โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เบอร์มิวดา

ดัชนี เบอร์มิวดา

อร์มิวดา เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแอตแลนติก ตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐอเมริกาห่างจากรัฐนอร์ทแคโรไลนาไปทางตะวันออก 580 ไมล์ เบอร์มิวดาเป็นดินแดนโพ้นทะเลที่เก่าแก่ที่สุดของสหราชอาณาจักร ที่ยังคงเหลืออยู่ โดยมีชาวอังกฤษมาตั้งรกรากก่อนการรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรถึงสองศตวรรษ โดยค้นพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2152 (ค.ศ. 1609).

78 ความสัมพันธ์: บริติชอเมริกาชัก ฟีนีย์พ.ศ. 2433พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียมกับแคเธอริน มิดเดิลตันกลุ่มโรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ลการรั่วไหลของน้ำมันที่มอนทาราภาษาอังกฤษภาษาโปรตุเกสมหาวิทยาลัยเว็บสเตอร์ (ประเทศไทย)มะกอกฝรั่งมิสแอมบาสซเดอร์มิสเวิลด์ 2011มิสเวิลด์ 2016ยุทธการที่วุร์สเตอร์รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรปรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (A–C)รายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหราชอาณาจักรรายชื่อแหล่งมรดกโลกในทวีปอเมริการายชื่อเกาะเรียงตามขนาดรายการภาพธงประจำดินแดนฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2556ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2558ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2559วันชาติวันแม่สหภาพฟุตบอลแคริบเบียนสามเหลี่ยมเบอร์มิวดาสุริยุปราคา 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556สงครามกลางเมืองอังกฤษหญ้าแพรกหมู่เกาะเติกส์และเคคอสหนังสือเดินทางไทยอะทอลล์จอห์น เลย์ฟิลด์จอห์น เลนนอนจักรวรรดิบริติชธงชาติเบอร์มิวดาทวีปอเมริกาเหนือทะเลซาร์แกสโซทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ท่าอากาศยานลากวาร์เดียดอลลาร์ดิอะเมซิ่งเรซ 12ดิอะเมซิ่งเรซ 8ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตนคราวน์โคโลนีคริสต์ทศวรรษ 1890ความหลากหลายทางชีวภาพในเบอร์มิวดา...คณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกสตราแผ่นดินของเบอร์มิวดาตู้โทรศัพท์แดงประตูพระจันทร์ปลาออร์ปลาตาเหลือกยาวซอรัสปูเสฉวนบกนกกระจอกบ้านนางงามจักรวาล 1965นางงามจักรวาล 1986นางงามจักรวาล 1988นางงามจักรวาล 1993นางงามจักรวาล 1997นางงามจักรวาล 1998แอ่งพายุหมุนเขตร้อนแฮมิลตันโลกที่หนึ่งเบอร์มิวดาในแพนอเมริกันเกมส์เบอร์มิวดาในโอลิมปิกเวลาสากลเชิงพิกัดเฮลทูเบอร์มิวดาเฮเทอร์ โนวาเจ้าชายจอร์จแห่งเคมบริดจ์เขตเวลาUTC−03:00UTC−04:001 กรกฎาคม1 E+7 m² ขยายดัชนี (28 มากกว่า) »

บริติชอเมริกา

อาณานิคมบริติชอเมริกา หมายถึง ดินแดนในอาณัติของอังกฤษในทวีปอเมริกาเหนือ (รวมหมู่เกาะเบอร์มิวดา), อเมริกากลาง, กายอานา และ หมู่เกาะแคริบเบียน ระหว่างปี 1607 ถึง 1783 คำว่า บริติชอเมริกา ถูกใช้อยู่จนกระทั่งสิบสามอาณานิคมทำสงครามแยกตัวออกเป็นอิสระ.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและบริติชอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ชัก ฟีนีย์

ลส์ ฟรานซิส "ชัก" ฟีนีย์ (เกิด 23 เมษายน 2474) เป็นนักธุรกิจและนักการกุศลชาวไอร์แลนด์-อเมริกัน และผู้จัดตั้งมูลนิธิการกุศล The Atlantic Philanthropies ซึ่งเป็นมูลนิธิส่วนบุคคลที่ใหญ่ที่สุดในโลกมูลนิธิหนึ่ง เขากลายเป็นมหาเศรษฐีโดยเป็นผู้ร่วมจัดตั้งบริษัท Duty Free Shoppers Group (ปัจจุบัน DFS) แนวคิดเกี่ยวกับการขายสินค้าปลอดภาษีชั้นดีกับคนเดินทางเป็นเรื่องที่ยังไม่นิยมเมื่อนายฟีนีย์พร้อมกับเพื่อนได้จัดตั้ง DFS ในวันที่ 7 พฤศจิกายน 2503 DFS เริ่มกิจการในฮ่องกง (ซึ่งก็ยังมีสำนักงานใหญ่ในที่นั้น) แล้วภายหลังจึงขยายไปยังยุโรปและทวีปอื่น ๆ ความก้าวหน้าสำคัญครั้งแรกสุดของบริษัทเกิดขึ้นในต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 เมื่อบริษัทได้สัมปทานแบบผูกขาดในการขายสินค้าปลอดภาษีในรัฐฮาวาย ทำให้สามารถขายสินค้าต่อผู้เดินทางชาวญี่ปุ่น บริษัทในที่สุดก็ขยายเป็นร้านสินค้าปลอดภาษีนอกสนามบินและร้านสรรพสินค้าในเมือง (Galleria) ขนาดใหญ่ จนกลายเป็นห้างขายของสำหรับคนเดินทางที่ใหญ่ที่สุดในโลก ในปี 2539 บริษัทสินค้าฟุ่มเฟือยฝรั่งเศสหลุยส์ วิตตอง ได้ซื้อหุ้นของนายฟีนีย์ในราคา 1,630 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 41,335 ล้านบาทปีนั้น หรือ 86,877 ล้านบาทกลางปี 2559) ในเดือนมีนาคม 2554 นิตยสาร Irish America ได้เพิ่มรายชื่อเขาในทำเนียบผู้มีชื่อเสียงของนิตยสาร (Irish America magazine's Hall of Fame) ในปี 2540 นิตยสารไทม์ บันทึกไว้ว่า "คุณความดีของนายฟีนีย์สามารถจัดเป็นอันดับยอด ๆ ของคนอเมริกันที่ยังมีชีวิตอยู่".

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและชัก ฟีนีย์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2433

ทธศักราช 2433 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1890 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและพ.ศ. 2433 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียมกับแคเธอริน มิดเดิลตัน

ระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์กับแคเธอริน มิดเดิลตัน มีขึ้น ณ วันศุกร์ที่ 29 เมษายน..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและพระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียมกับแคเธอริน มิดเดิลตัน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มโรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล

Mandarin Oriental Hotel Group (MOHG) เป็นกลุ่มบริษัทในเครือ Jardine Matheson Group ลงทุนและจัดการธุรกิจโรงแรมระดับนานาชาติ โดยมีกิจการโรงแรม รีสอร์ต และที่พักอาศัยหรูหราในเอเชีย ยุโรป และอเมริกา ได้รับรางวัลต่าง ๆ หลายรางวัลในด้านบริการและการจัดการที่เป็นแบบอย่างที่ดี และด้านสปาและภัตตาคารที่ตั้งอยู่ในโรงแรมและรีสอร์ต.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและกลุ่มโรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล · ดูเพิ่มเติม »

การรั่วไหลของน้ำมันที่มอนทารา

วเทียมการรั่วไหลของน้ำมันที่มอนทาราในทะเลติมอร์ การรั่วไหลของน้ำมันที่มอนทารา เป็นการรั่วไหลของน้ำมันและแก๊ส รวมถึงคราบน้ำมัน (slick) ในภายหลัง ซึ่งเกิดขึ้นที่บ่อน้ำมันมอนทาราในทะเลติมอร์ นอกชายฝั่งทางเหนือของรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย ถูกมองว่าเป็นหนึ่งในภัยพิบัติด้านน้ำมันครั้งเลวร้ายที่สุดของออสเตรเลีย คราบน้ำมันถูกปล่อยออกมาหลังการระเบิดออกจากแท่นหลุมผลิตมอนทาราเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและการรั่วไหลของน้ำมันที่มอนทารา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโปรตุเกส

ษาโปรตุเกส (português ปุรตุเกฌ) เป็นภาษากลุ่มโรมานซ์ที่พูดในประเทศต่าง ๆ เช่น ประเทศโปรตุเกส ประเทศบราซิล ประเทศแองโกลา ประเทศโมซัมบิก และประเทศติมอร์-เลสเต ภาษาโปรตุเกสมีคนพูดเป็นภาษาแม่มากกว่า 200 ล้านคน ทำให้เป็นหนึ่งในไม่กี่ภาษาที่พูดทั่วโลก และเป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากเป็นอันดับ 5 หรือ 6 ของโลกปัจจุบัน ภาษาโปรตุเกสถูกขนานนามว่า A língua de Camões อาลิงกวาดึกามอยช์ ("ภาษาของกามอยช์" ตามชื่อลูอิช ดึ กามอยช์ ผู้ประพันธ์ The Lusiad: ลูเซียด) และ A última flor do Lácio อาอุลตีมาโฟลร์ดูลาซีอู ("ดอกไม้ดอกสุดท้ายของละติอุม") คนที่พูดภาษาโปรตุเกสเรียกว่า ลูซิตานิก: Lusitanic หรือ ลูโซโฟน: Lusophones.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและภาษาโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเว็บสเตอร์ (ประเทศไทย)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและมหาวิทยาลัยเว็บสเตอร์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

มะกอกฝรั่ง

มะกอกฝรั่ง, มะกอกหวาน หรือ มะกอกดง เป็นไม้ยืนต้นเขตร้อนขนาดกลาง ใบประกอบ ดอกช่อ ดอกย่อยสีเหลืองอ่อน มีขนาดเล็ก ผลกลมรี สีเขียวเข้ม พอแก่สีจะอ่อนลง เนื้อมีรสมัน เปรียวอมหวาน ติดผลตลอดปี มีชื่อเรียกแตกต่างกันมากมาย เช่น พอมซิเทย์ (pomsitay) ในตรินิแดดและโตเบโก,Davidson, Alan, and Tom Jaine.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและมะกอกฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

มิสแอมบาสซเดอร์

การประกวดมิสแอมบาสซเดอร์ (Miss Ambassador) เป็นการประกวดนางงามที่จัดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาสาวงามทำหน้าที่เป็นทูตสันถวไมตรี รณรงค์เกี่ยวกับกิจกรรมสาธารณประโยชน์ทั้งปวง โดยวัตถุประสงค์ในแต่ละปีจะเปลี่ยนแปลงไปตามความเหมาะสมของการประกวด และการกำหนดรูปแบบ แนวคิดในแต่ละปี การประกวดเริ่มจัดขึ้นครั้งแรก ในปี 1990 ที่นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ดำเนินการโดย องค์กรมิสแอมบาสซเดอร์ (Miss Ambassador Organization) ซึ่งเป็นองค์กรเพื่อการกุศล ดำเนินการเพื่อรณรงค์กิจกรรมเพื่อสังคม จัดตั้งขึ้นโดย Peter Lee Sammor ในปี 1989 และจัดประกวด Miss Ambassador ครั้งแรกในวันที่ 14 มิถุนายน 1990 โดยมีตัวแทนจากประเทศต่างๆ เข้าร่วมประกวดครั้งแรกทั้งหมด 59 ประเทศ ปัจจุบันมี Karen McDersonเป็นประธานองค์กร.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและมิสแอมบาสซเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2011

มิสเวิลด์ 2011 เป็นการจัดประกวดมิสเวิลด์ครั้งที่ 61 โดยการประกวดจะจัดขึ้นในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2554 และจะจัดขึ้นที่ Earls Court Exhibition Centre กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ โดยผู้ที่ได้รับตำแหน่งมิสเวิลด์ 2554 จะมาสืบต่อตำแหน่งและปฏิบัติหน้าที่ต่อจาก อเล็กซานดร้า มิลส์ มิสเวิลด์ 2553 ต่อไป.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและมิสเวิลด์ 2011 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2016

มิสเวิลด์ 2016 การประกวดมิสเวิลด์ครั้งที่ 66 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและมิสเวิลด์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่วุร์สเตอร์

ทธการที่วุร์สเตอร์ (Battle of Worcester) เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 ที่วุร์สเตอร์ในอังกฤษและเป็นยุทธการสุดท้ายของสงครามกลางเมืองอังกฤษ ที่ฝ่ายรัฐสภาที่นำโดยโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ได้รับชัยชนะต่อฝ่ายนิยมกษัตริย์ (Royalist) ที่นำโดยพระเจ้าชาลส์ที่ 2 โดยทั่วไปเป็นกองกำลังสกอตแลนด์ กองกำลังเพียง 16,000 คนของกองกำลังฝ่ายนิยมกษัตริย์ไม่สามารถต่อสู้กับกองกำลังที่มีจำนวนเหนือกว่ามาก 28,000 คนของ "กองทัพตัวแบบใหม่" (New Model Army) ของครอมเวลล์ได้จนในที่สุดก็จำต้องพ่ายแพ้.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและยุทธการที่วุร์สเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

ต่อไปนี้คือรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (A–C)

รายชื่อประเทศในภาษาต่างๆ ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไต.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (A–C) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหราชอาณาจักร

สโตนเฮนจ์เป็นส่วนหนึ่งของแหล่งมรดกโลกสโตนเฮนจ์ เอฟเบอรี และสถานที่ใกล้เคียง ในสหราชอาณาจักรและอาณานิคมโพ้นทะเลมีแหล่งมรดกโลกที่ขึ้นทะเบียนโดยยูเนสโกทั้งหมด 31 แห่ง โดยอยู่ในอังกฤษ 17 แห่ง, สกอตแลนด์ 5 แห่ง, อังกฤษและสกอตแลนด์ 1 แห่ง, เวลส์ 3 แห่ง, ไอร์แลนด์เหนือ 1 แห่ง และในดินแดนโพ้นทะเลเบอร์มิวดา หมู่เกาะพิตแคร์น เซนต์เฮเลนา และยิบรอลตาร์ที่ละ 1 แห่ง แหล่งมรดกโลกของสหราชอาณาจักรที่ได้ขึ้นทะเบียนในครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2529 ได้แก.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในทวีปอเมริกา

#fc4444 10 แห่งขึ้นไป มรดกโลก คือสถานที่ที่องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) คัดเลือกเพื่อแสดงว่าสถานที่นั้นมีความสำคัญทางวัฒนธรรมหรือธรรมชาติ รายชื่อด้านล่างคือรายชื่อแหล่งมรดกที่ตั้งอยู่ในทวีปอเมริกา ชื่อทางการเป็นชื่อที่ใช้ในการจดทะเบียนในบัญชีมรดกโลก ชื่อภาษาไทยเป็นชื่อที่แปลชื่อทางการโดยศูนย์ข้อมูลมรดกโลก กระทรวงวัฒนธรรม ปี คือปีที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในทวีปอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเกาะเรียงตามขนาด

หน้านี้คือรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดทั่วโลก.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและรายชื่อเกาะเรียงตามขนาด · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงประจำดินแดน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและรายการภาพธงประจำดินแดน · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2556

ูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2558

ูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2559

ูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันแม่

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและวันแม่ · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพฟุตบอลแคริบเบียน

*สมาชิกของสหภาพฟุตบอลแคริบเบียนอยู่ในบริเวณสีส้มเข้ม *สมาชิกทั้งหมดของคอนคาแคฟ อยู่ในบริเวณสีส้มเข้มและสีส้มอิฐ สหภาพฟุตบอลแคริบเบียน (อังกฤษ: Caribbean Football Union) หรือ ซีเอฟยู (CFU) คือองค์กรฟุตบอลประจำภูมิภาคแคริบเบียน เกิดจากการรวมตัวกันของสมาคมฟุตบอลในกลุ่มประเทศแถบทะเลแคริบเบียน รวมถึง 3 สมาคมฟุตบอลที่ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้อย่างกายอานา, ซูรินาม และ เฟรนช์เกียนา มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงคิงส์ตัน ประเทศจาเมกา สหภาพฟุตบอลแคริบเบียนได้เริ่มก่อตั้งขึ้นในเดือนมกราคม..1978 และจัดการแข่งขันในระดับภูมิภาคโดยอยู่ภายใต้การควบคุมของคอนคาแคฟ ในปัจจุบันมีสมาชิก 29 สมาคมฟุตบอล โดยในจำนวนนี้มี 23 สมาคมฟุตบอลที่เป็นสมาชิกของฟีฟ่า และมี 6 สมาคมฟุตบอลจากดินแดนอาณานิคมที่ยังไม่ได้เป็นสมาชิกของฟีฟ่า การจัดการแข่งขันฟุตบอลในภูมิภาคที่จัดขึ้นโดยสหภาพฟุตบอลแคริบเบียนคือการแข่งขัน แคริบเบียน คัพ ที่เป็นการแข่งขันระดับทีมชาติ และ ซีเอฟยู คลับ แชมเปียนชิป ที่เป็นการแข่งขันระดับสโมสร โดยสโมสรที่ได้แชมป์,รองแชมป์ และอันดับ 3 ของรายการซีเอฟยู คลับ แชมเปียนชิป จะได้สิทธิแข่งขันในรายการ คอนคาแคฟแชมเปียนส์ลีก ในปี..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและสหภาพฟุตบอลแคริบเบียน · ดูเพิ่มเติม »

สามเหลี่ยมเบอร์มิวดา

ื้นที่สามเหลี่ยมเบอร์มิวดา สามเหลี่ยมเบอร์มิวดา (Bermuda Triangle) หรืออาจรู้จักกันในชื่อ สามเหลี่ยมปีศาจ (Devil's Triangle) เป็นพื้นที่สมมุติทางตะวันตกของมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ซึ่งมีการอ้างว่าอากาศยานและเรือผิวน้ำจำนวนหนึ่งหายสาบสูญไปโดยหาสาเหตุมิได้ในบริเวณดังกล่าว วัฒนธรรมสมัยนิยมได้ให้เหตุผลของการหายสาบสูญว่าเป็นเรื่องของปรากฏการณ์เหนือธรรมชาติหรือฐานทัพของสิ่งมีชีวิตนอกโลก หลักฐานซึ่งบันทึกไว้ได้ระบุว่า เหตุการณ์การหายสาบสูญของอากาศยานและเรือผิวน้ำส่วนใหญ่ได้รับรายงานอย่างไม่ถูกต้องหรือถูกเสริมแต่งโดยนักประพันธ์ในช่วงหลัง และหน่วยงานของรัฐหลายแห่งได้กล่าวว่า จำนวนและธรรมชาติของการหายสาบสูญไปในพื้นที่ดังกล่าวก็มีลักษณะเช่นเดียวกับการหายสาบสูญไปในมหาสมุทรส่วนอื่น ๆ ของโลก.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและสามเหลี่ยมเบอร์มิวดา · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ริยุปราคาเต็มดวงเกิดขึ้นในวันที่ 3 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและสุริยุปราคา 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองอังกฤษ

“หนูเห็นพ่อครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่?” โดย วิลเลียม เฟรดเดอริค ยีมส์ (William Frederick Yeames) เป็นภาพรัฐสภาถามลูกชายของฝ่ายนิยมกษัตริย์ระหว่างสงครามกลางเมือง สงครามกลางเมืองอังกฤษ (English Civil War; ค.ศ. 1642 ถึงปี ค.ศ. 1651) เป็นสงครามกลางเมืองของอังกฤษ, สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ที่ต่อเนื่องกันหลายครั้งระหว่างฝ่ายรัฐสภา และฝ่ายกษัตริย์นิยม สงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1642 ถึงปี ค.ศ. 1646; ครั้งที่ 2 ระหว่างปี ค.ศ. 1648 ถึงปี ค.ศ. 1649 เป็นสงครามของความขัดแย้งระหว่างผู้สนับสนุนพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ฝ่ายหนึ่งและผู้สนับสนุนรัฐสภายาวอีกฝ่ายหนึ่ง ขณะที่ครั้งที่ 3 ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1649 ถึงปี ค.ศ. 1651 เป็นการต่อสู้ระหว่างผู้สนับสนุนพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และผู้สนับสนุนรัฐสภารัมพ์อีกฝ่ายหนึ่ง สงครามกลางเมืองจบลงด้วยชัยชนะของฝ่ายรัฐสภาที่ยุทธการวูสเตอร์เมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 ผลของสงครามกลางเมืองครั้งที่สองนำไปสู่การปลงพระชนม์ของพระเจ้าชาลส์ที่ 1, การลี้ภัยของพระราชโอรสพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และการเปลี่ยนระบบการปกครองของอังกฤษจากระบอบพระมหากษัตริย์ไปเป็นระบบเครือจักรภพแห่งอังกฤษ ระหว่างปี ค.ศ. 1649 ถึงปี ค.ศ. 1653 และต่อจากนั้นไปเป็นระบบรัฐผู้พิทักษ์ภายใต้การนำของโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ระหว่างปี ค.ศ. 1653 ถึงปี ค.ศ. 1659 เอกสิทธิ์ในการนับถือคริสต์ศาสนาของนิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์ในอังกฤษสิ้นสุดลงด้วยการรวม การปกครองโดยโปรเตสแตนต์ (Protestant Ascendancy) ในไอร์แลนด์ ในด้านรัฐธรรมนูญสงครามครั้งนี้เป็นการวางรากฐานว่าการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ไม่สามารถทำได้โดยมิได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา แต่อันที่จริงแล้วปรัชญานี้ก็มิได้ปฏิบัติกันอย่างจริงจังจนกระทั่งถึงสมัยการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ในปลายคริสต์ศตวรรษ.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและสงครามกลางเมืองอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าแพรก

หญ้าแพรก เป็นพืชพื้นเมืองในทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และยุโรปใต้ ส่วนชื่อ หญ้าเบอร์มิวดา มาจากการที่หญ้าแพรกเป็นพืชต่างถิ่นรุกรานในเบอร์มิวดา แต่ไม่ได้เกิดขึ้นที่นั่น ในประเทศไทย ชาวเหนือ เรียกว่า "หญ้าเป็ด" ส่วนชาวกะเหรี่ยง เรียกว่า "หน่อเก่เด".

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและหญ้าแพรก · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเติกส์และเคคอส

หมู่เกาะเติกส์และเคคอส (Turks and Caicos Islands) เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรประกอบไปด้วยหมู่เกาะย่อยในเขตร้อน 2 หมู่เกาะ ได้แก่ หมู่เกาะเคคอสและหมู่เกาะเติกส์ อาณานิคมนี้ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน และมีชื่อเสียงในด้านสถานที่ท่องเที่ยวและเป็นแหล่งหลบเลี่ยงภาษีของบริษัทต่างชาติ หมู่เกาะนี้อยู่ห่างจากเมืองไมแอมี รัฐฟลอริดาของสหรัฐอเมริกาไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 970 กม.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและหมู่เกาะเติกส์และเคคอส · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือเดินทางไทย

หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ประเภทธรรมดา หนังสือเดินทางไทย เป็นหนังสือเดินทางที่ออกให้เฉพาะประชาชนไทยเท่านั้นราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและหนังสือเดินทางไทย · ดูเพิ่มเติม »

อะทอลล์

กดาวเทียมของอะทอลล์อาตาฟูในโตเกเลาในมหาสมุทรแปซิฟิก อะทอลล์ (atoll) เป็นเกาะปะการังรูปวงแหวนที่ล้อมรอบลากูน ที่อาจล้อมปิดลากูนโดยสมบูรณ์หรือล้อมรอบเป็นบางส่วนก็ได้.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและอะทอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เลย์ฟิลด์

อห์น ชาลส์ เลย์ฟิลด์ (John Charles Layfield) หรือที่รู้จักกันดีในWWEภายใต้ชื่อ จอห์น "แบรดชอว์" เลย์ฟิลด์ (John "Bradshaw" Layfield) หรือ เจบีแอล (JBL) เกิดวันที่ 29 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและจอห์น เลย์ฟิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เลนนอน

อห์น วินสตัน โอะโนะ เลนนอน (MBE) (9 ตุลาคม 1940 - 8 ธันวาคม 1980) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลงชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียงทั่วโลก และเป็นสมาชิกร่วมก่อตั้งวงเดอะบีเทิลส์ วงดนตรีที่ประสบความสำเร็จเชิงพาณิชย์ในประวัติศาสตร์วงการดนตรี ร่วมกับสมาชิก พอล แม็กคาร์ตนีย์ เขากลายเป็นคู่หูนักแต่งเพลงที่มีชื่อเสียง จอห์นเกิดและเติบโตที่เมืองลิเวอร์พูล ในวัยเด็กคลั่งไคล้ดนตรีแนวสกิฟเฟิล จอห์นได้เป็นสมาชิกวง เดอะควอรีเม็น ต่อมาในปี 1960 เปลี่ยนเป็นเดอะบีเทิลส์ ครั้นยุบวงในปี 1970 เลนนอนออกผลงานเดี่ยวของตัวเอง เขาออกอัลบั้ม จอห์น เลนนอน/พลาสติกโอะโนะแบนด์ และอัลบั้ม อิแมจิน ซึ่งได้รับคำยกย่องมากมาย อัลบั้มมีเพลงโดดเด่นอย่าง "กิฟพีซอะชานซ์" และ "เวิร์กกิงคลาสฮีโร" และ "อิแมจิน"หลังจอห์นสมรสกับโยโกะ โอะโนะ ในปี 1969 เขาเปลี่ยนชื่อเป็น จอห์น โอโนะ เลนนอน เลนนอนปลีกตัวจากงานเพลงในปี 1975 เพื่อเลี้ยงดูบุตรชาย ฌอน แต่กลับมารวมตัวทำงานเพลงกับโยโกะ โอโนะ ในอัลบั้ม ดับเบิลแฟนตาซี เขาถูกฆาตกรรมสามสัปดาห์ก่อนออกอัลบั้มดังกล่าว เลนนอนเผยให้เห็นนิสัยหัวรั้นและมีไหวพริบตรงไปตรงมาในด้านดนตรี การเขียน การวาดภาพ ภาพยนตร์ และในบทสัมภาษณ์ หลังจากมีประเด็นเกี่ยวกับกิจกรรมความเคลื่อนไหวเชิงสันติภาพและการเมือง เขาจึงย้ายไปแมนแฮตตัน ในปี 1971 ซึ่งคำวิจารณ์เกี่ยวกับสงครามเวียดนามทำให้รัฐบาลของริชาร์ด นิกสัน พยายามเนรเทศเขา แต่เพลงของเขาบางเพลงถูกนำไปเป็นเพลงสรรเสริญความเคลื่อนไหวต่อต้านสงครามและกลุ่มต่อต้านวัฒนธรรม ในปี 2012 อัลบั้มเดี่ยวของเลนนอนขายได้มากกว่า 14 ล้านชุดในสหรัฐอเมริกา ในนามนักแต่งเพลง ผู้ช่วยนักแต่งเพลง และนักร้อง เขามีส่วนเกี่ยวข้องกับซิงเกิลอันดับหนึ่งบนชาร์ตบิลบอร์ดฮอต 100 ถึง 25 เพลง ในปี 2002 ผลสำรวจของบีบีซีชื่อ ชาวบริติชผู้ยิ่งใหญ่ที่สุด 100 คน (100 Greatest Britons) จัดอันดับให้เลนนอนเป็นบุคคลลำดับที่ 8 ในปี 2008 นิตยสารโรลลิงสโตน จัดอันดับให้เขาศิลปินยอดเยี่ยมตลอดกาลอันดับที่ห้า หลังเสียชีวิต เขาติดในหอเกียรติยศนักแต่งเพลงในปี 1987 และติดในหอเกียรติยศร็อกแอนด์โรล สองครั้ง ในฐานะสมาชิกวงเดอะบีเทิลส์ในปี 1988 และฐานะนักร้องเดี่ยวในปี 1994.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและจอห์น เลนนอน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบริติช

ักรวรรดิบริติช (British Empire) หรือ จักรวรรดิอังกฤษ ประกอบด้วยประเทศในเครือจักรภพ, คราวน์โคโลนี, รัฐในอารักขา, รัฐในอาณัติ และดินแดนอื่นซึ่งสหราชอาณาจักรปกครองหรือบริหาร จักรวรรดิกำเนิดจากดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลและสถานีการค้าที่ราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในช่วงที่เจริญถึงขีดสุด จักรวรรดิบริติชเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นมหาอำนาจโลกชั้นแนวหน้านานกว่าหนึ่งศตวรรษ ใน..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและจักรวรรดิบริติช · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเบอร์มิวดา

งชาติเบอร์มิวดา เป็นธงเรือเอกชนสหราชอาณาจักร กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงเป็นภาพธงชาติสหราชอาณาจักร ในพื้นสีแดงด้านปลายธงนั้นมีภาพตราแผ่นดินของเบอร์มิวดา ซึ่งเป็นภาพโล่สีขาวมีสิงโตหน้าอัดสีแดงยืนอยู่บนพื้นหญ้า ในมือทั้งสองของสิงโตถือโล่ขนาดเล็กเขียนภาพเรือใบล่มหน้าเกาะในท้องทะเลซึ่งกำลังปั่นป่วน ตราดังกล่าวนี้บอกเล่าถึงที่มาของอาณานิคมแห่งนี้ว่าผู้ก่อตั้งอาณานิคมเป็นลูกเรือซีเวนเจอร์ (Sea Venture) ซึ่งจมลงในปี ค.ศ. 1609 (พ.ศ. 2152) ที่เกาะแห่งนี้ ธงดังกล่าวนี้กำหนดให้ใช้ครั้งแรกพร้อมกับตราแผ่นดินในยุคแรกเมื่อปีค.ศ. 1875 (พ.ศ. 2418) โดยตราอาณานิคมที่ใช้ในยุคแรกเป็นรูปเรือสามลำที่แล่นในมหาสมุทร โดยเรือลำใหญ่ที่อยู่ตรงกลางกำลังแล่นเข้าสู่อู่แห้ง ซึ่งสันนิษฐานว่าในความเป็นจริงที่ว่าเกาะแห่งนี้คือฐานสำหรับการหยุดพักระหว่างการสัญจรทางเรือ โดยตราแผ่นดินที่ใช้ในปัจจุบันนั้นกำหนดให้ใช้พร้อมกับธงประจำอาณานิคมอย่างเป็นทางการเมื่อเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1910 (พ.ศ. 2453) ภายหลังจึงมีการขยายขนาดตราให้ใหญ่ขึ้นดังปรากฏในปัจจุบันเมื่อปี พ.ศ. 2542 ธงนี้ใช้ทั่วไปทั้งเรือของรัฐบาลและเรือพลเรือน ซึ่งค่อนข้างจะต่างจากธงเรือรัฐบาลอาณานิคมของสหราชอาณาจักรที่ใช้ธงพื้นสีน้ำเงินเป็นสัญลักษณ์ของรัฐบาล สำหรับธงของผู้ว่าการแห่งเบอร์มิวดา ใช้ธงชาติสหราชอาณาจักรมีภาพตราแผ่นดินประจำดินแดนเป็นเครื่องหมายสำคัญ.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและธงชาติเบอร์มิวดา · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกาเหนือ

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาเหนือ (North America; Amérique du Nord; América del Norte; Nordamerika) เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากทวีปเอเชียและแอฟริกาตามลำดับ ประกอบด้วยภูมิภาคอเมริกาเหนือและอเมริกากลาง ซึ่งแบ่งแยกกันอย่างชัดเจนตามขอบเขตของประเทศโดยมีแม่น้ำริโอแกรนด์เป็นแนวเขตแดน ภูมิภาคอเมริกาเหนือมีเพียง 2 ประเทศ คือ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ส่วนอเมริกากลางใช้ภาษาสเปนเป็นหลัก ประกอบด้วยประเทศทั้งใหญ่และเล็ก รวมถึงประเทศที่เป็นหมู่เกาะจำนวน 23 ประเทศ โดยกรีนแลนด์เป็นประเทศอยู่เหนือที่สุด และประเทศปานามาอยู่ใต้สุด มีพรมแดนติดกับทวีปอเมริกาใต้ สภาพโดยรวมแล้วประชากรในอเมริกาเหนือมีชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่าอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาเหนือได้แก่พื้นที่ตอนเหนือทั้งหมดของดินแดนที่เรียกว่า โลกใหม่ ซีกโลกตะวันตก หรือ ทวีปอเมริกา อเมริกาเหนือมีส่วนเชื่อมต่อกับทวีปอเมริกาใต้บริเวณคอคอดปานามา ผู้เชี่ยวชาญบางคนกล่าวว่าอเมริกาเหนือไม่ได้เริ่มจากคอคอดปานามา แต่เริ่มจากคอคอดเตวานเตเปก (Tehuantepec) ในประเทศเม็กซิโก ซึ่งอยู่ในอเมริกากลาง.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและทวีปอเมริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลซาร์แกสโซ

right ทะเลซาร์แกสโซ (Sargasso Sea) คือทะเลที่อยู่บริเวณมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ อยู่ระหว่างเกาะเบอร์มิวดาและหมู่เกาะลีเวิร์ด มีเนื้อที่ประมาณ 5.2 ล้านตารางกิโลเมตร มีลักษณะเป็นทะเลที่สงบนิ่ง คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสและลูกเรือเป็นพวกแรกที่เข้ามาพบทะเลแห่งนี้ ในปี..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและทะเลซาร์แกสโซ · ดูเพิ่มเติม »

ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์

ร่างสตรีและเด็กที่เป็นบรรยายความยากเข็ญของบริจิต โอดอนเนล จากลอนดอนนิวส์ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1849 ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ (An Gorta Mór, Irish Potato Famine) หรือในภาษาเกลิก “An Gorta Mór” แปลตรงตัวว่า “ความโหยหิวอันยิ่งใหญ่” หรือ “An Drochshaol” ที่แปลว่า “ชีวิตอันตกอับ” เป็นสมัยที่เกิดทุพภิกขภัย โรคระบาด และการย้ายถิ่นฐานครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ระหว่างปี..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานลากวาร์เดีย

ท่าอากาศยานลากวาเดีย (LaGuardia Airport) ตั้งอยู่ที่ริมอ่าวฟลัชชิง ระหว่างเมืองแอสโตเรีย, แจ็คสันไฮต์ และอีสเอล์มเฮิสต์ ในเขตควีนส์ บริหารงานโดยการท่าเรือนิวยอร์กและนิวเจอร์ซีย์ (Port Authority of New York and New Jersey) ท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งชื่อตาม ฟิโอเรลโล ลากวาเดีย อดีตนายกเทศมนตรีนครนิวยอร์ก ในบรรดาท่าอากาศยานที่อยู่ในเขตนครนิวยอร์กและปริมณฑล ลากวาเดียเป็นท่าอากาศยานที่เล็กที่สุด เป็นรองจากท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี และท่าอากาศยานนานาชาตินูอาร์ก ลิเบอร์ตี แต่ลากวาเดียจะอยู่ใกล้กับเกาะแมนแฮตตันมากกว่าจึงได้รับความนิยมอยู่ไม่น้อย ท่าอากาศยานแห่งนี้เป็นท่าอากาศยานรองของเดลต้า แอร์ไลน์, อเมริกันแอร์ไลน์ และยูเอสแอร์เวย์ ลากวาเดียรองรับเที่ยวบินภายในประเทศ และจากแคนาดา รวมถึงเที่ยวบินจากบาฮามาส, เบอร์มิวดา และอารู.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและท่าอากาศยานลากวาร์เดีย · ดูเพิ่มเติม »

ดอลลาร์

อลลาร์ (Dollar; $) เป็นชื่อของสกุลเงินที่ใช้เหมือนกันในหลายประเทศทั่วโลก เช่น ดอลลาร์สหรัฐ สกุลเงินของสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นเงินสกุลสำคัญสกุลหนึ่งของโลก.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและดอลลาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 12

อะเมซิ่ง เรซ 12 (The Amazing Race 12) เป็นฤดูกาลที่ 12 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส สำหรับรายการนี้เริ่มออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส ในสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยแทนที่รายการ Viva Laughlin ที่ถูกยกเลิก และตอนสุดท้ายออกอากาศเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2551 ณ เวลา 20 นาฬิกา ตามเวลามาตรฐานตะวันออก และเวลามาตรฐานแปซิฟิกของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและดิอะเมซิ่งเรซ 12 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 8

อะเมซซิง เรซ 8 (The Amazing Race 8) เป็นฤดูกาลที่ 8 ของรายการยอดนิยม ดิ อะเมซิ่ง เรซ โดยจะมีความแตกต่างจากดิ อะเมซิง เรซ ในฤดูกาลที่ผ่าน ๆ มา จากเดิมแต่ละทีมมีเพียงผู้ใหญ่แข่งเป็นคู่ แต่ในฤดูกาลนี้การแข่งขันจะเป็นแบบครอบครัวที่มี 4 คน และอนุญาตให้มีบุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะอีกด้วย (ต่ำกว่า 8 ปี) เป็นฉบับครอบครัวโดยใช้ชื่อในการแข่งขันว่า The Amazing Race: Family Edition อย่างไรก็ตาม การแข่งขันจะกลับมามีผู้เข้าแข่งขันเพียงทีมละสองคนในดิ อะเมซิ่ง เรซ 9 ฤดูกาลนี้มีกำหนดออกอากาศตอนแรก 2 ชั่วโมงเต็ม ในวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2548 ทางซีบีเอส และจะออกอากาศตอนแรกในประเทศไทย เวลา 20:00 น. ของวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2548 ทางช่อง AXN ยูบีซีช่อง 19 ส่วนตอนสุดท้าย จะออกอากาศในวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและดิอะเมซิ่งเรซ 8 · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน

ที่ตั้งของดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร (British Overseas Territories) คือดินแดน 14 ดินแดนที่อยู่ภายใต้อธิปไตยของสหราชอาณาจักร แต่ไม่ได้นับเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน · ดูเพิ่มเติม »

คราวน์โคโลนี

ราวน์โคโลนี (Crown colony) หรือ อาณานิคมในพระองค์ เป็นประเภทหนึ่งของการบริการอาณานิคมของจักรวรรดิอังกฤษ คราวน์โคโลนีถูกปกครองโดยข้าหลวงซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์อังกฤษ (และ ในภายหลัง รัฐมนตรีว่าการอาณานิคม) ถึงแม้ว่าคำดังกล่าวจะไม่ถูกใช้ตั้งแต่แรกก็ตาม อาณานิคมแห่งแรกซึ่งเป็นที่รู้จักกันว่าคราวน์โคโลนี คือ อาณานิคมเวอร์จิเนีย ในสหรัฐอเมริกาปัจจุบัน ในภายหลังจึงได้ถูกควบคุมโดยบริษัทเวอร์จิเนีย ในปี..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและคราวน์โคโลนี · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1890

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและคริสต์ทศวรรษ 1890 · ดูเพิ่มเติม »

ความหลากหลายทางชีวภาพในเบอร์มิวดา

ต้นซีดาร์เบอร์มิวดา ในเขตชานเมืองของแฮมิลตัน พืชและสัตว์ของเบอร์มิวดาเป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศที่มีลักษณะเฉพาะ เนื่องจากการแยกเบอร์มิวดาจากแผ่นดินใหญ่ของทวีปอเมริกาเหนือ ความหลากหลายของสายพันธุ์สิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่นและหมู่เกาะในรูปแบบเขตภูมินิเวศที่ต่างกัน นั่นคือ ป่าสนเบอร์มิวดากึ่งเขตร้อน.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและความหลากหลายทางชีวภาพในเบอร์มิวดา · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกส

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตโปรตุเกส ประเทศโปรตุเกสเป็นประเทศหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกว้างขวางเกือบทั่วโลก รายชื่อข้างล่างนี้คือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของโปรตุเกสในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเบอร์มิวดา

ตราแผ่นดินของเบอร์มิวดาเริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2453 โดยมีที่มาจากเหตุการณ์ที่เรือของอังกฤษที่นำโดยเซอร์จอร์จ ซอมเมอร์แตกอยู่ นอกชายฝั่งเบอร์มิวดาระหว่างทางมุ่งสู่เวอร์จิเนีย ภาพทีอยู๋ในโล่ที่สิงห์โตคาลีบานถือโล่อันเล็ก (สิงห์โตคาลีบาน คือสัตว์ในตำนานเป็นมนุษย์ที่มีอุปนิสัยคล้ายสัตว์ตัวหนึ่ง) โล่แสดงภาพเรือเดินสมุทรชนโขดหินโสโครกจนล่มลงท้องทะเล ในมหาสมุทรมีเกลียวคลื่นเกิดจากฟองของแก๊สมีเทน โดยแก๊สดังกล่าวอยู่ใต้ท้องทะเลในบริเวณสามเหลี่ยมเบอร์มิวดา โดยเมื่อแก๊สเหล่านี้ขึ้นสู่พื้นผิว มันจะทะยานสู่อากาศ และขยายตัวเป็นวงกว้างและก่อตัวเป็นฟองแก๊สขนาดใหญ่ เมื่อเรือลำใดผ่านเข้าไปในบริเวณนั้น ก็จะเข้าไปสู่ฟองแก๊สมีเทนขนาดยักษ์ จนทำให้เรือเหล่านี้สูญเสียการควบคุม และจมลงในที่สุด ซึ่งตราอาณานิคมดังที่ได้กล่าวมาข้า่งต้น โดยมูลเหตุของการออกแบบตราดังกล่าวนี้ บอกเล่าถึงที่มาของอาณานิคมแห่งนี้ว่าผู้ก่อตั้งอาณานิคมเป็นลูกเรือซีเวนเจอร์ (Sea Venture) ซึ่งจมลงในปี ค.ศ. 1609 (พ.ศ. 2152) โดยมาจากวรรณกรรมของ วิลเลียม เชคสเปียร์ ที่ประพันธ์บทละครเรื่องหนึ่ง ชื่อเรื่อง The Thempest ขึ้นในปี พ.ศ. 2154 สิงห์โตคาลีบานถือโล่ที่บรรจุภาพดังกล่าว อันเล็ก อยู่ในโล่ใหญ่พื้นสีขาวโดย สิงห์โตคาลีบานยืนถือโล่อันเล็กบนแถบสีเขียวขนาดเล็ก ที่บนผืนหญ้า ตราแผ่นดิน (ตราอาณานิคม) ในยุคแรกเมื่อปีค.ศ. 1875 (พ.ศ. 2418) โดยมีลักษณะเป็นรูปเรือสามลำที่แล่นในมหาสมุทร โดยเรือลำใหญ่ที่อยู่ตรงกลางกำลังแล่นเข้าสู่อู่แห้ง ซึ่งสันนิษฐานว่าในความเป็นจริงที่ว่าเกาะแห่งนี้คือฐานสำหรับการหยุดพักระหว่างการสัญจรทางเรือ.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและตราแผ่นดินของเบอร์มิวดา · ดูเพิ่มเติม »

ตู้โทรศัพท์แดง

ตัวอย่างของตู้โทรศัพท์แดงที่พบได้ทั่วไปมากที่สุด รุ่น K6 ถ่ายในกรุงลอนดอน ค.ศ. 2012 ตู้โทรศัพท์แดง (red telephone box) คือ ตู้โทรศัพท์สำหรับสาธารณะ ซึ่งได้รับการออกแบบโดยเซอร์ กิลเลส กิลเบอต์ สกอตต์ เป็นสัญลักษณ์ที่คุ้นเคยบนถนนในสหราชอาณาจักร มอลตา เบอร์มิวดา และยิบรอลตาร์ แม้ว่าตู้โทรศัพท์แดงตามธรรมเนียมอังกฤษจะมีจำนวนลดลงในหลายปีมานี้ แต่ตู้เหล่านี้ยังถูกพบได้ในหลายสถานที่ตลอดจนทั่วประเทศ และอาณานิคมอังกฤษอย่างเป็นทางการทั่วโลก สีแดงถูกเลือกให้ง่ายต่อการสังเกต ตั้งแต..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและตู้โทรศัพท์แดง · ดูเพิ่มเติม »

ประตูพระจันทร์

ประตูทางเข้าสวนที่เรียกว่า '''ประตูพระจันทร์''' จากสวนญี่ปุ่นในรอสทอค.http://www.garten.uni-rostock.de/en/outdoor-garden/japanese-garden/ rostock.de/en/outdoor-garden/japanese-gardenhttp://www.waymarking.com/waymarks/WM6HFD_Japanese_Garden_International_Garden_Show_Rostock_Germany Japanese_Garden_International_Garden_Show_Rostock_Germany ประตูพระจันทร์ (อังกฤษ: moon gate) คือทางเปิดโล่งลักษณะวงกลมซึ่งเชื่อมต่อจากผนังหรือกำแพงที่ล้อมรอบสวน เป็นส่วนหนึ่งของสถาปัตยกรรมในสวนจีน ประตูพระจันทร์มีความหมายทางจิตวิญญาณหลากหลายแบบแตกต่างกันไปในแต่ละส่วน จุดประสงค์ของประตูนี้ใช้เพื่อเชื้อเชิญชนชั้นสูงหรือผู้มีฐานดีให้เข้าเยี่ยมชมสวน ดังนั้นในอดีตประตูพระจันทร์จึงมักสร้างขึ้นในสวนของผู้สูงศักดิ์เท่านั้น ในประเทศจีน รูปทรงกลมเหมือนพระจันทร์ของประตูเป็นสัญลักษณ์ของความสมบูรณ์แบบ จากคำกล่าวที่ว่า "ดอกไม้สวยงามเมื่อพระจันทร์เต็มดวง (Flowers are beautiful when the moon is full.)" หรือสิ่งที่เป็นความสุขในชีวิต จากอีกคำกล่าวที่ว่า “มนุษย์มีทั้งสุขและทุกข์ พบเจอและพลัดพราก พระจันทร์ส่องสว่างและริบหรี่ ลอยขึ้นหรือลง (People have sorrow and happiness; they part and meet again. The moon dims or shines; it waxes or wanes.)” นอกจากนั้น ลักษณะที่คล้ายคลึงกับรูปพระจันทร์ไม่เพียงแต่บ่งถึงการอวยพระให้มีความสุขและสนุกสนาน ยังเป็นสัญลักษณ์ของวัฒนธรรมจีนอีกด้วย ประตูพระจันทร์แบบจีนเป็นต้นแบบให้กับสถาปัตยกรรมของเบอร์มิวดาในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 หากแต่ประตูพระจันทร์แบบเบอร์มิวดามีลักษณะแตกต่างเล็กน้อยจากต้นแบบของประเทศจีน โดยมักมีลักษณะเป็นประตูที่ตั้งอย่างอิสระหรือเพียงเชื่อมต่อกับกำแพงที่มีความสูงไม่มาก นอกจากนั้นที่เบอร์มิวดายังมีคำกล่าวว่าหากคู่สมรสใหม่เดินผ่านประตูพระจันทร์แล้วจะนำโชคดีและมีความสุขตลอดไป Image:20090905_Suzhou_Couple's_Retreat_Garden_4442.jpg|ประตูพระจันทร์ในสวนโอ่ว ณ สวนโบราณ เมืองซูโจว Image:Moon Gate.jpg|ประตูพระจันทร์ในพิพิธภัณฑ์แห่งชาติสวนพฤกษชาติบอนไซและเผินจิ่ง (National Bonsai and Penjing Museum, National Arboretum) กรุงวอชิงตันดีซี File:A Moon gate in Great Wave Pavilion 2012-03.JPG|ประตูพระจันทร์ในสวนศาลาเกลียวคลี่น (Great Wave Pavilion) File:Astor court moon gate.jpg| สวนแบบราชวงศ์หมิงในพิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทัน (Metropolitan Museum of Art) นิวยอร์ก Image:Bermuda Moongate.JPG|ประตูพระจันทร์ในเบอร์มิวดา File:HK Lai Chi Kok Park Chinese Arch 1.JPG|Lai Chi Kok Park Chinese Arch File:HK LikWingTongStudyHall MoonGate.JPG|Tong Study Hall MoonGate File:Zhonghe 8-23 park.jpg|สวนจงเหอ (Zhonghe park).

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและประตูพระจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาออร์

ปลาออร์ หรือ ปลาริบบิ้น (Oarfish, King of herrings; 皇帶魚; พินอิน: huángdài yú) เป็นปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Regalecus glesne อยู่ในวงศ์ Regalecidae มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับพญานาคตามความเชื่อของไทย หรือมังกรทะเลในความเชื่อในยุคกลางของชาวตะวันตก โดยมีความยาวได้สูงสุดยาวถึง 9 เมตร และหนัก 300 กิโลกรัม แต่ก็มีบันทึกไว้ในบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ด้วยว่า ปลาชนิดนี้เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ยาวที่สุดในโลก โดยอาจยาวได้ถึง 11 เมตร ในขณะที่รายงานไม่ยืนยันอีกบางกระแสระบุว่าอาจยาวถึง 15 เมตร หรือกว่านั้น มีส่วนหัวที่ใหญ่ ลำตัวแบนสีเงิน มีจุดสีฟ้าและดำประปราย มีครีบหลังสีชมพูแดง บนหัวที่อวัยวะแลดูคล้ายหงอนเป็นจุดเด่น เป็นปลาที่อาศัยอยู่ในท้องทะเลลึกระหว่าง 50–250 เมตร จึงพบเห็นได้ยากมาก แต่มีผู้พบเห็นกันเป็นระยะ ๆ ในหลายพื้นที่ ตั้งแต่ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกของออสเตรเลีย เรื่อยไปจนถึงทะเลนอกชายฝั่งเม็กซิโก และแถบหมู่เกาะเบอร์มิวดา ส่วนใหญ่มักถูกคลื่นซัดออกมาเกยหาด หรือไม่ก็เกิดอาการผิดปกติขึ้นกับปลา เช่น ป่วย หรือใกล้ตาย น้อยครั้งที่จะมีการพบเห็นขณะมีชีวิตอยู่ ภาพถ่ายของปลาออร์ ที่เคยเชื่อกันว่าเป็นพญานาคที่ประเทศลาว เป็นปลาที่กินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร ไม่เป็นอันตรายและไม่ทำร้ายมนุษย์ แม้จะมีรายงานไม่ยืนยันจากนักวิจัยในนิวซีแลนด์ที่ระบุว่าถ้าหากแตะไปที่ตัวของมันขณะยังมีชีวิตอยู่จะปล่อยกระแสไฟฟ้าออกมาช็อตได้ ปลาออร์เมื่อปรากฏตัวขึ้นมามักจะปรากฏเป็นข่าวครึกโครมอยู่เป็นระยะ ๆ ว่าเป็นพญานาคหรือสัตว์ประหลาด อาทิ ในกลางปี ค.ศ. 1996 ได้ปรากฏภาพถ่ายใบหนึ่งของกลุ่มทหารชาวอเมริกันอุ้มปลาชนิดนี้ แพร่กระจายกันทั่วไปในสังคมไทย ทำให้เกิดความเชื่อว่า นั่นเป็นพญานาคที่จับได้จากแม่น้ำโขง และเชื่อว่า ภาพถ่ายนั้นถ่ายที่ค่ายทหารแห่งหนึ่งในประเทศลาวและถ่ายมานานแล้วกว่า 30 ปี ในยุคสงครามเวียดนาม แต่แท้จริงแล้วเป็นภาพที่ถ่ายในค่ายทหารที่เกาะโคโรนาโด รัฐแคลิฟอร์เนีย ในปีเดียวกันนั้นเอง และเป็นปลาที่อยู่จับได้ในมหาสมุทรแปซิฟิก แถบทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและปลาออร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตาเหลือกยาวซอรัส

ปลาตาเหลือกยาวซอรัส (Ladyfish) เป็นปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตาเหลือกยาว (Elopidae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาตาเหลือกยาวชนิดอื่น ๆ แต่ปลาตาเหลือกยาวซอรัสมีจำนวนซี่กรองเหงือก 12-15 ซี่ ที่ซี่กรองบนส่วนล่างด้านหน้าของกระดูกเหงือก มีลำตัวสีเงินหรือสีขาวแวววาว ครีบต่าง ๆ มีสีเหลืองจาง ๆ ปลายครีบหางเว้าลึกเป็นสองแฉก มีกระจายพันธุ์ทั่วไปในชายฝั่งของมหาสมุทรแอตแลนติก, เบอร์มิวดา, อ่าวเม็กซิโก จนถึงอเมริกาใต้ เป็นต้น มีขนาดโตเต็มที่ได้ 100 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยทั่วไป 60 เซนติเมตร นิยมตกเป็นเกมกีฬา ซึ่งปลาตาเหลือกยาวซอรัส ครั้งหนึ่งเคยถูกระบุว่าเป็นชนิดของปลาตาเหลือกยาวที่พบได้ในน่านน้ำไทย แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนไปเป็นชนิด E. machnata.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและปลาตาเหลือกยาวซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ปูเสฉวนบก

ปูเสฉวนบก (Land hermit crabs) เป็นปูเสฉวนในสกุล Coenobita (มาจากคำในภาษาละตินว่า coenobivm และคำในภาษากรีกโบราณว่า κοινόβιον แปลว่า "ชีวิตในประชาคม, อาราม") มีทั้งหมด 15 ชนิด ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5 นิ้ว มีรูปร่างหน้าตาคล้ายปูเสฉวนทั่วไป และอาศัยอยู่ในเปลือกหอย แต่ไม่สามารถที่จะอาศัยอยู่ในน้ำได้ เนื่องจากระบบการหายใจถูกพัฒนาให้รับออกซิเจนโดยตรง ถ้าลงไปในน้ำจะสำลักน้ำตายได้เหมือนปูมะพร้าว (Birgus latro) แต่จะลงไปกินน้ำทะเลเพื่อต้องการเกลือแร่ อีกทั้งยังต้องการน้ำจืดอีกด้วย ปูเสฉวนบกมีถิ่นกำเนิดที่ทวีปอเมริกาเหนือ, ทะเลแคริบเบียน, หมู่เกาะเบอร์มิวดา, ออสเตรเลีย และอินโดนีเซีย จะอาศัยอยู่บนบกหรือในป่าริมชายทะเล กินอาหารจำพวกซากพืช ซากสัตว์เหมือนปูเสฉวนทั่วไป ปัจจุบันปูเสฉวนบกกำลังได้รับความนิยมในฐานะเป็นสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา ซึ่งผู้เลี้ยงนิยมใช้สีทาบนเปลือกหอยให้เป็นสีสันและลวดลายต่าง ๆ แต่เป็นปูที่ค่อนข้างมีความยุ่งยากในการเลี้ยง เนื่องจากถึงแม้ว่าจะอาศัยอยู่บนบกก็ตาม แต่ในสถานที่เลี้ยงต้องใช้ความชุ่มชื้นด้วย และปูพื้นด้วยกรวดทรายและขอนไม้หรือมะพร้าวผุ และมีความจำเป็นต้องใช้แคลเซียมเพื่อเป็นแร่ธาตุด้วย ไม่เช่นนั้นอาจตายได้.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและปูเสฉวนบก · ดูเพิ่มเติม »

นกกระจอกบ้าน

นกกระจอกบ้าน (Eurasian Tree Sparrow) เป็นนกเกาะคอนในวงศ์นกกระจอก มีสีน้ำตาลเข้มที่กระหม่อนและหลังคอ แก้มสีขาวมีจุดดำบนแก้มแต่ละข้าง นกกระจอกทั้งสองเพศมีชุดขนคล้ายกัน นกวัยอ่อนมีสีขนจืดกว่านกที่โตเต็มที่ นกชนิดนี้มีการกระจายพันธุ์เกือบทั้งทวีปยูเรเชียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรู้จักกันในชื่อ Tree Sparrow (นกกระจอกต้นไม้) และมันถูกนำไปสู่ที่อื่นๆ รวมถึง สหรัฐอเมริกา ซึ่งรู้จักกันในชื่อ Eurasian Tree Sparrow (นกกระจอกต้นไม้ยูเรเชีย) หรือ German Sparrow (นกกระจอกเยอรมัน) ต่างไปจากนกพื้นเมือง นกกระจอกต้นไม้อเมริกา (American Tree Sparrow) แม้ว่าจะมีหลายชนิดย่อยที่ได้รับการยอมรับ แต่ลักษณะที่ปรากฏของนกแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยตลอดแนวการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง นกกระจอกบ้านทำรังไม่เป็นระเบียบในโพรงธรรมชาติ รูในอาคาร หรือรังขนาดใหญ่ของนกสาลิกาปากดำหรือนกกระสาขาว นกจะวางไข่คราวหนึ่งห้าถึงหกฟอง ไข่จะฟักเป็นตัวภายในสองอาทิตย์ นกกินเมล็ดพืชเป็นอาหารหลัก แต่บางครั้งจะกินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นอาหาร โดยเฉพาะช่วงฤดูผสมพันธุ์ นกกระจอกบ้านเหมือนกับนกขนาดเล็กทั่วไปซึ่งอาจเสียชีวิตจากการติดเชื้อจากปรสิต โรคภัยไข้เจ็บ และถูกล่าโดยนกล่าเหยื่อ ทำให้โดยทั่วไปมีช่วงชีวิตประมาณสองปี.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและนกกระจอกบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1965

นางงามจักรวาล 1965 (Miss Universe 1965) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 14 จัดเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและนางงามจักรวาล 1965 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1986

นางงามจักรวาล 1986 (Miss Universe 1986) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 35 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและนางงามจักรวาล 1986 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1988

นางงามจักรวาล 1988 (Miss Universe 1988) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 37 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและนางงามจักรวาล 1988 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1993

นางงามจักรวาล 1993 (Miss Universe 1993) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 42 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและนางงามจักรวาล 1993 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1997

นางงามจักรวาล 1997 (Miss Universe 1997) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 46 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและนางงามจักรวาล 1997 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1998

นางงามจักรวาล 1998 (Miss Universe 1998) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 47 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและนางงามจักรวาล 1998 · ดูเพิ่มเติม »

แอ่งพายุหมุนเขตร้อน

thumb ตามธรรมเนียม พายุหมุนเขตร้อนจะก่อตัวขึ้นแยกกันภายในทั้งหมดเจ็ดแอ่ง ซึ่งประกอบไปด้วย มหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ, ด้านตะวันออกและตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ, ด้านตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก, ด้านตะวันตกเฉียงใต้และตะวันออกเฉียงใต้ของมหาสมุทรอินเดีย และด้านเหนือของมหาสมุทรอินเดีย (ทะเลอาหรับ และ อ่าวเบงกอล) ซึ่งในเจ็ดแอ่งนี้ มหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตกมีการกิจกรรมของพายุหมุนเขตร้อนบ่อยที่สุด และด้านเหนือของมหาสมุทรอินเดียมีกิจกรรมของพายุหมุนเขตร้อนน้อยที่สุด ค่าเฉลี่ยของพายุหมุนเขตร้อน ที่มีความรุนแรงในระดับมากกว่าพายุโซนร้อน ทั่วโลกอยู่ที่ 86 ลูก ในจำนวนนี้ 47 ลูก มีความรุนแรงเป็นถึงพายุเฮอร์ริเคน/พายุไต้ฝุ่น และอีก 20 ลูก มีความรุนแรงเป็นถึงพายุหมุนเขตร้อนที่รุนแรง (อย่างน้อยมีความรุนแรงอยู่ในระดับ 3).

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและแอ่งพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

แฮมิลตัน

แฮมิลตัน (Hamilton) เป็นเมืองหลวงของดินแดนเบอร์มิวดา ซึ่งเป็นดินแดนของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ทางตอนกลางของเกาะ มีประชากรประมาณ 1,800 คน แฮมิลตันเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของดินแดน นอกจากนี้แฮมิลตันยังเป็นหนึ่งในบรรดาเมืองหลวงขนาดเล็กที่สุดโดยประชากร.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและแฮมิลตัน · ดูเพิ่มเติม »

โลกที่หนึ่ง

ติเป็นกลาง และประเทศไม่สังกัดพันธมิตรใด แนวคิดของ โลกที่หนึ่ง (First World) ถือกำเนิดขึ้นระหว่างสงครามเย็น เป็นคำซึ่งใช้เพื่ออธิบายถึงประเทศที่เข้าเป็นฝ่ายเดียวกับสหรัฐอเมริกา ประเทศเหล่านี้มักมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และมีระบบเศรษฐกิจทุนนิยม หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต และการสิ้นสุดของสงครามเย็น ความหมายของคำว่า "โลกที่หนึ่ง" ได้เปลี่ยนไปให้สามารถปรับใช้ได้กับยุคสมัย จากการจำกัดความดั้งเดิม คำว่า "โลกที่หนึ่ง" ได้มามีความหมายในทำนองเดียวกับประเทศพัฒนาแล้ว (ขึ้นอยู่กับว่ากำลังใช้คำจำกัดความใด) ประเทศโลกที่หนึ่งโดยทั่วไปมักมีเศรษฐกิจที่เจริญก้าวหน้าและมีดัชนีการพัฒนามนุษย์ในระดับสูงมาก ในอีกมุมมองหนึ่ง สหประชาชาติจำกัดความ "โลกที่หนึ่ง" ขึ้นอยู่กับความมั่งคั่งของรายรับและผลผลิตของชาติต่าง ๆ การจำกัดความของ "โลกที่หนึ่ง" ในปัจจุบัน จึงประจักษ์ชัดเจนน้อยกว่าระหว่างสงครามเย็น ความเคลื่อนไหวในระดับโลกระหว่างโลกที่หนึ่งและโลกอื่น ๆ สามารถแบ่งออกได้เป็นสองส่วน ความสัมพันธ์กับโลกที่สองเป็นไปในเชิงการแข่งขัน และความเป็นปรปักษ์ทางความคิด ความสัมพันธ์กับโลกที่สาม โดยปกติมักเป็นไปในเชิงบวกตามทฤษฎี ในขณะที่อาจมีความสัมพันธ์ในเชิงลบอยู่บ้างในทางปฏิบัติ แต่ความสัมพันธ์ระหว่างโลกในปัจจุบันมิได้เป็นไปอย่างตายตัวอย่างในอดีต ถึงแม้ว่าจะมีความไม่เสมอกันซึ่งโลกที่หนึ่งมีอิทธิพล ความมั่งคั่ง ข้อมูลข่าวสาร และความเจริญก้าวหน้าเหนือกว่าโลกอื่น ๆ โลกาภิวัตน์ได้เป็นปรากฏการณ์ที่ค่อย ๆ มีความสำคัญมากยิ่งขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมาจากโลกที่หนึ่งและความเชื่อมโยงกับโลกอื่น ๆ ตัวอย่างของโลกาภิวัตน์ภายในโลกที่หนึ่ง คือ สหภาพยุโรป ซึ่งได้นำความร่วมมือและการบูรณาการเข้ามาสู่ภูมิภาคเป็นอันมาก บริษัทข้ามชาติยังเป็นตัวอย่างของผลกระทบของโลกที่หนึ่งซึ่งมีต่อโลกาภิวัตน์ เมื่อบริษัทเหล่านี้ได้นำมาซึ่งการรวมเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมในหลายประเทศ ด้วยการเติบโตของบริษัทข้ามชาติมักมีปัญหาในกระบวนการติดต่อกับบุคคลที่สามในหลายประเทศโลกที่หนึ่ง.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและโลกที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์มิวดาในแพนอเมริกันเกมส์

อร์มิวดาในแพนอเมริกันเกม.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและเบอร์มิวดาในแพนอเมริกันเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์มิวดาในโอลิมปิก

เบอร์มิวดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิก บอร์มิวดา หมวดหมู่:เบอร์มิวดา.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและเบอร์มิวดาในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

เวลาสากลเชิงพิกัด

แผนที่โลกแสดงเขตเวลาในปัจจุบัน เวลาสากลเชิงพิกัด (Coordinated Universal Time; ตัวย่อ: UTC) คือ หน่วยเวลาที่ใช้ในการอ้างอิงการหมุนของโลก โดยใช้เครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) เทียบจากหน่วยเวลาสากลซึ่งเป็นระบบอ้างอิงจากเวลามาตรฐานกรีนิช (GMT) จุดอ้างอิงของเวลาสากลเชิงพิกัดคือที่ลองจิจูด ที่ 0° ที่ตัดผ่านหอดูดาวหลวงกรีนิชในกรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร (และเป็นสาเหตุหลักที่เวลามาตรฐานกรีนิชยังคงมีใช้อยู่ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและเวลาสากลเชิงพิกัด · ดูเพิ่มเติม »

เฮลทูเบอร์มิวดา

ลทูเบอร์มิวดา (– เบอร์มิวดาจงเจริญ) เป็นชื่อของเพลงชาติอย่างไม่เป็นทางการของเบอร์มิวดา ประพันธ์โดยเบตส์ จอห์น (Bettes John) สำหรับเพลงชาติในทางราชการนั้น ใช้เพลงก็อดเซฟเดอะควีน อันเป็นเพลงชาติของสหราชอาณาจักร ซึ่งบังคับใช้ในดินแดนโพ้นทะเลของอังกฤษด้ว.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและเฮลทูเบอร์มิวดา · ดูเพิ่มเติม »

เฮเทอร์ โนวา

ทอร์ โนวา เฮเทอร์ โนวา (Heather Nova) คือ นักร้องและนักแต่งเพลง เดิมชื่อ เฮเทอร์ ฟริทธ์ (Heather Frith) เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1967 ที่ประเทศเบอร์มิวดา ความผูกพันกับทะเลได้มีอิทธิพลกับแนวเพลงของเธอมาก เนื่องจากในวัยเด็กเธอใช้ชีวิตบนเรือขนาด 40 ฟุต ที่พ่อของเธอสร้างขึ้นมา เฮเทอร์สำเร็จการศึกษาจาก Rhode Island School of Design ในปี..

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและเฮเทอร์ โนวา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายจอร์จแห่งเคมบริดจ์

้าชายจอร์จแห่งเคมบริดจ์ (Prince George of Cambridge; ประสูติ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556) หรือพระนามเต็มว่า จอร์จ อเล็กซานเดอร์ หลุยส์ (George Alexander Louis) เป็นพระโอรสพระองค์แรกในเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ กับแคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์ เป็นพระนัดดาของเจ้าชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ กับไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ผู้ล่วงลับ ทั้งเป็นพระปนัดดาของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 กับเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ จึงอยู่ในลำดับที่สามของการสืบสันตติวงศ์อังกฤษ ก่อนประสูติสื่อมวลชนพรรณนาพระโอรสองค์นี้ว่าเป็น "พระกุมารผู้ทรงมีชื่อเสียงที่สุดในโลก".

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและเจ้าชายจอร์จแห่งเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

UTC−03:00

UTC−03: สีฟ้า (มกราคม), สีส้ม (กรกฎาคม), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีฟ้าอ่อน '''UTC−03:00''' คือ ออฟเซตเวลาสากลเชิงพิกัด ที่หักค่า 3 ชั่วโมงของเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC).

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและUTC−03:00 · ดูเพิ่มเติม »

UTC−04:00

UTC−04:00 เป็นออฟเซตเวลาสากลเชิงพิกัด ที่ลบ 4 ชั่วโมงจากเวลามาตรฐานสากล (UTC).

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและUTC−04:00 · ดูเพิ่มเติม »

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและ1 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 E+7 m²

กาะแมนฮัตตัน นครนิวยอร์ก 1 E+7 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 10 ถึง 100 ตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 10 ตารางกิโลเมตร ----.

ใหม่!!: เบอร์มิวดาและ1 E+7 m² · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Bermuda

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »