โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แอฟริกากลาง

ดัชนี แอฟริกากลาง

สหพันธ์แอฟริกากลาง (ยกเลิก) แอฟริกากลาง เป็นดินแดนในทวีปแอฟริกา ได้ถูกนิยามไว้สองอย่างคือ Central Africa และ Middle Africa (นิยามโดยสหประชาชาติ) ประกอบด้วยประเท.

80 ความสัมพันธ์: ชากีราชิมแปนซีช้างแอฟริกาฟุตบอลโลก 2010พ.ศ. 2553พังพอนแคระธรรมดากบแอฟริกันบูลฟร็อกกบโกไลแอทกอริลลากองทัพเบลเยียมกาแฟยากุป วากเนร์ยุคหินกลาง (แอฟริกา)รายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ลิงขนทองลิงเลซูลาวงศ์ย่อยตะพาบวงศ์ย่อยปลาหมอสีแอฟริกาวงศ์ลิงลมวงศ์ค้างคาวแวมไพร์แปลงสกุลชิมแปนซีสกุลคองโกโครมิสสกุลเพลวิคาโครมิสสมัยไพลสโตซีนสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกาสมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติแอฟริกาสัตว์ประหลาดทะเลสาบสาธารณรัฐซาอีร์สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกสาธารณรัฐแอฟริกากลางหนูผีนากยักษ์อักษรสำหรับภาษาฟูลาอัสคารีอาร์ดวาร์กอนุสัญญาแรมซาร์จระเข้แคระทวีปแอฟริกาทะเลสาบมาลาวีทะเลสาบแทนกันยีกาข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรมดอน คิงดาวเทียมไทยคมความคิดเชิงไสยศาสตร์ความตกลงฉันทไมตรีคองกามาโตงูกรีนแมมบาตะวันตกงูหลามบอลงูแบล็กแมมบางูแมมบาประเทศชาด...ประเทศแคเมอรูนประเทศเอสวาตีนีปลาช่อนแอฟริกา (สกุล)ปลากรายแอฟริกาปลาวีคส์ไบเคอร์ปลาหมอฟรอนโตซ่าปลาหมอสีไซไพรโครมิสปลาหมอแรมแดงปลาตองแอฟริกาปลาปักเป้าคองโกปลาปักเป้าเอ็มบูปลาแอฟริกันไทเกอร์ปลาไบเคอร์ลายบั้งปลาไบเคอร์จุดปลาไบเคอร์เซเนกัลปลาไทเกอร์โกไลแอตนกกระสาปากพลั่วนกกะรางหัวขวานนกยูงคองโกนกคอพันแรดขาวเหนือแอฟริกาใต้สะฮาราแคราแคลโมแกเล-อึมแบมเบโดราเอมอนไดโนซอร์ เจาะแดนลี้ลับช็อกโลกเสรีรัฐคองโกเสือชีตาห์เสือไฟแอฟริกาเฮดจ์ฮอกสี่นิ้ว ขยายดัชนี (30 มากกว่า) »

ชากีรา

กีรา อีซาเบล เมบารัก รีโปล (Shakira Isabel Mebarak Ripoll, 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520 —) หรือเป็นที่รู้จักว่า ชากีรา เป็นนักร้องชาวโคลอมเบี.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและชากีรา · ดูเพิ่มเติม »

ชิมแปนซี

มแปนซี (Chimpanzee; ชื่อวิทยาศาสตร์: Pan troglodytes) เป็นลิงไม่มีหางที่มีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากที.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและชิมแปนซี · ดูเพิ่มเติม »

ช้างแอฟริกา

้างแอฟริกา หรือ ช้างแอฟริกัน (African elephant) เป็นช้างสกุลหนึ่ง ที่อาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกา จากหลักฐานฟอสซิลที่ค้นพบทำให้ทราบว่า ช้างแอฟริกาอาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกามาตั้งแต่ยุคไพลสโตซีน ช้างแอฟริกา จัดอยู่ในสกุล Loxodonta (/โล-โซ-ดอน-ตา/; เป็นภาษากรีกแปลว่า "ฟันเอียงข้าง") ซึ่งปัจจุบันหลงเหลือเพียง 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและช้างแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2010

ฟุตบอลโลก ฟีฟ่า 2010 เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 19 ที่เป็นรายการแข่งขันฟุตบอลนานาชาติ ซึ่งจัดขึ้นที่ประเทศแอฟริกาใต้ ระหว่างวันที่ 11 มิถุนายน ถึงวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 โดยเริ่มการคัดเลือกในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2550 และมีฟุตบอลทีมชาติสมาชิกฟีฟ่า เข้าร่วมแข่งขันจำนวน 204 จาก 208 ทีม ฟุตบอลโลกครั้งนี้จึงเป็นการแข่งขันซึ่งมีประเทศเข้าร่วมแข่งขันจำนวนมากที่สุด เทียบเท่ากับจำนวนประเทศในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 และยังเป็นฟุตบอลโลกครั้งแรกที่ชาติจากทวีปแอฟริกาเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน หลังจากที่แอฟริกาใต้ประมูลชนะโมร็อกโกและอียิปต์ในการเสนอชื่อ ทั้งนี้ ทีมชาติอิตาลีจะลงแข่งขันเพื่อป้องกันตำแหน่งชนะเลิศที่ได้มาในฟุตบอลโลก 2006 ซึ่งจัดขึ้นในประเทศเยอรมนี ทีมชาติสเปนซึ่งชนะเลิศมาจากการแข่งขันชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป เมื่อปี พ.ศ. 2551 ชนะเลิศในการแข่งขันกับทีมชาติเนเธอร์แลนด์ 1 ต่อ 0 ประตูในช่วงต่อเวลาพิเศษ โดยอันเดรส อีเนียสตาทำประตูให้กับสเปน และทำให้ทีมสเปนชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลโลกเป็นสมัยแรก, ผู้ชนะเลิศครั้งก่อนอย่างอิตาลี รวมถึงฝรั่งเศสซึ่งเป็นทีมรองชนะเลิศครั้งก่อน ล้วนแต่ตกรอบแรก โดยที่อาร์เจนตินา (รอบ 8 ทีม), บราซิล (รอบ 8 ทีม) และเยอรมนี (รอบรองชนะเลิศ) ส่วนเจ้าภาพตกรอบแรก โดยมี 4 คะแนน ได้อันดับ 3 ของกลุ่ม A.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและฟุตบอลโลก 2010 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พังพอนแคระธรรมดา

ังพอนแคระธรรมดา (Common dwarf mongoose, Dwarf mongoose) เป็นสัตว์กินเนื้อขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์พังพอน (Herpestidae) จัดเป็นพังพอนขนาดเล็กอีกชนิดหนึ่ง มีความยาวไม่ถึง 1 ฟุต ส่วนหัวขนาดใหญ่ หูเล็ก และหางยาว ขาสั้น แต่อุ้งเท้ายาว กระจายพันธุ์ในแถบแอฟริกากลาง เช่น เอธิโอเปีย ไปจนถึงแอฟริกาใต้ เป็นสัตว์ที่กินอาหารได้หลากหลาย โดยมากจะเป็นพวกสัตว์ตัวเล็ก ๆ เช่น แมงมุม, แมงป่อง, จิ้งเหลน ตลอดไปจนถึงนกตัวเล็ก ๆ รวมถึงผลไม้ พังพอนแคระธรรมดาเป็นสัตว์ที่มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง ตั้งแต่ 2-20 ตัว โดยตัวเมียจะมีจำนวนมากกว่าตัวผู้ โดยมีตัวเมียเป็นจ่าฝูง และเป็นสัตว์ที่มีการจับคู่แบบคู่เดียวกันตลอดทั้งชีวิต และมีการส่งเสียงร้องเพื่อสื่อสารกันโดยเฉ.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและพังพอนแคระธรรมดา · ดูเพิ่มเติม »

กบแอฟริกันบูลฟร็อก

กบแอฟริกันบูลฟร็อก (African bullfrog; ชื่อวิทยาศาสตร์: Pyxicephalus adspersus) เป็นกบชนิดที่ใหญ่เป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ลำตัวมีสีน้ำตาลปนเขียว จุดสีน้ำตาล บริเวณส่วนหัวสีเขียวเคลือบน้ำตาล ขาทั้งสี่มีลายน้ำตาลดำ ขาหลังมีลายขวาง ลำตัวอ้วนข้างท้องมีลายน้ำตาลใต้ท้องเป็นสีขาว ผิวหนังส่วนใหญ่เรียบจะมีบ้างเป็นบางส่วนที่ขรุขระ มีถิ่นกำเนิดที่ทวีปแอฟริกาแถบแอฟริกากลางจนถึงแอฟริกาใต้ ความแตกต่างระหว่างตัวผู้กับตัวเมีย นอกจากอวัยวะเพศแล้วตัวผู้จะมีวงแก้วหูใหญ่กว่าตาและอยู่ทางด้านหลัง ลำตัวจะมีสีเข้มบริเวณใต้คางซึ่งมีสีจะเหลืองปนเขียวอย่างชัดเจนบริเวณใต้คางจะเป็นสีเหลือง แต่เพศเมียผิวหนังจะสดใสกว่าและมีวงแก้วหูเล็กกว่าตา กบแอฟริกันบูลฟร็อกเมื่อโตเต็มวัยจะมีขนาดยาวประมาณ 8-10 นิ้ว พร้อมผสมพันธุ์ได้เมื่ออายุ 12-18 เดือน ตัวผู้จะส่งเสียงร้องคล้ายวัวเพื่อหาคู่ จึงเป็นที่มาของชื่อ (บูลฟร็อก.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและกบแอฟริกันบูลฟร็อก · ดูเพิ่มเติม »

กบโกไลแอท

กบโกไลแอท (Goliath frog, Giant slippery frog) เป็นสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกจำพวกกบขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จัดว่าเป็นกบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกเท่าที่ยังมีการสืบเผ่าพันธุ์อยู่ในปัจจุบัน โดยกบโกไลแอทมีความยาวเต็มที่ประมาณ 33.2 เซนติเมตร (12.6 นิ้ว) และมีน้ำหนัก 3.25 กิโลกรัม (7.17 ปอนด์) จัดได้ว่ามีน้ำหนักพอ ๆ กับเด็กทารกแรกคลอด เมื่อยังมีสภาพเป็นลูกอ๊อดก็เจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว เป็นกบที่กระจายพันธุ์อยู่ตามแม่น้ำที่ไหลเชี่ยวที่มีสภาพพื้นเป็นทราย ในป่าดิบทึบหรือภูเขาในแถบแอฟริกากลาง บริเวณประเทศแคเมอรูนและอิเควทอเรียลกินี อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่สะอาดและมีปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำสูง กินอาหารได้หลากหลายทั้ง แมลงชนิดต่าง ๆ เช่น ตั๊กแตน, แมลงปอ รวมถึงกบด้วยกัน, ปู หรือแม้กระทั่งเต่าหรืองูขนาดเล็ก และมีรายงานว่าพบค้างคาวในท้องด้วย มีอายุเต็มที่ 15 ปีในธรรมชาติ และ 21 ปีในที่เลี้ยง กบโกไลแอท เป็นกบที่ถูกใช้เป็นอาหารบริโภคในท้องถิ่น และจากความใหญ่โตของร่างกาย ทำให้ถูกจับนำมาขายเป็นสัตว์เลี้ยง เป็นที่นิยมสำหรับผู้ที่ชื่นชอบการเลี้ยงสัตว์แปลก อีกทั้งการบุกรุกทำลายป่าและการสร้างเขื่อน ทำให้ปริมาณกบโกไลแอทลดน้อยลง อีกทั้งเป็นกบที่ยังไม่มีกฎหมายคุ้มครอง แต่ทางรัฐบาลแคเมอรูนจำกัดการส่งออกกบโกไลแอทไม่เกิน 300 ตัวต่อปี.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและกบโกไลแอท · ดูเพิ่มเติม »

กอริลลา

ัวน้อย กอริลลาเพศเมียที่มีชื่อเสียงแห่งสวนสัตว์พาต้า กอริลลา (Gorilla) เป็นเอปที่อยู่ในเผ่า Gorillini และสกุล Gorilla ในวงศ์ Hominidae นับเป็นไพรเมตที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน กอริลลา จัดเป็นเอปจำพวกหนึ่งในบรรดาเอปทั้งหมดที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน และจัดเป็นเอปและไพรเมตที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีถิ่นกำเนิดอยู่ในตอนกลางของทวีปแอฟริกา ทั้งที่เป็นที่ราบต่ำ และเป็นภูเขาสูงแถบเทือกเขาวีรูงกาที่มีระดับความสูงจากน้ำทะเลถึง 2,200–4,300 เมตร (7,200–14,100 ฟุต) ในคองโก และรวันดา กอริลลา นับได้ว่าเป็นเอปที่มีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุดรองจากชิมแปนซีและโบโนโบ โดยมีดีเอ็นเอที่ใกล้เคียงกับมนุษย์ถึงร้อยละ 95–99.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและกอริลลา · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเบลเยียม

กองทัพเบลเยียม (Armée belge, Belgisch leger) คือกองกำลังทหารของราชอาณาจักรเบลเยียม กองทัพเบลเยียมได้ก่อตั้งขึ้นภายหลังจากการประกาศอิสรภาพในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: แอฟริกากลางและกองทัพเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

กาแฟ

กาแฟดำ ซึ่งบรรจุในถ้วย กาแฟ เป็นเครื่องดื่มที่ทำจากเมล็ดซึ่งได้จาก ต้นกาแฟ หรือมักเรียกว่า เมล็ดกาแฟ คั่ว มีการปลูกต้นกาแฟในมากกว่า 70 ประเทศทั่วโลก กาแฟเขียว (กาแฟซึ่งยังไม่ผ่านการคั่ว) เป็นหนึ่งในสินค้าทางการเกษตรซึ่งมีการซื้อขายกันมากที่สุดในโลก กาแฟมีส่วนประกอบของคาเฟอีน ทำให้มีสรรพคุณชูกำลังในมนุษย์ ปัจจุบันกาแฟเป็นเครื่องดื่มซึ่งได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เป็นที่เชื่อกันว่าสรรพคุณชูกำลังจากเมล็ดของต้นกาแฟนั้นถูกพบเป็นครั้งแรกใน เยเมน แถบอาระเบีย และทางตะวันออกเฉียงเหนือของ เอธิโอเปีย และการปลูกต้นกาแฟในสมัยแรกได้แพร่ขยายในโลกอาหรับ หลักฐานบันทึกว่าการดื่มกาแฟได้ปรากฏขึ้นราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 อันเป็นหลักฐานซึ่งเชื่อถือได้และเก่าแก่ที่สุด ถูกพบในวิหาร ซูฟี ในเยเมน แถบอาระเบีย จาก โลกมุสลิม กาแฟได้แพร่ขยายไปยังทวีปยุโรป อินโดนีเซีย และทวีปอเมริกา ในระหว่างที่กาแฟเริ่มเดินทางจากทวีปอเมริกาเหนือและตะวันออกกลางสู่ทวีปยุโรป กาแฟได้ถูกส่งผ่านไปยังซิซิลีและอิตาลีในตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 จากนั้นผ่านตุรกีไปยังกรีซ ฮังการี และออสเตรียในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 จากอิตาลีและออสเตรีย กาแฟได้แพร่ขยายไปยังส่วนที่เหลือของทวีปยุโรป กาแฟได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในสังคมหลายแห่งตลอดประวัติศาสตร์ ในแอฟริกาและเยเมน มันถูกใช้ร่วมกับพิธีกรรมทางศาสนา ผลที่ตามมาคือ ศาสนจักรเอธิโอเปีย ได้สั่งห้ามการบริโภคกาแฟตลอดกาล จนกระทั่งถึงรัชสมัยของ จักรพรรดิเมเนลิกที่ 2 มันยังได้ถูกห้ามใน จักรวรรดิออตโตมันระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 เนื่องจากสาเหตุทางการเมือง และมีส่วนเกี่ยวพันกับกิจกรรมทางการเมืองหัวรุนแรงในทวีปยุโรป ผลกาแฟ ซึ่งบรรจุเมล็ดกาแฟ เป็นผลผลิตจากไม้พุ่มไม่ผลัดใบขนาดเล็กใน จีนัส Coffea หลายสปีชีส์ โดยสายพันธุ์ที่มีการปลูกโดยทั่วไปมากที่สุด ได้แก่ Coffea arabica และกาแฟ "โรบัสต้า" ที่ได้จากชนิด Coffea canephora ซึ่งมีรสเข้มกว่า สายพันธุ์ดังกล่าวมีความทนทานต่อราสนิมใบกาแฟ (Hemileia vastatrix) ซึ่งสร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวง สายพันธุ์กาแฟทั้งคู่มีการปลูกในละตินอเมริกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปแอฟริกา เมื่อสุกแล้ว ผลดังกล่าวจะถูกเก็บรวบรวม นำไปผ่านกรรมวิธีและทำให้แห้ง หลังจากนั้น เมล็ดจะถูกคั่วในอุณหภูมิที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับรสชาติที่ต้องการ และจะถูกบดและบ่มเพื่อผลิตกาแฟ กาแฟสามารถตระเตรียมและนำเสนอได้ในหลายวิธี กาแฟเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญของโลก โดยในปี คริสต์ศักราช 2004 กาแฟเป็นสินค้าการเกษตรส่งออกที่ทำรายได้เป็นอันดับหนึ่งในจำนวน 12 ประเทศ และเป็นพืชที่มีการส่งออกอย่างถูกต้องตามกฎหมายซึ่งมีมูลค่าสูงที่สุดเป็นอันดับ 7 ของโลก ในปี คริสต์ศักราช 2005 กาแฟได้รับการโต้เถียงบางส่วนในด้านการเพาะปลูกต้นกาแฟและผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม และมีการศึกษาจำนวนมากที่ระบุถึงความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคกาแฟกับข้อจำกัดทางยาอย่างแน่นอน อย่างไรก็ตาม ก็ยังไม่มีข้อสรุปที่แน่ชัดว่ากาแฟให้คุณหรือให้โทษกันแน.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและกาแฟ · ดูเพิ่มเติม »

ยากุป วากเนร์

กุป วากเนร์ กับปลาแค้ยักษ์ (''Bagarius yarrelli'') ยากุป วากเนร์ (Jakub Vágner) เกิดเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม ค.ศ. 1981 ที่กรุงปราก ประเทศเชโกสโลวาเกีย เป็นนักดนตรี, นักสำรวจ, นักตกปลาแบบสุดเหวี่ยง และพิธีกรรายการโทรทัศน์สารคดีชุด Fish Warrior (ออกอากาศทางช่องเนชั่นแนล จีโอกราฟิก ในประเทศไทยออกอากาศทางทรูวิชันส์) ในอดีตเคยทำงานเป็นมัคคุเทศน์นำตกปลาในหลายประเทศของยุโรป ในสารคดีชุดนี้วากเนร์ต้องเดินทางไปทั่วโลกเพื่อตกปลาน้ำจืดขนาดใหญ่หลายชนิด ทั้งแม่น้ำแอมะซอน, แอฟริกากลาง, อะแลสกา ซึ่งวากนอร์ได้ทำลายสถิติการตกปลาได้หลายชนิด โดยสามารถจับปลาที่มีความยาวและน้ำหนักทำลายสถิติโลกได้หลายตัว ทำให้กลายเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงระดับเดียวกับดารานักแสดงคนหนึ่งในสาธารณรัฐเช็ก ได้ให้สัมภาษณ์ทางโทรทัศน์ วิทยุ และหนังสือพิมพ์นิตยสารหลายฉบับในประเทศ รวมทั้งได้เขียนหนังสือบันทึกการตกปลา และเป็นผู้ออกความเห็นเพื่อเสนอต่อการประชุมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อในระดับนานาชาติอีกด้ว.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและยากุป วากเนร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคหินกลาง (แอฟริกา)

ในสาขาบรรพมานุษยวิทยาและชีววิทยาวิวัฒนาการเป็นต้น ยุคหินกลาง (Middle Stone Age ตัวย่อ MSA) เป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์ของแอฟริการะหว่างยุคหินต้น (Early Stone Age) และยุคหินหลัง ๆ (Later Stone Age) โดยทั่วไปพิจารณาว่าเริ่มประมาณ 280,000 ปีก่อนและยุติประมาณ 50,000-25,000 ปีก่อน จุดเริ่มต้นของเครื่องมือหินแบบ MSA อาจเริ่มตั้งแต่ 550,000-500,000 ปีก่อน และดังนั้น นักวิจัยบางคนพิจารณาว่านั่นเป็นจุดเริ่มต้นของ MSA MSA บ่อยครั้งเข้าใจผิดว่าเท่ากับยุคหินเก่ากลาง (Middle Paleolithic) ของยุโรป เพราะมีระยะเวลาเกือบเหมือนกัน แต่ยุคหินเก่ากลางของยุโรปสัมพันธ์กับสปีชีส์มนุษย์ที่ต่างกัน ซึ่งก็คือ ''Homo neanderthalensis'' เปรียบเทียบกับแอฟริกาที่ไม่มีมนุษย์สปีชีส์นี้ในช่วง MSA นอกจากนั้นแล้ว งานโบราณคดีในแอฟริกายังได้ให้หลักฐานเป็นจำนวนมากที่แสดงว่า พฤติกรรมและลักษณะทางประชานของมนุษย์ปัจจุบันได้เริ่มพัฒนาขึ้นในแอฟริกาช่วง MSA ก่อนกว่าที่พบในยุโรปช่วงยุคหินเก่ากลางอย่างมาก อนึ่ง ราชบัณฑิตยสถานแปลคำว่า Mesolithic period (12,000-7,000 ปีก่อนในยุโรป และ 22,000-11,500 ปีก่อนในลิแวนต์) ว่า "ยุคหินกลาง" ซึ่งอาจซ้ำกับคำแปลของ Middle Stone Age (280,000-25,000 ปีก่อนในแอฟริกา) ได้เหมือนกัน แต่ให้สังเกตว่าคำแต่ละคำหมายเอาสิ่งที่ต่างกันแทบสิ้นเชิง MSA สัมพันธ์กับทั้งมนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน (anatomically modern humans) สปีชีส์ Homo sapiens และกับมนุษย์โบราณ (archaic Homo sapiens) ซึ่งบางครั้งก็เรียกว่า Homo helmei ด้วย หลักฐานที่เป็นรูปธรรมยุคต้น ๆ ของ MSA มาจากโบราณสถานต่าง ๆ ใน Gademotta Formation ในเอธิโอเปีย, หมวดหินแคปธิวริน (Kapthurin Formation) ในประเทศเคนยา และ Kathu Pan ในแอฟริกาใต้ เครื่องมือยุคหินกลางแอฟริกา (MSA) จากถ้ำบลอมโบส์ แอฟริกาใต้.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและยุคหินกลาง (แอฟริกา) · ดูเพิ่มเติม »

รายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้

การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้เป็นระบบการจำแนกห้องสมุดประกอบด้วย 10 หมวดใหญ่ (class) แต่ละหมวดใหญ่แบ่งเป็นสิบหมวดย่อย (division) แต่ละหมวดย่อยมีสิบหมู่ย่อย (section) ตัวอย่างเช่น หมวดใหญ่ 600 ("เทคโนโลยี") มีหมวดย่อย 630 ("เกษตรกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง") ซึ่งมีหมู่ย่อย 636 ("การเลี้ยงสัตว์") ในทางปฏิบัติ มีทั้งหมด 99 จาก 100 หมวดย่อยและ 908 จาก 1000 หมู่ย่อย เนื่องจากบางส่วนเลิกใช้แล้วหรือยังไม่กำหน.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ · ดูเพิ่มเติม »

ลิงขนทอง

ลิงขนทอง (Cercopithecus kandti) เป็นสปีชีส์หนึ่งของลิงโลกเก่า พบในเทือกเขาวีรูงกาในแอฟริกากลาง รวมทั้งอุทยานแห่งชาติ 4 แห่งในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก เขตที่อยู่ของมันจำกัดอยู่บริเวณป่าบนที่สูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งใกล้กับบริเวณที่มีต้นไผ่ขึ้น ลิงขนทองเคยถูกจัดให้เป็นสปีชีส์ย่อยของลิงสีน้ำเงิน (Cercopithecus mitis) ลิงทั้งสองชนิดนี้มีลักษณะโดยทั่วไปเหมือนกัน แต่ลิงขนทองจะมีปื้นสีส้มทองบริเวณสีข้างด้านบนและหลัง ลิงขนทองอาศัยอยู่ในพื้นที่ขนาดเล็กซึ่งทับซ้อนกับถิิ่นของกอริลลาภูเขากลุ่มหนึ่ง พฤติกรรมของลิงขนทองยังไม่เป็นที่ทราบกันดีนัก มันอาศัยอยู่กันเป็นกลุ่มซึ่งอาจมีลิงมากถึง 30 ตัว อาหารของมันส่วนใหญ่เป็นใบไม้และผลไม้ และยังคาดกันว่ามันอาจจะกินแมลงด้วย เนื่องจากการทำลายพื้นที่อยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องและเหตุสงครามปัจจุบันในเขตถิ่นที่อยู่อันจำกัด ทำให้ลิงขนทองถูกจัดให้เป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ในบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาต.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและลิงขนทอง · ดูเพิ่มเติม »

ลิงเลซูลา

ลิงเลซูลา (Lesula) ลิงโลกเก่าชนิดหนึ่ง ที่เพิ่งถูกอนุกรมวิธานในปี..

ใหม่!!: แอฟริกากลางและลิงเลซูลา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยตะพาบ

วงศ์ย่อยตะพาบ (Soft-shelled turtle) เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับเต่า ในวงศ์ใหญ่ Trionychidae หรือ ตะพาบ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Trionychinae ลักษณะโดยรวมของตะพาบในวงศ์ย่อยนี้ คือ กระดูกฮัยโปพลาสทรอนไม่เชื่อมรวมกับกระดองท้อง และกระดองท้องไม่มีแผ่นกระดูกบริเวณต้นขา มีขนาดตั้งแต่ความยาวกระดองประมาณ 20-25 เซนติเมตร ไปจนถึง 1.5 เมตร หรือเกือบ ๆ 2 เมตร น้ำหนักนับร้อยกิโลกรัม มีพฤติกรรมหากินและอาศัยอยู่ในบริเวณพื้นท้องน้ำ ว่ายน้ำเพื่อแสวงหาอาหาร เนื่องจากมีลำตัวแบนราบจึงว่ายน้ำได้ดี หรืออาจใช้วิธีการฝังตัวอยู่ใต้โคลนหรือทรายใต้พื้นน้ำเพื่อรอเหยื่อเข้ามาใกล้ บางครั้งอาจฝังตัวในแหล่งน้ำตื้นแล้วโผล่มาแค่ส่วนปลายหัวเพื่อหายใจรวมทั้งใช้ผิวหนังแลกเปลี่ยนแก๊สได้ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ เช่น แม่น้ำ, ทะเลสาบ, คลอง มีเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่พบอาศัยอยู่ในลำธารบนภูเขาด้วย แพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปอเมริกาเหนือ, แอฟริกากลางไปจนถึงแอฟริกาตะวันตก, ทางใต้ของเอเชียไปจนถึงญี่ปุ่น และเกาะนิวกินี มีประมาณ 20 ชนิด ใน 10 สกุล ได้แก.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและวงศ์ย่อยตะพาบ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยปลาหมอสีแอฟริกา

วงศ์ย่อยปลาหมอสีแอฟริกา (African cichlid) เป็นวงศ์ย่อยของปลาน้ำจืดและปลาน้ำกร่อยกระดูกแข็งในวงศ์ Cichlidae หรือปลาหมอสี ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pseudocrenilabrinae เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภูมิภาคตะวันออกกลางจนถึงแอฟริกากลาง สามารถแบ่งออกได้เป็นเผ่าต่าง ๆ หลายเผ่า และหลายสกุล โดยแหล่งที่พบที่ใหญ่ที่สุด คือ ทะเลสาบมาลาวี และทะเลสาบแทนกันยีกา รวมถึงทะเลสาบวิกตอเรีย ซึ่งเป็นปลาที่ใช้รับประทานเป็นอาหารในท้องถิ่น และส่งออกไปจำหน่ายเป็นปลาเศรษฐกิจทั่วโลก รวมถึงการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย ซึ่งปลาในวงศ์นี้ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ ปลาไจแอนท์แทนกันยีกา (Boulengerochromis microlepis) ที่มีความยาวได้ถึง 90 เซนติเมตร ก็อยู่รวมในวงศ์ย่อยนี้ด้วย ปลาที่อยู่ในวงศ์ย่อยนี้มีความหลากหลายมากมายทั้งสกุล และชนิด (คาดว่ามีประมาณ 1,900 ชนิด และ 400 ชนิด กินสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ และสาหร่ายหรือตะไคร่น้ำเป็นอาหาร) มีพฤติกรรมความเป็นอยู่แตกต่างกันออกไป หลายสกุล หลายชนิดวางไข่ไว้ในเปลือกหอยฝาเดียว บางชนิดก็แทะเล็มตะไคร่น้ำและสาหร่ายตามโขดหินเป็นอาหาร ด้วยฟันขนาดเล็ก ๆ แหลมคมหลายชุด ที่มีความแตกต่างกัน ซึ่งทำให้มีการกินอาหารแตกต่างกันไป เช่น กัด, ขูด, ดูด และกลืน บางชนิดก็ล่าปลาขนาดเล็กและปลาหมอสีด้วยกันเป็นอาหาร ด้วยการอยู่นิ่ง ๆ กับที่ หรือฝังตัวอยู่ใต้ทราย หรือแม้กระทั่งแกล้งทำเป็นตาย ด้วยการหยุดการทำงานของช่องเหงือกเพื่อหายใจ บางชนิดก็กินเกล็ดปลาอื่นเป็นอาหาร ขณะที่หลายชนิดมีพฤติกรรมฟักลูกปลาไว้ในปาก แต่ก็ต้องเลี้ยงลูกจำพวกอื่นไปด้วย เช่น ปลาหนังขนาดใหญ่บางชนิด โดยเฉพาะในวงศ์ปลากดคัดคู (Mochokidae) โดยที่ไม่รู้เลยว่านั่นไม่ใช่ลูกของตัว และลูกปลาหนังนั้นก็จะกินลูกปลาหมอสีขณะที่อยู่ในปากด้วยMutant Planet: African Rift Valley Lakes, "Mutant Planet".

ใหม่!!: แอฟริกากลางและวงศ์ย่อยปลาหมอสีแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ลิงลม

วงศ์ลิงลม (Lorisid; Kukang) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับไพรเมตวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Lorisidae (หรือ Loridae) สมาชิกในวงศ์นี้ที่เป็นที่รู้จักกันดี ประกอบไปด้วย ลิงลม หรือ นางอาย, ลิงลมเรียว, พอตโต, อังวานต.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและวงศ์ลิงลม · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ค้างคาวแวมไพร์แปลง

ำหรับค้างคาวแวมไพร์แปลงที่พบในภูมิภาคอเมริกากลาง ดูที่: ค้างคาวสเปกตรัม วงศ์ค้างคาวแวมไพร์แปลง (False vampire bat) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกค้างคาววงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Megadermatidae ค้างคาวในวงศ์นี้ มีถิ่นกำเนิดและกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปแอฟริกาตอนกลาง จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และออสเตรเลีย แรกเริ่มมีความเข้าใจว่า ค้างคาวในวงศ์นี้กินเลือดสัตว์อื่นเป็นอาหาร เหมือนค้างคาวแวมไพร์ที่พบในทวีปอเมริกาใต้และอเมริกากลาง แต่หาใช่ความจริงไม่ เมื่อมีการศึกษามากขึ้น พบกว่าค้างคาวในวงศ์นี้กินแมลง รวมถึงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กเป็นอาหาร และรวมถึงค้างคาวด้วยกันเองด้วย แต่พฤติกรรมนี้ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ว่าจริงหรือไม่ แบ่งออกได้เป็น 4 สกุล 5 ชนิด สำหรับในประเทศไทยพบทั้งหมด 2 ชน.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและวงศ์ค้างคาวแวมไพร์แปลง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลชิมแปนซี

กุลชิมแปนซี (Chimpanzee, Bonobo, Chimp) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีวิวัฒนาการสูง ใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุด ในอันดับวานร เป็นลิงไม่มีหาง ใช้ชื่อสกุลว่า่ Pan มีถิ่นที่อยู่ในแถบทวีปแอฟริกาตะวันออกและแอฟริกากลางระดับเส้นศูนย์สูตร ตัวผู้จะหนักราว 110 ปอนด์ มีส่วนสูงเฉลี่ย 5 ฟุต ส่วนตัวเมียหนักราว 88 ปอนด์และสูงเฉลี่ย 4 ฟุต สามารถปีนป่ายต้นไม้ได้เป็นอย่างดี แต่ชอบที่จะหากินและอาศัยอยู่้บนพื้นดินมากกว่า ขนตามลำตัวสั้นสีน้ำตาลดำหรือเทาเข้ม แต่ที่มือและเท้าไม่มีขน รวมทั้งบริเวณใบหน้าและใบหู มีลักษณะเด่น คือ ไม่มีดั้งจมูก ขากรรไกรค่อนข้างยื่นออกมา มีฟันกรามที่พัฒนาใช้การได้ดี มีปริมาตรสมองราว 400 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีโครโมโซมจำนวน 24 คู่ และมีดีเอ็นเอร่วมกับมนุษย์ถึงร้อยละ 99.4 เนื่องจากมีบรรพบุรุษร่วมกันมา แต่ได้แยกวิวัฒนาการออกจากกันเมื่อราว 5-6 ล้านปีก่อน มีพฤติกรรมกินพืชเป็นอาหารหลัก โดยปกติเป็นสัตว์ที่รักสงบ แต่ก็มีบางครั้งที่ตัวผู้จะมีพฤติกรรมดุร้าย มักยกพวกเข้าโจมตีกัน และยังมีพฤติกรรมล่าลิงชนิดอื่น ได้แก่ ลิงโลกเก่ากินเป็นอาหารอีกด้วย เป็นสัตว์ที่อยู่รวมกันเป็นครอบครัว มีความสัมพันธ์เป็นเครือญาติกัน โดยมีตัวผู้เป็นจ่าฝูง ออกลูกครั้งละเพียง 1 ตัว อายุขัยโดยเฉลี่ย 40 ปี เป็นสัตว์ที่มีความเฉลียวฉลาด มีการแสดงออกทางอารมณ์คล้ายคลึงและใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุด รวมทั้งกล้ามเนื้อและสรีระ ทั้งนี้เพราะระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์และชิมแปนซีนั้นคล้ายกันมาก แต่ถึงอย่างนั้นเมื่อเปรียบเทียบกันต่อหน่วยน้ำหนักแล้ว ชิมแปนซีมีกล้ามเนื้อที่แข็งแรงกว่ามนุษย์ 2-3 เท่า โดยมีการศึกษาพบว่า ชิมแปนซีมีความทรงจำดีัเสียยิ่งกว่ามนุษย์ที่เป็นผู้ใหญ่เสียอีก และจดจำคำศัพท์ของมนุษย์ได้ถึง 125 คำ แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและสกุลชิมแปนซี · ดูเพิ่มเติม »

สกุลคองโกโครมิส

กุลคองโกโครมิส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Congochromis (/คอง-โก-โคร-มิส/) จัดเป็นปลาหมอแคระสกุลหนึ่ง เป็นสกุลใหม่ที่เพิ่งถูกตั้งชื่อมาในปี ค.ศ. 2007 เดิมเคยจัดให้อยู่ในสกุล Nanochromis ลักษณะโดยทั่วไป คือ มีขนาดเล็กกว่าปลาในสกุล Nanochromis มีลำตัวป้อมกว่า ตาไม่ปูดโปนทำให้ทรงหัวดูมนกลม มีพฤติกรรมหากินบริเวณพื้นน้ำ อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง มีลักษณะการว่ายน้ำที่ประหลาด พบกระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกาตอนกลาง แถบลุ่มแม่น้ำคองโก ได้แก่ แคเมอรูน, ซาอีร์, แอฟริกากลาง เป็นต้น แบ่งออกได้เป็น 4 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและสกุลคองโกโครมิส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเพลวิคาโครมิส

กุลเพลวิคาโครมิส เป็นสกุลปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Pelvicachromis อยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) เป็นปลาขนาดเล็ก จัดเป็นปลาหมอแคระอีกสกุลหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดในแอฟริกากลางและแอฟริกาตะวันตก ตั้งแต่แม่น้ำในประเทศไนจีเรียจนถึงทิศตะวันออกของประเทศแคเมอรูน มีขนาดความยาวลำตัวไม่เกิน 10 เซนติเมตร ตัวผู้มีขนาดใหญ่และลำตัวยาวกว่าตัวเมีย ขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่าและท้องอูมป้อมกลม จุดเด่นของปลาในสกุลนี้คือ ตัวเมียจะมีสีสันที่สวยกว่าตัวผู้ โดยเฉพาะในช่วงฤดูผสมพันธุ์ ช่วงท้องของปลาตัวเมียจะเป็นสีชมพูอมม่วง ปลาสกุลเพลวิคาโครมิสนี้มีพฤติกรรมคล้ายกับปลาสกุลอพิสโตแกรมมา โดยอาศัยอยู่ในน้ำที่มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 5.8-6.5 (pH) มีพฤติกรรมการวางไข่ในถ้ำที่ตีลังกาเช่นเดียวกัน สามารถวางไข่ได้ถึง 300-500 ฟอง โดยปกติแล้ว ปลาตัวเมียจะเป็นผู้ดูแลไข่ แต่บางครั้งตัวผู้อาจจะเข้ามาช่วยดูแลด้วยได้.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและสกุลเพลวิคาโครมิส · ดูเพิ่มเติม »

สมัยไพลสโตซีน

มัยไพลสโตซีน (Pleistocene เครื่องหมาย PS) เป็นธรณีกาลระหว่าง 2,588,000-11,700 ปีก่อนที่มียุคน้ำแข็งเกิดขึ้นซ้ำ ๆ กัน ชาลส์ ไลเอลล์ บัญญัติคำนี้ขึ้นในปี..

ใหม่!!: แอฟริกากลางและสมัยไพลสโตซีน · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา

มาพันธ์ฟุตบอลแอฟริกา (Confederation of African Football) หรือ ซีเอเอฟ (CAF) เป็นองค์กรที่ควบคุมการแข่งขันฟุตบอลในทวีปแอฟริกา และเป็น 1 ใน 6 สมาคมที่จัดการแข่งขันฟุตบอลทั่วโลกของฟีฟ่า ซีเอเอฟก่อตั้งเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ที่ประเทศอียิปต.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติแอฟริกา

มาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติแอฟริกา (Association des Comités Nationaux Olympiques d'Afrique; ACNOA; رابطة اللجان الأولمبية الوطنية في إفريقيا) เป็นองค์กรกีฬาระหว่างประเทศในทวีปแอฟริกาที่มี 54 สมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติแอฟริกามีสำนักงานใหญ่อยู่ที่อาบูจา ประเทศไนจีเรีย โดยสืบต่อจากคณะกรรมการกีฬาแห่งแอฟริกา (Standing Committee of African Sports; Comité permanent du sport africain).

ใหม่!!: แอฟริกากลางและสมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์ประหลาดทะเลสาบ

ัตว์ประหลาดทะเลสาบ (Lake monster) เป็นสัตว์ประหลาดที่ปรากฏในแหล่งน้ำจืดต่าง ๆ ทั่วโลก เช่น หนอง, บึง, ทะเลสาบ, แม่น้ำ ตามคติชนวิทยาของแต่ละชนชาติ โดยที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ สัตว์ประหลาดล็อกเนสส์ หรือเนสซี ในทะเลสาบเนสส์ ของสกอตแลนด์ อย่างไรก็ดีสัตว์ประหลาดทะเลสาบมักมีความเกี่ยวข้องกับสัตว์ประหลาดทะเล มีคำอธิบายในเชิงเหตุผลโดย เบน เรดฟอร์ด และโจ นิกเกิล นักสัตว์ประหลาดวิทยาว่า การที่พบเห็นสิ่งที่ทำให้เข้าใจว่าเป็นสัตว์ประหลาดทะเลสาบ เป็นการมองเห็นหรือตีความภาพผิดพลาดไป อาจจะเป็น นาก หรือวัตถุอย่างอื่นในน้ำ หรือตามคำอธิบายของนักวิทยาศาสตร์แห่งคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิบายว่าเป็นเพียงคลื่นนิ่งที่ปรากฏขึ้นบนผิวน้ำ นักธรรมชาติวิทยาและนักเขียนชาวสวีเดน เบนจต์ สโตเกรน อธิบายในปี..

ใหม่!!: แอฟริกากลางและสัตว์ประหลาดทะเลสาบ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐซาอีร์

ซาอีร์ (Zaire) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐซาอีร์ (République du Zaïre) เป็นชื่อรัฐระหว่าง..

ใหม่!!: แอฟริกากลางและสาธารณรัฐซาอีร์ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก

รณรัฐประชาธิปไตยคองโก (République Démocratique du Congo) หรือบางครั้งมีผู้เรียกว่า คองโก (Congo) และ คองโก-กินชาซา (Congo-Kinshasa) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกากลางและเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่อันดับที่ 2 ของทวีป สาธารณรัฐประชาธิปไตยมีอาณาเขตจรดสาธารณรัฐแอฟริกากลางและซูดานทางทิศเหนือ จรดยูกันดา รวันดา บุรุนดี และแทนซาเนียทางทิศตะวันออก จรดแซมเบียและแองโกลาทางทิศใต้ และจรดสาธารณรัฐคองโกทางทิศตะวันตก โดยมีทางออกสู่ทะเลตามแม่น้ำคองโกไปสู่อ่าวกินี ชื่อ คองโก (หมายถึง "นักล่า") มาจากกลุ่มชาติพันธุ์บาคองโก (Bakongo) ซึ่งอาศัยอยู่บริเวณลุ่มน้ำคองโก ในอดีตสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกเคยเป็นอาณานิคมของเบลเยียม โดยมีชื่อว่า เบลเจียน คองโก (Belgian Congo) ในปี พ.ศ. 2514 หลังจากได้รับเอกราช 11 ปี ก็ได้เปลี่ยนชื่อประเทศจากคองโก-กินชาซา (ใส่ชื่อเมืองหลวงไว้ข้างหลัง เพื่อแยกความแตกต่างระหว่างประเทศนี้กับ สาธารณรัฐคองโก หรือ (คองโก-บราซาวีล) เป็นสาธารณรัฐซาอีร์ จนถึงปี พ.ศ. 2540 จึงได้เปลี่ยนชื่อกลับมาเป็น "คองโก" ตามเดิม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกต้องเผชิญกับความทุกข์ยากอย่างใหญ่หลวงจากสงครามคองโกครั้งที่ 2 (Second Congo War) อันเป็นความขัดแย้งที่ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 บางครั้งจึงมีผู้เรียกว่า "สงครามโลกแอฟริกา" (African World War).

ใหม่!!: แอฟริกากลางและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐแอฟริกากลาง

รณรัฐแอฟริกากลาง (République centrafricaine; ซังโก: Ködörösêse tî Bêafrîka) หรือ ซ็องทราฟริก (Centrafrique) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในแอฟริกากลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศชาด ทางตะวันออกจรดประเทศซูดาน ทางใต้จรดสาธารณรัฐคองโกและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม) และทางตะวันตกจรดประเทศแคเมอรูน ตั้งอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร และแบ่งลุ่มแม่น้ำคองโกจากทะเลสาบชาดและลุ่มแม่น้ำไนล์ขาว.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

หนูผีนากยักษ์

หนูผีนากยักษ์ (Giant otter shrew) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นในสกุล Potamogale หนูผีนากยักษ์ เป็นสัตว์ที่มีลักษณะรูปร่างคล้ายหนูผีผสมกับนาก ซึ่งเป็นสัตว์คนละอันดับกัน แต่ความจริงแล้วเป็นเทนเรคชนิดหนึ่ง หนูผียักษ์มีใบหน้าที่แบนยาว มีดวงตาที่มีขนาดเล็ก มีหนวดแข็งที่ใช้เป็นประสาทสัมผัสเหมือนกับนากจริง ๆ มีหางแบนยาวใช้สำหรับว่ายน้ำเหมือนปลา มีใบหูกลมขนาดเล็ก ปลายจมูกที่แหลมยาวปกคลุมไปด้วยหนวดแข็งสำหรับป้องกันจมูก ขนตามลำตัวมีความหนาแน่น เป็นขนสองชั้นมีทั้งชั้นขนหยาบและขนที่อ่อนนุ่ม ด้านหลังเป็นสีน้ำตาลเข้ม และเป็นสีเหลืองหรือสีขาวที่ด้านล่างลำตัว ขนที่หางเป็นขนที่อ่อนนุ่ม หางมีความแบนข้างทำให้เมื่อว่ายน้ำในแนวนอนลำตัวจะเคลื่อนขยับไปมาด้านข้างเหมือนปลาหรือจระเข้ ขาสั้นและไม่ใช้สำหรับว่ายน้ำ ขาหลังมีผนังที่ช่วยเก็บความอบอุ่นเมื่อขึ้นจากน้ำ โดยที่นิ้วเท้าหลังนิ้วที่ 2 และ 3 ได้ลดรูปรวมกัน ขาหลังใช้สำหรับไซ้ขนหรือเช็ดตัวหลังขึ้นมาจากน้ำ หนูผีนากยักษ์ตัวเมีย มีเต้านม 2 เต้า และหน้าท้องที่ลดรูปลงสำหรับให้นมแก่ลูก มีน้ำหนักประมาณ 300-950 กรัม ความยาวส่วนหัวและลำตัวประมาณ 290-350 มิลลิเมตร และรวมความยางหาง 535-640 มิลลิเมตร หนูผีนากยักษ์ เป็นสัตว์กินเนื้อ หากินในเวลากลางคืน เป็นสัตว์ที่ใช้ชีวิตแบบกึ่งน้ำกึ่งบก โดยพบแพร่กระจายพันธุ์ในแอฟริกากลางแถบตะวันตก ตั้งแต่ตอนใต้ของประเทศไนจีเรีย (ป่าฝนใจกลางประเทศ เป็นต้นมา), อิเควทอเรียลกินี, กาบองและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง, ชาด, สาธารณรัฐคองโก, สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก, ภาคเหนือของซูดาน, แองโกลาและแซมเบีย และมีจำนวนประชากรที่พบน้อยในป่าฝนระหว่างชายแดนเคนยาและยูกันดาTamaska, Gabriel.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและหนูผีนากยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรสำหรับภาษาฟูลา

อักษรสำหรับภาษาฟูลา เดิมภาษานี้เขียนด้วยอักษรอาหรับที่เรียกอักษรอยามี ก่อนจะเปลี่ยนมาเขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและอักษรสำหรับภาษาฟูลา · ดูเพิ่มเติม »

อัสคารี

ฝ่ายสัมพันธมิตรที่วอเตอร์คลูฟ (Waterkloof), พริทอเรีย, ประเทศแอฟริกาใต้ใน ค.ศ. 1943 อัสคารี (Askari) เป็นคำในภาษาอาหรับแปลว่า "ทหาร" (عسكري ‘askarī) โดยทั่วไปแล้วใช้อธิบายถึงกองทหารพื้นเมืองในแอฟริกาตะวันออก, แอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือ และแอฟริกากลาง ที่สังกัดกองทัพของอาณานิคมมหาอำนาจยุโรป ชื่อนี้ยังหมายถึงตำรวจ, ตำรวจภูธร และเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยอีกด้วย คำนี้ได้ถูกรับเข้าไปในภาษาแอมฮาริค (Amharic), บอสเนียน (Bosnian), อิตาลี, เปอร์เซีย, โปแลนด์, โซมาลี, สวาฮีลี, ตุรกี และ อูรดู ในช่วงระยะเวลาของจักรวรรดิอาณานิคมของยุโรปในทวีปแอฟริกา ทหารรับจ้างพื้นเมืองถูกว่าจ้างโดยกองทัพอาณานิคมของอิตาลี, อังกฤษ, โปรตุเกส, เยอรมัน และเบลเยี่ยม พวกเขามีบทบาทที่สำคัญในการพิชิตดินแดนอาณานิคมหลายพื้นที่ และภายหลังทำหน้าที่เป็นกองทหารรักษาการณ์ และกองกำลังรักษาความปลอดภัยในพื้นที่ ในระหว่างสงครามโลกทั้งสองครั้ง หน่วยอัสคารีได้ทำหน้าที่ภายนอกอาณานิคมของตนในส่วนต่างๆของทวีปแอฟริกา ตะวันออกกลาง และเอเชี.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและอัสคารี · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ดวาร์ก

อาร์ดวาร์ก (Aardvark) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Orycteropodidae ในอันดับ Tubulidentata จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์อยู่จนถึงปัจจุบัน ในวงศ์และอันดับนี้ จึงจัดเป็นฟอสซิลที่มีชีวิตชนิดหนึ่ง เป็นสัตว์ที่อาศัยและกระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกา ตั้งแต่แอฟริกากลางลงไป อาร์ดวาร์ก มีชื่อเรียกในภาษาแอฟริคานส์ว่า "aarde varken" แปลว่า "หมูดิน" มีจมูกและส่วนปากยาวเป็นท่อเหมือนอาร์มาดิลโลหรือลิ่น มีฟันลักษณะเป็นรูปหกเหลี่ยมฝังตัวอยู่ด้านในของปาก ลักษณะเหมือนหมุดที่แบนราบ จำนวน 20 ซี่ และเคลือบไว้ด้วยเคลือบรากฟัน ซึ่งเป็นสารปกติที่อยู่ในฟัน ซึ่งฟันจะมีลักษณะเหมือนกับสัตว์ฟันแทะคือจะงอกขึ้นมาเรื่อย ๆ มีใบหูยาวเหมือนลา มีอุ้งเท้าคล้ายกับกระต่าย และมีหางคล้ายหนู อาร์ดวาร์ก เป็นสัตว์ที่มีประสาทการรับกลิ่นและรับฟังอย่างดีเยี่ยม โดยหูสามารถรับฟังเสียงเคลื่อนไหวของแมลงซึ่งอยู่ใต้ดินได้ โดยจะออกหากินในเวลากลางคืนหรือพลบค่ำ ด้วยการสูดกลิ่นไปเรื่อย ๆ กินอาหารจำพวกแมลงที่อยู่ตามพื้นดิน เช่น มดหรือปลวก โดยใช้กรงเล็บที่แหลมคมขุดหรือเซาะทำลายจอมปลวก แล้วใช้ลิ้นเลียเข้าปาก ซึ่งวัน ๆ หนึ่งอาจเดินหากินได้ไกล 48 กิโลเมตร และกินปลวกได้มากถึงวันละ 5 ลิตร จัดว่าเป็นสัตว์ที่มีความสามารถในการหลบหลีกซ่อนตัวได้อย่างว่องไวมาก อาร์ดวาร์กจะเลี้ยงดูลูกอ่อนจนกระทั่งอายุได้ 6 เดือน แล้วจึงจะปล่อยให้ออกหากินเองเป็นอิสระ นอกจากนี้แล้วอาร์ดวาร์กยังมีความสัมพันธ์กับแตงกวาชนิดหนึ่ง คือ แตงกวาอาร์ดวาร์ก (Cucumis humifructus) เหตุที่ได้ชื่อนี้เพราะ อาร์ดวาร์กจะขุดดินลงไปกินแตงกวาชนิดนี้ในยามที่อาหารขาดแคลน แล้วจึงฝังมูลเอาไว้.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและอาร์ดวาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและอนุสัญญาแรมซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

จระเข้แคระ

ระเข้แคระ (Dwarf crocodile) เป็นจระเข้ที่พบในทวีปแอฟริกา และเป็นชนิดของจระเข้ที่เล็กที่สุดในโลก ปัจจุบันจากการสุ่มตัวอย่างตรวจพบถึงการระบุประชากรที่แตกต่างกันสามกลุ่มพันธุกรรม ซึ่งการค้นพบนี้อาจยกชนิดย่อยขึ้นเป็นชน.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและจระเข้แคระ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและทวีปแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบมาลาวี

ทะเลสาบมาลาวี หรือ ทะเลสาบนยาซา หรือ ทะเลสาบนิอัสซา (Lake Malawi, Lake Nyasa, Lake Nyassa, Lake Niassa; ชื่อหลังเป็นชื่อที่นิยมเรียกกันในโมซัมบิก) เป็นทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในทวีปแอฟริกา เช่นเดียวกับทะเลสาบวิกตอเรียหรือทะเลสาบแทนกันยีกา นับว่าเป็นทะเลสาบที่มีขนาดเล็กที่สุดในบรรดา 3 ทะเลสาบนี้ ทะเลสาบมาลาวี เกิดจากการที่พื้นผิวโลกในบริเวณหุบเขาเกรตริฟต์แวลลีย์แยกตัวออกจากกันเมื่อ 8 ล้านปีก่อน และกำเนิดเป็นทะเลสาบเมื่อ 4 ล้านปีก่อน จากน้ำที่เอ่อล้นในทะเลสาบแทนกันยีกา ไหลมารวมกันที่นี่Mutant Planet: African Rift Valley Lakes, "Mutant Planet".

ใหม่!!: แอฟริกากลางและทะเลสาบมาลาวี · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบแทนกันยีกา

ทะเลสาบแทนกันยีกา (Lake Tanganyika) เป็นทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ในเขตรอยต่อ 4 ประเทศด้วยกัน ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม), แทนซาเนีย, แซมเบีย และบุรุนดี เป็นแหล่งน้ำจืดที่สำคัญเป็นอันดับที่สองในแอฟริการองจากทะเลสาบวิกตอเรีย นอกจากนั้นยังเป็นทะเลสาบที่ใหญ่เป็นอันดับสองในทวีปแอฟริกาและลึกที่สุดในทวีปแอฟริกาอีกด้วย จุดที่มีความลึกที่สุดลึกกว่า 1,470 เมตร ทะเลสาบแทนกันยีกาเกิดจากการทรุดตัวของแผ่นเปลือกโลกและภูเขาไฟระเบิด เมื่อราว 20 ล้านปีมาแล้ว นับเป็นทะเลสาบแห่งหนึ่งที่มีอายุเก่าแก่ในทวีปแอฟริกา ซึ่งตั้งอยู่ในแนวเกรตริฟต์แวลลีย์ โดยคำว่า "แทนกันยีกา" นั้นมาจากภาษาสวาฮิลีสองคำ คือ "tangan" หมายถึง "เรือใบ" และ "nyika" หมายถึง "ป่า" หรือ "ไม่มีที่อยู่" โดยรวมอาจหมายความว่า "เรือใบที่แล่นในถิ่นทุรกันดาร" ก็ได้ ทะเลสาบแทนกันยีกา มีความยาวจัดจากเหนือจรดใต้ได้ถึง 673 กิโลเมตร แต่มีความกว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 50 กิโลเมตร มีพื้นที่โดยรวมประมาณ 3,2892 ตารางกิโลเมตร ความยาวรอบชายฝั่งวัดรวมกันได้ 1,828 กิโลเมตร และยังเป็นทะเลสาบน้ำจืดที่มีความลึกเป็นอันดับสองของโลกรองจากทะเลสาบไบคาล ในไซบีเรีย มีดินแดนติดกับคองโกราวร้อยละ 45 และติดกับแทนซาเนียร้อยละ 41 โดยประมาณ น้ำในทะเลสาบไหลสู่แม่น้ำคองโกในตอนกลางของทวีป และจะไหลไปลงทะเลที่ตอนแอฟริกาตะวันตกที่มหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลสาบแห่งนี้มีความโดดเด่นเรื่องของอุณหภูมิที่ค่อนข้างเสถียร เรื่องจากข้างล่างทะเลสาบยังคงมีภูเขาไฟ น้ำมีการเปลี่ยนแปลงในแนวตั้งน้อยมาก ในความลึกเกิน 300 เมตร ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำค่อนข้างน้อย จึงมักไม่ค่อยมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ อุณหภูมิโดยเฉลี่ยมีความเปลี่ยนแปลงต่างกันไม่เกิน 5 ฟาเรนไฮต์ โดยบริเวณผิวน้ำจะมีอุณหภูมิประมาณ 73-88 ฟาเรนไฮต์ ค่าความเป็นกรด-ด่างของน้ำอยู่ที่ประมาณ 7.5-9.3 (pH) ระบบนิเวศของทะเลสาบแทนกันยีกา แบ่งออกได้เป็นสองส่วนหลัก คือ ระบบชายฝั่งและพื้นที่นอกชายฝั่ง ซึ่งสามารถแบ่งระบบนิเวศตามสภาพแวดล้อมที่ต่างกันได้ ดังนี้.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและทะเลสาบแทนกันยีกา · ดูเพิ่มเติม »

ข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม

้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม (Genetically modified food controversies) เป็นความขัดแย้งกันในเรื่องการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์อย่างอื่น ๆ ที่ทำมาจากพืชดัดแปรพันธุกรรม ไม่ใช่จากพืชปลูกโดยวิธีตามที่เคยทำมาก่อน (คือแบบธรรมดา) และในเรื่องการใช้พันธุวิศวกรรมแบบอื่น ๆ ในกระบวนการผลิตอาหาร เป็นความขัดแย้งกันระหว่างผู้บริโภค เกษตรกร บริษัทเทคโนโลยีชีวภาพ องค์กรควบคุมของรัฐ องค์การนอกภาครัฐ และนักวิทยาศาสตร์ ข้อโต้เถียงสำคัญรวมทั้ง.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ดอน คิง

อน คิง ดอน คิง (Don King) มีชื่อเต็มว่า โดนัลด์ ดอน คิง (Donald Don King) เกิดเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1931 ที่เมืองคลีฟแลนด์ รัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา เมื่อตอนอายุ 14 เคยติดคุกข้อหาฆ่าคนตายมาแล้ว ดอน คิง เริ่มอาชีพในวงการมวยด้วยการเป็นผู้จัดการให้กับ เออร์นี่ เชฟเวอร์ นักมวยรุ่นเฮฟวี่เวท และเริ่มมีชื่อเสียงจากการเป็นโปรโมเตอร์ผู้จัดศึก "The Rumble in the Jungle" ในปี ค.ศ. 1974 ที่กรุงกินชาซา ประเทศซาอีร์ ซึ่งเป็นการป้องกันตำแหน่งแชมป์โลกในรุ่นเฮฟวี่เวทระหว่าง จอร์จ โฟร์แมน กับ มูฮัมหมัด อาลี ซึ่งมวยคู่นี้ได้สร้างปรากฏการณ์หลายอย่างให้เกิดขึ้นในโลกด้วย ไม่เพียงแต่เป็นการแข่งขันกีฬาธรรมดา แต่ยังมีนัยแฝงทางการเมืองรวมอยู่ด้วย เนื่องจากขณะนั้นกระแสทางการเมืองทั่วโลกกำลังต่อต้านชนชาติผิวสี แต่การที่ดอน คิง กล้าเข้าไปจัดมวยชิงแชมป์โลกถึงใจกลางทวีปแอฟริกา นับเป็นการท้าทายอย่างยิ่ง และมวยคู่นี้จบลงที่อาลีเป็นฝ่ายชนะน็อกไปในยกที่ 8 ได้กลับมาเป็นแชมป์โลกสมัยที่ 2 ทั้ง ๆ ที่เกมการชกก่อนหน้านั้นเป็นไปอย่างชนิดที่อาลีเป็นรองสุดกู่ ท่ามกลางเสียงครหาว่าผู้จัดเจตนาขึงเชือกกั้นเวทีให้หย่อน เพื่อที่จะให้อาลีพยายามโยกหลบหมัดของโฟร์แมนได้สะดวก อีกทั้งฝ่ายโฟร์แมนเองก็ได้บอกภายหลังการชกว่า ตนถูกเอาเปรียบแทบทุกอย่าง ในทศวรรษที่ 80 และ 90 เรียกได้ว่าเป็นยุคทองของ ดอน คิง เมื่อยอดนักมวยของโลกหลายต่อหลายคนทยอยเข้ามาอยู่ในสังกัด ไม่ว่าจะเป็น ซาลวาดอร์ ซานเชส, ไมค์ ไทสัน, โรแบร์โต้ ดูรัน, อเล็กซิส อาร์กูเอลโล่, ฮูลิโอ ซีซาร์ ชาเวซ, ริคาร์โด้ โลเปซ เป็นต้น พร้อมกันนั้น ดอน คิง ยังได้เปิด "ดอน คิง โปรโมชั่น" (Don King Promotion) บริษัทของตัวเองอย่างเป็นทางการในปี ค.ศ. 1970 ดอน คิง นับได้ว่าเป็นผู้สร้างปรากฏการณ์ให้กับวงการมวยสหรัฐและวงการมวยโลกอย่างแท้จริง โดยเป็นผู้จุดกระแสสร้างสีสันให้กับการประกบคู่มวย โดยสร้างสีสันให้แก่การชก เช่น การโชว์แสงสีระหว่างหรือก่อนการชก การเปิดตัวนักมวย รวมทั้งยังนำเสนอแม้แต่ตัวเองด้วยผ่านการไว้ทรงผมที่ฟูฟองตั้งตรงตลอดเวลา อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว และมักขึ้นไปแสดงตัวบนเวทีให้ผู้ชมให้เห็นกันเสมอ ๆ อีกทั้งยังเป็นผู้เริ่มการจัดศึกมวยโลกขึ้นที่ลาสเวกัส รัฐเนวาดา อีกด้วย เพื่อดึงดูดความน่าสนใจและดึงดูดนักเล่นพนันทั้งหลาย เนื่องจากก่อนหน้านั้นศูนย์กลางของวงการมวยโลกและมวยสหรัฐจะอยู่ที่สนามเมดิสัน สแควร์ การ์เด้น ในมหานครนิวยอร์ก หน้าปกดีวีดีภาพยนตร์เรื่อง ''Don King: Only in America'' ดอน คิง ได้ชื่อว่าเป็นผู้ทรงอิทธิพลอันดับหนึ่งของวงการมวยโลก เป็นผู้ที่เชื่อว่ามีอิทธิพลเหนือสถาบันมวยใด ๆ โดยมีกลุ่มมาเฟียที่ลาสเวกัสให้การสนับสนุนอยู่ ถูกครหาว่าเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการให้คะแนนที่ค้านสายตาผู้ชมหลายครั้ง ถูกฟ้องร้องดำเนินคดีทางศาลหลายต่อหลายครั้ง แต่ก็รอดตัวมาได้ทุกครั้ง ปัจจุบันได้โอนถ่ายงานส่วนหนึ่งไปให้แก่ลูกชายคือ คาร์ล คิง เป็นผู้ดูแล.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและดอน คิง · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเทียมไทยคม

วเทียมไทยคม เป็นโครงการ ดาวเทียมสื่อสาร เพื่อให้บริการสื่อสารผ่านช่องสัญญาณดาวเทียม ซึ่งกระทรวงคมนาคม (ในขณะนั้น) ต้องการจัดหาดาวเทียมเพื่อรองรับการขยายตัวด้านการสื่อสารของประเทศอย่างรวดเร็ว แต่ในเวลานั้นประเทศไทยยังไม่มีดาวเทียมเป็นของตนเอง และต้องทำการเช่าวงจรสื่อสารจากดาวเทียมของประเทศต่างๆ ทำให้ให้เกิดความไม่สะดวกและสูญเสียเงินออกนอกประเทศเป็นจำนวนมาก แต่เนื่องจากการจัดสร้างดาวเทียมต้องใช้เงินลงทุนสูงมากจึงได้มีการเปิดประมูลเพื่อให้สัมปทานแก่บริษัทเอกชนเข้ามาดำเนินการแทนการใช้งบประมาณจากภาครัฐ และ บริษัท ชินวัตร แซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ได้รับสัมปทานเมื่อ พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา เป็นระยะเวลา 30 ปี (ปัจจุบันอำนาจการดูแลสัญญาโอนไปที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) ชื่อ "ไทยคม" (Thaicom) เป็นชื่อพระราชทาน ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน โดยย่อมาจาก Thai Communications ในภาษาอังกฤษ.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและดาวเทียมไทยคม · ดูเพิ่มเติม »

ความคิดเชิงไสยศาสตร์

วามคิดเชิงไสยศาสตร์ (Magical thinking) หรือ ความคิดเชิงเวทมนตร์ เป็นการอ้างการกระทำหนึ่ง ๆ ว่าเป็นเหตุของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ที่ไม่สมเหตุผลและไม่สมกับสิ่งที่สังเกตได้ เช่น ในความเชื่อทางศาสนา ความเชื่อพื้นบ้าน และความเชื่อเรื่องเหนือธรรมชาติ มักจะมีการอ้างความสัมพันธ์ระหว่างข้อวัตร การสวดมนต์หรือการสวดอ้อนวอน การบูชายัญ หรือการเว้นจากสิ่งต้องห้าม กับประโยชน์หรืออานิสงส์ที่พึงจะได้จากการกระทำเหล่านั้น ในจิตวิทยาคลินิก ความคิดเชิงไสยศาสตร์อาจทำให้คนไข้ประสบกับความกลัวที่จะทำอะไรอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเกิดความคิดบางอย่าง เพราะความเชื่อว่าจะมีสิ่งเลวร้ายที่จะเกิดขึ้นเนื่องจากการกระทำนั้น นอกจากนั้นแล้ว ความคิดเชิงไสยศาสตร์อาจทำให้เราเชื่อว่า เพียงแค่ความคิดเท่านั้นสามารถทำให้เกิดผลต่าง ๆ ในโลกได้ นี้เป็นวิธีการคิดหาเหตุ (causal reasoning) แบบหนึ่ง ซึ่งเป็นเหตุผลวิบัติโดยเหตุ (causal fallacy) ที่เราพยายามหาความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์สองอย่างที่เกิดขึ้นต่อ ๆ กันหรือพร้อมกัน คือระหว่างการกระทำและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ที่ไม่ได้เป็นเหตุผลต่อกันและกันจริง ๆ ส่วนความคิดเชิงไสยศาสตร์เสมือน (Quasi-magical thinking) หมายถึง "กรณีที่เรามีพฤติกรรมเหมือนกับเชื่อผิด ๆ ว่า การกระทำของตนมีอิทธิพลต่อผลที่เกิดขึ้น แม้ว่าจริง ๆ แล้ว ตนจะไม่ได้เชื่ออย่างนั้น".

ใหม่!!: แอฟริกากลางและความคิดเชิงไสยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลงฉันทไมตรี

วามตกลงฉันทไมตรี (entente cordiale) เป็นความตกลงหลายฉบับที่ลงนามเมื่อวันที่ 8 เมษายน..

ใหม่!!: แอฟริกากลางและความตกลงฉันทไมตรี · ดูเพิ่มเติม »

คองกามาโต

องกามาโต (Kongamato; แปลว่า "ตัวทำลายเรือ") เป็นสัตว์ประหลาดที่กล่าวกันว่ามีรูปร่างคล้ายไดโนเสาร์ชนิดที่บินได้ จำพวก เทอโรซอ หรือ เทอราโนดอน พบในหนองน้ำทวีปแอฟริกาตอนกลาง ในปี ค.ศ. 1923 แฟรงก์ เอ.เมลแลนด์ นักเดินทางได้บันทึกไว้ในหนังสือบันทึกการเดินทางตนชื่อ In Witchbound Africa ถึงสัตว์ประหลาดที่บินได้ที่พบในหนองน้ำว่า เป็นสัตว์ที่ดุร้าย น่ากลัว สามารถโจมตีเรือขนาดเล็กได้ มีลำตัวสีแดง ความยาวเมื่อกางปีกเต็มที่ราว 4-7 ฟุต จากภาพสเก็ตพบว่า มีลักษณะคล้ายเทอโรซอร์ แต่ลักษณะโดยละเอียดนั้นชาวพื้นเมืองที่เล่าให้เมลแลนด์ฟังไม่มั่นใจ เพราะแทบไม่มีใครที่เห็นสัตว์ตัวนี้ใกล้ๆแล้วรอดกลับมา ในปี ค.ศ. 1956 วิศวกรชื่อ.พี.เอฟ.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและคองกามาโต · ดูเพิ่มเติม »

งูกรีนแมมบาตะวันตก

งูกรีนแมมบาตะวันตก (Western green mamba, West African green mamba, Hallowell's green mamba) เป็นงูพิษร้ายแรงในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) เป็นงูที่มีสีเขียวตลอดทั้งตัว มีลักษณะคล้ายกับงูกรีนแมมบาตะวันออก (D. angusticeps) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน (Dendroaspis spp.) แต่ว่าถูกจัดให้เป็นชนิดต่างกัน เนื่องจากมีลักษณะทางกายภาพที่ต่างกัน คือ มีความยาวที่มากกว่างูกรีนแมมบาตะวันออก กล่าวคือ มีความยาวโดยเฉลี่ย 1.8 เมตร และมีโทนสีของลำตัวหลากหลายแตกต่างกันมากกว่า กล่าวคือ มีทั้งสีเขียวมรกต, สีเขียวมะกอก หรือแม้แต่สีเขียวอมฟ้า อีกทั้งมีอุปนิสัยที่ดุร้ายก้าวร้าวกว่างูกรีนแมมบาตะวันออก อาศัยและหากินเป็นหลักบนต้นไม้ งูกรีนแมมบาตะวันตก มีถิ่นกระจายพันธุ์อยู่ในทวีปแอฟริกาตอนกลางในฝั่งทิศตะวันตก ซึ่งเป็นคนละส่วนกับถิ่นแพร่กระจายพันธุ์ของงูกรีนแมมบาตะวันออก ซึ่งทั้งคู่เป็นงูที่มีพิษร้ายแรงต่อระบบประสาทเช่นเดียวกัน โดยมีพิษร้ายแรงใกล้เคียงกับงูเห่า (Naja spp.) ทั้งคู่มีการนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงในหมู่ของผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลานหรือสัตว์แปลก ๆ โดยที่งูกรีนแมมบาตะวันตกจะมีราคาซื้อขายแพงกว่างูกรีนแมมบาตะวันออก.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและงูกรีนแมมบาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

งูหลามบอล

งูหลามบอล หรือที่นิยมเรียกว่า บอลไพธอน (Ball python) เป็นงูในวงศ์งูหลาม งูเหลือม (Pythonidae) ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Python regius โดยที่ไม่มีชนิดย่อ.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและงูหลามบอล · ดูเพิ่มเติม »

งูแบล็กแมมบา

งูแบล็กแมมบา (Black mamba, Common black mamba, Black-mouthed mamba) งูพิษร้ายแรงมากชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dendroaspis polylepis อยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) พบกระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกา ในแถบตอนใต้และตอนกลาง งูแบล็กแมมบา มีรูปร่างเพรียวยาว มีลำตัวสีน้ำตาลเทา ท้องมีสีเทาขาวจนไปถึงสีเหลืองหรือเขียว เส้นขอบปากมีสีน้ำตาลดำ คอแบน ภายในปากสีดำสนิท มีต่อมพิษขนาดใหญ่ ตากลมโตขนาดใหญ่ มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 2 เมตร แต่มีขนาดยาวเต็มที่เกือบ 4 เมตร งูแบล็กแมมบาเป็นงูที่มักไม่ขึ้นต้นไม้ แต่จะหากินและอาศัยบนพื้นเป็นหลัก เป็นงูที่เลื้อยคลานได้ไวมาก โดยสามารถเลื้อยได้ไวถึง 20 กิโลเมตร/ชั่วโมง จึงถูกจัดให้เป็นงูที่ไวที่สุดในโลก นอกจากนี้แล้ว งูแบล็กแมมบายังได้ถูกจัดให้เป็นงูที่อันตรายและเป็นงูพิษที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในทวีปแอฟริกา ด้วยความเป็นงูที่หากินบนพื้นเป็นหลัก คล่องแคล่วว่องไว อีกทั้งยังเป็นงูที่ไม่กลัวมนุษย์ มีอุปนิสัยดุร้ายก้าวร้าว เมื่อปะทะกับมนุษย์ซึ่ง ๆ หน้า จะไม่หลบหนีเหมือนงูชนิดอื่น ๆ โดยคำว่า "แมมบา" นั้น หมายถึง "โลงศพ" เนื่องจากมีส่วนหัวแลดูคล้ายโลงศพของชาวตะวันตก ซึ่งชื่อนี้มีนัยถึงถึง "ความตายที่มาเยือน" งูแบล็กแมมบา ใช้พิษในการหากินโดยใช้กัดเหยื่อให้ตาย แล้วจึงกลืนเข้าไปทั้งตัว ซึ่งได้แก่ กระต่าย, นก, ค้างคาว และสัตว์ฟันแทะ รวมถึงกบหรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำทั่วไป และยังกินงูด้วยกันเป็นอาหารได้อีกด้วย มีพฤติกรรมออกหากินในเวลากลางวัน พิษของงูแบล็กแมมบานั้นถือว่าร้ายแรงมาก ถูกจัดให้เป็นงูที่มีพิษอันตรายมากที่สุดติด 1 ใน 10 อันดับของโลก ก่อนหน้าที่จะมีการพัฒนาเซรุ่มแก้พิษนั้น ผู้ที่โดนกัดจะถึงแก่ความตายทั้งหมด โดยการกัดครั้งหนึ่งจะปล่อยพิษออกมาประมาณ 100-250 มิลลิกรัม มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ผู้ที่ถูกกัดจะเสียชีวิตด้วยอาการหัวใจล้มเหลวในเวลาเพียง 20 นาที แต่โดยเฉลี่ยคือ 2-4 ชั่วโมง จากความล่าช้าของการรักษา งูแบล็กแมมบาสามารถที่จะฉกกัดได้อย่างว่องไว และสามารถขู่ แผ่แม่เบี้ย และชูหัวได้เหมือนกับงูเห่า (Naja spp.) หรืองูจงอาง (Ophiophagus hannah) ซึ่งอยู่ร่วมวงศ์กัน แม้จะไม่ใหญ่เท่า แต่ก็สามารถฉกและชูหัวได้สูงถึง 2 เมตร.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและงูแบล็กแมมบา · ดูเพิ่มเติม »

งูแมมบา

งูแมมบา (Mambas) เป็นงูพิษร้ายแรงมากสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Dendroaspis จัดอยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา งูในสกุลงูแมมบานั้น เป็นงูที่มีลำตัวเรียวยาว มีส่วนหัวขนาดเล็ก มีตากลมโต มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 1.5-2 เมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 4 เมตร และเป็นงูที่มีความว่องไวมาก สามารถเลื้อยคลานได้เร็วถึง 12-20 กิโลเมตร/ชั่วโมง บนพื้นดิน จนถูกจัดให้เป็นงูที่เลื้อยไวที่สุดบนโลกมาแล้ว งูแมมบานั้น จะมีสีเดียวตลอดทั้งลำตัว โดยจะมีทั้งสีน้ำตาล, สีเขียว หรือเหลือบสีต่าง ๆ บนเกล็ด รวมถึงสีขาวอมเทาหรือเทาตุ่น ๆ ด้วย ในบางชนิด มีเกล็ดเรียบลื่น เกล็ดบนหัวมีขนาดใหญ่ มุมปากยาว ดวงตามีขนาดกลมโต มีความแตกต่างกันมากระหว่างเพศ โดยงูตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย เป็นงูที่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ ดำรงชีวิตทั้งบนต้นไม้และพื้นดิน กินอาหารได้แก่ สัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ รวมทั้งงูด้วยกันเองด้วย งูแมมบานั้นได้ถูกอนุกรมวิธานออกเป็นชนิดได้ 4 ชนิด คือ.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและงูแมมบา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาด

(Tchad; تشاد, Tshād) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในแอฟริกากลาง มีอาณาเขตทางเหนือจดประเทศลิเบีย ทางตะวันออกจดประเทศซูดาน ทางใต้จดสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทางตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศแคเมอรูนและประเทศไนจีเรีย และทางตะวันตกจดประเทศไนเจอร์ เนื่องจากมีระยะไกลจากทะเลและมีภูมิอากาศเป็นแบบทะเลทรายเป็นส่วนใหญ่ ประเทศจึงได้ชื่อว่าเป็น "หัวใจตายของแอฟริกา" (dead heart of Africa) ทางเหนือมีทิวเขาทิเบสตี (Tibesti Mountains) ซึ่งเป็นเทือกเขาที่ใหญ่ที่สุดในทะเลทรายสะฮารา เดิมเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐเฟรนช์อิเควทอเรียลแอฟริกา (Federation of French Equatorial Africa) มีชื่อตามทะเลสาบชาด (Lake Chad).

ใหม่!!: แอฟริกากลางและประเทศชาด · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคเมอรูน

แคเมอรูน (Cameroon; Cameroun) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแคเมอรูน (Republic of Cameroon; République du Cameroun) เป็นสาธารณรัฐในแอฟริกากลาง มีอาณาเขตจรดไนจีเรีย ชาด สาธารณรัฐแอฟริกากลาง สาธารณรัฐคองโก กาบอง อิเควทอเรียลกินี.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและประเทศแคเมอรูน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอสวาตีนี

อสวาตีนี (eSwatini, ออกเสียง:; Eswatini) หรือ สวาซิแลนด์ (Swaziland) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเอสวาตีนี (Umbuso weSwatini; Kingdom of Eswatini) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาใต้ซึ่งเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศเพื่อนบ้านขนาดใหญ่ คือ แอฟริกาใต้และโมซัมบิก.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและประเทศเอสวาตีนี · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนแอฟริกา (สกุล)

ปลาช่อนแอฟริกา (African snakeheads) เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Parachanna (/พา-รา-ชาน-นา/) มีรูปร่างคล้ายคลึงกับปลาในสกุล Channa ที่พบในทวีปเอเชีย แต่ทว่าปลาในสกุลนี้จะมีขนาดลำตัวที่เล็กกว่า มีส่วนหัวที่เล็กและแบน และมีลายที่ลำตัวคล้ายลายไม้แบบเดียวกับ ปลากระสง (C. lucius) ที่อยู่ในสกุล Channa พบทั้งหมด 3 ชนิด โดยพบในตอนกลางและตอนตะวันตกของทวีปแอฟริกา ได้แก.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและปลาช่อนแอฟริกา (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากรายแอฟริกา

ปลากรายแอฟริกา (African brown knifefish, African knifefish, False featherbackfish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Xenomystus nigri ในวงศ์ปลากราย (Notopteridae) นับเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นทีอยู่ในสกุล Xenomystus มีรูปร่างคล้ายกับปลาสลาด (Notopterus notopterus) ที่พบได้ในทวีปเอเชีย แต่ทว่ามีขนาดลำตัวที่เพรียวบางกว่า ไม่มีครีบหลัง ครีบท้องและก้นพริ้วไหวได้เร็วกว่า และมีจุดเด่นที่เห็นชัดคือ จมูกมีสองคู่ คู่หน้ายื่นออกมาคล้ายหลอดหรือหนวด ซึ่งใช้เป็นประสาทสัมผัสในการหาอาหาร ซึ่งเห็นได้ชัดเจนกว่าปลาชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน พบกระจายทั่วไปในทวีปแอฟริกาตอนกลาง ในแถบลุ่มแม่น้ำไนล์และแอ่งน้ำในเซียร์รา ลีโอน, ชาด, ซูดาน, โตโก, เบนิน และแคเมอรูน ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 1 ฟุต แต่โดยเฉลี่ยที่พบทั่วไป คือประมาณ 8 นิ้ว โดยอาศัยในแหล่งน้ำที่มีพืชน้ำขึ้นหนาแน่น ปลาตัวเมียวางไข่ประมาณ 150-200 ฟอง ไข่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 มิลลิเมตร และยังมีความสามารถพิเศษคือ สามารถเปล่งเสียงออกมาได้ด้วย เพื่อหาอาหาร เนื่องจากหากินในเวลากลางคืน โดยกินอาหารจำพวก แมลงน้ำและสัตว์มีเปลือกขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม มีอุปนิสัยที่ค่อนข้างก้าวร้าวในหมู่พวกเดียวกัน แต่ทว่าจะไม่แสดงพฤติกรรมเหล่านี้ต่อปลาชนิดอื่น.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและปลากรายแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวีคส์ไบเคอร์

ปลาวีคส์ไบเคอร์ หรือ ปลาวีคส์บิเชียร์ (Mottled bichir, Weeks' bichir, Fat-headed bichir) เป็นปลาไบเคอร์ชนิด Polypterus weeksii มีลักษณะคล้ายกับปลาไบเคอร์ไทเกอร์ (P. endlicherii endlicherii) และปลาไบเคอร์ยักษ์ (P. e. congicus) แต่ทว่ามีขากรรไกรบนที่ยื่นยาวกว่าขากรรไกรล่าง และมีลวดลายที่ต่างกัน มีครีบหลัง 9-11 ครีบ หัวมีขนาดใหญ่ที่สุดในบรรดาปลาไบเคอร์ทั้งหมด มีขนาดยาวเต็มที่ประมาณ 54 เซนติเมตร กระจายพันธุ์อยู่ในลุ่มแม่น้ำคองโก ในตอนกลางของทวีปแอฟริกา นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและปลาวีคส์ไบเคอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอฟรอนโตซ่า

ปลาหมอฟรอนโตซ่า มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cyphotilapia frontosa อยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีรูปร่างแบนข้าง ริมฝีปากหนา ลำตัวสีขาวคาดด้วยแถบสีดำเป็นปล้อง ๆ ตลอดลำตัว ครีบต่าง ๆ ปลายครีบยาวแหลมโดยเฉพาะตัวผู้ เมื่อโตขึ้นหัวของตัวผู้จะโหนกนูนเห็นได้ชัดเจน มีความยาวเต็มที่ราว 30 เซนติเมตร มักอาศัยอยู่รวมเป็นฝูง อาศัยอยู่ในบริเวณน้ำลึก มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกาบริเวณแอฟริกาตอนกลางและแอฟริกาตะวันออก โดยเฉพาะในทะเลสาบแทนกันยีกา อาหารหลักได้แก่ ลูกปลาขนาดเล็กกว่า ปลาหมอฟรอนโตซ่าจัดเป็นปลาที่มีความสวยงามมากชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาหมอสี จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงามมาช้านาน จนอาจกล่าวได้ว่า เป็น "ราชาของปลาหมอสี" เช่นเดียวกับปลาปอมปาดัวร์ที่ถูกจัดเป็น "ราชินีแห่งปลาตู้" ในแวดวงปลาสวยงามจะจำแนกปลาหมอฟรอนโตซ่าเป็นสายพันธุ์ย่อยต่าง ๆ โดยแบ่งตามเกณฑ์ที่พบในแหล่งน้ำหรือภูมิภาคต่าง ๆ ซึ่งสามารถแบ่งได้นับ 10 สายพันธุ์ แต่ไม่จัดว่าเป็นการแบ่งตามหลักอนุกรมวิธาน ปลาหมอฟรอนโตซ่าจะเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ได้เมื่อถึงอายุ 3-4 ปี โดยตัวเมียจะมีพฤติกรรมอมไข่หลังจากไข่ได้รับการปฏิสนธิแล้ว ใช้เวลาฟักเป็นตัวราว 4 สัปดาห์ จัดเป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่มีอายุยาวนาน โดยสามารถมีอายุยาวได้ถึง 25 ปี.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและปลาหมอฟรอนโตซ่า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอสีไซไพรโครมิส

ปลาหมอสีไซไพรโครมิส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Cyprichromis (/ไซ-ไพร-โคร-มิส/) จัดเป็นปลาขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ประมาณ 5-6 นิ้ว โดยเฉลี่ยประมาณ 3.5 นิ้ว จัดเป็นปลาที่มีนิสัยรักสงบ มีพฤติกรรมอยู่รวมตัวกันเป็นฝูงขนาดใหญ่ตั้งแต่หลักร้อยจนถึงหลักพัน มีรูปร่างเรียวยาว ตากลมโต ปลายปากยาว ตัวผู้มีสีสันที่สดใสสวยงาม มักมีสีต่าง ๆ เช่น ฟ้า, เหลือง, ดำ, ม่วง หรือมีเหลือบสีขาว และมีการพัฒนาการของสีตามช่วงวัย มักอาศัยอยู่ตามโขดหินหรือตามหลีบซอกของวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำ หากินบริเวณกลางน้ำและผิวน้ำ กินอาหารจำพวก แพลงก์ตอนและสัตว์น้ำขนาดเล็กที่ลอยตามกระแสน้ำ ขณะที่ปลาตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่า พฤติกรรมเมื่อผสมพันธุ์ ปลาตัวผู้ที่มีขนาดใหญ่สุดจะเป็นจ่าฝูง จะคอยกางครีบและขับสีออกมาเรียกร้องความสนใจจากตัวเมียภายในฝูง และข่มตัวผู้ตัวอื่น ๆ เมื่อผสมพันธุ์กัน ตัวผู้จะงอตัวและทำปากห่อ เพื่อกระตุ้นให้ตัวเมียปล่อยไข่ออกมา เมื่อไข่ถูกปล่อยออกมา ตัวเมียจะงับน้ำเชื้อจากตัวผู้ที่ปล่อยออกมา ให้ผสมกับไข่ที่อยู่ในปาก จำนวนของไข่ขึ้นอยู่กับขนาดของปลาตัวเมีย โดยมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.3 เซนติเมตร จำนวนไข่ในแต่ละครั้งประมาณ 5-25 ฟอง โดยตัวเมียจะอมไข่จนกว่าไข่จะฟักเป็นตัวใช้เวลาประมาณ 18-20 วัน โดยไม่กินอะไรเลย ปลาในสกุลไซไพรโครมิสนี้พบกระจายพันธุ์ในส่วนต่าง ๆ ของทะเลสาบแทนกันยีกา ในตอนกลางและตะวันออกของทวีปแอฟริกา นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามที่ได้รับความนิยมกันมาอย่างยาวนานแล้ว โดยมีชนิดที่ค้นพบใหม่ ๆ ขึ้นเรื่อย ๆ โดยมีชนิดที่รู้จักกันดีที่สุด คือ ปลาหมอสีเลบโตโซม่า (C. leptosoma).

ใหม่!!: แอฟริกากลางและปลาหมอสีไซไพรโครมิส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแรมแดง

ปลาหมอแรมแดง หรือ ปลาหมอจีเวล (Jewel fish, Jewel cichild) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Hemichromis ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับปลาซันฟิช (Lepomis spp.) ซึ่งเป็นปลาคนละวงศ์กัน เป็นปลาขนาดเล็ก ความยาวเต็มที่เฉลี่ยไม่เกิน 10-12 เซนติเมตร พบใหญ่สุด 30 เซนติเมตร กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในแหล่งน้ำต่าง ๆ ของทวีปแอฟริกา บริเวณชายฝั่งตะวันตกถึงแอฟริกากลาง ส่วนใหญ่มีสีลำตัวเป็นสีแดงสด หรือสดใสเป็นสีรุ้งสวยงาม มีทั้งตัวผู้สวยงามกว่าตัวเมีย และตัวเมียสวยงามกว่าตัวผู้ เป็นปลาอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง มีอุปนิสัยก้าวร้าว มีพฤติกรรมในการเลี้ยงดูลูกปลา ซึ่งในช่วงนี้จะมีนิสัยดุร้ายกว่าปกติสกุล Hemichromis และ สกุล Rocio โดย Jens Kühne คอลัมน์ Mini Atlas, หน้า 34-35 นิตยสาร Aquarium Biz ปีที่ 2 ฉบับที่ 28: ตุลาคม 2012.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและปลาหมอแรมแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตองแอฟริกา

ปลาตองแอฟริกา เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งน้ำจืดในวงศ์ปลากราย (Notopridae) ในอันดับปลาลิ้นกระดูก (Osteoglossiformes) ใช้ชืิ่อสกุลว่า Papyrocranus เป็นปลาที่พบได้เฉพาะทวีปแอฟริกาเท่านั้น มีรูปร่างโดยรวมคือ มีลำตัวเพรียวยาวและแบนข้างมาก ส่วนหัวกลมมน ตาโต ปากกว้าง มีครีบหลังเช่นเดียวกับปลากรายในสกุล Chitala ที่พบในทวีปเอเชีย พบเพียงแค่ 2 ชนิดเท่านั้น คือ.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและปลาตองแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าคองโก

ปลาปักเป้าคองโก หรือ ปลาปักเป้าแดง (Congo puffer, Pooey pooer.) ปลาปักเป้าชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tetraodon miurus ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) มีรูปร่างอ้วนป้อม มีส่วนจะงอยปากที่ยาวยื่นออกมา คล้ายปลาปักเป้าควาย (Pao suvatti) ซึ่งเป็นปลาปักเป้าน้ำจืดเหมือนกัน แต่พบในทวีปเอเชีย ปลาปักเป้าคองโก มีจุดเด่น คือ สีลำตัวที่เป็นสีเดียวตลอดโดยไม่มีลวดลาย โดยมากจะเป็นสีแดงสด หรืออาจจะเปลี่ยนเป็น สีส้ม, น้ำตาล หรือแม้กระทั่งดำได้ตามอารมณ์ของปลา และสภาพแวดล้อม ขนดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 15 เซนติเมตร แพร่กระจายพันธุ์อยู่ในลุ่มแม่น้ำคองโก ในทวีปแอฟริกาตอนกลาง เป็นปลาปักเป้าที่มีนิสัยดุร้ายมากอีกชนิดหนึ่ง มีการล่าเหยื่อโดยการซุ่มซ่อนตัวในพื้นทรายใต้น้ำ โดยโผล่มาเพียงแต่จะงอยปากกับดวงตาเท่านั้น คล้ายกับปลาปักเป้าควายที่พบในลุ่มแม่น้ำโขง ในเอเชียอาคเนย์ นอกจากจะกินสัตว์น้ำมีเปลือกเช่น กุ้งหรือหอยแล้ว ปลาปักเป้าคองโกยังเป็นปลาปักเป้าอีกชนิดหนึ่ง ที่มีความว่องไวจนสามารถฉกกัดปลาชนิดอื่น กินเป็นอาหารได้อีกด้ว.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและปลาปักเป้าคองโก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าเอ็มบู

ปลาปักเป้าเอ็มบู หรือ ปลาปักเป้ายักษ์ (Tanganika puffer, Mbu puffer) ปลาน้ำจืดจำพวกปลาปักเป้าชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae).

ใหม่!!: แอฟริกากลางและปลาปักเป้าเอ็มบู · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแอฟริกันไทเกอร์

ปลาแอฟริกันไทเกอร์ (African tigerfishes) เป็นสกุลของปลาน้ำจืด 5 ชนิดที่อยู่ในวงศ์ปลาเตตร้าแอฟริกัน (Alestiidae) ในอันดับปลาคาราซิน ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hydrocynus (/ไฮ-โดร-ไซ-นัส/) โดยมาจากภาษากรีก คำว่า "hydro" (ὕδωρ) หมายถึง "น้ำ" บวกกับคำว่า "kyon" (κύων) ที่หมายถึง "สุนัข" เป็นปลากินเนื้อทั้งหมด มีรูปร่างโดยรวมคือ ลำตัวเพรียวยาวเหมือนตอร์ปิโด เกล็ดมีขนาดใหญ่ มีสีเงินแวววาว และที่ชิ้นเกล็ดจะมีจุดสีเข้ม ทำให้เห็นเป็นลายพาดตามยาวไปตามแนวข้างลำตัวเหนือเส้นข้างลำตัว ทำให้มองดูคล้ายลายของเสือลายพาดกลอน อันเป็นที่มาของชื่อ นอกจากแถบดังกล่าวแล้วส่วนที่ไม่ใช่แถบจะมีสีออกสีเงิน, สีขาว และสีเทา ขณะที่บางตัวอาจมีเหลือบสีฟ้า, สีเขียว, สีส้ม หรือสีเหลืองอ่อนผสมอยู่ด้วย ปลาในสกุลนี้จะมีลักษณะเช่นเดียวกันนี้ทั้งหมด ครีบหลังจะอยู่ในระดับเดียวกับ ครีบท้องอาจจะอยู่ข้างหน้าเล็กน้อย ภายในปากมีฟันหนึ่งชุดที่มองเห็นได้อย่างชัดเจนและเป็นจุดเด่น ซึ่งฟันแต่ละซี่ตั้งอยู่ในเบ้า ระหว่างฟันซี่อื่น ๆ บนขากรรไกร และจะแลเห็นได้ตลอดเวลาแม้แต่เมื่อปิดปากสนิท ขากรรไกรมีความแข็งแรงและทรงพลังมาก อีกทั้งสามารถยืดขยายได้กว้างเพราะมีจุดยึดกับมุมปากอยู่ถึงสองจุด ตาจะถูกคลุมโดยเปลือกตาเกือบทั้งหมด ครีบหางเว้าลึกเป็นสองแฉก พบในลุ่มแม่น้ำคองโก ซึ่งเป็นแม่น้ำที่ไหลเชี่ยวมากในทวีปแอฟริกาตอนกลาง เป็นปลาล่าเหยื่อที่ล่าได้อย่างรวดเร็ว ดุดัน ไม่แพ้ปลาปิรันยาในลุ่มแม่น้ำอเมซอน ในทวีปอเมริกาใต้ แต่ไม่นิยมล่ารวมเป็นฝูง เป็นปลาที่กินพวกเดียวกันเองเป็นอาหารและกัดทำร้ายจระเข้ได้ รวมถึงเคยมีรายงานว่าทำร้ายมนุษย์ได้อีกด้วย โดยที่ชาวพื้นเมืองแอฟริกาได้เรียกปลาสกุลนี้ในภาษาลิงกาลาว่า เอ็มเบ็งกะ (Mbenga) หรือ อิงเกวส (Ndweshi) และมีความเชื่อว่าการที่มันล่าและทำร้ายมนุษย์เพราะมีวิญญาณที่ชั่วร้ายสิงสถิตอยู่ มีทั้งหมด 5 ชนิด โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ H. goliath ที่มีความยาวที่สุดได้ถึง 6 ฟุต และมีน้ำหนักถึง 100 ปอน.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและปลาแอฟริกันไทเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไบเคอร์ลายบั้ง

ปลาไบเคอร์ลายบั้ง หรือ ปลาบิเชียร์ลายบั้ง (Barred bichir, Armoured bichir) เป็นปลาไบเคอร์ชนิด Polypterus delhezi มีส่วนหัวที่เล็กกลม ขากรรไกรเล็กและแคบ กรามบนยื่นยาวกว่ากรามล่าง มีก้านครีบหลัง 13 ชิ้น ลักษณะเด่น คือ ตามลำตัวจะมีลายแถบเป็นบั้ง ๆ สีดำพาดตลอดทั้งตัวขนาดใหญ่ แลดูหนาชัดเจน มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 40 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำคองโกตอนกลางและตอนบน ในแถบทวีปแอฟริกาตอนกลาง ปลาไบเคอร์ลายบั้ง นับเป็นปลาไบเคอร์อีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม แต่ทว่าถือได้ว่ามีราคาสูงพอสมควร ในขณะที่บางตัวเมื่อโตขึ้นมา ลวดลายอาจจะไม่ปรากฏเป็นลายบั้ง แต่อาจเป็นลายจุดหรือลายแต้มแทนก็ได้.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและปลาไบเคอร์ลายบั้ง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไบเคอร์จุด

ปลาไบเคอร์จุด หรือ ปลาบิเชียร์จุด (Ornate bichir) เป็นปลาไบเคอร์ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Polypterus ornatipinnis มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายงูผสมกับปลาช่อน (Channidae) มีขากรรไกรบนยื่นยาวกว่าขากรรไกรล่าง มีส่วนหัวขนาดกลมเล็ก ขากรรไกรมีขนาดเล็กและสั้น มีรูปร่างเพรียวยาวและบอบบาง มีก้านครีบหลังทั้งหมด 11 ก้าน มีลวดลายสีดำและเหลืองตามลำตัว มีขนาดใหญ่เต็มที่ได้ราว 60 เซนติเมตร นับเป็นปลาไบเคอร์ชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ที่สุด พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำคองโกและทะเลสาบแทนกันยีกาในแอฟริกากลางและแอฟริกาตะวันออก เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม นับว่าเป็นปลาไบเคอร์ที่มีความสวยงามชนิดหนึ่ง ซึ่งในปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยงกันได้แล้ว และยังมีมีการเพาะกันเป็นปลาเผือกได้อีกด้ว.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและปลาไบเคอร์จุด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไบเคอร์เซเนกัล

ปลาไบเคอร์เซเนกัล หรือ ปลาบิเชียร์เซเนกัล หรือ ปลาไบเคอร์ธรรมดา (Senagal bichir, Gray bichir) เป็นปลาไบเคอร์ชนิด Polypterus senegalus มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายงูหรือปลาไหล มีส่วนหัวที่เล็ก ขากรรไกรเล็ก กรามบนยื่นยาวกว่ากรามล่าง ตามีขนาดเล็ก โดยปลาไบเคอร์ชนิดนี้เป็นปลาไบเคอร์ชนิดที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามมากที่สุด และแพร่หลายมากที่สุด สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้เป็นสีต่าง ๆ หลากหลายออกไปจากสีดั้งเดิมที่เป็นอยู่ คือ สีเขียวมะกอก ทั้งสีทองหรือสีเผือกตาแดง หรือแม้กระทั่งสีแพลทินัม รวมถึงเป็นปลาที่มีลำตัวสั้นกว่าปกติ หรือมีครีบหลังที่ยาวกว่าปกติด้วย มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ในลุ่มน้ำต่าง ๆ ในแอฟริกากลาง และยังสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย อีก คือ P. s. meridionalis ซึ่งยาวเต็มที่ประมาณ 21 เซนติเมตร และ P. s. senegalus.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและปลาไบเคอร์เซเนกัล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไทเกอร์โกไลแอต

ปลาไทเกอร์โกไลแอต (Goliath tigerfish, Giant tigerfish) หรือ เอ็มเบ็งกะ (Mbenga) ในภาษาลิงกาลา มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hydrocynus goliath อยู่ในวงศ์ปลาเตเตร้าแอฟริกัน (Alestiidae) มีรูปร่างโดยรวมเหมือนปลาในสกุล Hydrocynus ทั่วไป แต่มีความแตกต่างคือ ปลาในวัยอ่อนจะไม่มีลายใด ๆ บนลำตัวทั้งสิ้น ลำตัวแลดูแบนข้างมาก ปลายหางล่างสีแดงจัด ครีบหางและครีบอื่น ๆ มีขนาดใหญ่ แฉกครีบของครีบหางมีความกว้างกว่าชนิดอื่น ในปากมีฟันแหลมคมขนาดใหญ่เรียงอยู่ทั้งหมด 36 ซี่ เท่ากับปลาฉลามขาว ขากรรไกรใหญ่และยื่นยาว ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้ถึง 6 ฟุต และมีน้ำหนักกว่า 100 ปอนด์ จัดเป็นปลาแอฟริกันไทเกอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และเป็นปลาประเภทคาราซินที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก พบกระจายพันธุ์ในกระแสน้ำเชี่ยวของลุ่มแม่น้ำคองโก ในตอนกลางของทวีปแอฟริกา และแม่น้ำลูลาบา, ทะเลสาบอูเพ็มบา และทะเลสาบแทนกันยีกา อาศัยหากินอยู่บริเวณกลางน้ำและผิวน้ำ และชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง แต่เมื่อล่าเหยื่อจะออกล่าเพียงลำพัง โดยมักจะจู่โจมเหยื่อที่มีแสงสะท้อนระยิบระยับหรือมีเสียงหรือมีแรงกระเพื่อมของน้ำ โดยปลาแอฟริกันไทเกอร์ชนิดนี้เคยมีรายงานว่าทำร้ายมนุษย์จนถึงแก่ความตายมาแล้วด้วย ปลาขนาดเล็ก ปากและฟันอันแหลมคม เป็นปลาที่นิยมตกเป็นเกมกีฬาที่ท้าทาย เนื่องจากเป็นปลาที่ทรงพละกำลังและตกได้ยากมากชนิดหนึ่ง และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้ว.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและปลาไทเกอร์โกไลแอต · ดูเพิ่มเติม »

นกกระสาปากพลั่ว

นกกระสาปากพลั่ว (Shoebill, Whale-headed stork) เป็นนกขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในอันดับนกกระสา (Ciconiiformes) ขณะที่บางข้อมูลจะถือว่าให้อยู่ในอันดับนกกระทุง (Pelecaniformes) แต่จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้น ที่อยู่ในวงศ์ Balaenicipitidae นกกระสาปากพลั่วจัดเป็นนกที่มีขนาดใหญ่มากชนิดหนึ่ง ขนาดเมื่อโตเต็มที่มีส่วนสูงตั้งแต่ 115-150 เซนติเมตร โดยประมาณ หากกางปีกจะกว้าง 230-260 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 4-7 กิโลกรัม ขณะที่เป็นวัยรุ่นหรือตัวเต็มวัยจะมีสีเทา ส่วนนกขนาดเล็กจะมีสีออกน้ำตาลกว่า อาศัยอยู่บริเวณบึงใหญ่ในแอฟริกาตะวันออก แถบประเทศซูดานและแซมเบีย นกกระสาปากพลั่ว มีจุดเด่น คือ จะงอยปากที่หนาและรูปทรงประหลาดไม่เหมือนนกชนิดอื่น เริ่มเป็นที่รู้จักในแวดวงวิทยาศาสตร์ จากการมีการอนุกรมวิธาน ในช่วงศตวรรษที่ 19 จากการที่หนังของนกชนิดนี้ถูกนำมาขายในยุโรป อย่างไรก็ดี นกกระสาปากพลั่วเป็นที่รู้จักกันดีอยู่แล้วตั้งแต่สมัยโบราณในอารยธรรมอียิปต์โบราณที่มีการเขียนภาพถึง และอารยธรรมอาหรับที่เรียกขานว่า "abu markub" ที่มีความหมายว่า "ผู้มากับรองเท้า" ซึ่งก็มาจากจะงอยปากมีลักษณะเหมือนรองเท้านั้นเอง นกกระสาปากพลั่ว หาอาหารในบึงน้ำหรือบ่อโคลน อาหารได้แก่ ปลา, กบ กระทั่งลูกจระเข้ หรือลูกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ไร้ทางสู้ ทำรังบนพื้นดิน ออกไข่ครั้งละ 2 ฟอง ปัจจุบัน เป็นนกที่ถูกจัดอยู่ในภาวะเสี่ยงใกล้สูญพันธุ์จากบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ ของสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN) จากความที่เป็นนกขนาดใหญ่ หายาก และหากินใกล้แหล่งน้ำ นกกระสาปากพลั่วคาดว่าเป็นนกที่ทำให้เข้าใจผิดว่าเป็น "คองกามาโต" คือ สัตว์ประหลาดที่คล้ายนกขนาดใหญ่ ที่โจมตีใส่มนุษย์ในบึงน้ำแถบแอฟริกากลางนั่นเอง.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและนกกระสาปากพลั่ว · ดูเพิ่มเติม »

นกกะรางหัวขวาน

นกกะรางหัวขวาน เป็นนกขนาดกลาง มีสีสวย มีลักษณะเด่นที่จำง่ายคือมีหงอน (หัวขวาน) คล้ายหมวกของพวกอินเดียแดง พบทั่วทั้งทวีปแอฟริกาและยูเรเชียพร้อมทั้งทั่วประเทศไทย เป็นสปีชีส์เดียวของวงศ์ Upupidae ที่ยังหลงเหลืออยู่ มีสปีชีส์ย่อยเฉพาะเกาะเซนต์เฮเลนา (ในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้) ที่สูญพันธ์ไปแล้ว และเฉพาะเกาะมาดากัสการ์ที่บางครั้งจัดเป็นสปีชีส์ของตนเอง ชื่อสกุลภาษาละตินว่า Upupa คล้ายกับชื่อภาษาอังกฤษว่า "hoopoe" (อ่านว่า ฮูพู) โดยเป็นชื่อเลียนเสียงร้องของนก นกกะรางหัวขวานเป็นนกประจำชาติของประเทศอิสราเอล เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและนกกะรางหัวขวาน · ดูเพิ่มเติม »

นกยูงคองโก

นกยูงคองโก (Congo peacock, Congo peafowl) เป็นไก่ฟ้าจำพวกนกยูงชนิดหนึ่ง ในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (Phasianidae) นกยูงคองโก นับเป็นนกยูงเพียงชนิดเดียวที่มิได้อยู่ในสกุล Pavo โดยจัดอยู่ในสกุล Afropavo เพียงชนิดเดียว และมิใช่นกยูงที่อาศัยอยู่ในทวีปเอเชียด้วย โดยมีถิ่นกำเนิดแถบบริเวณลุ่มแม่น้ำคองโกในตอนกลางของทวีปแอฟริกา ตั้งแต่ปี..1913 ถึง..1936 นักปักษีวิทยาเคยเห็นแต่เพียงขนเพียงเส้นเดียวบนหมวกของชาวพื้นเมืองเท่านั้นจนกระทั่ง เจมส์ แชปลิน นักปักษีวิทยาชาวอเมริกันได้เห็นตัวจริงที่สตั๊ฟไว้ในพิพิธภัณฑ์คองโก ประเทศเบลเยี่ยม โดยตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ผิดเป็นนกยูงไทยด้วย จึงได้ศึกษาอย่างจริงจัง บันทึกรายละเอียดต่าง ๆ และ ตั้งชื่อให้ใหม่ในครั้งนั้น นกยูงคองโกมีขนาดตัวเล็กกว่า รวมถึงตัวผู้ไม่มีขนหางที่ยาวรวมถึงไม่มีแววมยุราเหมือนนกยูงสกุล Pavo ส่วนบนของตัวเป็นสีเขียว คอและส่วนล่างของลำตัว รวมถึงปลายหางเป็นสีม่วงแกมดำ แต่ในตัวเมียส่วนที่เป็นสีม่วงจะเป็นสีน้ำตาลหมด ตัวผู้มีหงอนเป็นเส้นแข็ง ๆ คล้ายขนหมูเป็นกระจุกสีขาว และติดกับสีขาวเป็นกระจุกสีดำอยู่ทางด้านหลัง ทั้งตัวผู้และตัวเมียมีรูปร่างป้อมอ้วนสั้น ส่วนหัวของตัวผู้ ชอบอาศัยอยู่ตามป่าที่มีฝนชุกที่ระดับความสูง 1,200-1,500 ฟุต เป็นนกที่จับคู่แบบคู่เดียวตลอดชีวิต มักจะพบออกหากินเป็นคู่ ชอบนอนบนต้นไม้สูง ๆ และมักจะส่งเสียงร้องในเวลากลางคืน ในขณะที่เกาะอยู่บนกิ่งไม้ด้วย เป็นนกที่ไม่ค่อยตื่นกลัวมนุษย์มากนัก ตัวผู้มักจะรำแพนบ่อยทั้ง ๆ ที่ไม่ใช่ฤดูผสมพันธุ์ ปกติจะวางไข่ครั้งละ 3-4 ฟอง ใช้เวลาฟักประมาณ 26 วัน ตัวผู้จะมีขนสวยสมบูรณ์ในปีที่ 2 แต่การเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงทำได้ยากมาก จึงพบมีการเลี้ยงกันแต่ในสวนสัตว์ขนาดใหญ่เท่านั้น.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและนกยูงคองโก · ดูเพิ่มเติม »

นกคอพัน

นกคอพัน (Eurasian wryneck, Spotted woodpecker) เป็นนกชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกหัวขวาน (Picidae) มีรูปร่างเพรียว คอสั้น ปากสั้นและแบนข้างมาก สั้นปากบนโค้งลงมาเล็กน้อย ปลายปากแหลมคล้ายรูปกรวย รูจมูกค่อนข้างใหญ่อยู่เกลือบชิดสันปากบน ไม่มีขนใด ๆ แต่มีเยื่อปกคลุม ปีกมีลักษณะมนกลม ด้านบนลำตัวเป็นลายจุดสีดำและน้ำตาล ด้านล่างลำตัวมีลายพาดระหว่าง สีขาวและน้ำตาล ดูระยะไกลจะเห็นเป็นสีน้ำตาลแกมเทากลมกลืนไปกับสภาพแวดล้อม แต่นกคอพันไม่สามารถไต่ต้นไม้ในลักษณะแนวตั้งเหมือนนกหัวขวานทั่วไปได้ เพราะขนหางอ่อนนุ่มไม่สามารถค้ำยันตัวได้ โดยจะเกาะกิ่งไม้เหมือนนกเกาะคอน อีกทั้งยังไม่สามารถใช้จะงอยปากเจาะลำต้นของต้นไม้เพื่อหาแมลงกินได้อีกด้วย แต่นกคอพันก็มีลิ้นที่ยาวและมีน้ำลายที่เหนียวตวัดกินมดหรือหนอนตามต้นไม้เป็นอาหาร เหมือนนกหัวขวาน มีลำตัวยาวประมาณ 16-18 เซนติเมตร เป็นนกที่อาศัยอยู่เพียงลำพัง หรือเป็นคู่ หากมีนกตัวอื่นหรือฝูงนกอื่นเข้ามาใกล้ จะบินหนี มักจะลงมาหากินตามพื้นดินมากกว่าบนต้นไม้ เนื่องจากกินมด ซึ่งเป็นแมลงอยู่ตามพื้นดินเป็นหลัก ด้วยการกระโดดไปมาบนพื้นแล้วหยุดมองหาตามร่องของพื้นดิน มีเสียงร้อง "ควี่ ๆ ๆ ๆ" ติดต่อกันราว 8-15 คำ ได้ยินกังวาลไปไกล นอกจากนี้แล้วยังสามารถที่บิดคอไปข้าง ๆ ได้เกือบ 180 องศาเหมือนงู จึงได้รับการตั้งชื่อสกุลว่า Jynx ซึ่งหมายถึง เวทมนตร์หรือการทำนายพยากรณ์ล่วงหน้า เหตุที่สามารถเลียนแบบส่วนคอได้เหมือนการเคลื่อนไหวของงู รวมถึงสามารถแลบลิ้นที่สำหรับใช้ตวัดกินแมลงได้เหมือนงูอีกด้วย ก็เพื่อป้องกันตัวเองและลูกวัยอ่อนที่อยู่ในโพรง จากนกตัวอื่นหรือสัตว์นักล่าชนิดอื่น พบกระจายพันธุ์ตามป่าโปร่ง, ชายทุ่ง, พื้นที่เกษตรกรรม ตลอดจนใกล้กับบ้านเรือนของมนุษย์ พบได้ตั้งแต่พื้นที่ราบจนถึงเหนือระดับน้ำทะเล 2,000 เมตร บนภูเขาสูง พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปยุโรปจนถึงเอเชียกลางและเอเชียตะวันออก (มีชนิดย่อย 6 ชนิด ดูในตาราง) มีการอพยพหนีหนาวในช่วงฤดูหนาวไปในทวีปแอฟริกาตอนกลาง และประเทศไทย ซึ่งพบได้ทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ โดยไม่พบการวางไข่ขยายพันธุ์ในประเทศไทย และจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามกฎหม.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและนกคอพัน · ดูเพิ่มเติม »

แรดขาวเหนือ

แรดขาวเหนือ (northern white rhinoceros) หรือ แรดริมฝีปากสี่เหลี่ยมเหนือ (northern square-lipped rhinoceros) เป็นหนึ่งในสองสปีชีส์ย่อยของแรดขาว เดิมพบในหลายประเทศในแอฟริกาตะวันออกและแอฟริกากลางที่อยู่ใต้ทะเลทรายสะฮารา แต่ปัจจุบันแสดงรายการเป็นเสี่ยงขั้นวิกฤตต่อการสูญพันธุ์ ในเดือนมีนาคม 2561 มีแรดสปีชีส์ย่อยนี้เหลือเพียงสองตัว ทั้งหมดเป็นของสวนสัตว์ Dvůr Králové ในสาธารณรัฐเช็ก.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและแรดขาวเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกาใต้สะฮารา

ประเทศที่สหประชาชาติจัดเป็นแอฟริกาเหนือ แอฟริกาใต้สะฮารา (Sub-Saharan Africa) เป็นภูมิภาคที่มีพื้นที่อยู่ในทวีปแอฟริกาและอยู่ใต้ทะเลทรายสะฮารา โดยมีประเทศในภูมิภาค 54 ประเทศ มีประชากรรวมกันมากถึง 574 ล้านคน ภูมิภาคนี้มีพื้นที่ประมาณ 16 % ของพื้นดินของโลก โดยสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าทึบ และบางส่วนเป็นทะเลทร.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและแอฟริกาใต้สะฮารา · ดูเพิ่มเติม »

แคราแคล

แคราแคล หรือ ลิงซ์เปอร์เซีย หรือ ลิงซ์อียิปต์ หรือ ลิงซ์แอฟริกา หรือ ลิงซ์ทะเลทราย (Caracal, Persian lynx, Egyptian lynx, African lynx, Desert lynx) เป็นแมวขนาดกลาง มีการกระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันตก, เอเชียใต้ และทวีปแอฟริกา คำว่า "แคราแคล" (Caracal) มาจากคำในภาษาตุรกี คำว่า "karakulak" ซึ่งแปลว่า "หูสีดำ" ในอินเดียเหนือและประเทศปากีสถาน แคราแคลรู้จักกันในชื่อ syahgosh (स्याहगोष/سیاه گوش) หรือ shyahgosh ซึ่งในคำในภาษาปากีสถานแปลว่า หูสีดำ เช่นกัน ในภาษาแอฟริคานส์เรียกแคราแคลว่า Rooikat ซึ่งแปลว่า "แมวแดง".

ใหม่!!: แอฟริกากลางและแคราแคล · ดูเพิ่มเติม »

โมแกเล-อึมแบมเบ

วาดโมแกเล-อึมแบมเบ โมแกเล-อึมแบมเบ (Mokèlé-mbèmbé; ลิงกาลา: Mokɛle-mbɛmbe) เป็นชื่อเรียกของสัตว์ลึกลับขนาดใหญ่ที่พบในหนองน้ำหรือทะเลสาบของตอนกลางของทวีปแอฟริกา ได้แก่บริเวณลุ่มแม่น้ำคองโกของประเทศแคเมอรูน, สาธารณรัฐคองโก, สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก และแซมเบีย โมแกเล-อึมแบมเบมีรูปร่างคล้ายไดโนเสาร์จำพวกซอโรพอด เช่น แบรคิโอซอรัสหรือบรอนโตซอรัส โดยชื่อนี้เป็นภาษาลิงกาลามีความหมายว่า "ผู้เดียวที่หยุดการไหลของน้ำได้" โมแกเล-อึมแบมเบเป็นสัตว์ที่อยู่ในตำนานเล่าขานของชนเผ่าพื้นเมือง เช่น ปิกมี ว่าเป็นสัตว์ดุร้าย มักทำร้ายคนหรือสัตว์ที่เข้าใกล้ตัว โดยจะฆ่าให้ถึงตายแต่จะไม่กิน มีรายงานการพบเห็นอย่างเป็นทางการครั้งแรกใน ค.ศ. 1766 โดยบาทหลวงชาวฝรั่งเศสที่เข้าไปเผยแพร่ศาสนาในแคเมอรูนชื่อ ลีแว็ง บอนาว็องตูร์ ว่าพบเห็นรอยเท้าขนาด 3 ฟุต ที่มีนิ้วเท้า 3 นิ้ว ริมแม่น้ำ พร้อมกับเรื่องเล่าจากชาวพื้นเมือง จากนั้นก็มีรายงานการพบเห็นอีกครั้งต่อมาในปี ค.ศ. 1909 โดยพอล กราตซ์ ได้บันทึกว่าเขาพบโมแกเล-อึมแบมเบในขณะที่มันว่ายน้ำอยู่ในบึงอย่างสบายอารมณ์ใกล้กับทะเลสาบบังเวอูลูของประเทศแซมเบีย และเรียกชื่อมันว่า อึนซังกา (Nsanga) จากนั้นก็มีการอ้างว่าพบเห็นอีกหลายครั้ง โดยนักสำรวจหรือนักผจญภัยชาวตะวันตกในอีกหลายปีต่อมา จนกระทั่งในทศวรรษที่ 90 มีปฏิบัติการตามล่าอย่างจริงจังถึง 2 ครั้งใหญ่ รวมทั้งมีการบันทึกภาพได้ด้วยในระยะไกลโดยนักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่น ใน ค.ศ. 1988 และพบสิ่งที่คล้ายรอยเท้า แต่ก็ยังไม่มีใครพบหลักฐานหรือสิ่งที่ยืนยันได้จะจะจริง ๆ แต่พอสรุปรูปร่างและขนาดของโมแกเล-อึมแบมเบได้ว่า มีความยาวลำตัว 5-10 เมตร คอยาว 1.6-3.3 เมตร หางยาว 1.6-3.3 เมตร มีผิวสีน้ำตาลแดง ไม่มีเกล็ด กินพืช 2 ชนิดเป็นอาหาร การพบเห็นครั้งสุดท้ายเกิดขึ้นเมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 2000 ในประเทศแคเมอรูน โดยเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่าแคเมอรูน 2 คนมีความเชื่อว่าเนื้อโมแกเล-อึมแบมเบมีอาถรรพ์ด้วย เนื่องจากมีเรื่องเล่าว่าเผ่าปิกมีกลุ่มหนึ่งได้ฆ่ามันและกินเนื้อของมัน แล้วจู่ ๆ ทุกคนที่ได้กินเนื้อของมันได้ตายอย่างลึกลับทุกคน ปัจจุบันคาดว่า โมแกเล-อึมแบมเบอาจสูญพันธุ์ไปแล้วก็เป็นได้.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและโมแกเล-อึมแบมเบ · ดูเพิ่มเติม »

โดราเอมอน

ราเอมอน หรือ โดเรมอน (ドラえもん) (Doraemon) เป็น การ์ตูนญี่ปุ่น แต่งโดย ฟุจิโกะ ฟุจิโอะ เรื่องราวของหุ่นยนต์แมวชื่อโดราเอมอน โดยฟุจิโกะ ฟุจิโอะ ได้กล่าวว่าโดราเอมอนเกิดวันที่ 3 กันยายน มาจากอนาคตเพื่อกลับมาช่วยเหลือ โนบิตะ เด็กประถมจอมขี้เกียจด้วย ของวิเศษ จากอนาคต โดราเอมอนเริ่มตีพิมพ์ครั้งแรกในญี่ปุ่นเมื่อ เดือนมกราคม พ.ศ. 2513 โดย สำนักพิมพ์โชงะกุกัง โดยมีจำนวนตอนทั้งหมด 1,344 ตอน ต่อมาในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2540 โดราเอมอนได้รับรางวัลเทะซุกะ โอซามุ ครั้งที่ 1 ในสาขาการ์ตูนดีเด่น อีกทั้งยังได้รับเลือกจาก นิตยสารไทม์เอเชีย ให้เป็นหนึ่งในวีรบุรุษของ ทวีปเอเชีย จาก ประเทศญี่ปุ่น จากนั้นในวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2551 โดราเอมอนก็ได้รับเลือกให้เป็นทูตสันถวไมตรี เพื่อการประชาสัมพันธ์วัฒนธรรมของ ประเทศญี่ปุ่น นอกจากนี้บริษัท บันได ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าการ์ตูนที่มีชื่อเสียงของญี่ปุ่น ยังได้ผลิต หุ่นยนต์ โดราเอมอนของจริงขึ้นมาในชื่อว่า "My Doraemon" โดยออกวางจำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2552 ใน ประเทศไทย โดราเอมอนฉบับ หนังสือการ์ตูน มีการตีพิมพ์โดยหลายสำนักพิมพ์ในช่วงก่อนที่จะมีลิขสิทธิ์การ์ตูน แต่ปัจจุบัน สำนักพิมพ์ เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ เป็นผู้ได้รับลิขสิทธิ์ในการจัดพิมพ์แต่เพียงผู้เดียว ส่วนฉบับอะนิเมะ ออกอากาศครั้งแรก วันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2525 ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี ในปัจจุบัน และวางจำหน่ายในรูปแบบวีซีดี-ดีวีดี ลิขสิทธิ์โดยบริษัท โรส วิดีโอ .

ใหม่!!: แอฟริกากลางและโดราเอมอน · ดูเพิ่มเติม »

ไดโนซอร์ เจาะแดนลี้ลับช็อกโลก

นซอร์ เจาะแดนลี้ลับช็อกโลก (The Dinosaur Project) ภาพยนตร์แนวผจญภัยระทึกขวัญ สัญชาติอังกฤษ ในปี ค.ศ. 2012.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและไดโนซอร์ เจาะแดนลี้ลับช็อกโลก · ดูเพิ่มเติม »

เสรีรัฐคองโก

รีรัฐคองโก (Congo Free State; État indépendant du Congo) เป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ในแอฟริกากลาง ซึ่งอยู่ในการครอบครองส่วนพระองค์ของพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม มีกำเนิดจากการหนุนหลังทางวิทยาศาสตร์และมนุษยธรรมที่น่าดึงดูดแก่องค์การพัฒนาเอกชน สมาคมแอฟริกานานาชาติ (Association internationale africaine, AIA) ของพระเจ้าเลออปอลที่ 2 พระองค์ทรงกระชับการควบคุมลุ่มน้ำคองโกส่วนมากผ่าน AIA และองค์การสืบเนื่องทั้งหลาย องค์การสุดท้าย คือ สมาคมคองโกนานาชาติ (Association internationale du Congo, AIC) เป็นเครื่องมือส่วนพระองค์ของพระเจ้าเลออปอลที่ 2 เนื่องจากทรงเป็นผู้ถือหุ้นแต่พระองค์เดียวและประธาน พระองค์จึงได้ใช้องค์การเพื่อรวบรวมและขายงา ยางและแร่เพิ่มขึ้นในลุ่มน้ำคองโกตอนบน แม้องค์การดังกล่าวจะถูกจัดตั้งขึ้นบนความเข้าใจว่าวัตถุประสงค์คือ เพื่อยกระดับประชาชนท้องถิ่นและพัฒนาพื้นที่ พระองค์ให้นามเสรีรัฐคองโกแก่ AIC ใน..

ใหม่!!: แอฟริกากลางและเสรีรัฐคองโก · ดูเพิ่มเติม »

เสือชีตาห์

ือชีตาห์ (Cheetah) เป็นเสือเล็กชนิดหนึ่ง เนื่องไม่สามารถส่งเสียงคำรามได้ แต่จากรูปร่างภายนอก ทำให้นิยมเรียกกันว่า เสือชีตาห์ เสือชีตาห์มีที่อยู่อาศัยในทุ่งหญ้าสะวันนา เป็นสัตว์ที่วิ่งได้เร็วมากวิ่งได้เร็วประมาณ 110–120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จัดเป็นสัตว์บกที่วิ่งเร็วที่สุดในโลก เป็นผลมาจากความสามารถในการโค้งงอของกระดูกสันหลังในการเคลื่อนที่และเมื่อพุ่งตัวกระดูกสันหลังจะเหยียดออก ปัจจุบันเสือชีตาห์ลดจำนวนลงในทวีปเอเชียเหลืออยู่แค่ในอิหร่านไม่เกิน 20 ตัว ส่วนในแอฟริกาประมาณการว่าเหลืออยู่ราว 4,000 ตัวเท่านั้น เสือชีตาห์มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Acinonyx jubatus และจัดเป็นสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์เดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Acinonyx ที่ยังสืบเผ่าพันธุ์จนถึงปัจจุบัน เนื่องจากเสือชีตาห์ชนิดอื่น ๆ นั้นได้สูญพันธุ์ไปหมดในยุคน้ำแข็งสุดท้าย จึงทำให้สายพันธุ์กรรมของเสือชีตาห์ทั้งหมดในปัจจุบันใกล้ชิดกันมาก.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและเสือชีตาห์ · ดูเพิ่มเติม »

เสือไฟแอฟริกา

ือไฟแอฟริกา หรือ แมวทองแอฟริกา (African golden cat) เสือขนาดเล็กหรือแมวชนิดหนึ่ง กระจายพันธุ์อยู่ในทวีปแอฟริกา เสือไฟแอฟริกามีลักษณะทั่วไปคล้ายกับเสือไฟที่พบในทวีปเอเชีย ทั้งที่พบกันคนละทวีปที่ห่างไกลกัน เชื่อว่าในยุคก่อนประวัติศาสตร์ราวหนึ่งล้านปีก่อนแผ่นดินใหญ่ในจีนจนถึงทวีปแอฟริกาในปัจจุบันเชื่่อมต่อกันเป็นป่าเดียวกัน แต่ต่อมาถูกคั่นด้วยทะเลทรายกว้างใหญ่หลายแห่ง เสือไฟในสองทวีป จึงถูกตัดขาดจากกัน และมีวิวัฒนาการแยกออกจากกัน หรือเป็นผลของการวิวัฒนาการแบบเข้าหากันผ่อง เล่งอี้.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและเสือไฟแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

เฮดจ์ฮอกสี่นิ้ว

อกสี่นิ้ว หรือ เฮดจ์ฮอกแคระแอฟริกา (Four-toed hedgehog, African pygmy hedgehog) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกเฮดจ์ฮอก (Erinaceinae) เป็นเฮดจ์ฮอกขนาดเล็ก มีขนาดความยาวลำตัวประมาณ 15 เซนติเมตร หางมีความยาว 2.5 เซนติเมตร น้ำหนัก 500-700 กรัม มีนิ้วที่เท้าหน้า 5 นิ้ว นิ้วเท้าหลัง 4 นิ้ว ขนปกคลุมลำตัวมีความยาวประมาณ 2.5 เซนติเมตร เป็นสีขาวและเทา ส่วนท้องและขาเป็นสีขาว กระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกาแถบแอฟริกากลางและแอฟริกาตะวันออก เช่น แกมเบีย, โซมาเลีย, โมซัมบิก อาศัยในถิ่นที่มีอากาศแห้ง แบบซาวันน่า มีต้นไม้เพียงเล็กน้อย เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืน กินอาหารเช่น แมงมุม, แมลง, พืชบางชนิด, หอยทาก บางครั้งอาจกินแมงป่องหรืองูพิษได้ด้วย เนื่องจากมีรายงานว่ามีความทนทานต่อพิษของสัตว์เหล่านี้ แต่เฮดจ์ฮอกสี่นิ้วก็ตกเป็นอาหารของสัตว์ใหญ่กว่า เช่น ไฮยีน่า, หมาจิ้งจอก รวมทั้งนกเค้าแมวด้วย เฮดจ์ฮอกสี่นิ้วได้รับความนิยมในฐานะเป็นสัตว์เลี้ยงอย่างแพร่หลาย และเป็นชนิดที่ได้รับความนิยมในประเทศไท.

ใหม่!!: แอฟริกากลางและเฮดจ์ฮอกสี่นิ้ว · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Central Africa

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »