โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เทศกาลกินเจ

ดัชนี เทศกาลกินเจ

ทศกาลกินเจ หรือ กินแจ (九皇勝會 Jiǔ huán Shèng huì; ฮกเกี้ยน: กิ้วอ๋องเซ่งโห่ย; Nine Emperor Gods Festival หรือ 九皇大帝誕; ฮกเกี้ยน: กิ้วอ๋องไต่เต้ตั้น) หรือบางแห่งเรียกว่า ประเพณีถือศีลกินผัก เป็นประเพณีแบบลัทธิเต๋ารวม 9 วัน กำหนดเอาวันตามจันทรคติ คือ เริ่มต้นตั้งแต่วันขึ้น 1 ค่ำ ถึง ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 9 ตามปฏิทินจีนของทุกปี มีจุดเริ่มต้นจากประเทศจีนมานานแล้ว โดยมีตำนานเล่าขานกันหลายตำนาน ปัจจุบัน เทศกาลกินเจจัดขึ้นในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย และไทย ตลอดจนหมู่เกาะเรียวในอินโดนีเซียและอาจมีในบางประเทศเอเชีย เช่น ภูฏาน ญี่ปุ่น เกาหลี และประเทศจีน(ประกอบด้วยฮ่องกงและมฑทณไต้หวัน) ซึ่งการกินเจในเดือน 9 นี้ เชื่อกันว่าน่าจะเกิดขึ้นเมื่อราว..

23 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2555การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528กิ๋วอ๋องไต่เต่มารีจีราชวงศ์ชิงวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์วัดเทพพุทธารามวันสารทจีนศาลเจ้าไล่ทู้เต้าโบ้เก้งสะพานหินอำเภอห้วยยอดจังหวัดลพบุรีถนนเยาวราชที. คอลิน แคมป์เบลล์แยกไมตรีจิตต์แสบคูณสองไทยแวร์ไฉ่สิ่งเอี้ยเจเทศกาลเทศกาลตังโจ่ยเขตสัมพันธวงศ์เนื้อสัตว์เทียม

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

กิ๋วอ๋องไต่เต่

กิ๋วอ๋องไต่เต่ (ตัวย่อ: 九皇大帝, พินอิน: Jiǔ huáng dàdì จิ่วหวงต้าตี้, ฮกเกี้ยน: กิ๋วอ๋องไต่เต้, ภาษากวางตุ้ง:เก้าหว่องต๋ายเต, เก้าราชาธิราช) เป็นเทพเจ้าดวงดาวตามความเชื่อของลัทธิเต๋า หรือเป็นบุคคลผู้ได้รับการสรรเสริญจากประชาชน ตามตำนานสามารถรวบรวมได้ 9 พระองค์ ซึ่งอยู่ในยุคสมัยต่างๆกัน ทั้ง 9 พระองค์รวมเรียกว่าพระราชาธิราช 9 พระองค์ จะอัญเชิญมาเฉพาะในช่วงเทศกาลกินเจเท่านั้น เทพเจ้าทั้งเก้าองค์ได้จุติเป็นดาวเก้าดวง หลังจากนั้นจึงได้จุติอีกครั้งมาเป็นเจ้าผู้ปกครองโลกมนุษย์ โดยเวียนกันจุติลงม.

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและกิ๋วอ๋องไต่เต่ · ดูเพิ่มเติม »

มารีจี

ระแม่มาริจีโพธิสัตว์ มารีจี (摩利支天Marici bodhisattva)เป็นพระโพธิสัตว์ฝ่ายหญิงตามความเชื่อของพุทธศาสนามหายาน พุทธศาสนาวัชรยานและศาสนาเต๋า โดยนับถือว่าพระโพธิสัตว์แห่งแสงอาทิตย์ยามเช้า ทรงรถที่ลากด้วยหมูป่าเจ็ดตัว รูปลักษณ์ของพระนางมีหลากหลายมีตั้งแต่พักตร์เดียว 2 กรไปจนถึงหกพัตร์ 12 กร ในอินเดียจะพบรูปปั้นแบบพักตร์เดียว 2 กร และ 3 พักตร์ 6 กร พระโพธิสัตว์องค์นี้เป็นที่นิยมนับถือในทิเบตและจีน ญี่ปุ่น และทรงมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับตำนานเทศกาลกิน.

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและมารีจี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์

วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์ (ตัวเต็ม: 普頌皇恩寺, ตัวย่อ: 普頌皇恩寺, พินอิน: Pǔ sòng huáng ēn sì ผู่ซ่งหวางเอินสื้อ, ฮกเกี้ยน: โพ้ซงอ๋องอุนซี่, สำเนียงแต้จิ๋ว: โพ้วซึงอ๊วงอึ๋นยี่) หรือ วัดเล่งเน่ยยี่ 2 เป็นวัดมหายานในความอุปถัมภ์ของคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 75 หมู่ที่ 4 ตำบลโสนลอย อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี บนพื้นที่ 12 ไร่เศษ จัดสร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เนื่องในวโรกาสงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี 9 มิถุนายน พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดเทพพุทธาราม

วัดเทพพุทธาราม (เซียนฮุดยี่) (仙佛寺) เป็นวัดในพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายานและสุขาวดี สังกัดคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย แห่งแรกของจังหวัดชลบุรี สืบสายคำสอนมาจากนิกายเสียมจง หรือ นิกายฌานหรือเซน สาขาหลินฉี (วิปัสสนากรรมฐาน) เป็นศาสนสถานอันสง่างดงามที่เก่าแก่แห่งหนึ่ง ซึ่งสร้างโดยพระเถระจีนนิกายฉายาว่า “พระอาจารย์ตั๊กฮี้” ท่านเป็นปฐมบูรพาจารย์ผู้สถาปนาสร้างวัดมีเนื้อที่วัดในปัจจุบันประมาณ 20 ไร่เศษ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและวัดเทพพุทธาราม · ดูเพิ่มเติม »

วันสารทจีน

ซ้ายคือขนมเทียนและขนมเข่ง ถาดขวาคือไก่ต้ม วันสารทจีน ตามปฏิทินทางจันทรคติ เทศกาลสารทจีนจะตรงกับวันที่ 15 เดือน 7 ตามปฏิทินจีน เทศกาลสารทจีนถือเป็นวันสำคัญที่ลูกหลานชาวจีนจะแสดงความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ โดยพิธีเซ่นไหว้ และยังถือเป็นเดือนที่ประตูนรกเปิดให้วิญญาณทั้งหลายมารับกุศลผลบุญได้.

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและวันสารทจีน · ดูเพิ่มเติม »

ศาลเจ้าไล่ทู้เต้าโบ้เก้ง

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและศาลเจ้าไล่ทู้เต้าโบ้เก้ง · ดูเพิ่มเติม »

สะพานหิน

นหิน เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจภายในตัวเมืองภูเก็ต มีลักษณะเป็นชายหาดอยู่สุดถนนภูเก็ตซึ่งยื่นลงไปในทะเลเล็กน้อย เป็นที่ตั้ง ของอนุสาวรีย์หลัก 60 ปี ซึ่งสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2511 เพื่อเป็นที่ระลึกแก่กัปตันเอ็ดเวิร์ด โธมัสไมล์ ชาวออสเตรเลียผู้นำเรือขุดแร่ลำแรกมาใช้ขุดแร่ดีบุกในประเทศไทย เมื่อ..

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและสะพานหิน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอห้วยยอด

อำเภอห้วยยอด เป็นอำเภอเก่าแก่อำเภอหนึ่งในจังหวัดตรัง ที่มีชื่อเรียกว่า "ห้วยยอด" เนื่องมาจากภูมิประเทศของอำเภอห้วยยอด โดยคำว่า "ห้วย" หมายถึง ลำห้วยต่าง ๆ ซึ่งเป็นสาขาของแม่น้ำตรัง อันเป็นแม่น้ำสายหลักของจังหวัดที่พาดผ่านพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของอำเภอ ส่วนคำว่า "ยอด" หมายถึง ยอดเขาที่เรียงรายตลอดแนวทางด้านทิศตะวันออกของอำเภอ ซึ่งเรียกว่า ภูเขาบรรทัด โดยพื้นที่ห้วยน้ำและยอดเขาสลับกันไปมา จึงได้เรียกว่าห้วยยอดมาจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและอำเภอห้วยยอด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลพบุรี

ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้.

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเยาวราช

รรยายกาศของเยาวราชยามค่ำคืนและร้านอาหารริมทาง ถนนเยาวราช (Thanon Yaowarat; 耀華力路) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ระยะทางความยาวตลอดเส้นทางประมาณ 1.5 กิโลเมตร ได้รับการกล่าวขานและขนานนามว่าเป็น "ถนนมังกร" โดยมีจุดเริ่มต้นของหัวมังกรที่ซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษาบริเวณวงเวียนโอเดียน ท้องมังกรอยู่ที่บริเวณตลาดเก่าเยาวราชและสิ้นสุดปลายหางมังกรที่บริเวณปลายสุดของถนน สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ใช้ระยะเวลาในการตัดถนน 8 ปี ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2434 - พ.ศ. 2443 เพื่อให้เยาวราชกลายเป็นสถานที่สำหรับส่งเสริมการค้าขาย เดิมทีชื่อ "ถนนยุพราช" และได้โปรดเกล้าพระราชทานนามใหม่ว่า "ถนนเยาวราช" ถนนเยาวราชประกอบไปด้วยจุดสำคัญหลายจุดเช่น วงเวียนโอเดียน, ถนนเจริญกรุง ซึ่งอยู่ในท้องที่แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของถนนเยาวราชตัดกับถนนทรงสวัสดิ์ (สี่แยกเฉลิมบุรี), ถนนราชวงศ์ (สี่แยกราชวงศ์) และถนนจักรวรรดิ (สี่แยกวัดตึก) ข้ามคลองรอบกรุง (สะพานภาณุพันธุ์) เข้าสู่ท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร สิ้นสุดที่แยกถนนพีระพงษ์ตัดกับถนนมหาไชยและถนนจักรเพชร บริเวณถนนเยาวราชเป็นแหล่งชุมชนชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีนเป็นจำนวนมาก จัดเป็นย่านธุรกิจการค้า, การเงิน การธนาคาร, ร้านทอง, ภัตตาคาร ร้านอาหาร, ร้านค้า ฯลฯ รวมทั้งแหล่งท่องเที่ยวสำคัญแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานครโดยได้รับการขนานนามว่าเป็น "ไชนาทาวน์แห่งกรุงเทพมหานคร" จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ และถือว่าเป็นไชนาทาวน์หรือชุมชนชาวจีนที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก.

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและถนนเยาวราช · ดูเพิ่มเติม »

ที. คอลิน แคมป์เบลล์

. ดร.

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและที. คอลิน แคมป์เบลล์ · ดูเพิ่มเติม »

แยกไมตรีจิตต์

แยกไมตรีจิตต์ (Maitri Chit Intersection) เป็นทางแยกแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีลักษณะเป็นห้าแยกตัดกันระหว่างถนนไมตรีจิตต์, ถนนมิตรภาพไทย-จีน, ถนนพระราม 4, ถนนกรุงเกษม และซอยโปริสภา ซึ่งเป็นซอยหนึ่งของถนนข้าวหลาม แยกไมตรีจิตต์ อยู่บริเวณเชิงสะพานเจริญสวัสดิ์ข้ามคลองผดุงกรุงเกษมในด้านที่มาจากแยกหัวลำโพง อยู่ใกล้กับสถานีรถไฟหัวลำโพง ถือได้ว่าเป็นจุดที่เริ่มต้นเข้าสู่ย่านเยาวราช หรือไชน่าทาวน์ของกรุงเทพมหานคร และยังเป็นจุดตัดระหว่างพื้นที่เขตสามเขตอีกด้วย คือ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตสัมพันธวงศ์ และเขตปทุมวัน ชื่อ "ไมตรีจิตต์" มาจากชื่อของถนนไมตรีจิตต์ อันเป็นถนนสายหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ระลึกถึงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ที่ประเทศไทยได้เข้าร่วม เช่นเดียวกับ วงเวียน 22 กรกฎาคม, ถนนมิตรพันธ์ และถนนสันติภาพ ที่สร้างขึ้นในวาระเดียวกัน บริเวณใกล้ทางแยก ทางฝั่งถนนไมตรีจิตต์ ยังเป็นที่ตั้งของศาสนสถานสองแห่งในสองศาสนา สองความเชื่อที่แตกต่างกัน คือ คริสตจักรไมตรีจิต เป็นคริสตจักรแบบโปรเตสแตนต์แห่งแรกในประเทศไทยและของทวีปเอเชียด้วย โดยก่อตั้งมาตั้งแต..

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและแยกไมตรีจิตต์ · ดูเพิ่มเติม »

แสบคูณสอง

แสบคูณสอง เป็นรายการเกมโชว์ในประเทศไทยที่ออกอากาศมาตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 และยุติการออกอากาศในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2544 และเป็นรายการโทรทัศน์รายการแรกของบริษัท ทริปเปิ้ล ทู จำกัด โดยมีพิธีกร คือ เกียรติ กิจเจริญ (ซูโม่กิ๊ก) ร่วมกับติ๊ก กลิ่นสี (ชาญณรงค์ ขันทีท้าว).

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและแสบคูณสอง · ดูเพิ่มเติม »

ไทยแวร์

ทยแวร.คอม (thaiware.com) เป็นเว็บไซต์ในประเทศไทยที่รวมโปรแกรมทั้งไทยและต่างประเทศ เพื่อให้ผู้เยี่ยมชมดาวน์โหลดไปทดลองใช้ นอกจากนั้นยังมีเว็บบอร์ดสำหรับถามปัญหาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ไทยแวร์ก่อตั้งโดย ธรรณพ สมประสงค์, เอกชัย ก่อตั้งเกียรติกุล และเพื่อนคนอื่นๆ อีก 2 คน (วีรวิชญ์ อาริยโสภารักษ์ และ ธนินทร์​ ณ นคร) ปัจจุบันเหลือหุ้นส่วนเพียง 2 คน ซึ่งเปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2542 ไทยแวร.คอม เป็นเว็บไซต์ที่มีผู้เข้าชมจากประเทศไทยมากเป็นอันดับที่ 99 (13 กรกฎาคม 2558) จากการจัดอันดับโดยอะเล็กซ.

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและไทยแวร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฉ่สิ่งเอี้ย

ฉ่สิ่งเอี้ย หรือ จ่ายสินเอี้ย (财神; พินอิน: Cái-shén; Cai Shen, God of wealth, God of fortune) เป็นเทพเจ้าของจีนที่ให้คุณทางด้านเงินทอง และโชคลาภ (เทพเจ้าแห่งโชคลาภ) ซึ่งสำหรับชาวจีนแล้วถือเป็นเทพเจ้าที่มีความสำคัญมากที่สุดในการเริ่มเข้าสู่ปีนักษัตรใหม่ (ตรุษจีน) เนื่องจากเป็นเทพเจ้าที่ได้รับการกราบไหว้เป็นองค์แรกทีเดียว โดยคำว่า "ไฉ่สิ่ง" หรือ "ไฉซิ้ง" มีความหมายว่า "ทรัพย์สิน" หรือ "สิริมงคล" "เอี้ย" หมายถึง "เทพเจ้า" โดยเทพที่ได้รับการนับถือว่าเป็นไฉ่ซิ้งเอี้ย มีด้วยกันหลายองค์ แต่องค์ที่ได้รับการบูชามากที่สุด คือ ฟ่านหลี และปี่ กั้น ซึ่งเป็นบุคคลที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ โดยถือว่าเป็นไฉ่สิ่งเอี้ยฝ่ายบุ๋น ขณะที่จ้าวกงหมิง และกวนอู ถือเป็นไฉ่สิ่งเอี้ยฝ่ายบู๊ การบูชาไฉ่สิ่งเอี้ย สามารถพบได้ในหลายประเทศในทวีปเอเชีย เช่น ทิเบต, จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี, อินเดีย, ไทย, มาเลเซีย, สิงคโปร์, อินโดนีเซีย, มาเก๊า, ฮ่องกง เป็นต้น ไฉ่สิ่งเอี้ยที่มีความเก่าแก่ที่สุดพบที่บนหน้าผาในทิเบต เรียกว่าปางชัมภล เชื่อว่าไฉ่สิ่งเอี้ย จะเสด็จมายังโลกมนุษย์เพียงปีละครั้ง คือ ในวันตรุษจีน ดังนั้น ชาวจีนตั้งแต่โบราณเมื่อเข้าสู่วันตรุษจีน (นับตั้งแต่ 0.00 น.) จะทำการตั้งโต๊ะบูชาไฉ่สิ่งเอี้ย โดยการหันหน้าไปทิศต่าง ๆ ที่เชื่อว่าไฉ่สิ่งเอี้ยจะเสด็จลงมา ซึ่งจะแตกต่างกันไปในแต่ละปี โดยเวลาที่จะทำการบูชา คือ 23.00–01.00 น. ของวันตรุษจีน โดยทำการบูชาที่ดาดฟ้าบ้านหรือหลังคาบ้าน หรือระเบียงบ้านชั้นสองหรือสาม หรือหน้าบ้านก็ได้ ซึ่งของที่ทำการบูชาใช้ของหวาน เช่น ผลไม้, อาหารเจ, บัวลอย, สาคู หรือของรับประทานต่าง ๆ ที่มีสีสันสดใส แต่ไม่ใ้ช้ของคาวหรือเนื้อสัตว์ พร้อมกับนำสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเงินทอง เช่น สมุดบัญชีธนาคาร, เช็ค หรือกระเป๋าเงิน มาตั้งวางไว้ด้วย เป็นต้น และเมื่อธูปที่ใช้บูชาใกล้มอดให้รีบนำเข้าบ้าน และปิดประตูหน้าต่างให้สนิท เพื่อให้ควันธูปที่เหลือนั้นตลบอบอวลอยู่ภายในบ้าน เชื่อว่าเป็นการอัญเชิญไฉ่สิ่งเอี้ยเข้ามาประทับในบ้าน.

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและไฉ่สิ่งเอี้ย · ดูเพิ่มเติม »

เจ

หรือ เจย์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและเจ · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาล

เทศกาล คือเหตุการณ์ชนิดหนึ่ง (งานหรือกิจกรรมก็ว่า) ซึ่งตามปกติธรรมดาจัดตั้งขึ้นโดยชุมชนท้องถิ่น ที่มุ่งความสนใจและเฉลิมฉลองเอกลักษณ์บางอย่างของชุมชนนั้นและเทศกาลนั้น เทศกาลมักเกี่ยวข้องกับประเพณี ความเชื่อ หรือศาสนาของชุมชน ตัวอย่างเช่น สงกรานต์ ลอยกระทง สารทไทย สารทจีน ตรุษจีน กินเจ อีสเตอร์ ฮัลโลวีน คริสต์มาส เป็นต้น เทศกาลส่วนใหญ่มักจัดขึ้นปีละครั้ง คือการถือเอาวันครบรอบปีของเทศกาลครั้งก่อนมาตั้งเป็นครั้งถัดไป หมวดหมู่:เหตุการณ์สังคม.

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและเทศกาล · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลตังโจ่ย

งหยวน เทศกาลตังโจ่ย หรือ เทศกาลฤดูหนาว (จีนกลาง: ตงจื้อ, Dōngzhì Festival, Winter Solstice Festival) ตังโจ่ย หรือ ตังจี๋ หรือ ตงเจี่ย (ตามสำเนียงแต้จิ๋ว) หรือ ตั่งเจะ (ตามสำเนียงฮกเกี้ยน) มีความหมายถึง วันเหมายัน คือ วันที่พระอาทิตย์จะส่องแสงสั้นที่สุด หรือ วันที่เป็นจุดสูงสุดในฤดูหนาว (The Extreme of Winter) (โดยประมาณจะตรงกับวันที่ 22 ธันวาคม ของทุกปี แต่ปีที่มีอธิกมาส จะตรงกับวันที่ 21 ธันวาคม) ในยุคโบราณชาวจีนจะเรียกวัน ๆ นี้ว่า เฉี่ยงจี่ (สุดยาว) เป็นหลักการโคจรของพระอาทิตย์ ในแต่ละปี ภายหลังฤดูสารทชิวฮุง (เทศกาลกินเจ) ในเดือนตุลาคมแล้ว พระอาทิตย์เริ่มเคลื่อนลงสู่ทางทิศใต้ ถึงเส้นแวงที่ 23 องศา 26 ลิปดา 59 พิลิปดา ดังนั้น ทางขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ ดินฟ้าภูมิอากาศย่อมมีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด ในซีกโลกเหนือแสงแดดในเวลากลางวันนั้นสั้น แต่เวลากลางคืนกลับยาว แต่ที่ทางซีกโลกใต้นั้นกลับตรงกันข้าม วันตังโจ่ยกลับเป็นวันที่พระอาทิตย์โคจรอยู่ทางซีกโลกใต้นานที่สุด ดังนั้น วันนี้ จึงถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า น่ำจี่ (สุดใต้) และเมื่อผ่านพ้นวันนี้ไปแล้ว พระอาทิตย์ก็จะเริ่มโคจรตามปกติสู่ทางด้านทิศเหนือ วันเวลายามกลางวันก็จะเริ่มต้นยาวขึ้นตามลำดับ วันตังโจ่ย จึงถือเป็นวันตายตัวของวันที่ 22 หรือวันที่ 21 ธันวาคม ตามปฏิทินทางสุริยคติสากล แต่สำหรับในปฏิทินจีน ได้ใช้หลักตามจันทรคติ ดังนั้น เมื่อถือตามหลักของปฏิทินจีน วันตังโจ่ย จึงไม่มีการตายตัวทุก ๆ ปี แต่จะตรงกับเดือน 11 ตามปฏิทินจีน (เดือนธันวาคม) ซึ่งเรียกว่า เกี๋ยวง๊วย ในยุคโบราณ ชาวจีนให้ความสำคัญกับเทศกาลตังโจ่ยไม่แพ้วันตรุษจีน เพราะถือเสมือนเทศกาลสิ้นปี ผู้คนจะปิดร้านรวงและบ้านเรือน ทำบุญตามวัดหรือไหว้เจ้า เอกลักษณ์ที่สำคัญในเทศกาลนี้ คือ ผู้คนจะปั้นและกินขนมที่มีลักษณะคล้ายขนมบัวลอยของไทย (ออกเสียงสำเนียงแต้จิ๋วว่า อี๊) ซึ่งทำจากแป้งและต้มกับน้ำเชื่อม เพื่อเพิ่มความอบอุ่นให้แก่ร่างกาย ในภูมิภาคแต่ละที่ของจีนจะกินขนมชนิดนี้และมีชื่อเรียกแตกต่างออกไป เช่น ทางเหนือจะกินเกี๊ยวน้ำ ทางใต้จะกินขนมชนิดนี้ที่มีลูกใหญ่และเรียกว่า "ถ่างหยวน" (Tangyuan, 湯圓) โดยมีความเชื่อว่า เมื่อรับประทานแล้วคนในครอบครัวจะรักผูกพันกันยิ่งขึ้น เพราะเมื่อถึงเทศกาลนี้แล้ว ญาติพี่น้องที่จากไปอยู่แต่ละที่ จะหวนคืนกลับบ้านมาอยู่พร้อมหน้ากันอีกครั้ง อีกทั้งยังเชื่อว่าเป็นมงคลเพราะอายุเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งปี ดังนั้นเทศกาลนี้จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เทศกาลไหว้ขนมบัวลอย ซึ่งประเพณีการรับประทานขนมบัวลอยนี้ก็ยังคงปฏิบัติมาจนถึงคงปัจจุบัน.

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและเทศกาลตังโจ่ย · ดูเพิ่มเติม »

เขตสัมพันธวงศ์

ตสัมพันธวงศ์ เป็นเขตที่เล็กที่สุดของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้าหนาแน่นและแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม.

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและเขตสัมพันธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เนื้อสัตว์เทียม

ปรตีนเกษตร เนื้อสัตว์เทียม คือวัตถุดิบประกอบอาหาร ทำจากผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ใช้ประกอบอาหารแทนเนื้อสัตว์ เนื้อสัตว์เทียมมักใช้เป็นส่วนผสมในอาหารมังสวิรัติหรืออาหารเจ โดยมีชนิดย่อยต่างๆ คือ.

ใหม่!!: เทศกาลกินเจและเนื้อสัตว์เทียม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

การกินเจกินแจกินเจอาหารแจอาหารเจ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »