โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เครือข่ายไฟฟ้า

ดัชนี เครือข่ายไฟฟ้า

วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบไปด้วยแหล่งจ่ายไฟและตัวต้านทาน ในวงจรนี้จะเห็นว่า V.

19 ความสัมพันธ์: กฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์กราวด์ (ไฟฟ้า)กุสทัฟ เคียร์ชฮ็อฟรายชื่อการแปลง (คณิตศาสตร์)รีดสวิตช์วิศวกรรมการวัดคุมวงจรไฟตอนสะพานไฟสายอากาศอาร์เอฟไอดีอาซิโมอิมพีแดนซ์อิเล็กโทรดขั้นตอนวิธีคาร์ล ฟรีดริช เกาส์ประเทศอันดอร์ราแม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพแคลคูลัสไฟฟ้า

กฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์

กฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์ (Faraday's law of induction) เป็นกฎพื้นฐานของแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งทำนายว่าสนามแม่เหล็กจะมีอันตรกิริยากับวงจรไฟฟ้าเพื่อผลิตแรงเคลื่อนไฟฟ้า เป็นปรากฏการณ์ที่เรียก การเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นหลักการทำงานพื้นฐานของหม้อแปลงไฟฟ้า ตัวเหนี่ยวนำ และมอเตอร์ไฟฟ้า เครื่องกำเนิดไฟฟ้าและโซลินอยด์หลายชนิด สมการแม็กซ์เวลล์–ฟาราเดย์เป็นสามัญการของกฎของฟาราเดย์ และเป็นหนึ่งในสมการของแมกซ์เวลล์ หมวดหมู่:อิเล็กโทรไดนามิกส์ หมวดหมู่:สมการของแม็กซ์เวลล์.

ใหม่!!: เครือข่ายไฟฟ้าและกฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์ · ดูเพิ่มเติม »

กราวด์ (ไฟฟ้า)

รูปแบบหนึ่งของขั้วดิน (ด้านซ้ายของท่อสีเทา) ประกอบด้วยแท่งตัวนำหนึ่งแท่งที่ฝังลงในดินที่บ้านในประเทศออสเตรเลีย กราวด์ (ground) ในด้านวิศวกรรมไฟฟ้า หมายถึงจุดๆ หนึ่งในวงจรไฟฟ้าที่ใช้เป็นจุดอ้างอิงในการวัดแรงดันไฟฟ้า หรือใช้เป็นเส้นทางกลับร่วมกันของกระแสไฟฟ้าจากหลายๆที่ หรือจุดเชื่อมต่อทางกายภาพโดยตรงกับพื้นดิน สายไฟที่ลงดิน (สายดิน) จะต้องถูกกำหนดเป็นมาตรฐานให้ใช้สีที่แน่นอนเพื่อป้องกันการใช้ที่ไม่ถูกต้อง วงจรไฟฟ้าอาจจะถูกเชื่อมต่อกับพื้นดิน (พื้นโลก) ด้วยเหตุผลหลายประการ ในอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ไฟ AC เมนส์ ชิ้นส่วนโลหะที่ผู้ใช้สัมผัสได้จะถูกเชื่อมต่อกับพื้นดินเพื่อป้องกันผู้ใช้ไม่ให้สัมผ้สกับแรงดันไฟฟ้าที่เป็นอันตรายในกรณีที่ฉนวนไฟฟ้าล้มเหลว การเชื่อมต่อกับพื้นดินจะจำกัดกระแสไฟฟ้าสถิตที่ถูกสร้างขึ้นในการรับมือกับผลิตภัณฑ์ที่ติดไฟง่าย หรืออุปกรณ์ที่มีความไวต่อไฟฟ้าสถิต ในบางวงจรโทรเลขและบางระบบส่งกำลังไฟฟ้า แผ่นดินหรือผิวโลกเองสามารถถูกนำมาใช้เป็นหนึ่งในตัวนำสายส่งของวงจร ซึ่งจะเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดตั้งตัวนำสายส่งที่เป็นสายรีเทินที่แยกต่างหากไปหนึ่งเส้น (ดูระบบสายดินกลับ(single-wire earth return)) สำหรับวัตถุประสงค์ในการวัด กราวด์ทำหน้าที่เป็นจุดที่มีค่าความดันคงที่(พอสมควร) ที่สามารถถูกใช้เป็นจุดอ้างอิงสำหรับการวัดแรงดันที่จุดใดๆในวงจรได้ ระบบสายกราวด์ไฟฟ้าควรจะมีความสามารถในการเคลื่อนกระแสที่เหมาะสมในการทำหน้าที่เป็นแรงดันไฟฟ้าระดับอ้างอิงเป็นศูนย์ ในทางทฤษฎีวงจรอิเล็กทรอนิกส์ "กราวด์" ในทางอุดมคติมักจะเป็นแหล่งจ่ายประจุหรือแหล่งระบายประจุที่ไม่มีที่สิ้นสุด ที่สามารถดูดซับกระแสได้ไม่จำกัดจำนวนโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงแรงดันที่จุดนั้น ในขณะที่การเชื่อมต่อกับพื้นดินที่แท้จริงมักจะมีความต้านทานเกิดขึ้น ดังนั้นแรงดันของดินที่ใกล้เคียงกับศูนย์จึงไม่สามารถทำได้ แรงดันไฟฟ้ากระจัดกระจายหรือผลกระทบของแรงดันดินจะเกิดขึ้น ซึ่งอาจสร้างการรบกวนในสัญญาณต่างๆ หรือถ้าผลกระทบนั้นมีขนาดใหญ่พอ การรบกวนนั้นอาจจะสร้างอันตรายจากการช็อก(shock)ไฟฟ้าได้ การใช้คำว่ากราวด์เป็นเรื่องธรรมดาในเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่ใชัในอุปกรณ์แบบพกพาเช่นโทรศัพท์มือถือ และเครื่องเล่นสื่อในยานพาหนะที่อาจจะพูดว่ามี"กราวด์" โดยไม่ได้มีการเชื่อมต่อที่เกิดขึ้นจริงกับดินแต่อย่างใด โดยปกติจะเป็นแค่สายไฟตัวนำขนาดใหญ่ที่ต่ออยู่กับ ด้านใดด้านหนึ่งของแหล่งจ่ายไฟ (เช่น"ground plane" ในแผงวงจรพิมพ์) ซึ่งทำหน้าที่เป็น เส้นทางกลับร่วมกันสำหรับกระแสจากชิ้นส่วนต่างๆหลายจุดในวงจร.

ใหม่!!: เครือข่ายไฟฟ้าและกราวด์ (ไฟฟ้า) · ดูเพิ่มเติม »

กุสทัฟ เคียร์ชฮ็อฟ

กุสทัฟ โรแบร์ท เคียร์ชฮ็อฟ (Gustav Robert Kirchhoff; 12 มีนาคม ค.ศ. 1824-17 ตุลาคม ค.ศ. 1887) เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมันผู้มีส่วนร่วมในการทำความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า สเปกโทรสโกปี และการแผ่รังสีของวัตถุดำจากวัตถุที่ได้รับความร้อน เขาเป็นผู้กำหนดคำว่า การแผ่รังสีของ "วัตถุดำ" เมื่อปี..

ใหม่!!: เครือข่ายไฟฟ้าและกุสทัฟ เคียร์ชฮ็อฟ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อการแปลง (คณิตศาสตร์)

รายชื่อการแปลง ในทางคณิตศาสตร์ ที่มีในวิกิพีเดี.

ใหม่!!: เครือข่ายไฟฟ้าและรายชื่อการแปลง (คณิตศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

รีดสวิตช์

รีดสวิตช์ รีดสวิตช์ หรือ สวิตช์แม่เหล็ก (reed switch) คือสวิตช์ที่ใช้เปิดปิดวงจรไฟฟ้าตามสนามแม่เหล็ก ตัวรีดสวิตช์จะเป็นหลอดแก้วผนึกกันอากาศ มีขั้วไฟฟ้าเข้าที่ปลายสองด้าน ด้านในต่อกับก้านหน้าสัมผัสขนาดเล็กที่ทำจากโลหะสารแม่เหล็ก เมื่อมีสนามแม่เหล็กในบริเวณ หน้าสัมผัสจะลู่ไปตามแนวสนามจนสัมผัสกันทำให้ไฟฟ้าไหลผ่านได้ครบวงจร เมื่อสนามแม่เหล็กหมดไป หน้าสัมผัสก็จะดีดกลับที่เดิมทำให้วงจรไฟฟ้าขาดออกจากกัน.

ใหม่!!: เครือข่ายไฟฟ้าและรีดสวิตช์ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมการวัดคุม

วบคุมของกังหันไอน้ำชนิดหนึ่ง ตัวควบคุมลมแบบ PID แผนภาพแบบกล่องแสดงตัวควบคุมแบบ PID ในฟีดแบคลูป วิศวกรรมการวัดคุม (instrumentation engineering) คือวิศวกรที่มีความเชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมที่เน้นหลักการและการทำงานของ เครื่องมือวัด ที่ใช้ในการออกแบบและการกำหนดค่าของระบบอัตโนมัติในระบบไฟฟ้าและระบบนิวเมติก ฯลฯ พวกเขามักจะทำงานกับอุตสาหกรรมที่มีกระบวนการแบบอัตโนมัติเช่นในโรงงานผลิต ด้วยเป้าหมายเพื่อการปรับปรุงระบบการผลิต, ความน่าเชื่อถือ, ด้านความปลอดภัย, การเพิ่มประสิทธิภาพและความมีเสถียรภาพ ในการควบคุมพารามิเตอร์ในกระบวนการหรือในระบบเฉพาะกิจใด ๆ อุปกรณ์เช่น Microprocessor, Microcontroller หรือ Programmable Logic Controll (PLC) จะถูกนำมาใช้ แต่จุดมุ่งหมายสูงสุดของวิศวกรการวัดคุมก็คือการควบคุมพารามิเตอร์ของระบบ วิศวกรการวัดคุมปกติจะรับผิดชอบกับการบูรณาการ ตัวรับรู้ ทั้งหลายที่จะส่งสัญญาณที่ถูกบันทึกไว้, จอแสดงผลและระบบควบคุมให้ทำงานเข้าด้วยกัน วิศวกรวัดคุมอาจจะออกแบบ/ติดตั้งสายไฟและปรับแต่งสัญญาณ พวกเขาอาจจะต้องรับผิดชอบสำหรับการสอบเทียบเครื่องมือวัด, การทดสอบและการบำรุงรักษาร.

ใหม่!!: เครือข่ายไฟฟ้าและวิศวกรรมการวัดคุม · ดูเพิ่มเติม »

วงจรไฟตอน

วงจรไฟตอน (track circuit) เป็นวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายสำหรับตรวจสอบความเคลื่อนไหวของขบวนรถไฟ วงจรแบบแรกสุด อาศัยการปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าที่ราวทั้งสองข้างของรางรถไฟ ในเวลาต่อมาได้มีการพัฒนาวงจรไฟตอนสำหรับรางรถไฟแบบเชื่อมยาว โดยอาศัยคลื่นวิทยุเป็นตัวตรวจจับความเคลื่อนไหว ระบบวงจรไฟตอนสามารถนำไปใช้ในระบบติดตามความเคลื่อนไหวขบวนรถ และระบบอาณัติสัญญาณประจำที่ในเขตสถานีรถไฟได้ ในบทความนี้ "ราว" (rail) หมายถึงเหล็กเส้นที่เมื่อนำมาประกอบกับหมอน (sleeper) จะได้เป็นรางรถไฟ (track).

ใหม่!!: เครือข่ายไฟฟ้าและวงจรไฟตอน · ดูเพิ่มเติม »

สะพานไฟ

นไฟในขนาดต่างๆ คัตเอาท์ (cut-out) หรือ ตัวตัดวงจร, เซอร์กิตเบรกเกอร์ (circuit breaker) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ตัดตอนแหล่งจ่ายไฟออกจากวงจรไฟฟ้าลูก เช่น ตัดวงจรไฟฟ้าภายในบ้านออกจากแหล่งจากไฟภายนอกเป็นต้น นอกจากทำหน้าที่เป็นสวิตซ์ไฟฟ้าเมื่อผู้ใช้สั่งการแล้ว ยังทำหน้าที่ตัดการจ่ายไฟโดยอัตโนมัติได้เมื่อมีเหตุ ไฟฟ้าลัดวงจร ไฟดูด ไฟรั่ว ไฟตก ไฟเกิน ได้แล้วแต่ความสามารถของสะพานไฟที่ใช้.

ใหม่!!: เครือข่ายไฟฟ้าและสะพานไฟ · ดูเพิ่มเติม »

สายอากาศ

อากาศ (Antenna) เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือในทางกลับกัน ปกติสายอากาศจะถูกใช้กับเครื่องส่งและเครื่องรับวิท.

ใหม่!!: เครือข่ายไฟฟ้าและสายอากาศ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เอฟไอดี

อาร์เอฟไอดีแบบที่เห็นได้ในปัจจุบัน ติดตั้งในรถสำหรับจ่ายค่าผ่านทาง วงจรอาร์เอฟไอดีชนิด อีพีซีที่ใช้ในวอล-มาร์ต อาร์เอฟไอดี (RFID ย่อมาจากคำเต็มว่า Radio-frequency identification) เป็นวิธีการในการเก็บข้อมูลหรือระบุข้อมูลแบบอัตโนมัติ โดยทำงานผ่านการรับสัญญาณจากแท็กเข้าสู่ตัวส่งสัญญาณ ผ่านทางคลื่นวิทยุ แท็กของอาร์เอฟไอดีโดยปกติจะมีขนาดเล็กซึ่งสามารถติดตั้งเข้ากับผลิตภัณฑ์สินค้า สัตว์ บุคคลได้ ซึ่งเมื่อตัวส่งสัญญาณส่งคลื่นวิทยุไป และพบเจอแท็กนี้ สัญญาณจะถูกส่งกลับพร้อมกับข้อมูลที่เก็บไว้ในแท็ก โดยตัวส่งสัญญาณนี้เองยังสามารถบันทึกข้อมูลลงในแท็กได้ แท็กอาร์เอฟไอดีจะประกอบไปด้วยสองส่วนหลักคือ ส่วนวงจรไฟฟ้าที่เก็บข้อมูลและคำนวณการของข้อมูล และอีกส่วนคือบ้ามิน มอยยส่วนเสาอากาศหรือตัวรับส่งสัญญาณ RFID tag มีการทำงานบางส่วนที่สามารถทำงานได้ในขณะที่ไม่มีแบตเตอรี่ และมีแบตเตอรี่ นั้นคือการอ่านและเขียนบน EEPROM ผ่านทาง Low frequency radio.

ใหม่!!: เครือข่ายไฟฟ้าและอาร์เอฟไอดี · ดูเพิ่มเติม »

อาซิโม

อาซิโม (ASIMO) คือหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ หรือหุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ของบริษัทฮอนด้า ประเทศญี่ปุ่น สร้างเสร็จเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2543 พัฒนาโดยทีมวิศวกรเยอรมนี โดยพัฒนาจากหุ่นยนต์ทดลองและหุ่นยนต์ต้นแบบจนทำให้มีขนาดเล็กและน้ำหนักเบา เทคโนโลยี i-WALK ช่วยให้อาซิโมสามารถเดินและวิ่งได้อย่างอิสรเสรี ขึ้นบันไดและเต้นรำได้ มีระบบบันทึกเสียงเพื่อตอบสนองคำสั่งของมนุษย์ สามารถจดจำใบหน้าคู่สนทนาได้อย่างแม่นยำ ซึ่งคุณสมบัติดังกล่าวถูกสร้างขึ้นเพื่อให้อาซิโมมีขีดความสามารถรอบด้าน และรองรับความต้องการของมนุษย์ในอนาคต บริษัทฮอนด้าได้ให้คำนิยามของชื่อ ASIMO ว่าย่อมาจาก Advanced Step in Innovative Mobility หมายถึง นวัตกรรมแห่งการเคลื่อนที่อันล้ำสมัย ซึ่งไม่ได้เกี่ยวข้องกับชื่อสกุลของไอแซค อสิมอฟ (アジモフ) นักวิทยาศาสตร์ด้านหุ่นยนต์ชื่อดังแต่อย่างใด แม้ว่าชื่อในภาษาญี่ปุ่นของอาซิโมและอสิมอฟจะสะกดใกล้เคียงกันมาก นอกจากนี้ยังไปพ้องเสียงกับคำว่า อะชิโมะ ที่แปลว่า "มีขาด้วย" อาซิโมได้รับการออกแบบให้สามารถใช้งานได้อย่างง่ายดาย ไม่ว่าจะเป็นการควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะหรือการควบคุมระยะไกล ทีมวิศวกรเริ่มต้นคิดค้น พัฒนาศึกษาวิจัยหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 โดยเริ่มจากการสร้างหุ่นยนต์ต้นแบบ พีทู (P2) ในปี พ.ศ. 2539 และต่อด้วยหุ่นยนต์ต้นแบบ พีทรี (P3) ในปี พ.ศ. 2540 จนกระทั่งมาถึงหุ่นยนต์อาซิโมในปี พ.ศ. 2543 ปัจจุบันฮอนด้าได้เปิดโอกาสให้เช่าอาซิโมเพื่อใช้งานในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: เครือข่ายไฟฟ้าและอาซิโม · ดูเพิ่มเติม »

อิมพีแดนซ์

อิมพีแดนซ์ (impedance) เป็นการวัดความต้านทานที่วงจรไฟฟ้ามีการต่อต้านต่อกระแสเมื่อมีการจ่ายแรงดัน ในความหมายด้านปริมาณ มันเป็นอัตราส่วนที่ซับซ้อนของแรงดันไฟฟ้าต่อกระแสในวงจรกระแสสลับ (AC) อิมพีแดนซ์ขยายแนวคิดของความต้านทานไปยังวงจร AC และครอบครองทั้งขนาดและเฟส ซึ่งแตกต่างจากความต้านทานกระแสตรง (DC) ซึ่งมีเพียงขนาดเท่านั้น เมื่อวงจรถูกขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้ากระแสตรง (DC) มันจะไม่มีความแตกต่างระหว่างอิมพีแดนซ์และความต้านทาน; ความต้านทานจะเป็นอิมพีแดนซ์ที่มีมุมเฟส (phase angle) เป็นศูนย์ มันเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องนำเสนอแนวคิดของอิมพีแดนซ์ในวงจร AC เพราะว่ามีสองกลไกต้านทานเพิ่มเติมที่จะต้องนำมาพิจารณานอกเหนือไปจากความต้านทานปกติของวงจรดีซี: นั่นคือ 1.

ใหม่!!: เครือข่ายไฟฟ้าและอิมพีแดนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

อิเล็กโทรด

อิเล็กโทรด/ลวดเชื่อมต่าง ๆ ที่ใช้ในการเชื่อมอาร์ค อิเล็กโทรด หรือ ขั้วเชื่อม หรือ ลวดเชื่อม หรือ ขั้วไฟฟ้า (Electrode) เป็นตัวนำไฟฟ้าเพื่อใช้แนบกับส่วนที่ไม่ใช่โลหะของวงจรไฟฟ้า (เช่น สารกึ่งตัวนำ อิเล็กโทรไลต์ สุญญากาศ หรืออากาศ) อิเล็กโทรดเป็นคำที่บัญญัติขึ้นโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ วิลเลียม ฮิวเอ็ลล์ ตามคำของไมเคิล ฟาราเดย์ ซึ่งมาจากคำภาษากรีกว่า elektron ซึ่งจริง ๆ แปลว่า อำพัน แต่นำมาอนุพัทธ์ใช้หมายถึงไฟฟ้า บวกกับคำว่า hodos ซึ่งแปลว่าทาง.

ใหม่!!: เครือข่ายไฟฟ้าและอิเล็กโทรด · ดูเพิ่มเติม »

ขั้นตอนวิธี

ั้นตอนวิธี หรือ อัลกอริทึม (algorithm) หมายถึงกระบวนการแก้ปัญหาที่สามารถเข้าใจได้ มีลำดับหรือวิธีการในการแก้ไขปัญหาใดปัญหาหนึ่งอย่างเป็นขั้นเป็นตอนและชัดเจน เมื่อนำเข้าอะไร แล้วจะต้องได้ผลลัพธ์เช่นไร ซึ่งแตกต่างจากการแก้ปัญหาแบบสามัญสำนึก หรือฮิวริสติก (heuristic) โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทำแบบวนซ้ำ (iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการเปรียบเทียบ (comparison) ในขั้นตอนต่างๆ จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทำงาน ในการทำงานอย่างเดียวกัน เราอาจจะเลือกขั้นตอนวิธีที่ต่างกันเพื่อแก้ปัญหาได้ โดยที่ผลลัพธ์ที่ได้ในขั้นสุดท้ายจะออกมาเหมือนกันหรือไม่ก็ได้ และจะมีความแตกต่าง ที่จำนวนและชุดคำสั่งที่ใช้ต่างกันซึ่งส่งผลให้ เวลา (time), และขนาดหน่วยความจำ (space) ที่ต้องการต่างกัน หรือเรียกได้อีกอย่างว่ามีความซับซ้อน (complexity) ต่างกัน การนำขั้นตอนวิธีไปใช้ ไม่จำกัดเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้กับปัญหาอื่น ๆ ได้เช่น การออกแบบวงจรไฟฟ้า, การทำงานเครื่องจักรกล, หรือแม้กระทั่งปัญหาในธรรมชาติ เช่น วิธีของสมองมนุษย์ในการคิดเลข หรือวิธีการขนอาหารของแมลง หนึ่งในขั้นตอนวิธีอย่างง่าย คือ ขั้นตอนวิธีที่ใช้หาจำนวนที่มีค่ามากที่สุดในรายการ (ซึ่งไม่ได้เรียงลำดับไว้) ในการแก้ปัญหานี้ เราจะต้องดูจำนวนทุกจำนวนในรายการ ซึ่งมีขั้นตอนวิธีดังนี้.

ใหม่!!: เครือข่ายไฟฟ้าและขั้นตอนวิธี · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล ฟรีดริช เกาส์

ันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ (1777-1855) โยฮันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ (Johann Carl Friedrich Gauß) นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2302 (ค.ศ. 1777) เสียชีวิต 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2398 (ค.ศ. 1855) เป็นหนึ่งในตำนานนักคณิตศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ (นักคณิตศาสตร์บางท่านกล่าวว่าสี่ผู้ยิ่งใหญ่ของวงการคณิตศาสตร์มี อาร์คิมิดีส นิวตัน เกาส์ และออยเลอร์) ได้รับฉายาว่า "เจ้าชายแห่งคณิตศาสตร์" (Prince of Mathematics) เนื่องจากอุทิศผลงานในทุก ๆ ด้านของคณิตศาสตร์ในยุคสมัยของเขา นอกจากนี้เกาส์ยังมีผลงานสำคัญทางด้านฟิสิกส์ โดยเฉพาะด้านดาราศาสตร์อีกด้ว.

ใหม่!!: เครือข่ายไฟฟ้าและคาร์ล ฟรีดริช เกาส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอันดอร์รา

อันดอร์รา (Andorra) หรือ ราชรัฐอันดอร์รา (Principat d'Andorra) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีพื้นที่ขนาดเล็ก อยู่ในทางตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป อยู่ในเทือกเขาพิเรนีสทางตะวันออก มีอาณาเขตติดกับประเทศฝรั่งเศสและสเปน เดิมเคยเป็นประเทศอยู่โดดเดี่ยว ปัจจุบันอันดอร์รานับเป็นประเทศที่มั่งคั่งประเทศหนึ่ง โดยมีรายได้หลักจากการท่องเที่ยว และยังเป็นประเทศที่มีการเก็บภาษีที่ต่ำมากด้ว.

ใหม่!!: เครือข่ายไฟฟ้าและประเทศอันดอร์รา · ดูเพิ่มเติม »

แม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพ

แม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพ (bioelectromagnetism) หรือ ไฟฟ้าชีวภาพ (bioelectricity) หมายถึงพลังงานไฟฟ้า พลังงานแม่เหล็ก หรือสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากเซลล์ เนื้อเยื่อ หรือสิ่งมีชีวิตต่างๆ ตัวอย่างนี้รวมไปถึง ศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์ (membrane potential) และกระแสไฟฟ้าที่ไหลอยู่ในเส้นประสาทและกล้ามเนื้อ ซึ่งก่อให้เกิดศักยะงาน (action potential) คำนี้ไม่ควรสับสนกับ bioelectromagnetics ซึ่งเป็นการศึกษาผลกระทบของสิ่งมีชีวิตจากพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าภายนอก.

ใหม่!!: เครือข่ายไฟฟ้าและแม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพ · ดูเพิ่มเติม »

แคลคูลัส

แคลคูลัส เป็นสาขาหลักของคณิตศาสตร์ และสังคมศาสตร์ แคลคูลัสมีต้นกำเนิดจากสองแนวคิดหลัก ดังนี้ แนวคิดแรกคือ แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ (Differential Calculus) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยอัตราการเปลี่ยนแปลง และเกี่ยวข้องกับการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างเช่น การหา ความเร็ว, ความเร่ง หรือความชันของเส้นโค้ง บนจุดที่กำหนดให้.

ใหม่!!: เครือข่ายไฟฟ้าและแคลคูลัส · ดูเพิ่มเติม »

ไฟฟ้า

ฟฟ้า (ήλεκτρον; electricity) เป็นชุดของปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ มีที่มาจากภาษากรีกซึ่งในสมัยนั้นหมายถึงผลจากสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเนื่องจากการปรากฏตัวและการไหลของประจุไฟฟ้า เช่นฟ้าผ่า, ไฟฟ้าสถิต, การเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า นอกจากนี้ ไฟฟ้ายังทำให้เกิดการผลิตและการรับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่นคลื่นวิทยุ พูดถึงไฟฟ้า ประจุจะผลิตสนามแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งจะกระทำกับประจุอื่น ๆ ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้เนื่องจากหลายชนิดของฟิสิกซ์ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: เครือข่ายไฟฟ้าและไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

วงจรไฟฟ้า

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »