โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เบอร์นาร์ด โบลซาโน

ดัชนี เบอร์นาร์ด โบลซาโน

อร์นาร์ด โบลซาโน เบอร์นาร์ด พลาซิดุส โยฮันน์ เนโพมุก โบลซาโน (Bernard Placidus Johann Nepomuk Bolzano) (5 ตุลาคม, ค.ศ. 1781 - 18 ธันวาคม, ค.ศ. 1848) เป็นนักปรัชญา นักเทววิทยา และนักตรรกวิทยา ชาวเช็ก เกิดในกรุงปราก โบลซาโนเข้ามหาวิทยาลัยปราก เมื่อ ค.ศ. 1796 โดยได้ศึกษาคณิตศาสตร์ ปรัชญา และฟิสิกส์ และนับแต่ ค.ศ. 1800 เขาได้เริ่มต้นศึกษาเทววิทยา และได้รับตำแหน่งในทางศาสนา เมื่อ ค.ศ. 1805 เขาทำงานเป็นครู และมีชื่อเสียงรู้จักกันดี ไม่เฉพาะแต่วิชาศาสนาเท่านั้น ยังมีชื่อเสียงในด้านปรัชญาด้วย และได้รับเลือกเป็นหัวหน้าภาควิชาปรัชญา เมื่อ ค.ศ. 1818.

4 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2391คาร์ล ไวแยร์สตราสส์คณิตวิเคราะห์เบอร์นาร์ด

พ.ศ. 2391

ทธศักราช 2391 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เบอร์นาร์ด โบลซาโนและพ.ศ. 2391 · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล ไวแยร์สตราสส์

ร์ล ธีโอดอร์ วิลเฮล์ม ไวแยร์สตราสส์ (Karl Theodor Wilhelm Weierstraß หรือ Weierstrass) (31 ตุลาคม ค.ศ. 1815 - 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1897) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ผู้ซึ่งมักถูกกล่าวถึงในฐานะว่าเป็น บิดาแห่งการวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์ยุคใหม่ นอกจากนี้ชื่อของไวแยร์สตราสส์ ยังได้รับเกียรติในการตั้งชื่อหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ (Weierstrass crater) ไวแยร์สตราสส์ เกิดที่เมืองออสเทนเฟลด์ (Ostenfelde) รัฐบาวาเรีย ราชอาณาจักรปรัสเซี.

ใหม่!!: เบอร์นาร์ด โบลซาโนและคาร์ล ไวแยร์สตราสส์ · ดูเพิ่มเติม »

คณิตวิเคราะห์

ณิตวิเคราะห์ (mathematical analysis) เป็นสาขาหนึ่งในวิชาคณิตศาสตร์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวเนื่องกับอนุพันธ์, ปริพันธ์และทฤษฎีเมเชอร์, ลิมิต, อนุกรมเลข, และฟังก์ชันวิเคราะห์ โดยส่วนมากจะศึกษาในบริบทของจำนวนจริงและจำนวนเชิงซ้อนไปจนถึงฟังก์ชัน คณิตวิเคราะห์พัฒนามาจากแคลคูลัสที่มีการวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐานรวมอยู่ด้วย คณิตวิเคราะห์ไม่ใช่เรขาคณิตแต่ทั้งนี้สามารถใช้ในการวิเคราะห์ปริภูมิของวัตถุทางคณิตศาสตร์ที่มีความใกล้หรือระยะห่างที่จำเพาะระหว่างวัตถุได้.

ใหม่!!: เบอร์นาร์ด โบลซาโนและคณิตวิเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์นาร์ด

อร์นาร์ด อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เบอร์นาร์ด โบลซาโนและเบอร์นาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »