวาร์ด ซึ่งอยู่ที่ 30-33 ฟุต และเป็นไปว่าตอนอายุ6-12ลำตัวยาวได้มากกว่า 54 ฟุต หรือ 16 เมตร แต่ถ้าโตเต็มวัยยาวได้ถึง 24.2-26 เมตรและอาจยาวได้สูงสุดคือ 28 เมตร จึงเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่โลกเคยมีมา นอกจากนี้ลีดส์อิชธีส์เป็นปลาใหญ่ที่สุดในประวัติศาตร์และครองตำแหน่งปลายักษ์มาแล้วมากกว่า 125 ปี ลีดส์อิชธีส์มีตาขนาดเล็กและด้วยขนาดตัวที่ใหญ่โตทำให้ว่ายน้ำช้า ใช้ชีวิตคล้ายคลึงกับปลาใหญ่ในยุคปัจจุบันอย่างปลาฉลามวาฬหรือปลาฉลามอาบแดด โดยใช้ฟันซี่เรียวกว่า 40,000 ซี่กรองกินสัตว์เล็กสัตว์น้อยและแพลงก์ตอนเป็นอาหาร แม้ว่ามันจะมีลำตัขนาดใหญ่มาก แต่เชื่อว่าลีดส์อิชธีส์ก็ยังตกเป็นเหยื่อของปลากินเนื้อขนาดใหญ่รวมถึงสัตว์เลื้อยคลานทะเลยุคเดียวกันด้วย เช่น ไลโอพลัวเรอดอน เป็นต้น.

ใหม่!!: โลกและลีดส์อิชธีส์ · ดูเพิ่มเติม »

ล่าสุดขอบจักรวาล

ล่าสุดขอบจักรวาล (Serenity) เป็นภาพยนตร์แอคชั่นสัญชาติอเมริกันที่ออกฉายในปี ค.ศ. 2005 กำกับโดย จอสส์ เวห์ดอน นำแสดงโดย นาธาน ฟิลเลี่ยน, อลัน ตัดย์ค, อดัม บัลด์วิน, ซัมเมอร์ กลู.

ใหม่!!: โลกและล่าสุดขอบจักรวาล · ดูเพิ่มเติม »

ล็อกฮีด ยู-2

ล็อกฮีด ยู-2 (Lockheed U-2) ยู-2 เป็นเครื่องบินที่ออกแบบมาให้บินในระดับสูงกว่า 21,000 เมตร ขึ้นไป มีลักษณะเหมือนเครื่องร่อนติดเครื่องยนต์ ปีกยาวลำตัวเล็กบางเพื่อลดน้ำหนัก และ เครื่องยนต์สามารถทำงานในทีมีอากาศเบาบางได้ ยู-2 เป็นเครื่องบินจรกรรมที่ออกแบบมาเพื่อบินสูงเป็นพิเศษ และ เป็นเครื่องบินที่เป็นความลับสุดยอดแบบหนึ่งของสหรัฐอเมริกา ยู-2 ถูกเปิดเผยต่อชาวโลกเป็นครั้งแรกเมื่อถูกยิงตกในสหภาพโซเวียต ในวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งกองทัพอากาศสหรัฐและซีไอเอใช้ ยู-2 บินเข้าไปในอีกหลายประเทศ เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน คิวบา เวียดนาม และ ประเทศคอมมิวนิสต์อื่นๆ ด้วยเพดานบินที่สูงเป็นพิเศษซึ่งสูงกว่าเครื่องบินขับไล่ทั่วไปในช่วงสมัยสงครามเย็น.

ใหม่!!: โลกและล็อกฮีด ยู-2 · ดูเพิ่มเติม »

วอยเอจเจอร์ 1

วอยเอจเจอร์ 1 วอยเอเจอร์ 1 (Voyager 1) เป็นยานสำรวจอวกาศที่นาซาปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 5 กันยายน..

ใหม่!!: โลกและวอยเอจเจอร์ 1 · ดูเพิ่มเติม »

วอร์ ออฟ เดอะ เวิลด์ส อภิมหาสงครามล้างโลก

วอร์ ออฟ เดอะ เวิลด์ส อภิมหาสงครามล้างโลก (อังกฤษ: War Of The Worlds) เป็นภาพยนตร์แอคชั่น-ไซไฟ สร้างขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 2005 กำกับโดย สตีเว่น สปีลเบิร์ก เป็นภาพยนตร์ที่สร้างมาจากนิยายเรื่อง เดอะวอร์ออฟเดอะเวิลด์สของ เอช. จี. เวลล์ส นำแสดงโดย ทอม ครูซ.

ใหม่!!: โลกและวอร์ ออฟ เดอะ เวิลด์ส อภิมหาสงครามล้างโลก · ดูเพิ่มเติม »

วัฏจักรคาร์บอน

แผนภูมิของวัฏจักรคาร์บอน วัฏจักรคาร์บอน เป็นวัฏจักรชีวธรณีเคมี ซึ่งคาร์บอนถูกแลกเปลี่ยนระหว่างสิ่งมีชีวิต, พื้นดิน, น้ำ และบรรยากาศของโลกคาร์บอนเป็นธาตุสำคัญธาตุหนึ่งของสิ่งมีชีวิต เป็นองค์ประกอบประมาณ 50%ของเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต และในรูปคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งมีความจำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช การหมุนเวียนของคาร์บอนในระบบนิเวศแบ่งได้เป็น 3 แบบ ตามระยะเวลาที่ใช้ในการหมุนเวียนให้ครบรอบคือ ระยะสั้น ระยะกลางและระยะยาว.

ใหม่!!: โลกและวัฏจักรคาร์บอน · ดูเพิ่มเติม »

วัดไลย์

วัดไลย์ (Wat Lai) เป็นวัดตั้งอยู่ริมน้ำบางขาม ตำบลเขาสมอคอน อำเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี เป็นวัดเก่าตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น รัชกาลสมเด็จพระเจ้าบรมโกศทรงปฏิสังขรณ์ มีพระวิหาร ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมแบบอยุธยาตอนต้น คือ มีลักษณะเจาะช่องผนังแทนหน้าต่าง ๆ ภายในมีพระประธานขนาดใหญ่ปางมารวิชัย ลงรักปิดทอง มีซุ้มเรือนแก้วแบบพระพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก ด้านหน้าและด้านหลังของพระวิหารมีลายปูนปั้นเรื่องทศชาติ และเรื่องปฐมสมโพธิงามน่าดูนัก ซึ่งนับว่าเป็นภาพประติมากรรมฝาผนังขนาดใหญ่ที่มีความสำคัญยิ่งชิ้นหนึ่งของชาติ นอกจากนี้วัดไลย์ยังมีรูปพระศรีอาริย์เป็นของสำคัญอีกอย่างหนึ่งซึ่งผู้คนนับถือกันมาแต่โบราณ ในรัชกาลที่ 5 ไฟป่าไหม้วิหารรูปพระศรีอาริย์ชำรุดไป พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดฯให้อัญเชิญลงมาปฏิสังขรณ์ในกรุงเทพฯ แล้วคืนกลับไปประดิษฐานอย่างเดิม ถึงเทศกาลราษฎรยังเชิญออกแห่เป็นประเพณีทุกปี ปัจจุบันทางวัดได้ก่อสร้างวิหารสำหรับประดิษฐานพระศรีอาริย์ขึ้นใหม่ ด้านหน้าเป็นรูปมณฑลจตุรมุขแลดูสง่างามมาก พระศรีอาริยเมตไตรยหรือหลวงพ่อพระศรีอาริย์ ซึ่งชาวบ้านนับถือกันมาแต่ครั้งโบราณ มีงานนมัสการที่ยิ่งใหญ่เป็นประจำทุกปี ศิลปะชิ้นเอกที่ไม่ควรพลาดชมคือ ปูนปั้นที่ผนังด้านนอกวิหารเรื่องพุทธประวัติและทศชาติชาดก นอกจากนี้ยังมีพิพิธภัณฑ์จัดแสดงโบราณวัตถุและข้าวของเครื่องใช้ที่ชาวบ้านนำมาถวายให้ชมด้วย ทิวทัศน์ของบริเวณวัดไลย์ วัดไลย์ ลพบุรี.

ใหม่!!: โลกและวัดไลย์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดเขาสมโภชน์

วัดเขาสมโภชน์ เป็นวัดในตำบลบัวชุม อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี.

ใหม่!!: โลกและวัดเขาสมโภชน์ · ดูเพิ่มเติม »

วัน

วัน คือหน่วยของเวลาที่เท่ากับ 24 ชั่วโมง ถึงแม้หน่วยนี้จะไม่ใช่หน่วยเอสไอ แต่ก็มีการยอมรับเพื่อใช้ประกอบกับหน่วยเอสไออื่น ซึ่งหน่วยเวลาที่เป็นหน่วยเอสไอคือ วินาที คำว่า วัน มาจากภาษาไทยเดิม (ลาว: ວັນ วัน, ไทใหญ่:ဝၼ်း วั้น) คำว่า day ในภาษาอังกฤษมาจากคำในภาษาอังกฤษเก่า dæg ซึ่งสะกดคล้ายกับภาษาอื่น ๆ ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน ตัวอย่างเช่น dies ในภาษาละตินและ dive ในภาษาสันสกฤต ซึ่งกลายเป็น ทิวา ในภาษาไท.

ใหม่!!: โลกและวัน · ดูเพิ่มเติม »

วันวิสาขบูชา

วันที่สำคัญที่สุดในพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันคล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญของพระพุทธศาสนามากถึง 3 เหตุการณ์ คือ เป็นวันคล้ายวันประสูติ, ตรัสรู้ และปรินิพพาน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกอย่างหนึ่งว่า '''"วันพระพุทธเจ้า"''' วันวิสาขบูชา (วิสาขปุณฺณมีปูชา; Vesak) เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธสำหรับพุทธศาสนิกชนทุกนิกายทั่วโลก ทั้งเป็นวันหยุดราชการในหลายประเทศ และวันสำคัญในระดับนานาชาติตามข้อมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติRequest for inclusion of an additional item in the agenda of the fifty-fourth session in United Nations (12 November 1999).

ใหม่!!: โลกและวันวิสาขบูชา · ดูเพิ่มเติม »

วาวาอู

ทัศนียภาพของวาวาอู วาวาอู (Vavaʻu) เป็น 1 ใน 3 กลุ่มเกาะหลักของตองงา วาวาอูมีเกาะใหญ่ 1 เกาะ และเกาะเล็กอีก 4 เกาะ มีเมืองเอกชื่อว่าเนอิอาฟู ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ วาวาอูมีความสูงสูงสุดอยู่ที่ 204 เมตรจากระดับน้ำทะเล อีกทั้งวาวาอูยังมีท่าเรือที่สวยงามและดีที่สุดแห่งหนึ่งของโลก คือท่าเรือรีเฟิก (ปัวตาเลฟูซีหรือโลโลอาฮาแลวาลู) รวมถึงเหมาะแก่การตกปลาด้วย วาวาอูจัดอยู่ในเขตวาวาอู มีพื้นที่ทั้งหมด 103.6 ตารางกิโลเมตร เกาะนี้เป็นเกาะที่เกิดจากปะการัง พื้นที่ชื้นแฉะ อยู่เขตร้อน มีประชากรทั้งสิ้น 9400 คน มีรายได้ต่อหัว 1030 ดอลลาร์สหรัฐ มีภัยธรรมชาติที่สำคัญคือไซโคลนและแผ่นดินไหว.

ใหม่!!: โลกและวาวาอู · ดูเพิ่มเติม »

วิญญาณ

วิญญาณ (soul; जीव) ในทางปรัชญาหมายถึงสิ่งซึ่งเชื่อกันว่าเป็นสารัตถะของชีวิตมนุษย์ อาจรวมถึงสิ่งมีชีวิตประเภทอื่น ๆ ด้วย วิญญาณเป็นสิ่งที่ไม่เน่าเปื่อย เป็นอมตะ ศาสนาอับราฮัมเชื่อว่าเฉพาะมนุษย์เท่านั้นที่มีวิญญาณ มนุษย์จึงเป็นสิ่งมีชีวิตประเภทเดียวที่ไม่ตาย (ในส่วนวิญญาณ) และอาจไปรวมกับพระเป็นเจ้าได้ ขณะที่ศาสนาอื่น ๆ บางศาสนา เช่น ศาสนาเชนเชื่อว่าไม่เฉพาะมนุษย์แต่สิ่งมีชีวิตทุกชีวิตมีวิญญาณ ส่วนลัทธิวิญญาณนิยมเชื่อว่าทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต (เช่น แม่น้ำ ภูเขา) ล้วนมีวิญญาณทั้งสิ้น บางลัทธิเชื่อว่าโลกก็มีวิญญาณเรียกว่าวิญญาณโลก หรืออาตมันในศาสนาฮินดู คำว่าวิญญาณ มักมีความหมายแนวเดียวกับจิต สปิริต และตัวตน.

ใหม่!!: โลกและวิญญาณ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลอบรอร์ด สแน็ลลียึส

วิลเลอบรอร์ด สแน็ลลียึส (Willebrord Snellius; ชื่อเกิด วิลเลอบรอร์ด สแน็ล ฟัน โรเยิน; 13 มิถุนายน ค.ศ. 1580 – 30 ตุลาคม ค.ศ. 1626) หรือ สเนลล์ ในภาษาอังกฤษ เป็นนักดาราศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ชาวดัตช์ เกิดที่เมืองไลเดิน เขาสืบทอดตำแหน่งศาสตราจารย์ด้านคณิตศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยไลเดินต่อจากบิดา และคิดค้นวิธีใหม่ในการวัดเส้นรัศมีของโลก นอกจากนี้ เขายังคิดวิธีคำนวณค่าพาย ต่อมาในปี..

ใหม่!!: โลกและวิลเลอบรอร์ด สแน็ลลียึส · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการ

ในด้านชีววิทยา วิวัฒนาการ (Evolution) คือการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในประชากรของสิ่งมีชีวิต จากรุ่นหนึ่งสู่อีกรุ่นหนึ่ง วิวัฒนาการเกิดจากกระบวนการหลัก 3 กระบวนการ ได้แก่ ความแปรผัน การสืบพันธุ์ และการคัดเลือก โดยอาศัยยีนเป็นตัวกลางในการส่งผ่านลักษณะทางพันธุกรรม อันเป็นพื้นฐานของการเกิดวิวัฒนาการ ลักษณะเช่นนี้เกิดขึ้นในประชากรเพื่อให้เกิดความแปรผันทางพันธุกรรมเมื่อสิ่งมีชีวิตให้กำเนิดลูกหลานย่อมเกิดลักษณะใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงลักษณะเดิม โดยลักษณะใหม่ที่เกิดขึ้นนี้มีสาเหตุสำคัญ 2 ประการ ประการหนึ่ง เกิดจากกระบวนการกลายพันธุ์ของยีน และอีกประการหนึ่ง เกิดจากการแลกเปลี่ยนยีนระหว่างประชากร และระหว่างสปีชีส์ ในสิ่งมีชีวิตที่มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ สิ่งมีชีวิตใหม่ที่เกิดขึ้นจะผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนยีน อันก่อให้เกิดความแปรผันทางพันธุกรรมที่หลากหลายในสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการเกิดขึ้นเมื่อความแตกต่างทางพันธุกรรมเกิดขึ้น จนเกิดความแตกต่างมากขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นลักษณะที่แตกต่างกัน กลไกในการเกิดวิวัฒนาการแบ่งได้ 2 กลไก กลไกหนึ่งคือการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) อันเป็นกระบวนการคัดเลือกสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเหมาะสมที่จะอยู่รอด และสืบพันธุ์จนได้ลักษณะที่เหมาะสมที่สุด และลักษณะที่ไม่เหมาะสมจะเหลือน้อยลง กลไกนี้เกิดขึ้นเพื่อคัดเลือกลักษณะของประชากรที่เกิดประโยชน์ในการสืบพันธุ์สูงสุด เมื่อสิ่งมีชีวิตหลายรุ่นได้ผ่านพ้นไป ก็จะเกิดกระบวนการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต เพื่อให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม กลไกที่สองในการขับเคลื่อนกระบวนการวิวัฒนาการคือการแปรผันทางพันธุกรรม (genetic drift) อันเป็นกระบวนการอิสระจากการคัดเลือกความถี่ของยีนประชากรแบบสุ่ม การแปรผันทางพันธุกรรมเป็นผลมาจากการอยู่รอด และการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต แม้ว่าการแปรผันทางพันธุกรรมในแต่ละรุ่นนั้นจะเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย แต่ลักษณะเหล่านี้จะสะสมจากรุ่นสู่รุ่น เกิดการเปลี่ยนแปลงทีละเล็กละน้อยในสิ่งมีชีวิต จนกระทั่งเวลาผ่านไปเป็นระยะเวลานาน จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในลักษณะของสิ่งมีชีวิต กระบวนการดังกล่าวเมื่อถึงจุดสูงสุดจะทำให้กำเนิดสปีชีส์ชนิดใหม่ แม้กระนั้น ความคล้ายคลึงกันระหว่างสิ่งมีชีวิตมีข้อเสนอที่เป็นที่รู้จักกันดีคือการสืบเชื้อสายจากบรรพบุรุษ (หรือยีนพูลของบรรพบุรุษ) เมื่อผ่านกระบวนการนี้จะก่อให้เกิดความหลากหลายมากขึ้นทีละเล็กละน้อย เอกสารหลักฐานทางชีววิทยาวิวัฒนาการชี้ให้เห็นว่ากระบวนการวิวิฒนาการเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ทฤษฎีอยู่ในช่วงของการทดลอง และพัฒนาในสาเหตดังกล่าว การศึกษาซากฟอสซิล และความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตทำให้นักวิทยาศาสตร์ช่วงกลางคริสศตวรรษที่ 19 ส่วนใหญ่เชื่อว่าสปีชีส์มีการเปลี่ยนแปลงมาตลอดในระยะเวลาที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม กระบวนการที่ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงนี้เป็นปริศนาต่อนักวิทยาศาสตร์ทั่วไป จนกระทั่งปี พ.ศ. 2402 ชาร์ล ดาวิน ตีพิมพ์หนังสือ กำเนิดสปีชีส์ ซึ่งได้อธิบายทฤษฎีวิวัฒนาการโดยกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาต.

ใหม่!!: โลกและวิวัฒนาการ · ดูเพิ่มเติม »

วิษุวัต

ทิศทางของแสงอาทิตย์ที่ส่องถูกโลกในวันวิษุวัต ซึ่งเกิดขึ้นปีละ 2 ครั้ง (ภาพไม่แสดงความเข้มน้อยของแสงสลัวเวลาเช้ามืดและหัวค่ำ) วิษุวัต (equinox) หรือ จุดราตรีเสมอภาค เป็นศัพท์ดาราศาสตร์ หมายถึงช่วงที่ดวงอาทิตย์อยู่ในตำแหน่งตรงได้ฉากกับเส้นศูนย์สูตรของโลกพอดี ซึ่งจะเกิดขึ้นปีละ 2 ครั้ง หรือในหนึ่งรอบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ความเอียงของแกนโลกจะเลื่อนมาอยู่ในระนาบที่ได้ฉากกับตำแหน่งดวงอาทิตย์ ซึ่งวันนั้นกลางวันจะเท่ากับกลางคืน.

ใหม่!!: โลกและวิษุวัต · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจีน เป็นสิ่งที่น่าสนใจและน่าศึกษาอย่างมาก วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจีนเจริญก้าวหน้ามาก่อนตะวันตกหลายร้อยปี สิ่งประดิษฐ์บางอย่างนั้นคนจีนคิดค้นได้ก่อนชาวตะวันตกถึงกว่าหนึ่งพันปี แต่น่าเสียดายที่เรารู้เรื่องเหล่านี้น้อยมาก เพราะเราต่างโดนวัฒนธรรมตะวันตกครอบงำด้วยกันทั้งสิ้น.

ใหม่!!: โลกและวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์โลก

อซ์แลนด์ กำลังพวยพุ่ง วิทยาศาสตร์โลก, โลกวิทยา, โลกศาสตร์, พิภพวิทยา, วิทยาศาสตร์พื้นพิภพ (Earth Sciences) เป็นศัพท์ที่ใช้เรียกครอบคลุมแขนงต่าง ๆ ของวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับดาวเคราะห์โลก วิทยาศาสตร์โลกอาจถือได้ว่าเป็นกรณีพิเศษของวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์ เนื่องจากโลกเป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวเท่าที่เรารู้จักที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ แนวทางในการศึกษาวิทยาศาสตร์โลกนั้น มีทั้งคตินิยมแบบลดทอนและแบบองค์รวม สาขาวิชาสำคัญ ๆ ของวิทยาศาสตร์โลกเท่าที่ผ่านมานั้น จะใช้วิชาฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ เคมี และชีววิทยา เพื่อสร้างความเข้าใจเชิงปริมาณในพื้นที่หรือภาค (sphere) หลัก ๆ ของระบบโลก ซึ่งได้แก.

ใหม่!!: โลกและวิทยาศาสตร์โลก · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาดาวเคราะห์

วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์ (Planetary science; หรือ planetology) เป็นสาขาวิชาหนึ่งที่ใกล้เคียงกับดาราศาสตร์ดาวเคราะห์ เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับดาวเคราะห์ ระบบดาวเคราะห์ และระบบสุริยะ เป็นการศึกษาวิทยาศาสตร์แบบย้อนกลับ (diverse sciences) และอาจนับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับโลกก็ได้ แนวทางในการศึกษาวิจัยจะค่อนไปในทางที่เกี่ยวข้องกับดาราศาสตร์ การสำรวจอวกาศ (โดยเฉพาะภารกิจที่ใช้ยานสำรวจอัตโนมัติหรือหุ่นสำรวจ) โดยมีการทำการทดสอบวัตถุท้องฟ้าเช่น หิน หรือดาวตกที่เก็บมาได้ ธรณีดาราศาสตร์ถือเป็นการศึกษาแขนงหนึ่งที่สำคัญและเกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์อย่างมาก.

ใหม่!!: โลกและวิทยาดาวเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

วิดีโอโฟน

"วิดีโอโฟน" (Video Phone) เป็นเพลงของนักร้องอาร์แอนด์บีชาวอเมริกัน บียอนเซ่ โนวส์ จากผลงานสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 3 ไอแอม... ซาชาเฟียร์ส (2551) เป็นซิงเกิลที่ 8 จากอัลบั้มนี้ ก่อนที่จะออกเป็นซิงเกิลเพลงนี้ติดชาร์ตในช่วงปล..

ใหม่!!: โลกและวิดีโอโฟน · ดูเพิ่มเติม »

วี 382 กระดูกงูเรือ

วี 382 กระดูกงูเรือ (V382 Carinae) หรือเอกซ์กระดูกงูเรือ (x Carinae) เป็นดาวแปรแสงในกลุ่มดาวกระดูกงูเรือ วี 382 กระดูกงูเรือเป็นดาวไฮเปอร์ไจแอนท์สีเหลืองสเปกตรัมจี มีความส่องสว่างปรากฏ +3.93 ดาวดวงนี้อยู่ 5930.90 ปีแสง จากโลกของเรา มันถูกจัดประเภทเป็นดาวแปรแสงชนิดเซเฟอิดและความส่องสว่างปรากฏของแปรผันระหว่าง +3.84 ถึง +4.02 และใหญ่กว่าดวงอาทิตย์ถึง 747 เท่า หมวดหมู่:ดาวแปรแสง หมวดหมู่:ดาวแปรแสงชนิดเซเฟอิด หมวดหมู่:กลุ่มดาวกระดูกงูเรือ.

ใหม่!!: โลกและวี 382 กระดูกงูเรือ · ดูเพิ่มเติม »

วีวี ซีฟิอัส

วีวี ซีฟิอัส หรือรู้จักกันดีในชื่อ เอชดี 208816 เป็นระบบดาว Eclipsing binaries ที่ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวซีฟิอัส อยู่ห่างจากโลกประมาณ 5,000 ปีแสง.

ใหม่!!: โลกและวีวี ซีฟิอัส · ดูเพิ่มเติม »

วงกลมละติจูด

วงกลมละติจูด (Circle of Latitude) หรือ เส้นขนาน (Parallel) เป็นเส้นสมมติในแนวตะวันออก-ตะวันตกของโลก ลากเชื่อมจุดต่างๆ ที่มีพิกัดละติจูดเท่ากัน วงกลมละติจูดวัดจากการหมุนรอบตัวของโลก โดยจะตั้งฉากกับแกนหมุนเสมอ และมีวงกลมละติจูดพิเศษ 4 เส้นที่นำมาจากการโคจรรอบดวงอาทิตย์ วงกลมละติจูดที่สำคัญมี 5 เส้นคือ.

ใหม่!!: โลกและวงกลมละติจูด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาบู่

วงศ์ปลาบู่ (Goby) เป็นวงศ์ปลาที่มีจำนวนชนิดมากที่สุดในโลก พบอาศัยอยู่ทั้งในทะเลลึกกว่า 60 เมตร จนถึงลำธารบนภูเขาสูงกว่า 1,000 เมตร พบทั่วโลกในเขตร้อนและเขตอบอุ่นมากกว่า 1,950 ชนิด และพบในประเทศไทยมากกว่า 30 ชนิด ใช้ชื่อวงศ์ว่า Gobiidae (/โก-บิ-ดี้/) มีลักษณะแตกต่างจากปลาอื่น คือ มีลำตัวยาวทรงกระบอก มีส่วนหัวและจะงอยปากมน มีเส้นข้างลำตัวและแถวของเส้นประสาทอยู่บนหัวหลายแถว ครีบหลังแยกเป็น 2 ตอนชัดเจน ครีบหางกลมมน ครีบก้นยาว ครีบอกใหญ่ ครีบท้องส่วนมากจะแยกออกจากกัน แต่ก็มีในบางชนิดที่เชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย เกล็ดมีทั้งขนาดเล็กและใหญ่ เป็นปลากินเนื้อ กินแมลง, สัตว์น้ำขนาดเล็ก และปลาอื่นเป็นอาหาร วางไข่โดยตัวผู้และตัวเมียช่วยกันดูแล ไข่มีรูปร่างคล้ายผลองุ่นติดกับวัสุดเป็นแพ เมื่อฟักเป็นตัวจะปล่อยให้หากินเอง ส่วนมากมีขนาดเล็กยาวไม่เกิน 20 เซนติเมตร มักอาศัยอยู่ในทะเลและน้ำกร่อย พบในน้ำจืดเพียงไม่กี่ชนิด เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญ นิยมบริโภคด้วยการปรุงสด โดยเฉพาะเมนูอาหารจีน เป็นปลาที่มีรสชาติอร่อย ราคาแพง รวมทั้งมีสรรพคุณในการปรุงยา ในปลาชนิดที่มีขนาดเล็กและสีสันสวยงาม นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: โลกและวงศ์ปลาบู่ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากระเบนหางสั้น

วงศ์ปลากระเบนหางสั้น (Freshwater stingray, River stingray, Short-tail stingray) เป็นปลากระเบนวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Potamotrygonidae โดยคำว่า "Potamotrygon" เป็นภาษากรีก (Ποταμός; potamos) แปลว่า "แม่น้ำ" และภาษากรีกคำว่า "trygon" แปลว่า "ปลากระเบน" พบกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาใต้ มีรูปร่างกลมคล้ายจานข้าวหรือแผ่นซีดี หางมีขนาดสั้นเมื่อเทียบกับปลากระเบนในวงศ์อื่น ๆ พบทั้งหมด 4 สกุล ในหลายชนิด (ดูในเนื้อหาข้างล่าง) บางชนิดหางสั้นมากจนดูขัดกับขนาดลำตัว เช่น ชนิด Paratrygon aiereba มีขนาดแตกต่างออกไปตามชนิด ตั้งแต่มีขนาดไม่เกิน 2 ฟุต เช่น ชนิด Potamotrygon hystrix ไปจนถึงขนาดหนึ่งเมตร เช่น P. motoro มีสีสันด้านบนลำตัวและหางสวยงาม บางชนิดมีสีลำตัวเป็นสีดำ และมีลวดลายเป็นลายจุดสีขาว เช่น P. leopoldi หรือ P. henlei ในบางชนิดมีสีพื้นเป็นสีเหลือง และมีลวดลายสีดำทำให้แลดูคล้ายลายเสือ เช่น P. menchacai ทั้งนี้ลวดลายและสีสันแตกต่างออกไปตามแต่ละตัว ซึ่งในบางครั้งขึ้นอยู่กับถิ่นที่อยู่อาศัยด้วย ทำให้ในชนิดเดียวกัน ยังมีหลายสี หลายลวดลาย อีกด้วย สันนิษฐานว่าเป็นไปเพื่อใช้ในการพรางตัวกับให้กลมกลืนกับสภาพพื้นน้ำ บริเวณโคนหางมีเงี่ยงแข็งอยู่ 2 ชิ้น ใช้สำหรับป้องกันตัว ซึ่งเงี่ยงนี้มีพิษและมีฤทธิ์ในการทำลายเนื้อเยื่อของสิ่งที่ถูกแทง เคยมีมนุษย์เสียชีวิตมาแล้วจากการโดนเงี่ยงนี้แทงโดยไม่ระมัดระวังตัว เพราะเสียเลือดมาก โดยชาวพื้นเมืองในอเมริกาใต้เรียกว่า "Chucho de rio" แปลว่า "สุนัขทะเล" โดยปรกติหากินตามพื้นน้ำ ไม่ค่อยขึ้นมาหากินบนผิวน้ำนัก ในพื้นถิ่นถูกใช้เป็นอาหารและตกเป็นเกมกีฬา จากสีสันที่สวยงามและขนาดของลำตัวที่ไม่ใหญ่และหางที่ไม่ยาวเกินไปนัก จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งพบว่า ปลากระเบนในวงศ์นี้สามารถผสมพันธุ์และออกลูกได้ง่ายกว่าปลากระเบนในวงศ์อื่น สามารถผสมพันธุ์และออกลูกในตู้กระจกได้เลย โดยสามารถให้ลูกครั้งละ 4-5 ตัว ถึง 20 ตัว ขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของพ่อแม่ปลาและสายพันธุ์ จึงทำให้ได้รับความนิยมมาก ในบางครั้งมีการผสมข้ามสายพันธุ์เพื่อให้เกิดเป็นสายพันธุ์ใหม่ สีสันและลวดลายใหม่ ที่ไม่สามารถระบุชื่อทางวิทยาศาสตร์ได้ด้วย ซึ่งปลากระเบนในวงศ์นี้เป็นปลาน้ำจืดทั้งหมด แตกต่างไปจากปลากระเบนในวงศ์ปลากระเบนธง ที่พบในน้ำจืดหรือน้ำกร่อยเพียงบางชนิดเท่านั้น และด้วยความที่พบการแพร่กระจายพันธุ์เฉพาะแหล่งน้ำในทวีปอเมริกาใต้เท่านั้น จึงทำให้มีการสันนิษฐานเรื่องธรณีสัณฐานของโลกว่า ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ บริเวณที่เป็นทวีปอเมริกาใต้และแม่น้ำอเมซอนเคยเป็นทะเลมาก่อน ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา และปลากระเบนที่เป็นบรรพบุรุษของวงศ์นี้ก็ได้เข้ามาอยู่อาศัย และวิวัฒนาการจนสามารถอยู่ในน้ำจืดสนิทได้.

ใหม่!!: โลกและวงศ์ปลากระเบนหางสั้น · ดูเพิ่มเติม »

วงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย

'''วงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย''' แสดงในหอแสดงดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา) วงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย (Thailand Philharmonic Orchestra; TPO) เป็นวงออร์เคสตร้าที่ได้ก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดตั้งวงซิมโฟนิคมืออาชีพขึ้นในประเทศไท.

ใหม่!!: โลกและวงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

วงแหวนของดาวเนปจูน

วงแหวนแต่ละวงแหวนของดาวเนปจูน วงแหวนของดาวเนปจูน (Rings of Neptune) มีลักษณะมีความสว่างไม่มากนัก เพราะประกอบด้วยอนุภาคที่เป็นผงฝุ่นขนาด 1 ไมโครเมตร จนถึงขนาดประมาณ 10 เมตร เช่นเดียวกับวงแหวนของดาวพฤหัสบดีและดาวยูเรนัส ซึ่งนักดาราศาสตร์สำรวจพบระบบวงแหวนของดาวเนปจูนเป็นครั้งแรกในช่วงทศวรรษที่ 60 และในปี ค.ศ. 1989 ยานวอยเอเจอร์ 2 ได้บินผ่านเข้าไปใกล้ดาวเนปจูนและบันทึกภาพส่งกลับมายังโลก ทำให้นักดาราศาสตร์พบว่าดาวเนปจูนมีวงแหวนล้อมรอบด้วยกันถึง 5 วง วงแหวนของดาวเนปจูน ได้แก่ วงแหวนแอดัมส์, วงแหวนอราโก, วงแหวนแลสเซลล์, วงแหวนเลอ แวรีเย และวงแหวนกัลเลอ นอกจากนั้นยังมีวงแหวนที่จางมาก ๆ และยังไม่มีชื่ออีก 1 วง ที่อยู่ในวงโคจรเดียวกันกับดวงจันทร์แกลาเทีย และยังมีดวงจันทร์บริวารของดาวเนปจูนอีก 3 ดวง คือ เนแอด, ทาแลสซา และดิสพีนา ที่มีวงโคจรอยู่ภายในระบบวงแหวนเช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: โลกและวงแหวนของดาวเนปจูน · ดูเพิ่มเติม »

วงโคจร

นีอวกาศนานาชาติ (The International Space Station) กำลังโคจรอยู่เหนือโลก ดาวเทียมโคจรรอบโลกจะมีความเร็วแนวเส้นสัมผัสและความเร่งสู่ภายใน เทหวัตถุสองอย่างที่มีความแตกต่างกันของมวลโคจร แบบ barycenter ที่พบได้บ่อย ๆ ขนาดสัมพัทธ์และประเภทของวงโคจรมีลักษณะที่คล้ายกับระบบดาวพลูโต-แครัน (Pluto–Charon system) ในฟิสิกส์, วงโคจรเป็นเส้นทางโค้งแห่งแรงโน้มถ่วงของวัตถุรอบ ๆ จุดในอวกาศ, ตัวอย่างเช่นวงโคจรของดาวเคราะห์รอบจุดศูนย์กลางของระบบดาว, อย่างเช่นระบบสุริยะ วงโคจรของดาวเคราะห์มักจะเป็นวงรี วงโคจร คือ เส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุหนึ่งรอบอีกวัตถุหนึ่ง โดยอยู่ภายใต้อิทธิพลแรงสู่ศูนย์กลาง อาทิ ความโน้มถ่วง ตัวอย่างเช่น วงโคจรของดวงจันทร์รอบโลก คำกริยาใช้ว่า "โคจร" เช่น โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ดาวเทียมไทยคมโคจรรอบโลก คนทั่วไปมักเข้าใจว่าดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงกลม แต่ในความเป็นจริง ส่วนใหญ่แล้ววัตถุหนึ่งจะโคจรรอบอีกวัตถุหนึ่งในวงโคจรที่เป็นวงรี ความเข้าใจในปัจจุบันในกลศาสตร์ของการเคลื่อนที่ในวงโคจรอยู่บนพื้นฐานของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ซึ่งคิดสำหรับแรงโน้มถ่วงอันเนื่องจากความโค้งของอวกาศ-เวลาที่มีวงโคจรตามเส้น จีโอแดสิค (geodesics) เพื่อความสะดวกในการคำนวณ สัมพัทธภาพจะเป็นค่าประมาณโดยทั่วไปของทฤษฎีพื้นฐานแห่งแรงโน้มถ่วงสากลตามกฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ของเคปเลอร.

ใหม่!!: โลกและวงโคจร · ดูเพิ่มเติม »

วงโคจรพ้องคาบโลก

วงโคจรพ้องคาบโลก (geosynchronous orbit, อักษรย่อ: GSO) เป็นวงโคจรที่มีคาบการโคจรเท่ากับคาบการหมุนรอบตัวเองของโลก วัตถุที่อยู่ในวงโคจรนี้จะกลับมาอยู่ตำแหน่งเดิมเมื่อเทียบกับพื้นโลกเมื่อเวลาผ่านไปทุกๆ 1 วันดาราคติ (23 ชั่วโมง 56 นาที 4 วินาที) สำหรับวงโคจรพ้องคาบโลกที่อยู่ในระนาบเดียวกับเส้นศูนย์สูตร เราจะเรียกว่า วงโคจรค้างฟ้า (geostationary earth orbit, อักษรย่อ: GEO) วงโคจรพ้องคาบโลก มีรัศมี 42,164 กิโลเมตร (26,199 ไมล์) วัตถุที่อยู่ในวงโคจรนี้ จะโคจรด้วยความเร็ว 3.076 กิโลเมตร/วินาที (11,074 กิโลเมตร/ชั่วโมง) ใช้เวลาโคจรรอบโลกหนึ่งรอบ 1,436 นาที.

ใหม่!!: โลกและวงโคจรพ้องคาบโลก · ดูเพิ่มเติม »

วงโคจรต่ำของโลก

แสดงทิศทางการยิงวัตถุ และความเป็นไปได้ที่จะเข้าสู่วงโคจร วงโคจรระดับต่างๆ รอบโลก เขตสีเขียวคือเขตวงโคจรต่ำของโลก วงโคจรต่ำของโลก (Low Earth Orbit; LEO) เป็นคำที่ใช้หมายถึงวงโคจรในระดับโลกัสที่ออกจากพื้นผิวโลกไปไม่เกินระดับ 2,000 กิโลเมตร โดยทั่วไประดับที่ยอมรับกันคือที่ความสูงระหว่าง 160-2000 กิโลเมตรเหนือพื้นผิวโลก.

ใหม่!!: โลกและวงโคจรต่ำของโลก · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาฮินดู

ัญลักษณ์ “โอม” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระตรีมูรติ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3 ศาสนาฮินดู (Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "ตรีมูรติ" คือ.

ใหม่!!: โลกและศาสนาฮินดู · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาฮินดูแบบบาหลี

ตรีบาหลีขณะประกอบพิธีกรรมทางศาสนาที่อูบุดก่อนถวายของบูชาแด่เทพเจ้า ปัทมาสน์ที่ประทับของอจินไตย ศาสนาฮินดูแบบบาหลี (Agama Hindu Dharma) หรือ ลัทธิวารีศักดิ์สิทธิ์ (Agama Tirtha) เป็นศาสนาฮินดูรูปแบบหนึ่งที่ปฏิบัติในกลุ่มชาวบาหลีบนเกาะบาหลีในประเทศอินโดนีเซีย อันมีความแตกต่างจากศาสนาฮินดูสายหลักคือมีการสักการะผีพื้นเมือง บูชาผีบรรพบุรุษ และเคารพพระโพธิสัตว์ซึ่งเป็นของคติทางศาสนาพุทธด้วย แม้ว่าประชากรส่วนใหญ่ของประเทศอินโดนีเซียจะนับถือศาสนาอิสลามและคริสต์ แต่ชาวบาหลียุคปัจจุบันยังคงยึดมั่นในหลักธรรมของตนและยังประกอบพิธีกรรมทางศาสนาอย่างฮินดูอยู.

ใหม่!!: โลกและศาสนาฮินดูแบบบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติ

ทางเข้าไอบีซีในฟุตบอลโลก 2010 ศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติ (International Broadcasting Center; อักษรย่อ: IBC) เป็นศูนย์กลางสำหรับการกระจายเสียงและการแพร่ภาพ ซึ่งรวมเรียกว่าวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งในช่วงระหว่างการแข่งขันกีฬารายการสำคัญ มักจะเปิดทำการควบคู่ไปกับ ศูนย์สื่อมวลชนหลัก (Main Press Center; อักษรย่อ: MPC) ซึ่งเป็นศูนย์กลางสำหรับข่าวสารต่าง ๆ เกี่ยวกับการแข่งขันครั้งนั้น เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับผู้สื่อข่าว ในสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อประสม สื่อดิจิตอล และสื่อประเภทอื่น.

ใหม่!!: โลกและศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด

ทางอากาศ ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด (Goddard Space Flight Center; GSFC) เป็นห้องทดลองด้านอวกาศที่สำคัญแห่งหนึ่งขององค์การนาซา ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1959 เป็นศูนย์การบินอวกาศแห่งแรกของนาซา มีเจ้าหน้าที่พลเรือนประมาณ 10,000 คน ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ห่างออกไปประมาณ 6.5 ไมล์ ในเขตเมืองกรีนเบลท์ รัฐแมริแลนด์ สหรัฐอเมริกา ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดเป็นองค์กรที่ใหญ่ที่สุดซึ่งรวบรวมนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรมาไว้ด้วยกันเพื่อศึกษาเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับโลก ระบบสุริยะ และเอกภพ โดยอาศัยการสังเกตการณ์ผ่านอุปกรณ์สังเกตการณ์ในอวกาศ รวมถึงเป็นห้องทดลองในการวิจัยพัฒนาและควบคุมการทำงานของยานอวกาศสำหรับงานวิทยาศาสตร์ที่ไม่ต้องใช้มนุษย์ควบคุม นอกเหนือจากงานวิจัยเกี่ยวกับอวกาศ ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดยังศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนภารกิจการปฏิบัติงานในอวกาศรวมถึงการออกแบบและสร้างยานอวกาศด้วย นักวิทยาศาสตร์ของศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดคนหนึ่งคือ จอห์น ซี. เมเทอร์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี..

ใหม่!!: โลกและศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ส.ว.า.ท. หน่วยจู่โจมระห่ำโลก

.ว..ท. หน่วยจู่โจมระห่ำโลก (อังกฤษ: S.W.A.T.) เป็นภาพยนตร์ สัญชาติอเมริกา สร้างขึ้นเมื่อปี ..

ใหม่!!: โลกและส.ว.า.ท. หน่วยจู่โจมระห่ำโลก · ดูเพิ่มเติม »

สกายซิตี (ฉางชา)

กายซิตี้ (จีน: 天空城市) (Sky City) เป็นตึกที่สูงที่สุดในโลกตั้งอยู่ที่เมืองฉางชา มณฑลหูหนาน ประเทศจีน โดยตึกสกายซิติ้จะมีทั้งหมด 221 ชั้น มีระดับความสูงถึง 838 เมตร ซึ่งสูงกว่าตึกเบิร์จคาลิฟา 10 เมตร เมื่อสร้างเสร็จจะใช้เป็นพื้นที่สำหรับอยู่อาศัยร้อยละ 83 รองรับผู้เข้าอยู่อาศัยได้ถึง 31,400 คน ส่วนพื้นที่ที่เหลือจะใช้เป็นสำนักงาน โรงแรม โรงเรียน โรงพยาบาล ห้างขายของ และห้องอาหาร ส่วนการขึ้นลงอาคารจะใช้ลิฟต์ความเร็วสูงราว 104 ตัว ผู้จัดการออนไลน์ 21 พฤษภาคม 2556 โดยตึกถูกออกแบบสร้างโดยกลุ่มวิศวกรและสถาปนิกผู้ผ่านงานสร้างตึก เบิร์จคาลิฟา (Burj Khalifa) และเป็นบริษัท Broad Group ผู้ก่อสร้างเดียวกันกับการประกอบโรงแรม Ark Hotel สูง 30 ชั้น ในมณฑลหูหนานที่ใช้เวลาก่อสร้างเพียง 15 วัน บริษัท บรอด ซัสเทนเนเบิล บิวดิ้ง คอร์ป บริษัทเจ้าของผลงาน Ark Hotel ของจีน ได้มีแผนงานโครงการ สกาย ซิตี้ ในเมืองฉางชา ริมแม่น้ำเซียงเจียง ในมณฑลหูหนาน ซึ่งตั้งเป้าให้เป็นอาคารสูงที่สุดโลก โดยจะใช้เวลาก่อสร้างเพียง 90 วัน หรือสร้างได้เฉลี่ยวันละ 5 ชั้น แต่ในภายหลังได้มีการปรับเลื่อนขยายระยะเวลาในการประกอบจากที่กำหนดไว้ 90 วัน (3 เดือน) ออกไปเป็น 7 เดือน ซึ่งนับว่าเป็นเวลาที่สั้นมากเมื่อเทียบการก่อสร้างตึกสูงแบบเดิม ในการก่อสร้างสกายซิตีจะใช้เทคนิคก่อสร้างที่ใช้ชิ้นส่วนสำเร็จรูปมาประกอบ (พรีแฟบ-Prefabricated modular) เนื่องจากประหยัดเวลา ไม่ก่อให้เกิดมลพิษจากการก่อสร้าง และลดอัตราการบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุของคนงาน เทคนิคแบบนี้จะช่วยลดระยะเวลาก่อสร้างได้มากเพราะไม่ต้องทำหรือก่อทีละชั้นก่อนจึงเริ่มชั้นถัดไป แต่สามารถทำชิ้นส่วนทุกชั้นพร้อมกัน โดยเตรียมจากโรงงานต่างๆในเวลาเดียวกัน และขนส่งมายังสถานที่ก่อสร้างเพื่อยกขึ้นประกอบทีละชั้นๆด้วยทาวเวอร์เครน แต่ความสำคัญอยู่ที่ชิ้นส่วนทุกชิ้นจะต้องมีการออกแบบมาอย่างดี และสร้างขึ้นจากการคำนวณที่ละเอียดแม่นยำก่อนที่จะแยกย้ายให้โรงงานต่างๆผลิตออกมาตรงตามแบบเพื่อนำมาประกอบในพื้นที่ก่อสร้างให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ซึ่งจะรวมเวลาของการตกแต่งภายในด้วย ประมาณการณ์ไว้ว่าจะใช้เหล็กราว 220,000 ตัน ในการสร้าง ตัวอาคารออกแบบมาให้ทนต่อแรงแผ่นดินไหวที่ 9.0 แมกนิจูด และทนไฟไหม้ได้นานกว่า 3 ชั่วโมง นอกจากนี้ตึกสกายซิตีจะใช้พลังงานเพียงแค่ 1 ใน 5 ของปริมาณการใช้พลังงานทั้งหมดที่ตึกทั่วไปใช้ อีกทั้งยังมีฉนวนกันความร้อนที่ออกแบบมาเป็นพิเศษ เพื่อช่วยลดความร้อนสะสมภายในตึกอีกด้วย ส่วนระบบเครื่องปรับอากาศนั้น คาดว่าจะใช้เงินลงทุนราว 1.2 พันล้านดอลลาร์สหรั.

ใหม่!!: โลกและสกายซิตี (ฉางชา) · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเงินตรา

กุลเงิน หมายถึงชื่อเรียกเงินตราที่มีใช้ในแต่ละประเทศ สกุลเงินจะเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับแต่ละประเทศหรือกลุ่มประเทศ โดยการแลกเปลี่ยนเงิน หรือการซื้อของหรือบริการระหว่างประเทศที่ใช้สกุลเงินต่างกันจะใช้อัตราแลกเปลี่ยนเงินเป็นเกณฑ์ในการอ้างอิง ในหลายประเทศสกุลเงินสามารถมีชื่อเดียวกันได้ เช่น ดอลลาร์สหรัฐ ดอลลาร์ฮ่องกง และดอลลาร์แคนาดา และในหลายประเทศใช้สกุลเงินเดียวกัน เช่นในประเทศแถบยุโรปหลายประเทศใช้สกุลเงินยูโร และในบางประเทศใช้หน่วยเงินของประเทศอื่นเป็นเกณฑ์เช่นประเทศปานามา และ ประเทศเอลซัลวาดอร์ ใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ สกุลเงินทั่วไปจะมีหน่วยสกุลเงินย่อย โดยส่วนมากจะเป็นอัตราส่วน 1/100 ของสกุลเงินหลัก เช่น 100 สตาง.

ใหม่!!: โลกและสกุลเงินตรา · ดูเพิ่มเติม »

สก็อตต์ มอฟฟ์แฟตต์

ก็อตต์ แอนดรูว์ มอฟฟ์แฟตต์เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม ค.ศ. 1983 ในปี 1995 เมื่อสก็อตต์มีอายุได้12ปี เขาและน้องชายฝาแฝดอีกสามคนได้เป็นเจ้าของผลงานเพลงชุดแรกในนามของ The Moffatts (เดอะ มอฟฟ์แฟตส์) วงดนตรีสี่พี่น้องมีผลงานทั้งสิ้นห้าชุดด้วยกันในระยะเวลาห้าปีถัดมา ก่อนที่ The Moffatts จะประกาศยุติการทำงานอย่างเป็นทางการในเดือนสิงหาคม ปี 2001 ปัจจุบันสก็อตต์กำลังสนุกกับงานเพลงในมุมมองที่แตกต่างออกไปฐานะศิลปินเดี่ยวและโปรดิวเซอร์ของศิลปินมีชื่อมากมายทั้งไทยและเทศอาทิเช่น สล็อตแมชชีน แบรนด์นิวซันเซท เก็ทสุโนว่า เดย์ไลท์ Hay Nik iz Zand และ Roads.

ใหม่!!: โลกและสก็อตต์ มอฟฟ์แฟตต์ · ดูเพิ่มเติม »

สภามวยโลก

ัญลักษณ์สภามวยโลกที่ใช้ในปัจจุบัน เริ่มใช้มาตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 เข็ดขัดแชมป์โลกของสภามวยโลก สภามวยโลก (World Boxing Council; ตัวย่อ: WBC, Consejo Mundial de Boxeo; ตัวย่อ: CMB) สถาบันที่ดูแลและควบคุมการชกมวยสากลในระดับโลก สภามวยโลกก่อตั้งขึ้นในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 โดยมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงเม็กซิโกซิตี ประเทศเม็กซิโก โดยเริ่มแรกมีชาติสมาชิก 11+1 ประเทศ ปัจจุบัน สภามวยโลกมี มัวริซิโอ สุไลมาน ชาวเม็กซิกัน เป็นประธานสถาบัน หลังจาก โฮเซ่ สุไลมาน ที่เป็นประธานตัวจริงและเป็นบิดาของมัวริซิโอ ทำหน้าที่อย่างยาวนานถึง 38 ปี ถึงแก่กรรมไปในต้นปี..

ใหม่!!: โลกและสภามวยโลก · ดูเพิ่มเติม »

สมมติฐานโลกยุติธรรม

มมติฐานโลกยุติธรรม (just-world hypothesis, just-world fallacy) เป็นความเอนเอียงทางประชาน หรือเป็นการสมมุติว่า การกระทำของบุคคลหนึ่ง ๆ มีแนวโน้มที่จะนำผลที่ยุติธรรมโดยศีลธรรมและที่เหมาะสมมายังบุคคลนั้น ๆ คือในที่สุดกรรมดีก็จะได้ผลดี และกรรมชั่วก็จะได้ผลชั่ว กล่าวอีกอย่างก็คือ เป็นแนวโน้มที่จะอ้างหรือคาดหวังว่า ผลที่เห็นมีเหตุเนื่องกับพลังจักรวาลที่ปรับโลกให้สมดุลอย่างยุติธรรม ความเชื่อเช่นนี้ทั่วไปส่องถึงความเชื่อเรื่องความยุติธรรมจักรวาล ชะตากรรม ลิขิตของผู้เป็นเจ้า ความสมดุลทางจักรวาล ระเบียบจักรวาล และมีโอกาสสูงที่จะให้ผลเป็นเหตุผลวิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่บุคคลให้เหตุผลความเคราะห์ร้ายของผู้อื่นว่า คน ๆ นั้น ๆ "สมควร" จะได้รับผลเช่นนั้น ในภาษาอังกฤษ สมมติฐานเช่นนี้พบได้ในภาพพจน์ต่าง ๆ ที่แสดงนัยรับประกันที่จะได้ผลร้ายคืน เช่น "You got what was coming to you" (คุณได้สิ่งที่ควรจะมาหาคุณ) "What goes around comes around" (อะไรเวียนไปก็ย่อมจะเวียนมา) "chickens come home to roost" (ไก่ย่อมกลับบ้านเพื่อมานอน) และ "You reap what you sow" (คุณเก็บเกี่ยวสิ่งที่คุณหว่าน) เป็นสมมติฐานที่ศึกษากันอย่างกว้างขวางโดยนักจิตวิทยาสังคม เริ่มต้นที่งานทรงอิทธิพลของ.ดร.เลอร์เนอร์ ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 ตั้งแต่นั้น งานวิจัยก็ได้ดำเนินต่อมาเรื่อย ๆ โดยตรวจสอบสมรรถภาพการพยากรณ์ของทฤษฎีนี้ในสถานการณ์ต่าง ๆ และในวัฒนธรรมต่าง ๆ ช่วยให้ความเข้าใจเรื่องนี้ดีขึ้นและขยายกว้างออกไป.

ใหม่!!: โลกและสมมติฐานโลกยุติธรรม · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมมวยโลก

ำหรับ WBA ความหมายอื่น ดูที่: สโมสรฟุตบอลเวสต์บรอมวิชอัลเบียน สัญลักษณ์สมาคมมวยโลก เข็มขัดแชมป์โลกสมาคมมวยโลก สมาคมมวยโลก (World Boxing Association, ตัวย่อ: WBA; Asociación Mundial de Boxeo, ตัวย่อ: AMB) สถาบันที่ดูแลและควบคุมการชกมวยสากลในระดับโลก สมาคมมวยโลกก่อตั้งขึ้นในวันที่ 23 สิงหาคม ค.ศ. 1962 โดยแยกตัวออกมาจากสถาบันสมาคมมวยแห่งชาติ (National Boxing Association - NBA) ของสหรัฐอเมริกา โดยกลุ่มผู้ร่วมก่อตั้งเป็นบุคคลในวงการมวยชาวอเมริกันและต่อมาจึงมีชาติในสมาชิกกลุ่มลาตินอเมริกาเข้าร่วมด้วยอีกหลายชาติ ปัจจุบัน สมาคมมวยโลก เป็นอีกหนึ่งสถาบันมวยสากลที่ได้รับการยอมรับว่ามีมาตรฐานและได้รับความนิยมเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก มี กิลแบร์โต เมนโดซา ชาวเวเนซุเอลาเป็นประธาน ที่ตั้งสถาบัน ตั้งอยู่ที่กรุงคารากัส ประเทศเวเนซุเอล.

ใหม่!!: โลกและสมาคมมวยโลก · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมเนชั่นแนล จีโอกราฟิก

มาคมเนชั่นแนล จีโอกราฟิก (National Geographic Society) เป็นองค์กรด้านวิทยาศาสตร์และการศึกษาแห่งหนึ่งของโลกที่ไม่แสวงหาผลกำไร มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นองค์กรที่สืบเสาะค้นหาเรื่องราวอันน่าทึ่งของภูมิศาสตร์และธรรมชาติวิทยาทั้งหมด ทั้งยังส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและรักษาโบราณสถานและโบราณวัตถุต่างๆ และยังศึกษาวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์โลก หัวใจของภารกิจของสมาคม คือ " เพิ่มพูนและทำให้ความรู้ทางภูมิศาสตร์กระจ่าง เนื่องจากการสนับสนุนการปกปักรักษาวัฒนธรรมของโลก, ประวัติศาสตร์และการสำรวจธรรมชาติ " จอห์น เอ็ม. ฟาเฮย์,จูเนียร์ ประธานและซีอีโอสมาคมกล่าว สมาคมเนชั่นแนล จีโอกราฟิกมีจุดมุ่งหมายที่จะแนะนำให้ผู้คนดูแลรักษาโลกในนี้ สมาคมนี้มีผู้ดูแล 23 คน ซึ่งเป็นสมาชิกคณะผู้ดูแลสมาคม ซึ่งมาจากหลากหลายสาขาอาชีพ เช่น นักวิชาการ, ธุรกิจส่วนตัว, นักวิทยาศาสตร์, พนักงงานบริษัทเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและนักอนุรักษ์ เป็นต้น.

ใหม่!!: โลกและสมาคมเนชั่นแนล จีโอกราฟิก · ดูเพิ่มเติม »

สมุดหน้าเหลือง

มุดหน้าเหลือง หรือ เยลโล่เพจเจส เป็นคำสามัญที่หลายประเทศทั่วโลกใช้เรียกสมุดโทรศัพท์ประเภทไดเร็คทอรี่ส์ที่รวบรวมรายชื่อธุรกิจ สินค้า และบริการ ที่เรียบเรียงไว้เป็นหมวดหมู่ แจกจ่ายไปตามบ้านเรือน ที่พักอาศัย บริษัท ห้างร้าน และแหล่งธุรกิจต่าง ๆ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใด ๆ ถือว่าเป็นสื่อโฆษณาแบบรายปี แรกเริ่มเดิมที สมุดหน้าเหลืองถูกพิมพ์ครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา บนกระดาษสีเหลืองคุณภาพต่ำด้วยความจำเป็นด้านต้นทุน เนื่องจากต้องพิมพ์เป็นจำนวนมาก แม้ปัจจุบันสมุดหน้าเหลืองจะใช้กระดาษคุณภาพมาตรฐานที่มีสีขาวย้อมเหลืองแล้วก็ตาม คนทั่วไปก็ยังคงจำภาพลักษณ์ของสมุดโทรศัพท์ประเภทไดเร็คทอรี่ส์ว่า เยลโล่เพจเจส ต่อมา รูปแบบการดำเนินธุรกิจแบบเยลโล่เพจเจส เป็นที่นิยมและเริ่มมีทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนนำรูปแบบนี้ไปทำธุรกิจทุกประเทศ หลากหลายภาษาทั่วโลก จวบจนธุรกิจสมุดหน้าเหลืองเข้าประเทศไทย โดยบริษัท จีทีอี ที่คนไทยเรียกกันติดปากว่า "หน้าเหลือง" จากนั้นโอนย้ายไปอยู่ในการดูแลของ เอที แอนด์ ที ภายใต้สัมปทานที่ได้มาจากองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (TOT) และต่อมากับบริษัทชินวัตร ไดเร็คทอรี่ (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นบริษัทเทเลอินโฟ มีเดีย จำกัด มหาชน) ซึ่งหมายถึงไทยแลนด์ เยลโล่เพจเจส ในขณะที่บ้านเราก็มีสมุดหน้าขาว หรือ ไวท์เพจเจส ก็พิมพ์บนกระดาษสีขาวโดยตัวสมุดจะเป็นการรวบรวมรายชื่อบุคคล (หรือธุรกิจ) ที่เรียงตามลำดับตัวอักษร ก-ฮ ปัจจุบันหลังจากมีการเปิดเสรีโทรคมนาคมแล้ว ผนวกกับการเข้ามาของเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ได้เข้ามาท้าทายให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของสื่อประเภทไดเร็คทอรี่ส์ จนสมุดหน้าเหลืองต้องปรับตัวเป็นสื่อไดเร็คทอรี่ส์ออนไลน์มากยิ่งขึ้น ทำให้ก้าวต่อไปของสมุดหน้าเหลืองกลายเป็นเรื่องของธุรกิจฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ที่สามารถกระจายเนื้อหาไปยังสื่อประเภทต่าง ๆ ได้อีกมากม.

ใหม่!!: โลกและสมุดหน้าเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

สรรพันตรเทวนิยม

รรพัชฌัตเทวนิยม (Panentheism) เป็นเทวนิยมรูปแบบหนึ่งที่เชื่อว่าพระเป็นเจ้าทรงสถิตแทรกซึมอยู่ทั่วโลก (ตลอดทั้งจักรวาล) มีลักษณะเป็นแนวคิดสายกลางระหว่างแนวคิดแบบเอกเทวนิยมด้ังเดิมที่มองว่าพระเป็นเจ้าทรงอยู่แยกขาดจากโลก กับแนวคิดสรรพเทวนิยมที่มองว่าพระเป็นเจ้ากับโลกเป็นสิ่งเดียวกัน สรรพัชฌัตเทวนิยมจึงเสนอว่าพระเป็นเจ้าทรงปรากฏพระองค์ในโลก (ไม่ได้แยกขาดจากกัน) แต่พระองค์ก็ไม่ใช่ภาวะเดียวกับโลก แนวคิดนี้ปรากฏในสาขาปรัชญาและเทววิทยามาหลายศตวรรษ แต่มาเฟื่องฟูมากในโลกตะวันตกเมื่อสองศตวรรษที่แล้ว เมื่อศาสนาคริสต์ต้องปรับตัวเข้ากับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ ศาสนาที่มีแนวคิดแบบสรรพัชฌัตเทวนิยม เช่น ศาสนาฮินดูสำนักวิศิษฏาไทฺวตะ เวทานตะ และลัทธิอนุตตรธรรม เป็นต้น.

ใหม่!!: โลกและสรรพันตรเทวนิยม · ดูเพิ่มเติม »

สวนสยาม

ลเดอร์ขนาดใหญ่ของสวนสยาม สวนสยามทะเลกรุงเทพ (Siam Park) เป็นสวนสนุกและสวนน้ำ ตั้งอยู่ที่ถนนสวนสยาม แขวงคันนายาว เขตคันนายาว บนเนื้อที่ 300 ไร่ ได้ฉายาว่า "ทะเลกรุงเทพ" และคำขวัญคือ "สวนสยาม...

ใหม่!!: โลกและสวนสยาม · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์มวยนานาชาติ

ำหรับสหพันธ์แบดมินตันนานาชาติ (IBF) ดูที่ สหพันธ์แบดมินตันนานาชาติ เข็มขัดแชมป์โลกของ IBF สหพันธ์มวยนานาชาติ (International Boxing Federation, ตัวย่อ: IBF) สถาบันที่ดูแลและควบคุมการชกมวยสากลในระดับโลก สหพันธ์มวยนานาชาติได้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2526 โดย นายโรเบิร์ต ดับเบิลยู.

ใหม่!!: โลกและสหพันธ์มวยนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระราม 8

นพระราม 8 (Rama VIII Bridge) เป็นสะพานขึงแบบอสมมาตรเสาเดี่ยว ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งที่ 13 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีแนวสายทางเชื่อมต่อกับทางคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณโรงงานสุราบางยี่ขัน (สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และมูลนิธิชัยพัฒนาในปัจจุบัน) เขตบางพลัด บรรจบกับปลายถนนวิสุทธิกษัตริย์ ใกล้กับธนาคารแห่งประเทศไทย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: โลกและสะพานพระราม 8 · ดูเพิ่มเติม »

สะเก็ดดาว

ก็ดดาว (meteoroid) คือ เศษวัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ มีขนาดตั้งแต่ก้อนหินขนาดใหญ่ลงไปถึงผงฝุ่น เมื่อสะเก็ดดาวเคลื่อนที่เข้าสู่บรรยากาศของโลก (หรือของดาวเคราะห์อื่น) ทำให้เกิดความร้อนและแสงสว่างมองเห็นเป็นดาวตก คนทั่วไปมักเข้าใจว่าแสงสว่างนี้เกิดจากความเสียดทานระหว่างสะเก็ดดาวกับบรรยากาศ แต่ในความเป็นจริง กระบวนการหลักของการเกิดดาวตก คือ การแตกตัวเป็นไอออน (ionization) ของอนุภาคในบรรยากาศ หากสะเก็ดดาวมีขนาดใหญ่ วัตถุที่ตกลงถึงพื้นดิน เรียกว่า อุกกาบาต (meteorite) สะเก็ดดาวที่ลุกไหม้จนหมดในชั้นบรรยากาศของโลกเรียกว่า ดาวตก หรือ ผีพุ่งไต้ (meteor) ดาวตกที่สว่างมาก ๆ คือสว่างกว่าดาวศุกร์ อาจเรียกว่าลูกไฟ (fireball) สะเก็ดดาวจำนวนมากเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในฝนดาวตก.

ใหม่!!: โลกและสะเก็ดดาว · ดูเพิ่มเติม »

สัญลักษณ์ทางดาราศาสตร์

ัญลักษณ์ทางดาราศาสตร์ เป็นสัญลักษณ์ใช้แทนเทหวัตถุต่างๆ โครงสร้าง รวมถึงปรากฏการณ์ในทางดาราศาสตร์ รายการสัญลักษณ์ที่แสดงไว้ในที่นี้เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้กันโดยทั่วไปในหมู่นักวิชาการและนักดาราศาสตร์สมัครเล่น สัญลักษณ์บางตัวเหมือนกันกับสัญลักษณ์ทางโหราศาสตร์ตะวันตก.

ใหม่!!: โลกและสัญลักษณ์ทางดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์เลื้อยคลาน

ัตว์เลื้อยคลาน (reptile) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง โดยคำว่า Reptilia มาจากคำว่า Repera ที่มีความหมายว่า "คลาน" เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่จัดเป็นสัตว์ในกลุ่มแรก ๆ ของโลกที่มีการดำรงชีวิตบนบกอย่างแท้จริง สัตว์เลื้อยคลานในยุคดึกดำบรรพ์ที่รอดชีวิตจากการสูญพันธุ์และยังดำรงชีวิตในปัจจุบัน มีจำนวนมากถึง 7,000 ชนิดชนิดของสัตว์เลื้อยคลาน, สัตววิทยา, บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547, หน้า 364 กระจายอยู่ทั่วโลกทั้งชนิดอาศัยในแหล่งน้ำและบนบก จัดเป็นกลุ่มของสัตว์ที่ประสบความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนสภาพร่างกายในการเอาตัวรอดจากเหตุการณ์หินอุกกาบาตพุ่งชนโลกมามากกว่า 100 ล้านปีมาแล้ว ในยุคจูแรสซิกที่อยู่ในมหายุคมีโซโซอิก ซึ่งมีอายุของยุคที่ยาวนานถึง 100 ล้านปี จัดเป็นยุคที่สัตว์เลื้อยคลานมีวิวัฒนาการจนถึงขีดสุด มีสัตว์เลื้อยคลานมากมายหลากหลายขนาด ตั้งแต่กิ้งก่าตัวเล็ก ๆ จนถึงไทรันโนซอรัส เร็กซ์ซึ่งเป็นไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดใหญ่ ที่มีจำนวนมากมายครอบครองพื้นที่ทั่วทุกแห่งในโลก ยุคจูแรสซิกจึงถือเป็นยุคของสัตว์เลื้อยคลานอย่างแท้จริง ต่อมาภายหลังเกิดเหตุการณ์อุกกาบาตพุ่งชนโลก ทำให้กลุ่มสัตว์บกที่อาศัยในยุคจูแรสซิก เกิดล้มตายและสูญพันธุ์อย่างกะทันหันโดยไม่ทราบสาเหตุของการสูญพันธุ์ที่ชัดเจนและแน่นอน.

ใหม่!!: โลกและสัตว์เลื้อยคลาน · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

ัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม (Mammalia) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง โดยคำว่า Mammalia มาจากคำว่า Mamma ที่มีความหมายว่า "หน้าอก" เป็นกลุ่มของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ที่มีการวิวัฒนาการและพัฒนาร่างกายที่ดีหลากหลายประการ รวมทั้งมีระบบประสาทที่เจริญก้าวหน้า สามารถดำรงชีวิตได้ในทุกสภาพสิ่งแวดล้อมสัตววิทยา (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม), บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547, หน้า 411 มีขนาดของร่างกายและรูปพรรณสัณฐานที่แตกต่างกันออกไป รวมถึงการทำงานของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย ที่มีการปรับเปลี่ยนไปตามลักษณะของสายพันธุ์ มีลักษณะเด่นคือมีต่อมน้ำนมที่มีเฉพาะในเพศเมียเท่านั้น เพื่อผลิตน้ำนมเพื่อใช้เลี้ยงลูกวัยแรกเกิด เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีขนเป็นเส้น ๆ (hair) หรือขนอ่อน (fur) ปกคลุมทั่วทั้งร่างกาย เพื่อเป็นการรักษาอุณหภูมิในร่างกาย ยกเว้นสัตว์น้ำที่ไม่มีขน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ไม่จัดอยู่ในประเภทสัตว์กลุ่มใหญ่ คือมีจำนวนประชากรประมาณ 4,500 ชนิด ซึ่งถือว่าเป็นปริมาณน้อยมากเมื่อเทียบกับนก ที่มีประมาณ 9,200 ชนิด และปลาอีกประมาณ 20,000 ชนิด รวมทั้งแมลงอีกประมาณ 800,000 ชนิด ส่วนใหญ่เป็นสัตว์บก เช่น สุนัข ช้าง ลิง เสือ สิงโต จิงโจ้ เม่น หนู ฯลฯ สำหรับสัตว์น้ำที่จัดเป็นเลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ได้แก่ โลมา วาฬ มานาทีและพะยูน แต่สำหรับสัตว์ปีกประเภทเดียวที่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมคือค้างคาว ซึ่งกระรอกบินและบ่างนั้น ไม่จัดอยู่ในประเภทของสัตว์ปีก เนื่องจากใช้ปีกในการร่อนไปได้เพียงแค่ระยะหนึ่งเท่านั้น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมส่วนใหญ่ออกลูกเป็นตัว ยกเว้นตุ่นปากเป็ดและอีคิดนาเท่านั้นที่ออกลูกเป็น.

ใหม่!!: โลกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม · ดูเพิ่มเติม »

สำนักแพร่ภาพข่าวแห่งยุโรป

ำนักข่าวยูโรเปี้ยน เพรสโฟโต้ เอเจนซี่ เป็นหน่วยงานที่ทำการเผยแพร่ภาพข่าวเหตุการณ์จากประเทศต่าง ๆ ไปทั่วโลก รูปภาพจากทุกส่วนของโลกครอบคลุมข่าวการเมือง ข่าวกีฬา ข่าวธุรกิจการเงิน ตลอดจนข่าวศิลปวัฒนธรรมและการบันเทิง ซึ่งถ่ายภาพโดยช่างภาพข่าวมืออาชีพในเครือข่ายทั่วโลกกว่า 400 คนนำมารวมไว้ในบริการภาพของ epa บริการภาพข่าวของ epa ผลิตรายวันโดยช่างภาพที่เป็นพนักงานจากเครือข่ายที่สร้างขึ้นทั่วโลกรวมทั้งช่างภาพขององค์กรข่าวซึ่งเป็นสมาชิกและผู้นำการตลาดด้านภาพข่าวในแต่ละประเทศ ภาพถ่ายทั้งหมดจะถูกส่งเข้ามาที่กองบรรณาธิการใหญ่ ณ เมือง แฟรงค์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี ก่อนจะแจกจ่ายให้กับลูกค้าทั่วโลก กองบรรณาธิการภาพนี้มีการทำงานตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้ลูกค้าได้รับภาพข่าวและเหตุการณ์ที่ทันต่อสถานการณ.

ใหม่!!: โลกและสำนักแพร่ภาพข่าวแห่งยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม พ.ศ. 2546

ง ง -ชลล.

ใหม่!!: โลกและสิงหาคม พ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

สิ่งมีชีวิต

งมีชีวิต จะมีคุณลักษณะ (properties) ที่ไม่พบในสิ่งไม่มีชีวิต อันได้แก่ความสามารถในการใช้สสารและพลังงานเป็นสำคัญ ซึ่งได้รับถ่ายทอดจากบรรพบุรุษของสิ่งมีชีวิตแรกเริ่ม อย่างไรก็ตามสิ่งมีชีวิตเริ่มแรกหรือบรรพบุรุษของสิ่งมีชีวิตซึ่งถือกำเนิดมาบนโลกกว่า 4 พันล้านปี เมื่อผ่านการวิวัฒนาการและการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมในแต่ละช่วงเวลา ก่อให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตเป็นจำนวนมากดังที่ปรากฏในปัจจุบัน.

ใหม่!!: โลกและสิ่งมีชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

สิ่งมีชีวิตนอกโลก

นหุ่นยนต์รถสำรวจคิวริออซิตี้โรเวอร์) มนุษย์ต่างดาวในจินตนาการของคนส่วนใหญ่ มนุษย์ต่างดาว (alien) เป็นสิ่งที่เชื่อว่าอาจมีอยู่จริงแต่ยังไม่มีข้อพิสูจน์ ลักษณะเป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่นอกโลก ซึ่งในความคิดของคนส่วนใหญ่ มักจะวาดภาพ มนุษย์ต่างดาว ลักษณะคล้ายคนแต่ ตัวเขียว หัวโต ตาโต เคยมาเยือนโลกโดยมากับ จานบิน สิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrial life) (จากคำภาษาละติน: extra และ terrestris) ถูกกำหนดให้เป็นชีวิตที่ไม่ได้เกิดจากโลก มันมักจะหมายถึง สิ่งมีชีวิตนอกโลก หรือเรียกเพียงว่า มนุษย์ต่างดาว (หรือมนุษย์ต่างดาวในอวกาศเพื่อให้แตกต่างจากคำจำกัดความอื่น ๆ ของมนุษย์ต่างภิภพหรือมนุษย์ต่างดาว) รูปแบบชีวิตเหล่านี้ตามสมมติฐานของชีวิตช่วงระยะเริ่มจากสิ่งมีชีวิตจำพวกแบคทีเรียขั้นพื้นฐานเหมือนสิ่งมีชีวิตที่เรียบง่ายไปไกลจนถึงขั้นที่มีความซับซ้อนมากขึ้นเกินกว่าสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า มนุษย์ ความเป็นไปได้ว่ายังอาจจะมีไวรัส (viruses) ที่มีการดำรงชีวิตอยู่แบบสิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrially) ได้รับการเสนอขึ้น การพัฒนาและการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับชีวิตต่างดาวที่เป็นที่รู้จักกันในนามของวิชาที่เรียกว่า "ชีววิทยานอกโลก" หรือ "ชีวดาราศาสตร์" ("exobiology" or "astrobiology") แม้ว่าวิชาชีวดาราศาสตร์จะยังคงพิจารณาถึงชีวิตที่เกิดขึ้นที่เป็นขั้นพื้นฐานบนโลกที่ใช้ในบริบททางดาราศาสตร์อยู่ก็ตาม นักวิทยาศาสตร์หลายคนคิดว่าชีวิตนอกโลกเป็นสิ่งที่มีความเป็นไปได้ แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานโดยตรงในการดำรงอยู่ของมัน นับตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 20 ได้มีการค้นหาอย่างต่อเนื่องสำหรับสัญญาณของชีวิตนอกโลก, จากวิทยุที่ใช้ในการตรวจจับสัญญาณต่างดาวที่มีความเป็นไปได้, ไปจนถึงกล้องโทรทรรศน์ที่ใช้ในการค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่มีศักยภาพเพียงพอสำหรับเป็นสถานที่เอื้ออาศัยสำหรับสภาพชีวิตที่อาจสามารถทำให้เกิดขึ้นได้ นอกจากนี้มันก็ยังมีบทบาทที่สำคัญต่องานเขียนทางด้านเกี่ยวกับนิยายวิทยาศาสตร์ (science fiction) อีกด้วย ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา, ผลงานทางด้านนิยายวิทยาศาสตร์, โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีส่วนร่วมของฮอลลีวู้ด, ได้ช่วยเพิ่มทวีความสนใจให้มากขึ้นของประชาชนในความเป็นไปได้เกี่ยวกับชีวิตนอกโลก บางส่วนสนับสนุนให้ใช้วิธีการเชิงรุกสำหรับในความพยายามและได้รับการติดต่อกับสิ่งมีชีวิตจากห้วงอวกาศ, ในขณะที่อีกบางส่วน ยืนยันว่ามันก็อาจจะเป็นอันตรายต่อมนุษย์เราชาวโลกเราได้สำหรับในการที่จะกระตือรือร้นเรียกร้องความสนใจจากมนุษย์ต่างดาว ในอดีตที่ผ่านมา, ความขัดแย้งกันระหว่างวัฒนธรรมที่เจริญและคนพื้นเมืองนั้นก็ยังไม่ได้เป็นไปด้วยดี.

ใหม่!!: โลกและสิ่งมีชีวิตนอกโลก · ดูเพิ่มเติม »

สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ

น้ำตกโฮปตัน ในประเทศออสเตรเลีย ในช่วงเวลาที่ทางการอนุญาตให้เข้าชมได้ ทะเลสาบบัคอับบ์ ในเทือกเขาสวิสแอลป์ พื้นที่ที่เป็นภูเขาโดยทั่วไปจะได้รับผลกระทบจากผู้คนน้อยกว่าพื้นที่ราบ สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่าสิ่งแวดล้อม เป็นคำที่ใช้เรียกสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติบนโลกหรือบนภูมิภาคอื่น ๆ ที่มีปรากฏการณ์ดังกล่าวโดยรวม สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ สามารถจำแนกโยดูกอนระบบธรรมชาติโการรบกวนของมนุษย์มากเกินไป ซึ่งรวมไปถึงพืช สัตว์ จุลินทรีย์ ดิน หิน ชั้นบรยากา และปรชาติที่เกิขึ้นายใต้อบเขตของสิ่งดังกล่าว.

ใหม่!!: โลกและสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สุริยวิถี

ริยวิถี (Ecliptic) คือ ระนาบทางเรขาคณิตที่เป็นระนาบวงโคจรของโลก ดาวเคราะห์ส่วนใหญ่ในระบบสุริยะมีระนาบวงโคจรใกล้เคียงกับระนาบนี้ เมื่อมองจากโลก สุริยวิถีเป็นวงกลมใหญ่บนทรงกลมฟ้าที่แทนเส้นทางการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ตลอดทั้งปีท่ามกลางดาวฤกษ์ที่เป็นฉากหลัง ระนาบนี้ทำมุมเอียงกับเส้นศูนย์สูตรฟ้าเป็นมุมประมาณ 23.5° ซึ่งเป็นผลจากความเอียงของแกนหมุนของโลก ระนาบวงโคจรของดวงจันทร์เอียงกับระนาบสุริยวิถีเป็นมุมประมาณ 5° เนื่องจากดวงอาทิตย์ปรากฏเคลื่อนที่ไปตามสุริยวิถีเป็นมุม 360 องศา ในระยะเวลาประมาณ 365.25 วัน หรือ 1 ปี ดวงอาทิตย์จึงเคลื่อนที่ไปด้วยอัตราประมาณ 1° ต่อวัน โดยมีทิศทางจากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก ตรงข้ามกับการหมุนของทรงกลมฟ้า สุริยวิถีกับเส้นศูนย์สูตรฟ้าตัดกันที่จุด 2 จุด ซึ่งอยู่ตรงข้ามกัน คือ จุดวสันตวิษุวัตและจุดศารทวิษุวัต เมื่อดวงอาทิตย์เคลื่อนมาถึง 2 ตำแหน่งนี้ กลางวันกับกลางคืนจะยาวนานเท่ากันสำหรับผู้สังเกตบนผิวโลก (อย่างน้อยก็ในทางทฤษฎี เพราะมีปัจจัยอื่นที่ส่งผลต่อความยาวนานของกลางวัน-กลางคืน เช่น บรรยากาศโลก) จุดที่สุริยวิถีอยู่ห่างจากเส้นศูนย์สูตรฟ้ามากที่สุดขึ้นไปทางเหนือ เรียกว่า จุดครีษมายัน และลงไปทางใต้เรียกว่า จุดเหมายัน หากดวงจันทร์ผ่านแนวสุริยวิถีขณะจันทร์เพ็ญหรือจันทร์ดับ จะมีโอกาสเกิดอุปราคาขึ้นได้.

ใหม่!!: โลกและสุริยวิถี · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา

ริยุปราคาเต็มดวง พ.ศ. 2542 สุริยุปราคา หรือ สุริยคราส เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ เกิดขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก โคจรมาเรียงอยู่ในแนวเดียวกันโดยมีดวงจันทร์อยู่ตรงกลาง เกิดขึ้นเฉพาะในวันที่ดวงจันทร์มีดิถีตรงกับจันทร์ดับ เมื่อสังเกตจากพื้นโลกจะเห็นดวงจันทร์เคลื่อนเข้ามาบดบังดวงอาทิตย์ โดยอาจบังมิดหมดทั้งดวงหรือบางส่วนก็ได้ ในแต่ละปีสามารถเกิดสุริยุปราคาบนโลกได้อย่างน้อย 2 ครั้ง สูงสุดไม่เกิน 5 ครั้ง ในจำนวนนี้อาจไม่มีสุริยุปราคาเต็มดวงเลยแม้แต่ครั้งเดียว หรืออย่างมากไม่เกิน 2 ครั้ง โอกาสที่จะได้เห็นสุริยุปราคาเต็มดวงสำหรับสถานที่ใดสถานที่หนึ่งบนพื้นโลกนั้นค่อนข้างยาก เนื่องจากสุริยุปราคาเต็มดวงแต่ละครั้งจะเกิดในบริเวณแคบ ๆ ภายในแถบที่เงามืดของดวงจันทร์พาดผ่านเท่านั้น สุริยุปราคาเต็มดวงเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่สวยงาม น่าตื่นเต้น และสร้างความประทับใจแก่คนที่ได้ชม ผู้คนจำนวนมากต่างพากันเดินทางไปยังดินแดนอันห่างไกลเพื่อคอยเฝ้าสังเกตปรากฏการณ์นี้ สุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อ..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 1 กันยายน พ.ศ. 2559

ริยุปราคาวงแหวนเกิดขึ้นในวันที่ 1 กันยายน..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 1 กันยายน พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 11 สิงหาคม พ.ศ. 2561

ริยุปราคาบางส่วนจะเกิดขึ้นในวันที่ 11 สิงหาคม..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 11 สิงหาคม พ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ริยุปราคาเต็มดวง เกิดขึ้นในวันที่ 13–15 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2580

ริยุปราคาเต็มดวงจะเกิดขึ้นในวันที่ 13 กรกฎาคม..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2580 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 13 กันยายน พ.ศ. 2558

ริยุปราคาบางส่วนเกิดขึ้นในวันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 13 กันยายน พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2574

ริยุปราคาเต็มดวงจะเกิดขึ้นในวันที่ 14 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2574 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 14 ธันวาคม พ.ศ. 2563

ริยุปราคาเต็มดวงจะเกิดขึ้นในวันที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 14 ธันวาคม พ.ศ. 2563 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

ริยุปราคาบางส่วนจะเกิดขึ้นในวันที่ 15 กุมภาพัน..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2562

ริยุปราคาเต็มดวง จะเกิดขึ้นในวันที่ 2 กรกฎาคม..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 2 กันยายน พ.ศ. 2578

ริยุปราคาเต็มดวงจะเกิดขึ้นในวันที่ 2 กันยายน..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 2 กันยายน พ.ศ. 2578 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2577

ริยุปราคาเต็มดวงจะเกิดขึ้นในวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2577 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 20 เมษายน พ.ศ. 2566

ริยุปราคาผสมจะเกิดขึ้นในวันที่ 20 เมษายน..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 20 เมษายน พ.ศ. 2566 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 21 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ริยุปราคาเต็มดวง เกิดขึ้นในวันจันทร์ที่ 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 21 สิงหาคม พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2571

ริยุปราคาเต็มดวงจะเกิดขึ้นในวันที่ 22 กรกฎาคม..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2571 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 23 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ริยุปราคาบางส่วนเกิดขึ้นในวันที่ 23 ตุลาคม..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 23 ตุลาคม พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2573

ริยุปราคาเต็มดวงจะเกิดขึ้นในวันที่ 25 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2573 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 30 มีนาคม พ.ศ. 2576

ริยุปราคาเต็มดวงจะเกิดขึ้นในวันที่ 30 มีนาคม..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 30 มีนาคม พ.ศ. 2576 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 30 เมษายน พ.ศ. 2565

ริยุปราคาบางส่วนจะเกิดขึ้นในวันที่ 30 เมษายน..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 30 เมษายน พ.ศ. 2565 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 4 ธันวาคม พ.ศ. 2564

ริยุปราคาเต็มดวงจะเกิดขึ้นในวันที่ 4 ธันวาคม..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 4 ธันวาคม พ.ศ. 2564 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 6 มกราคม พ.ศ. 2562

ริยุปราคาบางส่วนจะเกิดขึ้นในวันที่ 6 มกราคม..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 6 มกราคม พ.ศ. 2562 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 8 เมษายน พ.ศ. 2567

ริยุปราคาเต็มดวงจะเกิดในวันที่ 8 เมษายน..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 8 เมษายน พ.ศ. 2567 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 9 มีนาคม พ.ศ. 2559

กิดสุริยุปราคาเต็มดวงในวันที่ 9 มีนาคม..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคา 9 มีนาคม พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคาบางส่วน 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2561

ริยุปราคาบางส่วนจะเกิดขึ้นในวันที่ 13 กรกฎาคม..

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคาบางส่วน 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคาบนดวงจันทร์

ในทางดาราศาสตร์ สุริยุปราคาบนดวงจันทร์ เกิดขึ้นเมื่อดาวเคราะห์แม่ (โลก) ผ่านหน้าดวงอาทิตย์และบดบังแสง โดยเมื่อสังเกตจากโลกจะเห็นเป็นจันทรุปร.

ใหม่!!: โลกและสุริยุปราคาบนดวงจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สุขาวดี

ตรกรรมฝาผนัง ''พุทธเกษตรของพระอมิตาภะ'' ที่ พิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งเบอร์มิงแฮม ตามความเชื่อของศาสนาพุทธนิกายมหายาน สุขาวดี (सुखावती สุขาวตี) คือพุทธเกษตรของพระอมิตาภพุทธะ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของโลก สุขาวดีไม่ใช่นิพพาน แต่เป็นภูมิที่สาวกของพระอมิตาภะใช้ปฏิบัติธรรมต่อหลังจากสิ้นชีวิตบนโลกเพื่อบรรลุนิพพานต่อไป.

ใหม่!!: โลกและสุขาวดี · ดูเพิ่มเติม »

สีดา ราม ศึกรักมหาลงกา

ีดา ราม ศึกรักมหาลงกา หรือ สีดาราม ศึกรักมหาลงกา (Siya Ke Ram) เป็นละครโทรทัศน์ที่กล่าวถึงสงครามครั้งสำคัญในวรรณกรรมเรื่องยิ่งใหญ่ รามายณะ ที่กล่าวการยกทัพของพระรามกับพญาทศกัณฐ์ เพื่อชิงเอานางสีดาคืนมา นำแสดงโดย อาชิช ชาร์มา, มาดิรักศรี มันเดิล ออกอากาศทาง ช่อง 8 ออกอากาศ ทุกวันเสาร์- อาทิตย์ เวลา 10.00 น. เริ่มออกอากาศตอนแรกในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: โลกและสีดา ราม ศึกรักมหาลงกา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีแผ่นดินไหว

นีแผ่นดินไหว (seismic station) เป็นหน่วยปฏิบัติงานเฝ้าระวังปรากฏการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นทั่วโลก ประเทศไทยเริ่มมีสถานีแผ่นดินไหวแห่งแรกที่เชิงดอยสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ.2506 ภายใต้การกำกับของกรมอุตุนิยมวิทยาด้วยความร่วมมือของสำนักงานสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา (United States Geological Survey: USGS) ปัจจุบัน สถานีแผ่นดินไหวเชียงใหม่ (Chiang Mai Seismic Station: CHTO) ถือเป็นสถานีแผ่นดินไหวที่มีมาตรฐานการปฏิบัติงานเทียบเท่าสถานีเครือข่ายของโลก (Global Seismograph Network) ปฏิบัติงานด้วยเครื่องตรวจแผ่นดินไหวแบบดิจิตอลออนไลน์ระบบไอริส (Incorporated Research Institutions for Seismology: IRIS) สามารถเฝ้าระวังเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นทั่วโลกผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ตามเวลาจริง (real time)ปัจจุบันนับว่างานเฝ้าระวังแผ่นดินไหวของไทยมีความก้าวหน้าไปมาก โดยเฉพาะสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวเชียงใหม่ ได้รับการยอมรับจากหน่วยงานระดับโลกในความมีมาตรฐานการปฏิบัติงานและเครื่องมือที่ทันสมัย สำนักงานสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกายังคงเป็นหน่วยงานที่สถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวเชียงใหม่ร่วมมือประสานการปฏิบัติงานตลอดมา นอกจากนี้ ยังมีเว็บไซต์ของสถานีที่ออนไลน์อยู่บนโลกไซเบอร์หลายเว็บไซต์ เช่น http://www.iris.edu/servlet/webicorder/plotcache/plot_fCHTO.IU.00.BHZ.png http://www.fdsn.org/station_book/IU/CHTO/chto.html http://earthquake.usgs.gov/monitoring/operations/station.php?network.

ใหม่!!: โลกและสถานีแผ่นดินไหว · ดูเพิ่มเติม »

สงครามมหาเทพประจัญบาน

งครามมหาเทพประจัญบาน (Clash of the Titans) เป็นภาพยนตร์อเมริกันในปี 2010 แนวแอคชั่น กำกับโดย หลุยส์ เลเทอร์ริเออร์ ภาพยนตร์เรื่องนี้เรีเมคจากภาพยนตร์เรื่อง Clash of the Titans นำแสดงโดย แซม เวิร์ธธิงตัน, เจมม่า อาร์เทอร์ตัน, แมดส์ มิคเคลสัน, อเล็กซา ดาวาโลส, เรล์ฟ ไฟนส์, เลียม นีสัน.

ใหม่!!: โลกและสงครามมหาเทพประจัญบาน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเทพเจ้า

งครามเทพเจ้า (อังกฤษ: League Of Gods) เป็นภาพยนตร์กำลังภายในแบบแฟนตาซี ที่ออกฉายในปี ค.ศ. 2016 กำกับโดย โคน หุ่ย และเวอร์นีย์ หยาง โดยเนื้อเรื่องอิงมาจากวรรณกรรมเรื่อง ห้องสิน นำแสดงโดย หลี่ เหลียนเจี๋ย, เหลียง เจียฮุย, ฟ่าน ปิงปิง, หวง เสี่ยวหมิง, กู่ เทียนเล่อ.

ใหม่!!: โลกและสงครามเทพเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเทวดา

ระวังสับสนกับภาพยนตร์อีกเรื่องที่มีชื่อคล้ายกัน คือ ศึกเทวดา สงครามเทวดา (Gods Of Egypt) เป็นภาพยนตร์แนวจินตมิติ ที่กำกับโดย อเล็กซ์ โปรยาส ร่วมด้วย ancient Egyptian deities นำแสดงโดย นิโคลัส คอสเตอร์-วอลดาวว์, เบร็นตอน ทวอลทส์, ชาดวิกค์ โบสแมน, เอโลดี้ ยัง, คอร์ทนีย์ เอทอน, รูฟัส เซเวลล์, เจอร์ราด บัตเลอร์ และ เจอฟฟรี่ รั.

ใหม่!!: โลกและสงครามเทวดา · ดูเพิ่มเติม »

สตรอว์เบอร์รี

ตรอว์เบอร์รี (strawberry) เป็นสกุลไม้ดอกในวงศ์กุหลาบ ผลสามารถรับประทานได้ ในอดีตปลูกเป็นพืชคลุมดินให้กับต้นไม้ปลูกเลี้ยงอื่น ซึ่งอาจเป็นที่มาของชื่อก็เป็นได้ มีมากกว่า 20 สปีชีส์ และมีลูกผสมมากมาย แต่สตรอว์เบอร์รีที่นิยมปลูกมากในปัจจุบันก็คือสตรอว์เบอร์รีสวน (Fragaria × ananassa) ผลของสตรอว์เบอร์รีมีรสชาติหลากหลายขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ มีตั้งแต่รสหวานจนถึงเปรี้ยว สตรอเบอร์รีเป็นผลไม้ทางการค้าที่สำคัญ มีปลูกกันเป็นวงกว้างหลายสภาพอากาศทั่วโลก.

ใหม่!!: โลกและสตรอว์เบอร์รี · ดูเพิ่มเติม »

สตาร์คราฟต์

ตาร์คราฟต์ เป็นวิดีโอเกมประเภทวางแผนเรียลไทม์และบันเทิงคดีวิทยาศาสตร์การทหาร พัฒนาและจัดจำหน่ายโดยบลิซซาร์ด เอ็นเตอร์เทนเมนต์ ออกบนระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2541 ต่อมา เกมขยายเป็นแฟรนไชส์ และเป็นเกมแรกของซีรีส์''สตาร์คราฟต์'' รุ่นแมคโอเอสออกในเดือนมีนาคม 2542 และรุ่นดัดแปลงนินเทนโด 64 ซึ่งพัฒนาร่วมกับแมสมีเดีย ออกในวันที่ 13 มิถุนายน 2543 การพัฒนาเกมนี้เริ่มขึ้นไม่นานหลังวอร์คราฟต์ 2: ไทด์สออฟดาร์กเนส ออกในปี 2538 สตาร์คราฟต์เปิดตัวในงานอี3 ปี 2539 ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบน้อยกว่าวอร์คราฟต์ 2 ฉะนั้น โครงการจึงถูกพลิกโฉมทั้งหมดแล้วแสดงต่อสาธารณะในต้นปี 2540 ซึ่งได้รับการตอบรับดีกว่ามาก เกมมีฉากท้องเรื่องในเส้นเวลาสมมติระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 25 ของโลก โดยมุ่งไปยังสามสปีชีส์ที่แก่งแย่งชิงความเป็นใหญ่ในส่วนห่างไกลของดาราจักรทางช้างเผือก ซึ่งเรียก ภาคคอปรูลู (Koprulu Sector) สามสปีชีส์นั้นได้แก่ เทอร์แรน (Terran) มนุษย์ซึ่งถูกเนรเทศจากโลก และมีทักษะการปรับตัวเข้ากับทุกสถานการณ์, เซิร์ก (Zerg) เผ่าพันธุ์คล้ายแมลงต่างดาวที่แสวงความสมบูรณ์ของพันธุกรรม และหมกมุ่นกับการกลืนกินเผ่าพันธุ์อื่น และโพรทอส (Protoss) เผ่าพันธุ์คล้ายมนุษย์ซึ่งมีเทคโนโลยีล้ำหน้าและความสามารถพลังจิต โดยพยายามรักษาอารยธรรมของพวกตนและวิถีชีวิตปรัชญาเคร่งครัดจากพวกเซิร์ก นักหนังสือพิมพ์ของอุตสาหกรรรมวิดีโอเกมจำนวนมากยกย่อง สตาร์คราฟต์ ว่าเป็นเกมที่ดีที่สุด และสำคัญที่สุดตลอดกาลเกมหนึ่ง และว่าได้ยกระดับการพัฒนาเกมวางแผนเรียลไทม์ สตาร์คราฟต์เป็นเกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลขายดีที่สุดเกมหนึ่ง โดยจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2552 สามารถขายได้ 11 ล้านแผ่นทั่วโลก เกมยังได้รับการยกย่องจากการบุกเบิกการใช้กลุ่มแยกมีเอกลักษณ์ในการเล่นวางแผนเรียลไทม์ และเรื่องที่เร้าความสนใจ รูปแบบหลายผู้เล่นของสตาร์คราฟต์ได้รับความนิยมเป็นพิเศษในประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งผู้เล่นและทีมร่วมการแข่งขันอาชีพ ได้รับการสนับสนุน และแข่งขันในทัวร์นาเมนต์ที่ถ่ายทอดทางโทรทัศน์ สตาร์คราฟต์มีการดัดแปลงและขยายแนวเรื่องผ่านชุดนวนิยาย ภาคเสริม (expansion pack) สตาร์คราฟต์: บรูดวอร์ และตัวเสริม (add-on) ที่ได้รับอนุญาตอีกสองตัว อีก 12 ปีให้หลัง ภาคต่อ สตาร์คราฟต์ 2: วิงส์ออฟลิเบอร์ตี ออกในเดือนกรกฎาคม 2553.

ใหม่!!: โลกและสตาร์คราฟต์ · ดูเพิ่มเติม »

สนธยา

มสนธยา สนธยา หรือ โพล้เพล้(Twilight) หมายถึง ช่วงเวลาก่อนดวงอาทิตย์ขึ้น หรือหลังจากดวงอาทิตย์ตกไปแล้ว เมื่อแสงจากดวงอาทิตย์ที่ยังกระจายอยู่ในชั้นบรรยากาศชั้นบน ได้ส่องมายังชั้นบรรยากาศชั้นล่างและพื้นผิวโลก ทำให้ขณะนั้นเห็นท้องฟ้าบริเวณใกล้กับขอบฟ้าเป็นสีเหลือง ส้ม หรือแดง ซึ่งแสงลักษณะนี้ในภาษาไทยเรียกว่า ผีตากผ้าอ้อม.

ใหม่!!: โลกและสนธยา · ดูเพิ่มเติม »

สโตรมาโตไลต์

ตรมาโตไลต์สมัยใหม่ในชาร์กเบย์ รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย สโตรมาโตไลต์ (Stromatolite) เป็นโครงสร้างคล้ายหินพิเศษซึ่งมักเกิดจากการงอกพอกพูนในบริเวณน้ำตื้น เกิดขึ้นจากแบคทีเรีย อย่างเช่น สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (ไซยาโนแบคทีเรีย) นอกจากนี้ ยังอาจเกิดจากแบคทีเรียและสาหร่ายเซลล์เดียวชนิดอื่นได้อีกด้ว.

ใหม่!!: โลกและสโตรมาโตไลต์ · ดูเพิ่มเติม »

สไปเดอร์-แมน

อ้แมงมุม/สไปเดอร์-แมน (Spider-Man) หรือ ปีเตอร์ ปาร์คเกอร์ (Peter Parker) คือ ตัวการ์ตูนยอดมนุษย์สัญชาติอเมริกันของสังกัดมาร์เวลคอมิกส์ (Marvel Comics) สร้างขึ้นมาโดยสแตน ลี (Stan Lee) และสตีฟ ดิตโก (Steve Ditko) ปรากฏตัวครั้งแรกในหนังสือการ์ตูน "อแมซซิงแฟนตาซี" (Amazing Fantasy) ฉบับที่ 15 (สิงหาคม 2505) ในปัจจุบันนี้ ไอ้แมงมุมถือเป็นหนึ่งในตัวละครยอดมนุษย์ที่โด่งดังที่สุดในโลก และยังคงประสบความสำเร็จในเชิงพาณิชย์อีกด้วย ในตอนที่ไอ้แมงมุมได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 60 ในเวลานั้น ตัวละครที่เป็นวัยรุ่นในหนังสือการ์ตูนยอดมนุษย์ของอเมริกา มักจะมีบทบาทเทียบเท่าตัวประกอบเท่านั้น แต่การ์ตูนชุดไอ้แมงมุมได้พังกรอบเหล่านี้ออกไป โดยให้ตัวไอ้แมงมุม ซึ่งยังเป็นวัยรุ่นอยู่ มีบทบาทของวีรบุรุษตัวเอก ที่มี "ความสนใจเฉพาะตัว พร้อมกับการถูกปฏิเสธ ความขัดสน และความอ้างว้าง" ด้วยลักษณะเช่นนี้เอง ไอ้แมงมุมจึงสามารถดึงดูดความสนใจจากผู้อ่านอายุน้อยได้ นอกจากจะเป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนแล้ว ไอ้แมงมุมยังปรากฏตัวในสื่ออื่น ๆ ด้วย ไม่ว่าจะเป็นแอนิเมชัน ละครชุดทางโทรทัศน์ คอลัมภ์การ์ตูนในหนังสือพิมพ์ วิดีโอเกม และภาพยนตร์ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างสูง มาร์เวลได้ตีพิมพ์หนังสือการ์ตูนชุดไอ้แมงมุมออกมาจำนวนหนึ่ง โดยชุดแรกมีชื่อว่า "ดิอแมซซิงสไปเดอร์แมน" (The Amazing Spider-Man) ในหนังสือการ์ตูนแต่ละชุด จะแสดงให้เห็นพัฒนาการของตัวละครปีเตอร์ ปาร์คเกอร์ ตั้งแต่เป็นนักเรียนขี้อาย นักศึกษามีปัญหา ครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ จนถึงสมาชิกของคณะยอดมุนษย์ที่ชื่อ "อเวนเจอร์ส" (Avengers) ส่วนในการ์ตูนชุด "สไปเดอร์เกิร์ล" (Spider-Girl) ปาร์คเกอร์ยังมีสถานะเป็นนักวิทยาศาสตร์และพ่ออีกด้วย สไปเดอร์-แมนปรากฏตัวในจักรวาลภาพยนตร์มาร์เวลในภาพยนตร์ได้แก่กัปตันอเมริกา: ศึกฮีโร่ระห่ำโลก, สไปเดอร์แมน: โฮมคัมมิ่ง, อเวนเจอร์ส: มหาสงครามล้างจักรวาล.

ใหม่!!: โลกและสไปเดอร์-แมน · ดูเพิ่มเติม »

สเปซแจม ทะลุมิติมหัศจรรย์

ปซแจม ทะลุมิติมหัศจรรย์ (Space Jam) เป็นภาพยนตร์แนวแอ็คชั่นแอนิเมชัน ฉายในสหรัฐอเมริกาในวันที่ 15 พฤศจิกายน ปี ค.ศ. 1996 ได้นักกีฬาบาสเกตบอลอาชีพจากเอ็นบีเอ สังกัดทีมชิคาโก บุลส์ ไมเคิล จอร์แดนร่วมแสดงกับบั๊กส์ บันนี่ (พากย์เสียงโดยบิลลี่ เวตส์) และตัวการ์ตูนจากลูนีย์ทูนส์ของวอร์เนอร์ บราเดอร.

ใหม่!!: โลกและสเปซแจม ทะลุมิติมหัศจรรย์ · ดูเพิ่มเติม »

หมาป่าดิงโก

หมาป่าดิงโก (อังกฤษ: Dingo) สุนัขป่าชนิดหนึ่ง พบได้เฉพาะที่ออสเตรเลียเท่านั้น หมาป่าดิงโกเป็นสุนัขป่าเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่มีรูปร่างหน้าตาคล้ายสุนัขบ้านมากที่สุด จึงสันนิษฐานว่าบรรพบุรุษของหมาป่าดิงโก สืบเชื้อสายมาจากสุนัขบ้านจากเอเชียอาคเนย์ (รวมถึงประเทศไทยด้วย) โดยเข้ามาอยู่ในออสเตรเลียเมื่อราว 3,000-4,000 ปีก่อน หมาป่าดิงโกจัดเป็นสัตว์เพียงชนิดเดียวเท่านั้นในวงศ์สุนัข (Canidae) ที่พบในออสเตรเลีย แผนที่แสดงความเป็นไปได้ในการอพยพของหมาป่าดิงโก หมาป่าดิงโกเป็นสุนัขป่าขนสั้น หางเป็นพวง สีขนมีหลากหลายมาก ส่วนใหญ่จะเป็นสีน้ำตาลอมเหลือง ในบางตัวอาจมีสีเทาหรือแดง แม้กระทั่งขาวล้วนหรือดำล้วนก็มี มีอุปนิสัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ มีนิสัยดุร้ายและปราดเปรียวมาก แม้พื้นที่ ๆ อาศัยอยู่จะเป็นทะเลทรายหรือที่ราบกว้างใหญ่ แต่หมาป่าดิงโกก็สามารถป่ายปีนก้อนหินหรือหน้าผาได้อย่างคล่องแคล่ว ขนาดเมื่อโตเต็มที่ สูงประมาณ 52-60 เซนติเมตร ความยาวลำตัวตั้งแต่ปลายจมูกจรดหาง 117-124 เซนติเมตร น้ำหนักตัวประมาณ 13-24 กิโลกรัม หมาป่าดิงโกจัดเป็นสัตว์อันตรายชนิดหนึ่งในออสเตรเลีย โดยจะโจมตีใส่สัตว์เลี้ยงของมนุษย์เช่น แกะ หรือ ม้า ได้ แม้กระทั่งโจมตีใส่มนุษย์และทำร้ายจนถึงแก่ความตายได้ด้วย หมาป่าดิงโกเป็นสุนัขที่ไม่เชื่อง ดังนั้น จึงตกเป็นสัตว์ที่ถูกล่าในศตวรรษที่ผ่านมา ปัจจุบัน หมาป่าดิงโก มีสถานะที่มีความเสี่ยงในการสูญพันธุ์ ในทางตอนใต้และตะวันออกของออสเตรเลีย มีการแบ่งเขตเป็นพื้นที่อนุรักษ์พันธุ์หมาป่าดิงโก เพื่อไม่ให้หมาป่าดิงโกเข้ามาปะปนกับมนุษย์หรือสัตว์ชนิดอื่น โดยกั้นเป็นรั้วยาวกว่าครึ่งของประเทศออสเตรเลีย ซึ่งจัดเป็นแนวรั้วที่ยาวที่สุดในโลก ในปี ค.ศ. 2010 นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ได้เปิดเผยผลการวิจัยว่า จากการศึกษาดีเอ็นเอพบว่า หมาป่าดิงโกและสุนัขป่านิวกินี (C. l. hallstromi) ซึ่งเป็นสุนัขป่าพื้นเมืองของเกาะนิวกินี นั้นเป็นสายพันธุ์สุนัขป่าที่ใกล้เคียงกับสุนัขบ้านมากที่สุด และถือเป็นสายพันธุ์สุนัขแท้ ๆ ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ซึ่งปัจจุบันนี้สุนัขทั้ง 2 สายพันธุ์นี้ก็ใกล้สูญพันธุ์อย่างเต็มที่แล้ว โดยเฉพาะหมาป่าดิงโกที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์เพราะการผสมข้ามสายพันธุ์ เพราะกว่า 80 เปอร์เซนต์ ของหมาป่าดิงโกที่อาศัยแถบชายฝั่งทางตะวันออกของออสเตรเลียเป็นพันธุ์ผสมที่ผสมกับสุนัขสายพันธุ์อื่น ในปัจจุบันหมาป่าดิงโกสายพันธุ์แท้หลงเหลือเพียงแห่งเดียวเท่านั้น คือ เกาะเฟรเซอร์ ในรัฐควีนส์แลนด์ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของออสเตรเลี.

ใหม่!!: โลกและหมาป่าดิงโก · ดูเพิ่มเติม »

หมูป่าอินโดจีน

หมูป่าอินโดจีน (Heude's pig, Indochinese warty pig, Vietnam warty pig) เป็นหมูป่าชนิดหนึ่ง จัดเป็นหมูป่าชนิดที่หาได้ยากมาก หมูป่าชนิดนี้ถูกค้นพบครั้งแรกในโลกเมื่อมีเก็บซากกะโหลกเมื่อปี ค.ศ. 1890 ที่บริเวณแม่น้ำด่งนาย ของเวียดนาม และในปี ค.ศ. 1995 ได้มีการล่าหมูป่าอินโดจีนได้ที่บริเวณพื้นที่อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพนาไก-น้ำเทิน ซึ่งอยู่ในภาคกลางของลาว ปัจจุบันยังไม่สามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างหมูป่าอินโดจีนกับหมูป่าธรรมดา (S. scrofa) ได้อย่างเพียงพอ เนื่องจากยังไม่มีการศึกษาที่เพียงพอ นอกจากการอธิบายจากรูปลักษณ์ภายนอกเท่านั้นที่หมูป่าอินโดจีนมีขนตามลำตัวยาวกว่ายิ่งโดยเฉพาะขนบริเวณปากและหน้า การกระจายพันธุ์เชื่อว่ามีจำนวนประชากรอาศัยอยู่ตามป่าลึกของเทือกเขาอันนัมซึ่งเป็นพรมแดนธรรมชาติกั้นระหว่างลาวกับเวียดนาม และจากการศึกษาล่าสุดเป็นไปได้ว่า หมูป่าอินโดจีนอาจจะเป็นชื่อพ้องของหมูป่าที่อาศัยอยู่ทางด้านตะวันออกของลุ่มแม่น้ำโขง หรือภูมิภาคอินโดจีน.

ใหม่!!: โลกและหมูป่าอินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

หมู่คาร์บอน

ตุหมู่ 14 (group 14 element) หรือ ธาตุหมู่คาร์บอน (carbon group) คือ อนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 4 แนวโน้มการสูญเสียอิเล็กตรอนของธาตุเหล่านี้จะแปรผันตามขนาดของอะตอมที่ใหญ่ขึ้น ซึ่งก็หมายถึงจำนวนเลขอะตอมที่เพิ่มขึ้นด้วย ธาตุคาร์บอนตามลำพังตัวมันเองจะแสดงตัวเป็นไอออนปะจุลบ คือ คาร์ไบด์ไออน (carbide (C4-) ions) ส่วนทั้งซิลิกอน และ เจอร์เมเนียมเป็นธาตุกึ่งโลหะจะแสดงตัวเป็นไอออน +4 (+4 ions) ธาตุหมู่ 14 ประกอบด้ว.

ใหม่!!: โลกและหมู่คาร์บอน · ดูเพิ่มเติม »

หมู่โบรอน

ตุหมู่โบรอน คือ อนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุหมู่ 13 ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 3 ธาตุหมู่โบรอน มีทั้ง ธาตุกึ่งโลหะ และ โลหะหลังทรานซิชัน ประกอบด้ว.

ใหม่!!: โลกและหมู่โบรอน · ดูเพิ่มเติม »

หลักพื้นฐานที่เถรวาทและมหายานมีร่วมกัน

หลักพื้นฐานที่เถรวาทและมหายานมีร่วมกัน (Basic Points Unifying the Theravāda and the Mahāyāna) เป็นคำแถลงว่าด้วยหลักความเชื่อที่มีร่วมกันอันสำคัญยิ่ง ซึ่งมีขึ้นในปี พ.ศ. 2510 ระหว่างการประชุมใหญ่ครั้งของพุทธเถรสมาคมโลก (World Buddhist Sangha Council, อักษรย่อ WBSC).

ใหม่!!: โลกและหลักพื้นฐานที่เถรวาทและมหายานมีร่วมกัน · ดูเพิ่มเติม »

หลักฐานทางวิทยาศาสตร์

หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ (Scientific evidence) เป็นหลักฐานที่สนับสนุนหรือคัดค้านทฤษฎีหรือสมมติฐานทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องเป็นหลักฐานเชิงประสบการณ์ (empirical evidence) ตามระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ มาตรฐานของหลักฐานต่างกันในสาขาวิชาต่าง ๆ แต่ความเข้มแข็งของหลักฐานโดยทั่วไปมีมูลฐานอยู่ที่กำลังของการวิเคราะห์ทางสถิติ (statistical analysis) และกำลังของกลุ่มควบคุม (scientific control) ที่ใช้ในการหาและอธิบายหลักฐาน.

ใหม่!!: โลกและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

หลักสูตร

หลักสูตร (curriculum (เอกพจน์) หรือ curricula (พหูพจน์)) เป็นคำที่เกิดขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 และเริ่มใช้คำนี้อย่างแพร่หลายในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยในตำราเรียนเล่มแรกที่เขียนอธิบายเกี่ยวกับหลักสูตรของจอห์น แฟรงคลิน บอบบิทในปี..

ใหม่!!: โลกและหลักสูตร · ดูเพิ่มเติม »

หลักข้อเชื่อของอัครทูต

หลักข้อเชื่อของอัครทูต, คริสตจักรแองลิกันในประเทศไทย (Symbolum Apostolorum/Symbolum Apostolicum;Apostle’s creed) หรือ “หลักข้อเชื่อของอัครธรรมทูต” บางครั้งเรียกว่า “สัญลักษณ์ของอัครทูต” ชาวคาทอลิกเรียกว่า "บทข้าพเจ้าเชื่อ" เป็นคำแถลงเกี่ยวกับความเชื่อในศาสนาคริสต์ยุคแรก ซึ่งคำแถลงลักษณะนี้เรียกว่า creed (หลักข้อเชื่อ) หรือ symbol (สัญลักษณ์) หลักข้อเชื่อนี้มีปรากฏใช้ในหลายนิกายทั้งในพิธีกรรมและตำราคำสอน และมักพบมากที่สุดในคริสตจักรตะวันตกที่เน้นพิธีกรรม คือคริสตจักรละติน ลูเทอแรน แองกลิคัน และออทอร์ดอกซ์ตะวันตก ตลอดจนเพรสไบทีเรียน เมทอดิสต์ และคริสตจักรคองกริเกชันแนล หลักข้อเชื่อของอัครทูตเป็นข้อความเชื่อที่อิงกับแนวคิดทางเทววิทยาศาสนาคริสต์ตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ จดหมายต่าง ๆ ในพันธสัญญาใหม่ และบางส่วนจากพันธสัญญาเดิม หลักข้อเชื่อนี้น่าจะมีต้นกำเนิดมาจากหลักข้อเชื่อโรมัน เพราะในเนื้อหาไม่ได้กล่าวถึงหรือแก้ปัญหาประเด็นปัญหาทางคริสตวิทยาดังที่ปรากฏในหลักข้อเชื่อไนซีนและหลักข้อเชื่ออื่น ๆ ของคริสตชนที่เกิดขึ้นในยุคหลัง เช่น ปัญหาความเป็นพระเจ้าของพระเยซูหรือพระวิญญาณบริสุทธิ์ ชาวคริสต์ยุคแรก ๆ ที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นพวกนอกรีตอย่างลัทธิเอเรียสและลัทธิเอกภาพนิยมจึงยอมรับหลักข้อเชื่อนี้ด้วย ชื่อ “หลักข้อเชื่อของอัครทูต” อาจจะเกิดขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 5 ตามความเชื่อของคริสตชนที่ว่าอัครทูตทั้งสิบสองคนเป็นผู้แต่งข้อต่าง ๆ ขึ้นมาด้วยอำนาจของพระวิญญาณบริสุทธิ์หลังจากเทศกาลเพนเทคอสต์ แต่ยังไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ใดยืนยันได้ว่าความเชื่อนี้เป็นเรื่องจริงMcGrath, Alister E., Christian Theology: An Introduction", Singapore: Blackwell Publisher, 2007, p. 14.

ใหม่!!: โลกและหลักข้อเชื่อของอัครทูต · ดูเพิ่มเติม »

หลักข้อเชื่อไนซีน

ักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 และเหล่ามุขนายกสมาชิกสภาสังคายนาถือคำประกาศหลักข้อเชื่อไนซีน หลักข้อเชื่อไนซีนราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 177 (Nicene Creed; Symbolum Nicaenum) คือการประกาศศรัทธาและหลักข้อเชื่อที่ถูกใช้มากที่สุดในพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์ และเป็นบรรทัดฐานความเชื่อในคริสต์ศาสนากระแสหลักในปัจจุบัน แม้หลักข้อเชื่อฉบับนี้จะถูกเรียบเรียงขึ้นโดยสภาสังคายนาคอนสแตนติโนเปิลครั้งที่หนึ่งเมื่อปี..

ใหม่!!: โลกและหลักข้อเชื่อไนซีน · ดูเพิ่มเติม »

หลุมดำ

มุมมองจำลองของหลุมดำด้านหน้าของทางช้างเผือก โดยมีมวลเทียบเท่าดวงอาทิตย์ 10 ดวงจากระยะทาง 600 กิโลเมตร หลุมดำ (black hole) หมายถึงเทหวัตถุในเอกภพที่มีแรงโน้มถ่วงสูงมาก ไม่มีอะไรออกจากบริเวณนี้ได้แม้แต่แสง ยกเว้นหลุมดำด้วยกัน เราจึงมองไม่เห็นใจกลางของหลุมดำ หลุมดำจะมีพื้นที่หนึ่งที่เป็นขอบเขตของตัวเองเรียกว่าขอบฟ้าเหตุการณ์ ที่ตำแหน่งรัศมีชวาร์สชิลด์ ถ้าหากวัตถุหลุดเข้าไปในขอบฟ้าเหตุการณ์ วัตถุจะต้องเร่งความเร็วให้มากกว่าความเร็วแสงจึงจะหลุดออกจากขอบฟ้าเหตุการณ์ได้ แต่เป็นไปไม่ได้ที่วัตถุใดจะมีความเร็วมากกว่าแสง วัตถุนั้นจึงไม่สามารถออกมาได้อีกต่อไป เมื่อดาวฤกษ์ที่มีมวลมหึมาแตกดับลง มันอาจจะทิ้งสิ่งที่ดำมืดที่สุด ทว่ามีอำนาจทำลายล้างสูงสุดไว้เบื้องหลัง นักดาราศาสตร์เรียกสิ่งนี้ว่า "หลุมดำ" เราไม่สามารถมองเห็นหลุมดำด้วยกล้องโทรทรรศน์ใดๆ เนื่องจากหลุมดำไม่เปล่งแสงหรือรังสีใดเลย แต่สามารถตรวจพบได้ด้วยกล้องโทรทรรศน์วิทยุ และคลื่นโน้มถ่วงของหลุมดำ (ในเชิงทฤษฎี โครงการแอลไอจีโอ) และจนถึงปัจจุบันได้ค้นพบหลุมดำในจักรวาลแล้วอย่างน้อย 6 แห่ง หลุมดำเป็นซากที่สิ้นสลายของดาวฤกษ์ที่ถึงอายุขัยแล้ว สสารที่เคยประกอบกันเป็นดาวนั้นได้ถูกอัดตัวด้วยแรงดึงดูดของตนเองจนเหลือเป็นเพียงมวลหนาแน่นที่มีขนาดเล็กยิ่งกว่านิวเคลียสของอะตอมเดียว ซึ่งเรียกว่า ภาวะเอกฐาน หลุมดำแบ่งได้เป็น 4 ประเภท คือ หลุมดำมวลยวดยิ่ง เป็นหลุมดำในใจกลางของดาราจักร, หลุมดำขนาดกลาง, หลุมดำจากดาวฤกษ์ ซึ่งเกิดจากการแตกดับของดาวฤกษ์, และ หลุมดำจิ๋วหรือหลุมดำเชิงควอนตัม ซึ่งเกิดขึ้นในยุคเริ่มแรกของเอกภพ แม้ว่าจะไม่สามารถมองเห็นภายในหลุมดำได้ แต่ตัวมันก็แสดงการมีอยู่ผ่านการมีผลกระทบกับวัตถุที่อยู่ในวงโคจรภายนอกขอบฟ้าเหตุการณ์ ตัวอย่างเช่น หลุมดำอาจจะถูกสังเกตเห็นได้โดยการติดตามกลุ่มดาวที่โคจรอยู่ภายในศูนย์กลางหลุมดำ หรืออาจมีการสังเกตก๊าซ (จากดาวข้างเคียง) ที่ถูกดึงดูดเข้าสู่หลุมดำ ก๊าซจะม้วนตัวเข้าสู่ภายใน และจะร้อนขึ้นถึงอุณหภูมิสูง ๆ และปลดปล่อยรังสีขนาดใหญ่ที่สามารถตรวจจับได้จากกล้องโทรทรรศน์ที่โคจรอยู่รอบโลก การสำรวจให้ผลในทางวิทยาศาสตร์เห็นพ้องต้องกันว่าหลุมดำนั้นมีอยู่จริงในเอกภพ แนวคิดของวัตถุที่มีแรงดึงดูดมากพอที่จะกันไม่ให้แสงเดินทางออกไปนั้นถูกเสนอโดยนักดาราศาสตร์มือสมัครเล่นชาวอังกฤษ จอห์น มิเชล ในปี 1783 และต่อมาในปี 1795 นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส ปีแยร์-ซีมง ลาปลาส ก็ได้ข้อสรุปเดียวกัน ตามความเข้าใจล่าสุด หลุมดำถูกอธิบายโดยทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ซึ่งทำนายว่าเมื่อมีมวลขนาดใหญ่มากในพื้นที่ขนาดเล็ก เส้นทางในพื้นที่ว่างนั้นจะถูกทำให้บิดเบี้ยวไปจนถึงศูนย์กลางของปริมาตร เพื่อไม่ให้วัตถุหรือรังสีใดๆ สามารถออกมาได้ ขณะที่ทฤษฏีสัมพัทธภาพทั่วไปอธิบายว่าหลุมดำเป็นพื้นที่ว่างที่มีความเป็นภาวะเอกฐานที่จุดศูนย์กลางและที่ขอบฟ้าเหตุการณ์บริเวณขอบ คำอธิบายนี่เปลี่ยนไปเมื่อค้นพบกลศาสตร์ควอนตัม การค้นคว้าในหัวข้อนี้แสดงให้เห็นว่านอกจากหลุมดำจะดึงวัตถุไว้ตลอดกาล แล้วยังมีการค่อย ๆ ปลดปล่อยพลังงานภายใน เรียกว่า รังสีฮอว์คิง และอาจสิ้นสุดลงในที่สุด อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีคำอธิบายเกี่ยวกับหลุมดำที่ถูกต้องตามทฤษฎีควอนตัม.

ใหม่!!: โลกและหลุมดำ · ดูเพิ่มเติม »

หิมะภาค

มุมสูงของหิมะภาค จาก http://maps.grida.no/go/graphic/cryosphere UN Environment Programme Global Outlook for Ice and Snow IPCC แสดงขอบเขตของบริเวณที่ได้รับผลจากองค์ประกอบของหิมะภาคทั่วโลก เหนือพื้นดิน ชั้นดินเยือกแข็งคงตัวต่อเนื่องแสดงด้วยสีชมพูเข้ม ขณะที่ชั้นดินเยือกแข็งคงตัวไม่ต่อเนื่องแสดงด้วยสีชมพูที่อ่อนกว่า สีขาวกึ่งโปร่งใสเหนือพื้นที่ดินกว้างใหญ่ของซีกโลกเหนือแสดงบริเวณซึ่งมีหิมะตกอย่างน้อยหนึ่งวันระหว่างปี 2543-2555 เส้นสีเขียวสว่างตามขอบทิศใต้ของบริเวฯนี้แสดงขอบเขตหิมะสูงสุด ขณะที่เส้นสีดำตามทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรปและเอเชียแสดงเส้นขอบเขตหิมะ 50% ธารน้ำแข็งแสดงเป็นจุดสีทองเล็ก ๆ ในพื้นที่ภูเขาและในละติจูดเหนือและใต้จัด เหนือพื้นน้ำ หิ้งน้ำแข็งแสดงรอบทวีปแอนตาร์กติกาตามน้ำแข็งทะเลรอบหิ้งน้ำแข็ง น้ำแข็งทะเลยังแสดงที่ขั้วโลกเหนือ สำหรับทั้งสองขั้ว ขอบเขตน้ำแข็งทะเลเฉลี่ย 30 ปีแสดงโดยขอบสีเหลือง นอกากนี้ จะเห็นแผ่นน้ำแข็งกรีนแลนด์และแอนตาร์กติกาได้ชัดเจน หิมะภาค (Cryosphere) เป็นส่วนหนึ่งของผิวโลกซึ่งประกอบด้วยน้ำในรูปของแข็ง รวมถึงทะเลที่เป็นน้ำแข็ง ทะเลสาบน้ำแข็ง แม่น้ำที่เป็นน้ำแข็ง ธารน้ำแข็ง แผ่นน้ำแข็ง และพื้นดินซึ่งเยือกแข็ง พื้นที่ส่วนใหญ่ของหิมะภาคมักจะซ้อนอยู่บนพื้นที่ของอุทกภาค หิมะภาคนั้นเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกหลายประการ โดยมักมีอิทธิพลต่อเมฆ ปริมาณหยาดน้ำฟ้า อุทกวิทยา และการไหลเวียนของอากาศและกระแสน้ำ.

ใหม่!!: โลกและหิมะภาค · ดูเพิ่มเติม »

หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์

อาซิโม ของฮอนด้า ตัวอย่างหนึ่งของหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ (อังกฤษ: humanoid robot) คือหุ่นยนต์ที่ออกแบบขึ้นมาโดยมีพื้นฐานมาจากร่างกายมนุษย์ โดยทั่วไปแล้วหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์มีลำตัวพร้อมหัว สองแขน และสองขา แม้หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์บางรูปแบบจะจำลองเฉพาะบางส่วนของร่างกายเท่านั้น ตัวอย่างเช่น ตัวแต่เอวขึ้นไป หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์บางตัวยังอาจมี 'ใบหน้า' พร้อม 'ตา' และ 'ปาก' อีกด้วย แอนดรอยด์ (android) คือหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ที่สร้างเลียนแบบมนุษย์เพศชาย และ gynoid คือหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ที่สร้างเลียนแบบมนุษย์เพศหญิง หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์เป็นหุ่นยนต์อัตโนมัติ เนื่องจากมันสามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมหรือตัวมันเอง และยังคงทำงานต่อเพื่อบรรลุเป้าหมาย สิ่งนี้เป็นข้อแตกต่างหลักระหว่างฮิวแมนนอยด์และหุ่นยนต์ชนิดอื่น เช่นหุ่นยนต์อุตสาหกรรม ที่ใช้ปฏิบัติภารกิจในสภาพแวดล้อมที่มีโครงสร้างชัดเจนมาก ในบริบทนี้ ความสามารถของหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์อาจรวมถึง แต่ไม่จำกัดแค่สิ่งเหล่านี้.

ใหม่!!: โลกและหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือปฐมกาล

หนังสือปฐมกาล (Book of Genesis; בראשית; ܣܦܪܐ ܕܒܪܝܬܐ; Γένεση) มาจากภาษากรีกว่า “การเกิด” หรือ “ที่มา” เป็นหนังสือที่กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโลก มนุษย์ และอิสราเอล ซึ่งเป็นตัวแทนของชนชาติที่พระเจ้าได้เลือกไว้ (ซึ่งมีความนัยทางเทววิทยา) ชื่อ "ปฐมกาล" แปลมาจากคำแรกของคัมภีร์ฮีบรูคำว่า בראשית (B'reshit or Bərêšîth) แปลว่า "ในปฐมกาล..." (in the begining...).

ใหม่!!: โลกและหนังสือปฐมกาล · ดูเพิ่มเติม »

หนุมาน สงครามมหาเทพ

หนุมาน สงครามมหาเทพ (Mahabali Hanuman, Sankatmochan Mahabali Hanuman) เป็นละครโทรทัศน์ที่กล่าวถึงสงครามครั้งสำคัญในวรรณกรรมเรื่องยิ่งใหญ่ รามายณะ ที่กล่าวการยกทัพของพระรามกับพญาทศกัณฐ์ เพื่อชิงเอานางสีดาคืนมา โดยเรื่องนี้จะเน้นตัวละคร หนุมาน เป็นตัวละครหลัก นำแสดงโดย นิรภัย วัทวา, เกกัน มาลิค ออกอากาศทาง ช่อง 8 ออกอากาศ ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 19.00 น. เริ่มออกอากาศตอนแรกวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: โลกและหนุมาน สงครามมหาเทพ · ดูเพิ่มเติม »

หนู

หนู เป็นสกุลของสัตว์ฟันแทะ ที่อยู่ในวงศ์ Muridae ใช้ชื่อสกุลว่า Rattus มีการกระจายพันธุ์อยู่ในซีกโลกที่เรียกว่า "โลกเก่า" อันได้แก่ ทวีปเอเชีย, ยุโรป และแอฟริกา ตัวเมียเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 2–3 เดือน ในขณะที่ตัวผู้อายุ 3 เดือนขึ้นไป.

ใหม่!!: โลกและหนู · ดูเพิ่มเติม »

หนูหริ่งบ้าน

หนูหริ่งบ้าน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ในวงศ์หนู (Muridae) หนูหริ่งบ้านจัดเป็นหนูที่มีขนาดเล็ก น้ำหนักตัวเมื่อโตเต็มที่ทั้งตัวผู้และตัวเมียประมาณ 30-40 กรัม มีขนสีน้ำตาลอ่อนตลอดทั้งลำตัว ส่วนท้องสีขาว ไม่มีขนที่หาง ขาหน้ามี 4 นิ้ว ขาหลังมี 5 นิ้ว ตัวเมียมีเต้านม 10 เต้า มีอายุขัยประมาณ 1.5-3 ปี หนูหริ่งบ้านเป็นสัตว์ที่มีความปราดเปรียวว่องไว ออกหากินในเวลากลางคืน โดยกินอาหารได้แทบทุกอย่างเช่นเดียวกับหนูทั่วไป และจัดเป็นหนูอีกชนิดหนึ่งที่พบได้ตามบ้านเรือนของมนุษย์ มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางมาก โดยพบแทบทุกมุมของโลกและทุกทวีป แต่เชื่อว่า ดั้งเดิมเป็นสัตว์ที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชีย ก่อนจะกระจายไปทั่วโลกอย่างในปัจจุบัน หนูหริ่งบ้านเป็นหนูชนิดที่ได้รับความนิยมในการนำมาเป็นสัตว์เลี้ยง โดยมีการปรับปรุงพัฒนาสายพันธุ์โดยชาวจีนและชาวญี่ปุ่นจนกลายเป็นหนูเผือกทั้งตัว ตาสีแดง และพัฒนาจนเป็นสีต่าง ๆ ตามลำตัว โดยแรกเรี่มเลี้ยงกันในพระราชวัง และเป็นหนูชนิดที่นิยมเป็นสัตว์ทดลองและเลี้ยงเพื่อเป็นอาหารเลี้ยงแก่สัตว์เลื้อยคลาน.

ใหม่!!: โลกและหนูหริ่งบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

หนูไฮโซ ขอเป็นฮีโร่สักวัน

หนูไฮโซ ขอเป็นฮีโร่สักวัน (อังกฤษ: Flushed Away) เป็นภาพยนตร์อนิเมชั่น สัญชาติอเมริกา สร้างขึ้นเมื่อปี ..

ใหม่!!: โลกและหนูไฮโซ ขอเป็นฮีโร่สักวัน · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยฐานเอสไอ

การขึ้นต่อการของนิยามในหน่วยฐานเอสไอทั้งเจ็ด หน่วยฐานเอสไอ เป็นหน่วยที่ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศกำหนดไว้เป็นพื้นฐาน โดยหน่วย เอสไออื่นๆที่เรียกว่าหน่วยอนุพันธ์เอสไอ จะเกิดจากการนำหน่วยฐานเอสไอมาประกอบกันทั้งหมด หน่วยฐานเอสไอมีทั้งหมด 7 หน่วยได้แก.

ใหม่!!: โลกและหน่วยฐานเอสไอ · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยที่ยอมรับให้ใช้แก่ระบบเอสไอ

มีหน่วยวัดบางหน่วยซึ่งไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ (ระบบเอสไอ) แต่ได้รับการยอมรับให้ใช้แก่ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นพหุคูณหรือพหุคูณย่อยของหน่วยเอสไอ นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมากกว่า หรือสะดวกกว่าสำหรับวิทยาศาสตร์บาง.

ใหม่!!: โลกและหน่วยที่ยอมรับให้ใช้แก่ระบบเอสไอ · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยดาราศาสตร์

หน่วยดาราศาสตร์ (Astronomical Unit; ย่อในภาษาอังกฤษว่า AU หรือ au หรือ a.u. หรือ ua) คือ หน่วยของระยะทาง มีค่า (โดยประมาณ) เท่ากับระยะห่างเฉลี่ยระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ค่าที่ยอมรับในปัจจุบัน เท่ากับ 149,597,870,691±30 เมตร (ประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร หรือ 93 ล้านไมล์) สัญลักษณ์ "ua" ได้รับการเสนอจากสำนัก Bureau International des Poids et Mesures แห่งฝรั่งเศส แต่ในสหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นๆ ที่ใช้ภาษาอังกฤษจะใช้อักษรตัวใหญ่มากกว่า ส่วนสหภาพดาราศาสตร์สากล (International Astronomical Union) เสนอให้ใช้ "au" ส่วนมาตรฐานนานาชาติ ISO 31-1 นั้นใช้ "AU".

ใหม่!!: โลกและหน่วยดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ห้างไนติงเกล

ห้างไนติงเกล-โอลิมปิก ในปี พ.ศ. 2554 ห้างไนติงเกล หรือชื่อเต็ม ไนติงเกล-โอลิมปิก เป็นห้างสรรพสินค้าที่มีอายุยาวนานที่สุด ที่ยังเปิดดำเนินกิจการอยู่ในประเทศไทย ตัวอาคารมีทั้งหมด 3 คูหา 7 ชั้น ตั้งอยู่ที่บริเวณแยกพาหุรัด แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร เริ่มเปิดกิจการตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: โลกและห้างไนติงเกล · ดูเพิ่มเติม »

อภินิหาร ฮาติม

อภินิหาร ฮาติม (The Adventures of Hatim) เป็นละครโทรทัศน์ที่ถ่ายทำเมื่อปี ค.ศ. 2013 กล่าวถึงเรื่องราวการผจญภัยของของ ฮาติม นำแสดงโดย ราเบียร์ ซิงห์, ปูชา บาเนอร์จี ออกอากาศทางช่อง ไบรต์ทีวี ละครเรื่องนี้ออกอากาศทุกวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 21.00 น. - 22.00 น.

ใหม่!!: โลกและอภินิหาร ฮาติม · ดูเพิ่มเติม »

อภินิหารไวกิ้งพิชิตมังกร

อภินิหารไวกิ้งพิชิตมังกร (How To Train You Dragon) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชัน 3 มิติ ของดรีมเวิร์กสแอนิเมชัน ปี ค.ศ. 2010 ที่ได้เอาแบบจากหนังสือเรื่อง How to Train Your Dragon ในปี 2003 ภาพยนตร์เรื่องนี้มีภาคต่อคือ อภินิหารไวกิ้งพิชิตมังกร 2.

ใหม่!!: โลกและอภินิหารไวกิ้งพิชิตมังกร · ดูเพิ่มเติม »

อสัมปทานชาดก

อสัมปทานชาดก เป็นชาดกที่ว่าด้วยการไม่รับของ ทำให้เกิดความแตกร้าว เป็นชาดกลำดับที่ 131.

ใหม่!!: โลกและอสัมปทานชาดก · ดูเพิ่มเติม »

ออกซิเจน

ออกซิเจน (Oxygen) เป็นธาตุในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ O และเลขอะตอม 8 ธาตุนี้พบมาก ทั้งบนโลกและทั่วทั้งจักรวาล โมเลกุลออกซิเจน (O2 หรือที่มักเรียกว่า free oxygen) บนโลกมีความไม่เสถียรทางเทอร์โมไดนามิกส์จึงเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันกับธาตุอื่น ๆ ได้ง่าย ออกซิเจนเกิดขึ้นครั้งแรกในโลกจากการสังเคราะห์ด้วยแสงของแบคทีเรียและพื.

ใหม่!!: โลกและออกซิเจน · ดูเพิ่มเติม »

อะอิ คะโงะ

อะอิ คะโงะ (加護 亜依; Ai Kago) (เกิด 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531) คือ อดีตนักร้องหญิงชาวญี่ปุ่นของสังกัดเฮลโล! โปรเจกต์ คะโงะได้ก้าวเข้ามาสู่วงการเพลงครั้งแรกในฐานะของสมาชิกรุ่นที่ 4 ของกลุ่มนักร้อง มอร์นิงมุซุเมะ อันโด่งดัง ต่อมา เธอก็ได้เป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของกลุ่มนักร้องย่อย มินิโมนิ เป็นสมาชิกรุ่นที่ 2 ของกลุ่มนักร้องย่อย ทัมโปโปะ เคยเป็นสมาชิกของกลุ่มย่อยในมอร์นิงมุซุเมะที่ชื่อ มอร์นิงมุซุเมะ ซากูระกูมิ เคยมีส่วนร่วมในกลุ่มนักร้องผสมของต้นสังกัดเฮลโล! โปรเจกต์ อีก 3 กลุ่ม ได้แก่ 3 นิงมัตสึริ แฮปปีเซเวน และ ซอลต์ 5 และยังเคยเป็นสมาชิกของกลุ่มนักร้องคู่ที่ชื่อ ดับเบิลยู อีกด้วย ก่อนที่จะถูกยกเลิกสัญญากับทางต้นสังกัดไปเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 ปัจจุบันนี้ เธอได้เซ็นสัญญาทำงานกับบริษัทเอเจนซีอื่น ซึ่งอยู่ในเมืองนาระ บ้านเกิดของเธอเอง.

ใหม่!!: โลกและอะอิ คะโงะ · ดูเพิ่มเติม »

อะครอสเดอะยูนิเวิร์ส

อะครอสเดอะยูนิเวิร์ส (Across the Universe) เป็นเพลงของเดอะ บีเทิลส์ ที่มีการเผยแพร่เป็นครั้งแรกเพื่อการกุศลเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2512 จากนั้นถูกนำมารวมในอัลบัมสุดท้ายของเดอะบีเทิลส์ ชุด Let It Be ที่วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 เพลงนี้แต่งโดย จอห์น เลนนอน บันทึกเสียงครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2511 โดยได้รับเครดิตว่าแต่งโดย เลนนอน/แมคคาร์ทนีย์ ในปี พ.ศ. 2551 ซึ่งเพลงนี้มีอายุครบ 40 ปี ประกอบกับเป็นการก่อตั้งองค์การนาซาครบรอบ 50 ปี และการก่อตั้งโครงการ Deep Space Network (DSN) ครบรอบ 45 ปี กลุ่มแฟนเพลงของเดอะ บีเทิลส์ ได้นัดกันเปิดเพลงนี้พร้อมกันทั่วโลก ในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 เมื่อเวลา 7.00 น. ตามเวลา Eastern Time Zone (ตรงกับ 19.00 น. เวลาในประเทศไทย) ในขณะเดียวกัน นาซา ได้ส่งสัญญาณวิทยุเพลง Across The Universe ขึ้นสู่อวกาศไปยังดาวเหนือซึ่งอยู่ห่างจากโลกออกไป 431 ปีแสง จากสายอากาศขนาด 70 เมตรของ DSN ที่ศูนย์อวกาศของนาซา นอกกรุงแมดริด ประเทศสเปน การเฉลิมฉลองนี้มีชื่อเรียกว่า "Across the Universe Day".

ใหม่!!: โลกและอะครอสเดอะยูนิเวิร์ส · ดูเพิ่มเติม »

อะตอม

อะตอม (άτομον; Atom) คือหน่วยพื้นฐานของสสาร ประกอบด้วยส่วนของนิวเคลียสที่หนาแน่นมากอยู่ตรงศูนย์กลาง ล้อมรอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนที่มีประจุลบ นิวเคลียสของอะตอมประกอบด้วยโปรตอนที่มีประจุบวกกับนิวตรอนซึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้า (ยกเว้นในกรณีของ ไฮโดรเจน-1 ซึ่งเป็นนิวไคลด์ชนิดเดียวที่เสถียรโดยไม่มีนิวตรอนเลย) อิเล็กตรอนของอะตอมถูกดึงดูดอยู่กับนิวเคลียสด้วยแรงแม่เหล็กไฟฟ้า ในทำนองเดียวกัน กลุ่มของอะตอมสามารถดึงดูดกันและกันก่อตัวเป็นโมเลกุลได้ อะตอมที่มีจำนวนโปรตอนและอิเล็กตรอนเท่ากันจะมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า มิฉะนั้นแล้วมันอาจมีประจุเป็นบวก (เพราะขาดอิเล็กตรอน) หรือลบ (เพราะมีอิเล็กตรอนเกิน) ซึ่งเรียกว่า ไอออน เราจัดประเภทของอะตอมด้วยจำนวนโปรตอนและนิวตรอนที่อยู่ในนิวเคลียส จำนวนโปรตอนเป็นตัวบ่งบอกชนิดของธาตุเคมี และจำนวนนิวตรอนบ่งบอกชนิดไอโซโทปของธาตุนั้น "อะตอม" มาจากภาษากรีกว่า ἄτομος/átomos, α-τεμνω ซึ่งหมายความว่า ไม่สามารถแบ่งได้อีกต่อไป หลักการของอะตอมในฐานะส่วนประกอบที่เล็กที่สุดของสสารที่ไม่สามารถแบ่งได้อีกต่อไปถูกเสนอขึ้นครั้งแรกโดยนักปรัชญาชาวอินเดียและนักปรัชญาชาวกรีก ซึ่งจะตรงกันข้ามกับปรัชญาอีกสายหนึ่งที่เชื่อว่าสสารสามารถแบ่งแยกได้ไปเรื่อยๆ โดยไม่มีสิ้นสุด (คล้ายกับปัญหา discrete หรือ continuum) ในคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 นักเคมีเริ่มวางแนวคิดทางกายภาพจากหลักการนี้โดยแสดงให้เห็นว่าวัตถุหนึ่งๆ ควรจะประกอบด้วยอนุภาคพื้นฐานที่ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีกต่อไป ระหว่างช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักฟิสิกส์ค้นพบส่วนประกอบย่อยของอะตอมและโครงสร้างภายในของอะตอม ซึ่งเป็นการแสดงว่า "อะตอม" ที่ค้นพบตั้งแต่แรกยังสามารถแบ่งแยกได้อีก และไม่ใช่ "อะตอม" ในความหมายที่ตั้งมาแต่แรก กลศาสตร์ควอนตัมเป็นทฤษฎีที่สามารถนำมาใช้สร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของอะตอมได้เป็นผลสำเร็จ ตามความเข้าใจในปัจจุบัน อะตอมเป็นวัตถุขนาดเล็กที่มีมวลน้อยมาก เราสามารถสังเกตการณ์อะตอมเดี่ยวๆ ได้โดยอาศัยเครื่องมือพิเศษ เช่น กล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราดในอุโมงค์ มวลประมาณ 99.9% ของอะตอมกระจุกรวมกันอยู่ในนิวเคลียสไอโซโทปส่วนมากมีนิวคลีออนมากกว่าอิเล็กตรอน ในกรณีของ ไฮโดรเจน-1 ซึ่งมีอิเล็กตรอนและนิวคลีออนเดี่ยวอย่างละ 1 ตัว มีโปรตอนอยู่ \begin\frac \approx 0.9995\end, หรือ 99.95% ของมวลอะตอมทั้งหมด โดยมีโปรตอนและนิวตรอนเป็นมวลที่เหลือประมาณเท่า ๆ กัน ธาตุแต่ละตัวจะมีอย่างน้อยหนึ่งไอโซโทปที่มีนิวเคลียสซึ่งไม่เสถียรและเกิดการเสื่อมสลายโดยการแผ่รังสี ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดการแปรนิวเคลียสที่ทำให้จำนวนโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียสเปลี่ยนแปลงไป อิเล็กตรอนที่โคจรรอบอะตอมจะมีระดับพลังงานที่เสถียรอยู่จำนวนหนึ่งในลักษณะของวงโคจรอะตอม และสามารถเปลี่ยนแปลงระดับไปมาระหว่างกันได้โดยการดูดซับหรือปลดปล่อยโฟตอนที่สอดคล้องกับระดับพลังงานที่ต่างกัน อิเล็กตรอนเหล่านี้เป็นตัวกำหนดคุณสมบัติทางเคมีของธาตุ และมีอิทธิพลอย่างมากต่อคุณสมบัติทางแม่เหล็กของอะตอม แนวคิดที่ว่าสสารประกอบด้วยหน่วยย่อยๆ ไม่ต่อเนื่องกันและไม่สามารถแบ่งออกเป็นชิ้นส่วนที่เล็กไปได้อีก เกิดขึ้นมานับเป็นพันปีแล้ว แนวคิดเหล่านี้มีรากฐานอยู่บนการให้เหตุผลทางปรัชญา นักปรัชญาได้เรียกการศึกษาด้านนี้ว่า ปรัชญาธรรมชาติ (Natural Philosophy) จนถึงยุคหลังจากเซอร์ ไอแซค นิวตัน จึงได้มีการบัญญัติศัพท์คำว่า 'วิทยาศาสตร์' (Science) เกิดขึ้น (นิวตันเรียกตัวเองว่าเป็น นักปรัชญาธรรมชาติ (natural philosopher)) ทดลองและการสังเกตการณ์ ธรรมชาติของอะตอม ของนักปรัชญาธรรมชาติ (นักวิทยาศาสตร์) ทำให้เกิดการค้นพบใหม่ ๆ มากมาย การอ้างอิงถึงแนวคิดอะตอมยุคแรก ๆ สืบย้อนไปได้ถึงยุคอินเดียโบราณในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล โดยปรากฏครั้งแรกในศาสนาเชน สำนักศึกษานยายะและไวเศษิกะได้พัฒนาทฤษฎีให้ละเอียดลึกซึ้งขึ้นว่าอะตอมประกอบกันกลายเป็นวัตถุที่ซับซ้อนกว่าได้อย่างไร ทางด้านตะวันตก การอ้างอิงถึงอะตอมเริ่มขึ้นหนึ่งศตวรรษหลังจากนั้นโดยลิวคิพพุส (Leucippus) ซึ่งต่อมาศิษย์ของเขาคือ ดีโมครีตุส ได้นำแนวคิดของเขามาจัดระเบียบให้ดียิ่งขึ้น ราว 450 ปีก่อนคริสตกาล ดีโมครีตุสกำหนดคำว่า átomos (ἄτομος) ขึ้น ซึ่งมีความหมายว่า "ตัดแยกไม่ได้" หรือ "ชิ้นส่วนของสสารที่เล็กที่สุดไม่อาจแบ่งแยกได้อีก" เมื่อแรกที่ จอห์น ดาลตัน ตั้งทฤษฎีเกี่ยวกับอะตอม นักวิทยาศาสตร์ในสมัยนั้นเข้าใจว่า 'อะตอม' ที่ค้นพบนั้นไม่สามารถแบ่งแยกได้อีกแล้ว ถึงแม้ต่อมาจะได้มีการค้นพบว่า 'อะตอม' ยังประกอบไปด้วย โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน แต่นักวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันก็ยังคงใช้คำเดิมที่ดีโมครีตุสบัญญัติเอาไว้ ลัทธินิยมคอร์พัสคิวลาร์ (Corpuscularianism) ที่เสนอโดยนักเล่นแร่แปรธาตุในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ซูโด-กีเบอร์ (Pseudo-Geber) หรือบางครั้งก็เรียกกันว่า พอลแห่งทารันโท แนวคิดนี้กล่าวว่าวัตถุทางกายภาพทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาคขนาดละเอียดเรียกว่า คอร์พัสเคิล (corpuscle) เป็นชั้นภายในและภายนอก แนวคิดนี้คล้ายคลึงกับทฤษฎีอะตอม ยกเว้นว่าอะตอมนั้นไม่ควรจะแบ่งต่อไปได้อีกแล้ว ขณะที่คอร์พัสเคิลนั้นยังสามารถแบ่งได้อีกในหลักการ ตัวอย่างตามวิธีนี้คือ เราสามารถแทรกปรอทเข้าไปในโลหะอื่นและเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายในของมันได้ แนวคิดนิยมคอร์พัสคิวลาร์อยู่ยั่งยืนยงเป็นทฤษฎีหลักตลอดเวลาหลายร้อยปีต่อมา ในปี..

ใหม่!!: โลกและอะตอม · ดูเพิ่มเติม »

อักษรจีนตัวย่อ

Hànzì ฮั่นจื้อ แปลว่า ภาษาฮั่น หรือ ภาษาจีนกลาง เขียนด้วยอักษรจีนตัวย่อ แผนภาพออยเลอร์แสดงกลุ่มของการเปลี่ยนแปลงอักษรจีนตัวเต็มไปเป็นอักษรจีนตัวย่อ อักษรจีนตัวย่อ (เจี่ยนถี่จื้อ/เจี่ยนฮั่วจื้อ) เป็นหนึ่งในสองรูปแบบอักษรจีนมาตรฐานที่ใช้กันทั่วโลกในปัจจุบัน อักษรจีนตัวย่อประดิษฐ์และเริ่มใช้โดยรัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่) ใน พ.ศ. 2492 เหตุที่ต้องเรียกว่าอักษรจีนตัวย่อ หรือ Simplified Chinese character ก็เพื่อให้แตกต่างจากอักษรจีนมาตรฐานอีกรูปแบบหนึ่งที่ในปัจจุบัน นั่นคือ อักษรจีนตัวเต็ม หรือ Traditional Chinese Character (อักษรจีนดั้งเดิม) อักษรจีนตัวเต็มได้ใช้ใน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนก่อนการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย ส่วนอักษรจีนตัวย่อ ใช้กันใน สาธารณรัฐประชาชนจีน สิงคโปร์ และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนหลังการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากยังคงใช้อักษรจีนตัวเต็มเป็นหลัก แต่สำหรับการสอนภาษาจีนตามสถานศึกษาในประเทศไทยส่วนมากจะใช้อักษรจีนตัวย่อ เพื่อให้เป็นแบบแผนเดียวกันกับสาธารณรัฐประชาชนจีน.

ใหม่!!: โลกและอักษรจีนตัวย่อ · ดูเพิ่มเติม »

อัลติเมทไฟต์ติงแชมเปียนชิพ

อัลติเมท ไฟต์ติง แชมเปียนชิพ (ยูเอฟซี) (Ultimate Fighting Championship) เป็นสมาคมเกี่ยวกับ ศิลปะการต่อสู้แบบผสมผสาน ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ผู้ก่อตั้งโดย อาร์ท เดวี, โรรัน กราซี, โรเบิร์ท เมย์โรวิทช์ ซึ่งเป็นเจ้าภาพมากที่สุดของนักสู้ที่ติดอันดับในกีฬา และสร้างเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทั่วโลก ตั้งอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกา ยูเอฟซีมี 8 หน่วยน้ำหนักและบังคับใช้กฎสหพันธ์ศิลปะการต่อสู้แบบผสม โดยมีบริษัทแม่คือบริษัท ซัฟฟา จำกัด เหตุการณ์ยูเอฟซีครั้งแรกที่จัดขึ้นในปี ค.ศ. 1993 ที่เดนเวอร์,รัฐโคโลราโด วัตถุประสงค์ของการจัดงานคือการระบุศิลปะการป้องกันตัวที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการต่อสู้ที่แท้จริงระหว่างคู่แข่งของสาขาวิชาการต่อสู้ที่แตกต่างกัน ได้แก่ มวยสากล,บราซิลเลี่ยน ยูยิสสู,เทควันโด,มวยปล้ำ,มวยไทย,คาราเต้ และลักษณะอื่น ๆ ในการแข่งขันในภายหลัง นักสู้เริ่มใช้เทคนิคประสิทธิภาพจากมากกว่าหนึ่งวินัย ในทางอ้อมซึ่งช่วยสร้างแบบที่แยกจากกันอย่างสิ้นเชิงของการต่อสู้ที่เรียกว่าศิลปะการต่อสู้แบบผสมในปัจจุบัน ด้วยข้อตกลงทางโทรทัศน์ผ่านสายเคเบิล และการขยายตลาดไปยัง แคนาดา,ยุโรป,ออสเตรเลียในตะวันออกกลาง,เอเซีย และตลาดใหม่ ๆ ในสหรัฐอเมริกา ยูเอฟซีในปี ค.ศ. 2011 ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ไปตามข่าวด้วยกระแสหลักในสื่อมากขึ้น ในปี ค.ศ. 2001 ขณะที่ผู้ชมสามารถเข้าถึงรายการยูเอฟซีในโทรทัศน์เพย์-เพอร์-วิวในสหรัฐอเมริกา,บราซิล,ออสเตรเลีย,แคนาดา,นิวซีแลนด์ และอิตาลี นอกจากนี้รายการยูเอฟซี ยังสามารถรับชมได้ในช่อง เอฟเอ๊กซ์,เฟาล์ทีวี และฟ็อกซ์ ในสหรัฐอเมริกา รวมถึงช่องอีเอสพีเอ็น ในสหราชอาณาจักรและสาธารณรัฐไอร์แลนด์ รวมทั้ง 150 ประเทศและ 22 ภาษาที่ต่างกันทั่วโลก ยูเอฟซี ยังจัดเว็บไซต์โทรศัพท์มือถือสำหรับออนไปยังผู้ใช้และหน้าแถบกีฬาสำหรับแฟน ๆ เพื่อค้นหาสถานที่จะแสดงในเพย์-เพอร์-วิว นอกจากนี้ยังมีผู้เล่นสตรีมมิ่งโรคุอีกด้วย รายการยูเอฟซีปรากฏอยู่ใน 130 ประเทศทั่วโลก และยูเอฟซี ยังมีแผนจะขยายตัวต่อในต่างประเทศที่โชว์ประจำในประเทศแคนาดา และสหราชอาณาจักรมีสำนักงานที่จัดตั้งขึ้นในสหราชอาณาจักรมีวัตถุประสงค์เพื่อขยายกลุ่มผู้ชมในยุโรป.

ใหม่!!: โลกและอัลติเมทไฟต์ติงแชมเปียนชิพ · ดูเพิ่มเติม »

อัตราเร็วของแสง

ปรากฏการณ์เชเรนคอฟ ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เป็นผลมาจาก อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เร็วกว่าแสงที่เดินทางในน้ำ อัตราเร็วของแสง (speed of light) ในสุญญากาศ มีนิยามว่าเท่ากับ 299,792,458 เมตรต่อวินาที (หรือ 1,080,000,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หรือประมาณ 186,000.000 ไมล์ต่อวินาที หรือ 671,000,000 ไมล์ต่อชั่วโมง) ค่านี้เขียนแทนด้วยตัว c ซึ่งมาจากภาษาละตินคำว่า celeritas (แปลว่า อัตราเร็ว) และเรียกว่าเป็นค่าคงที่ของไอน์สไตน์ แสงเป็นสิ่งที่แปลกประหลาดนั่นคือไม่ว่าผู้สังเกตจะเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง ไม่ว่าจะอยู่ในสถานที่ใด ด้วยเงื่อนไขใด อัตราเร็วของแสงที่ผู้สังเกตคนนั้นวัดได้ จะเท่าเดิมเสมอ ซึ่งขัดกับความรู้สึกของคนทั่วไป แต่เป็นไปตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพ ของ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ สังเกตว่าอัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ เป็น นิยาม ไม่ใช่ การวัด ในหน่วยเอสไอกำหนดให้ เมตร มีนิยามว่าเป็นระยะทางที่แสงเดินทางในสุญญากาศในเวลา 1/299,792,458 วินาที แสงที่เดินทางผ่านตัวกลางโปร่งแสง (คือไม่เป็นสุญญากาศ) จะมีอัตราเร็วต่ำกว่า c อัตราส่วนของ c ต่ออัตราเร็วของแสงที่เดินทางผ่านในตัวกลาง เรียกว่า ดรรชนีหักเหของตัวกลางนั้น โดยเมื่อผ่านแก้ว จะมีดรรชนีหักเห 1.5-1.9 ผ่านน้ำจะมีดรรชีนีหักเห 1.3330 ผ่านเบนซินจะมีดรรชนีหักเห 1.5012 ผ่านคาร์บอนไดซัลไฟต์จะมีดรรชนีหักเห 1.6276 ผ่านเพชรจะมีดรรชนีหักเห 2.417 ผ่านน้ำแข็งจะมีดรรชนีหักเห 1.309.

ใหม่!!: โลกและอัตราเร็วของแสง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยในที่นี้ เป็นการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทยโดยหน่วยงานของไทยเอง และนิตยสารของต่างประเทศ สำหรับหน่วยงานของไทย ในปี พ.ศ. 2549 นี้ ทางกระทรวงศึกษาธิการได้จัดให้มีการจัดลำดับมหาวิทยาลัยรัฐในประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดย 2 หน่วยงาน คือ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) สำหรับในต่างประเทศได้มีการจัดทำอันดับมหาวิทยาลัยทั่วโลกจากทั้ง นิตยสารไทมส์ไฮเออร์เอดูเคชันซัปพลีเมนต์ นิตยสารเอเชียวีก บริษัท แควกเควเรลลี ไซมอนด์ส จำกัด, CWTS, CWUR ฯลฯ รวมทั้งการจัดอันดับความเป็นอิเล็กทรอนิกส์และการเข้าถึงเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยจากเว็บไซต์เว็บโอเมตริกซ์ โดยมหาวิทยาลัยในประเทศไทยบางส่วนได้ถูกเสนอชื่อเข้าไปในนั้น ในขณะที่บางลำดับเช่นจาก มหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวถง ไม่มีรายชื่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทยแต่อย่างใ.

ใหม่!!: โลกและอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (พื้นที่)

หมวดหมู่:พื้นที่ หมวดหมู่:อันดับของขนาด (พื้นที่).

ใหม่!!: โลกและอันดับของขนาด (พื้นที่) · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (อุณหภูมิ)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โลกและอันดับของขนาด (อุณหภูมิ) · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (จำนวน)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โลกและอันดับของขนาด (จำนวน) · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (ความยาว)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โลกและอันดับของขนาด (ความยาว) · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (ความหนาแน่น)

Skylab ได้วัดความหนาแน่นของดวงอาทิตย์หลายค่า (ค่าสูงสุด: 10−18 to 10−6กิโลกรัม⋅เซนติเมตร−3, มีค่าเทียบเท่ากับ 10−15 to 10−3 กิโลกรัม⋅เมตร−3) ณ อุณหภูมิที่แตกต่างกันบนพื้นผิวของมัน หมวดหมู่:ความหนาแน่น.

ใหม่!!: โลกและอันดับของขนาด (ความหนาแน่น) · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (ความเร็ว)

หมวดหมู่:ปริมาณทางกายภาพ หมวดหมู่:อันดับของขน.

ใหม่!!: โลกและอันดับของขนาด (ความเร็ว) · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (เวลา)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โลกและอันดับของขนาด (เวลา) · ดูเพิ่มเติม »

อาริสโตเติล

อาริสโตเติล หรือ แอริสตอเติล (Αριστοτέλης; Aristotle) (384 ปีก่อนคริสตกาล – 7 มีนาคม 322 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นนักปรัชญากรีกโบราณ เป็นลูกศิษย์ของเพลโต และเป็นอาจารย์ของอเล็กซานเดอร์มหาราช ท่านและเพลโตได้รับยกย่องให้เป็นหนึ่งในนักปรัชญาที่มีอิทธิพลสูงที่สุดท่านหนึ่ง ในโลกตะวันตก ด้วยผลงานเขียนหนังสือเกี่ยวกับฟิสิกส์ กวีนิพนธ์ สัตววิทยา การเมือง การปกครอง จริยศาสตร์ และชีววิทยา นักปรัชญากรีกโบราณที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคืออาริสโตเติล เพลโต (อาจารย์ของอาริสโตเติล) และโสกราตีส (ที่แนวคิดของเขานั้นมีอิทธิพลอย่างสูงกับเพลโต) พวกเขาได้เปลี่ยนโฉมหน้าของปรัชญากรีก สมัยก่อนโสกราตีส จนกลายเป็นรากฐานสำคัญของปรัชญาตะวันตกในลักษณะปัจจุบัน โสกราตีสนั้นไม่ได้เขียนอะไรทิ้งไว้เลย ทั้งนี้เนื่องจากผลของแนวคิดปรากฏในบทสนทนาของเพลโตชื่อ เฟดรัส เราได้ศึกษาแนวคิดของเขาผ่านทางงานเขียนของเพลโตและนักเขียนคนอื่นๆ ผลงานของเพลโตและอริสโตเติลเป็นแก่นของปรัชญาโบราณ อริสโตเติลเป็นหนึ่งในไม่กี่บุคคลในประวัติศาสตร์ที่ได้ศึกษาแทบทุกสาขาวิชาที่มีในช่วงเวลาของเขา ในสาขาวิทยาศาสตร์ อริสโตเติลได้ศึกษา กายวิภาคศาสตร์, ดาราศาสตร์, วิทยาเอ็มบริโอ, ภูมิศาสตร์, ธรณีวิทยา, อุตุนิยมวิทยา, ฟิสิกส์,และ สัตววิทยา ในด้านปรัชญา อริสโตเติลเขียนเกี่ยวกับ สุนทรียศาสตร์, เศรษฐศาสตร์, จริยศาสตร์, การปกครอง, อภิปรัชญา, การเมือง, จิตวิทยา, วาทศิลป์ และ เทววิทยา เขายังสนใจเกี่ยวกับ ศึกษาศาสตร์, ประเพณีต่างถิ่น, วรรณกรรม และ กวีนิพนธ์ ผลงานของเขาเมื่อรวบรวมเข้าด้วยกันแล้ว สามารถจัดว่าเป็นสารานุกรมของความรู้สมัยกรีก.

ใหม่!!: โลกและอาริสโตเติล · ดูเพิ่มเติม »

อาร์กติก

้นสีแดงในภาพเป็นบริเวณของอาร์กติกที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยเท่าๆกัน อาร์กติก (Arctic) เป็นพื้นที่ในบริเวณขั้วโลกเหนือ ซึ่งบริเวณของอาร์กติกนี้ประกอบไปด้วยพื้นที่บางส่วนของประเทศต่าง ๆ เช่น แคนาดา, กรีนแลนด์ (ดินแดนของเดนมาร์ก), รัสเซีย, สหรัฐอเมริกา (อะแลสกา), ไอซ์แลนด์, นอร์เวย์, สวีเดน และฟินแลนด์ รวมถึงบริเวณของมหาสมุทรอาร์กติกด้วย บริเวณพื้นที่ส่วนใหญ่ของอาร์กติกจะเป็นพื้นที่กว้าง มหาสมุทรปกคลุมไปด้วยน้ำแข็ง พื้นที่รอบ ๆ ปราศจากพืชพันธุ์และผืนดินก็ปกคลุมไปด้วยน้ำแข็งเช่นเดียวกัน แต่กลับอุดมไปด้วยสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ทั้งที่อาศัยอยู่ในน้ำแข็ง, ปลา,สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, นก และรวมถึงมนุษย์ด้วย ตามธรรมชาติของบริเวณอาร์กติกจะเป็นที่ที่แตกต่างจากที่อื่นอย่างเห็นได้ชัด ผู้คนที่อาศัยอยู่ในอาร์กติกจะมีการปรับตัวและใช้ชีวิตอยู่ท่ามกลางความหนาวเหน็บและธรรมชาติอันโหดร้าย อาร์กติกจะมีความอ่อนไหวได้ง่ายมากจากการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนโลกของเรา เช่น อุณหภูมิบนโลกที่เปลี่ยนแปลงไป ความอ่อนไหวได้ง่ายนี้ทำให้อาร์กติกนี้ถูกมองเสมือนเป็นระบบเตือนภัยล่วงหน้าให้แก่โลกของเรา คำว่า อาร์กติก มากจากภาษากรีกโบราณ αρκτος ซึ่งมีความหมายว่า หมี และยังอ้างอิงไปถึงกลุ่มดาวหมีใหญ่และหมีเล็กที่อยู่ใกล้กับดาวเหนือด้ว.

ใหม่!!: โลกและอาร์กติก · ดูเพิ่มเติม »

อาร์มาเก็ดดอน วันโลกาวินาศ

อาร์มาเก็ดดอน วันโลกาวินาศ ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดฟอร์มใหญ่แห่งปี ค.ศ. 1998 เรื่อง Armageddon นำแสดงโดย บรูซ วิลลิส, ลิฟ ไทเลอร์, เบน แอฟเฟล็ก, โอเวน วิลสัน, บิลลี่ บ็อบ ทอร์นตัน, ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน, สตีฟ บูเซมี กำกับการแสดงโดย ไมเคิล เบย์ อำนวยการสร้างโดย เจอร์รี่ บรัคไฮเมอร.

ใหม่!!: โลกและอาร์มาเก็ดดอน วันโลกาวินาศ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์คแองเจิ้ล

อาร์คแองเจิ้ล (ASSAULT MOVEMENT SPECIAL EQUIPMENT WARSHIP) เป็นยานรบที่ปรากฏในอะนิเมะเรื่องกันดั้มซี้ด สร้างโดยกองทัพโลก (OMNI Enforcer) เดิมทียานลำนี้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทำการรบในขั้นแตกหักกับฝ่ายซาฟท์ โดยตัวยานนั้นนับว่าใหญ่โตกว่ายานรบมาตรฐานทั่วไป เนื่องจากมีที่เก็บโมบิลสูทถึง 5 เครื่อง แถมยังสามารถเก็บโมบิลอาร์เมอร์ได้อีก 3 เครื่อง แต่ทว่าผู้ที่ตั้งใจจะใช้ยานลำนี้กลับเสียชีวิตไปเป็นจำนวนมาก จากการจารกรรมอาวุธลับ (กันดั้ม) ของทหารฝ่ายซาฟท์ ผู้ที่เหลือรอดจึงเป็นนายทหารที่มียศไม่สูง แถมยังมาจากหลายหน่วยงานอีกด้วย แต่กัปตันเมอร์ริว และเหล่าลูกเรือก็ไม่ยอมปล่อยให้ยานลำนี้จมลง.

ใหม่!!: โลกและอาร์คแองเจิ้ล · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เธอร์ ซี. คลาร์ก

ซอร์ อาร์เธอร์ ชาลส์ คลาร์ก (Sir Arthur Charles Clarke; 16 ธันวาคม ค.ศ. 1917 - 19 มีนาคม ค.ศ. 2008) เป็นนักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ซึ่งผลงานของเขาที่เป็นที่รู้จักมากที่สุด ได้แก่นิยายชุด จอมจักรวาล (Space Odyssey) และชุด ดุจดั่งอวตาร (Rendezvous with Rama) ผลงานเขียนนวนิยายของคลาร์ก มีความริเริ่มสร้างสรรค์เกี่ยวกับความเป็นไปได้ทางวิทยาศาสตร์ และมีอิทธิพลอย่างมากต่อการพัฒนาเทคโนโลยีในปัจจุบัน สิ่งประดิษฐ์จำนวนมากได้แรงบันดาลใจจากนิยายของคลาร์ก เช่น ดาวเทียม การสำรวจอวกาศ ลิฟต์อวกาศ คลาร์ก อาศัยอยู่ที่กรุงโคลอมโบ ประเทศศรีลังกา เขาเดินทางเข้ามาอยู่ประเทศนี้ตั้งแต่ พ.ศ. 2499 และพักอาศัยอยู่อย่างถาวรจนได้รับสัญชาติศรีลังกา ชาวศรีลังกาถือว่าเขาเป็น "ความภูมิใจของลังกา" มอบรางวัล The Lankabhimanaya award (Pride of Lanka) ให้เป็นเกียรติเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: โลกและอาร์เธอร์ ซี. คลาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรชั้นที่สอง

อาณาจักรชั้นที่สอง (The Secondary Realms) เป็นอาณาเขตรอบนอกบ้านบ้าน ในวรรณกรรมชุด อาณาจักรแห่งกาลเวลา ประกอบด้วยเทหวัตถุต่างๆ เช่น ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ กาแล็กซี่ รวมทั้ง โลก ซึ่งบรรดาผู้รู้ตายรู้จักกันในนามของ จักรวาล.

ใหม่!!: โลกและอาณาจักรชั้นที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรแห่งกาลเวลา

อาณาจักรแห่งกาลเวลา (The Keys to the Kingdom) เป็นนวนิยายแฟนตาซีชุดหนึ่งของ การ์ธ นิกซ์ (Garth Nix) นักเขียนชาวออสเตรเลีย ได้รับการตีพิมพ์ในรูปแบบของหนังสือปกอ่อน เรื่องราวในเรื่องเกิดขึ้นในบ้านและอาณาจักรชั้นที่สอง ซึ่งรวมไปถึงโลกของเราด้วย โดยมีตัวเอกดำเนินเรื่อง 3 ตัว คือ อาเธอร์ เพนฮาลิกอน, ซูซี่ ฟ้าเทอร์คอยซ์ และลีฟ เรื่องราวภายในเรื่องมีความเกี่ยวข้องกับหลักธรรมทางศาสนาและเทวตำนานโบราณ รวมไปถึงเลข 7 อีกด้วย ในประเทศไทย ลิขสิทธิ์เป็นของสำนักพิมพ์แจ่มใส แปลเป็นภาษาไทยโดย แสงตะวัน จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์เอ็นเธอร์บุ๊คส์ อาณาจักรแห่งกาลเวลาเป็นวรรณกรรมเล่มเดียวของการ์ธ นิกซ์ ที่ถูกซื้อลิขสิทธิ์และได้รับการแปลเป็นภาษาไท.

ใหม่!!: โลกและอาณาจักรแห่งกาลเวลา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังน้ำเขียว

วังน้ำเขียว เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครราชสีมา รู้จักกันอย่างดีในฐานะเป็นสถานที่ที่มีโอโซนติดอันดับ 1 ใน 7 ของโลก จนมีสมญานามว่า "สวิตเซอร์แลนด์แดนอีสาน".

ใหม่!!: โลกและอำเภอวังน้ำเขียว · ดูเพิ่มเติม »

อิปไซลอนแอนดรอมิดา บี (ดาวเคราะห์)

อิปไซลอนแอนดรอมิดา บี (Upsilon Andromedae b; υ Andromedae b / υ And b / υ Andromedae Ab / υ And Ab) หรืออิปไซลอนแอนดรอมิดา เอบี เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวอิปไซลอนแอนดรอมิดา เอในระยะทางที่ใกล้ที่สุด ดาวเคราะห์ดวงนี้ถูกประกาศการค้นพบพร้อมกันกับ 55 ปู บี และ เทา คนเลี้ยงสัตว์ บี เมื่อเดือนมิถุนายน ปี..

ใหม่!!: โลกและอิปไซลอนแอนดรอมิดา บี (ดาวเคราะห์) · ดูเพิ่มเติม »

อิปไซลอนแอนดรอมิดา ซี

อิปไซลอนแอนดรอมิดา ซี หรือ อิปไซลอนแอนดรอมิดา เอซี (Upsilon Andromedae c, υ Andromedae c, υ and c; Upsilon Andromedae ac, υ Andromedae Ac หรือ υ and Ac) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวอิปไซลอนแอนดรอมิดา เอ ดาวเคราะห์ดวงนี้มีความร้อนสูงมาก และมีความหนาแน่นถึง 13.98 เท่าของดาวพฤหัสบดี ถ้าสมมุติว่าอิปไซลอนแอนดรอมิดา ซีนั้นอยู่ในระบบสุริยะของเรา มันจะโคจรระหว่างโลกกับดาวศุกร์ นักดาราศาสตร์ก็ได้ตั้งข้อเสนอว่ามีดาวเคราะห์วงนอกอีกดวง (ซึ่งอาจหลุดวงโคจรไปแล้ว) ดันให้อิปไซลอนแอนดรอมิดา ดีเข้าไปโคจรดาวเอกของมันในระยะทางที่ใกล้กว่า ดังนั้นอิปไซลอนแอนดรอมิดา ดีจึงค่อยๆ ทำให้วงโคจรของอิปไซลอนแอนดรอมิดา ซีเยื้องมากขึ้น แต่ถ้าเป็นเช่นนี้ ดาวเคราะห์ที่หายไปก็จะต้องถูกผลักดันให้หลุดวงโคจรไป นักดาราศาสตร์จึงไม่ค่อยแน่ใจเกี่ยวกับเรื่องนี้มากนัก.

ใหม่!!: โลกและอิปไซลอนแอนดรอมิดา ซี · ดูเพิ่มเติม »

อินทรี

อินทรี เป็นนกจำพวกนกล่าเหยื่อขนาดใหญ่ ในวงศ์ Accipitridae อันดับ Accipitriformes (วงศ์และอันดับเดียวกับ เหยี่ยว) มีโครงสร้างทางกายภาพที่แข็งแรง ประกอบด้วยโครงกระดูก กล้ามเนื้อ ส่วนต่าง ๆ ขน และกรงเล็บเป็นหลัก จัดอยู่ในประเภทนกที่ล่าเหยื่อเป็นอาหาร มีขนาด ปีก และ หาง ที่กว้าง ลักษณะปลายปีกแหลมหรือปีกแตก จะงอยปากงองุ้มเป็นตะขอ อินทรีเป็นนกที่มีลักษณะสวยงาม แข็งแรง สายตาคม บินเร็ว โจมตีแม่นยำ มองเห็นเป้าหมายได้จากระยะไกล มีเพดานบินตั้งแต่พื้นราบจนถึงความสูง 2,100 เมตร และจัดได้ว่าเป็นสัตว์ที่มีสายตาดีที่สุดในโลก อีกทั้งยังถือเป็นนกหรือสัตว์ปีกที่มีอายุยืนยาวที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีอายุได้มากถึง 70 ปี ส่วนใหญ่จะมีสีเข้มและสร้างรังบนหน้าผาที่สูงชัน อินทรีเป็นนกที่มีขนาดใหญ่และแข็งแรง เป็นนกที่กินเนื้อเป็นอาหาร ซึ่งได้แก่ ปลา, งู, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ขนาดเล็กเช่น หนู และเป็นนกนักล่าซึ่งล่านกด้วยกัน และไข่นกที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร อินทรีพบอาศัยกระจัดกระจายอยู่ตามพื้นที่เขตต่าง ๆ ทั่วทุกแห่งในโลก ยกเว้นพื้นที่ในทวีปแอนตาร์กติก ที่มีอากาศหนาวเย็น ในประเทศไทย มีอินทรีอยู่ด้วยกันจำนวนหนึ่ง อาทิ นกออก (Haliaeetus leucogaster), อินทรีหัวนวล (H. leucoryphus), อินทรีดำ (Ictinaetus malaiensis), อินทรีปีกลาย (Clanga clanga) เป็นต้น เนื่องจากเป็นนกขนาดใหญ่ น่าเกรงขาม และบินได้สูงและกว้างไกล ทำให้มีความสง่างาม ในเชิงของการเป็นสัญลักษณ์แล้ว อินทรีถูกมนุษย์ใช้ในเชิงสัญลักษณ์เป็นระยะเวลายาวนาน ในหลายวัฒนธรรมของทุกมุมโลก เช่น เป็นสัตว์ในป่าหิมพานต์ชนิดหนึ่งของไทย หรือ สหรัฐอเมริกาได้ใช้อินทรีหัวขาว (Haliaeetus leucocephalus) เป็นสัญลักษณ์ของประเทศ เป็นต้น.

ใหม่!!: โลกและอินทรี · ดูเพิ่มเติม »

อิโต คาโมทาโร่

อิโต คาโมทาโร่ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ใหม่!!: โลกและอิโต คาโมทาโร่ · ดูเพิ่มเติม »

อุลกมณี

ตัวอย่างก้อนอุลกมณีที่พบบนพื้นผิวโลก อุลกมณี มีหลายชื่อที่เรียกหากัน อุกกามณี แก้วข้าว สะเก็ดดาว เหล็กไหลต่างดาว คดปลวก พลอยจันทรคราส หยดน้ำฟ้า(ตามรูปร่างที่ปรากฏ) สะเก็ดดาว หรืออุลกมณี ตรงกับคำว่า "tektite" ในภาษาอังกฤษ โดยมีรากศัพท์มาจากคำว่า Tektos ในภาษากรีก แปลว่า หลอมละลาย อุลกมณีที่พบจะมีเนื้อแก้ว ส่วนใหญ่สีดำทึบคล้ายนิล บางชิ้นมีเนื้อในสีน้ำตาลใส บางชิ้นก็มีเนื้อโปร่งแสงสีเขียว ผิวของอุลกมณีจะเป็นหลุมเล็ก ๆ โดยรอบ รูปลักษณ์สัณฐานของอุลกมณีไม่แน่นอน อาจเป็นก้อนกลม ยาวแบน แท่งกลมยาว คนไทยบางท่านเชื่อว่าสามารถแบ่งอุลกมณี เป็นชนิดต่างๆตามรูปร่าง เช่น ตัวผู้(รูปทรงเป็นแท่งคล้ายลึงค์) หรือตัวเมีย(รูปทรงกลม) มนุษย์เรารู้จักอุลกมณีมานานแล้ว โดยเชื่อกันว่าเป็นสะเก็ดดาวจากนอกโลก ที่ตกเข้ามายังพื้นผิวโลก แต่ปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์ได้ทำการศึกษาและทราบว่าแท้จริงแล้ว อุลกมณี หรือ tektite เป็นทรายที่เกิดบนโลกที่เกิดการหลอมละลายจากความร้อนจากการพุ่งชนของอุกกาบาต ขณะที่ทรายหลอมละลายจะกระเซ็นขึ้นไปบนท้องฟ้า แล้วเกิดการเย็นและแข็งตัวกลางอากาศ ก่อนจะตกกลับคืนสู่พื้นดิน จึงทำให้เกิดรูปร่างหลากหลายแบบ สีของ อุลกมณีจะมีความแตกต่างกันจากการเกิด ว่าเมื่อเกิด มีแร่ธาตุอะไรเข้าไปผสมอยู่ด้ว.

ใหม่!!: โลกและอุลกมณี · ดูเพิ่มเติม »

อุทกภาค

World water distribution. อุทกภาค (จากภาษาบาลี "อุทก" แปลว่า น้ำ, "ภาค" แปลว่า ส่วน รวมกันหมายถึงส่วนที่เป็นน้ำ) ในวิชาภูมิศาสตร์กายภาพหมายถึง แหล่งที่น้ำจำนวนมากมาอยู่รวมกันบนหรือใต้ผิวโลก อีกอร์ ชีโคลมานอฟ ผู้ถูกคัดเลือกโดยองค์การสหประชาชาติให้ศึกษารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำ ได้ประเมินว่าบนโลกมีน้ำทั้งสิ้น 1,386 ล้านลูกบาศก์กิโลเมตร ซึ่งรวมถึงน้ำในรูปของเหลว ของแข็ง น้ำบาดาล ธารน้ำแข็ง มหาสมุทร ทะเลสาบ และแม่น้ำ โดยร้อยละ 97.5 ของน้ำทั้งหมดบนโลกเป็นน้ำเค็ม น้ำจืดมีอยู่เพียงร้อยละ 2.5 เท่านั้น และร้อยละ 68.7 ของน้ำจืดก็อยู่ในรูปของน้ำแข็งและหิมะปกคลุมบริเวณอาร์กติก แอนตาร์กติกา และในเขตภูเขา ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 29.9 อยู่ในรูปของน้ำบาดาล ร้อยละ 0.26 ของน้ำจืดเท่านั้นที่สามารถใช้เป็นสาธารณูปโภคได้ ซึ่งสามารถพบน้ำเหล่านี้ใต้ในทะเลสาบ อ่างเก็บน้ำ และระบบแม่น้ำต่าง ๆ มวลทั้งหมดของน้ำบนโลกอยู่ที่ประมาณ 1.4 × 1018 ตัน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 0.023 ของมวลโลกทั้งหมด ประมาณ 20 × 1012 ตันของน้ำทั้งหมดนั้นอยู่ในบรรยากาศของโลก (โดยน้ำ 1 ลูกบาศก์เมตรมีน้ำหนักเท่ากับ 1 ตัน) ประมาณร้อยละ 75 ของผิวโลกทั้งหมดหรือประมาณ 361 ล้านตารางกิโลเมตรนั้นเป็นมหาสมุทร ค่าความเค็มเฉลี่ยของมหาสมุทรในโลกนั้นอยู่ที่ประมาณ 35 ของเกลือหนึ่งกรัมต่อน้ำทะเลหนึ่งกิโลกรัม (ร้อยละ 3.5).

ใหม่!!: โลกและอุทกภาค · ดูเพิ่มเติม »

อุณหพลศาสตร์

แผนภาพระบบอุณหพลศาสตร์ทั่วไป แสดงพลังงานขาเข้าจากแหล่งความร้อน (หม้อน้ำ) ทางด้านซ้าย และพลังงานขาออกไปยังฮีทซิงค์ (คอนเดนเซอร์) ทางด้านขวา ในกรณีนี้มีงานเกิดขึ้นจากการทำงานของกระบอกสูบ อุณหพลศาสตร์ (/อุน-หะ-พะ-ละ-สาด/ หรือ /อุน-หะ-พน-ละ-สาด/) หรือ เทอร์โมไดนามิกส์ (Thermodynamics; มาจากภาษากรีก thermos.

ใหม่!!: โลกและอุณหพลศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

อุณหภูมิห้อง

อุณหภูมิห้อง (Room temperature) คืออุณหภูมิของสถานที่ ๆ ทำการทดลอง อุณหภูมิห้องมาตรฐานที่ใช้กันทั่วโลกอยู่ที่ 20 - 25 องศาเซลเซียส หมวดหมู่:ความร้อน หมวดหมู่:การถ่ายเทความร้อน.

ใหม่!!: โลกและอุณหภูมิห้อง · ดูเพิ่มเติม »

อุตสาหกรรม

อุตสาหกรรม (Industry) เป็นคำจำกัดความที่ใช้กับกิจกรรมที่ใช้ทุนและแรงงาน เพื่อที่จะผลิตสิ่งของ หรือ จัดให้มีบริการ เช่น อุตสาหกรรมสิ่งทอ ในยุควิกตอเรีย นักประวัติศาสตร์เรียกช่วงเวลานั้นว่า การปฏิวัติอุตสาหกรรม โดยมีการผลิตเครื่องทุ่นแรงต่าง ๆ มากมาย และ ทำให้อุตสาหกรรมเจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วและมีระเบียบ เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งหมด นอกจากนี้ การปฏิวัติอุตสาหกรรมยังเกี่ยวของกับลัทธิสังคมนิยมของคาร์ล มาร์กซ (ลัทธิมาร์กซ) อีกด้วย ในปัจจุบันอุตสาหกรรมถือเป็นสิ่งหนึ่งที่จำเป็นต่อมนุษย์อย่างยิ่ง ด้วยว่ามนุษย์ต้องพึ่งพาการผลิตสิ่งที่จำเป็นต่อชีวิตประจำวัน หรือเรียกรวมว่าปัจจัยสี่ โดยสิ่งที่สามารถผลิตปัจจัยสี่ให้ดี มีคุณภาพและไม่ก่ออันตราย หรือก่ออันตรายให้กับร่างกายและทรัพย์สินน้อยที่สุด การปั่นด้ายในโรงงานอุตสาหกรรมช่วงยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: โลกและอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

อุปราคา

right อุปราคา คือ ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ เกิดขึ้นเมื่อวัตถุท้องฟ้าหนึ่ง เช่น ดาวเคราะห์หรือดาวบริวารมาอยู่ระหว่างต้นกำเนิดแสง (เช่น ดวงอาทิตย์) กับอีกวัตถุหนึ่ง.

ใหม่!!: โลกและอุปราคา · ดูเพิ่มเติม »

อี.ที. (เพลง)

"อี.ที." เป็นเพลงของนักร้องชาวอเมริกัน เคที เพร์รี จากกสตูดิโออัลบั้มชุดที่สาม ทีนเอจดรีม (ค.ศ. 2010) เพลงได้เป็นซิงเกิลที่สี่ ออกอากาศทางสถานีวิทยุต่าง ๆ ในวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: โลกและอี.ที. (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

อี.ที. เพื่อนรัก

อี.ที.

ใหม่!!: โลกและอี.ที. เพื่อนรัก · ดูเพิ่มเติม »

อีนิด ไบลตัน

อีนิด แมรี ไบลตัน (Enid Mary Blyton) เป็นหนึ่งในนักเขียนที่มีคนอ่านและแปลผลงานมากที่สุดในโลก ผลงานของเธอมีผู้นิยมอ่านตั้งแต่เด็กเล็กไปจนถึงเด็กโตและผู้ใหญ่ หนังสือที่เธอแต่งได้รับการตีพิมพ์เป็นหนังสือกว่า 700 เล่มและเรื่องสั้นกว่า 10000 เรื่อง ได้รับการแปลไปแล้วเกือบ 90 ภาษา ในกว่า 30 ประเทศทั่วโลก เรื่องที่เธอแต่งนั้น โด่งดังมาทั่วโลกกว่าครึ่งศตวรรษ.

ใหม่!!: โลกและอีนิด ไบลตัน · ดูเพิ่มเติม »

อีเห็นน้ำอินโดจีน

อีเห็นน้ำอินโดจีน หรือ อีเห็นน้ำตังเกี๋ย สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่งในอันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cynogale lowei เป็นสัตว์ที่มีข้อมูลน้อยมาก เนื่องจากพบเห็นได้ยากและมีรายงานการพบเห็นตัวเพียงไม่กี่ครั้ง ข้อมูลเท่าที่มีบ่งให้รู้ว่ารูปร่างหน้าตาคล้ายคลึงกับอีเห็นน้ำมลายู (C. bennettii) แต่ต่างกันตรงสีขน กล่าวคือ อีเห็นน้ำอินโดจีนมีขนสั้นหนา และมีสีขนที่อ่อนกว่าอีเห็นน้ำมลายู โดยจมูกใต้คอและหน้าอกมีสีขาว ส่วนข้อมูลอื่น ๆ เช่น ขนาดและน้ำหนักนั้นไม่มี มีผู้เก็บซากอีเห็นน้ำอินโดจีนได้ทางภาคเหนือของเวียดนาม และเคยมีรายงานพบเห็นที่ภาคใต้ของจีน และคาดว่าอาจมีอยู่ในอุทยานแห่งชาติภูกระดึง จังหวัดเลย ของไทยด้วย มีรายงานการพบเห็นใกล้กับแหล่งน้ำ เช่น ทะเลสาบหรือแม่น้ำ ปัจจุบันสันนิษฐานว่า อีเห็นน้ำอินโดจีนได้สูญพันธุ์จากโลกไปนานแล้ว เพราะปัญหาการพัฒนาและขยายพื้นที่เกษตรกรรมอย่างรวดเร็ว ทำให้อีเห็นน้ำอินโดจีนสูญเสียถิ่นที่อยู่อาศัย ปัจจุบัน เชื่อว่าอาจจะเป็นชนิดเดียวกันหรือชนิดย่อยของอีเห็นน้ำมลายูก็ได้.

ใหม่!!: โลกและอีเห็นน้ำอินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

องศา (มุม)

องศา (degree) หรือในชื่อเต็มคือ ดีกรีของส่วนโค้ง (degree of arc, arcdegree) คือหน่วยวัดมุมชนิดหนึ่งบนระนาบสองมิติ หนึ่งองศา แทนการกวาดมุมรอบจุดศูนย์กลางของวงกลมไปได้ 1 ส่วนใน 360 ส่วน และเมื่อมุมนั้นอ้างอิงกับเส้นเมอริเดียน องศาจะแสดงให้เห็นถึงตำแหน่งต่างๆ บนวงกลมใหญ่ของทรงกลม อย่างที่มีการใช้อ้างอิงตำแหน่งบนโลก ดาวอังคาร หรือทรงกลมท้องฟ้า เป็นต้น สัญลักษณ์วงกลมเล็ก ° ใช้แทนหน่วยองศาในการเขียน และเป็นหน่วยเดียวที่ไม่ต้องเว้นวรรคระหว่างตัวเลขกับสัญลักษณ์ เช่น 15° แทนมุมขนาด 15 อง.

ใหม่!!: โลกและองศา (มุม) · ดูเพิ่มเติม »

องค์กรมวยโลก

ัญลักษณ์ขององค์กรมวยโลก องค์กรมวยโลก (World Boxing Organization, ตัวย่อ: WBO, Organización Mundial de Boxeo, ตัวย่อ: OMB) สถาบันที่ดูแลและควบคุมการชกมวยสากลในระดับโลก ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2531 ที่กรุงซาน ฮวน ประเทศเปอร์โตริโก โดยมี นายฟรานซิสโก้ วัลคาเซล (Francisco Varcarcel) นักกฎหมายชาวเปอร์โตริกัน เป็นประธาน องค์กรมวยโลกในระยะแรกเริ่มยังไม่เป็นที่ยอมรับของแฟนมวย เนื่องจากเป็นสถาบันใหม่ แชมป์โลกคนแรกขององค์กรมวยโลกคือ โธมัส เฮิร์นส์ โดยได้เป็นแชมป์ในรุ่นซูเปอร์มิดเดิลเวท โดยการชิงแชมป์ว่างเอาชนะ เจมส์ คินเช่น และทำสถิติเป็นแชมป์โลก 6 รุ่นของโลกด้วย ในเวลาต่อมา องค์กรมวยโลกได้พิสูจน์ให้เห็นว่าเป็นอีกหนึ่งสถาบันที่ได้มาตรฐาน มีนักมวยมากมายที่เป็นแชมป์และโดดเด่น มีความสามารถมากกว่าแชมป์โลกในรุ่นเดียวกันของสภามวยโลก (WBC), สมาคมมวยโลก (WBA), สหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) ในบางครั้งเสียอีก เช่น ทอมมี มอร์ริสัน, นาซีม ฮาเหม็ด, ออสการ์ เดอ ลา โฮยา, มาร์โก้ อันโตนิโอ บาร์เรร่า, วิตาลี คลิทช์โก, วลาดิเมียร์ คลิทช์โก เป็นต้น สำหรับในทวีปเอเชีย สถาบันแห่งนี้ยังไม่ได้แพร่หลายเข้ามา จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2547 จึงมีการชิงแชมป์ในสถาบันนี้ขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย มีนักมวยไทยที่ได้เป็นแชมป์ อาทิ เช่น ประมวลศักดิ์ โพธิ์สุวรรณ, ไก่ชน ส.วรพิน, สด ปูนอินทรียิม แต่มีเพียง 2 รายเท่านั้นที่ได้เป็นแชมป์โลก คือ รัตนชัย ส.วรพิน และผึ้งหลวง ส.สิงห์อยู่ นอกนั้นเป็นเพียงแชมป์ในระดับภูมิภาคเท่านั้น และในปี พ.ศ. 2548 มีรายการนักมวยไทยหลายรุ่นขึ้นชิงแชมป์โลกที่สหรัฐอเมริกา แต่ไม่มีใครประสบความสำเร็จเลย ปัจจุบัน กิจการขององค์กรมวยโลกในประเทศไทย อยู่ในการดูแลของ นายก่อเกียรติ พาณิชยารมณ.

ใหม่!!: โลกและองค์กรมวยโลก · ดูเพิ่มเติม »

ฮัลค์

ัลค์ (Hulk) หรือ ดร.โรเบิร์ต "บรูซ" แบนเนอร์ (Dr.Robert David Bruce Banners) เป็นตัวละครยอดมนุษย์ในหนังสือการ์ตูนปรากฏเป็นครั้งแรกในหนังสือการ์ตูนของมาร์เวลคอมิกส์ เรื่อง "The Incredible Hulk" ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อค.ศ. 1962ของมาร์เวลคอมิกส์ (Marvel Comics) ออกแบบโดยสแตน ลี (Stan Lee) และแจ็ค เคอร์บี้ ฮัลค์ปรากฏตัวในจักรวาลภาพยนตร์มาร์เวลในภาพยนตร์ได้แก่มนุษย์ตัวเขียวจอมพลัง, ดิ อเวนเจอร์ส, อเวนเจอร์ส: มหาศึกอัลตรอนถล่มโลก, ธอร์: ศึกอวสานเทพเจ้า, อเวนเจอร์ส: มหาสงครามล้างจักรวาล.

ใหม่!!: โลกและฮัลค์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮายาบูสะ2

ูสะ2 (Hayabusa2) เป็นโครงการสำรวจและเก็บตัวอย่างดาวเคราะห์น้อยกลับสู่โลก ดำเนินงานโดยองค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น (JAXA) ถือเป็นภารกิจต่อจากภารกิจฮายาบูสะ ซึ่งประสบความสำเร็จในการสำรวจดาวเคราะห์น้อย 25143 อิโทคาวะไปเมื่อปี..

ใหม่!!: โลกและฮายาบูสะ2 · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์เวสต์มูน (เกมชุด)

ตราสัญลักษณ์ของเกมฮาร์เวสต์มูน เป็นเกมจำลองชีวิตในฟาร์มปศุสัว์และปลูกผักได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายทั่วโลก ผลิตโดยประเทศญี่ปุ่นน โดยผู้เล่นจะต้องเป็นเจ้าของฟาร์ม.

ใหม่!!: โลกและฮาร์เวสต์มูน (เกมชุด) · ดูเพิ่มเติม »

ฮาเดส (เซนต์เซย่า)

(冥王ハーデス, Meiō Hādesu?, Meiō (เมโอ) แปลว่า "เจ้าแห่งความมืด") เทพเจ้าแห่งยมโลก เป็นเทพผู้ที่ทำสงครามกับอาธีนามาแต่ครั้งสมัยเทพนิยาย สงครามระหว่างเทพทั้งสองนี้ ถูกเรียกว่า "สงครามศักดิ์สิทธิ์" และการที่อาธีนาต้องมาจุติบนโลกในยุคนี้ ก็เพื่อทำสงครามศักดิ์สิทธิ์เป็นครั้งสุดท้ายกับฮาเดส หลังจากสงครามศักดิ์สิทธิ์ครั้งก่อนเกิดขึ้นเมื่อ 243 ปีก่อน.

ใหม่!!: โลกและฮาเดส (เซนต์เซย่า) · ดูเพิ่มเติม »

ฮาเซงาว่า ไทโซ

ซงาว่า ไทโซ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ใหม่!!: โลกและฮาเซงาว่า ไทโซ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิจิคาตะ โทชิโร่

ตะ โทชิโร่ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ใหม่!!: โลกและฮิจิคาตะ โทชิโร่ · ดูเพิ่มเติม »

ฮีเลียม

ีเลียม (Helium) เป็นธาตุเคมีที่มีสัญลักษณ์ว่า He และมีเลขอะตอมเท่ากับ 2 ฮีเลียมเป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไม่เป็นพิษ เฉื่อย มีอะตอมเดี่ยวซึ่งถูกจัดให้อยู่ในหมู่แก๊สมีตระกูลบนตารางธาตุ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของฮีเลียม มีค่าต่ำสุดกว่าบรรดาธาตุทั้งหมดในตารางธาตุ และมันจะปรากฏในอยู่รูปของแก๊สเท่านั้น ยกเว้นในสภาวะที่เย็นยิ่งยว.

ใหม่!!: โลกและฮีเลียม · ดูเพิ่มเติม »

ผลงานวีดิทัศน์ของเคที เพร์รี

ที เพร์รี นักร้องชาวอเมริกันได้ออกอัลบั้มวิดีโอหนึ่งอัลบั้ม และปรากฏตัวอยู่ในมิวสิกวิดีโอถึง 29 เพลง ในภาพยนตร์ 3 เรื่อง รายการโทรทัศน์ 11 รายการ และรายการโฆษณาทางโทรทัศน์ 12 รายการ หลังจากนำแสดงในมิวสิกวิดีโอจำนวนมากตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: โลกและผลงานวีดิทัศน์ของเคที เพร์รี · ดูเพิ่มเติม »

ผานกู่

วาดผานกู่ ผานกู่ (Pangu;; หมายถึง "แผ่นโลกโบราณ") คือสิ่งมีชีวิตชนิดแรกสุดของโลก เป็นผู้สร้างทุกสิ่งทุกอย่าง ตามความเชื่อเรื่องการสร้างโลกของจีน ลองพิจารณาดู ทฤษฎีสัมพันธภาพ บางส่วนช่างสอดคล้อง กำเนิดจักรวาลของจีนเมื่อหลายพันปีก่อน โลกเป็นเปลือกไข่ (โลกกลม) ในเปลือกไข่มีเทพเจ้าผานกู่ โลกกับฟ้าขยายด้วออกไปจากโลกอย่างช้าๆ (ฟ้า คือบรรยากาศโลก) ต่อมาเทพเจ้าผานกู่ ดึงฟ้าไม่ให้เคลื่อนจากโลก เป็นเวลา 1.8 หมื่นปี (แรงดึงดูดของโลก/แรงดึงดูดของเทพเจ้าผานกู่) เมื่อเทพเจ้าผานกู่ตายไป ส่วนต่างๆของร่างกาย น้ำ ไขสันหลัง กลายเป็นดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ ดาวนพเคราะห์ พืช ฯลฯ (ทางช้างเผือก) นั่นคือโลก และจักรวาล มีจุดกำเนิด เป็นทรงกลมคล้ายเปลือกไข่ (ตามกฎแห่งอี้จิ้ง สรรพสิ่งย่อมมีคู่ต่าง) ฟ้าเคลื่อนออก-เทพเจ้าผานกู่ดึงเข้า แข็ง(ดินสู่พื้น/น้ำลงต่ำกว่าพื้น)-อ่อน(บรรยากาศก้อนเมฆลอยสู่ฟ้า) ส่วนต่างๆของร่างกาย น้ำ ไขสันหลัง กลายเป็นดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ ดาวนพเคราะห์ พืช ฯลฯ (ทางช้างเผือก) โลกกับฟ้าขยายด้วออกไปจากโลกอย่างช้าๆ นั่นคือ ฟ้าและส่วนต่างๆของร่างกายของเทพเจ้าผานกู่ กำลังขยายตัว เป็นไปตามทฤษฎีสัมพันธภาพๆ อาจจะได้แรงบันดาลใจจากการมาเยือนจีน,ญี่ปุ่นของไอน์สไตน์ นี่คือข้อสันนิษฐาน ซึ่งอาจจริงหรือไม่จริงก็ได้.

ใหม่!!: โลกและผานกู่ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้บริหาร

ผู้บริหาร (executive) มี 3 แบบด้วยกันคือ ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับกลาง และผู้บริหารระดับล่าง.

ใหม่!!: โลกและผู้บริหาร · ดูเพิ่มเติม »

ผีชีวะ 3 สงครามสูญพันธุ์ไวรัส

ผีชีวะ 3 สงครามสูญพันธุ์ไวรัส เป็นภาพยนตร์แอคชั่นที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: โลกและผีชีวะ 3 สงครามสูญพันธุ์ไวรัส · ดูเพิ่มเติม »

ผีชีวะ 4 สงครามแตกพันธุ์ไวรัส

ผีชีวะ 4 สงครามแตกพันธุ์ไวรัส เป็นภาพยนตร์แอคชั่นที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: โลกและผีชีวะ 4 สงครามแตกพันธุ์ไวรัส · ดูเพิ่มเติม »

ผีชีวะ 5 สงครามไวรัสล้างนรก

ผีชีวะ 5 สงครามไวรัสล้างนรก เป็นภาพยนตร์แอคชั่นที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: โลกและผีชีวะ 5 สงครามไวรัสล้างนรก · ดูเพิ่มเติม »

ผีเสื้อหนอนใบกระท้อน

ผีเสื้อหนอนใบกระท้อน หรือ ผีเสื้อยักษ์ (Atlas moth) เป็นผีเสื้อที่อยู่ในวงศ์ Saturniidae จัดเป็นผีเสื้อกลางคืนชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ ระยะที่เป็นตัวหนอนกินใบกระท้อน, ฝรั่ง, ขนุน และใบดาหลา ตัวเมียวางไข่บนใบพืชอาหาร.

ใหม่!!: โลกและผีเสื้อหนอนใบกระท้อน · ดูเพิ่มเติม »

ผ่าทะลุฟ้า รักทะลุมิติ

ผ่าทะลุฟ้า รักทะลุมิติ (The Myth) เป็นละครโทรทัศน์ที่ออกอากาศในปี ค.ศ. 2010 ซึ่งมีเค้าโครงมาจากภาพยนตร์เรื่อง ดาบทะลุฟ้า ฟัดทะลุเวลา โดยมี เฉินหลง นักแสดงจากภาพยนตร์ชุดดังกล่าวเป็นโปรดิวเซอร์ และมี สแตนลีย์ ตง, ผู้กำกับภาพยนตรมาทำหน้าที่ ผู้อำนวยการสร้าง ให้กับละครเรื่องนี้ ละครเรื่องนี้ออกอากาศตอนแรกทางช่อง CCTV-8 ในจีน เมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 2010 โดยลงทุนสร้างไป 40 ล้านหยวน.

ใหม่!!: โลกและผ่าทะลุฟ้า รักทะลุมิติ · ดูเพิ่มเติม »

จรวด

รวดโซยุซ-ยู (Soyuz-U) ณ ฐานปล่อยที่ 1/5 ไบโคนูร์ ไซต์1/5 (Baikonur's Site 1/5) ในคาซัคสถาน (Kazakhstan) การปล่อยจรวดแซทเทิร์น 5 อะพอลโล 15: เวลาเริ่มปล่อย T - 30 วินาที เวลาเสร็จสิ้น T + 40 วินาที จรวด หมายถึงขีปนาวุธ, ยานอวกาศ, เครื่องบิน หรือพาหนะอื่นใดที่อาศัยแรงผลักดันของไอเสียที่มีต่อตัวจรวดในการพุ่งไปข้างหน้า โดยใช้การเผาผลาญเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์จรวด ในจรวดทุกชนิดไอเสียจะเกิดขึ้นทั้งหมดจากเชื้อเพลิงขับดันที่บรรทุกไปด้วยภายในจรวดก่อนที่จะถูกใช้งาน chapter 1 จรวดเคมีสร้างพลังงานจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงจรวด ผลจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงและตัวอ๊อกซิไดซ์ภายในห้องเผาไหม้จะทำให้เกิดก๊าซร้อนที่มีอุณหภูมิสูงมากและขยายตัวออกไปทางหัวฉีดทำให้ก๊าซเคลื่อนที่ด้วยความเร่งในระดับไฮเปอร์โซนิก ซึ่งทำให้เกิดแรงผลักมหาศาลต่อตัวจรวดตามกฎข้อที่สามของนิวตัน (แรงกิริยาเท่ากับแรงปฏิกิริยา)โดยในทางทหารและสันทนาการมีประวัติของการใช้จรวดเป็นอาวุธและเครื่องมือในช่วงเวลานั้น จรวดได้ถูกใช้สำหรับงานทางทหารและสันทนาการ ย้อนกลับไปอย่างน้อยศตวรรษที่ 13 ในประเทศจีน (China) "Rockets in Ancient Times (100 B.C. to 17th Century)" ในทางทหาร, วิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมได้ใช้จรวดเป็นอาวุธและเครื่องมือแต่ก็ยังไม่เป็นที่แพร่หลายจนกระทั่งถึงศตวรรษที่ 20, เมื่อวิทยาการที่เกี่ยวกับจรวดได้ถือกำเนิดขึ้น เป็นการเปิดประตูสู่ยุคอวกาศ,กับการที่มนุษย์กำลังจะไปเหยียบดวงจันทร์ จรวดได้ถูกใช้สำหรับทำดอกไม้ไฟและอาวุธ, เก้าอี้ดีดตัวสำหรับนักบินและพาหนะสำหรับนำส่งดาวเทียม, นักบินอวกาศ และการสำรวจดาวเคราะห์ต่าง ๆ ในขณะที่จรวดที่ไม่ค่อยมีประสิทธิภาพนั้นจะใช้สำหรับการขับเคลื่อนด้วยอัตราเร็วที่ต่ำ ๆ, นักวิทยาศาสตร์จะเปรียบเทียบหาจรวดที่มีแรงขับเคลื่อนในระบบอื่น ๆ, ที่มีน้ำหนักเบากว่าและมีประสิทธิภาพสูงกว่า, ทำให้สามารถสร้างความเร่งในการเคลื่อนที่ของจรวดได้มากขึ้น และสามารถทำให้เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วที่สูงอย่างยิ่งด้วยประสิทธิภาพที่เหมาะสม จรวดเคมีเป็นชนิดของจรวดที่พบมากที่สุดและพวกมันมักจะสร้างไอเสียโดยการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงจรวด จรวดเคมีต้องการที่เก็บพลังงานเชื้อเพลิงที่มีขนาดใหญ่โตมากในรูปแบบที่พร้อมจะปลดปล่อยตัวเองออกมาได้อย่างง่ายดาย และมีอันตรายมาก อย่างไรก็ตาม, จะต้องทำด้วยการออกแบบอย่างรอบคอบ, การทดสอบ, การก่อสร้าง, และใช้ความเสี่ยงอันตรายให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้.

ใหม่!!: โลกและจรวด · ดูเพิ่มเติม »

จอมโจรคิด

อมโจรคิด; (Kid the Phantom Thief) เป็นฉายาของตัวละครในมังงะเรื่อง จอมโจรอัจฉริยะ แต่งโดย โกโช อาโอยาม่า จอมโจรคิดเป็นที่รู้จักมากจากบทบาทในมังงะและอะนิเมะเรื่อง ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน ที่แต่งโดยผู้เขียนคนเดียวกัน จอมโจรคิดในปัจจุบันมีทั้งหมด 2 รุ่น โดยชื่อจริงของจอมโจรคิดรุ่นแรกคือ คุโรบะ โทอิจิ แต่หลังจากโทอิจิเสียชีวิตจากการถูกสังหาร บุตรชายของเขา คุโรบะ ไคโตะ ได้สืบทอดตำแหน่งจอมโจรคิดต่อเป็นรุ่นที่ 2 โดยหวังว่าจะพบเบาะแสของบุคคลที่สังหารพ่อของเขา ซึ่งจอมโจรอัฉริยะเล่ม 5 ตอน มิดไนท์โครว์ อาจจะมีเบาะแสว่า คุโรบะโทอิยังนั้นยังไม่ตาย ในปัจจุบันเมื่อกล่าวถึงจอมโจรคิด จะหมายถึงจอมโจรคิดรุ่นที่ 2 คือ คุโรบะ ไคโตะ ยกเว้นจะมีการกล่าวว่าเป็นโทอิจิโดยเฉ.

ใหม่!!: โลกและจอมโจรคิด · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น คิว ตัดเส้นตายนาทีมรณะ

อห์น คิว ตัดเส้นตายนาทีมรณะ (John Q) เป็นภาพยนตร์แอคชั่นสัญชาติอเมริกา ที่ออกฉายในปี ..

ใหม่!!: โลกและจอห์น คิว ตัดเส้นตายนาทีมรณะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวาลวิทยา

ักรวาลวิทยา (cosmology) เป็นการศึกษาเอกภพโดยรวม ซึ่งนับว่าเป็นการศึกษาถึงสิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุดและเป็นพื้นฐานที่สุดในเวลาเดียวกัน จักรวาลวิทยามุ่งเน้นที่จะศึกษาถึงองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งทั้งหลายในเอกภพ พร้อมกับพยายามที่จะอธิบายความเป็นมาของเอกภพในอดีต และทำนายความเป็นไปของเอกภพในอนาคต เอกภพเป็นอย่างไร เอกภพมีขอบเขตจำกัดหรือไม่ เอกภพเกิดขึ้นได้อย่างไร เพราะเหตุใดเอกภพจึงมีรูปร่างลักษณะอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และอนาคตข้างหน้าเอกภพจะเป็นอย่างไร ปัญหาเหล่านี้คือสิ่งที่นักจักรวาลวิทยาทั้งหลายสนใจ จักรวาลวิทยาในความหมายที่กว้างที่สุด จะหมายถึงการทำความเข้าใจเอกภพโดยอาศัยความรู้จากหลายสาขาวิชา ไม่ว่าจะเป็น วิทยาศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา หรือศิลปะ แต่โดยทั่วไปในปัจจุบัน จักรวาลวิทยาจะหมายถึงการศึกษาเอกภพโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านฟิสิกส์และดาราศาสตร์ ซึ่งถือว่าเป็นสองเครื่องมือสำคัญในการใช้ศึกษาเอกภพ เป็นที่ยอมรับกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ว่า ยิ่งเรามีความรู้ทางด้านฟิสิกส์และดาราศาสตร์มากขึ้นเท่าใด เราก็จะยิ่งมีความเข้าใจในเอกภพมากขึ้นเท่านั้น มโนทัศน์เกี่ยวกับเอกภพของมนุษย์เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ชาวอียิปต์โบราณเชื่อว่าเอกภพประกอบด้วยโลก คือ เทพเจ้าชื่อเก็บ ซึ่งถูกโอบล้อมด้วยท้องฟ้าคือ นัท ต่อมาเมื่อชาวกรีกโบราณศึกษาท้องฟ้าและการโคจรของดวงดาวมากขึ้น เขาก็สามารถสร้างแบบจำลองเอกภพที่สอดคล้องกับข้อมูลที่ได้จากการศึกษานั้น โดยให้โลกเป็นจุดศูนย์กลางของเอกภพ และมีดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ รวมทั้งดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ทั้งหลาย โคจรอยู่รายล้อม แบบจำลองโลกเป็นศูนย์กลางนี้เป็นที่ยอมรับกันมานับพันปี ก่อนที่โคเปอร์นิคัสจะเสนอแบบจำลองใหม่ที่ให้ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง ด้วยเหตุผลว่าแบบจำลองนี้ใช้การคำนวณที่ซับซ้อนน้อยกว่า (หลักการของออคแคม) จะเห็นว่าความรู้ความเข้าใจที่เพิ่มขึ้นนั้นทำให้มนุษย์มองโลกและเอกภพต่างออกไป การศึกษาเอกภพก้าวหน้าขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เพราะในศตวรรษนี้มีทฤษฎีใหม่ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของเอกภพมากขึ้น เช่น ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป และควอนตัมฟิสิกส์ รวมทั้งมีการค้นพบหลายสิ่งที่เป็นประโยชน์อย่างมากต่อวงการจักรวาลวิทยา เช่น การค้นพบว่าเอกภพกำลังขยายตัว หรือการค้นพบการแผ่รังสีคอสมิกไมโครเวฟเบื้องหลัง เป็นต้น ทั้งทฤษฎีและการค้นพบใหม่ ๆ เหล่านี้ทำให้ภาพของเอกภพในใจมนุษย์นั้นกระจ่างแจ่มชัดและใกล้เคียงความจริงยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามก็ต้องยอมรับว่าสิ่งที่มนุษย์รู้เกี่ยวกับเอกภพนั้นยังน้อยมาก และยังคงมีอีกหลายปัญหาในทางจักรวาลวิทยาที่ยังคงเป็นปริศนาอยู่ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: โลกและจักรวาลวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

จัง เหิง

ัง เหิง (Zhang Heng; ค.ศ. 78, มณฑลเหอหนาน - ค.ศ. 139, ลั่วหยาง) ปราชญ์ชาวจีน นักพรต สังฆราชศาสนาเต๋า ในราชวงศ์ฮั่นตะวันออก เป็นบุคคลผู้มีความรู้ในหลายๆ ด้านสาขา ไม่ว่าจะเป็นคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์หรือวรรณคดี.

ใหม่!!: โลกและจัง เหิง · ดูเพิ่มเติม »

จันทรุปราคา

ันทรุปราคาเต็มดวง 15 เมษายน 2557 จันทรุปราคา (ชื่ออื่น เช่น จันทรคาธ, จันทรคราส, ราหูอมจันทร์ หรือ กบกินเดือน; lunar eclipse) เป็นปรากฏการณ์ที่ดวงจันทร์ผ่านหลังโลก ซึ่งเกิดขึ้นได้เฉพาะเมื่อดวงอาทิตย์ โลกและดวงจันทร์เรียงตรงกันพอดีหรือใกล้เคียงมาก โดยมีโลกอยู่กลาง ชนิดและระยะของอุปราคาขึ้นอยู่กับตำแหน่งของดวงจันทร์เทียบกับปมวงโคจร (orbital node) จันทรุปราคาสามารถดูได้จากทุกที่ในฝั่งกลางคืนของโลก ซึ่งต่างกับสุริยุปราคาซึ่งมองเห็นได้จากพื้นที่ค่อนข้างเล็กของโลก จันทรุปราคากินเวลาเป็นชั่วโมง ขณะที่สุริยุปราคาเต็มดวงกินเวลาเพียงไม่กี่นาทีในที่หนึ่ง ๆ เนื่องจากเงาของดวงจันทร์มีขนาดเล็กกว่า นอกจากนี้ จันทรุปราคายังสามารถดูได้โดยไม่ต้องมีสิ่งป้องกันดวงตาหรือการป้องกันเป็นพิเศษ เพราะมืดกว่าจันทร์เพ็ญ.

ใหม่!!: โลกและจันทรุปราคา · ดูเพิ่มเติม »

จันทร์ดับ

จันทร์ดับ, เดือนดับ หรือ อมาวสี (New moon) เป็นปรากฏการณ์ที่ดวงจันทร์โคจรมาอยู่ในทิศทางเดียวกับดวงอาทิตย์เมื่อมองจากโลก ดวงจันทร์จึงหันด้านมืดเข้าหาโลก ทำให้ไม่เห็นดวงจันทร์ มักเกิดในวันแรม 14 ค่ำ หรือแรม 15 ค่ำ (บางครั้งเกิดในข้างขึ้นอ่อน ๆ เพราะปฏิทินจันทรคติคลาดเคลื่อนจากดวงจันทร์จริงบนท้องฟ้า) หมวดหมู่:ดาราศาสตร์.

ใหม่!!: โลกและจันทร์ดับ · ดูเพิ่มเติม »

จันทร์เพ็ญ

นอวกาศกาลิเลโลถ่ายภาพดวงจันทร์หลายภาพแล้วนำมาประกอบเป็นภาพเดียว เมื่อ วันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2535 โดยเดินทางไปเพื่อสำรวจระบบดาวพฤหัส ระหว่าง พ.ศ. 2538 - 2540 สีในภาพถูกปรับแต่งเพราะกล้อง CCD นั้นไวต่อความยาวคลื่นใกล้อินฟราเรด ที่สายตาของมนุษย์มองไม่เห็น จันทร์เพ็ญ หรือ วันเพ็ญ (Full moon) คือวันที่พระจันทร์เต็มดวง ตามปฏิทินจันทรคติไทย นับเป็นวัน "ขึ้น 15 ค่ำ" (หรือ วัน 15 ค่ำ ตามปฏิทินจันทรคติจีน) อันเป็นปรากฏการณ์ที่ดวงจันทร์อยู่ในตำแหน่งด้านตรงข้ามของโลก เมื่อพิจารณาจากตำแหน่งดวงอาทิตย์ ในโอกาสนี้ดวงจันทร์ที่เห็นจากพื้นผิวของโลกจะดูสว่างเต็มดวง เพราะรับแสงโดยตรงจากดวงอาทิตย์ อย่างไรก็ตาม ภาพดวงจันทร์ที่เราเห็นเต็มดวงนั้น เป็นเพียงครึ่งหนึ่งของพื้นผิวทั้งหมดของดวงจันทร์ที่ได้รับแสงสว่างจากดวงอาทิต.

ใหม่!!: โลกและจันทร์เพ็ญ · ดูเพิ่มเติม »

จิงเว่ย

งเว่ย คือชื่อของตัวละครในตำนานจีน เธอเป็นบุตรีของจักรพรรดิเอี๋ยนตี้ มีนามเดิมว่า "หนี่ว์วา" เธอต้องการให้พระบิดาพาไปชมพระอาทิตย์ขึ้น ณ ทะเลตะวันออกแต่พระบิดาทรงติดงานราชกิจจึงไม่สามารถตอบสนองต่อคำขอของเธอได้ เธอจึงแอบพายเรือหนีไปเที่ยวคนเดียวและถูกคลื่นพายุซัดเรืออับปาง ส่วนร่างของเธอจมลงสู่ใต้ทะเลและเกิดใหม่เป็นนกนาม "จิงเว่ย" คอยคาบหินก้อนเล็ก กิ่งไม้ และเมล็ดพืชจากเขาฟาจิวที่เธออาศัยอยู่ บินไปทิ้งยังท้องทะเลตะวันออก เพื่อหวังจะถมทะเลให้เต็ม เพื่อเป็นการแก้แค้นที่ท้องทะเลพรากชีวิตวัยเยาว์ของเธอไป ครั้งหนึ่งเธอเคยสนทนากับท้องทะเลโดยท้องทะเลกล่าวกับเธอว่าถึงแม้เธอจะทำแบบนี้ไปอีกสักล้านปีก็คงไม่สำเร็จ แต่เธอก็โต้ตอบกลับไปว่าต่อให้เธอต้องทำเช่นนี้ไปอีกร้อยล้านปี หรือจนวันที่โลกแตกสลายเธอก็จะไม่หยุดทำ เพื่อที่มิให้หนุ่มสาวอื่น ๆ ต้องมาจบชีวิตลงในทะเลอย่างที่เธอปร.

ใหม่!!: โลกและจิงเว่ย · ดูเพิ่มเติม »

จุดทิศหลัก

วงเข็มทิศแสดงจุดทิศหลักทั้งสี่ จุดทิศรองทั้งสี่ และทิศย่อย ๆ อีกแปดทิศ จุดทิศหลัก หมายถึงทิศทางทางภูมิศาสตร์ไปยังตำแหน่งต่าง ๆ อาทิ ทิศเหนือ (น., N) ทิศตะวันออก (ต.อ., E) ทิศใต้ (ต., S) และทิศตะวันตก (ต.ต., W) ซึ่งเรียกโดยย่อว่า ทิศทั้งสี่ หรือ สี่ทิศ โดยแนวทิศตะวันออก-ตะวันตก ทำมุมฉากกับแนวทิศเหนือ-ใต้ และทิศตะวันออกหมุนไปตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ และยังมี จุดทิศรอง คือทิศที่อยู่ระหว่างจุดทิศหลักเป็นแนวเฉียง 45 องศา อันได้แก่ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (ต.อ.น., NE) ทิศตะวันออกเฉียงใต้ (ต.อ.ต., SE) ทิศตะวันตกเฉียงใต้ (ต.ต.ต., SW) และทิศตะวันตกเฉียงเหนือ (ต.ต.น., NW) ซึ่งเรียกโดยรวมว่า ทิศทั้งแปด หรือ แปดทิศ นอกจากนี้ยังสามารถมีทิศย่อย ๆ ลงไปอีกก็ได้ หากผู้สังเกตการณ์บนพื้นผิวโลกยืนตรงหันหน้าไปทางทิศเหนือ ด้านหลังของเขาจะเป็นทิศใต้ ด้านขวาก็จะเป็นทิศตะวันออก และด้านซ้ายก็จะเป็นทิศตะวันตก เครื่องมือกำหนดพิกัดต่าง ๆ บนโลก มักทำงานโดยมองหาทิศเหนือเป็นหลักก่อน ถึงแม้ว่าทิศอื่นก็สามารถใช้ได้เหมือนกันถ้าหากเชื่อถือได้.

ใหม่!!: โลกและจุดทิศหลัก · ดูเพิ่มเติม »

จุดปลายระยะทางวงโคจร

ปลายระยะทางวงโคจร ในทางดาราศาสตร์ จุดปลายระยะทางวงโคจร (apsis) หมายถึง จุดในวงโคจรของวัตถุที่อยู่ใกล้ที่สุดหรือไกลที่สุดจากจุดศูนย์กลางมวลที่มันโคจรรอบ จุดที่เคลื่อนเข้าไปใกล้จุดศูนย์กลางมวลมากที่สุด เรียกว่า จุดใกล้ที่สุด (periapsis หรือ pericentre) จุดที่เคลื่อนออกไปไกลที่สุดเรียกว่า จุดไกลที่สุด (apoapsis, apocentre หรือ apapsis) เส้นตรงที่ลากจากจุดใกล้ที่สุดไปยังจุดไกลที่สุด เรียกว่า line of apsides ซึ่งก็คือแกนเอกของวงรี หรือเส้นที่ยาวที่สุดภายในวงรีนั่นเอง นอกจากนี้มีคำศัพท์เฉพาะอื่นๆ ที่ใช้เรียกจุดใกล้ที่สุดหรือจุดไกลที่สุดในการโคจรรอบเทหวัตถุบางชนิด จุดใกล้ที่สุดและจุดไกลที่สุดในการโคจรรอบโลก เรียกว่า perigee และ apogee ตามลำดับ จุดใกล้ที่สุดและจุดไกลที่สุดในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ เรียกว่า perihelion และ aphelion ตามลำดั.

ใหม่!!: โลกและจุดปลายระยะทางวงโคจร · ดูเพิ่มเติม »

จุดแดงใหญ่

แดงใหญ่ ที่เห็นจากยานวอยเอเจอร์ 1 จุดแดงใหญ่ คือพายุหมุนขนาดใหญ่บนดาวพฤหัสบดี ซึ่งปรากฏบริเวณซีกใต้ของดาว เป็นจุดสังเกตอันเด่นชัดของดาวเคราะห์นี้ ซึ่งถูกเฝ้าสังเกตมานานกว่าสามร้อยปีแล้ว พายุนี้หมุนในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา รอบการหมุนประมาณ 6 วันของโลก หรือ 14 วันของดาวพฤหัสบดี มีขนาดวัดจากตะวันตก-ตะวันออก 24-40,000 กิโลเมตร และวัดจากใต้-เหนือ 12-14,000 กิโลเมตร ขนาดของพายุนี้ใหญ่มากจนสามารถบรรจุดาวเคราะห์ที่ใหญ่ขนาดโลกได้ถึง 2-3 ดวง สีของพายุที่เกิดบนดาวพฤหัสบดีนั้น ขึ้นอยู่กับระดับความสูงของพายุที่เกิดขึ้นบนดวงดาว ถ้าระดับต่ำจะเห็นเป็นสีน้ำเงิน สูงขึ้นมาจะเป็นสีส้มเข้ม สีขาวและสูงที่สุดจะเป็นสีแดง.

ใหม่!!: โลกและจุดแดงใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

จูปิเตอร์, เนปจูน และพลูโต (การาวัจโจ)

ูปิเตอร์, เนปจูน และพลูโต (Jupiter, Neptune and Pluto) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยการาวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันยังคงอยู่ที่วิลลาลูโดวีซีในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ภาพ "จูปิเตอร์, เนปจูน และพลูโต" เขียนราว ค.ศ. 1597 เป็นภาพที่นักเขียนชีวประวัติคนหนึ่งบรรยายว่าการาวัจโจเขียนขึ้นเพื่อแสดงความประทับใจให้แก่นักวิจารณ์ผู้กล่าวหาว่าไม่มีความรู้เรื่องทัศนมิติ ตัวแบบสามตัวในภาพลวงตาของทัศนมิติ (foreshortening) หรือ "ลักษณะกินตา" ที่เห็นได้อย่างเด่นชัด และยังเป็นการท้าทายผู้วิจารณ์ว่าการาวัจโจเขียนได้แต่จากผู้เป็นแบบที่มีชีวิตเท่านั้น "จูปิเตอร์, เนปจูน และพลูโต" เป็นภาพที่เขียนให้แก่คาร์ดินัลฟรันเชสโก มารีอา เดล มอนเต ผู้เป็นผู้อุปถัมภ์ของการาวัจโจเขียน เป็นภาพที่เขียนบนเพดานที่วิลลาในสวนที่คาร์ดินัลใช้ในการการเล่นแร่แปรธาตุ การาวัจโจจึงเขียนภาพเป็นอุปมานิทัศน์ของผู้มีความเกี่ยวข้องกับศาสตร์นี้ ที่รวมทั้งพาราเซลซัส (Paracelsus) ผู้เป็นนายแพทย์ นักชีววิทยา และนักเล่นแร่แปรธาตุ; เทพจูปิเตอร์ผู้เป็นสัญลักษณ์ของกำมะถันและอากาศ; เทพเนปจูนผู้เป็นสัญลักษณ์ของปรอทและน้ำ; และเทพพลูโตผู้เป็นสัญลักษณ์ของเกลือและโลก เทพแต่ละองค์ก็มีสัตว์สัญลักษณ์เคียงข้าง จูปิเตอร์กับเหยี่ยว, เนปจูนกับม้าน้ำ และพลูโตกับสุนัขสามหัวเซอร์เบอรัส จูปิเตอร์ยื่นมือไปหมุนวงกลมที่มีดวงอาทิตย์โคจรรอบโลก - กาลิเลโอ กาลิเลอีเป็นเพื่อนของเดล มอนเตแต่ขณะนั้นยังมิได้ประกาศทฤษฎีใหม่ที่ตรงกันข้ามกับความเชื่อที่ว.

ใหม่!!: โลกและจูปิเตอร์, เนปจูน และพลูโต (การาวัจโจ) · ดูเพิ่มเติม »

จูโน (ยานอวกาศ)

นอวกาศจูโน ยานอวกาศจูโน (Juno) เป็นภารกิจเขตแดนใหม่ของนาซา ไปยังดาวพฤหัสบดี จูโนถูกปล่อยขึ้นจากสถานีกองทัพอากาศเคปคานาเวอเรล เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม ค.ศ. 2011 และจะไปถึงจุดหมายในวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 2016 โดยมีรูปแบบการโคจรอยู่ในวงโคจรขั้วโลก เพื่อศึกษาองค์ประกอบของดาวพฤหัสบดี, สนามแรงโน้มถ่วง, สนามแม่เหล็ก และแม็กนีโตสเฟียร์ขั้วโลก ศึกษาจุดกำเนิดของดาวรวมถึงค้นหาคำตอบว่าดาวพฤหัสบดีที่มีแกนหินหรือไม่ ปริมาณน้ำในชั้นบรรยากาศที่ลึกลงไป การกระจายมวลและความเร็วลมในบรรยากาศชั้นลึกที่เชื่อว่าจะมีความเร็วลมสูงสุด 618 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (384 ไมล์ต่อชั่วโมง) จูโนเป็นยานอวกาศลำที่สองที่โคจรรอบดาวพฤหัสบดีต่อจากยานอวกาศกาลิเลโอที่โคจรระหว่างปี..

ใหม่!!: โลกและจูโน (ยานอวกาศ) · ดูเพิ่มเติม »

จีเอฟเอเจ-1

ีเอฟเอเจ-1 (GFAJ ย่อมาจาก "Give Felisa a Job") เป็นสายพันธุ์ของแบคทีเรียทรงแท่งในวงศ์ Halomonadaceae แบคทีเรียเอ็กซ์ทรีมโมไฟล์ชนิดนี้อาศัยแยกตัวออกจากทะเลสาบมอนอ อันเป็นทะเลสาบน้ำเค็มจัดและมีสภาพด่าง ทางตะวันออกของรัฐแคลิฟอร์เนีย นักวิทยาศาสตร์โดยทีมวิจัย นำโดยนักชีววิทยาดาราศาสตร์ของนาซา เฟลิซา วอล์ฟ-ไซมอน ในวารสารไซแอนซ์ในปี..

ใหม่!!: โลกและจีเอฟเอเจ-1 · ดูเพิ่มเติม »

ธรณีวิทยา

The Blue Marble: ภาพนี้เป็นภาพถ่ายของโลก เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1972 ที่ถ่ายโดยแฮร์ริสสัน ชมิตต์ (Harrison Schmitt) นักธรณีวิทยาคนแรกที่ร่วมเดินทางไปกับยานอวกาศอะพอลโล 17 (Apollo 17) ที่เดินทางไปยังดวงจันทร์ ธรณีวิทยา, ธรณีศาสตร์ (Geology จากγη- (''เก-'', โลก) และ λογος (''ลอกอส'', ถ้อยคำ หรือ เหตุผล).) เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับโลก สสารต่าง ๆ ที่เป็นส่วนประกอบของโลก เช่น แร่ หิน ดินและน้ำ รวมทั้งกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ ตั้งแต่กำเนิดโลกจนถึงปัจจุบัน เป็นการศึกษาทั้งในระดับโครงสร้าง ส่วนประกอบทางกายภาพ เคมี และชีววิทยา ทำให้รู้ถึงประวัติความเป็นมา และสภาวะแวดล้อมในอดีตจนถึงปัจจุบัน ศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ทั้งภายใน และภายนอกที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นผิว วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ตลอดจนรูปแบบ และวิธีการนำเอาทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนอีกด้วย นักธรณีวิทยาศึกษาพบว่าโลกมีอายุประมาณ 4,500 ล้านปี (4.5x109 ปี) และเห็นตรงกันว่าเปลือกโลกแยกออกเป็นหลายแผ่น เรียกว่าแผ่นเปลือกโลก แต่ละแผ่นเคลื่อนที่อยู่เหนือเนื้อโลกหรือแมนเทิลที่มีสภาวะกึ่งหลอมเหลว เรียกกระบวนการนี้ว่าการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก นอกจากนี้ นักธรณีวิทยายังทำหน้าที่ระบุตำแหน่งและจัดการกับทรัพยากรธรรมชาติ เช่น แหล่งหิน แหล่งแร่ แหล่งปิโตรเลียมเช่น น้ำมันและถ่านหิน รวมทั้งโลหะอย่างเหล็ก ทองแดง และยูเรเนียม วิชาธรณีวิทยา มีความเกี่ยวข้องกับหลากหลายสาขาวิชา เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ มีการบูรณการความรู้จากหลากหลายวิชา เพื่อวิเคราะห์หาคำตอบเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นบนโลก โดยสามารถแบ่งออกเป็นหลากหลายสาขาวิชา เช่น ธรณีวิทยากายภาพ (Physical Geology) ธรณีวิทยาโครงสร้าง (Structural Geology) ธรณีวิทยาแปรสัณฐาน (Geotectonics, Tectonics) ตะกอนวิทยา (Sedimentology) ธรณีสัณฐานวิทยา (Geomorphology) ธรณีเคมี (Geochemistry) ธรณีฟิสิกส์ (Geophysics) ธรณีอุทกวิทยา (Geohydrology) บรรพชีวินวิทยา (Paleontology) เป็นต้น '''การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก''' วิชาธรณีวิทยานอกโลก ศึกษาองค์ประกอบทางธรณีวิทยาของวัตถุในระบบสุริยะ อย่างไรก็ตาม ยังมีศัพท์เฉพาะอื่น ๆ ที่ใช้เรียกธรณีวิทยานอกโลก เช่น "ศศิวิทยา" (selenology) ศึกษาธรณีวิทยาบนดวงจันทร์, areology ศึกษาธรณีวิทยาบนดาวอังคาร เป็นต้น วิชาธรณีวิทยา สามารถตอบปัญหาต่างๆ มากมาย ที่เกี่ยวข้องกับ วิวัฒนาการของโลก ดาวเคราะห์ และ จักรวาล ธรณีพิบัติภัย ภูเขาไฟ แผ่นดินไหว รอยเลื่อน สึนามิ อุทกภัย น้ำท่วม น้ำหลาก การกัดเซาะ ดินถล่ม หลุมยุบ ภูเขา แม่น้ำ ทะเล มหาสมุทร ทะเลทราย ไดโนเสาร์ ซากดึกดำบรรพ์หรือบรรพชีวินหรือฟอสซิล บั้งไฟพญานาค ไม้กลายเป็นหิน ถ่านหิน น้ำมัน ปิโตรเลียม เชื้อเพลิง แหล่งแร่ เหล็กไหล อุลกมณี โลกศาสตร.

ใหม่!!: โลกและธรณีวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ธรณีแอ่นตัว

รณีแอ่นตัว (Geosyncline) หมายถึง ภูมิภาคของโลกส่วนที่แอ่นตัวลงลึกจนเกิดเป็นที่รองรับน้ำ และสะสมสิ่งทับถมจำนวนมากจากผิวโลกได้ การสะสมในบริเวณนี้ดำเนินไปตามช่วงเวลาทางธรณีที่ยาวนานมาก พร้อม ๆ กับพื้นดินที่รองรับสิ่งทับถมทรุดต่ำลงทีละน้อย ๆ ด้วย จึงทำให้ชั้นหินที่สะสมในบริเวณนี้หนามาก นอกจากนี้ยังมักจะมีหินภูเขาไฟสะสมปะปนด้วยเสมอ หินชั้นในธรณีแอ่นตัวหลายแห่งต่อมาได้โค้งตัวเกิดเป็นภูเขาในลักษณะที่มีลอนหลายขนาดอยู่ในธรณีโค้งตัว (Geanticline) ซึ่งเป็นโค้งใหญ่ ภูเขาที่เกิดในลักษณะนี้ เช่น เทือกเขาแอปปาเลเชียน (Appalachian Mountain) ซึ่งอยู่ด้านตะวันออกของอเมริกาเหนือ 500px.

ใหม่!!: โลกและธรณีแอ่นตัว · ดูเพิ่มเติม »

ธรณีเคมี

รณีเคมี (Geochemistry) เป็นวิทยาศาสตร์ ที่ใช้เป็นเครื่องมือและหลักการทางเคมี เพื่ออธิบายกลไกที่อยู่เบื้องหลังระบบธรณีวิทยาที่สำคัญ ๆ เช่น เปลือกโลก และมหาสมุทร ในขอบเขตของธรณีเคมีขยายไปไกลกว่าของโลก, การครอบคลุมทั้งระบบสุริยะ และมีส่วนร่วมสำคัญในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการต่างๆรวมถึง การพาความร้อนของเปลือกโลกในชั้นหลอมเหลว (Mantle convection),การก่อตัวของดาวเคราะห์และต้นกำเนิดของหินแกรนิต และหินบะซอลต.

ใหม่!!: โลกและธรณีเคมี · ดูเพิ่มเติม »

ธารน้ำแข็ง

right right ธารน้ำแข็ง Baltoro ในเทือกเขาการาโกรัม, ในบอลติสตัน (Baltistan), ทางภาคเหนือของปากีสถาน ที่ความยาว 62 กิโลเมตร (39 ไมล์) มันเป็นหนึ่งในธารน้ำแข็งในเทือกเขาแอลป์ที่ยาวที่สุดในโลก ธารน้ำแข็ง (glacier) ธารน้ำแข็งเกิดจากการที่หิมะตกลงมาแล้วสะสมกันจนหนา 45-60 เมตร แล้วเกิดการเคลื่อนตัวลงมาอย่างช้า ๆ ซึ่งมักจะเกิดบริเวณที่ลาดชันหรือตามไหล่เขา การเคลื่อนตัวลงมาตามไหล่เขาอย่างช้า ๆ ทำให้เกิดการสึกกร่อนลึกลงไปเพราะความหนักของหิมะที่สะสมกันจนเป็นน้ำแข็ง ธารน้ำแข็งที่เคลื่อนตัวไปในหุบเขาจะทำให้พื้นดินที่รองรับเกิดร่องลึกและกว้างเพราะมีน้ำหนักของน้ำแข็งกดทับ ธารน้ำแข็งจะค่อย ๆ ครูดบริเวณที่รองรับจนเกิดหุบเขาตัดขวางรูปตัวยู เมื่อธารน้ำแข็งไหลไปถึงตอนล่างธารน้ำแข็งก็จะค่อย ๆ แตกออกแล้วก็จะค่อย ๆ ละลายกลายเป็นลำธาร ธารน้ำแข็งที่ถูกตัดขาดและแตกออกไหลลงทะเลเรียกว่าภูเขาน้ำแข็ง สีของธารน้ำแข็งมักจะมีสีเขียวแกมม่วง หรือ แกมน้ำเงิน รูปร่างของธารน้ำแข็งบนบกมักจะยกตัวสูงและมีความแตกต่างจากน้ำแข็งในทะเล (sea ice) ที่มีขนาดบางมากและน้ำแข็งในทะเลสาบซึ่งรูปทรงของมันจะอยู่บนพื้นผิวของแผ่นน้ำ บนโลก 99% ของเกล็ดน้ำแข็งจะอยู่ภายในแผ่นน้ำแข็งขนาดใหญ่ในบริเวณดินแดนขั้วโลก, แต่ธารน้ำแข็งอาจจะพบได้ในแถบเทือกเขาของทุก ๆ ทวีป, และในไม่กี่ละติจูดสูงของเกาะในมหาสมุทร ระหว่าง 35 องศาเหนือ และ 35 องศาใต้, ธารน้ำแข็งเกิดขึ้นเฉพาะในเทือกเขาหิมาลัย, เทือกเขาแอนดีส, ภูเขาสูงไม่กี่ลูกในแอฟริกาตะวันออก, เม็กซิโก, นิวกินี และซาร์ด คู (Zard Kuh) ในอิหร่าน.

ใหม่!!: โลกและธารน้ำแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุ

ในทางเคมี ธาตุ คือ สารบริสุทธิ์ซึ่งประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานเลขอะตอม อันเป็นจำนวนของโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุนั้น ตัวอย่างธาตุที่คุ้นเคยกัน เช่น คาร์บอน ออกซิเจน อะลูมิเนียม เหล็ก ทองแดง ทองคำ ปรอทและตะกั่ว จนถึงเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: โลกและธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 10

ตุหมู่ 10 (group 10 element)หรือ ธาตุหมู่ VIIIB คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 4 เป็นโลหะทรานซิชันซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: โลกและธาตุหมู่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 11

ตุหมู่ 11 (Group 11 element) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 4 เป็นโลหะทรานซิชันหรือเรียกกันในชื่อเดิมว่าโลหะคอยน์เอจ(coinage metals)ซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: โลกและธาตุหมู่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 12

ตุหมู่ 12 (Group 12 element) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุเป็นโลหะทรานซิชัน มี 2 ตัวเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้องคือ ปรอท และ โคเปอร์นิเซียม ซึ่งโคเปอร์นิเซียมได้จากการสังเคราะห์ขึ้นเท่านั้นไม่มีในธรรมชาติธาตุในหมู่ 12 นี้ประกอบด้ว.

ใหม่!!: โลกและธาตุหมู่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 3

'''หมู่''' '''3''' '''คาบ''' '''4''' 21Sc --> 21Sc '''5''' 39Y ธาตุหมู่ 3 (group 3 element) ธาตุเหล่านี้ทุกตัวอยู่ในหมู่ 3 เพราะว่าวงโคจรชั้นนอกของอะตอมของมันมีอิเล็กตรอน 3 ตัว สแคนเดียมอิตเทรียม และธาตุในกลุ่มแลนทาไนด์ยกเว้นโพรมีเทียมสามารถพบได้ในธรรมชาติ โพรมีเทียม แอกทิเนียม โพรแทกทิเนียม เนปทูเนียม และอะเมริเซียม ถึงลอว์เรนเซียมสังเคราะห์ขึ้นในห้องทดลองไม่พบในธรรมชาติเลย ธาตุหมู่ 3 คือ อนุกรมเคมีของธาตุเคมีของหมู่ในตารางธาตุซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: โลกและธาตุหมู่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 4

ตุหมู่ 4 (Group 4 element) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 4 ซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: โลกและธาตุหมู่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 5

ตุหมู่ 5 (group 5 element) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 5 ซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: โลกและธาตุหมู่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 6

ตุหมู่ 6 (group 6 element) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุที่เป็นโลหะทรานซิชัน ซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: โลกและธาตุหมู่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 7

ตุหมู่ 7 (Group 7 element) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 4 เป็นโลหะทรานซิชันซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: โลกและธาตุหมู่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 8

ตุหมู่ 8 (Group 8 element) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 4 เป็นโลหะทรานซิชันซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: โลกและธาตุหมู่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 9

ตุหมู่ 9 (Group 9 element) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 4 เป็นโลหะทรานซิชันซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: โลกและธาตุหมู่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติกินี

23px ธงชาติกินี สัดส่วนธง 2:3 ธงชาติกินี เริ่มใช้หลังประกาศเอกราชจากฝรั่งเศส เมื่อวันที่ สักษณะเป็นธงสามสีอย่างธงชาติฝรั่งเศส กล่าวคือ เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในแบ่งเป็น 3 แถบตามแนวตั้ง เรียงจากด้านคันธงไปยังปลายธงคือ สีแดง สีเหลือง และสีเขียว แต่ละแถบกว้างเท่ากัน ถือได้ว่าธงนี้ได้รับอิทธิพลในการออกแบบจากฝรั่งเศส ซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคมเดิมโดยตรง สีในธงนี้เป็นสีพันธมิตรแอฟริกา โดยมีที่มาจากสีของขบวนการ Rassemblement Democratique Africaine ซึ่งเป็นขบวนการเรียกร้องเอกราชของกินี ส่วนเหตุที่เรียงแถบสีตามแนวตั้ง ก็เพื่อให้ต่างจากธงชาติกานาซึ่งประกาศใช้ธงสามสีเช่นนี้ก่อนในปี พ.ศ. 2500 โดยแถบสีธงในนั้นเรียงกันตามแนวนอน ส่วนธงที่คล้ายกับธงชาติกินีที่สุดคือธงชาติมาลี ซึ่งใช้สีธงและเรียงแถบสีธงในลักษณะเดียวกัน เว้นแต่ว่าลำดับแถบสีธงนั้นจะเป็นสีเขียว สีเหลือง และสีแดง สำหรับความหมายของสีธงนั้น สีแดงหมายถึงการเสียสละของประชาชน สีเหลืองหมายถึงดวงอาทิตย์และความอุดมสมบูรณ์ของโลก และสีเขียวหมายถึงบรรดาพันธุ์พืชต่างๆ ในประเทศกินี.

ใหม่!!: โลกและธงชาติกินี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติจิบูตี

23px ธงชาติจิบูตี สัดส่วนธง 4:7 ธงชาติจิบูตี เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 4 ส่วน ยาว 7 ส่วน ภายในแบ่งครึ่งเป็นแถบสีฟ้าและสีเขียวตามแนวนอน ที่ด้านคันธงแบ่งเป็นช่องสามเหลี่ยมพื้นสีขาว ภายในมีรูปดาวห้าแฉกสีแดง 1 ดวงอยู่ตรงกลาง ธงนี้มีที่มาจากธงของสันนิบาตประชาชนแอฟริกาเพื่อเอกราช (Ligue Populaire Africaine pour l'Independance - LPAI) ซึ่งเป็นขบวนการเรียกร้องเอกราชของจิบูติ และได้รับรองเป็นธงชาติเมื่อปี พ.ศ. 2520 โดยชักขึ้นครั้งแรกในวันที่ 4 กรกฎาคม..

ใหม่!!: โลกและธงชาติจิบูตี · ดูเพิ่มเติม »

ถ้าคุณแน่? อย่าแพ้ เด็ก (ประถม)!

้าคุณแน่? อย่าแพ้ เด็ก (ประถม)! (หรือชื่อเดิม: ถ้าคุณแน่? อย่าแพ้ ป.4!) เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทเกมโชว์ ออกอากาศทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 19.15 น. - 19.45 น. (ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 เลื่อนเวลาออกอากาศเป็น 18.45 น. - 19.15 น. และตั้งแต่วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 รายการเปลี่ยนเวลาออกอากาศเป็น วันพฤหัสบดี-วันศุกร์ เวลา 18.00 น. - 18.30 น. เนื่องจาก มีรายการใหม่มาคือรายการ 50:50 ออกอากาศทุก วันจันทร์-วันพุธ เวลา 18.00 น. - 18.30 น. ผลิตโดยบริษัทเดียวกัน) ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ดำเนินรายการโดย ครูเป๊ะ-กนิษฐ์ สารสิน รายการนี้ บริษัท บีอีซี เทโร เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ผลิตเป็นภาษาไทย และออกอากาศในประเทศไทย ครั้งแรก เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2550 ตามรูปแบบของรายการเกมโชว์ชื่อ “Are You Smarter Than a 5th Grader?” (คุณฉลาดกว่าเด็กเกรด 5 จริงหรือ?) ที่ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 โดยได้รับลิขสิทธิ์จากสถานีโทรทัศน์ฟ็อกซ์ สหรัฐอเมริกาและ Mark burnett production (ปัจจุบันเป็น United Artists Media Group) โดยได้รับลิขสิทธิ์ในการผลิตรายการนี้ ในอีกหลายภาษา และหลายประเทศทั่วโลก และวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ได้เปลี่ยนชื่อรายการเป็น ถ้าคุณแน่? อย่าแพ้ เด็ก (ประถม) ! ก่อนที่จะสิ้นสุดการออกอากาศในวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2553 รวมทั้งหมด 563 ตอน โดยดาราที่มาร่วมเล่นเกมส์คนแรกคือ กรรชัย กำเนิดพลอย และปิดท้ายด้วย หนูอิมอิม ก้าวมหัศาจรรย์ อย่างไรก็ตามได้นำเทปที่ฉายแล้วมาออกอากาศซ้ำทางช่อง 3 แฟมิลี่(ดิจิตอลทีวีช่อง 13) ในวันจันทร์ - ศุกร์ 19.00 - 19.30 น. (ปัจจุบันได้ยุติออกอากาศรายการนี้แล้ว).

ใหม่!!: โลกและถ้าคุณแน่? อย่าแพ้ เด็ก (ประถม)! · ดูเพิ่มเติม »

ทรอปิกออฟแคปริคอร์น

แผนที่โลกแสดงทรอปิกออฟแคปริคอร์น ทรอปิกออฟแคปริคอร์น (Tropic of Capricorn) หรือ ทรอปิกใต้ เป็นวงกลมละติจูดที่ประกอบด้วยจุดใต้แสงอาทิตย์ (subsolar point) ในอายันใต้ (Southern solstice) ของเดือนธันวาคม ทรอปิกออฟแคปริคอร์นเป็นละติจูดใต้สุดที่ดวงอาทิตย์สามารถปรากฏอยู่เหนือหัวพอดี ส่วนละติจูดเหนือสุดที่ดวงอาทิตย์สามารถปรากฏอยู่เหนือหัวพอดีคือทรอปิกออฟแคนเซอร์ ทรอปิกออฟแคปริคอร์นเป็นหนึ่งในห้าวงกลมละติจูดหลักบนแผนที่ของโลก ละติจูดของเส้นทรอปิกออฟแคปริคอร์นคือ ใต้เส้นศูนย์สูตร (ณ วันที่) แต่เส้นนี้ค่อยๆเลื่อนไปทางเหนือด้วยอัตรา 0.47 พิลิปดา หรือ 15 เมตรต่อปีในปัจจุบัน.

ใหม่!!: โลกและทรอปิกออฟแคปริคอร์น · ดูเพิ่มเติม »

ทรานส์ฟอร์เมอร์ส 5: อัศวินรุ่นสุดท้าย

ทรานส์ฟอร์เมอร์ส 5: อัศวินรุ่นสุดท้าย (Transformers: The Last Knight) เป็นภาพยนตร์ฮอลลีวูดแอคชั่นจากปี ค.ศ. 2017 ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์ภาคห้าในภาพยนตร์ซีรีส์ชุด ทรานส์ฟอร์เมอร์ส ต่อจาก ทรานส์ฟอร์เมอร์ส: มหาวิบัติยุคสูญพันธุ์ กำกับโดย ไมเคิล.

ใหม่!!: โลกและทรานส์ฟอร์เมอร์ส 5: อัศวินรุ่นสุดท้าย · ดูเพิ่มเติม »

ทราเวียน

ทราเวียน (Travian อ่านว่า ทา-เวี่ยน) เป็นเกมออนไลน์ที่สามารถเล่นบนเบราว์เซอร์ จัดสร้างขึ้นโดยบริษัททราเวียนเกมส์ของประเทศเยอรมนี เปิดตัวครั้งแรกในวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 2004 ในสหราชอาณาจักรผู้ผลิตได้นำเหตุการณ์สมัยสงครามโบราณมาเป็นเนื้อหาภายในเกม ทราเวียนได้มีการแปลเป็นภาษาอื่นถึง 40 ภาษา,และมีผู้เล่นประมาณถึง 5 ล้านคนจาก 300 เซิร์ฟเวอร์ทั่วโลก ในปี ค.ศ. 2006 ทราเวียนได้รับรางวัล ซุปเปอร์เบราว์เซอร์เกม ในประเภทเกมขนาดใหญ่ ทราเวียนเป็นโปรแกรมใน พีเอชพี และทำงานในเบราว์เซอร์ที่ทันสมัยที่สุดและยังเป็นเกมแรกที่สามารถเล่นบนโทรศัพท์มือถือ โดยจะต้องเปิดโปรแกรม จาว.

ใหม่!!: โลกและทราเวียน · ดูเพิ่มเติม »

ทริปเปิ้ลเอ็กซ์ ทลายแผนยึดโลก

ทริปเปิ้ลเอ็กซ์ ทลายแผนยึดโลก (xXx: Return of Xander Cage) เป็นภาพยนตร์แอคชั่นสัญชาติอเมริกาที่ออกฉายในปี ค.ศ. 2017 กำกับภาพยนตร์โดย ดี เจ คารูโซ่ และเขียนบทโดย เอฟ สก๊อตต์ ฟราซิเออร์ นำแสดงโดย วิน ดีเซล, ดอนนี่ เยน, ทีปิกา ปาฑุโกณ, คริส อู๋, รูบี้ โรส, โทนี่ จา, นีน่า โดเบรฟ, โทนิ คอลเลตเต้ และ ซามูเอล แอล แจ๊คสัน ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์ภาคสามในภาพยนตร์ ทริปเปิ้ลเอ็กซ์ และเป็นภาคต่อของ ทริปเปิ้ลเอ็กซ์ พยัคฆ์ร้ายพันธุ์ดุ (2002) and ทริปเปิ้ลเอ็กซ์ 2 พยัคฆ์ร้ายพันธุ์ดุ (2005).

ใหม่!!: โลกและทริปเปิ้ลเอ็กซ์ ทลายแผนยึดโลก · ดูเพิ่มเติม »

ทรงกลมฟ้า

ในทางดาราศาสตร์และการเดินเรือ ทรงกลมฟ้า (Celestial sphere) คือ ทรงกลมจินตภาพขนาดมหึมา หมุนรอบตัวเองโดยมีแกนหมุนและศูนย์กลางร่วมกันกับโลก คนยุคโบราณเชื่อกันว่าดาวฤกษ์ทุกดวงในท้องฟ้าอยู่ห่างจากโลกด้วยระยะทางเท่าๆ กัน และเป็นแบบจำลองที่ถูกต้องของเอกภพ แต่ในความเป็นจริง วัตถุท้องฟ้าต่างๆ อยู่ห่างจากโลกมากจนไม่สามารถคะเนระยะห่างที่แท้จริงได้ด้วยตาเปล่า บอกได้เพียงทิศทางที่ปรากฏเท่านั้น อย่างไรก็ตาม แบบจำลองทรงกลมฟ้าเป็นเครื่องมือที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์สำหรับวิชาวัดตำแหน่งดาว เราสามารถระบุตำแหน่งและทิศทางการปรากฏของวัตถุท้องฟ้าต่างๆ ได้ด้วยระบบพิกัดฟ้า ทรงกลมฟ้าสามารถแบ่งออกเป็นซีกฟ้าเหนือและซีกฟ้าใต้โดยมีเส้นศูนย์สูตรคั่นกลาง ขณะที่โลกหมุนรอบแกนหมุน วัตถุในทรงกลมฟ้าจะปรากฏเคลื่อนที่หมุนไปรอบขั้วฟ้าด้วยคาบ 24 ชั่วโมง เรียกว่าการเคลื่อนที่ประจำวัน ขณะที่โลกหมุนจากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก ทรงกลมฟ้าจะหมุนจากทิศตะวันออกไปยังทิศตะวันตก เช่น ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาวต่างก็ขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตก หมวดหมู่:ดาราศาสตร์ หมวดหมู่:ระบบพิกัดทรงกลมฟ้า.

ใหม่!!: โลกและทรงกลมฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีไดนาโม

ทฤษฎีไดนาโม (Dynamo theory) เสนอกลไกซึ่งวัตถุท้องฟ้าเช่นโลก หรือดาวฤกษ์ ใช้ในการสร้างสนามแม่เหล็ก ทฤษฎีนี้อธิบายถึงกระบวนการที่เกิดจากการหมุนรอบตัวเอง การพา และการเหนี่ยวนำทางไฟฟ้าของของไหล ว่าสามารถดำรงสนามแม่เหล็กเอาไว้ในตลอดช่วงเวลาทางดาราศาสตร.

ใหม่!!: โลกและทฤษฎีไดนาโม · ดูเพิ่มเติม »

ทวีป

ทวีป หมายถึง แผ่นดินขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อกันบนพื้นโลก การแบ่งทวีปในโลกไม่มีมาตรฐานที่แน่นอน โดยทั่วไปทวีป ต้องเป็นพื้นกว้างใหญ่ ไม่รวมพื้นที่ที่จมอยู่ใต้น้ำ และมีเขตแดนเด่นชัดทางภูมิศาสตร.

ใหม่!!: โลกและทวีป · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยูเรเชีย

ทวีปยูเรเชีย เป็นมหาทวีปที่รวมเอาทวีปยุโรป กับทวีปเอเชียเข้าด้วยกัน โดยเส้นแบ่งของทวีปยุโรปกับเอเชียคือเทือกเขายูราล คำนี้ส่วนใหญ่จะใช้พูดถึงกับเรื่องในประวัติศาสตร์เมื่อครั้งโลกหลายร้อยล้านปีที่ทวีปยุโรปกับทวีปเอเชียยังติดกัน ทวีปนี้ขยายตัวมาจากมหาทวีปพันเจีย โดยมีทวีปต่างๆที่แยกตัวออกมาคือ อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ (แยกออกมาจากทวีปแอฟริกา) ทวีปยูเรเชีย เกาะอินเดีย ออสเตรเลีย และขั้วโลกใต้ โดยที่ทวีปยูเรเชียนั้น ในปัจจุบันเรามักจะเรียกว่า ทวีปยุโรป และ ทวีปเอเชีย มากกว่าที่จะเรียกว่า ยูเรเชีย สาเหตุหนึ่งเนื่องมาจากที่ การเรียกอย่างนี้จะทำให้เกิดการสับสนว่าเป็น ทวีปใดกันแน่ ทั้งวัฒนธรรม การเมือง ประเพณี ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ วิถีชีวิต อาหารการกิน ยังแตกต่างกันด้วย นอกจากเราจะยังพูดถึงโลกล้านปีแล้ว การที่ทวีปเอเชียและทวีปยุโรป ติดกันตรงพรมแดนของประเทศจีน-ประเทศรัสเซีย เป็นต้น เป็นเสมือนเกาะใหญ่ และการคมนาคม ประวัติศาสตร์ยังคล้ายคลึงกันอีกด้วย เราจึงยังจะคงเรียกอยู.

ใหม่!!: โลกและทวีปยูเรเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชีย

ทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชีย, หรือชื่ออื่น อัฟราเชียFor example, Henry Field uses both terms in.

ใหม่!!: โลกและทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอนตาร์กติกา

วเทียมของทวีปแอนตาร์กติกา แอนตาร์กติกา (Antarctica) เป็นทวีปที่อยู่ใต้สุดของโลกตั้งอยู่ในภูมิภาคแอนตาร์กติกในซีกโลกใต้และเป็นที่ตั้งขั้วโลกใต้ทางภูมิศาสตร์ เกือบทั้งหมดอยู่ในวงกลมแอนตาร์กติกและล้อมลอบด้วยมหาสมุทรใต้ มีพื้นที่ประมาณ 14,000,000 ตารางกิโลเมตร เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 5 ของโลกใหญ่กว่าทวีปออสเตรเลียถึง 2 เท่า พื้นที่ 98% ของทวีปปกคลุมด้วยน้ำแข็งหนาเฉลี่ย 1.9 กิโลเมตร ซึ่งครอบคลุมพื้นที่เกือบจะถึงเหนือสุดของคาบสมุทรแอนตาร์กติก โดยค่าเฉลี่ยแล้วแอนตาร์กติกาเป็นทวีปที่หนาวที่สุด แห้งแล้งที่สุด ลมแรงที่สุดและมีความสูงโดยเฉลี่ยมากที่สุด แอนตาร์กติกาเป็นทะเลทรายที่มีหยาดน้ำฟ้าเฉลี่ย 200 มิลลิเมตรต่อปีตามแนวชายฝั่งและพื้นที่ภายใน แม้ว่าช่วงที่หนาวสุดของปีจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย −63 °C แต่อุณหภูมิอาจต่ำถึง −89.2 °C (และอาจถึง -94.7 ° C หากวัดจากอากาศ) บางสถานที่มีคนราว 1,000 ถึง 5,000 คนอาศัยในสถานีวิจัยที่กระจายอยู่ทั่วที้งทวีปตลอดทั้งปี สิ่งมีชีวิตในแอนตาร์กติกาจะเป็นพวกสาหร่าย แบคทีเรีย เห็ดรา พืช โพรทิสต์และสัตว์บางชนิดเช่นตัวเห็บ ตัวไร นีมาโทดา เพนกวิน สัตว์ตีนครีบและหมีน้ำส่วนพืชก็จะเป็นพวกทันดรา แม้ว่ามีตำนานเล่าขานเกี่ยวกับการมีอยู่ของดินแดนใต้ตั้งแต่ยุคโบราณ แอนตาร์กติกาถูกระบุว่าเป็นดินแดนสุดท้ายบนโลกในประวัติศาสตร์ที่ถูกค้นพบเพราะไม่มีใครเคยพบเลยจนกระทั่ง..

ใหม่!!: โลกและทวีปแอนตาร์กติกา · ดูเพิ่มเติม »

ทากาสุงิ ชินสุเกะ

ทากาสุงิ ชินสุเกะ() เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซราจิ เป็นตัวละครร้ายตัวหลักของเรื่อง.

ใหม่!!: โลกและทากาสุงิ ชินสุเกะ · ดูเพิ่มเติม »

ทาคามาจิ นาโนฮะ

ทาคามาจิ นาโนฮะ (Takamachi Nanoha) เป็นตัวละครจาก สาวน้อยจอมเวทย์ นาโนฮะ และปรากฏตัวใน Triangle Heart เป็นผู้ใช้ เวทมนตร์ ระบบมิดชิลด้.

ใหม่!!: โลกและทาคามาจิ นาโนฮะ · ดูเพิ่มเติม »

ทางช้างเผือก

ทางช้างเผือก คือดาราจักรที่มีระบบสุริยะและโลกของเราอยู่ เมื่อมองบนท้องฟ้าจะปรากฏเป็นแถบขมุกขมัวคล้ายเมฆของแสงสว่างสีขาว ซึ่งเกิดจากดาวฤกษ์จำนวนมากภายในดาราจักรที่มีรูปร่างเป็นแผ่นจาน ส่วนที่สว่างที่สุดของทางช้างเผือกอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ซึ่งเป็นทิศทางไปสู่ใจกลางดาราจักร แต่เดิมนั้น นักดาราศาสตร์คิดว่าดาราจักรทางช้างเผือกมีลักษณะเป็นดาราจักรชนิดก้นหอยธรรมดา แต่หลังจากผ่านการประเมินครั้งใหม่ในปี พ.ศ. 2548 พบว่าทางช้างเผือกน่าจะเป็นดาราจักรชนิดก้นหอยมีคานเสียมากกว่า เมื่อเทียบกับเส้นศูนย์สูตรฟ้า ทางช้างเผือกขึ้นไปเหนือสุดที่กลุ่มดาวแคสซิโอเปีย และลงไปใต้สุดบริเวณกลุ่มดาวกางเขนใต้ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าระนาบศูนย์สูตรของโลก ทำมุมเอียงกับระนาบดาราจักรอยู่มาก คนในเมืองใหญ่ไม่มีโอกาสมองเห็นทางช้างเผือกเนื่องจากมลภาวะทางแสงและฝุ่นควันในตัวเมือง แถบชานเมืองและในที่ห่างไกลสามารถมองเห็นทางช้างเผือกได้ แต่บางคนอาจนึกว่าเป็นก้อนเมฆในบรรยากาศ มุมมองของทางช้างเผือกไปทางกลุ่มดาวแมงป่อง (รวมถึงศูกย์กลางดาราจักร) เห็นได้จากการปนเปื้อในนเขตที่ไม่ใช่แสง (ทะเลทรายหินสีดำ, รัฐเนวาด้า, สหรัฐอเมริกา) เมื่อสังเกตเห็นท้องฟ้ายามค่ำคืนคำว่า "ทางช้างเผือก" ถูกจำกัดกลุ่มหมอกของแสงสีขาวบาง 30 องศา ลอยกว้างข้ามท้องฟ้า (แม้ว่าทั้งหมดของดาวที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าเป็นส่วนหนึ่งของดาราจักรทางช้างเผือก) แสงในแถบนี้มาจากดาวที่สลายและวัสดุอื่น ๆ ที่อยู่ภายในระนาบทางช้างเผือก บริเวณมืดภายในวง เช่น ระแหงดี และถุงถ่าน ที่สอดคล้องกับบริเวณที่มีแสงจากดาวไกลถูกบล็อกโดย ฝุ่นละอองระหว่างดวงดาว ดาราจักรทางช้างเผือก มีความสว่างพื้นผิวที่ค่อนข้างต่ำ การมองเห็นของมันสามารถลดน้อยลงโดยแสงพื้นหลังเช่น มลพิษทางแสงหรือแสงเล็ดลอดจากดวงจันทร์ เราสามารถมองเห็นได้อย่างง่ายดายเมื่อมีขนาด จำกัดคือ 5.1 หรือมากกว่า ในขณะที่แสดงการจัดการที่ดีของรายละเอียดที่ 6.1 ซึ่งทำให้ทางช้างเผือกมองเห็นได้ยากจากใด ๆ สถานที่ในเมืองหรือชานเมืองสดใสสว่าง แต่ที่โดดเด่นมากเมื่อมองจากพื้นที่ชนบทเมื่อดวงจันทร์อยู่ใต้เส้นขอบฟ้า ดาราจักรทางช้างเผือกผ่านส่วนในประมาณ 30 กลุ่มดาว ศูนย์กลางของดาราจักรที่อยู่ในทิศทางของกลุ่มดาวคนยิงธนู มันอยู่ที่นี่ว่าทางช้างเผือกเป็นที่สว่างที่สุด จากราศีธนู กลุ่มหมอกแสงสีขาวที่ปรากฏขึ้นจะผ่านไปทางทิศตะวันตกในทางช้างเผือกไปยังไม่ใช้ศูนย์กลางของทางช้างเผือกในกลุ่มดาวสารถี กลุ่มดาวแล้วยังไปทางทิศตะวันตกส่วนที่เหลือของทางรอบท้องฟ้ากลับไปกลุ่มดาวคนยิงธนู ข้อเท็จจริงที่ว่ากลุ่มแบ่งออกท้องฟ้ายามค่ำคืนเป็นสองซีกโลกเท่ากับแสดงให้เห็นว่าระบบสุริยะตั้งอยู่ใกล้กับระนาบทางช้างเผือก ระนาบทางช้างเผือก มีแนวโน้มเอียงประมาณ 60 องศาไปสุริยุปราคา (ระนาบของวงโคจรของโลก) เมื่อเทียบกับเส้นศูนย์สูตร ที่ผ่านเท่าทิศเหนือของกลุ่มดาวค้างคาว และเท่าทิศใต้ของกลุ่มดาวกางเขนใต้ แสดงให้เห็นความโน้มเอียงสูงของระนาบเส้นศูนย์สูตรของโลกและระนาบสัมพันธ์สุริยุปราคากับระนาบทางช้างเผือก ขั้วโลกเหนือทางช้างเผือกที่ตั้งอยู่ที่ขวาขึ้น 12h 49m ลดลง +27.4° (B1950) อยู่ใกล้กับ Beta Comae Berenices และขั้วโลกทางช้างเผือกทิศใต้ที่อยู่ใกล้กับดาวอัลฟา ช่างแกะสลัก เนื่องจากการแนวโน้มเอียงสูง ขึ้นอยู่กับเวลากลางคืนและปี ส่วนโค้งของทางช้างเผือกจะปรากฏค่อนข้างต่ำหรือค่อนข้างสูงในท้องฟ้า สำหรับผู้สังเกตการณ์จากประมาณ 65 องศาเหนือถึง 65 องศาใต้บนพื้นผิวโลกทางช้างเผือกผ่านโดยตรงข้างบนวันละสองครั้ง ตาปลา โมเสกในดาราจักรทางช้างเผือก โค้งที่เอียงสูงทั่วท้องฟ้ายามค่ำคืนที่ถ่ายจากตำแหน่งที่ตั้งท้องฟ้ามืดใน ชิลี.

ใหม่!!: โลกและทางช้างเผือก · ดูเพิ่มเติม »

ทิศตะวันออก

วงกลมแสดงทิศ (compass rose) ระบุทิศหลักและทิศรองไว้มากมาย โดยทิศตะวันออก (E) อยู่ทางขวา ทิศตะวันออก หรือ ทิศบูรพา เป็นหนึ่งในทิศหลักทั้งสี่ อยู่ตรงข้ามกับทิศตะวันตก ขวามือของทิศเหนือ และซ้ายมือของทิศใต้ โดยมากจะกำหนดให้ทิศตะวันออกอยู่ด้านขวามือของแผนที่ทางภูมิศาสตร์ แต่อยู่ทางซ้ายมือของแผนที่ดาว ทิศตะวันออกเป็นทิศที่โลกหมุนไป ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกพอดีในวันวิษุวัต.

ใหม่!!: โลกและทิศตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ทิศใต้

วงกลมแสดงทิศ (compass rose) ระบุทิศหลักและทิศรองไว้มากมาย โดยทิศใต้ (S) อยู่ด้านล่าง ทิศใต้ หรือ ทิศทักษิณ เป็นหนึ่งในทิศหลักทั้งสี่ อยู่ตรงข้ามกับทิศเหนือ ขวามือของทิศตะวันออก และซ้ายมือของทิศตะวันตก โดยมากทิศใต้จะกำหนดให้อยู่ด้านล่างของแผนที่ อาจเขียนย่อด้วยอักษร ต หรืออักษร S ทิศใต้จริงเป็นทิศทางที่แกนหมุนของโลกชี้ไป ตรงกับขั้วโลกใต้ซึ่งอยู่ในทวีปแอนตาร์กติกา หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์ หมวดหมู่:การกำหนดทิศทาง.

ใหม่!!: โลกและทิศใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ทูตสวรรค์

''บทเพลงของทูตสวรรค์'' โดย บูเกอโร, 1825–1905. ทูตสวรรค์ หรือ เทวทูต (angel) คือชาวสวรรค์จำพวกหนึ่งตามความเชื่อทางศาสนาและในเทพปกรณัมต่าง ๆ โดยมีหน้าที่เป็นผู้แจ้งข่าวสารจากสวรรค์มายังโลก บ้างก็ทำหน้าที่อารักขา แนะนำ หรือมอบหมายภารกิจแก่มนุษย์ คำนี้แปลมาจากคำว่า ἄγγελος ในภาษากรีก ซึ่งตรงกับคำว่า מלאך (มลัก) ในคัมภีร์ฮีบรู (ทานัค) และเป็นคำเดียวกับคำว่า ملائكة (มลาอิกะฮ์) ที่ปรากฏในคัมภีร์อัลกุรอาน ศัพท์เดิมในภาษาฮีบรูและภาษากรีกนี้แปลว่า ผู้แจ้งข่าว ซึ่งอาจเป็นมนุษย์ (ทั้งผู้เผยพระวจนะ ปุโรหิต และคนสามัญ) หรืออมนุษย์ก็ได้แล้วแต่บริบทในคัมภีร์ ที่เป็นอมนุษย์นั้นเป็นได้ทั้ง ผู้แจ้งข่าวจากพระเจ้า ลักษณะเฉพาะด้านของพระเจ้า (เช่น กฎจักรวาล) หรือแม้แต่พระเป็นเจ้าเองที่ทรงเป็นผู้แจ้งข่าว (theophanic angel) คำว่า "ทูตสวรรค์" ยังถูกใช้หมายถึงวิญญาณในศาสนาอื่น ๆ ด้วย นอกจากการแจ้งข่าวแล้ว ทูตสวรรค์ยังมีหน้าที่ปกป้องและนำทางมนุษย์ รวมถึงปฏิบัติหน้าที่ตามที่พระเจ้ามอบหมายให้สำเร็จลุล่วง เทววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับทูตสวรรค์เรียกว่า “วิทยาการทูตสวรรค์” (angelology) ในงานศิลปะทูตสวรรค์มักปรากฏภาพเป็นชายมีปีก ซึ่งอาจมาจากหนังสือวิวรณ์เรื่องสัตว์สี่ตัว (4:6-8) และคัมภีร์ฮีบรูเรื่องเครูบและเสราฟิม แต่คัมภีร์ไบเบิลระบุว่าเครูบและเสราฟิมมีปีก ไม่เคยกล่าวถึงทูตสวรรค์ว่ามีปีกด้ว.

ใหม่!!: โลกและทูตสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ที-34 เมนเตอร์

right ที-34 เมนเตอร์ (T-34 Mentor) เป็นเครื่องบินฝึกขั้นต้นแบบหนึ่งใช้งานในกองทัพอากาศและกองทัพเรือสหรัฐฯ ในช่วงปี ค.ศ. 1953 กองทัพอากาศสหรัฐ กำหนดสัญลักษณ์เป็น ที-34 เอ ส่วนกองทัพเรือกำหนดสัญลักษณ์เป็น ที-34 บี เครื่องบิน ที-34 ได้ถูกใช้กันแพร่หลายทั่วโลกและใช้งานกว่า 10 ประเทศ เช่น อาร์เจนตินา ชิลี โคลัมเบีย เอกวาดอร์ อินโดนีเซีย เอลซัลวาดอร์ เม็กซิโก ฟิลิปปินส์ สเปน ตุรกี เวเนซุเอลา และ ญี่ปุ่น ในปี ค.ศ. 1973 ได้มีการพัฒนา ที-34 รุ่นใหม่ โดยใช้เครื่องยนต์เทอร์โบใบพัด กำหนดสัญลักษณ์เป็น ที-34ซี และได้ตั้งชื่อว่า เทอร์ไบน์ เมนเตอร์ และมีการพัฒนารุ่นต่อมาคือ ที-34ซี-1 เทอร์ไบน์ เมนเตอร์ ติดอาวุธขน.

ใหม่!!: โลกและที-34 เมนเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ที-38 ทาลอน

ที-38 ทาลอน (T-38 Talon) เป็นเครื่องบินเจ๊ตฝึกหัดความเร็วเหนือเสียงแบบแรกของโลก เริ่มบินเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 เมษายน ค.ศ. 1959 และเริ่มประจำการในกองทัพอากาศสหรัฐฯ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1961 เครื่องบินฝึกหัด ที-38 เป็นต้นกำเนิดเครื่องบินยุทธวิธี เอฟ-5.

ใหม่!!: โลกและที-38 ทาลอน · ดูเพิ่มเติม »

ทีวี 24

ทีวี 24 (TV 24) เป็นสถานีโทรทัศน์ข่าวภายใต้ดำเนินการบริหารงานของ บริษัท เดโมเครซี นิวส์ เน็ตเวิร์ก จำกัด (Democracy News Network Co.,Ltd.) จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ด้วยทุนประเดิมมูลค่า 5 ล้านบาท และมีจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ อดีตปลัดกระทรวงแรงงาน และอดีตประธานกรรมการ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) และวิมล จันทร์จิราวุฒิกุล อดีตคณะทำงานเชิงวิชาการและนโยบาย พรรคพลังประชาชน ร่วมเป็นกรรมการบริษัท เพื่อรองรับการออกอากาศ ช่องโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ร่วมกับพรรคเพื่อไทย เป็นการทดแทน กรณีมีคำสั่งระงับการออกอากาศ สถานีประชาชน โดยช่วงก่อนเหตุสลายการชุมนุมคนเสื้อแดง เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 รัฐบาลอภิสิทธิ์สั่งระงับการออกอากาศสถานีประชาชน หลังจากนั้น บริษัทฯ ก็เตรียมการมาระยะหนึ่ง เมื่อถึงเดือนมิถุนายน จึงสามารถเริ่มทดลองแพร่ภาพ ระหว่างเวลา 19:00-20:00 น. และออกอากาศเต็มรูปแบบ ตลอด 24 ชั่วโมง ตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม ปีเดียวกัน โดยใช้ชื่อว่า เอเชียอัปเดต (Asia Update) และใช้ห้องส่งกับสำนักงานแห่งเดิม ของสถานีประชาชน ซึ่งตั้งอยู่บนชั้น 5 ของอาคารอิมพีเรียลเวิลด์ลาดพร้าว ที่ยังคงใช้มาถึงยุคทีวี 24 ในปัจจุบัน ทั้งนี้ ผังรายการแบ่งเป็น ช่วงเวลา 16:00-21:30 น. จะนำเสนอรายการเป็นครั้งแรก (first-run) หลังจากนั้นจะเป็นรายการที่ออกอากาศซ้ำ (re-run) ต่อมาตั้งแต่วันที่ 6 สิงหาคม เอเชียอัปเดตจึงเริ่มแพร่ภาพรายการสดเป็นครั้งแรกคือ ข่าวค่ำดีเอ็นเอ็น โดยมีพัชยา มหัทธโนธรรม และนพวรรณ ดุจศรีวัชร์ เป็นผู้ประกาศคู่แรก จนกระทั่งมีการประกาศใช้กฎอัยการศึก เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 โดยมีคำสั่งตามมา ให้เอเชียอัปเดตระงับการออกอากาศ และอีกสองวันถัดมา (22 พฤษภาคม) มีการก่อรัฐประหารอย่างต่อเนื่อง ซึ่งคณะรัฐประหารออกคำสั่งฉบับที่ 15 ให้ช่องโทรทัศน์ระงับการออกอากาศ รวมถึงเอเชียอัปเดตด้วย ต่อมาคณะรัฐประหาร จึงประกาศให้ผู้ประกอบการ มาขอใบอนุญาตดำเนินงานต่อไปได้ บจก.เดโมเครซีนิวส์เน็ตเวิร์ก จึงเปลี่ยนชื่อช่องใหม่เป็น โอเพ่นทีวี (Open TV), อมรินทร์ทีวี.

ใหม่!!: โลกและทีวี 24 · ดูเพิ่มเติม »

ที่ตั้งของโลกในเอกภพ

ที่ตั้งของโลกในเอกภพ (Earth's location in the Universe) นั้นตั้งแต่ที่มนุษย์ได้เริ่มมีการสร้างและสมมุติตำแหน่งที่ตั้งของโลกขึ้นเมื่อประมาณ 400 ปีที่แล้วโดยเริ่มจากการสังเกตการณ์ด้วยกล้องส่องทางไกลและซึ่งเริ่มมีความแพร่หลายมากในหลายศตวรรษที่ผ่านมา ในอดีตนานมาแล้วนั้นมนุษย์เชื่อว่าโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลซึ่งประกอบด้วยดาวเคราะห์, ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ที่หมุนรอบโลกและในศตวรรษที่ 17 ก็มีแนวคิดว่าดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางซึ่งเป็นผลมาจากการสังเกตของนักดาราศาสตร์นามว่าวิลเลียม เฮอร์เชลและยังได้อธิบายต่ออีกว่าดวงอาทิตย์และระบบสุริยะอยู่ในกาแลคซีที่เป็นรูปแผ่นดิสก์ขนาดใหญ่ และในศตวรรษที่ 20 ได้มีการขอสังเกตจากการสำรวจดาราจักรชนิดก้นหอยจึงเผยให้เห็นว่ากาแลคซี่ทางช้างเผือกของเราเป็นหนึ่งในพันล้านกาแลคซีในจักรวาลที่กำลังขยายตัวจึงได้มีการจัดกลุ่มกระจุกดาราจักรขึ้นในตอนปลายของศตวรรษที่ 20 จากนั้นก็มีการกำหนดเอกภพที่สังเกตได้ซึ้งเกิดจากกลุ่มกระจุกดาราจักรและช่องว่างขนาดใหญ่ (Cosmic voids) รวมกันเป็นใยเอกภพ (Galaxy filament) ซึ่งกลุ่มกระจุกดาราจักร, ช่องว่างและใยเอกภพนั้นเป็นโครงสร้างใหญ่ ๆ ที่สามารถพบและสังเกตได้ในเอกภพ โครงสร้างเหล่ามีขนาดใหญ่มากอาจมีขนาดมากกว่า 1000 เมกะพาร์เซก และเอกภพนั้นจะรวมจนกลายเป็นเนื้อเดียวกันซึ่งหมายความว่าทุกส่วนของเอกภพนั้นมีค่าเฉลี่ยความหนาแน่นขององค์ประกอบและโครงสร้างเดียวกัน และในปัจจุบันนี้มนุษย์ก็ยังไม่รู้ว่าจุดสิ้นสุดหรือขอบของเอกภพนั้นอยู่ที่ใดเนื่องจากโลกเป็นส่วนเล็ก ๆ ในเอกภพจึงไม่สามารถหาตำแหน่งขอบของเอกภพได้จากโลก.

ใหม่!!: โลกและที่ตั้งของโลกในเอกภพ · ดูเพิ่มเติม »

ท้องฟ้า

ท้องฟ้าและกลุ่มเมฆ ท้องฟ้าตอนพระอาทิตย์ตก ท้องฟ้าเป็นส่วนหนึ่งของชั้นบรรยากาศหรืออวกาศที่สามารถมองเห็นได้จากพื้นผิวโลก นก แมลง เครื่องบิน และ ว่าว ถูกจัดว่าบินอยู่ในท้องฟ้า มีหลายเหตุผลที่ทำให้ท้องฟ้านั้นยากที่จะจำกัดความ ในเวลากลางวันท้องฟ้าปรากฏเป็นพื้นสีฟ้าเนื่องจากอากาศทำให้เกิดการกระเจิงของแสงอาทิตย์ ไม่ใช่เพราะว่ามีวัตถุสีฟ้าเหนือพื้นโลก เพราะเหตุนี้จึงเป็นการยากที่จะนิยามว่าท้องฟ้าคือสิ่งใด ท้องฟ้านั้นบางครั้งถูกจำกัดความว่าเป็นเขตของชั้นบรรยากาศโลกที่มีแก๊สแน่นหนา ในเวลากลางคืน ท้องฟ้านั้นปรากฏเป็นพื้นสีดำสนิท หรือบางครั้งเรียงรายไปด้วยดวงดาว แต่ถ้าเรากล่าวว่าทั้งหมดที่เราเห็นนั้นคือท้องฟ้า ก็จะกลายเป็นว่าท้องฟ้าคือจักรวาลซึ่งผิดจากความหมายแรกเมื่อเราเห็นตอนกลางวัน ในเวลากลางวัน เราสามารถมองเห็นดวงอาทิตย์ได้ต่อเมื่อไม่มีเมฆบดบัง ในเวลากลางคืน (และบางครั้งในเวลากลางวัน) เราสามารถมองเห็นดวงจันทร์ ดาวเคราะห์ และ ดวงดาว ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เราสามารถเห็นได้ในท้องฟ้าคือเมฆ รุ้งกินน้ำ และ ออโรรา สายฟ้าและ หยาดน้ำฟ้านั้น สามารถเห็นได้ในระหว่างเวลาที่มีพายุ บ่อยครั้งเราสามารถมองเห็นหมอกควันในเวลากลางวันและรัศมีของแสงในเวลากลางคืนเนื่องจากมลพิษที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ ในสายวิชาดาราศาสตร์ ท้องฟ้าถูกเรียกว่าทรงกลมฟ้า นั่นคือทรงกลมจินตภาพขนาดมหึมา หมุนรอบตัวเองโดยมีแกนหมุนและศูนย์กลางร่วมกันกับโลก ทรงกลมฟ้านั้นถูกแบ่งเป็นสัดส่วนเรียกว่ากลุ่มดาว ดูท้องฟ้าของดาวเคราะห์อื่น สำหรับความหมายของท้องฟ้าในดาวเคราะห์ต่าง ๆ และดวงจันทร์ในระบบสุร.

ใหม่!!: โลกและท้องฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการกลับสู่เยรูซาเลม

วนการกลับสู่เยรูซาเลม (Back To Jerusalem movement) เป็นเฮาส์เชิร์ดของจีนที่มีวิสัยทัศน์ในการ เผยแพร่ศาสนาสู่ทั้งพุทธ,ฮินดู และประเทศมุสลิมในโลก.

ใหม่!!: โลกและขบวนการกลับสู่เยรูซาเลม · ดูเพิ่มเติม »

ขั้วโลกใต้

ั้วโลกใต้ (South Pole) เป็นจุดที่อยู่ทางทิศใต้สุดของโลก.

ใหม่!!: โลกและขั้วโลกใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ขั้วโลกเหนือ

ั้วโลกเหนือภูมิศาสตร์ ขั้วโลกเหนือ (North Pole) เป็นจุดที่ถือว่าอยู่ทางเหนือที่สุดของโลก.

ใหม่!!: โลกและขั้วโลกเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ข้อความอาเรซีโบ

้อความอาเรซีโบจัดเรียงเป็น 73 แถว คูณ 23 คอลัมน์ มีการเน้นสี แสดงให้เห็นข้อความแต่ละส่วน ข้อความอาเรซีโบ (Arecibo message) เป็นข้อความคลื่นวิทยุที่ส่งไปในอวกาศ เล็งไปที่กระจุกดาวดาวเอ็ม 13 ซึ่งอยู่ห่างจากโลกเป็นระยะทาง 25,000 ปีแสง เนื่องในพิธีฉลองการปรับปรุงหอดูดาวอาเรซีโบเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 สัญญาณวิทยุที่ส่งขึ้นไปนี้ มีความยาว 1,679 บิต (เลขฐานสองจำนวน 1,679 ตัว) เป็นเวลา 169 วินาที ข้อความที่ส่งขึ้นไปมีความยาว 1,679 บิต เนื่องจากเป็นตัวเลข semiprime สามารถแยกตัวประกอบได้เป็นจำนวนเฉพาะสองจำนวนคือ 23 กับ 73 ซึ่งสามารถจัดเรียงเป็นภาพได้เพียงสองแบบคือ ขนาด 23 แถว คูณ 73 คอลัมน์ หรือ 73 แถว คูณ 23 คอลัมน์ (ดังรูป) ข้อความอาเรซีโบออกแบบโดย ดร. แฟรงก์ เดรก แห่งมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ ร่วมกับคาร์ล เซแกน สามารถแบ่งได้เป็น 7 ส่วน (ในภาพมีการเพิ่มสีเพื่อให้แยกแยะได้สะดวก) คือ.

ใหม่!!: โลกและข้อความอาเรซีโบ · ดูเพิ่มเติม »

ดวงอาทิตย์

วงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ ณ ใจกลางระบบสุริยะ เป็นพลาสมาร้อนทรงเกือบกลมสมบูรณ์ โดยมีการเคลื่อนท่พาซึ่งผลิตสนามแม่เหล็กผ่านกระบวนการไดนาโม ปัจจุบันเป็นแหล่งพลังงานสำคัญที่สุดสำหรับสิ่งมีชีวิตบนโลก มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.39 ล้านกิโลเมตร ใหญ่กว่าโลก 109 เท่า และมีมวลประมาณ 330,000 เท่าของโลก คิดเป็นประมาณ 99.86% ของมวลทั้งหมดของระบบสุริยะ มวลประมาณสามในสี่ของดวงอาทิตย์เป็นไฮโดรเจน ส่วนที่เหลือเป็นฮีเลียมเป็นหลัก โดยมีปริมาณธาตุหนักกว่าเล็กน้อย รวมทั้งออกซิเจน คาร์บอน นีออนและเหล็ก ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ลำดับหลักระดับจี (G2V) ตามการจัดประเภทดาวฤกษ์ ซึ่งเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า "ดาวแคระเหลือง" ดวงอาทิตย์เกิดเมื่อประมาณ 4.6 พันล้านปีก่อนจากการยุบทางความโน้มถ่วงของสสารภายในบริเวณเมฆโมเลกุลขนาดใหญ่ สสารนี้ส่วนใหญ่รวมอยู่ที่ใจกลาง ส่วนที่เหลือแบนลงเป็นแผ่นโคจรซึ่งกลายเป็นระบบสุริยะ มวลใจกลางร้อนและหนาแน่นมากจนเริ่มเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น ณ แก่น ซึ่งเชื่อว่าเป็นกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ส่วนใหญ่ ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณครึ่งอายุขัย ไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนักเป็นเวลากว่า 4 พันล้านปีมาแล้วและจะค่อนข้างเสถียรไปอีก 5 พันล้านปี หลังฟิวชันไฮโดรเจนในแก่นของมันลดลงถึงจุดที่ไม่อยู่ในดุลยภาพอุทกสถิตต่อไป แก่นของดวงอาทิตย์จะมีความหนาแน่นและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นส่วนชั้นนอกของดวงอาทิตย์จะขยายออกจนสุดท้ายเป็นดาวยักษ์แดง มีการคำนวณว่าดวงอาทิตย์จะใหญ่พอกลืนวงโคจรปัจจุบันของดาวพุทธและดาวศุกร์ และทำให้โลกอาศัยอยู่ไม่ได้ มนุษย์ทราบความสำคัญของดวงอาทิตย์ที่มีโลกมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และบางวัฒนธรรมถือดวงอาทิตย์เป็นเทวดา การหมุนของโลกและวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลกเป็นรากฐานของปฏิทินสุริยคติ ซึ่งเป็นปฏิทินที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน.

ใหม่!!: โลกและดวงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ดวงจันทร์

วงจันทร์เป็นวัตถุดาราศาสตร์ที่โคจรรอบโลก เป็นดาวบริวารถาวรดวงเดียวของโลก เป็นดาวบริวารใหญ่ที่สุดอันดับที่ 5 ในระบบสุริยะ และเป็นดาวบริวารขนาดใหญ่สุดเมื่อเทียบกับกขนาดของดาวเคราะห์ที่โคจร ดวงจันทร์เป็นดาวบริวารที่มีความหนาแน่นที่สุดเป็นอันดับที่ 2 รองจากไอโอของดาวพฤหัสบดี ซึ่งบางส่วนไม่ทราบความหนาแน่น คาดว่าดวงจันทร์ก่อกำเนิดประมาณ 4.51 พันล้านปีก่อน ไม่นานหลังจากโลก คำอธิบายที่ได้รับการยอมรับกว้างขวางที่สุดคือดวงจันทร์ก่อกำเนิดจากเศษที่เหลือจากการชนขนาดยักษ์ระหว่างโลกกับเทห์ขนาดประมาณดาวอังคารชื่อเธียอา ดวงจันทร์หมุนรอบโลกแบบประสานเวลา จะหันด้านเดียวเข้าหาโลกเสมอคือด้านใกล้ที่มีลักษณะเป็นทะเลภูเขาไฟมืด ๆ ซึ่งเติมที่ว่างระหว่างที่สูงเปลือกโบราณสว่างและหลุมอุกกาบาตที่เห็นได้ชัดเจน เมื่อสังเกตจากโลก เป็นเทห์ฟ้าที่เห็นได้เป็นประจำสว่างที่สุดอันดับสองในท้องฟ้าของโลกรองจากดวงอาทิตย์ พื้นผิวแท้จริงแล้วมืด แม้เทียบกับท้องฟ้าราตรีแล้วจะดูสว่างมาก โดยมีการสะท้อนสูงกว่าแอสฟอลต์เสื่อมเล็กน้อย อิทธิพลความโน้มถ่วงของดวงจันทร์ทำให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร และทำให้หนึ่งวันยาวขึ้นเล็กน้อย มีระยะห่างจากโลกเฉลี่ยนับจากศูนย์กลางถึงศูนย์กลางประมาณ 384,403 กิโลเมตร เทียบเท่ากับ 30 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของโลก จุดศูนย์กลางมวลร่วมของระบบตั้งอยู่ที่ตำแหน่ง 1700 กิโลเมตรใต้ผิวโลก หรือประมาณ 1 ใน 4 ของรัศมีของโลก ดวงจันทร์โคจรรอบโลกในเวลาประมาณ 27.3 วันตัวเลขอย่างละเอียดคือ คาบโคจรแท้จริงเฉลี่ยของดวงจันทร์ (sideral orbit) คือ 27.321661 วัน (27 วัน 7 ชั่วโมง 43 นาที 11.5วินาที) และคาบโคจรเฉลี่ยแบบทรอปิคัล (tropical orbit) อยู่ที่ 27.321582 วัน (27 วัน 7 ชั่วโมง 43 นาที 4.7 วินาที) (Explanatory Supplement to the Astronomical Ephemeris, 1961, at p.107).

ใหม่!!: โลกและดวงจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดับเบิลยูเอเอสพี-12บี

ับเบิลยูเอเอสพี-12บี (WASP-12b) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวฤกษ์ดับเบิลยูเอเอสพี-12 ค้นพบโดย SuperWASP การขนส่งการสำรวจดาวเคราะห์ การค้นพบที่มีการประกาศไว้เมื่อวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 2008 ดาวเคราะห์ที่ใช้เวลาเพียงไม่เกินต่อวันเพื่อโคจรรอบดาวฤกษ์นี้ในทางตรงกันข้ามกับ 365 วันโลกไปยังวงโคจรของดวงอาทิต.

ใหม่!!: โลกและดับเบิลยูเอเอสพี-12บี · ดูเพิ่มเติม »

ดั๊บเบิ้ล เอ (1991)

ริษัท แอ๊ดวานซ์ อะโกร จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษและกระดาษพิมพ์เขียนของประเทศไทย ซึ่งจดทะเบียนเป็นบริษัทมหาชนตั้งแต่ปี 2537 และเริ่มดำเนินการผลิตเยื่อและกระดาษได้ในปี 2539 กำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นของผู้ผลิตแห่งนี้ ทำให้ประเทศไทยมีปริมาณการผลิตเพียงพอต่อปริมาณความต้องการของผู้บริโภคในประเทศ และทำให้มีกำลังการผลิตส่วนเกิน ทำให้อุตสาหกรรมกระดาษของประเทศไทยสามารถส่งออกสร้างรายได้ให้กับประเทศ และช่วยลดปริมาณการนำเข้ากระดาษจากต่างประเทศได้มากขึ้น โดยแอ๊ดวานซ์ อะโกร เป็นผู้ผลิตเยื่อและกระดาษ ที่มีการจำหน่ายทั้งตลาดในประเทศไทยและส่งออกไปจำหน่ายยังต่างประเทศแทบทุกภูมิภาคทั่วโลก.

ใหม่!!: โลกและดั๊บเบิ้ล เอ (1991) · ดูเพิ่มเติม »

ดาราศาสตร์

ราจักรทางช้างเผือก ดาราศาสตร์ คือวิชาวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาวัตถุท้องฟ้า (อาทิ ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดาวหาง และดาราจักร) รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากนอกชั้นบรรยากาศของโลก โดยศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ลักษณะทางกายภาพ ทางเคมี ทางอุตุนิยมวิทยา และการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้า ตลอดจนถึงการกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพ ดาราศาสตร์เป็นหนึ่งในสาขาของวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด นักดาราศาสตร์ในวัฒนธรรมโบราณสังเกตการณ์ดวงดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน และวัตถุทางดาราศาสตร์หลายอย่างก็ได้ถูกค้นพบเรื่อยมาตามยุคสมัย อย่างไรก็ตาม กล้องโทรทรรศน์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่จำเป็นก่อนที่จะมีการพัฒนามาเป็นวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ตั้งแต่อดีตกาล ดาราศาสตร์ประกอบไปด้วยสาขาที่หลากหลายเช่น การวัดตำแหน่งดาว การเดินเรือดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ การสร้างปฏิทิน และรวมทั้งโหราศาสตร์ แต่ดาราศาสตร์ทุกวันนี้ถูกจัดว่ามีความหมายเหมือนกับฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ดาราศาสตร์ได้แบ่งออกเป็นสองสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์จะให้ความสำคัญไปที่การเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้ความรู้ทางกายภาพเบื้องต้นเป็นหลัก ส่วนดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีให้ความสำคัญไปที่การพัฒนาคอมพิวเตอร์หรือแบบจำลองเชิงวิเคราะห์ เพื่ออธิบายวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทั้งสองสาขานี้เป็นองค์ประกอบซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีใช้อธิบายผลจากการสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ใช้ในการรับรองผลจากทางทฤษฎี การค้นพบสิ่งต่าง ๆ ในเรื่องของดาราศาสตร์ที่เผยแพร่โดยนักดาราศาสตร์สมัครเล่นนั้นมีความสำคัญมาก และดาราศาสตร์ก็เป็นหนึ่งในวิทยาศาสตร์จำนวนน้อยสาขาที่นักดาราศาสตร์สมัครเล่นยังคงมีบทบาท โดยเฉพาะการค้นพบหรือการสังเกตการณ์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว ไม่ควรสับสนระหว่างดาราศาสตร์โบราณกับโหราศาสตร์ ซึ่งเป็นความเชื่อที่นำเอาเหตุการณ์และพฤติกรรมของมนุษย์ไปเกี่ยวโยงกับตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า แม้ว่าทั้งดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เกิดมาจากจุดร่วมเดียวกัน และมีส่วนหนึ่งของวิธีการศึกษาที่เหมือนกัน เช่นการบันทึกตำแหน่งดาว (ephemeris) แต่ทั้งสองอย่างก็แตกต่างกัน ในปี ค.ศ. 2009 นี้เป็นการครบรอบ 400 ปีของการพิสูจน์แนวคิดเรื่องดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล ของ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส อันเป็นการพลิกคติและโค่นความเชื่อเก่าแก่เรื่องโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลของอริสโตเติลที่มีมาเนิ่นนาน โดยการใช้กล้องโทรทรรศน์สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ของกาลิเลโอซึ่งช่วยยืนยันแนวคิดของโคเปอร์นิคัส องค์การสหประชาชาติจึงได้ประกาศให้ปีนี้เป็นปีดาราศาสตร์สากล มีเป้าหมายเพื่อให้สาธารณชนได้มีส่วนร่วมและทำความเข้าใจกับดาราศาสตร์มากยิ่งขึ้น.

ใหม่!!: โลกและดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาราจักร

ราจักร '''NGC 4414''' ซึ่งเป็นดาราจักรชนิดก้นหอย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 56,000 ปีแสง และอยู่ห่างจากโลกประมาณ 60 ล้านปีแสง ดาราจักร หรือ กาแล็กซี (galaxy) เป็นกลุ่มของดาวฤกษ์นับล้านดวง กับสสารระหว่างดาวอันประกอบด้วยแก๊ส ฝุ่น และสสารมืด รวมอยู่ด้วยกันด้วยแรงโน้มถ่วง คำนี้มีที่มาจากภาษากรีกว่า galaxias หมายถึง "น้ำนม" ซึ่งสื่อโดยตรงถึงดาราจักรทางช้างเผือก (Milky Way) ดาราจักรโดยทั่วไปมีขนาดน้อยใหญ่ต่างกัน นับแต่ดาราจักรแคระที่มีดาวฤกษ์ประมาณสิบล้านดวง ไปจนถึงดาราจักรขนาดยักษ์ที่มีดาวฤกษ์นับถึงล้านล้านดวง.

ใหม่!!: โลกและดาราจักร · ดูเพิ่มเติม »

ดาวบริวาร

วบริวาร (Natural satellite) คือ วัตถุตามธรรมชาติที่โคจรรอบดาวเคราะห์ ระบบสุริยะของเรามีดาวบริวารบริวารอยู่มากกว่า 140 ดวง โดยปกติดาวเคราะห์แก๊สที่มีขนาดใหญ่ น้ำหนักมาก จะมีดาวบริวารจำนวนมาก ดาวพุธและดาวศุกร์ไม่มีดาวบริวารแม้แต่ดวงเดียว โลกมี 1 ดวง คือดวงจันทร์ ดาวอังคารมีดาวบริวารขนาดเล็ก 2 ดวง.

ใหม่!!: โลกและดาวบริวาร · ดูเพิ่มเติม »

ดาวบริวารของดาวยูเรนัส

อเบอรอน ดาวยูเรนัส เป็นดาวเคราะห์แก๊สขนาดยักษ์ในระบบสุริยะ มีดาวบริวารที่รู้จักแล้ว 27 ดวง โดยทั้งหมดถูกตั้งชื่อตามตัวละครในผลงานการประพันธ์ของวิลเลียม เชกสเปียร์ และอเล็กซานเดอร์ โปป โดยใน ค.ศ. 1787 ดาวบริวารสองดวงแรกถูกค้นพบโดยวิลเลียม เฮอร์เชล ได้แก่ ทิทาเนียและโอเบอรอน ส่วนดาวบริวารทรงกลมอื่น ๆ ถูกค้นพบโดยวิลเลียม ลาสเซลล์ ในปี ค.ศ. 1851 (ได้แก่ แอเรียลและอัมเบรียล) และในปี ค.ศ. 1948 โดยเจอราร์ด ไคเปอร์ (มิแรนดา) ดาวบริวารที่เหลือถูกค้นพบหลังจากปี ค.ศ. 1985 โดยภารกิจของวอยเอจเจอร์ 2 และด้วยความช่วยเหลือของกล้องโทรทรรศน์บนโลกที่ทันสมัย ดาวบริวารของดาวยูเรนัสถูกแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มดาวบริวารรอบในสิบสามดวง (thirteen inner moons), กลุ่มดาวบริวารขนาดใหญ่ห้าดวง (five major moons) และกลุ่มดาวบริวารทรงแปลกเก้าดวง (nine irregular moons) โดยกลุ่มดาวบริวารรอบในสิบสามดวงจะกระจัดกระจายอยู่ภายในบริเวณวงแหวนของดาวยูเรนัส กลุ่มดาวบริวารขนาดใหญ่ห้าดวงเป็นดาวบริวารที่มีขนาดใหญ่และเป็นทรงกลม ในนั้น 4 ดวงเป็นดาวบริวารที่ยังมีกระบวนการภายใน มีภูเขาไฟ และการเปลี่ยนแปลงบนเปลือกดาวอยู่ ดาวบริวารที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในกลุ่มคือ ไททาเนีย มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1,578 กม.

ใหม่!!: โลกและดาวบริวารของดาวยูเรนัส · ดูเพิ่มเติม »

ดาวพฤหัสบดี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โลกและดาวพฤหัสบดี · ดูเพิ่มเติม »

ดาวพลูโต

วพลูโต (Pluto; ดัชนีดาวเคราะห์น้อย: 134340 พลูโต) เป็นดาวเคราะห์แคระในแถบไคเปอร์ วงแหวนของวัตถุพ้นดาวเนปจูน โดยเป็นวัตถุแถบไคเปอร์ชิ้นแรกที่ถูกค้นพบ มันมีขนาดใหญ่ที่สุดและมีมวลมากที่สุดเป็นอันดับสองในบรรดาดาวเคราะห์แคระที่รู้จักในระบบสุริยะ และยังเป็นวัตถุที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 9 และมวลมากเป็นอันดับที่ 10 ในระบบสุริยะที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ดาวพลูโตเป็นวัตถุแถบไคเปอร์ที่ใหญ่ที่สุดโดยปริมาตร แต่มีมวลน้อยกว่าอีริส ซึ่งเป็นวัตถุในแถบหินกระจาย ดาวพลูโตมีลักษณะเหมือนกับวัตถุอื่น ๆ ในบริเวณเดียวกัน กล่าวคือ ประกอบไปด้วยหินและน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ มีมวลและปริมาตรประมาณ 1 ใน 6 และ 1 ใน 3 ของดวงจันทร์ตามลำดับ วงโคจรของดาวพลูโตมีความเยื้องศูนย์กลางมาก อยู่ที่ 30 ถึง 49 หน่วยดาราศาสตร์ (4.4 – 7.4 พันล้านกิโลเมตร) จากดวงอาทิตย์ หมายความว่าเมื่อดาวพลูโตอยู่ในตำแหน่งที่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด มันจะอยู่ใกล้กว่าวงโคจรของดาวเนปจูนเสียอีก แต่เนื่องด้วยการสั่นพ้องของวงโคจร ทำให้ดาวเคราะห์ทั้งสองดวงไม่สามารถโคจรมาชนกันได้ ในปี..

ใหม่!!: โลกและดาวพลูโต · ดูเพิ่มเติม »

ดาวพุธ

วพุธเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และเป็นดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดในระบบสุริยะ ใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์ 87.969 วัน ดาวพุธมักปรากฏใกล้ หรืออยู่ภายใต้แสงจ้าของดวงอาทิตย์ทำให้สังเกตเห็นได้ยาก ดาวพุธไม่มีดาวบริวาร ยานอวกาศเพียงลำเดียวที่เคยสำรวจดาวพุธในระยะใกล้คือยานมาริเนอร์ 10เมื่อปี พ.ศ. 2517-2518 (ค.ศ. 1974-1975) และสามารถทำแผนที่พื้นผิวดาวพุธได้เพียง 40-45% เท่านั้น ดาวพุธมีสภาพพื้นผิวขรุขระเนื่องจากการพุ่งชนของอุกกาบาต ไม่มีดวงจันทร์เป็นบริวารและไม่มีแรงโน้มถ่วงมากพอที่จะสร้างชั้นบรรยากาศ ดาวพุธมีแกนกลางเป็นเหล็กขนาดใหญ่ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของสนามแม่เหล็กโลกล้อมรอบดาวพุธไว้ ชื่อละตินของดาวพุธ (Mercury) มาจากคำเต็มว่า Mercurius เทพนำสารของพระเจ้า สัญลักษณ์แทนดาวพุธ คือ เป็นรูปคทาของเทพเจ้าเมอคิวรี ก่อนศตวรรษที่ 5 ดาวพุธมีสองชื่อ คือ เฮอร์เมส เมื่อปรากฏในเวลาหัวค่ำ และอพอลโล เมื่อปรากฏในเวลาเช้ามืด เชื่อว่าพีทาโกรัสเป็นคนแรกที่ระบุว่าทั้งสองเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวกัน.

ใหม่!!: โลกและดาวพุธ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวยูเรนัส

ซอร์วิลเลียม เฮอร์เชล ภาพจากยานวอยเอเจอร์ 2 แสดง ดาวยูเรนัส วงแหวน และดวงจันทร์บริวาร ดาวยูเรนัส (หรือ มฤตยู) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 7 ในระบบสุริยะ จัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3.

ใหม่!!: โลกและดาวยูเรนัส · ดูเพิ่มเติม »

ดาวฤกษ์

นก่อตัวของดาวฤกษ์ในดาราจักรเมฆแมเจลแลนใหญ่ ภาพจาก NASA/ESA ดาวฤกษ์ คือวัตถุท้องฟ้าที่เป็นก้อนพลาสมาสว่างขนาดใหญ่ที่คงอยู่ได้ด้วยแรงโน้มถ่วง ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด คือ ดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานหลักของโลก เราสามารถมองเห็นดาวฤกษ์อื่น ๆ ได้บนท้องฟ้ายามราตรี หากไม่มีแสงจากดวงอาทิตย์บดบัง ในประวัติศาสตร์ ดาวฤกษ์ที่โดดเด่นที่สุดบนทรงกลมท้องฟ้าจะถูกจัดเข้าด้วยกันเป็นกลุ่มดาว และดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดจะได้รับการตั้งชื่อโดยเฉพาะ นักดาราศาสตร์ได้จัดทำบัญชีรายชื่อดาวฤกษ์เพิ่มเติมขึ้นมากมาย เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการตั้งชื่อดาวฤกษ์ ตลอดอายุขัยส่วนใหญ่ของดาวฤกษ์ มันจะเปล่งแสงได้เนื่องจากปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ฟิวชั่นที่แกนของดาว ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงานจากภายในของดาว จากนั้นจึงแผ่รังสีออกไปสู่อวกาศ ธาตุเคมีเกือบทั้งหมดซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและหนักกว่าฮีเลียมมีกำเนิดมาจากดาวฤกษ์ทั้งสิ้น โดยอาจเกิดจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของดาวฤกษ์ระหว่างที่ดาวยังมีชีวิตอยู่ หรือเกิดจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของซูเปอร์โนวาหลังจากที่ดาวฤกษ์เกิดการระเบิดหลังสิ้นอายุขัย นักดาราศาสตร์สามารถระบุขนาดของมวล อายุ ส่วนประกอบทางเคมี และคุณสมบัติของดาวฤกษ์อีกหลายประการได้จากการสังเกตสเปกตรัม ความสว่าง และการเคลื่อนที่ในอวกาศ มวลรวมของดาวฤกษ์เป็นตัวกำหนดหลักในลำดับวิวัฒนาการและชะตากรรมในบั้นปลายของดาว ส่วนคุณสมบัติอื่นของดาวฤกษ์ เช่น เส้นผ่านศูนย์กลาง การหมุน การเคลื่อนที่ และอุณหภูมิ ถูกกำหนดจากประวัติวิวัฒนาการของมัน แผนภาพคู่ลำดับระหว่างอุณหภูมิกับความสว่างของดาวฤกษ์จำนวนมาก ที่รู้จักกันในชื่อ ไดอะแกรมของแฮร์ทสชปรุง-รัสเซลล์ (H-R ไดอะแกรม) ช่วยทำให้สามารถระบุอายุและรูปแบบวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ได้ ดาวฤกษ์ถือกำเนิดขึ้นจากเมฆโมเลกุลที่ยุบตัวโดยมีไฮโดรเจนเป็นส่วนประกอบหลัก รวมไปถึงฮีเลียม และธาตุอื่นที่หนักกว่าอีกจำนวนหนึ่ง เมื่อแก่นของดาวฤกษ์มีความหนาแน่นมากเพียงพอ ไฮโดรเจนบางส่วนจะถูกเปลี่ยนเป็นฮีเลียมผ่านกระบวนการนิวเคลียร์ฟิวชั่นอย่างต่อเนื่อง ส่วนภายในที่เหลือของดาวฤกษ์จะนำพลังงานออกจากแก่นผ่านทางกระบวนการแผ่รังสีและการพาความร้อนประกอบกัน ความดันภายในของดาวฤกษ์ป้องกันมิให้มันยุบตัวต่อไปจากแรงโน้มถ่วงของมันเอง เมื่อเชื้อเพลิงไฮโดรเจนที่แก่นของดาวหมด ดาวฤกษ์ที่มีมวลอย่างน้อย 0.4 เท่าของดวงอาทิตย์ จะพองตัวออกจนกลายเป็นดาวยักษ์แดง ซึ่งในบางกรณี ดาวเหล่านี้จะหลอมธาตุที่หนักกว่าที่แก่นหรือในเปลือกรอบแก่นของดาว จากนั้น ดาวยักษ์แดงจะวิวัฒนาการไปสู่รูปแบบเสื่อม มีการรีไซเคิลบางส่วนของสสารไปสู่สสารระหว่างดาว สสารเหล่านี้จะก่อให้เกิดดาวฤกษ์รุ่นใหม่ซึ่งมีอัตราส่วนของธาตุหนักที่สูงกว่า ระบบดาวคู่และระบบดาวหลายดวงประกอบด้วยดาวฤกษ์สองดวงหรือมากกว่านั้นซึ่งยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงโน้มถ่วง และส่วนใหญ่มักจะโคจรรอบกันในวงโคจรที่เสถียร เมื่อดาวฤกษ์ในระบบดาวดังกล่าวสองดวงมีวงโคจรใกล้กันมากเกินไป ปฏิกิริยาแรงโน้มถ่วงระหว่างดาวฤกษ์อาจส่งผลกระทบใหญ่หลวงต่อวิวัฒนาการของพวกมันได้ ดาวฤกษ์สามารถรวมตัวกันเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในโครงสร้างขนาดใหญ่ที่ยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงโน้มถ่วง เช่น กระจุกดาว หรือ ดาราจักร ได้.

ใหม่!!: โลกและดาวฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวล้อมเดือน

ดาวล้อมเดือน (conjunction) เป็นคำที่ใช้ในดาราศาสตร์ทรงกลมและโหราศาสตร์ ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เทห์ฟากฟ้าปรากฏขึ้นใกล้กับเทห์ฟากฟ้าอีกดวงหนึ่ง เมื่อมองจากสถานที่บางแห่ง (ซึ่งโดยปกติแล้วจะยึดโลกเป็นหลัก) สัญลักษณ์ของดาวล้อมเดือนในทางดาราศาสตร์และโหราศาสตร์ คือ ☌ (ในยูนิโค้ด x260c) และที่เขียนด้วยมือ: 20px ปรากฏการณ์ดาวล้อมเดือนของดาวพุธและดาวศุกร์ ซึ่งเรียงเป็นแนวเหนือดวงจันทร์ หมวดหมู่:มาตรดาราศาสตร์.

ใหม่!!: โลกและดาวล้อมเดือน · ดูเพิ่มเติม »

ดาวศุกร์

วศุกร์ (Venus) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 2 ดาวศุกร์มีเส้นผ่านศูนย์กลางเป็น 3 เท่าของดวงจันทร์ และ มีขนาดใหญ่กว่าดาวพุธและดาวอังคาร 2 เท่าตัว ชื่อละตินของดาวศุกร์ (Venus) มาจากเทพีแห่งความรักของโรมัน ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์หิน มีขนาดใกล้เคียงกับโลก บางครั้งเรียกว่า "น้องสาว" ของโลก แม้ว่าวงโคจรของดาวเคราะห์ทุกดวงจะเป็นวงรี วงโคจรของดาวศุกร์จัดว่าเกือบเป็นวงกลม มีความเยื้องศูนย์กลาง (ความรี) น้อยที่สุด สำหรับวัตถุในธรรมชาติ ดาวศุกร์เป็นวัตถุท้องฟ้าที่สว่างที่สุดเป็นลำดับที่ 3 รองจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ เนื่องจากดาวศุกร์มีวงโคจรใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก จึงมีมุมห่างจากดวงอาทิตย์ไม่เกิน 47.8° มองเห็นได้เฉพาะในเวลาเช้ามืดหรือหัวค่ำเท่านั้น ขณะปรากฏในท้องฟ้าเวลาหัวค่ำทางทิศตะวันตก เรียกว่า "ดาวประจำเมือง" และเมื่อปรากฏในท้องฟ้าเวลาเช้ามืดทางทิศตะวันออก เรียกว่า "ดาวประกายพรึก" หรือ "ดาวรุ่ง" ชาวบาบิโลนโบราณรู้จักดาวศุกร์มาตั้งแต่ราว 1,600 ปีก่อนคริสตกาล แต่เชื่อว่าด้วยความสว่างสุกใสของดาวศุกร์ น่าจะเป็นที่รู้จักมาก่อนหน้านั้นนานแล้วนับตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ สัญลักษณ์แทนดาวศุกร์ คือ ♀.

ใหม่!!: โลกและดาวศุกร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์

วศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ พ.ศ. 2547ภาพดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ เช้าวันที่ 6 มิถุนายน 2012 ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ (Transit of Venus) เป็นปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ ที่เกิดขึ้นเมื่อดาวศุกร์เคลื่อนที่ผ่านแนวเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ คนบนโลกจะเห็นดาวศุกร์เป็นดวงกลมดำขนาดเล็กเคลื่อนที่ผ่านดวงอาทิตย์ การผ่านหน้าคล้ายกับสุริยุปราคาที่เกิดจากดวงจันทร์บดบังดวงอาทิตย์ ต่างกันตรงที่ดาวศุกร์อยู่ห่างจากโลกมากกว่าดวงจันทร์ (แม้ว่าจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า) เราจึงมองเห็นดาวศุกร์มีขนาดเล็กมาก ในอดีตนักดาราศาสตร์ใช้ปรากฏการณ์นี้ในการวัดระยะทางระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์โดยอาศัยการเกิดแพรัลแลกซ์ เจเรไมอาห์ ฮอร์รอกส์ นักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษเป็นคนแรกที่ได้คำนวณและสังเกตเห็นการเคลื่อนตัวในวงโคจรของดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ดังกล่าวเมื่อเวลาตั้งแต่ 15.15 น. จนดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2182 ดวงศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ครั้งต่อไปมีให้เห็นได้ทั่วประเทศไทยในตอนเช้าวันที่ 6 มิถุนายน 2555.

ใหม่!!: โลกและดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวหาง

ดาวหางเฮล-บอปป์ ดาวหางเวสต์ ดาวหาง คือ วัตถุชนิดหนึ่งในระบบสุริยะที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ มีส่วนที่ระเหิดเป็นแก๊สเมื่อเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดชั้นฝุ่นและแก๊สที่ฝ้ามัวล้อมรอบ และทอดเหยียดออกไปภายนอกจนดูเหมือนหาง ซึ่งเป็นปรากฏการณ์จากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ไปบนนิวเคลียสของดาวหาง นิวเคลียสหรือใจกลางดาวหางเป็น "ก้อนหิมะสกปรก" ประกอบด้วยน้ำแข็ง คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน แอมโมเนีย และมีฝุ่นกับหินแข็งปะปนอยู่ด้วยกัน มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ไม่กี่กิโลเมตรไปจนถึงหลายสิบกิโลเมตร คาบการโคจรของดาวหางมีความยาวนานแตกต่างกันได้หลายแบบ ตั้งแต่คาบโคจรเพียงไม่กี่ปี คาบโคจร 50-100 ปี จนถึงหลายร้อยหรือหลายพันปี เชื่อว่าดาวหางบางดวงเคยผ่านเข้ามาในใจกลางระบบสุริยะเพียงครั้งเดียว แล้วเหวี่ยงตัวเองออกไปสู่อวกาศระหว่างดาว ดาวหางที่มีคาบการโคจรสั้นนั้นเชื่อว่าแต่เดิมเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในแถบไคเปอร์ที่อยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ส่วนดาวหางที่มีคาบการโคจรยาวอาจมาจากแหล่งอื่น ๆ ที่ไกลจากดวงอาทิตย์ของเรามาก เช่นในกลุ่มเมฆออร์ตซึ่งประกอบด้วยเศษซากที่หลงเหลืออยู่จากการบีบอัดตัวของเนบิวลา ดาวหางเหล่านี้ได้รับแรงโน้มถ่วงรบกวนจากดาวเคราะห์รอบนอก (กรณีของวัตถุในแถบไคเปอร์) จากดวงดาวอื่นใกล้เคียง (กรณีของวัตถุในกลุ่มเมฆออร์ต) หรือจากการชนกัน ทำให้มันเคลื่อนเข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์น้อยมีกำเนิดจากกระบวนการที่ต่างไปจากนี้ อย่างไรก็ดี ดาวหางที่มีอายุเก่าแก่มากจนกระทั่งส่วนที่สามารถระเหิดเป็นแก๊สได้สูญสลายไปจนหมดก็อาจมีสภาพคล้ายคลึงกับดาวเคราะห์น้อยก็ได้ เชื่อว่าดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกหลายดวงเคยเป็นดาวหางมาก่อน นับถึงเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: โลกและดาวหาง · ดูเพิ่มเติม »

ดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9

วหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 โดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 ดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 (Shoemaker-Levy 9 หรือ SL9; ชื่ออย่างเป็นทางการ D/1993 F2) เป็นดาวหางที่พุ่งเข้าชนดาวพฤหัสบดีในปี พ.ศ. 2537 ซึ่งทำให้สามารถสังเกตการชนระหว่างวัตถุในระบบสุริยะได้โดยตรงเป็นครั้งแรก (ไม่นับการชนที่เกี่ยวกับโลก) เหตุการณ์นี้ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง มีการเผยแพร่ออกไปทางสื่อต่าง ๆ และนักดาราศาสตร์ทั่วโลกก็มีโอกาสติดตามสังเกตการชนครั้งนี้อย่างใกล้ชิด นอกจากนี้เหตุการณ์ดังกล่าวยังแสดงให้เห็นถึงสภาพบรรยากาศของดาวพฤหัสบดี รวมไปถึงบทบาทของดาวพฤหัสบดีที่คอยกวาดวัตถุในอวกาศที่อยู่ด้านในของระบบสุริยะ แคโรลิน ชูเมกเกอร์ ยูจีน ชูเมกเกอร์ และเดวิด เลวี เป็นนักดาราศาสตร์ที่ค้นพบดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 เมื่อคืนวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2536 โดยอาศัยกล้องโทรทรรศน์ขนาด 0.4 เมตร ณ หอดูดาวเมาต์พาโลมาร์ในรัฐแคลิฟอร์เนีย เป็นดาวหางดวงแรกที่พบขณะโคจรรอบดาวเคราะห์ ไม่ได้โคจรรอบดวงอาทิตย์Bruton D.,, คำถาม 2.4 ชิ้นส่วนของดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 ประกอบด้วยดาวหางจำนวน 21 ชิ้น เคลื่อนที่ไล่ตามกันเหมือนขบวนรถไฟ มีตั้งแต่ขนาดเล็กไปจนถึงเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 กิโลเมตร ซึ่งนักดาราศาสตร์เชื่อว่าแรงโน้มถ่วงของดาวพฤหัสบดีได้ฉีกดาวหางแตกออกเป็นชิ้น ๆ ระหว่างการโคจรเข้าใกล้กันเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2535 จากนั้นชิ้นส่วนต่าง ๆ ของดาวหางได้พุ่งเข้าชนดาวพฤหัสบดีตรงด้านซีกใต้โดยเกิดขึ้นระหว่างวันที่ 16 กรกฎาคม ถึง 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 ด้วยอัตราเร็วประมาณ 60 กิโลเมตร/วินาที เกิดการระเบิดเทียบเท่ากับระเบิดทีเอ็นที 6 ล้านตัน หรือเทียบเท่าระเบิดปรมาณูที่ถล่มฮิโรชิมา 100 ล้านลูก แรงระเบิดมีรัศมีกระจายไปถึง 8,000 กิโลเมตร ทำให้เกิดฝุ่นดาวหางปกคลุมสูงขึ้นมาเหนือเมฆในชั้นบรรยากาศโจเวียนถึง 3,000 กว่ากิโลเมตร เกิดรอยคล้ำบนชั้นบรรยากาศของดาวพฤหัสบดี เห็นได้ชัดเจนต่อเนื่องกันนานเป็นเวลาหลายเดือนหลังจากนั้น.

ใหม่!!: โลกและดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 · ดูเพิ่มเติม »

ดาวหางบีลา

วหางบีลา เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1846 หลังจากแตกเป็นสองส่วนไม่นาน ดาวหางบีลา (Comet Biela) หรือชื่ออย่างเป็นทางการตามระบบการตั้งชื่อดาวหางคือ 3D/Biela เป็นดาวหางแบบมีคาบโคจรซึ่งค้นพบโดย วิลเลห์ม ฟอน บีลา ในปี..

ใหม่!!: โลกและดาวหางบีลา · ดูเพิ่มเติม »

ดาวอีริส

136199 อีริส (Eris) หรือ 2003 UB313 เป็นดาวเคราะห์แคระหนึ่งในวัตถุพ้นดาวเนปจูน (Trans-Neptunian Object - TNO) เป็นดาวเคราะห์แคระดวงใหญ่ เป็นลำดับที่ 2 ในระบบสุริยะที่ถูกค้นพบในปัจจุบัน มีขนาดเล็กกว่าดาวพลูโตเล็กน้อย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1445 กิโลเมตร(ขนาดดาวพลูโต 1473 กิโลเมตร) มีดวงจันทร์บริวาร 1 ดวง ชื่อ ดิสโนเมีย (Dysnomia) อีริสถูกค้นพบโดย ไมเคิล อี. บราวน์และคณะ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 2005 จากภาพที่ถ่ายไว้เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 2003 ด้วยกล้องโทรทรรศน์ของหอดูดาวพาโลมาร์ รัฐแคลิฟอร์เนีย คณะผู้ค้นพบได้เสนอให้ตั้งชื่อดาวที่พบใหม่นี้ว่า ซีนา (Xena) ตามชื่อของละครโทรทัศน์ Xena: Warrior Princess โดยตัวอักษร X หมายถึง ดาวเคราะห์ X ที่เปอร์ซิวัล โลเวลล์ เคยเสนอไว้ และให้ดวงจันทร์บริวารของมันใช้ชื่อว่า แกเบรียลล์ (Gabrielle) แต่ไม่ได้มีการประกาศใช้ชื่อนี้อย่างเป็นทางการ ภายหลังการค้นพบ คณะผู้ค้นพบและนาซาได้ประกาศว่าอีริสเป็น ดาวเคราะห์ดวงที่ 10 แต่จากการประชุมสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล ที่กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ได้ข้อสรุปว่าอีริสไม่จัดเป็นดาวเคราะห์ แต่เป็นดาวเคราะห์แคระ ชื่อ อีริส มาจากชื่อของเทพเจ้าแห่งความวุ่นวาย ผู้วางอุบายโดยใช้แอปเปิลทองคำ เพื่อทำให้เฮรา อาเทนา และอะโฟรไดต์ ซึ่งเป็นสามเทวีพรหมจรรย์ในบรรดาเทพแห่งโอลิมปัสแตกคอกัน เพราะว่าไม่ได้เชิญนางมางานเลี้ยงของเทพ ส่วน ดิสโนเมีย คือชื่อธิดาของอีริส ไฟล์:Animation showing movement of 2003 UB313.gif|ภาพถ่าย 3 ภาพในระยะเวลา 3 ชั่วโมงที่ ไมเคิล อี.

ใหม่!!: โลกและดาวอีริส · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเสาร์

วเสาร์ (Saturn) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 6 จากดวงอาทิตย์ ถัดจากดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์เป็นดาวแก๊สยักษ์ที่มีรัศมีเฉลี่ยมากกว่าโลกประมาณเก้าเท่า แม้ว่าจะมีความหนาแน่นเป็นหนึ่งในแปดของโลก แต่มวลของมันมีมากกว่าโลกถึง 95 เท่า ดาวเสาร์ตั้งชื่อตามเทพโรมันแห่งการเกษตร สัญลักษณ์ทางดาราศาสตร์ของดาวเสาร์ (♄) แทนเคียวของเทพเจ้า ดาวเสาร์มีรูปร่างป่องออกตามแนวเส้นศูนย์สูตร ที่เรียกว่าทรงกลมแป้น (oblate spheroid) เส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวขั้วสั้นกว่าตามแนวเส้นศูนย์สูตรเกือบ 10% เป็นผลจากการหมุนรอบตัวเองอย่างรวดเร็ว ดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ก็มีลักษณะเป็นทรงกลมแป้นเช่นกัน แต่ไม่มากเท่าดาวเสาร์ ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยะ ที่มีความหนาแน่นเฉลี่ยน้อยกว่าน้ำ (0.70 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร) อย่างไรก็ตาม บรรยากาศชั้นบนของดาวเสาร์มีความหนาแน่นน้อยกว่านี้ ขณะที่ที่แกนมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำ วงแหวนของดาวเสาร์ประกอบไปด้วย เศษหินและน้ำแข็งขนาดเล็ก เรียงตัวอยู่ในระนาบเดียวกัน และวงแหวนของดาวเสาร์ก็ประกอบไปด้วย วงแหวนย่อยๆมากมาย ความจริงแล้ววงแหวนดาวเสาร์นั้นบางมาก โดยมีความหนาเฉลี่ยเพียง 500 กิโลเมตรเท่านั้น แต่เศษวัตถุในวงแหวนมีความสามารถในการสะท้อนแสงดี และกว้างกว่า 80,000 กิโลเมตร จึงสามารถสังเกตได้จากโลกของเร.

ใหม่!!: โลกและดาวเสาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเหนือ

ที่ถ่ายโดยเปิดหน้ากล้องเป็นเวลานาน แสดงให้เห็นว่าดาวดวงอื่นดูคล้ายเคลื่อนที่วนรอบดาวเหนือ ดาวเหนือ หรือ ดาวโพลาริส (Polaris หรือ Cynosura) (α UMi / α หมีเล็ก / แอลฟาหมีเล็ก) เป็นดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดในกลุ่มดาวหมีเล็ก และอยู่ใกล้กับขั้วฟ้าเหนือ จึงปรากฏเหมือนอยู่นิ่งกับที่บนท้องฟ้า (แท้จริงเป็นภาวะชั่วคราวเท่านั้น เพราะแกนหมุนของโลกมีการส่าย) การที่ดาวเหนืออยู่ในทิศทางที่เกือบจะเป็นทิศทางเดียวกับแกนหมุนของโลก ดาวฤกษ์ดวงอื่น ๆ จึงดูเหมือนเคลื่อนที่วนเป็นวงกลมรอบดาวเหนือ นักสำรวจอาศัยดาวเหนือในการเดินเรือ ปัจจุบันดาวเหนือไม่ได้อยู่ตรงกับขั้วฟ้าเหนือแต่ห่างจากขั้วฟ้าเหนือเล็กน้อย (ไม่เกิน 1&deg) จึงเคลื่อนที่เป็นวงกลมเล็ก ๆ ด้วยเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 2° มีเพียงสองเวลาในวันหนึ่ง ๆ ที่ดาวเหนืออยู่ตรงกับทิศเหนือพอดี ส่วนในเวลาอื่นต้องอาศัยตารางคำนวณเพื่อหาทิศเหนือที่แม่นยำ แท้จริงแล้วดาวเหนือไม่ได้บอกทิศเหนือตลอดไป การที่แกนหมุนของโลกส่ายคล้ายลูกข่างด้วยคาบ 26,000 ปี ทำให้ดาวฤกษ์ดวงอื่นเคยเป็นดาวเหนือมาก่อน เช่น ดาวทูแบนในกลุ่มดาวมังกร ส่วนในอนาคต จะเป็นดาวเวกาในกลุ่มดาวพิณ ในอนาคตอันใกล้นี้ เรายังสามารถใช้ดาวเหนือบอกทิศเหนือได้ต่อไป โดยที่ดาวเหนือจะอยู่ใกล้ขั้วฟ้าเหนือมากที่สุดในปี ค.ศ. 2100 ด้วยระยะห่างไม่เกินครึ่งองศา เราสามารถค้นหาดาวเหนือได้จากการลากเส้นตรงผ่านดาว 2 ดวงของกลุ่มดาวหมีใหญ่ ((β และ α หมีใหญ่) ไปหาดาวเหนือได้ เรียกดาว 2 ดวงนี้ว่าดาวชี้ (Pointers) หรือไม่ก็ลากเส้นผ่านแบ่งครึ่งผ่านกลางกลุ่มดาวแคสซิโอเปียที่มีรูปร่างเหมือนตัวอักษร W การเป็นที่รู้จักของดาวเหนือ ทำให้คนจำนวนมากคิดว่าดาวเหนือเป็นดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดในท้องฟ้า, แต่ในความเป็นจริง ดาวเหนือเป็นดาวฤกษ์ที่สว่างเป็นอันดับที่ 47. ส่วนดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดในท้องฟ้า (ยกเว้นดวงอาทิตย์) คือ ดาวซิริอัส ข้อมูลจากดาวเทียมฮิปปาร์คอส พบว่าดาวเหนืออยู่ห่างจากโลกเป็นระยะทาง 431 ปีแสง (132 พาร์เซก) เป็นดาวยักษ์ใหญ่หรือดาวยักษ์ที่มีดาวฤกษ์จาง ๆ 2 ดวงเป็นสหาย ดวงแรกมีชนิดสเปกตรัม F3 V อยู่บนแถบลำดับหลัก ห่างจากดาวแม่ประมาณ 2,000 หน่วยดาราศาสตร์ อีกดวงอยู่ใกล้กว่าด้วยกึ่งแกนเอกของวงโคจรเพียง 5 หน่วยดาราศาสตร์ ดาวเหนือเป็นดาวฤกษ์ดาวแปรแสงดวงหนึ่ง ราวปี ค.ศ. 1900 ดาวเหนือมีความสว่างขึ้นลงประมาณ 8% (คิดเป็น 0.15 ความส่องสว่าง) ด้วยคาบ 3.97 วัน ปี ค.ศ. 2005 ความสว่างเปลี่ยนแปลงเพียง 2% นอกจากนี้ยังมีความสว่างมากกว่าปี ค.ศ. 1900 อยู่ประมาณ 15% รวมทั้งคาบก็เพิ่มขึ้นด้วยอัตรา 8 วินาทีต่อปี งานวิจัยเมื่อเร็วนี้ ๆ บ่งชี้ว่าในยุคที่ทอเลมียังมีชีวิตอยู่ ดาวเหนืออาจสว่างกว่านี้ 2.5 เท่า ซึ่งถ้าหากเป็นจริง การเปลี่ยนแปลงความสว่างของดาวเหนือ จะสูงเกินกว่าผลการพยากรณ์โดยอาศัย ทฤษฎีวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ ในท้องฟ้าซีกใต้ ไม่มีดาวฤกษ์สว่างที่อยู่ใกล้ขั้วฟ้าใต้ ดาวที่มองเห็นด้วยตาเปล่าและอยู่ใกล้ขั้วฟ้าใต้มากที่สุด คือ ดาวซิกมาออกแทนต์ (บางครั้งเรียกว่า Polaris Australis) อย่างไรก็ตาม คนในซีกโลกใต้สามารถใช้กลุ่มดาวกางเขนใต้ในการคะเนตำแหน่งของทิศใต้.

ใหม่!!: โลกและดาวเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเทียม

นีบนพื้นโลก ดาวเทียม (satellite) คือ สิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้นเป็นสิ่ง ที่สามารถโคจรรอบโลก โดยอาศัยแรงดึงดูดของโลก ส่งผลให้สามารถโคจรรอบโลกได้ในลักษณะเดียวกันกับที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก และโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ วัตถุประสงค์ของสิ่งประดิษฐ์นี้เพื่อใช้ ทางการทหาร การสื่อสาร การรายงานสภาพอากาศ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์เช่นการสำรวจทางธรณีวิทยาสังเกตการณ์สภาพของอวกาศ โลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวอื่นๆ รวมถึงการสังเกตวัตถุ และดวงดาว ดาราจักร ต่าง.

ใหม่!!: โลกและดาวเทียม · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเทียมโอซุมิ

อสุมิ (ภาษาญี่ปุ่น おおすみ, Ōsumi) เป็น ดาวเทียมดวงแรกของญี่ปุ่น และเป็นดวงแรกของเอเชีย ทำให้ญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ 4 (ถัดจากฝรั่งเศส) ที่ส่งดาวเทียมสู่วงโคจรด้วยตนเอง ยิงขึ้นสู่วงโคจรเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) เวลา 04:25 UTC ด้วย จรวดแลมบ์ดา 4S-5 โดย สถาบันอวกาศและวิทยาศาสตร์การบินอวกาศ (Institute of Space and Astronautical Science หรือ ISAS) ของญี่ปุ่น (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ จาซ่า).

ใหม่!!: โลกและดาวเทียมโอซุมิ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเทียมโคบี

แผนที่อุณหภูมิพื้นหลังของอวกาศ ดาวเทียมโคบี (Cosmic Background Explorer; คำย่อ COBE) ขึ้นสู่อวกาศไปโคจรรอบโลกเมื่อ ค.ศ. 1989 (พ.ศ. 2532) หน้าที่หลักคือตรวจสอบความอบอุ่นที่ยังหลงเหลืออยู่จากการเกิดบิกแบงซึ่งเรียกว่า อุณหภูมิพื้นหลังของอวกาศ ดาวเทียมโคบีได้ทำแผนที่อุณหภูมิท้องฟ้าทั้งหมดแล้วพบความแตกต่างน้อยมากคล้ายกับคลื่นน้ำ ดาวเทียมโคบีได้ตรวจสอบอุณหภูมิย้อนกลับไปถึงครึ่งล้านปีหลังบิกแบง การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิเพียงเล็กน้อยของท้องฟ้า แสดงว่าเอกภพมีอุณหภูมิไม่สม่ำเสมอเมื่อตอนที่มีอายุได้ครึ่งล้านปี เมื่อเอกภพเริ่มไม่ราบเรียบและอุณหภูมิไม่สม่ำเสมอแล้ว สสารก็เกาะกลุ่มกันเป็นก้อน.

ใหม่!!: โลกและดาวเทียมโคบี · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเคราะห์มหาสมุทร

วาดในจินตนาการของดาวเคราะห์มหาสมุทรที่มีชั้นบรรยากาศคล้ายโลก และมีดาวบริวารสองดวง ภาพวาดในจินตนาการของดาวเคปเลอร์-22บี ซึ่งอาจเป็นดาวเคราะห์ที่ปกคลุมไปด้วยน้ำ ดาวเคราะห์มหาสมุทร หรือ ดาวเคราะห์น้ำ (Ocean planet) คือดาวเคราะห์ตามสมมติฐานประเภทหนึ่งที่ประกอบด้วยน้ำเป็นหลัก โดยทั่วไปแล้วพื้นผิวทั้งหมดของดาวเคราะห์ประเภทนี้จะจมอยู่ใต้ปริมาณน้ำมหาศาล ซึ่งอาจลึกได้หลายร้อยกิโลเมตร ลึกมากกว่าตำแหน่งใด ๆ ของมหาสมุทรบนโลก ความดันเนื่องจากแรงกดทับอันมหาศาลของน้ำด้านบนอาจก่อให้เกิดชั้นน้ำแข็งขึ้นภายใต้มหาสมุทร ชั้นน้ำแข็งที่เกิดขึ้นจากความกดดันนี้ไม่จำเป็นที่จะต้องเย็นเหมือนก้อนน้ำแข็งธรรมดาเสมอไป หากดาวเคราะห์มหาสมุทรโคจรอยู่ใกล้ดาวฤกษ์แม่จนทำให้อุณหภูมิสูงถึงจุดเดือดของน้ำแล้ว น้ำจะอยู่ในสถานะวิกฤตยิ่งยวดและทำให้ไม่สามารถกำหนดอาณาเขตของพื้นผิวดาวเคราะห์ได้อีกต่อไป, Alain Léger, 2003 สำหรับดาวเคราะห์มหาสมุทรที่เย็นกว่า ก็อาจยังคงมีชั้นบรรยากาศที่หนากว่าโลกมากเนื่องจากประกอบด้วยไอน้ำปริมาณมหาศาล สามารถนำไปสู่ภาวะเรือนกระจกขั้นรุนแรงได้ ดาวเคราะห์น้ำขนาดเล็กควรมีชั้นบรรยากาศเบาบางกว่าเนื่องจากมีแรงโน้มถ่วงต่ำ ซึ่งน้ำสามารถระเหยได้ง่ายกว่าดาวเคราะห์ที่มีมวลมาก และในทางทฤษฎี ดาวเคราะห์น้ำขนาดเล็กอาจมีคลื่นสูงกว่าดาวเคราะห์ขนาดใหญ่เพราะมีแรงโน้มถ่วงต่ำกว่าเช่นกัน ดาวเคราะห์มหาสมุทรอาจเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตใต้น้ำได้.

ใหม่!!: โลกและดาวเคราะห์มหาสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเคราะห์คล้ายโลก

วเคราะห์ชั้นในของระบบสุริยะ ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขนาดเปรียบเทียบตามจริง ดาวเคราะห์คล้ายโลก (terrestrial planet) หรือบางครั้งเรียกว่า ดาวเคราะห์หิน (rocky planet) หรือ ดาวเคราะห์ชั้นใน (inner planet) หมายถึงดาวเคราะห์ที่มีองค์ประกอบพื้นฐานเป็นหินซิลิเกต ในระบบสุริยะจะหมายถึงดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้กับดวงอาทิตย์มาก และดาวเคราะห์ที่มีลักษณะภายนอก "คล้ายกับโลก"มาก ดาวเคราะห์คล้ายโลกจะมีองค์ประกอบพื้นฐานที่แตกต่างจากดาวเคราะห์แก๊สยักษ์อย่างเด่นชัด โดยที่ดาวเคราะห์แก๊สยักษ์จะไม่มีพื้นผิวเป็นของแข็งที่ชัดเจน และมีองค์ประกอบพื้นฐานส่วนมากเป็นไฮโดรเจน ฮีเลียม และน้ำ ในสถานะต่าง.

ใหม่!!: โลกและดาวเคราะห์คล้ายโลก · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเคราะห์นอกระบบ

accessdate.

ใหม่!!: โลกและดาวเคราะห์นอกระบบ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเคราะห์น้อยใกล้โลก

วเคราะห์น้อยใกล้โลก (Near-Earth asteroids; NEA) คือดาวเคราะห์น้อยที่มีวงโคจรใกล้กับวงโคจรของโลก โดยมากมีวงโคจรอยู่ระหว่าง 0.983 ถึง 1.3 หน่วยดาราศาสตร์ จากดวงอาทิตย์ วงโคจรของดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกบางส่วนตัดกับวงโคจรของโลก ซึ่งอาจมีความเสี่ยงที่จะปะทะกันได้ ดาวเคราะน้อยเหล่านี้อยู่ใกล้พอที่จะเดินทางไปถึงโดยยานอวกาศได้ บางดวงสามารถไปถึงได้โดยใช้เชื้อเพลิงน้อยกว่าการไปดวงจันทร์เสียอีก ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ดาวเคราะห์น้อยกลุ่มนี้เป็นเป้าหมายที่น่าสำรวจอย่างยิ่ง มียานอวกาศไปเยือนดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกสองดวงแล้ว คือ ยานสำรวจ Near Earth Asteroid Rendezvous ขององค์การนาซา ไปสำรวจดาวเคราะห์น้อย 433 อีรอส และยานสำรวจ Hayabusa ของ JAXA ได้ไปเยือน 25143 Itokawa ดาวเคราะห์น้อยใกล้โลก จัดว่าเป็นกลุ่มย่อยหนึ่งอยู่ในบรรดา วัตถุท้องฟ้าใกล้โลก.

ใหม่!!: โลกและดาวเคราะห์น้อยใกล้โลก · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเนปจูน

วเนปจูน (Neptune) มีชื่อไทยว่า ดาวเกตุ เป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะลำดับสุดท้ายมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่เป็นอันดับที่ 4 รองจากดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และมีมวลเป็นลำดับที่ 3 รองจากดาวพฤหัสและดาวเสาร์ คำว่า "เนปจูน" นั้นตั้งชื่อตามเทพเจ้าแห่งท้องทะเลของโรมันเหนือ (กรีก: โปเซดอน) มีสัญลักษณ์เป็น (♆) ดาวเนปจูนมีสีน้ำเงิน เนื่องจากองค์ประกอบหลักของบรรยากาศผิวนอกเป็น ไฮโดรเจน ฮีเลียม และมีเทน บรรยากาศของดาวเนปจูน มีกระแสลมที่รุนแรง (2500 กม/ชม.) อุณหภูมิพื้นผิวอยู่ที่ประมาณ -220℃ (-364 °F) ซึ่งหนาวเย็นมาก เนื่องจาก ดาวเนปจูนอยู่ไกลดวงอาทิตย์มาก แต่แกนกลางภายในของดาวเนปจูน ประกอบด้วยหินและก๊าซร้อน อุณหภูมิประมาณ 7,000℃ (12,632 °F) ซึ่งร้อนกว่าพื้นผิวของดวงอาทิตย์ ยานวอยเอเจอร์ 2 เป็นยานอวกาศจากโลกเพียงลำเดียวเท่านั้น ที่เคยเดินทางไปถึงดาวเนปจูนเมื่อ 25 สิงหาคม..

ใหม่!!: โลกและดาวเนปจูน · ดูเพิ่มเติม »

ดิสคัฟเวอรี่ แชนแนล

ัฟเวอรี่ แชนแนล เป็นช่องรายการของ Discovery Communications นำเสนอรายการที่เจาะลึกเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับโลก รวมไปถึงสารคดีและรายการเรียลลิตี้โชว์ ด้วย Discovery Channel เป็นเครือข่ายในอเมริกา ที่มีคนดูถึง 92 ล้านครัวเรือน มีผู้ชม 431 ล้านครัวเรือนทั่วโลกใน 170 ประเทศ ในประเทศไทยสามารถรับชม Discovery Channel ได้ทาง TrueVisions ช่อง 562 ในระบบดิจิตอล และช่อง 555 ในระบบโทรทัศน์ความละเอียดสูง.

ใหม่!!: โลกและดิสคัฟเวอรี่ แชนแนล · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ

ลโก้รายการที่ใช้ในฉบับอเมริกา สำหรับโลโก้ในฉบับอื่น ๆ จะถูกดัดแปลงจากโลโก้นี้ ดิ อะเมซิ่ง เรซ (The Amazing Race หรือในบางครั้งรู้จักกันในตัวย่อ TAR มีชื่อภาษาไทยตามที่ออกอากาศทางช่องเอเอกซ์เอ็นในประเทศไทยว่า คนแกร่งแข่งอึด) เป็นเรียลลิตี้โชว์ ทางโทรทัศน์ ที่สมาชิกในทีม ทีมละสองคน ที่รู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันกับทีมอื่นโดยการเดินทางรอบโลก โดยผู้เข้าแข่งขันจะต้องพยายามเข้าเป็นทีมแรกที่จุดหยุดพักในแต่ละเลกให้ได้ เพื่อเป็นผู้ชนะในเลกนั้น ๆ และหลีกเลี่ยงการมาถึงเป็นทีมสุดท้าย ที่อาจจะทำให้ทีมถูกคัดออกจากการแข่งขัน หรืออาจทำให้ทีมประสบอุปสรรคตามมาในเลกต่อไป ผู้เข้าแข่งขันจะเดินทางระหว่างประเทศหลายประเทศ ด้วยวิธีการเดินทางที่แตกต่างกันออกไป เช่น เครื่องบิน แท็กซี่ รถเช่า รถไฟ รถประจำทาง และเรือ คำสั่งในแต่ละช่วงของเลกจะสั่งให้ทีมไปยังจุดหมายต่อไป หรือทำงาน ไม่ว่าจะทำคนเดียวหรือสองคนก็ตาม ซึ่งงานที่ทีมทำนั้นจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมารยาท หรือวัฒนธรรม ท้องถิ่นในประเทศที่พวกเขาไปเยือน โดยแต่ละทีมจะทะยอยถูกคัดออก จนกระทั่งเหลืออยู่ 3 ทีมสุดท้าย ณ จุดนั้น ทีมที่มาถึงเป็นทีมแรกในเลกสุดท้ายจะได้รับเงินรางวัลก้อนใหญ่ ซึ่งโดยปกติแล้วจะมีมูลค่า 1 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ในเวอร์ชันสหรัฐอเมริกา สร้างโดย อลิส ดอร์แกนเลอร์ และ เบ็นตั้น แวนด์ มัสเตอร์ และได้ออกอากาศในสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ ค.ศ. 2001 มีพิธีกรชื่อดังระดับรางวัลเอ็มมี ชาวนิวซีแลนด์ ฟิล คีโอแกน เป็นพิธีกรของรายการตั้งแต่ซีซั่นแรก และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ฟอร์มยักษ์ระดับ ฮอลลีวูด เจอร์รี บรัคไฮเมอร์ เป็นผู้อำนวยการสร้างหลักของรายการ นอกจากนี้รายการนี้ยังมีการซื้อลิขสิทธิ์ ไปสร้างในหลาย ๆ ประเทศ โดยยังคงรูปแบบหลัก ๆ ของรายการอยู่ ส่วนเนื้อหาในบทความนี้จะใช้เกณฑ์และเนื้อหาของฉบับอเมริกาเป็นส่วนใหญ.

ใหม่!!: โลกและดิอะเมซิ่งเรซ · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน)

ัญลักษณ์รายการอย่างเป็นทางการ สัญลักษณ์รายการรูปแบบที่ 1 สัญลักษณ์รายการรูปแบบที่ 2 ดิ อะเมซิง เรซ (The Amazing Race) หรือชื่อย่อว่า TAR เป็นรายการเรียลลิตี้เกมส์โชว์ทางโทรทัศน์ ผลิตโดยสหรัฐอเมริกา โดยแบ่งเป็นทีมละสองคน (มียกเว้น 1 ครั้ง คือครั้งที่ 8) ออกเดินทางรอบโลกเพื่อแข่งขันกับทีมอื่นๆ โดยพยายามเดินทางให้ถึงจุดหมายในแต่ละรอบให้ได้เร็วที่สุดและระหว่างเดินทางจะต้องทำภารกิจแต่ละรอบที่มอบหมายให้สำเร็จ การแข่งขันเดินทางไปในหลายประเทศ ใช้พาหนะในการเดินทางหลากหลาย เช่น เครื่องบิน, แท็กซี่, รถเช่า, รถไฟ, รถประจำทาง, เรือ ได้รางวัล แอมมี่อวอร์ด เรียลลิตี้เกมส์โชว์ประเภทพรามไทม์มาตลอดนั้นตั้งแต่เริ่มมีการประกวดรางวัลนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 แบบผูกขาด ซึ่งทำให้รายการนี้โด่งดังเป็นอย่างมาก จุดเด่นของรายการจะถ่ายทำยากมากและใช้งบประมาณสูงเนื่องจากค่าเดินทางและจ้างคนท้องถิ่นทำงานเพื่อถ่ายทำในแต่ละฤดูกาล โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวฉายทางซีบีเอสและเริ่มออกอากาศครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: โลกและดิอะเมซิ่งเรซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน) · ดูเพิ่มเติม »

ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง

แผนที่แสดงตำแหน่งของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง ถือเป็นดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ตรงบริเวณทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศเวียดนาม โดยเป็นบริเวณที่แม่น้ำโขงซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากที่ราบสูงทิเบตแล้วไหลมาทางทิศใต้ผ่าน 7 ประเทศ ไหลออกสู่ทะเลจีนใต้ที่บริเวณนี้ โดยบริเวณที่เกิดการสะสมตัวของตะกอนในลักษณะของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำนั้นพบว่าแม่น้ำโขงมีการแตกออกเป็นสาขาย่อย ๆ หลายสาขา ปัจจุบันพบว่าดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงมีความกว้างของดินดอนสามเหลี่ยมใหญ่ที่สุดที่หนึ่งของโลกและกินพื้นที่ 39,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งเป็นสัดส่วนโดยมากของพื้นที่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศเวียดนาม พื้นที่ของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงส่วนที่ถูกปกคลุมด้วยน้ำนั้นขึ้นกับแต่ละฤดู เพราะปริมาณน้ำไม่เท่ากัน จากการศึกษาพบว่าบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงนั้นมีการพัดพาของน้ำมาประมาณ 470 ลูกบากศ์กิโลเมตรต่อปี ซึ่งน้ำที่ไหลมาในบริเวณนี้ได้พัดพาตะกอนมาตกสะสมประมาณ 790,000-810,000 ตารางกิโลเมตรต่อปี นอกจากนี้พบว่าเมื่อประมาณ 6,000 ปีที่ผ่านมา มีการพอกของตะกอนในบริเวณนี้ในลักษณะการพอกคืบเข้าไปในทะเลคิดเป็น 200 กิโลเมตร รอบชายแดนของประเทศกัมพูชาและชายฝั่งทางตอนใต้ของประเทศเวียดนาม โดยในปัจจุบันพบว่าลักษณะปรากฏของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงนั้น มีรูปร่างคล้ายรูปสามเหลี่ยมที่กินเนื้อที่เป็นบริเวณกว้าง ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงได้มีการศึกษาเรื่องการกระจายตัวของสิ่งมีชีวิตบริเวณนี้ โดยพบว่าบริเวณนี้เป็นแหล่งรวมสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์ใหม่กว่า 10,000 สายพันธุ์ ซึ่งทำให้บริเวฯดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงนี้นอกจากจะมีความน่าสนใจในการศึกษาเกี่ยวกับลักษณะทางธรณีวิทยาแล้วยังมีความน่าสนใจเป็นอย่างมากในการศึกษาเกี่ยวกับระบบชีววิทยาของพื้นที่ จากการสะสมตัวของตะกอนพบว่าตะกอนที่สะสมตัวในหุบเขาซึ่งทับอยู่บนชั้นตะกอนที่มีอายุสมัยไพลสโตซีน นั้นเกิดการสะสมตัวในช่วงที่มีเกิดเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลอย่างรวดเร็วครั้งล่าสุด ซึ่งพบว่าแม่น้ำโขงในช่วงยุคน้ำแข็งครั้งล่าสุดหรือเมื่อประมาณ 18,000 ปีมาแล้วนั้น ตำแหน่งของทางน้ำอยู่ทางตะวันออกของบริเวณที่เป็นหุบเขาทำให้บริเวณหุบเขามีลักษณะเป็นปากแม่น้ำ ขณะที่น้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นจึงเกิดการสะสมตัวของตะกอนที่เป็นตะกอนปากแม่น้ำ เมื่อน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นปากแม่น้ำจึงย้ายเข้าไปในแผ่นดินมากขึ้นทำให้บริเวณนี้ได้รับอิทธิพลจากกระบวนการทางทะเลมากขึ้น จึงเกิดการสะสมตัวของที่ราบที่ได้รับผลจากน้ำขึ้น-น้ำลง หลังจากนั้นพบว่าเกิดการสะสมตัวของตะกอนดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเมื่อประมาณ 6,000 ปีที่แล้ว ซึ่งเป็นช่วงที่น้ำทะเลขึ้นสูงสุดและกำลังเริ่มลดลงเรื่อยๆ ทำให้พบลักษณะการเพิ่มขึ้นของขนาดเม็ดตะกอนเมื่อใกล้พื้นผิวมากขึ้น โดยเราสามารถแบ่งดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงออกเป็น 2 บริเวณตามอิทธิพลหลักที่มีผลต่อการสะสมตัวของตะกอนในแต่ละบริเวณ คือ.

ใหม่!!: โลกและดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง · ดูเพิ่มเติม »

คชศาสตร์

ตร์ เป็นวิชาหนึ่งในวิชาไตรเทพของศาสนาพราหมณ์ เป็นศาสตร์เกี่ยวกับช้าง แบ่งออกเป็น 2 ตำรา คือ.

ใหม่!!: โลกและคชศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 5

ริสต์สหัสวรรษที่ 5 ตามปฏิทินเกรกอเรียน จะเริ่มขึ้นในวันที่ 4 มกราคม..4001 และสิ้นสุดลงในวันที่ 31 ธันวาคม..5000 นี่เป็นสหัสวรรษที่ 5 ของทั้งคริสต์ศักราชและสากลศักร.

ใหม่!!: โลกและคริสต์สหัสวรรษที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 6

ริสต์สหัสวรรษที่ 6 ตามปฏิทินเกรกอเรียน จะเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 เดือนมกราคม..5001 และจบลงในวันที่ 31 ธันวาคม..6000 นี่เป็นสหัสวรรษที่ 6 ของทั้งคริสต์ศักราชและสากลศักร.

ใหม่!!: โลกและคริสต์สหัสวรรษที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

คริสเตียน เดอะ ไลออน

ริสเตียน เป็นสิงโตที่แต่เดิมทีถูกซื้อมาจากห้างสรรพสินค้าแฮรอดในลอนดอนใน..

ใหม่!!: โลกและคริสเตียน เดอะ ไลออน · ดูเพิ่มเติม »

ครีษมายัน

แสงจากดวงอาทิตย์ที่ส่องมายังโลกในส่วนครึ่งซีกโลกเหนือในวันครีษมายัน ครีษมายัน หรือ อุตตรายัน (summer solstice) เป็นการที่ดวงอาทิตย์ โคจรไปถึงจุดหยุด (solstice) คือ จุดสุดทางเหนือในราววันที่ 20 มิถุนายน หรือ 21 มิถุนายน เป็นจุดในหน้าร้อน มีกลางวันนานกว่ากลางคืน, ตรงข้ามกับ เหมายัน (winter solstice) (สันสกฤต: คฺรีษฺม + อายนฺ).

ใหม่!!: โลกและครีษมายัน · ดูเพิ่มเติม »

คลื่นความคิด

ลื่นความคิด เป็นสถานีวิทยุที่ดำเนินการผลิตโดย บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) ออกอากาศรายการประเภทข่าวสาร หุ้น เศรษฐกิจ การตลาด ธุรกิจ การบริหาร สุขภาพ สังคม และครอบครัว ออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง มีพื้นที่การให้บริการอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล.

ใหม่!!: โลกและคลื่นความคิด · ดูเพิ่มเติม »

ควอตซ์

วอตซ์ (Quartz) (SiO2) หรือมีชื่อว่า "แร่เขี้ยวหนุมาน" เป็นแร่ที่พบมากที่สุดในโลกเป็นอันดับที่สองรองจาก เฟลด์สปาร.

ใหม่!!: โลกและควอตซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ความยาว

ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปหนึ่ง แสดงความกว้าง ความยาว และความสูง ความยาว คือ ปริมาณของรูปหนึ่งมิติ หรือ มิติตามแนวยาวของวัตถุใด ๆ ความยาวของของสิ่งหนึ่งคือระยะทาง (หรือการกระจัด) จากจุดเริ่มต้นไปยังจุดสิ้นสุด ซึ่งเป็นการขยายเชิงเส้นตรงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ความยาวอาจมีความหมายแยกออกจากความสูง ซึ่งเป็นการขยายตามแนวดิ่ง และความกว้าง ซึ่งเป็นระยะทางจากด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่ง เช่นวัดจากมุมข้างซ้ายไปยังมุมข้างขวาผ่านวัตถุเป็นต้น ในทางวิทยาศาสตร์กายภาพและวิศวกรรม คำว่า ความยาว นี้มีความหมายเหมือนกับ ระยะทาง และย่อด้วยอักษร l หรือ L (แอล) หรือสัญลักษณ์คล้ายแอล ความยาวเป็นการวัดในหนึ่งมิติ ในขณะที่พื้นที่เป็นการวัดในสองมิติ และปริมาตรเป็นการวัดในสามมิติ ในระบบการวัดส่วนใหญ่ หน่วยความยาวเป็นหน่วยวัดพื้นฐานสำหรับการนิยามหน่วยวัดอื่น.

ใหม่!!: โลกและความยาว · ดูเพิ่มเติม »

ความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์

ปัจจุบัน มีเพียงโลกเท่านั้นที่เป็นดาวเคราะห์ที่มีปัจจัยเกื้อหนุนต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์ คือการตรวจวัดศักยภาพของดาวเคราะห์หรือดาวบริวารของดาวเคราะห์ว่าสามารถรองรับการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตได้หรือไม่ ชีวิตดังกล่าวนี้อาจมีวิวัฒนาการขึ้นบนดาวเคราะห์หรือดาวบริวารนั้นเอง หรืออพยพมาจากแหล่งอื่นก็ได้ ในปัจจุบันนี้ยังไม่มีความแน่ชัดใดๆ เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตนอกโลก ดังนั้นการศึกษาเรื่องความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์จึงใช้เงื่อนไขสภาวะแวดล้อมของโลก และคุณลักษณะของดวงอาทิตย์และระบบสุริยะเป็นสำคัญ ซึ่งเป็นปัจจัยให้สิ่งมีชีวิตสามารถดำรงอยู่ได้บนโลก การศึกษาวิจัยในสาขานี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์และเป็นสาขาเกิดใหม่ในทางชีวดาราศาสตร์ สิ่งจำเป็นพื้นฐานที่สุดสำหรับชีวิต คือ แหล่งกำเนิดพลังงาน ความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์มีความหมายพื้นฐานถึงลักษณะขอบเขตทางฟิสิกส์ธรณีวิทยา เคมีธรณีวิทยา และฟิสิกส์ดาราศาสตร์ที่พอเหมาะพอดีในการเอื้อหนุนต่อสิ่งมีชีวิต องค์การนาซ่าได้นิยามขอบเขตพื้นฐานของความสามารถอยู่อาศัยได้ ว่า "ต้องมีน้ำในสถานะของเหลว เงื่อนไขที่ช่วยให้เกิดโมเลกุลอินทรีย์ที่ซับซ้อน และมีแหล่งพลังงานพอสำหรับสร้างเมแทบอลิซึม".

ใหม่!!: โลกและความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ความหลากหลายทางชีวภาพ

วามหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตน้อยนิด พันธุ์ในระบบนิเวศอันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่วโลก หรือง่ายๆ คือ การที่มีชนิดพันธุ์ (Species) สายพันธุ์ (Genetic) และระบบนิเวศ (Ecosystem.) ที่แตกต่างหลากหลายบนจักรวาล ความหลากหลายทางชีวภาพสามารถพิจารณาได้จากความหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ระหว่างชนิดพันธุ์ และระหว่างระบบนิเวศ ความหลากหลายทางชีวภาพระหว่างสายพันธุ์ ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือ ความแตกต่างระหว่างพันธุ์พืชและสัตว์ต่างๆ ที่ใช้ในการเกษตร ความแตกต่างหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ทำให้สามารถเลือกบริโภคข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว ตามที่ต้องการได้ หากไม่มีความหลากหลายของสายพันธุ์ต่างๆ แล้ว อาจจะต้องรับประทานส้มตำปูเค็มกับข้าวจ้าวก็เป็นได้ ความแตกต่างที่มีอยู่ในสายพันธุ์ต่างๆ ยังช่วยให้เกษตรกรสามารถเลือกสายพันธุ์ปศุสัตว์ เพื่อให้เหมาะสมตามความต้องการของตลาดได้ เช่น ไก่พันธุ์เนื้อ ไก่พันธุ์ไข่ดก วัวพันธุ์นม และวัวพันธุ์เนื้อ เป็นต้น ความหลากหลายระหว่างชนิดพันธุ์ สามารถพบเห็นได้โดยทั่วไปถึงความแตกต่างระหว่างพืชและสัตว์แต่ละชนิด ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ที่อยู่ใกล้ตัว เช่น สุนัข แมว จิ้งจก ตุ๊กแก กา นกพิราบ และนกกระจอก เป็นต้น หรือสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในป่าเขาลำเนาไพร เช่น เสือ ช้าง กวาง กระจง เก้ง ลิง ชะนี หมี และวัวแดง เป็นต้น พื้นที่ธรรมชาติเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างหลากหลาย แต่ว่ามนุษย์ได้นำเอาสิ่งมีชีวิตมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร และอุตสาหกรรม น้อยกว่าร้อยละ 5 ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในความเป็นจริงพบว่ามนุษย์ได้ใช้พืชเป็นอาหารเพียง 3,000 ชนิด จากพืชมีท่อลำเลียง (vascular plant) ที่มีอยู่ทั้งหมดในโลกถึง 320,000 ชนิด ทั้งๆ ที่ประมาณร้อยละ 25 ของพืชที่มีท่อลำเลียงนี้สามารถนำมาบริโภคได้ สำหรับชนิดพันธุ์สัตว์นั้น มนุษย์ได้นำเอาสัตว์เลี้ยงมาเพื่อใช้ประโยชน์เพียง 30 ชนิด จากสัตว์มีกระดูกสันหลังทั้งหมดที่มีในโลกประมาณ 50,000 ชนิด (UNEP 1995) ความหลากหลายระหว่างระบบนิเวศเป็นความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งซับซ้อน สามารถเห็นได้จากความแตกต่างระหว่างระบบนิเวศประเภทต่างๆ เช่น ป่าดงดิบ ทุ่งหญ้า ป่าชายเลน ทะเลสาบ บึง หนอง ชายหาด แนวปะการัง ตลอดจนระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ทุ่งนา อ่างเก็บน้ำ หรือแม้กระทั่งชุมชนเมืองของเราเอง ในระบบนิเวศเหล่านี้ สิ่งมีชีวิตก็ต่างชนิดกัน และมีสภาพการอยู่อาศัยแตกต่างกัน ความแตกต่างหลากหลายระหว่างระบบนิเวศ ทำให้โลกมีถิ่นที่อยู่อาศัยเหมาะสมสำหรับสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ระบบนิเวศแต่ละประเภทให้ประโยชน์แก่การดำรงชีวิตของมนุษย์แตกต่างกัน หรืออีกนัยหนึ่งให้ 'บริการทางสิ่งแวดล้อม' (environmental service) ต่างกันด้วย อาทิเช่น ป่าไม้ทำหน้าที่ดูดซับน้ำ ไม่ให้เกิดน้ำท่วมและการพังทลายของดิน ส่วนป่าชายเลนทำหน้าที่เก็บตะกอนไม่ให้ไปทบถมจนบริเวณปากอ่าวตื้นเขิน ตลอดจนป้องกันการกัดเซาะบริเวณชายฝั่งจากกระแสลมและคลื่นด้วย เป็นต้น.

ใหม่!!: โลกและความหลากหลายทางชีวภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ความหนาแน่น

วามหนาแน่น (อังกฤษ: density, สัญลักษณ์: ρ อักษรกรีก โร) เป็นการวัดมวลต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร ยิ่งวัตถุมีความหนาแน่นมากขึ้น มวลต่อหน่วยปริมาตรก็ยิ่งมากขึ้น กล่าวอีกนัยหนึ่ง คือวัตถุที่มีความหนาแน่นสูง (เช่น เหล็ก) จะมีปริมาตรน้อยกว่าวัตถุความหนาแน่นต่ำ (เช่น น้ำ) ที่มีมวลเท่ากัน หน่วยเอสไอของความหนาแน่นคือ กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (kg/m3) ความหนาแน่นเฉลี่ย (average density) หาได้จากผลหารระหว่างมวลรวมกับปริมาตรรวม ดังสมการ โดยที.

ใหม่!!: โลกและความหนาแน่น · ดูเพิ่มเติม »

ความผิดปกติทางอารมณ์

วามผิดปกติทางอารมณ์ หรือ โรคอารมณ์แปรปรวน (Mood disorder) เป็นกลุ่มโรคในคู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต (DSM) ที่ปัญหาทางอารมณ์ (mood) สันนิษฐานว่าเป็นอาการหลักของโรค ส่วนในบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (ICD) เป็นกลุ่มที่เรียกว่า mood (affective) disorders ซึ่งแปลได้อย่างเดียวกัน จิตแพทย์ชาวอังกฤษเสนอหมวดโรคที่ครอบคลุมเรียกว่า affective disorder ในปี..

ใหม่!!: โลกและความผิดปกติทางอารมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ความต่างที่สองตา

รูป 1 - นิยามของความต่างที่สองตา (ทั้งไกลและใกล้) ความต่างที่สองตา (Binocular disparity) หมายถึงความแตกต่างของตำแหน่งวัตถุหนึ่ง ๆ ที่เห็นโดยตาซ้ายและตาขวาของมนุษย์ เพราะตาแยกห่างกันตามแนวนอน (ที่เรียกว่าพารัลแลกซ์) ในกระบวนการเห็นเป็น 3 มิติ สมองจะใช้ความต่างที่เห็นจากรูป 2 มิติซึ่งตกลงที่จอตาทั้งสองเพื่อดึงข้อมูลความใกล้ไกลของวัตถุ ในคอมพิวเตอร์วิทัศน์ Binocular disparity จะหมายถึงความต่างพิกัดของสิ่งที่เหมือนกันในภาพ 2 ภาพที่ถ่ายคู่กัน อุปกรณ์หาพิสัยโดยบรรจวบ (coincidence rangefinder) ก็ใช้เทคนิคคล้าย ๆ กันเพื่อกำหนดระยะทางและ/หรือความสูงของวัตถุเป้าหมาย ในดาราศาสตร์ ความต่างระหว่างตำแหน่งต่าง ๆ บนผิวโลกสามารถใช้กำหนดพารัลแลกซ์ของวัตถุท้องฟ้า และโคจรของโลกเองก็สามารถใช้กำหนดพารัลแลกซ์ดาว (stellar parallax).

ใหม่!!: โลกและความต่างที่สองตา · ดูเพิ่มเติม »

ความโน้มถ่วงพื้นผิว

วามโน้มถ่วงพื้นผิว หรือ g ของเทหวัตถุทางดาราศาสตร์ คือความเร่งตามความโน้มถ่วงที่สามารถพบได้บนพืนผิวของวัตถุนั้น บางครั้งอาจคิดได้ว่าเป็นความเร่งที่เกิดขึ้นกับอนุภาคทดสอบตามสมมุติฐานเนื่องจากความโน้มถ่วง ซึ่งอยู่ใกล้เคียงกับพื้นผิวของวัตถุทางดาราศาสตร์มาก และสามารถละเว้นการคิดถึงมวลได้ เราสามารถวัดค่าความโน้มถ่วงพื้นผิวได้ในหน่วยของความเร่ง ซึ่งตามหน่วยเอสไอ คือ เมตรต่อวินาทีกำลังสอง บางครั้งก็แสดงค่าเป็นตัวคูณของความโน้มถ่วงมาตรฐานของโลก คือ g.

ใหม่!!: โลกและความโน้มถ่วงพื้นผิว · ดูเพิ่มเติม »

ความเชื่อเรื่องการสร้างโลกของจีน

หวงตี้ ฮ่องเต้องค์แรกในความเชื่อของจีน ความเชื่อเรื่องการสร้างโลกของจีน (开天辟地) เป็นนิทานปรัมปราที่เล่าสืบกันมาแต่โบราณ ว่า โลกเดิมทีเป็นฟองไข่ทรงกลม ที่ภายในมียักษ์ตนหนึ่งที่มีผมเพ้าและหนวดเครายาว มีร่างกายยาวถึง 90,000 ลี้ (ประมาณ 45,000 กิโลเมตร) ชื่อ ป้านกู (盤古) วันหนึ่งป้านกูตื่นขึ้นมาและได้ฟักตัวออกจากไข่ ด้วยเรี่ยวแรงมหาศาลของป้านกู ป้านกูจึงดันส่วนบนของไข่ให้กลายเป็นสวรรค์และด้านล่างกลายเป็นโลก แต่สวรรค์และโลกกลับดูดตัวเข้าหากัน ป้านกูจึงให้พละกำลังดันทั้ง 2 ส่วนอยู่อย่างนั้นเป็นเวลานับหมื่น ๆ ปี จนในที่สุดทั้งสวรรค์และโลกไม่อาจรวมตัวกันได้ ป้านกูจึงล้มลงและเสียชีวิต ภายหลังเสียชีวิตแล้ว ตาข้างซ้ายของป้านกูกลายเป็นพระอาทิตย์ ตาข้างขวากลายมาเป็นพระจันทร์ ร่างกลายกลายเป็นภูเขา เลือดกลายเป็นแม่น้ำ ผมและหนวดเคราที่ยาวสลวยกลายเป็นผักและหญ้า ผ่านไปหลังจากนั้นอีกเนิ่นนาน เจ้าแม่หนี่วา (女媧) ได้ลงมาท่องเที่ยวชมพื้นโลก และชื่นชมว่าโลกเป็นสถานที่ ๆ น่าอยู่ยิ่งนัก เมื่อนางได้ใช้นิ้วจิ้มดินและเศษดินตกลงสู่น้ำก็กลายเป็นลูกอ๊อด องค์เจ้าแม่หนี่วา ทรงดีพระทัยยิ่งนัก จึงใช้ดินปั้นเป็นรูปสัตว์ต่าง ๆ จึงกำเนิดขึ้นเป็นสัตว์ชนิดต่าง ๆ แต่นางรู้สึกว่าขาดอะไรบางอย่างไป ในวันที่ 7 พระนางจึงเริ่มปั้นรูปเหมือนตัวพระนางขึ้น เกิดเป็นมนุษย์ผู้หญิงขึ้น และพระนางเกรงว่ามนุษย์ผู้หญิงนี้จะเหงา จึงปั้นรูปใหม่ขึ้นมาให้คล้ายเคียงกันเป็นมนุษย์ผู้ชาย และให้มนุษย์ทั้ง 2 เพศนี้อยู่คู่กันและออกลูกหลานสืบต่อกันมา ต่อมา ฟูซี (伏羲) ซึ่งเป็นผู้ปกครองชนเผ่าของมนุษย์ได้สังเกตปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของธรรมชาติ จนสามารถพึ่งตัวเองได้และเกิดเป็นองค์ความรู้ วันหนึ่งมีกิเลนตัวหนึ่งกระโดดขึ้นมาจากแม่น้ำฮวงโห บนหลังกิเลนมีสัญลักษณ์ปรากฏที่ถูกเรียกในภายหลังว่า "แผนภูมิเหอถู" (河图) ซึ่งต่อมาได้พัฒนากลายเป็นตัวอักษร หลังยุคฟูซี เสินหนง (神農) ได้เป็นผู้ปกครองแทน เสินหนงได้สอนให้ผู้คนรู้จักการเพาะปลูก และใช้คันไถ และยุคต่อมาก็คือ ยุคของหวงตี้ (黃帝) หรือ จักรพรรดิเหลือง หวงตี้ได้ทำสงครามกับเหยียนตี้ที่ปั่นเฉวียน (阪泉) สุดท้ายเหยียนตี้พ่ายแพ้ หวงตี้จึงขยายอำนาจการปกครองจากทางตอนเหนือลงไปทางใต้ จนถึงลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียงและฮั่นสุ่ย ซึ่งหวงตี้ได้รับการนับถือจากชาวจีนรุ่นต่อมาว่าเป็น ฮ่องเต้หรือจักรพรรดิองค์แรกของจีน และชื่อของพระองค์ก็กลายมาเป็นคำว่า ฮ่องเต้ หรือ จักรพรรดิ ความหมายของชื่อก็กลายมาเป็นสีประจำตัวฮ่องเต้ด้วย คือ สีเหลือง ชาวจีนเชื่อว่า ในราชวงศ์ชั้นหลัง เช่น ราชวงศ์เซี่ย, ราชวงศ์ซาง, ราชวงศ์โจว ต่อมาต่างก็สืบเชื้อสายจากหวงตี้ทั้งนั้น หลังยุคหวงตี้ เป็นยุคของเชาเหา (少昊) และ ซวนซู (顓頊) ซึ่งในยุคนี้ได้กำเนิดดาราศาสตร์, ปฏิทิน, ความเชื่อ, ไสยศาสตร์และเรือ ต่อมาจึงเป็นยุคของ กู (帝嚳) และ เหยา (尧) ซึ่งในยุคนี้พระอาทิตย์มีมากมายพร้อมกันถึง 10 ดวง และต่างพากันเปล่งรัศมีความร้อนแรงมายังโลกมนุษย์ ทำให้เดือดร้อนกันมาก เง็กเซียนฮ่องเต้จึงมีบัญชาให้ โหวอี้ นักยิงธนูบนสวรรค์ลงไปยังโลกมนุษย์เพื่อจัดการ โหวอี้ใช้ธนูยิงดวงอาทิตย์ตกไปถึง 9 ดวง และตำนานโฮ๋วอี้ยิงดวงอาทิตย์ 9 ดวงนี้ก็ก่อให้เกิดตำนาน เทพธิดาฉางเอ๋อ เหาะไปดวงจันทร์และเป็นต้นกำเนิดเทศกาลไหว้พระจันทร์ของจีน ต่อมาเป็นยุคของซุน (舜) และ อวี่ (禹) ในยุคของอวี่ได้เกิดอุทกภัย (大禹治水) และอวี่สามารถสร้างเขื่อนควบคุมกระแสน้ำได้สำเร็จ โดยไม่ได้กลับบ้านเป็นระยะเวลานานถึง 9 ปี และวันหนึ่งก็ได้มีเต่าศักดิ์สิทธิ์ตัวหนึ่งผุดขึ้นมาจากแม่น้ำลั่ว บนกระดองเต่ามีอักษรที่ต่อมาเรียกว่า "แผนภูมิลั่วซู" (洛书) ซึ่งกลายมาเป็นศิลปะวิทยาการต่าง ๆ สืบมาจนปัจจุบัน ภายหลังจากอวี่เสียชีวิตลง บุตรชายของอวี่ก็สังหารอี้เพื่อแย่งชิงตำแหน่งหัวหน้า และเริ่มเข้าสู่ยุคแห่งการสืบทอดตำแหน่งหัวหน้าโดยสายเลือดในระบบวงศ์วานว่านเครือ และหลังจากนั้น ประวัติศาสตร์จีนก้าวเข้าสู่ราชวงศ์แรกที่มีการสืบทอดบัลลังก์อำนาจโดยสายเลือด นั่นคือ จุดกำเนิดของราชวงศ์เซี่ย (夏代) ราชวงศ์แรกของจีน.

ใหม่!!: โลกและความเชื่อเรื่องการสร้างโลกของจีน · ดูเพิ่มเติม »

ความเอียงของวงโคจร

แสดงความเอียงของวงโคจร ความเอียงของวงโคจร (inclination) เป็นหนึ่งในองค์ประกอบของวงโคจร หมายถึงมุมระหว่างระนาบของวงโคจรกับระนาบอ้างอิง ความเอียงของวงโคจร เป็นหนึ่งใน 6 องค์ประกอบของวงโคจร ใช้อธิบายถึงรูปร่างและทิศทางของวงโคจรของวัตถุท้องฟ้า นับเป็นระยะเชิงมุมของระนาบวงโคจรเทียบกับระนาบอ้างอิง (โดยมากมักใช้เส้นศูนย์สูตรหรือเส้นสุริยวิถีของดาวฤกษ์แม่ในระบบ และมีหน่วยเป็นองศา) สำหรับระบบสุริยะ ความเอียงของวงโคจร (คือ i ในภาพด้านข้าง) ของดาวเคราะห์ดวงหนึ่งๆ จะเท่ากับมุมระหว่างระนาบของวงโคจรของดาวเคราะห์นั้นกับเส้นสุริยวิถี ซึ่งเป็นระนาบที่เป็นเส้นทางโคจรของโลก นอกจากนี้ยังสามารถวัดได้โดยเปรียบเทียบกับระนาบอื่นๆ เช่น เทียบกับเส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์ หรือเทียบกับระนาบโคจรของดาวพฤหัสบดี แต่การใช้เส้นสุริยวิถีในการอ้างอิงจะเหมาะสมกับผู้สังเกตการณ์บนโลกมากกว่า วงโคจรของดาวเคราะห์ส่วนใหญ่ในระบบสุริยะของเรามีค่าความเอียงของวงโคจรค่อนข้างน้อย ไม่ว่าจะเปรียบเทียบกันเองหรือเทียบกับเส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์ก็ตาม มีข้อยกเว้นก็เพียงในบรรดาดาวเคราะห์แคระ เช่น พลูโต และ อีรีส ซึ่งมีค่าความเอียงของวงโคจรเทียบกับสุริยวิถีสูงถึง 17 องศาและ 44 องศาตามลำดับ ดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่เช่น พัลลัส ก็มีความเอียงของวงโคจรสูงถึง 34 องศา สำหรับดาวเคราะห์นอกระบบ ยังไม่ค่อยมีการวัดความเอียงของวงโคจร ทราบได้แต่เพียงมวลต่ำสุดของมันเท่านั้น ซึ่งหมายถึง ดาวเคราะห์นอกระบบบางดวงที่แท้อาจเป็นดาวแคระน้ำตาล หรือเป็นดาวแคระแดงที่จางมากๆ ก็ได้ มีแต่เพียงดาวเคราะห์ที่ตรวจพบการเคลื่อนผ่าน และที่ตรวจจับด้วยวิธีมาตรดาราศาสตร์ จึงสามารถทราบถึงความเอียงของวงโคจร และบางทีอาจทราบถึงมวลที่แท้จริงได้ ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 2010 ข้างหน้านี้ น่าจะมีการตรวจวัดความเอียงของวงโคจรและมวลที่แท้จริงของดาวเคราะห์นอกระบบจำนวนมากได้เพิ่มขึ้น โดยใช้การสังเกตการณ์ในอวกาศผ่านปฏิบัติการต่างๆ เช่น Gaia mission, Space Interferometry Mission, และ กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็.

ใหม่!!: โลกและความเอียงของวงโคจร · ดูเพิ่มเติม »

ความเอียงของแกน

วามเอียงของแกนโลก แสดงความสัมพันธ์ระหว่างแกนหมุน กับระนาบโคจร ความเอียงของแกน (axial tilt) คือองศาการเอียงของแกนหมุนของดาวเคราะห์เทียบกับระนาบการโคจรของมัน บางครั้งก็เรียกว่า axial inclination หรือ obliquity สามารถระบุได้เป็นหน่วยองศาระหว่างแกนของดาวเคราะห์กับเส้นตรงที่ลากผ่านจุดศูนย์กลางของดาวเคราะห์และตั้งฉากกับระนาบโคจร.

ใหม่!!: โลกและความเอียงของแกน · ดูเพิ่มเติม »

ควิดดิชในยุคต่าง ๆ

วิดดิชในยุคต่าง ๆ (Quidditch Through the Ages) เป็นหนังสือจำลองจากหนังสือเรียนใน โรงเรียนเวทมนตร์คาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ ที่รวบรวมประวัติความเป็นมาของไม้กวาด อธิบายวิวัฒนาการของควิดดิชในแต่ละยุค รวมไปถึงกฎกติกาและการเล่นสมัยใหม่ ตำนานของควิดดิช กีฬาสุดฮิตในโลกของพ่อมดแม่มด ลูกสนิชสีทอง พัฒนากรของควิดดิช จวบจนกระทั่งเป็นควิดดิชในปัจจุบัน ซึ่งทั้งหมดนี้ผ่านช่วงเวลาต่าง ๆ นานกว่าหกศตวรรษ นอกจากนี้ ยังอธิบายวิธีเล่ อย่างละเอียด กลเม็ดต่าง ๆ ที่ใช้กันในปัจจุบัน ทีมควิดดิชที่เป็นขวัญใจของพ่อมดแม่มดทั่วโลก สุดยอดทีมควิดดิชของเอเชียและที่อื่น.

ใหม่!!: โลกและควิดดิชในยุคต่าง ๆ · ดูเพิ่มเติม »

คอนโด้ อิซาโอะ

อนโด้ อิซาโอะ (ชื่อในมังงะภาษาไทย) หรือ คอนโด อิซาโอะ (ชื่อในอะนิเมะภาษาไทย) เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ใหม่!!: โลกและคอนโด้ อิซาโอะ · ดูเพิ่มเติม »

คาบการหมุนรอบตัวเอง

คาบการหมุนรอบตัวเอง คือ ระยะเวลาที่ดาวดวงหนึ่งหมุนรอบตัวเองจนครบ 1 รอบ เช่น โลกของเรามีคาบการหมุนรอบตัวเองประมาณ 24 ชั่วโมง เป็นต้น หมวดหมู่:กลศาสตร์ท้องฟ้า.

ใหม่!!: โลกและคาบการหมุนรอบตัวเอง · ดูเพิ่มเติม »

คาบดาราคติ

ในทางดาราศาสตร์ คาบดาราคติ (orbital period) คือระยะเวลาที่วัตถุหนึ่งใช้ในการโคจรรอบวัตถุอื่นที่ใช้ในทางดาราศาสตร์ ซึ่งคาบดาราคตินั้นมีประโยชน์อย่างมากสำหรับนักดาราศาสตร์ ที่จะต้องใช้คาบดาราคติในการคำนวณระยะเวลาของดาวดวงหนึ่งโคจรรอบดาวอีกดวงหนึ่ง คาบดาราคติยังแบ่งออกได้เป็นหลายแบบ ดังนี้.

ใหม่!!: โลกและคาบดาราคติ · ดูเพิ่มเติม »

คาวาคามิ บันไซ

วาคามิ บันไซ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ใหม่!!: โลกและคาวาคามิ บันไซ · ดูเพิ่มเติม »

คาซึระ โคทาโร่

ซึระ โคทาโร่ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ใหม่!!: โลกและคาซึระ โคทาโร่ · ดูเพิ่มเติม »

คิม พอสสิเบิล

ม พอสสิเบิล (Kim Possible) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันที่ออกอากาศในประเทศไทยทางช่อง ดิสนีย์แชนแนลเอเชีย (ผ่านทางทรูวิชั่นส์) มีเรื่องราวเกี่ยวกับคิม พอสสิเบิล ผู้มีภารกิจที่จะต้องช่วยโลกและหยุดยั้งผู้ร้ายต่างๆ ในประเทศไทยเคยฉายทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 และมีเสียงพาทย์ไทยในช่องดิสนีย์แชนแนลเอเชีย ปีที่สี่ได้เริ่มในวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 (ทางช่อง Disney Channel).

ใหม่!!: โลกและคิม พอสสิเบิล · ดูเพิ่มเติม »

คิจิมะ มาทาโกะ

มะ มาทาโกะ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ใหม่!!: โลกและคิจิมะ มาทาโกะ · ดูเพิ่มเติม »

คนธรรพ์

รูปสลักไม้คนธรรพ์ ที่พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณริมถนนสุขุมวิทจังหวัดสมุทรปราการ คนธรรพ์ (गन्धर्व Gandharva) เป็นอมนุษย์จำพวกหนึ่ง ตามคติในศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู.

ใหม่!!: โลกและคนธรรพ์ · ดูเพิ่มเติม »

ค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน

้างคาวแม่ไก่ป่าฝน (Large flying fox, Greater flying fox, Malayan flying fox, Malaysian flying fox, Large fruit bat) เป็นค้างคาวชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pteropus vampyrus อยู่ในวงศ์ Pteropodidae หรือค้างคาวผลไม้ เป็นค้างคาวขนาดใหญ่ มีหัวคล้ายหมาจิ้งจอก มีดวงตาโต จมูกและใบหูเล็ก ขนสีน้ำตาลแกมแดง และมีเล็บที่แหลมคมสามารถเกาะกิ่งไม้ได้ โดยจะใช้เล็บของนิ้วที่ 2 ที่เหมือนตะขอเป็นหลักในการป่ายปีนและเคลื่อนไหว มีฟันทั้งหมด 36 ซี่ ที่เขียนเป็นสูตรได้ว่า Lekagul B., J. A. McNeely.

ใหม่!!: โลกและค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน · ดูเพิ่มเติม »

งูจงอาง

งูจงอาง (King Cobra) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลื้อยคลาน เป็นงูพิษขนาดใหญ่ โดยทั่วไปมีความยาวเฉลี่ยประมาณ 3.5 - 4.5 เมตร จัดเป็นงูพิษที่มีขนาดยาวที่สุดในโลก ซึ่งตัวที่ยาวเป็นสถิติโลกมีความยาวถึง 5.67 เมตร เป็นงูจงอางไทยลำตัวสีชมพู ถูกยิงได้ที่จังหวัดนครศรีธรรมร..

ใหม่!!: โลกและงูจงอาง · ดูเพิ่มเติม »

ตามล่านักฆ่าแอนดรอยด์

ตามล่านักฆ่าแอนดรอยด์ (PLUTO), ในชื่อภาษาญี่ปุ่นว่า พลูโต เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นวาดโดยนาโอกิ อุราซาว่า ซึ่งการ์ตูนเรื่องนี้นำเนื้อหาจากผลงานของปรมาจารย์แห่งวงการการ์ตูนญี่ปุ่นเท็ตสึกะ โอซามุ เรื่อง "เจ้าหนูอะตอม ตอนหุ่นยนต์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก"(Astro Boy: The World's Strongest Robot) มาเรียบเรียงตีความใหม่ โดยให้ เกซิกต์ หนึ่งใน 7 หุ่นยนต์ที่ทรงประสิทธิภาพที่สุดในโลก เป็นตัวดำเนินเรื่อง ซึ่ง เนื้อหาในตอนหุ่นยนต์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลกนั้น เป็นเพียงส่วนหนึ่ง จากเนื้อหาทั้งหมดในการ์ตูนเรื่องเจ้าหนูอะตอม.

ใหม่!!: โลกและตามล่านักฆ่าแอนดรอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

ตุลาการทมิฬ

ตุลาการทมิฬ (新暗行御史 Shin Angyō Onshi 신암행어사 Sin-amhaengeosa Blade of the Phantom Master) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ผลงานของยองอินวันและยังกวางอิล ซึ่งเป็นชาวเกาหลี ลงตีพิมพ์ในนิตยสาร Sunday GENE-X รายเดือน ของสำนักพิมพ์โชงะกุกัง ชื่อภาษาอังกฤษของผลงานเรื่องนี้ใช้ชื่อว่า Blade of the Phantom Master และในบางประเทศใช้ชื่อว่า Shin Angyō Onshi ฉบับรวมเล่มทั้งหมดมี 17 เล่มจบ ในปี..

ใหม่!!: โลกและตุลาการทมิฬ · ดูเพิ่มเติม »

ตุลาคม พ.ศ. 2546

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โลกและตุลาคม พ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

ตูโปเลฟ ตู-144

right ตูโปเลฟ ตู-144 (Tupolev Tu-144) เป็นเครื่องบินโดยสารความเร็วเหนือเสียงแบบแรกของโลก เครื่องต้นแบบ ตู-144 เครื่องต้นแบบบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 1968 และปรากฏต่อสาธารณชนเป็นครั้งแรก ที่อากาศยานเชเรเม็ทเยโวในกรุงมอสโก เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1970 ในงานแสดงการบินที่ปารีสในปี ค.ศ. 1973 ตู-144 หมายเลข 2 ซึ่งเป็นเครื่องบินต้นแบบ ได้เกิดระเบิดต่อหน้าผู้ชมกว่า 30,000 คน ทำให้พัฒนาช้าลงไปอีกหลายปี ตู-144 เริ่มรับผู้โดยสารเป็นครั้งแรกในวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1977 และเป็นคูแข่งข้นของเจ๊ตโดยสารคองคอร์ด ซึ่ง ตู-144 มีขนาดใหญ่กว่าคองคอร์ดและเร็วกว่าและได้บินเป็นครั้งแรกก่อนคองคอร์ด 2 เดือน แต่รับผู้โดยสารช้ากว่าคองคอร์ต 21 เดือน ตูโปเลฟ ตู-144 มีข้อจำกัดในการออกแบบด้านพลศาสตร์ ซึ่งส่วนหัวของเครื่องบินจะต้องเชิดขึ้น ส่งผลให้ทัศนวิสัยของนักบินไม่ดี ผู้ออกแบบได้แก้ไขโดยเพิ่มกลไกปรับส่วนหัวของเครื่องบิน ให้กดลงมา เพื่อให้นักบินมองเห็นสนามบินขณะเครื่องบินขึ้น ลงจอด และขณะอยู่บนแทกซี่เวย์ ตู-144 ต้องใช้ร่มชูชีพช่วยลดความเร็วในการลงจอ.

ใหม่!!: โลกและตูโปเลฟ ตู-144 · ดูเพิ่มเติม »

ต้องรอด

ต้องรอด เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น วาดโดยทาคาโอะ ไซโต เริ่มตีพิมพ์เป็นรายสัปดาห์ในนิตยสารโชเน็นซันเดย์ เมื่อปี พ.ศ. 2519 ถึง พ.ศ. 2520 ฉบับรวมเล่มตีพิมพ์และจำหน่ายครั้งแรกโดยสำนักพิมพ์โชกะคุคัง มีความยาวทั้งสิ้น 22 เล่มจบ ต่อมาในปี..

ใหม่!!: โลกและต้องรอด · ดูเพิ่มเติม »

ซัมซุง

ซัมซุง (อังกฤษ: Samsung; เกาหลี: 삼성, ฮันจา: 三星, MC: Samseong, MR: Samsŏng, ภาษาเกาหลีอ่านว่า ซัม-ซอง) เป็นชื่อกลุ่มบริษัทแห่งหนึ่งจากประเทศเกาหลีใต้ มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่โซล, ประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งประกอบด้วยบริษัทย่อยจำนวนมาก และธุรกิจที่เกี่ยวข้องส่วนใหญ่อยู่ภายใต้แบรนด์ซัมซุง และเป็นกลุ่มธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในเกาหลีใต้ ซัมซุงได้ก่อตั้งโดย ลี เบียงชอล ในปีพ.ศ. 2493 ในช่วงแรกของการทำธุรกิจนั้นได้เน้น ไปที่การส่งออกสินค้า, แปรรูปอาหาร, สิ่งทอ ซัมซุงเริ่มเข้ามาในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในปลายปี พ.ศ. 2503 หลังจากการจากไปของประธานผู้ก่อตั้ง ลี เบียงชอล ทำให้ซัมซุงได้แยกกลุ่มธุรกิจออกเป็น 4 กลุ่ม คือ Samsung Group, Shinsegae Group, CJ Group และ Hansol Group และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 มา ซัมซุงได้เป็นที่รู้จักเป็นสากลมากขึ้นจากสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะโทรศัพท์มือถือที่เป็นแหล่งรายได้สำคัญของบริษัทในปัจจุบัน ปัจจุบันธุรกิจของซัมซุง แบ่งออกเป็น 4 หน่วยใหญ่ ๆ คือ เครื่องใช้ในบ้าน เครื่องใช้สำนักงาน โทรศัพท์มือถือ และส่วนประกอบหลัก ๆ ที่ใช้ในการผลิตอุปกรณ์ดิจิตอลที่เป็นนวัตกรรมล่าสุดของโลกในศตวรรษ 21 มีฐานการผลิต 25 แห่ง,บริษัทสาขาตลาด 36 แห่ง, สำนักงานย่อย 23 แห่ง ที่ประจำอยู่ใน 46 ประเทศทั่วโลก และกระจายอยู่ทั้ง 7 ทวีป คือ อเมริกาเหนือ ยุโรป เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียกลาง จีน CIS และละตินอเมริก.

ใหม่!!: โลกและซัมซุง · ดูเพิ่มเติม »

ซันเอาท์เทจ

sun outage เป็นปรากฏการที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ เมื่อโลก ดาวเทียม และดวงอาทิตย์ โคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ทำให้จานสายอากาศของสถานีภาคพื้นดิน รับสัญญาณจากดวงอาทิตย์(ที่เป็นแหล่งกำเหนิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีกำลังงานขนาดมหาศาล) ซึ่งจะผลิตสัญญาณทุกย่านความถี่ เกิดขึ้นเป็นสัญญาณรบกวน ปะปนเข้ามากับสัญญาณสื่อสารข้อมูล ที่สถานีภาคพื้นดินนั้นๆรับจากดาวเทียม ทำให้สถานีสื่อสารภาคพื้นดิน ไม่สามารถติดต่อสื่อสารได้อย่างถูกต้อง ซึ่งเหตุการณ์ sun outage จะเกิดขึ้นปีละ 2 ครั้ง แต่ละครั้งจะใช้เวลานาน 5-10 วัน วันละประมาณ 15 นาที และการเกิดปรากฏการ sun outage นี้จะเกิดกับสถานีดาวเทียมที่ติดตั้งในพื้นที่ต่างๆ ไม่พร้อมกันขึ้นอยู่กับตำแหน่งของสถานีภาคพื้นดินบนพื้นโลก sun outage จะเกิดประมาณเดือนกันยายน และตุลาคมของทุกปี บางทีอาจเกิดเดือนอื่นๆก็ได้ ซึ่งสามารถทำการคำนวณเพื่อคาดการณ์วัน และเวลาที่จะเกิดล่วงหน้าได้อย่างแม่นยำ การคำนวณนี้เป็นหน้าที่ของผู้ให้บริการ เช่นดาวเทียม เมื่อเกิดเหตุการณ์นี้ จะทำให้เครื่องรับดาวเทียม ชิปไปชิปมา ไฟสัญญาณ ซิ้งค์ จะกะพริบๆ เสียงจะดังขาดๆหายๆ แล้วเสียงก็จะหายไป ปล่อยไว้ประมาณ 15 นาที เมื่อมุมของโลก เคลื่อนที่ผ่านแนวเส้นตรงกับดวงอาทิตย์ ก็จะรับสัญญาณได้ตามปกติ หมวดหมู่:ปรากฏการณ์ธรรมชาติ หมวดหมู่:การแพร่สัญญาณ.

ใหม่!!: โลกและซันเอาท์เทจ · ดูเพิ่มเติม »

ซากาตะ กินโทกิ

ซากาตะ กินโทกิ เป็นตัวละครเอกในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซราจิ เดิมเป็นนักรบซามูไรขับไล่ต่างแดนที่ช่วยปกป้องญี่ปุ่นจากการรุกรานของชาวสวรรค์หรือมนุษย์ต่างดาว แต่ต่อมาเขาเริ่มรู้สึกว่าการต่อสู้กับชาวสวรรค์เป็นการกระทำที่สูญเปล่า จึงได้พลิกผันตนมาเป็นนักรับจ้างอิสระในเอโดะ โดยเปิดร้านที่ใช้ชื่อร้านว่า ร้านกินจังรับจ้างสารพั.

ใหม่!!: โลกและซากาตะ กินโทกิ · ดูเพิ่มเติม »

ซามูไรทรูปเปอร์

ซามูไรทรูปเปอร์ (Ronin Warriors) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น แนวโชเน็น แต่งโดยยาทาเตะ ฮาจิเมะ ผลิตโดยบริษัทซันไรส์ ออกอากาศที่ประเทศญี่ปุ่น ทางสถานีนาโงยะ ทีวีและทีวีอาซาฮี ทุกวันเสาร์ เวลา 17.30-18.00 น. ตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2531 ถึง 4 มีนาคม พ.ศ. 2532 มีความยาวทั้งสิ้น 39 ตอน และต่อมาสร้างเป็นโอวีเออีก 3 ภาคด้วยกัน ในปี พ.ศ. 2532 ถึง พ.ศ. 2534.

ใหม่!!: โลกและซามูไรทรูปเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซารุโทบิ อายาเมะ

ซารุโทบิ อายาเมะ หรือ ซัทจัง เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ใหม่!!: โลกและซารุโทบิ อายาเมะ · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์มูน

ซูเปอร์มูนในวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ.2554 (รูปทางด้านขวา) เทียบกับดวงจันทร์ในวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ.2553 (รูปทางด้านซ้าย) เมื่อมองจากโลก ในทางดาราศาสตร์ ซูเปอร์มูนเป็นจันทร์เพ็ญหรือจันทร์ดับซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกับการเข้าใกล้โลกของดวงจันทร์ ระยะห่างระหว่างโลกกับดวงจันทร์แตกต่างกันไปแต่ละเดือนอยู่ระหว่าง 354,000 และ 410,000 กิโลเมตร เนื่องจากวงโคจรรูปวงรีของดวงจันทร.

ใหม่!!: โลกและซูเปอร์มูน · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์นักรบดับทัพอสูร

ซูเปอร์นักรบดับทัพอสูร (อังกฤษ: Edge of Tomorrow) คือ ภาพยนตร์อเมริกันปี..

ใหม่!!: โลกและซูเปอร์นักรบดับทัพอสูร · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์แมน

ซูเปอร์แมน คือตัวละครจากหนังสือการ์ตูนซูเปอร์ฮีโร่ ผลงานของ ดีซีคอมิกส์ สำนักพิมพ์ยักษ์ใหญ่ของอเมริกาDaniels (1998), p. 11.

ใหม่!!: โลกและซูเปอร์แมน · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์เอิร์ธ

วาดแสดงซูเปอร์เอิร์ธตามสมมุติฐาน 2 ดวง แต่ละดวงมีความหนาแน่นเฉลี่ยมากกว่าโลก แต่ทั้งสองดวงก็จัดว่าเป็น "ซูเปอร์เอิร์ธ" เพราะมีมวลมากกว่ามวลของโลก ซูเปอร์เอิร์ธ (super-Earth) หมายถึง ดาวเคราะห์คล้ายโลกที่มีมวลมากกว่าโลก แต่มีมวลน้อยกว่าดาวเคราะห์แก๊สยักษ์ คำนี้จะใช้ในความหมายทางด้านมวลของดาวเคราะห์เท่านั้น ไม่มีความหมายในแง่เงื่อนไขด้านพื้นผิวของดาวหรือความสามารถในการอยู่อาศัยของดาวนั้นๆ กล่าวคือมันมิได้มีความหมายว่าดาวเคราะห์นั้นจะมีอุณหภูมิหรือสภาพแวดล้อมใกล้เคียงกับโลกแต่อย่างใด หากกล่าวตาม Valencia et al.

ใหม่!!: โลกและซูเปอร์เอิร์ธ · ดูเพิ่มเติม »

ซี-47 สกายเทรน

right ดักลาส ซี-47 สกายเทรน (C-47 Skytrain) ซี-47 สกายเทรน เป็นรุ่นที่ได้รับการพัฒนามาจาก ดีซี-3 เป็นเครื่องบินที่ใช้งานทางทหาร และทำสถิติสร้างมากที่สุดลำหนึ่งของโลกกว่า 10,926 เครื่อง และเป็นเครื่องบินที่ใช้งานนานมากที่สุดเป็นที่รู้จักกันมากที่สุดแบบหนึ่งของโลก เครื่องต้นแบบ ซี-47 บินเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1935 อภิวัตน์ โควินทรานนท์,อากาศยาน1979ฉบับเครื่องบิน,เอวิเอชั่น ออบเซิร์ฟเวอร์,กรุงเทพ,2522.

ใหม่!!: โลกและซี-47 สกายเทรน · ดูเพิ่มเติม »

ซีกโลกใต้

ซีกโลกใต้จากเหนือขั้วโลกใต้ ซีกโลกใต้เป็นครึ่งทรงกลมของโลกที่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร มีทั้งหมดหรือบางส่วนของห้าทวีป (แอนตาร์กติกา ออสเตรเลีย ประมาณ 9/10 ของทวีปอเมริกาใต้ 1/3 ทางใต้ของทวีปแอฟริกา และหลายหมู่เกาะทางใต้นอกฝั่งแผ่นดินใหญ่ทวีปเอเชีย) สี่มหาสมุทร (อินเดีย แอตแลนติกใต้ ใต้และแปซิฟิกใต้) และโอเชียเนียส่วนมาก เนื่องจากความเอียงของการหมุนของโลกเทียบกับดวงอาทิตย์และระนาบอุปราคา ฤดูร้อนจึงกินเวลาตั้งแต่เดือนธันวาคมถึงมีนาคม และฤดูหนาวกินเวลาตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงกันยายน วันที่ 22 หรือ 23 กันยายนเป็นวสันตวิษุวัต และวันที่ 20 หรือ 21 มีนาคมเป็นศารทวิษุวัต.

ใหม่!!: โลกและซีกโลกใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ซีกโลกเหนือ

แผนที่ทางภูมิศาสตร์ของซีกโลกเหนือ บริเวณสีน้ำเงินคือซีกโลกเหนือ ส่วนบริเวณสีเหลืองคือซีกโลกใต้ เส้นที่ลากผ่านกึ่งกลางภาพคือเส้นศูนย์สูตร ซีกโลกเหนือ (northern hemisphere) คือบริเวณของโลกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตรขึ้นไปจนถึงขั้วโลกเหนือ ตรงข้ามกับซีกโลกใต้ ค่าพิกัดภูมิศาสตร์ของละติจูดของตำแหน่งใดก็ตามบนซีกโลกเหนือจะเป็นบวกเสมอและใช้สัญลักษณ์แทนด้วยตัว N ฤดูหนาวของพื้นที่ในซีกโลกเหนือจะเริ่มตั้งแต่เหมายัน (ราววันที่ 21 ธันวาคม) จนถึงวสันตวิษุวัต (ราววันที่ 20 มีนาคม) ส่วนฤดูร้อนจะเริ่มตั้งแต่ครีษมายัน (ราววันที่ 21 มิถุนายน) ไปจนถึงศารทวิษุวัต (ราววันที่ 23 กันยายน) ซีกโลกเหนือประกอบด้วยพื้นน้ำมากกว่าแผ่นดินอย่างชัดเจน แต่ก็ยังปกคลุมด้วยแผ่นดินมากกว่าซีกโลกใต้ ซีกโลกเหนือประกอบด้วยแผ่นดิน 39 % และพื้นน้ำ 61 % ประชากรราว 90 % ของโลกอาศัยอยู่ในซีกโลกเหนือ แผ่นดินส่วนใหญ่เป็นทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ซึ่งเป็นทวีปที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทวีปอเมริกาเหนือ และส่วนใหญ่ของทวีปแอฟริกา นอกจากนี้ยังมีบางส่วนของทวีปอเมริกาใต้ กรีนแลนด์ เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก มหาสมุทรที่มีพื้นที่อยู่ในซีกโลกเหนือได้แก่มหาสมุทรอาร์กติก มหาสมุทรแปซิฟิกและแอตแลนติกราวครึ่งหนึ่ง และมหาสมุทรอินเดียบางส่วน จุดศูนย์กลางของซีกโลกเหนือคือขั้วโลกเหนือ ซึ่งเป็นจุดตัดทิศเหนือระหว่างขั้วโลกกับพื้นผิวของโลก ส่วนขั้วแม่เหล็กเหนือจะแปรผันไปเหนือเส้นอาร์กติกเซอร์เคิล ออโรราที่เกิดขึ้นในซีกโลกเหนือเรียกว่า aurora borealis หรือ แสงเหนือ ในภาษาไทย เนื่องจากแรงโคริออลิสจากการหมุนของโลก บริเวณความกดอากาศต่ำที่กำเนิดในซีกโลกเหนือ เช่น เฮอร์ริเคนหรือไต้ฝุ่น จะปรากฏการหมุนของพายุในทิศทวนเข็มนาฬิกาเสมอ ซีกเหนือของดาวเคราะห์ดวงอื่นในระบบสุริยะสามารถนิยามได้จาก บริเวณของดาวที่มีซีกฟ้าเดียวกับขั้วโลกเหนือเมื่อเทียบกับระนาบไม่แปรผันของระบบสุร.

ใหม่!!: โลกและซีกโลกเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ซีเอ็นเอ็น

ล นิวส์ เน็ตเวิร์ก (Cable News Network) หรือรู้จักกันในชื่อ ซีเอ็นเอ็น (CNN) เป็นเครือข่ายโทรทัศน์เคเบิล ที่เสนอข่าวสารตลอด 24 ชั่วโมง ก่อตั้งโดย เท็ด เทอร์เนอร์ เริ่มต้นออกอากาศเมื่อวันอาทิตย์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2523 ปัจจุบันบริหารงานโดยเทิร์นเนอร์บรอดแคสติงซิสเตม หน่วยงานในเครือไทม์วอร์เนอร์ ซึ่งสำนักงานใหญ่ที่เรียกว่า ศูนย์กลางซีเอ็นเอ็น (CNN Center) ตั้งอยู่ที่เมืองแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย และมีห้องส่งอื่นๆ อยู่ที่นครนิวยอร์ก และกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ซึ่งซีเอ็นเอ็นที่ออกอากาศในสหรัฐอเมริกา จะส่งสัญญาณไปยังประเทศแคนาดาเพียงแห่งเดียว ส่วนซีเอ็นเอ็นที่ออกอากาศอยู่ใน 212 ประเทศทั่วโลกนั้น เป็นอีกช่องหนึ่งที่เรียกว่า ซีเอ็นเอ็นนานาชาติ (CNN International) ทั้งนี้ซีเอ็นเอ็นเป็นสถานีโทรทัศน์ข่าว ที่มีผู้ชมมากเป็นอันดับต้นๆ ของสหรัฐอเมริกาและทั่วโลก โดยมีคู่แข่งในประเทศที่สำคัญคือ ฟ็อกซ์นิวส์ และระดับนานาชาติคือ บีบีซี เวิลด์นิว.

ใหม่!!: โลกและซีเอ็นเอ็น · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทรรศน์ฝาแฝด

ในวิชาฟิสิกส์ ปฏิทรรศน์ฝาแฝด (Twin paradox) เป็นการทดลองในจินตนาการของทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ เกี่ยวกับมนุษย์ผู้หนึ่งได้เดินทางไปในอวกาศด้วยจรวดความเร็วสูงแล้วกลับมายังโลก เมื่อกลับมาแล้วพบว่ามนุษย์คนนั้นมีอายุน้อยกว่าฝาแฝดของตัวเองที่อาศัยอยู่บนโลกตลอดเวลาจะทำให้ผู้สังเกตที่อยู่บนโลกรู้สึกว่าฝาแฝนที่เดินทางไปกับจรวจความเร็วสูงนั้นจะมีนาฬิกาที่เดินช้ากว่าตน ผลการทำนายครั้งนี้ทำดูเหมือนจะเป็นปริศนาถ้ามองในอีกมุมหนึ่งคือ มองว่าฝาแฝดที่อยู่บนโลกก็กำลังเคลื่อนที่หนีฝาแฝดที่อยู่บนจรวดขณะที่จรวดอยู่นิ่ง ๆ นั่นทำให้ฝาแฝดที่เดินทางไปกับจรวดรู้สึกว่าฝาแฝดที่อยู่บนโลกมีนาฬิกาที่เดินช้ากว่าตน จึงเรียกปัญหานี้ว่า "ปฏิทรรศน์" (paradox) แต่ในความเป็นจริงแล้ว ปัญหานี้ไม่ได้ขัดกันถ้ามองในกรอบของทฤษฎีสัมพัทธภาพเพราะว่าปัญหานี้เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในกรอบที่มีความเร่งทำให้เกิดความเข้ากันไม่ได้ในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ และได้รับการยืนยันว่าเป็นจริงตามการทดลองจริงบนโลก เกี่ยวกับการวัดช่วงเวลาด้วยนาฬิกาที่แม่นยำสองเครื่อง ที่อยู่บนพื้นโลกหนึ่งเครื่อง และอยู่บนเครื่องบินที่บินรอบโลกหนึ่งเครื่อง เริ่มตั้งแต่พอล เลงเกเวน (Paul Langevin) ในปี 1911 เป็นผู้ที่ได้มีคำอธิบายถึงความแตกต่างหลากหลายกันของปฏิทรรศน์ดังกล่าวเป็นคนแรก คำอธิบายเหล่านี้ "สามารถแบ่งออกได้เป็นคำอธิบายที่มุ่งเน้นไปที่ผลของมาตรฐานที่แตกต่างกันของความพร้อมเพรียง (simultaneity) ในกรอบอ้างอิงที่แตกต่างกันและคำอธิบายที่กำหนดโดยใช้ค่าความเร่งจากการเดินทาง เป็นเหตุผลหลัก...

ใหม่!!: โลกและปฏิทรรศน์ฝาแฝด · ดูเพิ่มเติม »

ประชากรโลก

ประมาณประชากรโลกตั้งแต่ปี 1800 ถึง 2100 ตามhttp://esa.un.org/wpp/unpp/panel_population.htm ผลการคาดคะเนของสหประชาชาติเมื่อปี 2010 ('''แดง''' '''ส้ม''' '''เขียว''') และhttp://www.census.gov/ipc/www/worldhis.html การประมาณในอดีตของสำนักสำมะโนสหรัฐ ('''ดำ''') ตัวเลขประชากรที่บันทึกจริงเป็นสี'''น้ำเงิน''' ตามการประมาณสูงสุด ประชากรโลกอาจสูงถึง 16,000 ล้านคนในปี 2100 ตามการประมาณต่ำสุด ประชากรโลกอาจลดลงเหลือ 6 พันล้านคน ประชากรโลก เป็นจำนวนมนุษย์ทั้งหมดที่ยังมีชีวิตอยู่บนโลก ซึ่งปัจจุบันองค์การสหประชาชาติ (UN) ประมาณการว่าประชากรโลกมีจำนวนราวๆ 7,300 ล้านคน ณ เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: โลกและประชากรโลก · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ฟิสิกส์

''Table of Mechanicks'', 1728 ''Cyclopaedia''. ประวัติศาสตร์ของฟิสิกส์ คือ การศึกษาการเติบโตของฟิสิกส์ไม่ได้นำมาเพียงแค่การเปลี่ยนแปลงแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับโลกแห่งวัตถุ คณิตศาสตร์ และ ปรัชญา เท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี และการเปลี่ยนรูปแบบของสังคม ฟิสิกส์ถูกพิจารณาในแง่ของทั้งตัวเนื้อความรู้และการปฏิบัติที่สร้างและส่งผ่านความรู้ดังกล่าว การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ซึ่งเริ่มต้นประมาณปี ค.ศ. 1600 เป็นขอบเขตง่าย ๆ ระหว่างแนวคิดโบราณกับฟิสิกส์คลาสสิก ในปี ค.ศ. 1900 จึงเป็นจุดเริ่มต้นของฟิสิกส์ยุคใหม่ ทุกวันนี้วิทยาศาสตร์ยังไม่มีอะไรแสดงถึงจุดสมบูรณ์ เพราะการค้นพบที่มากขึ้นนำมาซึ่งคำถามที่เกิดขึ้นจากอายุของเอกภพ ไปถึงธรรมชาติของสุญญากาศ และธรรมชาติในที่สุดของสมบัติของอนุภาคที่เล็กกว่าอะตอม ทฤษฎีบางส่วนเป็นสิ่งที่ดีที่สุดที่ฟิสิกส์ได้เสนอในปัจจุบันนี้ อย่างไรก็ตามรายนามของปัญหาที่ยังแก้ไม่ได้ของฟิสิกส์ ก็ยังคงมีมากอยู.

ใหม่!!: โลกและประวัติศาสตร์ฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์โลก

ประวัติศาสตร์โลกหรือประวัติศาสตร์มนุษยชาติเริ่มต้นที่ยุคหินเก่า ประวัติศาสตร์โลกไม่รวมประวัติศาสตร์ธรรมชาติที่ไม่ใช่มนุษย์และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยา ยกเว้นตราบเท่าที่โลกธรรมชาตินั้นกระทบต่อชีวิตมนุษย์เป็นอย่างมาก ประวัติศาสตร์โลกประกอบด้วยการศึกษาทางโบราณคดีและหลักฐานลายลักษณ์อักษรตั้งแต่สมัยโบราณ ประวัติศาสตร์โบราณที่มีบันทึกเริ่มต้นจากการประดิษฐ์การเขียน ทว่า รากเหง้าแห่งอารยธรรมมีมาแต่ก่อนการประดิษฐ์การเขียน สมัยก่อนประวัติศาสตร์เริ่มต้นในยุคหินเก่า ต่อด้วยยุคหินใหม่และการปฏิวัติเกษตรกรรม (ระหว่าง 8000 ถึง 5000 ปีก่อนคริสตกาล) ในพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ (Fertile Crescent) การปฏิวัติเกษตรกรรมเป็นเครื่องหมายการเปลี่ยนแปลงในประวัติศาสตร์มนุษย์ โดยมนุษย์เริ่มต้นทำการเกษตร คือ กสิกรรมและการเลี้ยงสัตว์อย่างเป็นระบบ เมื่อเกษตรกรรมก้าวหน้าขึ้น มนุษย์ส่วนมากเปลี่ยนจากวิถีชีวิตเร่ร่อนมาเป็นตั้งถิ่นฐานเป็นเกษตรกรในนิคมถาวร การเร่ร่อนยังมีอยู่ในบางที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ห่างไกลซึ่งมีพืชที่เพาะปลูกได้ไม่กี่ชนิด แต่ความมั่นคงสัมพัทธ์และผลิตภาพที่เพิ่มขึ้นจากกสิกรรมทำให้ชุมชนมนุษย์ขยายเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่า ซึ่งความก้าวหน้าในการขนส่งก็มีส่วนช่วย เมื่อกสิกรรมพัฒนา การเพาะปลูกธัญพืชมีความซับซ้อนขึ้นและทำให้มีการแบ่งงานกันทำเพื่อเก็บอาหารระหว่างฤดูเพาะปลูก จากนั้นการแบ่งงานทำให้เกิดชนชั้นสูงที่สุขสบายและพัฒนาการนคร สังคมมนุษย์ที่ซับซ้อนมากขึ้นทำให้ระบบการเขียนและการบัญชีมีความจำเป็น หลายนครพัฒนาบนตลิ่งทะเลสาบและแม่น้ำ ตั้งแต่ 3000 ปีก่อนคริสตกาล เกิดนิคมโดดเด่นและมีการพัฒนา เช่นในเมโสโปเตเมีย ริมตลิ่งแม่น้ำไนล์แห่งอียิปต์ และหุบแม่น้ำสินธุ อาจมีอารยธรรมคล้ายกันพัฒนาขึ้นตามแม่น้ำสำคัญในจีน แต่หลักฐานทางโบราณคดีของการสร้างเมืองอย่างกว้างขวางในที่นั้นชัดแจ้งน้อยกว่า ประวัติศาสตร์โลกเก่า (โดยเฉพาะอย่างยิ่งยุโรปและเมดิเตอร์เรเนียน) โดยทั่วไปแบ่งเป็นยุคโบราณ ถึง..

ใหม่!!: โลกและประวัติศาสตร์โลก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: โลกและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์

รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.

ใหม่!!: โลกและประเทศอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: โลกและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไต้หวัน

ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.

ใหม่!!: โลกและประเทศไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ใหม่!!: โลกและประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ปรากฏการณ์โลกร้อน

ผิดปรกติของอุณหภูมิเฉลี่ยที่ผิวโลกที่เพิ่มขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2403–2549 เทียบกับอุณหภูมิระหว่าง พ.ศ. 2504–2533 ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิผิวพื้นที่ผิดปกติที่เทียบกับอุณหภูมิเฉลี่ยระหว่างปี พ.ศ. 2542 ถึง พ.ศ. 2551 ปรากฏการณ์โลกร้อน หมายถึงการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศใกล้พื้นผิวโลกและน้ำในมหาสมุทรตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีการคาดการณ์ว่าอุณหภูมิเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา นับถึง พ.ศ. 2548 อากาศใกล้ผิวดินทั่วโลกโดยเฉลี่ยมีค่าสูงขึ้น 0.74 ± 0.18 องศาเซลเซียส ซึ่งคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) ของสหประชาชาติได้สรุปไว้ว่า “จากการสังเกตการณ์การเพิ่มอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2490) ค่อนข้างแน่ชัดว่าเกิดจากการเพิ่มความเข้มของแก๊สเรือนกระจกที่เกิดขึ้นโดยกิจกรรมของมนุษย์ที่เป็นผลในรูปของปรากฏการณ์เรือนกระจก” ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่าง เช่น ความผันแปรของการแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์และการระเบิดของภูเขาไฟ อาจส่งผลเพียงเล็กน้อยต่อการเพิ่มอุณหภูมิในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมจนถึง พ.ศ. 2490 และมีผลเพียงเล็กน้อยต่อการลดอุณหภูมิหลังจากปี 2490 เป็นต้นมา ข้อสรุปพื้นฐานดังกล่าวนี้ได้รับการรับรองโดยสมาคมและสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 30 แห่ง รวมทั้งราชสมาคมทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติที่สำคัญของประเทศอุตสาหกรรมต่าง ๆ แม้นักวิทยาศาสตร์บางคนจะมีความเห็นโต้แย้งกับข้อสรุปของ IPCC อยู่บ้าง แต่เสียงส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ที่ทำงานด้านการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศของโลกโดยตรงเห็นด้วยกับข้อสรุปนี้ แบบจำลองการคาดคะเนภูมิอากาศที่สรุปโดย IPCC บ่งชี้ว่าอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยที่ผิวโลกจะเพิ่มขึ้น 1.1 ถึง 6.4 องศาเซลเซียส ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 21 (พ.ศ. 2544–2643) ค่าตัวเลขดังกล่าวได้มาจากการจำลองสถานการณ์แบบต่าง ๆ ของการแผ่ขยายแก๊สเรือนกระจกในอนาคต รวมถึงการจำลองค่าความไวภูมิอากาศอีกหลากหลายรูปแบบ แม้การศึกษาเกือบทั้งหมดจะมุ่งไปที่ช่วงเวลาถึงเพียงปี..

ใหม่!!: โลกและปรากฏการณ์โลกร้อน · ดูเพิ่มเติม »

ปริศนาโดมครอบเมือง

ปริศนาโดมครอบเมือง (อังกฤษ: Under The Dome) เป็นละครโทรทัศน์แนวไซไฟ ออกอากาศทางช่อง ซีบีเอส ในสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่วันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 2013 จนถึงวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 2015 ในไทยจะมีให้ชมที่เว็บไซต์ Doonee.com.

ใหม่!!: โลกและปริศนาโดมครอบเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลา

ปลา (อังกฤษ: Fish) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำ เป็นสัตว์เลือดเย็น หายใจด้วยเหงือกและมีกระดูกสันหลัง สามารถเคลื่อนไหวไปมาด้วยครีบและกล้ามเนื้อของลำตัว บางชนิดมีเกล็ดปกคลุมทั่วตัว บางชนิดไม่มีเกล็ดแต่ปกคลุมด้วยเมือกลื่น ๆ หรือแผ่นกระดูก มีหัวใจสองห้องและมีขากรรไกร สัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำบางประเภท ถูกเรียกติดปากว่าปลาเช่นเดียวกันเช่น ปลาดาว, โลมา, วาฬและหมึก ซึ่งสัตว์ทั้งหมดนี้ก็มีแหล่งอาศัยอยู่ในน้ำด้วยกันทั้งสิ้น แต่ไม่ได้จัดอยู่ในจำพวกเดียวกันกับปลา ด้วยลักษณะทางกายวิภาคและสรีรวิทยาที่แตกต่างกันเช่น ปลาดาวเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังเช่นเดียวกับปลา มีโครงสร้างที่เป็นหินปูน โลมาและวาฬถูกจัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่สามารถหายใจได้ทางปอดไม่ใช่ทางเหงือก และปลาหมึกจัดเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง แต่ถูกจัดรวมอยู่กับสัตว์ประเภทเดียวกันกับหอ.

ใหม่!!: โลกและปลา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาคู้

ปลาคู้ หรือ ปลาเปคู (Pacu ปากู) หรือที่นิยมเรียกกันในเชิงการเกษตรว่า ปลาจะละเม็ดน้ำจืด เป็นชื่อสามัญที่เรียกปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่งในวงศ์ปลาคาราซิน (Characidae) ในวงศ์ย่อย Serrasalminae หรือวงศ์ย่อยของปลาปิรันยา ปลาคู้มีรูปร่างโดยรวมคล้ายกับปลาปิรันยาซึ่งอยู่ในวงศ์ย่อยเดียวกัน หากแต่อยู่ต่างสกุลกัน โดยปลาคู้นั้นจะมีรูปร่างที่ใหญ่โตกว่าปลาปิรันยามาก โดยอาจยาวได้ถึง 80-110 เซนติเมตร และอาจหนักได้เกือบ 40 กิโลกรัม และมีพฤติกรรมที่ต่างกัน คือ ปลาคู้จะกินได้ทั้งพืชและสัตว์ โดยบางครั้งอาจจะขึ้นไปบนผิวน้ำเพื่อรอกินผลไม้หรือลูกไม้ที่ร่วงหล่นจากต้นได้เลย ขณะที่ปลาปิรันยาจะกินแต่เนื้อเพียงอย่างเดียว อีกประการหนึ่งที่แตกต่างกัน คือ ฟันและกรามของปลาคู้แม้จะแข็งแรงและแหลมคม แต่ก็ไม่เป็นซี่แหลมเหมือนปลาปิรันยา และกรามล่างจะไม่ยื่นยาวออกมาจนเห็นได้ชัด ปลาคู้มักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง กระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำขนาดใหญ่ในทวีปอเมริกาใต้เช่น อเมซอน, โอรีโนโก เป็นต้น รูปแสดงให้เห็นถึงฟันของปลาคู้ ปลาที่ได้ชื่อว่าเป็น ปลาคู้ จะเป็นปลาที่อยู่ในสกุล Acnodon, Colossoma, Metynnis, Mylesinus, Mylossoma, Ossubtus, Piaractus, Tometes และUtiaritichthys เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาเศรษฐกิจในหลายส่วนของโลกรวมถึงในประเทศไทยด้วย เนื่องจากเป็นปลาที่โตได้เร็วมาก กินเก่ง กินอาหารได้ไม่เลือก อีกทั้งยังพบว่าเป็นปลาที่ช่วยในการกำจัดหอยเชอรี่อันเป็นศัตรูข้าวที่สำคัญได้อีกด้วย ประกอบกับเนื้อมีรสชาติอร่อยสามารถปรุงเป็นอาหารได้หลากหลาย อีกทั้งนิยมตกกันเป็นเกมกีฬาด้วย แต่ด้วยความแพร่หลายนี้ ทำให้กลายเป็นปัญหาของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในบางพื้นที่ สำหรับในประเทศไทย ชนิดของปลาคู้ที่นำเข้ามาและนิยมเลี้ยงกันอย่างแพร่หลาย คือ ปลาคู้แดง (Piaractus brachypomus) และปลาคู้ดำ (Colossoma macropomum) ซึ่งเป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุด ซึ่งทั้งสองชนิดนี้ยังนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามด้วย ปลาคู้ แม้จะได้ชื่อว่าไม่เป็นปลาอันตรายต่อมนุษย์เท่ากับปลาปิรันยา แต่ที่ปาปัวนิวกินีและสหรัฐอเมริกา กลับมีปลาคู้ที่มีพฤติกรรมกัดอัณฑะของผู้ที่ตกปลาหรือลงไปว่ายน้ำในแม่น้ำถึงขั้นเสียชีวิตมาแล้ว.

ใหม่!!: โลกและปลาคู้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาค้างคาวดอยอินทนนท์

ปลาค้างคาวดอยอินทนนท์ (Siamese freshwater batfish, Siamese bat catfish) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กในอันดับปลาหนังชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae).

ใหม่!!: โลกและปลาค้างคาวดอยอินทนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไทเมน

ปลาไทเมน หรือ ปลาไซบีเรียนไทเมน หรือ ปลาไซบีเรียนแซลมอน (Taimen, Siberian taimen, Siberian salmon) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาแซลมอน (Salmonidae) พบในแม่น้ำวอลกาและแม่น้ำแปโชราในรัสเซีย นอกจากนี้แล้วยังพบในลุ่มแม่น้ำอามูร์, ระหว่างทะเลสาบแคสเปียนกับมหาสมุทรอาร์กติกในอนุทวีปยูเรเชีย และบางส่วนของมองโกเลีย มีสีลำตัวแตกต่างหลากหลายออกไปตามแต่ละภูมิประเทศ แต่โดยทั่วไปลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลอมเขียวมะกอก หัวมีสีคล้ำกว่า ครีบและหางสีแดงเข้ม ส่วนท้องสีขาว ตามลำตัวมีรอยจุดสีคล้ำสำหรับพรางตัวซุ่มซ่อนตามธรรมชาติ ปากกว้าง ภายในปากมีฟันที่แหลมคมเหมือนเข็มที่งองุ้มเข้ามาด้านใน และแม้แต่ลิ้นก็มีส่วนประกอบที่แหลมคมคล้ายฟัน ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้ถึง 210 เซนติเมตร และมีน้ำหนักถึง 105 กิโลกรัม เป็นสถิติที่พบในรัสเซีย เมื่อปี ค.ศ. 1988 ซึ่งจัดได้ว่าปลาไทเมนเป็นปลาแซลมอนชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก แต่ปลาไทเมนไม่ใช่ปลาสองน้ำเหมือนกับปลาแซลมอนชนิดอื่น ๆ เพราะวางไข่และเติบโตหากินอยู่เฉพาะในแหล่งน้ำจืดอย่างเดียวเท่านั้น ปลาไทเมนจัดเป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่เป็นที่นิยมของนักตกปลาอีกด้วย ด้วยความที่เป็นปลาขนาดใหญ่และอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำเชี่ยวและเย็น จึงนิยมตกกันแบบฟลายฟิชชิ่ง ซึ่งต้องตกกันก่อนถึงฤดูหนาวที่น้ำจะกลายเป็นน้ำแข็ง ปลาไทเมนเป็นปลาที่ดุร้ายก้าวร้าว เคยกัดทำร้ายคนตกจนเลือดอาบได้รับบาดเจ็บที่ต้นแขนมาแล้ว มักอาศัยอยู่ในกระแสน้ำเชี่ยว โดยหลบซ่อนตัวอยู่หลังก้อนหินเพื่อรอเหยื่อให้ผ่านมาและจับกินเป็นอาหาร ซึ่งปลาไทเมนสามารถจับปลาแซลมอนหรือปลาเทราต์ซึ่งเป็นปลาจำพวกเดียวกันกินได้ นอกจากนี้แล้วยังสามารถกินงูพิษได้อีกด้วยMongolian Mauler, "River Monsters".

ใหม่!!: โลกและปลาไทเมน · ดูเพิ่มเติม »

ปักกิ่ง

ปักกิ่ง หรือ เป่ย์จิง (จีน:, พินอิน: Běijīng) เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อย่อว่า จิง ตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ที่ราบหวาเป่ย์ ชื่อเดิมคือ จี่ (冀) สมัยวสันตสารท (春秋)และสมัยรณรัฐ (战国)เป็นเมืองหลวงของแคว้นเยียน สมัยราชวงศ์เหลียว เป็นเมืองหลวงรอง ชื่อ เยียนจิง เป็นเมืองหลวงของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิน หยวน หมิง ชิงจนถึง สาธารณรัฐจีน เคยใช้ชื่อจงตู ต้าตู เป่ย์ผิงและเป่ย์จิง โดยมีชื่อเรียกทั้งหมดกว่า 60 ชื่อ เริ่มตั้งเป็นเมืองตั้งแต่ปี 1928 ปัจจุบัน แบ่งเป็น 16 เขตและ 2 อำเภอ เป็นนครที่ขึ้นตรงต่อส่วนกลาง พื้นที่ทั่วกรุงปักกิ่งมีถึง 16,800 ตารางกิโลเมตร ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: โลกและปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ปัจจัยสี่

ปัจจัยสี่ เป็นสิ่งที่มนุษย์จำเป็นต่อการดำรงชีวิต โดยไม่ต้องพึ่งสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ เช่นคอมพิวเตอร์ รถยนต์ ไฟฟ้า โทรศัพท์ เป็นต้น โดยปัจจัยทั้งสี่อย่างนี้มนุษย์ไม่สามารถขาดได้ เพราะเมื่อขาดแล้วอาจส่งผลต่อการดำเนินชีวิต ปัจจัยสี่ประกอบไปด้วย 4 ปัจจัยดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: โลกและปัจจัยสี่ · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โลกและปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ปูม้า

ปูม้า (Flower crab, Blue crab, Blue swimmer crab, Blue manna crab, Sand crab) จัดเป็นปูที่อาศัยอยู่ในทะเลชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในสกุล Portunus ซึ่งพบทั้งหมด 90 ชนิดทั่วโลก และพบในน่านน้ำไทยราว 19 ชน.

ใหม่!!: โลกและปูม้า · ดูเพิ่มเติม »

ปี

ปี หมายถึง ช่วงเวลาที่ดาวเคราะห์แต่ละดวงโคจรรอบดาวฤกษ์ เช่นการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์แต่ละดวงจะมีระยะเวลาของปีไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับความเร็วในการโคจรของดาวเคราะห์และความยาววงโคจรของดาวเคราะห.

ใหม่!!: โลกและปี · ดูเพิ่มเติม »

ป่าสันทราย

ป่าสันทรายที่มีให้เห็นอยู่ทั่วไป ป่าสันทราย เป็นป่าที่มีความพิเศษกว่าป่าอื่น ๆ ที่มีอยู่ ซึ่งสามารถที่จะเกิดขึ้นในประเทศต่าง ๆ ของโลก ที่มีเขตพื้นที่ติดกับทะเลส่วนใหญ่จะมีความเป็นหาดทรายที่เกิดจากการทับถมกันของกรวดและหิน ก้อนเล็ก ๆ จากการพัดมาของลมทะเล ระยะเวลาการเกิดใช้เวลานาน กว่าจะเป็นป่าที่อุดมสมบูรณ์ มีพันธุ์พืชนานาชนิด ซึ่งอยู่ห่างจากชายฝั่งไม่มากนัก หากอยู่ห่างจากฝั่งมากก็เป็นการบ่งบอกถึงเวลาว่ามีอายุที่มากกว่าป่าที่อยู่บริเวณใกล้กับชายฝั่ง มีจุดเด่นคือ เกิดจากแรงลมพัดทรายมากองทับถมกันคล้ายกับ Sand dunes แต่ไม่ได้เกิดกับหาดทรายทั่วไป มีพันธุ์ไม้และพันธุ์พืชหลากหลายชนิด บ้างก็ใช้รับประทาน บ้างก็ใช้เป็นสมุนไพร เป็นยารักษาโรค เกิดประโยชน์กับคนในชุมชน กระบวนการเกิดป่าสันทรายอาจต้องใช้เวลาหลายร้อยหลายพันปี กว่าจะเป็นป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ ใช้องค์ประกอบหลายอย่างด้วยกัน ตามสภาพแวดล้อมที่มีของแต่ละสถานที่วงจรของป่าสันทรายวนเวียนอยู่อย่างนี้ ตลอดไป.

ใหม่!!: โลกและป่าสันทราย · ดูเพิ่มเติม »

นกอัลบาทรอส

นกอัลบาทรอส (Albatrosses) เป็นนกทะเลขนาดใหญ่ จัดอยู่ในวงศ์ Diomedeidae กระจายพันธุ์อยู่เป็นฝูงตามชายฝั่งทะเลและเกาะแก่งต่าง ๆ ในเขตร้อน และเขตอบอุ่นทั่วโลก (ดูในแผนที่) นกอัลบาทรอสจัดว่าเป็นนกที่บินได้ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เมื่อกางปีกออก โดยอาจกว้างได้ถึง 3.5 เมตร ในกลุ่มนกอัลบาทรอสใหญ่ แม้แต่ขนาดเล็กที่สุดก็ยังกว้างได้ถึง 2 เมตร นกอัลบาทรอสจะบินอยู่ตลอดเวลา โดยสามารถบินได้ไกลถึงวันละ 15,000 กิโลเมตร เพียงเพื่อหาอาหารกลับมาเลี้ยงลูกเท่านั้น แต่เมื่อนกอัลบาทรอสอยู่บนพื้นดินแล้วกลับมีพฤติกรรมที่งุ่มง่าม เนื่องจากไม่ถนัดในการเดิน เพราะมีฝ่าตีนที่แผ่แบนเป็นพังผืดเหมือนตีนเป็ด นกอัลบาทรอสสามารถมีชีวิตอยู่ได้นานถึง 60 ปีแต่ขยายพันธุ์ช้ามากจนเสี่ยงต่อการสูญพันธ์ภายในศตวรรษหน้า ภัยคุกคามสำคัญของมันคือการทำประมงเบ็ดราวในแต่ละปี มีนกอัลบาทรอสกว่า 100,000 ตัวที่ตายเพราะติดสายเบ็ดที่วางไว้เป็นล้านๆ เพื่อจับปลาทูน.

ใหม่!!: โลกและนกอัลบาทรอส · ดูเพิ่มเติม »

นอกรีต

การสังหารหมู่ ณ Mérindol ใน ค.ศ. 1545 เป็นการลงโทษพวกนอกรีตทางศาสนาของฝรั่งเศส นอกรีต (heresy) หมายถึง ไม่ประพฤติตามจารีตประเพณี เป็นคำที่ใช้เรียกทรรศนะของผู้อื่นซึ่งขัดแย้งกับทรรศนะของตน ในโลกตะวันตกคริสตจักรโรมันคาทอลิกเริ่มใช้คำนี้เพื่อหมายถึงแนวความเชื่อใด ๆ ที่ขัดแย้งกับคำสอนต้องเชื่อที่คริสตจักรกำหนด ต่อมาคำนี้ถูกใช้ในความหมายที่กว้างขึ้น คือเป็นข้อกล่าวหาที่คนกลุ่มหนึ่งใช้เรียกคนอีกฝ่ายหนึ่งที่มีความเชื่อขัดกับผู้กล่าวหา มักใช้ในกรณีที่มีการละเมิดกฎศาสนาหรือแบบแผนประเพณี ในทางการเมืองนักการเมืองหัวรุนแรงก็อาจใช้คำนี้กล่าวหาฝ่ายตรงข้าม คำนี้ยังมีความหมายโดยนัยถึงพฤติกรรมหรือความเชื่อที่อาจบ่อนทำลายศีลธรรมที่สังคมยอมรับกันอยู่ การนอกรีตต่างจากการละทิ้งความเชื่อซึ่งเป็นการละทิ้งความเชื่อทางศาสนาหรือการเมืองเดิมของตน และต่างจากความผิดฐานเหยียดหยามศาสนา ซึ่งหมายถึงการแสดงออกว่าไม่เคารพพระเป็นเจ้าหรือศาสนา แต่การนอกรีตนั้นรวมถึงการเชื่อในศาสนาแต่ต่างจากรูปแบบที่คนส่วนใหญ่ยอมรั.

ใหม่!!: โลกและนอกรีต · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญองค์อุปถัมภ์

นักบุญโยเซฟ องค์อุปถัมภ์คริสตจักรสากล นักบุญองค์อุปถัมภ์ (patron saint) คือนักบุญบนสวรรค์ ซึ่งบางคริสตจักร เช่น อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ โรมันคาทอลิก หรือออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ นับถือว่าเป็นผู้ที่ได้ใกล้ชิดพระยาห์เวห์และสามารถอ้อนวอนขอพรจากพระองค์เพื่อพระหรรษทานในสิ่งต่าง ๆ แก่คริสต์ศาสนิกชนบนโลก เช่น สถานที่ อาชีพ กลุ่มบุคคล เป็นต้น นักบุญต่าง ๆ มักได้รับยกย่องให้เป็นองค์อุปถัมภ์ในดินแดนที่ท่านเกิดหรือปฏิบัติศาสนกิจ ในบางกรณีสถานที่นั้นอาจไม่เกี่ยวข้องกับนักบุญขณะยังมีชีวิต แต่ได้เป็นที่ฝังศพหลังจากมรณกรรมก็ถือว่านักบุญนั้นเป็นองค์อุปถัมภ์เมืองนั้น ในลาตินอเมริกามีหลายเมืองตั้งชื่อตามนักบุญ โดยถือว่านักเดินเรือชาวโปรตุเกสและสเปนมาถึงเมืองตรงกับวันฉลองนักบุญใด ผู้ค้นพบก็จะตั้งชื่อเมืองตามชื่อนักบุญนั้น ทำให้นักบุญนั้นได้กลายเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์เมืองในเวลาต่อมา นักบุญองค์อุปถัมภ์วิชาชีพมาจากอาชีพที่นักบุญนั้นเคยทำขณะยังมีชีวิตอยู่ หรือเคยแสดงการอัศจรรย์ซึ่งเทียบเทียมได้กับอาชีพนั้น ๆ เช่น นักบุญเวโรนีกาผู้ถวายผ้าคลุมผมของตนให้พระเยซูใช้ซับพระพักตร์ระหว่างเดินทางไปตรึงกางเขน แล้วเกิดปาฏิหาริย์รอยพระพักตร์ปรากฏติดบนผ้าผืนนั้น คริสตจักรจึงยกย่องนักบุญเวโรนีกาเป็นองค์อุปถัมภ์การถ่ายภาพ นิกายโปรเตสแตนต์บางคณะ เช่น เพรสไบทีเรียน ไม่ยอมรับการนับถือหรือให้ความสำคัญกับนักบุญ เพราะถือว่าเข้าข่ายการบูชาเทวรูป.

ใหม่!!: โลกและนักบุญองค์อุปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

นักสืบหุ่นยนต์ (ชุดหนังสือ)

นครโลหะ: The Cave of Steel นครสุริยะ: The Naked Sun นครอรุณรุ่ง: The Robot of Dawn นครหุ่นยนต์: Robot and Empire นักสืบหุ่นยนต์ เป็นชุดนิยายวิทยาศาสตร์ ที่ประกอบด้วย นวนิยาย 4 เล่ม กับเรื่องสั้นอีกหนึ่งเรื่อง ประพันธ์โดย ไอแซค อสิมอฟ นับเป็นรหัสคดีแนววิทยาศาสตร์ชุดแรก ที่มีเรื่องราวเกี่ยวข้องกับหุ่นยนต์ โดย อสิมอฟ ได้วางเรื่องชุดนี้ให้อยู่ในช่วงที่มนุษย์ระลอกแรกได้ก่อตั้งรกรากในอวกาศ โดยมีลักษณะสังคมที่แตกต่างและการเมืองที่ซับซ้อนระหว่างโลกที่เป็นภพกำเนิดที่เป็นสังคมซึ่งปฏิเสธการอยู่ร่วมกับหุ่นยนต์ (ชาวโลก) และภพรอบนอก ซึ่งมนุษย์มีหุ่นยนต์จำนวนมากคอยรับใช้และบริการ (ชาวอวกาศ) เรื่องชุดนี้นับเป็นเรื่องราวที่ต่อเนื่องจากชุด "ข้าคือหุ่นยนต์" และเป็นเรื่องราวก่อนชุดจักรวรรดิ และชุดสถาบันสถาปนา ในบางตอนยังกล่าวถึงตัวละครในชุดข้าคือหุ่นยนต์ และตัวละครในชุดนี้ก็ยังปรากฏอยู่ในบางตอนของชุดสถาบันสถาปนา ด้ว.

ใหม่!!: โลกและนักสืบหุ่นยนต์ (ชุดหนังสือ) · ดูเพิ่มเติม »

นากจมูกขน

นากจมูกขน หรือ นากใหญ่หัวปลาดุก (Hairy-nosed otter) เป็นนากชนิดหนึ่งที่สามารถพบได้ในประเทศไทย มีรูปร่างหน้าตาคล้ายนากใหญ่ธรรมดา (L. lutra) ขนตามลำตัวมีสีดำหรือสีน้ำตาลเข้มเหมือนกำมะหยี่ มีลักษณะเด่นคือ มีขนปกคลุมบริเวณจมูกแตกต่างไปจากนากชนิดอื่น ๆ ที่บริเวณจมูกจะเป็นแผ่นหนังเรียบ ริมฝีปากบน คาง และคอด้านล่างมีสีขาว หัวแบน และปากค่อนข้างกว้าง มีความยาวลำตัวและหัว 50-82 เซนติเมตร ความยาวหาง 45-50 เซนติเมตร น้ำหนัก 5-6 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ตอนใต้ของกัมพูชา บริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงของเวียดนาม, มาเลเซีย, ภาคตะวันตกของเกาะสุมาตราและบอร์เนียว สำหรับในประเทศไทยพบบริเวณภาคตะวันตกและภาคใต้ จากรายงานเมื่อปี พ.ศ. 2531 มีการพบนากจมูกขน 2 แห่ง คือ ลุ่มแม่น้ำแม่กลอง และบริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าคลองแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี และในปี พ.ศ. 2542 มีผู้สามารถจับตัวได้อีกที่ป่าพรุโต๊ะแดง จังหวัดนราธิวาส ในบริเวณใกล้กับชายแดนมาเลเซีย นากจมูกขนนับว่าเป็นนากชนิดที่ได้ชื่อว่าหายากที่สุดในโลก เพราะมีรายงานพบเห็นเพียงไม่กี่ครั้งและมีการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมน้อยมาก มักพบนากชนิดนี้ตามพื้นที่ชุ่มน้ำ เช่น ปากแม่น้ำใกล้กับทะเลหรือชายฝั่ง มักอาศัยอยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ แต่อย่างไรก็ตาม ในกลางปี พ.ศ. 2551 ได้มีการเปิดเผยว่าที่เวียดนามได้มีการค้นพบนากจมูกขนที่เขตป่าสงวนอูมิงห่า ในจังหวัดก่าเมา ซึ่งอยู่ทางตอนใต้สุดของเวียดนาม เมื่อเดือนมีนาคม ปีเดียวกัน จากเดิมที่เคยเชื่อว่าสูญพันธุ์ไปเมื่อกว่า 10 ปีที่แล้ว.

ใหม่!!: โลกและนากจมูกขน · ดูเพิ่มเติม »

นากเล็กเล็บสั้น

นากเล็กเล็บสั้น (oriental small-clawed otter, Asian small-clawed otter) เป็นนากขนาดเล็กที่สุดในโลก ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย ขนตามลำตัวมีสีเทาเข้มหรือสีน้ำตาล แต่สีขนบริเวณท้องจะอ่อนกว่า แต่สามารถเปลี่ยนสีขนได้ตามฤดูกาล ลักษณะเด่นคือ พังผืดบริเวณนิ้วตีนจะมีขนาดเล็กลง ช่วยให้นิ้วเคลื่อนไหวได้คล่องตัวมากขึ้น ใต้คอมีสีขาว มีจมูกที่สั้นมากกว่านากชนิดอื่น ๆ ตัวที่ยังไม่โตเต็มวัยจะมีจมูกยาว และโค้งกว่า เมื่ออายุได้ 5 สัปดาห์จมูกก็จะหดสั้นลง มีความยาวลำตัวและหางประมาณ 45-55 เซนติเมตร ความยาวหาง 25-35 เซนติเมตร น้ำหนัก 1-3 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางทั้งในทวีปแอฟริกาและในทวีปเอเชีย ในทวีปเอเชียพบตั้งแต่ภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย, เนปาล, บังกลาเทศ, ภาคใต้ของจีน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียวและเกาะชวา (แบ่งเป็น 3 ชนิดย่อย ดูในตาราง) นากเล็กเล็บสั้นมีความสามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ในธรรมชาติจะอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำ เช่น ลำธารขนาดเล็ก, ป่าชายเลน, ริมทะเลสาบ, ห้วย, หนอง, คลอง, บึง หรือแม้แต่ในพื้นที่ชุ่มน้ำที่เป็นเขตเกษตรกรรมของมนุษย์ เช่น ตามท้องร่องสวนต่าง ๆ อาหารหลักได้แก่ สัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ แต่ชอบกินปูมากที่สุด มักอาศัยอยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ นากเล็กเล็บสั้นไม่ได้ใช้หนวดเป็นประสาทสัมผัสในการรับรู้เหมือนนากชนิดอื่น ๆ เพราะมีประสาทสัมผัสอยู่ที่ขาหน้า ออกลูกตามโพรงไม้หรือโพรงหินที่มีอยู่แล้ว เพราะขาหน้าไม่แข็งแรงพอจะขุดโพรงริมตลิ่งได้เหมือนนากชนิดอื่น ๆ ออกหากินในเวลากลางคืน บางครั้งอาจพบได้ตั้งแต่ช่วงพลบค่ำจนถึงรุ่งเช้า นากเล็กเล็บสั้นหากนำมาเลี้ยงตั้งแต่ยังเล็ก จะเชื่องและสามารถทำตามคำสั่งของมนุษย์ได้ จึงมีการนำมาแสดงโชว์ตามสวนสัตว์ต่าง ๆ เช่น ซาฟารีเวิลด์ เป็นต้น สำหรับในประเทศไทยพบได้ทั่วทุกภาค แม้แต่กระทั่งพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยพบในพื้นที่แถบคลองบางมด เขตทุ่งครุ ฝั่งธนบุรี เป็นนากเล็กเล็บสั้นที่อาศัยอยู่รวมเป็นฝูง มีพฤติกรรมขโมยกินปลาของเกษตรกรในพื้นที่ตามท้องร่องสวนในเวลากลางคืน.

ใหม่!!: โลกและนากเล็กเล็บสั้น · ดูเพิ่มเติม »

นาทีแสง

นาทีแสง (light-minute) เป็นหน่วยวัดระยะทาง โดยเทียบกับอัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ มีค่าเท่ากับ 17,987,547,480 เมตร ตัวอย่างเช่น ระยะห่างจากโลกถึงดวงอาทิตย์ คือระยะทาง 1 หน่วยดาราศาสตร์ (1 A.U.) มีค่าความไกลเท่ากับ 8.317 นาทีแสง เป็นต้น.

ใหม่!!: โลกและนาทีแสง · ดูเพิ่มเติม »

นางกาลอัคคีนาคราช

นางกาลอัคคี (Kanavki) เป็นตัวละครใน มหากาพย์รามเกียรติ์ของไทยและรามายณะต้นฉบับของอินเดียและศรีลังกา ในรามเกียรติ์ของไทยเป็นธิดาพญากาลนาคกับนางนาคประภา เป็นนาคกับพระมเหสีองค์แรกของทศกัณฐ์แห่งกรุงลงกา มีบุตรชื่อบรรลัยกัลป์ ในรามายณะต้นฉบับ ปารากฎชื่อเป็น ธัญญามาลินี(Dhanyamalini) ส่วนในเรียมเกร์ของประเทศกัมพูชาและยามะซะตอของพม่าไม่ปารากฎ(เพราะเนื้อเรื่องของเนื้อหาสั้นกว่า มหากาพย์รามเกียรติ์ของไทย).

ใหม่!!: โลกและนางกาลอัคคีนาคราช · ดูเพิ่มเติม »

นาซา

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ตามรัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ เป็นหน่วยงานส่วนราชการ รับผิดชอบในโครงการอวกาศและงานวิจัยห้วงอากาศอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของสหรัฐอเมริกา คอยจัดการหรือควบคุมระบบงานวิจัยทั้งกับฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 องค์การนาซาได้ประกาศภารกิจหลักคือการบุกเบิกอนาคตแห่งการสำรวจอวกาศ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทางการบินและอวกาศ คำขวัญขององค์การนาซาคือ "เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน" (For the benefit of all).

ใหม่!!: โลกและนาซา · ดูเพิ่มเติม »

นิบิรุ (แก้ความกำกวม)

นิบิรุ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: โลกและนิบิรุ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

นิกโทเจน

ตุหมู่ไนโตรเจน หรือ นิโคเจน หรือ นิกโทเจน (Nitrogen group หรือ pnicogens หรือ pnictogens) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในหมู่ 15 ของตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 5 โดยอิเล็กตรอน 2 ตัวอยู่ในวงโคจรย่อยเอส (s subshell) อีก 3 ตัวอยู่ในวงโคจรย่อยพี (p subshell) ดังนั้นธาตุเหล่านี้จึงมีอิเล็กตรอน 3 ตัวอยู่ในวงโคจรนอกสุด และ 3 ตัว ในภาวะที่อะตอมไม่อยู่ในระดับไอโอไนส์ (non-ionized state) สารประกอบของธาตุเหล่านี้ เรียกว่า นิกไทด์ (pnictides).

ใหม่!!: โลกและนิกโทเจน · ดูเพิ่มเติม »

นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส

นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส (Nicolaus Copernicus Torinensis, Mikołaj Kopernik มีกอไว กอแปร์ญิก; 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1473 – 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1543) เป็นนักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ผู้คิดค้นแบบจำลองระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางสมบูรณ์ ซึ่งดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของเอกภพ มิใช่โลกLinton (2004, pp.) อย่างไรก็ดี โคเปอร์นิคัสมิใช่ผู้แรกที่เสนอระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางในบางรูปแบบ นักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์ชาวกรีกคนหนึ่ง ชื่อ อริสตาซูสแห่งซามอส ได้เสนอแนวคิดดังกล่าวมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาลแล้ว กระนั้น มีหลักฐานน้อยมากว่าเขาเคยพัฒนาความคิดของเขาไกลเกินแบบร่างง่าย ๆ เท่านั้น (Dreyer, 1953,. การตีพิมพ์หนังสือ De revolutionibus orbium coelestium (ว่าด้วยการปฏิวัติของทรงกลมฟ้า) ของโคเปอร์นิคัส ก่อนหน้าที่เขาเสียชีวิตไม่นาน ถูกพิจารณาว่าเป็นเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ เป็นการเริ่มต้นการปฏิวัติโคเปอร์นิคัสและมีส่วนสำคัญต่อความรุ่งเรืองของการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ที่เกิดขึ้นตามมา ทฤษฎีระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางอธิบายกลไกของระบบสุริยะในเชิงคณิตศาสตร์ มิใช่ด้วยคำของอริสโตเติล โคเปอร์นิคัสเป็นหนึ่งในผู้เชี่ยวชาญหลายสาขาแห่งสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เป็นทั้งนักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักนิติศาสตร์ที่สำเร็จดุษฎีบัณฑิตในวิกฎหมาย นักฟิสิกส์ ผู้รู้สี่ภาษา นักวิชาการคลาสสิก นักแปล ศิลปิน สงฆ์คาทอลิก ผู้ว่าราชการ นักการทูตและนักเศรษฐศาสตร.

ใหม่!!: โลกและนิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส · ดูเพิ่มเติม »

นครหุ่นยนต์

นครหุ่นยนต์ (Robots and Empire) เป็นนิยายวิทยาศาสตร์ประพันธ์โดย ไอแซค อสิมอฟ ถือเป็นหนังสือเล่มที่ 4 ในชุด นักสืบหุ่นยนต์ (The Elijah Baley Detecctive Series).

ใหม่!!: โลกและนครหุ่นยนต์ · ดูเพิ่มเติม »

นครนิวยอร์ก

นครนิวยอร์ก หรือที่นิยมเรียกกันว่า นิวยอร์กซิตี (New York City; NYC) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก เป็นมหานครเอกของโลก จัดได้ว่าเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน วัฒนธรรม บันเทิง ที่สำคัญที่สุดของโลก เป็นเมืองที่มี ตึกระฟ้า ตึกสูงมาก ตลอดระยะเวลา 150 ปี และยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ นิวยอร์กตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ประกอบด้วย 5 เขตปกครองที่เรียกว่า โบโรฮ์ (Borough) คือ เดอะบรองซ์ บรูคลิน แมนแฮตตัน ควีนส์ และสแตตัน ไอส์แลนด์ ประชากรรวมทั้งหมดประมาณ 8,274,527 คน ภายในพื้นที่ 790 ตร.กม.

ใหม่!!: โลกและนครนิวยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

นครโลหะ

นครโลหะ (The Caves of Steel) เป็นนิยายวิทยาศาสตร์ของไอแซค อสิมอฟ ถือเป็นหนังสือเล่มที่ 1 ในชุดนักสืบหุ่นยนต์ (The Elijah Baley Detecctive Series).

ใหม่!!: โลกและนครโลหะ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำหนัก

เครื่องชั่งสปริงเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช้วัดขนาดของน้ำหนัก ในทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ น้ำหนัก หมายถึงแรงบนวัตถุอันเนื่องมาจากความโน้มถ่วง ขนาดของน้ำหนักในปริมาณสเกลาร์ มักเขียนแทนด้วย W แบบตัวเอน คือผลคูณของมวลของวัตถุ m กับขนาดของความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วง g นั่นคือ ถ้าหากพิจารณาน้ำหนักว่าเป็นเวกเตอร์ จะเขียนแทนด้วย W แบบตัวหนา หน่วยวัดของน้ำหนักใช้อย่างเดียวกันกับหน่วยวัดของแรง ซึ่งหน่วยเอสไอก็คือนิวตัน ยกตัวอย่าง วัตถุหนึ่งมีมวลเท่ากับ 1 กิโลกรัม มีน้ำหนักประมาณ 9.8 นิวตันบนพื้นผิวโลก มีน้ำหนักประมาณหนึ่งในหกเท่าบนพื้นผิวดวงจันทร์ และมีน้ำหนักที่เกือบจะเป็นศูนย์ในห้วงอวกาศที่ไกลออกไปจากเทหวัตถุอันจะส่งผลให้เกิดความโน้มถ่วง ในทางนิติศาสตร์และการพาณิชย์ น้ำหนัก มีความหมายเดียวกันกับมวล The National Standard of Canada, CAN/CSA-Z234.1-89 Canadian Metric Practice Guide, January 1989.

ใหม่!!: โลกและน้ำหนัก · ดูเพิ่มเติม »

น้ำทะเล

้อมูลจากแผนที่มหาสมุทรโลก แสดงค่าความเค็มในแต่ละพื้นที่ น้ำทะเล เป็นของเหลวที่ได้จากทะเลหรือมหาสมุทร โดยทั่วไปมหาสมุทรทั่วโลกมีความเค็ม (salinity) ประมาณ 3.5% หรือ 35 ส่วนต่อพันส่วน นั่นหมายความว่าในน้ำทะเลทุกๆ 1 กิโลกรัม จะพบเกลืออยู่ 35 กรัม (ส่วนมากจะพบในรูปของไอออนโซเดียมคลอไรด์ (Na+, Cl−) ความหนาแน่นเฉลี่ยที่ผิวน้ำของมหาสมุทรอยู่ที่ 1.025 กรัมต่อมิลลิลิตร น้ำทะเลมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำจืด (น้ำจืดมีความหนาแน่นสูงสุดที่ 1.000 กรัมต่อมิลลิลิตร ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส) เพราะน้ำทะเลมีความหนักของเกลือและ Electrostriction (ไฟฟ้าที่ไม่นำกระแส แต่อยู่ในเรื่องของสนามไฟฟ้า) จุดเยือกแข็งของน้ำทะเลอยู่ที่อุณหภูมิ −2 องศาเซลเซียสหรือ 28.4 องศาฟาเรนไฮต์ นัลว่ามากกว่าน้ำจืด ในน้ำทะเลที่มีความเข้มข้น 35 ส่วนต่อพันส่วน (35 ppt).

ใหม่!!: โลกและน้ำทะเล · ดูเพิ่มเติม »

น้ำขึ้นลง

น้ำขึ้นน้ำลง (อังกฤษ: tide) เกิดขึ้นเนื่องจากอิทธิพลดึงดูดระหว่างโลกกับดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ (อิทธิพลของดวงอาทิตย์มีน้อยกว่าดวงจันทร์ประมาณครึ่งหนึ่ง) น้ำขึ้นเกิดใน 2 ส่วนของโลกคือ ส่วนที่หันเข้าหาดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์ และส่วนที่อยู่ห่างจากซีกโลกด้านตรงข้าม และเกิดน้ำขึ้นน้ำลงสูงสุด หรือน้ำเกิด (Spring tide) เมื่อโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ อยู่ในแนวเดียวกันหรือ ทุกๆ 2 อาทิตย์ คือ ขึ้น 15 ค่ำ และ แรม 15 ค่ำ และระดับน้ำขึ้นน้ำลงจะเปลี่ยนแปลงน้อยหรือน้ำตาย (Neap tide)เมื่อดวงอาทิตย์ โลก ดวงจันทร์ อยู่ในแนวตั้งฉากคือ วันขึ้น 7 ค่ำ และ แรม 7 ค่ำ การเคลื่อนที่ขึ้นลงของน้ำบริเวณชายฝั่งทะเลก่อให้เกิดกระแสน้ำขึ้น - น้ำลง (tidal current) ซึ่งอาจมีความเร็ว 7-8 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ตอนน้ำขึ้นกระแสน้ำที่ไหลท่วมชายฝั่งต่ำหรือท่วมลำน้ำสายเล็กๆนั้นเรียกว่า น้ำท่วมฝั่ง (flood tides) และช่วงกระแสน้ำลดต่ำลง จนบริเวณที่ถูกน้ำท่วมโผล่ขึ้นมาอีกเรียกกระแสน้ำนั้นว่า น้ำหนีฝั่ง (ebb tide) เราเรียกบริเวณที่ราบต่ำที่น้ำทะเลท่วมถึงซึ่งอาจเป็นดินหรือทรายก็ได้ ว่า หาดโคลน (tidal flat หรือ mud flat) หาดโคลนที่ประกอบด้วยดินโคลนมักมีวัชพืชที่ทนต่อน้ำเค็มขึ้นปกคลุมอยู่เรียกที่รายชนิดนี้ว่า ลุ่มดินเค็ม (salt marsh) หาดโคลนบางแห่ง อาจมีสภาวะเหมาะสมจนเป็นแหล่งอาศัยที่สำคัญของหอยหลอดได้.

ใหม่!!: โลกและน้ำขึ้นลง · ดูเพิ่มเติม »

น้ำเหลวนอกโลก

กระแสน้ำพุร้อนใน Palikir Crater (ภายใน Newton crater) ของดาวอังคาร ในขณะที่มีหลักฐานที่สนใจ แต่ไม่สามารถสรุปได้ว่าเป็นข้อมูลของน้ำจากดาวข้างนอก,จนถึงขณะนี้ได้มีการยืนยันโดยตรง น้ำเหลวนอกโลก (Extraterrestrial liquid water) คือน้ำในสภาพของเหลวที่เกิดขึ้นตามธรรมชาตินอกโลก เป็นที่น่าสนใจอย่างมาก เพราะเป็นที่ยอมรับว่าเป็นหนึ่งในสิ่งที่จำเป็นสำหรับชีวิตตามที่เรารู้จักและเป็นที่คาดเดาอย่างสำคัญสำหรับสิ่งมีชีวิตนอกโลก ด้วยน้ำในมหาสมุทรที่ปกคลุม 71% ของพื้นผิว, โลกยังเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวที่รู้จักกันดีว่ามีแหล่งน้ำที่เป็นของเหลวบนพื้นผิวของมัน และน้ำที่เป็นของเหลวเป็นสิ่งจำเป็นต่อสิ่งมีชีวิตทุกเผ่าพันธุ์บนโลก การปรากฏตัวของน้ำบนผิวโลกเป็นผลมาจากความดันบรรยากาศ และวงโคจรที่เสถียรในเขตอาศัยได้ของดวงอาทิตย์ แม้ว่าต้นกำเนิดของน้ำบนโลกยังไม่ทราบแน่ชัด วิธีการหลักที่ใช้ในการยืนยัน คือ การดูดซึมของสเปกโทรโฟโตเมตรี (Absorption spectroscopy) และทางธรณีเคมี (Geochemistry) เทคนิคเหล่านี้ได้รับการพิสูจน์ว่ามีประสิทธิภาพสำหรับบรรยากาศไอน้ำ และน้ำแข็ง อย่างไรก็ตามการใช้วิธีการปัจจุบันของ สเปกโทรสโกปีทางดาราศาสตร์ (Astronomical spectroscopy) ซึ่งเป็นเรื่องยากมากที่จะตรวจจับน้ำเหลวบนดาวเคราะห์, โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของน้ำใต้ดิน เนื่องจากนี้นักดาราศาสตร์ชีววิทยา และนักวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์ ได้ใช้ทฤษฎีเขตอาศัยได้, ทฤษฎีแรงโน้มถ่วง และทฤษฎีน้ำขึ้นน้ำลง, รูปแบบของความแตกต่างของดาวเคราะห์ และเรดิโอมิตรี (Radiometry) เพื่อตรวจสอบศักยภาพของน้ำเหลว น้ำที่สังเกตได้จากภูเขาไฟสามารถให้หลักฐานทางอ้อมที่น่าสนใจมากขึ้น, เป็นคุณสมบัติของแม่น้ำและการปรากฏตัวของสารป้องกันการแข็งตัว เช่น เกลือหรือแอมโมเนีย การใช้วิธีการดังกล่าวนักวิทยาศาสตร์หลายคนอนุมานว่าน้ำของเหลวเคยปกคลุมพื้นที่ขนาดใหญ่ไว้ของ ดาวอังคาร และดาวศุกร์ ที่คิดว่าน้ำเป็นของเหลวใต้พื้นผิวของดาวเคราะห์บางดวง, คล้ายกับน้ำบาดาลของโลก,ไอน้ำถือเป็นหลักฐานที่แน่ชัดว่ามีของเหลวอยู่ในน้ำ แม้ว่าไอน้ำในชั้นบรรยากาศอาจพบได้ในหลายแห่งที่น้ำของเหลวไม่ได้.

ใหม่!!: โลกและน้ำเหลวนอกโลก · ดูเพิ่มเติม »

แชลโคเจน

ตุหมู่แชลโคเจน (chalcogens) คือ อนุกรมเคมีของธาตุเคมีในหมู่ 16ตารางธาตุ ซึ่งอยู่ในตระกูลธาตุเดียวกับ ออกซิเจน (oxygen family) มีอีกชื่อหนึ่งว่าหมู่ออกซิเจน สารประกอบของธาตุหมู่นี้ เรียกว่า แชลโคเจไนด์ (chalcogenides).

ใหม่!!: โลกและแชลโคเจน · ดูเพิ่มเติม »

แบล็ก & ไวต์

แบล็ก & ไวต์ (Black & White) เป็นวิดีโอเกมที่สร้างขึ้นโดยบริษัทไลออนเฮดสตูดิโอ (Lionhead Studios.) เผยแพร่โดยบริษัท อิเล็กทรอนิกอาร์ตส์ (Electronic Arts: EA) และฟีเรียลอินเตอร์เอ็กทีฟ (Feral Interactive.) เป็นเกมแบบพระเจ้าสร้างโลกเริ่มผลิตเมื่อวันที่ 25 มีนาคมค.ศ. 2001 ผู้เล่นจะทำหน้าที่เป็นพระเจ้าคอยสร้างสิ่งต่าง ๆ ขึ้นมา โดยมนุษย์ได้รับผลกระทบ นอกจากนี้ยังมีสัตว์ประหลาดซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงของผู้เล่นสามารถที่จะฝึกมันทำในสิ่งต่างๆที่ผู้เล่นสอนได้ รายชื่อสัตว์ประหลาดในเกม.

ใหม่!!: โลกและแบล็ก & ไวต์ · ดูเพิ่มเติม »

แบทแมน บีกินส์

แบทแมน บีกินส์ (อังกฤษ: Batman Begins) คือ ภาพยนตร์ชุดแบทแมนลำดับที่ 5 เข้าฉายในสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ. 2548 กำกับโดย คริสโตเฟอร์ โนแลน นำแสดงโดย คริสเตียน เบล, ไมเคิล เคน, เลียม นีสัน, แคที โฮล์มส์, แกรี โอลด์แมน, ซิลเลียน เมอร์ฟี, มอร์แกน ฟรีแมน, ทอม วิลคินสัน, Rutger Hauer และเค็ง วะตะนะเบะ เนื้อเรื่องของภาพยนตร์แบทแมนภาคนี้เป็นอิสระจากภาพยนตร์ชุดแบทแมนที่สร้างมาก่อนหน้าโดยสิ้นเชิง โดยมีโครงเรื่องที่กล่าวถึงจุดกำเนิดของตัวละครแบทแมน ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมาจากเส้นเรื่องของหนังสือการ์ตูนชุดแบทแมนดั้งเดิม เช่น แบทแมน: เดอะแมนฮูฟอลส์ (Batman: The Man Who Falls) แบทแมน: เยียร์วัน (Batman: Year One) และ แบทแมน: เดอะลองฮัลโลวีน (Batman: The Long Halloween) ที่มาของภาพยนตร์เรื่องนี้ มาจากความคิดของคริสโตเฟอร์ โนแลน และเดวิด เอส. โกเยอร์ (ผู้เขียนบทภาพยนตร์) ที่มาร่วมงานกันเมื่อช่วงต้นปี พ.ศ. 2546 ซึ่งภาคนี้ถือเป็นภาพยนตร์แบทแมนเรื่องแรก หลังจากที่ภาค แบทแมนแอนด์โรบิน (Batman & Robin) เมื่อ พ.ศ. 2540 ได้รับคำวิจารณ์ในแง่ลบและประสบความล้มเหลวในเชิงพาณิชย์ โดยในภาคนี้ เขาทั้งสองคนได้ดัดแปลงให้มีโทนสีมืดและมีความสมจริงของเนื้อเรื่องมากกว่าที่ภาคที่ผ่านมา การถ่ายทำภาพยนตร์เรื่องนี้ ใช้วิธีการแสดงผาดโผนแบบดั้งเดิมและอาศัยการสร้างภาพด้วยคอมพิวเตอร์ไม่มากนัก โดยสถานที่ที่ใช้ในการถ่ายทำในเบื้องต้น คือ อังกฤษและชิคาโก แบทแมน บีกินส์ ได้รับกระแสที่ดีทั้งจากคำวิจารณ์และการตอบรับเชิงพาณิชย์ โดยได้มีการสร้างภาพยนตร์ภาคต่อชื่อว่า แบทแมน อัศวินรัตติกาล (The Dark Knight) ขึ้นมา ซึ่งออกฉายในปี พ.ศ. 2551 กำกับโดยคริสโตเฟอร์ โนแลน และนำแสดงโดยคริสเตียน เบล เช่นเดิม.

ใหม่!!: โลกและแบทแมน บีกินส์ · ดูเพิ่มเติม »

แบดเจอร์

แบดเจอร์ (badger) เป็นชื่อสามัญของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิด ในอันดับสัตว์กินเนื้อที่อยู่ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae) แบ่งออกได้เป็น 3 วงศ์ย่อย 4 สกุล (ดูในตาราง-แต่โดยมากแล้วจะหมายถึง แบดเจอร์ยุโรป ที่จะอยู่ในวงศ์ย่อย Melinae).

ใหม่!!: โลกและแบดเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฟนพันธุ์แท้ 2003

รายการแฟนพันธุ์แท้ในปี 2003 ใช้รูปแบบเช่นเดียวกันกับรูปแบบของปี 2002 ซึ่งในปีนี้มีรายการแฟนพันธุ์แท้ทั้งหมด 29 เรื่อง เป็นเรื่องใหม่ 18 เรื่อง เรื่องเก่าที่นำมาจัดแข่งขันใหม่ 11 เรื่อง มีสุดยอดแฟนพันธุ์แท้ทั้งหมด 25 ท่าน จาก 24 เรื่อง ตอบคำถามสุดยอดแฟนพันธุ์แท้ผิด 5 ท่าน โดยในการชิงชัยสุดยอดแฟนพันธุ์แท้แห่งปี 2003 ได้มีสุดยอดแฟนพันธุ์แท้ร่วมเข้าชิงชัยทั้งหมด 25 ท่าน และสุดยอดแฟนพันธุ์แท้แห่งปี 2003 ก็คือ ป๋อง สุพรรณ สุดยอดแฟนพันธุ์แท้พระเครื่อง ครั้งที่ 2 นั่นเอง นอกจากนี้ ในแฟนพันธุ์แท้ปี 2003ได้นำคำขวัญ "เที่ยวเมืองไทย ปลอดภัยทุกที่" มาแสดงที่ด้านล่าง หลังจากที่ไตเติ้ลเริ่มรายการจบลง.

ใหม่!!: โลกและแฟนพันธุ์แท้ 2003 · ดูเพิ่มเติม »

แฟนพันธุ์แท้ 2004

รายการแฟนพันธุ์แท้ในปี 2004 ได้มีการปรับเปลี่ยนฉากใหม่ โดยเป็นธีมสีทองและสีน้ำเงิน โดยในปี 2004 นี้ มีการเปลี่ยนแปลงรอบตัดสินของเกมตัดเชือก (โดยใช้เกมกดไฟ ตั้งแต่กลางปี 2004 ใช้เป็นรอบตัดสิน เมื่อมีผู้เข้าแข่งขัน ที่คะแนนเท่ากัน โดยในรอบนี้พิธีกรจะอ่านคำสำคัญขึ้นมา ซึ่งเป็นคำที่เกี่ยวข้องกับคำถามที่จะถามกันต่อไป ผู้เข้าแข่งขันจะต้องแย่งกันกดไฟ โดยจะกดไฟก่อนหรือหลังพิธีกรอ่านคำสำคัญ เมื่อไฟติดที่ใครคนนั้นจะต้องตอบคำถามให้ถูก ตอบถูกเข้ารอบทันที แต่ถ้าตอบผิด ผู้เข้าแข่งขันอีกคน จะถูกบังคับตอบทันที) มีรายการแฟนพันธุ์แท้ทั้งหมด 24 เรื่อง เป็นเรื่องใหม่ 14 เรื่อง เรื่องเก่าที่นำมาจัดแข่งขันใหม่ 12 เรื่อง มีสุดยอดแฟนพันธุ์แท้ทั้งหมด 26 ท่าน จาก 25 เรื่อง ตอบคำถามสุดยอดแฟนพันธุ์แท้ผิด 1 ท่าน โดยในการชิงชัยสุดยอดแฟนพันธุ์แท้แห่งปี 2004 ได้มีสุดยอดแฟนพันธุ์แท้ร่วมเข้าชิงชัยทั้งหมด 25 ท่าน และสุดยอดแฟนพันธุ์แท้แห่งปี 2004 ก็คือ นิรุตต์ โลหะรังสี สุดยอดแฟนพันธุ์แท้ประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา 4 สมัยซ้อน นั่นเอง.

ใหม่!!: โลกและแฟนพันธุ์แท้ 2004 · ดูเพิ่มเติม »

แฟนพันธุ์แท้ ซูเปอร์แฟน

แฟนพันธุ์แท้ ซูเปอร์แฟน (Fan Pan Tae Superfan) รายการเกมโชว์ของไทยจากเวิร์คพอยท์ ดำเนินรายการโดยกันต์ กันตถาวร ออกอากาศทุกวันศุกร์ เวลา 21.00 - 22.00 น. ทางช่องเวิร์คพอยท์ออกอากาศเทปแรกเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2559 – 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: โลกและแฟนพันธุ์แท้ ซูเปอร์แฟน · ดูเพิ่มเติม »

แฟนท่อม ฮีโร่พันธุ์อมตะ

แฟนท่อม ฮีโร่พันธุ์อมตะ (อังกฤษ: The Phantom) เป็นภาพยนตร์แอคชั่น ในปี ค.ศ. 1996 กำกับโดย ไซม่อน วินเซอร์ โดยมี บิลลี่ เซน และ แคทเธอรีน เซต้า-โจนส์ ร่วมแสดงด้ว.

ใหม่!!: โลกและแฟนท่อม ฮีโร่พันธุ์อมตะ · ดูเพิ่มเติม »

แพระไดส์ลอสต์

แพระไดส์ลอสต์ (Paradise Lost) หรือ “สวรรค์ลา” เป็นบทกวีมหากาพย์ประพันธ์ขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยกวีชาวอังกฤษ จอห์น มิลตัน ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1667 เป็นหนังสือชุดมี 10 บรรพ ตีพิมพ์ครั้งที่สองในปี..

ใหม่!!: โลกและแพระไดส์ลอสต์ · ดูเพิ่มเติม »

แกมมา (อุปราคา)

แกมมา (แทนความหมายด้วย γ) ของอุปราคา อธิบายว่าศูนย์กลางเงาของดวงจันทร์หรือโลกปะทะกับสิ่งอื่นเช่นไร ระยะห่าง เมื่อแกนของเงาทรงกรวยผ่านเข้าใกล้ศูนย์กลางโลกหรือดวงจันทร์มากที่สุด คือ สภาพขณะส่วนของรัศมีระนาบศูนย์สูตรของโลก สัญลักษณ์ของแกมมา หมายความว่า สำหรับสุริยุปราคา ถ้าแกนของเงาเคลื่อนผ่านทางเหนือหรือทางใต้ของจุดศูนย์กลางโลก ค่าทางบวกจะหมายถึงทางเหนือ สำหรับจันทรุปราคา มันหมายถึงแกนของเงาของโลกผ่านทางเหนือหรือทางใต้ของดวงจันทร์ ค่าทางบวกจะหมายถึงทางใต้ สำหรับสุริยุปราคา โลก ให้คำจำกัดความว่าครึ่งหนึ่งอันซึ่งมีการสัมผัสกับดวงอาทิตย์ (การเปลี่ยนแปลงนี้ร่วมกับฤดูกาล และไม่สัมพันธ์โดยตรงกับขั้วโลกหรือศูนย์สูตร ดังนั้น จุดศูนย์กลางของโลก คือ ดวงอาทิตย์อยู่ ณ กลางศรีษะโดยตรงไม่ว่าที่ไหนก็ตาม) แผนภาพที่อยู่ติดกันแสดงให้เห็นถึงแกมมาสุริยุปราคา: เส้นที่แดงแสดงถึงระยะห่างที่น้อยที่สุดจากจุดศูนย์กลางของโลก ในกรณีนี้โดยประมาณ 75% ของรัศมีของโลก เพราะว่าเงามืดผ่านทางเหนือจุดศูนย์กลางของโลก แกมมาในตัวอย่างนี้จึงเป็น +0.75 ค่าสัมบูรณ์ของแกมมาเราแบ่งตามการจำแนกความแตกต่างเพียงเล็กน้อยของสุริยุปร.

ใหม่!!: โลกและแกมมา (อุปราคา) · ดูเพิ่มเติม »

แกมมา1 สิงโต บี

แกมมา1 สิงโต บี (Gamma1 Leonis b) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบอยู่ห่างจากโลกประมาณ 125.5 ปีแสง ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวสิงโต โคจรอยูรอบดาวยักษ์ แกมมา1 สิงโต.

ใหม่!!: โลกและแกมมา1 สิงโต บี · ดูเพิ่มเติม »

แกร็ด

แกร็ด (grad) คือหน่วยวัดมุมชนิดหนึ่งบนระนาบ เทียบเท่ากับ ของรูปวงกลม ซึ่งแบ่งมุมฉากออกเป็น 100 ส่วน หรือกล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่า มุมรอบรูปวงกลมเท่ากับ 400 แกร็ด ชื่ออื่นของแกร็ดได้แก่ ก็อน (gon) เกรด (grade) และแกรเดียน (gradian) ซึ่งไม่ควรสับสนกับเกรดของความชัน (grade of a slope) เกรเดียนต์ (gradient) และเรเดียน (radian) มุมหนึ่งแกร็ดจะมีขนาดเท่ากับ องศา หรือ เรเดียน หน่วยมุมนี้เริ่มมีการใช้ในประเทศฝรั่งเศสในชื่อ เกรด โดยแบ่งส่วนลงตัวตามระบบเมตริก (100) แต่เนื่องจากความสับสนกับหน่วย เกรด (grad(e)) ที่มีอยู่แล้วทางตอนเหนือของยุโรป จึงได้เปลี่ยนไปเป็น ก็อน ในประเทศเยอรมนีเรียกหน่วยมุมนี้ว่า นิวแกร็ด (Neugrad) แปลว่า องศาใหม่ ข้อดีของหน่วยแกร็ดคือทำให้ง่ายต่อการคำนวณการบวกและการลบในมุมฉากได้ในใจ ตัวอย่างเช่น บุคคลหนึ่งเดินทางไปทางทิศ 117 แกร็ด (นับจากทิศเหนือไปตามเข็มนาฬิกา) ดังนั้นทิศทางที่อยู่ทางซ้ายของเขาคือมุม 17 แกร็ด ทางขวาคือ 217 แกร็ด และข้างหลังคือ 317 แกร็ด แต่ข้อเสียของมุมชนิดนี้อยู่ที่มุมทั่วไป 30° และ 60° เมื่อแปลงเป็นหน่วยแกร็ดจะกลายเป็นเศษส่วน ซึ่งได้ แกร็ดและ แกร็ดตามลำดับ หรือในกรณีเดียวกัน ในหนึ่งชั่วโมง โลกจะหมุนไป 15° ซึ่งเท่ากับ แกร็ด สัญลักษณ์มาตรฐานที่ใช้กับหน่วยแกร็ดทุกวันนี้ใช้ "gon" (ดูเพิ่มใน ISO 31-1) สัญลักษณ์อื่นที่มีใช้ในอดีตก็มีทั้ง "gr", "grd", "g" ซึ่งต่อมาก็เขียนในรูปแบบตัวยกให้คล้ายกับเครื่องหมายองศาเช่น 50g.

ใหม่!!: โลกและแกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

แก๊งระเบิด เนิร์ดกู้โลก

แก๊งระเบิด เนิร์ดกู้โลก (Scorpion) เป็นละครโทรทัศน์อเมริกาที่สร้างในปี ค.ศ. 2014 นำแสดงโดย เอ็ดเยส กาเบล, แคทเธอลีน แม๊คพี, โรเบิร์ต แพธทริค ออกอากาศทางช่อง FoxThai ทุกวันอังคาร18.20 น.เริ่มออกอากาศภาคล่าสุด(4) วันที่ 10 ตุลาคม2560.

ใหม่!!: โลกและแก๊งระเบิด เนิร์ดกู้โลก · ดูเพิ่มเติม »

แก่นโลก

รงสร้างภายในของดาวเคราะห์ แก่นโลก (Core) เป็นแกนกลางของโลก โดยอยู่ถัดเข้าไปจากเปลือกโลกและเนื้อโลก สามารถแบ่งได้สองส่วนคือ.

ใหม่!!: โลกและแก่นโลก · ดูเพิ่มเติม »

แมกนีเซียม

แมกนีเซียม (Magnesium) เป็นธาตุในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ Mg และเลขอะตอม 12 แมกนีเซียมเป็นธาตุที่มีอยู่มากเป็นอันดับ 8 และเป็นส่วนประกอบของเปลือกโลกประมาณ 2% และเป็นธาตุที่ละลายในน้ำทะเลมากเป็นอันดับ 3 โลหะอัลคาไลเอิร์ธตัวนี้ส่วนมากใช้เป็นตัวผสมโลหะเพื่อทำโลหะผสมอะลูมิเนียม-แมกนีเซียม.

ใหม่!!: โลกและแมกนีเซียม · ดูเพิ่มเติม »

แม็กนีโตสเฟียร์

วาดแสดงแม็กนีโตสเฟียร์ที่ช่วยป้องกันลมสุริยะ แม็กนีโตสเฟียร์ (Magnetosphere) คือย่านที่มีแม่เหล็กกำลังสูงรอบๆ วัตถุทางดาราศาสตร์ โลกมีแม็กนีโตสเฟียร์ครอบอยู่รอบๆ เช่นเดียวกันกับดาวที่มีสนามแม่เหล็กอื่นๆ ได้แก่ ดาวพุธ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และ ดาวเนปจูน ดวงจันทร์แกนีมีดของดาวพฤหัสบดีก็มีสนามแม่เหล็กเช่นกัน แต่เป็นสนามที่มีกำลังอ่อนจนไม่สามารถป้องกันพลาสมาจากลมสุริยะได้ ส่วนดาวอังคารเป็นดาวที่มีสนามแม่เหล็กแบบเว้าแหว่งไม่ต่อเนื่อง คำว่า "แม็กนีโตสเฟียร์" นี้ยังสามารถใช้อธิบายถึงย่านรอบๆ วัตถุท้องฟ้าอื่นที่มีสนามแม่เหล็กรอบๆ ด้วย เช่น แม็กนีโตสเฟียร์ของพัลซาร์ เป็นต้น.

ใหม่!!: โลกและแม็กนีโตสเฟียร์ · ดูเพิ่มเติม »

แรง

ในทางฟิสิกส์ แรง คือ อันตรกิริยาใด ๆ เมื่อไม่มีการขัดขวางแล้วจะเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุไป แรงที่สามารถทำให้วัตถุซึ่งมีมวลเปลี่ยนแปลงความเร็ว (ซึ่งรวมทั้งการเคลื่อนที่จากภาวะหยุดนิ่ง) กล่าวคือ ความเร่ง ซึ่งเป็นผลมาจากการใช้พลังงาน แรงยังอาจหมายถึงการผลักหรือการดึง แรงเป็นปริมาณที่มีทั้งขนาดหรือทิศทาง วัดได้ในหน่วยของนิวตัน โดยใช้สัญลักษณ์ทั่วไปเป็น F ตามกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน กล่าวว่าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีค่าเท่ากับอัตราของโมเมนตัมที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา ถ้ามวลของวัตถุเป็นค่าคงตัว จากกฎข้อนี้จึงอนุมานได้ว่าความเร่งเป็นสัดส่วนโดยตรงกับแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุในทิศทางของแรงลัพธ์และเป็นสัดส่วนผกผันกับมวลของวัตถุ แนวคิดเกี่ยวกับแรง ได้แก่ แรงขับซึ่งเพิ่มความเร็วของวัตถุให้มากขึ้น แรงฉุดซึ่งลดความเร็วของวัตถุ และทอร์กซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความเร็วในการหมุนของวัตถุ ในวัตถุที่มีส่วนขยาย แรงที่ทำกระทำคือแรงที่กระทำต่อส่วนของวัตถุที่อยู่ติดกัน การกระจายตัวของแรงดังกล่าวเป็นความเครียดเชิงกล ซึ่งไม่ทำให้เกิดความเร่งของวัตถุมื่อแรงสมดุลกัน แรงที่กระจายตัวกระทำบนส่วนเล็ก ๆ ของวัตถุอาจเรียกได้ว่าเป็นความดัน ซึ่งเป็นความเคลียดอย่างหนึ่งและถ้าไม่สมดุลอาจทำให้วัตถุมีความเร่งได้ ความเครียดมักจะทำให้วัตถุเกิดการเสียรูปของวัตถุที่เป็นของแข็งหรือการไหลของของไหล.

ใหม่!!: โลกและแรง · ดูเพิ่มเติม »

แรงกิริยา

แรงกิริยา (action force) เป็นแรงที่เกิดจากการกระทำโดยสิ่งใดๆ เช่น การออกแรงกดโต๊ะ การออกแรงเตะลูกฟุตบอล น้ำหนักของวัตถุก็เป็นแรงกิริยาแบบหนึ่งที่โลกออกแรงดึงดูดวัตถุให้เข้าสู่ศูนย์กลางของโลก หมวดหมู่:ฟิสิกส์.

ใหม่!!: โลกและแรงกิริยา · ดูเพิ่มเติม »

แสงโลก (ดาราศาสตร์)

แสงโลกเมื่อมองจากกล้องโทรทรรศน์ ด้านสว่างเกิดจากแสงอาทิตย์โดยตรง แต่ส่วนที่เหลือของดวงจันทร์เกิดจากแสงอาทิตย์ที่สะท้อนมาจากผิวโลก แผนภาพการเกิดแสงโลก ภาพร่างแสงโลก โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี ในหนังสือ ''Codex Leicester'' ระหว่าง ค.ศ. 1506–1510 ปรากฏการณ์แสงโลก (earthshine) เป็นปรากฎการณ์ที่เกิดจากแสงอาทิตย์สะท้อนกับผิวโลกไปยังดวงจันทร์ และสะท้อนกลับมายังผู้สังเกตบนโลกอีกต่อหนึ่ง ทำให้ผู้สังเกตบนโลกเห็นแสงจาง ๆ จากด้านกลางคืนของดวงจันทร์ ปรากฏการณ์นี้จะสังเกตได้ดีในช่วงวันขึ้น 1–3 ค่ำ หรือ แรม 12–14 ค่ำ ซึ่งเป็นช่วงจันทร์ดับ เมื่อสังเกตจากโลกจะเห็นดวงจันทร์มืดมิด แต่หากสังเกตจากดวงจันทร์ จะเห็นว่าโลกมีแสงสว่าง การเกิดแสงโลกนี้จะทำให้เห็นพื้นผิวดวงจันทร์ได้เกือบทั้งหมด เลโอนาร์โด ดา วินชีได้อธิบายปรากฏการณ์นี้ในช่วงต้นศตวรรษที่ 16 เมื่อเขาเห็นว่าโลกและดวงจันทร์นั้นสะท้อนแสงอาทิตย์ในเวลาเดียวกัน หากเกิดปรากฏการณ์เดียวกันบนดาวเคราะห์ดวงอื่น จะเรียกว่า "planetshine".

ใหม่!!: โลกและแสงโลก (ดาราศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

แหล่งน้ำ

ฟยอร์ดในประเทศนอร์เวย์ แหล่งน้ำ หรือ พื้นที่น้ำ (water body) คือบริเวณที่มีการสะสมของน้ำบนพื้นผิวโลกหรือบนผิวดาวเคราะห์ เช่น มหาสมุทร ทะเล แม่น้ำ ไปจนถึง คลอง หรือ พื้นที่ชุ่มน้ำ แหล่งน้ำแบ่งได้เป็นสองประเภทตามการกำเนิดคือ แหล่งน้ำที่เกิดโดยธรรมชาติเช่น มหาสมุทร ทะเล แม่น้ำ และแหล่งน้ำที่เกิดจากการสร้างโดยมนุษย์เช่น อ่างเก็บน้ำ คลอง นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งได้ตามการเคลื่อนที่ของน้ำ เช่น แม่น้ำ และคลอง กล่าวถึงแหล่งน้ำมีการไหลจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง ในขณะที่ ทะเลสาบ น้ำจะไม่มีการไหลไปแหล่งอื่น แหล่งน้ำที่มีการสัญจรจะถูกเรียกว่าทางน้ำ สำหรับส่วนบริเวณของภูมิประเทศที่มีน้ำเป็นจำนวนหนึ่งแต่ไม่เรียกว่าแหล่งน้ำเช่น น้ำตก และไกเซอร.

ใหม่!!: โลกและแหล่งน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกาใต้สะฮารา

ประเทศที่สหประชาชาติจัดเป็นแอฟริกาเหนือ แอฟริกาใต้สะฮารา (Sub-Saharan Africa) เป็นภูมิภาคที่มีพื้นที่อยู่ในทวีปแอฟริกาและอยู่ใต้ทะเลทรายสะฮารา โดยมีประเทศในภูมิภาค 54 ประเทศ มีประชากรรวมกันมากถึง 574 ล้านคน ภูมิภาคนี้มีพื้นที่ประมาณ 16 % ของพื้นดินของโลก โดยสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าทึบ และบางส่วนเป็นทะเลทร.

ใหม่!!: โลกและแอฟริกาใต้สะฮารา · ดูเพิ่มเติม »

แอร์ฟอร์ซวัน

ห้องทำงานประธานาธิบดี ภายในเครื่อง วีซี-25เอ แอร์ฟอร์ซวัน (Air Force One) เป็นรหัสเรียกขานโดยศูนย์ควบคุมการจราจรทางอากาศ (Air Traffic Control; ATC) ของอากาศยานของกองทัพอากาศสหรัฐลำที่มีประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาโดยสารอยู่บนอากาศยานลำนั้น Federal Aviation Administration, 14 March 2007.

ใหม่!!: โลกและแอร์ฟอร์ซวัน · ดูเพิ่มเติม »

แอนาเล็มมา

แอนาเล็มมาที่ได้จากการถ่ายรูป โดยมองไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือบนทรงกลมฟ้า ในทางดาราศาสตร์ แอนาเล็มมา (analemma; IPA: /ˌænəˈlɛmə/ ภาษาละตินใช้เรียกฐานของนาฬิกาแดด) หมายถึงเส้นโค้งที่แสดงถึงตำแหน่งเชิงมุมของเทหวัตถุบนทรงกลมฟ้า (ปกติหมายถึงดวงอาทิตย์) โดยมองจากเทหวัตถุอีกที่หนึ่ง (ปกติหมายถึงโลก) ตัวอย่างเช่น เมื่อเรารู้ว่าวันโดยเฉลี่ยของโลกเท่ากับ 24 ชั่วโมง แอนาเล็มมาสามารถติดตามได้โดยการทำเครื่องหมายตำแหน่งของดวงอาทิตย์ ที่มองจากสถานที่หนึ่งๆ บนโลกในเวลาเดิมทุก 24 ชั่วโมงตลอดทั้งปี ตำแหน่งของดวงอาทิตย์จะปรากฏเป็นเส้นโค้งคล้ายเลขแปด มีตัวแปรสามอย่างที่ส่งผลถึงรูปร่างของแอนาเล็มมาได้แก่ ความเอียงของแกน (axial tilt) ความเบี้ยวของวงโคจร (orbital eccentricity) และมุมระหว่าง apse line กับเส้นตรงของอายัน สำหรับเทหวัตถุที่มีวงโคจรเป็นวงกลมโดยสมบูรณ์และไม่มีความเอียงของแกนดาว ดวงอาทิตย์จะปรากฏอยู่ที่ตำแหน่งเดิมในเวลาเดิมทุกวัน รูปร่างแอนาเล็มมาจะเป็นแค่เพียงจุดจุดเดียว สำหรับเทหวัตถุที่มีวงโคจรและความเอียงของแกนเท่ากับโลก จะมองเห็นเป็นเลขแปดที่วงวนด้านเหนือกับวงวนด้านใต้จะมีขนาดเท่ากัน และสำหรับเทหวัตถุที่มีวงโคจรเหมือนโลกแต่ไม่มีความเอียงของแกน แอนาเล็มมาจะเป็นรูปเส้นตรงขนานไปกับทิศตะวันออกและทิศตะวันตก.

ใหม่!!: โลกและแอนาเล็มมา · ดูเพิ่มเติม »

แอนโทรโปซีน

แอนโทรโปซีน (Anthropocene) เป็นชื่อที่ใช้เรียกสมัย (Epoch) ทางธรณีวิทยาอย่างไม่เป็นทางการ ซึ่งหมายถึงระยะช่วงเวลาไม่นานมานี้ ที่การดำรงอยู่และพฤติกรรมของมนุษย์ ทำให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศของโลกอย่างมีนัยสำคัญ ชื่อนี้เคยถูกเสนอเข้าพิจารณาเป็นชื่อหน่วยทางธรณีกาลในที่ประชุมสมาคมธรณีวิทยาแห่งลอนดอนในปี 2008 ปัจจุบันยังไม่ได้ประกาศใช้อย่างเป็นทางการ แต่ได้การยอมรับจากนักธรณีวิทยาเป็นจำนวนมาก ชื่อ แอนโทรโปซีน ได้รับการบัญญัติโดยพอล ครุตเซอร์ นักฟิสิกส์เคมีชาวเนเธอร์แลนด์ ระหว่างการบรรยายทางวิชาการครั้งหนึ่งในปี 2000 โดยเทียบเคียงมาจากชื่อ สมัยโฮโลซีน มาจากคำว่า anthropo- (แปลว่า มนุษย์) และ -cene (แปลว่า ใหม่) สมัยแอนโทรโปซีน ยังไม่ได้รับการบัญญัติวันเริ่มต้นอย่างแน่นอน นักธรณีวิทยาบางส่วนเสนอให้นับตั้งแต่การเริ่มต้นการปฏิวัติอุตสาหกรรม ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในขณะที่บางส่วนเสนอว่าเนื่องจากการกระทำของมนุษย์ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการสูญพันธุ์ของสัตว์ป่า สามารถนับย้อนไปได้ถึง 14,000 ถึง 15,000 ปี สมัยแอนโทรโปซีนจึงควรนับย้อนไปประมาณหลายพันปีก่อนหน้านี้.

ใหม่!!: โลกและแอนโทรโปซีน · ดูเพิ่มเติม »

แอโร แอล-29 เดลฟิน

right แอโร แอล-29 เดลฟิน (Aero L-29 Delfin) เครื่องบิน แอล-29 เป็นเครื่องบินเจ๊ตฝึกที่ใช้งานกันแพร่หลายในหลายประเทศทั่วโลกและมีจำนวนการสร้างมากที่สุดแบบหนึ่งกว่า 3,500 เครื่อง เครื่องแอล-29 เริ่มบินเป็นครั้งแรกในวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1959 และเริ่มประจำการในกองทัพอากาศเชคโกสโลวาเกียในเดือนเมษายน ปี ค.ศ. 1963 องศ์การนาโตกำหนดสัญลักษณ์ว่า ม.

ใหม่!!: โลกและแอโร แอล-29 เดลฟิน · ดูเพิ่มเติม »

แผนที่

231x231px แผนที่ คือ รูปภาพอย่างง่ายซึ่งจำลองบริเวณบริเวณหนึ่ง และมีการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น วัตถุ หรือบริเวณย่อย ๆ ที่อยู่ในบริเวณนั้น แผนที่มักเป็นรูปสองมิติซึ่งแสดงระยะห่างระหว่างจุดสองจุดในบริเวณใดบริเวณหนึ่งได้อย่างถูกต้องตามหลักเรขาคณิต ยกตัวอย่างเช่น แผนที่ทางภูมิศาสตร์ นอกจากนี้เรายังสามารถวาดแผนที่แสดงคุณสมบัติของบริเวณต่าง ๆ บนพื้นโลก เช่น ความหนาแน่นของประชากร ความสูงของพื้นที่ ดัชนีการพัฒนาของมนุษย์ในแต่ละประเทศ เป็นต้น.

ใหม่!!: โลกและแผนที่ · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นจานทองคำของวอยเอจเจอร์

แผ่นจานทองคำของวอยเอจเจอร์ คือแผ่นบันทึกที่ติดอยู่กับยานสำรวจอวกาศ 2 ลำ ภายใต้โครงการวอยเอจเจอร์ที่ปล่อยขึ้นสู่อวกาศในปี..

ใหม่!!: โลกและแผ่นจานทองคำของวอยเอจเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหว

แผนที่โลกแสดงจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวระหว่างปี พ.ศ. 2506–2541 ทั้งสิ้น 358,214 จุด แผ่นดินไหว เป็นปรากฏการณ์สั่นสะเทือนหรือเขย่าของพื้นผิวโลก เพื่อปรับตัวให้อยู่ในสภาวะสมดุล ซึ่งแผ่นดินไหวสามารถก่อให้เกิดความเสียหายและภัยพิบัติต่อบ้านเมือง สิ่งมีชีวิต ส่วนสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวนั้นส่วนใหญ่เกิดจากธรรมชาติ โดยแผ่นดินไหวบางลักษณะสามารถเกิดจากการกระทำของมนุษย์ได้ แต่มีความรุนแรงน้อยกว่าที่เกิดขึ้นเองจากธรรมชาติ นักธรณีวิทยาประมาณกันว่าในวันหนึ่ง ๆ จะเกิดแผ่นดินไหวประมาณ 1,000 ครั้ง ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นแผ่นดินไหวที่มีการสั่นสะเทือนเพียงเบา ๆ เท่านั้น คนทั่วไปจะไม่รู้สึกถึงแรงสั่นสะเทือน แผ่นดินไหวเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก (แนวระหว่างรอยต่อธรณีภาค) ทำให้เกิดการเคลื่อนตัวของชั้นหินขนาดใหญ่เลื่อน เคลื่อนที่ หรือแตกหักและเกิดการโอนถ่ายพลังงานศักย์ ผ่านในชั้นหินที่อยู่ติดกัน พลังงานศักย์นี้อยู่ในรูปคลื่นไหวสะเทือน ศูนย์เกิดแผ่นดินไหวมักเกิดตามรอยเลื่อน อยู่ในระดับความลึกต่าง ๆ ของผิวโลก เท่าที่เคยวัดได้ลึกสุดอยู่ในชั้นแมนเทิล ส่วนจุดที่อยู่ในระดับสูงกว่า ณ ตำแหน่งผิวโลก เรียกว่า จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว โดยการศึกษาเรื่องแผ่นดินไหวและคลื่นสั่นสะเทือนที่ถูกส่งออกมา เรียกว่า วิทยาแผ่นดินไหว เมื่อจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่อยู่นอกชายฝั่ง อาจเกิดคลื่นสึนามิตามมาได้ นอกจากนี้ แผ่นดินไหวยังอาจก่อให้เกิดดินถล่ม และบางครั้งกิจกรรมภูเขาไฟตามมาได้ แผ่นดินไหววัดโดยใช้การสังเกตจากไซสโมมิเตอร์ (seismometer) มาตราขนาดโมเมนต์เป็นมาตราที่ใช้มากที่สุดซึ่งทั่วโลกรายงานแผ่นดินไหวที่มีขนาดมากกว่าประมาณ 5 สำหรับแผ่นดินไหวอีกจำนวนมากที่ขนาดเล็กกว่า 5 แมกนิจูด สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหวแต่ละประเทศจะวัดด้วยมาตราขนาดท้องถิ่นเป็นส่วนใหญ่ หรือเรียก มาตราริกเตอร์ สองมาตรานี้มีพิสัยความถูกต้องคล้ายกันในเชิงตัวเลข แผ่นดินไหวขนาด 3 หรือต่ำกว่าส่วนใหญ่แทบไม่รู้สึกหรือรู้สึกได้เบามาก ขณะที่แผ่นดินไหวตั้งแต่ขนาด 7 อาจก่อความเสียหายรุนแรงเป็นบริเวณกว้าง ขึ้นอยู่กับความลึก แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์มีขนาดมากกว่า 9 เล็กน้อย แม้จะไม่มีขีดจำกัดว่าขนาดจะมีได้ถึงเท่าใด แผ่นดินไหวใหญ่ล่าสุดที่มีขนาด 9.0 หรือมากกว่า คือ แผ่นดินไหวขนาด 9.0 ที่ประเทศญี่ปุ่นเมื่อปี 2554 และเป็นแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีการบันทึกในญี่ปุ่น ความรุนแรงของการสั่นสะเทือนวัดโดยมาตราเมร์กัลลีที่ถูกดัดแปลง หากตัวแปรอื่นคงที่ แผ่นดินไหวที่อยู่ตื้นกว่าจะสร้างความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างมากกว่าแผ่นดินไหวที่อยู่ลึกกว.

ใหม่!!: โลกและแผ่นดินไหว · ดูเพิ่มเติม »

แถบดาวเคราะห์น้อย

กราฟิกแสดงอาณาเขตของแถบดาวเคราะห์น้อย แถบดาวเคราะห์น้อย (Asteroid belt) เป็นบริเวณในระบบสุริยะที่อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี ประกอบไปด้วยวัตถุรูปร่างไม่แน่นอนจำนวนมาก เรียกว่าดาวเคราะห์น้อย (asteroid หรือ minor planet) บางครั้งก็เรียกแถบดาวเคราะห์น้อยว่า "แถบหลัก" เพื่อแยกแยะมันออกจากดาวเคราะห์น้อยกลุ่มอื่น ๆ ที่มีอยู่ในระบบสุริยะ เช่น แถบไคเปอร์ มวลกว่าครึ่งหนึ่งของแถบดาวเคราะห์น้อยอยู่ในดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่ที่สุด 4 ดวง ได้แก่ ซีรีส, เวสตา, พัลลัส และไฮเจีย ทั้งสี่ดวงนี้มีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยมากกว่า 400 กิโลเมตร สำหรับซีรีสซึ่งถือเป็นดาวเคราะห์แคระเพียงดวงเดียวในแถบดาวเคราะห์น้อย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 950 กิโลเมตรKrasinsky, G. A.; Pitjeva, E. V.; Vasilyev, M. V.; Yagudina, E. I. (July 2002).

ใหม่!!: โลกและแถบดาวเคราะห์น้อย · ดูเพิ่มเติม »

แทนาทอส

แทนาทอส (Thanatos, กรีกโบราณ: θάνατος แปลว่า ความตาย) หรือ ออร์คัส (Orcus) ในภาษาลาตินที่ชาวโรมันเรียก เป็นเทพองค์หนึ่งในตำนานเทพของกรีก เป็นเทพแห่งความความตาย เป็นผู้ที่สามารถควบคุมความตายของสิ่งมีชีวิตทุกชีวิตบนโลก เป็นบุตรชายของนิกซ์ (Nyx) เทพีแห่งราตรี และ อีราบัส (Erabus) เทพแห่งความมืด เป็นน้องชายฝาแฝดของฮิปนอส (Hypnos) เทพแห่งนิทรา โดยทั้งคู่อาศัยอยู่ยังขุมนรก เป็นเทพผู้ช่วยของฮาเดส (Hades) จ้าวแห่งนรก แทนาทอสนั้นจะรับวิญญาณของผู้ที่ตายอย่างสงบไปยังยมโลกด้วยตนเอง แต่จะให้เหล่าเคอร์ซึ่งเป็นพี่สาวจับวิญญาณที่ตายอย่างทารุณไปก่อน รูปลักษณ์ของทั้งฮิปนอสและแทนาทอส มักเป็นรูปชายหนุ่มเปลือยกาย หน้าตาเหมือนกัน ทั้งคู่จะมีปีกอยู่ที่ศีรษะคนละข้างสลับกัน มือหนึ่งของแทนาทอสมักถือผีเสื้อหรือมาลัยดอกไม้ โดยบทบาทของแทนาทอสในเทพนิยาย แทนาทอสจะเป็นผู้รับวิญญาณมนุษย์ไปยังยมโลก แต่ในบางตำนานจะยกบทบาทนี้ให้เฮอร์มีส (Hermes) เทพแห่งการสื่อสาร ปรากฏตอนนึงความว่า ได้ถูกกษัตริย์ซีซิสฟัส (Sisyphus) หลอกล่อจนหลงกลแล้วถูกจับขัง ทำให้ไม่มีคนตาย จนกระทั่งเอรีส (Ares) เทพแห่งสงครามหงุดหงิดที่ไม่มีคนตายในการสู้รบ จึงได้ใช้กำลังปลดปล่อยแทนาทอสและพาซีซิสฟัสไปยังยมโลก เนื่องจากเป็นเทพแห่งความตาย ซึ่งเป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคนหวาดกลัว และแม้แต่เหล่าเทพก็ยังรังเกียจแทนาทอส จึงนับว่า แทนาทอสเป็นปีศาจตนหนึ่งก็ว่าได้ โดยแทนาทอสเองก็เกลียดชังมนุษย์และเทพเจ้าอื่น ๆ เช่นเดียวกัน แทนาทอสนั้นเคยต่อสู้กับวีรบุรุษ เฮราคลีส โดยเฮราคลีสนั้นต้องการช่วยเหลือราชินีอัลเคสทิส (Alkestis) ซึ่งยอมสละชีวิตตนเพื่อให้พระสวามี แอดมีตอส (Admetos) มีพระชนม์ชีพยืนยาว เมื่อเฮราคลีสสามารถล้มแทนาทอสได้จึงเท่ากับเป็นผู้มีชัยเหนือความตาย แทนาทอสจึงยอมให้อัลเคสทิสมีชีวิตต่อไป.

ใหม่!!: โลกและแทนาทอส · ดูเพิ่มเติม »

แซรอส

แซรอส (saros) คือวงรอบปรากฏของการเกิดคราสซึ่งมีช่วงเวลาประมาณ 18 ปี 11 วัน 8 ชั่วโมง (หรือประมาณ 6585⅓ วัน) สามารถใช้ในการทำนายการเกิดสุริยคราสและจันทรคราสได้ หลังจากเกิดคราสครบ 1 รอบ ดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์จะหวนกลับมาอยู่ในตำแหน่งทางเรขาคณิตเช่นเดิมอีก ลักษณะการเกิดคราสแบบเดิมจะเกิดขึ้นทางทิศตะวันตกของตำแหน่งที่เคยเกิดครั้งก่อน ประวัติการค้นพบแซรอสที่เก่าแก่ที่สุดคือการค้นพบของชาวแคลดีอา (นักดาราศาสตร์ชาวบาบิโลนโบราณ) ในช่วงหลายร้อยปีก่อนคริสตกาล ต่อมามีการค้นพบโดยฮิปปาร์คัส ไพลนี และทอเลมี แต่ด้วยชื่อที่แตกต่างกันออกไป คำว่า "saros" ได้รับการกำหนดขึ้นเป็นครั้งแรกโดยเอ็ดมันด์ ฮัลเลย์ ในปี ค.ศ. 1691 โดยนำมาจากคำว่า Suda ในพจนานุกรมภาษาไบแซนไทน์ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 11 แม้ในเวลาต่อมา ในปี..

ใหม่!!: โลกและแซรอส · ดูเพิ่มเติม »

โบบอยบอย

อยบอย เป็นทีวีซีรีส์มาเลเซียผลิตโดย แอนิมอนสตา สตูดิโอ ศูนย์กลางในเด็กที่มีอำนาจและความสามารถที่จะแยกออกเป็นสามธาตุ กับเพื่อน หญิง, ญาญ่า, โกปอล กับ เฟง ของเขาพวกเขาต่อสู้เพื่อปกป้องโลกจากภัยคุกคามของมนุษย์ต่างดาวที่มีจุดมุ่งหมายที่จะพิชิตโลกในการตามล่าหาเมล็ดโกโก้ ชุดที่มีการเผยแพร่ในรูปแบบ โทรทัศน์ความละเอียดสูง และมีกำหนดจะออกอากาศทางช่อง 3 (ประเทศมาเลเซีย) เริ่มที่ 13 มีนาคม 2011, ITV (เครือข่ายโทรทัศน์) เริ่มที่ วันที่ 1 มีนาคม 2011, ดิสนีย์แชนแนลเอเชีย เริ่มที่ 18 มิถุนายน 2011.

ใหม่!!: โลกและโบบอยบอย · ดูเพิ่มเติม »

โบอิง 747

อิง 747 ลำแรก ''ซิตีออฟเอเวอร์เร็ตต์'' ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์การบิน ในเมืองเอเวอร์เร็ตต์, รัฐวอชิงตัน โบอิง 747-100 ของนอร์ทเวสต์ แอร์ไลน์ โบอิง 747-200 ของแอร์ฟรานซ์ โบอิง 747-300 ของสายการบินปากีสถานอินเตอร์เนชันเนลแอร์ไลน์ โบอิง 747-400 ของการบินไทย 747-8 ของลุฟต์ฮันซา โบอิง 747 (Boeing 747) เป็นอดีตเครื่องบินโดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก ก่อนที่แอร์บัส เอ 380 จะแล้วเสร็จ โบอิง 747 ไม่มีเครื่องต้นแบบ บินเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนเมษายน ปี ค.ศ. 1966 สายการบินแพนแอมเป็นสายการบินแรกในเส้นทางนิวยอร์ก-ลอนดอน เมื่อวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 1970อภิวัตน์ โควินทรานนท์,อากาศยาน1979ฉบับเครื่องบิน,เอวิเอชั่น ออบเซิร์ฟเวอร์,กรุงเทพ,2522.

ใหม่!!: โลกและโบอิง 747 · ดูเพิ่มเติม »

โฟมัลฮอต บี

ฟมัลฮอต บี เป็นดาวเคราะห์นอกระบบอยู่ห่างจากโลกประมาณ 25 ปีแสง อยู่ในกลุ่มดาวปลาใต้ เป็นดาวเคราะห์ที่ค้นพบโคจรรอบดาวโฟมัลฮอต ในปี ค.ศ. 2008 ในภาพถ่ายที่ถ่ายโดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล โฟมัลฮอต บีและดาวเคราะห์ทั้ง 3 โคจรรอบเอชอาร์ 8799 ซึ่งการค้นพบได้ประกาศในเวลาเดียวกัน เป็นดาวเคราะห์วงโคจรแรกที่มีการเคลื่อนไหวได้รับการยืนยันผ่านทางการถ่ายภาพโดยตรง ในขั้นต้นความคิดของมวลก๊าซยักษ์ดาวพฤหัสบดี ข้อสังเกตในปี ค.ศ. 2011 โดยกล้องโทรทรรน์มิลลิเมตรขนาดใหญ่อาตากามา อาร์เรย์ โดยบ่งบอกดาวเคราะห์ต้องมีมวลมากกว่าดาวอังคาร แต่ยังไม่มีอะไรขนาดใหญ่กว่าไม่กี่เท่าของมวลโลก โฟมัลฮอต บี ยังไม่ได้ยืนยันอย่างเป็นอิสร.

ใหม่!!: โลกและโฟมัลฮอต บี · ดูเพิ่มเติม »

โกล์ (ภาพยนตร์)

กล์ (Goal!) หรือ โกล์ เกมหยุดโลก (Goal! The Impossible Dream) เป็นภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี พ.ศ. 2548 กำกับโดย แดนนี แคนนอน ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอังกฤษ.

ใหม่!!: โลกและโกล์ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

โกลเดนไฮนด์

กลเดน ไฮนด์ คือเรืออังกฤษที่เดินทางรอบโลกระหว่างปี..

ใหม่!!: โลกและโกลเดนไฮนด์ · ดูเพิ่มเติม »

โกด

กด เป็นเสียงของคำในภาษาไทยหลายคำที่มีความหมายต่างกันไปดังนี้.

ใหม่!!: โลกและโกด · ดูเพิ่มเติม »

โมบิลสูท กันดั้ม 08th ทีม

มบิลสูท กันดั้ม 08th ทีม เป็นแอนิเมชัน 1 ในซีรีส์ชุด กันดั้ม ซึ่งเล่าถึงเหตุการณ์ในช่วงสงครามหนึ่งปีจากมุมมองของทหารสามัญ ออกจำหน่ายในรูปแบบ โอวีเอ ตั้งแต่ปี 1996 ถึง 1999 มีความยาวทั้งสิ้น 11 ตอนจบ แต่ภายหลังได้มีการสร้างตอนพิเศษ "Last Resort" (ที่พักพิงสุดท้าย) ออกมาเพิ่มเป็นตอนที่ 12 นอกจากนี้ยังมีตอน "Miller's Report" ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อออกฉายในโรงภาพยนตร์ในปี 1998 ด้วย ในประเทศไทย โมบิลสูท กันดั้ม 08th ทีม ได้ออกจำหน่ายในรูปแบบ วีซีดี (6 แผ่นจบ) และ ดีวีดี (4 แผ่นจบ) โดย DEX.

ใหม่!!: โลกและโมบิลสูท กันดั้ม 08th ทีม · ดูเพิ่มเติม »

โยสไตน์ กอร์เดอร์

Jostein Gaarder โยสไตน์ กอร์เดอร์ (นอร์เวย์: Jostein Gaarder) เป็นนักเขียนชาวนอร์เวย์ และเป็นเจ้าของผลงานชื่อดังหลายเล่ม ทั้งนวนิยาย เรื่องสั้น และหนังสือสำหรับเด็ก กอร์เดอร์มักจะเขียนงานจากมุมมองของเด็กที่สำรวจและมองเห็นความอัศจรรย์ของโลก งานหลายชิ้นของเขาเป็นงานเขียนแบบเรื่องซ้อนเรื่อง (Metafiction) ผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดของกอร์เดอร์คือโลกของโซฟี ซึ่งเป็นนวนิยายเกี่ยวกับประวัติความคิดทางปรัชญา โดยงานชิ้นนี้ได้รับการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ ถึง 53 ภาษา และมียิดพิมพ์มากกว่า 30 ล้านเล่ม.

ใหม่!!: โลกและโยสไตน์ กอร์เดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์

รงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์ เป็นโรงเรียนสหศึกษา ในความดูแลของคณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร เขตมิสซังกรุงเทพฯ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนในระดับชั้นอนุบาล ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีกำเนิดมาจาก โรงเรียนแม่พระสกลสงเคราะห์ ที่บาทหลวงบรัวซาร์ อธิการโบสถ์วัดพระแม่สกลสงเคราะห์องค์แรกจัดตั้งขึ้น เมื่อปี ค.ศ. 1924 (พ.ศ. 2467) ต่อมา คุณพ่อตาปี อธิการโบสถ์องค์ถัดมาได้เปลี่ยนเป็นชื่อโรงเรียนที่ใช้มาจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: โลกและโรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต แวดโลว์

แวดโลว์ (ขวา) กับพ่อของเขา (ซ้าย) โรเบิร์ต เพอร์ชิง แวดโลว์ (Robert Pershing Wadlow; 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1918 — 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1940) เป็นมนุษย์ที่สูงที่สุดในโลก โดยเขาเป็นเจ้าของความสูงถึง 2.72 เมตร และยังเป็นมนุษย์ที่สูงที่สุดตลอดกาลด้วย เพราะในปัจจุบันก็ยังไม่มีใครสามารถทำลายสถิติความสูงของเขาได้เลย เขามีน้ำหนักมากถึง 222 กิโลกรัม ซ้ำยังเป็นมนุษย์ที่มีมือและเท้ายาวที่สุด แวดโลว์มีมือที่ยาวมากกว่า 30 เซนติเมตร และเท้าที่ยาวเกือบ 50 เซนติเมตร ซึ่งการที่เขาสูงได้ขนาดนี้ ก็เพราะความผิดปกติของต่อมใต้สมองของ.

ใหม่!!: โลกและโรเบิร์ต แวดโลว์ · ดูเพิ่มเติม »

โลก (ดาวเคราะห์)

ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.

ใหม่!!: โลกและโลก (ดาวเคราะห์) · ดูเพิ่มเติม »

โลกยามเช้า

ลกยามเช้า เป็นรายการโทรทัศน์ ที่นำเสนอข่าวต่างประเทศ และสาระความรู้จากทั่วโลก ในลักษณะผสมผสานเชื่อมโยงกับสังคมไทย ผลิตโดย ฝ่ายข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ร่วมกับ บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ออกอากาศทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 04.30-04.55 น. ทางไทยทีวีสีช่อง 3 ช่อง 3 เอสดี และ วิทยุครอบครัวข่าว และตั้งแต่วันจันทร์ที่ 3 ธันวาคม..

ใหม่!!: โลกและโลกยามเช้า · ดูเพิ่มเติม »

โลกใหม่

ระวังสับสนกับ โลกยุคใหม่โลกใหม่ (สีเขียว) เปรียบเทียบกับ โลกเก่า (สีเทา) โลกใหม่ (New World) เป็นคำที่ใช้สำหรับดินแดนที่นอกไปจากทวีปแอฟริกา ทวีปยุโรป และ ทวีปเอเชีย ที่ก็คือทวีปอเมริกา และอาจจะรวมไปถึงออสตราเลเชียด้วย เป็นคำที่เริ่มใช้กันในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เมื่อทวีปอเมริกายังใหม่ต่อชาวยุโรปผู้ที่เดิมเชื่อว่าโลกประกอบด้วยทวีปเพียงสามทวีปที่เรียกรวมกันว่าโลกเก่า คำว่า “โลกใหม่” ไม่ควรจะสับสนกับคำว่า “โลกยุคใหม่” (Modern era) คำหลังหมายถึงช่วงเวลาในประวัติศาสตร์มิใช่แผ่นดิน.

ใหม่!!: โลกและโลกใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปัส (ภูเขาไฟ)

ูเขาไฟโอลิมปัส (Olympus Mons) เป็นภูเขาไฟรูปโล่ขนาดใหญ่บนดาวอังคาร จัดว่าเป็นภูเขาไฟที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยจักรวาลของเราด้วยความสูงกว่า 25 กิโลเมตร สูงกว่ายอดเขาเอเวอเรสต์ของโลกถึง 3 เท่า และยังเป็นภูเขาไฟขนาดใหญ่บนดาวอังคารที่มีอายุน้อยที่สุด นักดาราศาสตร์มีการค้นพบมันตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 และเรียกมันว่า นิกซ์โอลิมปิกา ซึ่งพวกเขาคิดว่ามันเป็นภูเขาธรรมดาเท่านั้น จนเมื่อยาน มาริเนอร์ 9 ถูกส่งไปโคจรรอบดาวอังคารในปี..

ใหม่!!: โลกและโอลิมปัส (ภูเขาไฟ) · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน หรือ ซัมเมอร์โอลิมปิกเกมส์ (Summer Olympic Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างประเทศ ซึ่งตามปกติจะมีการจัดแข่งขันทุกสี่ปี โดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee หรือ IOC) ในแต่ละครั้งจะมีการมอบเหรียญรางวัล ผู้ชนะเลิศได้เหรียญทอง อันดับสองได้เหรียญเงิน และอันดับสามได้เหรียญทองแดง การมอบเหรียญนี้เป็นประเพณีตั้งแต่ปี 1904 ต่อมามีการจัดแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาว อันสืบเนื่องมาจากความสำเร็จของโอลิมปิกฤดูร้อน การแข่งขันนั้นเริ่มต้นครั้งแรกด้วยกีฬาเพียง 42 ประเภท และนักกีฬาชายเพียง 250 คน จนมีจำนวนเพิ่มขึ้นถึงมากกว่า 10,000 คน ของนักกีฬาชายและหญิงจาก 202 ประเทศทั่วโลก คณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่ปักกิ่ง คาดการณ์ว่าจะมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันประมาณ 10,500 คน เข้าชิงชัยใน 302 รายการ ในขณะที่กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่คณะกรรมการจัดการแข่งขันได้ประมาณการไว้ว่าจะมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันประมาณ 10,500 คน แต่ก็เกิดการคลาดเคลื่อนขึ้นเพราะมีผู้เข้าแข่งขันกว่า 11,099 คน ใน 301 รายการแข่งขัน นักกีฬาถูกส่งเข้าแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกของประเทศต่าง ๆ (NOC-National Olympic Committee) เพื่อแสดงจำนวนพลเมืองในบังคับของประเทศตน เพลงชาติและธงชาติประกอบพิธีมอบเหรียญ และตารางแสดงจำนวนเหรียญที่ชนะ โดยถูกใช้อย่างกว้างขวางในบางประเทศ โดยปกติแล้วเฉพาะประเทศที่ได้รับการรับรองเท่านั้นที่จะมีผู้แทนได้ แต่มีแค่เพียงประเทศมหาอำนาจบางประเทศเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้มีส่วนร่วม โดยมีเพียง 4 ประเทศที่ส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อนทุกครั้ง ได้แก่ ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร กรีซ และสวิตเซอร์แลนด์ และมีเพียงประเทศเดียวเท่านั้นที่ชนะและได้รับเหรียญทองอย่างน้อย 1 เหรียญจากการแข่งขันทุกครั้ง คือ สหราชอาณาจักร โดยได้รับตั้งแต่ 1 เหรียญทอง ในปี 1904 1952 และ 1996 จนถึงได้รับ 56 เหรียญทอง ในปี 1908.

ใหม่!!: โลกและโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว

อลิมปิกฤดูหนาว (Winter Olympic Games) เป็นการแข่งขันระดับโอลิมปิกด้านกีฬาฤดูหนาวที่จัดขึ้นทุก 4 ปี ลักษณะของกีฬาฤดูหนาวจะจัดขึ้นในภูมิประเทศที่เป็นน้ำแข็งหรือหิมะ เช่นสเกตน้ำแข็งและสกี โดยคณะกรรมการโอลิมปิกของชาติต่าง ๆ (NOCs) บางประเทศนั้นจะเป็นคณะเดียวกันกับโอลิมปิกฤดูร้อนที่จะเป็นผู้ส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันกับนักกีฬาของชาติอื่น เพื่อชิงเหรียญทอง เหรียญเงิน และเหรียญทองแดง สำหรับจำนวนประเทศที่มีส่วนร่วมในกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวน้อยกว่าโอลิมปิกฤดูร้อน ด้วยเหตุผลชัดเจนของสภาพภูมิประเทศ และประเทศส่วนใหญ่อยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร ซึ่งไม่มีโอกาสที่จะเข้าถึงการฝึกกีฬาฤดูหนาวนั่นเอง ทั้งนี้ การแข่งขันครั้งแรก จัดขึ้นที่เมืองชาโมนิคซ์ ประเทศฝรั่งเศส เมื่อปี พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) ส่วนการแข่งขันครั้งล่าสุด จัดขึ้นที่เมืองโซชี ประเทศรัสเซีย ในปี พ.ศ. 2557 (ค.ศ. 2014) และครั้งต่อไป จะจัดขึ้นที่เมืองพย็องชัง ประเทศเกาหลีใต้ ในปี พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018).

ใหม่!!: โลกและโอลิมปิกฤดูหนาว · ดูเพิ่มเติม »

โอคิตะ โซโกะ

อคิตะ โซโกะ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ใหม่!!: โลกและโอคิตะ โซโกะ · ดูเพิ่มเติม »

โอโทเซะ

อโทเซะ (ชื่อในมังงะภาษาไทย) หรือ โอโทเสะ (ชื่อในอะนิเมะภาษาไทย) มีชื่อจริงว่า เทราดะ อายาโนะ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ใหม่!!: โลกและโอโทเซะ · ดูเพิ่มเติม »

โอไรออน (ยานอวกาศ)

นลูกเรืออเนกประสงค์โอไรออน (Orion Multi-Purpose Crew Vehicle, MPCV) เป็นยานอวกาศซึ่งตั้งใจบรรทุกลูกเรือนักบินอวกาศสูงสุดสี่คนไปเป้าหมายที่หรือพ้นวงโคจรต่ำของโลก (LEO) นาซากำลังพัฒนาเพื่อปล่อยบนระบบปล่อยอวกาศ ปัจจุบัน ตั้งใจให้โอไรออนอำนวยความสะดวกการสำรวจดาวเคราะห์น้อยและดาวอังคารของมนุษย์ ตลอดจนให้ลูกเรือและขีดความสามารถการขนส่งสัมภาระไปและกลับจากสถานีอวกาศนานาชาติ นาซาประกาศ MCOV เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2554 การออกแบบอาศัยยานสำรวจลูกเรือโอไรออนจากโครงการคอนสตัลเลชัน (Constellation program) ที่ถูกยกเลิก มีสองมอดูลหลัก ล็อกฮีดมาร์ตินกำลังสร้างมอดูลสั่งการโอไรออนที่ศูนย์ประกอบมีชู (Michoud Assembly Facility) ในนิวออร์ลีนส์ ส่วนแอร์บัสกลาโหมและอวกาศกำลังสร้างมอดูลบริการโอไรออน จัดโดยองค์การอวกาศยุโรป เที่ยวบินทดสอบแรกของ MPCV เรียก การทดสอบการบินสำรวจ 1 (EFT-1) ถูกปล่อยบนจรวดเดลตา 4 เฮฟวีเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2557 บนเที่ยวบินนาน 4 ชั่วโมง 24 นาที ลงจอดที่เป้าหมายในมหาสมุทรแปซิฟิกเมื่อเวลา 10:29 เซ็นทรัล (ล่าช้าจากวันก่อนเพราะปัญหาเทคนิค) ภารกิจบรรทุกนักบินอวกาศแรกคาดว่ายังไม่เกิดจนปี 2559.

ใหม่!!: โลกและโอไรออน (ยานอวกาศ) · ดูเพิ่มเติม »

โจตัน

ตัน (Jotun) เป็นบริษัทผลิตสีจากประเทศนอร์เวย์ ที่ผลิตสีทาบ้านและผิวเคลือบแป้ง มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ประเทศนอร์เวย์ มีบริษัทในเครือ 67 บริษัท และ 39 โรงงานใน สแกนดิเนเวีย, ยุโรป, ตะวันออกกลาง, เอเชีย, อเมริกา, ออสเตรเลีย และ แอฟริกา ชื่อของบริษัทโจตัน มาจากโยตุน (Jötunn) เทพในนิยายนอร์เว.

ใหม่!!: โลกและโจตัน · ดูเพิ่มเติม »

โดกาปอง

กาปอง (Dokapon; เป็นเกมภาษาแบบเล่นกระดาน ซึ่งใช้ผู้เล่น 3 ถึง 4 คนของการเล่นเกมนี้ และเป็นเกมที่เรียกความสนุกสนานและเสียงหัวเราะให้ผู้เล่นในโลกแห่งแฟนตาซี ที่ชิงความเป็นหนึ่งในการครอบครองสมบัติ ด้วยการออกผจญภัยปราบศัตรูต่าง ๆ ในเกม พร้อมทั้งเล่นร่วมกับผู้เล่นคนอื่น ๆ ที่ร่วมผจญภัยอีกด้วย โดกาปอง ถูกผลิดเป็นครั้งแรกโดยบริษัท แอสมิค-เอส และบริษัท สตริง (Sting) ประเทศญี่ปุ่น ลักษณะส่วนใหญ่ของเกมนี้มักจะเน้นไปที่วัยเด็กเป็นหลัก เพราะลักษณะรูปภาพจะเน้นออกไปทางสีสันที่น่ารัก.

ใหม่!!: โลกและโดกาปอง · ดูเพิ่มเติม »

โดราเอมอน

ราเอมอน หรือ โดเรมอน (ドラえもん) (Doraemon) เป็น การ์ตูนญี่ปุ่น แต่งโดย ฟุจิโกะ ฟุจิโอะ เรื่องราวของหุ่นยนต์แมวชื่อโดราเอมอน โดยฟุจิโกะ ฟุจิโอะ ได้กล่าวว่าโดราเอมอนเกิดวันที่ 3 กันยายน มาจากอนาคตเพื่อกลับมาช่วยเหลือ โนบิตะ เด็กประถมจอมขี้เกียจด้วย ของวิเศษ จากอนาคต โดราเอมอนเริ่มตีพิมพ์ครั้งแรกในญี่ปุ่นเมื่อ เดือนมกราคม พ.ศ. 2513 โดย สำนักพิมพ์โชงะกุกัง โดยมีจำนวนตอนทั้งหมด 1,344 ตอน ต่อมาในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2540 โดราเอมอนได้รับรางวัลเทะซุกะ โอซามุ ครั้งที่ 1 ในสาขาการ์ตูนดีเด่น อีกทั้งยังได้รับเลือกจาก นิตยสารไทม์เอเชีย ให้เป็นหนึ่งในวีรบุรุษของ ทวีปเอเชีย จาก ประเทศญี่ปุ่น จากนั้นในวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2551 โดราเอมอนก็ได้รับเลือกให้เป็นทูตสันถวไมตรี เพื่อการประชาสัมพันธ์วัฒนธรรมของ ประเทศญี่ปุ่น นอกจากนี้บริษัท บันได ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าการ์ตูนที่มีชื่อเสียงของญี่ปุ่น ยังได้ผลิต หุ่นยนต์ โดราเอมอนของจริงขึ้นมาในชื่อว่า "My Doraemon" โดยออกวางจำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2552 ใน ประเทศไทย โดราเอมอนฉบับ หนังสือการ์ตูน มีการตีพิมพ์โดยหลายสำนักพิมพ์ในช่วงก่อนที่จะมีลิขสิทธิ์การ์ตูน แต่ปัจจุบัน สำนักพิมพ์ เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ เป็นผู้ได้รับลิขสิทธิ์ในการจัดพิมพ์แต่เพียงผู้เดียว ส่วนฉบับอะนิเมะ ออกอากาศครั้งแรก วันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2525 ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี ในปัจจุบัน และวางจำหน่ายในรูปแบบวีซีดี-ดีวีดี ลิขสิทธิ์โดยบริษัท โรส วิดีโอ .

ใหม่!!: โลกและโดราเอมอน · ดูเพิ่มเติม »

โครงสร้างของโลก

รงสร้างของโลก โครงสร้างภายในของโลกแบ่งเป็นชั้นในเปลือกทรงกลมคล้ายหัวหอม ชั้นเหล่านี้สามารถนิยามโดยคุณสมบัติทางเคมีหรือวิทยากระแส (rheology) ของมัน โลกมีเปลือกแข็งซิลิเกตชั้นนอก เนื้อโลกที่หนืดมาก แก่นนอกที่เหลวซึ่งหนืดน้อยกว่าเนื้อโลกมาก และแก่นในแข็ง ความเข้าใจโครงสร้างภายในของโลกอาศัยการสังเกตภูมิลักษณ์และการวัดความลึกของมหาสมุทร (bathymetry) การสังเกตหินในหินโผล่ ตัวอย่างซึ่งถูกนำสู่พื้นผิวจากชั้นที่ลึกกว่าโดยกิจกรรมภูเขาไฟ การวิเคราะห์คลื่นแผ่นดินไหวซึ่งผ่านโลก การวัดสนามความโน้มถ่วงของโลกและการทดลองกับของแข็งผลึกที่ลักษณะเฉพาะความดันและอุณหภูมิของภายในชั้นลึกของโลก.

ใหม่!!: โลกและโครงสร้างของโลก · ดูเพิ่มเติม »

โซเดียมคลอไรด์

ซเดียมคลอไรด์ (Sodium chloride, สูตรเคมี: NaCl) มีชื่อที่เรียกทั่วไปดังนี้ เกลือแกง หรือ ฮาไลต์ เป็นสารประกอบเคมี โซเดียมคลอไรด์เป็นเกลือที่มีบทบาทต่อความเค็มของมหาสมุทร และของเหลวภายนอกเซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เป็นส่วนประกอบหลักในเกลือที่กินได้ มันถูกใช้อย่างกว้างขวางในการเป็นเครื่องปรุงรส และใช้ในการถนอมอาหาร.

ใหม่!!: โลกและโซเดียมคลอไรด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมมัส (ดาวบริวาร)

มมัส เป็นดาวบริวารของดาวเสาร์ที่วิลเลียม เฮอร์เชล ค้นพบในปี..

ใหม่!!: โลกและไมมัส (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

ไมล์ทะเล

ไมล์ทะเล (nautical mile) เป็นหน่วยของระยะทาง ที่เท่ากับระยะทางบนผิวโลก ประมาณ 1 ลิปดา บนเส้นเส้นเมริเดียนใด ๆ โดยเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป ว่า 1 ไมล์ทะเล เท่ากับ 1852 เมตร (หรือประมาณ 6076.12 ฟุต) หน่วยนี้ไม่ได้เป็นหน่วยเอสไอ แต่ใช้กันทั่วไปในวงการเดินเรือและอุตสาหกรรมการบิน และยังใช้เป็นหน่วยที่ใช้กับการกำหนดเขตแดนน่านน้ำในสนธิสัญญา และกฎหมายระหว่างประเทศอีกด้วย หมวดหมู่:หน่วยความยาว.

ใหม่!!: โลกและไมล์ทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครซอฟท์

มโครซอฟท์ (Microsoft) เป็นหนึ่งในบริษัทผู้ผลิตและพัฒนาซอฟต์แวร์รายใหญ่ของโลก มีฐานการผลิตอยู่ที่เมืองเรดมอนด์ รัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา โดยผลิตภัณฑ์ของไมโครซอฟท์ที่มีกำลังการตลาดมากที่สุดคือ ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และ ไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ จุดเริ่มต้นของบริษัทคือการพัฒนาและออกจำหน่ายตัวแปลภาษาเบสิก สำหรับเครื่องแอทแอร์ 8800 หลังจากนี้น ไมโครซอฟท์เริ่มมีอิทธิพลต่อผู้ใช้คอมพิวเตอร์ภายในบ้าน โดยการออกระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ดอสเมื่อช่วงกลางยุค 1980 ในสายการผลิตของไมโครซอฟท์ วินโดวส์ โดยได้รับความนิยมจากผู้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี นักวิจารณ์ผู้หนึ่งกล่าวถึงเป้าหมายแรกของไมโครซอฟท์ว่า ไมโครซอฟท์ได้เริ่มครอบงำตลาดซอฟต์แวร์อื่นๆ โดยไมโครซอฟท์มีกิจการอื่นๆ ของตัวเองเช่น MSNBC (ดำเนินธุรกิจเคเบิลทีวี), เอ็มเอสเอ็น (ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต),และเอ็นคาร์ทาร์ (ดำเนินธุรกิจสารานุกรมออนไลน์) บริษัทยังดำเนินกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์อีกด้วย เช่น เมาส์ และอุปกรณ์ความบันเทิงต่าง ๆ เช่น Xbox, Xbox 360, Xbox One, ซูน และ เอ็มเอสเอ็น ทีวี.

ใหม่!!: โลกและไมโครซอฟท์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล แจ็กสัน: ดิอิมมอร์ทัลเวิลด์ทัวร์

มเคิล แจ็คสัน: ดิอิมมอร์ทัลเวิลด์ทัวร์ (Michael Jackson: The Immortal World Tour) เป็นครั้งแรกของทั้งสองผลิตละครที่แตกต่างกันอย่างเป็นทางการโดย บริษัท Cirque du Soleil ซึ่งใช้ดนตรี และวิสัยทัศน์ของ ไมเคิล แจ็คสัน พร้อมกับ ลายเซ็นสไตล์ท่ากายกรรที่มีประสิทธิภาพของ Cirque du Soleil เพื่อสร้างประสบการณ์คอนเสิร์ตที่สมจริง การแสดงที่ได้รับการเขียนบทและกำกับการแสดงโดย เจมี คิง และการผลิตในการเป็นหุ้นส่วนกับธุรกิจของไมเคิล แจ็คสัน เวทีการแสดงซึ่งจะคล้ายกับคอนเสิร์ตเพลงร็อก เริ่มต้นการแสดงทัวร์เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม ค.ศ. 2011 ในเมืองมอนทรีออล หลังจากนั้นได้เดินทางไปแสดงที่ทวีปอเมริกาเหนือประมาณสองปี ต่อไปด้วยทวีปยุโรป และส่วนที่เหลือของโลก บริษัท Michael Jackson Company LLC ได้ร่วมมือกับ Cirque du Soleil เพื่อที่จะสร้างประสบการณ์คอนเสิร์ตครั้งนี้ ในส่วนของทำสัญญามูลค่า 250 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ พร้อมกับโซนี อนุญาตให้เผยแพร่เพลงดนตรีจนถึงปี ค.ศ. 2017 โดยในชื่ออัลบั้ม อิมมอร์ทัล ถูกใช้ในการผลิตด้วย ธุรกิจเริ่มต้นเปิดการแสดง 50 สถานที่จัดงานแล้วถามแฟน ๆ ที่จะทำตามคำขอถ้าพวกเขาต้องการสำหรับการแสดงที่จะมาไปยังเมืองนั้น ๆ ความต้องการตั๋วสูงได้รับแจ้งธุรกิจที่จะเพิ่มสถานที่จัดงานหลายแห่งและหลายวันการแสดงซึ่งรวมแล้วทั้งหมด 273 รอบในทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปยุโรป แสดงครั้งแรกในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2011 ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2011 เวลาเพียงสองเดือนหลังจากที่ถูกเปิดตัวการแสดงที่มียอดจำหน่ายกว่า 100 ล้านตั๋ว และกลายเป็นการแสดงทัวร์ชั้นนำของอเมริกาตามฟอร์บ อิมมอร์ทัล ได้สร้างจนถึงขณะนี้ 340 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ และได้รับการแสดงไปกว่า 2 ล้านผู้ชมทั่วโลก ติดท็อปชาร์ตในปี..

ใหม่!!: โลกและไมเคิล แจ็กสัน: ดิอิมมอร์ทัลเวิลด์ทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอดอลมาสเตอร์ เซโนกลอสเซีย

อดอลมาสเตอร์ เซโนกลอสเซีย เป็นอะนิเมะแนวไซไฟ, หุ่นยนต์ เป็นส่วนหนึ่งของโปรเจ็กไอมาส (IM@S) ของ บันไดนัมโกะเกมส์ โดยมีพื้นฐานตัวละครเบื้องต้นมาจากเกม ดิ ไอดอลมาสเตอร์ บนเครื่องเอกซ์บอกซ์ 360 จัดสร้างเป็นแอนิเมชั่นโดยซันไรส์ ด้วยคำขวัญที่ว่า "อยากจะเป็นไอดอลของเธอ" ไอดอลมาสเตอร์ เซโนกลอสเซีย นอกจากจะฉายในโทรทัศน์แล้ว ยังฉายผ่านทางเว็บไซต์ ในประเทศญี่ปุ่น และยังมีการให้ตัวละครหลักโต้ตอบกับแฟนๆ ผ่านทางบล็อกในเว็บไซต์ โดยจำเป็นต้องให้คนที่มีสิทธิ์อยู่แล้ว เป็นผู้เชิญเข้าไปเท่านั้น.

ใหม่!!: โลกและไอดอลมาสเตอร์ เซโนกลอสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ไอแอพิตัส (ดาวบริวาร)

อแอพิตัส (Ιαπετός) บางครั้งบางคราวก็เรียกว่า เจพิตัส,.

ใหม่!!: โลกและไอแอพิตัส (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

ไอโอตา นาฬิกา บี

อโอตา นาฬิกา บี เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่อยู่ห่างจากโลก 56 ปีแสง อยู่ในกลุ่มดาวนาฬิกา มีมวลต่ำสุด 1.94 หน่วยของดาวพฤหัสบดี.

ใหม่!!: โลกและไอโอตา นาฬิกา บี · ดูเพิ่มเติม »

ไอ้แมงมุมในรูปแบบอื่น

อ้แมงมุมรูปแบบต่าง ๆ(วาดโดย เดวิด ลินช์) นอกจากจะเป็นหนึ่งในหนังสือการ์ตูนกระแสหลักของสังกัดมาร์เวลคอมิกส์ (Marvel Comics) แล้ว เรื่องของไอ้แมงมุม หรือสไปเดอร์แมน (Spider-Man) ก็ยังถูกนำมาเล่าในเนื้อเรื่องอื่น ๆ ด้ว.

ใหม่!!: โลกและไอ้แมงมุมในรูปแบบอื่น · ดูเพิ่มเติม »

ไทบีเรียม

การเริ่มขยายตัวของแร่ไทบีเรียม ไทบีเรียม (Tiberium) เป็นสารในจินตนาการ ซึ่งเป็นปมหลักในเกมซีรีส์ คอมมานด์ & คองเคอร์ โดยจากการสร้างอุกกาบาต ของมนุษย์ต่างดาวสคริน แร่ไทบีเรียมเป็นทั้งเครื่องมือและทรัพยากรในการทำสงครามภายในเกม ซึ่งแต่ละฝ่ายในเกมจะต่อสู้โดยตรงหรือโดยอ้อมเพื่อครอบครองแร่ไทบีเรียมดังกล่าว ไทบีเรียมกำหนดมาจากนอกอวกาศ และมีหลายรูปแบบ แต่ส่วนใหญ่จะพบในลักษณะเป็นผลึกสีเขียว ไปจนถึงผลึกสีน้ำเงิน หรืออาจพบในรูปแบบของ "แนวแร่" เดิมที แร่ไทบีเรียมไม่ได้อยู่ในสถานะของเหลว แต่สามารถผลิตขึ้นในสถานะของแข็งได้ในสงครามไทบีเรียม แร่ไทบีเรียมมีคุณสมบัติเป็นดาบสองคม ในขณะที่มันเป็นแหล่งทรัพยากรแร่ที่ดีที่สุดเท่าที่เคยพบมา และสามารถแปลงให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถทำการเก็บได้ง่าย แต่แร่ไทบีเรียมก็มีความอันตราย พื้นที่ที่มีแร่ไทบีเรียมอยู่มากจะทำลายระบบนิเวศท้องถิ่น และทำให้สภาวะเป็นพิษเกินกว่าที่สิ่งมีชีวิตที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบพื้นฐาน (Carbon-based life) จะอาศัยอยู่ได้ แร่ไทบีเรียมสามารถพิจารณาว่าเป็นวัตถุซื้อขายได้ เนื่องจากทุกอย่างในเกมจะต้องเสียไทบีเรียมในการก่อสร้าง ซึ่งใช้แลกเปลี่ยนเหมือนกับเงินตรา แร่ไทบีเรียมสามารถปรากฏได้ทุกที่บนโลก แต่จะแพร่ขยายไปได้ช้าในเขตภูมิอากาศหนาวจั.

ใหม่!!: โลกและไทบีเรียม · ดูเพิ่มเติม »

ไทรทัน (ดาวบริวาร)

ทรทัน ไทรทัน (Triton) เป็นดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดของดาวเนปจูน เป็นสถานที่เพียงหนึ่งในสามแห่งในระบบสุริยะ ที่มีก๊าซไนโตรเจนในบรรยากาศ นอกเหนือจากโลก และดาวบริวารไททัน (Titan Moon) ของดาวเสาร์ ไทรทันมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2,707 ก.ม. มีอุณหภูมิพื้นผิวประมาณ -235 องศาเซลเซียส (35 เคลวิน) สภาพภูมิประเทศเป็นหุบเหวและร่องลึกมากมาย เนื่องจากอุณหภูมิที่ต่ำทำให้เกิดน้ำแข็ง และน้ำแข็งละลายกลับไปกลับมาซ้ำแล้วซ้ำเล่า นอกจากนั้นยังมีภูเขาไฟน้ำแข็ง (Ice Valcanoes) ที่พ่นน้ำพุแรงดันสูง ประกอบด้วยไนโตรเจนเหลว มีเทนแข็ง และฝุ่นที่เย็นจัดขึ้นไปกว่า 8 กิโลเมตร เหนือพื้นผิวของดาวบริวาร ลักษณะพื้นผิวดาวบริวารจะแวววาวจากหินแข็ง โดยมีส่วนผสมด้วยละอองอนุภาคสีดำขนาดเล็ก ถูกหุ้มด้วยผลึกน้ำแข็ง (เกิดจาก Ice carbonaceous) มีส่วนประกอบของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจน และก๊าซมีเทน ฟุ้งกระจายเป็นหมอกบางๆ เหนือพื้น โดยมีน้ำแข็งทั้งหมดประมาณ 25% ไทรทันเป็นวัตถุแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Object) มีถิ่นกำเนิดอยู่บริเวณขอบของระบบสุริยะ เลยวงโคจรของดาวพลูโต ออกไปและถูกดาวเนปจูนดูดจับเข้ามาเป็นบริวาร รูปทรงสัณฐานของไทรทันที่สังเกตเห็น จะมีแนวเฉดฟ้าอ่อนจาก Nitrogen ice เช่นเดียวกับไอของน้ำแข็งแห้ง.

ใหม่!!: โลกและไทรทัน (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

ไททัน (ดาวบริวาร)

ไททัน (Titan) คือ ดาวบริวารที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของดาวเสาร์ มีระยะห่างจากดาวเสาร์เป็นลำดับที่ 20 เป็นดาวบริวารดวงเดียวที่เป็นที่ทราบกันว่ามีชั้นบรรยากาศที่หนาแน่น และเป็นวัตถุเพียงชนิดเดียวนอกจากโลกที่มีการค้นพบว่ามีร่องรอยของน้ำอยู่บนดาว ไททันมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่าดาวบริวารของโลกประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ และมีมวลมากกว่าประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ เป็นดาวบริวารที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ในระบบสุริยะ รองจากดาวบริวารแกนีมีดของดาวพฤหัสบดี และมีขนาดใหญ่กว่าดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดซึ่งคือ ดาวพุธ (ถึงแม้ว่าจะมีมวลน้อยกว่าเพียงครึ่งเดียวก็ตาม) ผู้คนได้รู้ว่าไททันเป็นดาวบริวารดวงแรกของดาวเสาร์ หลังจากที่ถูกค้นพบเมื่อปี พ.ศ. 2198 (ค.ศ. 1655) โดยคริสตียาน เฮยเคินส์ (Christiaan Huygens) นักดาราศาสตร์ชาวดัตช์ ไททันประกอบด้วยน้ำ น้ำแข็ง และหินเป็นหลัก ด้วยความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศของไททัน ทำให้เราไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับพื้นผิวของมันมากนัก จนกระทั่งยานอวกาศ "กัสซีนี-เฮยเคินส์" (Cassini–Huygens) ได้เดินทางไปถึงในปี พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) รวมถึงการค้นพบทะเลสาบไฮโดรคาร์บอนเหลว บริเวณขั้วของดาวโดยดาวเทียม ลักษณะของพื้นผิวนั้น ทางธรณีวิทยาถือว่ายังค่อนข้างใหม่ ถึงแม้ว่าจะประกอบด้วยภูเขาและภูเขาไฟน้ำแข็ง (cryovolcano) ก็ตาม ชั้นบรรยากาศของไททันประกอบด้วยไนโตรเจนเป็นส่วนใหญ่ สภาพอากาศจะมีเมฆมีเทนและอีเทน ลมและฝน ซึ่งทำให้เกิดสภาพพื้นผิวที่มีลักษณะคล้ายกับโลกของเรา เช่น ทะเลทราย และแนวชายฝั่ง หมวดหมู่:ดาวบริวารของดาวเสาร์ หมวดหมู่:วัตถุทางดาราศาสตร์ที่ค้นพบในปี พ.ศ. 2198.

ใหม่!!: โลกและไททัน (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

ไทเทเนียม

ทเทเนียม (Titanium) เป็นธาตุเคมี มีสัญลักษณ์เป็น Ti มีเลขอะตอมเท่ากับ 22 มีความหนาแน่นต่ำ แข็ง ทนการกัดกร่อน (น้ำทะเล, น้ำประสานทอง (aqua regia) และ คลอรีน) เป็นโลหะทรานซิชันสีเงิน ไทเทเนียมได้รับการค้นพบในคอร์นวอลล์ บริเตนใหญ่ โดย วิลเลียม เกรเกอร์ (William Gregor) ในปี..

ใหม่!!: โลกและไทเทเนียม · ดูเพิ่มเติม »

ไซด์สไวป์

ซด์สไวป์ อังกฤษ:(Sideswipe) เป็นชื่อตัวละครจากภาพยนตร์เรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร.

ใหม่!!: โลกและไซด์สไวป์ · ดูเพิ่มเติม »

เชอร์ล็อก โฮมส์

อร์ล็อก โฮมส์ เป็นนวนิยายสืบสวนหรือรหัสคดี ประพันธ์โดยเซอร์อาร์เธอร์ โคนัน ดอยล์ นักเขียนและนายแพทย์ชาวสกอต ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตัวละคร เชอร์ล็อก โฮมส์ เป็นนักสืบชาวลอนดอนผู้ปราดเปรื่องที่มีชื่อเสียงโด่งดังด้านทักษะการประมวลเหตุและผล ทักษะด้านนิติวิทยาศาสตร์ โดยอาศัยหลักฐานและการสังเกตอันคาดไม่ถึงเพื่อคลี่คลายคดี โคนัน ดอยล์ แต่งเรื่อง เชอร์ล็อก โฮมส์ ไว้ทั้งสิ้นเป็นเรื่องยาว 4 เรื่อง และเรื่องสั้น 56 เรื่อง เกือบทุกเรื่องเป็นการบรรยายโดยเพื่อนคู่หูของโฮมส์ คือ นายแพทย์จอห์น เอช. วอตสัน หรือ หมอวอตสัน ในจำนวนนี้ มี 2 เรื่องที่โฮมส์เป็นผู้เล่าเรื่องเอง และอีก 2 เรื่องเล่าโดยบุคคลอื่น เรื่องสั้นสองเรื่องแรกตีพิมพ์ใน Beeton's Christmas Annual ในปี..

ใหม่!!: โลกและเชอร์ล็อก โฮมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เพชรพระอุมา

รพระอุมา เป็นนวนิยายแนวผจญภัยที่มีขนาดความยาวมากที่สุดในประเทศไทย และนับว่าเป็นนวนิยายที่มีความยาวมากที่สุดในโลกรักษ์ชนก นามทอน, เจาะลึกเบื้องหลังเพชรพระอุมา คำนิยมจากบรรณาธิการ, สำนักพิมพ์ ณ บ้านวรรณกรรม, 2544 บทประพันธ์โดย พนมเทียน ซึ่งเป็นนามปากกาของนายฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ ตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ และตีพิมพ์ต่อเนื่องในหนังสือพิมพ์รายวัน ใช้ระยะเวลาในการประพันธ์ยาวนานกว่า 25 ปี โดยพนมเทียนเริ่มต้นการประพันธ์เพชรพระอุมาในวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2507 และสิ้นสุดเนื้อเรื่องทั้งหมดในวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2533 รวมระยะเวลาในการประพันธ์ทั้งสิ้น 25 ปี 7 เดือน กับ 2 วัน เพชรพระอุมาถูกนำมาตีพิมพ์ฉบับรวมเล่มซ้ำใหม่หลาย ๆ ครั้งในรูปแบบของพ็อกเก็ตบุ๊ค จำนวน 48 เล่ม โดยสำนักพิมพ์ ณ บ้านวรรณกรรม ลิขสิทธิ์โดยพนมเทียน (เดิมเป็นชนิดปกแข็งจำนวน 53 เล่ม แต่ละเล่มมีความหนาประมาณ 33 ยก หรือ 16 หน้ายก และเมื่อนำมารวมกันทั้งหมดจะมีความหนาประมาณ 1,749 ยก แบ่งเป็นสามภาคได้แก่ ภาคแรก จำนวน 24 เล่ม ภาคสอง จำนวน 15 เล่ม และ ภาคสาม จำนวน 14 เล่ม แต่ปัจจุบันได้รวบรวมเนื้อหาในแต่ละภาคและลดลงคงเหลือเพียงแค่ 48 เล่ม) แบ่งเป็นสองภาคคือภาคแรก จำนวน 24 เล่ม 6 ตอน และภาคสมบูรณ์ จำนวน 24 เล่ม 6 ตอน ตีพิมพ์ฉบับรวมเล่มครั้งแรกในปี พ.ศ. 2538 ครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2541 และทำการปรับปรุงต้นฉบับเดิมพร้อมกับตีพิมพ์ครั้งที่ 3 ในปี พ.ศ. 2544 และตีพิมพ์ครั้งที่ 4 ซึ่งเป็นครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2547 อีกทั้งยังมีการทำเป็น eBook โดยสำนักพิมพ์อมรินทร์ในปี พ.ศ. 2556 โดยเนื้อเรื่องต่าง ๆ ของเพชรพระอุมานั้น พนมเทียนได้นำเค้าโครงเรื่องมาจาก คิง โซโลมอน'ส มายน์ส (King Solomon's Mines) หรือ สมบัติพระศุลี นวนิยายของเซอร์เฮนรี่ ไรเดอร์ แฮกการ์ด (H. Rider Haggard) ที่ผจญภัยในความลี้ลับของป่าดงดิบภายในทวีปแอฟริกาพนมเทียน, เจาะลึกเบื้องหลังเพชรพระอุมา เค้าโครงเรื่องจากคิง โซโลมอน'ส มายน์ส (King Solomon's Mines), สำนักพิมพ์ ณ บ้านวรรณกรรม, 2546 หน้า 11.

ใหม่!!: โลกและเพชรพระอุมา · ดูเพิ่มเติม »

เพลบลูดอต

ลกเมื่อมองจากระยะ 6 พันล้านกิโลเมตรจะปรากฏเป็นจุดสีน้ำเงินจางเล็ก ๆ ท่ามกลางอวกาศอันกว้างใหญ่ (จุดกลางภาพค่อนไปทางขวามือ ในลำแสงอาทิตย์ที่ถูกกระเจิงโดยกล้องของยาน) เพลบลูดอต (Pale Blue Dot, "จุดสีน้ำเงินซีด") เป็นภาพถ่ายของโลก ถ่ายเมื่อวันที่ 14 กุมภาพัน..

ใหม่!!: โลกและเพลบลูดอต · ดูเพิ่มเติม »

เพศสัมพันธ์ในอวกาศ

แนวคิดของกิจกรรมทางเพศของมนุษย์ในสภาพไร้น้ำหนักหรือสภาพแวดล้อมสุดโต่งในอวกาศ หรือเพศสัมพันธ์ในอวกาศ แสดงความยากลำบากในการกระทำกิจกรรมต่าง ๆ เนื่องจากกฎข้อที่สามของนิวตัน จากกฎดังกล่าว ถ้าคู่รักยังตัวติดกัน การเคลื่อนไหวของพวกเขาจะต่อต้านกันและกัน จากนั้นอัตราความเร็วในกิจกรรมของพวกเขาจะไม่เปลี่ยนแปลงเว้นแต่ว่ามีวัตถุอื่น ๆ ที่ไม่ได้ติดตัวเข้ามาสัมผัส อาจเกิดความยากลำบากจากการลอยไปสัมผัสกับวัตถุอื่น ๆ ถ้าคู่รักมีอัตราความเร็วสัมพันธ์กับวันถุอื่น ๆ อาจเกิดการชนขึ้นได้ มีข้อเสนอแนะว่าการปฏิสนธิและการตั้งครรภ์ในสภาพแวดล้อมนอกโลกอาจเป็นปัญหาได้ Par Kieron Monks, Metro World News; 11 Avril 2012 ข้อมูลปี..

ใหม่!!: โลกและเพศสัมพันธ์ในอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

เกมวัดดวง

กมวัดดวง เป็นรายการเกมโชว์ที่มีเนื้อหาคือ เป็นเกมการแข่งขันที่นำเอาโชคชะตาของผู้เข้าแข่งขันมาทำเป็นเกม ซึ่งทางรายการจะหาผู้ที่ดวงดีที่สุด จากผู้เข้าแข่งทั้งหมดในสัปดาห์นั้น ลักษณะเกมนั้นจะเป็นการทำกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงทุกสัปดาห์ ในแต่ละรอบ ทางรายการจะกำหนดกติกาเอาไว้ ซึ่งจะเป็นสิ่งที่กำหนดว่าผู้เข้าแข่งขันแต่ละคนจะ เข้ารอบ หรือ ตกรอบ โดยกติกาเหล่านี้จะไม่ตัดสินผู้เข้าแข่งขันด้วยความสามารถส่วนตัวใด ๆ เลย จะขึ้นอยู่กับ ดวง เพียงอย่างเดียวเท่านั้น และจะใช้หลักความน่าจะเป็น โดยมีคำขวัญว่า "คุณไม่ต้องพกอะไรนอกจากดวงเพียงอย่างเดียว" เกมวัดดวง ในระยะแรกผลิตรายการโดย บริษัท จีเอ็มเอ็ม ทีวี จำกัด ออกอากาศทุกวันจันทร์ เวลา 23.05 - 23.55 น. ต่อมาย้ายวันและเวลาออกอากาศเป็น วันเสาร์ เวลา 12.55 - 13.50 น. ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ออกอากาศครั้งแรกในวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 ดำเนินรายการโดย ดีเจไก่ สมพล ปิยะพงศ์สิริ, ดีเจโจ้ อัครพล ธนะวิทวิลาศ และในปีพ.ศ. 2552 ได้เพิ่ม อ้อม พิยดา อัครเศรณีเข้ามาเป็นพิธีกร อย่างไรก็ตามเนื่องจากการปรับผังรายการของสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ในปีพ.ศ. 2554 ทำให้รายการ เกมวัดดวง ต้องยุติการออกอากาศลง หลังจากออกอากาศมายาวนานกว่า 8 ปี โดยเทปสุดท้ายของรายการ ออกอากาศในวันเสาร์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และมีการเพิ่มเวลาออกอากาศจากทางสถานีเดียวกันในวันหยุดนักขัตฤกษ์ โดยใช้ชื่อรายการว่า เกมวัดดวง ฮอลิเดย์ หลังจากที่จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีช่องรายการฟรีทีวีทางช่องทางดิจิทัลทีวี บริษัท เนค แอนด์ เดอะ ซิตี้ จำกัด จึงเสนอให้ บริษัท จีเอ็มเอ็ม แชนแนล​ จำกัด จัดทำรายการเกมวัดดวงขึ้นใหม่อีกครั้ง โดยปรับพิธีกรใหม่ คือ เกตุเสพสวัสดิ์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา และ พัฒนศักดิ์ เรืองจำเนียร โดยช่วงแรกก่อนกลับมาออกอากาศ รายการได้เปิดการเฟ้นหาคนดวงดีทั่วประเทศในรูปแบบของการแข่งขันแบบซีซัน จากนั้นจึงกลับมาออกอากาศเป็นรายตอนตามปกติ โดยที่รายการเกมวัดดวง เริ่มกลับมาออกอากาศอีกครั้งตั้งแต่วันที่ 4 เมษายน..

ใหม่!!: โลกและเกมวัดดวง · ดูเพิ่มเติม »

เกาะตาปู

กาะตาปู เกาะตาปูราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: โลกและเกาะตาปู · ดูเพิ่มเติม »

เมสเซนเจอร์ (ยานอวกาศ)

นเมสเซนเจอร์ (MESSENGER ย่อจาก MErcury Surface, Space ENvironment, GEochemistry and Ranging probe) เป็นยานอวกาศขององค์การนาซา ส่งขึ้นจากพื้นโลกเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2547 มีเป้าหมายเพื่อสำรวจพื้นผิวของดาวพุธ เป็นโครงการแรกในรอบ 30 ปีที่มีการส่งยานไปสำรวจดาวพุธ ยานเพียงลำเดียวก่อนหน้านี้คือ ยานมาริเนอร์ 10 ซึ่งสิ้นสุดภารกิจไปตั้งแต่เดือนมีนาคม..

ใหม่!!: โลกและเมสเซนเจอร์ (ยานอวกาศ) · ดูเพิ่มเติม »

เมตร

มตร อักษรย่อ ม. (mètre → metre meter The Metric Conversion Act of 1975 gives the Secretary of Commerce of the US the responsibility of interpreting or modifying the SI for use in the US., m) เป็นหน่วยฐานเอสไอของความยาวในหน่วยเอสไอ แต่เดิมนิยามว่าหนึ่งเมตรเท่ากับ 1/10,000,000 ของระยะทางจากเส้นศูนย์สูตรของโลกไปยังขั้วโลกเหนือวัดจากเส้นรอบวงที่ผ่านเมืองปารีส แต่เนื่องจากความแม่นยำทางมาตรวิทยา ที่มีมากขึ้น ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2526 ความยาวหนึ่งเมตรจึงถูกนิยามไว้ให้เท่ากับความยาวที่แสงเดินทางได้ในสุญญากาศ ในช่วงเวลา วินาที.

ใหม่!!: โลกและเมตร · ดูเพิ่มเติม »

เมซีเย 103

มซีเย 103 (รู้จักกันดีในชื่อ M103 หรือ NGC 581) เป็น กระจุกดาวเปิด ที่กี่พันดาวก่อตัวขึ้นในกลุ่มดาวแคสซิโอเปีย ถูกค้นพบในปี..

ใหม่!!: โลกและเมซีเย 103 · ดูเพิ่มเติม »

เมซีเย 106

มซีเย 106 (รู้จักกันดีในชื่อ NGC 4258) เป็นดาราจักรชนิดก้นหอย ในกลุ่มดาวสุนัขล่าเนื้อ ค้นพบ โดย Pierre Méchain ในปี ค.ศ. 1781 อยู่ห่างประมาณ 22-25 ล้านปีแสงออกไปจากโลก และยังเป็นดาราจักรชนิดเซย์เฟิร์ตที่ 2 ซึ่งหมายความว่าเนื่องจากรังสีเอกซ์และรังสีที่ผิดปกติเส้นที่ตรวจพบ ได้เป็นที่น่าสงสัยว่าเป็นส่วนหนึ่งของดาราจักรตกหลุมเข้าไปในหลุมดำมวลยวดยิ่งในใจกลาง NGC 4217 เป็นกาแลคซีคู่หูที่เป็นไปได้ของเมซีเย 106.

ใหม่!!: โลกและเมซีเย 106 · ดูเพิ่มเติม »

เมเว็น

นสำรวจอวกาศเมเว็น (MAVEN) ย่อจาก Mars Atmosphere and Volatile Evolution (ชั้นบรรยากาศและวิวัฒนาการของสารระเหยได้ของดาวอังคาร) เป็นยานสำรวจอวกาศที่ปฏิบัติภารกิจสำรวจชั้นบรรยากาศของดาวอังคาร ดำเนินโดยองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (นาซา) ภารกิจนี้เป็นโครงการหนึ่งในแผนงานมาร์ส-สเค้าท์ (Mars Scout Program) ยานเมเว็นถูกปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: โลกและเมเว็น · ดูเพิ่มเติม »

เรอูนียง

รอูนียง หรือ เรอูว์นียง (La Réunion) เป็นเกาะตั้งอยู่บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกของมาดากัสการ์ และห่างจากมอริเชียสไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 200 กิโลเมตร (130 ไมล์) ในระบบบริหาร เรอูนียงเป็นหนึ่งในจังหวัดโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส เหมือนกับจังหวัดโพ้นทะเลอื่น ๆ เรอูนียงก็เป็นหนึ่งใน 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส (ในฐานะแคว้นโพ้นทะเล) และเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโดยมีสถานะเท่ากับแคว้นอื่น ๆ ในภาคพื้นทวีปยุโรป เรอูนียงเป็นแคว้นที่อยู่ห่างไกลที่สุดในกลุ่มสหภาพยุโรปและใช้สกุลเงินยูโร ตามความจริง ตำแหน่งที่ตั้งของเรอูนียงในเขตเวลาทางด้านตะวันออกของทวีปยุโรป ทำให้เรอูนียงเป็นแคว้นแรกในโลกที่ใช้สกุลเงินยูโร และการใช้สกุลเงินยูโรเป็นครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อเวลา 00.01 นาฬิกา เมื่อนายกเทศมนตรีเมืองแซง-เดอนี เรอเน-ปอล วิกโตเรีย ซื้อลิ้นจี่ถุงหนึ่งในตล.

ใหม่!!: โลกและเรอูนียง · ดูเพิ่มเติม »

เรือรบอวกาศยามาโตะ

รือรบอวกาศยามาโตะ หรือ ในชื่อที่ใช้เมื่อครั้งที่เคยออกอากาศในเมืองไทยครั้งแรกโดยไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท. คือ "สตาร์เบลเซอร์ ตลุยอวกาศ" คืออะนิเมะแนววิทยาศาสตร์ของญี่ปุ่น ซึ่งชื่อของเรี่องนั้นเป็นชื่อของยานอวกาศ อะนิเมะเรื่องนี้มีอีกชื่อในภาษาอังกฤษคือ Space Cruiser Yamato (สเปซ ครุยเซอร์ ยามาโตะ) หรือStar Blazers (สตาร์ เบลเซอส์) สำหรับภาคภาษาอังกฤษ ซึ่งออกอากาศในอเมริกาเหนือและออสเตรเลีย สำหรับภาคภาษาอิตาลีก็ใช้ชื่อ สตาร์ เบลเซอ.

ใหม่!!: โลกและเรือรบอวกาศยามาโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เรือของกาลิเลโอ

รือของกาลิเลโอ (Galileo's ship) เป็นการทดลองทางฟิสิกส์ซึ่งเสนอโดย กาลิเลโอ (Galileo), นักฟิสิกส์ นักดาราศาสตร์และนักปรัชญาผู้มีชื่อเสียงในคริสตวรรษที่ 16 และ 17 โดยการทดลองดังกล่าวถูกตั้งขึ้นเพื่อลบล้างข้อขัดแย้งแนวคิดเกี่ยวกับ โลกหมุน.

ใหม่!!: โลกและเรือของกาลิเลโอ · ดูเพิ่มเติม »

เวลามาตรฐานกรีนิช

วลามาตรฐานกรีนิช หรือ เวลามัชฌิมกรีนิช (Greenwich Mean Time) ชื่อย่อ จีเอ็มที (GMT) แต่เดิมเป็นคำใช้เรียกเวลาสุริยคติมัชฌิมที่หอดูดาวหลวงกรีนิช เมืองกรีนิช สหราชอาณาจักร ปัจจุบันคำนี้มักใช้เพื่อหมายถึงเวลาสากลเชิงพิกัด (ยูทีซี) ในฐานะเขตเวลา แม้ว่าหากถือโดยเคร่งครัดแล้ว ยูทีซีนั้นเป็นมาตรฐานเวลาที่วัดโดยนาฬิกาอะตอม ซึ่งจะเท่ากันเพียงโดยประมาณกับจีเอ็มทีในความหมายเดิม จีเอ็มทียังใช้หมายถึงเวลาสากล (ยูที) ซึ่งเป็นเวลาเชิงดาราศาสตร์ที่กำหนดขึ้นเพื่อทดแทนจีเอ็มทีโดยตรง เวลาเที่ยงวันของมาตรฐานกรีนิชนั้นไม่จำเป็นต้องเป็นเวลาที่ดวงอาทิตย์ข้ามผ่านเส้นเมริเดียนแรกที่กรีนิชเสมอไป ทั้งนี้เนื่องจากการโคจรของโลกเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์มีอัตราเร็วไม่สม่ำเสมอและแกนโลกที่เอียง เวลาเที่ยงวันกรีนิชอาจต่างจากเวลาที่ดวงอาทิตย์ข้ามผ่านเส้นเมริเดียนแรกถึง 16 นาที จึงจำเป็นต้องสมมุติดวงอาทิตย์มัชฌิม ซึ่งเป็นค่าเฉลี่ยจากการปรับการเคลื่อนที่ที่ไม่สม่ำเสมอของดวงอาทิตย์ดวงจริงขึ้นใช้คำนวณแทน ดวงอาทิตย์มัชฌิมนี้เองเป็นที่มาของคำว่า มัชฌิม ในคำว่าเวลามัชฌิมกรีนิช ก่อน ค.ศ. 1925 นักดาราศาสตร์ใช้จีเอ็มทีโดยนับเที่ยงวันเป็นชั่วโมงที่ศูนย์ (เวลาศูนย์นาฬิกา) ในขณะที่ประชาชนทั่วไปนับเที่ยงคืนเป็นชั่วโมงที่ศูนย์ นักดาราศาสตร์ได้เปลี่ยนมานับเที่ยงคืนเป็นชั่วโมงที่ศูนย์เช่นเดียวกับประชาชนทั่วไปตั้งแต..

ใหม่!!: โลกและเวลามาตรฐานกรีนิช · ดูเพิ่มเติม »

เวิลด์เกมส์

กีฬาเวิลด์เกมส์ (World Games) เป็นการแข่งขันกีฬาประเภทหนึ่งสำหรับทั่วโลก ซึ่งจัดขึ้นทุก 4 ปีจากคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee หรือ IOC).

ใหม่!!: โลกและเวิลด์เกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เวนอม

วนอม (Venom) เป็นตัวละครในการ์ตูนของมาร์เวลคอมิกส์ ซึ่งเป็นศัตรูที่ร้ายกาจของสไปเดอร์-แมน.

ใหม่!!: โลกและเวนอม · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจญี่ปุ่น

รษฐกิจของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันเป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจาก สหรัฐอเมริกา และ ประเทศจีน ถือว่าใหญ่เป็นอันดับ 2 ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ก่อนสงครามโลกครั้งที่สองในรัชสมัยโชวะ จักรวรรดิญี่ปุ่นมีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก แม้ว่าจะพ่ายแพ้สงครามแต่ญี่ปุ่นก็สามารถไต่เต้าขึ้นมามีขนาดเศรษฐกิจขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลกรองจากสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต และครองตำแหน่งนี้ยาวนานกว่าสองทศวรรษจนกระทั่งสหภาพโซเวียตล่มสลายในปี 1990 ญี่ปุ่นก็กลายเป็นชาติเศรษฐกิจอันดับสองของโลกจนถึงปี 2009 จากข้อมูลของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) อำนาจซื้อต่อหัวของญี่ปุ่นในเวทีโลก อยู่ที่ 35,855 ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งสูงเป็นอันดับ 22 ของโลก การคาดการณ์เศรษฐกิจญี่ปุ่น มีการสำรวจเป็นรายไตรมาสที่เรียกว่า ทังกัง จัดทำโดยธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบัน ญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ผลิตยานยนต์ได้มากเป็นอันดับ 3 ของโลก นอกจากนี้ ยังมีอุตสาหรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใหญ่ที่สุดของโลก ที่มักจะมีการจัดอันดับในบรรดาหมู่ประเทศนวัตตกรรมชั้นนำ ซึ่งในระยะหลังมานี้ญี่ปุ่นต้องเผชิญการแข่งขันกับ จีน และ เกาหลีใต้ ที่เริ่มช่วงชิงส่วนแบ่งในตลาดเครื่องใช้ไฟฟ้า ทั้งนี้ อุตสาหกรรมการผลิตในประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบัน ได้ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงในการผลิตเป็นหลัก ซึ่งใช้แรงงานคนน้อย และมีความแม่นยำมากกว่า จำพวก ยานยนต์ไฮบริด และหุ่นยนต์อัตโนมัติต่างๆ ซึ่งพบได้ทั่วไปในโรงงานในภูมิภาคคันโต ทั้งนี้ภูมิภาคคันไซก็เป็นหนึ่งในพื้นที่อุตสาหกรรมชั้นนำและศูนย์การผลิตสำหรับเศรษฐกิจญี่ปุ่น.

ใหม่!!: โลกและเศรษฐกิจญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

เสราฟิม

นักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีเห็นนิมิตเสรัฟองค์หนึ่ง เสราฟิม (พหูพจน์) หรือ เสรัฟ (เอกพจน์) (שְׂרָפִים ''śərāfîm'', เอกพจน์ שָׂרָף ''śārāf''.; seraphi, เอกพจน์ seraph; σεραφείμ) คือชาวสวรรค์จำพวกหนึ่งตามความเชื่อในศาสนาอับราฮัม (ได้แก่ ยูดาห์ คริสต์ และอิสลาม) ในหนังสืออิสยาห์ บทที่ 6 กล่าวว่าเสรัฟแต่ละองค์มีปีก 3 คู่ คู่หนึ่งปิดหน้า คู่หนึ่งปิดเท้า และอีกคู่หนึ่งใช้บินไปมารอบบัลลังก์ของพระเป็นเจ้า ร้องสรรเสริญพระองค์อยู่ตลอดเวลาว่า "บริสุทธิ์ บริสุทธิ์ บริสุทธิ์ พระยาห์เวห์จอมทัพ แผ่นดินโลกทั้งสิ้นเต็มด้วยพระสิริของพระองค์" และยังมีหน้าที่พิเศษ เช่น ชำระบาปและกล่าวคำยกบาปด้วย นอกจากนี้ เสราฟิมยังถูกจัดอยู่กลุ่มทูตสวรรค์ชั้นเอกในลำดับชั้นของทูตสวรรค์ในศาสนาคริสต.

ใหม่!!: โลกและเสราฟิม · ดูเพิ่มเติม »

เสือ

ือ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ฟิลิดีซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมวโดยชนิดที่เรียกว่าเสือมักมีขนาดลำตัวค่อนข้างใหญ่กว่าและอาศัยอยู่ภายในป่า ขนาดของลำตัวประมาณ 168 - 227 เซนติเมตรและหนักประมาณ 180 - 245 กิโลกรัม รูม่านตากลม เป็นสัตว์กินเนื้อกลุ่มหนึ่ง มีลักษณะและรูปร่างรวมทั้งพฤติกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ แตกต่างจากสัตว์ในกลุ่มอื่น หากินเวลากลางคืน มีถิ่นกำเนิดในป่า เสือส่วนใหญ่ยังคงมีความสามารถในการปีนป่ายต้นไม้ ซึ่งยกเว้นเสือชีต้า เสือทุกชนิดมีกรามที่สั้นและแข็งแรง มีเขี้ยว 2 คู่สำหรับกัดเหยื่อ ทั่วทั้งโลกมีสัตว์ที่อยู่ในวงศ์เสือและแมวประมาณ 37 ชนิด ซึ่งรวมทั้งแมวบ้านด้วย เสือจัดเป็นสัตว์นักล่าที่มีความสง่างามในตัวเอง โดยเฉพาะเสือขนาดใหญ่ที่แลดูน่าเกรงขราม ไม่ว่าจะเป็นเสือโคร่งหรือเสือดาว ผู้ที่พบเห็นเสือในครั้งแรกย่อมเกิดความประทับใจในความสง่างาม แต่ในขณะเดียวกันก็เกิดความหวาดหวั่นเกรงขามในพละกำลังและอำนาจภายในตัวของพวกมัน เสือจึงได้รับการยกย่องให้เป็นราชาแห่งสัตว์ปา และเป็นจ้าวแห่งนักล่าอย่างแท้จริง เสือ จ้าวแห่งนักล่า, ศลิษา สถาปรวัฒน์, ดร.อลัน ราบิโนวิทซ์, สำนักพิมพ์สารคดี, 2538, หน้า 14 ปัจจุบันจำนวนของเสือในประเทศไทยลดจำนวนลงเป็นอย่างมากในระยะเวลาไม่ถึง 10 ปี เสือกลับถูกล่า ป่าภายในประเทศถูกทำลายเป็นอย่างมาก สภาพธรรมชาติในพื้นที่ต่าง ๆ ถูกเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ของมนุษย์เอง ทุกวันนี้ปริมาณของเสือที่จัดอยู่ในลำดับสุดท้ายของห่วงโซ่อาหารถือเป็นสิ่งจำเป็น เพราะการสูญสิ้นหรือลดจำนวนลงอย่างมากของเสือซึ่งเป็นสัตว์กินเนื้อ จะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างและระบบนิเวศทั้งหมด การลดจำนวนอย่างรวดเร็วของเสือเพียงหนึ่งหรือสองชนิดในประเทศไทย ทำให้ปริมาณของสัตว์กินพืชเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว จนทำให้ธรรมชาติเสียความสมดุลในที.

ใหม่!!: โลกและเสือ · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่ง

ือโคร่ง หรือ เสือลายพาดกลอน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris ในวงศ์ Felidae จัดเป็นสัตว์ที่มีขนาดที่สุดในวงศ์นี้ และเป็นเสือชนิดที่ใหญ่ที่สุดด้ว.

ใหม่!!: โลกและเสือโคร่ง · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่งบาหลี

ือโคร่งบาหลี (Bali tiger) เสือโคร่งสายพันธุ์ย่อยสายพันธุ์หนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris balica เป็นเสือโคร่ง 1 ใน 3 สายพันธุ์ที่เคยมีอยู่ในอินโดนีเซีย โดยเสือโคร่งบาหลีจะพบได้เฉพาะบนเกาะบาหลีเท่านั้น ปัจจุบันได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้วจากการล่าด้วยน้ำมือของมนุษย์ เสือโคร่งบาหลีนับเป็นเสือโคร่งที่มีขนาดเล็กที่สุดเท่าที่มีในโลก เมื่อเทียบกับเสือโคร่งไซบีเรีย (P. t. altaica) ที่เป็นเสือโคร่งขนาดใหญ่ที่สุดแล้ว เสือโคร่งบาหลีมีขนาดลำตัวเพียงครึ่งหนึ่งของเสือโคร่งไซบีเรียเท่านั้น โดยมีลำตัวไล่เลี่ยกับเสือดาว (P. pardus) หรือเสือพูม่า (Puma concolor) ที่พบในทวีปอเมริกาเหนือ น้ำหนักในตัวผู้โดยเฉลี่ย 90-100 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมียจะอยู่ที่ 65-80 กิโลกรัม ความยาวตั้งแต่หัวจรดหางของตัวผู้ 220 เซนติเมตร ตัวเมีย 195-200 เซนติเมตร เสือโคร่งบาหลีมีสีขนและลวดลายบนลำตัวเข้มที่สุดในบรรดาเสือโคร่งทั้งหมด เสือโคร่งบาหลีตัวสุดท้ายตายลงเมื่อวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1937 เป็นเสือตัวเมียที่ถูกยิงในบาหลีตะวันตก ปัจจุบันพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ทั่วโลก มีซากเสือโคร่งบาหลีเพียง 8 ตัวเท่านั้น โดยส่วนใหญ่จะได้มาจากการล่าในทศวรรษที่ 30.

ใหม่!!: โลกและเสือโคร่งบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่งสุมาตรา

ำหรับเสือสุมาตราที่หมายถึงปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ดูที่: ปลาเสือสุมาตรา เสือโคร่งสุมาตรา (Sumatran tiger) เสือโคร่งสายพันธุ์ย่อยสายพันธุ์หนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris sumatrae ในวงศ์ Felidae จัดเป็นเสือโคร่งขนาดเล็กที่สุดในโลกที่ยังคงพบได้จนถึงทุกวันนี้.

ใหม่!!: โลกและเสือโคร่งสุมาตรา · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่งอินโดจีน

ือโคร่งอินโดจีน (Indochinese tiger, Corbett's tiger) เสือโคร่งชนิดย่อยชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris corbetti อยู่ในวงศ์เสือและสิงโต (Felidae) รูปร่างเหมือนเสือโคร่งทั่วไป แต่มีลายเส้นที่เล็กกว่าเสือโคร่งเบงกอล (P. t. tigris) และขนาดลำตัวก็เล็กกว่า โดยตัวผู้มีความยาวจากหัวถึงหางประมาณ 2.7 เมตร หนักประมาณ 180 กิโลกรัม ตัวเมีย ยาวประมาณ 2.4 เมตร หนักประมาณ 115 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ในประเทศไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, พม่า และมาเลเซีย โดยถูกอนุกรมวิธานแยกออกมาจากเสือโคร่งเบงกอลในปี พ.ศ. 2511 โดยเฉพาะที่พม่าจะมีเสือโคร่งทั้ง 2 สายพันธุ์นี้ โดยแบ่งตามภูมิศาสตร์โดยถือเอาแม่น้ำอิรวดีเป็นเกณฑ์ คือ เสือโคร่งสายพันธุ์เบงกอลจะอาศัยอยู่ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำอิรวดี ส่วนเสือโคร่งสายพันธุ์อินโดจีนจะอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำ นอกจากนี้ในอดีตเคยมีในจีนด้วย เสือโคร่งอินโดจีนในจีนตัวสุดท้ายตายลงเมื่อปลายปี พ.ศ. 2552 ที่เมืองลา มณฑลยูนนาน เนื่องจากชาวบ้านคนหนึ่งฆ่า เสือโคร่งอินโดจีนอาศัยและหากินอยูในป่าที่ราบต่ำใกล้แหล่งน้ำ มีอาหารอุดมสมบูรณ์ สามารถอยู่ได้ในหลากหลายสภาพป่า เช่น ป่าดิบชื้น, ป่าผลัดใบ ล่าสัตว์ที่มีขนาดใหญ่และกลาง เช่น วัว, ควายป่า, กวาง, กระทิง เป็นอาหาร โดยมักจะกินเนื้อบริเวณตะโพกก่อน เมื่อเหลือจะนำไปซ่อน แล้วจะกลับมากินใหม่จนหมด ในบางครั้งเมื่อมีลูกเสือที่อ่อนแอ แม่เสืออาจกินลูกด้วยถ้าหากปกป้องหรือเลี้ยงต่อไปไม่ได้ เสือโคร่งเป็นเสือที่ชอบเล่นน้ำและว่ายน้ำเก่ง เคยมีรายงานว่าสามารถว่ายน้ำข้ามไปมาระหว่างเกาะและชายฝั่งทะเลได้ เสือตัวผู้จะแสดงความเป็นเจ้าของพื้นที่ โดยการใช้เล็บตะกุยดินหรือปัสสาวะรดต้นไม้ ในฤดูผสมพันธุ์เสือตัวผู้จะรับรู้ถึงความต้องการของเสือตัวเมียจากเสียงร้องที่ดังขึ้นบ่อยขึ้น เมื่อได้ผสมพันธุ์แล้วเสือตัวผู้จะจากไป และอาจไปผสมพันธุ์กับเสือตัวเมียอื่น ๆ ได้อีก เสือโคร่งอินโดจีนมีระยะตั้งท้อง 3 เดือน และจะออกลูกในที่ปลอดภัย ออกลูกครั้งละ 1–7 ตัว ลูกเสือที่เกิดใหม่จะยังไม่ลืมตา ลูกเสือที่ไม่แข็งแรงจะตายไป ตัวที่เหลือจะได้รับการเลี้ยงดูและฝึกสอนให้หาอาหารจากแม่ต่อไป เมื่อลูกเสือโตพอที่จะล่าเหยื่อได้เอง ก็จะแยกตัวออกไปหากินตามลำพัง สถานะของเสือโคร่งอินโดจีนในธรรมชาติในประเทศไทย เหลือเพียง 2 ที่ คือ ป่าเขาใหญ่และป่าผืนภาคตะวันตกซึ่งติดกับชายแดนพม่าเท่านั้น จากการศึกษาพบว่า เสือโคร่งอินโดจีนที่พบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้งมีพฤติกรรมล่าเหยื่อสัตว์จำพวกสัตว์กีบมากที่สุด โดยสัตว์ที่ถูกล่าเป็นเพื่อเป็นอาหารมากที่สุด คือ วัวแดง --> สำหรับประเทศพม่าผู้เชี่ยวชาญรายงานว่า ทางรัฐบาลทหารพม่านับจำนวนประชากรเสือในป่าได้ทั้งหมด 85 ตัว ในปี 2553 ตัวเลขนี้ไม่สามารถนับเป็นข้อมูลสถิติได้ เนื่องจากข้อมูลการนับดังกล่าวไม่ได้ระบุวันเวลาและข้อมูลอื่นๆไว้อย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม เชื่อได้ว่ายังมีเสือโคร่งอินโดจีนจำนวนหนึ่งอาศัยอยู่ตามป่าแถบตะวันออกบริเวณรอยต่อชายแดนไทย ในภูมิภาคอินโดจีน เสือโคร่งถูกล่าอย่างหนักจนสูญพันธุ์จากพื้นที่แถบนี้ทั้งหมด ที่ประเทศเวียดนาม ปี..

ใหม่!!: โลกและเสือโคร่งอินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

เส้นศูนย์สูตร

้นศูนย์สูตรบนแผนที่โลก ในทางภูมิศาสตร์ เส้นศูนย์สูตร (Equator) คือ เส้นที่ลากผ่านศูนย์กลางวงกลมในแนวทิศตะวันตก-ตะวันออก และตั้งฉากกับแกนหมุนของโลก เป็นเส้นสมมุติที่ลากผ่านเส้นศูนย์กลางวงกลม แบ่งโลกออกเป็นสองซีกเท่า ๆ กัน ผู้สังเกตที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตร มีระยะเวลาของกลางวันกับกลางคืนยาวนานเกือบเท่ากันตลอดทั้งปี และเห็นดวงอาทิตย์ผ่านจุดเหนือศีรษะในเวลาเที่ยงของวันวิษุวัต เส้นศูนย์สูตรของโลกมีความยาวประมาณ 40,075 กิโลเมตร ลากผ่าน 13 ประเทศ และเป็นหนึ่งในละติจูด 5 เส้นสำคัญของโลก เป็นละติจูดที่เรียกว่า "Great Circle" ที่ลากแบ่งครึ่งโลกเป็นวงกลมขนาดใหญ่ที่มีจุดศูนย์กลางและมีรัศมีเท่า ๆ กัน เมื่อขยายเส้นศูนย์สูตรโลกเป็นระนาบศูนย์สูตร (Equatorial Plane) ออกไปตัดทรงกลมฟ้า เกิดเป็นวงกลมใหญ่ เรียกว่า เส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า (Celestial Equator).

ใหม่!!: โลกและเส้นศูนย์สูตร · ดูเพิ่มเติม »

เส้นศูนย์สูตรฟ้า

้นศูนย์สูตรฟ้า (อังกฤษ celestrial equator) คือ วงกลมใหญ่บนทรงกลมฟ้าที่อยู่ในระนาบเดียวกันกับเส้นศูนย์สูตรของโลก เส้นศูนย์สูตรฟ้าทำมุมเอียงกับระนาบสุริยวิถีเป็นมุมประมาณ 23.5° ซึงเป็นผลจากความเอียงของแกนหมุนของโลก หมวดหมู่:ระบบพิกัดทรงกลมฟ้า สเส้นศูนย์สูตรฟ้า หมวดหมู่:กลศาสตร์ท้องฟ้า de:Äquator#Himmelsäquator.

ใหม่!!: โลกและเส้นศูนย์สูตรฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 10 องศาใต้

้นขนานที่ 10 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 10 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้ บางส่วนของชายแดนระหว่างประเทศบราซิลและประเทศเปรูถูกกำหนดด้วยเส้นขนานนี้.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 10 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 10 องศาเหนือ

้นขนานที่ 10 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 10 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย อนุทวีปอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก อเมริกากลาง ทวีปอเมริกาใต้ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 12 ชั่วโมง 43 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 11 ชั่วโมง 33 นาที ในระหว่างเหมายัน ส่วนของเขตแดนระหว่างประเทศกินีและประเทศเซียร์ราลีโอนถูกกำหนดด้วยเส้นขนานนี้ ช่องแคบสิบองศาในมหาสมุทรอินเดียตั้งชื่อตามเส้นขนานนี้.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 10 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 15 องศาใต้

้นขนานที่ 15 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 15 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 15 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 15 องศาเหนือ

้นขนานที่ 15 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 15 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา เอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก อเมริกากลาง แคริเบียน และมหาสมุทรแอตแลนติก ในเหตุการณ์ความขัดแย้งชาด–ลิเบียระหว่างปี..

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 15 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 20 องศาใต้

้นขนานที่ 20 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 20 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 20 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 20 องศาเหนือ

้นขนานที่ 20 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 20 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ แคริบเบียน และมหาสมุทรแอตแลนติก เส้นขนานเป็นตัวกำหนดเขตแดนระหว่างประเทศลิเบียและประเทศซูดาน และซูดานใช้กำหนดเขตแดนระหว่างรัฐเหนือและรัฐดาร์ฟูร์เหนือ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 13 ชั่วโมง 21 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 10 ชั่วโมง 55 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 20 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 25 องศาใต้

้นขนานที่ 25 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 25 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลกทางใต้ของทรอปิกออฟแคปริคอร์น เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 25 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 25 องศาเหนือ

้นขนานที่ 25 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 25 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา, ทวีปเอเชีย, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรแปซิฟิก, ทวีปอเมริกาเหนือและมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นชายแดนจุดเหนือสุดของมาลีซึ่งแบ่งกับมอริเตเนีย ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 13 ชั่วโมง 42 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 10 ชั่วโมง 35 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 25 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 30 องศาใต้

้นขนานที่ 30 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 30 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 14 ชั่วโมง 5 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 10 ชั่วโมง 13 นาที ในระหว่างเหมายัน ซึ่งดวงอาทิตย์ทำมุมกับขอบฟ้า 83.83 องศาในวันที่ 21 ธันวาคม และ 36.17 องศาในวันที่ 21 มิถุนายน.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 30 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 30 องศาเหนือ

้นขนานที่ 30 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 30 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก โดยมีระยะทางเป็นหนึ่งในสามระหว่างเส้นศูนย์สูตรและขั้วโลกเหนือ เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก โดยเส้นนี้เป็นเส้นแบ่งเขตโดยประมาณทางด้านใต้ของละติจูดม้าในซีกโลกเหนือ หมายถึง พื้นที่แผ่นดินส่วนมากที่เส้นขนานที่ 30 องศาเหนือสัมผัส เป็นพื้นที่แห้งแล้งหรือมีภูมิอากาศกึ่งแห้งแล้ง หากมีลมพัดจากแหล่งน้ำพื้นที่นั้นก็มีโอกาสเป็นพื้นที่กึ่งเขตร้อน ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 14 ชั่วโมง 5 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 10 ชั่วโมง 13 นาที ในระหว่างเหมายัน ที่ละติจูดนี้.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 30 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 35 องศาใต้

้นขนานที่ 35 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 35 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 14 ชั่วโมง 31 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 9 ชั่วโมง 48 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 35 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 35 องศาเหนือ

้นขนานที่ 35 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 35 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ในสหรัฐอเมริกา เส้นขนานนี้กำหนดเป็นเส้นแบ่งเขตทางใต้ของรัฐเทนเนสซี, และเส้นแบ่งเขตระหว่างรัฐนอร์ทแคโรไลนา และรัฐจอร์เจีย ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 14 ชั่วโมง 31 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 9 ชั่วโมง 48 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 35 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 36 องศาเหนือ

้นขนานที่ 36 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 36 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 36 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 40 องศาใต้

้นขนานที่ 40 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 40 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้ ในวันที่ 21 มิถุนายน ดวงอาทิตย์ทำมุม 26.17° กับขอบฟ้า และ 73.83° ในวันที่ 21 ธันวาคม.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 40 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 40 องศาเหนือ

้นขนานที่ 40 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 40 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 15 ชั่วโมง 1 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 9 ชั่วโมง 20 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 40 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 41 องศาเหนือ

้นขนานที่ 41 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 40 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 15 ชั่วโมง 8 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 9 ชั่วโมง 13 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 41 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 45 องศาใต้

้นขนานที่ 45 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 45 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นขนานนี้เป็นจุดกึ่งกลางทางทฤษฎีระหว่างเส้นศูนย์สูตรและขั้วโลกใต้ จุดกึ่งกลางที่แท้จริงอยู่ที่ 16.2 กิโลเมตร (10.1 ไมล์) ทางใต้ของเส้นขนานเนื่องจากโลกไม่ได้เป็นทรงกลมที่สมบูรณ์ แต่ป่องที่บริเวณเส้นศูนย์สูตรและแบนที่บริเวณขั้วโลก แตกต่างจากคู่เส้นขนานทางซีกโลกเหนือซึ่งเกือบทั้งหมดของเส้นขนานนี้ (ร้อยละ 97) ผ่านพื้นที่ที่เป็นมหาสมุทร เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเชีย (ผ่านนิวซีแลนด์แต่พึ่งพ้นจากรัฐแทสเมเนีย) มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 15 ชั่วโมง 37 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 8 ชั่วโมง 46 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 45 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 5 องศาใต้

้นขนานที่ 5 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 5 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก, ทวีปแอฟริกา, มหาสมุทรอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, ออสตราเลเซีย, มหาสมุทรแปซิฟิกและทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 5 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 5 องศาเหนือ

้นขนานที่ 5 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 5 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก, ทวีปแอฟริกา, มหาสมุทรอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ, มหาสมุทรแปซิฟิกและทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 5 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 50 องศาใต้

้นขนานที่ 50 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 50 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 16 ชั่วโมง 22 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 8 ชั่วโมง 4 นาที ในระหว่างเหมายัน ซึ่งดวงอาทิตย์ทำมุมกับขอบฟ้า 63.83 องศาในวันที่ 21 ธันวาคม และ 16.17 องศาในวันที่ 21 มิถุนายน.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 50 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 50 องศาเหนือ

้นขนานที่ 50 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 50 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 16 ชั่วโมง 22 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 8 ชั่วโมง 4 นาที ในระหว่างเหมายัน โดยดวงอาทิตย์จะมีมุมเงยสูงสุดในครีษมายันที่ 63.5 องศา และเหมายันที่ 16.5 องศา ที่ละติจูดนี้ อุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลโดยเฉลี่ยระหว่าง..

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 50 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 55 องศาใต้

้นขนานที่ 55 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 55 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 17 ชั่วโมง 22 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 7 ชั่วโมง 10 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 55 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 55 องศาเหนือ

้นขนานที่ 55 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 55 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 17 ชั่วโมง 22 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 7 ชั่วโมง 10 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 55 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 60 องศาเหนือ

้นขนานที่ 60 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 60 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 18 ชั่วโมง 52 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 5 ชั่วโมง 52 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 60 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 65 องศาเหนือ

้นขนานที่ 65 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 65 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย และทวีปอเมริกาเหนือ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 22 ชั่วโมง 2 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 3 ชั่วโมง 35 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 65 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 70 องศาเหนือ

ในเกาะวิกตอเรีย, แคนาดา เส้นขนานที่ 70 องศาเหนือมีความหมายเป็นเส้นแบ่งเขตส่วนหนึ่ง ระหว่างนอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์ (สีเขียว) กับ นูนาวุต (สีขาว) เส้นขนานที่ 70 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 70 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลกในมหาสมุทรอาร์กติก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย และทวีปอเมริกาเหนือ และยังลากผ่านบางส่วนของทะเลใต้ของมหาสมุทรอาร์กติกด้วย ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 24 ชั่วโมง 0 นาที ในระหว่างครีษมายัน และเห็นแต่แสงสนทยาทั่วไปในช่วงเหมายัน.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 70 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 75 องศาเหนือ

้นขนานที่ 75 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 75 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลกในพื้นที่อาร์กติก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอาร์กติก และทวีปอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 75 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 80 องศาเหนือ

้นขนานที่ 80 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 80 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลกในมหาสมุทรอาร์กติก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอาร์กติก และทวีปอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 80 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 82 องศาเหนือ

้นขนานที่ 82 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 82 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลกในมหาสมุทรอาร์กติก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอาร์กติก และทวีปอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 82 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 83 องศาเหนือ

้นขนานที่ 83 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 83 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลกในมหาสมุทรอาร์กติก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอาร์กติก และทวีปอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: โลกและเส้นขนานที่ 83 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นโลก

''เส้นโลก'' (worldline)''แผ่นโลก'' (worldsheet) และ''ปริมาตรโลก'' (world volume)ในปริภูมิ 2 มิติ + เวลา 1 มิติ เส้นโลก หรือ เวิลด์ไลน์ (world line, worldline) เป็นคำจำกัดความหนึ่งในทฤษฎีสัมพัทธภาพในวิชาฟิสิกส์ หมายถึงวิถีทางของวัตถุใด ๆ ในปริภูมิ-เวลา วัตถุใด ๆ ที่มีการตกอย่างอิสระ หรืออีกนัยหนึ่งคือวัตถุที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของความโน้มถ่วงเพียงอย่างเดียว ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปแล้ววัตถุนั้นจะมีเส้นโลกเป็นเส้นโค้งไปตามปริภูมิเวลาที่โค้ง นอกจากนี้ยังใช้ได้กับวัตถุที่มีวิถีหรือทางโคจรแบบปิดในปริภูมิ เช่น โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ โลกจึงมีวิถีแบบปิด เมื่อให้กรอบอ้างอิงเทียบกับตำแหน่งของดวงอาทิตย์ซึ่งให้คงอยู่กับที่แล้ว เส้นโลกของโลกจะมีลักษณะเป็นเกลียว โดยมีแกนของเกลียวเป็นแกนเวลา คำว่า "เส้นโลก" ยังถูกนำไปใช้ในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษโดยแฮร์มันน์ มินคอฟสกี เมื่อ..

ใหม่!!: โลกและเส้นโลก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นโครงแผนที่แบบเมอร์เคเตอร์

แผนที่เมอร์เคเตอร์ระหว่างละติจูด 82°เหนือ และ 82°ใต้ เส้นโครงแผนที่แบบเมอร์เคเตอร์ คือการแสดงแผนที่ลูกโลกบนพื้นผิวสัมผัสทรงกระบอก ซึ่งได้รับการนำเสนอในปี ค.ศ. 1569 โดยเกราร์ดุส แมร์กาตอร์ นักภูมิศาสตร์และนักทำแผนที่ชาวเฟลมิช เส้นโครงแผนที่แบบเมอร์เคเตอร์มีคุณสมบัติในการรักษาทิศทาง จึงสามารถแสดงเส้นทิศทางที่แน่นอนใด ๆ ให้เป็นเส้นตรงลงบนแผนที่ เท่ากับเป็นการรักษาค่าของมุมที่ทำกับเส้นเมริเดียน อีกทั้งยังรักษารูปร่างของวัตถุบนแผนที่ให้มีลักษณะรูปร่างคงเดิม นอกจากนี้เส้นโครงแผนที่แบบเมอร์เคเตอร์ยังมีคุณสมบัติในการรักษาอัตราส่วนของระยะทางในทุกทิศทางจากจุดใดจุดหนึ่งให้มีค่าเท่ากันตลอดทั้งแผนที่ ซึ่งการรักษาคุณสมบัติต่าง ๆ เหล่านี้เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการใช้งานสำหรับการเดินเรือในทะเล การแสดงแผนที่แบบนี้จะมีการขยายขนาดของวัตถุเกิดขึ้น เมื่อละติจูดมีค่าสูงขึ้นนับจากจากเส้นศูนย์สูตรไปยังขั้วโลกเหนือหรือขั้วโลกใต้ ยกตัวอย่างเช่น กรีนแลนด์และแอนตาร์กติก เมื่อแสดงลงบนแผนที่แบบเมอร์เคเตอร์จะมีขนาดใหญ่กว่าในความเป็นจริงเมื่อนำไปเปรียบเทียบกับแผ่นพื้นทวีปที่อยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร หรืออะแลสกาเมื่อปรากฏบนแผนทื่จะมีขนาดเท่าประเทศบราซิล ซึ่งในความเป็นจริง บราซิลมีขนาดใหญ่กว่าอะแลสกาถึง 5 เท่า (ถีงแม้จะถูกขยายขนาดให้ใหญ่ขึ้น แต่ลักษณะรูปร่างยังคงเดิม) เป็นต้น ภาพแสดงการใช้พื้นผิวทรงกระบอกในการแสดงแผนที่แบบเมอร์เคเตอร์ ภาพแสดงขนาดของกรีนแลนด์และออสเตรเลียในความเป็นจริง แต่ในการแสดงแผนที่แบบเมอร์เคเตอร์ กรีนแลนด์จะปรากฏขนาดที่ใหญ่เทียบเท่าออสเตรเลี.

ใหม่!!: โลกและเส้นโครงแผนที่แบบเมอร์เคเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลากราฟิกของยุคแห่งดวงดาว

นี่คือเส้นเวลาของยุคแห่งดวงดาว (Stelliferous Era) นอกจากนี้ยังแสดงบางส่วนของยุคแรกเริ่ม (primordial era) และยุคเสื่อม (degenerate era) ก่อนที่จะไปถึงฮีทเดธ (Heat Death) อีกด้วย สเกลที่ใช้คือ 10 \times \log_ \mathrm ตัวอย่างเช่น 1 ล้านปี คือ 10 \times \log_ 1000000.

ใหม่!!: โลกและเส้นเวลากราฟิกของยุคแห่งดวงดาว · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลากราฟิกของจักรวาล

้นเวลาของจักรวาลของเราที่มีระยะเวลายาวนาน 20 พันล้านปีอันนี้ แสดงให้เห็นถึงการประมาณการของเหตุการณ์สำคัญตั้งแต่การกำเนิดจักรวาลจนถึงเหตุการณ์ในอนาคตที่ถูกคาดการณ์ไว้ 0 บนสเกลคือเวลาปัจจุบันนี้ ช่องสเกลใหญ่คือ 1 พันล้านปี ช่องสเกลเล็กคือ 100 ล้านปี อดีตถูกบ่งบอกโดยใช้เครื่องหมายลบ ตัวอย่างเช่น หินที่เก่าแก่ที่สุดบนโลกเกิดขึ้นเมื่อประมาณ 4 พันล้านปีที่แล้ว และถูกแสดงที่ -4e+09 years "บิกแบง" ดูเหมือนจะเกิดขึ้นเมื่อ 13.8 พันล้านปีที่แล้ว ImageSize.

ใหม่!!: โลกและเส้นเวลากราฟิกของจักรวาล · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ

นี่คือ เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ เรียงตามวันปล่อยยานอวก.

ใหม่!!: โลกและเส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาการค้นพบดาวเคราะห์และดาวบริวารในระบบสุริยะ

้นเวลาการค้นพบดาวเคราะห์และดวงจันทร์ในระบบสุริยะ ดังรายการต่อไปนี้ แสดงขั้นตอนการค้นพบเทหวัตถุใหม่เรียงตามลำดับในประวัติศาสตร์;ความหมายของสี สัญลักษณ์สีในตารางแสดงความหมายถึงดาวเคราะห์และดวงจันทร์บริวารของมัน ดังต่อไปนี้;ดาวเคราะห์;ดาวเคราะห์แคระ หรือดาวที่น่าจะเป็นดาวเคราะห์แคร.

ใหม่!!: โลกและเส้นเวลาการค้นพบดาวเคราะห์และดาวบริวารในระบบสุริยะ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของอนาคตไกล

ำหรับแผนภาพเส้นเวลาสเกลลอการิทึมของเหตุการณ์เหล่านี้ ดูที่.

ใหม่!!: โลกและเส้นเวลาของอนาคตไกล · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติ

้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติ คือ เส้นเวลาที่บอกถึงประวัติศาสตร์ของธรรมชาติตั้งแต่การเกิดบิกแบงจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: โลกและเส้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติ · ดูเพิ่มเติม »

เหมายัน

แสงจากดวงอาทิตย์ที่ส่องมายังโลกในส่วนครึ่งซีกโลกใต้ในวันเหมายัน เหมายัน (เห-มา-ยัน) หรือ ทักษิณายัน (winter solstice) เป็นการที่ดวงอาทิตย์โคจรไปถึงจุดหยุด (solstice) คือ จุดสุดทางใต้ในราววันที่ 22 ธันวาคม เป็นจุดในฤดูหนาวในซีกโลกเหนือ ส่วนในซีกโลกใต้จะเกิดขึ้นราวเดือนมิถุนายน มีกลางคืนนานกว่ากลางวัน, ตรงข้ามกับครีษมายัน (summer solstice).

ใหม่!!: โลกและเหมายัน · ดูเพิ่มเติม »

เหยียบนรกสุญญากาศ

ูนย์อวกาศจอห์นสัน ปี 2015 เหยียบนรกสุญญากาศ (The Martian) เป็นนวนิยายแนววิทยาศาสตร์ เขียนโดยแอนดี เวียร์ มีเนื้อหาเกี่ยวกับนักบินอวกาศ ผู้พบว่าตัวเองถูกทิ้งให้โดดเดี่ยวอยู่บนดาวอังคารหลังภารกิจล้มเหลว และเขาจะต้องหาทางเอาตัวรอดกลับไปยังโลกให้ได้ เหยียบนรกสุญญากาศ เป็นนวนิยายเรื่องแรกของเวียร์ เขียนขึ้นในช่วงปี 2009 หลังถูกปฏิเสธจากสำนักพิมพ์หลายแห่ง เวียร์ตัดสินใจออกผลงานในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หลังได้รับความนิยมในเว็บไซต์แอมะซอน.คอม สำนักพิมพ์คราวน์ได้ซื้อลิขสิทธิ์และจัดพิมพ์ใหม่ในปี 2014 สำหรับภาษาไทย นวนิยายเรื่องนี้แปลโดยยุทธวีร์ ยุทธวงศ์ชัย ตีพิมพ์โดยน้ำพุสำนักพิมพ์ในเดือนสิงหาคม 2015 ต่อมานวนิยายเรื่องนี้ได้ถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ เดอะ มาร์เชียน กู้ตาย 140 ล้านไมล์ กำกับโดยริดลีย์ สก็อตต์ และนำแสดงโดยแม็ตต์ เดม่อน ในปี 2015 เหยียบนรกสุญญากาศ ฉบับภาษาญี่ปุ่นได้รับรางวัลเซอุน (Seiun Award) ในสาขาเรื่องแปลขนาดยาวยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: โลกและเหยียบนรกสุญญากาศ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์การสูญพันธุ์ยุคครีเทเชียส–พาลีโอจีน

ำลองเหตุการณ์อุกบาตพุ่งเข้าชนโลก ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของการสูญพันธุ์ครั้งนี้ เหตุการณ์การสูญพันธุ์ยุคครีเทเชียส-พาลิโอจีน เกิดขึ้นเมื่อราว 66 ล้านปีก่อน เป็นหนึ่งในการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ในประวัติศาสตร์โลก การสูญพันธุ์ครั้งนี้เกิดหลังเหตุการณ์การสูญพันธุ์ยุคไทรแอสสิก-จูแรสสิก ในช่วงปลายยุคครีเทเชียส ซึ่งกวาดล้างสิ่งมีชีวิตไปกว่า 70% หรือประมาณ 3 ใน 4 ของสายพันธุ์ทั้งหมดบนโลกรวมถึงพวกไดโนเสาร์ เทอโรซอร์ และสัตว์เลื้อยคลานใต้ทะเล สาเหตุการสูญพันธุ์ในครั้งนี้นั้นได้มีการสันนิษฐานว่าน่าจะมาจากอุกกาบาตที่พุ่งชนโลกบริเวณคาบสมุทรยูคาทาน ประเทศเม็กซิโก.

ใหม่!!: โลกและเหตุการณ์การสูญพันธุ์ยุคครีเทเชียส–พาลีโอจีน · ดูเพิ่มเติม »

เอชอาร์ 8799 บี

อชอาร์ 8799 บี เป็นดาวเคราะห์นอกระบบอยู่ห่างจากโลกประมาณ 129 ปีแสง อยู่ในกลุ่มดาวม้าบิน วงโคจรที่ 6 ของความส่องสว่างปรากฏ ของดาวฤกษ์เลมบ์ดา คนเลี้ยงสัตว์ คือเอชอาร์ 8799 มีมวลระหว่าง 4 และ 7 มวลดาวพฤหัสบดีและรัศมีจาก 10 ถึง 30% มีขนาดใหญ่กว่าของดาวพฤหัสบดี มันโคจรใน 68 AU จากดาวเอชอาร์ 8799 หรือ 7 AU ภายในขอบด้านในของแผ่นฝุ่นวงโคจรรอบดาว โดยมีค่า eccentricity ที่ไม่ทราบและระยะเวลา 460 ปี และเป็นดาวเคราะห์ที่รู้จักกันด้านนอกสุดในระบบดาวเคราะห์เอชอาร์ 8799 พร้อมกับสองดาวเคราะห์ดวงอื่นที่โคจรรอบดาวเอชอาร์ 8799 ดาวเคราะห์ดวงนี้ค้นพบเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 2008 โดย Marois et al โดยใช้หอดูดาวเคก และหอดูดาวเมถุน ในฮาวาย ดาวเคราะห์เหล่านี้ถูกค้นพบโดยใช้เทคนิคการถ่ายภาพโดยตรง.

ใหม่!!: โลกและเอชอาร์ 8799 บี · ดูเพิ่มเติม »

เอชดี 147018 ซี

อชดี 147018 ซี เป็นดาวเคราะห์นอกระบบ และดาวแก๊สยักษ์ ซึ่งโคจรรอบแถบลำดับหลักประเภท G ดาวฤกษ์เอชดี 147018 ตั้งอยู่ที่ประมาณ 140 ปีแสง ห่างออกไปจากกลุ่มดาวสามเหลี่ยมใต้ มันมีมวลอย่างน้อยหกและครึ่งเวลามากกว่าดาวพฤหัสบดีและวงโคจรสองเกือบสองเท่าระยะทางโลกและดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ดวงนี้อยู่แปดเท่าห่างไกลออกไปเกิน เอชดี 147018 บี ดาวเคราะห์ดวงนี้ถูกค้นพบเมื่อ 11 สิงหาคม ค.ศ. 2009 โดยวิธีรัศมีความเร็ว.

ใหม่!!: โลกและเอชดี 147018 ซี · ดูเพิ่มเติม »

เอชดี 147513 บี

อชดี 147513 บี เป็นดาวเคราะห์นอกระบบ ตั้งอยู่ประมาณ 42 ปีแสง ห่างออกไปจากกลุ่มดาวแมงป่อง ดาวเคราะห์ดวงนี้มีอย่างน้อย 21% ที่มีมวลมากกว่าดาวพฤหัสบดี แต่ต่างกันตรงดาวพฤหัสบดีโคจรรอบดาวฤกษ์ใกล้ชิดมาก หมายถึงระยะทางห่างออกไปเพียงหนึ่งในสามมากกว่าระยะทางของโลกจากดวงอาทิตย์ วงโคจรยังผิดปกติที่เพเรียสตรอน ดาวเคราะห์ดวงนี้อยู่ใกล้กับดาวมากกว่าโลกอยู่จากดวงอาทิตย์ ในขณะที่ในอพาสตรอน ดาวเคราะห์ดวงนี้อยู่ไกลออกไปจากดาวอังคารมากกว่าดวงอาทิต.

ใหม่!!: โลกและเอชดี 147513 บี · ดูเพิ่มเติม »

เอชดี 17156 บี

อชดี 17156 บี (HD 17156 b) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 240 ปีแสง ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวแคสซิโอเปีย ดาวเคราะห์ดวงนี้ถูกค้นพบวงโคจรรอบดาวยักษ์เล็กเหลือง เอชดี 17156 ในวันที่ 14 เมษายน..

ใหม่!!: โลกและเอชดี 17156 บี · ดูเพิ่มเติม »

เอชดี 189733 บี

อชดี 189733 บี (HD 189733 b) หรือบางครั้งเรียก เอชดี 189733 เอบี (HD 189733 Ab) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่อยู่ห่างโลกประมาณ 63 ปีแสง ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวหมาจิ้งจอก ดาวเคราะห์ดวงนี้ถูกค้นพบกำลังโคจรรอบดาวเอชดี 189733 ในวันที่ 5 ตุลาคม..

ใหม่!!: โลกและเอชดี 189733 บี · ดูเพิ่มเติม »

เอชดี 215497 บี

อชดี 215497 บี เป็นดาวเคราะห์นอกระบบ ซึ่งเป็นวงโคจรK-type แถบลำดับหลัก ของดาวเอชดี 215497 ตั้งอยู่ประมาณ 142 ปีแสง ห่างออกไปจากกลุ่มดาวนกทูแคน ดาวเคราะห์ดวงนี้มีมวลอย่างน้อย 6.6 เท่ามวลของโลก ดาวเคราะห์ดวงนี้ถูกตรวจพบโดยอุปกรณ์ตรวจวัดความเร็วเชิงรัศมีของดาวฤกษ์ความแม่นยำสูง เมื่อ19 ตุลาคม ค.ศ. 2009 ร่วมกับดาวเคราะห์อื่น ๆ 29 ดวงรวมถึงเอชดี 215497 ซี.

ใหม่!!: โลกและเอชดี 215497 บี · ดูเพิ่มเติม »

เอชดี 28185 บี

อชดี 28185 บี เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 138 ปีแสง อยู่ในกลุ่มดาวแม่น้ำ ดาวเคราะห์ดวงนี้ถูกค้นพบในวงโคจรรอบดาวฤกษ์เอชดี 28185 ในวันที่ 4 เมษายน..

ใหม่!!: โลกและเอชดี 28185 บี · ดูเพิ่มเติม »

เอชดี 69830

อชดี 69830 (HD 69830) เป็นดาวแคระส้มที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 41 ปีแสง ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวท้ายเรือ ในปี..

ใหม่!!: โลกและเอชดี 69830 · ดูเพิ่มเติม »

เอชไอพี 13044

อชไอพี 13044 (HIP 13044) เป็นดาวฤกษ์บรานช์แนวนอนแดง ที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 2,300 ปีแสง หรือ 700 พาร์เซก ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวเตาหลอม.

ใหม่!!: โลกและเอชไอพี 13044 · ดูเพิ่มเติม »

เอพิโทรคอยด์

อพิโทรคอยด์ (เส้นสีน้ำเงิน) เมื่อ ''d'' เอพิโทรคอยด์ (เส้นสีน้ำเงิน) เมื่อ ''d'' > ''r'' เอพิโทรคอยด์ (epitrochoid) คือเส้นโค้งชนิดหนึ่ง สร้างขึ้นจากจุดจุดหนึ่งบนรูปวงกลม ซึ่งอาจอยู่บนเส้นรอบวง ข้างในวง หรือข้างนอกวงก็ได้ แล้วกลิ้งรูปวงกลมพร้อมกับจุดนั้นไปตามขอบ ด้านนอก ของรูปวงกลมอีกรูปหนึ่งซึ่งอยู่กับที่ จากรอยเคลื่อนที่ของจุดนั้นจะทำให้ได้เส้นโค้งคล้ายรูปไข่ดาว ดอกไม้ หรือขดสปริงหันเข้า เอพิโทรคอยด์จัดว่าเป็นรูเลตต์ชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: โลกและเอพิโทรคอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

เอกภพที่สังเกตได้

มุมกว้างของท้องฟ้าถ่ายด้วยเทคนิค near-infrared แสดงให้เห็นการกระจายตัวของกาแล็กซีต่างๆ นอกเหนือจากทางช้างเผือก มีจำนวนทั้งสิ้นมากกว่า 1.5 ล้านกาแล็กซี ตามทฤษฎีบิกแบง เอกภพที่สังเกตได้ (Observable Universe) คือขอบเขตห้วงอวกาศในกรอบทรงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่ผู้สังเกตการณ์ ที่มีขนาดเล็กพอที่เราจะสังเกตวัตถุต่างๆ ภายในได้ เช่น ระยะเวลาที่นานพอสำหรับการแพร่สัญญาณจากวัตถุ ณ เวลาใดๆ หลังเหตุการณ์บิกแบง มีการเคลื่อนที่เท่าความเร็วแสง และเดินทางมาถึงผู้สังเกตการณ์ ณ เวลาปัจจุบัน ทุกๆ ตำแหน่งมีเอกภพที่สังเกตได้ของจุดนั้นๆ ซึ่งอาจพอดีหรือเหลื่อมกันกับเอกภพที่สังเกตได้จากโลก ในทางทฤษฎีเอกภพที่สังเกตได้อาจมีขนาดเล็กกว่าหรือใหญ่กว่าขนาดของเอกภพจริง.

ใหม่!!: โลกและเอกภพที่สังเกตได้ · ดูเพิ่มเติม »

เอลเดอร์ธิง

อลเดอร์ธิง (Elder Thing บางครั้งก็เรียกว่า โอลด์วัน) เป็นมนุษย์ต่างดาวในเรื่องชุดตำนานคธูลู โดยเอลเดอร์ธิงปรากฏตัวครั้งแรกในนิยายเรื่อง At the Mountains of Madness ซึ่งประพันธ์โดยเอช. พี. เลิฟคราฟท์ในปีพ.ศ. 2479 นอกจากนั้นเลิฟคราฟท์ยังระบุถึงเอลเดอร์ธิงในเรื่องสั้น The Dreams in the Witch-House และ The Shadow Out of Time.

ใหม่!!: โลกและเอลเดอร์ธิง · ดูเพิ่มเติม »

เอสอาร์-71 แบล็คเบิร์ด

right เอสอาร์-71 แบล็คเบิร์ด (SR-71 Blackbird) ล็อกฮีด เอสอาร์-71 เป็นเครื่องบินที่พัฒนาขึ้นมาจาก ล็อกฮีด วายเอฟ-12 เอ ทำการบินเป็นครั้งแรกในวันที่ 26 เมษายน ค.ศ. 1962 ในทะเลทรายเนวาดา วายเอฟ-12 เริ่มพัฒนาเป็น เอสอาร์-71 ในปี ค.ศ. 1963 เป็นเครื่องบินความเร็วระดับ 3 มัค เริ่มทำสถิติโลกเป็นครั้งแรกในวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1965 เอสอาร์-71 เป็นเครื่องบินเจ๊ตตรวจการณ์ทางยุทธศาสตร์ ใช้งานในกองทัพอากาศสหรัฐและองค์การนาซ่า และได้รับสมญานามว่าแบล็คเบิร์ด (Blackbird).

ใหม่!!: โลกและเอสอาร์-71 แบล็คเบิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เอสเอ็น 1987เอ

อสเอ็น 1987เอ (SN 1987A) เป็นมหานวดาราในเขตของเนบิวลาบึ้งในเมฆแมเจลแลนใหญ่ ใกล้กับดาราจักรแคระ เกิดขึ้นห่างจากโลกประมาณ 51.4 กิโลพาร์เซก หรือประมาณ 168,000 ปีแสง อาจจะมองเห็นได้จากของทางใต้ เป็นมหานวดาราที่สังเกตได้ใกล้เคียงที่สุดตั้งแต่ เอสเอ็น 1604 ที่เกิดขึ้นในทางช้างเผือก แสงจากมหานวดาราใหม่มาถึงโลกเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1987 เป็นมหานวดาราค้นพบครั้งแรกในปี ค.ศ. 1987.

ใหม่!!: โลกและเอสเอ็น 1987เอ · ดูเพิ่มเติม »

เอิร์ธไรซ์

"เอิร์ธไรซ์" ถ่ายเมื่อ 24 ธันวาคม ค.ศ. 1968 เอิร์ธไรซ์ (Earthrise) เป็นชื่อของภาพถ่ายโลกที่ถ่ายโดยนักบินอวกาศ วิลเลียม แอนเดอร์ส ระหว่างภารกิจอะพอลโล 8 ใน 100 ภาพถ่ายที่เปลี่ยนโลกของนิตยสารไลฟ์ ช่างถ่ายภาพถิ่นทุรกันดาร กาเลน โรเวลล์ เรียกภาพนี้ว่า "ภาพถ่ายธรรมชาติที่ทรงอิทธิพลที่สุดเท่าที่เคยมีมา".

ใหม่!!: โลกและเอิร์ธไรซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอิร์ท

อิร์ท (อ. Earth) อาจหมายถึง:; คำทับศัพท.

ใหม่!!: โลกและเอิร์ท · ดูเพิ่มเติม »

เอิร์ท (อนุกรมเคมี)

อิร์ท (earth) อาจแปลได้ว่า "ปฐวีธาตุ" (ธาตุดิน) นิยามโดยทั่วไปในภาษาอังกฤษ จึงอาจอ้างเทียบกับ "ธาตุดิน" กล่าวคือหมายถึง มวลสารที่ประกอบขึ้นเป็นแผ่นดินโลก หรือสสารที่มีสถานะเป็นของแข็ง สำหรับนิยามทางเคมี และวิทยาแร่ อาจเจาะจงหมายถึง แร่หรือสารประกอบกลุ่มหนึ่ง ซึ่งเป็นสารประกอบประเภทออกไซด์ของธาตุโลหะ ที่ปรากฏพบได้ในธรณีภาค (ชั้นหิน) ของโลก รวมถึง ธาตุเคมี ที่ประกอบขึ้นเป็นแร่หรือสารประกอบนั้น โดยมีข้อสังเกตว.

ใหม่!!: โลกและเอิร์ท (อนุกรมเคมี) · ดูเพิ่มเติม »

เอนเซลาดัส

อนเซลาดัส (Enceladus) หรือ Saturn II เป็นดาวบริวารขนาดใหญ่อันดับที่ 6 ของดาวเสาร์ ค้นพบโดยนักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษเชื้อสายเยอรมันนาม วิลเลียม เฮอร์เชล เมื่อ..

ใหม่!!: โลกและเอนเซลาดัส · ดูเพิ่มเติม »

เอ็มเธียเตอร์

อ็มเธียเตอร์ เป็นโรงละครเอกชน ตั้งอยู่ที่ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ กรุงเทพมหานคร เอ็มเธียเตอร์ เดิมชื่อ โรงละครกรุงเทพ เริ่มเปิดดำเนินการเมื่อ พ.ศ. 2536 โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดโรงละคร เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม..

ใหม่!!: โลกและเอ็มเธียเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็งกะ

อ็งกะ (演 (เอ็ง) แปลว่า การแสดง ความบันเทิง / 歌 (คะ) แปลว่า เพลง) คือ รูปแบบดนตรีที่มีการผสมผสานกันระหว่างแนวดนตรีสองแนวที่แตกต่างกัน แนวแรกคือแนวดนตรีแบบดั้งเดิมของญี่ปุ่นในช่วงยุคเมจิ (พ.ศ. 2411 – 2455) กับยุคไทโช (พ.ศ. 2455 – 2469) ส่วนแนวที่สองคือแนวเพลงประโลมโลกแบบป็อปของญี่ปุ่นที่มีกลิ่นอายของเพลงสไตล์คันทรีแบบอเมริกันผสมอยูด้วย โดยเอ็งกะในปัจจุบันนั้น จะหนักไปทางแนวที่สองมากกว่า เอ็งกะกำเนิดขึ้นครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่น สมัยยุคเมจิ โดยได้รับอิทธิพลหรือมีรากฐานมาจากเพลงทางเกาหลีหรือจีน ในช่วงแรก เพลงแนวนี้ถูกนำมาใช้ในด้านการเมืองอยู่บ่อย ๆ อย่างเช่นนำมาใช้แปลงบทแถลงการณ์ต่าง ๆ ให้เป็นทำนองเพลงเพื่อง่ายต่อการเผยแพร่ เป็นต้น แต่ในเวลาต่อมา การใช้ประโยชน์ในด้านนี้ก็ได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว แนวเพลงเอ็งกะนี้ ถือได้ว่าเป็นแนวเพลงแรกที่สังเคราะห์เอาสเกลโน้ตเพ็นทาโกนิคของเพลงญี่ปุ่นรวมเข้ากับท่วงทำนองของดนตรีสไตล์ตะวันตกได้เป็นอย่างดี เนื้อร้องของเพลงแนวนี้ส่วนใหญ่จะเน้นไปที่เรื่องความรักและการสูญเสีย ความเหงา ความรันทด ความทุกข์ยากลำบาก ไปจนถึงความตายและการฆ่าตัวตาย เอ็งกะจะสะท้อนให้เห็นถึงประเพณี อุดมการณ์ หรือความเย้ายวนใจในมุมมองของวัฒนธรรมหรือทัศนคติในแบบของญี่ปุ่น คล้ายกับแนวเพลงคันทรีของอเมริกันและเพลงสไตล์ตะวันตก นักร้องเพลงแนวเอ็งกะที่โด่งดังและเป็นที่รักมากที่สุดคือ ฮิบาริ มิโซระ (พ.ศ. 2469 – 2532) เธอได้รับการขนานนามว่าเป็น "ราชินีเพลงเอ็งกะ" และ "ราชินีแห่งโชวะ" ในช่วงที่เธอยังมีชีวิตอยู่และได้รับความนิยมมากที่สุด เอ็งกะได้รับความนิยมมาเรื่อย ๆ จนกระทั่งถึงช่วงทศวรรษล่าสุดนี้เองที่เพลงเอ็งกะได้เสื่อมความนิยมลงทั้งทางด้านยอดขายและการยอมรับ ประจวบกับการที่เพลงแนวเจ-ป็อปแบบอเมริกันโด่งดังขึ้นมาแทนที่พอดี เหตุหนึ่งที่เอ็งกะเดินทางมาถึงช่วงขาลงตรงจุดนี้ก็เพราะว่านักฟังชาวญี่ปุ่นรุ่นใหม่ ๆ ไม่ประทับใจแนวเพลงดั้งเดิม แต่อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีชาวญี่ปุ่นอีกหลาย ๆ คนที่ยังหลงใหลกับเพลงแนวเอ็งกะนี้อยู่ จนกระทั่งต่อมา เมื่อนักร้องขวัญใจวันรุ่นของญี่ปุ่นในช่วงนั้นอย่างคิโยชิ ฮิกาวะ และยูโกะ นากาซาวะ (สมาชิกรุ่นก่อตั้งของกลุ่มมอร์นิงมุซุเมะ) หันมาร้องเพลงแนวเอ็งกะบ้าง ก็ทำให้แฟนเพลงหนุ่มสาวของญี่ปุ่นหันมานิยมเพลงแนวนี้ได้พอสมควร การแต่งกายของนักร้องเอ็งกะเวลาขึ้นแสดงส่วนใหญ่ ถ้าหากว่าเป็นผู้หญิงพวกเธอจะใส่ชุดกิโมโนหรือไม่ก็ชุดราตรีในการแสดง และถ้าหากว่าเป็นผู้ชายพวกเขาจะใส่ชุดที่เป็นทางการหรือไม่ก็ชุดญี่ปุ่นที่ถูกต้องตามประเพณี เครื่องดนตรีที่ใช้ในเพลงแนวเอ็งกะก็จะเหมือนกันกับที่ใช้ในเพลงดั้งเดิมของญี่ปุ่นทั่วไป อย่างเช่น ชิโนบูเอะ และชามิเซ็ง เป็นต้น ส่วนแหล่งที่จะสามารถฟังเพลงเหล่านี้ได้ในญี่ปุ่น นอกจากจะในรายการโทรทัศน์และวิทยุแล้ว ก็คือที่ร้านอาหาร ร้านสุรา คาเฟ่ และสถานที่ให้บริการคาราโอเกะ ในสหรัฐอเมริกา เอ็งกะก็ยังได้รับความนิยมอยู่ในกลุ่มคนที่มีเชื้อสายญี่ปุ่น-อเมริกัน (โดยเฉพาะที่สูงอายุแล้ว) แต่อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีแฟนเพลงเอ็งกะที่ไม่ใช่ชาวญี่ปุ่นอยู่ด้วย นอกจากนั้นแล้ว ในอเมริกาก็ยังมีวงดนตรีและนักร้องแนวเอ็งกะอยู่ด้วยเหมือนกัน อย่างเช่นวง ซานโฮเซ จิโดริ ที่เปิดการแสดงในเทศกาลโอบงในช่วงฤดูร้อนอยู่เป็นครั้งคราว เป็นต้น.

ใหม่!!: โลกและเอ็งกะ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็นเอชเค

มาคมแพร่ภาพกระจายเสียงแห่งประเทศญี่ปุ่น หรือ NHK เป็นองค์กรแพร่ภาพกระจายเสียงสาธารณะของของรัฐบาลญี่ปุ่น มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจที่อาศัยรายได้จากค่าธรรมเนียมใบอนุญาตรับชมโทรทัศน์จากผู้ชม เอ็นเอชเคมีบริการโทรทัศน์ภาคพื้นดินสองช่อง (ช่องทั่วไปและช่องเพื่อการศึกษา), โทรทัศน์ดาวเทียมอีกสองช่อง (ช่อง BS-1 และ BS Premium) และเครือข่ายวิทยุกระจายเสียงอีก 3 สถานีในญี่ปุ่น นอกจากนี้ เอ็นเอ็ชเคยังมีโทรทัศน์ช่องสากลที่มีชื่อว่า NHK World ประกอบด้วย บริการโทรทัศน์จำนวน 2 ช่องรายการ และบริการวิทยุคลื่นสั้น 1 สถานี นอกจากนี้ ยังมีเว็บไซต์เอ็นเอชเค ที่ให้บริการข้อมูลข่าวสาร และรายการต่างๆ ซึ่งเป็นอีกบริการหนึ่งเช่นกัน.

ใหม่!!: โลกและเอ็นเอชเค · ดูเพิ่มเติม »

เจริญ โอทอง และอรวรรณ โอทอง

วรรณกับหมู แผนที่เส้นทาง ของทั้งคู่ นายเจริญ โอทอง (หมู) และ นางอรวรรณ โอทอง (วรรณ; นามสกุลเดิม หอวัฒนสุข) เป็นคู่สามีภรรยา นักปั่นจักรยานชาวไทย ที่เดินทางรอบโลก ด้วยจักรยานตามลำพังเพียงสองคน เริ่มออกเดินทางจากกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 เป็นระยะทางประมาณ 40,000 กิโลเมตร การเดินทางของทั้งคู่เป็นที่รู้จักในหมู่นักขี่จักรยาน ว่าเป็นการเดินทางของ วรรณกับหมู โดยได้เตรียมตัวก่อนเดินทางกว่า 1 ปี โดยได้คุณ ทอม เคลย์เตอร์ นักบินเดี่ยวรอบโลกเพื่อเป็นที่ปรึกษาในการวางแผนการเดินทางครั้งนี้ และได้รับการสนับสนุนจาก แมคโดนัลด์ โดยสามารถทานอาหารได้ทุกร้านแมคโดนัลด์ทั่วโลกฟรี รวมถึงเงินสนับสนุนเดือนละ 6,000 บาทจนกว่าจะเดินทางสำเร็จจากเจ้านายของคุณเจริญ โอทอง ซึ่งเดิมวางแผนต้องใช้เงินประมาณ 3-4 ล้าน แต่ทั้งคู่เริ่มออกเดินทางเมื่อเก็บเงินได้ 800,000 บาท เจริญเกิดเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 เป็นชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช อรวรรณเกิดเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2513 เป็นชาวจังหวัดสุโขทัย ตามกำหนดการครั้งแรก ทั้งคู่จะใช้เวลาเดินทางประมาณ 3 ปี แต่ในการเดินทางจริงต้องล่าช้า เนื่องจากถูกปล้นระหว่างทางที่อเมริกาใต้ และต้องหยุดพักการเดินทางเมื่อแม่ของเจริญ และพ่อของวรรณเสียชีวิต หลังจากเดินทางไปแล้ว 5 ปีเศษ ทั้งคู่เดินทางรอบโลก และกลับมาถึงประเทศไทย ผ่านด่านปอยเปต ตรงข้ามกับอำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ในวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2550 และเดินทางถึงกรุงเทพมหานครในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ใช้เวลาทั้งสิ้น 5 ปี 11 เดือน 1 วัน เส้นทางการเดินทางของทั้งคู่เริ่มจากกรุงเทพมหานคร ผ่านภาคใต้ของไทย ไปมาเลเซีย อินโดนีเซีย ขึ้นเครื่องบินไปออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ขึ้นเครื่องบินไปชิลี และขี่จักรยานลัดเลาะชายฝั่งอเมริกาใต้ ผ่านอเมริกากลางไปสหรัฐอเมริกา ขี่ข้ามทวีปจากลอสแอนเจลิสไปวอชิงตันดีซี และขึ้นเครื่องบินไปโมร็อกโก แอฟริกา ข้ามไปยุโรป รัสเซีย เอเชียกลาง จีน เวียดนาม ลาว กัมพูชา ผ่านทั้งหมด 42 ประเทศ ก่อนจะกลับเข้าไท.

ใหม่!!: โลกและเจริญ โอทอง และอรวรรณ โอทอง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายน้อย (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2558)

้าชายน้อย (Le Petit Prince; The Little Prince) คือ ภาพยนตร์แอนิเมชันสามมิติแนวแฟนตาซี ปี..

ใหม่!!: โลกและเจ้าชายน้อย (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2558) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายแห่งเปอร์เซีย: มหาสงครามทะเลทรายแห่งกาลเวลา

้าชายแห่งเปอร์เซีย: มหาสงครามทะเลทรายแห่งกาลเวลา เป็นภาพยนตร์แอคชั่นที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: โลกและเจ้าชายแห่งเปอร์เซีย: มหาสงครามทะเลทรายแห่งกาลเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เทพประยุทธ์พิชิตฟ้า

ทพประยุทธ์พิชิตฟ้า (อังกฤษ: The Investiture Of The Gods) เป็นละครโทรทัศน์กำลังภายในแบบแฟนตาซี ที่ออกอากาศในปี ค.ศ. 2014 กำกับโดย หวัง เหว่ยถิง, จาง เจียนมู่ และเวอร์นีย์หยางโดยเนื้อเรื่องอิงมาจากวรรณกรรมเรื่อง ห้องสิน นำแสดงโดย เฉิน เจี้ยนเฟิง, จาง ซินอวี่, วู่ล่า เจียง, จอห์นนี่ จาง.

ใหม่!!: โลกและเทพประยุทธ์พิชิตฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

เทราคาโตะ ซือ

ทราคาโตะ ซือ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซราจิ เป็นนักร้องเพลงป๊อบไอดอลชื่อดังในระดับแนวหน้าของเอโดะทีมีแฟนคลับเป็นจำนวนมาก รวมถึงชิมูระ ชินปาจิที่เป็นหัวหน้าของหน่วยพิทักษ์เทราคาโตะ ซือด้ว.

ใหม่!!: โลกและเทราคาโตะ ซือ · ดูเพิ่มเติม »

เทวัสนิยม

เทวัสนิยม (deism) เป็นแนวความคิดที่สำคัญในศตวรรษที่ 18 โดยในศตวรรษนี้เป็นยุคแห่งเหตุผล นักคิดทั้งหลายต่างพยายามที่จะสร้างระบบการวิเคราะห์แบบวิทยาศาสตร์ที่ได้ผลและสมเหตุสมผลขึ้น โดยไม่ยอมพึ่งพาอาศัยอำนาจเหนือธรรมชาติต่าง ๆ พระเจ้าเป็นเพียงผู้สร้างโลกเท่านั้น เราจะเห็นการแบ่งเป็นฝักฝ่ายระหว่างศาสนากับวิทยาศาสตร์ได้เกิดขึ้น พวกหัวเก่าโจมตีพวกหัวใหม่ว่าต่อไปนี้จะไม่มีอะไรที่ศักดิ์สิทธิ์หลงเหลืออยู่อีก การถกเถียงเป็นไปอย่างกว้างขวางอันเป็นเหตุให้เกิดความคิดแบบเทวัสนิยมขึ้นมา พวกนี้เชื่อในพระเจ้าแต่ในขณะเดียวกันก็เชื่อมั่นในเหตุผลและคิดว่าจะสามารถใช้เหตุผลพิสูจน์ในเรื่องพระเจ้าได้ พวกนี้เชื่อต่อไปอีกว่าเหตุผลเท่านั้นที่จะช่วยให้เราเกิดความเข้าใจศาสนาและศีลธรรมอย่างถูกต้อง พวกนี้ถือว่าพระเจ้านั้นมีอยู่ ทว่าหลังจากที่ทรงสร้างโลกแล้วก็มิได้ลงมายุ่งเกี่ยวกับมนุษย์อีกเลย พวกนี้ยอมรับศาสนาในสมัยแรกเริ่ม แต่มักจะโจมตีศาสนาในระยะหลังที่มีพิธีการ มีพระเป็นผู้สืบศาสนา พวกนี้เชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีเหตุผลอยู่ในตัว เพียงแต่ว่าคนส่วนใหญ่ไม่สามารถจะบังคับในตัวเองให้ใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์ ทำให้พระเข้ามามีบทบาทได้ ทั้ง ๆ ที่แท้จริงแล้ว มนุษย์ทุกคนเข้าถึงและรู้เข้าใจเกี่ยวกับศาสนาเป็นอย่างดี ตัวอย่างผู้มีความเชื่อแบบเทวัสนิยม ได้แก่ เบนจามิน แฟรงคลินและวอลแตร์ หมวดหมู่:ความเชื่อ.

ใหม่!!: โลกและเทวัสนิยม · ดูเพิ่มเติม »

เทวดานพเคราะห์

ราะห์ (ภาษาสันสกฤต: ग्रह, gráha คระ-หะ ซึ่งหมายความว่า ฉกฉวย, จับ, คว้า, ยึด) คือสิ่งที่มีอำนาจในจักรวาลของพระภูมิเทวี (โลก) นพเคราะห์ (ภาษาสันสกฤต: नवग्रह, gráha นะ-พะ-คระ-หะ) หมายความว่า ๙ ภูมิ, ๙ ขอบเขต, ๙ โลก, ๙ ดาวเคราะห.

ใหม่!!: โลกและเทวดานพเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลโต๊ะจีนลิง

ทศกาลโต๊ะจีน ได้จัดว่า เป็น 1 ใน 10 ของเทศกาลที่แปลกที่สุดในโลก และเป็นเทศกาลงานประเพณีที่สำคัญของจังหวัดลพบุรี ภาพภายในงาน การจัดงานเลี้ยง "โต๊ะจีนลิง" ของ จังหวัดลพบุรี เริ่มมีขึ้นครั้งแรกตั้งแต่ปี 2532 สร้างชื่อเสียงให้กับจังหวัดลพบุรีจนโด่งดังไปทั่วโลก และถูกจัดเข้าปฏิทินงานประจำปีของจังหวัด งานดังกล่าวเริ่มขึ้นจากการลงแรงกายแรงความความคิดของอาทิตย์ ทวีคูณ เสนอต่อ นายยงยุทธ กิจวัฒนานุสนธิ์ ประธาน บริษัท ลพบุรีอินน์กรุ๊ป และดำเนินการต่อเนื่องจนกระทั่งปัจจุบันขึ้นสู่ปีที่ 14 ลิงบริเวณศาลพระกาฬ พระปรางค์สามยอด จะแยกพวกกันกับลิงบริเวณตึก สภาพของ ลิงศาลพระกาฬ ค่อนข้างได้รับการเลี้ยงดูอย่างอิ่มหมีพีมัน เนื่องจากมีผู้คนที่มากราบไหว้สักการะศาลฯ เลี้ยงดู ขณะที่ ลิงพระปรางค์สามยอด และลิงตึกที่มีอยู่ประมาณ 3,000 ตัว มีความเป็นอยู่ที่ลำบาก บางมื้อก็กินไม่อิ่ม ในการจัดงานเทศกาลในครั้งนี้ก็เพื่อให้ลิงซึ่งอาศัยอยู่บริเวณ ศาลพระกาฬ พระปรางค์สามยอด และตามตึกได้กินอิ่มอย่างเป็นทางการปีละครั้ง หลังจากที่มนุษย์เข้ามาสร้างเมืองจนลิงเจ้าถิ่นต้องกลายเป็นเพียงผู้อาศัยไป ทั้งนี้ สำหรับเทศกาลโต๊ะจีนลิง จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี เพื่อเลี้ยงบรรดาลิงที่มาอาศัยอยู่ในบริเวณศาลพระกาฬ ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่า เป็นศิษย์ของเจ้าพ่อพระกาฬ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของจังหวัด บรรดาลิงเหล่านี้ จึงได้รับความช่วยเหลือให้อาหารจากชาวบ้านเป็นอย่างดีเรื่อยมา และเทศกาลโต๊ะจีนลิงนี้ ยังเป็นอีกหนึ่งในมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ส่วนราชการ และพ่อค้าประชาชน ร่วมกันจัดขึ้นเพื่อหวังดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติให้เดินทางมาเยี่ยมชม ความน่ารักของลิงและคนที่อยู่ร่วมกันมายาวนานโดยเฉพาะชาวต่างชาติที่ให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะว่าเป็นเทศกาลที่แปลกเทศกาลหนึ่งที่หาชมได้ยาก และสื่อชั้นนำของต่างชาติยังนำไปเผยแพร่ต่อสายตาชาวโลกจนเป็นที่รู้จักไปทั่วโลกอยู่ในขณะนี้ งานเลี้ยงโต๊ะจีนลิง จัดขึ้นทุกวันอาทิตย์ สัปดาห์สุดท้ายของเดือนพฤศจิกายน ณ บริเวณศาลพระกาฬ และพระปรางค์สามยอด มีฝูงลิงอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก เป็นที่สนใจสำหรับนักท่องเที่ยว บรรดานักท่องเที่ยวที่มานมัสการเจ้าพ่อพระกาฬ มักจะนำอาหารและผลไม้มาเลี้ยงลิง ทำให้ลิงมีความเชื่องและคุ้นเคยกับนักท่องเที่ยวมากขึ้น ในงานมีกิจกรรมต่าง ๆ มากม.

ใหม่!!: โลกและเทศกาลโต๊ะจีนลิง · ดูเพิ่มเติม »

เทอร์มิเนเตอร์

นตร์ชุด เทอร์มิเนเตอร์ (Terminator) เป็นซีรีส์ภาพยนตร์ไซไฟหลายเรื่อง ที่มีจุดเริ่มต้นมาจากภาพยนตร์เรื่อง เดอะ เทอร์มิเนเตอร์ ภาพยนตร์ไซไฟต้นทุนต่ำของเจมส์ คาเมรอน ที่ออกฉายเมื่อ..

ใหม่!!: โลกและเทอร์มิเนเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เขมรแดง

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึง พ.ศ. 2522 เขมรแดงถือเป็นตัวแทนความสำเร็จเชิงอำนาจของพรรคการเมืองลัทธิคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ที่ต่อมาได้พัฒนาไปเป็น “พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา” (Communist Party of Kampuchea; Parti communiste du Kampuchéa – PCK) และ “พรรคกัมพูชาประชาธิปไตย” (Parti du Kampuchéa démocratique) รูปแบบการปกครองของเขมรแดงมีจุดประสงค์เพื่อสร้าง "สังคมใหม่" โดยใช้รากฐานทางอุดมการณ์ที่เรียกว่า "อุดมการณ์ปฏิวัติแบบเบ็ดเสร็จ" (idéologie de révolution totale) ที่มีการรักษาเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ เป็นตัวขับเคลื่อน สิ่งแรกที่เขมรแดงกระทำหลังจากได้รับอำนาจ คือ การกวาดต้อนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดจากกรุงพนมเปญและเมืองสำคัญอื่น ๆ มาบังคับให้ทำการเกษตรและใช้แรงงานร่วมกันในพื้นที่ชนบท เพื่อจำแนกประชาชนที่ถือว่าเป็น "ศัตรูทางชนชั้น" ไม่ว่าจะเป็น ทหาร ข้าราชการ เชื้อพระวงศ์ ผู้มีการศึกษา หรือผู้มีวิชาชีพเฉพาะในด้านต่าง ๆ ออกมาเพื่อขจัดทิ้ง การกระทำดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ประชาชนชาวกัมพูชาต้องเสียชีวิตจากการถูกสังหาร ถูกบังคับใช้แรงงาน และความอดอยาก เป็นจำนวนประมาณ 850,000 ถึง 3 ล้านคน ซึ่งเมื่อเทียบอัตราส่วนของประชาชนที่เสียชีวิตต่อจำนวนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดในขณะนั้น (ประมาณ 7.5 ล้านคน ใน พ.ศ. 2518) ถือได้ว่าระบอบการปกครองของเขมรแดงเป็นหนึ่งในระบอบที่มีความรุนแรงที่สุดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขมรแดงปกครองกัมพูชาเป็นระยะเวลา 4 ปี ใน..

ใหม่!!: โลกและเขมรแดง · ดูเพิ่มเติม »

เขาโรไรมา

รไรมา (Monte Roraima) หรือรู้จักกันในชื่อเทปุยโรไรมาหรือเซอโรโรไรมา (Monte Roraima) เป็นเขาที่สูงที่สุดในเทือกเขาพากาไรมาของที่ราบสูงเทปุยในทวีปอเมริกาใต้ นักสำรวจชาวอังกฤษชื่อ เซอร์วอลเทอร์ ราเล ได้บรรยายไว้เป็นคนแรกว่า พื้นที่บนยอดเขากว่า 31 ตารางกิโลเมตร ประกอบขึ้นจากหน้าผารอบด้านซึ่งสูงถึง เขาแห่งนี้ยังทำหน้าที่เป็นเส้นแบ่งเขตแดนระหว่าง 3 ประเทศอันได้แก่ประเทศเวเนซุเอลา บราซิลและกายอานา เขาโรไรมา ตั้งอยู่บนหินฐานทวีปกายอานา ทางมุมตะวันออกเฉียงใต้ในพื้นที่ 30,000 ตารางกิโลเมตรของอุทยานแห่งชาติคาไนมา ซึ่งก่อให้เกิดยอดสูงสุดในที่เขตที่ราบสูงกายอานา ภูเขารูปโต๊ะของอุทยานได้รับการพิจารณาว่าเป็นการก่อตัวทางธรณีวิทยาที่เก่าแก่ที่สุดบนโลกมีอายุถึง 2 พันล้านปีนับตั้งแต่พรีแคมเบรียน จุดสูงสุดในกายอานาและรัฐโรไรมาของบราซิล ตั้งอยู่เขตพื้นที่ที่ราบสูง แต่เวเนซุล่าและบราซิลยังมีเขาสูงแห่งอื่นอีก พิกัดของเส้นแบ่งเขตแดนของ 3 ประเทศนี้อยู่ที่ แต่จุดสูงสุดของเขาแห่งนี้คือ มาเวอริคร็อก สูงถึง ตั้งอยู่ทางใต้สุดของที่ราบสูงและทั้งหมดอยู่ในพื้นที่ของเวเนซุเอล.

ใหม่!!: โลกและเขาโรไรมา · ดูเพิ่มเติม »

เขตการค้าเสรีจีน-อาเซียน

อาณาบริเวณประเทศในข้อตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน-จีน เขตการค้าเสรีจีน-อาเซียน เป็นเขตการค้าเสรีที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นการตกลงในลักษณะพหุพาคี ซึ่งแตกต่างจากเขตการค้าเสรีไทย-จีน ที่เป็นการตกลงแบบทวิภาคี โดยทั้งนี้เขตการค้าเสรีจีน-อาเซียน ได้มีข้อตกลงการขอยกเลิกภาษีนำเข้าและข้อจำกัดทางการค้าระหว่างสมาชิกในอาเชียนกับประเทศจีน.

ใหม่!!: โลกและเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียน · ดูเพิ่มเติม »

เขตร้อน

แผนที่โลกที่เน้นเขตร้อนด้วยสีแดง เขตร้อนหรือโซนร้อน (tropics) เป็นบริเวณของโลกที่อยู่รอบเส้นศูนย์สูตร จำกัดด้วยเส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ในซีกโลกเหนือ ที่ละติจูด 23° 26′ 16″ (หรือ 23.4378°) เหนือ และทรอปิกออฟแคปริคอร์นในซีกโลกใต้ ที่ละติจูด 23° 26′ 16″ (หรือ 23.4378°) ใต้ ละติจูดนี้ใกล้เคียงกับความเอียงของแกนโลก เขตร้อนรวมทุกพื้นที่บนโลกซึ่งดวงอาทิตย์ถึงจุดใต้แสงอาทิตย์ (subsolar point) คือ จุดที่ดวงอาทิตย์อยู่ตรงเหนือศีรษะพอดี อย่างน้อยครั้งหนึ่งในปีสุริยคติ.

ใหม่!!: โลกและเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: โลกและเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เข็มทิศ

็มทิศ เข็มทิศ คือเครื่องมือสำหรับใช้หาทิศทาง มีเข็มแม่เหล็กที่แกว่งไกวได้อิสระในแนวนอนทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้ ตามแรงดึงดูดของแม่เหล็กโลก และที่หน้าปัดมีส่วนแบ่งสำหรับหาทิศทางโดยรอบ เข็มทิศจึงมีปลายชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ (อักษร N หรือ น) เมื่อทราบทิศเหนือแล้วก็ย่อมหาทิศอื่นได้โดยหันหน้าไปทางทิศเหนือ ด้านขวามือเป็นทิศตะวันออก ด้านซ้ายมือเป็นทิศตะวันตก ด้านหลังเป็นทิศใต้ การบอกทิศทางในแผนที่โดยทั่วไป คือการบอกเป็นทิศที่สำคัญ 4 ทิศ คือทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก หรืออาจจะบอกละเอียดเป็น 8,16 หรือ 32 ทิศก็ได้.

ใหม่!!: โลกและเข็มทิศ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะ มอฟฟ์แฟตส์

หมวดหมู่:กลุ่มดนตรีสัญชาติแคนาดา หมวดหมู่:กลุ่มดนตรีที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2538 หมวดหมู่:วงดนตรี 4 ชิ้น.

ใหม่!!: โลกและเดอะ มอฟฟ์แฟตส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะ มาร์เชียน กู้ตาย 140 ล้านไมล์

อะ มาร์เชียน กู้ตาย 140 ล้านไมล์ (The Martian) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ กำกับโดยริดลีย์ สก็อตต์ เขียนบทโดยดรูว์ ก็อดดาร์ด โดยดัดแปลงจากนวนิยายเรื่อง เหยียบนรกสุญญากาศ เขียนโดยแอนดี เวียร์ นำแสดงโดย แม็ตต์ เดม่อน, เจสสิกา แชสเทนและไมเคิล เปญา ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกฉายครั้งแรกที่งานเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติโทรอนโตครั้งที่ 40 และออกฉายที่สหราชอาณาจักรในวันที่ 30 กันยายน 2015 สำหรับประเทศไทย เข้าฉายเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2015.

ใหม่!!: โลกและเดอะ มาร์เชียน กู้ตาย 140 ล้านไมล์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะบลูมาร์เบิล

ม ภาพคอมโพสิต สร้างโดยนาซ่าในปี ค.ศ. 2001 (ซ้าย) และ 2002 (ขวา) เดอะบลูมาร์เบิล (The Blue Marble) เป็นภาพถ่ายดาวเคราะห์โลกที่มีชื่อเสียง ถ่ายโดยลูกเรือของยานอวกาศอพอลโล 17 เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1972 ที่ระยะประมาณ 45000 กิโลเมตร จากโลก เป็นภาพถ่ายภาพแรกที่เห็นโลกทั้งใบ ชื่อของภาพมาจากภาพของโลกที่เหมือนกับลูกหินลายหินอ่อนสีฟ้านั่นเอง อพอลโล 17 เป็นปฏิบัติการดวงจันทร์ครั้งสุดท้ายที่มีมนุษย์ไปด้วย หลังจากนั้นไม่เคยมีมนุษย์คนไหนได้ไปอยู่ในระยะที่จะสามารถถ่ายภาพโลกทั้งใบอย่างเดอะบลูมาร์เบิลได้อีกเล.

ใหม่!!: โลกและเดอะบลูมาร์เบิล · ดูเพิ่มเติม »

เดอะบิ๊กเอียร์

กล้องโทรทรรศน์วิทยุ Big Ear มหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตต เดอะบิ๊กเอียร์ เป็นกล้องโทรทรรศน์วิทยุที่ตั้งอยู่ภายในบริเวณหอดูดาวเพอร์กินส์ เมืองเดลาแวร์ รัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา อยู่ในการดูแลของมหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตต กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งนี้ออกแบบโดย ดร.

ใหม่!!: โลกและเดอะบิ๊กเอียร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะซิมส์ (ชุดวิดีโอเกม)

อะซิมส์ (The Sims) เป็นหนึ่งในชุดวิดีโอเกมที่พัฒนาโดย แม็กซิส และจัดจำหน่าย โดย อิเลคโทรนิค อาร์ต เดอะซิมส์เป็นหนึ่งในชุดวิดีโอเกมที่ประสบความสำเร็จตลอดกาล โดยเมื่อวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2551 มีการรายงานว่าชุดเกมเดอะซิมส์มียอดขายมากกว่า 100 ล้านก๊อปปี้ทั่วโลก และเมื่อวันที่ 19 มีนาคม..

ใหม่!!: โลกและเดอะซิมส์ (ชุดวิดีโอเกม) · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องดื่มชูกำลัง

รื่องดื่มชูกำลัง (Energy Drink) เป็นเครื่องดื่มชนิดหนึ่งที่มีส่วนผสมของสารคาเฟอีนในปริมาณไม่เกิน 50 มิลลิกรัม ต่อ 1 ขวด (100 - 150 มิลลิลิตร) เครื่องดื่มชนิดนี้ส่วนใหญ่เน้นไปทางด้านพลังงาน นักวิทยาศาสตร์ได้ให้พื้นฐานกับเครื่องดื่มชนิดนี้ว่า เครื่องดื่มชนิดนี้มีความใกล้เคียงกันกับเครื่องดื่มที่ไม่มีส่วนผสมของคาเฟอีนโดยส่วนใหญ่แล้วเครื่องดื่มชนิดนี้จะนิยมดื่มในหมู่ผู้ใช้แรงงาน และคนที่ทำงานหนักเนื่องจากเมื่อทำงานเสร็จร่างกายจะอ่อนเพลีย จึงต้องการพลังงานชดเชยกลับม.

ใหม่!!: โลกและเครื่องดื่มชูกำลัง · ดูเพิ่มเติม »

เควซาร์

วาดเควซาร์ส่องสว่างในจินตนาการของศิลปิน เควซาร์ หรือ เควเซอร์ (quasar; IPA: /ˈkweɪzɑr/) เป็นคำย่อของคำว่า Quasistellar Radio Sources หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แหล่งกำเนิดของคลื่นวิทยุคล้ายกับดวงดาว ถูกค้นพบเมื่อทศวรรษที่ 1960 ด้วยกล้องโทรทรรศน์วิทยุ เริ่มแรกเควซาร์ไม่มีหลักฐานระบุแน่นอนว่าคืออะไร แต่จากที่นักดาราศาสตร์ได้สำรวจและค้นพบ เควซาร์คือวัตถุที่มีแสงสว่างเจิดจ้าเป็นอย่างมาก อยู่ห่างไกลจากโลกด้วยระยะทาง 100,000,000 ปีแสง หรือมีระยะทางมากกว่า 9.46052841x1023 กิโลเมตร เคลื่อนที่ในอวกาศด้วยความเร็วสูงประมาณ 177,000 ไมล์ต่อวินาที ซึ่งเป็นความเร็วเกือบเท่ากับแสง เควซาร์อยู่ห่างไกลจากโลกเป็นอย่างมาก จึงมีความเป็นไปได้ว่าอาจจะเป็นวัตถุที่ก่อกำเนิดขึ้นในห้วงอวกาศ ในยุคของการเริ่มแรกแห่งยุคประวัติศาสตร์ของเอกภพ ซึ่งแสงเจิดจ้าที่ได้รับจากเควซาร์นี้ ได้เดินทางมาในห้วงอวกาศด้วยระยะเวลาหลายสิบล้านปี ซึ่งเป็นระยะเวลาที่ยาวนานมาก เควซาร์อาจจะเดินทางในห้วงอวกาศมายาวนานก่อนที่โลกจะถือกำเนิดขึ้น และจากการศึกษาล่าสุดของนักดาราศาสตร์ได้ระบุว่า เควซาร์คือวัตถุมวลขนาดใหญ่ที่มีลักษณะคล้ายกับดาวฤกษ์ คือมีแสงสว่างในตัวเอง แต่เควซาร์แตกต่างจากดาวฤกษ์ตรงที่มีแสงสว่างมากกว่าถึง 1,000 เท่า และไม่สามารถระบุตำแหน่งในห้วงอวกาศได้อย่างแน่นอน เควซาร์อาจจะมีขนาดใหญ่โตมโหฬารใกล้เคียงกับระบบสุริยะของโลกหรือใหญกว่าเป็นหลายร้อยเท่า และหมุนด้วยความเร็วราว 153,000 ไมล์/วินาที (250,000 กิโลเมตร/วินาที) เควซาร์ อาจจะเป็นแกนของดาราจักรใหม่ที่กำลังก่อตัวอยู่ หรืออาจจะเป็นศูนย์กลางของหลุมดำก็ได้.

ใหม่!!: โลกและเควซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

เคอร์บัลสเปซโปรแกรม

อร์บัลสเปซโปรแกรม (Kerbal Space Program) หรือ เคเอสพี (KSP) เป็นเกมจำลองการบินอวกาศ ฟิสสิก และอื่นๆ ปัจจุบันรองรับ Window,mac OS X,Linux,X Box, ตัวเกมจะเป็นการจำลองสถานีอวกาศของมนุษย์ต่างดาวที่เรียกตัวเองว่า Kerbals. ตัวเกมการเล่นมีเครื่องยนต์ฟิสิกส์ และการทำวงโคจรที่สมจริง มีการส่งนักบินขึ้นไปใช้ชีวิตจริง และการโอนถ่ายนักบิน ที่วงโคจรจริง รุ่นแรก ที่เปิดเผยต่อสาธารณชนได้รับการปล่อยตัวเป็นดิจิตอลดาวน์โหลด เมือวันที่ 24 มิถุนายน 2554 โดยทีมผู้พัฒนา Squad และถูกนำเข้าจัดจำหน่ายใน Steam เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2013 ตัวเกมที่ถูกปล่อยออกมาอย่างเป็นทางการ(ไม่ใช่รุ่นเบต้า) เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2015 เคอร์บัลสเปซโปรแกรม มี MOD ออกมารองรับทั้งในแบบบการหาทรัยากรและภารกิจต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก อีกทั้ง ยังได้รับความสนใจจากหน่วยงานราชการและบริษัทต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะ NASA และ Elon Musk of SpaceX. ใน เดือนพฤษภาคม 2560, Squad ได้ประกาศว่าเกมนั้นถูกซื้อโดยผู้จัดจำหน่าย Take-Two Interactive, ผู้ที่จะช่วยสนับสนุน Squad ในการทำให้ console versions ทันสมัยคู่กับเวอร์ชั้นคอมพิวเตอร์, Enhanced Edition ออกบนทุกแพลตฟอร์มในเดือนมกราคม 2561 โดย Private Division, บริษัทย่อยของ Take-Two Interactive.

ใหม่!!: โลกและเคอร์บัลสเปซโปรแกรม · ดูเพิ่มเติม »

เคปเลอร์-20เอฟ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โลกและเคปเลอร์-20เอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เคปเลอร์-37บี

ปเลอร์-37บี (Kepler-37b) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวเคปเลอร์-37 อยู่ในกลุ่มดาวพิณ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2013 เป็นดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดค้นพบรอบดาวลำดับหลักที่มีมวลและรัศมีเล็กน้อยมากกว่าดวงจันทร์ของโลก.

ใหม่!!: โลกและเคปเลอร์-37บี · ดูเพิ่มเติม »

เคปเลอร์-69ซี

ปเลอร์-69ซี (ชื่อเดิม KOI-172.02, K00172.02) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบซูเปอร์เอิร์ธที่ได้รับการยืนยันไปประมาณ 70% มีขนาดใหญ่กว่าโลก โคจรรอบดาวฤกษ์ดาวแคระเหลือง เคปเลอร์-69 ตั้งอยู่ห่างจากโลกประมาณ 2,700 ปีแสง ในกลุ่มดาวหงส์ ค้นพบโดยยานอวกาศเคปเลอร์ ของนาซา การค้นพบครั้งแรกของดาวเคราะห์ที่ได้รับการประกาศเมื่อวันที่ 7 มกราคม 2013 ได้ยืนยันประกาศเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2013 เคปเลอร์-69ซี เป็นเรื่องน่าทึ่ง เพราะช่วงเวลาของการค้นพบ ผู้เป็นหนึ่งในที่สุดดาวเคราะห์คล้ายโลก.

ใหม่!!: โลกและเคปเลอร์-69ซี · ดูเพิ่มเติม »

เต๋า

ปากว้า เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงเต๋าและการก่อกำเนิดสรรพสิ่ง เต๋า (道. เต้า) มีความหมายตามตัวอักษรว่า วิถี หรือ วิธี ต่อมาคัมภีร์เต๋ายุคแรก ได้ใช้คำว่า เต๋า ในความหมายใหม่ว่า เป็นสัจภาวะสูงสุด เป็นอุตรภาพ อัพภันตรภาพ ซึ่งปราศจากรูปร่าง พ้นวิสัยภาษา ความคิด และความเข้าใจของมนุษย์ เชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดและจุดหมายปลายทางของสรรพสิ่ง แม้ความเชื่อนี้จะมีที่มาจากลัทธิเต๋า แต่ก็ได้แพร่หลายไปยังคตินิยมอื่น ๆ ด้วยทั้ง ลัทธิขงจื๊อ ตลอดจนศาสนาและปรัชญาตะวันออกโดยรวม.

ใหม่!!: โลกและเต๋า · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์ไวเวอร์ วานูอาตู

ซอร์ไวเวอร์ วานูอาตู - หมู่เกาะแห่งไฟ (Survivor: Vanuatu — Islands of Fire) เป็นฤดูกาลที่ 9 ของรายการเรียลลิตี้โชว์ เซอร์ไวเวอร์ ถ่ายทำ บนเกาะวานูอาตู ประเทศวานูอาตู แห่งแปซิฟิกตอนใต้ บริเวณนี้เป็นรอยเคลื่อนตัวของโลก มีแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดมากมายบนหมู่เกาะแทบนี้จนได้ชื่อว่า วงแหวนแห่งไฟ บนเกาะแห่งนี้มีชนเผ่ากลุ่มหนึ่งที่มีวัฒนธรรมที่ชายเป็นใหญ่ และมีพิธีกรรมที่ต้องสืบต่อจากปู่สู่พ่อ พ่อสู่ลูกชายเป็นทอดๆ ไม่ว่าจะเป็นพิธีโดดหอโดยใช้เพียงเถาวัลย์ไม่กี่เส้นเพื่อแสดงถึงความกล้าหาญของเพศชาย นอกจากนั้นบนเกาะนี้หมู (ป่า) ถือว่าเป็นรางวัลและของสังเวยอย่างดีบนเผ่า ส่วนต่างๆของหมู ไม่ว่าจะเป็นกะโหลก น้ำมันหมู กลายเป็นส่วนประกอบสำคัญของพิธีกรรมบนเกาะนี้ วานูอาตูเป็นฤดูกาลที่ 2 ที่เผ่าถูกแบ่งออกเป็นเผ่าชายล้วนและเผ่าหญิงล้วน หลังจากที่ฤดูกาลที่ 6 เคยทำมา การออกอากาศตอนแรกสำหรับในประเทศไทยสามารถรับชมได้ทาง True Visions ซึ่งจะฉายหลังจากที่ทางซีบีเอสฉายจบแต่ละตอนไปแล้วเป็นเวลา 7 ชั่วโมงซึ่งตรงกับวันที่ 17 กันยายน..

ใหม่!!: โลกและเซอร์ไวเวอร์ วานูอาตู · ดูเพิ่มเติม »

เปาโล มัลดีนี

ปาโล มัลดีนี (Paolo Maldini) เกิดเมื่อวันที่26 มิถุนายน ค.ศ. 1968 เป็นนักฟุตบอลชาวอิตาลี เล่นให้กับสโมสรฟุตบอลเอซีมิลานตลอดการค้าแข้ง มัลดีนีได้ชื่อว่าเป็นกองหลังระดับโลก โดยเฉพาะการเล่นในฝั่งซ้าย เปาโล มัลดีนี เป็นลูกชายของเชซาเร มัลดีนี นักฟุตบอลที่มีชื่อเสียงอีกคนหนึ่งของอิตาลี เปาโล มัลดีนี เล่นให้กับสโมสรฟุตบอลเอซีมิลานมาโดยตลอด ในระยะเวลากว่า 23 ปี เล่นให้กับมิลานกว่า 600 นัด เล่นมากที่สุดเป็นสถิติของสโมสร โดยนัดแรกที่เล่นในเซเรียอา พบกับ อูดิเนเซ่ ผลเสมอกันไป 1-1 คือวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1985 และนัดที่เล่นเป็นนัดที่ 600 เป็นนัดที่เจอทีม คาตาเนีย ผลเสมอ 1-1 คือวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 2007 มัลดีนีเป็นกองหลังที่ดีคนหนึ่งของโลก มีความเยือกเย็นอ่านทางบอลได้ดี มีความแข็งแกร่งและเข้าบอลได้ดี ต่ำแหน่งที่เค้าถนัดคือแบ็กซ้.

ใหม่!!: โลกและเปาโล มัลดีนี · ดูเพิ่มเติม »

เปตรา

right เปตรา (จากภาษากรีก πέτρα แปลว่าหิน ภาษาอารบิก البتراء) คือนครหินแกะสลักโบราณที่ซ่อนตัวอย่างลึกลับในหุบเขาวาดี มูซา หุบเขาที่ตั้งอยู่ระหว่างทะเลเดดซีกับอ่าวอะกาบาในประเทศจอร์แดน นครนี้แต่เดิมนั้นเป็นนครแห่งการค้าขนาดใหญ่ซึ่งต่อมาถูกละทิ้งเป็นเวลานานกว่า 700 ปี จนเมื่อมีนักสำรวจชาวสวิตเซอร์แลนด์ โยฮันน์ ลุควิก บวร์กฮาร์ท เดินทางผ่านมาพบเห็นเข้าเมื่อปี พ.ศ. 2355 (ค.ศ. 1812) นครเปตราได้รับลงทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลกเมื่อปี..

ใหม่!!: โลกและเปตรา · ดูเพิ่มเติม »

เนบิวลากระดูกงูเรือ

นบิวลากระดูกงูเรือ (Carina Nebula) หรือรู้จักกันดีในชื่อ เนบิวลใหญ่ในกระดูกงูเรือ, เนบิวลากระดูกงูเรืออีต้า หรือNGC 3372 เป็นเนบิวลาสว่างขนาดใหญ่ที่อยู่รอบ ๆ กระจุกดาวเปิด Eta Carinae และHD 93129A สองดาวส่วนใหญ่และสว่างในทางช้างเผือกของเราอยู่ในหมู่พวกเขา เนบิวลานี้อยู่ห่างระหว่างประมาณ 6,500 กับ 10,000 ปีแสงจากโลก ปรากฏอยู่ในกลุ่มดาวกระดูกงูเรือ และตั้งอยู่ในแขนกระดูกงูเรือ-คนยิงธนู เนบิวลานี้เป็นเนบิวลาประเภทดาวฤกษ์ O เนบิวลานี้เป็นเนบิวลาเป็นหนึ่งในเนบิวล่ากระจายแสงที่ใหญ่ที่สุดในท้องฟ้าของเรา แม้ว่ามันจะเป็นบางส่วนสี่เท่าที่มีขนาดใหญ่และแม้กระทั่งสว่างกว่าเนบิวลาที่โด่งดัง คือ เนบิวลานายพราน เนบิวลากระดูกงูเรือ เป็นที่รู้จักกันมากน้อย เนื่องจากตำแหน่งห่างไกลในซีกใต้ ค้นพบโดยนีกอลา หลุยส์ เดอ ลากาย ในปี 1751–52 จากที่แหลมกู๊ดโฮป.

ใหม่!!: โลกและเนบิวลากระดูกงูเรือ · ดูเพิ่มเติม »

เนบิวลาปู

นบิวลาปู (บัญชีการตั้งชื่อ M1, NGC 1952 หรือ Taurus A) เป็นซากซูเปอร์โนวาและเนบิวลาลมพัลซาร์ในกลุ่มดาววัว เนบิวลานี้ได้รับการสังเกตโดยจอห์น เบวิส ในปี..

ใหม่!!: โลกและเนบิวลาปู · ดูเพิ่มเติม »

BD+14°4559 b

BD+14°4559 b เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 158 ปีแสงตั้งอยู่ในกลุ่มดาวม้าบิน โคจรรอบดาวฤกษ์ BD+14°4559 มีมวล 147% ของดาวพฤหัสบดี และใช้เวลา 0.74 ปีโลกโคจรรอบดาวฤกษ์ ดาวเคระาห์ดวงนี้ค้นพบเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน..

ใหม่!!: โลกและBD+14°4559 b · ดูเพิ่มเติม »

Expo Zaragoza 2008

Expo Zaragoza 2008 งานแสดงนิทรรศการนานาชาติที่เมืองซาราโกซา ราชอาณาจักรสเปน ระหว่างวันที่ 14 มิถุนายน ถึง 14 กันยายน 2551 ณ เมืองซาราโกซา ราชอาณาจักรสเปน มีวัตถุประสงค์เพื่อผลักดันให้ประเทศต่างๆ เห็นความสำคัญเรื่องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนและให้ความสำคัญของทรัพยากรน้ำต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิตตลอดจนการป้องกันปัญหาความขัดแย้งของภูมิภาค เรื่องการขาดแคลนทรัพยากรน้ำในอนาคต ทั้งนี้ ซาราโกซาได้รับคัดเลือกให้เป็นเมืองศูนย์กลางในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแห่งทศวรรษ (ค.ศ.2005 – 2015) ขององค์การสหประชาชาติด้ว.

ใหม่!!: โลกและExpo Zaragoza 2008 · ดูเพิ่มเติม »

Fortnum & Mason

ฟอร์ตนัมและเมสัน หรือที่เรียกติดปากกันสั้นๆว่า ฟอร์ตนัม เป็นห้างสรรพสินค้าที่มีชื่อเสียงและยังมีใบประกาศกิจการกับพระราชวัง ตั้งอยู่ตรงใจกลางลอนดอน สำนักงานใหญ่ของมันตั้งอยู่ที่ 181 พิเคาดิลลี่ (181 Piccadilly) ถูกก่อตั้งในปี ค.ศ. 1707 โดย วิลเลี่ยม ฟอร์ทนัม (William Fortnum) และ ฮิว เมสัน (Hugh Mason) เป็นสมบัติส่วนตัวของกองทุนวิททิงตัน (Wittington Investments Ltd.) ฟอร์ทนัมและเมสันเป็นที่ขึ้นชื่อในความเป็นสากล และคุณภาพสินค้าที่ดีมากจนเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของบริทิช มันเป็นที่รู้จักในเสน่ห์ความเป็นแก่นแท้ของอังกฤษ โดยเป็นร้านค้าร้านหนึ่งที่มีชื่อเสียงเป็นอันดับต้นๆ ของโลก ที่นี่เคยได้ถือใบประกาศจากพระราชมามากกว่า 150 ปี และเป็นร้านค้าที่ราชวงศ์ชาวอังกฤษเข้ามาใช้บริการอย่างใกล้ชิดการถูกก่อตั้งเป็นร้านขายของสดในช่วงแรก ทำให้ฟอร์ทนัมเป็นที่รู้ตักในสรรพนามว่าเป็นที่จำหน่ายอาหารคุณภาพเยี่ยมให้แก่ชนชั้นสูงของอังกฤษ ถึงแม้ว่าจะถูกพัฒนาให้เป็นห้างสรรพสินค้า แต่มันก็ยังมุ่งเน้นไปในการจำหน่ายของที่หลากหลาย โดยเฉพาะของใช้พื้นฐานทั่วๆไป ที่ตั้งของที่นี่ก็อยู่ที่แหล่งร้านขายน้ำชา และอยู่ติดกับร้านทำผม ที่มุ่งเน้นเรื่องการทำผมยาวโดยเฉ.

ใหม่!!: โลกและFortnum & Mason · ดูเพิ่มเติม »

MOA-2007-BLG-192Lb

MOA-2007-BLG-192Lb บางครั้งจะเรียกสั้นๆว่า MOA-192 b เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 3,000 ปีแสง อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ดาวดวงนี้ค้นพบการโคจรรอบดาวแคระน้ำตาล หรือมวลต่ำ MOA-2007-BLG-192L โดยมีมวลประมาณ 3.3 เท่าของโลก และเป็นหนึ่งในดาวเคราะห์นอกระบบที่เล็กที่สุดเท่าที่ทราบมา มันถูกพบเมื่อเกิดจากไมโครเลนส์ของแรงโน้มถ่วง เหตุการณ์ในวันที่ 24 พฤษภาคม ค.ศ. 2007 ซึ่งได้รับการตรวจพบว่าเป็นส่วนหนึ่งของหอสังเกตการณ์ไมโครเลนส์ในดาราศาสตร์ ในการสำรวจที่หอดูดาวมหาวิทยาลัยเมานต์จอห์น ในประเทศนิวซีแลนด์ เป็นระบบดาวเคราะห์หลักที่มีขนาดเล็กเช่นกัน ที่ประมาณ 6% ของมวลดวงอาทิตย์ มันอาจจะเป็นขนาดเล็กเกินไปที่จะรักษาปฏิกิริยาฟิวชัน ทำให้ประกายรางเป็นดาวแคระน้ำตาล นอกจากนี้ระยะทางโดยประมาณที่คาดการณ์ระหว่าง MOA-2007-BLG-192Lb และหลักคือประมาณ 0.62 หน่วยดาราศาสตร์ ซึ่งหมายความว่าดาวเคราะห์ก่อตัวขึ้นอาจจะมีจำนวนมากของน้ำแข็งและก๊าซมากขึ้นเช่น ดาวเนปจูน (ดาวเคราะห์น้ำแข็งยักษ์) ในองค์ประกอบมากกว่าโลก (ดาวเคราะห์คล้ายโลก) ตามอ้างอิงจากนักดาราศาสตร์ เดวิด เบนเนตต์ ของมหาวิทยาลัยนอเตอร์เดม, Richard A. Kerr, ScienceNOW Daily News, June 2, 2008.

ใหม่!!: โลกและMOA-2007-BLG-192Lb · ดูเพิ่มเติม »

MOA-2007-BLG-400Lb

MOA-2007-BLG-400Lb เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 20,000 ปีแสง ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู โคจรรอบดาวฤกษ์MOA-2007-BLG-400L.

ใหม่!!: โลกและMOA-2007-BLG-400Lb · ดูเพิ่มเติม »

Onegai My Melody

Onegai My Melody (おねがいマイメロディ) เป็นอะนิเมะชุดตามตัวละครจาก บริษัท ซานริโอ จำกัด, มายเมโลดี้ ที่ผลิตโดยสตูดิโอโคเมทชุดแรกที่ได้รับการปล่อยตัวระหว่าง 3 เมษายน 2005 แล อซาก้าที่มีการขยายจาก 52 ตอนที่ ผลสืบเนื่อง, Onegai My Melody ~Kuru Kuru Shuffle!~ เริ่มที่จะออกอากาศที่ 2 เมษายน 2006 และสิ้นสุดเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2007 ในผลสืบเนื่องต่อไป Onegai My Melody Sukkiri♪ แต่ละตอนที่ถูกตัดถึง 10 นาที ชุดนี้ยังได้รับการเผยแพร่ในประเทศญี่ปุ่นโดยแอนิแมกซ์, ทีวีโตเกียวและโอซาก้าทีวี ขณะนี้ไม่มีแผนการที่จะนำชุดเหล่านี้ไปอเมริกาเป็น แฟรนไชส์​​อะนิเมะที่สิ้นสุดวันที่ 30 มีนาคม 2009 และถูกแทนที่ด้วย จิเวลเพ็ท อันยมณีมหัศจรร.

ใหม่!!: โลกและOnegai My Melody · ดูเพิ่มเติม »

PSR B1257+12

PSR B1257+12 หรือบางครั้งเรียกอย่างย่อว่า PSR 1257+12 เป็นพัลซาร์ดวงหนึ่ง อยู่ห่างจากโลกราว 980 ปีแสง ในกลุ่มดาวหญิงสาว ค้นพบโดยนักดาราศาสตร์ชาวโปแลนด์ อเล็กซานเดอร์ โวลส์ชาน เมื่อปี..

ใหม่!!: โลกและPSR B1257+12 · ดูเพิ่มเติม »

Slavonic Channel International

Slavonic Channel International (Міжнародний Слов'янський Канал, Международный Славянский Канал).

ใหม่!!: โลกและSlavonic Channel International · ดูเพิ่มเติม »

SN 1054

SN 1054 (ซูเปอร์โนวาปู) เป็นซูเปอร์โนวาที่สามารถมองเห็นได้จากโลกอย่างกว้างขวางในปี ค.ศ. 1054 ดาวฤกษ์ต้นกำเนิดซูเปอร์โนวาตั้งอยู่ในดาราจักรทางช้างเผือกห่างจากโลก 6,300 ปีแสงและเป็นการระเบิดประเภทแกนยุบ ซากที่เหมือนเมฆของ SN 1054 เป็นที่รู้จักกันว่า เนบิวลาปู เนบิวลาปูมีชื่ออื่นว่าเมสสิเยร์ 1 หรือ เอ็ม 1 ซึ่งเป็นวัตถุท้องฟ้าของเมสสิเยร์วัตถุแรกที่ได้รับการบันทึกในปี..

ใหม่!!: โลกและSN 1054 · ดูเพิ่มเติม »

1 E+14 m²

1 E+14 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 100 ล้าน ถึง 1,000 ล้านตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 100 ล้านตารางกิโลเมตร ---- มหาสมุทรแปซิฟิก มีพื้นที่ประมาณ 169.2 ล้าน ตร.กม. (เรียงจากซ้ายไปขวา)'''ดาวพุธ''''''ดาวศุกร์''' มีพื้นที่ 460 ล้าน ตร.กม.'''โลก''' มีพื้นที่ 510 ล้าน ตร.กม.'''ดาวอังคาร''' มีพื้นที่ 144.8 ล้าน ตร.กม.

ใหม่!!: โลกและ1 E+14 m² · ดูเพิ่มเติม »

1 E+22 m²

1 E+22 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 10,000,000,000 ถึง 100,000,000,000 ล้านตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 1 หมึ่นล้านล้านตารางกิโลเมตร ---- พื้นผิวภายในวงโคจรของดาวพุธมีพื้นที่ 11,000,000,000 ล้าน ตร.กม.

ใหม่!!: โลกและ1 E+22 m² · ดูเพิ่มเติม »

1 E23 m

ำหรับการเปรียบเทียบอันดับของขนาด (อังกฤษ: orders of magnitude) หน้านี้เป็นเป็นรายชื่อความยาวตั้งแต่ 100 Zm (100,000,000,000,000,000 กม.) ถึง 1 Ym (1,000,000,000,000,000,000 กม.) (1023 และ 1024 ม.) ---- ความยาวน้อยกว่า 10,000,000 ปีแสง ----.

ใหม่!!: โลกและ1 E23 m · ดูเพิ่มเติม »

1 E26 m

ำหรับการเปรียบเทียบอันดับของขนาด (อังกฤษ: orders of magnitude) หน้านี้เป็นเป็นรายชื่อความยาวตั้งแต่ 100 Ym (100,000,000,000,000,000,000 กม.) ถึง 1,000 Ym (1,000,000,000,000,000,000,000 กม.) (1026 และ 1027 ม.) ---- ความยาวน้อยกว่า 10,000,000,000 ปีแสง ----.

ใหม่!!: โลกและ1 E26 m · ดูเพิ่มเติม »

1 E3 m

ำหรับการเปรียบเทียบอันดับของขนาด (อังกฤษ: orders of magnitude) หน้านี้เป็นเป็นรายชื่อความยาวที่อยู่ระหว่าง 1 กม. และ 10 กม.

ใหม่!!: โลกและ1 E3 m · ดูเพิ่มเติม »

1 E4 m

ำหรับการเปรียบเทียบอันดับของขนาด (อังกฤษ: orders of magnitude) หน้านี้เป็นเป็นรายชื่อความยาวที่อยู่ระหว่าง 10 กม. และ 100 กม.

ใหม่!!: โลกและ1 E4 m · ดูเพิ่มเติม »

1 E6 m

ำหรับการเปรียบเทียบอันดับของขนาด (อังกฤษ: orders of magnitude) หน้านี้เป็นเป็นรายชื่อความยาวตั้งแต่ 1 Mm (1,000 กม.) ถึง 10 Mm (10,000 กม.) (106 และ 107 ม.) ---- ความยาวน้อยกว่า 106 เมตร ----.

ใหม่!!: โลกและ1 E6 m · ดูเพิ่มเติม »

1 E7 m

ำหรับการเปรียบเทียบอันดับของขนาด (อังกฤษ: orders of magnitude) หน้านี้เป็นเป็นรายชื่อความยาวตั้งแต่ 10 Mm (10,000 กม.) ถึง 100 Mm (100,000 กม.) (106 และ 107 ม.) ---- ความยาวน้อยกว่า 107 เมตร ----.

ใหม่!!: โลกและ1 E7 m · ดูเพิ่มเติม »

1 E8 m

ำหรับการเปรียบเทียบอันดับของขนาด (อังกฤษ: orders of magnitude) หน้านี้เป็นเป็นรายชื่อความยาวตั้งแต่ 100 Mm (100,000 กม.) ถึง 1 Gm (1,000,000 กม.) (108 และ 109 ม.) ---- ความยาวน้อยกว่า 108 เมตร ----.

ใหม่!!: โลกและ1 E8 m · ดูเพิ่มเติม »

14 กรกฎาคม

วันที่ 14 กรกฎาคม เป็นวันที่ 195 ของปี (วันที่ 196 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 170 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โลกและ14 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 เฮอร์คิวลีส ซี

14 เฮอร์คิวลีส ซี (14 Herculis c) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 59 ปีแสง ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวเฮอร์คิวลีส ซึ่งโคจรอยู่รอบ ๆ ดาวฤกษ์ 14 เฮอร์คิวลีสกับมวลที่อาจจะทำให้ดาวเคราะห์แก๊สยักษ์ประมาณขนาดเดียวกับดาวพฤหัสบดีแต่มีขนาดใหญ่กว่า ดาวเคราะห์ดวงนี้ถูกค้นพบเมื่อ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2005 และยืนยันเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006 อ้างอิงถึงการวิเคราะห์ล่าสุด การดำรงอยู่ของดาวเคราะห์ดวงที่สองในระบบ 14 เฮอร์คิวลีส คือ "ชัดเจน" การยืนยันอย่างแน่ชัด แต่ในค่าพารามิเตอร์ของดาวเคราะห์ดวงนี้จะไม่เป็นที่รู้จักอย่างแม่นยำ อาจเป็นใน 4:01 กับเสียงดาวเคราะห์วงใน 14 เฮอร์คิวลีส บี.

ใหม่!!: โลกและ14 เฮอร์คิวลีส ซี · ดูเพิ่มเติม »

15

15 (สิบห้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 14 (สิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 16 (สิบหก).

ใหม่!!: โลกและ15 · ดูเพิ่มเติม »

15 กรกฎาคม

วันที่ 15 กรกฎาคม เป็นวันที่ 196 ของปี (วันที่ 197 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 169 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โลกและ15 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 ตุลาคม

วันที่ 15 ตุลาคม เป็นวันที่ 288 ของปี (วันที่ 289 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 77 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โลกและ15 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 มกราคม

วันที่ 16 มกราคม เป็นวันเกิดของผมเอง.

ใหม่!!: โลกและ16 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

16 มิถุนายน

วันที่ 16 มิถุนายน เป็นวันที่ 167 ของปี (วันที่ 168 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 198 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โลกและ16 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

162173 รีวงู

162173 รีวงู (Ryugu) หรือ ตามการตั้งชื่อดาวเคราะห์น้อยชั่วคราว เป็นเทห์ฟ้าใกล้โลก (NEO) และเป็นดาวเคราะห์น้อยที่มีศักยภาพเป็นอันตรายต่อโลก (PHO) ดวงหนึ่งในกลุ่มอะพอลโล มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 กิโลเมตร ถือเป็นเทหวัตถุสีเข้มที่จัดอยู่ในชนิดของสเปกตรัมประเภท Cg ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นดาวเคราะห์น้อยทั้งประเภท G และ C ดาวเคราะห์น้อยรีวงูเป็นเป้าหมายของการสำรวจโดยยานสำรวจอวกาศ ฮายาบูสะ2 ซึ่งถูกปล่อยจากโลกเมื่อเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: โลกและ162173 รีวงู · ดูเพิ่มเติม »

17 สิงหาคม

วันที่ 17 สิงหาคม เป็นวันที่ 229 ของปี (วันที่ 230 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 136 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โลกและ17 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 พฤษภาคม

วันที่ 18 พฤษภาคม เป็นวันที่ 138 ของปี (วันที่ 139 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 227 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โลกและ18 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 สิงหาคม

วันที่ 19 สิงหาคม เป็นวันที่ 231 ของปี (วันที่ 232 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 134 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โลกและ19 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 ธันวาคม

วันที่ จันทร์ 19 ธันวาคม เป็นวันที่ 353 ของปี (วันที่ 354 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โลกและ19 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 กรกฎาคม

วันที่ 2 กรกฎาคม เป็นวันที่ 183 ของปี (วันที่ 184 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 182 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โลกและ2 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 คนไม่ใช่คน 3: สงครามสมองกลพันธุ์ใหม่

2 คนไม่ใช่คน 3: สงครามสมองกลพันธุ์ใหม่ (Universal Soldier: Regeneration, Universal Soldier: A New Beginning) เป็นภาพยนตร์แอคชั่นอเมริกันในปี 2009 กำกับภาพยนตร์โดย จอห์น ไฮยามส์ ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาค 3 ในภาพยนตร์ชุด ยูนิเวอร์แซลโซลด์เยอร์ นำแสดงโดย ฌ็อง-โกลด ว็อง ดาม, ดอล์ฟ ลันด์เกรน, แอนไดร อาลอฟสกี, ไมค์ ไพล์, แกรี คูเปอร์, คอรีย์ จอห์นสัน, เคอร์รี เชล, อะกิ อัฟนี.

ใหม่!!: โลกและ2 คนไม่ใช่คน 3: สงครามสมองกลพันธุ์ใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

20 กุมภาพันธ์

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 51 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 314 วันในปีนั้น (315 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: โลกและ20 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

2012 ดีเอ14

2012 ดีเอ14 (2012 DA14) เป็นดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 50 เมตร มีมวลประมาณ 190,000 เมตริกตัน ถูกค้นพบโดยนักดาราศาสตร์ที่หอดูดาวลาซากรา กรานาดา ประเทศสเปน เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 เจ็ดวันหลังจากโคจรเฉียดใกล้โลกเป็นระยะทาง 0.0174 AU (2,600,000 กิโลเมตร) (K12D14A) นักดาราศาสตร์คำนวณว่า 2012 ดีเอ14 จะโคจรเข้าใกล้โลกอีกครั้งในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 โดยอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางของโลกเป็นระยะทาง 0.0002276 AU (34,050 กิโลเมตร) โดยเฉียดผิวโลกเป็นระยะทางเพียง 27,700 กิโลเมตร เป็นสถิติต่ำสุดที่มีการบันทึกไว้ สำหรับดาวเคราะห์น้อยขนาดนี้.

ใหม่!!: โลกและ2012 ดีเอ14 · ดูเพิ่มเติม »

21 กันยายน

วันที่ 21 กันยายน เป็นวันที่ 264 ของปี (วันที่ 265 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 101 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โลกและ21 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

23 สิงหาคม

วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โลกและ23 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 พฤษภาคม

วันที่ 24 พฤษภาคม เป็นวันที่ 144 ของปี (วันที่ 145 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 221 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โลกและ24 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 กรกฎาคม

วันที่ 24 กรกฎาคม เป็นวันที่ 205 ของปี (วันที่ 206 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 160 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โลกและ24 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 สิงหาคม

วันที่ 24 สิงหาคม เป็นวันที่ 236 ของปี (วันที่ 237 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 129 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โลกและ24 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

2เอส3

ปืนใหญ่อัตตาจร 2เอส3 (2S3 Akatsiya) เป็นปืนใหญ่อัตตาจรขนาด 152 มม.ที่ถูกสร้างขึ้นโดยสหภาพโซเวียตในช่วงสงครามเย็น ซึ่งได้รับการพัฒนามาจาก ดี-20 ขนาด 152 มม./ 5.98 นิ้ว และใช้เครื่องยนต์แบบผสม ซึ่งในเวลาปรกติจะใช้น้ำมันดีเซลและในช่วงเวลาฉุกเฉินสามารถใช้เชื้อเพลิงชนิดอื่น ป้อมปืนหมุนได้ 360 องศา และปรับใช้ปืนต่อต้านอากาศยานได้ กระบอกปืนขนาด 152 มม.

ใหม่!!: โลกและ2เอส3 · ดูเพิ่มเติม »

3 กุมภาพันธ์

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 34 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 331 วันในปีนั้น (332 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: โลกและ3 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

3 มกราคม

วันที่ 3 มกราคม เป็นวันที่ 3 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 362 วันในปีนั้น (363 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: โลกและ3 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

3 ตุลาคม

วันที่ 3 ตุลาคม เป็นวันที่ 276 ของปี (วันที่ 277 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 89 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โลกและ3 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 พฤศจิกายน

วันที่ 30 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 334 ของปี (วันที่ 335 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 31 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โลกและ30 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

30 ตุลาคม

วันที่ 30 ตุลาคม เป็นวันที่ 303 ของปี (วันที่ 304 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 62 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โลกและ30 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

4

4 (สี่) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 3 (สาม) และอยู่ก่อนหน้า 5 (ห้า).

ใหม่!!: โลกและ4 · ดูเพิ่มเติม »

4 ตุลาคม

วันที่ 4 ตุลาคม เป็นวันที่ 277 ของปี (วันที่ 278 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 88 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โลกและ4 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

47 หมีใหญ่ บี

47 หมีใหญ่ บี (47 Ursae Majoris b) หรือตะเภาทอง เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 46 ปีแสง ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวหมีใหญ่ ดาวเคราะห์ดวงนี้ถูกค้นพบที่ตั้งอยู่ในวงโคจรเป็นระยะเวลานานรอบดาวฤกษ์ 47 หมีใหญ่ ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1996 มีมวลน้อยกว่า 2.53 เท่าของดาวพฤหัสบดี.

ใหม่!!: โลกและ47 หมีใหญ่ บี · ดูเพิ่มเติม »

55 ปู

55 ปู หรือ โร1 ปู (55 Cancri) เป็นระบบดาวคู่ที่อยู่ห่างจากโลกราว 41 ปีแสงในบริเวณกลุ่มดาวปู ระบบดาวนี้ประกอบด้วยดาวแคระเหลือง 1 ดวง และดาวแคระแดงขนาดเล็กกว่าอีก 1 ดวง ทั้งสองดวง นี้อยู่ห่างกันมากกว่าระยะห่างจากโลกถึงดวงอาทิตย์มากกว่า 1,000 เท่า นับถึง..

ใหม่!!: โลกและ55 ปู · ดูเพิ่มเติม »

55 ปู อี

55 ปู อี (55 Cancri e) หรือมีชื่อย่อว่า 55 Cnc e เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวฤกษ์คล้ายดวงอาทิตย์ 55 ปู เอ ดาวเคราะห์ดวงนี้มีมวลประมาณ 7.8 มวลโลกและเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 เท่าของโลก จึงถูกจัดเป็นซูเปอร์เอิร์ธดวงแรกที่ถูกค้นพบรอบดาวฤกษ์ในแถบลำดับหลัก โดยที่ถูกค้นพบก่อน กลีเซอ 876 ดี ประมาณหนึ่งปี มันใช้เวลาเพียงไม่ถึง 18 ชั่วโมงเพื่อโคจรรอบดาวฤกษ์แม่ของมัน และเป็นดาวเคราะห์วงในสุดในระบบดาวเคราะห์ของมัน 55 ปู อี ถูกค้นพบเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: โลกและ55 ปู อี · ดูเพิ่มเติม »

61 หญิงสาว บี

61 หญิงสาว บี (ชื่อย่อ 61 Vir b) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบวงโคจรที่ 5 ที่ส่องสว่างปรากฏG-type star คือ 61 หญิงสาว ดาวเคราะห์ดวงนี้มีมวลขั้นต่ำเป็น 5.1 เท่าของโลก และเป็นตัวอย่างของดาวเคราะห์ซูเปอร์เอิร์ธ มันโคจรอยู่ใกล้กับดาวฤกษ์ ที่ระยะห่างจาก 0.050201 AU กับความผิดปกติของ 0.12 ดาวเคราะห์ดวงนี้ค้นพบเมื่อ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: โลกและ61 หญิงสาว บี · ดูเพิ่มเติม »

61 หญิงสาว ดี

61 หญิงสาว ดี (ชื่อย่อ 61 Vir d) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบ วงโคจรที่ 5 ที่ส่องสว่างปรากฏG-type star คือ 61 หญิงสาวดาวเคราะห์ดวงนี้มีมวลขั้นต่ำเป็น 22.9 เท่าของโลก โคจรเกือบครึ่งหนึ่งระยะทางที่ดาวเป็นโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์มีค่า eccentricity 0.35 ดาวเคราะห์ดวงนี้มักจะเป็นดาวแก๊สยักษ์เหมือนกับ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ดาวเคราะห์ดวงนี้ค้นพบเมื่อ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: โลกและ61 หญิงสาว ดี · ดูเพิ่มเติม »

61 หญิงสาว ซี

61 หญิงสาว ซี (ชื่อย่อ 61 Vir c) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบ วงโคจรที่ 5 ที่ส่องสว่างปรากฏG-type star คือ 61 หญิงสาวดาวเคราะห์ดวงนี้มีมวลขั้นต่ำเป็น 18.2 เท่าของโลก และเป็นหนึ่งในห้าวงโคจรดาวระยะทางไปขณะที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ที่มีระยะทางแม่นยำถึง 0.2175 AU กับความผิดปกติ 0.14 ดาวเคราะห์ดวงนี้มักจะเป็นดาวแก๊สยักษ์เหมือนกับ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ดาวเคราะห์ดวงนี้ค้นพบเมื่อ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: โลกและ61 หญิงสาว ซี · ดูเพิ่มเติม »

7

7 (เจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 6 (หก) และอยู่ก่อนหน้า 8 (แปด).

ใหม่!!: โลกและ7 · ดูเพิ่มเติม »

7 กุมภาพันธ์

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 38 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 327 วันในปีนั้น (328 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: โลกและ7 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

80 วันรอบโลก

80 วันรอบโลก (Le tour du monde en quatre-vingts jours; Around the World in Eighty Days) เป็นนวนิยายผจญภัย-วิทยาศาสตร์ เขียนโดยฌูล แวร์น ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1873.

ใหม่!!: โลกและ80 วันรอบโลก · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Earthดาวเคราะห์โลก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »