โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โมโตโรลา

ดัชนี โมโตโรลา

มโตโรลา อิงค์ (Motorola, Inc.) เป็นบริษัทด้านการสื่อสารข้ามชาติ เป็นที่รู้จักในฐานะผู้ผลิตวิทยุสื่อสาร เซมิคอนดักเตอร์ โทรศัพท์มือถือ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ เมืองชามเบิร์ก รัฐอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริก.

18 ความสัมพันธ์: ฟรีสเกลเซมิคอนดักเตอร์พอลล่า เทเลอร์การสื่อสารสนามใกล้มารายห์ แครีรายชื่ออุปกรณ์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์หน่วยประมวลผลกลางอนันดา เอเวอร์ริ่งแฮมจำนวนจุดลอยตัวซิกส์ซิกมาโมโตโรลา ซี168โมโตโรลาโมบิลิตีโมโตโรล่า 6800โอเพนแฮนด์เซตอัลไลแอนซ์โทรศัพท์เคลื่อนที่ไมโครโพรเซสเซอร์เพาเวอร์พีซีเมอร์คาวาMoto X

ฟรีสเกลเซมิคอนดักเตอร์

ฟรีสเกล เซมิคอนดักเตอร์ บริษัท วิสาหกิจระหว่างประเทศ (อังกฤษ: Freescale Semiconductor) มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่เมือง ออสติน รัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา เดิมเป็นแผนกหนึ่งของบริษัทโมโตโรล่า โดยโมโตโลล่าได้จัดตั้งแผนกนี้ในปี พ.ศ. 2491 ที่เมืองฟีนิกซ์ มลรัฐอริโซน่า เริ่มแรกทำการผลิตทรานซีสเตอร์สำหรับ วิทยุในรถยนต์ มีชื่อเสียงในการผลิต ทรานซีสเตอร์ที่มีกำลังวัตต์สูง ในปี พ.ศ. 2503 แผนกนี้ได้เข้าร่วมในโครงการส่งคนไปลงดวงจันทร์ หรือที่รู้จักกันในชื่อ โครงการอพอลโล่ โดยได้มีส่วนในการผลิต ชิ้นส่วนเซมิคอนดักเตอร์ นับพันชิ้นในโครงการนี้ ในระหว่างนั้น บริษัท ยังได้มีส่วนร่วมในการผลิตทรานซีสเตอร์ สำหรับ วิทยุสื่อสารสองทาง ยี่ห้อโมโตโลล่า ซึ่งเป็นที่นิยมมาจนถึงปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2517 บริษัทได้ผลิตไมโครโปรเซสเซอร์ เป็นครั้งแรกในชื่อรุ่น MC68000 ซึ่งพัฒนาการในรุ่นต่อๆมา ชิปตัวนี้เป็นที่นิยมกันมากในการประกอบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในสมัยนั้น เช่น แอปเปิลทู เป็นต้น 8 มีนาคม พ.ศ. 2557 พนักงาน 20 คนของฟรีสเกล เซมิคอนดักเตอร์ได้หายไปกับเที่ยวบิน มาเลย์เซียแอร์ไลน์ MH370 หมวดหมู่:บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์ก หมวดหมู่:โมโตโรลา หมวดหมู่:ตราสินค้าของอเมริกัน.

ใหม่!!: โมโตโรลาและฟรีสเกลเซมิคอนดักเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พอลล่า เทเลอร์

อลล่า เทเลอร์ (ชื่อจริง: พัลลภา มาร์กาเรต เทย์เลอร์; เกิด: 20 มกราคม พ.ศ. 2526) หรือชื่อภาษาไทย พัลลภา ศุภอักษร เป็นนักแสดงหญิงและนางแบบลูกครึ่งไทย-อังกฤษ.

ใหม่!!: โมโตโรลาและพอลล่า เทเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

การสื่อสารสนามใกล้

การสื่อสารสนามใกล้ (near field communication; NFC) เป็นเทคโนโลยีสื่อสารไร้สายระยะสั้นระยะประมาณ 4 ซม.

ใหม่!!: โมโตโรลาและการสื่อสารสนามใกล้ · ดูเพิ่มเติม »

มารายห์ แครี

ำหรับอัลบั้มเพลงในชื่อเดียวกันนี้ ดูที่ มารายห์ แครี (อัลบั้ม) มารายห์ แครี (เกิด 27 มีนาคม ค.ศ. 1970) เป็นนักร้องชาวอเมริกา นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์เพลง และนักแสดง เธอมีผลงานเปิดตัวครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: โมโตโรลาและมารายห์ แครี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออุปกรณ์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์

น็กซัส 9 แอนดรอยด์ เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับอุปกรณ์พกพา เช่น โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ เน็ตบุ๊ก ทำงานบนลินุกซ์ เคอร์เนล เริ่มพัฒนาโดยบริษัทแอนดรอยด์ (อังกฤษ: Android Inc.) จากนั้นบริษัทแอนดรอยด์ถูกซื้อโดยกูเกิล และนำแอนดรอยด์ไปพัฒนาต่อ ภายหลังถูกพัฒนาในนามของ Open Handset Alliance ทางกูเกิลได้เปิดให้นักพัฒนาสามารถแก้ไขโค้ดต่าง ๆ ด้วยภาษาจาวา และควบคุมอุปกรณ์ผ่านทางชุด Java libraries ที่กูเกิลพัฒนาขึ้น ในไตรมาสที่ 3 ปี 2011 กูเกิลได้ออกมาประกาศว่ามีแอนดรอยด์ถูกจัดจำหน่ายไปแล้วมากกว่า 190 ล้านเครื่อง.

ใหม่!!: โมโตโรลาและรายชื่ออุปกรณ์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยประมวลผลกลาง

หน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit) หรือย่อว่า ซีพียู (CPU) เป็นวงจรอิเลคทรอนิกส์ที่ทำงาน หรือประมวลผล ตามชุดของคำสั่งเครื่องจากซอฟต์แวร์ คำนี้เริ่มใช้ในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ต้นศตวรรษ 1960s หน่วยประมวลผลเปรียบเสมือนเป็นสมองของคอมพิวเตอร์ ในการทำหน้าที่ตัดสินใจหรือคำนวณ จากคำสั่งที่ได้รับมา เช่น การเปรียบเทียบ การกระทำการทางคณิตศาสตร์ ฯลฯ โดยมีกระบวนการพื้นฐานคือ.

ใหม่!!: โมโตโรลาและหน่วยประมวลผลกลาง · ดูเพิ่มเติม »

อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม

อนันดา เอเวอริงแฮม (เกิด 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2525) เป็นดาราลูกครึ่งออสเตรเลีย-ลาว เข้าวงการเมื่ออายุ 14 ปี โดยคำชักชวนของมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ กับภาพยนตร์เรื่องแรก อันดากับฟ้าใส และ 303 กลัว/กล้า/อาฆาต หลังจากไม่มีผลงานบันเทิงระยะหนึ่ง ได้กลับมาอีกครั้งกับละครเรื่องทะเลฤๅอิ่ม ของหม่อมน้อย หลังจากนั้นก็มีผลงานการแสดงเรื่อยมา จนใน..

ใหม่!!: โมโตโรลาและอนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม · ดูเพิ่มเติม »

จำนวนจุดลอยตัว

Z3 คอมพิวเตอร์ฐานสองเชิงกลที่สามารถโปรแกรมและดำนำเนินการทางคณิตศาสตร์ได้เครื่องแรก (จัดแสดงต่อสาธารณะที่พิพิธภัณฑ์เยอรมันในเมืองมิวนิก ตัวอย่างแสดงถึงการแทนจำนวนจุดลอยตัวโดยแบ่งเป็นการเก็บค่าเลขนัยสำคัญและเลขชี้กำลัง ในทางคอมพิวเตอร์ จำนวนจุดลอยตัว (floating point) คือระบบแทนจำนวนชนิดหนึ่ง ซึ่งจำนวนนั้นอาจมีขนาดใหญ่หรือขนาดเล็กเกินกว่าที่จะแทนด้วยจำนวนเต็ม เนื่องจากจำนวนต่าง ๆ สามารถเขียนแทนด้วยเลขนัยสำคัญ (mantissa) จำนวนหนึ่งโดยประมาณ และเปลี่ยนสเกลด้วยเลขชี้กำลัง (exponent) ฐานของสเกลปกติจะเป็น 2, 10 หรือ 16 เป็นต้น จำนวนทั่วไปจึงสามารถเขียนให้อยู่ในรูปแบบนี้ได้ คำว่า จุดลอยตัว จึงหมายถึงจุดฐาน (จุดทศนิยม หรือในคอมพิวเตอร์คือ จุดทวินิยม) ที่สามารถ "ลอยตัว" ได้ หมายความว่า จุดฐานสามารถวางไว้ที่ตำแหน่งใดก็ได้ที่สัมพันธ์กับเลขนัยสำคัญของจำนวนนั้น ตำแหน่งนี้แสดงไว้แยกต่างหากในข้อมูลภายใน และการแทนด้วยจำนวนจุดลอยตัวจึงอาจถือว่าเป็นสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ในบริบทของคอมพิวเตอร์ หลายปีที่ผ่านมา คอมพิวเตอร์ใช้งานจำนวนจุดลอยตัวในรูปแบบที่แตกต่างกัน เวลาต่อมาจึงทำให้เกิดมาตรฐาน IEEE 754 สำหรับจำนวนที่พบได้อย่างปกติสามัญชนิดนี้ ข้อดีของจำนวนจุดลอยตัวที่มีต่อจำนวนจุดตรึง (fixed point รวมทั้งจำนวนเต็ม) คือจำนวนจุดลอยตัวสามารถรองรับค่าได้ในขอบเขตที่กว้างกว่า ตัวอย่างเช่น จำนวนจุดตรึงที่มีตัวเลขเจ็ดหลัก และกำหนดให้สองหลักสุดท้ายอยู่หลังจุด สามารถแทนจำนวนเหล่านี้ได้ 12345.67, 123.45, 1.23 ในขณะที่จำนวนจุดลอยตัว (ตามเลขฐานสิบของมาตรฐาน IEEE 754) ที่มีตัวเลขเจ็ดหลักเช่นกัน สามารถแทนจำนวนเหล่านี้ได้อีกเพิ่มเติม 1.234567, 123456.7, 0.00001234567, 1234567000000000 เป็นต้น แต่ข้อเสียคือรูปแบบของจำนวนจุดลอยตัวจำเป็นต้องใช้หน่วยเก็บข้อมูลมากขึ้นอีกเล็กน้อย (สำหรับเข้ารหัสตำแหน่งของจุดฐาน) ดังนั้นเมื่อจำนวนทั้งสองประเภทเก็บบันทึกอยู่ในที่ที่เหมือนกัน จำนวนจุดลอยตัวจะใช้เนื้อที่มากกว่าเพื่อเพิ่มความเที่ยง (precision) ความเร็วของการดำเนินการกับจำนวนจุดลอยตัว เป็นการวัดประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่งที่สำคัญในขอบเขตข่ายโปรแกรมประยุกต์ ซึ่งมีหน่วยวัดเป็นฟล็อปส์ (FLOPS - floating-point operations per second การประมวลผลจุดลอยตัวต่อวินาที).

ใหม่!!: โมโตโรลาและจำนวนจุดลอยตัว · ดูเพิ่มเติม »

ซิกส์ซิกมา

ซิกส์ซิกมา เขียนแทนด้วยตัวเลข 6 และเครื่องหมายซิกมา ซิกส์ซิกมา (Six Sigma) หมายถึงระดับคุณภาพของกระบวนการผลิตที่ยอมให้มีของเสียในระบบได้เพียง 3.4 ชิ้นต่อการผลิตสินค้าล้านชิ้น และนอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือช่วยธุรกิจ ให้สามารถแก้ปัญหาคุณภาพของระบบของการปฏิบัติการได้อีกด้ว.

ใหม่!!: โมโตโรลาและซิกส์ซิกมา · ดูเพิ่มเติม »

โมโตโรลา ซี168

มโตโรลา ซี168/ซี168ไอ เป็นโทรศัพท์มือถือราคาถูก ผลิตโดยโมโตโรลา วางจำหน่ายในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปี ค.ศ. 2005.

ใหม่!!: โมโตโรลาและโมโตโรลา ซี168 · ดูเพิ่มเติม »

โมโตโรลาโมบิลิตี

มโตโรลาโมบิลิตี (Motorola Mobility LLC) เป็นบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์โทรคมนาคมสัญชาติอเมริกัน เป็นผู้ผลิตโทรศัพท์เคลื่อนที่, กล่องรับสัญญาณเซตท็อปบอกซ์และเคเบิลโมเด็ม ปัจจุบันเป็นบริษัทในเครือของเลอโนโว มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ชานเมืองชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้เดิมเป็นแผนกหนึ่งในบริษัทโมโตโรลา ใช้ชื่อว่า Mobile Devices เป็นผู้นำตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบแอนะล็อก โดยเป็นผู้บุกเบิกโทรศัพท์แบบฝาพับ รุ่นสตาร์แท็กในช่วงกลางทศวรรษ 1990 แต่กลับไม่สามารถก้าวทันคู่แข่งคือ โนเกียและซัมซุง ในการพัฒนาโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบดิจิตอลและสมาร์ทโฟน ทำให้มียอดขายตกต่ำและประสบภาวะขาดทุนอย่างต่อเนื่องในช่วงปลายทศวรรษ 2000 ป้ายโมโตโรลาใกล้สำนักงานใหญ่ของกูเกิล หลังกูเกิลเข้าซื้อกิจการ แผนก Mobile Devices ของโมโตโรลาได้แยกออกเป็นบริษัท "โมโตโรลาโมบิลิตี" มีผลตั้งแต่เดือนมกราคม..

ใหม่!!: โมโตโรลาและโมโตโรลาโมบิลิตี · ดูเพิ่มเติม »

โมโตโรล่า 6800

โมโตโรล่า MC6800L โมโตโรล่า 6800 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ที่ผลิตโดยบริษัทโมโตโรล่า ออกวางจำหน่ายหลังอินเทล 8051ไม่นานนัก ในภายหลังได้มีไมโครคอนโทรลเลอร์ที่พัฒนาต่อจาก 6800 หลายตัว เช่น 68HC11 ของบริษัท Freescale เป็นต้น หมวดหมู่: ไมโครคอนโทรลเลอร์.

ใหม่!!: โมโตโรลาและโมโตโรล่า 6800 · ดูเพิ่มเติม »

โอเพนแฮนด์เซตอัลไลแอนซ์

อเพ่นแฮนด์เซตอัลไลแอนซ์ (Open Handset Alliance) เป็นกลุ่มพันธมิตรทางธุรกิจ ของบริษัทผู้พัฒนามาตรฐานเปิดสำหรับอุปกรณ์พกพา รวม 78 บริษัท รวมถึงกูเกิล เอเซอร์ อัสซุส เดลล์ เอชทีซี โมโตโรล่า ซัมซุง โซนี่ อิริคสัน อินเทล และ อี.

ใหม่!!: โมโตโรลาและโอเพนแฮนด์เซตอัลไลแอนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

โทรศัพท์เคลื่อนที่

ตัวอย่างโทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์มือถือ หรือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ (บ้างเรียก วิทยุโทรศัพท์) คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการสื่อสารสองทางผ่าน โทรศัพท์มือถือใช้คลื่นวิทยุในการติดต่อกับเครือข่ายโทรศัพท์มือถือโดยผ่านสถานีฐาน โดยเครือข่ายของโทรศัพท์มือถือแต่ละผู้ให้บริการจะเชื่อมต่อกับเครือข่ายของโทรศัพท์บ้านและเครือข่ายโทรศัพท์มือถือของผู้ให้บริการอื่น โทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถเพิ่มขึ้นในลักษณะคอมพิวเตอร์พกพาจะถูกกล่าวถึงในชื่อสมาร์ทโฟน โทรศัพท์มือถือในปัจจุบันนอกจากจากความสามารถพื้นฐานของโทรศัพท์แล้ว ยังมีคุณสมบัติพื้นฐานของโทรศัพท์มือถือที่เพิ่มขึ้นมา เช่น การส่งข้อความสั้นเอสเอ็มเอส ปฏิทิน นาฬิกาปลุก ตารางนัดหมาย เกม การใช้งานอินเทอร์เน็ต บลูทูธ อินฟราเรด กล้องถ่ายภาพ เอ็มเอ็มเอส วิทยุ เครื่องเล่นเพลง และ จีพีเอส โทรศัพท์เคลื่อนที่เครื่องแรกถูกผลิตและออกแสดงใน..

ใหม่!!: โมโตโรลาและโทรศัพท์เคลื่อนที่ · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครโพรเซสเซอร์

อินเทล 4004 ไมโครโพรเซสเซอร์ทั่วไปตัวแรกที่มีการจำหน่าย ไมโครโพรเซสเซอร์ (microprocessor) หมายถึงชิปที่ใช้เป็นหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร.

ใหม่!!: โมโตโรลาและไมโครโพรเซสเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เพาเวอร์พีซี

วอร์พีซี (PowerPC) เป็นสถาปัตยกรรมไมโครโพรเซสเซอร์แบบ RISC ซึ่งร่วมกันสร้างโดยพันธมิตร AIM (Apple-IBM-Motorola) เมื่อ ค.ศ. 1991 ในช่วงแรกนั้นเพาเวอร์พีซีออกแบบมาสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล แต่ภายหลังเพาเวอร์พีซีก็ได้รับความนิยมในวงการคอมพิวเตอร์ฝังตัว และคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงเช่นกัน เพาเวอร์พีซีถูกในไปใช้ในเครื่องแมคอินทอชของแอปเปิล รุ่นที่ออกระหว่าง ค.ศ. 1994-ค.ศ. 2005 และเครื่องเล่นวิดีโอเกมหลายรุ่น เช่น นินเทนโด เกมคิวบ์, เอ็กซ์บ็อกซ์ 360, เพลย์สเตชัน 3 และนินเทนโด วี สถาปัตยกรรมเพาเวอร์พีซีนั้นพัฒนาต่อมาจากสถาปัตยกรรม POWER ของไอบีเอ็มเอง.

ใหม่!!: โมโตโรลาและเพาเวอร์พีซี · ดูเพิ่มเติม »

เมอร์คาวา

มอร์คาวา (ฮิบรู:, รถม้าศึก) เป็นรถถังประจัญบานหลักที่ใช้โดยกองกำลังป้องกันอิสราเอล รถถังนี้เริ่มการพัฒนาขึ้นในปี..

ใหม่!!: โมโตโรลาและเมอร์คาวา · ดูเพิ่มเติม »

Moto X

มโตเอ็กซ์ (Moto X) เป็นสมาร์ตโฟน รุ่นเรือธง ผลิตโดยโมโตโรลา ในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยถูกวางขายผ่านผู้ให้บริการเครือข่าย เวอไรซอน, เอทีแอนด์ที, สปรินต์, ทีโมบายล์ และยูเอสเซลลูลาร์ ในสหรัฐอเมริกา และโรเจอส์ไวร์เลฃส ในประเทศแคนาดา โดยโมโตเอ็กซ์จะวางขายในช่วงปลายเดือนสิงหาคม หรือต้นเดือนกันยายนนี้ โมโตโรลา โมโตเอ็กซ์ เป็นสมาร์ตโฟนรุ่นแรกของโมโตโรลา ที่ผลิตและประกอบในสหรัฐอเมริกา โดยผลิตในโรงงานเก่าของโนเกีย ที่ฟอร์ตเวิร์ท รัฐเทกซัส โมโตเอ็กซ์ มีขนาดหน้าจอ 4.7 นิ้ว อโมเลด ความละเอียด 1280×720 พิกเซล (เอชดี 720p) ใช้ชิปเซ็ตโมโตโรลา เอ็กซ์8 ซึ่งประกอบด้วยควอล์คอมม์ สแนปดรากอน เอส4 โปร และซีพียูซิงเกิลคอร์ 2 ตัว โดยสแนปดรากอนประกอบด้วย ดูอัลคอร์ ไครท์ 300 ความเร็ว 1.7 จิกะเฮิรตซ์ และอาดรีโน 320 ควอดคอร์ ที่ 400 เมกาเฮิรตซ์ พื้นที่หน่วยความจำ 16 จิกะไบต์ และ 32 จิกะไบต์สำหรับรุ่นที่วางขายผ่านระบบออนไลน์ และแรม 2 จิกะไบต.

ใหม่!!: โมโตโรลาและMoto X · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Motorolaโมโตโรล่า

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »