โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เฟิร์น

ดัชนี เฟิร์น

ฟิร์น หรือ เฟิน (fern) เป็นหนึ่งในกลุ่มของพืชที่มีราว ๆ 20,000 สปีชีส์ ที่ถูกจำแนกในไฟลัม Pteridophyta หรือ Filicophyta พืชกลุ่มนี้ยังเป็น Polypodiophyta หรือ Polypodiopsida ด้วย เมื่อถือตามส่วนย่อยของพืชมีท่อลำเลียง คำว่า เทอริโดไฟต์ (pteridophyte) ใช้เพื่อกล่าวถึงพืชมีท่อลำเลียงที่ไม่มีเมล็ดทั้งหมด ทำให้มันหมายถึง "เฟิร์นและพืชใกล้เคียงเฟิร์น" ซึ่งสามารถสร้างความสับสนเมื่อสมาชิกของเฟิร์นในส่วน Pteridophyta บางครั้งอ้างเป็นเทอริโดไฟต์ได้ด้วยเหมือนกัน การศึกษาในเรื่องของเฟิร์นและเทอริโดไฟต์อื่น ๆ เรียกว่า วิทยาเฟิร์น (Pteridology).

53 ความสัมพันธ์: พืชพืชบกพืชพันธุ์ในประเทศมาซิโดเนียกรดจัสโมนิกกุกบุยโป้วยุคเพอร์เมียนรองเท้านารีอินทนนท์รายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิดวัฏจักรไนโตรเจนวีเวรียอาสกุลชายผ้าสีดาสกุลเฟินนาคราชสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรีสวนหลวง ร.9สวนนงนุชสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนอวัยวะเพศอุทยานแห่งชาติออบหลวงอุทยานแห่งชาติขุนน่านอุทยานแห่งชาติขุนแจอุทยานแห่งชาติคลองพนมอุทยานแห่งชาติน้ำตกโยงผักกูดผักแว่นผักแว่นใบมันจอกหูหนูธงชาติวานูอาตูทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทยทาเดอุช ไรค์สไตน์ข้าหลวงหลังลายดอยอ้อยช้างตุ๊กแกบินหางเฟินซากดึกดำบรรพ์ช่วงเปลี่ยนสภาพซานาดูประเทศมาซิโดเนียประเทศตองงาประเทศเยอรมนีปรงปรงไข่ป่าป่าดิบชื้นป่าเมฆน้ำตกห้วยหินฝนน้ำตกทรายขาวแบคทีเรียที่ตรึงไนโตรเจนได้แฟร็กทัลแหนแดงแปะก๊วยไบรโอโลยีไฟลัม...ไม้ล้มลุกเขาหวงเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ขยายดัชนี (3 มากกว่า) »

พืช

ืช เป็นสิ่งมีชีวิตกลุ่มใหญ่ประเภทหนึ่ง (มีประมาณ 350,000 สปีชีส์ ถูกระบุแล้ว 287,655 สปีชีส์ เป็นพืชดอก 258,650 ชนิด และพืชไม่มีท่อลำเลียง 18,000 ชนิด) อยู่ในอาณาจักรพืช (Kingdom Plantea) ประกอบด้วย ไม้ยืนต้น ไม้ดอก พืชล้มลุก และเฟิร์น พบได้ทั้งบนบกและในน้ำ เป็นสิ่งมีชีวิตที่เนื้อเยื่อส่วนใหญ่ประกอบด้วยหลายเซลล์ นิวเคลียสมีผนังเซลล์ ห่อหุ้ม เคลื่อนที่ไม่ได้ ได้แค่เอียงตัว จะสามารถเห็นได้ชัดเจน.เมื่อมีแดดส่อง พืชจะเอียงตัวไปที่แดด ไม่มีอวัยวะเกี่ยวกับความรู้สึก มีคลอโรฟิลล์ซึ่งเป็นสารสีเขียว ช่วยในการสังเคราะห์และเจริญเติบโต.

ใหม่!!: เฟิร์นและพืช · ดูเพิ่มเติม »

พืชบก

ืชบก (Embryophyte) หมายถึงกลุ่มพืชที่เติบโตบนพื้นแผ่นดิน (ซึ่งมีความหมายต่างจากพืชน้ำ) ประกอบไปด้วยต้นไม้, ไม้ดอก, เฟิร์น, มอสส์ และพืชบกสีเขียวอื่นๆ ทั้งหมดเป็นยูแคริโอตหลายเซลล์ที่สลับซับซ้อนที่มีอวัยวะสำหรับสืบพันธุ์เป็นแบบพิเศษ พืชบกได้รับพลังงานจากการสังเคราะห์ด้วยแสงและสังเคราะห์อาหารจากคาร์บอนไดออกไซด์ พืชบกอาจต่างจากสาหร่ายหลายเซลล์ที่ใช้คลอโรฟิลล์โดยสาหร่ายมีอวัยวะสืบพันธุ์นั้นเป็นหมัน พืชบกส่วนมากปรับตัวอาศัยอยู่บนบกแต่ก็มีบางส่วนอาศัยอยู่ในน้ำ เช่น สาหร่ายหางกระรอก เป็นต้น.

ใหม่!!: เฟิร์นและพืชบก · ดูเพิ่มเติม »

พืชพันธุ์ในประเทศมาซิโดเนีย

ืชพันธุ์ของประเทศมาซิโดเนีย มีประมาณ 210 ตระกูล มี 920 สกุล และประมาณ 3,700 ชนิดของพืช กลุ่มที่อุดมสมบูรณ์มากที่สุดคือไม้ดอกที่มีประมาณ 3,200 ชนิด ตามด้วยมอส 350 สายพันธุ์ และเฟิร์น 42 สายพัน.

ใหม่!!: เฟิร์นและพืชพันธุ์ในประเทศมาซิโดเนีย · ดูเพิ่มเติม »

กรดจัสโมนิก

กรดจัสโมนิกเป็นสารอินทรีย์ที่พบในพืชหลายชนิดรวมทั้งในน้ำมันหอมระเหยของมะลิ และยังพบในมอสและเฟินด้วย สังเคราะห์มาจากกรดไขมันคือกรดลิโนเลนิก มีโครงสร้างใกล้เคียงกับกรดแอบไซซิก มีผลในด้านการยับยั้งการเจริญเติบโตและกระตุ้นการชราและการหลุดร่วงของใบ การลงหัว การขดของมือพืช การสุกและการสร้างเม็ดสีในผล ยับยั้งการงอกของเมล็ด ยับยั้งการเจริญของราก ยับยั้งการสังเคราะห์ด้วยแสง สารประกอบเอสเทอร์ของกรดจัสโมนิกเช่นก๊าซเมทิลจัสโมเนตซึ่งเป็นน้ำมันหอมระเหยในพืชออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยาได้เช่นกัน เช่นกระตุ้นการทำงานของโปรตีเนสในมะเขือเทศ และชักนำการขดของมือพื.

ใหม่!!: เฟิร์นและกรดจัสโมนิก · ดูเพิ่มเติม »

กุกบุยโป้ว

กุกบุยโป้ว ("กู่ซุ่ยปู่" หรือ "กุกบุยโป้ว" ในภาษาจีนแต้จิ๋ว) เป็นเฟินชนิดหนึ่งในวงศ์ Polypodiaceae เป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียตะวันออก รวมทั้งจีนตะวันออก ภายนอกเป็นสีแดงอมน้ำตาล มีเกล็ดเล็กคล้ายขนอ่อนปกคลุมทั่วไป ด้านในเป็นสีแดงอมน้ำตาล ใช้เป็นยาในแพทย์แผนจีน ในเอเชียนิยมอ้างถึงพืชชนิดนี้ด้วยชื่อพ้อง Drynaria fortunei รากใช้ทำยาบำรุงกระดูก บำรุงไตแก้ปวด แก้อักเสบ สารออกฤทธิ์ที่สำคัญในเหง้าคือ Flavan-3-ol และpropelargonidin.

ใหม่!!: เฟิร์นและกุกบุยโป้ว · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเพอร์เมียน

ร์บอนิเฟอรัส←ยุคเพอร์เมียน→ยุคไทรแอสซิก ยุคเพอร์เมียน(permian)เป็นยุคสุดท้ายในมหายุคพาลีโอโซอิก อยู่ระหว่าง299±0.5ล้านปีมาแล้วถึง251±0.16ล้านปีมาแล้วมีสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำอยู่มากมาย พืชตระกูลสน เฟิร์นมีมากในช่วงนี้ สัตว์เลื้อยคลานในช่วงนี้คล้ายคลึงกับไดโนเสาร์ แต่เกิดการสูญพันธ์ช่วงปลายยุค ซึ่งเป็นการสูญพันธ์ครั้งใหญ่ที่สุดที่พบบนโลก สิ่งมีชีวิตบนโลกได้สูญพันธ์ไปถึง 96-97%.

ใหม่!!: เฟิร์นและยุคเพอร์เมียน · ดูเพิ่มเติม »

รองเท้านารีอินทนนท์

รองเท้านารีอินทนนท์ เป็นกล้วยไม้อยู่ในสกุลรองเท้านารี มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่รัฐอัสสัม สาธารณรัฐอินเดีย จนถึงทางตอนใต้ของประเทศจีน.

ใหม่!!: เฟิร์นและรองเท้านารีอินทนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด

ต่อไปนี้เป็น รายชื่อคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด เรียงลำดับตามตัวอักษรของ คำที่เขียนถูก ตามที่ปรากฏในพจนานุกรมภาษาไทยหรือตามประกาศของหน่วยงานราชการไทย หมายเหตุ: การเขียนสะกดคำในนี้เป็นกรณีทั่วไป แต่ในกรณีเฉพาะ เช่น เป็นวิสามานยนาม อาทิ เป็นชื่อบุคคล ชื่อสถานที่ หรือในทางร้อยกรอง สามารถเขียนสะกดคำแตกต่างได้.

ใหม่!!: เฟิร์นและรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด · ดูเพิ่มเติม »

วัฏจักรไนโตรเจน

วัฏจักรไนโตรเจน วัฏจักรไนโตรเจน (Nitrogen Cycle) คือ วัฏจักรทางชีวธรณีเคมี ซึ่งอธิบายถึงการแปลงสภาพของไนโตรเจนและสารประกอบที่มีไนโตรเจนเป็นส่วนประกอบในธรรมชาต.

ใหม่!!: เฟิร์นและวัฏจักรไนโตรเจน · ดูเพิ่มเติม »

วีเวรียอา

วีเวรียอา ไดโนเสาร์คอยาวชนิดหนึ่ง ถูกค้นพบในสถานที่ ๆ เป็นประเทศฝรั่งเศสในยุคปัจจุบัน มีอายุอยู่ราวยุคจูแรสซิกตอนปลาย มีชนิดต้นแบบ คือ Vouivria damparisensis วีเวรียอา ถูกค้นพบเป็นซากดึกดำบรรพ์ตั้งแต่เดือนเมษายน..

ใหม่!!: เฟิร์นและวีเวรียอา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลชายผ้าสีดา

ผ้าสีดา (staghorn หรือ elkhorn ferns) เป็นสกุลของเฟินมีทั้งสิ้น 18 ชนิด มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนของทวีปอเมริกาใต้, ทวีปแอฟริกา, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, ประเทศออสเตรเลีย และ เกาะนิวกินี.

ใหม่!!: เฟิร์นและสกุลชายผ้าสีดา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเฟินนาคราช

ฟินนาคราช (Davallia) เป็นพืชสกุลหนึ่งของเฟิน มีเหง้าเลื้อยบนพื้นดินโขดหินและบนต้นไม้ เหง้าปกคลุมด้วยเกล็ดหรือขนจำนวนมาก มักอยู่รวมกับพวกมอส มีอยู่ประมาณ 40 ชนิด พบทั้งในป่าเขตร้อน ไปจนถึงป่าเขตหนาว นิยมปลูกเพื่อประดับและตัดใบเพื่อตบแต่ง.

ใหม่!!: เฟิร์นและสกุลเฟินนาคราช · ดูเพิ่มเติม »

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี

วนสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี (Stone Garden) คือ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 80 พรรษา ลำดับที่ 8 ตั้งอยู่ที่บ้านทุ่งนาคราช ตำบลหนองหญ้า อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี มีเนื้อที่ 600 ไร่เศษ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จเป็นประธานเปิดสวนเมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2531 ประชาชนทั่วไปเรียกสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ว่า “สวนหิน” หรืออุทยานหินเพราะในบริเวณนั้นมีหินงอกอยู่เรียงราย อย่างเป็นระเบียบในเนื้อที่ประมาณ 200 ไร่ การเดินทางไปสวนหิน เส้นทางที่ใกล้ที่สุด คือเดินทางจากหลักเมืองไปยังท่าร่วมของแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำแควน้อย และแม่น้ำแควใหญ่ ข้ามแพขนานยนต์ไปยังฝั่งตรงข้าม เดินทางผ่านสุสานเขาช่องไก่ ถ้ำเขาปูน และวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกาญจนบุรี ระยะทางประมาณ 9 กิโลเมตร อีกเส้นทางหนึ่งไปตามถนนแสงชูโต ผ่านสุสานสัมพันธมิตรถึงสามแยกแก่งเสี้ยนเลี้ยวซ้าย ผ่านสะพานข้ามแม่น้ำแควใหญ่ ไปตามเส้นทางวัดเขาปูนจะถึงบริเวณสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ระยะทาง 21 กิโลเมตร หน่วยงานรับผิดชอบในการดูแลรักษา คือ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกาญจนบุรี ต้นไม้ประจำสวน คือ กาญจนิกา ไม้พื้นถิ่นของของประเทศไทยที่มีมากในกาญจนบุรี.

ใหม่!!: เฟิร์นและสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สวนหลวง ร.9

ในหอรัชมงคล สวนหลวง ร.9 เป็นสวนสาธารณะและสวนพฤกษศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในกรุงเทพมหานคร มีพื้นที่ประมาณ 500 ไร่ อยู่ในแขวงหนองบอน เขตประเวศ ทางตะวันออกของกรุงเทพมหานคร จัดสร้างเพื่อสร้างเพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในศุภมงคลสมัยเจริญพระชนมพรรษาครบรอบ 60 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2530 โดยศาสตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้ำ เป็นประธานออกแบบงานภูมิทัศน์ ส่วนหอรัชมงคลซึ่งจัดเป็นสัญลักษณ์สำคัญของสวนหลวง ร.9 ได้รับการออกแบบโดย ม.ล.ตรีทศยุทธ เทวกุล ปัจจุบันมี หม่อมหลวงชนะพันธุ์ กฤดากร เป็นประธานคณะกรรมการบริหารสวนหลวง ร.๙.

ใหม่!!: เฟิร์นและสวนหลวง ร.9 · ดูเพิ่มเติม »

สวนนงนุช

สวนนงนุช สวนช้างแมมมอส สวนนงนุชพัทยา สวนนงนุชพัทยา ตั้งอยู่ที่ 34/1 หมู่ 7 ตำบลนาจอมเทียน อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี 20250 เปิดอย่างเป็นทางการในเมื่อปี 2523 (ค.ศ.1980) พร้อมจัดให้มีการแสดงศิลปวัฒนธรรมไทยร่วมสมัยและการแสดงช้างแสนรู้ภายในโรงละคร กระทั่ง 3 ปีต่อมาคุณนงนุชได้มอบให้ทายาทคนที่ 2 คือคุณกัมพล ตันสัจจา เข้ามาพัฒนา บริหารจัดการจนกลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวระดับแนวหน้า เก็บรวบรวมพันธุ์ไม้ในเขตร้อนมากกว่า 18,000 ชนิด มีเนื้อที่ประมาณ 1,700 ไร่ ภายในมีสวนไม้ดอกไม้ประดับนานาชนิด เช่น กล้วยไม้ เฟิน สับปะรดสี สวนไม้พุ่ม ไม้ดัด สวนหิน สวนฝรั่งเศสกระบองเพชร ปาล์มจากทั่วทุกมุมโลก และต้นไม้ยักษ์ รวมทั้งสวนสัตว์ สวนผีเสื้อ โดยผู้ก่อตั้งสวนนงนุช คือ นางนงนุช ตันสัจจา และมีนายกำพล ตันสัจจา เป็นผู้อำนวยการ สวนนงนุช โดยปัจจุบันนั้น สวนนงนุช มี 2 สาขา ได้แก่ สวนนงนุชพัทยา และสวนนงนุชปราจีนบุรี ปัจจุบันสวนนงนุชพัทยาถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมในระดับแนวหน้า มีพื้นที่กว่า 1,700 ไร่ มีผู้เข้าเยี่ยมชมไม่น้อยกว่าวันละ 5,000 คน หมวดหมู่:จังหวัดชลบุรี หมวดหมู่:สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย หมวดหมู่:แหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: เฟิร์นและสวนนงนุช · ดูเพิ่มเติม »

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน

รานุกรมไทยสำหรับเยาวชน สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสารานุกรมภาษาไทยจัดทำขึ้นเป็นรูปเล่ม โดยมีเนื้อหาบางส่วนเผยแพร่ในระบบออนไลน์ เป็นสารานุกรมไทยแบบเป็นชุด เน้นความรู้ที่เกิดขึ้นและใช้อยู่ในประเทศไทย จัดทำโดยคนไทย เพื่อให้คนไทยทุกเพศทุกวัยมีโอกาสได้อ่าน แต่ละเล่มรวบรวมเนื้อเรื่องจากหลากหลายสาขาวิชา เนื้อหาของเรื่องต่างๆ เรียบเรียงให้เหมาะสมกับ 3 ระดับความรู้ ให้แก่เด็กรุ่นเล็ก เด็กรุ่นกลาง และเด็กรุ่นใหญ่ รวมทั้งผู้ใหญ่ที่สนใจทั่วไป แต่ละเรื่องเริ่มต้นด้วยเนื้อหาของระดับเด็กรุ่นเล็ก ตามด้วยเนื้อหาของรุ่นกลางและรุ่นใหญ่ตามลำดับ เนื้อหาในแต่ละระดับพิมพ์ด้วยตัวอักษรขนาดต่างกัน.

ใหม่!!: เฟิร์นและสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน · ดูเพิ่มเติม »

อวัยวะเพศ

อวัยวะเพศ (sex organ) หรือ อวัยวะสืบพันธุ์ (reproductive organ, primary sex organ, primary sexual characteristic) เป็นโครงสร้างทางกายภาพที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิตที่มีความซับซ้อน และเป็นส่วนหนึ่งของระบบสืบพันธุ์ อวัยวะที่เห็นได้จากด้านนอกในเพศหญิงและชายเรียกว่าเป็น อวัยวะเพศปฐมภูมิ หรือ อวัยวะสืบพันธุ์ (genitals, genitalia) ส่วนอวัยวะภายในเรียกว่าเป็น อวัยวะเพศทุติยภูมิ หรือ อวัยวะสืบพันธุ์ภายใน ลักษณะที่เริ่มเกิดขึ้นในวัยเริ่มเจริญพันธุ์ เช่น ขนหัวหน่าวในผู้หญิงและผู้ชาย และหนวดในผู้ชาย เรียกว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางเพศทุติยภูมิ (secondary sex characteristics) มอสส์, เฟิร์น และพืชบางชนิดที่คล้ายกันมีอับเซลล์สืบพันธุ์ (gametangia) เป็นอวัยวะสืบพันธุ์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแกมีโทไฟต์ (gametophyte) ดอกไม้ของพืชดอกสร้างละอองเรณูและเซลล์ไข่ ทว่าอวัยวะเพศอยู่ข้างในแกมีโทไฟต์ภายในละอองเรณูและออวุล (ovule) พืชจำพวกสนก็ผลิตโครงสร้างการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศข้างในแกมีโทไฟต์ภายในลูกสนและละอองเรณู โดยลูกสนและละอองเรณูเองไม่ใช่อวัยว.

ใหม่!!: เฟิร์นและอวัยวะเพศ · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติออบหลวง

อุทยานแห่งชาติออบหลวง เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งหนึ่งในพื้นที่อำเภอจอมทอง อำเภอฮอด และอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ห่างจากตัวจังหวัดเชียงใหม่ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ราว 100 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 553 ตารางกิโลเมตร (345,625 ไร่) พื้นที่ส่วนใหญ่ของอุทยานเป็นภูเขาสลับซับซ้อนและสูงชัน มีอาณาเขตติดต่อกับอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ แหล่งน้ำหลักคือลำน้ำแม่แจ่ม ซึ่งมีลักษณะเป็นเกาะแก่งเมื่อไหลผ่านหุบเขา ในอุทยานมีป่าไม้อุดมสมบูรณ์ จำแนกได้หลายประเภท สามารถพบสัตว์ป่าได้หลายชนิด เช่น เลียงผา เสือ หมี เป็นต้น นอกจากนี้ภายในอุทยานแห่งชาติยังมีน้ำพุร้อน น้ำตก ถ้ำ และแหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร.

ใหม่!!: เฟิร์นและอุทยานแห่งชาติออบหลวง · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติขุนน่าน

อุทยานแห่งชาติขุนน่าน ได้รับการจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 111 ซึ่งประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาลงวันที่ 15 กรกฎาคม 2552 โดยตั้งอยู่ในท้องที่อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน อุทยานแห่งชาติขุนน่าน หมายถึง "ขุนเขา ลำน้ำ อันเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำน่าน" อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติดอยภูคาและป่าผาแดง บริเวณท้องที่ตำบลดงพญา ตำบลบ่อเกลือใต้ และตำบลภูฟ้า อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน.

ใหม่!!: เฟิร์นและอุทยานแห่งชาติขุนน่าน · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติขุนแจ

อุทยานแห่งชาติขุนแจ ตั้งอยู่ในท้องที่อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ห่างจากตัวเมืองจังหวัดเชียงใหม่ 62 กิโลเมตรตามทางหลวงสายเชียงใหม่-เชียงราย (ทางหลวงหมายเลข 118) จัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติเมื่อปี พ.ศ. 2538 เป็นแหล่งต้นน้ำสำคัญครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 280 ตารางกิโลเมตร ภายในอุทยานมีสัตว์ป่านานาชนิด มีน้ำตกและทิวทัศน์ที่สวยงาม และเป็นถิ่นที่อยู่ของชาวเขามานานกว่า 100 ปี.

ใหม่!!: เฟิร์นและอุทยานแห่งชาติขุนแจ · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติคลองพนม

100px อุทยานแห่งชาติคลองพนม อยู่ในท้องที่ตำบลคลองสก ตำบลพนม และตำบลพลูเถื่อน อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 460 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 290,000 ไร่ ได้จัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2543.

ใหม่!!: เฟิร์นและอุทยานแห่งชาติคลองพนม · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง

อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง มีพื้นที่ครอบคลุมอยู่ในท้องที่ อำเภอฉวาง อำเภอนาบอน และอำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีสภาพป่าที่สมบูรณ์ ประกอบด้วยทิวทัศน์และน้ำตกที่สวยงามหลายแห่ง เช่น น้ำตกโยง น้ำตกหนานปลิว เหมาะแก่การท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ ศึกษาหาความรู้ ทั้งเป็นต้นน้ำลำธารที่สำคัญ อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยงมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 202.68 ตารางกิโลเมตร หรือ 126,675 ไร.

ใหม่!!: เฟิร์นและอุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง · ดูเพิ่มเติม »

ผักกูด

ผักกูด เป็นชื่อของผักชนิดหนึ่งที่อยู่ในตระกูลเฟิร์นที่อยู่ในวงศ์ Athyriaceae ซึ่งมนุษย์สามารถนำมาปรุงเป็นอาหารได้ นอกจากจะนำมาเป็นอาหารได้แล้วยังนำมาเป็นสมุนไพรได้อีกด้วย ผักกูดมักจะขึ้นอยู่ตามริมน้ำหรือพื้นที่ชุ่มน้ำ มากกว่าในป่าทึบ มักพบบ่อยเพราะเป็นช่วงเจริญเติบโตในฤดูฝน มีเหง้าสูงได้ 1 เมตร ใบเป็นแผงรูปขนนก ตอนอายุยังน้อยจะแตกเป็นรูปขนนกชั้นเดียวคู่ขนานกันไปตั้งแต่โคนใบถึงปลายใบ เมื่ออายุมากขึ้นใบจะเปลี่ยนเป็นรูปขนนก 2 ชั้น ยอดอ่อนและปลายยอดม้วนงอแบบก้นหอย พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทวีปเอเชียและโอเชียเนีย ใบของผักกูดใช้ต้มน้ำดื่มหรือกินสด ช่วยแก้ไข้ตัวร้อน, แก้พิษอักเสบ, บำรุงสายตา, บำรุงโลหิต, แก้โลหิตจาง ป้องกันเลือดออกตามไรฟันและขับปัสสาวะเด็ดขาดมาก ลดความดันโลหิตสูง ลดคอเลสเตอรอลในเม็ดเลือด มีสารบีตา-แคโรทีนและธาตุเหล็กสูง ส่วนใหญ่จะนำใบอ่อน ช่ออ่อน ทำแกงกับปลาเนื้ออ่อนน้ำจืด เช่นปลาช่อนหรือลวกจิ้มน้ำพริกชนิดต่างๆ ยำผักกูด, ผักกูดผัดน้ำมันหอย, แกงกะทิกับปลาย่าง, ลวกกะทิ แต่ไม่นิยมกินสด ๆ กันเพราะจะมียางเป็นเมือกอยู่ที่ก้าน นอกจากนี้แล้ว ผักกูดยังเป็นดัชนีชี้วัดถึงสภาพแวดล้อมให้ได้รู้ว่า บริเวณไหนอากาศไม่ดี ดินไม่บริสุทธิ์ มีสารเคมีเจือปนอยู่ ผักกูดจะไม่ขึ้นหรือแตกต้นในบริเวณนั้นเด็.

ใหม่!!: เฟิร์นและผักกูด · ดูเพิ่มเติม »

ผักแว่น

ผักแว่น เป็นเฟินน้ำชนิดหนึ่ง มีอายุหลายปี พบได้ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จัดอยู่ในวงศ์ Marsileaceae สกุล Marsilea มีลักษณะเป็นเหง้าเถาเลื้อยไปตามผิวดินหรือผิวน้ำหรือโคลนเลน พบเห็นได้ทั่วไปตามริมน้ำหรือพื้นดินที่มีน้ำขังแฉะ สามารถนำมากินเป็นผักสด มีคุณค่าทางอาหาร และยังมีสรรพคุณทาง.

ใหม่!!: เฟิร์นและผักแว่น · ดูเพิ่มเติม »

ผักแว่นใบมัน

ผักแว่นใบมัน แผ่นใบเป็นมัน สร้างสปอโรคาร์บเรียงเป็นแถวที่ก้านใบขณะต้นอยู่ในน้ำ พบบริเวณริมแม่น้ำในจังหวัดปราจีนบุรี.

ใหม่!!: เฟิร์นและผักแว่นใบมัน · ดูเพิ่มเติม »

จอกหูหนู

อกหูหนู Roxb.

ใหม่!!: เฟิร์นและจอกหูหนู · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติวานูอาตู

งชาติวานูอาตู เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 19 ส่วน ยาว 36 ส่วน ภายในแบ่งเป็นสามส่วนด้วยแนวเส้นแบ่งรูปตัว "Y" สีเหลืองขอบดำตามแนวนอน ครึ่งบนของธงเป็นพื้นสีแดง ครึ่งล่างเป็นพื้นสีเขียว ที่พื้นช่องสามเหลี่ยมด้านคันธงเป็นพื้นสีดำ มีรูปใบเฟิร์นนาเมลี (namele) สองใบไขว้กันในวงเขี้ยวหมูป่า ธงนี้ประกาศใช้เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 โดยเป็นแบบธงที่ออกแบบโดยศิลปินในประเทศและได้รับเลือกจากรัฐสภาในขั้นสุดท้าย ที่มาของสีในธงชาติทั้ง 4 สี คือ สีแดง สีเขียว สีดำ และ สีเหลือง มาจากสีของพรรควานูอากูปาตี (Vanua'aku Pati- พรรคแผ่นดินของเรา) ซึ่งเป็นพรรคการเมืองที่นำพาประเทศวานูอาตูให้ได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2523 ส่วนความหมายของสีธงแต่ละสีนั้น สีเขียวหมายถึงความมั่งคั่งของแผ่นดิน สีแดงหมายถึงเลือดของมนุษย์และหมูป่า และสีดำเป็นเครื่องหมายของชนชาตินิวานูอาตู (เป็นคำเรียกชาวโพลีเนเชียนที่อยู่ในประเทศวานูอาตู) ส่วนแถบคล้ายอักษร "Y" สีเหลืองขอบดำนั้น นายกรัฐมนตรีแห่งวานูอาตูได้ขอให้เพิ่มเข้าไปในธงชาติ เพื่อเน้นให้พื้นสีดำเด่นขึ้น เฉพาะตัวแถบสีเหลืองนั้น หมายถึงคำสอนของพระผู้เป็นเจ้าที่สอดแทรกอยู่ในวิถีชีวิตของชาวเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ทั้งนี้ ประเทศวานูอาตูมีประชากรเกือบร้อยละ 90 นับถือศาสนาคริสต์ รูปเขี้ยวหมูป่าสีเหลืองในพื้นสีดำเป็นเครื่องรางอย่างหนึ่งของชาวเกาะ หมายถึงความเจริญรุ่งเรือง ภายในวงเขี้ยวนั้นคือใบเฟิร์นนาเมลี ซึ่งเป็นพืชในท้องถิ่น 2 ใบไขว้กัน หมายถึงสันติภาพ ใบเฟิร์นเหล่านี้มีใบย่อยรวมกัน 39 ใบ หมายถึง จำนวนสมาชิกรัฐสภาของวานูอาตู ซึ่งมีทั้งหมาย 39 ที่นั่ง.

ใหม่!!: เฟิร์นและธงชาติวานูอาตู · ดูเพิ่มเติม »

ทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย

ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติอยู่อย่างมากมาย และยังมีความอุดมสมบูรณ์อยู่ แบ่งออกเป็น ทรัพยากรดิน ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรน้ำ และทรัพยากรแร่ธาต.

ใหม่!!: เฟิร์นและทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ทาเดอุช ไรค์สไตน์

ทาเดอุช ไรค์สไตน์ (Tadeusz Reichstein; 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1897 – 1 สิงหาคม ค.ศ. 1996) เป็นนักเคมีชาวโปแลนด์/สวิส เกิดในครอบครัวชาวยิวที่เมืองววอตซวาเวก เป็นบุตรของแกสตาวา บร็อคมันน์กับอิซิดอร์ ไรค์สไตน์ เขาใช้ชีวิตวัยเด็กในเมืองเคียฟและเรียนหนังสือที่เมืองเยนา ก่อนจะย้ายไปอยู่ที่เมืองซูริกและเข้าเรียนที่สถาบันเทคโนโลยีแห่งสมาพันธรัฐสวิส (ETH) หลังเรียนจบ ไรค์สไตน์ทำงานเป็นอาจารย์และผู้ช่วยศาสตราจารย์ที่นั่น ในปี..

ใหม่!!: เฟิร์นและทาเดอุช ไรค์สไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ข้าหลวงหลังลาย

้าหลวงหลังลาย เป็นเฟิร์นชนิดหนึ่งในวงศ์ Aspleniaceae พบในเขตร้อนของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตอนใต้ของออสเตรเลีย รัฐฮาวาย โพลีนีเซีย เกาะคริสต์มาส ประเทศอินเดีย และทางตะวันออกของทวีปแอฟริก.

ใหม่!!: เฟิร์นและข้าหลวงหลังลาย · ดูเพิ่มเติม »

ดอยอ้อยช้าง

อยอ้อยช้าง หรือ ดอยสุเทพ เป็นยอดเขาทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองเชียงใหม่ ด้านบน สามารถมองเห็นทัศนียภาพของเมืองเชียงใหม่ได้อย่างชัดเจน ดอยอ้อยช้างถือเป็นจุดภูมิศาสตร์สำคัญตั้งแต่เริ่มมีการสร้างเมืองเชียงใหม่ เนื่องจากพญามังรายทรงเลือกที่ราบด้านล่างดอยอ้อยช้าง เป็นเขตเมืองเชียงใหม่แทนเวียงกุมกาม.

ใหม่!!: เฟิร์นและดอยอ้อยช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ตุ๊กแกบินหางเฟิน

ตุ๊กแกบินหางเฟิน (Smooth-backed gliding gecko, Burmese flying gecko; ชื่อวิทยาศาสตร์: Ptychozoon lionotum) เป็นสัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่งจำพวกตุ๊กแกและจิ้งจก อยู่ในวงศ์ Gekkonidae มีรูปร่างและสีสันคล้ายจิ้งจกบ้านทั่วไป แต่มีขนาดใหญ่กว่า สามารถโตเต็มที่ได้ 8 นิ้ว ลำตัวแบนราบ ที่นิ้วเท้ามีลักษณะแบนราบและมีพังผืดต่อติดกันไปตลอดทั้งลำตัว ใช้ในการร่อนจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ หางมีลักษณะแบนยาวและมีแขนงแตกออกเป็นหยัก ๆ แลดูคล้ายใบของต้นเฟิน อันเป็นที่มาของชื่อ สามารถปรับสีสันของลำตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้อย่างดี เมื่อถูกรบกวนมักจะมุดหนีเข้าไปในซอกไม้หรือโพรงไม้ แล้วขดหางเป็นวงกลมแนบไว้กับลำตัว และหากถูกรบกวนอีกก็จะมุดลงไปลึกขึ้นอีก หากินในเวลากลางคืน มีความว่องไวมาก ในประเทศไทย พบเฉพาะในป่าดงดิบชื้นในชายแดนภาคตะวันตกติดกับพม่าและภาคใต้ติดกับมาเลเซียเท่านั้น สถานภาพในปัจจุบันเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 แต่กระนั้น ตุ๊กแกบินหางเฟิน ก็ยังเป็นที่นิยมของผู้ที่ชื่นชอบการเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลานอีกด้วย ตุ๊กแกบินหางเฟิน ยังมีชื่อเรียกอื่นอีก เช่น "ตุ๊กแกบินหางหยัก" เป็นต้น.

ใหม่!!: เฟิร์นและตุ๊กแกบินหางเฟิน · ดูเพิ่มเติม »

ซากดึกดำบรรพ์ช่วงเปลี่ยนสภาพ

ซากดึกดำบรรพ์ช่วงเปลี่ยนสภาพ (transitional fossil) เป็นซากดึกดำบรรพ์ที่เหลืออยู่ของสิ่งมีชีวิตใดก็ได้ ที่มีลักษณะสืบสายพันธุ์ซึ่งทั้งกลุ่มสิ่งมีชีวิตบรรพบุรุษของมันและกลุ่มลูกหลานของมันมีร่วมกัน ซึ่งเป็นหลักฐานที่สำคัญเป็นเศษ ในกรณีที่กลุ่มลูกหลานมีกายวิภาคและการดำรงชีวิตที่ต่างกันอย่างมากจากกลุ่มบรรพบุรุษ ซากดึกดำบรรพ์เช่นนี้เป็นเครื่องเตือนใจว่า การแบ่งหน่วยอนุกรมวิธานเป็นอะไรที่มนุษย์สร้างขึ้นในภายหลัง แล้วกำหนดใส่สิ่งมีชีวิตที่มีมาก่อนและมีความแตกต่างแบบต่อเนื่อง ปกติจะไม่มีทางรู้ได้ว่า ซากดึกดำบรรพ์ช่วงเปลี่ยนสภาพหนึ่ง ๆ อยู่ใกล้จุดที่สิ่งมีชีวิตกลุ่มต่าง ๆ วิวัฒนาการเบนออกจากกันแค่ไหน เพราะบันทึกซากดึกดำบรรพ์ไม่สมบูรณ์ ดังนั้น จึงไม่สามารถสมมุติได้ว่า สิ่งมีชีวิตช่วงเปลี่ยนสภาพหนึ่งเป็นบรรพบุรุษโดยตรงของกลุ่มสิ่งมีชีวิตต่อ ๆ มา แม้นักวิทยาศาสตร์อาจจะใช้มันเป็นแบบของบรรพบุรุษ ในปี..

ใหม่!!: เฟิร์นและซากดึกดำบรรพ์ช่วงเปลี่ยนสภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ซานาดู

ซานาดู (Xanadu) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เฟิร์นและซานาดู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาซิโดเนีย

รณรัฐมาซิโดเนีย (Republic of Macedonia; Република Македонија) ซึ่งรัฐและองค์กรนานาชาติส่วนใหญ่เรียกว่า อดีตสาธารณรัฐยูโกสลาฟมาซิโดเนีย (Former Yugoslav Republic of Macedonia: FYROM) เป็นรัฐอิสระบนคาบสมุทรบอลข่านในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศนี้มักจะเรียกเฉย ๆ ว่า "มาซิโดเนีย" ซึ่งอาจจะทำให้เกิดความสับสนกับภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ที่กว้างขวาง และแคว้นมาซิโดเนียของกรีซ ประเทศมาซิโดเนียเป็นเพียงส่วนหนึ่งของภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ที่ชื่อมาซิโดเนีย มีพื้นที่ประมาณร้อยละ 38 และประชากรเกือบร้อยละ 44 ของพื้นที่ที่ใหญ่กว่าพื้นที่ที่ปกครองโดยสาธารณรัฐมาซิโดเนีย ก่อนหน้านี้เป็นส่วนทางใต้สุดของยูโกสลาเวีย พรมแดนปัจจุบันได้รับการกำหนดหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียก่อตั้ง "สาธารณรัฐสังคมนิยมมาซิโดเนีย" (Socialist Republic of Macedonia) ซึ่งเป็นที่โต้แย้งว่า เป็นการยอมรับสลาฟมาซิโดเนีย เป็นชนชาติแยกต่างหากภายในยูโกสลาเวีย ต่อมาในปี พ.ศ. 2534 ได้แยกจากยูโกสลาเวียอย่างสันติโดยเปลี่ยนชื่อเป็น "สาธารณรัฐมาซิโดเนีย" และไม่มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่เพิ่มเติม อย่างไรก็ดี หลังจากนั้นเป็นต้นมา ประเทศได้เกิดกรณีพิพาทกับประเทศกรีซอย่างยาวนานเกี่ยวกับการใช้ชื่อ "มาซิโดเนีย" จนกระทั่งในวันที่ 12 มิถุนายน..

ใหม่!!: เฟิร์นและประเทศมาซิโดเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองงา

ตองงา (อังกฤษและTonga) มีชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรตองงา (Kingdom of Tonga; Puleʻanga Fakatuʻi ʻo Tonga ปูเลอางา ฟากาตูอีโอโตงา) เป็นประเทศหมู่เกาะในภูมิภาคพอลินีเชีย ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างประเทศนิวซีแลนด์กับรัฐฮาวายของสหรัฐอเมริกา โดยทะเลอาณาเขตทางตะวันตกติดกับประเทศฟิจิ ส่วนทางตะวันออกติดกับหมู่เกาะคุก นีวเว และอเมริกันซามัว ในขณะที่ทางทิศเหนือติดกับหมู่เกาะวาลิสและฟูตูนา ประเทศซามัว และอเมริกันซามัว ชื่อประเทศในภาษาตองงาแปลว่าทิศใต้ นอกจากนี้ประเทศนี้ได้รับฉายาว่า หมู่เกาะมิตรภาพ จากกัปตันเจมส์ คุก ประเทศตองงาเป็นประเทศขนาดเล็กมีเนื้อที่เพียง 747 ตารางกิโลเมตร นับเป็นอันดับที่ 189 ของโลก หมู่เกาะตองงาประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่ประมาณ 169 เกาะ โดยมีเพียง 36 เกาะเท่านั้นที่มีผู้อยู่อาศัย เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะโตงาตาปู ซึ่งเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองคือนูกูอาโลฟา เกาะส่วนใหญ่ของตองงาเป็นเกาะที่เกิดจากการทับถมของปะการัง ประชากรของตองงามีทั้งสิ้น 103,036 คน นับเป็นอันดับที่ 192 ของโลก สันนิษฐานว่ามนุษย์เข้ามาอยู่อาศัยในตองงาครั้งแรกเมื่อ 826 ± 8 ปีก่อนคริสตกาล ตองงาเริ่มก่อตั้งอาณาจักรเป็นของตนเองในปี..

ใหม่!!: เฟิร์นและประเทศตองงา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: เฟิร์นและประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ปรง

ปรง (Cycad) เป็นพืชที่มีขนาดเล็กคล้ายกับใบของปาล์ม แต่การเรียงตัวของใบนั้นคล้ายกับเฟิร์นข้าหลวง คือมีการเรียงตัวอยู่รอบ ๆ ศูนย์กลางของลำตัว ปรงเป็นพืชที่เลี้ยงง่าย เจริญเติบโตช้ามาก คือ 1 ปีจะเกิดใบเพียงแค่ใบ เดียวเท่านั้น ปรงสามารถทนต่อการขาดน้ำได้เป็นอย่างดีและถ้าขาดน้ำนาน ๆ ใบของปรงจะแห้งเหี่ยวตายไป แต่พอได้รับน้ำอีกครั้งใบก็จะเกิดขึ้นมาใหม่อีกครั้งหนึ่ง.

ใหม่!!: เฟิร์นและปรง · ดูเพิ่มเติม »

ปรงไข่

ปรงไข่ (Leather fern หรือ Swamp fern) เป็นพืชตระกูลเฟิร์นที่เป็นพืชโบราณ ซึ่งอยู่ในจำพวกพืชเมล็ดเปลือยเช่นเดียวกันกับพวกแปะก๊วยและสน มีลำต้นเป็นเหง้าอยู่ใต้ดิน ชอบขึ้นอยู่ตามที่ชื้นแฉะ ส่วนมากมักพบตามบริเวณใกล้แหล่งน้ำ เป็นพืชที่ความทนทานสูงและมีอายุยืน มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ คือ ปรงทะเล ปรงแดง(สมุทรสาคร) แสม (ใต้) ผักชล (อีสาน) ปรงทอง ปรงใหญ่ และบีโย (มลายู-สตูล).

ใหม่!!: เฟิร์นและปรงไข่ · ดูเพิ่มเติม »

ป่า

ป่า ป่าไม้ ตามพระราชบัญญัติป่าไม้ หมายถึง ที่ดินที่ไม่มีบุคคลใดบุคคลหนึ่งได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ครอบครองตามกฎหมายที่ดิน โดยทั่วไป หมายถึง บริเวณที่มีความชุ่มชื้น และปกด้วยใบไม้สีเขียว ขึ้นอยู่อย่างหนาแน่นและกว้างใหญ่พอที่จะมีอิทธิพลต่อสิ่งแวดล้อมในบริเวณนั้น เช่น ความเปลี่ยนแปลงของลมฟ้าอากาศ ความอุดมสมบูรณ์ของดินและน้ำ มีสัตว์ป่าและสิ่งมีชีวิตอื่นซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน.

ใหม่!!: เฟิร์นและป่า · ดูเพิ่มเติม »

ป่าดิบชื้น

ป่าดิบชื้นที่อุทยานแห่งชาติไทรโยค ป่าดิบชื้น หรือ ป่าฝนเขตร้อน (tropical rain forest) จัดเป็นป่าประเภทไม่ผลัดใบ เป็นป่าที่มีสีเขียวตลอดทั้งปี ต้นไม้จะไม่ผลัดใบในช่วงฤดูแล้ง เนื่องจากปริมาณน้ำฝนค่อนข้างมาก ต้นไม้ไม่มีความจำเป็นต้องผลัดใบเพื่อลดการคายน้ำ ป่าชนิดนี้มักจะเรียกกันว่าป่าดงดิบ เป็นป่าที่อยู่ในเขตมรสุมพัดผ่านเกือบตลอดทั้งปี ขึ้นอยู่ตามที่ราบลุ่ม ที่ราบเชิงเขาที่มีระดับความสูงตั้งแต่ 0-100 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง (บางครั้งอาจพบอยู่สูงถึงระดับ 250 เมตร) และมีปริมาณน้ำฝนไม่น้อยกว่า 2,000 มม./ปี พบมากทางภาคใต้และแถบจังหวัดชายทะเลภาคตะวันออก เช่น จังหวัดระยอง จันทบุรี และตร.

ใหม่!!: เฟิร์นและป่าดิบชื้น · ดูเพิ่มเติม »

ป่าเมฆ

ฟินต้นในป่าเมฆบนยอดเขากีนาบาลู, บอร์เนียว ที่ Parque Internacional la Amistad ป่าเมฆเขตอบอุ่นบน La Palma, หมู่เกาะคะเนรี ป่าเมฆของ Monteverde, ประเทศคอสตาริกา ป่าเมฆบนเขาหลูซานทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีน หนึ่งในสะพานแขวนของ Sky walk ใน Santa Elena, Costa Rica หายไปในเมฆ มอสส์ในป่าเมฆเขตอบอุ่นที่ Budawang National Park, ประเทศออสเตรเลีย ป่าเมฆ (cloud forest) หรือ ป่าหมอก (fog forest) คือป่าไม้เขตร้อนในเขตร้อนหรือกึ่งเขตร้อน เติบโตตามภูเขา ไม่ผลัดใบ มีโอกาสถูกปกคลุมด้วยเมฆระดับต่ำได้สูง ปกติมักอยู่ระดับยอดเขาและสันเขา ป่าเมฆจะอุดมไปด้วยมอสส์ไม่ว่าบนพื้นหรือบนต้นไม้จึงเรียกอีกอย่างว่า ป่ามอสส์ (mossy forest) ป่ามอสส์มักจะอยู่บนสันเขาที่ซึ่งได้รับความชื้นจากเมฆอย่างมีประสิท.

ใหม่!!: เฟิร์นและป่าเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำตกห้วยหินฝน

น้ำตกห้วยหินฝน น้ำตกห้วยหินฝน เป็นน้ำตกขนาดเล็ก อยู่ในอุทยานแห่งชาติขุนน่าน อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน มีต้นกำเนิดจากลำห้วยหินฝน ในอดีตเมื่อหลายร้อยปีที่ผ่านมาได้มีกองทัพพม่าใช้เป็นที่ตั้งฐานทัพ แล้วใช้หินในลำห้วยเป็นที่ลับคมหอกคมดาบ เพื่อเตรียมที่จะไปตีเอาบ่อเกลือ การลับลับคมหอกคมดาบ ชาวบ้านแถบนี้เรียกว่าฝนหอกฝนดาบ จึงเรียกลำห้วยว่า ห้วยหินฝน จนถึงปัจจุบัน น้ำตกห้วยหินฝนเป็นน้ำตกที่มีความสวยงามตามธรรมชาติ มีพันธุ์ไม้ประเภทเฟิร์นขึ้นตลอดทางจนไปถึงตัวน้ำตก สภาพป่าไม้บริเวณน้ำตกมีความร่มรื่น เหมาะแก่การพักผ่อนอย่างแท้จริง นักท่องเที่ยวสามารถเข้าถึงน้ำตกได้ง่าย เนื่องจากอยู่ในเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ โดยเดินเท้าจากด้านหลังบ้านพักของอุทยานไปประมาณ 150 เมตร.

ใหม่!!: เฟิร์นและน้ำตกห้วยหินฝน · ดูเพิ่มเติม »

น้ำตกทรายขาว

น้ำตกทรายขาว น้ำตกทรายขาว น้ำตกทรายขาว น้ำตกทรายขาว อุทยานแห่งชาติน้ำตกทรายขาว เป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีชื่อเสียงในจังหวัดปัตตานี ตั้งอยู่ที่บริเวณตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี ใช้เส้นทางตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 409 (ปัตตานี-ยะลา) เมื่อถึงบ้านนาประดู่บริเวณ กิโลเมตรที่ 28 จากนั้นเดินทางต่อโดยใช้เส้นทางสายนาประดู่-ทรายขาว เข้าไปอีก 7 กิโลเมตร ถึงที่ทำการอุทยานแห่งชาต.

ใหม่!!: เฟิร์นและน้ำตกทรายขาว · ดูเพิ่มเติม »

แบคทีเรียที่ตรึงไนโตรเจนได้

แหนแดง เซลล์ของ Azotobacter แบคทีเรียที่ตรึงไนโตรเจนได้ (Nitrogen fixing bacteria หรือ Diazotroph)เป็นแบคทีเรียหรืออาร์เคียที่ใช้ก๊าซไนโตรเจนเป็นแหล่งไนโตรเจนได้ โดยเปลี่ยนก๊าซไนโตรเจนให้กลายเป็นแอมโมเนี.

ใหม่!!: เฟิร์นและแบคทีเรียที่ตรึงไนโตรเจนได้ · ดูเพิ่มเติม »

แฟร็กทัล

แฟร็กทัล จาก เซตมานดัลบรอ, วาดโดยการพล็อตสมการวนซ้ำไปเรื่อย ๆ แฟร็กทัล (Fractal) ในปัจจุบันเป็นคำที่ใช้ในเชิงวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ หมายถึง วัตถุทางเรขาคณิต ที่มีคุณสมบัติคล้ายตนเอง คือ ดูเหมือนกันไปหมด (เมื่อพิจารณาจากแง่ใดแง่หนึ่ง) ไม่ว่าจะดูที่ระดับความละเอียด (โดยการส่องขยาย) หรือ สเกลใดก็ตาม คำว่า แฟร็กทัล นี้ เบอนัว มานดัลบรอ เป็นคนบัญญัติขึ้นในปี ค.ศ. 1975 จากคำว่า fractus ในภาษาละติน ซึ่งแปลว่า แตก หรือ ร้าว.

ใหม่!!: เฟิร์นและแฟร็กทัล · ดูเพิ่มเติม »

แหนแดง

แหนแดง (อังกฤษ: Mosquito fern, Water fern) เป็นพืชน้ำเล็ก ๆ พวกเฟิร์นพบเจริญเติบโตอยู่บนผิวน้ำในที่มีน้ำขังในเขตร้อนและอบอุ่นทั่วไป.

ใหม่!!: เฟิร์นและแหนแดง · ดูเพิ่มเติม »

แปะก๊วย

''Ginkgo biloba'' แปะก๊วย (;) เป็นพืชสมุนไพรที่มีต้นกำเนิดจากทางตะวันออกของประเทศจีน (แถบภูเขาด้านตะวันตกของนครเซี่ยงไฮ้) ที่มีการแยกต้นเป็นเพศผู้ และเพศเมีย ใบมีลักษณะคล้ายใบพัด แยกออกเป็น 2 กลีบพบว่ามีการนำเข้าไปปลูกในประเทศญี่ปุ่น พร้อมกับการเผยแผ่ศาสนาพุทธนิกายเซน เมื่อประมาณ ช่วงราว..

ใหม่!!: เฟิร์นและแปะก๊วย · ดูเพิ่มเติม »

ไบรโอโลยี

ลิเวอร์เวิร์ตสกุล ''Marchantia'' ไบรโอโลยี (bryology; มาจากคำในภาษากรีก bryon แปลว่า มอสส์หรือลิเวอร์เวิร์ตและ logos แปลว่า การศึกษา) เป็นหนึ่งในสาขาของวิชาพฤกษศาสตร์ โดยเป็นการศึกษาพืชไม่มีท่อลำเลียงหรือไบรโอไฟต์ อันได้แก่มอสส์ ฮอร์นเวิร์ตและลิเวอร์เวิร์ต สาขานี้มักเกี่ยวข้องกับวิทยาไลเคน เนื่องจากสิ่งมีชีวิตทั้งสองชนิดมีลักษณะและวิถีชีวิตเฉพาะนิเวศคล้ายคลึงกัน แต่ไบรโอไฟต์และไลเคนไม่ได้อยู่ในอาณาจักรเดียวกัน การศึกษาไบรโอไฟต์เริ่มในช่วงศตวรรษที่ 18 โดยโยฮันน์ ยาคอบ ดิลเลเนียส นักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมันได้ตีพิมพ์ผลงานการสืบพันธุ์ของเฟิร์นและมอสส์ ต่อมาในปี..

ใหม่!!: เฟิร์นและไบรโอโลยี · ดูเพิ่มเติม »

ไฟลัม

ฟลัม (phylum) เป็นขั้นอนุกรมวิธานขั้นหนึ่งในการจำแนกสัตว์ในทางวิทยาศาสตร์ (ในทางพืชนิยมใช้คำว่า ส่วน แทนไฟลัม ไฟลัมถือเป็นการจัดกลุ่มในขั้นสูงที่สุดแยกตามสายวิวัฒนาการ แต่บางครั้งก็มีการรวมไฟลัมเป็นไฟลัมใหญ่ (superphylum) อีกทีหนึ่ง เช่น สัตว์ที่มีการลอกคราบในการเจริญเติบโต (Echdysozoa) ประกอบด้วยสัตว์มีเปลือกแข็งและหนอนตัวกลม และ สัตว์ที่มีช่องปากเกิดภายหลังช่องทวาร (Deuterostomia) ประกอบด้วยปลาดาวและสัตว์มีแกนสันหลัง ไฟลัมของสัตว์ที่รู้จักกันมากที่สุด ได้แก่ มอลลัสกา, ฟองน้ำ, ไนดาเรีย, หนอนตัวแบน, นีมาโทดา, หนอนปล้อง, สัตว์ขาปล้อง, เอคคิโนเดอร์มาทา และสัตว์มีแกนสันหลัง (ซึ่งมนุษย์อยู่ในไฟลัมนี้) ถึงแม้ว่าจะมีไฟลัมทั้งหมดประมาณ 35 ไฟล่า (หน่วยของไฟลัม) ไฟลัมที่กล่าวทั้ง 9 ตัวนี้ครอบคลุมสปีชีส์ส่วนใหญ่ และทุกไฟลัมยกเว้นหนอนกำมะหยี่ ต่างก็มีสมาชิกอาศัยในมหาสมุทร.

ใหม่!!: เฟิร์นและไฟลัม · ดูเพิ่มเติม »

ไม้ล้มลุก

อกเวอโรนิคา ลองกิโฟเลีย (Veronica longifolia) ซึ่งเป็นพืชโตชั่วฤดูชนิดหนึ่ง ไม้ล้มลุก (Herbaceous plant ในภาษาพฤกษศาสตร์เรียกสั้นๆ ว่า “Herb”) เป็นพืชที่ใบและก้านตายราบลงไปถึงดินเมื่อสิ้นฤดูการปลูก พืชโตชั่วฤดูอาจจะเป็นพืชปีเดียว, พืชสองปี หรือไม้ล้มลุกหลายปีก็ได้ พืชโตชั่วฤดูที่เป็นพืชปีเดียวจะตายโดยไม่ฟื้นเมื่อสิ้นฤดูการปลูก หรือเมื่อออกดอกและผลแล้วก็จะปลูกจากเมล็ดได้อีกในฤดูการปลูกของปีต่อมา ไม้ล้มลุกหลายปีและพืชสองปีจะมีก้านที่ตายราบลงเมื่อสิ้นฤดูการปลูกแต่บางส่วนที่ติดดินของยังคงมีเซลล์ที่มีชีวิตอยู่ต่อไปในฤดูที่จะมาถึง (ในกรณีพืชสองปีก็จะมีชีวิตอยู่จนถึงฤดูการปลูกในปีต่อมาก่อนที่จะออกดอกและตาย) ส่วนที่จะโตขึ้นใหม่ในฤดูการปลูกในปีถัดมาจะก่อตัวขึ้นบนดินหรือใต้ดินที่รวมทั้วราก หัว ไรโซม หรือ หน่อ หรือกิ่งใต้ดินแบบต่างๆ ตัวอย่างของพืชโตชั่วฤดูที่เป็นพืชสองปีก็ได้แก่แครอท และ พาร์สนิพ ไม้ล้มลุกหลายปีก็ได้แก่โบตั๋น, ฮอสตา, สะระแหน่ และ เฟิร์นเกือบทุกชนิด ในทางตรงกันข้ามพืชที่ไม่ใช่ไม้ล้มลุกหลายปีจะเป็นไม้แข็ง (woody plant) ที่มีกิ่งเหนือดินที่ยังมีชีวิตอยู่ระหว่างช่วงที่หยุดเจริญเติบโต และแตกหน่อในฤดูการปลูกในปีต่อมาจากกิ่งที่อยู่เหนือดินซึ่งรวมทั้งต้นไม้ ไม้พุ่ม และ ไม้เถา ลักษณะการเติบโตเช่นที่กล่าวนี้เกิดขึ้นในบริเวณภูมิภาคที่อากาศเย็นและมีสี่ฤดูที่ฤดูการปลูกจะอยู่ในช่วงระหว่างฤดูใบไม้ผลิจนถึงฤดูร้อน.

ใหม่!!: เฟิร์นและไม้ล้มลุก · ดูเพิ่มเติม »

เขาหวง

ตำแหน่งที่ตั้งในสาธารณรัฐประชาชนจีน เขาหวงซาน เป็นเทือกเขาที่ทอดตัวอยู่ทางตอนใต้ของมณฑลอันฮุย ทางตะวันออกของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อเสียงมาจากทิวทัศน์ที่งดงามของยอดเขาหินแกรนิตและต้นสนหวงรูปร่างแปลกตา และภาพของหมอกและเมฆที่ลอยอยู่ใกล้ยอดเขา บริเวณเทือกเขายังมีน้ำพุร้อนและบ่อน้ำร้อนธรรมชาติอีกมากมาย เนื่องมาจากความงดงาม จึงมักจะปรากฏภาพของเทือกเขาหวงอยู่ในภาพเขียนจีน หรือปรากฏชื่อในวรรณกรรมอยู่บ่อยครั้ง ปัจจุบันนี้ องค์การยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเทือกเขาหวงเป็นมรดกโลก และยังจัดว่าเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมมากที่สุดแห่งหนึ่งในจีน เขาหวงประกอบไปด้วยยอดเขาจำนวนมาก มียอดภูเขาที่มีชื่อ 72 ยอด และมีอยู่ 77 ยอดที่มีความสูงมากกว่า 1,000 เมตร ยอดเขาที่สูงที่สุด 3 อันดับแรกในเทือกเขาคือ ยอดเขาเหลียนหัว (莲花峰 เหลียนหัวเฟิง ยอดเขาดอกบัว มีความสูง 1,864 เมตร) ยอดเขากวงหมิง (光明顶 ยอดเขาสว่าง มีความสูง 1,840 เมตร) และ ยอดเขาเทียนตู่ (天都峰 เทียนตู่เฟิง แปลว่า ยอดเขาเมืองหลวงแห่งสวรรค์ มีความสูง 1,829 เมตร) เขตที่ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกประกอบด้วยบริเวณเทือกเขาซึ่งมีพื้นที่ 154 ตารางกิโลเมตร และรอบๆเทือกเขาอีก 142 ตารางกิโลเมตร เขาหวงถือกำเนิดขึ้นในมหายุคเมโซโซอิก เมื่อประมาณ 100 ล้านปีก่อน โดยเกิดจากพื้นก้นทะเลยกตัวขึ้นสูง ต่อมาในยุคควอเทอร์นารี พื้นผิวของเทือกเขาถูกธารน้ำแข็งกัดเซาะเป็นเวลานาน จนเกิดเป็นเสาหินขึ้นทั่วไป และต่อมาก็เกิดป่าขึ้นบนเสาหินเหล่านั้น ในสมัยราชวงศ์จิ๋น เทือกเขาหวงมีชื่อเรียกว่า ยี่ซาน ชื่อในปัจจุบันได้รับการตั้งขึ้นใหม่ โดยนักประวัติศาสตร์พบข้อเท็จจริงนี้จากกวีนิพนธ์ของ Li Po ซึ่งได้กล่าวถึงเทือกเขาหวงด้วยชื่อในปัจจุบัน พืชที่ขึ้นอยู่ในบริเวณเทือกเขาหวงจะแตกต่างกันไปตามระดับความสูง ที่ความสูงต่ำกว่า 1,100 เมตร จะเป็นป่าชื้น ความสูงระหว่าง 1,100-1,800 เมตร จะเป็นป่าผลัดใบ และความสูงตั้งแต่ 1,800 เมตรขึ้นไป จะเป็นทุ่งหญ้าในลักษณะที่ขึ้นอยู่ตามที่สูง บริเวณเทือกเขามีพรรณไม้หลากหลายชนิด จากการสำรวจพบว่ามีพืชจำพวกพืชไม่มีท่อลำเลียงจำนวน 1 ใน 3 จากตระกูลที่มีอยู่ในจีน และตระกูลเฟิร์นถึงครึ่งหนึ่งจากจำนวนตระกูลทั้งหมดในจีน อยู่ในเทือกเขานี้ เนื่องจากยอดเขาต่างๆมักจะอยู่เหนือระดับของเมฆ ทำให้สามารถมองเห็นทิวทัศน์ของก้อนเมฆได้จากยอดเขา และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงอันน่าอัศจรรย์ ทั้งปรากฏการณ์ทะเลเมฆ และแสงพระพุทธ เป็นสิ่งที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวจำนวนมากให้มาชม โดยเฉลี่ยแล้ว จะเกิดปรากฏการณ์แสงพระพุทธขึ้นเดือนละ 2 ครั้ง น้ำพุร้อนบริเวณเทือกเขาหวงจะอยู่ที่ใต้ยอดเขาเมฆม่วง (Purple Cloud Peak) น้ำจากน้ำพุร้อนเหล่านี้จะมีอุณหภูมิอยู่ที่ 45 °C ตลอดทั้งปี บ่อน้ำร้อนส่วนใหญ่ในบริเวณนี้จะถูกเรียกรวมกันว่า Songgu Area ยอดเขาขนปุย (Fur Peak) เป็นบริเวณที่มีชื่อเสียงมาจากชาเขียวที่ได้จากบริเวณเทือกเขา โดยชื่อของยอดเขามีที่มาจากขนอ่อนที่ปกคลุมใบชาเป็นปุย เขาหวงได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกใน พ.ศ. 2533 เนื่องมาจากทิวทัศน์ธรรมชาติที่งดงาม และเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตที่หายากและถูกคุกคามหลายชนิด ไฟล์:Huangshan fengjing.jpg|ทิวทัศน์ที่งดงามของเขาหวงมักใช้เป็นต้นแบบภาพเขียนในแถบเอเชียตะวันออก ไฟล์:Huangshan Yingkesong.jpg|ก้อนเมฆที่ปกคลุมเขาหวง ไฟล์:Huangshan_Rock_Formations.JPG|หินที่ถูกกัดเซาะ ไฟล์:Huangshan1.jpg|เขาหวง..

ใหม่!!: เฟิร์นและเขาหวง · ดูเพิ่มเติม »

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ทางเดินศึกษาธรรมชาติ ภายในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี หรือ ป่าพรุโต๊ะแดง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ป่าพรุโต๊ะแดง หรือ ป่าพรุสิรินธร เป็นป่าพรุที่มีเนื้อที่มากที่สุดที่ยังเหลืออยู่ในประเทศไทย เนื้อที่ของป่ามีความกว้างประมาณ 8 กิโลเมตร และมีความยาวประมาณ 28 กิโลเมตร มีพื้นที่ครอบคลุมอาณาเขตของอำเภอตากใบ อำเภอสุไหงปาดี อำเภอสุไหงโก-ลก อำเภอเจาะไอร้อง และอำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส คิดเป็นเนื้อที่กว่า 125,625 ไร่ (แต่ส่วนที่สมบูรณ์จริง ๆ มีประมาณ 50,000 ไร่) มีแหล่งน้ำสำคัญ 3 สายไหลผ่าน คือ แม่น้ำบางนรา, คลองสุไหงปาดี และคลองโต๊ะแดง (อันเป็นที่มาของชื่อเรียก) ป่าแห่งนี้เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์ป่าหลากหลายชนิด ซึ่งหลายชนิดอยู่ในสถานะใกล้สูญพันธุ์ และพื้นที่รอบๆป่าก็เป็นพื้นที่เพาะปลูกข้าว ยาง และผลไม้ต่าง ๆ โดยมีศูนย์วิจัยและศึกษาพันธ์ป่าพรุสิรินธร ซึ่งตั้งอยู่ ณ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโกลก ใช้เวลาเดินทางจากตัวเมืองสุไหงโกลก ผ่านทางหลวงสายสุไหงโกลก - ตากใบ แล้วเลี้ยวซ้ายตรงแยกชวนันท์ ด้วยระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตรจากตัวเมืองสุไหงโกลก เดินศึกษาธรรมชาติยาวกว่า 1,200 เมตร ภายในศูนย์ฯมีเส้นทางเดินศึกษาความอุดมสมบูรณ์ของป่าผ่าใจกลางป่าพรุ มีหอคอย และศูนย์บริการข้อมูล ตลอดจนซุ้มแสดงประวัติและข้อมูลขอลพืช พันธ์ และสัตว์ต่างๆในพื้นที่ป่าพรุโดยรอบ ใช้เวลาเดินประมาณ 45 - 60 นาที.

ใหม่!!: เฟิร์นและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

FernFilicophytaสัตว์ผิวหนามเฟิน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »