เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

แอสเทอริด

ดัชนี แอสเทอริด

แอสเทอริด (asterids) เป็นเคลดของพืชมีดอกในระบบ APG II พืชส่วนใหญ่ในเคลดนี้อยู่ใน Asteridae ในระบบ Cronquist และ Sympetalae ในระบบก่อนหน้านี้ สมาชิกประกอกด้ว.

สารบัญ

  1. 431 ความสัมพันธ์: ชมพูพันธุ์ทิพย์ชมพูเชียงดาวชมจันทร์บราซิลนัตบลูเบอร์รีบลูเบอร์รีฟิลิปปินส์ชวนชมชะลูดบัวหิมะบานบุรีบานบุรีสีม่วงบานบุรีสีแสดชำมะนาดชิโซะชีอาช้องนางช้าแป้นช้าเลือดฟ้าทะลายโจร (พืช)พญายอพญาสัตบรรณพรมมิพรมออสเตรเลียพลับจีนพวงแสดพันงูเขียวพิมเสน (พืช)พืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงคู่แท้พุทธชาดก้านแดงพุดชมพูพุดพิชญาพุดภูเก็ตพุดผาพุดจีบพุดทุ่งพุดดงพุดซ้อนพุดโกเมนกระพังโหมกระดุมทองเลื้อยกระโดนใต้กรดน้ำกล้วยฤๅษีกะเมียกะเม็งกัญชาเทศกันเกรากาญจนิการ์กาแฟใบใหญ่... ขยายดัชนี (381 มากกว่า) »

ชมพูพันธุ์ทิพย์

มพูพันธุ์ทิพย์ (Pink trumpet tree) เป็นพืชในวงศ์แคหางค่าง (Bignoniaceae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้ เป็นต้นไม้ประจำชาติเอลซัลวาดอร์ หม่อมราชวงศ์พันธุ์ทิพย์ บริพัตรเป็นผู้นำเข้ามาปลูกในประเทศไทย เมื่อ..

ดู แอสเทอริดและชมพูพันธุ์ทิพย์

ชมพูเชียงดาว

มพูเชียงดาว เป็นพืชเฉพาะถิ่นที่พบทางภาคเหนือของประเทศไทย อยู่ในวงศ์ดอกดิน (Orobanchaceae) ลักษณะเป็นไม้ล้มลุกสูง 40-60 เซนติเมตร ลำต้นมีขน ใบเรียงเป็นวง 3-4 ใบ รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 1.5-4.5 เซนติเมตร ใบจักลึกแบบขนนก ขอบจักซี่ฟัน มีประมาณ 5-12 คู่ ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะ ยาวได้ถึง 40 เซนติเมตร หลอดกลีบเลี้ยงยาว 0.8-1 เซนติเมตร เป็นสันตื้น ๆ ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ยาวประมาณ 3 มิลลิเมตร ดอกสีชมพูถึงม่วงเข้ม หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 2 เซนติเมตร กลีบปากบนรูปหมวกงุ้มเข้า ยาวประมาณ 1 เซนติเมตร กลีบปากล่างบานออกมี 3 กลีบ ยาวประมาณ 1 เซนติเมตร กลีบกลางกลม ยาวประมาณ 5 มิลลิเมตร กลีบข้างรูปรี ยาวประมาณ 6 มิลลิเมตร เกสรเพศผู้เกลี้ยง โคนอับเรณูแหลม ผลรูปไข่ ยาว 0.8-1.2 เซนติเมตร ปลายมีติ่งแหลม ภายในมีเมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก.

ดู แอสเทอริดและชมพูเชียงดาว

ชมจันทร์

ผลแก่ของต้นชมจันทร์ ชมจันทร์ หรือ ดอกพระจันทร์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ipomoea alba L. อยู่ในวงศ์ Convolvulaceae สกุล Ipomoea มีถิ่นกำเนิดอยู่ในเขตร้อนของทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้และแพร่กระจายอย่างกว้างขวาง สามารถพบได้ทั้งในเขตอบอุ่นและเขตร้อนของอเมริกา ประเทศออสเตรเลียและในกลุ่มประเทศเขตร้อนของทวีปเอเชี.

ดู แอสเทอริดและชมจันทร์

บราซิลนัต

ผลสดของบราซิลนัตผ่าครึ่ง เมล็ดบราซิลนัตพร้อมเปลือก บราซิลนัต (Brazil nut) เป็นพืชในอเมริกาใต้ในวงศ์ Lecythidaceae เป็นพืชที่เมล็ดรับประทานได้ ในบราซิล การโค่นต้นบราซิลนัตเป็นสิ่งผิดกฎหมาย ส่วนผลที่มีเมล็ดแข็งอยู่ข้างในหนักและแข็งมาก สามารถทำลายยานพาหนะและเป็นอันตรายต่อคนที่เดินผ่านใต้ต้นได้ และเคยมีคนเสียชีวิตเพราะผลหล่นใส่ศีรษ.

ดู แอสเทอริดและบราซิลนัต

บลูเบอร์รี

ลูเบอร์รี (blueberry) เป็นพืชดอกในสกุล Vaccinium เป็นพืชหลายปีมีผลรสเปรี้ยวสีฟ้าเข้มขนาด 5–16 มม.

ดู แอสเทอริดและบลูเบอร์รี

บลูเบอร์รีฟิลิปปินส์

ลูเบอร์รีฟิลิปปินส์ เป็นพืชในวงศ์ Ericaceae เป็นไม้พุ่ม ดอกช่อ กลีบดอกโค้งเข้าด้านใน สีแดงอมชมพูไปจนถึงขาวอมเหลือง ผลสด รูปกลม สีน้ำเงินเข้ม กระจายพันธุ์เฉพาะในฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย ผลรับประทานได้ นิยมนำไปแปรรูปเป็นแยมหรือเยลลี่ และเป็นอาหารนก.

ดู แอสเทอริดและบลูเบอร์รีฟิลิปปินส์

ชวนชม

วนชม Adenium เป็นชื่อของพรรณไม้ที่มีสีสันของดอกสวยงาม เป็นไม้ที่ปลูกเลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพแห้งแล้งมาก จนได้รับสมญาว่า Desert Rose (กุหลาบทะเลทราย) นอกจากนี้ตามความเชื่อของคนไทยชื่อ "ชวนชม" ยังเป็นชื่อที่มีความไพเราะเป็นศิริมงคล และชาวจีนว่า "ปู้กุ้ยฮวย" ซึ่งแปลว่า ดอกไม้แห่งความร่ำรวย แต่ดอกชวนชมมีสาร abobioside, echubioside ตรงนำยางสีขาว ถ้าน้ำยางถูกผิวหนังจะทำให้ผิวหนังอักเสบเป็นผื่นแดง ถ้าเข้าตา ตาจะอักเสบ กินเข้าไปจะเป็นพิษ แต่น้ำยางมีรสขมมาก โอกาสกินมีน้อย ถ้ากินจะมีผลต่อหัวใจ อาการเบื้องต้นจะทำให้ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ตาพร่า หัวใจเต้นอ่อน ความดันลดลงอาจตายได้.

ดู แอสเทอริดและชวนชม

ชะลูด

ลูด Blume var.

ดู แอสเทอริดและชะลูด

บัวหิมะ

ัวหิมะ (Snow lotus) เป็นชื่อสามัญของพืชในสกุล Saussurea อยู่ในวงศ์ Compositae เป็นพืชที่ขึ้นในที่สูง มีหิมะปกคลุม ในเอเชียกลาง และจีนเช่น ในทิเบต มณฑลยูนนาน เสฉวน ซินเจียงอุยกูร์ ในทางยาจีน มีฤทธิ์เป็นยาเย็น แก้ข้ออักเสบ แก้ไข้ บำรุงหัวใ.

ดู แอสเทอริดและบัวหิมะ

บานบุรี

นบุรี หรือ บานบุรีเหลือง เป็นพืชพื้นเมืองของบราซิล บานบุรี เป็นสัญลักษณ์ ดอกไม้ประจำโรงเรียนสินปุนคุณวิชญ์ ตำบลสินปุน อำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี.

ดู แอสเทอริดและบานบุรี

บานบุรีสีม่วง

นบุรีสีม่วง (ชื่อสามัญ: Purple Allamanda) มีถิ่นกำเนิดในประเทศบราซิล เป็นไม้พุ่มกึ่งเลื้อย กิ่งอ่อนมีขนปกคลุม ใบออกรอบข้อ ข้อละสี่ใบ ดอกออกเป็นช่อ กลีบดอกสีม่วงแดงหรือม่วงอมชมพู โคนกลีบเป็นหลอดสีม่วงเข้ม ใช้เป็นไม้ประดั.

ดู แอสเทอริดและบานบุรีสีม่วง

บานบุรีสีแสด

นบุรีสีแสด หรือ บานบุรีแสด หรือ บานบุรีหอม มีถิ่นกำเนิดและกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาเหนือตั้งแต่คอสตาริกา จนถึงทวีปอเมริกาใต้ในบราซิล เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็ง ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ดอกเป็นดอกช่อ ดอกย่อยรูปกรวย กลีบดอกสีเหลืองอมส้ม โคนกลีบเป็นสีส้ม ดอกมีกลิ่นหอมแรง ใช้เป็นไม้ประดั.

ดู แอสเทอริดและบานบุรีสีแสด

ชำมะนาด

ำมะนาด (L.) Ktze.

ดู แอสเทอริดและชำมะนาด

ชิโซะ

ซะ เป็นพืชชนิดหนึ่งมีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์ว่า Perilla frutescens var.

ดู แอสเทอริดและชิโซะ

ชีอา

มล็ดชีอา เครื่องดื่มทำจากชีอาในเม็กซิโก ชีอา (chia) หรือ ชิอา (chía) เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae พบในเม็กซิโกและกัวเตมาลา เมล็ดมีน้ำมันใช้สกัดน้ำมัน น้ำมันในเมล็ดมีโอเมกา 3 สูง ช่วยลดคอเลสเทอรอลและไตรกลีเซอไรด์ได้.

ดู แอสเทอริดและชีอา

ช้องนาง

้องนางเป็นพืชล้มลุกหลายฤดูและเป็นพืชท้องถิ่นในแอฟริกาตะวันตกและเอเชีย ทรงพุ่มสูงประมาณ 2.5 เมตร กลีบดอกสีม่วงหรือฟ้าเข้ม ส่วนที่ติดกันเป็นหลอดมีเหลือง หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:พรรณไม้ในวรรณคดี หมวดหมู่:วงศ์เหงือกปลาหมอ ช้องนาง เป็นไม้พุ่มเล็ก แตกกิ่งก้านมาก สูงประมาณ 6 ฟุต ใบคล้ายใบแก้ว ใบมนปลายแหลมยาวประมาณ 3 นิ้ว ออกเป็นคู่ ๆ ตามกิ่ง ดอกเป็นรูปแตร ปลายดอกผายออกเป็น 5 แฉก ในดอกตรงกลางมีตาสีเหลือง ดอกสีม่วง และยังมีชนิดดอกสีขาวเรียกว่าช้องนางขาว ดอกยาวประมาณ 2 นิ้ว ช้องนางมีถิ่นกำเนิดอยู่ในแอฟริกา ในเมืองไทยมีหลายชนิด เช่น T.affinis S.

ดู แอสเทอริดและช้องนาง

ช้าแป้น

้าแป้น หรือ ผ้าลาย หูควายใหญ่ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Verbenaceae ลำต้นสีเทาอมเขียวอ่อน ยอดกิ่งอ่อนเป็นสีน้ำตาลอมเขียว ใบเดี่ยว ใบสีเขียวเหลือบเป็นมัน หลังใบมีขนสั้นนุ่ม ดอกช่อ โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 4 กลีบ สีชมพูอมม่วง ช่อดอกเป็นทรงครึ่งวงกลม บานพร้อมกันทุกดอกในช่อ ผลเดี่ยว กลม ผลอ่อนสีเขียว แก่แล้วเป็นสีดำ เมล็ดมีอันเดียว เปลือกต้มน้ำดื่ม และนั่งแช่ ช่วยบรรเทาอาการอัมพฤกษ์เบื้องต้น.

ดู แอสเทอริดและช้าแป้น

ช้าเลือด

้าเลือด เป็นไม้พุ่มกึ่งเลื้อยในวงศ์ Verbenaceae ลำต้นขาวอมเทา ผิวเรียบ ลำต้นอ่อนสีน้ำตาล มีจุดสีขาวเล็กน้อย ใบเดี่ยว เหนียว ไม่ลื่นมือ ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาวอมเขียว ผลเดี่ยวกลมเมื่ออ่อนสีเขียว สุกมีสีดำ มีเมล็ดแข็งเพียงอันเดียว ผิวเรียบเป็นมัน ใบใช้ห้ามเลือ.

ดู แอสเทอริดและช้าเลือด

ฟ้าทะลายโจร (พืช)

ฟ้าทะลายโจร ((Burm.f.) Wall ex Nees.) เป็นพืชล้มลุกฤดูเดียว ในตระกูล Acanthaceae มีถิ่นกำเนิดในอินเดียและศรีลังกา โดยในตำรายาโบราณของไทย จัดให้เป็นสมุนไพรพื้นบ้านที่สามารถหามารับประทานแก้โรคได้เอง สูงประมาณ 30-70 ซม.

ดู แอสเทอริดและฟ้าทะลายโจร (พืช)

พญายอ

ญายอ หรือ เสลดพังพอนตัวเมีย มีชื่อท้องถิ่นหรือชื่ออื่นอีก คือ: ผักมันไก่ ผักลิ้นเขียด (เชียงใหม่) พญาปล้องดำ (ลำปาง) พญาปล้องทอง (ภาคกลาง) ลิ้นมังกร โพะโซ่จาง (กะเหรี่ยง)และ พญายอ (แม่ฮ่องสอน) เสลดพังพอนมีชื่อพ้องกัน คือ เสลดพังพอนตัวผู้ และเสลดพังพอนตัวเมีย แต่ต่างกันที่เสลดพังพอนตัวผู้มีหนาม สรรพคุณอ่อนกว่าเสลดพังพอนตัวเมีย เพื่อไม่ให้สับสนจึงเรียกเสลดพังพอนตัวเมียว่า "พญายอ" ส่วนมากนำมาทำเป็นยาสมุนไพรไทยจัดอยู่ในกลุ่มพืชถอนพิษ.

ดู แอสเทอริดและพญายอ

พญาสัตบรรณ

ญาสัตบรรณ หรือ สัตบรรณ หรือ ตีนเป็ด เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่มีความสูงประมาณ 12-20 เมตร อยู่ในวงศ์ Apocynaceae มีถิ่นดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และพบได้ทุกภาคในประเทศไทย ประไพรัตน์ สีพลไกร.

ดู แอสเทอริดและพญาสัตบรรณ

พรมมิ

รมมิ (Indian pennywort, brahmi) เป็นพืชอายุหลายปี อยู่ในวงศ์เทียนเกล็ดหอย (Plantaginaceae) พบขึ้นตามริมน้ำและที่ชื้นแฉะทั่วไป.

ดู แอสเทอริดและพรมมิ

พรมออสเตรเลีย

รมออสเตรเลีย (Nerve plant) เป็นไม้ล้มลุก แบบไม้คลุมดินในวงศ์เหงือกปลาหมอ ต้นสูงประมาณ 10 - 15 ซม.

ดู แอสเทอริดและพรมออสเตรเลีย

พลับจีน

ลับจีน หรือพลับญี่ปุ่น เป็นไม้พุ่มผลัดใบในวงศ์ Ebenaceae ดอกแยกเพศ แยกต้นหรือร่วมต้น ใบเหนียวคล้ายหนัง เขียวเข้มเป็นมัน ดอกตัวผู้ออกเป็นกระจุกขนาดเล็ก ดอกตัวเมียเป็นดอกเดี่ยว ดอกสีเหลืองอมเขียว ผลเนื้อนุ่มกลมแบน สีเขียวอมเหลืองจนถึงสีแดง กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล พลับจีนพันธุ์ "Koushu-Hyakume" พันธุ์ที่ใช้ทำพลับแห้ง พลับจีนเป็นพืชที่เป็นเอกลักษณ์ของจีนในสมัยโบราณ นำไปปลูกในญี่ปุ่น ส่วนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีปลูกบ้างเล็กน้อยในเกาะสุมาตรา มาเลเซีย และภาคเหนือของไทย ผลรับประทานได้ ใช้ทำไอศกรีม เยลลี่ พันธุ์ที่มีรสฝาดใช้ทำพลับแห้ง แทนนินจากพลับจีนใช้เป็นสีทาผ้าหรือกระดาษ ความฝาดในผลพลับจีนเกิดจากแทนนินในเนื้อผล การแช่แข็งทำให้ความฝาดหมดไปเพราะเซลล์จะปล่อยแทนนินมาจับกับโปรตีนในผล เมื่อรับประทานผลดิบจะรู้สึกแห้งในปากเพราะแทนนินจะจับกับโปรตีนในปาก พลับจีนมีโพแทสเซียมและวิตามินเอสูง ผลพลับผ่าแสดงภายในผล.

ดู แอสเทอริดและพลับจีน

พวงแสด

วงแสด เป็นพืชในวงศ์ Bignoniaceae มีชื่อสามัญอื่น ๆ คือ Orange trumpet, Flame flower, Fire-cracker vine พวงแสด พวงแสดเครือ.

ดู แอสเทอริดและพวงแสด

พันงูเขียว

ันงูเขียว หรือในภาษามลายูเรียกบังกามาลัม อยู่ในวงศ์ Verbenaceae ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย นำทั้งต้นมาบดกับน้ำใช้รักษาอาการปวดและอัก.

ดู แอสเทอริดและพันงูเขียว

พิมเสน (พืช)

น้ำมันพิมเสน (''Pogostemon cablin'') พิมเสน (patchouli, patchouly, pachouli) เป็นพืชในวงศ์กะเพรา (Lamiaceae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชีย เป็นไม้พุ่มสูง 50-100 เซนติเมตร ลำต้นตรงมีขนปกคลุมและมีกลิ่นหอม ใบเป็นใบเดี่ยวรูปไข่หรือรูปไข่กว้าง ออกตรงกันข้าม ปลายใบแหลมหรือมน โคนใบแหลมหรือสอบ ขอบใบจักเป็นซี่ฟันแกมจักมน มีขนปกคลุมทั้งด้านบนและด้านล่าง ดอกขนาดเล็กสีม่วงขาว ออกเป็นช่อตามซอกใบและที่ยอด กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 กลีบ กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นปาก ปากบนมี 3 หยัก ปากล่างเรียบ เกสรตัวผู้มี 4 อัน ก้านเกสรตัวเมียแยกเป็นแฉกสั้น ๆ 2 แฉก ผลรูปรีแข็ง มีขนาดเล็ก ผิวเรียบ เมื่อกลั่นพิมเสนด้วยไอน้ำ จะได้น้ำมันพิมเสน (patchouli oil) ซึ่งมีสารสำคัญคือ แพทชูลอล (patchoulol) และนอร์แพทชูเลนอล (norpatchoulenol) ใช้ในงานสุคนธบำบัด เป็นส่วนผสมในน้ำหอม สารระงับกลิ่นกายและยาไล่แมลง ใบของพิมเสนมีสรรพคุณแก้ปวดประจำเดือน แก้ปวดศีรษะ ลดไข้.

ดู แอสเทอริดและพิมเสน (พืช)

พืชใบเลี้ยงคู่

ืชใบเลี้ยงคู่ ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Magnoliopsida หรือ Dicotyledons กลุ่มของพืชกลุ่มหนึ่งมีเมล็ดที่ประกอบด้วยใบเลี้ยงคู่ ซึ่งเป็นชั้นทางชีววิทยา ต่อจากส่วนทางชีววิทยา ของพืชดอก (Magnoliophyta) ชื่อวิทยาศาสตร์ของ พืชใบเลี้ยงคู่ ได้มีระบบการจัดชั้นแบบใหม่ขึ้นมา ในขณะที่ระบบเก่า ระบบ Cronquist ยังคงเป็นที่นิยมอยู่ ในระบบใหม่ ระบบ Angiosperm Phylogeny Group ได้มีการจัดชั้นดังแสดง.

ดู แอสเทอริดและพืชใบเลี้ยงคู่

พืชใบเลี้ยงคู่แท้

ืชใบเลี้ยงคู่แท้ หรือ Eudicots, Eudicotidae หรือ Eudicotyledons เป็นกลุ่มทางไฟโลเจนเติกของพืชมีดอก บางครั้งเรียกว่าพืชใบเลี้ยงคู่ที่ไม่ใช่แมกโนลิด คำนี้กำหนดขึ้นครั้งแรกเมื่อ..

ดู แอสเทอริดและพืชใบเลี้ยงคู่แท้

พุทธชาดก้านแดง

ทธชาดก้านแดง (var. grandiforum) หรือมะลิฝรั่ง เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ดอกหอม ออกดอกตลอดปีเมื่อสกัดด้วยน้ำให้ได้ความเข้มข้น 3.12 – 100 mg/ml สารสกัดจากใบยับยั้งต่อการเจริญเติบโตของหญ้าข้าวนกและโสน.

ดู แอสเทอริดและพุทธชาดก้านแดง

พุดชมพู

มพู ตีพิมพ์เป็นพืชชนิดใหม่ (ค.ศ. 2004) เนื่องจากเคยสับสนกับ พุดใบใหญ่ Kopsia macrophylla Hook.f. และ พุดชมพู (เดิม) Kopsia fruticosa (Ker) A.DC.

ดู แอสเทอริดและพุดชมพู

พุดพิชญา

ญา เป็นพืชในสกุลโมก ในประเทศไทยนำเข้าจากประเทศศรีลังกา มีชื่อท้องถิ่นว่า "อิดด้า" (Inda) มีความหมายว่าดอกไม้สีขาวบริสุทธิ์ ผู้นำเข้าคือ คุณปราณี คงพิชญานนท์ ลักษณะของดอกสีขาวเหมือนกลุ่มดอกพุดในบ้านเรา เธอจึงนำชื่อ ดอกพุด มา สมาส เข้ากับวลีนามสกุล ออกมาเป็นชื่อใหม่ว่า "พุดพิชญา".

ดู แอสเทอริดและพุดพิชญา

พุดภูเก็ต

ูเก็ตหรือ พุดป่า รักนา เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กในสกุลพุดวงศ์ Rubiaceae ดอกสีเหลือง โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 กลีบ หอมแรงเมื่อใกล้โรย กลีบเลี้ยงติดอยู่กับผลจนผลแก่ เป็นไม้ถิ่นเดียวในไทย พบในภาคใต้ฝั่งตะวันตกตั้งแต่ภูเก็ต พังงา จนถึงสตูล พบครั้งแรกโดยศาสตราจารย์ชวลิต นิยมธรรม ที่อำเภอกระทู้ จังหวัดภูเก็ต เมื่อ..

ดู แอสเทอริดและพุดภูเก็ต

พุดผา

ผา หรือสีดาดง ข่อยดาน ข่อยหิน เป็นพืชในสกุลพุด อยู่ในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก พบใกล้ชายหาด ใบเดี่ยว ดอกเดี่ยว กลิ่นหอมแรง ผลกลมเกลี้ยง ปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดอยู่ ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม กระจายพันธ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก ใช้เป็นไม้ประดับ พบครั้งแรกที่อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรีโดย D.J.

ดู แอสเทอริดและพุดผา

พุดจีบ

ีบ (Tabernaemontana divaricata)มีชื่อว่า টগর (bn:টগর) ใน ภาษาเบงกาลี มียางสีขาว ในสิลเหตเรียกว่า দুধফুল (ดอกน้ำนม) เป็นพืชที่มีสีเขียวตลอดปี อยู่ในวงศ์ Apocynaceae มีดอกพุดจีบสองชนิดในบังกลาเทศ อินเดีย คือชนิดที่มีดอกเดี่ยวกับอีกชนิดที่เป็นดอกกลุ่ม.

ดู แอสเทอริดและพุดจีบ

พุดทุ่ง

ทุ่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Holarrhena densiflora Ridl.; Holarrhena curtisii King & Gamble) หรืออาจเรียกว่า พุดน้ำ, ถั่วหนู, หัสคุณใหญ่, หัสคุณเทศ เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงประมาณ 2-5 ฟุต ลำต้นกลม ตั้งตรง เปลือกต้นของกิ่งก้าน และลำต้นมีสีน้ำตาลดำ ใบเดี่ยวรูปหอก ปลายแหลม เนื้อหนา ดอกเป็นช่อกลีบสีขาวหนา ผลเป็นฝักกลมยาว.

ดู แอสเทอริดและพุดทุ่ง

พุดดง

ง หรือ เข็มบุษบา เป็นพืชในสกุลพุดชมพู (Kopsia) กระจายพันธุ์ทางตอนใต้ของจีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถึงออสเตรเลีย ลักษณะเป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นไม่ผลัดใบ สูงได้ถึง 15 เมตร ใบรูปรี รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาวได้ถึง 30 เซนติเมตร ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่มหรือแหลม ก้านใบยาว 0.3-1 เซนติเมตร ช่อดอกยาว 4-15 เซนติเมตร เกลี้ยงหรือมีขนละเอียด ก้านดอกยาวประมาณ 5 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ปลายแหลม ยาว 2-6 มิลลิเมตร ดอกมีสีขาว ปากหลอดกลีบสีชมพู มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ หลอดกลีบยาว 2-3.5 เซนติเมตร กลีบดอกรูปรี รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 0.7-2 เซนติเมตร เกสรเพศผู้ติดเหนือกึ่งกลางหลอดกลีบดอก อับเรณูยาว 1.2-1.7 มิลลิเมตร ก้านเกสรเพศเมียยาว 2-2.5 เซนติเมตร รวมยอดเกสร ผลออกเป็นคู่แต่มักเจริญเพียงผลเดียว รูปรีเบี้ยว ยาว 1.5-4 เซนติเมตร ภายในมีเมล็ดแข็ง เมื่อสุกมีสีดำอมน้ำเงิน พุดดงนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ เปลือกต้นใช้เป็นยาสวนทวารหนัก ใบและผลใช้รักษาอาการเจ็บคอและทอนซิลอัก.

ดู แอสเทอริดและพุดดง

พุดซ้อน

ซ้อน ถิ่นเดิมของพุดซ้อนเข้าใจว่าอยู่ในประเทศจีน และเป็นพันธุ์ไม้วงศ์เดียวกับเข็มพวงขาว กระทุ่ม และกาแฟ มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ คือ พุดจีน พุดใหญ่ เก็ดถะหวา (ภาคเหนือ) และอินถะหวา (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ).

ดู แอสเทอริดและพุดซ้อน

พุดโกเมน

กเมน เป็นพืชในสกุลสะแล่งหอมไก๋ มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ชาวพื้นเมืองแอฟริกาใช้พืชชนิดนี้เป็นสมุนไพรลดไข้และระงับปวด ส่วนผลและเมล็ดนำมาทำเป็นสีย้อมและสีผสมอาหาร.

ดู แอสเทอริดและพุดโกเมน

กระพังโหม

กระพังโหม(กลาง) หรือจมูกปลาหลด อยู่ในวงศ์ Asclepiadaceae เป็นไม้เถาขนาดเล็ก ไม่มีกลิ่น ยอดอ่อนมีขนเล็กน้อย ยางสีขาว ใบเดี่ยวทรงยาวแคบ เรียงตรงข้าม ดอกออกตามซอกใบ กลีบดอกสีขาวอมชมพู ริมขอบกลีบมีขน ผลรูปไข่ ปลายโค้งเรียว เปลือกนิ่ม แก่แล้วแตกด้านเดียว มีเมล็ดมาก ปลายเมล็ดมีขนติดอยู่เป็นกระจุก ช่วยให้กระจายพันธุ์ได้ไกล ใบและดอกรับประทานได้ รากและใบมีรสขม แก้ไข้จับสั่น ในอินเดีย จีน และอินโดนีเซียใช้ดอก ใบ และผล ต้มเอาน้ำกลั้วคอ ชะล้างแผลเพื่อฆ่าเชื้อ.

ดู แอสเทอริดและกระพังโหม

กระดุมทองเลื้อย

กระดุมทองเลื้อย หรือ เบญจมาศเครือ (Singapore dailsy) เป็นไม้ประดับหรือพืชคลุมดิน ขยายพันธุ์โดยการปักชำ.

ดู แอสเทอริดและกระดุมทองเลื้อย

กระโดนใต้

กระโดนใต้ Blume) Blume เป็นพืชในวงศ์ Lecythidaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ โคนต้นมีพูพอน หูใบร่วงง่ายรูปลิ่มแคบ ใบเดี่ยว แผ่นใบค่อนข้างบาง ดอกช่อ เรียงแน่น กลีบเลี้ยงติดทน กลีบดอกบาง สีออกเขียวอ่อน ผลมีหลายเมล็ด พบในไทยเฉพาะภาคใต้ตอนล่าง เช่น ที่ ยะลา กระจายพันธุ์ตั้งแต่หมู่เกาะนิโคบาร์ไปจนถึงเกาะนิวกินี.

ดู แอสเทอริดและกระโดนใต้

กรดน้ำ

กรดน้ำ (goatweed, scoparia-weed) หรือ หญ้าปีกแมลงวัน เป็นพืชในวงศ์เทียนเกล็ดหอย (Plantaginaceae) พบได้ทั่วไปตามริมน้ำหรือที่ชื้นแฉ.

ดู แอสเทอริดและกรดน้ำ

กล้วยฤๅษี

กล้วยฤๅษี อยู่ในวงศ์ Ebenaceae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกสีน้ำตาลแตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล ผลกลมแป้นสีเขียว สุกแล้วเป็นสีเหลือง ผลสุกรับประทานได้.

ดู แอสเทอริดและกล้วยฤๅษี

กะเมีย

กะเมีย ((Hunter) Roxb.) เป็นไม้เถาเนื้อแข็งในวงศ์ Rubiaceae เป็นพืชสมุนไพร โดยนำใบและกิ่งก้านของสีเสียดเทศ มาสกัดด้วยน้ำเดือด กรอง แล้วระเหยแห้ง จะได้สารสีน้ำตาลอ่อน แข็งเป็นก้อนสีน้ำตาลอ่อน เรียกว่า "สีเสียดเทศ" หรือ "สีเสียดแขก" องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นสารกลุ่มแทนนิน สารสกัดน้ำและสารสกัดเอทานอล มีฤทธิ์ต้านเชื้อที่ทำให้เกิดอาการท้องร่วง (E.

ดู แอสเทอริดและกะเมีย

กะเม็ง

กะเม็ง (false daisy, white-head) เป็นพืชสมุนไพรของไทย ถูกนำมาใช้ในด้านการรักษาโรค จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามพื้นที่ปลูก กะเม็งตัวเมีย คัดเม็ง (ภาคกลาง) บังกีเช้า (จีน) หญ้าสับ ฮ่อมเกี่ยว (ภาคเหนือ).

ดู แอสเทอริดและกะเม็ง

กัญชาเทศ

กัญชาเทศ เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae พบตั้งแต่ไซบีเรียจนถึงจีน เป็นพืชปลูกในสหรัฐ ในไทยพบตามหมู่บ้านชาวเขา ใบทรงคล้ายใบกัญชา ออกดอกตามซอก ทุกส่วนของต้นมีกลิ่นหอมแรง มีสารลีโอนูรีน ทำให้เซื่องซึมเพ้อฝัน คล้ายถูกสะกดจิต มีฤทธิ์เป็นยาสมุนไพร ตำรับยาพื้นบ้านใช้รักษามาลาเรีย ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของกัญชาเท.

ดู แอสเทอริดและกัญชาเทศ

กันเกรา

ต้นกันเกรา กันเกรา เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ขึ้นโดยทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย ในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายนจะออกดอกเป็น ช่อสีเหลือง มีกลิ่นหอมขจรขจาย ต้นกันเกรามีชื่อเรียกอื่นว่า มันปลา ตำเสา มะซูไม้ต้น กันเกรามีชื่อเรียกต่างกันไปคือ ภาคกลางเรียก กันเกรา ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียก มันปลา ส่วนภาคใต้เรียก ตำแสง หรือตำเสา ซึ่งถือเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่ง อันมีชื่อเป็นมงคลและมีคุณสมบัติที่ดีในการใช้ประโยชน์ คือชื่อกันเกราหมายถึง กันสิ่งชั่วร้ายทั้งหลายไม่ให้มาทำอันตรายใด ๆ ชื่อตำเสาคือ เป็นมงคลแก่เสาบ้านไม่ให้ปลวก มอด แมลงต่าง ๆ เจาะกิน ชื่อมันปลา น่าจะเป็นลักษณะของดอกที่เหมือนกับไขมันของปลาเมื่อลอยน้ำไขมันของปลาในถ้วยน้ำแกง โดยเฉพาะช่วงข้าวใหม่ปลามันที่ปลาจะมีความมันและเอร็ดอร่อยเป็นที่สุด ต้นกันเกรามีลักษณะต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15 - 25 เมตร เปลือกสีน้ำตาลเข้ม แตกเป็นร่องลึกไม่เป็นระเบียบ ใบเดี่ยวออกตรงกันข้าม แผ่นใบรูปมนขนาดกว้าง 2.5 - 3.5 เซนติเมตร ยาว 8 - 11 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือยาวเรียว ฐานใบแหลม โคนมน ใบเขียวมันวาว มีทรงพุ่งเป็นทรงฉัตรแหลมสวยงาม ดอก เริ่มบานสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง กลิ่นหอม ผลกลมเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6 มม.

ดู แอสเทอริดและกันเกรา

กาญจนิการ์

กาญจนิการ์ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Bignoniaceae ไม่ผลัดใบ ดอกช่อ มีดอกย่อยสีขาวจำนวนมาก โคนกลีบดอกเป็นหลอดเรียวยาว ขอบกลีบหยักเว้าและย่น ผลเป็นฝักรูปทรงกระบอก แห้งแล้วแตก เมล็ดแบนและมีปีกบาง ๆ ออกดอกเดือนธันวาคมถึงกุมภาพันธ์ และยังเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดกาญจนบุรี ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ Paget ผู้เก็บตัวอย่างครั้งแรกจากกรุงเทพมหานครเมื่อ..

ดู แอสเทอริดและกาญจนิการ์

กาแฟใบใหญ่

กาแฟใบใหญ่ หรือ กาแฟไลเบอริกา อินโดนีเซียเรียกโกปีนังกา ฟิลิปปินส์เรียกโกเปบาราโก เป็นพืชในสกุลกาแฟ วงศ์ Rubiaceae เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบ กิ่งเกลี้ยง ใบออกตรงข้าม มีหูใบระหว่างก้านใบ ออกดอกเป็นกลุ่มตามซอกใบ กลีบเลี้ยงเป็นหลอด กลีบดอกบิดเวียนไปทางซ้าย สีขาว ผลมีเมล็ดเดียว แข็ง สีเหลืองหรือสีแดง กาแฟใบใหญ่เป็นพืชพื้นเมืองในแอฟริกา ปลูกเป็นการค้าที่อเมริกาใต้ และแอฟริกา นำมาปลูกที่อินเดียเมื่อ..

ดู แอสเทอริดและกาแฟใบใหญ่

กุหลาบพันปี

กุหลาบพันปี (Azalea) เป็นชื่อสกุลของไม้ดอกในสกุล Rhododendron ในวงศ์กุหลาบป่า (Ericaceae) มีมากกว่า 1,000 ชน.

ดู แอสเทอริดและกุหลาบพันปี

กุหลาบแดง

กุหลาบแดง หรือ กุหลาบดอย เป็นไม้ดอกประเภทกุหลาบพันปีชนิดหนึ่ง ในวงศ์กุหลาบป่า (Ericaceae) จัดเป็นกุหลาบพันปีอีกชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย มีถิ่นแพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่จีนตอนใต้, ญี่ปุ่น และภูมิภาคอินโดจีน สำหรับในประเทศไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามที่โล่งบริเวณป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 800-1,500 เมตร จากระดับน้ำทะเล ลำต้นเป็นไม้พุ่ม มีความสูงตั้งแต่ 1-3 เมตร ลำต้นและกิ่ง มีขนสีน้ำตาลแดง ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับเป็นกลุ่มที่ปลายกิ่ง รูปรี รูปไข่ รูปไข่แกมขอบขนาน รูปไข่กลับ หรือรูปใบหอกกลับ ปลายแหลมหรือมน โคนสอบแคบ มีขนสีน้ำตาล ดอก สีแดงอมส้ม มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงขนาดเล็กโคนเชื่อมกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีขนสีขาวหรือแดง กลีบดอก 5 กลีบ เชื่อมกันคล้ายรูปแตร ภายในมีจุดประสีแดงเข้ม ปลายแยกเป็นแฉกค่อนข้างกลม ผล มีทรงรูปไข่ มีขนสีน้ำตาลแดง เมื่อแก่แตกได้ เมล็ดมีจำนวนมาก ขนาดเล็ก มีปีกบาน กุหลาบแดง นิยมปลูกเป็นไม้ประดับทั่วไปในที่สูง ให้ดอกสวยงาม โดยจะออกดอกในช่วงฤดูร้อน ระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม.

ดู แอสเทอริดและกุหลาบแดง

กุหลาบเชียงดาว

กุหลาบเชียงดาวหรือคำขาวเชียงดาว เป็นพืชในวงศ์ Ericaceae เป็นไม้พุ่มอิงอาศัยลำต้นและกิ่งคดงอ แตกกิ่งสั้นๆจำนวนมาก ใบเดี่ยว เรียงเป็นกระจุกที่ปลายยอด ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด โคนกลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ผลรูปกระสวย ดอกบานเดือนมีนาคม – พฤษภาคม พบในภาคเหนือ พบครั้งแรกโดย C.C.

ดู แอสเทอริดและกุหลาบเชียงดาว

ฝ่าแป้ง

อก ฝ่าแป้ง ดับยาง หรือฉับแป้ง ภาษากะเหรี่ยงเรียกสะกอปรื๋อ เป็นไม้พุ่ม ลำต้นและกิ่งก้านที่ยังอ่อนมีขนหนาแน่น ใบเดี่ยว ผิวใบด้านบนและด้านล่างมีขนหนาแน่น ดอกช่อ ก้านช่อดอกมีขนหนาแน่น กลีบดอกเป็นสีขาว ผลอ่อนสีเขียวอ่อน ผิวเป็นมัน เมื่อแก่เป็นสีม่วงดำหรือสีดำ เป็นพืชท้องถิ่นในอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ แล้วจึงแพร่กระจายไปยังส่วนต่างๆของโลก ใบใช้ขยำแล้วล้างทำความสะอาดจานชาม เพราะมียางลื่นมือ เปลือกใช้รักษาโรคผิวหนัง ใบพอกแผล แก้น้ำร้อนลวก.

ดู แอสเทอริดและฝ่าแป้ง

มหาหิงคุ์

ลักษณะขวดมหาหิงคุ์ที่ใช้ประกอบอาหาร มหาหิงคุ์ (हींग. ถอดรูปได้เป็น หีค หรือ หีงคะ ชื่อภาษาอังกฤษคือ asafoetida หรือเรียกสั้น ๆ ว่า hing) เป็นยางที่หลั่งจากพืชหลายชนิดในสกุลมหาหิงคุ์ (Ferula) ซึ่งมีถิ่นกำเนิดในประเทศอิหร่าน อัฟกานิสถาน และนิยมเพาะปลูกใกล้กับประเทศอินเดีย มหาหิงคุ์มีกลิ่นเหม็นฉุน รสเผ็ดร้อน นิยมใช้ทำยาแก้ท้องอืดท้องเฟ้อในเด็ก นอกจากนี้ยังใช้เป็นยาระบาย ยาแก้ไข้หวัด และใช้ผสมอาหารได้อีกด้ว.

ดู แอสเทอริดและมหาหิงคุ์

มะพลับ

มะพลับ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Diospyros malabarica (Desr.) Kostel) เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางใบเดี่ยวที่อยู่ในวงศ์ Ebenaceae ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกับต้นตะโก ต้นมะพลับนั้นมีดอกขนาดเล็กและก็มีผลที่ค่อนข้างกลมแต่ถ้าสุกแล้วสามารถกินได้มีรสชาติอร่อย ต้นมะพลับนอกจากมีผลที่กินได้แล้วยังมีคุณค่าในทางสมุนไพรสูงมากด้วย มะพลับเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่งของคนไทย กำหนดปลูกไว้ทางทิศใต้ เชื่อกันว่าการปลูกต้นมะพลับในบริเวณบ้านจะทำให้ร่ำรวยยิ่งขึ้น.

ดู แอสเทอริดและมะพลับ

มะพลับพรุ

มะพลับพรุ เป็นพืชในวงศ์มะพลับ (Ebenaceae) กระจายพันธุ์ทางใต้ของคาบสมุทรมลายู เกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว เป็นไม้ยืนต้น สูง 30-40 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มทรงสูงแตกกิ่งชั้นเดียว โคนต้นมีพูพอนสูงถึง 1 เมตร ใบหนาเป็นรูปรีถึงรูปไข่ กว้าง 4-9 เซนติเมตร ยาว 8-20 เซนติเมตร ผิวใบเกลี้ยง ปลายใบมนถึงเป็นติ่งแหลม โคนใบสอบถึงมนกลม ดอกเพศผู้สีเขียวอ่อนถึงเหลืองนวล เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร เกิดบนช่อสั้น ๆ ตามซอกใบ เกสรเพศผู้ 12-15 อัน ดอกเพศเมียเกิดบนช่อสั้น ๆ ตามปลายกิ่ง ผลรูปไข่ปลายตัด กว้างประมาณ 2.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 3.5 เซนติเมตร มีขนคลุมหนาแน่น มี 8 เมล็.

ดู แอสเทอริดและมะพลับพรุ

มะพลับเจ้าคุณ

มะพลับเจ้าคุณ เป็นไม้ยืนต้นในสกุลมะพลับ วงศ์ Ebenaceae เปลือกสีน้ำตาลแกมดำ ใบเดี่ยว แผ่นใบหนา มีขนนุ่มทั้งสองด้าน ดอกแยกเพศแยกต้น โคนกลีบดอกเป็นรูประฆัง กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล ออกดอกช่วงกุมภาพันธ์ – เมษายน กระจายพันธุ์ในแถบภาคเหนือ พบครั้งแรกในไทยเมื่อ 17 เมษายน..

ดู แอสเทอริดและมะพลับเจ้าคุณ

มะกอกออลิฟ

ผลมะกอกสีดำ ต้นมะกอกโบราณในกรีซ การเก็บเกี่ยวมะกอกในคริสต์ศตวรรษที่ 14 มะกอกออลิฟ (olive) เป็นมะกอกชนิดที่นำมาทำน้ำมันมะกอก เป็นพืชท้องถิ่นในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นไม้ยืนต้น ลำต้นออกสีเทาออกขาวนวล ต้นโค้งงอ ดอกสีขาวครีมขนาดเล็ก กลิ่นหอม ผลเล็กเท่านิ้วหัวแม่มือ ผลดิบสีเขียว ผลสุกเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดงหรือสีม่วง.

ดู แอสเทอริดและมะกอกออลิฟ

มะกอกโคก

มะกอกโคก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Shrebera swieteniodes) มีชื่อเรียกอื่นๆ เช่น โยนีปีศาจ หีผี มะกอกดอน สำโรง มะกักป่า มะกอกเผือก เป็นต้น มะกอกโคก เป็นไม้ยืนต้น ผลัดใบ สูงประมาณ 10 – 15 เมตร เป็นพืชถิ่นเดียว พบตามภูเขาไฟเก่า เช่นแถบเขากระโดง เขาอังคาร เขาพนมรุ้งซึ่งเคยเป็นภูเขาไฟที่ดับสนิทนานแล้ว ใบ ประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ปลายคี่ เรียงตรงข้าม ช่อใบยาว ใบย่อย 2 – 3 คู่ เรียงตรงข้ามรูปไข่ รูปใบหอก หรือรูปขอบขนาน แกมรูปรี ปลายแหลม โคนสอบเรียวปลายแคบไปตามก้าน ขอบเรียบ ด้านบนเกลี้ยงหรือมีขนประปราย ด้านล่างมีขนนุ่ม ดอก ดอกเล็กออกเป็นช่อกระจะที่ปลายกิ่ง ผลของมะกอกโคกเป็นรูปไข่กลับ เปลือกแข็ง แตกเป็นสองซีกเมื่อแห้ง เมล็ดมีปีก ผลที่แก่จัดจะแตกเป็น 2 ซีก มองเห็นเมล็ดข้างในได้ตามชื่อที่เรียกกัน หากนำไปกดบนดินทราย จะยิ่งดูแปลกคล้ายอวัยวะเพศหญิงมาก.

ดู แอสเทอริดและมะกอกโคก

มะยมแก้ว

มะยมแก้ว เป็นพืชในวงศ์ Campanulaceae เป็นไม้ล้มลุกอายุยืน ลำต้นเกลี้ยงหรือมีขนปกคลุม ลำต้นกลวงและมีเหง้าเป็นหัว ใบออกตรงข้าม ก้านใบยาว ขอบใบหยักแบบซี่เลื่อย ดอกสีขาวหรือสีชมพูอ่อน ออกตามซอกใบ ผลมีเนื้อหลายเมล็ด สีขาว มีกลีบเลี้ยงติดอยู่ เปลือกเป็นเส้นใย พบในอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จีนตอนใต้และไต้หวัน ผลรับประทานได้ เหง้ามีแป้ง ลำต้นและใบนำมาทำอาหารได้.

ดู แอสเทอริดและมะยมแก้ว

มะริด (พืช)

มะริด เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Ebenaceae ผลัดใบ แยกเพศ ใบอ่อนสีเขียวอ่อนหรือออกสีชมพู มีขนเป็นมันปกคลุม ดอกตัวผู้ออกเป็นกระจุก กลีบเลี้ยงรูปท่อ ปลายเว้าเป็นสี่กลีบ กลีบดอกสีขาวอมเหลือง ดอกตัวเมียเป็นดอกเดี่ยว ก้านดอกสั้นมากดอกใหญ่กว่าดอกตัวผู้เล็กน้อย ผลเปลือกบางมีขนสั้นๆสีน้ำตาลแดงปกคลุม กลิ่นคล้ายเนยแข็ง เนื้อสีขาว รสหวานฝาด ผลมะริด มะริดเป็นไม้พื้นเมือง ขึ้นได้ทั่วไปในฟิลิปปินส์ ผลสุกรับประทานได้ รสหวาน เนื้อไม้สีดำ ผิวเรียบทนทาน ในฟิลิปปินส์นิยมใช้ในงานหัตถกรรม.

ดู แอสเทอริดและมะริด (พืช)

มะลิ

มะลิ เป็นไม้พุ่มหรือไม้เถาในวงศ์มะลิ มีประมาณ 200 ชนิด มีถิ่นกำเนิดในพื้นที่เขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในแถบทวีปยุโรป เอเชีย และแอฟริกา ลักษณะดอกและกลิ่นมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละชนิดหรือพัน.

ดู แอสเทอริดและมะลิ

มะลิภูหลวง

มะลิภูหลวง เป็นไม้พุ่มรอเลื้อยในวงศ์มะลิ ใบเดี่ยวรูปไข่หรือรูปรี ดอกช่อออกที่ปลายยอด ดอกย่อยมีตั้งแต่ 10 ดอกขึ้นไป กลีบดอกเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 7 กลีบ กลิ่นหอมแรง ออกดอกเดือนกันยายน–พฤศจิกายน กระจายพันธุ์ในป่าดิบเขาในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง จังหวัดเลย พบครั้งแรกโดยหมอคาร์ ที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จังหวัดนครนายก.

ดู แอสเทอริดและมะลิภูหลวง

มะลิลา

มะลิลา หรือ มะลิซ้อน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Jasminum sambac) เป็นไม้พุ่มกึ่งเลื้อย สูง 15-25 ซม. ใบออกตรงข้าม รูปไข่กว้าง 3.5 - 4.5 ซม. ยาว 4-7 ซม.

ดู แอสเทอริดและมะลิลา

มะลิสยาม

มะลิสยามหรือมะลิเมาหรือเสี้ยวดิน เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Oleaceae ออกดอกที่ปลายยอด มี 1-3 ดอก กลิ่นหอมแรง ผลกลม สุกแล้วเป็นสีแดง เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย กระจายพันธุ์ตามเขาหินปูนและป่าผลัดใบในภาคกลางและภาคตะวันตก พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อ 2 กุมภาพัน..

ดู แอสเทอริดและมะลิสยาม

มะลินก

มะลินกหรือเขี้ยวงู ไส้ไก่ต้น มะลิฟ้า แส้วน้อย subsp.

ดู แอสเทอริดและมะลินก

มะลิไส้ไก่

มะลิไส้ไก่ เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Oleaceae เลื้อยไปตามพื้นดินหรือต้นไม้อื่น เมื่ออ่อนเป็นสีเขียว แก่แล้วเป็นสีน้ำตาล ต้นเรียบ เมื่อแก่จะแตกเล็กน้อย มีเนื้อไม้แข็ง ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกัน ขอบใบเรียบ ใบห่อมาข้างหน้าเล็กน้อย ใบค่อนข้างหนา ช่อดอกเป็นกระจุก สีขาว กลีบเลี้ยงสีเขียว ผลเดี่ยว กลมรีเล็กน้อย เมื่ออ่อนสีเขียว แก่เป็นสีดำ มีเมล็ดเดียว ใช้เป็นไม้ประดั.

ดู แอสเทอริดและมะลิไส้ไก่

มะลุลี

มะลุลี เป็นไม้เถาเลื้อยที่มีดอกสีขาวคล้ายมะลิ มีกลิ่นหอมตลอดทั้งวัน เลื้อยไกลราว 1-2 เมตร.

ดู แอสเทอริดและมะลุลี

มะอึก

มะอึก หรือ Solanum stramonifolium Hairy-fruited eggplant เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae เป็นพืชพื้นเมืองของไทยและอินโดนีเซีย ผลกลมมีขนอ่อนๆปกคลุมอยู่โดยรอบ ผลอ่อนสีเขียว รสขื่น สุกแล้วเป็นสีเหลืองอมส้ม มีรสเปรียวและหอม เมื่อสุกเป็นสีเหลือง มีเมล็ดมาก รับประทานได้ ผลทั้งดิบและสุก มีรสเปรี้ยว ใส่ในน้ำพริก ใช้ปรุงแกงที่ออกรสเปรี้ยวเช่น แกงคั่วส้ม แกงคั่ว แกงหมูตะพาบน้ำ โดยต้องขูดขนออกก่อนนำไปทำอาหาร แล้วหั่นเป็นแว่น ชาวม้งนำผลไปใส่น้ำพริกทางจังหวัดจันทบุรีนิยมนำมายำ ทางภาคเหนือและภาคอีสานนำมาทำส้มตำ ใส่แกงส้ม ทางภาคใต้ใส่ในแกงเนื้อและปลาย่าง ดอกมะอึกกำลังบาน เมล็ดจำนวนมากในลูกมะอึกซึ่งมีลักษณะคล้ายเมล็ดมะเขือ.

ดู แอสเทอริดและมะอึก

มะจ้ำก้อง

มะจ้ำก้อง หรือ เหมือด กาลังกาสาตัวผู้ อ้ายรามใบใหญ่ อยู่ในวงศ์ Myrsinaceae เป็นไม้ยืนต้น ใบเดี่ยว หนา ใบอ่อนสีแดง ดอกช่อ สีแดงหสลับขาว ผลกลม สุกแล้วเป็นสีดำ ใบใช้แก้ท้องเสีย เมล็ดแก้ลมพิษ ต้นแก้โรคเรื้อน ในรัฐเประ ประเทศมาเลเซีย ใช้ใบต้มรักษาอาการติดเชื้อไวรั.

ดู แอสเทอริดและมะจ้ำก้อง

มะคังแดง

มะคังแดง หรือ ตุมกาแดง ชื่ออื่นๆคือ กาญจนบุรี เรียก จงก่าขาว ตะลุมพุกแดง ราชบุรีเรียก จิ้งก่าขาว ชันยอด เชียงใหม่เรียก มะคัง นครราชสีมาเรียก มุยแดง ลุมพุกแดง เป็นพืชในวงศ์ Rubiaceae ลำต้นและกิ่งก้านสีน้ำตาลแดง มีขนนุ่มๆเหมือนกำมะหยี่สีน้ำตาลแดงปกคลุมทั่วไป โคนต้นและกิ่งมีหนามโดยรอบ หนามขนาดใหญ่ พุ่งตรงออกเป็นระยะ เนื้อไม้สีขาวนวล มะคังแดงมีฤทธิ์เป็นยา ลำต้น ต้มน้ำดื่ม แก้เลือดลมเดินไม่สะดวก ผสมกับหัวยาข้าวเย็น ต้มน้ำดื่มแก้ไตพิการ แก้ปวดท้อง ขับพิษโลหิต และน้ำเหลือง เปลือกต้น ตำพอกแผลสด ห้ามเลือด ทางจังหวัดอุบลราชธานีใช้เปลือกต้น เข้ายากับมุ่ยขาว ทำเป็นลูกกลอน แก้ปวดเส้นเอ็น อัมพฤกษ์ อัมพาต แก้ริดสีดวงทวาร แก่น ต้มน้ำดื่มแก้ปวดเมื่อย แก้ปวดประจำเดือน แก่นผสมกับยาชนิดอื่นๆ ใช้รักษาโรคกระเพาะอาหาร.

ดู แอสเทอริดและมะคังแดง

มะนาวไม่รู้โห่

ผลมะนาวไม่รู้โห่ มะนาวไม่รู้โห่ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Carissa carandas L.; ชื่อสามัญ: Karanda; Carunda; Christ's thorn) หรือชื่อพื้นเมืองอื่นเช่น มะนาวโห่, หนามแดง, หนามขี้แฮด (เชียงใหม่) เป็นพืชที่มีลักษณะเป็นไม้พุ่มยืนต้นขนาดย่อม สูง 2-3 เมตร ตามกิ่งก้านมีหนามค่อนข้างยาวและแหลม ลักษณะใบ เป็นใบเดี่ยวรูปไข่รี ปลายและโคนมน ขอบเรียบ ดอกมีขนาดเล็กมีสีขาวเป็นช่อ หอมกลีบดอกเป็นรูปหอก ผลขนาดเท่าหัวแม่มือ เป็นพวงสีแดงสดแก่สีดำรับประทานได้ ชื่อ "มะนาวไม่รู้โห่" นั้นเป็นชื่อพืชที่มีปรากฏเรียกกันมาแต่โบราณ ซึ่งเห็นได้จากที่ปรากฏอยู่ในวรรณคดีเช่นในเรื่อง พระรถเมรี นิเวศวิทยาและการแพร่กระจายเป็นพรรณไม้กลางแจ้ง ที่ขึ้นได้ดีในดินเกือบทุกชน.

ดู แอสเทอริดและมะนาวไม่รู้โห่

มะแว้งนก

มะแว้งนก เป็นพืชในสกุล Solanum เป็นพืชพื้นเมืองในยูเรเชีย เป็นพืชที่ใช้เป็นอาหารและยาได้Mohy-ud-dint, A., Khan, Z., Ahmad, M., Kashmiri, M.A., Chemotaxonomic value of alkaloids in Solanum nigrum complex, Pakistan Journal of Botany, 42(1): 653-660, 2010.

ดู แอสเทอริดและมะแว้งนก

มะเกลือ

มะเกลือ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Ebenaceae พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณทั่วไป เรือนยอดเป็นพุ่มกลมกิ่งอ่อนมีขนนุ่ม ผลดิบของมะเกลือมีสรรพคุณเป็นยา จัดเป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง สมัยก่อนนิยมใช้ยางผลมะเกลือไปย้อมผ้า ผลที่เปลือกเป็นสีดำ เมื่อรับประทานทำให้หน้ามืด ตาลายตาพร่ามัว อาเจียน ท้องเดินและตาบอดได้ มะเกลือเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลของจังหวัดสุพรรณบุรี ในภาคเหนือเรียกต้นไม้ชนิดนี้ว่า มะเกีย มะเกือ หรือ ผีผา ทางใต้เรียกว่า เกลือ แถบเขมร-ตราดเรียก มักเกลือ.

ดู แอสเทอริดและมะเกลือ

มะเขือบ้าดอกขาว

อกในไฮเดอราบัด อินเดีย มะเขือบ้าดอกขาว เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae เป็นพืชฤดูเดียว ดอกเป็นหลอดปลายบานคล้ายแตรสีขาว ผลเป็นแบบกระเปาะ ที่ผิวมีหนาม มีถิ่นกำเนิดในเม็กซิโก และทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐ มีฤทธิ์หลอนประสาท ทุกส่วนของพืชชนิดนี้มีพิษทั้งต่อคนและสัตว์ ในบางท้องที่ห้ามซื้อขายพืชชนิดนี้ ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับได้.

ดู แอสเทอริดและมะเขือบ้าดอกขาว

มะเขือพวง

มะเขือพวง (Turkey berry) เป็นพืชตระกูลมะเขือ เป็นไม้ข้ามปี มีถิ่นกำเนิดในแถบรัฐฟลอริดา, หมู่เกาะเวสต์ อินดีส์, เม็กซิโก จนถึงอเมริกากลาง และทวีปอเมริกาใต้แถบประเทศบราซิล เป็นวัชพืชขึ้นกระจัดกระจายเกือบทั่วเขตร้อน มะเขือพวงใช้ตำผสมลงในน้ำพริกหลายชนิดเช่น น้ำพริกกะปิ น้ำพริกขี้กา ใช้ใส่ในแกงเช่น แกงเผ็ด แกงเขียวหวาน แกงป่า แกงอ่อม ซุบ กินดิบเป็นผักจิ้ม หรือกินสุกโดยการเผา ปิ้ง ย่างในภาษาใต้จะเรียกว่า "มะเขือเทศ" หรือ "เขือเทศ".

ดู แอสเทอริดและมะเขือพวง

มะเขือขม

ผลมะเขือขมในบูร์กินาฟาโซ มะเขือขม หรือมะเขือเอธิโอเปีย ภาษากะเหรี่ยงเรียก สะกอข่าป่าล่ะ สะกอค่าซ่า หรือสะกอข่า เป็นไม้พุ่ม ลำต้นกิ่งก้านเกลี้ยง ใบเดี่ยว ขอบใบหยัก ผิวใบเป็นคลื่น ดอกช่อ ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ กลีบดอกสีขาว ผลมีแนวหยักตื้นตามยาวรอบผล แก่แล้วเป็นสีส้มแดง ผิวเป็นมัน พบในเขตร้อนของเอเชียและแอฟริกา ผลรับประทานสดหรือต้มกินกับน้ำพริก มีรสขมใบรับประทานได้ ผลสุกที่แก่เป็นสีเหลืองมีแคโรทีนสูง.

ดู แอสเทอริดและมะเขือขม

มะเขือขื่น

มะเขือขื่น เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชีย เป็นพืชสมุนไพรในอินเดีย มีขนและหนามปกคลุมตามลำต้น ใบเดี่ยว ผิวใบทั้งสองด้านมีหนามและขนรูปดาว ดอกเดี่ยวหรือดอกช่อ ออกตามซอกใบ กลีบดอกสีม่วง กลีบยับย่น เกสรตัวผู้มีอับเรณูสีเหลือง ผลแบบเบอร์รี แก่เต็มที่สีเหลือง ชาวขมุใช้ผลใส่แกงหรือเป็นผักจิ้ม ในลาวนำมาเจาะเอาแกนและไส้ออก หั่นเป็นชิ้นเล็กๆ แช่น้ำปูนใส นำไปยำกับหมูสับ ใส่ใบขิงซอยชาวเผ่านิลกิริสใช้ผลรักษาฝีที่นิ้วRémi Tournebize,, Institute of Research for Development (Marseille), Thesis 2013, p.

ดู แอสเทอริดและมะเขือขื่น

มะเขือเทศราชินี

มะเขือเทศราชินี เป็นมะเขือเทศที่ผลเล็ก รสชาติหวาน เนื้อแน่นมีกลิ่นหอมต่าง และมีสารบีตา-แคโรทีน วิตามินซี และวิตามินอีสูง การปลูกจะเก็บเกี่ยวได้ภายใน 90 วัน ผลผลิตเฉลี่ย 2,000-4,000 กิโลกรัม/ไร่ การแปรรูป สามารถนำผลไปทำมะเขือเทศราชินีอบแห้ง และมะเขือเทศราชินีแช่อิ่ม.

ดู แอสเทอริดและมะเขือเทศราชินี

มะเขือเทศต้น

กลุ่มดอก ผลดิบ ผลสุก มะเขือเทศต้น หรือ Solanum betaceum เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Solanaceae กิ่งเปราะหักง่าย ใบเดี่ยว มีกลิ่นฉุน ก้านใบยาว ดอกช่อขนาดเล็กสีชมพูหรือสีน้ำเงินอ่อน ผลสดแบบผลมีเนื้อหลายเมล็ด กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล ผลสีแดงอมม่วง แดงอมส้ม หรือเหลือง ฉ่ำน้ำ เมล็ดกลมแบน มะเขือเทศต้นมีถิ่นกำเนิดในเทือกเขาแอนดีส ประเทศเปรูก่อนจะแพร่กระจายพันธุ์ออกไป ผลใช้ทำอาหารและของหวาน ผลดิบใช้ทำน้ำผลไม้ ใส่ในแกงและน้ำพริก ผลสุกใส่ในสตูว์ ซุป สลัด เปลือกมีสารรสขมซึ่งทำให้หายไปได้โดยปอกเปลือกออกหรือลวกในน้ำเดือดประมาณ 4 นาที.

ดู แอสเทอริดและมะเขือเทศต้น

มังกรคาบแก้ว

มังกรคาบแก้ว (bagflower) เป็นไม้พุ่มรอเลื้อยสูง 3 - 6 เมตร มีถิ่นกำเนิดในแอฟริกาตะวันตกจากประเทศแคเมอรูนถึงประเทศเซเนกัล เป็นไม้ไม่ผลัดใบ ออกดอกเป็นช่อ กลีบดอกมีสีแดงเข้ม 5 กลีบ หลอดดอกเชื่อมติดกับกลีบเลี้ยงสีขาวคล้ายรูปหัวใจ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับเป็นไม้ที่ชอบแสงแดด วิลเลียม คูเปอร์ ธอมสัน มิชชันนารีและนายแพทย์ในไนจีเรียเป็นผู้ตั้งชื่อไม้ดอกชนิดนี้ว่า Bleeding heart.

ดู แอสเทอริดและมังกรคาบแก้ว

มังตาน

อกมังตาน ต้นมังตาน มังตาน เป็นชื่อไม้ต้นชนิด Schima wallichii (DC.) Korth.

ดู แอสเทอริดและมังตาน

มันขี้หนู

มันขี้หนู เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae เป็นไม้ล้มลุก อายุยืน กิ่งอวบน้ำ สะสมอาหารที่รากเป็นหัว สีออกดำ น้ำตาล หรือสีออกแดง ออกขาว ลำต้นเป็นสี่เหลี่ยม ใบค่อนข้างหนา อวบน้ำ ขยี้แล้วมีกลิ่นหอม ขอบใบหยักเป็นซี่หยาบๆ เป็นพืชที่มีความหลากหลายและแบ่งเป็นพันธุ์ตามสีของหัว ถิ่นกำเนิดอยู่ในเขตร้อนของแอฟริกาหรือมาดากัสการ์ มีปลูกทั่วไปในมาดากัสการ์ ศรีลังกา อินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หัวมีกลิ่นหอม ดอกมันขี้หนู หัวมันขี้หนู.

ดู แอสเทอริดและมันขี้หนู

มาเต

มาเต (yerba mate), มาชี (โปรตุเกสแบบบราซิล: erva-mate) หรือ ชาบราซิล เป็นพืชในวงศ์ Aquifoliaceae เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น ไม่ผลัดใบ แตกกิ่งมาก ใบหนาและเหนียว ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอกช่อออกตามซอกใบ แยกเพศ ดอกสีขาว ผลสุกสีแดงหรือสีดำ เมล็ดเดียว แข็ง แบ่งเป็น 2 สายพันธุ์คือ var.

ดู แอสเทอริดและมาเต

มิราเคิล (พืช)

มิราเคิล (Miracle fruit; Miracle berry) เป็นไม้ผลพื้นเมืองของประเทศกานา ลักษณะต้นมีขนาดทรงพุ่มเล็ก ชอบความชื้นสูงแต่ไม่ชอบแดดจัด ผลสุกแก่จะมีสีแดงสดใส เมื่อรับประทานผลสุกแก่เข้าไปแล้ว ประมาณ 1-2 ชั่วโมง แล้วรับประทานผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว เช่น มะนาว มะยม ระกำ ตามเข้าไปจะไม่รู้สึกเปรี้ยว ในทางตรงกันข้ามกลับกลายเป็นรสชาติหวานคล้ายน้ำตาล.

ดู แอสเทอริดและมิราเคิล (พืช)

มินต์ (พืช)

มินต์ (Mint, มาจากภาษากรีกคำว่า míntha, หรือในอักษรไลเนียร์บี mi-ta) เป็นสกุลหนึ่งในวงศ์กะเพรา (หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าวงศ์มินต์) สปีชีส์ของมินต์นั้นได้รับการประเมินว่ามีประมาณ 13 ถึง 18 สปีชี.

ดู แอสเทอริดและมินต์ (พืช)

มินต์ออสเตรเลีย

มินต์ออสเตรเลีย (Mentha australis) มีอีกชื่อหนึ่งว่า มินต์แม่น้ำ, มินต์พื้นเมือง, สะระแหน่พื้นเมือง เป็นมินต์ชนิดหนึ่งในสกุลมินต์ มีถิ่นฐานอยู่บริเวณตะวันออกของประเทศออสเตรเลีย ในทุก ๆ รัฐและทุก ๆ เขตการปกครอง ยกเว้นรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย มินต์ออสเตรเลียแท้จริงแล้วมีต้นกำลังมาจากเกาะเหนือของประเทศนิวซีแลน.

ดู แอสเทอริดและมินต์ออสเตรเลีย

มินต์ป่า

thumbnail มินต์ป่า (पुदीना/ Pudina,"Podina" ในภาษาฮินดี) (มินต์ทุ่ง หรือ มินต์ข้าวโพด) เป็นสปีชีส์หนึ่งของมินต์ พบได้ในเขตอากาศอบอุ่นของทวีปยุโรป, ทางตะวันตกและตอนกลางของทวีปเอเชีย สิ้นสุดบริเวณตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัย, ทางตะวันออกของไซบีเรีย และทวีปอเมริกาเหนือEuro+Med Plantbase Project: Germplasm Resources Information Network: Flora of NW Europe.

ดู แอสเทอริดและมินต์ป่า

มินต์น้ำ

มินต์น้ำ (ชื่อพ้อง: Mentha hirsuta Huds.Euro+Med Plantbase Project) เป็นพืชซึ่งมีอายุยืนประมาณสองปี ในสกุลมินต์ มักเจริญเติบโตในที่ชื้น และพบมากในทวีปยุโรป, ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา และทางตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปเอเชียFlora of NW Europe.

ดู แอสเทอริดและมินต์น้ำ

มินต์เอเชีย

มินต์เอเชีย (Asian mint) เป็นสกุลหนึ่งของมินต์ พบได้ในทวีปเอเชี.

ดู แอสเทอริดและมินต์เอเชีย

มือสยาม

มือสยาม เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Araliaceae กิ่งมีเลนติเซลเป็นจุดนูน สีขาว ใบรูปฝ่ามือ มีตุ่มสีขาวหรือสีเหลืองใต้ใบย่อย ดอกช่อ ผลกลม ออกดอกช่วงเดือนเมษายน – พฤษภาคม เป็นพืชที่ทนความหนาวเย็นได้ดี ขึ้นตามซอกหินปูน ใช้เป็นไม้ประดับ พบครั้งแรกเมื่อ 28 กุมภาพัน..

ดู แอสเทอริดและมือสยาม

มูกเขา

มูกเขา หรือ นวล, มูกขาว, ยางขาว เป็นพืชในวงศ์ตีนเป็ด (Apocynaceae) กระจายพันธุ์ในแอฟริกาตะวันออก ทางตอนใต้ของโซมาเลียและโมซัมบิกถึงเขตร้อนในทวีปเอเชีย เนื้อไม้ใช้ทำของใช้ ใบใช้รักษาแผลสด ผลสามารถรับประทานได้.

ดู แอสเทอริดและมูกเขา

มธุลดา

มธุลดา (American campsis) เป็นพันธุ์ไม้พื้นเมืองของทวีปอเมริกาเหนือ ทางตะวันออกของทวีป มธุลดานั้นจากการศึกษาทางสัณฐานวิทยาและชีวโมเลกุลพบว่ามธุลดาและรุ่งอรุณเคยเป็นพืชชนิดเดียวกันและขึ้นอยู่ในบริเวณเดียวกันมาก่อน โดยอ้างอิงทฤษฎีที่ว่าพื้นที่ทางเอเชียตะวันออกเคยเชื่อมติดกับทวีปอเมริกาเหนือโดยเรียกส่วนนี้ว่า "Bering land bridge" และต่อมาเมื่อมีช่องแคบเบริ่งเกิดขึ้นทำให้มีวิวัฒนาการแยกเป็นต่างชนิดกันเมื่อประมาณ 24.4 ล้านปีก่อน.

ดู แอสเทอริดและมธุลดา

มณเฑียรระนอง

มณเฑียรระนอง เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Linderniaceae มีรากตามข้อ ลำต้นมักเป็นเหลี่ยม เกลี้ยง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนประปราย ขอบใบจักฟันเลื่อย ไร้ก้านหรือเกือบไร้ก้าน ใบบางครั้งมีสีน้ำตาลอมแดง ดอกเดี่ยว กลีบเลี้ยงคล้ายรูปปากเปิด หลอดกลีบมีสันเป็นครีบ 5 อัน เกลี้ยงหรือมีขนประปราย กลีบดอกรูปปากเปิด สีม่วง เกสรเพศผู้ 4 อัน คู่ล่างยาวกว่า มีเดือยที่โคนรูปเส้นด้าย อับเรณูเชื่อมติดเป็นคู่ กางออก โคนมีรยางค์ ผลแบบผลแห้งแตก แตกตามแนวตะเข็บเป็น 2 ซีก มีกลีบเลี้ยงหุ้ม เมล็ดขนาดเล็ก จำนวนมาก มณเฑียรระนองนี้เป็นพืชถิ่นเดียวในไทย พบเฉพาะทางภาคใต้แถบจังหวัดระนอง กระบี่ และสงขล.

ดู แอสเทอริดและมณเฑียรระนอง

มณเฑียรไทย

|image.

ดู แอสเทอริดและมณเฑียรไทย

ม่อนไข่

ผลม่อนไข่ผ่าครึ่ง ผลม่อนไข่พร้อมรับประทานในลาว ผลม่อนไข่อยู่บนต้น ม่อนไข่ เป็นผลไม้เนื้อสีทอง ภาคเหนือและภาคอีสานเรียกม่อนไข่ ราชบุรีเรียกว่า ลูกท้อพื้นบ้าน ปราจีนบุรีเรียกว่าท้อเขมร เพชรบูรณ์เรียกทิสซา ฟิลิปปินส์ เรียก chesa ศรีลังกาเรียก Laulu Lavulu หรือ Lawalu มีถิ่นกำเนิดมาจากประเทศเม็กซิโก กัวเตมาลา บราซิล และเอลซัลวาดอร์ ม่อนไข่เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ใบบาง มัน เรียวแหลม ลำต้นมียางสีขาว ก้านอ่อนเป็นสีน้ำตาล ดอกสีครีม มีกลิ่นหอม ผลสุกสีเหลืองอ่อน เปลือกบาง เนื้อผลสีเหลืองสด เหนียวคล้ายแป้งทำขนม ภายในผลมีเมล็ดขนาดใหญ่ รสหวาน เนื้อผลนิ่มคล้ายไข่แดง.

ดู แอสเทอริดและม่อนไข่

ยอ

อกยอ ยอ (L.) เป็นพืชพื้นเมืองในแถบพอลินีเชียตอนใต้ แล้วแพร่กระจายไปยังบริเวณอื่น ๆ ภาษามลายูเรียกเมอกาดู ในหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกเรียกโนนู เป็นไม้ยืนต้น ต้นสี่เหลี่ยม เปลือกต้นเรียบ ใบสีเขียวเข้ม ดอกออกเป็นช่อที่ซอกใบ ฐานดอกติดกันแน่นเป็นทรงกลม ผลทรงยาวรี เมื่ออ่อนสีเขียว พอสุกเปลี่ยนเป็นสีขาวนวล เนื้อนุ่ม รสเผ็ด กลิ่นแรง มีเมล็ดจำนวนมาก สีน้ำตาลเข้ม.

ดู แอสเทอริดและยอ

ยอดิน

อดิน ภาษากะเหรี่ยงเรียก เคาะ ไม้พุ่ม ลำต้นตั้งตรง ใบเดี่ยว ปิวใบด้านบนสีเขียวเข้มเรียบเป็นมัน ผิวใบด้านล่างสากมือเล็กน้อย ดอกช่อ ออกตามปลายยอด ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ กลีบดอกสีขาว เชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 กลีบ อับละอองเรณูสีเหลืองอ่อน ชาวกะเหรี่ยงนำรากมาใช้ย้อมผ้าให้สีน้ำตาลเข้ม ใบต้มน้ำดื่มหรือเคี้ยวกินสด แก้ปวดท้อง.

ดู แอสเทอริดและยอดิน

ยอป่า

อป่า หรือ ยอเถื่อน กะมูดู มูดู เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ผิวแตกเป็นร่องตามยาว สีเทาอมน้ำตาล ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ด้านบนเรียบเขียวเป็นมัน หลังใบสีอ่อนกว่าอมขาว ใบห่อมาด้านหน้าเล็กน้อย ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาว ผลรวมเกือบกลม ผิวนูนเป็นปุ่มเมื่ออ่อน แก่แล้วจะเรียบ สีเขียวอมเทา สุกเป็นสีดำ ผลเป็นอาหารสัตว์ ใบใช้ทำอาหารได้เช่นเดียวกับยอบ้าน.

ดู แอสเทอริดและยอป่า

ยาสูบเล็ก

ูบเล็กหรือยาสูบนิโคติน เป็นไม้ล้มลุก ตั้งตรง ผิวใบหยาบ ปลายใบเรียวแหลม ดอกออกเป็นช่อ สีเหลืองแกมเขียว ผลเป็นแบบแคบซูล กลีบเลี้ยงติดทน มีหลายเมล็ดรูปรีหรือรูปไข่ เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในอเมริกาใต้ เป็นยาสูบชนิดแรกที่มีการปลูกเป็นการค้า ก่อนจะแทนที่ด้วย Nicotiana tobaccum ที่มีรสอ่อนนุ่มกว่า ปัจจุบันมีความสำคัญทางการค้าน้อยลง ใช้สูบหรือใช้เป็นยานัตถุ์ บุหรี่บางชนิดในปากีสถานจะผสมยาสูบเล็ก 40% ทำให้มีรสและกลิ่นฉุน นิโคตินในยาสูบนี้มี 4-9.5% ซึ่งสูงกว่ายาสูบที่มี 1-3%.

ดู แอสเทอริดและยาสูบเล็ก

ยางน่องเถา

งน่องเถา หรือยางน่องเครือ เป็นไม้พุ่มเลื้อย ทุกส่วนของต้นมีน้ำยางสีขาว ใบเดี่ยว เรียงตรงกันข้ามกัน แผ่นใบหนา สีเขียวเข้มเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อกระจุกที่ปลายกิ่ง กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดที่โคน สีขาว กางดอกสีเหลืองอ่อน ปลายกลีบดอกแผ่แยกเป็น 5 กลีบ ชื่อพื้นเมืองอื่น: เครืองน่อง (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แม่ฮ่องสอน) ตะเกาะแบเวาะ (มลายู ภาคใต้) น่อง (ภาคกลาง นครราชสีมา) บานบุรีป่า (ภาคใต้) ยางน่องเครือ (อุบลราชธานี) ยางน่องเถา (จันทบุรี ปราจีนบุรี) เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู แอสเทอริดและยางน่องเถา

ยาแก้

แก้ อยู่ในวงศ์ Asteracae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ลำต้นเกลี้ยง ใบเดี่ยว ขอบใบจักเป็นหนามห่างๆ แผ่นใบมีขนประปรายทั้งสองด้าน กิ่งฝนผสมน้ำอุ่น แก้อาการเมาหัว ปวดท้อง.

ดู แอสเทอริดและยาแก้

ยี่หร่า

มล็ดยี่หร่า หรือ เทียนขาว อยู่ในวงศ์ Apiaceae เมื่อใช้เป็นเครื่องเทศเรียกยี่หร่า (cumin) มีถิ่นกำเนิดในบริเวณทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นไม้ล้มลุก ไม่มีขน ดอกช่อแบบก้านซี่ร่ม ก้านช่อดอกยาว กลีบดอกสีขาวหรือสีชมพู ผลแบบผักชี มีรสเผ็ดร้อน ขม ใช้แก้ลม ดีพิการ ขับเสมหะ ยี่หร่าใช้เป็นเครื่องเทศที่สำคัญในแกงกะหรี่และมัสมั่น อาหารไทยใช้ใบยี่หร่าในการปรุงแต่งกลิ่นอาหาร โดยคั่วเมล็ดโขลกผสมกับเครื่องแกง เช่นแกงกะหรี่ แกงเผ็ด แกงเขียวหวาน ส่วนต้นและรากตากให้แห้ง ช่วยย่อย ยาขับลม แก้ปวดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ มีน้ำมันระเหยง่ายเรียกน้ำมันยี่หร่า (cumin oil) ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องหอม น้ำหอม เครื่องดื่มและยาขับลม สารสกัดด้วยเอทานอลจากผลและเมล็ดยับยั้งการเจริญและการงอกของถั่วเขียวผิวดำได้ เมล็ดยี่หร.

ดู แอสเทอริดและยี่หร่า

ยี่โถ

ี่โถ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Nerium oleander L.) มีถิ่นกำเนิดแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เช่น แถบโปรตุเกสไปจนถึง อินเดีย อิหร่าน โดยสันนิษฐานว่ามีการแพร่เข้ามาในไทยโดยชาวจีน ในปี..

ดู แอสเทอริดและยี่โถ

ย่ามควาย

มควาย เป็นพืชในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เปลือกเรียบมีรอยแตกสีขาว สีเทาหรือน้ำตาล เนื้อไม้แข็ง แก่นไม้สีน้ำตาลอมเหลืองอ่อน ใบออกตรงข้ามหนาคล้ายหนัง ดอกขนาดเล็ก ออกเป็นช่อกระจุกตามซอกใบ ผลขนาดเล็ก เนื้อหนา สุกแล้วเป็นสีส้ม กระจายพันธุ์ตั้งแต่ภาคใต้ของไทยไปจนถึงเกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว ใช้ใบต้มน้ำดื่มแทนกาแฟ.

ดู แอสเทอริดและย่ามควาย

ย่าหยา (พืช)

หยา มีชื่ออื่นๆคือ ต้นอ่อมแซบ เบญจรงค์ ๕ สี บุษบาริมทางหรือ ตำลึงหวาน (Chinese violet; Coromandel; Ganges primrose; Philippine violet); (L.) T. Anders.) คล้ายต้นต้อยติ่ง แต่ไม่มีขน ใบสากไม่แหลม ดอกมีห้าสี ขยายพันธุ์ด้วยการปักชำ ควรปลูกให้โดนแดดพอสมควร ประโยชน์ใช้เป็นไม้ประดับ มีสรรพคุณบำรุงเลือด บำรุงกำลัง บำรุงสายต.

ดู แอสเทอริดและย่าหยา (พืช)

ย่านพาโหม

*P.

ดู แอสเทอริดและย่านพาโหม

ระย่อมพินเก้

ระย่อมพินเก้ เป็นพืชในวงศ์ Apocynaceae เป็นไม้พุ่มใบเรียงเป็นวง จำนวนวงไม่เท่ากัน ดอกเกิดในซอกใบ เกิดที่ยอดมีสีขาวแกมเขียวขนาดเล็ก ผลแบบเมล็ดเดียวแข็ง สุกแล้วเป็นสีดำ พบในอเมริกากลาง อเมริกาใต้ หมู่เกาะเวสต์อินดีส ในบริเวณทุงหญ้าสะวันน.

ดู แอสเทอริดและระย่อมพินเก้

ระย่อมน้อย

ระย่อมน้อย เป็นพืชพื้นบ้านภาคใต้และมีสรรพคุณทางยาหลายประการ ระย่อมน้อยมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rauvolfia serpentina Benth.

ดู แอสเทอริดและระย่อมน้อย

ระฆังแคนเตอร์บรี

ระฆังแคนเตอร์บรี หรือเรียกง่ายๆ ว่า ดอกระฆัง (Canterbury Bells หรือ Campanula medium) เป็นไม้ดอกวงศ์พระจันทร์ครึ่งซีก สกุล Campanula ระฆังแคนเตอร์บรีอาจจะเป็นได้ทั้งทั้งพืชปีเดียว หรือ พืชสองปี ดอกมีลักษณะเป็นรูประฆังหรือกระดิ่งซึ่งทำให้ได้รับการขนานนามว่า “Campanula” ที่แปลว่าระฆังในภาษาอิตาลี สีของดอกก็อาจจะเป็นสีน้ำเงิน, ม่วง, ม่วงแดง หรือขาว แต่สีที่พบบ่อยจะเป็นสีม่วงน้ำเงิน ความสูงประมาณ 2 ถึง 3 ฟุต ถ้าปลูกในสวนให้สวยก็ควรจะปลูกเป็นกลุ่มใหญ่ตามขอบหรือท่ามกลางพุ่มไม้ ชอบอากาศเย็นหรืออุ่นไม่เหมาะกับอากาศร้อนหรือแห้ง ในภาษาดอกไม้ระฆังแคนเตอร์บรีเป็นสัญลักษณ์ของความรู้สึกในบุญคุณ.

ดู แอสเทอริดและระฆังแคนเตอร์บรี

ระงับ

ระงับ เป็นไม้ล้มลุกขนาดเล็กในสกุลอังกาบ วงศ์ Acanthaceae แตกกิ่งน้อย กิ่งก้านมีขนอ่อนปกคลุม ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ใบเรียบเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอดหรือซอกใบ กลีบดอกสีม่วง โคนเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นสองแฉก ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม – พฤศจิกายน พบครั้งแรกในประเทศไทย ชอบขึ้นในป่าดิบชื้น ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไท.

ดู แอสเทอริดและระงับ

รัก (ไม้พุ่ม)

รัก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Calotropis gigantea (Linn.) R.Br.ex Ait.) เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กในวงศ์ Apocynaceae วงศ์ย่อย Asclepiadoideae ลำต้นสูง 1.5–3 เมตร ดอกมีสีขาวหรือม่วง มีรยางค์เป็นคล้ายมงกุฎ รักเป็นพืชพื้นเมืองของอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย ศรีลังกา อินเดีย และจีน ดอกของพืชชนิดนี้เรียกว่า ดอกรัก.

ดู แอสเทอริดและรัก (ไม้พุ่ม)

รักทะเล

ผลรักทะเล ภาพใกล้ๆของดอกรักทะเลในรัฐอันธรประเทศ อินเดีย รักทะเล (Sea Lettuce; Merambong) ภาษาฮาวายเรียก Naupaka kahakai ภาษาตองกาเรียก Ngahu เป็นพืชมีดอกในวงศ์ Goodeniaceae พบในชายฝั่งเขตร้อนในแถบอินโด-แปซิฟิก เป็นที่พบได้ทั่วไปในเกาะคริสต์มาสและเป็นวัชพืชในบางประเทศ ลักษณะเป็นไม้พุ่ม ขึ้นตามชายหาด รากแผ่กว้าง ใบดก หนา มันวาว ป้องกันการสูญเสียน้ำ ใบแตกเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาว บานเป็นรูปพัดครึ่งวงกลม ผลกลมสีขาว ลอยน้ำได้ สามารถเป็นพืชบุกเบิกในพื้นที่ใหม่ได้ รักทะเลมีฤทธิ์เป็นยาสมุนไพร โดยรากใช้แก้พิษอาหารทะเล ใบตำพอกแก้ปวดบวม ใช้เป็นยาสูบได้.

ดู แอสเทอริดและรักทะเล

ราชาวดี

ราชาวดี (butterfly bush) เป็นไม้ประดับในวงศ์ Buddlejaceae มีถิ่นกำเนิดทางตอนเหนือของอินเดียและจีน ลักษณะเป็นไม้ต้นขนาดเล็กถึงไม้พุ่ม สูง 2-5 เมตร ตามกิ่งมีขน ใบเป็นใบเดี่ยวรูปไข่ ออกตรงข้าม กว้าง 3.5-5 เซนติเมตร ยาว 5-7 เซนติเมตร โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบหยักฟันเลื่อยถี่ เนื้อใบหยาบ ท้องใบสีเขียวอมเทา มีขนสากหลังใบสีเขียว ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบ ยาว 6-10 เซนติเมตร ดอกย่อยมีขนาดเล็กสีขาว โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้น ปลายแยกเป็น 4 กลีบ เกสรเพศผู้ 4 อัน ดอกมีกลิ่นหอม ผลเมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก ภายในมีเมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด ปักชำกิ่งและตอนกิ่ง.

ดู แอสเทอริดและราชาวดี

รามใหญ่

รามใหญ่ (Thunb) มีชื่อเรียกอื่นๆ ว่า กระดูกไก่ ก้างปลา ก้างปลาเขา เหมือด อ้ายรามใบใหญ่ มีถิ่นกำเนิดมาจากแถบทวีปอเมริกาใต้ ในประเทศไทยพบตามริมชายฝั่งแม่น้ำ ด้านในของป่าชายเลน ที่มีอิทธิพลของน้ำขึ้น-น้ำลง ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด ชอบความชื้นสูง แสงแดดปานกลาง.

ดู แอสเทอริดและรามใหญ่

รางจืด

รางจืด (Laurel clock vine, Blue trumpet vine) เป็นชื่อของพืชสมุนไพรประเภทไม้เลื้อยหรือไม้เถา มีลักษณะเนื้อแข็ง เลื้อยพาดพันไปตามต้นไม้ เถาจะมีลักษณะเป็นข้อปล้องกลมมีสีเขียวสดหรือสีเขียวเข้ม ดอกจะเป็นสีม่วงอ่อนๆหรือสีคราม ออกดอกเป็นช่อห้อยลงตามซอกใบ มีสรรพคุณทางยาในด้านการถอนพิษต่างๆ หรือใช้เป็นยาพอกบาดแผล น้ำร้อนลวก ไฟไหม้ รวมถึงใช้เป็นยารับประทานเป็นยาแก้ร้อนในกระหายน้ำ รางจืดมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ ได้แก่ กำลังช้างเผือก เครือเขาเขียว ขอบชะนาง ยาเขียว(ภาคกลาง)คาย รางเย็น (ยะลา) จอลอดิเออ ซั้งกะ ปั้งกะล่ะ พอหน่อเตอ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ดุเหว่า (ปัตตานี) ทิดพุด (นครศรีธรรมราช) น้ำนอง (สระบุรี) ย่ำแย้ แอดแอ (เพชรบูรณ์).

ดู แอสเทอริดและรางจืด

ราตรี (พรรณไม้)

ราตรี หรือ หอมดึก มีถิ่นกำเนิดในแคริบเบียนเป็นพืชในวงศ์ Solanaceae เป็นไม้ไม่ผลัดใบ เป็นไม้พุ่ม เปลือกสีเทาอ่อนเกือบขาว ใบเดี่ยวรูปหอกแคบเรียบเป็นมัน ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาว วงกลีบดอกรูปหลอดผอม บานตอนกลางคืน กลิ่นหอมแรง มักส่งกลิ่นในตอนกลางคืน ผลค่อนข้างกลม สีขาวขุ่น มีหลายเมล็ด ผลสุกถ้ารับประทานทำให้คลื่นไส้ ปวดศีรษะ อาเจียน ประสาทหลอน ใจสั่น ระคายเคืองเยื่อบุลำไส้เล็ก นิยมปลูกเป็นไม้ประดั.

ดู แอสเทอริดและราตรี (พรรณไม้)

รำเพย

รำเพย (Yellow oleander; Lucky nut; Juss. ex Steud.) ชื่ออื่น ๆ คือ ยี่โถฝรั่ง กระบอก เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก มีความสูง 2 - 3 เมตร มียางสีขาวเป็นพิษระคายเคืองผิวหนัง ทำให้เกิดผื่นคัน ใบเป็นใบเดี่ยวมีลักษณะใบแคบเรียวยาวคล้ายใบยี่โถ หนาแต่ไม่แข็ง ใบกว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ยาวประมาณ 8-12 เซนติเมตร ดอกออกเป็นช่อ ออกทีละ 3-4 ดอกที่ปลายกิ่ง ดอกมีลักษณะเป็นกรวย มีกลีบ 5 กลีบเรียงซ้อนทับกัน โคนดอกเป็นหลอดมีสีอมเขียว มีกลีบเลี้ยง ยาวแหลม 5 กลีบเช่นกัน ดอกมีหลายสี เช่น สีเหลือง ส้ม ขาว เมื่อดอกโรยจะติดผล ผลมีลักษณะกลม ปลายผลแบนมีรอยหยักเป็น 2 แฉก เมื่อสุกมีสีดำ มีเมล็ดข้างใน 1-2 เมล็ด ออกดอกในฤดูฝนถึงฤดูหนาว ขึ้นได้ดีในดินทั่วไป โดยเฉพาะดินปนทราย และชอบแสงแดดจัด ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด และตอนกิ่ง ปลูกเป็นไม้ประดับสวน ดอกมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ออกดอกตลอดปี เป็นดอกไม้ประจำโรงเรียนเทพศิรินทร์ รำเพยเป็นพืชมีพิษ ยางเมื่อถูกผิวหนังทำให้ระคายเคือง รับประทานเข้าไปทำให้คลื่นไส้ อาเจียน ชัก หมดสติ หัวใจเป็นอัมพาต ไฟล์:ramphei1.jpg|รำเพยขาว ไฟล์:ramphei2.jpg|รำเพยเหลือง ไฟล์:ramphei3.jpg|รำเพยส้ม ไฟล์:Thevetia peruviana 05.JPG|ผลสุกเป็นสีดำ ไฟล์:Thevetia peruviana MHNT.BOT.2007.27.24.jpg|ตัวอย่างชนิด Thevetia peruviana.

ดู แอสเทอริดและรำเพย

รุ่งอรุณ

รุ่งอรุณ (Chinese trumpet vine) เป็นพันธุ์ไม้พื้นเมืองของประเทศจีนตอนใต้ อยู่ในวงศ์แคหางค่าง และอยู่ในสกุล Campsis เดิมรุ่งอรุณมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Bignonia grandiflora Thunb.

ดู แอสเทอริดและรุ่งอรุณ

ลั่นทม

ลั่นทม หรือ ลีลาวดี เป็นไม้ดอกยืนต้นในวงศ์ตีนเป็ด หรือ วงศ์ไม้ลั่นทม (Plumeria) มีหลายชนิดด้วยกัน บางคนมีความเชื่อว่า ไม่ควรปลูกต้นลั่นทมในบ้านเพราะมีความเชื่อว่า เนื่องจากมีชื่อเป็นอัปมงคล คือไปพ้องกับคำว่า 'ระทม' ซึ่งแปลว่า เศร้าโศก ทุกข์ใจ นิยมปลูกกันแพร่หลายอย่างมาก ชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ ได้แก่ จำปา, จำปาลาว และจำปาขอม เป็นต้น (สำหรับชื่อภาษาอังกฤษ ได้แก่ Frangipani, Plumeria, Temple Tree, Graveyard Tree) ต้นลีลาวดีเป็นพืชนิยมปลูกเพราะดอกมีสีสันหลากหลาย สวยงาม ได้แก่ขาว เหลืองอ่อน แดง ชมพู สีขาวขุ่น ฯลฯ บางดอกมีมากกว่า 1 สี อาจมีมากถึงหลายสีในดอกเดียว ดอกลีลาวดียังเป็นดอกไม้ประจำชาติของประเทศลาว โดยเรียกว่า "ดอกจำปา" และพบได้มากบริเวณทางขึ้นพระธาตุที่เมืองหลวงพระบาง สำหรับในประเทศไทยนั้นมักพบต้นลั่นทมตามธรรมชาติทางภาคเหนือเป็นส่วนใหญ.

ดู แอสเทอริดและลั่นทม

ลาเวนเดอร์

ลาเวนเดอร์ (Lavandula) เป็นสกุลของพืชดอก ประกอบไปด้วยพืช 39 ชนิด ในวงศ์มินต์ (Lamiaceae) เป็นพืชพื้นเมืองในยุคโบราณซึ่งถูกค้นพบจากเคปเวิร์ดและหมู่เกาะคานารี ทางตอนใต้ของยุโรปข้ามไปทางตะวันออกเฉียงเหนือของแอฟริกา, เมดิเตอร์เรเนียน, เอเชียตะวันตกเฉียงใต้จรดไปอินเดียตะวันออกเฉียงใต้.

ดู แอสเทอริดและลาเวนเดอร์

ลาเวนเดอร์สามัญ

ลาเวนเดอร์สามัญ, ลาเวนเดอร์อังกฤษ, ลาเวนเดอร์แท้, ลาเวนเดอร์ใบแคบ หรือลาเวนเดอร์ เป็นพืชดอกในวงศ์ Lamiaceae เป็นพืชประจำถิ่นในเมดิเตอร์เรเนียนตะวันตก หลัก ๆ ในเทือกเขาพิเรนีสและเทือกเขาอื่นทางเหนือของประเทศสเปน เป็นไม้พุ่มมีกลิ่นแรง โตได้สูง 1 ถึง 2 เมตร ไม่ผลัดใบ ใบยาว 2–6 เซนติเมตร และกว้าง 4–6 เซนติเมตร ดอกสีชมพู-ม่วง (สีลาเวนเดอร์) ออกที่ช่อเชิงลดยาว 2–8 เซนติเมตรที่ปลายสุดของลำต้นเรียวไม่มีใบยาว 10–30 เซนติเมตร มักปลูกลาเวนเดอร์สามัญเป็นไม้ประดับ ได้รับความนิยมจากดอกสีสวยงาม กลิ่นหอมและทนแล้งได้ เติบโตไม่ดีในดินชื้นต่อเนื่อง ค่อนข้างทนได้ดีต่ออุณหภูมิต่ำ ทนต่อดินกรดแต่ชอบดินกลางถึงด่าง ในบางภาวะอาจมีอายุสั้น.

ดู แอสเทอริดและลาเวนเดอร์สามัญ

ลำบิดทะเล

ลำบิดทะเล var.

ดู แอสเทอริดและลำบิดทะเล

ลำโพงม่วง

ลำโพงม่วง เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae แตกกิ่งน้อย ต้นตั้งตรง วงกลีบดอกเป็นรูปหลอด สีขาวหรือสีม่วงซีด ผลเป็นกระเปาะทรงกลม ผิวมีหนามสั้น หรือผิวเรียบ ทุกส่วนของพืชมีสารอัลคาลอยด์ชนิดโทรเพนในระดับอันตราย ได้แก่ อะโทรปีน, ไฮออสไซยามีนและสโคโพลามีน.

ดู แอสเทอริดและลำโพงม่วง

ลำโพงราชินีมืด

ลำโพงราชินีมืด เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น ดอกคล้ายลำโพงปากแตร ห้อยลง สีขาว ใบมีขนนุ่มปกคลุม ผลแห้งแตก มีเมล็ดมาก เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในทวีบอเมริกาใต้ มีฤทธิ์สะกดจิต ทำให้ประสาทหลอน.

ดู แอสเทอริดและลำโพงราชินีมืด

ลำโพงแดง

ลำโพงแดง เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae เป็นไม้พุ่ม ใบเป็นกระจุก กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ดอกสีแดงอมส้มมีลายสีเหลือง ผลเป็นแบบกระเปาะแห้งแตกคล้ายรูปลูกข่าง พบตามป่าดิบเขาในพื้นที่สูง มีฤทธิ์หลอนประสาท.

ดู แอสเทอริดและลำโพงแดง

ลิ้นงูเห่า

ลิ้นงูเห่า เป็นไม้ล้มลุกกึ่งเลื้อยในวงศ์ Acanthaceae ไม่ค่อยแตกกิ่งแขนง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ใบบาง ขอบใบเป็นคลื่น ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด มีดอกย่อยช่อละ 12 – 20 ดอก ดอกย่อยในช่อบานไม่พร้อมกัน สีส้ม ปลายแยกเป็น 2 แฉก เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคตะวันออก กระจายพันธุ์ในเขตฉะเชิงเทรา ระยอง จันทบุรี และตราด ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไทย ลักษณะต้นคล้ายพญายอแต่ใบกว้างกว่า สีเขียวเข้มกว่า ช่อดอกโตกว่า ใช้เป็นยาได้เช่นเดียวกับพญายอใช้เป็นไม้ประดับได้ด้ว.

ดู แอสเทอริดและลิ้นงูเห่า

ลูกปืนใหญ่ (พืช)

ผลลูกปืนใหญ่ ลูกปืนใหญ่ หรือ สาละลังกา (Cannonball tree) เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดใหญ.

ดู แอสเทอริดและลูกปืนใหญ่ (พืช)

ลูกน้ำนม

ลูกน้ำนมผ่าครึ่ง ผลสีเขียวหรือม่วง ผลสด ลูกน้ำนม ภาษาเขมรเรียกว่า แพรตึกเดาะ เป็นพืชพื้นเมืองของฟิลิปปินส์ ไทย เวียดนาม กัมพูชา เป็นไม้ยืนต้น ใบเดี่ยว ยาวรี หน้าใบเป็นมัน เขียวเข้ม หลังใบเป็นสีแดง เป็นมัน ดอกออกเป็นช่อ ตามซอกใบ สีเขียวอมเหลือง หรือชมพูอมขาว กลื่นหอม ผลทรงกลม มีทั้งพันธุ์สีเขียว พันธุ์สีเหลืองและพันธุ์สีม่วงแดง พันธุ์เปลือกเขียว เนื้อสีขาว ส่วนพันธุ์เปลือกม่วง เนื้อสีขาวอมม่วง รสหวานหอม เมล็ดสีน้ำตาลอ่อน กินเป็นผลไม้สด ชื่อสามัญของลูกน้ำนมได้แก่ cainito, caimito, star apple, golden leaf tree, abiaba, pomme dulait, estrella, milk fruit และ aguay ใน เวียดนาม เรียกว่า vú sữa (ตรงตัว: breast-milk) ผลของลูกน้ำนมมีสารต้านอนุมูลอิสระ เปลือกต้นเป็นยาบำรุงและยาชูกำลัง ยาต้มจากเปลือกใช้เป็นยาแก้ไอ สปีชีส์ใกล้เคียงเรียกสตาร์แอปเปิล พบในทวีปแอฟริกา เช่น C.

ดู แอสเทอริดและลูกน้ำนม

วงศ์ชา

วงศ์ชา หรือTheaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีทั้งไม้พุ่ม ไม้ยืนต้น รวมทั้งพืชในสกุล Camellia นักพฤกษศาสตร์บางคนได้รวมวงศ์ Ternstroemiaceae ไว้ในวงศ์ชาด้วยRoyal Botanic Gardens, Kew.

ดู แอสเทอริดและวงศ์ชา

วงศ์พระจันทร์ครึ่งซีก

วงศ์พระจันทร์ครึ่งซีก หรือ Campanulaceae เป็นวงศ์อยู่ในอันดับ Asterales, ประกอบด้วย 2400 สปีชีส์ใน 84 สกุล ส่วนใหญ่เป็นพืชล้มลุก ไม้พุ่ม ส่วนน้อยเป็นไม้ยืนต้น มักมียางสีขาวที่ไม่มีพิษ.

ดู แอสเทอริดและวงศ์พระจันทร์ครึ่งซีก

วงศ์พิกุล

วงศ์พิกุล หรือ Sapotaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกอยู่ในอันดับ Ericales มีสมาชิก 800 สปีชีส์ เป็นพืชไม่ผลัดใบ ทั้งไม้พุ่มและไม้ยืนต้น มีประมาณ 65สกุล (หรือ 35-75, ขึ้นกับการให้คำจำกัดความ) กระจายพันธุ์ในเขตร้อน หลายสปีชีส์ผลรับประทานได้ หรือมีคุณค่าทางเศรษฐกิจ พืชที่มีผลรับประทานได้ ได้แก่ ละมุด ลูกน้ำนม ม่อนไข่ ผลของมิราเคิล (Synsepalum dulcificum) อยู่ในวงศ์นี้เช่นกัน ไม้ยินต้นในสกุล Palaquium ผลิตลาเท็กซ์ ที่ใช้งานได้หลากหลาย เมล็ดของ Argania spinosa (L.) ใช้ผลิตน้ำมัน (Argan oil)ใน โมร็อกโก ชื่อของวงศ์นี้มาจาก zapote ชื่อของพืชชนืดหนึ่งในเม็กซิโก ซึ่งสะกดในภาษาละตินว่า sapota.

ดู แอสเทอริดและวงศ์พิกุล

วงศ์กันเกรา

วงศ์กันเกราหรือ Loganiaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Gentianales มีสมาชิก 13 สกุล แพร่กระจายในเขตร้อนทั่วโลก แต่เดิม วงศ์นี้มีสมาชิก 29 สกุล การศึกษาทางด้านไฟโลเจเนติกนั้นแสดงให้เห็นว่าบางกุลในวงศ์กันเกราอย่างกว้างนั้นควรย้ายออกไปวงศ์อื่น เช่น Gentianaceae, Gelsemiaceae, Plocospermataceae, Tetrachondraceae, Buddlejaceae, และ Gesneriaceae.

ดู แอสเทอริดและวงศ์กันเกรา

วงศ์กุหลาบป่า

วงศ์กุหลาบป่า (Heath, Heather) เป็นวงศ์ของไม้พุ่มหรือไม้ต้น ใช้ชื่อวงศ์ว่า Ericaceae ลักษณะเด่นประจำวงศ์ คือ ไม่มีหูใบ ใบเป็นแบบใบเดี่ยว ติดแบบเรียงเวียนสลับ มีต่อมด้านล่าง มีเส้นใบออกจาก 2 ข้างของเส้นกลางใบแบบขนนก บางครั้งมีเส้นใบออกจากโคนใบ 3 เส้น หรือมากกว่านั้น ดอกมีลักษณะสมมาตรตามรัศมี ดอกเป็นดอกแบบสมบูรณ์เพศ กลีบดอกเป็นรูปท่อหรือรูปโถ เกสรเพศผู้มี 10 อัน อับเรณูแตกโดยมีรูเปิดที่ปลาย ก้านเกสรเพศเมียมี 1 อัน รังไข่มี 5 ช่อง เมล็ดมีจำนวนมาก บางชนิดเป็นพืชกินซาก ใบมีเกล็ดรังแค หรือมีต่อมที่ขอบใบตอนโคน ดอกแบบดอกสมบูรณ์เพศ กลีบดอกเป็นรูปท่อหรือรูปโถ เกสรเพศผู้มี 10 อัน เป็นพืชที่พบกระจายพันธุ์ไปทั่วโลก มีมากกว่า 4,000 ชนิด ประมาณ 126 สกุลStevens, P.

ดู แอสเทอริดและวงศ์กุหลาบป่า

วงศ์มะพลับ

วงศ์มะพลับ หรือ Ebenaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Ericales ซึ่งสมาชิกได้แก่ ตะโก มะพลับ มะเกลือ มีสมาชิกประมาณ 768 สปีชีส์ ทั้งไม้ยืนต้นและไม้พุ่ม ดอก ''Diospyros chloroxylon'' ''Diospyros dichrophylla'' ฟอสซิลของดอก ''Royena graeca'' ส่วนใหญ่เป็นไม้ไม่ผลัดใบ กระจายพันธุ์ในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน พืชในวงศ์นี้ที่มีเนื้อไม้สามารถเจริญในบริเวณดินเสียหรือเป็นกรดโดยอยู่ร่วมกับไมคอไรซา หลายสปีชีส์ในสกุลมะพลับ (Diospyros) เป็นที่มาของ ebony wood ไม่ได้เป็นพืชที่รับประทานผลได้ทุกสปีชี.

ดู แอสเทอริดและวงศ์มะพลับ

วงศ์มะลิ

วงศ์มะลิ หรือ Oleaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่ประกอบด้วย 24 สกุลและราว 600 สปีชีส์ มีทั้งไม้พุ่ม ไม้ยืนต้น และไม้เลื้อย ชื่อของวงศ์นี้ตั้งตามสกุล Olea ซึ่งเป็นสกุลของมะกอกออลิฟ.

ดู แอสเทอริดและวงศ์มะลิ

วงศ์มะเขือ

วงศ์มะเขือ (Solanaceae) เป็นวงศ์ของพืชดอกที่มีความสำคัญทางการเกษตร แม้ว่าบางชนิดเป็นพืชมีพิษ ชื่อของวงศ์นี้ตั้งตามชื่อสกุล Solanum วงศ์นี้ประกอบด้วยสกุล Datura, Mandragora (mandrake), Atropa belladonna (deadly nightshade), Lycium barbarum (wolfberry), Physalis philadelphica (tomatillo), Physalis peruviana (Cape gooseberry flower), Capsicum (พริก), Solanum (มันฝรั่ง, มะเขือเทศ, มะเขือ), Nicotiana (ยาสูบ), และ Petunia พืชเศรษฐกิจในวงศ์นี้ยกเว้นยาสูบ (Nicotianoideae) และพิทูเนีย (Petunioideae) แล้ว สกุลอื่นๆอยู่ในวงศ์ย่อยSolanoideae.

ดู แอสเทอริดและวงศ์มะเขือ

วงศ์มณเฑียรทอง

วงศ์มณเฑียรทอง หรือ Scrophulariaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ที่สมาชิกส่วนใหญ๋อยู่ในเขตอบอุ่น และภูเขาในเขตร้อน.

ดู แอสเทอริดและวงศ์มณเฑียรทอง

วงศ์ย่อยระย่อม

วงศ์ย่อยระย่อม หรือRauvolfioideae เป็นวงศ์ย่อยของพืชมีดอกในวงศ์ Apocynaceae (อันดับ Gentianales) พืชส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้น.

ดู แอสเทอริดและวงศ์ย่อยระย่อม

วงศ์ย่อยส้มลม

''Holarrhena pubescens'' วงศ์ย่อยส้มลม หรือ Apocynoideae เป็นวงศ์ย่อยของพืชมีดอกในวงศ์ Apocynaceae (อันดับ Gentianales) ประกอบด้วย 78 สกุลและ 860 สปีชีส์ ส่วนใหญ่เป็นพืชที่มีฤทธิ์ทางยา พืชที่สำคัญได้แก่ ยางน่องเถา ส้มลม Nerium oleander เป็นต้น.

ดู แอสเทอริดและวงศ์ย่อยส้มลม

วงศ์รักทะเล

วงศ์รักทะเล หรือ Goodeniaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Asterales มีสมาชิก 404 สปีชีส์ และ 12 สกุล การกระจายพันธุ์ส่วนใหญ่อยู่ในออสเตรเลีย ยกเว้นสกุล Scaevola.

ดู แอสเทอริดและวงศ์รักทะเล

วงศ์ว่านไก่แดง

วงศ์ว่านไก่แดง หรือ Gesneriaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีสมาชิกประมาณ 150 สกุลและประมาณ 3,200 สปีชีส์ในเขตร้อนของโลกเก่าและโลกใหม่ หลายสปีชีส์มีดอกสีสดใสและใช้เป็นไม้ประดั.

ดู แอสเทอริดและวงศ์ว่านไก่แดง

วงศ์สร้อยสุวรรณา

Lentibulariaceae - ''Utricularia humboldtii'' วงศ์สร้อยสุวรรณา หรือ Lentibulariaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มี 3 สกุล Genlisea Pinguicula Utricularia ส่วนสกุล Polypompholyx และ Biovularia เคยจัดอยู่ในวงศ์นี้ Biovularia ถูกรวมเข้ากับ Utricularia และ Polypompholyx กลายเป็นสกุลย่อยในสกุล Utricularia เดิมวงศ์นี้เคยอยู่ในอันดับ Scrophulariales ต่อมาในระบบ APG จึงย้ายมาอยู่ในอันดับ Lamiales.

ดู แอสเทอริดและวงศ์สร้อยสุวรรณา

วงศ์สายน้ำผึ้ง

วงศ์สายน้ำผึ้ง หรือ Caprifoliaceae เป็นวงศ์ของพืชใบเลี้ยงคู่ มีสมาชิก 860 สปีชีส์ 42 สกุล พบความหลากหลายมากในอเมริกาเหนือและเอเชียตะวันออก ไม่พบในเขตร้อนและแอฟริกาใต้.

ดู แอสเทอริดและวงศ์สายน้ำผึ้ง

วงศ์ผกากรอง

วงศ์ผกากรอง หรือ Verbenaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก มีทั้งไม้ยืนต้น ไม้พุ่มและไม้ล้มลุก มีดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็ก มีกลิ่น (2001-): -.

ดู แอสเทอริดและวงศ์ผกากรอง

วงศ์ผักบุ้ง

''Jacquemontia paniculata'' วงศ์ผักบุ้ง หรือConvolvulaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก โดยมีสมาชิกที่โดดเด่นคือ มอร์นิงกลอรี ประกอบด้วย 60 สกุลและมากกว่า 1,650 สปีชีส์ ส่วนใหญ่เป็นไม้ล้มลุก ไม้เลื้อย ส่วนน้อยเป็นไม้ยืนต้นและไม้พุ่ม.

ดู แอสเทอริดและวงศ์ผักบุ้ง

วงศ์ผักชี

วงศ์ผักชี หรือ Apiaceae หรือ Umbelliferae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกขนาดใหญ่วงศ์หนึ่ง มีสมาชิกมากกว่า 3,700 สปีชีส์ และ 434 สกุล จัดเป็นวงศ์ที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 16 ของพืชมีดอกStevens, P.F.

ดู แอสเทอริดและวงศ์ผักชี

วงศ์จิก

''Barringtonia acutangula'' ในกัลกัตตา ประเทศอินเดีย ''Careya arborea'' ในประเทศอินเดีย วงศ์จิก หรือ Lecythidaceae เป็นวงศ์ของไม้ยืนต้น ประกอบด้วย 20 สกุลและ 250-300 สปีชีส์ เป็นพืชท้องถิ่นในอเมริกาใต้แลมาดากัสการ์ จากการวิเคราะห์ทางชีววิทยาโมเลกุลของ Mori et al.

ดู แอสเทอริดและวงศ์จิก

วงศ์ทานตะวัน

วงศ์ทานตะวัน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Asteraceae หรือ Compositae) จัดเป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางStevens, P. F.

ดู แอสเทอริดและวงศ์ทานตะวัน

วงศ์ข้าวสารหลวง

วงศ์ข้าวสารหลวง หรือ วงศ์ Myrsinaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกขนาดใหญ่ในอันดับ ประกอบด้วย 35 สกุลและประมาณ 1000 สปีชีส์ แพร่กระจายในเขตอบอุ่นและเขตร้อนตั้งแต่ ยุโรป ไซบีเรีย ญี่ปุ่น เม็กซิโก ฟลอริดา นิวซีแลนด์ อเมริกาใต้ และแอฟริกาใต้ พืชในวงศ์นี้นำไปใช้ปประโยชน์ทางเศรษฐกิจน้อย บางสกุล เช่น Ardisia, Cyclamen, Lysimachia, และ Myrsine ใช้เป็นไม้แต่งสวนโดยเฉพาะ Ardisia crispa และ Myrsine africana Ardisia japonica (ภาษาจีน: 紫金牛; พินอิน: zǐjīn niú) ใช้เป็นสมุนไพรจีน ระบบ APG III ไม่มีวงศ์ข้าวสารหลวง แต่จัดรวมให้อยู่ในวงศ์ Primulaceae ซึ่งมีขนาดใหญ.

ดู แอสเทอริดและวงศ์ข้าวสารหลวง

วงศ์ดอกหรีดเขา

วงศ์ดอกหรีดเขา หรือ Gentianaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่อยู่ในกลุ่มของพืชใบเลี้ยงคู่แท้ ประกอบด้วย 87 สกุลและมากกว่า 1500 สปีชี.

ดู แอสเทอริดและวงศ์ดอกหรีดเขา

วงศ์ดอกดิน

วงศ์ดอกดิน หรือ Orobanchaceaeเป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Lamiales มีสมาชิก 90 สกุล และมากกว่า 2000 สปีชีส์ หลายสกุลในวงศ์นี้เคยยรวมอยู่ในวงศ์ Scrophulariaceae อย่างกว้าง (sensu lato) พบในเขตอบอุ่นของยูเรเชีย อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ บางส่วนของออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และเขตร้อนของแอฟริก.

ดู แอสเทอริดและวงศ์ดอกดิน

วงศ์งา

วงศ์งา เป็นวงศ์ของพืชมีดอกอยู่ในอันดับ Scrophulariales ตามระบบ Cronquist และLamiales ในระบบ APG ซึ่งระบบ Cronquist ได้รวมวงศ์Martyniaceae เข้ามาด้วย แต่การศึกษาทางด้านไฟโลเจเนติกทรีพบว่าไม่มีความใกล้เคียงกัน จึงแยกทั้งสองวงศ์ออกจากกันในระบบ APG ตัวอย่างพืชสำคัญในวงศ์นี้คืองา (Sesamum indicum).

ดู แอสเทอริดและวงศ์งา

วงศ์ตีนเป็ด

วงศ์ตีนเป็ด หรือ วงศ์ไม้ลั่นทม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Apocynaceae‎) เป็นชื่อวงศ์พรรณไม้ของพืชตระกูล ลั่นทม ลีลาวดี ตีนเป็ด ลักษณะเด่นคือทุกส่วนของต้นพืชมีน้ำยางขาวมี ใบเป็นเดี่ยวติดตรงข้ามหรือติดเป็นวงรอบข้อ ขอบใบเรียบเส้นแขนงใบเป็นร่างแห กลีบดอกเชื่อมติดกัน เกสรเพศผู้มี 5 อันติดบนท่อกลีบดอก มีเกสรเพศเมีย 2 อันเชื่อมติดกัน รังไข่ติดเหนือวงกลีบ รังไข่มี 2 ช่อง ผลเป็นฝักคู่ หรือเดี่ยวแตกตามแนวเดียว เมล็ดมีขนเป็นกระจุกที่ปลาย ในวงศ์นี้เป็นไม้หวงห้าม 4 สกุล คือ สกุลตีนเป็ด สกุลไยลูตง สกุลโมกหลวง และสกุลโมกมัน ไม้ตีนเป็ด จัดเป็นไม้หวงห้ามประเภท ก ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม..

ดู แอสเทอริดและวงศ์ตีนเป็ด

วงศ์นมตำเลีย

''Asclepias syriaca'' ''Caralluma acutangula'' ''Leptadenia pyrotechnica'' ''Microloma calycinum'' วงศ์นมตำเลีย หรือ Asclepiadaceae เป็นวงศ์เก่าในระบบ APG II ซึ่งต่อมาได้ลดระดับเป็นวงศ์ย่อยนมตำเลีย ('Asclepiadoideae) ในวงศ์ Apocynaceae (Bruyns, 2000) มีทั้งไม้พุ่ม ไม้เลื้อย ส่วนไม้ยืนต้นพบน้อย จัดอยู่ในอันดับ Gentianales ชื่อวงศ์ตั้งตามสกุล Asclepias (milkweeds) มี 348 สกุล ประมาณ 2,900 สปีชีส์ ส่วนใหญ่อยู่ในเขตร้อนของแอฟริกาและอเมริกาใต้.

ดู แอสเทอริดและวงศ์นมตำเลีย

วงศ์เล็บครุฑ

วงศ์เล็บครุฑ หรือ Araliaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ประกอบด้วย 254 สปีชีส์ มีทั้งไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม และไม้ล้มลุก แบ่งเป็น 2 วงศ์ย่อย ใบมักเป็นใบประกอบรูปฝ่ามือ ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็กอยู่ในช่อขนาดใหญแบบพานิเคิล ไฟล์:Scheflera1.jpg|Schefflera arboricola ไฟล์:Oplopanax horridus0.jpg|(Oplopanax horridus) ไฟล์:Eleutherococcus-sieboldianus.JPG|Eleutherococcus sieboldianus ไฟล์::Starr 070515-7041 Osmoxylon lineare.jpg|Osmoxylon lineare ไฟล์::Illustration Hydrocotyle vulgaris0.jpg|(Hydrocotyle vulgaris) ไฟล์:Starr_010419-0021_Hedera_helix.jpg|Hedera helix ไฟล์:Aralia spinosa, Georgia, USA.jpg|Aralia spinosa ไฟล์:Starr 070515-7041 Osmoxylon lineare.jpg|Osmoxylon lineare.

ดู แอสเทอริดและวงศ์เล็บครุฑ

วงศ์เหงือกปลาหมอ

วงศ์เหงือกปลาหมอ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Acanthaceae) เป็นชื่อของวงศ์พรรณไม้วงศ์หนึ่ง เป็นพืชดอกมีใบเลี้ยงคู่ มีประมาณ 250 สกุลและ 2500 ชน.

ดู แอสเทอริดและวงศ์เหงือกปลาหมอ

วงศ์เทียนดอก

วงศ์เทียนดอก หรือ Balsaminaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ประกอบด้วย 2 สกุลและมากกว่า 850 สปีชีส์ โดยสกุลที่สำคัญคือสกุล Impatiens มีทั้งพืชฤดูเดียวและพืชหลายฤดู พบทั้งในอเมริกาเหนือ เอเชีย ยุโรป และแอฟริก.

ดู แอสเทอริดและวงศ์เทียนดอก

วงศ์เทียนเกล็ดหอย

วงศ์เทียนเกล็ดหอย หรือ Plantaginaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกในอันดับ Lamiales สกุลหลักคือ Plantago ส่วนการจัดจำแนกในระบบเก่า จัดให้อยู่ในอันดับ Plantaginales.

ดู แอสเทอริดและวงศ์เทียนเกล็ดหอย

วงศ์เข็ม

วงศ์เข็ม หรือ Rubiaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีสมาชิกเป็นพืชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจหลายชนิด เช่น ต้นกาแฟ (Coffea), ต้นควินิน (Cinchona), และสกุล Uncaria Carapichea ipecacuanha และพืชที่มีความสำคัญทางการจัดสวนได้แก่ สกุลRubia Ixora Mitchella Morinda, Gardenia และ Pentas สมาชิกส่วนใหญ่อยู่ในเขตร้อน ปัจจุบันประกอบด้วย 611 สกุลและมากกว่า 13,000 สปีชีส์Stevens, P.

ดู แอสเทอริดและวงศ์เข็ม

ว่านมหากาฬ

ว่านมหากาฬ var.

ดู แอสเทอริดและว่านมหากาฬ

ว่านดอกสามสี

ว่านดอกสามสี เป็นพืชเบียนในวงศ์ดอกดิน เป็นพืชปีเดียว ขึ้นบนรากของพืชชนิดอื่น ลำต้นขนาดเล็กอยู่ใต้ดิน ดอกเดี่ยว กลีบสีม่วงเข้ม บานอยู่ได้ 2-3 วันจึงเริ่มโรย ผลเป็นฝัก แก่แล้วแตก ออกดอกช่วงเดือนพฤษภาคม–ตุลาคม พบครั้งแรกในประเทศไทยโดยหมอคาร์ ชาวไอริชที่จังหวัดน่าน เมื่อ 22 กุมภาพัน..

ดู แอสเทอริดและว่านดอกสามสี

ว่านนางตัด

ว่านนางตัด วงศ์ Myrsinaceae เป็นไม้พุ่มลำต้นสีเขียวอมน้ำตาล ใบเดี่ยว ขอบใบสีม่วงหยักเล็กน้อย เส้นใบเป็นสีเขียวปนเทา ดอกช่อออกตามซอกใบ ดอกสีขาวขนาดเล็ก ใช้เป็นไม้ประดับ ทั้งต้นตำให้ละเอียด ใช้ทาท้องแก้ปวดท้อง.

ดู แอสเทอริดและว่านนางตัด

สกุลบลูเบอร์รี

กุลบลูเบอร์รี หรือ Vaccinium ออกเสียง v|æ|k|ˈ|s|ɪ|n|i|ə|m เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Ericaceae หลาบสปีชีส์ที่ผลรับประทานได้ เช่น แครนเบอร์รี บลูเบอร์รี.

ดู แอสเทอริดและสกุลบลูเบอร์รี

สกุลพุด

กุลพุด หรือ Gardenia เป็นสกุลของพืชมีดอกที่มีสมาชิก 142 สปีชีส์ อยู่ในวงศ์เข็ม หรือ Rubiaceae เป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนของแอฟริกา เอเชียใต้ ออสเตรเลีย และพื้นที่ในแถบมหาสมุทร เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ไม่ผลัดใบ ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ดอกออกเป็นกลุ่ม สีขาวหรือเหลือง.

ดู แอสเทอริดและสกุลพุด

สกุลกาแฟ

''Coffea canephora''. สกุลกาแฟหรือ Coffea เป็นสกุลของพืชมีดอกซึ่งเมล็ดนำไปใช้ทำกาแฟ อยู่ในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น เป็นพืชพื้นเมืองในแอฟริกาใต้และเขตร้อนของเอเชีย เป็นพืชที่มีความสำคัญทางการค้.

ดู แอสเทอริดและสกุลกาแฟ

สกุลมะพลับ

กุลมะพลับ หรือ Diospyros เป็นสกุลที่มีสมาชิก 450–500 สปีชีส์ ซึ่งไม่ผลัดใบ มีทั้งไม้ยืนต้นและไม้พุ่ม ส่วนใหญ่เป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อน หลายสปีชีส์จะเป็นที่รู้จักในชื่อพลับ บางชนิดเนื้อไม้แข็ง คุณภาพดี บางชนิดผลรับประทานได้.

ดู แอสเทอริดและสกุลมะพลับ

สกุลมะเขือ

กุลมะเขือ (Solanum) ประกอบด้วยพืชปีเดียวและพืชสองปีมากมายหลายชนิด ปัจจุบัน มีอยู่ประมาณ 1,500-2,000 สปีชีส์ กลุ่มใบและผลมีเนื้อหลายเมล็ดของมันมีพิษ โดยสารหลักที่ออกฤทธิ์ คือ โซลานิน ซึ่งอาจทำให้ชักและเสียชีวิตได้หากรับประทานในปริมาณมาก.

ดู แอสเทอริดและสกุลมะเขือ

สกุลยอ

กุลยอ หรือ Morindaเป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Rubiaceae.

ดู แอสเทอริดและสกุลยอ

สกุลสะแล่งหอมไก๋

กุลสะแล่งหอมไก๋ หรือ Rothmannia เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Rubiaceae ต่อไปนี้เป็นรายชื่อพืชในสกุลนี้ซึ่งยังไม่สมบูรณ์.

ดู แอสเทอริดและสกุลสะแล่งหอมไก๋

สกุลหญ้าดอกลาย

กุลหญ้าดอกลาย หรือ Swertia เป็นสกุลของพืชวงศ์Gentianaceaeซึ่งพืชที่มีชื่อสามัญว่าfelworts อยู่ในวงศ์นี้ด้วย พืชบางชนิดในวงศ์นี้มีดอกสีน้ำเงินหรือสีม่วง พืชในสกุลFrasera บางครั้งถือว่าอยู่ในสกุลนี้ด้วย บางครั้งถือว่าเป็นสกุลต่างหาก บางครั้งถือว่าเป็นชื่อพ้อง.

ดู แอสเทอริดและสกุลหญ้าดอกลาย

สกุลอังกาบ

กุลอังกาบ หรือ Barleria เป็นสกุลหนึ่งในวงศ์ Acanthaceae.

ดู แอสเทอริดและสกุลอังกาบ

สกุลผักบุ้ง

กุลผักบุ้ง (Ipomoea, มาจากคำภาษากรีก ipos แปลว่า หนอน และ homoios แปลว่า คล้าย) เป็นสกุลที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์ผักบุ้ง มีมากกว่า 500 ชนิด กระจายพันธุ์ในเขตร้อนและเขตอบอุ่น ชื่อสามัญของสกุลนี้คือ มอร์นิงกลอรี (morning glory) สกุลนี้มีลักษณะเป็นไม้เถาล้มลุกหรือไม้พุ่ม ใบเรียงเวียน เรียบหรือจักเป็นพู ดอกออกเป็นแบบช่อกระจุก ส่วนมากออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ ติดทน ดอกรูปแตรหรือรูประฆัง ปลายจักตื้น ๆ หรือเกือบเรียบ มีแถบกลางกลีบชัดเจน เกสรเพศผู้ 5 อัน ส่วนมากขนาดไม่เท่ากัน จุดติดก้านชูอับเรณูกับหลอดกลีบมีขนหรือต่อม อับเรณูไม่บิดเวียน เรณูเป็นหนามละเอียด จานฐานดอกรูปวงแหวน รังไข่มี 2-4 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยอดเกสรจัก 2 พู เป็นตุ่ม เกสรเพศผู้และเพศเมียส่วนมากไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบ ผลแห้งแตก ส่วนมากมี 4 หรือ 6 ซีก แต่ละซีกมีเมล็ดเดียว รูปสามเหลี่ยมหรือคล้ายครึ่งวงกลม พืชหลายชนิดในสกุลผักบุ้งนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ บางชนิดนิยมนำมารับประทาน เช่น มันเทศ (Ipomoea batatas) และผักบุ้ง (Ipomoea aquatica) ชาวพื้นเมืองในทวีปอเมริกาใช้พืชบางชนิดในสกุลนี้เป็นสมุนไพรพื้นบ้านและยาที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท.

ดู แอสเทอริดและสกุลผักบุ้ง

สกุลผักกาดหอม

กุลผักกาดหอมหรือ Lactuca เป็นพืชมีดอกในวงศ์ Asteraceae ประกอบด้วย 50 สปีชีส์ แพร่กระจายไปทั่วโลก พืชในสกุลนี้ที่รู้จักดีที่สุดคือผักกาดหอม (Lactuca sativa) ที่มีหลายสายพันธุ์ บางสปีชีส์เป็นวัชพืช มีทั้งพืชฤดูเดียว พืชสองฤดูและพืชหลายฤดูLebeda, A., et al.

ดู แอสเทอริดและสกุลผักกาดหอม

สกุลจันทนา

กุลจันทนา หรือ Tarenna เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Rubiaceae ตัวอย่างสปีชีส์ในสกุลนี้ได้แก่.

ดู แอสเทอริดและสกุลจันทนา

สกุลดาวเงิน

กุลดาวเงิน หรือ Argostemmaเป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Rubiaceae พบในเขตกึ่งร้อนของเอเชีย และเขตร้อนในแอฟริกาตะวันตกและตอนกลาง.

ดู แอสเทอริดและสกุลดาวเงิน

สกุลตีนเป็ดทะเล

กุลตีนเป็ดทะเล หรือ Cerbera iเป็นสกุลที่มีสมาชิก 10-15 สปีชีส์ เป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อนของเอเชีย ออสเตรเลีย มาดากัสการ์ เซเชลล์ และหมู่เกาะในแปซิฟิกตะวันตก มีพืชในสกุลนี้สามชนิดเป็นไม้ป่าชายเลน ได้แก่ Cerbera floribunda, Cerbera manghas and Cerbera odollam ผลมีเมล็ดเดียว มียางสีขาว ชื่อสกุลตั้งชื่อตามเซอร์เบอรัส สุนัขในนรกในเทพปกรณัมกรีกเพราะยางมีพิษ มีสารพิษคือเซอเบอริน ซึ่งจะยับยั้งการส่งกระแสไฟฟ้าในร่างกาย โดยเฉพาะหัวใจ กิ่งนิยมใช้ทำฟืน แม้ว่าควันอาจเป็นพิษ;ตัวอย่างสปีชี.

ดู แอสเทอริดและสกุลตีนเป็ดทะเล

สกุลประทัดดอย

กุลประทัดดอย (Agapetes) เป็นไม้กึ่งเลื้อที่เป็นพืชพื้นเมืองในเขตเทือกเขาหิมาลัย ดอกมีสีสดและบานเป็นเวลานาน เจริญในเขตหนาวจนถึงกึ่งเขตร้อน.

ดู แอสเทอริดและสกุลประทัดดอย

สกุลนมตำเลีย

กุลนมตำเลีย หรือ Hoya เป็นสกุลของพืชในวงศ์นมตำเลีย มี 200–300 สปีชีส์ในเขตร้อน ส่วนใหญ่เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชีย ได้แก่ อินเดีย จีน ไทย มาเลเซีย, และ อินโดนีเซีย และยังพบใน ฟิลิปปินส์ โพลีเนเซีย นิวกินี และ ออสเตรเลี.

ดู แอสเทอริดและสกุลนมตำเลีย

สกุลแสลงใจ

กุลแสลงใจ หรือ Strychnos เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Loganiaceae (บางครั้งเป็น Strychnaceae).

ดู แอสเทอริดและสกุลแสลงใจ

สกุลโมกมัน

กุลโมกมัน หรือ Wrightia เป็นสกุลที่มีสมาชิก 23 สปีชีส์ อยู่ในวงศ์ Apocynaceae เป็นพืชพื้นเมืองในแอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กหรือไม้พุ่ม ชื่อสกุลนี้ตั้งชื่อตามนักพฤกษศาสตร์ชาวสกอตแลนด์ วิลเลียม ไรท์ (William Wright) ในบางครั้ง จะเกิดความสับสนกันระหว่างพุดพิชญา (Wrightia antidysenterica) กับโมกหลวง (Holarrhena pubescens) ซึ่งมีชื่อพ้อง Holarrhena antidysenterica โดยพืชทั้งสองชนิดอยู่ในวงศ์เดียวกัน แต่คนละสกุล.

ดู แอสเทอริดและสกุลโมกมัน

สกุลเจินจูฉ่าย

กุลเจินจูฉ่าย (珍珠菜, 真珠菜) ภาษาจีนแต้จิ๋วเรียกเตียวจูฉ่าย เป็นคนละชนิดกับจิงจูฉ่ายที่ชาวจีนแต้จิ๋วนิยมนำไปใส่ในเกาเหลาเลือดหมูเป็นกลุ่มพืชสกุล Lysimachia ถือเป็นสมุนไพรจีน เการแพทย์แผนจีนโบราณถือว่าผักชนิดนี้มีคุณสมบัติเป็นยาเย็น(หยิน)มีรสขม ลักษณะต้นขึ้นเป็นกอคล้ายต้นใบบัวบก เจริญงอกงามในที่แดดรำไร ชื้น ดินโปร่งแต่ไม่แฉ.

ดู แอสเทอริดและสกุลเจินจูฉ่าย

สกุลเทียนดอก

กุลเทียนดอก หรือ Impatiens เป็นสกุลชอ พืชมีดอกที่มีสมาชิก 850 - 1,000 สปีชีส์ พบแพร่กระจายในซีกโลกเหนือ และเขตร้อน อยู่ในวงศ์ Balsaminaceae.

ดู แอสเทอริดและสกุลเทียนดอก

สร้อยสุวรรณา

ร้อยสุวรรณา (bladderwort) เป็นพืชกินแมลงในวงศ์สร้อยสุวรรณา (Lentibulariaceae) กระจายพันธุ์ตั้งแต่เอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และโอเชียเนีย เป็นไม้ล้มลุกปีเดียวขนาดเล็ก มีไหลเป็นเส้นขนาดเล็ก มีใบหลายใบออกจากไหล รูปแถบ ยาวได้ประมาณ 2 ซม.

ดู แอสเทอริดและสร้อยสุวรรณา

สร้อยอินทนิล

ร้อยอินทนิล หรือ ช่ออินทนิล ช่องหูปากกา น้ำผึ้ง ปากกา ย่ำแย้ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Thunbergia grandiflora Roxb.ชื่อสามัญคือ Bengal Trumpet มีถิ่นกำเนิดในอินเดียตอนเหนือ พม่า และไทย ชอบขึ้นตามป่าดิบแล้งและป่าเบญจพรรณ เป็นไม้เถาเลื้อย เนื้อแข็ง อายุหลายปี ใช้ยอดเลื้อยพันได้ไกล 15-20 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปหัวใจหรือเว้าตื้น 5-7 แฉก กว้าง 8-10 เซนติเมตร ยาว 10-12 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบเว้า ขอบหยักฟันเลื่อย ผิวใบสาก ดอกสีฟ้าอมม่วง ออกเป็นช่อแบบช่อกระจะตามซอกใบ ช่อดอกห้อยลงยาว 0.8-1 เมตร ใบประดับสีเขียวและมีสีแดงเรื่อ ดอกรูปแตร โคนกลีบเป็นหลอดสั้นสีเหลืองปลายแยก 5 แฉก รูปกลม โคนกลีบล่างอันกลางมีแต้มสีม่วงเข้ม ดอกบานเต็มที่กว้าง 6-8 เซนติเมตร ปลูกได้ในดินทั่วไป ความชื้นปานกลาง แสงแดดเต็มวัน ขยายพันธุ์ด้วยการปักชำเถา หรือหน่อ เปลือกและรากนำมาตำพอกแก้อาการช้ำบวมและแผลอักเสบ ใบนำมาชงเป็นชาแก้ปวดท้อง.

ดู แอสเทอริดและสร้อยอินทนิล

สะพานก๊น

นก๊น อยู่ในวงศ์ Caprifoliaceae เป็นไม้พุ่ม กิ่งก้านขนาดเล็ก ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาว พบตามธรรมชาติในภูฏาน พม่า กัมพูชา จีน (ยกเว้นทางเหนือ) อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น ลาว มาเลเซีย (รัฐซาบะฮ์) ฟิลิปปินส์ ภาคใต้ของไทย และเวียดนาม ใบและก้านขยี้ให้คนไข้ดม แก้ชัก ต้นต้มน้ำอาบแก้ผดผื่น ผลกินเป็นยาระบาย ช่วยให้ถ่ายท้อง ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย นำใบบดกับน้ำใช้ทาแก้อาการอัก.

ดู แอสเทอริดและสะพานก๊น

สัก (พรรณไม้)

ัก เป็นไม้ต้นขนาดใหญ่ผลัดใบในฤดูร้อน ลำต้นเปลาตรงเปลือกเรียบหรือแตกเป็นร่องเล็ก ๆ สีเทา โคนเป็นพูพอนต่ำ ๆ เรือนยอดเป็นพุ่มทรงกลมค่อนข้างทึบ เปลือกสีเทา เรียบ หรือแตกเป็นร่องตื้นตามความยาวลำต้น ขึ้นเป็นหมู่ในป่าเบญจพรรณทางภาคเหนือ บางส่วนในภาคกลางและภาคตะวันตก มีอยู่บ้างทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สักมักจะได้รับความเข้าใจผิดเสมอว่าเป็นไม้เนื้อแข็งเนื่องจากว่ามันมีลักษณะพิเศษที่เป็นไม้เนื้ออ่อนที่มีความทนทานกว่าไม้เนื้อแข็งหลาย ๆ ชนิด ชื่อสามัญอื่นอื่น: เซบ่ายี้, ปีฮือ, ปายี้, เป้อยี.

ดู แอสเทอริดและสัก (พรรณไม้)

สาบหมา

''Ageratina adenophora'' สาบหมา หรือพาพั้งดำในภาษาไทใหญ่ เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Asteraceae ชื่อสามัญที่รู้จักกันทั่วไปคือ eupatory, sticky snakeroot, crofton weed, และ Mexican devil ลำต้นสีม่วงแดง ใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปไข่ หรือรูปสามเหลี่ยม ขอบใบหยัก ปลายแหลม ดอกเป็นช่อกลม ดอกย่อยสีขาว อัดแน่นเป็นกระจุกกลม ผลแห้ง มีขนสีขาวจำนวนมาก ชาวไทใหญ่ใช้ใบขยี้ห้ามเลือด รากต้มรักษาโรคกระเพาะ สาบหมาเป็นพืชที่มีฤทธิ์ทางอัลลีโลพาทีชัดเจน สารสกัดด้วยมทานอลจากใบยับยั้งการงอกและการเจริญของไมยราบเครือ ข้าวน้ำรู โสนขน ผักโขมหนาม ผักโขมหัด ถั่วผี หญ้าปากควาย หงอนไก่ป่า กะหล่ำปลี คะน้า และข้าวพันธุ์ กข 23 ได้สารสกัดด้วยเมทานอลจากส่วนเหนือดินยับยั้งการเจริญของผักโขมหนาม ปืนนกไส้ กระดุมใบใหญ่ หงอนไก่ป่า หญ้าขจรจบ โสนขนและหญ้าปากคว.

ดู แอสเทอริดและสาบหมา

สาบแร้งสาบกา

แร้งสาบกา (Billygoat-weed, Chick weed) เป็นพืชในวงศ์ทานตะวัน (Asteraceae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกากลางและแคริบเบียน มักถูกจัดเป็นวัชพืช เป็นไม้ล้มลุกปีเดียว สูง 1-2 ฟุต ทั้งต้นมีขนปกคลุม มีกลิ่นเฉพาะตัว ใบออกเป็นใบเดี่ยวรูปมนรี ปลายแหลม โคนใบเว้าคล้ายรูปหัวใจ ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อย เรียงตรงข้ามกันเป็นคู่ ๆ แต่ส่วนยอดจะเรียงสลับกัน ยาวประมาณ 2-5 นิ้ว ดอกออกเป็นช่อตรงส่วนยอดของต้น ช่อหนึ่งจะมีดอกขนาดเล็กประมาณ 6 มิลลิเมตร มีสีม่วงน้ำเงินหรือขาว ผลเป็นรูปเส้นตรงสีดำ ส่วนบนจะมีขนสั้นอยู่ 5 เส้น สาบแร้งสาบกาเป็นพืชสมุนไพรที่มีสรรพคุณหลายอย่าง น้ำต้มจากใบดื่มแก้ไข้ ขับระดู รากแก้อาการปวดท้อง ใบตำพอกแผลสด แต่ไม่ควรใช้มากเพราะในสาบแร้งสาบกามีสารแอลคาลอยด์ที่ก่อให้เกิดมะเร็งตั.

ดู แอสเทอริดและสาบแร้งสาบกา

สาบเสือ

ือ (Bitter bush, Siam weed) เป็นสมุนไพรอย่างหนึ่งที่หาง่ายมากมีอยู่ทั่วไป จัดว่าเป็นวัชพืชที่มีสรรพคุณทางยาที่ใช้ประโยชน์ได้ดีที่เดียว เราใช้" ต้นสาบเสือ" เป็นดรรชีชี้วัดอุณหภูมิความแห้งแล้งของอากาศ เพราะหากอากาศไม่แล้งต้นสาบเสือก็จะไม่ออกดอก สาเหตุที่ได้ชื่อว่า สาบเสือ ก็เพราะว่าดอกของมันไม่มีกลิ่นหอมเลยแต่กลับมีกลิ่นสาบ คนโบราณเวลาหนีสัตว์ร้ายอื่นเข้าดงสาบเสือจะปลอดภัย เพราะสัตว์อื่นนั้นจะไม่ได้กลิ่นคน.

ดู แอสเทอริดและสาบเสือ

สารภีดอย

รภีดอย อยู่ในวงศ์ Theaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียก ทื่อ ไม้ยืนต้น ใบเดี่ยว ใบเรียบและเหนียว ดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีกาบสีเขียวรองรับ 2 อัน ผลคล้ายผลแบบโปม เมล็ดมีแอริล ชาวกะเหรี่ยงใช้ทำฟืน เปลือกต้นใช้ย้อมผ้าได้สีเท.

ดู แอสเทอริดและสารภีดอย

สาหร่ายข้าวเหนียว

หร่ายข้าวเหนียว (golden bladderwort) เป็นพืชกินแมลงในวงศ์สร้อยสุวรรณา (Lentibulariaceae) กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดีย, ญี่ปุ่นและออสเตรเลียTaylor, Peter.

ดู แอสเทอริดและสาหร่ายข้าวเหนียว

สาดรากลำเทียน

รากลำเทียน เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Asteraceae เป็นไม้ล้มลุกสองฤดู แตกกิ่งน้อย ลำต้นเป็นสี่เหลี่ยม มีขนอ่อนปกคลุม ใบออกเป็นกระจุกที่โคนต้น ออกดอกที่ปลายยอด กลีบดอกสั้น มีเกสรตัวผู้จำนวนมาก ผลแก่แห้งมปุยปลิวตามลม ออกดอกเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน พบครั้งแรกในไทยโดยหมอคาร์ เมื่อ 13 มีนาคม..

ดู แอสเทอริดและสาดรากลำเทียน

สำมะงา

ำมะงา เป็นไม้พุ่มรอเลื้อยในวงศ์ Lamiaceae ลำต้นเรียบสีน้ำตาล ใบเดี่ยว ผิวใบเรียบเป็นมัน ดอกช่อ ก้านดอกสั้น ดอกเป็นหลอดยาวปลายเป็นแฉกตื้นๆ 5 แฉก กลีบดอกสีขาวอมชมพู ก้านเกสรตัวผู้สีม่วงแดง ผลเดี่ยวกลมรี เป็นพูเล็กน้อย เมื่ออ่อนสีเขียว สุกแล้วเป็นสีดำ ใบสดต้มน้ำใช้ทำความสะอาดแผล ใบแห้งบดเป็นผง ใช้โรยแผลแก้ติดเชื้อ ใบและผลสดต้มรวมกับเหล้าพออุ่น ทาแก้รอยฟกช้ำหรือบวม รากแห้งต้มกับน้ำดื่ม แก้ไข้หวัด ตับอักเสบและแผลบวม.

ดู แอสเทอริดและสำมะงา

สีง้ำ

ีง้ำ (nilad; nila, chengam ในสิงคโปร์) เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Rubiaceae ต้นอ่อนลำต้นสีเหลืองแดง แก่แล้วเป็นสีเทาอมดำ เปลือกแตกเป็นร่อง ใบเดี่ยว หลังใบสีเขียวอ่อนออกนวล ดอกช่อออกตามง่ามใบ ผลเดี่ยว ติดเป็นกระจุก ทรงรี สีเขียวอ่อน ผิวเป็นร่องตามยาว ไม้สีง้ำใช้ทำเครื่องประมงพื้นบ้าน ชื่อเมืองหลวงของฟิลิปปินส์ (กรุงมะนิลา) ในภาษาตากาล็อกเรียกว่า Maynila แปลว่า "มีต้นสีง้ำ" เนื่องจากบริเวณอ่าวมะนิลามีต้นสีง้ำขึ้นอยู่มาก คำว่านีลัดหรือนีลาที่แปลว่าสีง้ำ อาจมาจากภาษาสันสกฤต nila (नील).

ดู แอสเทอริดและสีง้ำ

ส้มกุ่ย

้มกุ่ย อยู่ในวงศ์ Mysinaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียกแบล๊ะเบลาะ เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย เปลือกต้นสีน้ำตาล ใบเดี่ยว ไม่มีหูใบ ดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีกาบหุ้มรองรับช่อดอกและดอกย่อย กลีบดอกสีเขียวอ่อน มีขนสั้นสีขาวปกคลุมตามขอบกลีบ ผลแบบเบอร์รี สุกเป็นสีม่วงดำ ชาวกะเหรี่ยงนำยอดอ่อนไปจิ้มน้ำพริก ผลสุกรับประทานได้.

ดู แอสเทอริดและส้มกุ่ย

ส้มลม

้มลม เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Apocynaceae ลำต้นมีน้ำยางขาวเหนียว ใบเดี่ยว ดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง กลีบดอกเป็นหลอด สีขาวอมเขียว ปลายแยก สีแดงหรือสีชมพู ผลเป็นฝักคู่ ผลกลุ่มแก่แล้วแตกเมล็ดสีน้ำตาลมีขนสีขาว ใบและผลมีรสเปรี้ยว เป็นพืชพื้นเมืองในภูมิภาค อินโดจีน (ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม)ในกัมพูชาเรียก /vɔə tʰnɜŋ/ (វល្លិថ្នឹង) หรือ /kaɔt prɷm/ (កោតព្រំ) กินเป็นผักสดกับน้ำพริกหรือแจ่ว รากต้มน้ำดื่มช่วยขับลม คลายกล้ามเนื้อ หรือผสมกับยาสมุนไพรอื่นๆ รักษาอาการปวดเมื่อย ปัสสาวะขัด ในเวียดนาม นำไปใส่ในอาหารประเภทต้มที่เรียกกัญจัว.

ดู แอสเทอริดและส้มลม

ส้มแปะ

้มแปะ หรือส้มปี้ อยู่ในวงศ์ Ericaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียก เส่อแบละ ไม้ยืนต้น ใบเดี่ยว ก้านใบสั้น สีแดงอ่อนหรือเขียว ดอกช่อ ก้านช่อดอกมีขนปกคลุม มีกาบหุ้มช่อสีแดงเข้ม ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ กลีบดอกสีขาวหรือสีชมพูอ่อน ผลสด มีหลายเมล็ด อ่อนเป็นสีเขียว แก่เป็นสีแดงเข้ม ยอดอ่อน กินสดกับน้ำพริกหรือใส่ในแกงปลา มีรสเปรี้ยว ผลสุกรับประทานได้ เนื้อไม้สับเป็นชิ้นๆ ตากให้แห้ง ใช้เป็นไส้บุหรี่ขี้.

ดู แอสเทอริดและส้มแปะ

สเปียร์มินต์

ปียร์มินต์ เป็นพืชในสกุลมินต์ กระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกา ยุโรป แอฟริกาเหนือถึงเอเชีย ลักษณะเป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 30-100 เซนติเมตร มีเหง้าใต้ดิน ใบเป็นใบเดี่ยวรูปรีแกมใบหอก ขอบใบจักฟันเลื่อย ออกตรงข้าม กว้าง 1.5-3 เซนติเมตร ยาว 5–9 เซนติเมตร ดอกออกเป็นช่อสีชมพูขาว ยาว 2.5–3 มิลลิเมตร ผลกลมภายในมีเมล็ด สเปียร์มินต์มีน้ำมันที่มีส่วนประกอบหลักเป็นคาร์โวนและลิโมนีน และมีเมนทอลและเมนโทนในปริมาณเล็กน้อย น้ำมันสเปียร์มินต์มีคุณสมบัติไล่แมลงและต้านเชื้อรา ใช้ผสมในชามินต์ แต่งกลิ่นยาสีฟัน ขนมและเครื่องดื่ม.

ดู แอสเทอริดและสเปียร์มินต์

หญ้าช้างน้อย

หญ้าช้างน้อย เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Caprifoliaceae ยอดอ่อนมีขนนุ่ม ใบเดี่ยว รูปไข่ ผิวใบมีขนนุ่มทั้งสองด้าน โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 กลีบไม่เท่ากัน ผลรูปกลม ออกดอกช่วงเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ พบตามพื้นที่สูงของภาคเหนือและภาคตะวันตก พบครั้งแรกในประเทศไทยโดยหมอคาร์เมื่อ 26 กุมภาพัน..

ดู แอสเทอริดและหญ้าช้างน้อย

หญ้าละออง

หญ้าละออง Less.

ดู แอสเทอริดและหญ้าละออง

หญ้าหวาน

หญ้าหวาน หรือ สเตเวีย มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Stevia rebaudiana Bertoni อยู่ในวงศ์ Asteraceae เป็นพืชพื้นเมืองทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศปารากวัยในทวีปอเมริกาใต้ ความพิเศษของหญ้าหวาน คือ ส่วนของใบให้ความหวานมากกว่าน้ำตาลถึง 10-15 เท่า แต่ความหวานนี้ไม่ก่อให้เกิดพลังงานแต่อย่างไร (0 แคลอรี/กรัม) นอกจากนี้ยังมีสารสกัดที่เกิดจากหญ้าหวานชื่อว่า สตีวิโอไซด์ (stevioside) เป็นสารที่ให้ความหวานมากกว่า 200-300 เท่าของน้ำตาล ด้วยความพิเศษของหญ้าหวานนี้ หญ้าหวานจึงเป็นพืชที่ได้รับความสนใจทั้งทางด้านอุตสาหกรรม การแพทย์ ยาสมุนไพร เครื่องดื่ม เป็นต้น มนุษย์รู้จักนำสารสกัดที่มีรสหวานจากหญ้าหวานมาบริโภคหลายศตวรรษแล้วโดยชาวพื้นเมืองในประเทศปารากวัย โดยนำหญ้าหวานมาผสมกับเครื่องดื่ม เช่น ชา นอกจากนี้ชาวญี่ปุ่นยังนำสารให้ความหวานมาผสมกับผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น ผักดอง ซีอิ๊ว เต้าเจี้ยว เนื้อปลาบด เป็นต้น หญ้าหวานเริ่มเข้าสู่ประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ.

ดู แอสเทอริดและหญ้าหวาน

หญ้างวงช้าง

หญ้างวงช้างในประเทศอินเดีย หญ้างวงช้าง เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Boraginaceae ลำต้นไม่มีเนื้อไม้ มีขนสั้นๆ จับแล้วเหนียวมือ มีกลิ่นเฉพาะตัว ใบเดี่ยว มีขนสั้นๆกระจายทั่วผิวใบ จับแล้วรู้สึกเหนียวมือ ดอกช่อ ปลายช่อม้วน มีดอกย่อยอยู่ที่ช่อดอกเพียงด้านเดียว ดอกมีกลิ่นหอมอ่อนๆ ผลเดี่ยวกลม ปลายผลเป็นร่อง มีกลีบเลี้ยงหุ้มเป็นรูปสามเหลี่ยม อ่อนเป็นสีเขียว แก่เป็นสีน้ำตาล ผลแห้งแตก เมล็ดสีเทาดำ ในฟิลิปปินส์ใช้เป็นยาแก้บวม.

ดู แอสเทอริดและหญ้างวงช้าง

หญ้าเหลี่ยม

หญ้าเหลี่ยม เป็นพืชในวงศ์ดอกหรีดเขา ลักษณะเป็นไม้ล้มลุกสูงได้ถึง 1 เมตร ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 2.5-16 เซนติเมตร ก้านใบสั้นหรือเกือบไร้ก้าน ดอกออกเป็นช่อแยกแขนง ก้านดอกยาวได้ถึง 1 เซนติเมตร ใบประดับรูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาวได้ถึง 2.5 เซนติเมตร ใบประดับย่อยรูปแถบ ยาวได้ถึง 1 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว 5-6 มิลลิเมตร ดอกมีสีขาวอมชมพูหรือม่วง โคนมีสีเหลืองแต้ม หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 5 มิลลิเมตร กลีบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 1.3 เซนติเมตร มีเกสรเพศผู้ 4 อัน ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณูโค้งยาว 6-7 มิลลิเมตร ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่ารังไข่ประมาณ 2 เท่า ยาว 1-1.2 เซนติเมตร ผลรูปรีกว้าง ยาวประมาณ 3.5 มิลลิเมตร หญ้าเหลี่ยมกระจายพันธุ์ในอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถึงออสเตรเลีย มีสรรพคุณลดไข้และแก้โรคทางกระเพาะอาหาร.

ดู แอสเทอริดและหญ้าเหลี่ยม

หญ้าเหล็กขูด

หญ้าเหล็กขูด มีชื่อสามัญภาษาอังกฤษหลายชื่อ ได้แก่ frog fruit, sawtooth fogfruit, turkey tangle เป็นพืชในวงศ์ Verbenaceae และเป็นพืชพื้นเมืองในอเมริกาใต้และสหรัฐ พบได้ในเขตร้อนทั่วโลก นิยมปลูกเป็นพืชคลุมดิน ทางภาคใต้ของไทยนำส่วนเหนือดินไปลวกจิ้มน้ำพริก.

ดู แอสเทอริดและหญ้าเหล็กขูด

หญ้าเอ็นยืด

ผลที่กำลังพัฒนาของหญ้าเอ็นยืด หญ้าเอ็นยืด อยู่ในวงศ์ Plantaginaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียกตาซื่อเดาะ ไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน ลำต้นเหนือดินขนาดเล็กตั้งตรง ใบเดี่ยว ไม่มีหูใบ ขอบใบบริเวณโคนหยักเล็กน้อย ขอบใบสีม่วง ดอกช่อ ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีกาบหุ้มสีเขียวรองรับ 1 อัน กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด สีขาว ก้านชูเกสรตัวผู้สีขาว อับเรณูสีเหลือง ผลมีเมล็ดจำนวนมาก สีดำ ชาวกะเหรี่ยงนำใบและต้นมากินเป็นผักสดจิ้มน้ำพริก.

ดู แอสเทอริดและหญ้าเอ็นยืด

หมักม่อ

หมักม่อ บุรีรัมย์เรียกต้นขี้หมู เป็นพืชในสกุลสะแล่งหอมไก๋ วงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกสีน้ำตาลอมดำ ใบเดี่ยว ดอกออกเป็นกระจุก ปลายยอดสีขาวนวล ช่อละ 1-12 ดอก รูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 กลีบ กลีบดอกด้านในมีจุดประสีม่วงแดง ออกดอกพร้อมกันทั้งต้น บานนานประมาณ 1 สัปดาห์ มีกลิ่นหอมอ่อนตอนกลางคืน ผลกลม ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม – เมษายน พบครั้งแรกที.

ดู แอสเทอริดและหมักม่อ

หมัน (พรรณไม้)

หมัน เป็นพืชในวงศ์หญ้างวงช้าง (Boraginaceae) กระจายพันธุ์ในอินโดจีนและคาบสมุทรมลายู เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลรับประทานได้ ยางเหนียวจากผลบางครั้งใช้เป็นกาว.

ดู แอสเทอริดและหมัน (พรรณไม้)

หมันทะเล

หมันทะเล เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Boraginaceae พบตั้งแต่ แอฟริกา เอเชียใต้ ไปจนถึงออสเตรเลียและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ลำต้นมีรอยแตกสีน้ำตาลอมขาว มีรอยแตกตื้นๆ แตกกิ่งจำนวนมาก ดอกช่อ กลีบดอกเชื่อมติดกัน บานออกคล้ายปากแตร สีส้มออกแดง เกสรตัวผู้สีเหลือง ผลเดี่ยว กลมรี กลีบเลี้ยงติดที่ผล ผลอ่อนสีเขียวอมเหลือง แก่แล้วเป็นสีขาวอมเหลือง ในไทยใช้เป็นไม้ประดับ เมล็ดรับประทานได้ใช้เป็นอาหารในแอฟริกา ไม้เนื้ออ่อน ใช้ในงานช่างได้.

ดู แอสเทอริดและหมันทะเล

หยั่งสมุทร

หยั่งสมุทร (ภาษาจีน: 毛车藤 (Pinyin: máo chē téng; ภาษาลาว: ຊີມ) เป็นไม้พุ่ม เลื้อยพัน ลำต้นมีขนปกคลุม ใบเดี่ยว ท้องใบมีขนนุ่มหนาแน่น หลังใบมีขนประปราย ดอกช่อ ออกตามซอกใบ ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ กลีบดอกด้านนอกสีชมพูอ่อนแกมขาว ด้านในสีชมพูเข้ม ผลเป็นฝักแข็ง รูปกรวยแหลม มีขนยาวปกคลุมหนาแน่น เมล็ดจำนวนมาก ปลายเมล็ดมีขนสีขาวติดเป็นกระจุก ชาวเผ่าถิ่นใช้ผลเป็นผักจิ้ม.

ดู แอสเทอริดและหยั่งสมุทร

หอมหมื่นลี้

หอมหมื่นลี้ (sweet osmanthus, sweet olive) หรือ สารภีฝรั่ง หรือ สารภีอ่างกา เป็นพืชในวงศ์มะลิ มีถิ่นกำเนิดแถบเทือกเขาหิมาลัยและจีน กระจายพันธุ์ไปทางใต้ของญี่ปุ่นและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หอมหมื่นลี้นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ในรัฐอุตตราขัณฑ์ ประเทศอินเดียใช้ดอกในการไล่แมลง, James Sykes Gamble, S.

ดู แอสเทอริดและหอมหมื่นลี้

หัวร้อยรู

หัวร้อยรู หรือ ปุ่มฟ้า ดาลูบูตาลิมา เป็นพืชจำพวกลงหัว ในวงศ์ Rubiaceae เป็นพืชอิงอาศัยกับต้นไม้ชนิดอื่น มักขึ้นตามคาคบไม้ ต้นแก่มีหัวกลมโตขนาดเท่ามะพร้าว ภายในหัวเป็นรูพรุนไปทั่ว จัดเป็นพืชที่อยู่ร่วมกับมด (myrmecophyte) ชนิดหนึ่ง ถ้าผ่าออกดู มักมีมดดำอาศัยอยู่เต็มหัว เนื้อนิ่ม สีน้ำตาลไหม้ เมื่อจะนำมาใช้ ต้องนำมาแช่น้ำทิ้งไว้จนกว่ามดจะออกไปหมด ในตำรายาไทย หัวร้อยรูอยู่ใน “พิกัดมหากาฬทั้ง 5” ที่ใช้ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้ แก้พิษอักเสบ ช้ำบวม แก้พิษไข้ ไข้กาฬ ประดงผื่นคัน น้ำเหลืองเสีย ส่วนหัวของหัวร้อยรูเองมีฤทธิ์บำรุงหัวใจ ขับพยาธิ แก้พิษในข้อในกระดูก แก้พิษประดง แก้ข้อเข่าข้อเท้าบวม.

ดู แอสเทอริดและหัวร้อยรู

หัวฆ้อนกระแต

หัวฆ้อนกระแต Roxb.

ดู แอสเทอริดและหัวฆ้อนกระแต

หิรัญญิการ์

หิรัญญิการ์ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Beaumontia grandiflora Wall., ชื่อสามัญอื่น: Herald's Trumpet, Easter Lily Vine) เป็นไม้เถาขนาดใหญ่เนื้อแข็ง ทุกส่วนของต้นเมื่อรับประทานทำให้หัวใจถูกกระตุ้น เร่งการทำงานของหัวใจ ทำให้หัวใจวายได้.

ดู แอสเทอริดและหิรัญญิการ์

หูปลาช่อน

หูปลาช่อน เป็นไม้ล้มลุก ลำต้นตั้งตรงสูง 10 -45 เซนติเมตร ปลายใบแหลมเรียว โคนใบกว้างรูปไข่ ขอบใบหยักเว้า หลังใบสีเขียวเข้ม ท้องใบสีม่วงแดง ดอกออกเป็นช่อกลางลำต้น ช่อหนึ่งแยกเป็น 2 แขนง ดอกสีแดง ขนาดเล็ก ผลมีเปลือกแข็ง ในทางสมุนไพร รากสดนึ่งกับเนื้อหมูแก้ตานขโมย ต้นสดต้มน้ำดื่มเป็นยาแก้เจ็บคอ ทอนซิลอักเสบ ต้นสดตำคั้นน้ำพอกบริเวณที่เป็นฝี แก้บวมน้ำ ยานี้ห้ามใช้ในหญิงมีครร.

ดู แอสเทอริดและหูปลาช่อน

หีบไม้งาม

หีบไม้งาม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Carissa macrocarpa (Eckl.) A.DC.,ชื่อสามัญ: Natal Plum) ที่มีถิ่นกำเนิดในแอฟริกาใต้ เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กในวงศ์ตีนเป็ดที่สูงถึง 20 เมตร ลำต้นและกิ่งก้านมีหนามปลายแหลมแยกเป็น 2 แฉก ยาวได้ถึง 3 ซม.ทุกส่วนของต้นมีน้ำยางขาว ด้วยทรงพุ่มสวยจึงใช้ปลูกในสวนหย่อม ทำเป็นรั้ว ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉากซ้อนกันถี่ ใบรูปไข่ กว้าง 3-5 ซม.

ดู แอสเทอริดและหีบไม้งาม

หงส์เหิร

หงส์เหิรเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู แอสเทอริดและหงส์เหิร

หนามแท่ง

หนามแท่งหรือเค็ด เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ไม่ผลัดใบ มีหนามขนาดใหญ่แหลม ลำต้นสีเทา ผิวเรียบ ใบเดี่ยว แตกสลับเรียงเวียนเป็นกระจุก ใบเรียบ สีเขียว ดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ กลีบดอกขาวแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยก ผลเดี่ยวกลม ปลายผลมีแผลเกิดจากกลีบดอก ผลสีเขียวมีขนสั้นสีน้ำตาลปกคลุม เมื่อแก่เป็นสีน้ำตาลเข้ม อมดำ ใช้ทำเครื่องมือประมง.

ดู แอสเทอริดและหนามแท่ง

ห้อม

ห้อม หรือ ฮ่อม มีชื่ออื่นๆคือ ฮ่อมเมือง ครามหลอย ครามเหล็กขูด ครามย่าน ใบเบิก เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็ก ลักษณะเป็นไม้พุ่มลำต้นกลมและตั้งตรง สูง 50-80 เซนติเมตร ลำต้นและเหง้าเป็นรูปทรงกระบอก บริเวณข้อเป็นปล้องคล้ายขาไก่ แตกกิ่งก้านตามข้อ ลักษณะใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม โคนใบเรียวปลายใบแหลม ขอบใบหยักฟันเลื่อยละเอียด กว้าง 2.5 – 6 ซม.

ดู แอสเทอริดและห้อม

ห้อมช้าง

ห้อมช้าง (Wall.) เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Acanthaceae ใบเรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปขอบขนาน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ออกตามปลายกิ่ง ใบประดับและใบประดับย่อยขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ มีขนหนาแน่นด้านใน กลีบดอกรูปปากเปิด สีม่วงอมแดงหรืออมชมพู ด้านนอกมีขนละเอียด กลีบล่าง 3 กลีบ กลีบรูปรี กลีบบน 2 กลีบ สั้นกว่ากลีบล่างเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 2 อัน ติดภายในหลอดกลีบดอก ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอกเล็กน้อย ก้านชูอับเรณูเกลี้ยง กสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 2 อัน ขนาดเล็ก ผลแห้งแตก รูปแถบ มีสันเป็นเหลี่ยม มีขนสั้นนุ่ม การกระจายพันธุ์ พบที่อินเดีย ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ในไทยพบมากทางภาคเหนือ.

ดู แอสเทอริดและห้อมช้าง

ออริกาโน

ออริกาโนแห้งสำหรับปรุงอาหาร ออริกาโน (Oregano; หรือ) เป็นพืชในสกุล Origanumที่พบบ่อย อยู่ในวงศ์ Lamiaceae เป็นพืชพื้นเมืองในเขตอบอุ่นและทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของยูเรเชีย และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ออริกาโนเป็นเครื่องปรุงสำคัญในอาหารอิตาลี ใส่ในพิซซา ซอส และอาหารจานผัก นิยมใช้แบบแห้งมากกว่าแ.

ดู แอสเทอริดและออริกาโน

อัคคีทวาร

อัคคีทวาร หรือ ตรีชะวา (Moon var. wallichii Clarke)ในวงศ์.

ดู แอสเทอริดและอัคคีทวาร

อังกาบ

อังกาบ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Barleria cristata L.) มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย เป็นพรรณไม้พุ่มเตี้ย มีลำต้นเป็นข้อ สูงประมาณ 3 ฟุต ใบเป็นรูปหอก โคนและปลายเรียวแหลม ขนาดกว้างประมาณ 4 ซม.

ดู แอสเทอริดและอังกาบ

อังกาบสีปูน

อังกาบสีปูน (หรือ ไม้พุ่มคลุมดินขนาดเล็ก เป็นกิ่งทอดเลื้อย สูง 15 - 40 ซม. ใบรูปไข่ ปลายแหลม ยาว 2 - 4 ซม. มีสีเขียวเป็นมัน ดอกมีสีแดงอมส้ม คล้ายสีปูนแดงที่กินกับหมาก กลีบดอกกลมมน ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด หรือปักชำ ปลูกเป็นไม้ประดับสวยงามได้ทั้งในที่ร่มรำไร และกลางแจ้ง.

ดู แอสเทอริดและอังกาบสีปูน

อังกาบหนู

อังกาบหนู เป็นพืชที่เป็นพืชท้องถิ่นในอินเดีย เป็นพืชสมุนไพรในตำรับยาอายุรเวท น้ำคั้นจากใบใช้ป้องกันเท้าเปื่อยและแตกในฤดูมรสุม, Willliam Dymock, C.

ดู แอสเทอริดและอังกาบหนู

อันดับกะเพรา

อันดับกะเพรา หรือ Lamiales เป็นอันดับของพืชมีดอก มีสมาชิกประมาณ 11,000 สปีชีส์ แบ่งเป็น 20 วงศ์ สมาชิกที่สำคัญของอันดับนี้เช่น มะกอกออลิฟ มะลิ สัก ลิ้นมังกร สะระแหน่ และโหระพา เป็นต้น.

ดู แอสเทอริดและอันดับกะเพรา

อันดับกุหลาบป่า

อันดับกุหลาบป่า หรือ Ericales เป็นอันดับของพืชใบเลี้ยงคู่ที่มีความหลากหลายมาก มีทั้งไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม ไม้เลื้อยและไม้ล้มลุก เช่น ต้นชา บลูเบอร์รี บราซิลนัท และยังมีพืชที่อยู่ร่วมกับเชื้อรา (เช่น Sarcodes sanguinea) และพืชกินแมลง (เช่น สกุล Sarracenia).

ดู แอสเทอริดและอันดับกุหลาบป่า

อันดับมะเขือ

อันดับมะเขือ (Solanales)เป็นอันดับของพืชมีดอกที่อยู่ในกลุ่มพืชใบเลี้ยงคู่แท้ บางครั้งใช้ชื่ออันดับนี้ว่า Polemoniales ในเอกสารรุ่นเก่า ในระบบ Angiosperm Phylogeny Group (APG) ประกอบด้วยวงศ์ดังต่อไปนี้.

ดู แอสเทอริดและอันดับมะเขือ

อันดับผักชี

อันดับผักชี (Apiales) เป็นอันดับของพืชมีดอก ที่ยังคงอยู่ในระบบ APG IIIพืชที่สำคัญเช่น ผักชี แครอท บัวบก.

ดู แอสเทอริดและอันดับผักชี

อันดับทานตะวัน

อันดับทานตะวัน หรือ Asterales (AST-er-ALE'-eez) เป็นอันดับของพืชใบเลี้ยงคู่ที่รวมวงศ์ขนาดใหญ่คือ Asteraceae (หรือ Compositae) และวงศ์ของพืชที่ใกล้เคียงรวมเป็น 10 วง.

ดู แอสเทอริดและอันดับทานตะวัน

อันดับดอกหรีดเขา

อันดับดอกหรีดเขา หรือ Gentianales เป็นอันดับของพืชมีดอก ที่เป็นพืชใบเลี้ยงคู่แท้ กลุ่มแอสเทอริด พืชสำคัญในอันดับนี้ เช่น กาแฟ ลั่นทม กันเกร.

ดู แอสเทอริดและอันดับดอกหรีดเขา

อันดับคาร์เนชัน

อันดับคาร์เนชัน หรือ Caryophyllales เป็นอันดับของพืชมีดอก ซึ่งรวมพืชวงศ์กระบองเพชร คาร์เนชัน วงศ์ผักเบี้ยทะเล วงศ์บานไม่รู้โรย และอีกหลายชนิด พืชส่วนใหญ่มีลำต้นสด ไม่มีเนื้อไม้.

ดู แอสเทอริดและอันดับคาร์เนชัน

อันดับเน่าใน

อันดับเน่าใน หรือ Aquifoliales เป็นอันดับของพืชมีดอก ประกอบด้วยวงศ์ Aquifoliaceae และ Helwingiaceae และ Phyllonomaceae ใน..

ดู แอสเทอริดและอันดับเน่าใน

อาร์รากาชา

อาร์รากาชา (arracacha) เป็นพืชในวงศ์ Umbelliferae เป็นไม้ล้มลุกอายุยืน ผิวเกลี้ยง ลำต้นกลวง เหง้าใต้ดินเป็นหัว รูปร่างทรงกระบอก รากสะสมมีลักษณะเป็นหัว เนื้อหัวสีขาวครีมหรือสีม่วง ใบเรียงสลับ ก้านใบมีลักษณะเป็นกาบ ดอกช่อแบบซี่ร่ม ดอกสีม่วงหรือสีเหลือง ตรงกลางช่อเป็นดอกตัวผู้ รอบนอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ผลแก่แล้วแตก อาร์รากาชาเมื่อสุกแล้ว เนื้อจะนิ่มกว่ามันฝรั่ง คำว่าอาร์รากาชานี้มาจากภาษาสเปนซึ่งยืมมาจากภาษาเกชัวที่เป็นภาษาพื้นเมืองในแถบเทือกเขาแอนดีส อาร์รากาชาเป็นพืชพื้นเมืองในแถบที่สูงของเทีอกเขาแอนดีส ตั้งแต่เวเนซุเอลาจนถึงโบลิเวีย นำไปปลูกในอเมริกากลาง อินเดีย หัวย่อยมีแป้งมาก นำมาต้มรับประทาน ใส่ในอาหาร ลำต้นอ่อนใส่ในสลัด ใบแก่ใช้เป็นอาหารสัตว์ ในบราซิลนิยมรับประทานเป็นผัก ในโคลอมเบีย นิยมรับประทานแทนมันฝรั่ง.

ดู แอสเทอริดและอาร์รากาชา

อึ่งงิ้ม

อึ่งงิ้มในภาษาจีนแต้จิ๋วหรือหวงจินในภาษาจีนกลาง อยู่ในวงศ์ Lamiaceae พืชชนิดนี้เป็นพืชปลูกในไซบีเรีย มองโกเลีย ภาคตะวันออกไกลของรัสเซีย จีน และเกาหลี รากแห้งเป็นสีเหลืองอมน้ำตาล ตรงกลางมีเส้นสีแดงอมน้ำตาล ตำรายาจีนใช้รากทำยาขับพิษ ขับร้อน สารสำคัญในรากได้แก่ baicalein, baicalin, wogonin, norwogonin, oroxylin Aและ β-sitosterol.

ดู แอสเทอริดและอึ่งงิ้ม

อ้อยสามสวน

อ้อยสามสวน อยู่ในวงศ์ Apocynaceae เป็นไม้เถา มีน้ำยางสีขาว ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ดอกช่อ ออกตามซอกใบ ดอกย่อยขนาดเล็ก ผลรูปกระสวยเป็นพู ทรงกลม แก่แล้วแห้งแตกตามรอยตะเข็บ เถาของพืชชนิดนี้ตัดเป็นท่อนแล้วเคี้ยว ทำให้ชุ่มคอ แก้เจ็บคอ.

ดู แอสเทอริดและอ้อยสามสวน

ฮ่อสะพายควาย

อสะพายควาย เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae เป็นไม้เถา ใบเดี่ยว พาดพันบนต้นไม้ใหญ่ พบตามเขาสูง เถาใช้ต้มน้ำหรือดองสุรา บำรุงกำลัง บำรุงข้อ.

ดู แอสเทอริดและฮ่อสะพายควาย

ผกากรอง

ผกากรอง เป็นพืชในวงศ์ Verbenaceae เป็นพืชพื้นเมืองในทวีปอเมริกา นำไปปลูกเป็นไม้แต่งสวนในบริเวณจนอาจกลายเป็นพืชรุกรานในเขตร้อนได้ เป็นไม้พุ่มหรือไม้พุ่มกึ่งเลื้อย ปลายใบแหลม ขอบใบจักฟันเลื่อย เส้นใบเห็นเป็นร่องชัดเจน ดอกเป็นช่อกระจุก มีหลายสี ดอกย่อยเป็นทรงปากแตร ดอกมีกลิ่นฉุน ขนตามลำต้นเมื่อถูกผิวหนังทำให้คัน ถ้ารับประทาน ทำให้ปวดท้อง อาเจียน กล้ามเนื้ออ่อนแรง หายใจขัด หมดสติ ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซียนำใบไปต้มกับน้ำ ใช้ฉีดพ่นไล่แมลง ผลดิบของผกากรอง.

ดู แอสเทอริดและผกากรอง

ผักบุ้ง

ผักบุ้ง เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ผักบุ้ง (Convolvulaceae) พบทั่วไปในเขตร้อน และเป็นผักที่คนท้องถิ่น เช่น ไทย เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย และกานา นิยมรับประทานเป็นอาหาร ผักบุ้งที่คนไทยนิยมนำมาประกอบอาหารมี 3 สายพันธุ์ คือ ผักบุ้งไทย ผักบุ้งนาและผักบุ้งจีน โดยผักบุ้งไทยมักปลูกในน้ำเพราะเจริญเติบโตได้ดีกว่าบนบก ส่วนผักบุ้งจีนจะปลูกในดินเพราะต้องการธาตุอาหารจากในดินมากกว.

ดู แอสเทอริดและผักบุ้ง

ผักบุ้งจีน

ผักบุ้งจีน เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ผักบุ้ง (Convolvulaceae) มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Ipomoea aquatica Forsk.

ดู แอสเทอริดและผักบุ้งจีน

ผักบุ้งขัน

ผักบุ้งขัน เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Convolvulaceae เลื้อยทอดไปตามพื้นดิน ลำต้นสีม่วงอมเขียวแตกรากตามข้อ ใบเดี่ยว มียางสีขาว ดอกเดี่ยวกลีบเลี้ยงสีเขียวปลายแหลม กลีบดอกสีม่วงเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายไม่แยก ผลเดี่ยวกลม เป็นผลแห้งแก่แล้วแตก เมล็ดข้างในสีน้ำตาล ใช้เป็นไม้ประดั.

ดู แอสเทอริดและผักบุ้งขัน

ผักบุ้งไทย

ผักบุ้งไทย เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ผักบุ้ง (Convolvulaceae) มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Ipomoea aquatica พบได้บริเวณแม่น้ำลำคลองเพราะเจริญเติบโตในน้ำได้ดีกว่าบนดิน มักสานตัวเป็นกลุ่มและลอยตัวบนผิวน้ำ ชูส่วนยอดหรือบริเวณสีเขียวเพื่อสังเคราะห์แสง โดยทั่วไปแล้วผักบุ้งไทยได้รับความนิยมในการนำมาประกอบอาหารน้อยกว่าผักบุ้งจีน เพราะลำต้นมีความแข็งมากกว่าและนิยมนำมาประกอบอาหารบางประเภทเท่านั้น.

ดู แอสเทอริดและผักบุ้งไทย

ผักชี

ใบผักชี ผลแห้งของผักชีที่มักเรียกว่าเมล็ดผักชีหรือลูกผักชี ใช้เป็นเครื่องเทศ ผักชี, ผักชีลา หรือ ผักหอมป้อม เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็กในวงศ์ Apiaceae ใบติดกับลำต้น มีใบย่อยเป็นจำนวนมาก ใบหยักลึกเข้าหากลางใบ ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาวอมชมพู ผลมีลักษณะรี ค่อนข้างกลม แก่จัดเป็นสีเหลืองอมน้ำตาล มีเมล็ด 2 เมล็ด ใช้รับประทานเป็นผัก และตกแต่งในอาหารหลายชนิด เช่น ใส่ในลาบ ก้อย แหนมสด รากผักชีใช้เป็นส่วนประกอบในน้ำพริกแกง ใส่ในทอดมัน ห่อหมก น้ำจิ้ม เมล็ดใช้เป็นเครื่องเทศ ใส่ในน้ำพริกแกง สะเต๊ะ บาเยีย ข้าวหมกไก.

ดู แอสเทอริดและผักชี

ผักชีฝรั่ง

ผักชีฝรั่ง (Culantro) เป็นไม้ล้มลุกเมืองร้อนปีเดียวหรือหลายปี ในวงศ์ผักชี (Apiaceae) มีถิ่นกำเนิดในประเทศเม็กซิโกและทวีปอเมริกาใต้ แต่มีการปลูกเลี้ยงไปทั่วโลก ผักชีฝรั่งมีชื่อพื้นเมืองอื่นดังนี้ ผักชีดอย (เชียงใหม่,เหนือ) มะและเด๊าะ (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) หอมป้อมกุลา (เหนือ) ผักหอมเป (อีสาน)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู แอสเทอริดและผักชีฝรั่ง

ผักชีลาว

ผักชีลาว เป็นพืชล้มลุกชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Apiaceae (Umbelliferae) ตัวอย่างพืชที่อยู่ในวงศ์นี้ ได้แก่ แคร์รอต, ขึ้นฉ่าย, ผักชี ฯลฯ.

ดู แอสเทอริดและผักชีลาว

ผักกระชับ

ผักกระชับ; rough cocklebur clotbur, common cocklebur, large cocklebur, woolgarie bur) จังหวัดเชียงใหม่ เรียก หญ้าผมยุ่ง จังหวัดราชบุรี เรียก ขี้ครอก เป็นพืชฤดูเดียวอยู่ใน วงศ์ทานตะวัน คาดว่ามีถิ่นกำเนิดในอเมริกาเหนือ และแพร่กระจายตามธรรมชาติทั่วโลก ผักกระชับเป็นผักพื้นบ้านของจังหวัดระยอง ต้นอ่อนใส่ในแกงส้ม กินกับน้ำพริก หรือผัดน้ำมันหอย ใช้เป็นยาได้โดยถอนทั้งรากมาต้มอาบแก้ผื่นแพ้ ต้มกินแก้ไซนัสอักเสบ นอกนั้นยังแก้อาการปวดฟันได้ เมล็ดของผักกระชับมีสารอัลคาลอยด์ที่เป็นพิษต่อสัตว์ เรียก carboxyatratyloside พืชนี้มีฤทธิ์ทางยา ใช้เป็นยาพื้นบ้านใน เอเชียใต้ และการแพทย์แผนจีน ในภาษาเตลูกู เรียกพืชนี้ว่ามารูลา มาตางี พืชชนิดนี้เกี่ยวข้องกับการเสียชีวิตอย่างน้อย 19 คนและเจ็บป่วย 76 คนใน สิลเหต บังกลาเทศ เมื่อ พ.ศ.

ดู แอสเทอริดและผักกระชับ

ผักกาดช้าง

มล็ดของผักกาดช้าง หญ้าคออ่อนหรือผักกาดช้าง ภาษากะเหรี่ยงเรียกหน่อบออึ เป็นพืชล้มลุก ลำต้นอวบน้ำ มีขนปกคลุมเล็กน้อย ใบเดี่ยว ผิวใบค่อนข้างเกลี้ยง ท้องใบมีขนเล็กน้อย ดอกช่อแบบกระจุกแน่น มีเกล็ดสีขาวปกคลุมบริเวณก้านช่อดอก ใบและต้นนำไปต้มใช้เป็นอาหารเลี้ยงหมู มีสารที่เป็นพิษต่อตับและก่อเนื้องอกFu, P.P., Yang, Y.C., Xia, Q., Chou, M.C., Cui, Y.Y., Lin G., "Pyrrolizidine alkaloids-tumorigenic components in Chinese herbal medicines and dietary supplements", Journal of Food and Drug Analysis, Vol.

ดู แอสเทอริดและผักกาดช้าง

ผักกาดกบ

ผักกาดกบ (L.) DC.

ดู แอสเทอริดและผักกาดกบ

ผักกาดหอม

ผักกาดหอม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Lactuca sativa) เป็นพืชในวงศ์ Asteraceae ลำต้นเตี้ย แต่ส่วนที่เจริญมากที่สุดคือใบ แต่ละสายพันธุ์ก็มีช่วงฤดูกาลที่เหมาะสมไม่เหมือนกัน มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชียและยุโรป ประเทศจีนปลูกผักกาดหอมมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ผักกาดหอมมีชื่อเรียกอื่นๆ อีกเช่น ผักสลัด ผักกาดยี พังฉ้าย เป็นต้น มนุษย์นำใบของผักกาดหอมมาบริโภค มักใช้เป็นส่วนประกอบของสลัด แซนด์วิช แฮมเบอร์เกอร์ ทาโก้ หรือรับประทานเป็นผักสด แกล้มกับอาหารรสจัดจำพวกยำหรือลาบ สาคูไส้หมู หรือข้าวเกรียบปากหม้อ หรือแม้แต่ใช้เป็นผักตกแต่งเพื่อความสวยงาม ผักกาดหอมมีคุณค่าทางโภชนาการสูง ความต้องการใช้ผักกาดหอมของผู้บริโภคมีอยู่ตลอดทั้งปี โดยเฉพาะช่วงที่มีเทศกาลงานต่าง ๆ เช่น งานปีใหม่ จะขายดีเป็นพิเศษ.

ดู แอสเทอริดและผักกาดหอม

ผักกาดนกยูง

ผักกาดนกยูง เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Asteraceae อวบน้ำ ลำต้นกลวง ใบเดี่ยว ไม่มีก้านใบ ขอบใบหยักลึก ไม่สม่ำเสมอ และเป็นหยักฟันเลื่อยห่างๆ ดอกช่อขนาดเล็ก สีชมพู เบียดกันแน่น ผลเดี่ยว เป็นผลแห้ง รูปร่างยาว มีพู่สีขาว ปลิวไปตามลมได้ ต้นอ่อนกินเป็นผัก.

ดู แอสเทอริดและผักกาดนกยูง

ผักลิ้นห่าน

ผักลิ้นห่าน เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Asteraceae ลำต้นทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน แตกกอเป็นช่วงๆ ต้นสีเขียวอมเหลือง ตามข้อมีใบแตกเป็นกระจุก หลังใบสีขาวนวล ดอกช่อ มีริ้วประดับซ้อนกันเป็นรูปกรวยคว่ำ ช่อดอกชั้นนอกมีกลีบสีเหลือง ช่อดอกชั้นในไม่มีกลีบดอก ผลแห้ง รูปยาวรี อยู่ในกรวยของริ้วประดับ ปลายเมล็ดมีขนสีขาว ปลิวตามลมได้ ใช้เป็นผักแกล้มหรือนำไปปรุงอาหาร.

ดู แอสเทอริดและผักลิ้นห่าน

ผักหนอก

ผักหนอก เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Araliaceae แตกไหลไปตามพื้นดิน ใบรูปไข่แกมรูปสามเหลี่ยม มีขนทั้งสองด้าน ขอบใบเว้าเป็น 5 ซี่ ดอกเป็นดอกช่อ กลีบดอกสีเขียวอมเหลือง ผลเป็นรูปไต พบในจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย พบครั้งแรกที่ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ โดยหมอคาร์ ชาวไอริช ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไท.

ดู แอสเทอริดและผักหนอก

ผักหนอกเชียงดาว

ผักหนอกเชียงดาว เป็นพืช ในวงศ์ Apiaceae เป็นพืชฤดูเดียว ช่วงข้อเรียวยาว ใบรูปไข่ ขอบใบหยักเว้าตื้นๆ ดอกช่อมีดอกย่อย 2-4 ดอก ผลรูปไข่ ออกดอกเดือนกันยายน – พฤศจิกายน ใช้รับประทานเป็นผัก พบครั้งแรกที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ โดย G.

ดู แอสเทอริดและผักหนอกเชียงดาว

ผักอีหลืน

ผักอีหลืน เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae กระจายพันธุ์ในเทือกเขาหิมาลัย จีนตอนใต้ จนถึงภาคเหนือของไทย ชาวกะเหรี่ยงรับประทานเป็นผัก ใบและช่อดอกนำไปแกง มีกลิ่นหอม ช่อดอกมัดรวมกัน ใช้บูชาผีหลองข้าวหรือยุ้งข้าว.

ดู แอสเทอริดและผักอีหลืน

ผักอีเปา

ผักอีเปา เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Umbelliferae ใบประกอบ มี 3-4 ใบย่อย ใบเป็นรูปหัวใจ ขอบเรียบหรือจักฟันคลื่น ดอกเป็นดอกช่อแบบซี่ร่ม แบ่งเป็นกลุ่มย่อย 10 – 20 กลุ่ม ดอกย่อยมีขนาดเล็กมาก เกสรตัวผู้มีเป็นจำนวนมาก สีเหลืองอ่อน ผลเป็นก้อน แก่แล้วแตกให้เมล็ดร่วงออกมา ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม –พฤศจิกายน พบครั้งแรกเมื่อ 16 ตุลาคม..

ดู แอสเทอริดและผักอีเปา

ผักจินดา

ผักจินดา หรือ ผักเชียงดา เป็นไม้เถาเลื้อยพบได้ในประเทศแถบทวีปเอเซีย เช่น อินเดีย พม่า ในประเทศไทยนิยมนำมารับประทานเป็นผักหรือใช้ปรุงอาหาร มีสรรพคุณช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดสำหรับผู้เป็นเบาหวานทั้งสองชนิดได้ข้อมูลของ ผักเชียงดา “เชียงดา” ผักฆ่าน้ำตาล ช่วยรักษา “เบาหวาน” ผักเชียงดาผักสมุนไพรพื้นบ้านรักษาโรคเบาหวาน.

ดู แอสเทอริดและผักจินดา

ผักคราดหัวแหวน

ผักคราดหัวแหวน (ชื่อวิทยาศาสตร์เดิมคือ Spilanthes oleracea และ Spilanthes acmella; toothache plant, paracress) จัดอยู่ในวงศ์ Asteraceae ผักชนิดนี้เป็นผักพื้นบ้าน นิยมรับประทานกันมาแต่รุ่นปู่ย่าตายาย โดยเฉพาะทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเป็นผักที่เป็นทั้งอาหารและยาสมุนไพร และเป็นหนึ่งในยาสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน อีกทั้งทางด้านเภสัชวิทยาช่วยต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านยีสต์ ต้านไวรัส ยับยั้งการหดเกร็งของลำไส้ ลดความดันโลหิต เพิ่มฤทธิ์ของฮิสตามีนในการทำให้ลำไส้หดเกร็ง ปรับปรุงระบบภูมิคุ้มกันฆ่ายุง ฆ่าลูกน้ำยุง ทำให้ชัก เป็นยาชาเฉพาะที่ แก้ปวด ลดความแรงและความถี่ของการบีบตัวของหัวใจห้องบน ยับยั้งการหดตัวของมดลูกซึ่งเหนี่ยวนำด้วย oxytocin.

ดู แอสเทอริดและผักคราดหัวแหวน

ผักแขยง

ผักแขยง หรือ Limnophila aromatica ชื่ออื่นๆ กะออม กะแยง(ตะวันออกเฉียงเหนือ) กะแยงแดง(อุบลราชธานี) ผักพา(เหนือ) เป็นพืชในวงศ์ Scorphulariaceae หรือ Plantaginaceae ไม้ล้มลุกฤดูเดียว ลำต้นเรียวยาว ตั้งตรง กลมกลวง อวบน้ำ มีขนแน่น ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ทุกข้อ ตลอดลำต้น รูปขอบขนานแกมใบหอกขอบใบหยักมนแกมฟันเลื่อย ปลายใบแหลม โคนใบห่อติดลำต้น ดอกช่อกระจะออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ออกพร้อมกันทั้งต้น ดอกย่อย 2-10 ดอก ดอกเป็นรูปหลอดคล้ายถ้วย รูปกรวย ปลายบานเล็กน้อย แยกออกเป็น 4 กลีบ กลีบดอกสีม่วง ผิวด้านนอกเรียบ ผิวด้านในตอนล่างของกลีบดอกมีขน ผลแห้งแตกได้ รูปกระสวย เมล็ดรูปร่างกลมรี สีน้ำตาลดำ ขนาดเล็กมาก ชอบขึ้นบริเวณที่มีน้ำขังเล็กน้อย ผักแขยงเป็นเป็นวัชพืชในนาข้าว ทั้งต้นมีกลิ่นหอมฉุน เผ็ดร้อนชาวอีสานใช้ใส่ในแกงต้มปลา อ่อมต่างๆ มีกลิ่นหอม ช่วยดับกลิ่นคาว และเป็นพืชสมุนไพร ทางภาคอีสาน ใช้ ทั้งต้น เป็นยาขับน้ำนม ขับลม และเป็นยาระบายท้อง น้ำคั้นจากต้นใช้แก้ไข้ แก้คัน ฝี และกลาก แก้อาการบวม เป็นยาระบายอ่อนๆ ต้นแห้ง ที่เก็บไว้นาน 1 ปี ต้มน้ำดื่ม แก้พิษเบื่อเมา ผักแขยง จัดเป็นผักพื้นบ้านที่สำคัญของภาคอีสาน แต่ไม่พบในพื้นที่ภาคใต้.

ดู แอสเทอริดและผักแขยง

ผักแปม

ผักแปม อยู่ในวงศ์ Araliaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียก ต๋าเนอส่อเด๊าะหรือตาส่อเอ๊ะซีเด๊าะ เป็นไม้พุ่ม ลำต้นมีหนามแหลมงุ้ม ใบประกอบ ดอกช่อแบบซี่ร่ม ดอกย่อยจำนวนมาก ผลรูปแบน ยอดอ่อนรับประทานเป็นผักจิ้มน้ำพริกหรือใส่ล.

ดู แอสเทอริดและผักแปม

จมูกปลาหลด

มูกปลาหลด เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Asclepiadaceae ลำต้นมียางขาวเหมือนน้ำนม ใบเดี่ยว ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน หรือมีขนประปราย ดอกช่อขนาดเล็กสีแดงอมม่วง ผลเป็นฝักเรียว เมล็ดเล็กแบน รูปไข่มีขนเป็นพู่ ใช้เป็นอาหารสัตว.

ดู แอสเทอริดและจมูกปลาหลด

จัน

ัน, จันอิน, จันโอ, จันขาว หรือ จันลูกหอม เป็นพืชวงศ์เดียวกับมะพลับและมะเกลือ เป็นพืชท้องถิ่นของประเทศไทย เปลือกต้นสีน้ำตาลอมดำ ใบเดี่ยว ดอกขนาดเล็ก สีขาวหรือเหลือง ผลกลมเมื่อสุก สีเหลืองรสหวาน ผลมีสองแบบคือ ผลที่มีรอยบุ๋มตรงกลาง เมล็ดลีบหรือไม่มีเมล็ด เรียกลูกจันอิน ส่วนผลที่ไม่มีรอยบุ๋ม มีเมล็ด 2-3 เมล็ดเรียกลูกจันโอ ผลมีกลิ่นหอมและมีรสฝาด ต้องคลึงผลให้ช้ำ รสฝาดจึงจะหายไปนิยมกินเป็นผลไม้สด และนิยมปลูกในวัด ผลสุกรับประทานได้ หรือนำไปแปรรูปเป็นของหวาน ผลช่วยแก้อาการนอนไม่หลับ กระสับกระส่าย เนื้อไม้มีรสขมปนหวาน เป็นยาบำรุงประสาท แก้ร้อนใน แก้ไข้ ขับพยาธิ แก่นใช้ต้มรวมกับสมุนไพรอื่น ใช้เป็นยาแก้ไข้ ผลดิบทางภาคอีสานนำไปตำส้มตำ โดยสับทั้งเปลือก ใช้แทนมะละกอ ปรุงรสเปรี้ยวด้วยมะยมและมะเฟือง.

ดู แอสเทอริดและจัน

จันทร์กระจ่างฟ้า

ันทร์กระจ่างฟ้า เป็นไม้เถาเลื้อย เนื้อแข็ง มีสีน้ำตาล กิ่งอ่อนสีเขียว และมีสีแดงเรื่อ มีดอกสีเหลืองสด ขยายพันธุ์ด้วยการการปักชำ และตอนกิ่ง นิยมปลูกเป็นไม้ประดั.

ดู แอสเทอริดและจันทร์กระจ่างฟ้า

จันทนา

ันทนา เป็นพืชในสกุลจันทนา วงศ์เข็ม เปลือกต้นสีเทาอ่อน แตกเป็นร่องเล็กๆ ตามความยาวของลำต้น เนื้อไม้สีขาวหรือเหลืองอ่อน ใบเดี่ยว หูใบเป็นแบบหูใบร่วม ดอกช่อ ออกตามปลายกิ่ง ดอกย่อยสีขาว มีกลิ่นหอม ผลรูปกลมรี ในสมัยโบราณใช้แก่นของต้นทำยาแทนจันทน์ขาวที่หายากและราคาแพง.

ดู แอสเทอริดและจันทนา

จั่นน้ำ

ั่นน้ำ เป็นพืชในวงศ์ Boraginaceae แตกกิ่งในระดับต่ำเป็นพุ่มแน่น ใบหนา ผิวใบสาก ขอบใบจักละเอียดและเป็นคลื่น ดอกช่อออกที่ปลายยอด มีดอกย่อยสีม่วงอ่อนขนาดเล็กจำนวนมาก ผลกลม ดอกบานช่วงกรกฎาคม – สิงหาคม พบตามเขาหินปูนในภาคกลางและภาคตะวันตก พบครั้งแรกที่จังหวัดกาญจนบุรี โดยพระยาวินิจวนันดร ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ผู้ค้น.

ดู แอสเทอริดและจั่นน้ำ

จิก

ก (Cornbeefwood) เป็นชื่อสามัญในภาษาไทยที่ใช้เรียกต้นไม้ในสกุล Barringtonia ในวงศ์ Lecythidaceae มีลักษณะโดยร่วมเป็นไม้ยืนต้น ขึ้นในที่พื้นที่ชุ่มน้ำ ดอกมีสีขาว เกสรเพศผู้สีแดงหรือสีชมพู มักออกเป็นช่อยาวห้อยเป็นระย้า มีทั้งหมด 10 ชนิด ได้แก.

ดู แอสเทอริดและจิก

จิกสวน

กสวน เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Lecythidaceae เปลือกต้นสีเทาหรือสีน้ำตาล ลำต้นมีปุ่มเล็กๆ เปลือกชั้นในสีเขียวอ่อน หลุดลอกง่าย ภายในเปลือกมีเส้นใย ใบเป็นใบเดี่ยว แผ่นใบขนาดใหญ่ ใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนเป็นมัน ก้านใบอ้วนสั้น ดอกเป็นดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง ตัวช่อดอกห้อยลง ดอกย่อยมีก้านดอกสั้นมาก กลีบดอกสั้นกว่าเกสรตัวผู้ที่มีสีแดงและยื่นยาวออกมาเป็นพู่ กลีบดอกมี 4 กลีบ สีชมพูอ่อน ผลเป็นผลเดี่ยว ผลกลมรี ผิวขรุขระ ดอกและยอดรับประทานได้.

ดู แอสเทอริดและจิกสวน

จิกน้ำ

กน้ำ หรือ จิกอินเดีย หรือ จิกนา หรือ จิกมุจรินทร์ (Indian Oak, Freshwater Mangrove) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Barringtonia acutangula เป็นไม้ยืนต้นอยู่ในวงศ์ Lecythidaceae มีถิ่นกำเนิดที่ภูมิภาคเอเชียใต้และอัฟกานิสถาน, ฟิลิปปินส์ ไปจนถึงตอนเหนือของออสเตรเลียแถบรัฐควีนส์แลนด์ โดยมักขึ้นใกล้ริมแหล่งน้ำ จิกน้ำมีชื่อเรียกอื่น ๆ ตามภาษาถิ่นว่า "กระโดนทุ่ง" หรือ "กระโดนน้ำ" (อีสาน-หนองคาย), "ปุยสาย" หรือ "ตอง" (ภาคเหนือ) "กระโดนสร้อย" (พิษณุโลก) และ "ลำไพ่" (อุตรดิตถ์) เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู แอสเทอริดและจิกน้ำ

จิกเล

ผลที่ยังไม่แก่ ดอก จิกเล หรือ จิกทะเล (accessdate putat, sea poison tree) เป็นสายพันธุ์ของ Barringtonia พื้นเมืองที่อยู่อาศัยป่าชายเลนบนชายฝั่งในเขตร้อนชื้นและหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก จากแซนซิบาร์ทางทิศตะวันออกไปจนถึงไต้หวัน, ฟิลิปปินส์, ฟิจิ, นิวแคลิโดเนีย, หมู่เกาะคุก, วาลลิสและฟุตูนา และเฟรนช์โปลินีเซีย มักปลูกตามถนนเพื่อการตกแต่งและร่มเงาในบางส่วนของอินเดีย จิกเลเป็นต้นไม้ใหญ่ สูงราว 20 เมตร ใบขนาดใหญ่ มันวาว มีความหนา ป้องกันการสูญเสียน้ำ ดอกขนาดใหญ่ สีขาว เกสรตัวผู้เป็นพู่ยาวเห็นได้ชัดเจน สีขาว ปลายชมพู ดอกมีกลิ่นหอมแรง บานตอนค่ำและโรยตอนเช้า ผสมเกสรด้วยผีเสื้อกลางคืนและค้างคาว ผลขนาดใหญ่ ทรงคล้ายลูกข่าง มีกากเหนียวหุ้มทำให้ลอยน้ำได้ดีคล้ายผลมะพร้าว ในเมล็ดและลำต้นมีสารซาโปนิน ใช้ทำยาเบื่อปลาและยานอนหลั.

ดู แอสเทอริดและจิกเล

จิงจ้อแดง

งจ้อแดง เป็นพืชในสกุลผักบุ้ง มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกากลางถึงอเมริกาใต้ ลักษณะเป็นไม้เถาล้มลุก อายุปีเดียว ใบรูปไข่กว้าง เรียบหรือจักเป็นพูตื้น ๆ ยาว 3-10 เซนติเมตร ปลายใบแหลมยาว โคนรูปหัวใจ ก้านใบยาว 3-12 เซนติเมตร ดอกเป็นรูปแตรสีแดง มีใบประดับขนาดเล็ก ก้านดอกยาว 5-7 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงรูปรียาว 2-2.5 มิลลิเมตร หลอดกลีบดอกยาว 3-4.5 เซนติเมตร ปลายแยกเป็นแฉกตื้น ๆ เกสรเพศผู้ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่าเกสรเพศผู้เล็กน้อย ผลกลมเกลี้ยงสีน้ำตาล เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-7 มิลลิเมตร เมล็ดสีดำยาวประมาณ 4 มิลลิเมตร.

ดู แอสเทอริดและจิงจ้อแดง

จุกโรหิณี

ก Richard Wettstein's ''Handbuch der Systematischen Botanik'' 1924 จุกโรหิณี หรือ บวบลม ชื่อวิทยาศาสตร์ Dischidia major เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Asclepiadaceae อาศัยเกาะตามต้นไม้อื่น ต้นมีน้ำยางสีขาว ใบเดี่ยว ค่อนข้างกลม ก้านสั้นเป็นใบหนา อวบน้ำ ผิวใบทั้งสองด้านมีลักษณะโป่งเป็นถุงเพราะมีมดเข้าไปอาศัย และได้ธาตุอาหารจากของเสียของมด ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็กรูปโคม ผลเดี่ยวเป็นฝักเรียว มีขนเป็นพู่ที่ปล.

ดู แอสเทอริดและจุกโรหิณี

จ้าเครือ

้าเครือ หรือ ตับปลา เป็นพืชในวงศ์ Myrsinaceae เป็นไม้พุ่ม ตรง มีปุ่มใสบนใบ ผลสดมีเมล็ดเดียวแข็ง รูปกลมสีแดง ผลมีรสหวานรับประทานได้ ใบใช้ทำสลัด ใช้เป็นไม้ประดับ ต้นตำละเอียดและคั้นน้ำ ใช้รักษาโรคผิวหนัง น้ำสกัดจากรากใช้เป็นยาแก้ไข้ แก้ไอ และท้องเสีย ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย ใช้น้ำคั้นจากทั้งต้นรักษาอาการไข้.

ดู แอสเทอริดและจ้าเครือ

ถั่วด้วง

ั่วด้วง เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae เป็นไม้ล้มลุกอายุยืน ลำต้นตั้งตรง มีไหลใต้ดิน หัวเกิดจากการสะสมอาหารในส่วนปลายของไหล มีรอยคอดในส่วนข้อมองเห็นเป็นปล้องกลมต่อเนื่องกัน สีขาว ลำต้นรูปสี่เหลี่ยม ขอบใบเป็นซี่ทู่ๆ มีขนหยาบปกคลุมผิวใบทั้งสองด้าน ดอกสีชมพู สีม่วงหรือสีขาว ผลเป็นผลแบบเคี้ยวมัน เกิดหัวและไหลหลังปลูก 5-7 เดือน left ถั่วด้วงเป็นพืชพื้นเมืองของจีน มีปลูกในจีน ญี่ปุ่น ก่อนจะนำไปปลูกในฝรั่งเศส มาเลเซีย หัวรับประทานได้ทั้งสดและทอด ในญี่ปุ่นเป็นอาหารพิเศษในโอกาสขึ้นปีใหม่ ในจีนและญี่ปุ่นนิยมดองก่อนรับประทาน.

ดู แอสเทอริดและถั่วด้วง

ถุงมือจิ้งจอก

งมือจิ้งจอก หรือ ดิจิทาลลิส (Digitalis, Foxglove) เป็นสกุลของไม้ 20 ชนิดของสมุนไพรที่เป็นพืชสองปี (Perennial plant) ที่เรียกเป็นภาษาพื้นบ้านว่า “foxgloves” หรือ “ถุงมือจิ้งจอก” เดิมจัดอยู่ในวงศ์มณเฑียรทอง (Scrophulariaceae) แต่หลังจากการพิจารณาทางไฟโลเจเนติกส์ ก็ได้รับการจัดให้อยู่ในตระกูลที่ใหญ่กว่าในวงศ์เทียนเกล็ดหอย (Plantaginaceae) ถุงมือจิ้งจอกเป็นไม้ที่มีถิ่นฐานอยู่ในยุโรป, เอเชียตะวันตก เอเชียกลางและทางตะวันตกเฉียงเหนือของแอฟริกา ชื่อวิทยาศาสตร์แปลว่า “เหมือนนิ้ว” เพราะขนาดของดอกพอดีกับการที่เอาปลายนิ้วสอดเข้าไปได้พอดี ดอกออกบนกิ่งเรียวยาวชลูดขึ้นไปจากกอที่ติดดิน ตัวดอกมีลักษณะเป็นหลอดสั้น ๆ สีก็มีต่าง ๆ ที่รวมทั้งม่วง ชมพู ขาวและเหลือง ชนิดที่พบบ่อยเรียกว่า Digitalis purpurea ถุงมือจิ้งจอก นอกจากจะเป็นไม้ที่ขึ้นง่ายโดยทั่วไปเป็นดอกไม้ป่าแล้วก็ยังเป็นไม้บ้านเป็นพืชสองปีที่มักปลูกเป็นไม้ประดับเพราะดอกที่มีความเด่นที่มีสีและแต้มด้านในของดอกต่าง ๆ ปีแรกที่ปลูกจะมีเพียงแต่ใบ ปีที่สองจึงออกดอก ความสูงของก้านประมาณระหว่าง 0.5 ถึง 2.5 เมตร คำว่า “ดิจิทาลลิส” ยังหมายถึงสารดิช็อกซินที่สกัดจากไม้ที่ใช้ในการทำคาร์ดิแอกไกลโคไซด์ สำหรับการรักษาโรคหัวใจ แต่ “ถุงมือจิ้งจอก” บางพันธุ์ก็เป็นไม้มีพิษร้ายแรงทั้งต้นทั้งดอกที่ทำให้ได้สมญาว่า “กระดิ่งคนตาย” หรือ “ถุงมือแม่มด” ต้นถุงมือจิ้งจอก เป็นต้นไม้ที่ในความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์ของยุโรปยุคกลางเชื่อว่า เป็นส่วนผสมที่ผสมกับสารเคมีอย่างอื่น เช่น ฝิ่น ทำให้ผู้ที่ทากลายร่างเป็นสัตว์ป่าที่ดุร้ายหรือมนุษย์หมาป่าได้.

ดู แอสเทอริดและถุงมือจิ้งจอก

ทองพันชั่ง

ทองพันชั่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Rhinacanthus nasutus Kurz) หรือทองคันชั่ง หรือหญ้ามันไก่ มีลักษณะเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงประมาณ 0.5-2 เมตร กิ่งอ่อนและลำต้นมักเป็นเหลี่ยม ส่วนที่ยังอ่อนมักมีขนปกคลุมใบรูปคล้ายรูปไข่หรือวงรี กว้าง 2-4 ซม.

ดู แอสเทอริดและทองพันชั่ง

ทิพเกสร

ทิพเกสร เป็นพืชกินแมลงขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ Lentibulariaceae มีความสูง 10-30 เซนติเมตร ลำต้นเล็กมากอยู่ใต้ดิน ใบเป็นใบเลี้ยงเดี่ยว และมีใบที่เปลี่ยนเป็นถุงสำหรับดักจับแมลงขนาดเล็กเป็นอาหาร ดอกสีม่วงอ่อนแกมชมพู ออกเป็นช่อตั้งสูงประมาณ 5-20 เซนติเมตร มีดอกย่อย 3-10 ดอก ออกเรียงสลับ ขนาดประมาณ 6-10 มิลลิเมตร กลีบดอกล่างแผ่แยกออกเป็น 2 ปาก ผลเป็นผลแห้งชนิดแตกเมื่อแก่ พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในทวีปเอเชีย เช่น อินเดีย, ศรีลังกา, พม่า, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, จีน, ญี่ปุ่น, มาเลเซีย, สุมาตรา, บอร์เนียว, ฟิลิปปินส์, นิวกินิ, ออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบที่จังหวัดเชียงใหม่, เลย, อุบลราชธานี, กาญจนบุรี, สระแก้ว, ชลบุรี, จันทบุรี, ตราด, สุราษฎร์ธานี, พังงา, สงขลา, ปัตตานี, และนราธิวาส พบตามพื้นที่ชื้นแฉะ เปิดโล่ง มักพบบนดินทราย ในระดับความสูง 0-1,300 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ออกดอก ออกผลช่วงเดือนสิงหาคม-ธันวาคม ทิพเกสร เป็นนามพระราชทานจากสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ โดยมีชื่อดั้งเดิมว่า "หญ้าสีฝอยเล็ก".

ดู แอสเทอริดและทิพเกสร

ทิวาราตรี

ทิวาราตรี เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae เป็นไม้พุ่ม ใบเดี่ยว รูปรี ใบเป็นมันเกลี้ยง ดอกช่อ กลีบดอกย่อยโคนเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยก ปลายกลีบม้วนกลม ดอกสีขาว กลิ่นหอม ผลกลม สุกแล้วเป็นสีดำ ถ้ารับประทานผลทำให้ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน.

ดู แอสเทอริดและทิวาราตรี

ทิ้งทวน

ทิ้งทวน เป็นพืชในวงศ์ Ericaceae เป็นไม้พุ่มใบออกสีชมพูอมแดง ผลิใบอ่อนเป็นช่วงๆ ดอกช่อ มีกลิ่นหอม ดอกเรียงตัวเป็นแถว ก้านห้อยลง ดอกสีชมพูหรือขาว ผลสดกลม สีดำอมแดง มีขนปกคลุม มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตอนล่าง พบมากในเกาะนิวกินี กระจายพันธุ์จากพม่า ไทย ไปจนถึงจีนและญี่ปุ่น ผลรับประทานได้ นิยมแปรรูปเป็นแยมและเยลลี่ เป็นอาหารนก เนื้อไม้แข็ง ใช้ทำเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง.

ดู แอสเทอริดและทิ้งทวน

ทิ้งทองหู

ทิ้งทองหู (Jack) เป็นพืชในวงศ์ Gesneriaceae เป็นไม้เลื้อย มีขนละเอียดขึ้นตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ก้านดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก แผ่นใบหนา เห็นเส้นใบไม่ชัดเจน ดอกช่อ มีริ้วประดับรูปไข่ กลีบเลี้ยงสีม่วงน้ำตาลอมเขียวกลีบดอกสีแดงสด ด้านในมีสีเหลืองแซม ผลแบบแห้งแตก มีเมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก มีปุ่มกระจาย มีรยางค์รูปเส้นด้ายทั้งสองด้าน ในไทยพบเฉพาะทางภาคใต้ กระจายพันธุ์ตั้งแต่คาบสมุทรมลายูจนถึงเกาะบอร์เนียว.

ดู แอสเทอริดและทิ้งทองหู

ขลู่

ลู่ (ชื่อสามัญ:Indian Marsh Fleabane ชื่อวิทยาศาสตร์:Pluchea indica (L.) Less.) เป็นพืชที่พบมากในประเทศเขตร้อน เช่น ประเทศไทย มาเลเซีย จีนและฟิลิปินส์ เป็นต้น ชอบขึ้นตามพื้นที่ชื้นแฉะ ขยายพันธุ์โดยการปักชำ เป็นพืชที่ปลูกค่อนข้างง่าย ขึ้นได้ในดินแทบจะทุกชนิด ขลู่มีชื่อพื้นบ้านว่า หนาดวัว หนาดงิ้ว หนวดวัวหรือหนวดงิ้ว(อุดรธานี) ขลู คลู(ภาคใต้) เพี้ยฟาน(ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ขี้ป้าน(แม่ฮ่องสอน).

ดู แอสเทอริดและขลู่

ขาวปั้น

วปั้น เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Caprifoliaceae ลำต้นอวบน้ำแทรกตามเขาหินปูน ใบเดี่ยว ดอกช่อกระจุกแน่นเกือบกลม ออกดอกช่วงเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย พบครั้งแรกที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ โดยนายพุด ไพรสุรินทร์ ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไท.

ดู แอสเทอริดและขาวปั้น

ขี้ไก่ย่าน

ี้ไก่ย่าน เป็นพืชที่สามารถเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว มีลักษณะเป็นไม้เลื้อย เติบโตได้ดีในพื้นที่ที่มีความชื้นสูง แสงส่องถึง และมีความอุดมสมบูรณ์ของดินมาก สามารถปรับตัวได้แม้ว่าดินจะมีความอุดมสมบูรณ์น้อย เมล็ดสามารถกระจายได้ไกลโดยอาศัยลม ในการออกดอกหนึ่งครั้งสามารถผลิตเมล็ดได้จำนวนมากกว่า 20,000 - 40,000 เมล็ดโดยประมาณ.

ดู แอสเทอริดและขี้ไก่ย่าน

ขี้เหล็กย่าน

ี้เหล็กย่าน เป็นพืชในวงศ์ Compositae เป็นไม้เลื้อยเลื้อยพันโดยใช้ลำต้น ต้นอ่อนเขียว แก่เป็นสีน้ำตาล มีกลิ่นเฉพาะตัว ใบเดี่ยว ผิวใบขรุขระเพราะเส้นใบบุ๋มลงไป ดอกช่อ กลีบดอกสีขาว กลิ่นหอมอ่อนๆ ผลเดี่ยว สีเขียว ขนาดเล็กรูปกรวย แก่แล้วแห้งสีน้ำตาล เมล็ดยาวสีดำ มีขน ปลิวไปกับกระแสลมได้.

ดู แอสเทอริดและขี้เหล็กย่าน

ขี้เห็น

ี้เห็นหรือผ่าเสี้ยน เป็นไม้ต้นในวงศ์ Lamiaceae ผิวเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ด สีน้ำตาลหรือสีดำ กิ่งก้านอ่อนมีขนสีเหลืองอมน้ำตาล ดอกช่อ กลีบเลี้ยงมีขน กลีบดอกปลายแฉกรูปปาก สีเหลืองหรือสีนวล เกสรตัวผู้มีสี่อัน สั้น 2 อัน ยาว 2 อันผลเดี่ยว ทรงกลมหรือเกือบกลม เนื้อไม้สีเหลือง ใช่ก่อสร้างหรือทำเครื่องเรือน และเป็นส่วนผสมของยารักษาโรคติดเชื้อ.

ดู แอสเทอริดและขี้เห็น

ขนุนนก

นุนนก เป็นพืชในวงศ์ Sapotaceae ไม่ผลัดใบ เปลือกสีเทาอมดำ มีรอยแตกตามยาว ต้นสดมียางสีขาว ใบเดี่ยว ดอกช่อแบบกระจุก กลิ่นหอมเย็น กลีบเลี้ยง 2 ชั้น ชั้นละ 3 กลีบ กลีบดอกสีเหลืองอมขาว 6 กลีบ เกสรตัวผู้ล้อมรอบเกสรตัวเมีย ผลเดี่ยว กลมรี เมื่ออ่อนสีเขียว สุกแล้วเป็นสีน้ำตาล ยางใช้ทำสารหุ้มสายเคเบิลใต้น้ำ.

ดู แอสเทอริดและขนุนนก

ข่อยดาน

อยดานหรือปัดหิน เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Rubiaceae ลำต้นตรง มีหนาม ใบเดี่ยว ปลายแหลม ผิวใบสากมือ ดอกเดี่ยว โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย กลิ่นหอม ผลสด สุกแล้วเป็นสีส้ม เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีส้ม เปลือกลำต้นแช่เหล้าใช้ทาตามแขนขา แก้ปวดและอัมพาต ชาวไทยอีสาน ใช่รากข่อยดานตรวจสอบเห็ดพิษ โดยต้มรากรวมกับเห็ด ถ้าเห็ดมีพิษทำให้น้ำเปลี่ยนสี.

ดู แอสเทอริดและข่อยดาน

ข่อยดำ

อยดำหรือดังหวาย เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Labiatae ลำต้นสีเทาอมน้ำตาล ใบประกอบ ขอบใบหยัก ดอกช่อแบบแตกแขนง ผลเดี่ยวค่อนข้างกลม ผลแก่สีแดงหรือสีดำ มี 5-6 เมล็ด ผลใช้เป็นอาหารสัตว.

ดู แอสเทอริดและข่อยดำ

ข้าวตอกพระร่วง (พืช)

้าวตอกพระร่วง (Chinese privet) เป็นพืชในวงศ์มะลิ (Oleaceae) มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน เป็นไม้พุ่มสูง 1-2 เมตร ลำต้นสีน้ำตาล ใบเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้าม รูปไข่ถึงรูปขอบขนานแกมรูปรี ยาว 2-7 เซนติเมตร ปลายใบมน ก้านใบสั้น ชนิดที่เป็นพันธุ์ด่างจะมีขอบใบสีขาว กลางใบสีเขียว ท้องใบสีเขียวอ่อน ดอกขนาดเล็กสีขาว มีกลิ่นหอม ผลกลมถึงรูปไข่ เมื่อสุกมีสีม่วงดำ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับหรือบอนไซ ใบและผลของข้าวตอกพระร่วงมีพิษ และละอองเกสรอาจก่อให้เกิดภูมิแพ้ได้ พื้นที่หลายแห่งทั่วโลกจัดพืชชนิดนี้เป็นพืชรุกราน.

ดู แอสเทอริดและข้าวตอกพระร่วง (พืช)

ดอกดิน (พืช)

อกดิน ชื่ออื่นๆคือ ดอกดินแดง ซอซวย ปากจะเข้ สบแล้ง หญ้าดอกขอ เป็นพืชขนาดเล็ก ไม่มีใบ มีชีวิตอยู่แบบกาฝาก ต้นเป็นปุ่มปมเบียนอยู่กับรากไม้หรือหญ้า ลำต้นเกาะอยู่ตามรากไม้ใต้ดิน เช่นรากไผ่หรือรากหญ้าคา ก้านดอกสีขาวนวล ดอกโผล่มาเหนือดิน กลีบดอกเป็นหลอด สีม่วงเข้ม ตอนปลายเป็นแฉก พบในที่ร่มและชื้นช่วงฤดูฝน ในดอกมีสารสีดำชื่อออคิวบิน ใช่แต่งสีดำในขนมบางชนิดเช่นขนมดอกดิน โดยนำดอกสดไปผึ่งแดดพอหมาด แล้วสับรวมกับแป้งข้าวเหนียว แป้งข้าวเจ้า และกะทิ ขนมนี้ถ้าใส่ดอกดินอย่างเดียว จะไม่เป็นสีดำ แต่เป็นสีน้ำตาลคล้ายกาแฟ ใส่มากขึ้นทำให้ขนมขื่น จึงแต่งสีดำด้วยกาบมะพร้าวเผาไฟ แล้วนำไปนึ่งให้สุก.

ดู แอสเทอริดและดอกดิน (พืช)

ดาวเรืองเม็กซิโก

วเรืองเม็กซิโก เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Asteraceae ทุกส่วนของต้นมีกลิ่นหอม ใบรูปหอก ขอบใบจักละเอียด ดอกสีเหลืองสด พบในเม็กซิโก มีสารกลุ่มแลกโตน เทอร์พีน คูมารินส์ ทำให้เกิดความมึนงง สับสน ลำต้นแห้งใช้เผาไล่แมลง.

ดู แอสเทอริดและดาวเรืองเม็กซิโก

ดาวเงินไทยทอง

วเงินไทยทอง เป็นพืชในสกุลดาวเงิน วงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ล้มลุกอวบน้ำ ขึ้นตามหินปูน ใบเดี่ยว ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด ดอกสีขาว รูประฆัง ผลขนาดเล็ก แห้งแล้วแตก ออกดอกช่วงมิถุนายน – สิงหาคม พบครั้งแรกที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ โดย H.B.G.

ดู แอสเทอริดและดาวเงินไทยทอง

ดาดตะกั่ว

ตะกั่ว (Redivy; T. Anders.) เป็นพืชในวงศ์ Acanthaceae ลักษณะเป็นไม้คลุมดิน ต้นทอดเลื้อยไปตามดิน ใบด้านบนสีเหลือบเงิบ เขียงปนม่วง ด้านล่างสีม่วง ปลายใบแหลม ขอบหยัก ดอกสีขาว เป็นพืชพื้นเมืองของอินเดียและเกาะชวา นิยมปลูกเป็นไม้ประดั.

ดู แอสเทอริดและดาดตะกั่ว

ดุสิตา

ตา เป็นพืชกินแมลงในวงศ์สร้อยสุวรรณา (Lentibulariaceae) กระจายพันธุ์ในอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และออสเตรเลีย เป็นไม้ล้มลุกปีเดียว ขึ้นเป็นกอเล็ก สูง 10-20 ซม.

ดู แอสเทอริดและดุสิตา

ดูกค่าง

ูกค่าง var.

ดู แอสเทอริดและดูกค่าง

ดูกไก่ย่าน

ูกไก่ย่าน เป็นไม้เลื้อยมีเนื้อไม้ในวงศ์ Rubiaceae ลำต้นเรียบ สีเขียว แก่แล้วเป็นสีน้ำตาลและผิวไม่เรียบ ใบเดี่ยว ค่อนข้างหนา ขอบใบเรียบ ดอกช่อ ออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกเล็ก สีเขียวอ่อนหรือขาว ผลเดี่ยวกลมรี ส่วนปลายมีกลีบเลี้ยง เมื่ออ่อนเป็นสีเขียวอมขาว แก่แล้วเป็นสีขาว มีเมล็ดเดียว.

ดู แอสเทอริดและดูกไก่ย่าน

ดีปลากั้ง

ีปลากั้ง หรือ บีปลากั้ง T.Anderson.

ดู แอสเทอริดและดีปลากั้ง

ด่าง (พืช)

ง เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็งในวงศ์ Labiatae ตามกิ่งมีสันสี่เหลี่ยม มีขนยาวปกคลุม มีเลนติเซลเป็นรอยขีดนูน ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ดอกช่ออกตามปลายยอด มีดอกย่อยจำนวนมาก ผลกลมรี เมล็ดขนาดเล็ก สีดำ กระจายพันธุ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง พบครั้งแรกโดยหมอคาร์ ชาวไอริช เมื่อเดือนกันยายน..

ดู แอสเทอริดและด่าง (พืช)

ครามเถา

รามเถา อยู่ในวงศ์ Asclepiadaceae ไม้เถาเนื้อแข็ง ยางขาว ดอกช่อ สีขาวอมเหลืองอ่อน แก่แล้วเป็นสีน้ำเงินเข้ม เปลือกและใบใช้ทำสีย้อมเส้นใยและผ้า ให้สีคราม ใช้ย้อมผมให้สีดำ ใบมีฤทธิ์เป็นยาแก้อาการผิดปกติในลำไส้ กระตุ้นการงอกของผม ในบังกลาเทศใช้สารสกัดจากครามเถาทำให้แท้งลูก เปลือกลำต้นมีเส้นใ.

ดู แอสเทอริดและครามเถา

คอนสวรรค์ (พืช)

อนสวรรค์ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Ipomoea quamoclit L.) หรือชื่อพื้นเมืองอื่นคือ สนก้างปลา ดาวนายร้อย มี 3 สีคือแดง ชมพู ขาว เป็นพืชพื้นเมืองในแถบลาตินอเมริกา ทางใต้ของอินเดียเรียกว่า มายิล มานิกกัม (மயில் மாணிக்கம்) เป็นไม้เลื้อ.

ดู แอสเทอริดและคอนสวรรค์ (พืช)

คันธุลี

ันธุลี หรือ ท้าวพันราก หน่ายไส้เดือน เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Asclepiadaceae มียางขาวสีน้ำนม เถาสีน้ำตาลอมแดง เกาะต้นไม้อืนโดยใช้เถาพัน ใบเดี่ยว ดอกเป็นดอกช่อ ออกดอกตามง่ามใบ ดอกสีขาวอมเหลือง ผลเดี่ยวเป็นฝักเรียว สีเหลืองอมเขียว แก่แล้วแตก เมล็ดมีขนปลิวตามลม.

ดู แอสเทอริดและคันธุลี

คำฝอย

''Carthamus tinctorius'' คำฝอย (Safflower) เป็นไม้ล้มลุก ในวงศ์ทานตะวัน (Asteraceae) มีความสูง 40-130 เซนติเมตร ลำต้นเป็นสันแตกกิ่งก้านมาก ใบเดี่ยวเรียงสลับรูปวงรี ใบหอก หรือขอบขนาน ขอบใบหยักฟันเลื่อย ปลายเป็นหนามแหลม ใบประดับแข็งเป็นหนาม รองรับช่อดอก ดอกเป็นดอกช่อ มีดอกย่อยขนาดเล็ก ๆ จำนวนมาก ออกที่ปลายยอด ดอกอ่อนเป็นสีเหลืองแล้วเปลี่ยนเป็นสีแดงภายหลัง ผลแห้งไม่แตก เมล็ดเป็นรูปสามเหลี่ยม สีขาว ขนาดเล็ก สารสีเหลืองส้มในกลีบดอกคือคาร์ทามินและ แซฟฟลาเวอร์เยลโลว์ ใช้แต่งสีอาหาร โดยนำดอกมาแช่น้ำร้อนและใช้ทำสีย้อมผ้ามาแต่โบราณ นอกจากนี้แล้ว ดอกของคำฝอยยังทำมาชงน้ำร้อนดื่มเพื่อสุขภาพได้แบบเก็กฮวยหรือน้ำชาได้อีกด้ว.

ดู แอสเทอริดและคำฝอย

คำมอกหลวง

ำมอกหลวง หรือ คำมอกช้าง ยางมอกใหญ่ ภาษากะเหรี่ยงเรียก เพาะกะ เป็นไม้ในสกุลพุด วงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบในช่วงสั้นๆ ก่อนออกดอก มียางสีเหลือง กิ่งอ่อนมีขนสั้นปกคลุม ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ใบเหนียวและสากคาย ใบเดี่ยว มีหูใบลักษณะเป็นปลอกหุ้มกิ่ง หลุดร่วงง่าย เห็นรอยแผลชัดเจน ดอกเดี่ยว ดอกเมื่อเริ่มบานเป็นสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองภายหลัง กลีบเลี้ยงด้านนอกมีขนสีขาว ใกล้โรยมีกลิ่นหอมแรง ออกดอกเดือนมีนาคม – เมษายน ผลมีเมล็ดเดียว สีเขียว เมล็ดแบน คำมอกหลวงกระจายพันธุ์ในป่าดิบแล้งและป่าเต็งรังทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง พบครั้งแรกที่ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ โดยหมอคาร์ ชาวไอริช ชื่อสปีชีส์ตั้งตามดอยสุเทพ ใช้เป็นไม้ประดับ ชาวกะเหรี่ยงนำผลไปรับประทาน.

ดู แอสเทอริดและคำมอกหลวง

คำขาว

ำขาว หรือ กุหลาบพันปีป่า (Westland's rhododendron) เป็นไม้ประเภทกุหลาบพันปีชนิดหนึ่ง ในวงศ์กุหลาบป่า (Ericaceae) เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก มีความสูงลำต้นตั้งแต่ 2-8 เมตร ใบเป็นแบบใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับ เป็นกลุ่มห่าง ๆ กลุ่มละ 3-6 ใบ รูปรีแกมรูปหอก กว้าง 3-6 เซนติเมตร ยาว 7-14 เซนติเมตร ปลายใบแหลม ดอกมีสีขาว ออกเป็นช่อ ตามปลายกิ่งและซอกใบ ช่อละ 3-5 ดอก ขนาดดอกบานเต็มที่ กว้างถึง 6 เซนติเมตร กลีบดอกเชื่อมติดกันรูปกรวย ปลายแยกแผ่เป็น 5 กลีบ บริเวณโคนกลีบมีประสีเหลืองอ่อนแต้มเป็นทาง เกสรเพศผู้มี 10 อัน ยาวไม่เท่ากัน โคนก้านชูอับเรณูมีขนสีขาว รังไข่รูปทรงกระบอก ผลเป็นรูปทรงกระบอก มี 5 พู ขนาด 3-4 เซนติเมตร ปลายแหลมยาว ผลแก่แตกเป็น 5 เสี่ยง เมล็ดแบน มีขนาดเล็ก มีจำนวนมาก มีปีกบางใสล้อมรอบ คำขาว แพร่กระจายพันธุ์ตามป่าดิบเขา ที่ค่อนข้างโปร่ง สูงจากระดับน้ำทะเล 950-2,200 เมตร ออกดอกระหว่างเดือนตุลาคม-พฤษภาคม พบตั้งแต่ทางตอนใต้ของจีน, พม่า, มาเลเซีย, ภาคใต้ของไทยจนถึงอินโดนีเซีย, ลาว, เวียดนาม, กัมพูชา และฮ่องกง ดอกคำขาว คำขาว สามารถนำมาปลูกเป็นไม้ดอก ไม้ประดับได้ โดยขึ้นได้ดีในที่สูง มีความชื้นพอประมาณ และชอบแสงแดดตลอดทั้งวัน.

ดู แอสเทอริดและคำขาว

คำแดง

ำแดง เป็นไม้ชนิดหนึ่ง จำพวกกุหลาบพันปี ในวงศ์กุหลาบป่า (Ericaceae) คำแดง เป็นหนึ่งในชนิดของกุหลาบพันปี หรือกุหลาบป่าที่พบได้ในประเทศไทย พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดีย, เนปาล, ภูฏาน, พม่า และจีนในมณฑลยูนนานและกุ้ยโจว (สามารถแบ่งออกได้เป็นสกุลย่อยและชนิดย่อยต่าง ๆ) สำหรับในประเทศไทย นับเป็นพืชดอกที่งดงามมากที่สุดและหายากมากที่สุดชนิดหนึ่ง เพราะมีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างจำกัดอยู่เฉพาะในเขตอากาศหนาวเย็นบนพื้นที่ชุ่มชื้น เช่น สันเขา หรือหน้าผา ในระดับความสูงประมาณ 1,600-2,500 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล ในประเทศไทยพบได้ในป่าดิบเขาทางภาคเหนือ เช่น อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ และอุทยานแห่งชาติขุนแจ จังหวัดเชียงราย เป็นต้น ผลิดอกในระหว่างเดือนมกราคมถึงพฤษภาคม แต่ช่วงที่ดอกบานเต็มที่คือปลายเดือนกุมภาพันธ์ คำแดงเป็นต้นไม้ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 2-12 เมตร ไม่ผลัดใบ ลำต้นและกิ่งก้านมักคดงอเพราะอิทธิพลของแรงลม เปลือกตะปุ่มตะป่ำ ใบสีเขียวเข้มมีรูปร่างคล้ายหอก ยาว 7-14 เซนติเมตร ออกเรียงเวียนสลับเป็นกลุ่มที่ปลายกิ่ง กุหลาบพันปีมีดอกสีแดงเลือดนกเข้นข้นสะดุดตา ดอกเป็นช่อทรงกลมที่ปลายกิ่ง โดยมีใบเรียงแผ่วนต่อกันเป็นจานรองแลดูงดงามคล้ายดอกกุหลาบ แต่ละช่อมีดอกออกรวมกันตั้งแต่ 4-12 ดอก เมื่อบานมีขนาด 3-5 เซนติเมตร มีขนสั้น ๆ สีแดงปกคลุม ดอกทรงกรวยแกมรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5-6 กลีบ กลีบค่อนข้างกลม ส่วนโคนกลีบดอกเชื่อมกันทั้งหมด และในช่วงที่ออกดอกบานนั้น น้ำหวานภายในดอกจะเป็นอาหารของนกและแมลงชนิดต่าง ๆ อีกด้วย คำแดง เป็นไม้ประจำประเทศเนปาล โดยสีแดงในธงชาติเนปาล หมายถึง สีแดงของดอกคำแดง คำแดง แม้จะเป็นไม้ที่มีถิ่นกระจายพันธุ์ในพื้นที่สูงในเขตหนาว แต่ก็สามารถนำมาเพาะปลูกได้ในพื้นที่ราบ แต่ก็ปลูกเลี้ยงค่อนข้างยาก นอกจากความงดงามแล้วยังมีคุณสมบัติสามารถดูดซึมสารพิษในอากาศได้อีกด้ว.

ดู แอสเทอริดและคำแดง

คุย (พืช)

() เป็นพืชในวงศ์ตีนเป็ด (Apocynaceae) มีถิ่นกำเนิดในอนุทวีปอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ดู แอสเทอริดและคุย (พืช)

คนทีสอทะเล

นทีสอทะเล เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Lamiaceae ลำต้นเลื้อยคลานไปบนดิน ลำต้นสีน้ำตาล เมื่ออายุมากจะมีสะเก็ดหลุดร่วงออกมา ใบเดี่ยว ใบสีเขียวเข้ม หลังใบสีอ่อนจนถึงสีนวล ดอกช่อ กลีบดอกสีน้ำเงินขนาดไม่เท่ากัน ผลเดี่ยว ที่ขั้วมีกลีบเลี้ยงหุ้มไว้เกือบครึ่งผล ผิวสีเขียวหรือสีม่วง ผลแห้ง ปลายผลมีติ่ง ใบแห้งบดเป็นผง นำไปทำขนมคนที โดยนำใบแห้งไปผสมกับแป้งข้าวเหนียวและน้ำ นำไปนึ่งให้สุก หั่นเป็นชิ้น คลุกกกับมะพร้าวขูด เกลือ และน้ำตาล.

ดู แอสเทอริดและคนทีสอทะเล

งวงช้างทะเล

งวงช้างทะเล หรือ Heliotropium foertherianum เป็นพืชในวงศ์ Boraginaceae เป็นไม้พุ่มลำต้นสีเทา แตกกิ่งจำนวนมาก ทรงพุ่มเป็นครึ่งวงกลม ใบเดี่ยว ออกแน่นที่ปลายกิ่ง ดอกช่อ ออกตามปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีขาวอมเขียว ติดกับก้านช่อเพียงด้านเดียว ก้านดอกอวบน้ำ มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ผลเดี่ยวกลม ขนาดเล็ก สีเขียว มีฐานรองดอกหุ้มผลไว้ครึ่งหนึ่ง ผิวเรียบเป็นมัน.

ดู แอสเทอริดและงวงช้างทะเล

งวงสุ่ม

งวงสุ่มหรือโพ้ไฮคุย เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็งในวงศ์ Verbenaceae มักพบเลื้อยในป่าไผ่คล้ายต้นพวงประดิษฐ์ ยอดอ่อนและใบมีขน ด้านล่างของใบมีขนแข็งสาก ดอกช่อออกที่ปลายยอด มีดอกย่อยจำนวนมาก ริ้วประดับสีชมพู ออกดอกช่วงมกราคม – มีนาคม พบครั้งแรกที่อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี โดยหมอคาร์ ชาวไอริชเมื่อ 7 มกราคม..

ดู แอสเทอริดและงวงสุ่ม

ตังกุย

ตังกุย หรือ โสมตังกุย เป็นสมุนไพรที่มีต้นกำเนิดจากประเทศจีน เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี รากอวบหนา ทรงกระบอก มีกลิ่นเฉพาะตัว หอมแรง ใบหยักลึกแบบขนนกสามชั้น ออกดอกเป็นช่อซี่ร่มตามปลายกิ่ง โคนแผ่เป็นกาบ สีอมม่วง ผลเป็นผลแบบผักชี พบแพร่กระจายในป่าดิบในเขตเขาสูงทางภาคกลางของจีน เช่น เสฉวน หูเป่ย กานซีจนถึงยูนนาน นอกจากนั้นยังมีปลูกในญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม.

ดู แอสเทอริดและตังกุย

ตังเซียม

ตังเซียม (ภาษาจีนแต้จิ๋ว) หรือตานเซิน (ภาษาจีนกลาง) เป็นพืชอายุหลายปีในสกุล Salvia และเป็นพืชที่ใช้รากเป็นยาในตำรายาจีน เป็นพืชท้องถิ่นในจีนและญี่ปุ่น รากเปลือกนอกสีน้ำตาล หยาบเป็นรอยย่น ใช้เป็นยากระตุ้นการไหลเวียนเลือด ใช้รักษาฝี ตานเซิน มีสรรพคุณเกี่ยวกับโรคเลือดหลายๆ ด้านในทางศาสตร์แพทย์จีน จนได้รับฉายาว่า “ยาตัวเดียว สรรพคุณเหมือนยา 4 ตัว คือ ตำรับยา ชื่ออู้ทัง (四物汤) ทั้งตำรับซึ่งมีตัวยา 4 ตัวเลยทีเดียว”http://www.samluangclinic.com/index.php/blog/cat/Article_2010/post/Chinese_Medicine_0810/  กล่าวคือ ตำรับยา ซื่ออู้ทัง (四物汤) เป็นตำรับคลาสสิก เกี่ยวกับบำรุงเลือด และการปรับระบบเลือด ซึ่งครอบคลุมเรื่องของการบำรุงเลือด, สร้างเลือด, ขับเคลื่อนเลือด, สลายก้อนเลือด, ระงับอาการปวด (จากการอุดตันของเลือด) ตัวยาสำคัญของยาตำรับนี้คือ ตังกุย (当归), สูตี้ (.熟地.), ไป๋สาว (白芍), ชวนทรวง (川芎) ตานเซิน (丹参) ตัวเดียว มีสรรพคุณครอบคลุมทุกด้าน ตามตำรับยา ซื่ออู้ทัง ทุกประการ ในทางคลินิก จึงกล่าวถึงสรรพคุณหลักๆ ในการรักษาไว้ 4 ประการ                 1.

ดู แอสเทอริดและตังเซียม

ตากะปอ

ตากะปอ เป็นพืชในสกุลหญ้าดอกลาย วงศ์ Gentianaceae เป็นไม้ล้มลุกอายุปีเดียว กิ่งเป็นสี่เหลี่ยม ไม่ค่อยแตกกิ่ง ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ปลายใบแหลม ดอกช่อ มีดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีขาวมีลายสีม่วงตามยาว มีต่อมสีเขียว 2 ต่อมที่โคนกลีบดอก ผลแก่แล้วแตกเป็นสองพู เมล็ดขนาดเล็ก มีจำนวนมาก เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกโดยหมอคาร์ ชาวไอริช เมื่อ 4 พฤศจิกายน..

ดู แอสเทอริดและตากะปอ

ตานหม่อน

ตานหม่อน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Vernonia elliptica DC. (Compositae)) ไม้เถาหรือไม้พุ่มเลื้อย ขึ้นแทรกในซอกหินตามหน้าผาชัน ลำต้น แตกกิ่งแขนงระเกะระกะ ห้อยระย้าลงมาตามหน้าผา กิ่งก้านเล็กเรียว มีสันตามยาว ขนสีเงิน ใบเดี่ยว เรียงสลับรูปใบหอกกลับ ขอบใบเรียบ เนื้อใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างมีขนสีเงิน ด้านบนสีเขียว ด้านล่างสีขาว ดอกเล็ก ดอกเป็นช่อกระจุกแน่น เริ่มบานเป็นสีม่วง เมื่อโรยเป็นสีขาว มีกลิ่นหอม ออกที่ยอดหรือซอกใบ กลีบดอกสีนวล ผลเป็นผลแห้งไม่แตก ผลแห้งมีต่อมใสๆ สีน้ำตาลอ่อน กระจายตามผิวผล มีขนเป็นพู่ติดรอบปลายผล ตานหม่อน จัดเป็นสมุนไพรที่สามารถนำมาทำเป็นยาขับพยาธิได้ ใช้เป็นยาแก้พิษตานซาง ใช้ขับพยาธิไส้เดือนในท้อง.

ดู แอสเทอริดและตานหม่อน

ตานดำ

ตานดำ หรือ ตานส้าน, ถ่านไฟผี, มะเกลือป่า หรือ มะตูมดำ เป็นพืชในสกุลมะพลับ กระจายพันธุ์ในอินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ลักษณะเป็นไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 15 เมตร ลำต้นและกิ่งมีหนาม ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่กลับถึงรูปรี ยาว 2-12 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเว้าคล้ายรูปหัวใจ แผ่นใบมีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน ดอกแยกเพศอยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้ กลีบเลี้ยงรูประฆัง มี 4 กลีบ โคนเชื่อมติดกันเป็นหลอดรูปถ้วย ปลายแยก 4 แฉก มีสีเขียว กลีบดอกรูปคนโทสีเหลือง ยาว 0.8-1 เซนติเมตร มี 4 กลีบ มีเกสรเพศผู้ 14-20 อัน ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอกเหมือนดอกเพศผู้ รังไข่มี 8 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียมี 4 อัน มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 4-12 อัน ผลเป็นผลสดทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-3 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงบานออกหรือพับงอกลับ เมื่อแก่มีสีเหลือง ผลมีพิษใช้เบื่อปลาและนำมาย้อมสีได้ เปลือกต้นมีสรรพคุณลดไข้และแก้อัก.

ดู แอสเทอริดและตานดำ

ตานเสี้ยน

ตานเสี้ยน เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กในวงศ์ Sapotaceae แตกกิ่งจำนวนมาก กิ่งขนาดเล็กและเหนียว เป็นไม้ผลัดใบ ใบเดี่ยว ดอกช่อ สีขาวนวล กลิ่นหอม โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นสองชั้น ชั้นละ 5 กลีบ ออกดอกเดือนธันวาคม – มกราคม ผลแก่เดือนมีนาคม – มิถุนายน พบในภาคกลางและภาคตะวันตกของไทย พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อ 2 มกราคม..

ดู แอสเทอริดและตานเสี้ยน

ตำเสา

ตำเสา เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Theaceae ไม่ผลัดใบ เปลือกสีน้ำตาลมีรอยแตกตื้นๆ ใบเดี่ยว ด้านบนสีเขียวเข้มเกลี้ยงเป็นมัน ด้านล่างมีสีอ่อนกว่า ขอบเรียบ ดอกเดี่ยว สีเหลืองนวล ดอกขนาดเล็ก ผลเดี่ยวกลม สีเหลือง เกลี้ยงหรือสากเล็กน้อย ขั้วผลสีน้ำตาล เมื่อสุกแตกออกเห็นเนื้อหุ้มเมล็ดสีแดง พบในไทย มาเลเซียและสิงคโปร์ เนื้อไม้ใช้การก่อสร้าง.

ดู แอสเทอริดและตำเสา

ตีนนก

กิ่งของต้นตีนนก ต้นตีนนกในป่า ต้นตีนนก ตีนนก หรือสมอตีนเป็ด ลือแบ ชื่อสามัญอื่นๆของพืชนี้ได้แก่ ในศรีลังกาเรียก "Milla" ในอินโดนีเซียเรียกลาบัน ในเกาะสุลาเวสีเรียก "gulimpapa" ในพม่าเรียก "kyetyo po" ในมาเลเซียเรียกเลอบัน "leban" และในฟิลิปปินส์เรียก "molave" เป็นไม้ต้นในวงศ์ Lamiaceae ลำต้นแตกเป็นสะเก็ด เปลือกสีเหลืองหรือสีน้ำตาล ใบประกอบแบบฝ่ามือ ดอกช่อ กลีบดอกสีน้ำเงินหรือสีม่วงเข้ม ผลเดี่ยวทรงกลม สุกแล้วเป็นสีม่วงเข้มจนเกือบดำ เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง ใช้เป็นยาขับลมในลำไส้ ใบใช้ตำแล้วพอกแผล ผลใช้แก้อาการบิด ไม้ใช้ทำเครื่องมือทางการเกษตรและที่อยู่อาศั.

ดู แอสเทอริดและตีนนก

ตีนเป็ดทราย

ผลตีนเป็ดทรายดิบในอินโดนีเซีย ตีนเป็ดทราย เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Apocynaceae ยางสีขาว รากแผ่กว้างเพื่อยึดกับทราย ใบยาวรี ค่อนข้างหนา ผิวเคลือบใบหนา ดอกสีขาว ผลทรงกลมรี เมื่อสุกสีแดง มีพิษ รับประทานไม่ได้ ใบใช้เป็นยารักษาโรคผิวหนัง ชื่อสามัญของพืชนี้ในแต่ละถิ่นจะต่างกันไป ภาษาอังกฤษเรียก sea mango (ตรงตัว: มะม่วงทะเล), ในมาดากัสการ์เรียก tanguin samanta tangena, ในซามัวเรียก leva, ในตองงาเรียก toto, ในฟีจีเรียก vasa ส่วนในภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู และภาษาซุนดาเรียก bintaro.

ดู แอสเทอริดและตีนเป็ดทราย

ตีนเป็ดน้ำ

ตีนเป็ดน้ำ หรือ ตีนเป็ดทะเล (Suicide tree, Pong-pong, Othalanga) มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกว่า ตุม (กาญจนบุรี), พะเนียงน้ำ หรือ สั่งลา (กระบี่), มะตะกอ (มลายู-นราธิวาส)เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กชนิดหนึ่ง นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ มีลักษณะเป็นทรงพุ่มกลม ใบแน่น เป็นไม้ไม่ผลัดใบ มีน้ำยางสีขาว กลีบดอกมีความสวยงาม มีสีขาว เป็นไม้ที่ปลูกได้ง่าย ขึ้นได้ดี ต้องการแดดและความชื้นสูง สูงเต็มที่ประมาณ 12 เมตร มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่อนุทวีปอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และตอนใต้ของจีน พบจนถึงนิวแคลิโดเนีย มักขึ้นในป่าชายเลนหรือบริเวณที่เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำบริเวณชายทะเล ตีนเป็ดน้ำมีผลทรงกลม คล้ายผลส้ม มีสีเขียว แต่ทว่ามีพิษ รับประทานมากอาจทำให้เสียชีวิตได้ อีกทั้งยางก็มีพิษ ซึ่งสามารถใช้ประโยชน์ในการทำเป็นสารเคมีฆ่าเหาได้.

ดู แอสเทอริดและตีนเป็ดน้ำ

ตีนเป็ดแคระ

ตีนเป็ดแคระ เป็นพืชในสกุลพญาสัตบรรณ วงศ์ Apocynaceae เป็นไม้พุ่ม แตกกิ่งมาก เปลือกสีน้ำตาลเข้ม เส้นกลางใบด้านบนนูนเด่น และมีสีม่วงแดง โคนใบรูปลิ่ม ดอกช่อ โคนกลีบดอกเป็นหลอดสีขาว ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ไม่มีกลิ่น ออกดอกเดือนมกราคม- มีนาคม พบครั้งแรกที่จังหวัดพังงา โดย Curtis ใช้เป็นไม้ประดั.

ดู แอสเทอริดและตีนเป็ดแคระ

ต้อยติ่ง

thumb ต้อยติ่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Ruellia tuberosa) เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็กในวงศ์ Acanthaceae เติบโตได้ดีทั้งกลางแจ้งและในร่ม ต้นเจริญเต็มที่สูง 6½ นิ้ว ใบกลมรี ตาแตกยอดได้สี่ข้าง ออกดอกสีม่วงน้ำเงินเฉพาะตอนฤดูฝน เมื่อผสมเกสรแล้วจะให้เมล็ด ประมาณ 25-32 เมล็ดอยู่ในฝัก เมื่อฝักแก่จะกลายเป็นสีน้ำตาลหรือสีดำ พอฝักโดนน้ำ (โดยธรรมชาติคือน้ำฝน) ก็จะแตกออกทำให้เมล็ดกระเด็นไปตกที่อื่น ซึ่งเป็นเทคนิคของการขยายพันธุ์ (เด็ก ๆ ชอบเล่นโดยนำฝักแก่ใส่ลงในน้ำให้แตก) ชื่ออื่นที่เรียกเช่น อังกาบฝรั่ง, เป๊าะแป๊ะ, minnieroot, popping pod, cracker plant เป็นต้น รากของต้อยติ่งสามารถใช้เป็นยารักษาโรคไต โรคไอกรน หรือแม้แต่เป็นยาขับเลือด ถ้าใช้ในปริมาณที่เจือจางก็สามารถกำจัดสารพิษในเลือด บรรเทาอาการสารพิษตกค้างในปัสสาวะ ส่วนใบของต้อยติ่งสามารถใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ หรือใช้พอกแก้ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อได้ แต่ต้อยติ่งมักจะถูกถอนทิ้งเพราะคนคิดว่าเป็นวัชพืช สรรพคุณของต้อยติ่ง สรรพคุณต้นต้อยติ่ง รากช่วยรักษาโรคไอกรน (ราก) รากใช้เป็นยาขับเลือด (ราก) รากต้อยติ่งสามารถนำมาใช้เป็นยารักษาโรคไตได้ (ราก) สรรพคุณต้อยติ่งฝรั่ง รากช่วยดับพิษในร่างกาย (ราก) ช่วยทำให้อาเจียน (ราก) สรรพคุณต้อยติ่ง ใบใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ (ใบ) รากหากนำมาใช้ในปริมาณที่เจือจางสามารถช่วยจำกัดสารพิษในเลือดได้ (ราก) ช่วยบรรเทาอาการสารพิษตกค้างในปัสสาวะ (ราก) ช่วยขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะพิการ (ราก) ใบใช้พอกแก้อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อได้ (ใบ) เมล็ดใช้พอกฝีเพื่อดูดหนองและช่วยลดการอักเสบ (เมล็ด) เมล็ดใช้พอกแผลเรื้อรัง ช่วยสมานบาดแผล แผลมีฝ้ามีหนอง และช่วยเรียกเนื้อ (เมล็ด) เมล็ดมีสรรพคุณช่วยทำให้แผลหายเร็วยิ่งขึ้น (เมล็ด) สรรพคุณสมุนไพรต้อยติ่ง เมล็ดช่วยแก้อาการผดผื่นคัน (เมล็ด) ต้อยติ่งทั้งต้นเอาชนิดที่ไม่แก่ ดอกยังไม่ร่วงโรย นำมาถอนเอาทั้งรากไม่ให้รากขาดและอย่าให้เมล็ดแตก ประมาณ 4-5 ต้น แล้วนำไปล้างน้ำให้สะอาด โขลกค้นเอาแต่น้ำมาดื่ม ตะช่วยแก้อาการปวดเข่า ขาชา ร้าวลงได้ ซึ่งใช้เวลาในการรักษาเพียง 7 วันก็หาย (ทั้งต้น) รากใช้ผสมเป็นยาแก้พิษ ดับพิษ และทำเป็นยาเบื่อ (ราก) ประโยชน์ของต้อยติ่ง ฝักใช้เป็นของเล่นของเด็กๆ ด้วยการสะสมฝักแก่จัด (สีน้ำตาลเข้มเกือบดำ) เก็บไว้ในที่แห้งเมื่อมีโอกาสก็นำมาจุ่มน้ำ (หรือน้ำลาย) แล้วเอาไปโยนใส่เพื่อนๆ สักพักหนึ่งฝักก็จะแตกตัวออกดังแป๊ะ พร้อมกับดีดเมล็ดออกโดยรอบ ทำให้เพื่อนตกใจหรือเจ็บคันๆ หรือบางครั้งก็แอบไปใส่ในกระเป๋าเสื้อ กระเป๋ากางเกง หรือแม้แต่คอเสื้อ ซึ่งแม้จะรู้ตัวแต่ก็มักจะเอาออกไม่ทัน ฝักก็จะแตกออกเสียก่อน (ฝัก).

ดู แอสเทอริดและต้อยติ่ง

ต้างหลวง

ต้างหลวง อยู่ในวงศ์ Araliaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ต้นมีหนาม ใบเดี่ยว ดอกช่อ ภาษากะเหรี่ยงเรียกกิลอส่า ชาวกะเหรี่ยงนำช่อดอกตูมและบาน ลวกรับประทานกับน้ำพริก.

ดู แอสเทอริดและต้างหลวง

ฉัตรพระอินทร์

รรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลที่เกิดจากไฟไหม้น้ำร้อนลวก แก้คันจากกลากเกลื้อน หมวดหมู่:สมุนไพรไทย หมวดหมู่:วงศ์กะเพร.

ดู แอสเทอริดและฉัตรพระอินทร์

ซ้อ

ซ้อ ภาษากะเหรี่ยงเรียกเก่อมาพอ เป็นไม้ยืนต้น ใบเดี่ยว มีเลนติเซลบนกิ่งอ่อน เปลือกต้นสีขาวอมเทา ผิวเรียบ ดอกช่อ ดอกย่อยสีเหลืองอมน้ำตาล ผลสด เปลือกหนา แก่เป็นสีเหลือง เนื้อไม้แข็งแรงใช้ทำขันโตก ดอกมีรสหวาน ชาวกะเหรี่ยงใช้ทำผสมกับแป้งแล้วนำไปทำขนม ได้ขนมสีเหลือง ชาวขมุและชาวถิ่นใช้ไม้สร้างบ้านเรือน ชาวถิ่นใช้ทำไหนึ่งข้าว.

ดู แอสเทอริดและซ้อ

ประทัดสุเทพ

ประทัดสุเทพ เป็นพืชในสกุลประทัดดอย วงศ์ Ericaceae มีรากสะสมอาหาร ใบเดี่ยว ดอกออกเดี่ยวๆ หรือเป็นกระจุกตามกิ่งแก่ กลีบดอกรูปหลอดแคบ ปลายป่อง ผลขนาดเล็ก ทรงกลม ออกดอกช่วงพฤศจิกายน – กุมภาพันธ์ พบครั้งแรกที่อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นไม้หายากและใกล้สูญพันธ์ พบในป่าดิบเขาทางภาคเหนือตอนบน พบครั้งแรกโดย ดร.

ดู แอสเทอริดและประทัดสุเทพ

ปิ้งขาว

ปิ้งขาว อยู่ในวงศ์ Lamiaceae ภาษากะเหรี่ยงเรียกคอคอเดาะ เป็นไม้พุ่ม ใบเดี่ยว ผิวใบเกลี้ยงหรือมีขนเล็กน้อย ดอกช่อออกจามซอกใบและปลายกิ่ง มีขนปกคลุม กลีบดอกเป็นหลอด สีขาว ยอดอ่อนนำไปลวกจิ้มน้ำพริก ใบใช้ย้อมผ้าให้สีเขียว ผลสุกย้อมผ้าได้สีฟ้.

ดู แอสเทอริดและปิ้งขาว

ปืนนกไส้

ปืนนกไส้ (Spanish needle, black-jack) หรือ กี่นกไส้ หรือ หญ้าก้นจ้ำขาว เป็นวัชพืชในวงศ์ทานตะวัน (Asteraceae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกา เป็นไม้ล้มลุกอายุปีเดียว สูงได้ถึง 1 เมตร ลำต้นเป็นสัน ใบเป็นใบประกอบขนนกชั้นเดียว มี 3 ใบย่อย แผ่นใบรูปไข่ ปลายใบแหลม ขอบใบหยัก ดอกออกเป็นช่อกระจุกแน่นที่ปลายยอดและซอกใบ ก้านช่อดอกยาว วงใบประดับมี 2 ชั้นแยกกัน ดอกวงนอกมีกลีบดอกรูปลิ้นสีขาวไม่สมบูรณ์เพศ ดอกวงในเป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีกลีบดอก 5 กลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอดสีเหลือง เกสรเพศผู้สีน้ำตาล เกสรเพศเมียสีเหลืองปลายแยกเป็น 2 แฉก ผลเป็นแบบผลแห้งเมล็ดล่อนสีน้ำตาลเข้ม มีแพปพัส (กลีบเลี้ยงลดรูป) เป็นหนามสั้น 2 อัน ปืนนกไส้มีสรรพคุณต้านเชื้อจุลินทรีย์ แก้อักเสบ ขับปัสสาวะ ห้ามเลือดและรักษาไข้มาลาเรียได้.

ดู แอสเทอริดและปืนนกไส้

ปีบ

ปีบ หรือ กาสะลอง ในภาษาไทยถิ่นเหนือ เป็นไม้ยืนต้นสูงประมาณ 15 เมตร มีดอกรูปแตรสีขาวหอมอ่อน ๆ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ปีบยังมีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกคือ เต็กตองโพ่ (กะเหรี่ยง กาญจนบุรี)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู แอสเทอริดและปีบ

ปีบฝรั่ง

ปีบฝรั่ง (Star of Bethlehem, Madam Fate) หรือ แสนประสะ เป็นพืชท้องถิ่นของหมู่เกาะเวสต์อินดีส อยู่ในวงศ์พระจันทร์ครึ่งซีก (Campanulaceae) เป็นพืชหลายปี สูง 15-25 เซนติเมตร ลำต้นตั้งตรง ใบเป็นใบเดี่ยวออกเรียงสลับรอบต้น ใบรูปขอบขนานแกมรูปรี กว้าง 2-3 เซนติเมตร ยาว 3-15 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ขอบใบหยักหนาม ดอกสีขาวออกเป็นดอกเดี่ยวตามซอกใบ โคนก้านดอกมีใบประดับ 2 ใบ โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดรูปกรวย ปลายแยกเป็น 5 แฉก ดอกบานเต็มที่กว้าง 3-4 เซนติเมตร ผลรูปรีแบบแห้งแตก เมื่อแก่จะโป่งออกและโค้งลง ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก ปีบฝรั่งนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ยางจากต้นก่อให้เกิดอาการระคายเคืองและหากเข้าตาอาจทำให้ตาบอดได้ ยางจากต้นมีสารนิโคตินและโลเบลีน ซึ่งหากได้รับในปริมาณมากเกินจะทำให้อาเจียน กล้ามเนื้อเป็นอัมพาตและชัก.

ดู แอสเทอริดและปีบฝรั่ง

ปีบทอง

ปีบทอง, อ้อยช้าง หรือ กาสะลองคำ (ชื่ออื่น: กากี, สำเภาหลามต้น, จางจืด, สะเภา) เป็นไม้ต้นผลัดใบในวงศ์แคหางค่าง (Bignoniaceae) สูงประมาณ 10 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ใบเป็นประเภทใบประกอบแบบ 2-3 ชิ้น ใบย่อยรูปไข่ปลายใบแหลม ขึ้นตามธรรมชาติบนเทือกเขาหินปูนที่ค่อนข้างชื้น พบตั้งแต่พม่าตอนใต้ไปจนถึงเกาะไหหลำ ดอกมีสีเหลืองอมส้มหรือสีส้ม ออกเป็นกระจุกตามกิ่งและลำต้น กระจุกละ 5-10 ดอก บานไม่พร้อมกัน กลีบเลี้ยงรูปถ้วยสีม่วงแดง กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ยาว 4-7 เซนติเมตร ปลายเป็นแฉกสั้น ๆ 5 แฉก ผลเป็นฝัก ยาว 26-40 เซนติเมตร เมื่อแก่จะแตกเป็น 2 ซีก ปีบทองเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลประจำจังหวัดเชียงราย และเป็นเป็นพรรณไม้ประจำมหาวิทยาลัยสองแห่ง คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (เรียกว่า "กาสะลองคำ") และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (เรียกว่า "ปีบทอง").

ดู แอสเทอริดและปีบทอง

นมพิจิตร

นมพิจิตรหรือนมหมู ลิ้นเหี้ย เป็นพืชในวงศ์ Asclepiadaceae เป็นไม้เถาเลื้อยลำต้นมีน้ำยางสีขาว ใบเดี่ยว เป็นใบหนา อวบน้ำ ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็ก 5 แฉก สีขาวนวลหรือสีชมพูอ่อน เกสรตัวผู้รูปมงกุฎอยู่ตรงกลางดอก ผลเดี่ยว เป็นฝักยาว เมล็ดแบนรูปไข่ มีขนเป็นพู่ที่ปลาย ใช้เป็นไม้ประดับ ดอกนมพิจิตร.

ดู แอสเทอริดและนมพิจิตร

นางแย้มป่า

นางแย้มป่า, พนมสวรรค์ป่า หรือ พวงสวรรค์ เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae เป็นพืชใกล้สูญพันธุ์ในไทย ไม้พุ่ม มีขนสั้นหนานุ่มปกคลุม กิ่งเป็นเหลี่ยม ดอกช่อ กลีบเลี้ยงรูประฆัง เกสรตัวผู้ 4 อัน ยื่นยาวพ้นกลีบดอก ผลเมล็ดเดียวแข็ง สีขาว กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดีย อินโดจีน เกาะสุมาตราจนถึงฟิลิปปินส์ ในคาบสมุทรมลายูใช้เปลือกลำต้นกินแทนหมาก.

ดู แอสเทอริดและนางแย้มป่า

น้ำเต้าต้น

น้ำเต้าต้น (Calabash Tree) เป็นพืชในวงศ์แคหางค่าง (Bignoniaceae) มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลาง.

ดู แอสเทอริดและน้ำเต้าต้น

แพงพวยฝรั่ง

'' Catharanthus roseus'' แพงพวยฝรั่ง เป็นพืชดอกถิ่นเดียวของประเทศมาดากัสการ์ ในธรรมชาติอยู่ในสภาวะเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์เพราะการถางและเผาเพื่อการเกษตรกรรมDrugDigest: แต่อย่างไรก็ตามมันกลับได้รับการปลูกเลี้ยงอย่างกว้างขวางในพื้นที่เขตร้อนทั่วโลก แพงพวยฝรั่งเป็นไม้ไม่ผลัดใบพุ่มเตี้ยหรือพืชโตชั่วฤดูสูงประมาณ 1 ม.

ดู แอสเทอริดและแพงพวยฝรั่ง

แมงลักคา

แมงลักคาหรือแมงลักป่า เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Lamiaceae ผิวลำต้นเรียบเป็นรูปสี่เหลี่ยม มีขนสีขาวสั้นปกคลุม เมื่อจับรู้สึกเหนียวติดมือ มีกลิ่นเฉพาะตัว ใบเดี่ยว ผิวใบสีเขียวมีขนนุ่ม ขอบใบหยักเล็กน้อย ดอกช่อ กลีบเลี้ยงสีเขียวเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 กลีบ เกสรตัวผู้สีเหลืองโผล่สูงเสมอช่อดอก ผลเดี่ยว สีเขียว โดยมีกลีบเลี้ยงรองรับ สุกแล้วเป็นสีดำ กิ่งและใบทุบแล้ววางในเล้าไก่เพื่อไล่ไรไก่ และเป็นพืชที่มีฤทธิ์ฆ่าแมลง.

ดู แอสเทอริดและแมงลักคา

แย้มปีนัง

แย้มปีนัง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Strophanthus gratus (Wallich & Hook. ex Benth.) Baillon) มีชื่อพื้นเมือง เช่น บานทน และ หอมปีนังเป็นไม้ที่มีดอกหอมแรง แย้มปีนังเป็นไม้พุ่ม แตกกิ่งมาก ลำต้นตั้งตรง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีแกมขอบขนาน ใบดกทึบ ค่อนข้างหนา ผิวเรียบมัน สีเขียวเข้ม ท้องใบสีเขียวปนม่วง ดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง ดอกย่อย 5-20 ดอก กลิ่นหอม กลีบดอกสีม่วงแกมชมพู เชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง ผลเป็นฝัก รูปเรียวยาว เมล็ดสีน้ำตาล มีขน ขึ้นง่ายในดินทั่วไป ออกดอกตลอดปี หากปลูกในที่ร่มมากจะกลายเป็นไม้เลื้อยได้ เมล็ด มีสารที่ออกฤทธิ์กระตุ้นหัวใจ คือสาร ouabain มีความเป็นพิษสูงไม่ควรรับประทาน หากเข้าสู่ร่างกาย ทำให้คลื่นไส้ ท้องเสีย หัวใจเต้นแรง และเร็ว ต้องรีบทำให้อาเจียน และนำส่งโรงพยาบาลทันที.

ดู แอสเทอริดและแย้มปีนัง

แววมยุรา

แววมยุรา เป็นพืชไม้ดอกล้มลุก สูงประมาณ 15-50 เซนติเมตร จะมีสีดอกหลายสี ทั้งสีแดง สีชมพู สีม่วงเข้ม สีม่วงอ่อน โคนกลีบจะมีสีขาว กลีบล่างอาจมีแต้มสีเหลือง จะออกเป็นช่อ กระจายตามซอกใบที่ปลายกิ่ง ปลายแยกเป็น 5 แฉก จะมีขนาดไม่เท่ากัน ดอกจะบานทุกฤดูกาล.

ดู แอสเทอริดและแววมยุรา

แสมแดง

''Aegiceras corniculatum'' แสมแดง หรือเล็บมือนาง เล็บนาง เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Myrsinaceae โคนต้นมีพูพอนเล็กน้อย เปลือกเรียบสีเทาเข้มถึงน้ำตาลแดง ใบเดี่ยว แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ด้านบนเป็นมัน ท้องใบสีเขียวอมแดง ดอกช่อ ออกตามซอกใบเป็นช่อแบบซี่ร่ม มีกลิ่นหอม กลีบดอกสีขาว ผลเป็นทรงกระบอก เรียวโค้ง ยาว 5-8 ซม.

ดู แอสเทอริดและแสมแดง

แอฟริกันไวโอเล็ต

แอฟริกันไวโอเล็ต (African Violet หรือ Saintpaulias)เป็นพืชในวงศ์ Gesneriaceac มีถิ่นกำเนิดอยู่ตามแถบภูเขาในทางตอนเหนือของประเทศแทนซาเนีย และทางตอนใต้ของเคนยาในประเทศแอฟริกา พบครั้งแรกที่แทนซาเนีย เมื่อปี..

ดู แอสเทอริดและแอฟริกันไวโอเล็ต

แฮ่โกวเฉ่า

แฮ่โกวเฉ่าในภาษาจีนแต้จิ๋วหรือเซี่ยคูเฉ่าในภาษาจีนกลาง อยู่ในวงศ์ Lamiaceae พบได้ในเอเชีย ยุโรป และอเมริกาเหนือ ชาวเชอโรกีนำใบอ่อนไปปรุงสุกแล้วรับประทาน เป็นสมุนไพรจีน ช่อดอกสีน้ำตาลหรือม่วงอมน้ำตาล เมล็ดกลมรี สีน้ำตาล ช่อดอกใช้ทำยาขับความร้อน แก้แผลมีหนอง.

ดู แอสเทอริดและแฮ่โกวเฉ่า

แครนเบอร์รี

แครนเบอร์รี (cranberry) อยู่ในกลุ่มไม้พุ้มแคระไม่ผลัดใบหรือมีลำต้นเป็นเถายาว (trailing vine) ในจีนัสย่อย Oxycoccus ในจีนัส Vaccinium พบในพรุที่เป็นกรดตลอดบริเวณหนาวในซีกโลกเหนือ แครนเบอร์รีจะให้สารอาหารดังนี้.

ดู แอสเทอริดและแครนเบอร์รี

แคสันติสุข

แคสันติสุข เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Bignoniaceae ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ มีดอกย่อยจำนวนมาก โคนกลีบดอกรูประฆังสีขาวอมชมพู ปลายกลีบหยักเว้าและย่น ผลเป็นฝักรูปทรงกระบอก แห้งแล้วแตก เมล็ดแบนและมีปีกบางๆ ออกดอกเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ พบครั้งแรกที่อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น เมื่อ 16 กุมภาพัน..

ดู แอสเทอริดและแคสันติสุข

แคทะเล

แคทะเล เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Bignoniaceae เปลือกแตกเป็นร่องเล็ก ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ผิวใบเรียบ ใบมัน ใบอ่อนออกสีเขียวอมแดง แก่แล้วเป็นสีเขียว ดอกเป็นดอกช่อ บานไม่พร้อมกัน ช่อดอกสั้น ดอกเป็นถ้วยปากแตรสีขาว ปลายกลีบดอกเป็นหยัก เกสรตัวผู้ 4 อัน ยาวไม่เท่ากัน ออกดอกตลอดปี ผลเดี่ยว ยาว ค่อนข้างแบน เมื่ออ่อนสีเขียวอมม่วง แก่เป็นสีน้ำตาลอมดำ แตกเป็น 2 ซีก ภายในมีเมล็ดมาก.

ดู แอสเทอริดและแคทะเล

แปะจี้

แปะจี้ในภาษาจีนแต้จิ๋วหรือไป๋จื่อในภาษาจีนกลาง (Bai Zhi 白芷) อยู่ในวงศ์ Apiaceae เป็นพืชท้องถิ่นใน ไซบีเรีย ตะวันออกไกลของรัสเซีย มองโกเลีย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน ญี่ปุ่น เกาหลี และ ไต้หวัน รากภายนอกเป็นสีเทาขาวหรือสีเหลืองขาว ด้านในสีขาวรากใช้เป็นยาแก้ปวดบวม ไข้หวั.

ดู แอสเทอริดและแปะจี้

แป๊ะตำปึง

แป๊ะตำปึง หรือ ว่านกอบ เป็นพืชในวงศ์ Asteraceae เป็นไม้เลื้อยทอดตามพื้นดิน พบในฟิลิปปินส์ คาบสมุทรมลายู ไทย และคาบสมุทรอินโดจีน ลำต้นอวบน้ำ มียางใส ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปหอก ผิวใบหนามัน เนื้อใบขรุขระ ดอกช่อ ริ้วประดับมีสีเขียวรูปทรงกระบอกหุ้ม กลีบดอกย่อยขนาดเล็ก สีเหลือง ก้านชูเกสรเพศเมียยาว แยกเป็น 2 แฉก มีลักษณะเป็นฝอยชูทั่วช่อดอกกระจุก ชาวไทลื้อและชาวไทยในภาคเหนือนำยอดและใบอ่อนใช้เป็นผักรับประทานกับลาบ ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซียนำใบสดไปใช้ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือ.

ดู แอสเทอริดและแป๊ะตำปึง

ใบเงินใบทอง

ใบเงินใบทอง (caricature plant, gold leaves) เป็นพืชในวงศ์เหงือกปลาหมอ (Acanthaceae) นิยมปลูกเป็นไม้ประดับและไม้มงคล.

ดู แอสเทอริดและใบเงินใบทอง

โกฐก้านพร้าว

กฐก้านพร้าว อยู่ในวงศ์ Plantaginaceae เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี เหง้าอวบ เกาะเลื้อย ใบออกเป็นกระจุกใกล้เหง้า ก้านช่อดอกยาว ดอกย่อยสีฟ้าอ่อนจำนวนมาก มีขนหยาบแข็ง ผลแห้งแบบแคบซูล มีเมล็ดจำนวนมาก กระจายพันธุ์ในเขตเทือกเขาหิมาลัย ตั้งแต่ปากีสถาน จนกระทั่งรัฐอุตตรประเทศและแคชเมียร์ของอินเดีย จนถึงสิกขิมและเนปาล เหง้าของพืชชนิดนี้ตากแดดให้แห้ง ใช้ทำยา ลักษณะเป็นเหง้ายาว ทรงกระบอก เปลือกหนา ผิวมีรอยย่น สีน้ำตาลอมเทา ใช้แก้ไข้เรื้อรัง เสมหะเป็นพิษ ในอินเดียและศรีลังกาใช้เป็นยาขมเจริญอาหาร ใช้เป็นส่วนผสมในยาถ่ายหลายขนาน ในอินเดียบางแห่งใช้แก้พิษแมลงป่อง เป็นยาที่ใช้ในตำรับยาอายุรเวทของอินเดีย พืชชนิดนี้มีปลูกอยู่ทั่วไป แต่มีความต้องการให้อนุรักษ์ไว้ในป่าตามธรรมชาติด้ว.

ดู แอสเทอริดและโกฐก้านพร้าว

โกฐหัวบัว

กฐหัวบัว ชื่อสามัญ Szechuan lovage, Selinum ภาษาจีนกลางเรียกซานซยง ภาษาจีนแต้จิ๋วเรียกชวงเกียง เป็นพืชพื้นเมืองในอินเดียและเนปาล รากสีเหลืองอมน้ำตาล ผิวหยาบ มีตะปุ่มตะป่ำจำนวนมาก ใช้เป็นยากระตุ้นการไหลเวียนของเลือดลำต้นใต้ดินใช้เป็นยากระตุ้นการไหลเวียนเลือด ขับลม ลักษณะของโกฐหัวบัว ต้นโกฐหัวบัว จัดเป็นพรรณไม้พุ่มหรือไม้ล้มลุกขนาดเล็ก มีอายุหลายปี มีความสูงได้ประมาณ 30-80 เซนติเมตร ลำต้นมีลักษณะตั้งตรง โคนต้นเป็นข้อ ๆ และมีรากฝอยงอกอยู่ที่ข้อ บริเวณช่วงบนจะแตกกิ่งก้านมาก มีกลิ่นหอม ขยายพันธุ์ด้วยการใช้ข้อของลำต้น ชอบอากาศร้อนชื้น ชอบดินหนาและลึก การระบายน้ำดี มีฤทธิ์เป็นกลางหรือกรดเล็กน้อย เจริญเติบโตได้ดีในที่ความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 500-1,500 เมตร มีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 15 องศาเซลเซียส สูงสุด 34 องศาเซลเซียส และต่ำสุด -5 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำฝน 1,200 มิลลิเมตร ความชื้นสัมพันธ์เฉลี่ย 80% มีอายุการเก็บเกี่ยวประมาณ 2 ปี พืชชนิดนี้มีถิ่นกำเนิดอยู่ในมนฑลเสฉวน กุ้ยโจว ยูนนาน หูเป่ยของประเทศจีน และได้มีการนำมาใช้ในเครื่องยาไทยที่เรียกว่า “พิกัดโกฐ“.

ดู แอสเทอริดและโกฐหัวบัว

โกฐจุฬาลัมพา

กฐจุฬาลัมพา หรือ โกฐจุฬาลัมพาจีน เป็นพืชชนิดหนึ่งในวงศ์ทานตะวัน ภาษาจีนกลางเรียกซิงฮวา ภาษาจีนแต้จิ๋วเรียกแชเฮา เป็นไม้ล้มลุกอายุปีเดียว ทั้งต้นมีกลิ่นแรง มีขนประปราย เมื่อแก่หลุดร่วงไป ใบมีต่อมน้ำมัน ดอกช่อ สีเหลืองหรือเหลืองเข้ม พบในทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป ทางเหนือของแอฟริกาและทวีปเอเชีย ตำรายาไทยใช้แก้หืด แก้ไอ ขับเหงื่อ ตำรายาจีนใช้แก้ไข้อันเนื่องจากวัณโรค มีสารอาร์ติมิซินิน (จีน: ชิงฮาวซู) ที่สามารถต้านเชื้อไข้จับสั่นได้ดี.

ดู แอสเทอริดและโกฐจุฬาลัมพา

โกฐจุฬาลัมพาไทย

กฐจุฬาลัมพาไทย มีชื่อสามัญภาษาอังกฤษว่าmugwort หรือ common wormwood เป็นพืชชนิดหนึ่งในสกุล Artemisia บางครั้งเรียกว่า felon herb, chrysanthemum weed, wild wormwood, old Uncle Henry, sailor's tobacco, naughty man, old man หรือ St.

ดู แอสเทอริดและโกฐจุฬาลัมพาไทย

โกฐขี้แมว

กฐขี้แมว อยู่ในวงศ์ Orobanchaceae ภาษาจีนกลางเรียกตี่หวาง ภาษาจีนแต้จิ๋วเรียกตี่อึ้ง เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี มีขนปกคลุมทั่วทั้งต้น รากเป็นหัวใต้ดินอวบหนา รูปกระสวย เมื่อสดเป็นสีส้ม ใบออกที่โคนต้นเป็นกระจุก ดอกช่อออกตามซอกใบหรือปลายยอด เป็นพืชถิ่นเดียวในประเทศจีน ปัจจุบันมีปลูกเป็นการค้าในจีน ญี่ปุ่น และเกาหลี เพื่อนำรากมาทำยา รากสดเรียกเซียนตี่หวาง ใช้แก้ไข้ที่ทำให้คอแดง กระหายน้ำ ไอเป็นเลือด รากแห้งเรียกกานตี่หวาง ใช้แก้ไข้ ไอเป็นเลือด เลือดออกจากมดลูก แก้ท้องผูก รากที่เคี่ยวกับเหล้าแล้วนำมาตากแห้งเรียกซู่ตี่หวาง หรือเสกตี่อึ้งในภาษาจีนแต้จิ๋ว ใช้แก้ปวดตะโพก ปวดเบา แก้ร้อนใน กระหายน้ำ แก้โลหิตจาง ประจำเดือนมากเกินไป สารออกฤทธิ์ส่วนใหญ่เป็นไกลโคไซต์ อิชิคอ.

ดู แอสเทอริดและโกฐขี้แมว

โกฐเขมา

กฐเขมา (ในวงศ์ Compositae) เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี มีขนคล้ายใยแมงมุมเล็กน้อยหรือไม่มี ใบเดี่ยว บางเหมือนกระดาษ ไม่มีขน ดอกช่อ สีขาว ผลแห้ง เมล็ดล่อน พบในจีน ญี่ปุ่น เกาหลี และรัสเซีย นิยมปลูกในจีน เหง้าของพืชนี้ตากแดดให้แห้ง เป็นก้อนมีปุ่มปม สีน้ำตาลอมเทา เนื้อในมีแต้มสีแสดของชันน้ำมันอยู่ประปราย เมื่อนำไปดองจะให้ยาดองสีเหลือง ใช้เป็นยาบำรุงให้เจริญอาหาร ตำรายาจีนใช้ผสมในตัวยาหลายขนาน โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับระบบย่อยอาหาร.

ดู แอสเทอริดและโกฐเขมา

โกงกางบก

กงกางบก ชื่ออื่นๆคือ ราไซ พังกาบก สันขวาน เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Sapotaceae เปลือกต้นสีเทาแดง ทรงพุ่มเป็นทรงกรวย ใบเป็นใบเดี่ยว ไม่ผลัดใบ ผิวใบเรียบเป็นมัน สีเขียว ก้านใบสีน้ำตาลอมแดง ดอกเป็นดอกช่อกระจุก ออกตามง่ามใบ ฐานรองดอกรูปถ้วย ดอกขนาดเล็ก ผลเป็นผลเดี่ยว กลมรี มีขั้วเล็กน้อย ผิวเรียบ สีเขียวเป็นมัน กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล มีเมล็ดเดียว พบในป่าชายเลน ในบริเวณติดต่อกับป่าชายหาด เนื้อไม้แข็ง ใช้ทำเครื่องใช้ เช่น ด้ามจอบ ด้ามขวาน และใช้ทำเครื่องเรือน ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประ ประเทศมาเลเซียนำใบมาบดใช้พอกรักษาอาการปวดศีรษ.

ดู แอสเทอริดและโกงกางบก

โกงกางหูช้าง

กงกางหูช้าง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ผลัดใบ ต้นแก่มีรอยแยกเป็นรอยตื้นๆ ตามความยาวของลำต้น เปลือกของกิ่งอ่อนล่อนออกได้ ใบเดี่ยว รูปใบเกือบกลม ใบเรียบ สีเขียวเข้ม ด้านหลังใบสีจางกว่า และมีขนเล็กน้อย ดอกช่อแบบกระจุก กลีบดอกสีขาวเชื่อมกันเป็นหลอด ผลเดี่ยว ทรงกลม ผลแห้ง เนื้อเป็นเส้นใยมีหลายเมล็ด ผลอ่อนสีเขียวมีจุดเข้มกระจายทั่วไป เป็นพืชทนเค็ม ใช้เป็นไม้ประดับได้.

ดู แอสเทอริดและโกงกางหูช้าง

โกงกางเขา

กงกางเขา Thunb.

ดู แอสเทอริดและโกงกางเขา

โมก

มก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Wrightia religiosa Benth.) เป็นดอกไม้ มีลักษณะดอกเป็นช่อสีขาว มี 3-5 กลีบ ใบมีขนาดเล็ก ใบเดี่ยว เนื้อใบบางรูปรี หรือรูปหอกกว้าง 0.8-2.0 ทำการขยายพันธุ์โดยการปักชำ หรือ เพาะเมล็ด โมกยังมีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกดังนี้ ปิดจงวา (เขมร สุรินทร์) โมกซ้อน (กลาง) โมกบ้าน (กลาง) และ หลักป่า (ระยอง)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู แอสเทอริดและโมก

โมกมัน

มกมัน เป็นพืชในวงศ์ตีนเป็ด (Apocynaceae) กระจายพันธุ์ในอินเดีย ตอนใต้ของจีน ไปจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ลักษณะเป็นไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 20 เมตร ใบรูปรียาว 3-18 เซนติเมตร ก้านใบยาว 2-7 มิลลิเมตร ช่อดอกยาว 2-7 เซนติเมตร ก้านดอกยาว 0.5-1 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 1-3 มิลลิเมตร ดอกสีขาวอมเขียว เหลืองอ่อนหรือสีชมพู หลอดกลีบดอกยาว 3-7 มิลลิเมตร กลีบรูปขอบขนานยาว 0.8-1.5 เซนติเมตร โคนเรียว มีกะบัง 2 ชั้นแผ่กว้าง ด้านนอกมีขนกระจาย กะบังหน้ากลีบดอกแนบติดกลีบดอกประมาณกึ่งหนึ่ง จักเป็นคลื่น กะบังระหว่างกลีบดอกรูปตัววี สั้นกว่ากะบังหน้ากลีบดอกเล็กน้อย เกสรเพศผู้ติดบนคอหลอดกลีบดอก อับเรณูยาว 5-6 มิลลิเมตร รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียรวมยอดเกสรยาว 6-8 มิลลิเมตร ผลรูปกระสวยติดกัน แห้งแยกกัน ยาว 10-34 เซนติเมตร มีช่องอากาศ เมล็ดยาว 1.5-1.7 เซนติเมตร กระจุกขนยาว 5-6 เซนติเมตร โมกมันนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ เปลือกต้นและรากใช้แก้พิษสัตว์กัดต่อยและโรคไต นอกจากนี้ยังใช้ย้อมสีได้ เนื้อไม้ใช้ทำของใช้.

ดู แอสเทอริดและโมกมัน

โมกราชินี

มกราชินี เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Apocynaceae ดอกเป็นดอกช่อ มีดอกย่อย 2-6 ดอก ออกดอกช่วงเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ พบครั้งแรกที่เขาหินปูนในอำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี โดย D.J.

ดู แอสเทอริดและโมกราชินี

โมกสยาม

มกสยาม เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Apocynaceae ใบเดี่ยว รูปรี ผิวใบมีขนนุ่ม ดอกเป็นดอกช่อ ออกที่ปลายยอด ดอกสีชมพูหรือชมพูอมส้ม กลิ่นหอมอมเปรี้ยว ผลเป็นฝักคู่ ทรงกระบอก ออกดอกช่วงมกราคม – มีนาคม เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย พบครั้งแรกเมื่อ 22 เมษายน..

ดู แอสเทอริดและโมกสยาม

โมกหลวง

มกหลวง หรือ มูกหลวง, โมกใหญ่ (ภาคกลาง) เป็นพืชในวงศ์ตีนเป็ด (Apocynaceae) เป็นไม้ประดับและพืชสมุนไพร.

ดู แอสเทอริดและโมกหลวง

โมกแดง

มกแดง หรือจำปูนแดง(Sims) Spreng.โมกแดงเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง 2-4 เมตร ลำต้นมีรอยขีดสีขาวตามยาว แตกกิ่งน้อย ทรงพุ่มโปร่ง ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี กว้าง 5-8 เซนติเมตร ยาว 8-12 เซนติเมตร ปลายใบแหลม ดอกเป็นดอกเดี่ยว บางครั้งออกเป็นกระจุก กระจุกละ 1-4 ดอก ดอกทรงระฆังคว่ำ ห้อยลง กลีบดอกมี 5 กลีบ ปลายกลีบแหลม ด้านหน้ากลีบดอกมีสีส้มแดงอมชมพู ด้านหลังมีสีขาวนวล เมื่อดอกบานมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 เซนติเมตร มีกลิ่นหอม ดอกบานวันเดียวแล้วร่วง ออกดอกตลอดปี โมกแดงชอบอยู่ในที่ที่แสงแดดรำไร มีความชื้นในดินและในอากาศค่อนข้างสูง ดินที่ปลูกควรเป็นดินร่วนซุยระบายน้ำดี ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด ตอนกิ่ง แยกหน่อที่แตกจากรากใต้ดิน ปลูกเป็นไม้ประดับ ดอกสวยงาม มีกลิ่นหอม ผลใช้ปรุงเป็นยาขับระบบไหลเวียนโลหิต ยอดใช้เป็นผักสด นำมาใส่แกงได้.

ดู แอสเทอริดและโมกแดง

โมกเหลือง

มกเหลือง เป็นพืชในวงศ์ Apocynaceae เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก เปลือกลำต้นและกิ่งมีเลนติเซลเป็นรอยขีดนูน สีขาว ใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม แผ่นใบด้านบนเรียบ ด้านล่างมีขนเล็กน้อย ดอกช่อออกที่ปลายยอด สีเขียวอ่อนหรือเขียวอมเหลือง ติดผลเป็นฝักคู่ แห้งแตก เมล็ดมีปุย ปลิวตามลม ดอกบานช่วงมิถุนายน – ตุลาคม พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อ 25 มิถุนายน..

ดู แอสเทอริดและโมกเหลือง

โมกเหลืองใบบาง

มกเหลืองใบบาง Pitard เป็นพืชในวงศ์ Apocynaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก มีขนละเอียดตามกิ่งอ่อน ก้านใบ แผ่นใบทั้งสองด้าน กิ่งที่แกจะไม่มีขน ดอกช่อ ขอบกลีบเลี้ยงมีขนเป็นชายครุย ดอกบานสีขาวนวลหรือขาวอมเหลือง กลีบดอกมีขน เกสรตัวผู้ติดบนกลีบดอกส่วนที่เชื่อมกันเป็นหลอด พืชชนิดนี้พบมากในกัมพูชา ในไทยมีรายงานว่าพบที่นครสวรรค์ จันทบุรีและพัทลุง.

ดู แอสเทอริดและโมกเหลืองใบบาง

โมกเครือ

มกเครือ หรือ เครือไส้ตัน ย่านไส้บิก เดือเครือ เป็นไม้เลื้อยมีเนื้อไม้ในวงศ์ Apocynaceae ลำต้นเรียบ เปลือกสีน้ำตาลเข้ม มียางสีขาว ใบเดี่ยว ก้านใบสีเขียวอมเหลือง แผ่นใบสีเขียวเป็นมัน ดอกช่อ กลีบดอกเป็นหลอดสีขาว ผลรวมมีผลย่อย 2 ผล เป็นฝักยาว สีเขียวเรียบเป็นมัน แก่แล้วเป็นสีดำ แตกตามความยาวของฝัก เมล็ดแบน มีครีบสีขาวปลิวไปตามลมได้ โมกเครื่อเป็นพืชสมุนไพร ต้นใช้รักษาโรคประดง แก้พิษฝีภายใน รากใช้บำรุงกำลัง แก้ไตพิการ ตับพิการ ขับระดู ใบเป็นส่วนผสมในยารักษาฝีและริดสีดวงทวาร.

ดู แอสเทอริดและโมกเครือ

โสมอเมริกัน

มอเมริกัน เป็นพืชพื้นเมืองในทวีปอเมริกาเหนือปลูกในแคนาดา ภาคเหนือของสหรัฐอเมริกา และในจีน ภาษาจีนกลางเรียกซีหยางเซิน ภาษาจีนแต้จิ๋วเรียกไซเอี่ยเซียม รากเปลือกนอกสีเหลือง เนื้อในสีเหลืองอ่อน ใช้เป็นยาบำรุงหัวใจและบำรุงเลือ.

ดู แอสเทอริดและโสมอเมริกัน

โสมา

มา เป็นพืชในวงศ์ตีนเป็ด เป็นไม้เถาเลื้อย ไม่มีใบ กิ่งก้านเป็นทรงกระบอก ดอกเป็นดอกช่อแบบซี่ร่ม สีเทาอมเขียว ผลมี 2 ครีบ เมล็ดมีกระจุกขน มีสารที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ทำให้มึนเม.

ดู แอสเทอริดและโสมา

โสมเวียดนาม

มเวียดนาม เป็นพืชในวงศ์ Araliaceae และอยู่ในสกุลเดียวกับโสมเกาหลี สารสำคัญในโสมเวียดนาม ได้แก่ ซาโปนินไตรเทอร์พีนอยด์และมีโอโคทิลโลลปริมาณสูง ซึ่งสารนี้ไม่พบในโสมชนิดอื่นๆ นอกจากนั้นยังมีพานาไซนอลและเฮปตาดีกาซึ่งเป็นสารมีฤทธิ์เป็นยาปฏิชีวนะและต้านอนุมูลอิสระ โสมเวียดนามมีความใกล้เคียงทางพันธุกรรมกับ Panax japonicus var.

ดู แอสเทอริดและโสมเวียดนาม

โทงเทง

ทงเทง หรือ พุ้งพิ้ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Physalis minima Linn.) เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae มีชื่อเรียกแตกต่างกันในแต่ละท้องที่ เช่น เชียงใหม่ เรียก ต้อมต๊อก หรือ บาตอมต๊อก ปัตตานี เรียก ปุงปิง หนองคาย เรียก ปิงเป้ง เป็นไม้ล้มลุกฤดูเดียว สูง 30 - 40 เซนติเมตร ใบนุ่มและเรียบ ดอกสีเหลือง ผลสีเหลืองมีลักษณะคล้ายผลมะเขือเทศ มีกลีบเลี้ยงหุ้มรูปร่างเหมือนโคมไฟ ชอบดินทรายและที่แห้ง ขยายพันธุ์ด้วยเมล็.

ดู แอสเทอริดและโทงเทง

โทงเทงฝรั่ง

''Physalis peruviana'' โทงเทงฝรั่ง หรือ ระฆังทองhttp://www.ku.ac.th/e-magazine/jan52/agri/agri4.htm (cape gooseberry) เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับมะเขือ มะเขือเทศ มะเขือยาว และมันฝรั่ง (ไม่เกี่ยวข้องกับกูสเบอร์รี) ลักษณะเป็นไม้ล้มลุกกิ่งสีม่วง มีลักษณะเป็นครีบ มีขนปกคลุมหนาแน่น ดอกเดี่ยวออกตามซอกใบ ดอกห้อยลง ก้านผลยาวกว่าก้านดอก ผลสดแบบเบอร์รี มีหลายเมล็ด รูปผลกลม สีเหลืองส้ม ผิวเกลี้ยง มีกลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล เนื้อผลฉ่ำน้ำ มีเมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก มีถิ่นกำเนิดจากพื้นที่สูงเขตร้อนในประเทศโคลอมเบีย เอกวาดอร์ เปรู และชิลี รวมทั้งในบราซิล เป็นพืชพื้นเมืองในบริเวณเปรูและชิลี ผลรับประทานสดหรือผสมในสลัดผลไม้ มีรสเปรี้ยวอมหวาน ผลที่ต้มแล้วใส่พายหรือพุดดิง แปรรูปเป็นแยมหรือเยลลี่ ในเม็กซิโกใช้กลีบเลี้ยงต้มรับประทานเป็นยาสมุนไพรรักษาโรคเบาหวาน ผลดิบเป็นพิษ ผลสุกรสหวานอมเปรี้ยว มีเพกตินมาก.

ดู แอสเทอริดและโทงเทงฝรั่ง

โด่ไม่รู้ล้ม

ม่รู้ล้ม ชื่ออื่น ชื่อ เช่น หนาดมีแคลน, หนาดผา, ตะชีโกวะ, หนาดผา,ขี้ไฟนกคุ่ม คิงไฟนกคุ่ม เคยโบ้ หญ้าไก่นกคุ่ม หญ้าปลาบ หญ้าไฟนกคุ่ม หญ้าสามสิบสองหาบ ลักษณะเป็นไม้เนื้ออ่อน ต้นแข็ง ตั้งตรง รากที่มีอายุมากจะมีลัษณะคล้ายเหง้า รากแขนงกลมยาว ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับที่โคนใกล้ผิวดิน ขอบใบหยัก มีขนปกคลุมทั้งสองด้าน ใบมีขนสีขาวตรงละเอียด ตรง ห่าง สาก ทอดขนานกับผิวใบ ทั้งสองด้าน ท้องใบมีขนมากกว่าหลังใบ ใบรูปหอกกลับ หรือรูปไข่แกมใบหอกกลับ ส่วนที่ค่อนไปทางปลายใบ ผายกว้าง แล้วสอบแหลมทู่ๆ ส่วนโคนใบสอบแคบจนถึงก้านใบ ขอบใบหยักมน หรือจักฟันเลื่อยห่างๆ เนื้อใบหนาสาก ดอกช่อ แบบช่อกระจุกแน่น ก้านช่อดอกยาว ดอกสีม่วงหรือขาว การขยายพันธุ์ เพาะเมล็.

ดู แอสเทอริดและโด่ไม่รู้ล้ม

โต๋วต๋ง

ต๋วต่ง หรือในภาษาจีนกลางเรียก ตู้จ้ง (dùzhòng) เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กที่เป็นไม้พื้นเมืองของจีน และเป็นสมาชิกเพียงชนิดเดียวของวงศ์ Eucommiaceae ในธรรมชาติหาได้ยากแต่มีการปลูกทั่วไปในจีน เนื่องจากเปลือกไม้มีฤทธิ์เป็นยา และใช้ในตำรับยาจีน เปลือกไม้นั้นภายนอกเป็นสีน้ำตาลอ่อน ผิวหยาบ ด้านในเรียบสีม่วงเข้ม มียางขาว เปลือกไม้ใช้เป็นยาบำรุงตับไต.

ดู แอสเทอริดและโต๋วต๋ง

ไฟเดือนห้า

ฟเดือนห้า เป็นพืชในวงศ์ Apocynaceae เป็นไม้ล้มลุก ใบเดี่ยว สีเขียวสด ดอกช่อ สีแดงอมส้ม กลีบดอกพับงอ ก้านช่อดอกมีขนสั้นนุ่มปกคลุม ผลรูปกระสวยยาว แห้งแตก เมล็ดรูปไข่ ยาว ถ้ารับประทานจะส่งผลต่อกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้เป็นอัมพาตและเสียชีวิตได้.

ดู แอสเทอริดและไฟเดือนห้า

ไลลัก

ลลัก (Lilac) หรือ ซิริงกา (Syringa) เป็นพืชดอกที่อยู่ในสกุลSyringaในวงศ์มะลิที่มีด้วยกันทั้งหมดราว 20 ถึง 25 สปีชีส์ เป็นพืชยืนต้นที่มีถิ่นฐานอยู่ในยุโรปและเอเชียFlora Europaea: Flora of China: Flora of Pakistan: Germplasm Resources Information Network: ไลลักเป็นพืชผลัดใบแบบพืชพุ่มหรือพืชต้นขนาดเล็กที่สูงตั้งแต่ราว 2 ถึง 10 เมตร และมีลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 20 ถึง 30 เซนติเมตร ออกดอกในฤดูใบไม้ผลิต้นฤดูร้อนแล้วแต่สายพันธุ์ แต่ละดอกมีเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 5 ถึง 10 เซนติเมตร สีม่วงต่าง ๆ ชมพู ขาว นวล และบางครั้งแดงเข้ม.

ดู แอสเทอริดและไลลัก

ไส้กรอกแอฟริกา

้กรอกแอฟริกา เป็นพืชเพียงชนิดเดียวในสกุล Kigelia ในวงศ์ Bignoniaceae พบในเขตร้อนของแอฟริกาตั้งแต่เอริเทรียและชาด ไปจนถึงทางเหนือของแอฟริกาใต้ เซเนกัล และนามิเบี.

ดู แอสเทอริดและไส้กรอกแอฟริกา

ไฮเดรนเจีย

รนเจีย (hydrangea) เป็นสกุลของพืชมีดอก 70-75 ชนิดที่เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออก (จีน ญี่ปุ่น คาบสมุทรเกาหลี เทือกเขาหิมาลัย อินโดนีเซีย) อเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้ ความหลากหลายส่วนใหญ่อยู่ในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะจีน ญี่ปุ่น คาบสมุทรเกาหลี.

ดู แอสเทอริดและไฮเดรนเจีย

ไข่เน่า (พืช)

น่า หรือ ฝรั่งโคก หรือ ขี้เห็น หรือ คมขวาน เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบชนิดหนึ่ง ขนาดใหญ่ เจริญเติบโตดีในพื้นที่แห้งแล้ง นิยมปลูกเป็นไม้ร่มเงาเพราะไม่ผลัดใบ เริ่มให้ผลผลิตเมื่ออายุ 3-4 ปีหลังปลูก ช่วงพักต้นหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตต้องการความแล้ง ช่วงออกดอกติดผลต้องการน้ำสม่ำเสมอ ดอกติดผลปีละรุ่น ดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศผสมตัวเองหรือต่างต้นต่างดอกได้ ออกดอกช่วงเดือน ม..- ก..

ดู แอสเทอริดและไข่เน่า (พืช)

เบญจมาศน้ำเค็ม

ญจมาศน้ำเค็ม เป็นพืชในวงศ์ Asteraceae เป็นไม้เลื้อยเนื้ออ่อน ลำต้นมีขนสั้น ค่อนข้างแข็ง ลำต้นสีเขียวอมน้ำตาล ใบเดี่ยว ขอบใบหยักคล้ายฟันเลื่อย ดอกช่อ ผลเดี่ยว ขนาดเล็ก เป็นแท่งยาวแห้ง สีน้ำตาล ใช้เป็นไม้ประดับ พบได้ทั่วไปตามป่าชายเลนที่ชื้นแฉะเสมอ.

ดู แอสเทอริดและเบญจมาศน้ำเค็ม

เชอร์วิล

อร์วิล (chervil) เป็นพืชสมุนไพรไม้ล้มลุก ใช้สำหรับปรุงอาหารรสไม่รุนแรงนัก.

ดู แอสเทอริดและเชอร์วิล

เพกา

กา (ชื่อสามัญ: Broken Bone tree,Damocles tree,Indian Trumpet Flower; ชื่อวิทยาศาสตร์: Oroxylum indicum (L) Kurz) เป็นพืชในวงศ์แคหางค่าง มีชื่อท้องถิ่นอื่นๆดังนี้: ดอก๊ะ ด๊อกก๊ะ ดุแก (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) เบโด (มาเลเซีย-นราธิวาส) มะลิดไม้ มะลิ้นไม้ (เหนือ) ลิ้นฟ้า หมากลิ้นฟ้า บ่าลิ้นไม้ (เลย) เพกาเป็นต้นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมในอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งประเทศไทย โดยพบขึ้นอยู่ตามธรรมชาติในป่าเบญจพรรณและป่าชื้นทั่วๆไป แม้เพกาจะขึ้นอยู่ในหลายประเทศ แต่ดูเหมือนจะมีแต่ชาวไทยเท่านั้นที่นำเพกามากินเป็นผัก เพกาเป็นผักที่อยู่ในหมวดดอกฝัก.

ดู แอสเทอริดและเพกา

เกล็ดมังกร

กล็ดมังกร อยู่ในวงศ์ Asclepiadaceae เป็นไม้เลื้อย เกาะอาศัย ยางขาว ใบเดี่ยวเป็นวงรี ดอกช่อออกตามซอกใบ สีขาวอมเหลือง ใช้เป็นไม้ประดับ ไฟล์:Dischidia nummularia.jpg ไฟล์:Myrmecodia beccarii with Dischidia nummularia crop.jpg ไฟล์:Myrmecodia beccarii with Dischidia nummularia.jpg.

ดู แอสเทอริดและเกล็ดมังกร

เล็บครุฑ (พรรณไม้)

ำหรับความหมายอื่น ดูที่: เล็บครุฑ เล็บครุฑ (Polyscias) เป็นสกุลของพรรณไม้ยืนต้น ในสกุล Polyscias มีทั้งหมด 114 ชนิดGovaerts, R. & al.

ดู แอสเทอริดและเล็บครุฑ (พรรณไม้)

เล็บครุฑไซ่ง่อน

ล็บครุฑไซ่ง่อน เป็นพืชในวงศ์ Araliaceae ในไทยใช้เป็นไม้ประดับ ใบอ่อนชุบแป้งทอดรับประทาน ชาวจีนและชาวเวียดนามใช้เป็นสมุนไพร รากเล็บครุฑใช้บรรเทาอาการเครียด อ่อนเพลีย ไอ ในใบและรากมีสารซาโปนิน โอลีน และพานาไซนอลซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสร.

ดู แอสเทอริดและเล็บครุฑไซ่ง่อน

เสลดพังพอน

ลดพังพอนตัวผู้ หรือ ชองระอา ชื่ออื่น พิมเสนต้น (ภาคกลาง) ทองระอา ช้องระอา ลิ้นงูเห่า คันชั่ง (ตาก) อังกาบ อังกาบเมือง (ไทย) ก้านชั่ง (พายัพ) เป็นไม้พุ่ม สีเขียวน้ำตาล สูงเต็มที่ประมาณ 2 เมตร ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกันเป็นคู่ๆ ใบมีลักษณะเรียงแคบ ผิวใบเกลี้ยง เส้นกลางใบมีสีแดง โคนก้านใบมีหนามสีม่วง ดอกช่อสีส้มเหลือง มีกลีบดอก 5 กลีบ เสลดพังพอน เป็นพืชสมุนไพร ใบใช้พอกฝี แก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย แก้ช้ำบวม ทั้งต้นใช้แก้ปวดฟัน น้ำคั้นจากใบใช้แก้อาการปวดจากเงี่ยงปลาแทง แก้ปวดฟัน เหงือกบวม ริดสีดวงทวาร ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย ใช้ใบสดกำจัดหู.

ดู แอสเทอริดและเสลดพังพอน

เสี้ยวต้น

ี้ยวต้น เป็นไม้เลื้อยในวงศ์มะลิ ใบประกอบสามใบ ดอกช่อ มีดอกย่อยตั้งแต่ 12 ดอกขึ้นไป กลีบดอกเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5–6 กลีบ หอมแรง ออกดอกเดือนธันวาคม–กุมภาพันธ์ เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกโดยหมอคาร์ เมื่อ 5 กุมภาพัน..

ดู แอสเทอริดและเสี้ยวต้น

เสี้ยน

ี้ยน ดงเสี้ยน หรือมะเขือเผาะ เป็นพืชในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เปลือกแตกเป็นร่อง หูใบรูปสามเหลี่ยม ดอกขนาดเล็กออกเป็นช่อกระจุกสั้นตามซอกใบ สีเขียวอ่อน ผลมีเนื่อหลายเมล็ดสีม่วงดำ พบตั้งแต่อินเดีย เทือกเขาหิมาลัย อินโดจีน ไทย ไปจนถึงบอร์เนียว ชาวกูบูใน เกาะสุมาตรานำไปพืชชนิดนี้ไปย่างไฟต้มน้ำดื่มแทนกาแฟ และเรียกเครื่องดื่มนี้ว่าโกปีกูบูหรือกาแฟกูบู.

ดู แอสเทอริดและเสี้ยน

เหยื่อเลียงผา

หยื่อเลียงผา หรือ เหยื่อจง หรือ เทียนหมอคาร์ เป็นพืชในสกุลเทียนดอก วงศ์ Balsaminaceae เป็นไม้ล้มลุก ต้นอวบน้ำ ใบเดี่ยว ออกเรียงเวียนใกล้ปลายยอด ดอกช่อมี 1-3 ดอก ผลรูปกระสวย เปลือกบาง แก่แล้วแตกและดีดเมล็ดกระเด็นไปไกล ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม – ธันวาคม พบมากในเขาหินปูนทางภาคเหนือ พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อ 3 พฤศจิกายน..

ดู แอสเทอริดและเหยื่อเลียงผา

เหลืองสยาม

หลืองสยาม Hemsl.

ดู แอสเทอริดและเหลืองสยาม

เหลืองคีรีบูน

หลืองคีรีบูน (Nees; อังกฤษ: Lollypops)เป็นพืชในเขตกึ่งร้อน มีสีเขียวตลอดปี ดอกช่อสีเหลือง ออกดอกในช่วงอากาศอบอุ่น เป็นไม้ประดับที่นิยมใช้ในการจัดสวน.

ดู แอสเทอริดและเหลืองคีรีบูน

เหลืองปรีดียาธร

หลืองปรีดียาธร (Silver trumpet tree, Tree of gold,Paraguayan silver trumpet tree) ไม้ยืนต้นชนิดหนึ่ง จำพวกตาเบบูยา มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลางและหมู่เกาะอินดีสตะวันตก.

ดู แอสเทอริดและเหลืองปรีดียาธร

เหลี่ยงเคี้ยว

หมวดหมู่:สมุนไพรจีน.

ดู แอสเทอริดและเหลี่ยงเคี้ยว

เหงือกปลาหมอ

หงือกปลาหมอ (Sea holly; ชื่อวิทยาศาสตร์ Acanthus ebracteatus; ชื่อท้องถิ่น: แก้มหมอ, แก้มหมอเล, จะเกร็ง, นางเกร็ง, อีเกร็ง, เหงือกปลาหมอน้ำเงิน) เป็นพรรณไม้ที่มีชื่อเสียงในจังหวัดสมุทรปราการ ขึ้นอยู่บริเวณชายฝั่งแม่น้ำลำคลอง อยู่บริเวณริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออกเหนือปากคลองมหาวงษ์และโรงเรียนนายเรือ ประโยชน์ของเหงือกปลาหมอนั้น เป็นสมุนไพรใกล้ตัวหรืออาจจะเรียกว่าสมุนไพรชายน้ำ/สมุนไพรชายเลนก็ได้ ช่วยรักษาโรคได้มากมายหลายชน.

ดู แอสเทอริดและเหงือกปลาหมอ

เหง้าน้ำทิพย์

หง้าน้ำทิพย์หรือยางขน เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Ericaceae เป็นไม้ที่มักเกาะตามก้อนหิน แตกกิ่งจำนวนมาก มีรากสะสมอาหารเป็นก้อนใหญ่ ใบเดี่ยว เรียงสลับ เนื้อใบหนา ผิวใบด้านบนเรียบ ด้านล่างมีขนอ่อนสีขาวปกคลุม ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบ โคนกลีบดอกรูประฆัง สีขาวอมชมพูอ่อน เป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบเลี้ยงติดอยู่ที่ผลจนผลแก่ ออกดอกช่วงธันวาคม – พฤษภาคม พบครั้งแรกโดยหมอคาร์ ชาวไอริชเมื่อ 12 ธันวาคม..

ดู แอสเทอริดและเหง้าน้ำทิพย์

เอียะบ้อเช่า

อียะบ้อเช่าในภาษาจีนแต้จิ๋วหรืออี้หมู่เฉ่าในภาษาจีนกลาง (yìmǔcǎo) อยู่ในวงศ์ Lamiaceae เป็นพืชท้องถิ่นในเอเชีย ตั้งแต่เกาหลี ญี่ปุ่น จีน จนถึง กัมพูชา ลำต้นมีขนสั้นๆปกคลุมใช้เป็นยาขับปัสสาวะ ขับสารพิษ ลดอาการบวม ทั้งต้นใช้เป็นยากระตุ้นการไหลเวียนเลือดและขับปัสสาวะ ไฟล์:Leonurus japonicus 01.JPG|brush ไฟล์:Leonurus japonicus 03.JPG|ดอก ไฟล์:Leonurus japonicus Blanco2.259.png|ต้น.

ดู แอสเทอริดและเอียะบ้อเช่า

เอี้ยงเซียม

อี้ยงเซียมในภาษาจีนแต้จิ๋วหรือเสวียนเซินในภาษาจีนกลาง อยู่ในวงศ์ Scrophulariaceae เป็นพืชที่ใช้เป็นยาสมุนไพรในแพทย์แผนจีน รากแห้งด้านนอกเป็นสีเทาเหลือง ข้างในเป็นสีน้ำตาลดำ กลิ่นคล้ายน้ำตาลไหม้ใช้ทำยาแก้อักเสบ ขับร้อนรากใช้เป็นยาระบายความร้อน ขจัดสารพิษ.

ดู แอสเทอริดและเอี้ยงเซียม

เฮมล็อก

มล็อก (Hemlock; เป็นพืชในวงศ์ Apiaceae ต้นสูงได้ถึง 2.5 เมตร ส่วนโคนของกิ่งก้านมักมีจุดสีแดง ใบประกอบแบบขนนก ดอกสีขาว พบในยุโรปตอนกลางจนถึงฟินแลนด์ เทือกเขาอัลไต และแอฟริกาเหนือ น้ำยางมีกลิ่นเหม็นคล้ายปัสสาวะหนู มีสารอัลคาลอยด์ที่เป็นพิษต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้ระบบการหายใจล้มเหลว ยาพิษจากพืชชนิดนี้เป็นยาพิษที่โสกราตีสดื่ม หลังจากถูกศาลพิพากษาให้ประหารชีวิต.

ดู แอสเทอริดและเฮมล็อก

เฮียเฮียะ

ียเฮียะ (艾葉, จีนแต้จิ๋ว: hian7 hiêh8) หรือ เหี่ยเฉียะ ในภาษาจีนแต้จิ๋ว ภาษาจีนกลางเรียกไอ้เยี่ยหรือไอ้เย่ (艾葉, พินอิน: ài-yè อ้ายเย่) ภาษามลายูเรียกอูลัมมักวัน เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปีและเป็นพืชท้องถิ่นในจีน ญี่ปุ่น และไซบีเรีย ใบสีเทาเขียว มีขนนิ่มๆอยู่ประปราย ด้านล่างสีเทาขาว มีขนจำนวนมาก ใช้เป็นยาสมุนไพร รักษาตับ ม้าม และ ไตใบใช้เป็นยาแก้ไอขับเสมหะใช้เป็นยาห้ามเลือด บรรเทาปวด ชาวโอรังอัซลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซียใช้ใบสดเคี้ยวแก้ไอ.

ดู แอสเทอริดและเฮียเฮียะ

เฮนเบน

นเบน เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae พบตามที่รกร้างในยุโรป ลำต้นหยาบเหนียว มีขน ดอกสีเหลือง มีเส้นสีม่วง ผลเป็นแคบซูลมีกลีบเลี้ยงคล้ายกระดาษหุ้ม มีฤทธิ์หลอนประสาท ทำให้เซื่องซึม.

ดู แอสเทอริดและเฮนเบน

เถาวัลย์ด้วน

วัลย์ด้วน เป็นพืชในวงศ์ Asclepiadaceae เป็นไม้เลื้อย น้ำยางขาว ไม่มีใบ ดอกสีเหลือง กลิ่นหอม ลำต้นใช้เป็นยาขับน้ำเหลือง.

ดู แอสเทอริดและเถาวัลย์ด้วน

เถาวัลย์แดง

วัลย์แดงในอินเดีย ดอก เถาวัลย์แดง อยู่ในวงศ์ Apocynaceae เป็นไม้เลื้อย กิ่งอ่อนมีขนเล็กน้อย กิ่งแก่เกลี้ยง ดอกช่อ ดอกสีขาวหรืออมเหลือง มีกลิ่นหอม ฝักเป็นแท่งกลม พบในอินเดีย เนปาล ในไทยพบในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง.

ดู แอสเทอริดและเถาวัลย์แดง

เทียนพระบาท

ทียนพระบาท อยู่ในวงศ์ Balsaminaceae เป็นไม้ล้มลุก ใบเดี่ยว ดอกสีม่วง เป็นพืชเฉพาะถิ่น พบที่เขาหินปูนในจังหวัดสระบุรี.

ดู แอสเทอริดและเทียนพระบาท

เทียนภูหลวง

ทียนภูหลวง เป็นพืชในสกุลเทียนดอก วงศ์ Balsaminaceae เป็นไม้ล้มลุกขึ้นตามหินผา ใบหนา ขอบใบจัก ดอกเดี่ยว สีชมพู กลีบบนหยักเว้ารูปหัวใจ สองกลีบล่างแผ่กว้างมากที่สุด ผลรูปกระสวย แก่แล้วแตก ออกดอกช่วงตุลาคม – ธันวาคม เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะที่จังหวัดเลย พบครั้งแรกที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง จังหวัดเลย โดย T.

ดู แอสเทอริดและเทียนภูหลวง

เทียนสัตตบุษย์

ทียนสัตตบุษย์ (anise, aniseed, ชื่อวิทยาศาสตร์: Pimpinella anisum) เป็นพืชล้มลุกปีเดียวในวงศ์ผักชี (Apiaceae) ความสูง 30-75 ซม.

ดู แอสเทอริดและเทียนสัตตบุษย์

เทียนหยด

ทียนหยด (ชื่อวิทยาศาสตร์: Duranta repens L.; Duranta erecta L.; ชื่อสามัญ: Sky flower; Golden dew drop; Pigeon berry; Duranta; ชื่อวงศ์: VERBENACEAE) มีชื่อพื้นเมืองหลายชื่อ ได้แก่ เครือ (แพร่); พวงม่วง; ฟองสมุทร; เทียนไข (กรุงเทพฯ); สาวบ่อลด (เชียงใหม่)เป็นไม้พุ่มใบเป็นใบเดี่ยวรูปมนรีเรียว สอบไปทางปลาย ขอบใบเป็นหยักห่างๆออกดอกเป็นช่อห้อยตามปลายยอด ดอกมีสีม่วงมีกลีบดอก 5 กลีบ สามารถติดผลเป็นเม็ดกลมขนาดเล็กสีเหลืองคล้ายหยดเทียน ใช้ในการปลูกประดับทั่วไป เทียนหยดเป็นพืชที่มีพิษ โดย ผลสีส้มของเทียนหยด เป็นสารประกอบโปรตีนที่มีพิษ ไม่ควรรับประทาน หากรับประทานเข้าไปแล้วเคี้ยว อาจจะทำให้เสียชีวิตได้ (แต่ถ้าหากรับประทานเข้าไปแล้วไม่เคี้ยว จะไม่ก่อให้เกิดอันตราย) ภาพ:thianyot-thai.jpg|เทียนหยดไทย ภาพ:thianyot.jpg|เทียนหยดญี่ปุ่น.

ดู แอสเทอริดและเทียนหยด

เทียนผ้าห่มปก

ทียนผ้าห่มปก เป็นพืชในสกุลเทียนดอก วงศ์ Balsaminaceae เป็นไม้ล้มลุก ลำต้นโค้งงอ ทุกส่วนมีขนอ่อนปกคลุม ใบเดี่ยว ขอบใบจักซี่ละเอียด ดอกเดี่ยวออกตามซอกใบ ออกดอกช่วงตุลาคม – พฤศจิกายน พบครั้งแรกที่อุทยานแห่งชาติดอยผ้าห่มปก จังหวัดเชียงใหม่ โดย ดร.

ดู แอสเทอริดและเทียนผ้าห่มปก

เทียนดอก

ทียนดอก หรือเทียนบ้าน เทียนสวน อยู่ในวงศ์ Balsaminaceae เป็นไม้ล้มลุก ลำต้นสีเขียวอ่อน อุ้มน้ำ ใบเดี่ยว ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย ก้านใบสั้น มีตุ่มเรียงเป็นแถวยาวทั้งสองด้าน ดอกมีหลายสี ผลรูปไข่ แก่แล้วแตกตามแนวยาว ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก สีน้ำตาล ชาวจีนใช้ใบสดตำพอกแก้ปวดตามข้อนิ้วหรือเล็บขบ ใช้ถอนพิษ ปวดแสบปวดร้อน ในอินเดียใช้แก้ปวดข้อ ขับลม รักษาแผลติดเชื้อ ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ในใบมีสารเมทิลลอว์โซน.

ดู แอสเทอริดและเทียนดอก

เทียนตากบ

ทียนตากบ (accessdateBenefits of Carawy Seeds: Caraway: Persian cumin;Plant Name: Meridian Fennel) เป็นพืชในวงศ์ ApiaceaeUSDA Plants เป็นไม้ล้มลุกอายุสองปี ปีแรกแตกใบเป็นกลุ่ม ปีที่สองลำต้นเรียว ใบบนต้นมีก้านใบพองออกเป็นกาบใหญ่สีน้ำตาล ดอกช่อแบบซี่ร่ม ดอกย่อยมีกลีบดอกรูปไข่ สีขาว ผลแห้งสีน้ำตาล ปลูกมากในทวีปยุโรป มีน้ำมันระเหยง่าย ใช้เป็นยาขับลม แก้กระเพาะอาหารพิการ ผลเทียนตากบ คาร์โวน สารหลักในเทียนตากบ ขนมปังโรยเทียนตากบและเกลือ.

ดู แอสเทอริดและเทียนตากบ

เทียนนกแก้ว

ทียนนกแก้ว (parrot flower) อยู่ในวงศ์ Balsaminaceae อันดับ Ericales เป็นดอกไม้ที่แปลกตามาก เป็นพรรณไม้เฉพาะถิ่นของไทย หาไม่ได้จากที่ใด ๆ ในโลก จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับวงศ์เทียน มีรูปทรงของดอกที่สวยงามเหมือนนกแก้วที่โดนแมวกัดไปครึ่งตัว เราเรียกชื่อตามลักษณะรูปทรงว่า ดอกเทียนนกแก้ว จัดอยู่ในกลุ่มพืชล้มลุกและเป็นพรรณไม้เมืองหนาว.

ดู แอสเทอริดและเทียนนกแก้ว

เทียนนายเนย

ทียนนายเนย อยู่ในวงศ์ Balsaminaceae เป็นไม้ล้มลุก ใบเดี่ยว ใบด้านบนมีขน ด้านล่างมีเฉพาะเส้นใบ ดอกสีขาว กลีบพูหน้ามีแถบสีชมพูอ่อนตรงกลาง เป็นพืชเฉพาะถิ่น พบบริเวณเขาหินปูนในบริเวณภาคกลางและภาคเหนือตอนล่างของไท.

ดู แอสเทอริดและเทียนนายเนย

เทียนน้อย

ทียนน้อย เป็นพืชในสกุลเทียนดอก วงศ์เทียนดอก เป็นไม้ล้มลุก อายุปีเดียว ต้นอวบน้ำ ไม่ค่อยแตกกิ่ง โคนต้นสีม่วงแดง ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอกสีชมพูอ่อน ผลรูปรี ออกดอกช่วงตุลาคม–พฤศจิกายน ชอบที่สูงและอากาศหนาวเย็น เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกโดยหมอคาร์ ชาวไอริช เมื่อ 6 พฤศจิกายน..

ดู แอสเทอริดและเทียนน้อย

เทียนน้ำ

ทียนน้ำ อยู่ในวงศ์ Balsaminaceae เป็นวัชพืชในนาข้าวในภาคกลาง พบตามหนองน้ำหรือริมคลอง ไม้ล้มลุก อายุปีเดียว ลำต้นตรงโผล่เหนือน้ำ ลำต้นเหลี่ยมกลวง ใบเดี่ยว ดอกช่อ ดอกย่อยสีชมพู ผลค่อนข้างกลม อ่อนเป็นสีเขียว แก่เป็นสีแดง ใช้เป็นยาขับลม ขับปัสสาว.

ดู แอสเทอริดและเทียนน้ำ

เทียนแม่ฮ่องสอน

ทียนแม่ฮ่องสอน เป็นพืชในสกุลเทียนดอก วงศ์ Balsaminaceae เป็นไม้ล้มลุก โคนต้นสีส้มอ่อน แตกกิ่งน้อย ใบเดี่ยว ขอบใบจัก ปลายใบแหลม มีขนนุ่ม ดอกเดี่ยวออกตามซอกใบใกล้ยอด สีม่วงแดง กลีบบนแผ่กว้างมากที่สุด ผลรูปกระสวย ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน พบครั้งแรกที่จังหวัดแม่ฮ่องสอนโดยศาสตราจารย์ไคและอาจารย์สุกี ลาร์เสน ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่จังหวัดแม่ฮ่องสอน.

ดู แอสเทอริดและเทียนแม่ฮ่องสอน

เทียนไตรบุญ

ทียนไตรบุญ เป็นไม้ล้มลุกในสกุลเทียนดอก วงศ์ Balsaminaceae ต้นอวบน้ำ ยอดอ่อนมีขนปกคลุม ใบเดี่ยว เรียงเวียนเป็นกระจุกที่ปลายยอด ใบรูปไข่ ดอกช่อ ผลเป็นฝักยาว แก่แล้วแตก ออกดอกช่วงกรกฎาคม – สิงหาคม พบครั้งแรกในไทยเมื่อ 18 สิงหาคม..

ดู แอสเทอริดและเทียนไตรบุญ

เทียนเชียงดาว

ทียนเชียงดาว เป็นพืชในสกุลเทียนดอก วงศ์ Balsaminaceae เป็นไม้ล้มลุกขึ้นตามซอกหินปูน ใบรูปไข่หนา ดอกช่อ ปลายกลีบบนหยักเว้าเป็นรูปหัวใจ สองกลีบล่างแผ่กว้างมากที่สุด ผลรูปกระสวย แก่แล้วแตก ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม – ธันวาคม พบครั้งแรกที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ โดย T.

ดู แอสเทอริดและเทียนเชียงดาว

เทียนเกล็ดหอย

ทียนเกล็ดหอย อยู่ในวงศ์ Plantaginaceae เป็นไม้ล้มลุก ทั้งต้นมีขนปกคลุมหนาแน่น ดอกช่อ ก้านช่อดอกยาว ดอกย่อยรวมเป็นกระจุกที่ปลาย เมล็ดรูปไข่หรือรี สีน้ำตาลหรือน้ำตาลอมชมพู เมล็ดพองตัวเมื่อถูกน้ำ ใช้เป็นยาระบาย เป็นแหล่งของเส้นใยรับประทานได้ ใช้แก้ลม โลหิตจาง บิดเรื้อรัง มีปลูกในประเทศอินเดีย เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันตกและเอเชียใต้ มีปลูกในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริก.

ดู แอสเทอริดและเทียนเกล็ดหอย

เท้ายายม่อมตัวเมีย

ระวังสับสนกับ เท้ายายม่อม เท้ายายม่อมตัวเมีย (S. Moore) มีชื่ออื่น ๆ ว่า เท้ายายม่อม, เท้ายายม่อมดอกขาว, พญารากเดียว, ไม้เท้าฤๅษี, ปู้เจ้าหายใจไม่รู้ขาด หรือไม้เท้ายายม่อม เป็นพืชในวงศ์กะเพรา (Lamiaceae) ลำต้นตรง ไม่ค่อยมีกิ่งก้าน ใบเดี่ยว ออกตามข้อ ดอกออกเป็นช่อ โคนกลีบเชื่อมกันเป็นหลอด สีขาว ผลกลม สุกเป็นสีดำ พืชชนิดนี้ เป็นพืชคนละชนิดกับเท้ายายม่อม (Tacca leontopetaloides) ที่มีหัวซึ่งนำไปทำเป็นแป้งเท้ายายม่อม แต่รากของพืชชนิดนี้มีสรรพคุณเป็นยาแก้ไข้และถอนพิษ และใบสามารถนำไปสูบแทนกัญชาได้.

ดู แอสเทอริดและเท้ายายม่อมตัวเมีย

เขาควายไม่หลูบ

วายไม่หลูบ หรือ เขาควายไม่ว้องหรือโงบ เป็นพืชในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้รอเลื้อยเนื้อแข็ง กิ่งอ่อนเป็นสี่เหลี่ยม มีขนปกคลุม ดอกช่อออกที่ปลายยอด มีริ้วประดับย่อยระหว่างดอก ดอกรูปร่างเหมือนดอกเข็ม สีเขียวหรือเหลือง ผลเป็นแคปซูลแห้ง เมล็ดมีปีก กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดียไปจนถึงอินโดจีน และเกาะสุมาตรา ในอินโดจีนใช้เปลือกกินแทนหมาก แก้ไข้ ในเวียดนามเคยใช้ชงน้ำดื่มแทนน้ำ.

ดู แอสเทอริดและเขาควายไม่หลูบ

เขี้ยวฟาน

ี้ยวฟาน หรือ หำฟาน เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Oleaceae ลำต้นและกิงอ่อนมีขนสีนวลเทา ใบเดี่ยว ดอกช่อ ออกที่ซอกใบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย กลีบดอกสีขาว ผลเมื่ออ่อนสีเขียว ผลแก่สีม่วงหรือสีดำ ร่วงง่าย ใบมีรสเผ็ด ชาวไทยอีสานนำมารับประทานกับหมากแทนใบพลูได้.

ดู แอสเทอริดและเขี้ยวฟาน

เข็มม่วง

็มม่วง (Violet Ixora; Lindau)เป็นไม้ป่าใน ประเทศ พบมากในป่าทางภาคใต้ เป็นไม้พุ่มเตี้ย สูง ประมาณเมตรเศษๆ ลำต้นเล็ก กิ่งก้านเปราะและมีสาขา ไม่มากนัก ใบยาวรี ผิวใบสาก ออกเป็นคู่ตามข้อต้น ดอกออกเป็นช่อตั้งตามยอด สีม่วง คล้ายดอกเข็ม แต่ ดอกไม่เกาะกลุ่มแน่นอย่างเข็ม ให้ดอกตลอดปี แต่โรยเร็ว ดอกมากในช่วงเดือน มกราคม-กุมภาพันธ์ ขยายพันธุ์ด้วยการตอนหรือตัดกิ่งปักชำ เป็นไม้ประดั.

ดู แอสเทอริดและเข็มม่วง

เข็มอินเดีย

็มอินเดีย (accessdate, Starflower) เป็นไม้พุ่ม ดอกคล้ายดอกเข็ม มี 3 สี คือ สีขาว สีแดง และสีชมพู เข็มอินเดียเป็นไม้พุ่มเตี้ย เนื้ออ่อน ลำต้นสูงประมาณ 18 ฟุต มีขนอยู่ทั่วลำต้นและใบด้วย ลำต้นและกิ่งก้านจะเปราะ ใบรูปมนรี ปลายอาจจะแหลม ยาวประมาณ 1.5 ถึง 2 นิ้ว ดอกเป็นช่อ อยู่ตามยอดของต้นเช่นเดียวกับดอกเข็ม ดอกมี 3 สี คือ สีขาว สีแดง และสีชมพู ทุกส่วนของลำต้นมีขน ทำให้คัน บวมแดง.

ดู แอสเทอริดและเข็มอินเดีย

เข็มขาว

็มขาวหรือสมิงคำราม ยาญวนหิน หมีคำราม เป็นพืชในสกุลจันทนา วงศ์ Rubiaceae เป็นไม้พุ่ม ไม่ผลัดใบ ใบเดี่ยว ดอกช่อกลม ดอกย่อยจำนวนมาก ติดผลจำนวนมาก ผลกลม ออกดอกและติดผลตลอดปี พบในภาคตะวันออก ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบครั้งแรกที่อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ D.J.

ดู แอสเทอริดและเข็มขาว

เข็มซ่อนก้าน

็มซ่อนก้าน เป็นพืชในสกุลเข็ม วงศ์ Rubiaceae เป็นไม้พุ่ม ใบเดี่ยว ใบเกลี้ยงเป็นมัน ขอบใบเรียบ ดอกช่อออกตามปลายกิ่ง ดอกย่อยสีขาวอมชมพู ผลกลม ออกดอกเดือนกรกฎาคม – พฤศจิกายน พบในภาคเหนือและภาคตะวันตก พบครั้งแรกที่ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติให้แก่หมอคาร.

ดู แอสเทอริดและเข็มซ่อนก้าน

เครือมวกไทย

รือมวกไทย เป็นไม้เลื้อยเถาอ่อนในวงศ์ Apocynaceae ใบออกเป็นกระจุกตามกิ่ง เนื้อใบหนา ดอกออกเป็นกระจุกที่ซอกใบ ดอกช่อ ดอกย่อยมีจำนวนมาก สีขาว กลิ่นหอมอ่อน ดอกบานช่วงกันยายน – พฤศจิกายน เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบเฉพาะที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เท่านั้น พบครั้งแรกเมื่อ 12 สิงหาคม..

ดู แอสเทอริดและเครือมวกไทย

เครือออน

รือออน อยู่ในวงศ์ Lamiaceae เป็นไม้เถาขนาดใหญ่ เลื้อยพันบนต้นไม้อื่น ลำต้นมีขนนุ่ม ดอกช่อออกตามปลายกิ่ง สีชมพูอมม่วง ใบบดอังไฟให้ร้อน พอกบริเวณถูกสัตว์มีพิษ ทั้งต้นต้ำน้ำดื่มแก้ไอ ขับปัสสาว.

ดู แอสเทอริดและเครือออน

เฉาก๊วย (พืช)

เฉาก๊วยในรูปแบบอาหารว่าง เฉาก๊วย หรือ หญ้าเฉาก๊วย (xiancao (仙草, 仙人草, 仙草舅, 涼粉草) ใน ภาษาจีนกลาง, sian-chháu ในภาษาจีนไต้หวัน, leung fan cao (涼粉草) ใน ภาษาจีนกวางตุ้ง sương sáo ใน ภาษาเวียดนาม) เป็นพืชในจีนัส Mesona ในตระกูลเดียวกับมินต์ (พืชจำพวกสะระแหน่) มักพบในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เช่น ทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีน ไต้หวัน ชอบขึ้นในหุบเขาที่ดินทรายแห้งมีหญ้าขึ้น มีความสูงราว 15–100 ซม.

ดู แอสเทอริดและเฉาก๊วย (พืช)

เปปเปอร์มินต์

ปปเปอร์มินต์ เป็นมินต์พันธุ์ผสมระหว่างมินต์น้ำกับสเปียร์มินต์ มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ทวีปยุโรปและตะวันออกกลาง ปัจจุบันเพาะปลูกกันอย่างกว้างขวางในหลายบริเวณทั่วโลก สามารถพบได้ในป่ากับสายพันธุ์ดั้งเดิมเป็นบางครั้ง.

ดู แอสเทอริดและเปปเปอร์มินต์

เนโมฟีลา

นโมฟีลา (Nemophila) เป็นชื่อสกุลไม้ดอกในวงศ์ Hydrophyllaceae.

ดู แอสเทอริดและเนโมฟีลา

Darlingtonia californica

Darlingtonia californica, หรือที่เรียกกันว่า California Pitcher plant, Cobra Lily, หรือ Cobra Plant, เป็นพืชกินสัตว์ เป็นพืชชนิดเดียวในสกุล Darlingtonia ในวงศ์ Sarraceniaceae มีถิ่นกำเนิดในทางตอนเหนือของรัฐแคลิฟอร์เนียและรัฐออริกอนเติบโตในห้วยที่มีน้ำเย็นไหลผ่าน ชื่อ Cobra Lily มาจากความคล้ายคลึงกันของใบที่เป็นหลอดที่มีใบสีเหลืองถึงเขียวออกม่วงเป็นง่ามที่ปลาย กับงูเห่าที่แผ่แม่เบี้ยและแลบลิ้นอยู่ พืชชนิดนี้ถูกค้นพบในปี..

ดู แอสเทอริดและDarlingtonia californica

Jacaranda mimosifolia

รีตรัง เป็นไม้ต้นผลัดใบขนาดกลางในวงศ์แคหางค่าง มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ แต่เนื่องจากออกดอกเป็นช่อใหญ่และมีสีสวยงามจึงได้รับการนำไปปลูกเป็นไม้ประดับอย่างกว้างขวางทั่วโลก เช่นที่รัฐแคลิฟอร์เนียและรัฐฟลอริดาของสหรัฐอเมริกา ชายฝั่งทะเลทางภาคใต้ของโปรตุเกส ชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนของสเปนและอิตาลี แอฟริกาใต้ แซมเบีย ออสเตรเลีย เป็นต้น ศรีตรังชนิด J.

ดู แอสเทอริดและJacaranda mimosifolia

Jacaranda obtusifolia

รีตรัง หรือ แคฝอย เป็นไม้ต้นผลัดใบขนาดกลางในวงศ์แคหางค่าง ปลูกเป็นไม้ประดับ สูง 4-10 เมตร เรือนยอดโปร่ง เปลือกสีน้ำตาลอมขาว แตกล่อนเป็นแผ่นบางตามยาวคล้ายกระดาษ ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น เรียงตรงกันข้าม ใบย่อย 12-21 คู่ เรียงตรงข้าม ใบรูปขอบขนานแกมรูปเหลี่ยมข้าวหลามตัด มีขนาดเล็ก กว้าง 0.5-0.7 เซนติเมตร ยาว 1-1.5 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบเบี้ยว เส้นแขนงใบข้างละ 4-5 เส้น ก้านใบหลักยาว 7-11 เซนติเมตร ก้านใบประกอบยาว 4-8 มม.

ดู แอสเทอริดและJacaranda obtusifolia

Pouteria lucuma

Pouteria lucuma เป็นผลไม้กึ่งเขตร้อนซึ่งมีถิ่นกำเนิดในแถบหุบเขาแอนดีส และนิยมปลูกกันในชิลี, เปรู และเอกวาดอร์ ในภาษาสเปน พรรณไม้ชนิดนี้มีชื่อเรียกโดยทั่วไปว่า ลูกูโม (lúcumo) ส่วนผลเรียกว่า ลูกูมา (lúcuma) มีการค้นพบเครื่องปั้นดินเผาที่ทำเป็นรูปทรงผลของ P.

ดู แอสเทอริดและPouteria lucuma

Sarracenia

Sarracenia เป็นสกุลของพืชที่ประกอบไปด้วย 8 - 11 ชนิด มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ เป็นสกุลที่อยู่ในวงศ์ Sarraceniaceae ที่บรรจุไปด้วยสกุลญาติใกล้ชิดอย่าง Darlingtonia และ Heliamphora Sarracenia เป็นสกุลของพืชกินสัตว์มีถิ่นกำเนิดแถบชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก, รัฐเทกซัส, บริเวณเกรตเลกส์และตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศแคนาดา ซึ่งสปีชีส์ส่วนใหญ่จะอยู่ในทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา (ยกเว้น S.

ดู แอสเทอริดและSarracenia

Tabernaemontana

Tabernaemontana orientalis Tabernaemontana เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ตีนเป็ด มี 100-110 สปีชีส์ เป็นพืชที่กระจายตัวในเขตร้อน เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ไม่ผลัดใบ ใบเรียงตรงข้าม ยาว 3–25 เซนติเมตร ยางขาวเหมือนน้ำนม จึงมักเรียกพืชในสกุลนี้ว่า "milkwood" ดอกมีกลิ่นหอม สีขาว พุดจีบ (Tabernaemontana divaricata cv.

ดู แอสเทอริดและTabernaemontana

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Asterids

กุหลาบพันปีกุหลาบแดงกุหลาบเชียงดาวฝ่าแป้งมหาหิงคุ์มะพลับมะพลับพรุมะพลับเจ้าคุณมะกอกออลิฟมะกอกโคกมะยมแก้วมะริด (พืช)มะลิมะลิภูหลวงมะลิลามะลิสยามมะลินกมะลิไส้ไก่มะลุลีมะอึกมะจ้ำก้องมะคังแดงมะนาวไม่รู้โห่มะแว้งนกมะเกลือมะเขือบ้าดอกขาวมะเขือพวงมะเขือขมมะเขือขื่นมะเขือเทศราชินีมะเขือเทศต้นมังกรคาบแก้วมังตานมันขี้หนูมาเตมิราเคิล (พืช)มินต์ (พืช)มินต์ออสเตรเลียมินต์ป่ามินต์น้ำมินต์เอเชียมือสยามมูกเขามธุลดามณเฑียรระนองมณเฑียรไทยม่อนไข่ยอยอดินยอป่ายาสูบเล็กยางน่องเถายาแก้ยี่หร่ายี่โถย่ามควายย่าหยา (พืช)ย่านพาโหมระย่อมพินเก้ระย่อมน้อยระฆังแคนเตอร์บรีระงับรัก (ไม้พุ่ม)รักทะเลราชาวดีรามใหญ่รางจืดราตรี (พรรณไม้)รำเพยรุ่งอรุณลั่นทมลาเวนเดอร์ลาเวนเดอร์สามัญลำบิดทะเลลำโพงม่วงลำโพงราชินีมืดลำโพงแดงลิ้นงูเห่าลูกปืนใหญ่ (พืช)ลูกน้ำนมวงศ์ชาวงศ์พระจันทร์ครึ่งซีกวงศ์พิกุลวงศ์กันเกราวงศ์กุหลาบป่าวงศ์มะพลับวงศ์มะลิวงศ์มะเขือวงศ์มณเฑียรทองวงศ์ย่อยระย่อมวงศ์ย่อยส้มลมวงศ์รักทะเลวงศ์ว่านไก่แดงวงศ์สร้อยสุวรรณาวงศ์สายน้ำผึ้งวงศ์ผกากรองวงศ์ผักบุ้งวงศ์ผักชีวงศ์จิกวงศ์ทานตะวันวงศ์ข้าวสารหลวงวงศ์ดอกหรีดเขาวงศ์ดอกดินวงศ์งาวงศ์ตีนเป็ดวงศ์นมตำเลียวงศ์เล็บครุฑวงศ์เหงือกปลาหมอวงศ์เทียนดอกวงศ์เทียนเกล็ดหอยวงศ์เข็มว่านมหากาฬว่านดอกสามสีว่านนางตัดสกุลบลูเบอร์รีสกุลพุดสกุลกาแฟสกุลมะพลับสกุลมะเขือสกุลยอสกุลสะแล่งหอมไก๋สกุลหญ้าดอกลายสกุลอังกาบสกุลผักบุ้งสกุลผักกาดหอมสกุลจันทนาสกุลดาวเงินสกุลตีนเป็ดทะเลสกุลประทัดดอยสกุลนมตำเลียสกุลแสลงใจสกุลโมกมันสกุลเจินจูฉ่ายสกุลเทียนดอกสร้อยสุวรรณาสร้อยอินทนิลสะพานก๊นสัก (พรรณไม้)สาบหมาสาบแร้งสาบกาสาบเสือสารภีดอยสาหร่ายข้าวเหนียวสาดรากลำเทียนสำมะงาสีง้ำส้มกุ่ยส้มลมส้มแปะสเปียร์มินต์หญ้าช้างน้อยหญ้าละอองหญ้าหวานหญ้างวงช้างหญ้าเหลี่ยมหญ้าเหล็กขูดหญ้าเอ็นยืดหมักม่อหมัน (พรรณไม้)หมันทะเลหยั่งสมุทรหอมหมื่นลี้หัวร้อยรูหัวฆ้อนกระแตหิรัญญิการ์หูปลาช่อนหีบไม้งามหงส์เหิรหนามแท่งห้อมห้อมช้างออริกาโนอัคคีทวารอังกาบอังกาบสีปูนอังกาบหนูอันดับกะเพราอันดับกุหลาบป่าอันดับมะเขืออันดับผักชีอันดับทานตะวันอันดับดอกหรีดเขาอันดับคาร์เนชันอันดับเน่าในอาร์รากาชาอึ่งงิ้มอ้อยสามสวนฮ่อสะพายควายผกากรองผักบุ้งผักบุ้งจีนผักบุ้งขันผักบุ้งไทยผักชีผักชีฝรั่งผักชีลาวผักกระชับผักกาดช้างผักกาดกบผักกาดหอมผักกาดนกยูงผักลิ้นห่านผักหนอกผักหนอกเชียงดาวผักอีหลืนผักอีเปาผักจินดาผักคราดหัวแหวนผักแขยงผักแปมจมูกปลาหลดจันจันทร์กระจ่างฟ้าจันทนาจั่นน้ำจิกจิกสวนจิกน้ำจิกเลจิงจ้อแดงจุกโรหิณีจ้าเครือถั่วด้วงถุงมือจิ้งจอกทองพันชั่งทิพเกสรทิวาราตรีทิ้งทวนทิ้งทองหูขลู่ขาวปั้นขี้ไก่ย่านขี้เหล็กย่านขี้เห็นขนุนนกข่อยดานข่อยดำข้าวตอกพระร่วง (พืช)ดอกดิน (พืช)ดาวเรืองเม็กซิโกดาวเงินไทยทองดาดตะกั่วดุสิตาดูกค่างดูกไก่ย่านดีปลากั้งด่าง (พืช)ครามเถาคอนสวรรค์ (พืช)คันธุลีคำฝอยคำมอกหลวงคำขาวคำแดงคุย (พืช)คนทีสอทะเลงวงช้างทะเลงวงสุ่มตังกุยตังเซียมตากะปอตานหม่อนตานดำตานเสี้ยนตำเสาตีนนกตีนเป็ดทรายตีนเป็ดน้ำตีนเป็ดแคระต้อยติ่งต้างหลวงฉัตรพระอินทร์ซ้อประทัดสุเทพปิ้งขาวปืนนกไส้ปีบปีบฝรั่งปีบทองนมพิจิตรนางแย้มป่าน้ำเต้าต้นแพงพวยฝรั่งแมงลักคาแย้มปีนังแววมยุราแสมแดงแอฟริกันไวโอเล็ตแฮ่โกวเฉ่าแครนเบอร์รีแคสันติสุขแคทะเลแปะจี้แป๊ะตำปึงใบเงินใบทองโกฐก้านพร้าวโกฐหัวบัวโกฐจุฬาลัมพาโกฐจุฬาลัมพาไทยโกฐขี้แมวโกฐเขมาโกงกางบกโกงกางหูช้างโกงกางเขาโมกโมกมันโมกราชินีโมกสยามโมกหลวงโมกแดงโมกเหลืองโมกเหลืองใบบางโมกเครือโสมอเมริกันโสมาโสมเวียดนามโทงเทงโทงเทงฝรั่งโด่ไม่รู้ล้มโต๋วต๋งไฟเดือนห้าไลลักไส้กรอกแอฟริกาไฮเดรนเจียไข่เน่า (พืช)เบญจมาศน้ำเค็มเชอร์วิลเพกาเกล็ดมังกรเล็บครุฑ (พรรณไม้)เล็บครุฑไซ่ง่อนเสลดพังพอนเสี้ยวต้นเสี้ยนเหยื่อเลียงผาเหลืองสยามเหลืองคีรีบูนเหลืองปรีดียาธรเหลี่ยงเคี้ยวเหงือกปลาหมอเหง้าน้ำทิพย์เอียะบ้อเช่าเอี้ยงเซียมเฮมล็อกเฮียเฮียะเฮนเบนเถาวัลย์ด้วนเถาวัลย์แดงเทียนพระบาทเทียนภูหลวงเทียนสัตตบุษย์เทียนหยดเทียนผ้าห่มปกเทียนดอกเทียนตากบเทียนนกแก้วเทียนนายเนยเทียนน้อยเทียนน้ำเทียนแม่ฮ่องสอนเทียนไตรบุญเทียนเชียงดาวเทียนเกล็ดหอยเท้ายายม่อมตัวเมียเขาควายไม่หลูบเขี้ยวฟานเข็มม่วงเข็มอินเดียเข็มขาวเข็มซ่อนก้านเครือมวกไทยเครือออนเฉาก๊วย (พืช)เปปเปอร์มินต์เนโมฟีลาDarlingtonia californicaJacaranda mimosifoliaJacaranda obtusifoliaPouteria lucumaSarraceniaTabernaemontana