โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แอโรฟลอต

ดัชนี แอโรฟลอต

แอโรฟลอต แอร์บัส A320-200 แอโรฟลอต (รัสเซีย: Аэрофло́т, อังกฤษ: Aeroflot) เป็นสายการบินแห่งชาติของรัสเซีย และเคยเป็นสายการบินแห่งชาติของสหภาพโซเวียตในอดีต ให้บริการเที่ยวบินทั้งภายในและภายนอกประเกศ 97 เมือง ใน 48 ประเทศ มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว กรุงมอสโคว.

40 ความสัมพันธ์: ยาโกเลฟ ยัค-40ยาโกเลฟ ยัค-42สกายทีมสายการบินประจำชาติสแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็มอากาศยานลำตัวกว้างอาลีตาเลียอานโตนอฟ อาน-14อิลยูชิน อิล-62อิลยูชิน อิล-86ทาจิกแอร์ท่าอากาศยานภูเก็ตท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาร์ลันดาท่าอากาศยานออสโล การ์เดอร์มอนท่าอากาศยานฮัมบวร์คท่าอากาศยานดึสเซิลดอร์ฟท่าอากาศยานนานาชาติมาดริดบาราคัสท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิกท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิสท่าอากาศยานนานาชาติวอชิงตันดัลเลสท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดีท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์ท่าอากาศยานนานาชาติดูไบท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตงท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่งท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่ายท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโวท่าอากาศยานนานาชาติเจนีวาท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโนตูโปเลฟ ตู-134ตูโปเลฟ ตู-154โดโมเดโดโวแอร์ไลน์

ยาโกเลฟ ยัค-40

right ยาโกเลฟ ยัค-40 (Yakovlev Yak-40) ยัค-40 เป็นเครื่องบินที่โดยสารขนาดเล็กที่สร้างขึ้นเพื่ดใช้แทน ไลซูนอฟ ไล-2 หรือ ดักลาส ดีซี-3 ที่สร้างในสหภาพโซเวียต เครื่องต้นแบบ ยัค-40 บินเป็นครั้งแรกในวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1966 และเริ่มรับผู้โดยสารเป็นครั้งแรกในสายการบินแอโรฟลอต เมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1968.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและยาโกเลฟ ยัค-40 · ดูเพิ่มเติม »

ยาโกเลฟ ยัค-42

right ยาโกเลฟ ยัค-42 (Yakovlev Yak-42) เครื่องบินโดยสาร ยัค-42 พัฒนาขึ้นมาจากยาโกเลฟ ยัค-40 โดยแผนแบบสร้างโดย อเล็กซานเดอร์ ยาโกเลฟ แห่งสำนักยาโกเลฟ โดยมีโครงสร้างง่ายๆ ประหยัด สามารถใช้งานได้ดีในภูมิประเทศที่ห่างไกล เครื่องต้นแบบ ยัค-42 เริ่มบินเป็นครั้งแรกในวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1975 และมีการใช้งานรุ่นแรกในสายการบินแอโรฟลอตในต้นปี ค.ศ. 1978 เพื่อใช้แทน ตูโปเลฟ ตู-134.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและยาโกเลฟ ยัค-42 · ดูเพิ่มเติม »

สกายทีม

ตราสัญลักษณ์ Skyteam สกายทีม (Skyteam) เป็นเครือข่ายพันธมิตรสายการบินขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ปัจจุบันมีสายการบินเข้าร่วมเป็นสมาชิกจำนวน 15 สายการบิน และกำลังจะเข้าร่วมเพิ่มอีก 4 สายการบิน ปัจจุบันเครือข่ายมีการให้บริการเที่ยวบินวันละกว่า 14,000 เที่ยว ในท่าอากาศยาน 926 แห่ง ใน 173 ประเท.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและสกายทีม · ดูเพิ่มเติม »

สายการบินประจำชาติ

การบินแห่งชาติ เป็นสายการบินรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเป็นสายการบินตัวแทนของประเทศหรือดินแดนนั้น ๆ สายการบินแห่งชาติส่วนใหญ่จะมีรูปธงชาติประดับไว้บนตัวหรือหางของเครื่องบิน เกือบทุกประเทศมีสายการบินประจำชาติ ยกเว้นสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและสายการบินประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม

SAS Frösundavik Office Building) สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม (Scandinavian Airlines System) เป็นสายการบินร่วมของประเทศในกลุ่มสแกนดิเนเวีย คือ สวีเดน นอร์เวย์ และเดนมาร์ก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1946 เป็นหนึ่งในสมาชิกของพันธมิตรสายการบินสตาร์อัลไลแอนซ์ อีกทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งสายการบินสแปนแอร์อีกด้ว.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและสแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม · ดูเพิ่มเติม »

อากาศยานลำตัวกว้าง

รื่องบินแอร์บัส เอ 380 เป็นเครื่องบินพาณิชย์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน โบอิง 777-300ER ของแอร์แคนาดา (ลำตัวกว้าง) อากาศยานลำตัวกว้าง (Wide-body aircraft) คือ อากาศยานที่มีขนาดลำตัว (fuselage) กว้างเพียงพอสำหรับบรรทุกผู้โดยสารได้ถึงสองช่องทางเดิน (aisles) โดยถูกเรียกว่าเป็น อากาศยานที่มีสองช่องทางเดิน ซึ่งประกอบไปด้วยที่นั่งอย่างน้อยเจ็ดที่นั่งต่อหนึ่งแถว ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางโดยทั่วไปของลำตัวเครื่องบินนั้นมีขนาดประมาณ 5 ถึง 6 เมตร (16 ถึง 20 ฟุต) ซึ่งทำให้จุผู้โดยสารได้ตั้งแต่ 200 จนถึง 850 คนในหนึ่งเที่ยวบิน อากาศยานที่มีขนาดลำตัวกว้างที่สุดนั้นมีขนาดความกว้างกว่า 6 เมตร (20 ฟุต) และสามารถจุผู้โดยสารได้ถึง 11 ที่นั่งต่อหนึ่งแถวในการจัดผังที่นั่งที่แบบใช้พื้นที่สูงสุด เมื่อเปรียบเทียบกันกับอากาศยานลำตัวแคบ (Narrow-body aircraft) ซึ่งจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 3 ถึง 4 เมตร (10 ถึง 13 ฟุต) และมีช่องทางเดินเดียว และจำนวนที่นั่งตั้งแต่ 2 จนถึง 6 ที่นั่งต่อหนึ่งแถว แต่แรกนั้น อากาศยานลำตัวกว้างนั้นถูกออกแบบเพื่อจุดประสงค์ในด้านประสิทธิภาพ และความสะดวกสบายของผู้โดยสาร รวมทั้งการเพิ่มขนาดของห้องสัมภาระ อย่างไรก็ตาม สายการบินต่างๆ หันมาให้ความสนใจในด้านความสามารถในการประหยัดค่าใช้จ่าย และลดพื้นที่สำหรับผู้โดยสารเพื่อแลกกับความสามารถในการทำรายได้และกำไรสูงสุด อากาศยานลำตัวกว้างที่มีขนาดกว้างที่สุดมักจะถูกเรียกว่า จัมโบ้เจ็ต ซึ่งได้แก่ โบอิง 747 ("จัมโบ้เจ็ต") แอร์บัส เอ 380 ("ซุปเปอร์จัมโบ้เจ็ต") และรุ่นที่กำลังจะตามมา คือ โบอิง 777 เอ็กซ์ ("มินิจัมโบ้เจ็ต") คำว่า "จัมโบ้เจ็ต" นั้นมาจากชื่อ "จัมโบ้" ของช้างที่โด่งดังจากละครสัตว์ในช่วงศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและอากาศยานลำตัวกว้าง · ดูเพิ่มเติม »

อาลีตาเลีย

อาลีตาเลีย (Alitalia) เป็นสายการบินประจำชาติของประเทศอิตาลี เปิดทำการบินครั้งแรกวันที่ 16 กันยายน 2489 มีฐานการบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน และฐานการบินรองที่ท่าอากาศยานมิลาโน ลีนาเต และท่าอากาศยานมิลาโนมัลเปนซ.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและอาลีตาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

อานโตนอฟ อาน-14

อานโตนอฟ อาน-14 (Ан-14, Antonov An-14; รัสเซีย: Пчелка, "little bee") นาโตให้สมญานามว่า คล็อก(Clod) อาน-14 เริ่มบินเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ. 1958 แต่มีการผลิตขึ้นในปี ค.ศ. 1965 และใช้งานในสายการบินแอโรฟลอต ซึ่ง อาน-14 สร้างขึ้นมาใช้งานแทนเครื่องบินอานโตนอฟ อาน-2 ซึ่งเป็นเครื่องบินธุรกิจและขนส่ง ปีก 2 ชั้นแบบเก่า อาน-14 ได้รับการพัฒนาในปี ค.ศ. 1969 เป็นรุ่นใหม่ อาน-14 เอ็ม ใช้เครื่องยนต์เทอร์โบใบพัด ไอโซตอฟ ทีวีดี-850 ให้กำลัง 810 แรงม้า และบรรทุกผู้โดยสารได้ 15 คน การผลิต อาน-14 เอ็ม เริ่มในปี ค.ศ. 1973.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและอานโตนอฟ อาน-14 · ดูเพิ่มเติม »

อิลยูชิน อิล-62

right อิลยูชิน ไอแอล-62 (Ilyushin Il-62) อิลยูชิน ไอแอล-62 บินครั้งแรกในเดือน มกราคม ค.ศ. 1963 เริ่มรับผู้โดยสารในการสายการบินแอโรฟลอต เมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1967 อิล-62 เป็นเครื่องบินเจ๊ตพิสัยบินไกลแบบแรกของสหภาพโซเวียต อิล-62 เอ็ม ปรากฏตัวครั้งแรกในงานแสดงการบินที่ปารีส ซึ่งไอแอล-62 เอ็มเป็นรุ่นที่ให้เครื่องยนต์แรงขับสูงขึ้นและจุผู้โดยสารได้มากขึ้น.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและอิลยูชิน อิล-62 · ดูเพิ่มเติม »

อิลยูชิน อิล-86

right อิลยูชิน อิล-86 (Ilyushin Il-86) อิล-86 เป็นเครื่องบินเจ๊ตโดยสารลำตัวกว้างแบบแรกของสหภาพโซเวียต เป็นผลงานของเกนริค วาซิลเลวิช นาวาชือลอฟ (ภาษารัสเซีย Ге́нрих Васи́льевич Новожи́лов) หัวหน้าสำนักงานอิลยูชิน ซึ่งได้รับการคัดเลือกและชนะเครื่องบินคู่แข่งจาก ตูโปเลฟ และ อันโตนอฟ เครื่องต้นแบบ อิล-86 บินเป็นครั้งแรกในวันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1976 และใช้รับผู้โดยสารโดยสารการบินแอโรฟลอต ใน ค.ศ. 1979.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและอิลยูชิน อิล-86 · ดูเพิ่มเติม »

ทาจิกแอร์

ทาจิกแอร์ (State Unitary Aviation Enterprise "Tajik Air") หรือ ทาจิกิสถานแอร์ไลน์ (Tajikistan Airlines) เป็นสายการบินแห่งชาติของทาจิกิสถาน มีสำนักงานใหญ่ที่ ท่าอากาศยานนานาชาติดูชานเบ ในกรุงดูชานเบ สายการบินมีท่าอากาศยานหลักคือที่ ท่าอากาศยานนานาชาติดูชานเบ และมีท่าอากาศยานหลักที่คือ Khudzhand Airport ใน Khujand.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและทาจิกแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานภูเก็ต

ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต หรือ สนามบินภูเก็ต เป็นสนามบินตั้งอยู่ที่ เหนือสุดของเกาะภูเก็ตเป็นท่าอากาศยานที่มีเที่ยวบินหนาแน่นเป็นอันดับที่สามของประเทศ รองจากท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง มีเที่ยวบินทั้งในและต่างประเทศ บินมาลงทุกวัน ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีมาตรฐานทั้งในด้านการท่องเที่ยว เศรษฐกิจ ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต ตั้งอยู่เลขที่ 222 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4026 ตำบลไม้ขาว อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ห่างจากตัวเมืองภูเก็ตประมาณ 32 กิโลเมตร เนื้อที่โดยประมาณ 94,800 ตารางเมตร แท๊กซี่เวย์ 8 จุด ทิศเหนือเป็นภูเขา ทิศใต้เป็นสวนยางพารา ทิศตะวันตกเป็นชายฝั่งทะเลอันดามัน สามารถรองรับผู้โดยสารได้ 6,500,000 คนต่อปี โดยในปี..

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์

ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ (London Heathrow Airport) หรือมักเรียกโดยย่อว่า ฮีทโธรว์ เป็นท่าอากาศยานที่มีการจราจรทางอากาศหนาแน่นที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยเป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นที่สุดของประเทศสหราชอาณาจักร และทวีปยุโรป ในกรณีของจำนวนผู้โดยสาร และเป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นที่สุดของโลก ในกรณีของจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเทศ ดำเนินการโดย บริษัท ท่าอากาศยานอังกฤษ จำกัด (เดิมคือ องค์การท่าอากาศยานแห่งประเทศอังกฤษ) ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเมืองฮิลลิงดอน ห่างจากตัวเมืองของกรุงลอนดอนประมาณ 24 กิโลเมตร (15 ไมล์) เป็นหนึ่งในสามของท่าอากาศยานที่อยู่ในเขตของกรุงลอนดอนและปริมณฑล อีกสองแห่งก็คือ ท่าอากาศยานลอนดอนซิตี และท่าอากาศยานลอนดอนบิกกิงฮิล ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์มีทางวิ่งขนานกัน 2 ทางวิ่ง ตามแนวทิศตัวออกและทิศตะวันตก และ มีอาคารผู้โดยสาร 4 อาคาร โดยอาคารที่ 5 กำลังก่อสร้าง และยังมีแผนปรับปรุงอาคารผู้โดยสารฝั่งตะวันออกใหม่ รวมทั้งเพิ่มทางวิ่งอีกหนึ่งเส้นทางด้ว.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐบาลได้กำหนดให้ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของ ประเทศไทย แทน ท่าอากาศยานดอนเมือง และตั้งเป้าให้เป็นศูนย์กลางการบินใน ทวีปเอเชีย อีกทั้งการเน้นพัฒนาคุณภาพการให้บริการของท่าอากาศยานให้ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 10 ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีที่สุดในโลกในปี พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีหอควบคุมที่สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก (132.2 เมตร) และอาคารผู้โดยสารเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก (563,000 ตารางเมตร) ปัจจุบันเป็น หนึ่งในท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2559 มีผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลกและใน เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบริการสายการบินที่ทำการบินแบบประจำ 109 สายการบิน ซึ่งถือว่าบริการตามจำนวนสายการบินมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (สามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมงและผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี) Suvarnabhumi Airport.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาร์ลันดา

ท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาลันดา (Stockholm-Arlanda Airport) ตั้งอยู่ที่เขตซิกทูนา มณฑลสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน ห่างจากกรุงสตอกโฮล์มไปทางเหนือประมาณ 42 กิโลเมตร เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดของสวีเดน และเป็นท่าอากาศยานหลักสู่ประเทศสวีเดน เป็นหนึ่งในท่าอากาศยานหลักของสแกนดิเนเวียน แอร์ไลน์ ซิสเต็ม ใหญ่เป็นอันดับสามในประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีผู้ใช้บริการเที่ยวบินระหว่างประเทศหนาแน่นเป็นอันดับสองในภูมิภาค รองรับผู้โดยสารกว่า 19 ล้านคนต่อปี ในปี..

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาร์ลันดา · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานออสโล การ์เดอร์มอน

ท่าอากาศยานออสโล, การ์เดอร์มอน (Oslo lufthavn, Gardermoen) ตั้งอยู่ที่การ์เดอร์มอน ในเขตยูลเลนแซเกอร์ ประเทศนอร์เวย์ ห่างจากตัวเมืองกรุงออสโลไปทางเหนือประมาณ 48 กิโลเมตร เริ่มเปิดใช้ในเชิงพาณิชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานออสโล การ์เดอร์มอน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานฮัมบวร์ค

ท่าอากาศยานฮัมบวร์ค (เยอรมัน: Flughafen Hamburg-Fuhlsbüttel) ตั้งอยู่ที่เมืองฮัมบวร์ค ประเทศเยอรมนี ห่างจากตัวเมืองออกไปทางตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 8.5 กิโลเมตร เป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากเป็นอันดับ 5 ของเยอรมนี.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานฮัมบวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานดึสเซิลดอร์ฟ

ท่าอากาศยานดึสเซิลดอร์ฟ (Flughafen Düsseldorf) ตั้งอยู่ที่เมืองดึสเซิลดอร์ฟ ประเทศเยอรมนี เป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากเป็นอันดับ 3 ของเยอรมนี เป็นรองจากมิวนิกและแฟรงก์เฟิร์ต และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอลทียูและลุฟต์ฮันซ.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานดึสเซิลดอร์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติมาดริดบาราคัส

ท่าอากาศยานอาดอลโฟ ซัวเรซ มาดริด-บาราคัส (Aeropuerto Adolfo Suárez Madrid-Barajas) ตั้งอยู่ที่กรุงมาดริด ประเทศสเปน เปิดให้บริการมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานนานาชาติมาดริดบาราคัส · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิก

Lufthansa Regional Embraer E195 ท่าอากาศยานมิวนิก (Munich International Airport) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ท่าอากาศยานมิวนิก ฟรันซ์ โยเซฟ ชเตราสส์ (Flughafen München Franz Josef Strauß) เพื่อเป็นเกียรติต่อฟรันซ์ โยเซฟ ชเตราสส์ อดีตผู้ว่าการรัฐบาวาเรีย ท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งอยู่ที่มิวนิก เยอรมนี ห่างจากตัวเมืองไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 28 กิโลเมตร (17.5 ไมล์) มิวนิกเป็นท่าอากาศที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของเยอรมนี รองจากท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงค์เฟิร์ต และเป็นท่าอากาศยานหลักของลุฟต์ฮันซ.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิก · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส

ท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส (Los Angeles International Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ชาวแคลิฟอร์เนียจะเรียกท่าอากาศยานแห่งนี้อย่างย่อว่า แอลเอเอกซ์ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของลอสแอนเจลิส ห่างจากตัวเมืองไปประมาณ 24 กิโลเมตร แอลเอเอกซ์เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ และเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินอเมริกันแอร์ไลน์ และอลาสกาแอร์ไลน์ เนื่องจากท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเล ทำให้ต้องเจอกับปัญหาเรื่องหมอก จนบางครั้งจะต้องให้เครื่องบินเปลี่ยนไปลงที่ท่าอากาศยานนานาชาติแอลเอ/ออนแทริโอ ซึ่งอยู่ห่างออกไปทางตะวันออก 76 กิโลเมตร.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติวอชิงตันดัลเลส

ท่าอากาศยานนานาชาติวอชิงตัน ดัลเลส (Washington Dulles International Airport) ตั้งอยู่ระหว่างเมืองชานทิลลีในแฟร์แฟกเคาน์ตี และดัลเลสในลูดอนเคาน์ตี รัฐเวอร์จิเนีย ห่างจากวอชิงตัน ดี.ซี.ไปทางตะวันตกประมาณ 41.8 กิโลเมตร (26 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานหลักของยูไนเต็ดแอร์ไลน์ และเป็นท่าอากาศยานสำคัญของเจ็ตบลูแอร์เวย์ วอชิงตัน ดัลเลส ตั้งชื่อตามจอห์น ฟอสเตอร์ ดัลเลส อดีตรัฐมนตรีต่างประเทศในสมัยประธานาธิบดีไอเซนฮาว.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานนานาชาติวอชิงตันดัลเลส · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน (ฮังกึล: 인천국제공항, ฮันจา: 仁川國際空港) ตั้งอยู่ที่เกาะยางจอง เมืองอินช็อน ประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของโซล โดยรองรับการเป็นท่าอากาศยานหลักของเกาหลีใต้ และสายการบินแห่งชาติอย่างโคเรียนแอร์ รวมทั้งเอเชียน่าแอร์ไลน์ และคาร์โก360 แทนที่ท่าอากาศยานกิมโป (เดิมคือท่าอากาศยานนานาชาติกิโป) นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง (จีน: 香港國際機場, จีนกลาง: Xiānggǎng Guójì Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: hoeng1 gong2 gwok3 zai3 gei1 coeng4) หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินเช็กล้าบก็อก (จีน: 赤鱲角機場, จีนกลาง: Chìlièjiǎo Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: cek3 laap6 gok3 gei1 coeng4) เป็นท่าอากาศยานหลักของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน เปิดใช้เมื่อปีพ.ศ. 2541 แทนที่ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงเดิม ท่าอากาศยานแห่งนี้เปิดใช้งานเพื่อการพาณิชย์เมื่อปี พ.ศ. 2541 และเป็นจุดเปลี่ยนถ่ายผู้โดยสารที่สำคัญของสาธารณรัฐประชาชนจีน เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม้ว่าจะมีประวัติความเป็นมาไม่ยาวนานนัก แต่ท่าอากาศยานแห่งนี้ก็ได้รับรางวัลท่าอากาศยานยอดเยี่ยมระดับนานาชาติมาหลายครั้งในช่วงปี..

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี

ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์

ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์ (Toshkent Xalqaro Aeroporti –) เป็นท่าอากาศยานนานาชาติของอุซเบกิสถานเป็นท่าอากาศยานที่คึกคักมากที่สุดของภูมิภาคเอเชียกลาง.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ

ท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ (อาหรับ: مطار دبي الدولي) ตั้งอยู่ที่ดูไบ, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเอมิเรตส์แอร์ไลน.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮ

ในท่าอากาศยานนานาชาติกิมแฮ (อาคารระหว่างประเทศ) ท่าอากาศยานนานาชาติกิมแฮ IATA: PUS, ICAO: RKPK) ตั้งอยู่ที่สุดฝั่งตะวันตกของเมือง ปูซาน, ประเทศเกาหลีใต้. เปิดให้บริการในปี พ.ศ. 2519. ส่วนอาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศ เปิดให้บริการในวันที่ 31 ตุลาคม, 2550. ท่าอากาศยานนานาชาติกิมแฮ ถือเป็นท่าอากาศยานหลักของ แอร์ปูซาน. ทางวิ่งหมายเลข 18L/36R ใช้ในการทหารเท่านั้น, แต่ด้วยสภาพการจราจรทางอากาศที่หนาแน่นขึ้น, จึงมีแผนจะเปิดให้บริการสำหรับสายการบินพลเรือน. ในปี พ.ศ. 2558 มีผู้โดยสารใช้บริการทั้งหมด 12,382,150 คน. ในปี 2556, เมืองปูซานประกาศว่าเตรียมสิ้นสุดการให้บริการสำหรับสายการบินโดยสารที่ท่าอากาศยานนานาชาติกิมแฮ เนื่องจากขนาดท่าอากาศยานที่เล็ก การจราจรทางอากาศที่ขับคั่งและเหตุผลด้านความปลอดภัย. โดยมีแผนจะย้ายท่าอากาศยานของปูซานไปยังเกาะกาด็อกโด, เกาะทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของปูซานและอยู่ทางด้านใต้ของ 'ท่าเรือปูซานนิวพอร์ท' ประมาณ 7 กม.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง

ท่าอากาศยานนานาชาติเซี่ยงไฮ้ผู่ตง (จีนตัวย่อ: 上海浦东国际机场, จีน: 上海浦東國際機場, พินอิน: Shànghǎi Pǔdōng Guójì Jīchǎng) ตั้งอยู่ทางตะวันออกของผู่ตง ในเขตเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นประตูหลักสู่ประเทศจีน รองรับผู้โดยสารระหว่างประเทศกว่า 17 ล้านคน ในปี..

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง

อาคารเทียบเครื่องบิน 3 ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เป็นสนามบินระหว่างประเทศสนามบินหลักของกรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือห่างจากใจกลางเมืองประมาณ ในเขตฉาวหยาง และบางส่วนของ เขตซุ่นอี้ บริหารงานโดย บริษัทท่าอากาศยานปักกิ่งแคปิตอล ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ รหัสสนามบิน IATA ของปักกิ่งคือ PEK มาจากการถอดความชื่อของปักกิ่งเป็นอักษรโรมันแบบเดิม (Peking) ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ไชน่า สายการบินแห่งชาติของประเทศจีน ซึ่งมีเที่ยวบินจากที่นี่มากกว่า 120 เส้นทาง (ไม่รวมเที่ยวบินส่งสินค้า) ทั้งนี้ยังมี ไห่หนานแอร์ไลน์ และ ไชน่าเซาเทิร์นแอร์ไลน์ ที่ยึดสนามบินนี้เป็นสนามบินหลักอีกด้วย ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เพิ่มอาคารผู้โดยสารหลังที่ 3 ในปี..

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล

ท่าอากาศยานปารีส-ชาร์ล เดอ โกล (Paris-Charles de Gaulle Airport; Aéroport Paris-Charles-de-Gaulle) หรือเรียกโดยทั่วไปว่า ท่าอากาศยานรัวซี (Roissy) ตั้งอยู่ที่รัวซี กรุงปารีส ฝรั่งเศส อยู่ห่างจากตัวเมืองปารีสไปทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 25 กิโลเมตร นับเป็นประตูสำคัญในการเดินทางเข้าออกประเทศฝรั่งเศส นอกจากนี้ยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ฟรานซ์ด้วย ท่าอากาศยานแห่งนี้ ตั้งชื่อตามชาร์ล เดอ โกล วีรบุรุษ และผู้นำขบวนการปลดปล่อยฝรั่ง.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ

ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ เป็นสนามบินนานาชาติ ตั้งอยู่ที่เมืองนาริตะ จังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น ดำเนินการโดย บริษัทท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ ซึ่งแปรสภาพมาจาก องค์การบริหารงานท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียวแห่งใหม่ ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นสนามบินหลักที่ให้บริการผู้โดยสารระหว่างประเทศที่เดินทางเข้าและออกจากประเทศญี่ปุ่น และเป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางระหว่างทวีปเอเชียและอเมริกา เป็นสนามบินที่รองรับเที่ยวบินสำหรับผู้โดยสารมากอันดับ 2 ของญี่ปุ่น (รองจากสนามบินฮะเนะดะ) เป็นสนามบินที่รองรับการขนส่งทางอากาศเป็นอันดับ 1 ของญี่ปุ่นและอันดับ 3 ของโลก ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเจแปนแอร์ไลน์ สายการบินออล นิปปอน แอร์เวย์ และสายการบินนอร์ธเวสต์แอร์ไลน์ และยังเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ อีกด้วย ท่าอากาศยานานาชาตินาริตะ เคยใช้ชื่อว่า New Tokyo International Airport (新東京国際空港 Shin-Tōkyō Kokusai Kūkō) จนกระทั่งปี..

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย

ท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย (Sân bay Quốc tế Nội Bài) เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในเวียดนามตอนเหนือ ให้บริการสำหรับบริเวณเมืองหลวงฮานอย ตั้งอยู่ห่างจากใจกลางเมือง 45 กิโลเมตร การเดินทางจากเมืองโดยรถแท็กซี่ใช้เวลา 30-45 นาที.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว

ท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว (รัสเซีย: Международный Аэропорт Москва-Шереметьево) ตั้งอยู่ที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย เป็นหนึ่งในท่าอากาศสำคัญของกรุงมอสโก โดยมีจำนวนผู้ใช้บริการเป็นรองท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอโรฟลอต และการที่ท่าอากาศยานแห่งนี้เกิดปัญหาในหลายด้าน ทำให้สายการบินจำนวนมาก ได้ทยอยเปลี่ยนเที่ยวบินจากเชเรเมเตียโวไปยังโดโมเดโดโว จึงได้มีการปรับปรุงท่าอากาศยานแห่งนี้เป็นการใหญ่ เพื่อให้มีบริการที่ได้ระดับมาตรฐานสากล โดยคาดว่าการปรับปรุงทั้งหมดจะแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติเจนีวา

ท่าอากาศยานนานาชาติเจนีวา, หรือที่รู้จักกันในชื่อ ท่าอากาศยานกวงแทร็ง เป็นท่าอากาศยานที่ให้บริการแก่เมืองเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ตั้งอยู่ห่างจากใจกลางเมืองไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 4 กิโลเมตร และเชื่อมต่อโดยตรงกับทางด่วน เส้นทางเดินรถประจำทางและรถไฟ (SBB-CFF-FFS) และมีพื้นที่ติดกับพรมแดนระหว่างสวิตเซอร์แลนด์กับฝรั่งเศส และยังสามารถเข้าสู่ท่าอากาศยานได้จากทั้งสองประเทศ ผู้โดยสารบนเที่ยวบินที่มาจากหรือจะไปฝรั่งเศสไม่ต้องผ่านด่านตรวจคนเข้าเมืองและศุลกากรของสวิตเซอร์แลนด์ หากยังคงอยู่ในพื้นที่ฝรั่งเศสของท่าอากาศยาน การขนส่งสินค้าสามารถกระทำได้จากทั้งสองประเทศ ทำให้เจนีวากลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการขนส่งสินค้าของสหภาพยุโรป แม้ว่าสวิสเซอร์แลนด์จะได้เป็นสมาชิกสหภาพยุโรปก็ตาม บางส่วนของท่าอากาศยานอยู่ในเขตเมย์แร็ง และอีกส่วนอยู่ในเขตกรองด์-แซเกอเน็กซ์"." Meyrin.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานนานาชาติเจนีวา · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนัน

ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนัน เป็นท่าอากาศยานที่ให้บริการในเขตกรุงเปียงยาง ประเทศเกาหลีเหนือ ตั้งอยู่ในเขตซูนัน ห่างจากใจกลางนครประมาณ 24 กิโลเมตร เป็นฐานการบินหลักของสายการบินประจำชาติ แอร์โครยอ.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนัน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน

ท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน (Aeroporto Leonardo da Vinci di Fiumicino) หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ ท่าอากาศยานฟีอูมีชีโน เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในอิตาลี ด้วยจำนวนผู้โดยสาร 35,226,351 คนใน พ.ศ. 2551 ตั้งอยู่ในเมืองฟีอูมีชีโน ห่างจากศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ของโรม 35 กิโลเมตร นอกจากนี้ ยังเป็นท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารคับคั่งมากเป็นอันดับที่ 27 ของโลกใน พ.ศ. 2552 และเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินอัลอิตาเลีย ชื่อของท่าอากาศยานชื่อของเลโอนาร์โด ดา วินชี ผู้เชี่ยวชาญหลากหลายสาขาวิชาชาวอิตาลี ผู้ออกแบบต้นแบบของเฮลิคอปเตอร์และเครื่องจักรมีปีกบินได้เป็นคนแรกของโลก.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน · ดูเพิ่มเติม »

ตูโปเลฟ ตู-134

ตูโปเลฟ ตู-134 (Tupolev Tu-134) ผลิตขึ้นเพื่อใช้แทนเครื่องบินโดยสาร ตูโปเลฟ ตู-104 เริ่มรับผู้โดยสารโดยสายการบิน แอโรฟล็อต ในเส้นทางมอสโคว์-สต๊อกโฮล์ม เมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 1967.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและตูโปเลฟ ตู-134 · ดูเพิ่มเติม »

ตูโปเลฟ ตู-154

right Tu-154 ตูโปเลฟ ตู-154 (Tupolev Tu-154) ตู-154 เป็นเครื่องบินโดยสารที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดลำหนึ่งของสหภาพโซเวียต ตู-154 เริ่มบินเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1968 ส่งมอบให้สายการบินแอโรฟลอต เมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1970 และเริ่มรับผู้โดยสารเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1972 ตู-154 มีขนาดและรูปร่างใกล้เคียงกับ โบอิง 727 ของสหรัฐฯ.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและตูโปเลฟ ตู-154 · ดูเพิ่มเติม »

โดโมเดโดโวแอร์ไลน์

มเดโดโว แอร์ไลน์ (Домодедовские авиалинии) เป็นสายการบินสัญชาติรัสเซีย ให้บริการเที่ยวบินภายในประเทศ โดนเน้นไปยังฝั่งตะวันออกของรัสเซีย และประเทศในเครือจักรภพ และยังให้บริการเที่ยวบินเช่าเหมาลำไปยัง จีน, ไทย, มัลดีฟส์, มาเลเซีย, ยุโรป และสิงคโปร์ โดยมีท่าอากาศยานหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว.

ใหม่!!: แอโรฟลอตและโดโมเดโดโวแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »