โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เกาะบอร์เนียว

ดัชนี เกาะบอร์เนียว

อร์เนียว (Borneo) หรือ กาลีมันตัน (Kalimantan) เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากเกาะกรีนแลนด์ (อันดับ 1) และเกาะนิวกินี (อันดับ 2) มีประเทศ 3 ประเทศอยู่ในเกาะบอร์เนียว คือ มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย อยู่บริเวณใจกลางกลุ่มเกาะมลายูและประเทศอินโดนีเซีย ในทางภูมิศาสตร์ เกาะบอร์เนียวเป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

308 ความสัมพันธ์: บอร์เนียวเหนือชะมดแปลงลายแถบชะนีมือดำบาลิกปาปันชาวบาหลีบิรูเต กัลดิกาส์ช่องแคบมากัสซาร์ช้างบอร์เนียวช้างเอเชียพ.ศ. 2485พญากระรอกบินหูแดงพญากระรอกเหลืองพญาสัตบรรณพรรคมาชูมีพรรคขบวนการอินโดนีเซียยิ่งใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์กาลีมันตันเหนือพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียพฤกษาพักตร์กระรอกหน้ากระแตกระจงควายกระท้อนกระดูกไก่กระซู่กระแตหางขนนกกระแตเล็กกรณีพิพาทเกาะซีปาดันและลีฆีตันกลุ่มชาติพันธุ์ในอินโดนีเซียกลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์กล้วยไม้ดินการรถไฟรัฐซาบะฮ์การทัพบอร์เนียว พ.ศ. 2488การขนส่งระบบรางในประเทศอินโดนีเซียการขนส่งในประเทศอินโดนีเซียการค้าเครื่องเทศการปะทุของภูเขาไฟตัมโบรา พ.ศ. 2358กาฮารีงันกิ่งแก้ว บัวตูมกูชิงญะมาอะห์ อิสลามียะห์ภาษาชาบากาโนภาษาบากุมไปภาษาบาซับภาษาบาเฮาภาษาบูกิสภาษามลายูภาษาลาวางันภาษาลุนบาวังภาษาอัมปานังภาษาอีบันภาษางายู...ภาษาตุนยุงภาษาโกฮินภาษาเอมบาโละห์ภาษาเตาซุกมะพลับพรุมะไฟควายมันคันขาวมารังมาเลเซียตะวันออกมิถุนายน พ.ศ. 2548มีรีม้าน้ำแคระซะโตะมิยอดเขากีนาบาลูย่ามควายรัฐบาลปฏิวัติแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซียรัฐซาบะฮ์รัฐซาราวักรายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงรายชื่อชนิดของหม้อข้าวหม้อแกงลิงรายชื่อสปีชีส์ในสกุลทุเรียนรายชื่อหลุมอุกกาบาตบน 253 มาทิลเดรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศมาเลเซียรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดรายาผิวขาวฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554ลาบวนลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)ลิงกา (มาเลเซีย)ลิงจมูกยาวลิงแสมวัวแดงวงศ์ยางนาวงศ์ย่อยปลาผีเสื้อติดหินวงศ์ปลากระทิงวงศ์ปลากะแมะวงศ์ปลาสวายวงศ์เขียดงูวงศ์เต่านาสกุลมหาพรหมสกุลมะม่วงสกุลมะเม่าสกุลยอสกุลหวายกุ้งน้ำพรายสกุลแมวลายหินอ่อนสกุลเสือลายเมฆสกุลเสือไฟสาธารณรัฐหลานฟางสิงโตดอกไม้ไฟส้มม่วงคันหมาไม้หมู่เกาะซุนดาหมีหมาหมีขอหมีเหม็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงหม้อแกงลิงหวายช้างหวายพนขนหนอนหวายกุ้งน้ำพรายหวายขี้ผึ้งหวายขี้เป็ดหวายดำหวายตะค้าน้ำหวายไม้เท้าหนูเหม็นอัมบูยัตอาหารมาเลเซียอาณาจักรมัชปาหิตอำพันอุรังอุตังอุรังอุตังบอร์เนียวอุรังอุตังสุมาตราอุทยานแห่งชาติกีนาบาลูอุทยานแห่งชาติซาบาเงาอีเห็นลายเสือโคร่งอีเห็นหน้าขาวอีเห็นข้างลายอีเห็นน้ำมลายูอีเห็นเครืออ้วงเซ็งจี้จระเข้น้ำจืดจักรวรรดิบรูไนจังหวัดบันเตินจังหวัดกาลีมันตันตะวันออกจังหวัดปาลาวันทวีปเอเชียทะเลชวาทะเลเซเลบีสทาร์เซียร์ทางหลวงสายแพน-บอร์เนียวทิ้งทองหูทุเรียนท่าอากาศยานนานาชาติโกตากีนาบาลูขมิ้นเครือข้อพิพาทดินแดนในทะเลจีนใต้ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดนคาบสมุทรมลายูคางคกห้วยค่างดำมลายูค่างแว่นโฮสค่างเทาค้างคาวยอดกล้วยป่างูก้นขบงูหลามปากเป็ดงูอนาคอนดายักษ์งูเหลือมตะโขงตูอักตีนตั่งซัมบัลซันดากันซามารินดาซิงกาวังซุนดาแลนด์ซีบูซีเลาซีเลาประเทศบรูไนประเทศฟิลิปปินส์ประเทศอินโดนีเซียปลาช่อนจุดอินโดปลาช่อนเข็ม (สกุล)ปลาบ้า (สกุล)ปลากระจังปลากระดี่ช็อกโกแลตปลากระดี่ช็อกโกแลต (สกุล)ปลากระเบนบัวปลากระเบนราหูน้ำจืดปลากระเบนลายเสือปลากะทิปลากดดำปลาก้างพระร่วงปลายอดม่วงลายปลาสลาดปลาสะกางปลาสะตือปลาหมูอินโดปลาหนวดพราหมณ์หนวดเจ็ดเส้นปลาอิแกลาเอ๊ะปลาอุกปลาอ้ายอ้าวปลาดังปลาดุกลำพันปลาดุกด้านปลาตองปลาตะเพียนลายปลาตะเพียนหยดน้ำปลาตะเพียนขาวปลาตามินปลาฉลามแม่น้ำฟันหอกปลาซิวหางกรรไกรปลาซิวทองปลาซิวข้างขวานปลาซิวข้างขวานโกลว์ไลต์ปลาซิวคาโลโครม่าปลาปักเป้าเขียวปลานกแก้วหัวโหนกปลาแรดปลาแขยงทองปลาแค้วัวปลาแปบขาวหางดำปลาแนนดัสปลาเบี้ยวปลาเกล็ดถี่ปลาเกล็ดถี่ (สกุล)ปลาเสือสุมาตราปลาเสือหกขีดปลิงแดงยักษ์กีนาบาลูปาเปดาปืนใหญ่จอมสลัดปูมะพร้าวปนตียานักป่าเมฆนกชนหินนกกระจอกบ้านนกกระเต็นน้อยธรรมดานกสาลิกาเขียวนกหกเล็กปากดำนกหว้านกอีวาบตั๊กแตนนกขุนทองนกคุ่มสีนกแว่นสีน้ำตาลนกแซงแซวหางบ่วงใหญ่นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้านกเค้าป่าหลังจุดนากจมูกขนนากเล็กเล็บสั้นแบดเจอร์แมวดาวแมวป่าหัวแบนแมวแดงบอร์เนียวแม่น้ำปันดารวนแรดชวาโกตากีนาบาลูไก่ฟ้าหน้าเขียวไก่จุกไส้เดือนยักษ์กีนาบาลูไทยเชื้อสายจามเพ็กฮวยเกี่ยมเกาะสุมาตราเก้งธรรมดาเม่นใหญ่แผงคอยาวเลอมังเสือเสือลายเมฆเสือลายเมฆบอร์เนียวเสี้ยนเส้นขนานที่ 5 องศาเหนือเส้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 112 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 113 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันออกเหยี่ยวดำท้องขาวเหย่เหรินเหตุปะทะในลาฮัดดาตู พ.ศ. 2556เห่าช้างเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เอเชียเน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 2เจมส์ บรูกเขนงนายพรานเดาน์อูบีตุมบุกเคี่ยมเต่าน้ำบอร์เนียวISO 3166-2:IDNepenthes albomarginataNepenthes attenboroughiiNepenthes × cantleyiNepenthes × ferrugineomarginataNepenthes × hookerianaNepenthes × kuchingensisNepenthes × sarawakiensisNepenthes × sharifah-hapsahiiNepenthes × trichocarpaNepenthes × trusmadiensisNepenthes bicalcarataNepenthes burbidgeaeNepenthes campanulataNepenthes chanianaNepenthes faizalianaNepenthes fallaxNepenthes fuscaNepenthes glabrataNepenthes hamataNepenthes hurrellianaNepenthes miraNepenthes northianaNepenthes philippinensisNepenthes rafflesianaNepenthes rajahNepenthes stenophyllaNepenthes tentaculataNepenthes veitchiiNepenthes villosaNepenthes vogeliiSolen regularis16 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (258 มากกว่า) »

บอร์เนียวเหนือ

อร์เนียวเหนือ เป็นรัฐในอารักขาในการดูแลของบริษัทบอร์เนียวเหนือของอังกฤษ (British North Borneo Company) ระหว่างปีค.ศ. 1882 - 1946 หลังจากนั้นจึงได้เปลี่ยนสถานะเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรโดยใช้ชื่อว่าบอร์เนียวเหนือของอังกฤษจนถึงปี..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและบอร์เนียวเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ชะมดแปลงลายแถบ

มดแปลงลายแถบ หรือ อีเห็นลายเมฆ เป็นชะมดแปลงชนิดหนึ่งที่มีการกระจายพันธุ์ในแถบมาเลเซียตะวันตก, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียว และชวาตะวันตก รวมทั้งในประเทศไทยตั้งแต่บริเวณคอคอดกระลงไป ชะมดแปลงลายแถบ จัดเป็นชะมดที่ไม่มีต่อมกลิ่น มีลายเป็นแถบคดเคี้ยวขวางบริเวณหลังทั้งหมด 5 แถบ และตามด้านข้างของคอและลำตัว จุดจะติดกัน กลายเป็นแถบคดเคี้ยวมีอยู่ด้านละ 2 แถบ สีพื้นของตัวเป็นสีน้ำตาลแกมเหลืองซีด ๆ หางมีปล้องสีขาวสลับดำอยู่ 7 ปล้อง ไม่มีขนแผงคอหรือแผงหลัง มีขนาดตัวยาวจากหัวถึงหาง 74 เซนติเมตร อาศัยและหากินบนต้นไม้มากกว่าจะลงมาพื้นดิน กินอาหาร ได้แก่ กระรอก, หนู, นก และจิ้งจก มีฤดูผสมพันธุ์อยู่ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-สิงหาคม สร้างรังออกด้วยเรียวไม้และใบไม้อยู่ในโพรงดินโคนต้นไม้ใหญ่ ออกลูกครั้งละ 2–3 ตัว มีอายุยืนเกือบ 10 ปี เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและชะมดแปลงลายแถบ · ดูเพิ่มเติม »

ชะนีมือดำ

นีมือดำ (Agile gibbon, Black-handed gibbon) เป็นชะนีชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hylobates agilis จัดเป็นหนึ่งในสี่ชนิดของชะนีที่สามารถพบได้ในประเทศไทย ชะนีมือดำดั้งเดิมเคยถูกจัดให้เป็นชนิดย่อยของชะนีมือขาวหรือชะนีธรรมดา (H. lar) เช่นเดียวกับชะนีมงกุฎ (H. pileatus) แต่เมื่อมีการศึกษาเพิ่มเติมพบว่ามีบางอย่างที่แตกต่างออกไป เช่น เสียงร้องที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะกว่าและการแพร่กระจายพันธุ์ จึงจัดให้เป็นชนิดใหม่ ชะนีมือดำมีลักษณะทั่วไปคล้ายกับชะนีมือขาว โดยสีของลำตัวจะมีทั้งสีเทา, ดำ และสีน้ำตาลแก่ ซึ่งความแตกต่างของสีนี้จะไม่เกี่ยวกับเพศหรือวัยเช่นเดียวกับในชะนีมือขาว โดยที่ตัวใดเกิดเป็นสีใดก็จะเป็นสีนั้นไปตลอด ชะนีมือดำจะแตกต่างจากชะนีมือขาวตรงที่ขนที่มือและเท้าเป็นสีดำ อันเป็นที่มาของชื่อ บริเวณกระหม่อมแบนกว่า และมีขนข้างส่วนหัวยาวกว่า ทำให้เวลาดูทางด้านหน้าส่วนหัวจะเป็นรูปสามเหลี่ยม ในขณะที่ส่วนหัวของชะนีมือขาวจะดูเป็นรูปกลม มีการแพร่กระจายพันธุ์ในประเทศไทย เฉพาะในป่าดิบภาคใต้ตอนล่างที่ติดกับมาเลเซียเท่านั้น จากนั้นจะพบได้ตลอดทั้งแหลมมลายู จนถึงเกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว ขณะที่นิเวศวิทยาและพฤติกรรมก็คล้ายคลึงกับชะนีชนิดอื่น ๆ สถานะการอนุรักษ์ในอนุสัญญาไซเตสจัดให้อยู่ในบัญชีหมายเลข 1 (Appendix I) คือ ห้ามค้าขายหรือมีไว้ครอบครองเด็ดขาด เว้นแต่จะเป็นไปเพื่อการศึกษาหรือวิจัยขยายพัน.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและชะนีมือดำ · ดูเพิ่มเติม »

บาลิกปาปัน

ลิกปาปัน (Balikpapan) เป็นเมืองท่าบนชายฝั่งตะวันออกของเกาะบอร์เนียวในจังหวัดกาลีมันตันตะวันออก เมืองนี้มีประชากรทั้งหมด 639,031 คน.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและบาลิกปาปัน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวบาหลี

หลี (บาหลี: Anak Bali, Wong Bali, Krama Bali; Suku Bali) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์พื้นเมืองที่อาศัยอยู่บนเกาะบาหลีในประเทศอินโดนีเซีย มีประชากรราว 4,200,000 คนหรือเป็นคิดเป็นร้อยละ 1.7 ของประชากรในอินโดนีเซีย ส่วนใหญ่อาศัยอยู่บนเกาะบาหลีร้อยละ 89 ทั้งยังมีชาวบาหลีอาศัยอยู่บนเกาะลอมบอกจำนวนมากอย่างมีนัยสำคัญ และพบทางตะวันออกสุดของเกาะชว.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและชาวบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

บิรูเต กัลดิกาส์

ปกหนังสือ Reflections of Eden, My Years with the Orangutans of Borneo บิรูเต กัลดิกาส์ (Biruté Marija Filomena Galdikas;10 พฤษภาคม ค.ศ. 1946 -) นักวานรวิทยา นักอนุรักษ์ นักศึกษาพฤติกรรมสัตว์ มีชื่อเสียงจากผลงานวิจัยพฤติกรรมของอุรังอุตังในป่าทึบของบอร์เนียว กัลดิกาส์ เกิดที่เยอรมันในครอบครัวชาวลิทัวเนีย และเติบโตที่แคนาดา จบการศึกษาด้านชีววิทยาและสัตววิทยาจากมหาวิทยาลัยบริทิชโคลัมเบียในปี..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและบิรูเต กัลดิกาส์ · ดูเพิ่มเติม »

ช่องแคบมากัสซาร์

ช่องแคบมากัสซาร์ (Makassar Strait) ตั้งอยู่ระหว่างเกาะบอร์เนียวกับเกาะซูลาเวซีในประเทศอินโดนีเซีย ทิศเหนือติดกับทะเลเซเลบีส ทิศใต้ติดกับทะเลชวา หมวดหมู่:ช่องแคบในประเทศอินโดนีเซีย หมวดหมู่:ช่องแคบในมหาสมุทรแปซิฟิก หมวดหมู่:ช่องแคบในทวีปเอเชีย.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและช่องแคบมากัสซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ช้างบอร์เนียว

้างบอร์เนียว หรือ ช้างแคระบอร์เนียว (Borneo elephant) เป็นชนิดย่อยของช้างเอเชียชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Elephas maximus borneensis พบได้เฉพาะบนเกาะบอร์เนียวเท่านั้น ถูกเรียกว่าเป็น "ช้างแคระ" เพราะมีขนาดลำตัวที่เมื่อโตเต็มที่แล้วมีขนาดเล็กกว่าช้างเอเชียชนิดอื่น ๆ อย่างมาก โดยมีความสูงประมาณ 8 ฟุต เท่านั้นเอง ตัวผู้มีงาสั้น ๆ หรือไม่มีเลย ขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่าตัวผู้ มีใบหูใหญ่ มีลำตัวอ้วนกลมกว่า และมีนิสัยไม่ดุร้าย มีลักษณะความแตกต่างทางพันธุกรรมจากช้างเอเชียชนิดอื่น ๆ พอสมควร สุลต่านแห่งซูลูได้นำเอาช้างที่ถูกจับเข้ามาบนเกาะบอร์เนียวในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ก่อนจะถูกปล่อยเข้าป่าไปCranbrook, E., Payne, J., Leh, C.M.U. (2008).

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและช้างบอร์เนียว · ดูเพิ่มเติม »

ช้างเอเชีย

้างเอเชีย (Asian elephant) จัดอยู่ในประเภทสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Elephas maximus ในวงศ์ Elephantidae มีขนาดเล็กกว่าช้างแอฟริกา รวมทั้งมีใบหูขนาดเล็กกว่า มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 60 ปี ซึ่งถือได้ว่ามีอายุยืนกว่าช้างแอฟริก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและช้างเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและพ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

พญากระรอกบินหูแดง

ญากระรอกบินหูแดง (Red giant flying squirrel) เป็นกระรอกบินขนาดใหญ่ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Petaurista petaurista มีรูปร่างและลักษณะคล้ายพญากระรอกบินหูดำ (P. elegans) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แตกต่างจากตรงที่มีปลายหางสีดำ ขนสีน้ำตาลแดงไม่มีลาย หัวและหางมีลายจาง ๆ มีขนสีน้ำตาลแดงจางและมีลายจุดสีขาวหนาแน่น โดยเฉพาะบริเวณหัว ขอบหูด้านหน้าเป็นสีขาวและมีรอยแต้มสีขาวบริเวณไหล่ หางสีน้ำตาลอ่อนหรือสีเทา ปลายหางสีดำ มีคอหอยสีขาว มีความยาวลำตัวและหัวประมาณ 52 เซนติเมตร ความยาวหาง 63 เซนติเมตร หากินในเวลากลางคืนเช่นเดียวกับกระรอกบินชนิดอื่น ๆ พบกระจายพันธุ์ในป่าดิบชื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์ ตั้งแต่อัฟกานิสถาน, ตอนเหนือของอินเดีย เช่น รัฐชัมมูและกัศมีร์ ไปตลอดจนแนวเทือกเขาหิมาลัยจนถึงเอเชียตะวันออก เช่น เกาะไต้หวัน ในประเทศไทยจะพบได้ในภาคใต้ตั้งแต่คอคอดกระลงไปจนถึงแหลมมลายู, สิงคโปร์ จนถึงเกาะบอร์เนียวและชวา นอกจากนี้แล้วยังพบได้ที่ศรีลังกาอีกด้วย กินอาหารจำพวกพืชและผลไม้ตลอดจนแมลง พญากระรอกบินหูแดงสามารถร่อนได้ไกลถึง 75 เมตร (250 ฟุต).

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและพญากระรอกบินหูแดง · ดูเพิ่มเติม »

พญากระรอกเหลือง

ญากระรอกเหลือง (Cream-coloured giant squirrel) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง เป็นกระรอกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดรองมาจากพญากระรอกดำ (R. bicolor) ที่พบในประเทศไทย มีรูปร่างหน้าตาคล้ายพญากระรอกดำ แต่มีขนสีเหลืองครีมอ่อน ๆ ท้องสีขาว ขนหางสีเข้มกว่าลำตัว แก้มทั้งสองข้างมีสีเทาอ่อน หูและเท้าทั้ง 4 ข้าง มีสีดำ และมีขนาดเล็กกว่า โดยโตเต็มที่มีความยาวประมาณ 31-36 เซนติเมตร หางยาว 37.5-41.5 เซนติเมตร น้ำหนักเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 0.5-1.4 กิโลกรัม มีทั้งหมด 9 ชนิดย่อย พบได้ในป่าดิบในภาคใต้ของไทยตั้งแต่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ลงไป จนถึงมาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียว อาศัยและหากินบนยอดไม้สูง ไม่ค่อยลงพื้นดิน มีพฤติกรรมความเป็นอยู่และนิเวศวิทยาคล้ายพญากระรอกดำ.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและพญากระรอกเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

พญาสัตบรรณ

ญาสัตบรรณ หรือ สัตบรรณ หรือ ตีนเป็ด เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่มีความสูงประมาณ 12-20 เมตร อยู่ในวงศ์ Apocynaceae มีถิ่นดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และพบได้ทุกภาคในประเทศไทย ประไพรัตน์ สีพลไกร.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและพญาสัตบรรณ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคมาชูมี

ซูการืโนในการประชุมพรรคมาชูมี พ.ศ. 2497 พรรคมาชูมี (Masyumi Party) หรือ สภาแห่งสมาคมมุสลิมแห่งอินโดนีเซีย (Partai Majelis Syuro Muslimin Indonesia) เป็นพรรคการเมืองนิยมอิสลามพรรคหลักในอินโดนีเซีย พรรคนี้ถูกคว่ำบาตรเมื่อ..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและพรรคมาชูมี · ดูเพิ่มเติม »

พรรคขบวนการอินโดนีเซียยิ่งใหญ่

รรคขบวนการอินโดนีเซียยิ่งใหญ่ (Great Indonesia Movement Party; ภาษาอินโดนีเซีย: Partai Gerakan Indonesia Raya; Gerindra)เป็นพรรคการเมืองในอินโดนีเซีย หัวหน้าพรรคคือ ปราโบโว ซูเบียนโต อดีตนายทหารของอินโดนีเซีย ปราโบโวได้ลาออกจากพรรคโกลการ์ในเดือนกรกฎาคม..2551 และได้จัดทีมงานเพื่อลงเลือกตั้งใน..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและพรรคขบวนการอินโดนีเซียยิ่งใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์กาลีมันตันเหนือ

รรคคอมมิวนิสต์กาลีมันตันเหนือ (North Kalimantan Communist Party) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในมาเลเซียโดยมีฐานที่มั่นในรัฐซาราวะก์ ก่อตั้งเมื่อ 19 กันยายน..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและพรรคคอมมิวนิสต์กาลีมันตันเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย

รรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย (Communist Party of Indonesia; ภาษาอินโดนีเซีย: Partai Komunis Indonesia, PKI) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ที่ไม่ได้มีอำนาจปกครองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก พรรคนี้ถูกปราบปรามอย่างหนักใน..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พฤกษาพักตร์

ันทวยพฤกษพักตร์ในรูปของลายใบอาแคนธัสรองรับประติมากรรมนายอาชาแห่งแบมเบิร์กภายในมหาวิหารแบมเบิร์กที่แกะสลักเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 พฤกษาพักตร์ หรือ รุกขามนุษย์ (Green Man) คือประติมากรรม, จิตรกรรม หรือรูปสัญลักษณ์อื่นๆ ของใบหน้าที่ล้อมรอบไปด้วยใบไม้ กิ่งไม้ หรือเถาไม้เลื้อย ที่งอกออกมาจากจมูก ปาก หรือส่วนอื่นๆ ของใบหน้า ไม้ที่งอกออกมาอาจจะมีดอกมีผลด้วยก็ได้ การตกแต่งด้วยพฤกษพักตร์มักจะใช้สำหรับเป็นสิ่งตกแต่งของสถาปัตยกรรม พฤกษาพักตร์มักจะพบในรูปของประติมากรรมทั้งภายนอกและภายในคริสต์ศาสนสถาน และสิ่งก่อสร้างอื่นๆ ของคฤหัสน์ นอกจากนั้น “The Green Man” ยังเป็นชื่อที่นิยมใช้กันสำหรับสิ่งก่อสร้างสารธาณะ และปรากฏในหลายรูปหลายลักษณะเช่นบนป้ายโรงแรมเล็กๆ ที่บางครั้งอาจจะเป็นรูปเต็มตัวที่ไม่แต่จะเป็นเพียงเป็นใบหน้าเท่านั้น ลักษณะพฤกษาพักตร์มีด้วยกันหลายแบบหลายลักษณะ และพบในวัฒนธรรมต่างๆ ทั่วโลก พฤกษาพักตร์มักจะเป็นเทพารักษ์ที่เกี่ยวกับพันธุ์ไม้ที่มีมาในวัฒนธรรมต่างๆ ตลอดมาในประวัติศาสตร์ โดยทั่วไปแล้วก็มักจะตีความหมายกันว่าพฤกษาพักตร์เป็นนัยยะของการเกิดใหม่ที่เป็นสัญลักษณ์ของวัฏจักรของการเจริญเติบโตเมื่อย่างเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิของแต่ละปีที่มาถึง บ้างก็สันนิษฐานว่าพฤกษาพักตร์เป็นตำนานที่พัฒนาขึ้นมาต่างหากจากความเชื่ออื่นๆ ในสมัยโบราณ และวิวัฒนาการต่อมาจนแตกแยกกันออกไปในวัฒนธรรมต่างๆ ที่เห็นได้จากตัวอย่างในของพฤกษาพักตร์ในสมัยต่างๆ ของประวัติศาสตร.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและพฤกษาพักตร์ · ดูเพิ่มเติม »

กระรอกหน้ากระแต

กระรอกหน้ากระแต (อังกฤษ: Shrew-faced squirrel, Shrew-faced ground squirrel) เป็นกระรอกชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhinosciurus laticaudatus จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Rhinosciurus กระรอกหน้ากระแต เป็นกระรอกที่มีลักษณะเด่นชัดแตกต่างไปจากกระรอกชนิดอื่น ๆ อย่างเห็นได้ชัด คือ ใบหน้าบริเวณจมูกจะแหลมยาวยื่นออกมาคล้ายสัตว์จำพวกกระแต ซึ่งเป็นสัตว์ในอันดับสัตว์กินแมลง มากกว่าจะเหมือนกระรอกที่เป็นสัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ จัดเป็นกระรอกดินชนิดหนึ่ง มักอาศัยตามลำพังและหากินตามพื้นดิน โดยใช้ลิ้นที่ยาวตวัดกินอาหารได้แก่ แมลงชนิดต่าง ๆ, ไส้เดือนดิน และผลไม้บางชนิด มีหางที่สั้นและเป็นพวงเหมือนขนแปรงขัดขวด ลำตัวสีน้ำตาลเข้ม ใต้ท้องสีขาว มีสีเหลืองแซมบริเวณขอบด้านข้างโดยรอบ ความยาวลำตัว 23 เซนติเมตร ความยาวหางประมาณ 17 เซนติเมตร อาศัยทำรังอยู่ตามโพรงไม้ ตกลูกปีละครั้งเดียว ครั้งละประมาณ 1-2 ตัว พบกระจายพันธุ์อยู่เฉพาะป่าดิบชื้นในคาบสมุทรมลายูเท่านั้น โดยเฉพาะในบริเวณที่ต่ำโดยเฉพาะในหุบเขาที่มีลำธารน้ำไหล โดยพบตั้งแต่ภาคใต้ของไทยแถบจังหวัดสุราษฎร์ธานีลงไป, มาเลเซีย, สิงคโปร์, บรูไน จนถึงเกาะบอร์เนียว กระรอกหน้ากระแตเป็นกระรอกที่มีข้อมูลทางวิชาการน้อยมาก ด้วยความที่เป็นกระรอกที่หาได้ยากมากที่สุดชนิดหนึ่ง ในประเทศไทย ถูกขึ้นชื่อเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 แต่ไม่พบการซื้อขายหรือเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงเหมือนกระรอกชนิดอื่นแต่อย่างใ.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและกระรอกหน้ากระแต · ดูเพิ่มเติม »

กระจงควาย

กระจงควาย หรือ กระจงใหญ่ (Greater mouse-deer, Napu) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tragulus napu อยู่ในวงศ์ Tragulidae มีขาเล็กเรียว ซึ่งมีนิ้วเท้าข้างละ 4 นิ้ว ทั้งตัวผู้และตัวเมียไม่มีเขา แต่ตัวผู้จะมีเขี้ยวบนยาวเลยริมฝีปากบนลงมา เมื่อโตเต็มวัยมีน้ำหนักตัวประมาณ 5 กิโลกรัม ขนบนตัวสีน้ำตาลออกเทา มีจุดสีเข้มกว่ากระจายอยู่ทั่วไป ที่ใต้คอและบนหน้าอกมีลายพาดตามยาวสีขาว 5 ลาย ด้านใต้ท้องสีขาว หางค่อนข้างสั้นสีน้ำตาลอ่อนด้านบนและสีขาวด้านล่าง ปกติชอบอยู่โดดเดี่ยว นอกจากในฤดูผสมพันธุ์จึงจะอยู่เป็นคู่ ออกหากินในเวลากลางคืน กินอาหารได้แก่ หญ้าอ่อน ๆ, ผลไม้, ยอดไม้ และใบไม้อ่อน ในเวลากลางวันจะหลบพักนอนตามหลืบหินและโพรงไม้ ออกลูกครั้งละ 1 ตัว แต่บางครั้งก็พบออกลูกแฝด ระยะตั้งท้องนานประมาณ 5-6 เดือน พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ตอนใต้ของประเทศพม่า, เทือกเขาตะนาวศรี ไปจนถึงแหลมมลายู, เกาะสุมาตรา และเกาะบอร์เนียว นอกจากนี้แล้วยังพบได้ที่ภาคตะวันออกของไทยไปจนถึงตอนใต้ของกัมพูชาและเวียดนาม จัดเป็นกระจงอีกชนิดหนึ่ง ที่สามารถพบได้ในประเทศไทยนอกจาก กระจงเล็ก (T. kanchil) ที่มีขนาดตัวเล็กกว่า โดยมักอาศัยอยู่ในป่าดิบชื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์ บางครั้งยังอาจพบได้ที่พื้นที่ชุ่มน้ำ เช่น ป่าพรุหรือป่าชายเลนได้อีกด้วย จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 2 ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและกระจงควาย · ดูเพิ่มเติม »

กระท้อน

กระท้อน เป็นไม้ผลเขตร้อนยืนต้นในวงศ์กระท้อน (Meliaceae) ที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลกระท้อนมีสีสะดุดตา เป็นต้นไม้ที่ทนแล้งได้ดี.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและกระท้อน · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกไก่

กระดูกไก่ เป็นพืชในวงศ์ Chloranthaceae ในมาเลเซียเรียกเกอรัส ตูลัง ในฟิลิปปินส์เรียกบาเรา บาเรา เป็นไม้ล้มลุก ลำต้นเกลี้ยง มีกลิ่นหอม ข้อโป่งพอง หูใบขนาดเล็กเป็นบางแคบ ขอบใบมีรอยจัก ใบสีเขียวสด ผิวใบด้านบนเป็นมัน ดอกช่อ มีริ้วประดับเป็นกาบหุ้ม ดอกย่อยขนาดเล็ก เกสรตัวผู้เป็นสามพู ติดกับครึ่งบนของรังไข่ ผลเดี่ยว เมล็ดเดียวแข็ง ฉ่ำน้ำ ส่วนใหญ่สีขาวครีม เมล็ดค่อนข้างกลม กระดูกไก่พบได้ทั่วไป ตั้งแต่เนปาล ยูนนาน หมู่เกาะอันดามัน ไปจนถึงเกาะนิวกินี ก่อนที่จะนำต้นชามาปลูก ชาวชวานำใบและเหง้าของกระดูกไก่ไปชงน้ำชาดื่ม เมื่อเนเธอร์แลนด์เข้ามาปกครองดัตช์อีสต์อินดีสได้ห้ามประชาชนปลูกกระดูกไก่เพราะจะให้ปลูกต้นชาแทน ในมาเลเซียและอินโดนีเซียใช้ทำชาสมุนไพร ใช้ขับเหงื่อเพื่อลดไข้ ในกาลิมันตันใช้กิ่งต้มน้ำดื่มเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ ชาวไทยภูเขาใช้ต้มเป็นยารักษามาลาเรีย ใช้ทำสีย้อมผ้าได้สีน้ำเงินเข้มจนเกือบดำ ทุกส่วนของลำต้นเมื่อขยี้ มีกลิ่นคล้ายการบูร รสค่อนข้างขม ใบมีน้ำมันหอมระเหยและกรดคูมาริก คล้ายกับที่พบในพืชวงศ์พริกไท.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและกระดูกไก่ · ดูเพิ่มเติม »

กระซู่

กระซู่, แรดสุมาตรา หรือ แรดขน (Sumatran RhinocerosWilson, D. E., and Reeder, D. M. (eds), ed (2005).; ชื่อวิทยาศาสตร์: Dicerorhinus sumatrensis) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคี่จำพวกแรด กระซู่เป็นแรดที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก และเป็นแรดเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Dicerorhinus มีลักษณะเด่นคือมี นอ 2 นอ เหมือนแรดแอฟริกา โดยนอจะไม่ตั้งยาวขึ้นมาเหมือนแรดชวา นอหน้าใหญ่กว่านอหลัง โดยทั่วไปยาว 15-25 ซม.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและกระซู่ · ดูเพิ่มเติม »

กระแตหางขนนก

กระแตหางขนนก (pen-tailed treeshrew) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับกระแต (Scandentia) นับเป็นกระแตเพียงชนิดเดียวเท่านั้น ที่อยู่ในวงศ์ Ptilocercidae และสกุล Ptilocercus แบ่งออกเป็น 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) กระแตหางขนนก มีตัวยาวประมาณ 13-14 เซนติเมตร หางยาว 16-19 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 40-62 กรัม หางมีสีได้หลากหลาย ตั้งแต่สีเทาจนถึงน้ำตาลอ่อน ท้องสีขาวหรือสีครีม ปลายหางตั้งแต่ระยะ 3 ใน 5 ของหางจนถึงปลายหาง ขนมีลักษณะคล้ายขนนกหรือพู่กัน ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของกระแตชนิดนี้ ทำให้แยกออกมาเป็นวงศ์และสกุลต่างหาก กระจายพันธุ์อยู่ในคาบสมุทรมลายู จนถึงเกาะสุมาตรา, ทางเหนือของเกาะบอร์เนียว และเกาะข้างเคียง ในประเทศไทยพบทางป่าชายแดนภาคใต้ตอนล่าง พบในป่าดั้งเดิมและป่าชั้นสอง, สวนยาง หรือแม้แต่ในหมู่บ้านที่อยู่ชายป่า มักพบอยู่ในที่ที่มีต้นปาล์มชนิด จากเขา (Eugeissona tristis) ทำรังบนต้นไม้ รังอยู่สูงจากพื้น 12-20 เมตร ปูพื้นด้วยใบไม้แห้ง กิ่งไม้และเยื่อไม้ เส้นผ่านศูนย์กลางรังประมาณ 3 นิ้ว และยาวประมาณ 18 นิ้ว ออกหากินในเวลากลางคืน เวลากลางวันจะค่อนข้างเฉื่อยชา หากถูกรบกวนในเวลากลางวัน มักจะหันหลังให้ อ้าปากกว้างและส่งเสียงดังข่มขู่ บางครั้งก็ถ่ายมูลหรือปัสสาวะใส่ด้วย แต่หากถูกรบกวนตอนกลางคืน จะวิ่งหนีไปอย่างรวดเร็ว กินอาหารได้หากหลายทั้งพืชและสัตว์เช่นเดียวกับกระแตส่วนใหญ่ เช่น กล้วย, องุ่น, จิ้งหรีด, ตั๊กแตน, มด, แมลงสาบ, จักจั่น, แมลงปีกแข็ง และสัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็กจำพวกตุ๊กแก ทำรังอยู่ร่วมกันเป็นฝูงใหญ่ ฝูงหนึ่งมีรัง 2-7 รัง สามารถไต่กิ่งไม้ทางด้านใต้กิ่งได้ มีประสาทสัมผัสที่หางไวมาก เมื่อแสดงอาการก้าวร้าวจะแกว่งหางไปมาแบบลูกตุ้ม แต่ถ้าตื่นเต้นจะชูหางขึ้นชี้ด้านบน มีระยะเวลาตั้งท้องนานประมาณ 45-55 วัน คาดว่าออกลูกครั้งละ 1-4 ตัว ลูกแรกเกิดหนักประมาณ 10 กรัม ตัวเมียมีเต้านม 4 เต้.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและกระแตหางขนนก · ดูเพิ่มเติม »

กระแตเล็ก

กระแตเล็ก (pygmy treeshrew, lesser treeshrew) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับกระแต (Scandentia) มีลักษณะคล้ายกับกระแตใต้หรือกระแตธรรมดาทั่วไป (T. glis) แต่มีขนาดเล็กกว่ามาก โดยมีความยาวจากปลายจมูกถึงรูทวารเพียง 11-14 เซนติเมตรเท่านั้น พบกระจายพันธุ์ในคาบสมุทรมลายูจนถึงบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา ในประเทศไทยพบได้ในภาคใต้ตอนล่างเท่านั้น มีทั้งหมด 4 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) มีระยะเวลาการตั้งท้องนาน 45-55 วัน มีพฤติกรรมชอบกินผลไม้จำพวกมะเดื่อฝรั่งมากที.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและกระแตเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

กรณีพิพาทเกาะซีปาดันและลีฆีตัน

กรณีพิพาทเกาะซีปาดันและลีฆีตันเป็นความขัดแย้งระหว่างมาเลเซียกับอินโดนีเซีย โดยทั้งสองประเทศต่างอ้างสิทธิในพื้นที่ทับซ้อน บริเวณเกาะซีปาดันและเกาะลีฆีตัน ซึ่งมีเนื้อที่เพียง 10.4 และ 7.4 เฮกตาร์ ฝ่ายอินโดนีเซียอ้างว่าเกาะนี้เป็นของอินโดนีเซียตามข้อตกลงระหว่างอังกฤษกับเนเธอร์แลนด์ เมื่อ..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและกรณีพิพาทเกาะซีปาดันและลีฆีตัน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชาติพันธุ์ในอินโดนีเซีย

ในประเทศอินโดนีเซีย มีกลุ่มชาติพันธุ์มากกว่า 300 ชนเผ่า โดย 95% เป็นชาวอินโดนีเซีย โดยกำเนิด ชาวชวา เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุด ในประเทศ ซึ่งมีสัดส่วนมากเกือบๆ 52% ของสัดส่วนประชากร ชาวชวามีศูนย์กลางอยู่ที่เกาะชวา แต่มีชาวชวามากกว่าล้านคน ไปตั้งถิ่นฐานตามหมู่เกาะต่างๆในประเทศอินโดนีเซีย เพราะการอพยบเคลื่อนย้าย นอกจากชาวชวาแล้ว ยังมีชาวซุนดา, มลายู และชาวมาดูรา เรียงตามลำดับสัดส่วนขอประชากร ยังมีกลุ่มชาติพันธุ์เฉพาะแยกย่อยไปอีกเป็นจำนวนมากใน เกาะกาลีมันตัน และเกาะนิวกินี มีเพียงร้อยคน ต่อสัดส่วนจำนวนประชากรทั้งหมดในประเทศ The map of native ethnic groups in Indonesia, foreign origin ethnic groups such as Chinese, Arab, and Indian are not shown, but usually inhabit urban areas.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและกลุ่มชาติพันธุ์ในอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์

กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ (Borneo-Philippines languages) หรือกลุ่มภาษาเอสเปโรนีเซีย หรือกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกนอก เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนที่รวมภาษาของฟิลิปปินส์ เกาะบอร์เนียว คาบสมุทรทางเหนือของเกาะซูลาเวซี และเกาะมาดากัสการ์ (Wouk and Ross 2002) ภายในกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งได้เป็นสองกลุ่มคือกลุ่มนอก (บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) และกลุ่มใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) การแบ่งแบบนี้ถือเป็นการแบ่งตามภูมิศาสตร.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและกลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยไม้ดิน

กล้วยไม้ดิน (Ground orchid) เป็นสกุลหนึ่งของพืชในวงศ์กล้วยไม้ พืชในสุกลนี้เป็นญาติกับพืชสกุล Acanthephippium, Bletia, Calanthe, และ Phaius โดยทั่วไปมีถิ่นอาศัยในบอร์เนียว, ประเทศออสเตรเลีย และ หมู่เกาะโซโลมอน ไฟล์:kluaimaidin2.jpg|กล้วยไม้ดิน ไฟล์:kluaimaidin3.jpg|กล้วยไม้ดิน ไฟล์:kluaimaidin4.jpg|กล้วยไม้ดิน ไฟล์:kluaimaidin5.jpg|กล้วยไม้ดิน ไฟล์:kluaimaidin6.jpg|กล้วยไม้ดิน หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:พืชแบ่งตามสกุล.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและกล้วยไม้ดิน · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟรัฐซาบะฮ์

การรถไฟรัฐซาบะฮ์ (ตัวย่อ: SSR) หรือชื่อเดิม การรถไฟบอร์เนียวเหนือ เป็นบริษัทที่ดำเนินการสายรถไฟในรัฐซาบะฮ์ ประเทศมาเลเซีย และเป็นรถไฟสายเดียวบนเกาะบอร์เนียว ทางรถไฟเป็นทางเดี่ยว ระยะทาง 134 กิโลเมตร วิ่งจากเมืองตันจงอะรู (ชานเมืองโกตากีนาบาลู) ไปยังเมืองเตอนอม.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและการรถไฟรัฐซาบะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

การทัพบอร์เนียว พ.ศ. 2488

การทัพบอร์เนียว..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและการทัพบอร์เนียว พ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งระบบรางในประเทศอินโดนีเซีย

รถไฟ''อาร์โก''ขบวนหนึ่ง ที่สถานีรถไฟกัมบีร์ในจาการ์ตา การขนส่งระบบรางในประเทศอินโดนีเซีย ส่วนใหญ่จะอยู่บนเกาะชวาซึ่งมีรถไฟสายหลักอยู่ 2 สาย ส่วนในเกาะสุมาตราจะมีสายรถไฟที่ไม่เชื่อมต่อกันถึง 5 สาย ซึ่งจะมีในเขตปกครองพิเศษอาเจะห์, จังหวัดสุมาตราเหนือ (พื้นที่รอบเมืองเมดัน), จังหวัดสุมาตราตะวันตก (พื้นที่รอบเมืองปาดัง), จังหวัดสุมาตราใต้ และจังหวัดลัมปุง สำหรับรถไฟทางไกลในอินโดนีเซีย ดำเนินการโดยรัฐวิสาหกิจ เกอเรตาอาปีอินโดเนเซีย ส่วนรถไฟชานเมืองในจาการ์ตา ดำเนินการโดย พีที เกอเรตาอาปีจาโบเดตาเบะก์ ขนาดความกว้างรางรถไฟ ส่วนใหญ่ใช้รางขนาด นอกจากนี้ยังมีรางขนาด (รวมถึงสายรถไฟใหม่ในเขตปกครองพิเศษอาเจะห์) และ การจ่ายไฟฟ้าให้ระบบรางมีเฉพาะรถไฟชานเมืองในจาการ์ตาซึ่งใช้ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว ไฟฟ้ากระแสตรง ความต่างศักย์ 1500 โวลต.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและการขนส่งระบบรางในประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งในประเทศอินโดนีเซีย

รือของบรัษัทเป็ลนี เป็นเรือขนาดใหญ่ เชื่อมระหว่างเกาะต่าง ๆ ของอินโดนีเซีย การขนส่งในอินโดนีเซีย มีกระจายอยู่ในเกาะกว่า 1,000 แห่งของประเทศ แต่เกาะที่มีปริมาณการขนส่งที่หนาแน่นที่สุดคือเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย มีการขนส่งครบทุกรูปแบบ โดยที่มีมากที่สุดคือ ถนน มีครอบคลุมทั่วทั้งประเทศกว่า 437,759 กิโลเมตรในปี..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและการขนส่งในประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

การค้าเครื่องเทศ

วามสำคัญทางเศรษฐกิจเส้นทางสายไหมและเส้นทางเครื่องเทศของเส้นทางการค้าไปยังตะวันออกมาถูกปิดโดยจักรวรรดิออตโตมัน ราว ค.ศ. 1453 เมื่อจักรวรรดิไบแซนไทน์และคอนสแตนติโนเปิลล่ม ซึ่งเป็นชนวนที่ทำให้เกิดการแข่งขันกันสำรวจหาเส้นทางการค้าไปยังตะวันออกใหม่ที่เริ่มด้วยการพยายามหาเส้นทางรอบแอฟริกาที่ในที่สุดก็นำไปสู่ยุคแห่งการสำรวจ ภาพแสดงเส้นทางการเดินทางของวัชกู ดา กามาไปยังอินเดีย (เส้นดำ) ผู้เดินทางรอบแอฟริกาคนแรก เส้นทางของเปรู ดา กูวิลยัง (สีส้ม) และอาฟงซู ดี ไปวา (สีน้ำเงิน) เส้นทางซ้อนกันเป็นสีเขียว การค้าเครื่องเทศ คือกิจการทางการพาณิชย์ที่มีต้นตอมาแต่ยุคโบราณที่เป็นการค้าขายสินค้าที่รวมทั้งเครื่องเทศ, สมุนไพร และฝิ่น การวิวัฒนาการของวัฒนธรรมของเอเชียบางส่วนก็มีอิทธิพลมาจากการค้าขายเครื่องเทศ จากนั้นก็ตามด้วยโลกกรีก-โรมันที่ใช้เส้นทางสายเครื่องหอม และเส้นทางสายโรมัน-อินเดียเป็นเส้นทางการค้ามายังตะวันออกFage 1975: 164 เส้นทางสายโรมัน-อินเดียวิวัฒนาการมาจากเทคนิคที่ใช้โดยมหาอำนาจทางการค้าของราชอาณาจักรอัคซูม (ราว 400 ปีก่อนคริสต์ศักราช-จนถึง ค.ศ. 1000 กว่า ๆ) ที่เป็นการริเริ่มการใช้เส้นทางในทะเลแดงมาตั้งแต่ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 1 อัคซูมแบ่งปันความรู้ในการใช้ลมมรสุมในการเดินเรือกับชาวโรมัน (ราว 30-10 ปีก่อนคริสตกาล) และรักษาสัมพันธ์ภาพระหว่างกันอย่างปรองดองมาจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 7 เมื่ออิสลามเรืองอำนาจขึ้น ก็ปิดเส้นทางการค้าทางทะเล และหันมาใช้ขบวนคาราวานในการขนส่งทางบกไปยังอียิปต์และซุเอซ ซึ่งเท่ากับเป็นการตัดความสัมพันธ์ทางการค้าโดยตรงระหว่างยุโรปไปยังอัคซูมและอินเดีย และในที่สุดพ่อค้าอาหรับก็ยึดการขนส่งสินค้าเข้ามาอยู่ในมือของตนเอง โดยการขนส่งสินค้าเข้าทางบริเวณเลแวนต์ไปให้แก่พ่อค้าเวนิสในยุโรปยุโรป การขนส่งด้วยวิธีนี้มายุติลงเมื่อออตโตมันเติร์กมาปิดเส้นทางอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและการค้าเครื่องเทศ · ดูเพิ่มเติม »

การปะทุของภูเขาไฟตัมโบรา พ.ศ. 2358

แผนที่ประมาณการพื้นที่ที่มีเถ้าภูเขาไฟตกระหว่างการระเบิดในปี พ.ศ. 2358 พื้นที่สีแดงซึ่งมีความเข้มสีต่างกันแสดงปริมาณเถ้าภูเขาไฟ สังเกตว่าเถ้าภูเขาไฟลอยไปตกไกลถึงเกาะชวา บอร์เนียวและสุลาเวสี (ความหนา 1 ซม.) เมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2358 ภูเขาไฟตัมโบราบนเกาะซุมบาวาของประเทศอินโดนีเซีย (ในขณะนั้นยังเป็นอาณานิคมของเนเธอร์แลนด์) ได้เกิดระเบิดขึ้น เป็นการปะทุของภูเขาไฟครั้งรุนแรงที่สุดในโลกครั้งหนึ่งเท่าที่มีการบันทึก โดยมีระดับความรุนแรง 7 ตามดัชนีวัดความรุนแรงของการปะทุ (VEI) แรงระเบิดทำให้เกิดเสียงดังสนั่นหวั่นไหวได้ยินไกลไปถึง 850 กิโลเมตร ชาวบ้านได้รายงานว่า ต้นไม้บนเกาะล้มระเนระนาด และลาวาไหลนองท่วมพื้นบริเวณรอบภูเขาไฟ ทำให้ทุ่งนาถูกทำลาย และท้องฟ้าในบริเวณนั้นมืดมัว เพราะไร้แสงอาทิตย์นานถึง 2 วัน การปะทุของภูเขาไฟตัมโบราในครั้งนั้นได้ทำให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดินฟ้าอากาศกับการระเบิดของภูเขาไฟดียิ่งขึ้น เพราะนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสได้รายงานว่า หลังจากที่ภูเขาไฟตัมโบราปะทุได้ไม่นานผิวโลกก็ได้รับแสงอาทิตย์น้อยลงถึง 20% และอุณหภูมิของอากาศในแถบซีกโลกเหนือได้ลดลงมาก เพราะในบรรยากาศเหนือโลกมีฝุ่น และละอองภูเขาไฟปะปนมากมาย ซึ่งเถ้าถ่านเหล่านี้ต้องใช้เวลานานหลายปีจึงจะตกสู่โลกหม.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและการปะทุของภูเขาไฟตัมโบรา พ.ศ. 2358 · ดูเพิ่มเติม »

กาฮารีงัน

กาฮารีงัน (Kaharingan) คือศาสนาพื้นเมืองของชาวดายะก์บนเกาะบอร์เนียวของประเทศอินโดนีเซีย โดย กาฮารีงัน นั้นมีความหมายว่าพลังแห่งชีวิตและความเชื่อ คือเชื่อในการมีอยู่เทพเจ้า ที่มีเทพเจ้าสูงสุดเพียงพระองค์เดียวตามหลักปรัชญาปัญจศีลของอินโดนีเซียข้อที่หนึ่ง ซึ่งกาฮารีงันเองก็รับอิทธิพลฮินดูจากชวามาช้านานแล้ว รัฐบาลจึงมองว่ากาฮารีงันไม่ใช่ศาสนา หากแต่ถือเป็นเพียงศาสนาฮินดูท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง และอาจเป็นเพราะศาสนาฮินดูเป็นหนึ่งในหกศาสนาที่รัฐบาลอินโดนีเซียให้การยอมรับอย่างเป็นทางการ กาฮารีงันมีเทศกาลที่สำคัญคือเทศกาลตีวะฮ์ (Tiwah) ที่จะมีการบูชายัญควาย วัว หมู และไก่ถวายแด่องค์เทพเจ้า กาฮารีงัน มาจากคำดายะก์เก่าว่า ฮาริง (Haring) แปลว่า "ชีวิต" หรือ "มีชีวิตอยู่" โดยมีสัญลักษณ์ประจำศาสนาคือภาพต้นไม้แห่งชีวิตที่มีกิ่งก้านสาขาและหอก ยอดบนสุดจะมีรูปนกเงือกและดวงอาทิตย์ ที่สองสิ่งหลังนี้เป็นสัญลักษณ์แทนเทพเจ้าสูงสุดคือ รันยิงมาฮาลาลา (Ranying Mahalala) โดยจะมีพ่อหมอที่เรียกว่าบาเลียน (Balian) เป็นผู้นำในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา หรือทำพิธีกรรมไสยศาสตร์อื่น ๆ หากชาวกาฮารีงันถึงแก่มรณกรรมก็จะมีพิธีศพครั้งแรกคือการฝัง ก่อนขุดศพขึ้นมาประกอบพิธีอีกครั้งโดยนำกระดูกมาไว้ในซันดุง (Sandung) ซึ่งเป็นโกศที่มีลักษณะเหมือนศาลพระภูมิตามคติไทย และเชื่อว่าวิญญาณของบรรพชนที่ตายไปจะเป็นผีดีมาปกป้องหมู่บ้านจากภยันตราย ปัจจุบันชาวดายะก์หลายเผ่านิยมเข้ารีตศาสนาคริสต์และอิสลามกันมากขึ้น ผู้ที่นับถือกาฮารีงันก็ลดลงอย่างน่าใจห.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและกาฮารีงัน · ดูเพิ่มเติม »

กิ่งแก้ว บัวตูม

กิ่งแก้ว บัวตูม (4 มกราคม พ.ศ. 2510 -) นักปีนเขา นักผจญภัย นักสำรวจชาวไทย เป็นหญิงไทยคนแรกๆ ที่ปีนยอดเขาที่มีชื่อเสียงหลายยอด กิ่งแก้ว บัวตูม เกิดในครอบครัวชาวนาที่จังหวัดพะเยา จบชั้นประถม 6 แล้วมีอาชีพทำนา จนกระทั่งได้พบรักกับสามีชาวอเมริกัน คือ ดร.ชาร์ลส มิตเชล เมื่อ..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและกิ่งแก้ว บัวตูม · ดูเพิ่มเติม »

กูชิง

กูชิง (Kuching; ยาวี: کوچيڠ) มีชื่อทางการว่า นครกูชิง (City of Kuching) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่มีประชากรมากที่สุดของรัฐซาราวัก ประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ในส่วนที่เป็นมาเลเซียทางตะวันออกบนเกาะบอร์เนียว ริมฝั่งแม่น้ำซาราวัก ห่างจากปากแม่น้ำเข้าไปราว 16 กิโลเมตร เมืองมีพื้นที่ 719 ตร.ไมล์ (1,863 กม²) เมืองแบ่งเขตเป็นสองส่วน คือ กูชิงเหนือ และกูชิงใต้ โดยกูชิงเหนือมีประชากรทั้งหมด 165,642 คน กับกูชิงใต้ที่มีประชากร 159,490 คน รวมประชากรทั้งหมด 325,132 คน.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและกูชิง · ดูเพิ่มเติม »

ญะมาอะห์ อิสลามียะห์

ญะมาอะห์ อิสลามียะห์ (Jama ah Islamiyah, الجماعه الإسلاميه) หรือกลุ่ม JI เป็นกลุ่มก่อการร้ายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คาดว่าก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและญะมาอะห์ อิสลามียะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชาบากาโน

ษาชาบากาโน เป็นชื่อของภาษาสเปนลูกผสมในฟิลิปปินส์ คำว่า chabacano ซึ่งเป็นที่มาของชื่อชาบากาโน (Chavacano) เป็นภาษาสเปน หมายถึง รสชาติแย่ สามัญ หรือหยาบ ผู้พูดภาษาชาบากาโนส่วนใหญ่อยู่ในเมืองซัมโบวังกาซิตี จังหวัดซัมโบวังกา บาซีลัน จาไวต์ และบางบริเวณในดาเวาและโจตาบาโต มีผู้พูด 607,200 คนเมื่อ..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและภาษาชาบากาโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบากุมไป

ษาบากุมไป (Bakumpai language) มีผู้พูด 100,000 คน (พ.ศ. 2546) ในจังหวัดกาลิมันตันกลาง บริเวณแม่น้ำกาปูอัส และแม่น้ำบารีโต รากศัพท์ใกล้เคียงกับภาษางายู 75% ภาษาบันจาร์ 45% จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน กลุ่มภาษามลาโย-โพลีเนเซีย สาขา บารีโตใหญ่ เป็นภาษาทางการค้า มีพจนานุกรม ผู้พูดเป็นมุสลิม.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและภาษาบากุมไป · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาซับ

ษาบาซับ (Basap language) มีผู้พูด 15,000 คน (พ.ศ. 2550) ในจังหวัดกาลีมันตันตะวันออก จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน กลุ่มภาษามลาโย-โพลีเนเซีย สาขาบอร์เนียวเหนือ สาขาย่อย เรยัง-ซาเยา ภาษานี้ใช้ในครัวเรือน ชุมชน และทางศาสนา ผู้พูดนับถือศาสนาพื้นเมืองและศาสนาคริสต.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและภาษาบาซับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาเฮา

ษาบาเฮา (Bahau language) มีผู้พูด 19,000 คน ใน..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและภาษาบาเฮา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบูกิส

ษาบูกิส เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรราว 4 ล้านคน ในภาคใต้ของเกาะซูลาเวซี ประเทศอินโดนีเซีย คำว่า บูกิส มาจากภาษามลายู ส่วนชาวบูกิสเรียกภาษาของตนว่า บาซา อูกิ แปลว่ากษัตริย์องค์แรก ซึ่งหมายถึง กษัตริย์ในอาณาจักรบุกิสโบราณ แต่เรื่องราวไม่ชัดเจนเพราะไม่มีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร หลักฐานลายลักษณ์อักษรครั้งแรกที่พบคือ อี ลา กาลิโก ซึ่งเป็นภาพวงกลม เล่าถึงกำเนิดชีวิต พบในซูลาเวซีใต้.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและภาษาบูกิส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายู

ษามลายู (Bahasa Melayu) เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีสถานะเป็นภาษาราชการในบรูไน, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย มีผู้พูดประมาณ 200–250 ล้านคน (ณ ปี พ.ศ. 2552) โดยเป็นภาษาแม่ของผู้คนตลอดสองฟากช่องแคบมะละกา ซึ่งได้แก่ ชายฝั่งคาบสมุทรมลายูของมาเลเซียและชายฝั่งตะวันออกของเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย และได้รับการยอมรับเป็นภาษาแม่ในชายฝั่งตะวันตกของซาราวะก์และกาลีมันตันตะวันตกในเกาะบอร์เนียว นอกจากนี้ยังใช้เป็นภาษาการค้าในภาคใต้ของฟิลิปปินส์ ซึ่งได้แก่ ตอนใต้ของคาบสมุทรซัมบวงกา, กลุ่มเกาะซูลู และเมืองบาตาราซาและบาลาบัก (ซึ่งมีชาวมุสลิมอาศัยอยู่เป็นส่วนใหญ่) ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะปาลาวัน ในฐานะที่เป็นภาษาประจำชาติ (Bahasa Kebangsaan หรือ Bahasa Nasional) ของรัฐเอกราชหลายรัฐ ภาษามลายูมาตรฐานมีชื่อทางการแตกต่างกันไป ในบรูไนและสิงคโปร์เรียกว่า "ภาษามลายู" (Bahasa Melayu) ในมาเลเซียเรียกว่า "ภาษามาเลเซีย" (Bahasa Malaysia) และในอินโดนีเซียเรียกว่า "ภาษาอินโดนีเซีย" (Bahasa Indonesia) อย่างไรก็ตาม ในหลายพื้นที่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะสุมาตราที่ซึ่งภาษามลายูเป็นภาษาพื้นเมือง ชาวอินโดนีเซียจะเรียกภาษานี้ว่า "ภาษามลายู" และมองว่าเป็นภาษาหนึ่งในบรรดาภาษาประจำภูมิภาคของตน ภาษามลายูมาตรฐาน (หรือที่เรียกว่าภาษามลายูราชสำนัก) เคยเป็นวิธภาษามาตรฐานในวรรณกรรมของรัฐสุลต่านมะละกาและยะโฮร์สมัยก่อนอาณานิคม ดังนั้น บางครั้งจึงเรียกว่าภาษานี้ว่าภาษามลายูมะละกา, ภาษามลายูยะโฮร์ หรือภาษามลายูเรียว (หรือชื่ออื่น ๆ ที่ใช้ชื่อเหล่านี้ประกอบกัน) เพื่อแยกให้แตกต่างกับภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาในกลุ่มภาษามลายู จากข้อมูลของเอ็ทนอล็อก (Ethnologue) วิธภาษามลายูต่าง ๆ ซึ่งในปัจจุบันมีรายชื่อเป็นภาษาแยกต่างหาก (รวมถึงวิธภาษาโอรังอัซลีในมาเลเซียตะวันตก) มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับภาษามลายูมาตรฐานมากจนอาจพิสูจน์ได้ว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีภาษามลายูการค้าและภาษาครีโอล (creole) จากภาษามลายูอีกจำนวนมากซึ่งมีพื้นฐานจากภาษากลางที่พัฒนามาจากภาษามลายูตามแบบแผนดั้งเดิม เช่นเดียวกับภาษามลายูมากัสซาร์ซึ่งปรากฏว่าเป็นภาษาผสม.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและภาษามลายู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาวางัน

ษาลาวางัน (Lawangan language) หรือภาษาลูวางัน มีผู้พูด 100,000 คนในจังหวัดกาลิมันตันตะวันออก และกาลิมันตันกลาง บริเวณแม่น้ำกาเรา มีหลายสำเนียง จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย สาขาบารีโตใหญ.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและภาษาลาวางัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลุนบาวัง

ษาลุนบาวัง (Lun Bawang language) มีผู้พูดทั้งหมด 47,500 คน พบในกาลีมันตัน ประเทศอินโดนีเซีย 23,000 คน พบในบรูไน 500 คน (พ.ศ. 2549) พบในมาเลเซีย 24,000 คน แบ่งเป็นในซาราวะก์ 21,000 คน และในซาบะฮ์ 3,000–4,000 คน ผู้พูดภาษานี้กระจายตัวในบริเวณด้านในของอ่าวบรูไนและแนวแม่น้ำปาดัส และทางด้านตะวันออกของกาลิมันตันในเขตภูเขาตามแนวแม่น้ำเซอซายัส จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน กลุ่มภาษามาลาโย-พอลินีเชีย สาขาบอร์เนียวเหนือ สาขาย่อยซาราวากันเหนือ มีรายการวิทยุออกอากาศด้วยภาษาลุนบาวังในอินโดนีเซี.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและภาษาลุนบาวัง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอัมปานัง

ษาอัมปานัง (Ampanang language) มีผู้พูด 30,000 คน (พ.ศ. 2524) ในจังหวัดกาลิมันตันตะวันออก จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน กลุ่มภาษามลาโย-โพลีนีเซีย สาขาเกรทเตอร์ บาริโต สาขาย่อยบาริโต-มาฮากัม ผู้พูดภาษานี้นับถือศาสนาพื้นเมืองและดำรงชีพด้วยการล่าสัตว์และหาของป.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและภาษาอัมปานัง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอีบัน

ษาอีบัน (Iban language) มีผู้พูดทั้งหมด 694,400 คน พบในรัฐซาราวะก์ ประเทศมาเลเซีย 658,000 คน พบในบรูไน 21,400 คน พบในกาลีมันตัน ประเทศอินโดนีเซีย 15,000 คน (พ.ศ. 2546) ทางตะวันตกของกาลิมันตัน ใกล้กับชายแดนติดกับรัฐซาราวะก์ จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย สาขามาลาโย-ซุมบาวัน สาขาย่อยมาลาโย-ซุมบาวันเหนือและตะวันออก ใกล้เคียงกับภาษามลายูซาราวะก์ ในมาเลเซียมีการสอนภาษาอีบันในโรงเรียนประถมศึกษา มีรายการวิทยุเป็นภาษาอีบัน เขียนด้วยอักษรละติน เรียงประโยคแบบประธาน กริยา กรรม ในอินโดนีเซีย เป็นภาษาที่ใช้ในโบสถ์คาทอลิกสำหรับผู้พูดภาษาอื่น ๆ ที่อยู่ในบริเวณแม่น้ำเรยัง.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและภาษาอีบัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษางายู

ษางายู (Ngaju language) หรือ ภาษางายา มีผู้พูด 890,000 คน (พ.ศ. 2546) ในกาลิมันตัน ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน กลุ่มภาษามลาโย-โพลีนีเซีย สาขาเกรทเตอร์ บาริโต สาขาย่อยบาริโตตะวันตก เป็นภาษาที่ใช้ทางการค้าในพื้นที่ส่วนใหญ่ของกาลิมันตัน แปลไบเบิลเป็นภาษานี้ตั้งแต..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและภาษางายู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุนยุง

ษาตุนยุง (Tunjung language) มีผู้พูด 50,000 คน (พ.ศ. 2524) ในจังหวัดกาลิมันตันตะวันออก จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน กลุ่มภาษามลาโย-โพลีเนเซีย สาขาเกรทเตอร์ บารีโต.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและภาษาตุนยุง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโกฮิน

ษาโกฮิน (Kohin ISO 639-3: kkx) หรือภาษาเซอรูยัน มีผู้พูดทั้งสิ้น 8,000 คน (พ.ศ. 2546) ในจังหวัดกาลิมันตันกลาง ในบริเวณแม่น้ำเซอรูยัน ประเทศอินโดนีเซีย จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย สาขาบารีโตใหญ่ รากศัพท์ใกล้เคียงกับภาษาโอตดานุม 60%–65% และใกล้เคียงภาษางายู 50%–69%.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและภาษาโกฮิน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเอมบาโละห์

ษาเอมบาโละห์ (Embaloh language) หรือภาษามาโล ภาษาเมอมาโละห์ ภาษาปารี ภาษาซาเงา มีผู้พูดทั้งหมด 10,000 คน (พ.ศ. 2534) ในจังหวัดกาลิมันตันตะวันตก จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน กลุ่มภาษามลาโย-โพลีนีเซีย สาขาสุลาเวสีใต้ สาขาย่อย บูกิส ผู้พูดภาษานี้นับถือศาสนาคริสต์และศาสนาพื้นเมือง.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและภาษาเอมบาโละห์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเตาซุก

ษาเตาซุก (Wikang Tausug; Tausug language) หรือ ภาษาซูก (เตาซุก: Bahasa Sūg) อยู่ในตระกูลวิซายัน มีผู้พูดในจังหวัดซูลู ประเทศฟิลิปปินส์ มีผู้พูดในมาเลเซียและอินโดนีเซียด้ว.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและภาษาเตาซุก · ดูเพิ่มเติม »

มะพลับพรุ

มะพลับพรุ เป็นพืชในวงศ์มะพลับ (Ebenaceae) กระจายพันธุ์ทางใต้ของคาบสมุทรมลายู เกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว เป็นไม้ยืนต้น สูง 30-40 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มทรงสูงแตกกิ่งชั้นเดียว โคนต้นมีพูพอนสูงถึง 1 เมตร ใบหนาเป็นรูปรีถึงรูปไข่ กว้าง 4-9 เซนติเมตร ยาว 8-20 เซนติเมตร ผิวใบเกลี้ยง ปลายใบมนถึงเป็นติ่งแหลม โคนใบสอบถึงมนกลม ดอกเพศผู้สีเขียวอ่อนถึงเหลืองนวล เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร เกิดบนช่อสั้น ๆ ตามซอกใบ เกสรเพศผู้ 12-15 อัน ดอกเพศเมียเกิดบนช่อสั้น ๆ ตามปลายกิ่ง ผลรูปไข่ปลายตัด กว้างประมาณ 2.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 3.5 เซนติเมตร มีขนคลุมหนาแน่น มี 8 เมล็.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและมะพลับพรุ · ดูเพิ่มเติม »

มะไฟควาย

มะไฟควาย เป็นพืชท้องถิ่นในมาเลเซีย เกาะสุมาตรา เกาะบอร์เนียว และภาคใต้ของไทย ภาคกลางเรียกลังแขหรือลำแข ปัตตานีเรียกมะแค้ ลังแข ภาษาอินโดนีเซียเรียกตัมปุยซายาหรือตัมปุยบูลัน ภาษามลายูเรียกตัมโปย เงาะซาไกเรียกลารัก เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ใบเกลี้ยง ไม่มีขนอ่อน แผ่นใบเรียวเข้าหาโคน ไม่เว้า ช่อดอกยาว ออกเป็นกลุ่มตามกิ่งหรือลำต้น ผลมีขนาดใหญ่ที่สุดเมื่อเทียบกับพืชในสกุลเดียวกันทั้งหมด ผลกลม เปลือกหนามาก มีกลีบเลี้ยงติดอยู่ ก้านของผลยาว แข็ง ผลดิบสีชมพูอมม่วง มีขน เมื่อแก่กลายเป็นสีน้ำตาล ไม่มีขน เนื้อสีขาวขุ่น แต่เมื่อถูกอากาศจะกลายเป็นสีดำอย่างรวดเร็ว มี 3-6 เมล็ด รสหวานอมเปรี้ยว ใช้รับประทานเป็นผลไม้.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและมะไฟควาย · ดูเพิ่มเติม »

มันคันขาว

มันคันขาว หรือมันเลือด (fiveleaf yam) เป็นพืชในวงศ์กลอย เป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียและทางตะวันออกของโพลีเนเชียGucker, Corey L. 2009.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและมันคันขาว · ดูเพิ่มเติม »

มารัง

ใบและผล ผลสุกในฟิลิปปินส์ มารัง (marang) ชื่ออื่นๆได้แก่ johey oak, เปอดาไลเขียว มาดัง ตารับ เตอรับ หรือตีมาดัง เป็นพืชพื้นเมืองในเกาะบอร์เนียว เกาะปาลาวัน และเกาะมินดาเนา ในฟิลิปปินส์พบกระจายพันธุ์ในมินโดโร เกาะมินดาเนา บาซิลัน และคาบสมุทรซูลู ในเกาะบอร์เนียว พบเป็นพืชป่ามีลักษณะใกล้เคียงกับ ขนุน จำปาดะและ สาเก ผลของมารังขนาดใหญ่เนื้อรสหวาน รับประทานได้ โดยจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแก่เมื่อสุก เนื้อภายในผลคล้ายขนุน แต่ยวงใหญ่กว่าและเป็นสีขาว รับประทานสด หรือใช้ทำเค้ก แต่ต้องรับประทานทันทีหลังจากผ่าเพราะจะเสียรสชาติและเกิดสีดำเร็วมาก เมล็ดรับประทานได้ โดยนำไปต้มหรืออบ ผลอ่อนต้มในกะทิรับประทาน ใช้เป็นผัก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและมารัง · ดูเพิ่มเติม »

มาเลเซียตะวันออก

แผนที่แสดงที่ตั้งของมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันออก (Malaysia Timur) เป็นภูมิภาคหนึ่งของมาเลเซีย ตั้งอยู่ทางเหนือของเกาะบอร์เนียว มีชายแดนติดต่อกับอินโดนีเซียและบรูไน และมีทะเลจีนใต้กั้นอยู่ระหว่างมาเลเซียตะวันออกและมาเลเซียตะวันตก มาเลเซียตะวันออกเป็นที่ตั้งของรัฐและดินแดนสหพันธ์ 3 แห่ง ได้แก่ รัฐซาบะฮ์ รัฐซาราวะก์ และดินแดนสหพันธ์ลาบวน หมวดหมู่:ประเทศมาเลเซีย.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและมาเลเซียตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

มิถุนายน พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและมิถุนายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

มีรี

มีรี (ยาวี) เป็นนครชายทะเลทางตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐซาราวะก์ ประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ใกล้ชายแดนประเทศบรูไน บนเกาะบอร์เนียว เมืองมีพื้นที่ 997.43 ตร.กม.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและมีรี · ดูเพิ่มเติม »

ม้าน้ำแคระซะโตะมิ

ม้าน้ำแคระซะโตะมิ (Satomi's pygmy seahorse) ปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกม้าน้ำ เป็นม้าน้ำขนาดเล็กที่สุดในโลก มีขนาดความยาวลำตัวเพียง 13.8 มิลลิเมตร (0.54 นิ้ว) และยาวเพียง 11.5 มิลลิเมตร (0.45 นิ้ว) เท่านั้น ถูกค้นพบครั้งแรกในทะเลใกล้หมู่เกาะเดราวัน ในรัฐกาลิมันตัน บนเกาะบอร์เนียว ประเทศอินโดนีเซีย โดย ซะโตะมิ โอะนิชิ ไกด์ดำน้ำชาวญี่ปุ่นที่เก็บตัวอย่างของม้าน้ำชนิดนี้ได้ และได้รับเกียรติให้ตั้งชื่อทางวิทยาศาสตร์ ม้าน้ำแคระซะโตะมิเกาะเกี่ยวกับปะการัง การค้นพบม้าน้ำแคระซะโตะมิ ถูกจัดให้เป็น 1 ใน 10 อันดับการค้นพบสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ของโลกในปี..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและม้าน้ำแคระซะโตะมิ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขากีนาบาลู

right ยอดเขากีนาบาลู (Gunung Kinabalu) ยอดเขาตั้งอยู่ในอุทยานแห่งชาติกีนาบาลู รัฐซาบะฮ์ ประเทศมาเลเซีย เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดบนเกาะบอร์เนียว ด้วยความสูงกว่า 4,095 เมตร เดิมยอดเขากีนาบาลูถือว่าเป็นยอดเขาที่สูงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ปัจจุบันถูกจัดเป็นอันดับสี่ รองจากยอดเขาคากาโบราซี (Hkakabo Razi) ในประเทศพม่า (5,881 เมตร) ยอดเขาปุนจักจายา (4,884 เมตร) และยอดเขาปุนจักตรีโกรา (4,750 เมตร) ในเกาะนิวกินี ประเทศอินโดนีเซีย กีนาบาลู.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและยอดเขากีนาบาลู · ดูเพิ่มเติม »

ย่ามควาย

มควาย เป็นพืชในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เปลือกเรียบมีรอยแตกสีขาว สีเทาหรือน้ำตาล เนื้อไม้แข็ง แก่นไม้สีน้ำตาลอมเหลืองอ่อน ใบออกตรงข้ามหนาคล้ายหนัง ดอกขนาดเล็ก ออกเป็นช่อกระจุกตามซอกใบ ผลขนาดเล็ก เนื้อหนา สุกแล้วเป็นสีส้ม กระจายพันธุ์ตั้งแต่ภาคใต้ของไทยไปจนถึงเกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว ใช้ใบต้มน้ำดื่มแทนกาแฟ.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและย่ามควาย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลปฏิวัติแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย

รัฐบาลปฏิวัติแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Revolutionary Government of Republic of Indonesia;ภาษาอินโดนีเซีย: Pemerintah Revolusioner Republik Indonesia/PRRI)) เป็นรัฐบาลของฝ่ายกบฏในอินโดนีเซีย เริ่มต้นขึ้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501 เมื่อมีการรวมกลุ่มของนายทหารและนักการเมืองที่เมืองซูไงดาเระห์ที่จังหวัดสุมาตราตะวันตก และประกาศการจัดตั้งรัฐบาลปฏิวัติผ่านวิทยุบูรัตติงกี กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่ต้องการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างรัฐบาลในจาการ์ตา ซึ่งเกิดจากความขัดแย้งระหว่างส่วนกลางกับท้องถิ่น โดยเฉพาะเกาะสุมาตราและเกาะสุลาเวสี รวมทั้งความไม่พอใจของผู้บัญชาการทหารในภูมิภาคต่อการรวมศูนย์อำนาจของทหารแห่งชาติ เหตุการณ์กบฏที่เกิดขึ้น ได้แก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและรัฐบาลปฏิวัติแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐซาบะฮ์

ซาบะฮ์ (Sabah) เป็นรัฐที่มีเนื้อที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองของประเทศมาเลเซีย และยังเป็นที่รู้จักกันในชื่อ เนอเกอรีดีบาวะฮ์บายู (Negeri di bawah bayu) ซึ่งหมายถึง ดินแดนที่อยู่ใต้ลม ก่อนที่จะเข้าร่วมอยู่กับสหพันธรัฐมาเลเซียนั้น ซาบะฮ์เคยเป็นอาณานิคมของอังกฤษ มีชื่อว่านอร์ทบอร์เนียว (บอร์เนียวเหนือ) ซาบะฮ์เป็นหนึ่งในสองรัฐของมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียว ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะ มีขนาดเล็กกว่ารัฐซาราวะก์ ส่วนทางภาคกลางและภาคใต้ของเกาะเรียกว่ากาลิมันตันเป็นของประเทศอินโดนีเซีย เมืองหลวงของรัฐคือโกตากีนาบาลู เดิมมีชื่อว่า เจสเซลตัน (Jesselton).

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและรัฐซาบะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐซาราวัก

ซาราวัก หรือ ซาราวะก์ (Sarawak, อักษรยาวี: سراواك) เป็นหนึ่งในสองรัฐของประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียว เป็นที่รู้จักกันในชื่อ บูมีเกอญาลัง (Bumi kenyalang, "ดินแดนแห่งนกเงือก") ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ และเป็นรัฐที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ส่วนอันดับสอง คือ รัฐซาบะฮ์ นั้น ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เมืองศูนย์กลางการบริหารของรัฐนี้ คือ กูชิง (ประชากร 600,300 คน ใน ปี พ.ศ. 2548) มีความหมายตรงตัวว่า "แมว" (Kuching) เมืองหลักของรัฐเมืองอื่น ๆ ได้แก่ ซีบู (228,000 คน) มีรี (282,000 คน) และบินตูลู (152,761 คน) การสำรวจสำมะโนประชากรครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 รัฐนี้มีประชากร 2,376,800 คน ซาราวักเป็นรัฐที่มีความเป็นพหุวัฒนธรรมมากที่สุดในมาเลเซียและไม่มีกลุ่มชาติพันธุ์หลัก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและรัฐซาราวัก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิง

''N. mirabilis'' × ''N. sumatrana'', ลูกผสมหายากที่พบในสุมาตรา รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิง เป็นการรวบรวมรายชื่อลูกผสมทางธรรมชาติของพืชกินสัตว์ในสกุล หม้อข้าวหม้อแกงลิง ลูกผสมชนิดใดไม่ใช่พืชถิ่นเดียวจะมีเครื่องหมายดอกจันข้างหลังชื่อ.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและรายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อชนิดของหม้อข้าวหม้อแกงลิง

การกระจายพันธุ์ของหม้อข้าวหม้อแกงลิง รายชื่อชนิดของหม้อข้าวหม้อแกงลิง นี้ได้รวมทุกชนิดที่เป็นที่รู้จักในสกุลของพืชกินสัตว์วงศ์หม้อข้าวหม้อแกงลิง โดยจำแจกตามลักษณะภูมิศาสตร์ที่ค้นพบ ถ้าชนิดไหนไม่ใช่พืชถิ่นเดียวจะมีเครื่องหมายดอกจันหลังชื่อนั้น.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและรายชื่อชนิดของหม้อข้าวหม้อแกงลิง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสปีชีส์ในสกุลทุเรียน

ท่าที่ทราบในปัจจุบันมีพืชในสกุลทุเรียนอยู่ 30 ชนิด มีอยู่ 9 ชนิดที่ผลสามารถรับประทานได้ แต่อาจยังมีบางชนิดที่ยังไม่ค้นพบและจัดจำแนก และมีผลที่สามารถรับประทานได้.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและรายชื่อสปีชีส์ในสกุลทุเรียน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อหลุมอุกกาบาตบน 253 มาทิลเด

รายชื่อหลุมอุกกาบาตบน 253 มาทิล.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและรายชื่อหลุมอุกกาบาตบน 253 มาทิลเด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศมาเลเซีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศมาเลเซียทั้งสิ้น 4 แหล่ง.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเกาะเรียงตามขนาด

หน้านี้คือรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดทั่วโลก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและรายชื่อเกาะเรียงตามขนาด · ดูเพิ่มเติม »

รายาผิวขาว

งของราชอาณาจักรซาราวะก์ รายาผิวขาว (White Rajahs) เป็นราชวงศ์ที่ก่อตั้งและปกครองราชอาณาจักรซาราวะก์ที่อยู่บนเกาะบอร์เนียวตั้งแต..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและรายาผิวขาว · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

ลาบวน

ลาบวน (Labuan, ยาวี: لابوان) เป็นหนึ่งดินแดนสหพันธ์ที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธ์มาเลเซีย ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเกาะบอร์เนียว ใกล้กับประเทศบรูไน.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและลาบวน · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)

รียงลำดับเหตุการณ์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 1 มกราคม จนถึง 31 ธันวาคม 1941 แผนที่ของเขตปฏิบัติการปฏิบัติการเข็มทิศ - ธันวาคม 1940 - กุมภาพันธ์ 1941 นายพลรอมเมลในแอฟรีกาเหนือ ประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ ลงนามในกฤษฎีกาให้เช่า-ยืม ภายหลังจากได้รับการลงคะแนนเสียงจากรัฐสภาแล้ว ทหารเยอรมันขณะทำการรบในกรีซ - เมษายน 1941 พลร่มเยอรมันถูกส่งไปยังเกาะครีต - พฤษภาคม 1941 รถถังแพนเซอร์ของเยอรมนีรุดหน้าผ่านทะเลทรายเปิด เส้นทางการรุกรานของกองทัพฝ่ายอักษะในปฏิบัติการบาร์บารอสซา - มิถุนายน 1941 เชลยศึกทหารโซเวียตถูกจับกุมหลังจากยุทธการแห่งมินสก์ ทหารเกณฑ์โซเวียตในมณฑลทหารบกเลนินกราด ประธานาธิบดีโรสเวลต์และนายกรัฐมนตรีเชอร์ชิลล์พบกันบนดาดฟ้าของเรือรบหลวง ''พรินซ์ออฟเวลส์'' ระหว่างการประชุมเพื่อลงนามกฎบัตรแอตแลนติก - 10-12 สิงหาคม 1941 สตรีชาวโซเวียตขุดสนามเพลาะรอบกรุงมอสโกเพื่อเตรียมรับการโจมตีของกองทัพเยอรมนี กองทัพเยอรมันรุกไปตามท้องถนนของเมืองคาร์คอฟ - ตุลาคม 1941 การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์: เรือประจัญบาน ''แอริโซนา'' ถูกเพลิงไหม้หลังจากถูกโจมตีโดยเครื่องบินรบญี่ปุ่น - 7 ธันวาคม 1941.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941) · ดูเพิ่มเติม »

ลิงกา (มาเลเซีย)

ลิงกา (Lingga; 龙呀) เป็นเมืองประมงขนาดเล็กแห่งหนึ่งที่ตั้งอยู่ในเขตซรีอามัน รัฐซาราวะก์ ประเทศมาเลเซีย ใกล้กับแม่น้ำลูปาร์ที่ไหลออกสู่ทะเลจีนใต้ ที่นี่การค้าพาณิชย์ส่วนใหญ่มักเป็นกิจการของกลุ่มชนเชื้อสายจีน และมีชื่อเสียงว่าเป็นเมืองแห่งจระเข้ซึ่งมีจำนวนมากและสามารถพบได้ตามลำน้ำทั่วไป.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและลิงกา (มาเลเซีย) · ดูเพิ่มเติม »

ลิงจมูกยาว

ลิงจมูกยาว หรือ ลิงจมูกงวง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับวานรชนิดหนึ่ง ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล NasalisWilson, D. E. & Reeder, D. M. (eds.) (2005).

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและลิงจมูกยาว · ดูเพิ่มเติม »

ลิงแสม

ลิงแสม (Long-tailed macaque, Crab-eating macaque) เป็นลิงชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Macaca fascicularis จัดอยู่ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae).

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและลิงแสม · ดูเพิ่มเติม »

วัวแดง

วัวแดง เป็นวัวป่าชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Bos javanicus รูปร่างคล้ายวัวบ้าน (B. taurus) ทั่วไป แต่มีลักษณะสำคัญที่ต่างไปจากวัวบ้านและกระทิง (B. gaurus) คือ มีวงก้นขาวทั้งในตัวผู้และตัวเมีย มีเส้นขาวรอบจมูก ขาทั้ง 4 ข้างมีสีขาวตั้งแต่หัวเข่าจนถึงกีบเท้า ระหว่างโคนขาของตัวผู้ไม่มีขน แต่เป็นหนังตกกระแข็ง ๆ เรียกว่า "กระบังหน้า" ความยาวลำตัวและหัวประมาณ 190–255 เซนติเมตร หางยาว 65–70 เซนติเมตร สูงประมาณ 155–165 เซนติเมตร และมีน้ำหนักราว 600–800 กิโลกรัม พบในพม่า, ไทย, อินโดจีน, ชวา, บอร์เนียว, เกาะบาหลี, ซาราวะก์, เซเลบีส สำหรับประเทศไทยเคยพบได้ทุกภาค วัวแดงกินหญ้าอ่อน ๆ ใบไผ่อ่อน หน่อไม้อ่อน ลูกไม้ป่าบางชนิด ใบไม้ ยอดอ่อนของพืช และดอกไม้ป่าบางชนิด ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดย่อย ได้ดังนี้.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและวัวแดง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ยางนา

วงศ์ยางนา หรือ วงศ์ไม้ยาง หรือDipterocarpaceae เป็นวงศ์ของไม้ยืนต้นมีสมาชิก 17 สกุลและประมาณ 500 สปีชีส์ ส่วนใหญ่เป็นพืชเขตร้อน ในป่าฝนเขตร้อนระดับล่าง ชื่อของวงศ์นี้มาจากสกุล Dipterocarpus ซึ่งมาจากภาษากรีก (di.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและวงศ์ยางนา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยปลาผีเสื้อติดหิน

วงศ์ย่อยปลาผีเสื้อติดหิน หรือ วงศ์ย่อยปลาซัคเกอร์ผีเสื้อ (Flat loach) เป็นวงศ์ย่อยของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ใช้ชื่อวงศ์ว่า Balitorinae (/บา-ลิ-ทอร์-นิ-นี่/) ในวงศ์ Balitoridae ซึ่งมีจำนวนสมาชิกอยู่ด้วยกันหลากหลายมากมาย หลายร้อยชนิด สำหรับปลาในวงศ์ย่อยนี้ จะพบกระจายพันธุ์ในดินแดนที่เป็นหมู่เกาะ เช่น บอร์เนียว เป็นต้น มีจำนวนสกุลในวงศ์นี้ ได้แก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและวงศ์ย่อยปลาผีเสื้อติดหิน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากระทิง

วงศ์ปลากระทิง เป็นวงศ์ปลาในอันดับ Synbranchiformes พบในน้ำจืดและน้ำกร่อย มีรูปร่างคล้ายปลาไหล แต่ส่วนหัวและจะงอยปากยื่นแหลม ปากเล็ก จะงอยปากและปลายจมูกเป็นงวงแหลมสั้นปลายแฉก ตาเล็ก ครีบอก ครีบหลัง ครีบก้นและครีบหางเล็ก ด้านหลังมีก้านครีบแข็งสั้นแหลมคมอยู่ตลอดตอนหน้า มีเกล็ดเล็ก ใช้ชื่อวงศ์ว่า Mastacembelidae (/มาส-ทา-เซม-เบล-อิ-ดี้/) อาศัยอยู่ใกล้พื้นท้องน้ำหรืออยู่ในโพรงไม้และรากไม้ หรือฝังตัวอยู่ใต้กรวดหรือพื้นทราย พบทั้งหมดประมาณ 27 ชนิด ใน 3 สกุล (ดูในตาราง) กินอาหารจำพวก กุ้งฝอยและปลาขนาดเล็ก พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปแอฟริกาถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และที่เกาะบอร์เนียว พบในประเทศไทยประมาณ 12 ชนิด โดยมีชนิดที่รู้จักกันดี คือ ปลาหลด (Macrognathus siamenis) และ ปลากระทิง (Mastacembelus armatus) นิยมใช้เป็นปลาเพื่อการบริโภค เนื้อมีรสอร่อย และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามและตกเป็นเกมกีฬาด้ว.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและวงศ์ปลากระทิง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากะแมะ

วงศ์ปลากะแมะ (Chaca, Squarehead catfish, Frogmouth catfish, Angler catfish) เป็นวงศ์ปลาในอันดับปลาหนัง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Chacidae (/ชา-คิ-ดี้/) มีรูปร่างแปลกอย่างเห็นได้ชัด มีส่วนหัวที่แบนราบ ปากกว้าง ตาเล็ก ครีบหลังสั้นมีก้านครีบเดี่ยว 1 ก้าน และก้านครีบแขนง 3-4 ก้าน ครีบท้องใหญ่แล ครีบหางแผ่กว้างปลายหางยกขึ้น เห็นสะดุดตา ครีบก้นสั้นประมาณ 8-10 ครีบ ไม่มีก้านครีบแข็ง ผิวหนังย่นและมีตุ่มขนาดต่างๆ เป็นติ่งหนังอยู่โดยรอบ โดยเฉพาะบริเวณปาก เพื่อหลอกล่อเหยื่อ ตัวมีสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลคล้ำ มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณไม่เกิน 20 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในน้ำที่มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ประมาณ 6.5-8.0 ในป่าพรุ พบตั้งแต่อินเดียจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มักกบดานอยู่นิ่ง ๆ กับพื้น เพื่อดักรออาหารได้แก่ ลูกปลาและลูกกุ้งขนาดเล็ก มีทั้งหมด 1 สกุล คือ Chaca (/ชา-คา/) แบ่งออกได้เป็น 4 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและวงศ์ปลากะแมะ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาสวาย

วงศ์ปลาสวาย (Shark catfish) เป็นปลาหนัง มีรูปร่างเพรียว ส่วนท้องใหญ่ ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย หัวโต ตาโต มีหนวด 2 คู่ รูจมูกช่องหน้าและหลังมีขนาดเท่ากัน ครีบไขมันและครีบท้องเล็ก ฐานครีบก้นยาว กระเพาะขนาดใหญ่รียาว มี 1-4 ตอน ใช้ชื่อวงศ์ว่า Pangasiidae (/แพน-กา-ซิ-อาย-ดี้/) พบขนาดตั้งแต่ไม่เกิน 40 เซนติเมตร เช่น ปลาสังกะวาดท้องคม หรือ ปลายอนปีก (Pangasius pleurotaenia) จนถึง 3 เมตรใน ปลาบึก (Pangasianodon gigas) ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นปลาน้ำจืดไม่มีเกล็ดที่ขนาดใหญ่ที่สุดในโลก การกระจายพันธุ์จากอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเกาะบอร์เนียวในอินโดนีเชีย เป็นปลาที่กินเนื้อเป็นอาหาร กินปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร เช่น กุ้ง หรือ หอยฝาเดียว นอกจากนี้ยังเป็นปลาที่มีพฤติกรรมกินซากอีกด้วย ทั้งซากพืชและซากสัตว์ เช่น ปลาเทพา (Pangasius sanitwongsei) มีทั้งหมด 30 ชนิด และพบในประเทศไทยประมาณ 12 ชนิด ซึ่งปลาที่มีขนาดเล็กจะเรียกชื่อซ้ำซ้อนในแต่ละชนิดว่า "สังกะวาด" หรือ "สังกะวัง" จัดเป็นปลาน้ำจืดเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่คนไทยนิยมบริโภคและรู้จักกันดี และจากการศึกษาล่าสุด พบว่าเนื้อปลาในวงศ์ปลาสวายนี้มีโอเมกา 3 มากกว่าปลาทะเลเสียอีก โดยเฉพาะอย่าง ปลาสวาย (P. hypophthalmus) มีโอเมกา 3 สูงถึง 2,570 มิลลิกรัม ต่อน้ำหนัก 100 กรัม.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและวงศ์ปลาสวาย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เขียดงู

วงศ์เขียดงู (Asiatic tailed caecilian, Fish caecilian; วงศ์: Ichthyophiidae) เป็นวงศ์ของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในอันดับ Gymnophiona ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ichthyophiidae มีลักษณะโดยรวม คือ มีกระดูกกะโหลกเชื่อมรวมกันมากขึ้นและไม่มีปล้องลำตัวจำนวนมากและเป็นลักษณะเด่น ประกอบด้วยปล้องลำตัวปฐมภูมิ ปล้องลำตัวทุติยภูมิ และปล้องลำตัวตติยภูมิ มีเกล็ดอยู่ในร่องปล้องลำตัวส่วนมาก ตาอยู่ในร่องของกระดูกใต้ผิวหนังแต่มองเห็นได้ชัดเจน ปากอยู่ที่ปลายสุดของหัวหรือต่ำลงมาเล็กน้อย ช่องเปิดของหนวดอยู่ระหว่างตากับช่องเปิดจมูกแต่อยู่ใกล้กับตามากกว่า ส่วนหางมีลักษณะคล้ายกับเขียดงูในวงศ์ Rhinatrematidae ที่พบในอเมริกาใต้ มีความยาวเฉลี่ยประมาณ 20-30 เซนติเมตร แต่บางชนิด เช่น Caudacaecilia nigroflava และIchthyophis glutinosus มีความยาวลำตัวประมาณ 40-50 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในโพรงดิน ตัวเมียวางไข่ในโพรงดินใกล้กับแหล่งน้ำและเฝ้าดูแลไข่จนกระทั่งตัวอ่อนออกจากไข่ ตัวอ่อนเมื่อออกจากไข่แล้วจะลงสู่แหล่งน้ำและอาศัยอยู่ในน้ำในช่วงต้นของวงจรชีวิต แบ่งออกได้เป็น 2 สกุล พบราว 37 ชนิด พบกระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย เช่น อินเดีย, ศรีลังกา, เอเชียอาคเนย์, ฟิลิปปิน, มาเลเซีย, บอร์เนียว, สุมาตรา เป็นต้น ในประเทศไทยล้วนแต่พบเฉพาะในวงศ์นี้ราว 7 ชนิด เช่น เขียดงูดำ (Caudacaecilia larutensis), เขียดงูเกาะเต่า (Ichthyophis kohtaoensis), เขียดงูดอยสุเทพ (I. youngorum) เป็นต้น.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและวงศ์เขียดงู · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เต่านา

วงศ์เต่านา (Terrapin, Pond turtle; ชื่อวิทยาศาสตร์: Geoemydidae หรือ ในอดีตใช้ Bataguridae) เป็นวงศ์ของเต่า ที่ส่วนมากอาศัยอยู่ในน้ำทั้งน้ำจืดและน้ำกร่อย หรือบางส่วนอาศัยบนพื้นที่มีความชุ่มชื้นหรือชื้นแฉะ หรืออยู่บนบกแห้ง ๆ เลยก็มี เป็นเต่าที่มีกระดองทรงกลมหรือโค้งนูนเล็กน้อย กระดองท้องใหญ่ กระดูกแอนกูลาร์ของขากรรไกรล่างไม่เชื่อมติดกับกระดูกอ่อนเมคเคล กระดูกเบสิคออคซิพิทัลเป็นชิ้นกว้าง การหุบขากรรไกรล่างเกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อที่ผ่านไปกระดูกโพรโอติก และขากรรไกรติดกับพื้นผิวของก้านกระดูกโพรโอติกที่อยู่ในซัยโนเวียลแคปซูล กระดองท้องไม่มีกระดูกมีโสพลาสทรอน มีกระดูกพลาสทรอนไปเชื่อมต่อกับขอบนอกของกระดองหลังที่มีร่องแบ่งเป็นกระดูกชิ้นเล็กจำนวน 11 คู่ กระดูกเชิงกรานเชื่อมติดกับกระดองท้องในลักษณะที่ยืดหยุ่นได้ เต่าในวงศ์นี้ถือเป็นวงศ์ใหญ่ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 วงศ์ย่อย (ดูในตาราง) มีทั้งหมด 23 สกุล พบราว 65 ชนิด แพร่กระจายพันธุ์ในทวีปยุโรปตอนใต้, เอเชียอาคเนย์, อเมริกากลาง และบางส่วนของทวีปอเมริกาใต้ ในประเทศไทยมีเต่าในวงศ์นี้มากถึง 16 ชนิด อาทิ เต่าลายตีนเป็ด (Callagur borneoensis), เต่ากระอาน (Batagur baska), เต่านา (Malayemys macrocephala และM. subtrijuga), เต่าหับ (Cuora amboinensis), เต่าดำ (Siebenrockiella crassicollis) เป็นต้น โดยเต่าชนิดที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้คือ เต่าน้ำบอร์เนียว (Orlitia borneensis) ที่มีความยาวของกระดองได้ถึง 80 เซนติเมตร พบในบึงน้ำและแม่น้ำของมาเลเซียและเกาะบอร์เนียว ซึ่งเป็นเต่าชนิดหนึ่งที่ใกล้สูญพันธุ์มากแล้วชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและวงศ์เต่านา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมหาพรหม

กุลมหาพรหม หรือ Mitrephora เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Annonaceae มีสมาชิกประมาณ 40 สปีชีส์ เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กและไม้พุ่ม พบในเขตร้อนของเอเชียและออสเตรเลียเหนือ แพร่กระจายจากจีนไปจนถึงเกาะไหหลำจนถึงรัฐควีนส์แลนด์ ออสเตรเลีย พืชสกุลนี้พบมากในอินเดียและมีความหลากหลายในเกาะบอร์เนียวและฟิลิปปิน.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและสกุลมหาพรหม · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะม่วง

Mangifera เป็นสกุลของพืชใบเลี้ยงคู้ในวงศ์ Anacardiaceae ประกอบด้วย 69 สปีชีส์ ที่รู้จักกันดีได้แก่ มะม่วง (Mangifera indica) ซึงมีการแพร่กระจายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยแหล่งที่หลากหลายที่สุดอยู่ที่คาบสมุทรมลายู เกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตร.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและสกุลมะม่วง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะเม่า

Antidesma เป็นสกุลของพืชเขตร้อนในวงศ์ เป็นพืชที่มีความสูงได้หลากหลาย มีทั้งต้นเตี้ยและต้นสูง ช่อดอกเป็นช่อยาว และเมื่อติดผลจะเป็นช่อยาวด้วย ผลกลม ขนาดเล็ก มักมีรสเปรี้ยวเมื่อดิบ สุกแล้วเป็นสีแดงแล้วกลายเป็นดำ รสจะหวานขึ้น Antidesma เป็นสกุลของพืชพื้นเมืองในเขตร้อนของโลกเก่า มีประมาณ 100 สปีชีส์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยมี 18 สปีชี.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและสกุลมะเม่า · ดูเพิ่มเติม »

สกุลยอ

กุลยอ หรือ Morindaเป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Rubiaceae.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและสกุลยอ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหวายกุ้งน้ำพราย

กุลหวายกุ้งน้ำพราย หรือPlectocomiopsis เป็นสกุลของพืชในวงศ์ปาล์มที่แยกต้นตัวผู้และต้นตัวเมีย พบในไทย มาเลเซีย เกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา จัดเป็นหวายชนิดปีนป่าย ใกล้เคียงกับหวายในสกุล Myrialepis Uhl, Natalie W. and Dransfield, John (1987) Genera Palmarum - A classification of palms based on the work of Harold E. Moore.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและสกุลหวายกุ้งน้ำพราย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแมวลายหินอ่อน

กุลแมวลายหินอ่อน (Marbled cat) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์แมว (Felidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Pardofelis โดยคำว่า Pardofelis นั้นเป็นภาษาละติน 2 คำ คือ pardus หมายถึง เสือดาว และ felis หมายถึง แมว สัตว์ที่อยู่ในสกุลนี้นั้น มีด้วยกัน 3 ชนิด กระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย ตั้งแต่ภาคใต้ของจีน, อินโดจีน จนถึงเกาะบอร์เนียว โดยสกุลนี้ถูกตั้งขึ้นโดยนักสำรวจและนักธรรมชาติวิทยาชาวรัสเซีย นิโคไล เซเวอร์ทซอฟ ในปี ค.ศ. 1858 โดยมีแมวลายหินอ่อนเป็นต้นแบบ จากการศึกษาพบว่าสกุลนี้ได้พัฒนาตัวเองขึ้นมาเมื่อ 9.4 ล้านปีก่อน Johnson, W. E., Eizirik, E., Pecon-Slattery, J., Murphy, W. J., Antunes, A., Teeling, E., O'Brien, S. J. (2006).

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและสกุลแมวลายหินอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเสือลายเมฆ

กุลเสือลายเมฆ เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับสัตว์กินเนื้อจำพวกเสือขนาดใหญ่สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Neofelis จัดอยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) โดยคำว่า Neofelis นั้น มาจากภาษากรีกคำว่า νεο หมายถึง "ใหม่" และภาษาละตินคำว่า feles หมายถึง "แมว" รวมความแล้วหมายถึง "แมวใหม่" สกุลนี้ตั้งขึ้นโดย จอห์น เอ็ดเวิร์ด เกรย์ นักสัตววิทยาชาวอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1867 ลักษณะเด่นของเสือในสกุลนี้ คือ มีกะโหลกส่วนใบหน้าที่กว้าง หน้าผากมีขนาดใหญ่และจมูกยาว ขากรรไกรล่างและขากรรไกรบนมีฟันเขี้ยวที่คมและปลายขอบตัดขวาง ซึ่งกะโหลกลักษณะนี้คล้ายคลึงกับเสือเขี้ยวดาบที่สูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ นอกจากนี้แล้วเสือลายเมฆที่พบในภูมิภาคซุนดามีเขี้ยวบนยาวและมีเพดานปากที่แคบระหว่างเขี้ยวนั้น โดยรวมแล้ว เสือลายเมฆเป็นเสือขนาดใหญ่ที่มีรูปร่างเล็กกว่าเสือขนาดใหญ่ชนิดอื่น ๆ พบกระจายพันธุ์เฉพาะภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ไปจนถึงเกาะบอร์เนียว และพบได้ในพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ของจีน ลักษณะกะโหลกและฟันเขี้ยวของเสือลายเม.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและสกุลเสือลายเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเสือไฟ

กุลเสือไฟ (Golden cat) เป็นสกุลของสัตว์กินเนื้อจำพวกเสือขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Catopuma ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) ลักษณะโดยทั่วไปของเสือในสกุลนี้ คือ จะมีขนสีเดียวตลอดทั้งตัว คือ สีแดงหรือสีส้ม ในขณะที่ส่วนหัวจะมีลวดลายสีเข้มเป็นเอกลักษณ์ พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ จนถึงเกาะบอร์เนียว ปัจจุบันมีการแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด โดยทั้ง 2 ชนิดนี้ถูกแยกออกจากกันชัดเจนจากการวิเคราะห์ทางพันธุกรรม โดยทั้ง 2 ชนิดนี้ถูกแยกออกจากกันเมื่อ 4.9-5.3 ล้านปีมาแล้ว โดยชนิดที่พบบนเกาะบอร์เนียววิวัฒนาการตัวเองแยกออกมาก่อน โดยมีญาติใกล้ชิดที่สุด คือ แมวลายหินอ่อน ซึ่งอยู่ในสกุล Pardofelis ซึ่งแยกออกมาต่างหากเมื่อ 9.4 ล้านปีก่อน.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและสกุลเสือไฟ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐหลานฟาง

รณรัฐหลานฟาง (Lanfang Republic; ภาษาจีน: 蘭芳共和國; พินยิน: Lánfāng Gònghéguó; Pe̍h-ōe-jī: Lân-phang Kiōng-hô-kok) เป็นรัฐของชาวจีนที่ใช้ระบบกงสีในกาลีมันตันตะวันตก ประเทศอินโดนีเซีย ก่อตั้งโดยชาวจีนฮากกาชื่อหลัว ฟางปั๋ว (羅芳伯) เมื่อ..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและสาธารณรัฐหลานฟาง · ดูเพิ่มเติม »

สิงโตดอกไม้ไฟ

งโตดอกไม้ไฟ เป็นกล้วยไม้ขนาดเล็กในสกุลสิงโต ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ช่อดอกแบบกระจุก มีดอกจำนวนมากอยูปลายท่อ สีขาว ผิวกลีบไม่เรียบ ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายนพบในประเทศไทย คาบสมุทรมลายู และบอร์เนียว ในไทยพบที่สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และนราธิว.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและสิงโตดอกไม้ไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ส้มม่วงคัน

้มม่วงคัน เป็นพืชในวงศ์ Anacardiaceae เป็นไม้ยืนต้น ใบเหนียวคล้ายหนัง ดอกช่อ สีขาวหรือขาวแกมเขียว ผลรูปกลมป้อม เปลือกสีม่วงเข้ม เนื้อผลสีเหลืองมีเส้นใยมาก เป็นไม้พื้นเมืองในเกาะบอร์เนียว สุมาตรา สิงคโปร์ และคาบสมุทรมลายู ผลมีรสหวานอมเปรี้ยว เนื้อผลหนาเพียง 1 เซนติเมตร เมล็ดมีเส้นใยมาก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและส้มม่วงคัน · ดูเพิ่มเติม »

หมาไม้

หมาไม้ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่งในอันดับสัตว์กินเนื้อ มีรูปร่างคล้ายพญากระรอกดำ (Ratufa bicolor) มีลักษณะเด่นคือ ตั้งแต่ใต้คอลงไปถึงหน้าอกมีสีเหลือง ส่วนหัวด้านบนมีสีดำ ขาสั้นเมื่อเทียบกับขนาดตัว ตัวผู้มีฟันเขี้ยวขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย หางยาวพอ ๆ กับความยาวลำตัว หมาไม้ชนิดย่อยที่อาศัยอยู่ทางภาคเหนือของทวีปเอเชียจะมีขนาดใหญ่กว่าชนิดที่อาศัยอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร มีความยาวลำตัวและหัว 45–60 เซนติเมตร ความยาวหาง 38–43 เซนติเมตร น้ำหนัก 2–3 กิโลกรัม หมาไม้เป็นสัตว์ที่มีกลิ่นตัวแรงมาก มีความคล่องแคล่วปราดเปรียวมาก สามารถหากินได้ทั้งบนต้นไม้และพื้นดิน กินอาหารได้หลากหลายประเภททั้งพืชและสัตว์ ทั้งสัตว์ฟันแทะ, แมลง, สัตว์เลื้อยคลาน, นก หรือ ไข่นก บางครั้งอาจเข้ามาหาอาหารที่นักท่องเที่ยวป่าทิ้งไว้ตามเต๊นท์ นอกจากนี้ยังสามารถกินผึ้งและน้ำผึ้งเหมือนหมีได้อีกด้วย มักหากินในเวลากลางวัน แต่บางครั้งอาจหากินในเวลากลางคืน มักจะหากินแต่เพียงลำพังหรือเป็นคู่ไม่มากกว่านั้น หมาไม้ตัวเมียจะตั้งท้องนาน 220–290 วัน ออกลูกครั้งละ 3–5 ตัว อายุขัยในสถานที่เลี้ยงประมาณ 14 ปี เป็นสัตว์ที่มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทางตะวันออกของอัฟกานิสถาน, ภาคเหนือของปากีสถาน, รัฐแคชเมียร์และรัฐอัสสัมของอินเดีย, ภาคเหนือของพม่า, ภาคใต้และภาคตะวันออกของจีน, ไต้หวัน, ไทย, ลาว, ตอนเหนือของกัมพูชา, ภาคเหนือและภาคกลางของเวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว สถานะของหมาไม้ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและหมาไม้ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะซุนดา

กลุ่มเกาะมลายู หมู่เกาะซุนดา (Sunda Islands) เป็นกลุ่มของเกาะในส่วนตะวันตกของกลุ่มเกาะมลายู.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและหมู่เกาะซุนดา · ดูเพิ่มเติม »

หมีหมา

หมีหมา หรือ หมีคน (Malayan sun bear, Honey bear;; อีสาน: เหมือย).

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและหมีหมา · ดูเพิ่มเติม »

หมีขอ

หมีขอ หรือ บินตุรง หรือ หมีกระรอก (Binturong, Bearcat;; อีสาน: เหง็นหางขอ, เหง็นหมี) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม แม้จะมีหน้าตาคล้ายหมีจนได้ชื่อว่าหมี แต่เป็นสัตว์จำพวกชะมดและอีเห็น (Viverridae) ที่ใหญ่ที่สุด จัดเป็นสัตว์เพียงชนิดเดียวในสกุล Arctictis มีหางยาวเป็นพวงคล้ายกระรอก ขนตามลำตัวค่อนข้างยาวสีดำและหยาบ สีขนบริเวณหัวอาจมีสีเทา หูกลม บริเวณขอบหูมีสีขาว หางที่ยาวสามารถใช้เกาะเกี่ยวต้นไม้ได้เป็นอย่างดี มีความยาวลำตัวและหัว 61-96.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 50-84 เซนติเมตร น้ำหนัก 9-20 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ภูฐาน, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย ภาคตะวันตกของพม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, พรมแดนระหว่างเวียดนามติดกับลาวและกัมพูชา, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียวในอินโดนีเซีย และเกาะปาลาวันในฟิลิปปินส์ หมีขอเป็นสัตว์หากินในเวลากลางคืน อาศัยและหากินตามลำพัง แต่ในบางครั้งอาจอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ประกอบไปด้วย แม่และลูก ในเวลากลางวันจะอาศัยโพรงไม้เป็นที่หลับนอน อาหารได้แก่ ผลไม้และสัตว์ที่มีขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ บนต้นไม้ทั้งแมลงและสัตว์เลื้อยคลาน ปีนต้นไม้ได้เก่งมาก โดยใช้หางที่ยาวเกาะเกี่ยวกิ่งไม้จากต้นหนึ่งไปยังอีกต้นหนึ่ง นอกจากนี้ยังสามารถว่ายน้ำได้อีกด้วย มีการผสมพันธุ์กันได้ตลอดทั้งปี ใช้เวลาตั้งท้องนาน 92 วัน ออกลูกครั้งละ 1-3 ตัว หมีขอตัวเมียจะมีเต้านมทั้งหมด 2 คู่ ลูกที่เกิดใหม่ยังไม่สามารถขาและหางเกี่ยวกิ่งไม้ได้ชำนาญเหมือนตัวพ่อแม่ หมีขอเป็นสัตว์ที่เลี้ยงตั้งแต่เล็กแล้วจะเชื่อง จนสามารถนำมาฝึกให้แสดงโชว์ต่าง ๆ ได้ตามสวนสัตว์ สถานะปัจจุบันเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 2 ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและหมีขอ · ดูเพิ่มเติม »

หมีเหม็น

หมีเหม็น, หมี่ หรือ หมูทะลวง (จันทบุรี) (ภาษาชอง: กำปรนบาย; ภาษามลายูปัตตานี: มือเบาะ) เป็นพืชในวงศ์ Lauraceae พบในป่าดงดิบตั้งแต่ อินเดีย เนปาล ไปจนถึงเกาะบอร์เนียว เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกสีขาวอมเหลือง ออกตามง่ามใบ ผลอ่อนสีเขียวผลแก่สีแดง-ดำ รับประทานได้ ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด ทางยาสมุนไพรใช้ได้หลายส่วน เช่น ใช้รากแก้ปวดกล้ามเนื้อ เปลือกแก้ปวดมดลูก เมล็ดตำพอกฝี เป็นต้น.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและหมีเหม็น · ดูเพิ่มเติม »

หม้อข้าวหม้อแกงลิง

ทความนี้เป็นบทความสำหรับชื่อวงศ์ และสกุล หม้อข้าวหม้อแกงลิง (nepenthes; ชื่อสามัญ: tropical pitcher plants หรือ monkey cups) (nə'pεnθiːz / มาจากภาษากรีก: ne.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและหม้อข้าวหม้อแกงลิง · ดูเพิ่มเติม »

หม้อแกงลิง

หม้อแกงลิง (Nepenthes ampullaria) (มาจากภาษาละติน: ampulla.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและหม้อแกงลิง · ดูเพิ่มเติม »

หวายช้าง

หวายช้าง เป็นหวายกอขนาดใหญ่ แยกเพศ ส่วนข้อโป่งพอง ใบขนาดใหญ่ กาบหุ้มลำสีเขียวอ่อนถึงเขียวเข้ม มีหนามขนาดใหญ่ สีดำ โคนหนามสีเหลือง ปลายหนามชี้ขึ้นด้านบน โคนก้านใบบวมพองชัดเจน หูใบสั้น ขาดเป็นริ้ว ๆ มือเกี่ยวขนาดใหญ่สีเขียวเข้ม ดอกช่อ ผลกลมรี เปลือกผลเป็นเกล็ดสีน้ำตาลอมเหลืองไปจนถึงสีเกือบดำกระจายพันธุ์ทางภาคใต้ของไทย ไปจนถึงเกาะสุมาตรา ซูลาเวซี บอร์เนียวไปจนถึงฟิลิปปินส์ ใช้ทำเครื่องเรือนและของใช้ต่าง ๆ ในฟิลิปปินส์รับประทานผล ในซาราวะก์เชื่อว่าพืชชนิดนี้เป็นยา น้ำคั้นจากยอดอ่อนรักษาอาการท้องเสียได้.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและหวายช้าง · ดูเพิ่มเติม »

หวายพนขนหนอน

หวายพนขนหนอน เป็นหวายกอขนาดปานกลาง แยกเพศ กาบหุ้มลำมีสีเขียวคล้ำ มีหนามสีดำหรือสีน้ำตาลเป็นแถบ ๆ แถบหนามทำมุมเฉียงกับลำต้น มีขนรังแคปกคลุมในช่องว่างระหว่างแถบหนาม ปลอกใบเห็นไม่ชัดเจน ก้านใบยาว มีหนามแหลมโค้งงอ ใบประกอบ ดอกช่อ ผลแก่รูปกลมหรือรูปไข่ ปกคลุมด้วยเกล็ดสีเหลือง ลักษณะเด่นของหวายชนิดนี้คือมีกาบหุ้มกิ่งเป็นท่อ และมักมีมดมาทำรัง พบทั่วไปทางภาคใต้ของไทย มาเลเซียและบอร์เนียว ในซาราวะก์ใช้สานเสื่อหรือตะกร้า ผลนำมาสกัดสีแดงได้.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและหวายพนขนหนอน · ดูเพิ่มเติม »

หวายกุ้งน้ำพราย

หวายกุ้งน้ำพราย เป็นหวายกอขนาดใหญ่ ออกดอกครั้งเดียวแล้วตาย กาบหุ้มลำเมื่อสดมีสีเขียวอ่อนมีขุยสีน้ำตาล และมีสีน้ำตาลมีขุยสีเทาเมื่อแห้ง หนามขนาดใหญ่ค่อนข้างแน่น ผลกลมเมื่อแห้งมีสีน้ำตาลแดง ขอบเกล็ดหุ้มผลสีดำสลับกับริ้วสีเหลือง กระจายพันธุ์ในบอร์เนียว สุมาตรา คาบสมุทรมลายู ไปจนถึงภาคใต้ของไทย ใช้ผูกมัดหรือสานตะกร้าแบบหยาบๆ ใช้สานเครื่องมือดักปลาหรือกรงไก่ ยอดรับประทานได้และมีจำหน่ายในท้องตลาดในซาราวะก์ แต่ชนพื้นเมืองในคาบสมุทรมลายูเชื่อว่ามีพิษ.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและหวายกุ้งน้ำพราย · ดูเพิ่มเติม »

หวายขี้ผึ้ง

หวายขี้ผึ้งหรือหวายขนุน เป็นหวายกอ มีมือเกี่ยว ปลายใบย่อยเป็นรูปสามเหลี่ยม พบในภาคใต้ของไทย มาเลเซีย เกาะสุมาตรา เกาะบอร์เนียว เป็นหวายคุณภาพดี แต่มีไม่มากพอสำหรับการค้า ในซาราวะก์นำไปสานตะกร้าและเสื่อ.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและหวายขี้ผึ้ง · ดูเพิ่มเติม »

หวายขี้เป็ด

หวายขี้เป็ด เป็นหวายกอขนาดปานกลาง เกล็ดบนเปลือกผลมีเรซินสีแดง ชาวซีไมในคาบสมุทรมลายู สกัดเรซินจากผลไปใช้เป็นสมุนไพร ในซาราวะก์นำผลไปรับประทาน พบในบอร์เนียว สุมาตรา คาบสมุทรมลายู และตอนใต้ของไท.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและหวายขี้เป็ด · ดูเพิ่มเติม »

หวายดำ

หวายดำ เป็นหวายลำต้นเดี่ยวไม่ค่อยปีนป่าย พบในไทย มาเลเซีย และเกาะสุมาตรา ค่อนข้างหายากบนเกาะบอร์เนียว ใช้ทำไม้เท้.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและหวายดำ · ดูเพิ่มเติม »

หวายตะค้าน้ำ

หวายตะค้าน้ำ เป็นหวายกอขนาดกลาง ลำต้นเลื้อยพันขึ้นที่สูง ลักษณะคล้ายหวายตะค้าทองแต่ไม่มีสีเหลือบขาวบริเวณด้านล่างของใบ พบในภาคใต้ของไทย มาเลเซีย เกาะสุมาตรา เกาะบอร์เนียว เป็นหวายค่อนข้างหายากในมาเลเซีย พบเฉพาะในปะหัง ยะโฮร์ และเประก์ ใช้สานตะกร้า เครื่องมือดักปลา และใช้ผูกมั.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและหวายตะค้าน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

หวายไม้เท้า

หวายไม้เท้า เป็นหวายกอขนาดใหญ่ ปีนป่ายได้สูงมาก มีหนามรูปแบน ทรงสามเหลี่ยมปลายหนามสีดำ โคนสีเหลือง โคนก้านใบเป็นรูปเข่าชัดเจน มือเกี่ยวขนาดใหญ่สีเขียวเข้ม ปลายใบมีขนแข็งๆปกคลุม ดอกช่อ ผลแก่มีลักษณะกลมรี มีจะงอยสั้นๆ เปลือกนอกสีเขียวทึบ พบทั่วไปในพม่า เวียดนาม ไทย มาเลเซีย เกาะสุมาตรา เกาะบอร์เนียว เกาะปาลาวัน ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์ ลำต้นช่วงที่ปล้องยาวนิยมใช้ทำไม้เท้าและก้านร่ม.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและหวายไม้เท้า · ดูเพิ่มเติม »

หนูเหม็น

ำหรับสาโทที่หมายถึงเครื่องดื่มประเภทสุรา ดูที่: สาโท หนูเหม็น หรือ สาโท (อังกฤษ: Moonrat) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Echinosorex gymnurus จัดอยู่ในวงศ์ Erinaceidae ซึ่งจัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Echinosorex หนูเหม็น มีรูปร่างลักษณะคล้ายหนูที่อยู่ในอันดับสัตว์ฟันแทะ แต่หนูเหม็นเป็นสัตว์ที่อยู่ในอันดับเฮดจ์ฮอกเช่นเดียวกับเฮดจ์ฮอก มีขนยาวปุกปุยรุงรังสีดำแซมขาว หัวมีขนสีขาวและมีแถบดำพาดผ่านตาเห็นได้ชัดเจน ปลายปากด้านบนและดั้งจมูกยาวเรียวยื่นออกไปมากกว่าปลายริมฝีปากล่าง หางมีเกล็ดเล็ก ๆ ปกคลุมคล้ายหางหนู มีสีดำและปลายหางสีขาว พบกระจายพันธุ์อยู่ในแถบเทือกเขาตะนาวศรีในเขตพม่า และภาคใต้ของไทยตั้งแต่คอคอดกระลงไปตลอดแหลมมลายู, เกาะสุมาตรา และเกาะบอร์เนียว มีขนาดลำตัวยาว 26-45 เซนติเมตร หางยาว 20-21 เซนติเมตร มีน้ำหนัก 0.5-1.1 กิโลกรัม ถือว่าเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์และอันดับนี้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย คือ E.g.albus พบในตอนตะวันออกและตอนใต้ของเกาะบอร์เนียว และ E.g.cadidus พบในตอนตะวันตกของเกาะบอร์เนียว เป็นสัตว์ที่มีกลิ่นตัวเหม็นรุนแรงจึงเป็นที่มาของชื่อ ซึ่งกลิ่นตัวนี้คล้ายกับกลิ่นระเหยของแอมโมเนีย สามารถส่งกลิ่นออกไปได้ไกลเป็นระยะหลายเมตร ใช้สำหรับติดต่อกับหนูเหม็นตัวอื่น มักอาศัยอยู่ตามลำพัง ชอบอาศัยอยู่ในที่ชื้นแฉะตามป่าดิบชื้น เช่น ป่าโกงกาง, ป่าตามพื้นที่ราบเชิงเขา โดยเฉพาะตามหุบเขาที่มีป่ารกทึบ ติดกับลำธารที่มีน้ำไหลผ่าน ซึ่งเหมาะเป็นแหล่งในการหาอาหารได้สะดวก เป็นสัตว์ที่ออกหากินในเวลากลางคืน อาหาร ได้แก่ หนอน, ด้วง และแมลงต่าง ๆ, ไส้เดือนดิน สามารถที่จะล่าสัตว์เล็ก ๆ กิน เช่น ลูกกบ, เขียด, กุ้ง, ปู, ปลา และหอย ได้ด้วย กลางวันจะพักอาศัยหลบซ่อนอยู่ในรูดิน โพรงไม้และตามซอกใตัรากไม้ในป่าทั่วไป มีฤดูผสมพันธุ์ตลอดทั้งปี ๆ ละ 2 ครอก มีลูกครอกละ 2 ตัว มีนิสัยค่อนข้างดุร้าย ปัจจุบันเป็นสัตว์ที่หายาก มีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ เนื่องจากสภาพพื้นที่ ๆ อยู่อาศัยถูกทำลาย และเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 หนูเหม็น มีความเชื่อมาแต่โบราณว่า หากเก็บกระดูกไว้จะสามารถแก้เสน่ห์ยาแฝดหรือมนต์ดำได้.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและหนูเหม็น · ดูเพิ่มเติม »

อัมบูยัต

อัมบูยัต (ambuyat) เป็นอาหารพื้นเมืองในเกาะบอร์เนียว ในรัฐซาราวะก์และบรูไน และถือเป็นอาหารประจำชาติของบรูไนด้วย โดยทำจากแป้งของปาล์มสาคูที่ขูดออกจากลำต้นมากวนให้สุกซึ่งจะเหนียวเหมือนแป้งเปียก ใช้จันดัสซึ่งคล้ายตะเกียบแต่ปลายข้างหนึ่งติดกัน จุ่มแล้วม้วนก้อนแป้งกินเป็นคำ ๆ โดยรับประทานคู่กับซอสเปรี้ยวที่เรียกชาชะห์ทำจากผลบินไยหรือผลลำพู นอกจากนั้นยังกินกับซัมบัลเตอราซี หรือซัมบัลเติมโปยก (น้ำพริกทุเรียนดอง) และกับข้าวอื่น ๆ ได้แก่ ผัดใบมัน ผักบุ้งผัดกะปิ ปลาย่าง เนื้อย่าง เป็นต้น ในอดีตใช้เป็นอาหารเมื่อขาดแคลนข้าว อัมบูยัตมีลักษณะใกล้เคียงกับปาเปอดาที่นิยมรับประทานทางตะวันตกของอินโดนีเซี.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและอัมบูยัต · ดูเพิ่มเติม »

อาหารมาเลเซีย

มะตะบะที่ขายริมถนนในมาเลเซีย อาหารมาเลเซีย เป็นอาหารที่ได้รับอิทธิพลจากหลายวัฒนธรรมทั่วโลก อิทธิพลหลักมาจากชาวมลายู ชาวจีน และชาวอินเดีย นอกจากนั้นยังได้รับอิทธิพลจากชาวเปอรานากันและยูเรเซีย ชาวโอรังอัสลี และชนเผ่าต่าง ๆ ในซาราวะก์และซาบะฮ์ อาหารมาเลเซียจึงมีความหลากหลายมากโดยรวมทั้งการปรุงอาหารของมลายู จีน อินเดีย อินโดนีเซียโดยเฉพาะในเกาะบอร์เนียว และได้รับอิทธิพลในส่วนน้อยมาจากไทย โปรตุเกส อังกฤษ อาหรับ ทำให้อาหารมาเลเซียมีความหลากหลายทั้งรสชาติ วิธีการ และมีความซับซ้อนมาก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและอาหารมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรมัชปาหิต

อาณาจักรมัชปาหิต เป็นอาณาจักรในชวาตะวันออก มีอำนาจอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1293 ถึงประมาณ ค.ศ. 1500.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและอาณาจักรมัชปาหิต · ดูเพิ่มเติม »

อำพัน

อำพันตกแต่งเป็นเหรียญประดับรูปไข่ขนาด 2x1.3 นิ้ว อำพัน เป็นซากดึกดำบรรพ์ของยางไม้ เป็นสิ่งมีค่าด้วยสีสันและความสวยงามของมัน อำพันที่มีคุณภาพดีเยี่ยมจะถูกนำมาผลิตเป็นเครื่องประดับและอัญมณี แม้ว่าอำพันจะไม่จัดเป็นแร่แต่ก็ถูกจัดให้เป็นพลอย โดยทั่วไปแล้วจะเข้าใจผิดกันว่าอำพันเกิดจากน้ำเลี้ยงของต้นไม้ แต่แท้ที่จริงแล้ว น้ำเลี้ยงเป็นของเหลวที่ไหลเวียนอยู่ในระบบท่อลำเลียงของพืช ขณะที่ยางไม้เป็นอินทรียวัตถุเนื้ออสัณฐานกึ่งแข็งที่ถูกขับออกมาผ่านเซลล์เอพิทีเลียมของพืช เพราะว่าอำพันเคยเป็นยางไม้ที่เหนียวนิ่มเราจึงพบว่าอาจมีแมลงหรือแม้แต่สัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กอยู่ในเนื้อของมันได้ ยางไม้ที่มีสภาพเป็นกึ่งซากดึกดำบรรพ์รู้จักกันในนามของโคปอล สีของอำพันมีได้หลากหลายสีสัน ปรกติแล้วจะมีสีน้ำตาล เหลือง หรือส้ม เนื้อของอำพันเองอาจมีสีได้ตั้งแต่ขาวไปจนถึงเป็นสีเหลืองมะนาวอ่อนๆ หรืออาจเป็นสีน้ำตาลจนถึงเกือบสีดำ สีที่พบน้อยได้แก่สีแดงที่บางทีก็เรียกว่าอำพันเชอรี่ อำพันสีเขียวและสีฟ้าหายากที่มีการขุดค้นหากันมาก อำพันที่มีค่าสูงมากๆจะมีเนื้อโปร่งใส ในทางตรงกันข้ามอำพันที่พบกันมากทั่วไปจะมีสีขุ่นหรือมีเนื้อทึบแสง อำพันเนื้อทึบแสงมักมีฟองอากาศเล็กๆเป็นจำนวนมากที่รู้จักกันในนามของอำพันบาสตาร์ดหมายถึงอำพันปลอม ซึ่งแท้ที่จริงแล้วก็เป็นอำพันของแท้ๆนั่นเอง.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและอำพัน · ดูเพิ่มเติม »

อุรังอุตัง

อุรังอุตัง (Orangutan) เป็นไพรเมตจำพวกลิงไม่มีหาง ที่อยู่ในสกุล Pongo (/พอง-โก/) เป็นสัตว์พื้นเมืองของเกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา ในประเทศอินโดนีเซียเท่านั้น มีขนาดใหญ่คล้ายมนุษย์ ไม่มีหาง หูเล็ก แขนและขายาว ตัวผู้มีน้ำหนัก 75–200 กิโลกรัม ส่วนตัวเมียหนัก 50–80 กิโลกรัม มีขนหยาบสีแดงรุงรัง เมื่อโตขึ้นกระพุ้งแก้มจะห้อยเป็นถุงขนาดใหญ่ มันชอบอยู่บนต้นไม้โดดเดี่ยว เว้นแต่ช่วงผสมพันธุ์จะอยู่เป็นคู่ ชอบห้อยโหนจากกิ่งหนึ่งไปอีกกิ่งหนึ่ง มีการสร้างรังนอน แบบเดียวกับชิมแปนซี เชื่อง ไม่ดุ หัดง่ายแต่เมื่อเติบโตแล้วจะดุมาก เมื่ออุรังอุตังอายุ 10 ปี จะสามารถผสมพันธุ์ได้ ออกลูกทีละ 1 ตัว และอายุยืนถึง 40 ปีเลย ปัจจุบัน เป็นสัตว์หายาก อาหารหลักคือผลไม้ชนิดต่าง ๆ โดยเฉพาะทุเรียน นอกจากนี้ยังกินแมลง ไข่นก สัตว์เล็ก ๆ อื่น ๆ อีกด้วย แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ (สูญพันธุ์ไป 1).

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและอุรังอุตัง · ดูเพิ่มเติม »

อุรังอุตังบอร์เนียว

อุรังอุตังบอร์เนียว หรือ อุรังอุตังบอร์เนียน (Bornean orangutan) เป็นชนิดหนึ่งของอุรังอุตัง มีถิ่นกำเนิดในเกาะบอร์เนียว มีลักษณะคล้ายคลึงกับอุรังอุตังสุมาตรา (P. abelii) แต่มีขนาดใหญ่กว่า อุรังอุตังบอร์เนียวมีอายุยืนถึง 35 ปี ในป่า ในกรงเลี้ยงสามารถมีอายุยืนยาวได้ถึง 60 ปี จากการสำรวจอุรังอุตังบอร์เนียวในป่า พบว่า เพศผู้มีน้ำหนักโดยเฉลี่ย 75 กก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและอุรังอุตังบอร์เนียว · ดูเพิ่มเติม »

อุรังอุตังสุมาตรา

อุรังอุตังสุมาตรา (Sumatran orangutan) เป็นหนึ่งในอุรังอุตังสองสปีชีส์ ซึ่งพบเฉพาะบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซียเท่านั้น อุรังอุตังชนิดนี้หายากและมีขนาดตัวเล็กกว่าอุรังอุตังบอร์เนียว (P. pygmaeus) อุรังอุตังสุมาตราเพศผู้มีความสูงได้ถึง 1.4 เมตร และหนัก 90 กิโลกรัม ขณะที่เพศเมียจะมีขนาดตัวเล็กกว่า โดยเฉลี่ยแล้วจะสูง 90 เซนติเมตร และหนัก 45 กิโลกรัม.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและอุรังอุตังสุมาตรา · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติกีนาบาลู

อุทยานแห่งชาติกีนาบาลู (Taman Negara Kinabalu) เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรก ๆ ในมาเลเซีย ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2507 และเป็นสถานที่แห่งแรกในมาเลเซียที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2543 เนื่องจากถือว่าเป็นสถานที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุดแห่งหนึ่งในโลก อุทยานแห่งนี้ตั้งอยู่ที่ชายฝั่งด้านตะวันตกของรัฐซาบะฮ์บนเกาะบอร์เนียว ทางตะวันออกของมาเลเซีย มีพื้นที่ 754 ตารางกิโลเมตร อยู่รอบ ๆ ภูเขากีนาบาลูซึ่งสูง 4,095.2 เมตร และเป็นภูเขาที่สูงที่สุดบนเกาะบอร์เนียว ภายในอุทยานเป็นแหล่งที่อยู่ของพันธุ์พืชและสัตว์หลากหลายชนิด โดยแบ่งเขตแหล่งที่อยู่ออกตามสภาพทางภูมิศาสตร์ออกได้เป็น 4 เขต ได้แก่ ป่า lowland dipterocarp ป่าสนเขา ทุ่งหญ้าบนที่สูง และพุ่มไม้บนยอดเขา บริเวณภูเขาเป็นแหล่งที่พบกล้วยไม้และพืชกินแมลงหลายสายพันธุ์ ที่มีชื่อเสียงคือสายพันธุ์ Nepenthes rajah และยังเป็นถิ่นอาศัยของสัตว์ประจำถิ่นอีกมากมาย เช่น ปลิงแดงยักษ์กีนาบาลู ไส้เดือนยักษ์กีนาบาลู นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้ากีนาบาลู.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและอุทยานแห่งชาติกีนาบาลู · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติซาบาเงา

อุทยานแห่งชาติซาบาเงา (Taman Nasional Sebangau) เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ที่จังหวัดกาลีมันตันกลาง บนเกาะบอร์เนียวส่วนของประเทศอินโดนีเซีย ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและอุทยานแห่งชาติซาบาเงา · ดูเพิ่มเติม »

อีเห็นลายเสือโคร่ง

อีเห็นลายเสือโคร่ง หรือ อีเห็นลายพาด (Banded palm civet) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่งในอันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hemigalus derbyanus มีรูปร่างหน้าตาเหมือนสัตว์จำพวกอีเห็นหรือชะมดทั่วไป แต่มีหน้ายาวและมีรูปร่างเพรียวบางกว่า ขนตามลำตัวสีน้ำตาลอ่อน มีลักษณะเด่น คือ มีแถบสีดำ 7-8 แถบพาดขวางลำตัว โดยแถบดังกล่าวมีรูปทรงเป็นสามเหลี่ยมยาว ๆ และมีแถบสีดำพาดยาวผ่านใบหน้าและหน้าผาก 2 เส้น ด้านล่างของลำตัวและขามีสีอ่อนกว่าบริเวณหลัง มีหูยาวและมีประสิทธิภาพในการฟังเสียงที่สูง ตามีขนาดใหญ่ ส่วนโคนหางจะมีแถบสีดำเป็นปล้อง ๆ มีต้อมกลิ่นขนาดเล็ก สามารถหดเล็บเก็บได้เหมือนพวกแมว มีความยาวลำตัวและหัว 45-50 เซนติเมตร ความยาวหาง 25-32.5 เซนติเมตร น้ำหนัก 1-3 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภาคใต้ของพม่า ภาคตะวันตกและภาคใต้ของไทย, มาเลเซีย, เกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว มักอาศัยอยู่ในป่าดิบชื้นใกล้แหล่งน้ำ มักอาศัยและออกหากินตามลำพัง นอกจากในฤดูผสมพันธุ์ หรือ มีลูกอ่อนที่อาจพบว่ามีอยู่ด้วยกัน 2 หรือ 3 ตัว ออกหากินในเวลากลางคืน มีลิ้นที่สากเหมือนพวกแมว กินสัตว์ขนาดเล็กจำพวกแมลง, ไส้เดือน, มด, แมงมุม, สัตว์น้ำขนาดเล็ก หอยทาก รวมทั้งพืช อย่าง ผลไม้เป็นต้น ปัจจุบัน การศึกษานิเวศวิทยาของอีเห็นลายเสือโคร่งนั้นยังมีอยู่น้อยมาก เนื่องจากเป็นสัตว์ที่พบเห็นตัวได้ยาก เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและอีเห็นลายเสือโคร่ง · ดูเพิ่มเติม »

อีเห็นหน้าขาว

อีเห็นหน้าขาว หรือ อีเห็นหูด่าง (Small-toothed palm civet) เป็นสัตว์จำพวกชะมดและอีเห็น มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Arctogalidia trivirgata มีรูปร่างหน้าตาคล้ายอีเห็นเครือ (Paguma larvata) แต่มีขนาดเล็กกว่า มีสีขนที่แตกต่างหลากหลายออกไป ในบางตัวอาจมีสีน้ำตาลแดง บางตัวเป็นสีน้ำตาลดำ มีลักษณะเด่นคือ ขอบใบหูจะมีสีขาว บริเวณหลังมีแถบสีดำ 3 เส้นพาดเป็นทางยาวจนถึงโคนหาง บางตัวอาจมีลายเส้นสีขาวพาดยาวมาจรดปลายจมูก หางมีความยาวมากใช้สำหรับทรงตัวบนต้นไม้ ตัวเมียจะมีเต้านม 2 คู่ และมีต่อมกลิ่นด้วย มีความยาวลำตัวและหัว 43-53 เซนติเมตร ความยาวหาง 51-56 เซนติเมตร น้ำหนัก 2-2.5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่รัฐอัสสัม, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวาและเกาะบอร์เนียว มีชนิดย่อยทั้งหมด 14 ชนิด (ดูในตาราง) มีพฤติกรรมอาศัยอยู่ในป่าที่อุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าดิบชื้น, ป่าเบญจพรรณ ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ตามลำพังและหากินบนต้นไม้เป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นในช่วงผสมพันธุ์หรือมีลูกอ่อนที่จะอยู่ด้วยกันเป็นคู่ ออกหากินในเวลากลางคืน มีความปราดเปรียวว่องไวกว่าอีเห็นธรรมดา (Paradoxurus hermaphroditus) มาก โดยมักล่าสัตว์ที่อยู่บนต้นไม้เป็นอาหาร เช่น หนู, กระรอก, นก และช่วยควบคุมปริมาณกระรอกที่ทำลายสวนมะพร้าวไม่ให้มีมากไป สามารถผสมพันธุ์ได้ทั้งปี ใช้เวลาตั้งท้องนาน 45 วัน ออกลูกครั้งละ 2-3 ตัว จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและอีเห็นหน้าขาว · ดูเพิ่มเติม »

อีเห็นข้างลาย

อีเห็นข้างลาย หรือ อีเห็นธรรมดา หรือ มูสังหอม ในภาษาใต้ (Asian palm civet) เป็นอีเห็นขนาดเล็ก สีขนตามลำตัวเป็นสีเทาเข้มจนเกือบดำ ยกเว้นบริเวณรอบจมูก หู ขา และปลายหางมีสีดำมีลายสีขาวพาดขวางบริเวณหน้าผาก หลังมีจุดเล็ก ๆ สีดำเรียงตัวเป็นแนวยาว 3 เส้น จากไหล่ถึงโคนหาง หางมีความยาวพอ ๆ กับลำตัว ขนปลายหางบางตัวอาจมีสีขาว มีต่อมน้ำมันและจะส่งกลิ่นออกมาเมื่อเวลาตกใจ ซึ่งต่อมน้ำมันนี้จะแตกต่างจากชะมดหรืออีเห็นชนิดอื่น ๆ ตัวเมียมีเต้านม 3 คู่ มีความยาวลำตัวและหัว 43–71 เซนติเมตร ความยาวหาง 40.6–66 เซนติเมตร น้ำหนัก 2–5 กิโลกรัม อีเห็นข้างลายมีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางมาก โดยพบตั้งแต่รัฐชัมมูและกัศมีร์ และภาคใต้ของอินเดีย, ศรีลังกา, เนปาล, รัฐสิกขิม, ภูฏาน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, สิงคโปร์, ฟิลิปปินส์, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, เกาะซูลาเวซี และหมู่เกาะซุนดาน้อย และมีชนิดย่อยมากถึง 30 ชนิด (ดูในตาราง) มีพฤติกรรมมักอาศัยและหากินตามลำพัง สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ตั้งแต่ ป่าดิบชื้น, ป่าดิบแล้ง ไปจนถึงชายป่าที่ใกล้กับพื้นที่เกษตรกรรมของมนุษย์ กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น สัตว์ขนาดเล็กจำพวกแมลง และน้ำหวานของเกสรดอกไม้ ออกหากินในเวลากลางคืน นอนหลับในเวลากลางวัน ใช้เวลาส่วนมากตามพื้นดินและจะใช้เวลาน้อยมากอยู่บนต้นไม้ ออกลูกครั้งละ 2–4 ตัว โดยจะเลี้ยงลูกอ่อนไว้ตามโพรงไม้หรือโพรงหิน อีเห็นข้างลายไม่ได้ถูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2546 ปัจจุบันทางสวนสัตว์เชียงใหม่ได้มีโครงการในการเพาะเลี้ยงอีเห็นข้างลาย เพื่อผลิต "กาแฟขี้ชะมด" ซึ่งเป็นกาแฟที่ได้จากมูลของอีเห็นข้างลาย มีราคาซื้อขายที่สูงมาก และในการเพาะเลี้ยงเพื่อใช้ประโยชน์ในการนี้ที่จังหวัดตรังโดยเอกชนด้วยหน้า 27, อะเมซซิง..."กาแฟขี้ชะมดตรัง" โดย มนตรี สังขาว.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและอีเห็นข้างลาย · ดูเพิ่มเติม »

อีเห็นน้ำมลายู

อีเห็นน้ำมลายู หรือ อีเห็นน้ำซุนดา (Otter civet) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อยู่ในอันดับสัตว์กินเนื้อ มีรูปร่างอ้วน ขาสั้น ขนตามลำตัวเป็นสีน้ำตาลเข้ม หรือดำสนิท ลักษณะเด่นคือ หัวค่อนข้างแบน จมูกและปากยื่นออกมามีสีขาว จมูกมีขนาดใหญ่ รูจมูกด้านบนเปิดขึ้นและสามารถปิดได้เมื่ออยู่ใต้น้ำ ใบหูมีขนาดเล็กและมีลิ้นปิดหูไม่ให้น้ำเข้าขณะว่ายน้ำ ห่างค่อนข้างสั้นเมื่อเทียบกับความยาวลำตัว มีพังผืดยืดระหว่างนิ้วคล้ายกับนิ้วเท้าของนากเล็กเล็บสั้น (Amblonyx cinerea) มีความยาวลำตัวและหัว 70-80 เซนติเมตร ความยาวหาง 12-20 เซนติเมตร น้ำหนัก 3-5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์อยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำของภาคใต้ของไทย, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวาและเกาะบอร์เนียว มีพฤติกรรมอาศัยและหากินตามลำพัง โดยล่าพวกสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ เช่น กุ้ง, หอย, ปู, ปลา และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำ เช่น หนู สามารถปรับตัวให้อาศัยแบะหากินอยู่ในน้ำได้ดีเช่นเดียวกับนาก มักอาศัยอยู่ในป่าพรุหรือพื้นที่ชุ่มน้ำอื่น ๆ ปีนต้นไม้ได้เก่ง บางครั้งพบว่าอาจปีนต้นไม้เพื่อกินผลไม้สุกได้.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและอีเห็นน้ำมลายู · ดูเพิ่มเติม »

อีเห็นเครือ

อีเห็นเครือ (Masked palm civet) สัตว์จำพวกชะมดและอีเห็นชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Paguma larvata จัดเป็นสัตว์ขนาดใหญ่ในสัตว์จำพวกนี้ ขนตามลำตัวสีน้ำตาลเข้ม ไม่มีจุดหรือลวดลายใด ๆ บริเวณท้องมีสีอ่อนกว่าส่วนหลัง หลังหูและหลังคอมีสีเข้ม ม่านตามีสีน้ำตาลแดง มีหนวดเป็นเส้นยาวบริเวณจมูกและแก้ม ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย ตัวเมียมีเต้านม 2 คู่ ขนาดลำตัวและหัวยาว 50.8-76.2 เซนติเมตร ความยาวหาง 50.8-63.6 เซนติเมตร น้ำหนัก 3-5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง พบตั้งแต่ภาคเหนือของอินเดีย, ปากีสถาน, ตะวันออกของอัฟกานิสถาน, ไต้หวัน, ตะวันออกของจีน, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียว, ตะวันตกของพม่า, สิกขิม, ภูฐาน, เนปาล มีชนิดย่อยทั้งหมด 4 ชนิด (ดูในตาราง) สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ตั้งแต่ป่าเบญจพรรณ, ป่าดิบแล้ง ไปจนถึงชายป่าที่ติดกับพื้นที่ทำการเกษตรกรรม สามารถปีนต้นไม้ได้คล่องแคล่ว และจะใช้เวลาส่วนใหญ่บนต้นไม้ โดยจะกินทั้งพืชและสัตว์ แต่ในบางครั้งอาจมาหากินบนพื้นดินด้วย จากการศึกษาในเนปาลพบว่า มีการผสมพันธุ์กันในฤดูร้อน โดยในช่วงปลายฤดูฝนอีเห็นเครือตัวเมียจะสร้างรังในโพรงไม้ เพื่อใช้เลี้ยงดูลูกอ่อน ใช้เวลาตั้งท้องนาน 2 เดือน ออกลูกครั้งละ 2-4 ตัว อีเห็นเครือถูกสันนิษฐานว่าเป็นสัตว์ที่เป็นต้นตอแพร่เชื้อของโรคซาร์สที่ระบาดในฮ่องกงและจีนแผ่นดินใหญ่ ในช่วงปี พ.ศ. 2546 เพราะชาวจีนนิยมกินเนื้ออีเห็นเครือและสัตว์ในตระกูลนี้มาก ถูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและอีเห็นเครือ · ดูเพิ่มเติม »

อ้วงเซ็งจี้

อ้วงเซ็งจี้ (Yuan Chengzhi) ยอดฝีมือยุคหลังในประวัติศาสตร์จักรวาลนิยายกิมย้ง(ราชวงศ์เช็ง) และพระเอกจากเรื่องเพ็กฮ้วยเกี้ยม.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและอ้วงเซ็งจี้ · ดูเพิ่มเติม »

จระเข้น้ำจืด

ระเข้น้ำจืด, จระเข้บึง, จระเข้สยาม หรือ จระเข้น้ำจืดสายพันธุ์ไทย (freshwater crocodile, Siamese crocodile) มีถิ่นกำเนิดในบริเวณเวียดนาม, กัมพูชา, ลาว ไทย, กาลีมันตัน, ชวา และสุมาตรา จัดเป็นจระเข้ขนาดปานกลางค่อนมาทางใหญ่ (3 - 4 เมตร) มีเกล็ดท้ายทอด มีช่วงวัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุ 10-12 ปี จระเข้ชนิดนี้วางไข่ครั้งละ 20-48 ฟอง โดยมีระยะเวลาฟักไข่นาน 68-85 วัน เริ่มวางไข่ในช่วงต้นฤดูฝนประมาณเดือนพฤษภาคม โดยขุดหลุมในหาดทรายริมแม่น้ำ ใช้เวลาเฉลี่ยราว 80 วัน ชอบอยู่และหากินเดี่ยว โดยปกติจระเข้น้ำจืดจะกินปลาและสัตว์อื่นที่เล็กกว่าเป็นอาหาร จะไม่ทำร้ายมนุษย์หากไม่ถูกรบกวนหรือมีอาหารเพียงพอ ในอดีตในประเทศไทยเคยพบชุกชุมในแหล่งน้ำทั่วทุกภาคของประเทศ โดยเฉพาะในแถบที่ราบลุ่มภาคกลาง เช่น ที่บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ ได้ชื่อว่าเป็นสถานที่จระเข้ชุม เคยมีรายงานว่าพบจระเข้ถึง 200 ตัว หรือในวรรณกรรมพื้นบ้านเรื่องต่าง ๆ เช่น ไกรทอง ของจังหวัดพิจิตร เป็นต้น แต่ปัจจุบันได้สูญหายไปจนหมดแล้ว แต่ในต่างประเทศยังคงพบอยู่เช่นที่ทะเลสาบเขมร ประเทศกัมพูชา โดยเฉพาะทิวเขาพนมกระวาน ซึ่งช่วงแรกค้นพบเพียง 3 ตัว จนนำไปสู่การค้นพบจระเข้นับร้อยตัวที่อาศัยโดยไม่พึ่งพาอาศัยมนุษย์ แต่ที่นี่ก็ประสบปัญหาการจับจระเข้ไปขายฟาร์มจำนวนมาก สถานะในอนุสัญญาของไซเตส ได้ขึ้นบัญชีจระเข้น้ำจืดไว้อยู่ในบัญชีหมายเลข 1 (Appendix 1) ปัจจุบัน จระเข้สายพันธุ์นี้แท้ ๆ ก็ยังหายากในสถานที่เลี้ยง เนื่องจากถูกผสมสายพันธุ์กับจระเข้สายพันธุ์อื่นจนเสียสายพันธุ์แท้ไปด้วยจากเหตุผลทางด้านเศรษฐก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและจระเข้น้ำจืด · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบรูไน

ักรวรรดิบรูไน (Bruneian Empire) จัดตั้งขึ้นเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 12 บนเกาะบอร์เนียว ในยุคแรกปกครองโดยกษัตริย์ที่นับถือศาสนาฮินดู ก่อนจะเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม ซึ่งได้รับอิทธิพลทั้งจากมุสลิมอินเดียและชาวอาหรับที่เข้ามาค้าขาย ไม่มีหลักฐานในท้องถิ่นที่จะยืนยันการมีอยู่ แต่ในเอกสารจีนได้อ้างถึงบรูไนในยุคเริ่มแรก โบนี (Boni) ในภาษาจีนอ้างถึงดินแดนเกาะบอร์เนียว ในขณะที่ โปลี (Poli 婆利) ที่อาจจะตั้งอยู่ที่เกาะสุมาตรา มักจะถูกกล่าวว่าหมายถึงบรูไนด้วย หลักฐานเก่าสุดที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างบอร์เนียว (โบนี 渤泥) และจีนบีนทึกไว้ใน (Taiping huanyuji 太平環宇記) ในสมัยของสุลต่านโบลเกียห์ ซึ่งเป็นสุลต่านองค์ที่ 5 ของบรูไน บรูไนมีอำนาจครอบคลุมเกาะบอร์เนียวทั้งหมด และบางส่วนของฟิลิปปินส์ เช่น เกาะมินดาเนา ซึ่งถือเป็นยุคทองของบรูไน กองทัพบรูไนมีกองทัพเรือที่แข็งแกร่ง บางส่วนเป็นโจรสลัดในทะเลจีนใต้ และชายฝั่งของเกาะบอร์เนียว หลักฐานทางตะวันตกชิ้นแรกที่กล่าวถึงบรูไนคืองานเขียนของชาวอิตาลี ลูโดวิโก ดี วาร์เทมา ผู้เดินทางมายังหมู่เกาะโมลุกกะและแวะพักที่เกาะบอร์เนียวเมื่อราว..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและจักรวรรดิบรูไน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบันเติน

ันเติน (Banten) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ที่อ่าวบันเตินทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะชวา มีพื้นที่ 9,160.7 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 9,083,114 คน (พ.ศ. 2548) จังหวัดบันเตินก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2543 โดยแยกออกจากจังหวัดชวาตะวันตก มีเมืองหลวงคือเซอรัง (Serang).

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและจังหวัดบันเติน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกาลีมันตันตะวันออก

แผนที่ประเทศอินโดนีเซียแสดงจังหวัดกาลีมันตันตะวันออก กาลีมันตันตะวันออก (Kalimantan Timur) หนึ่งใน 4 ของจังหวัดกาลีมันตันของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว มีเมืองหลวงชื่อซามารินดา (samarinda).

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและจังหวัดกาลีมันตันตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปาลาวัน

ปาลาวัน หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ จังหวัดปาลาวัน เป็นเขตการปกครองระดับจังหวัดในประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งชื่อตามเกาะที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดคือเกาะปาลาวัน จังหวัดนี้ตั้งอยู่ในภาคมิมาโรปาทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะลูซอน ถือได้ว่าเป็นจังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในฟิลิปปินส์ในแง่ของพื้นที่ ในจังหวัดปาลาวันได้แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 23 เทศบาลและ 1 เมืองพิเศษ โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองปวยร์โตปรินเซซา ซึ่งมีสถานะเป็นเมืองพิเศษ นอกจากนี้ในจังหวัดปาลาวันยังเป็นที่ตั้งของมรดกโลกสองแห่ง คือ อุทยานธรรมชาติปะการังตุบบาตาฮา (ค.ศ. 1993) และอุทยานแห่งชาติแม่น้ำใต้ดินปวยร์โตปรินเซซา (ค.ศ. 1999) กลุ่มเกาะปาลาวันมีลักษณะทอดยาวจากเกาะมินโดโรทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือสู่เกาะบอร์เนียวทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ และคั่นกลางระหว่างทะเลจีนใต้กับทะเลซูลู จังหวัดปาลาวันมีความยาวราว 450 กิโลเมตร และกว้าง 50 กิโลเมตร.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและจังหวัดปาลาวัน · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68–69); "Asia" (pp. 90–91): "A commonly accepted division between Asia and Europe is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles." จีนและอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1 ถึง 1800 จีนเป็นประเทศที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจที่สำคัญและดึงดูดผู้คนจำนวนมากให้ไปทางตะวันออก และตำนาน ความมั่งคั่งและความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณของอินเดียกลายเป็นสัญลักษณ์ของเอเชีย สิ่งเหล่านี้จึงดึงดูดการค้า การสำรวจและการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป การค้นพบเส้นทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกโดยบังเอิญจากยุโรปไปอเมริกาของโคลัมบัสในขณะที่กำลังค้นหาเส้นทางไปยังอินเดียแสดงให้เห็นความดึงดูดใจเหล่านี้ เส้นทางสายไหมกลายเป็นเส้นทางการค้าหลักของฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกในขณะที่ช่องแคบมะละกากลายเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ ช่วงศตวรรษที่ 20 ความแข็งแรงของประชากรเอเชียและเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก) เติบโตเป็นอย่างมากแต่การเติบโตของประชากรโดยรวมลดลงเรื่อย ๆ เอเชียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาหลักบนโลกหลายศาสนา อาทิศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม, ศาสนายูดาห์, ศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ, ลัทธิขงจื๊อ, ลัทธิเต๋า, ศาสนาเชน, ศาสนาซิกข์, ศาสนาโซโรอัสเตอร์และศาสนาอื่น ๆ อีกมากมาย เนื่องเอเชียจากมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายทางแนวคิด ภูมินามวิทยาของเอเชียมีตั้งแต่สมัยคลาสสิกซึ่งคาดว่าน่าจะตั้งตามลักษณะผู้คนมากกว่าลักษณะทางกายภาพ เอเชียมีความแตกต่างกันอย่างมากทั้งด้านภูมิภาค กลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรม, สภาพแวดล้อม, เศรษฐศาสตร์, ประวัติศาสตร์และระบบรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แตกต่างกันอย่างมากเช่น พื้นเขตร้อนหรือทะเลทรายในตะวันออกกลาง, ภูมิอากาศแบบอบอุ่นทางตะวันออก ภูมิอากาศแบบกึ่งอารกติกทางตอนกลางของทวีปและภูมิอากาศแบบขั่วโลกในไซบีเรี.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลชวา

right ทะเลชวา (Laut Jawa) ตั้งอยู่ระหว่างเกาะชวากับเกาะบอร์เนียว (กาลีมันตัน) ในประเทศอินโดนีเซีย ครอบคลุมเนื้อที่ประมาณ 310,000 ตารางกิโลเมตร โดยเชื่อมต่อกับทะเลจีนใต้ การประมงเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สำคัญอย่างหนึ่งในทะเลชวา มีสัตว์น้ำในพื้นที่เหล่านี้มากกว่า 3,000 ชนิด มีอุทยานแห่งชาติจำนวนหนึ่งในพื้นที่ดังกล่าว เช่น การีมุนชวา และมีเกาะนับพันเกาะทางตอนเหนือของแผ่นดินใหญ่จาการ์ตา พื้นที่รอบทะเลชวาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญและเป็นแหล่งดำน้ำเพื่อชมและถ่ายภาพใต้น้ำ เช่น สัตว์ทะเล ฟองน้ำ ปะการัง ซากเรืออับปาง หรือถ้ำใต้น้ำ เป็นต้น การรบในทะเลชวาในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและทะเลชวา · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลเซเลบีส

ทะเลเซเลบีส (Celebes Sea) หรือ ทะเลซูลาเวซี (Laut Sulawesi) เป็นทะเลในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศเหนือจดกลุ่มเกาะซูลูและเกาะมินดาเนาของฟิลิปปินส์ ทิศตะวันตกจรดกับหมู่เกาะซังกีเอของประเทศอินโดนีเซีย ทิศใต้ติดต่อกับเกาะซูลาเวซี (เซเลบีส) และทิศตะวันตกจรดกับเกาะบอร์เนียว เชื่อมต่อกับทะเลชวาโดยช่องแคบมากัสซาร์ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลมีเนื้อที่ 110,000 ตร.ไมล์ (280,000 กม2) มีความลึกสูงสุด 20,300 ฟุต (6,200 ม.) หมวดหมู่:ทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิก หมวดหมู่:ทะเลในประเทศฟิลิปปินส์ หมวดหมู่:ทะเลในประเทศอินโดนีเซีย หมวดหมู่:แหล่งน้ำในประเทศมาเลเซีย.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและทะเลเซเลบีส · ดูเพิ่มเติม »

ทาร์เซียร์

วีดีโอคลิปทาร์เซียร์ไม่ทราบชนิด ทาร์เซียร์ (tarsier) หรือ มามัก (mamag) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กในอันดับไพรเมตที่วิวัฒนาการมาจากยุคไอโอซีนจนมาถึงยุคปัจจุบัน ที่มีรูปร่างลักษณะไม่เปลี่ยนแปลงจากเดิมมากนัก มีเพียงวงศ์เดียว คือ Tarsiidae และสกุลเดียวเท่านั้น คือ Tarsius.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและทาร์เซียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงสายแพน-บอร์เนียว

ทางหลวงสายแพน-บอร์เนียว (Lebuhraya Pan Borneo) หรือที่รู้จักในชื่อ ทางหลวงทรานส์-บอร์เนียว เป็นโครงข่ายถนนในเกาะบอร์เนียว เชื่อมต่อระหว่าง 2 รัฐของมาเลเซีย ได้แก่ รัฐซาบะฮ์และรัฐซาราวะก์ เข้ากับประเทศบรูไน ทางหลวงสายนี้ได้กำหนดหมายเลขเป็นทางหลวงเอเชียสาย 150 และทางหลวงมาเลเซียหมายเลข 1 ในรัฐซาราวะก์ ส่วนในรัฐซาบะฮ์กำหนดให้เป็นทางหลวงมาเลเซียหมายเลข 1, 13 และ 22 ทางหลวงสายนี้ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระหว่างรัฐบาลทั้งสอง ตั้งแต่สมัยการก่อตั้งสหพันธรัฐมาเลเซียในปี..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและทางหลวงสายแพน-บอร์เนียว · ดูเพิ่มเติม »

ทิ้งทองหู

ทิ้งทองหู (Jack) เป็นพืชในวงศ์ Gesneriaceae เป็นไม้เลื้อย มีขนละเอียดขึ้นตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ก้านดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก แผ่นใบหนา เห็นเส้นใบไม่ชัดเจน ดอกช่อ มีริ้วประดับรูปไข่ กลีบเลี้ยงสีม่วงน้ำตาลอมเขียวกลีบดอกสีแดงสด ด้านในมีสีเหลืองแซม ผลแบบแห้งแตก มีเมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก มีปุ่มกระจาย มีรยางค์รูปเส้นด้ายทั้งสองด้าน ในไทยพบเฉพาะทางภาคใต้ กระจายพันธุ์ตั้งแต่คาบสมุทรมลายูจนถึงเกาะบอร์เนียว.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและทิ้งทองหู · ดูเพิ่มเติม »

ทุเรียน

ทุเรียน เป็นไม้ผลในวงศ์ฝ้าย (Malvaceae) ในสกุลทุเรียน (Durio) (ถึงแม้ว่านักอนุกรมวิธานบางคนจัดให้อยู่ในวงศ์ทุเรียน (Bombacaceae) ก็ตาม) เป็นผลไม้ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นราชาของผลไม้วันดี กฤษณพันธ์, สมุนไพรน่ารู้, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 3..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและทุเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติโกตากีนาบาลู

ท่าอากาศยานนานาชาติโกตากีนาบาลู (KKIA) เป็นสนามบินตั้งอยู่ในรัฐซาบะฮ์ ตั้งอยู่ห่างจากใจกลางเมืองโกตากีนาบาลู ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ เป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นเป็นอันดับที่สองของประเทศมาเลเซีย รองจากท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ เนื่องจากมีผู้โดยสารมาใช้บริการถึง 6.9 ล้านคนต่อปี อาคารผู้โดยสาร 1 มีเคาน์เตอร์เช็ค-อิน 64 ที่ ให้บริการสายการบินทั้งภายในและระหว่างประเทศ มีหลุมจอดเครื่องบิน 17 หลุม อาคารผู้โดยสารนี้รับผู้โดยสารได้สูงสุดถึง 3,200 คน ส่วนอาคารผู้โดยสาร 2 หรืออาคารหลังใหม่ รับเครื่องบินได้ 12 ลำ โถงผู้โดยสารขาออก มียอดเสาเป็นลายแบบ "วากิด" ซึ่งในทางวัฒนธรรมของซาบะฮ์แล้ว วากิดเป็นสิ่งที่แสดงถึงความรื่นเริงและสนุกสนาน โถงมีพื้นที่ใช้สอยในชั้นที่หนึ่ง 24,128 ตารางเมตร ชั้นที่สอง 18,511.4 ตารางเมตร และชั้นที่สาม 22,339 ตารางเมตร.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและท่าอากาศยานนานาชาติโกตากีนาบาลู · ดูเพิ่มเติม »

ขมิ้นเครือ

มิ้นเครือhttp://eherb.hrdi.or.th/search_result_details.php?herbariumID.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและขมิ้นเครือ · ดูเพิ่มเติม »

ข้อพิพาทดินแดนในทะเลจีนใต้

้อพิพาทดินแดนในทะเลจีนใต้เกี่ยวกับการอ้างสิทธิเหนือเกาะและทะเลในหลายรัฐเอกราชบริเวณทะเลจีนใต้ คือ ประเทศบรูไน จีน ไต้หวัน มาเลเซีย ฟิลิปปินส์และเวียดนาม มีข้อพิพาทเกี่ยวกับหมู่เกาะสแปรตลีและแพราเซล เช่นเดียวกับแนวแบ่งเขตทางทะเลในอ่าวตังเกี๋ยและที่อื่น มีข้อพิพาทอีกในน่านน้ำใกล้หมู่เกาะนาตูนาของอินโดนีเซีย ผลประโยชน์ของหลายชาติมีการได้พื้นที่ประมงรอบสองกลุ่มเกาะดังกล่าว การแสวงหาประโยชน์ที่เป็นไปได้จากน้ำมันดิบและแก๊สธรรมชาติซึ่งสงสัยว่าอยู่ใต้หลายส่วนของทะเลจีนใต้ และการควบคุมเส้นทางเดินเรือสำคัญทางยุทธศาสตร.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและข้อพิพาทดินแดนในทะเลจีนใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน

มลหมอกจากไฟไหม้ป่าจากสุมาตรา, อินโดนีเชียในใจกลางเมืองสิงคโปร์เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม ค.ศ. 2006 ภาพจากดาวเทียมแสดงไฟไหม้ป่าในบอร์เนียวในปี ค.ศ. 2006 ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน (ASEAN Agreement on Transboundary Haze Pollution) คือความตกลงทางด้านสิ่งแวดล้อมที่ลงนามในปี ค.ศ. 2002 ระหว่างชาติสมาชิกในกลุ่มสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีวัตถุประสงค์ในการลดมลหมอกพิษในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ความตกลงเป็นปฏิกิริยาตอบโต้วิกฤติการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในคริสต์ทศวรรษ 1990 ที่ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากการถางป่าโดยการเผาในเกาะสุมาตราในอินโดนีเชีย ภาพจากดาวเทียมแสดงให้เห็นจุดต่างๆ ทั่วบอร์เนียว, สุมาตรา, คาบสมุทรมาลายู และอื่นๆ ที่มีผลกระทบกระเทือนอย่างรุนแรงต่อมาเลเซีย, สิงคโปร์ และบ้างในประเทศไทย และ บรูไน สำหรับสุมาตรา ลมมรสุมพัดควันไปทางตะวันออกที่ทำให้สร้างความกระทบกระเทือนภายนอกประเทศต่อชาติอื่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มลหมอกหนาปกคลุมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อยู่หลายอาทิตย์ และมีผลต่อสุขภาพของประชาชนในประเทศดังกล่าว ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2007 แปดชาติให้สัตยาบันในความตกลง.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรมลายู

มุทรมลายู คาบสมุทรมลายู หรือ แหลมมลายู (Semenanjung Tanah Melayu; Malay Peninsula) เป็นคาบสมุทรขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วางตัวเกือบอยู่ในแนวเหนือ-ใต้ และเป็นจุดที่อยู่ใต้สุดของทวีปเอเชีย ส่วนที่แคบที่สุดของคาบสมุทรมลายู คือ คอคอดกระ ชายฝั่งด้านตะวันตกเฉียงใต้แยกออกจากเกาะสุมาตราด้วยช่องแคบมะละกา มีเกาะบอร์เนียวอยู่ทางตะวันออกในทะเลจีนใต้.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและคาบสมุทรมลายู · ดูเพิ่มเติม »

คางคกห้วย

งคกห้วย เป็นสกุลของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในสกุล Ansonia (/เอน-โซ-เนีย-อา/) ในวงศ์คางคก (Bufonidae) จัดเป็นคางคกขนาดเล็ก อาศัยอยู่ในป่าดิบชื้นใกล้แหล่งน้ำที่เป็นลำธารหรือน้ำตก ลูกอ๊อดอาศัยอยู่ในลำธารน้ำไหลเชี่ยว จึงมีแผ่นดูดอยู่โดยรอบของช่องปากเพื่อช่วยยึดติดลำตัวให้ติดอยู่กับก้อนหินในน้ำ พบกระจายพันธุ์ในทวีปเอเชียตั้งแต่ตอนใต้ของอินเดีย, ภาคเหนือของไทยจนถึงคาบสมุทรมลายู, เกาะตีโยมัน, เกาะบอร์เนียว ไปจนถึงเกาะมินดาเนาในฟิลิปปิน.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและคางคกห้วย · ดูเพิ่มเติม »

ค่างดำมลายู

งดำมลายู หรือ ค่างดำ (Banded surili) เป็นค่างชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย มีรูปร่างทั่วไปคล้ายค่างชนิดอื่น ๆ ขนตามลำตัวสีน้ำตาลเข้มจนถึงดำ ขนบริเวณท้องอ่อนกว่าสีตามลำตัว หน้าอกมีสีขาว มีวงแหวนสีขาวรอบดวงตามากกว่าค่างชนิดอื่น ๆ เหมือนสวมแว่นตา ปลายหางมีรูปทรงเนียวเล็กและมีสีอ่อนกว่าโคนหาง ลูกเมื่อยังแรกเกิดจะมีขนสีทอง ส่วนหัวมีสีเทาเข้ม มีความยาวลำตัวและหัวประมาณ 48-58 เซนติเมตร ความยาวหาง 72-84 เซนติเมตร มีน้ำหนักประมาณ 5-7 กิโลกรัม ค่างดำมลายูพบกระจายพันธุ์ตั้งแต่แหลมมลายูลงไปจนถึง เกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา ในอินโดนีเซีย มีนิเวศวิทยามักอาศัยในป่าที่ใกล้กับแหล่งน้ำ อาทิ บึงหรือชายทะเล บางครั้งอาจพบในป่าที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 600-2,200 เมตร อยู่รวมกันเป็นฝูง ในจำนวนสมาชิกไม่มากนักเมื่อเทียบกับค่างชนิดอื่น คือ ประมาณ 5-10 ตัวเท่านั้น สถานะของค่างดำมลายูในประเทศไทย เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและค่างดำมลายู · ดูเพิ่มเติม »

ค่างแว่นโฮส

งแว่นโฮส (Miller's grizzled langur, Hose's langur, Gray leaf monkey) เป็นค่างชนิด Presbytis hosei มีขนบริเวนใบหน้าสีดำและมีขนปุกปุยสีขาวคล้ายสวมเสื้อคลุมตั้งแต่คางลงไปตลอดหน้าท้อง จมูกและริมฝีปากสีชมพู มีสีขาวเป็นวงรอบดวงตาคล้ายสวมแว่นตา มีหางยาว มีอุปนิสัยอยู่รวมกันเป็นฝูง ค่างแว่นโฮสเป็นสัตว์ที่ตกอยู่ในสภาวะใกล้สูญพันธุ์ เนื่องจากถิ่นที่อยู่อาศัยในธรรมชาติถูกทำลายลงจากการบุกรุกตัดไม้ทำลายป่าของมนุษย์และไฟป่า รวมทั้งฆ่าเพื่อเอาหินบีซอร์ที่อยู่ในกระเพาะเพื่อใช้ในทำพิธีกรรมทางเวทมนตร์ตามความเชื่อ อันเนื่องจากค่างจะกินหินบีซอร์ลงไปเพื่อช่วยในการย่อยอาหาร โดยจะพบได้เฉพาะทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว เกาะสุมาตรา เกาะชวา และคาบสมุทรมลายูเท่านั้น ในต้นปี ค.ศ. 2012 ได้มีการค้นพบค่างชนิดนี้โดยบังเอิญผ่านทางกล้องวงจรปิดขณะที่พาฝูงลงมากินดินโป่งในพื้นที่ป่าดิบทางตะวันออกสุดของเกาะบอร์เนียว โดยคณะนักวิจัยชาวตะวันตกจากมหาวิทยาลัยไซมอนเฟรเซอร์ของแคนาดาที่เจตนาตั้งกล้องเพื่อบันทึกภาพของลิงอุรังอุตังและเสือดาว สร้างความตื่นตะลึงและยินดีเป็นอย่างมาก เนื่องจากไม่ได้มีรายงานพบค่างชนิดนี้ในธรรมชาติมานานมากจนเชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและค่างแว่นโฮส · ดูเพิ่มเติม »

ค่างเทา

งเทา หรือ ค่างหงอก (อังกฤษ: Silvered langur, Silvery lutung, Silvered leaf monkey) ค่างชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Trachypithecus cristatus จัดเป็นลิงโลกเก่าชนิดหนึ่ง ค่างเทามีรูปร่างหน้าตาคล้ายกับค่างดำมลายู (Presbytis femoralis) ขนตามลำตัวเป็นสีเทาเข้ม ปลายขนเป็นสีขาวหรือสีเงิน ทำให้แลดูคล้ายผมหงอกของมนุษย์ อันเป็นที่มาของชื่อ บนหัวจะมีขนยาวเป็นหงอนแหลม ใบหน้ามีสีดำไม่มีวงแหวนสีขาวรอบดวงตา มือและเท้าเป็นสีดำ ลูกค่างที่เกิดใหม่ขนตามลำตัวจะเป็นสีเหลืองทอง มีความยาวลำตัวถึงหัว 49-57 เซนติเมตร ความยาวหางประมาณ 72-84 เซนติเมตร น้ำหนัก 6-8 กิโลกรัม มีชนิดย่อยด้วยกัน 2 ชนิด มีพฤติกรรมอาศัยอยู่บนต้นไม้สูง ในบางครั้งอาจพบในป่าพรุด้วย อาหารของค่างชนิดนี้ได้แก่ ใบอ่อนของต้นไม้, ผลไม้ และแมลงตัวเล็ก ๆ จะออกหากินในเวลากลางวัน มักอยู่รวมเป็นฝูงประมาณ 10-15 ตัว มีการกระจายพันธุ์ในแถบภาคตะวันตก, ภาคเหนือของไทย, ภาคใต้ของลาว, พม่า, เวียดนาม, ตอนใต้ของจีน, กัมพูชา, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวาและเกาะบอร์เนียว.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและค่างเทา · ดูเพิ่มเติม »

ค้างคาวยอดกล้วยป่า

้างคาวยอดกล้วยป่า (Whitehead's woolly bat) เป็นค้างคาวกินแมลงชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและค้างคาวยอดกล้วยป่า · ดูเพิ่มเติม »

งูก้นขบ

งูก้นขบ (Red-tailed pipe snakeSpecies at The Reptile Database. Accessed 17 August 2007.) เป็นงูไม่มีพิษชนิดหนึ่ง ยาวได้ถึง 1 เมตรBurnie D, Wilson DE.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและงูก้นขบ · ดูเพิ่มเติม »

งูหลามปากเป็ด

งูหลามปากเป็ด (Blood python) เป็นงูไม่มีพิษ มีลำตัวที่อ้วน หนา กว่างูหลามและงูเหลือม แต่มีหางที่สั้นแลดูไม่สมส่วน และมีลวดลายที่แปลกออกไป มีหลายหลากสี ทั้งน้ำตาล, แดง, เหลือง, ส้ม หรือ เขียว โดยงูแต่ละตัวจะมีสีสันและลวดลายต่างกันออกไป ขนาดโตเต็มที่ได้ประมาณ 1.50 เมตร จัดเป็นงูที่มีขนาดเล็กที่สุดในสกุลนี้Mehrtens JM.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและงูหลามปากเป็ด · ดูเพิ่มเติม »

งูอนาคอนดายักษ์

งูยักษ์ในแม่น้ำบนเกาะบอร์เนียว ที่เชื่อว่าเป็นภาพตกแต่ง งูอนาคอนดายักษ์ (Giant Anaconda) เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับที่เชื่อกันว่าว่ามีอยู่ในป่าดิบชื้น ทวีปอเมริกาใต้ โดยเป็นงูอนาคอนดาขนาดใหญ่ที่ใหญ่กว่างูอนาคอนดาธรรมดามาก ซึ่งชื่อในภาษาท้องถิ่นเรียกว่า "คอบร้าแกรนดี" แปลว่า "งูยักษ์" โดยที่งูอนาคอนดาสายพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดนั้น คือ งูอนาคอนดาเขียว (Eunectes murinus) ที่โตเต็มที่จะยาวได้ประมาณ 17 ฟุต (แต่อาจยาวได้ถึง 29 ฟุต) และงูใหญ่จำพวกอื่น คือ งูเหลือม (Python reticulatus) ที่พบในทวีปเอเชีย ก็อาจยาวได้มากกว่า 20 ฟุต เรื่องราวของงูอนาคอนดายักษ์นั้น ปรากฏอยู่ในเรื่องเล่าและนิทานพื้นบ้านของชนพื้นเมืองมานานแล้ว จนกระทั่งมีการเข้าไปสำรวจทวีปอเมริกาใต้ของชาวตะวันตกในยุคล่าอาณานิคม โดยชาวสเปนและชาวโปรตุเกสได้รายงานมาว่า มีงูขนาดใหญ่ที่เรียกว่า "มาตาโตโร่" ที่แปลได้ว่า "งูกินวัว" โดยรายงานว่ามันมีความยาวกว่า 80 ฟุต ต่อมาในปี ค.ศ. 1906 พันเอกเพอร์ซี ฟาลเคตต์ ซึ่งเป็นนักสำรวจผู้เขียนแผนที่ป่าอเมซอนได้เขียนลงในบันทึกของเขาว่าเขามีหนังงูที่มีความยาว 62 ฟุต และกล่าวว่า เขาได้สังหารงูตัวนี้ด้วยปืนไรเฟิลด้วยกระสุนขน.44 ในกระดูกสันหลังของมัน ซึ่งมันโจมตีใส่เรือของคณะเขา เส้นผ่าศูนย์กลางของลำตัวมันเกินกว่า 12 นิ้ว และอาจจะใหญ่ได้มากกว่านี้ถ้าได้กินอาหารเข้าไป ในปี ค.ศ. 1925 สาธุคุณวิคเตอร์ไฮนซ์ เห็นงูขนาดใหญ่ที่แม่น้ำริโอเนโกรซึ่งสาขาของแม่น้ำอเมซอน ท่านกล่าวว่าลำตัวของมันที่มองเห็นได้อย่างน้อยยาวกว่า 80 ฟุต และร่างกายมีความหนาเหมือนหนังกลอง ต่อมาหนังสือพิมพ์เปอร์นัมบูโก ในบราซิลประจำวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1948 ตีพิมพ์ภาพและพาดหัวว่า พบงูอนาคอนดาที่มีน้ำหนักกว่า 5 ตัน ขณะที่กำลังกินวัวไปครึ่งตัว โดยภาพส่วนหนึ่งแสดงให้เห็นซากงูที่ถูกชำแหละโดยชาวอินเดียนพื้นเมือง วัดความยาวได้ 113 ฟุต 4 เดือนต่อมาหนังสือพิมพ์นูตี อิลลัสตราดา ของริโอเดอจาเนโร ได้ลงภาพถ่ายของงูอนาคอนดาตัวหนึ่งที่ถูกฆ่าโดยทหารบก มีความยาวทั้งสิ้น 115 ฟุต นอกจากนี้แล้วการรายงานพบเห็นงูขนาดใหญ่ยังมีในทวีปอื่นด้วย ในทวีปแอฟริกา เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 7 มีเรื่องเล่าของนักสำรวจว่า ในประเทศแอฟริกาใต้ บริเวณแม่น้ำออเรนจ์ มีถ้ำที่มีอัญมณีซุกซ่อนอยู่ โดยมีงูยักษ์ชื่อ กรูสสแลง เฝ้าอยู่ปากถ้ำ งูนี้มีลำตัวยาว 13 เมตร และเส้นผ่านศูนย์กลางลำตัวกว้าง 1 เมตร และมีความเชื่อของชนพื้นเมืองแถบน้ำตกอูกราบีส์ ซึ่งเป็นน้ำตกของแม่น้ำออเรนจ์ว่า ใต้น้ำตกเป็นที่อยู่ของงูใหญ่ที่เฝ้าสมบัติอยู่ในนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังฝนตก เมื่อปรากฏรุ้งขึ้น นั่นคือ ลำตัวของงูที่มานอนอาบแดด ซึ่งมีผู้อ้างว่าเคยพบเห็นงูตัวนี้ โดยอ้างว่ามีสีดำสนิททั้งตัว พันเอกเรเน่ เลียร์ด ได้ขับเฮลิคอปเตอร์ของเขาจากเมืองกาตังกาในเบลเยียมคองโก ทันใดนั้นมีงูขนาดใหญ่ตัวหนึ่งได้โจมตีเฮลิคอปเตอร์ของเขา แต่เขาเอาตัวรอดพ้นได้และถ่ายรูปงูนั้นได้หลายรูป ประมาณความยาวได้กว่า 40–50 ฟุต ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009 ปรากฏเป็นข่าวฮือฮาจากชาวพื้นเมือง บนเกาะบอร์เนียวของอินโดนีเซียว่าได้พบเห็นงูขนาดยักษ์ตัวหนึ่งแหวกว่ายอยู่ในแม่น้ำบนเกาะและถูกบันทึกภาพไว้ได้ ซึ่งน่าจะยาวกว่า 100 ฟุต แต่รูปนี้ก็ยังเป็นที่สงสัยอยู่ว่าเป็นการตกแต่งหรือไม่ และในเดือนพฤศจิกายน ปีเดียวกัน ที่เมืองกูผิง มณฑลเจียงซี ประเทศจีน ขณะมีการก่อสร้างถนนผ่านพื้นที่ป่า คนงานก่อสร้างก็พบกับงูขนาดใหญ่ยาวถึง 16.7 เมตร หนักถึง 300 กิโลกรัม อายุคาดว่าน่าจะอยู่ที่ 140 ปี ถึง 2 ตัว และหนึ่งในสองตัวนั้นก็ได้รับบาดเจ็บจากการถูกรถแบ็คโฮขุดถนนขุดถูกทำให้บาดเจ็บและตายลงในที่สุด อีกตัวก็หนีเข้าป่าไป ซึ่งซากงูตัวที่ตายนั้นได้ถูกถ่ายภาพและเป็นภาพที่แพร่หลายกันในประเทศจีน เรื่องราวของงูอนาคอนดายักษ์ได้ถูกอ้างอิงในวัฒนธรรมสมัยนิยมหลายประการ เช่น ภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด 3 ภาค เรื่อง Anaconda ในปี ค.ศ. 1997 Anacondas: The Hunt for the Blood Orchid ในปี ค.ศ. 2004 และ Anaconda 3: The Offspring ในปี ค.ศ. 2008 และเป็นสารคดีทางโทรทัศน์ของดิสคัฟเวอรี่ แชนนอลชุด Lost Tapes ในปี ค.ศ. 2009 ชื่อตอน Megaconda.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและงูอนาคอนดายักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

งูเหลือม

งูเหลือม (Reticulated python) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลื้อยคลาน เป็นงูขนาดใหญ่ ลำตัวยาวเฉลี่ยประมาณ 3.5-6 เมตร จัดเป็นงูที่ยาวที่สุดของโลกซึ่งตัวที่ยาวที่สุดยาวถึง 9.6 เมตร ถูกจับได้เมื่อปี..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและงูเหลือม · ดูเพิ่มเติม »

ตะโขง

ตะโขง หรือ จระเข้ปากกระทุงเหว หรือ ตะโขงมลายู (Malayan gharial, False gharial) เป็นสัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ในอันดับจระเข้ อยู่ในวงศ์ตะโขง (Gavialidae) จัดเป็นหนึ่งในสองชนิดของวงศ์นี้ที่ยังสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน แต่จัดว่าเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นในสกุล Tomistoma อนึ่ง บางข้อมูลได้จัดให้ตะโขงอยู่ในวงศ์จระเข้ (Crocodylidae).

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและตะโขง · ดูเพิ่มเติม »

ตูอัก

ทหารและชาวพื้นเมืองกำลังดื่มตูอัก ตูอัก (Tuak) เป็นเครื่องดื่มที่หมักด้วยยีสต์จากปาล์มและน้ำตาล นิยมดื่มในอินโดนีเซียบริเวณสุมาตรา ซูลาเวซี บอร์เนียว และบางส่วนของมาเลเซีย เช่น เกาะปีนังและมาเลเซียตะวันออก ในบางครั้งหมายถึงไวน์ข้าวได้ด้วย เป็นเครื่องดื่มที่นิยมในหมู่ชาวอีบันและชาวดายักอื่นๆในซาราวะก์ระหว่างเทศกาลกาไว งานแต่งงาน ต้อนรับแขก และโอกาสพิเศษ การทำตูอักจากข้าวจะแผ่ข้าวเหนียวที่หุงสุกแล้วบนพื้นเรียบที่เย็น เติมยีสต์ ถ้าเติมเท่ากับข้าวจะได้ตูอักขม ถ้าต้องการรสหวานจะเติมยีสต์น้อยลง ผสมให้เข้ากับข้าว นำไปหมักในเหยือก 3-10 วัน ส่วนที่เป็นของแข็งจะลอยขึ้นมาข้างบน เคี่ยวน้ำตาลกับน้ำให้เป็นน้ำเชื่อม พักให้เย็นเติมลงในส่วนผสมที่หมักไว้ เมื่อหมักครบกำหนดจะรับประทานได้ ถ้าเก็บไว้นานสีจะเข้มและมีกลิ่นคล้ายผึ่ง.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและตูอัก · ดูเพิ่มเติม »

ตีนตั่ง

ตีนตั่ง เป็นพืชในวงศ์ Annonaceae เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ผิวเกือบเกลี้ยง มีเลนติเซล ไม่มีหูใบ เส้นใบด้านล่างเห็นชัดเจน ดอกเดี่ยว กลีบสีเหลืองแกมเขียว กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดีย อินโดจีนไปจนถึงเกาะบอร์เนียว น้ำจากภายในลำต้นรับประทานได้.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและตีนตั่ง · ดูเพิ่มเติม »

ซัมบัล

ซัมบัล (อินโดนีเซียและsambal) เป็นอาหารที่ปรุงจากพริก มีลักษณะคล้ายน้ำพริกในอาหารไทย เป็นที่นิยมในประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ และภาคใต้ของฟิลิปปินส์ และศรีลังกา รวมทั้งในเนเธอร์แลนด์และซูรินามซึ่งได้รับอิทธิพลจากอาหารชวา ทำได้ทั้งจากพริกขี้หนูและพริกอื่น ๆ บางชนิดมีรสเผ็ดมาก ซัมบัลเป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากคำในภาษาชวาว่า ซัมเบ็ล ซึ่งยืมมาใช้ในภาษามาเลเซียและภาษาอินโดนีเซี.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและซัมบัล · ดูเพิ่มเติม »

ซันดากัน

ซันดากัน (Sandakan, سنداکن) มีชื่อเดิมว่า เอโลปูรา (Elopura) เป็นเมืองขนาดใหญ่เมืองหนึ่งของรัฐซาบะฮ์ ประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว อดีตที่นี่เคยเป็นเมืองหลวงของนอร์ทบอร์เนียวก่อนหน้าโกตากีนาบาลู ประชากรส่วนใหญ่ในซันดากันเป็นชนเชื้อสายจีนกวางตุ้งซึ่งมีบรรพบุรุษอพยพมาจากฮ่องกง และในเมืองเองก็ยังนิยมใช้ภาษากวางตุ้งจำนวนมาก ด้วยเหตุนี้ซันดากันจึงมีชื่อเล่นว่า "ฮ่องกงน้อย".

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและซันดากัน · ดูเพิ่มเติม »

ซามารินดา

ซามารินดา (Samarinda) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดกาลีมันตันตะวันออก บนเกาะบอร์เนียว ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำมาฮากัม เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดของจังหวัดกาลีมันตันตะวันออก โดยมีประชากร 726,223 คน หมวดหมู่:เมืองในประเทศอินโดนีเซีย หมวดหมู่:จังหวัดกาลีมันตันตะวันออก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและซามารินดา · ดูเพิ่มเติม »

ซิงกาวัง

ซิงกาวัง (Singkawang) เป็นเมืองในจังหวัดกาลีมันตันตะวันตก ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว ประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ห่างจากเมืองหลวงของจังหวัด เมืองปนตีอานัก ทางทิศเหนือราว 145 กม.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและซิงกาวัง · ดูเพิ่มเติม »

ซุนดาแลนด์

แม่น้ำคาปัวส์ในภาคตะวันออกของเกาะบอร์เนียว อินโดนีเซีย ซุนดาแลนด์ (Sundaland, Sundaic region) เป็นชื่อเรียกการแบ่งเขตภูมิศาสตร์ทางชีวภาพในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเรียกบริเวณตั้งแต่ภาคใต้ของประเทศไทยลงไปถึงมาเลเซีย, อินโดนีเซีย, เกาะบอร์เนียว, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา และเกาะบาหลี โดยสภาพอากาศของซุนดาแลนด์นั้น มีความชื้นสูง ในบางพื้นที่ฝนอาจตกติดต่อกันหลายวันจนเป็นสัปดาห์ ความแตกต่างของแต่ละฤดูกาลมีไม่มากนัก พรรณพืชที่ขึ้นนั้นโดยมากเป็นพืชที่ไม่ต้องใช้แสงอาทิตย์ในการเติบโต ลักษณะป่าเป็นป่าดิบชื้นมีต้นไม้ขนาดใหญ่ขึ้นหนาแน่น สัตว์ป่าที่อยู่อาศัย มักเป็นสัตว์ที่หากินตามพื้นหรือสามารถอาศัยหากินได้บนต้นไม้สูง เช่น บ่าง (Cynocephalus variegatus), เซียแมง (Symphalangus syndactylus), แมวป่าหัวแบน (Prionailurus planiceps) เป็นต้น.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและซุนดาแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีบู

ซีบู เป็นเมืองในแผ่นดินในรัฐซาราวะก์ ประเทศมาเลเซีย เมืองตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว เมืองมีพื้นที่ 129.5 ตร.กม.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและซีบู · ดูเพิ่มเติม »

ซีเลาซีเลา

ซีเลาซีเลา เป็นหวายสปีชีส์หนึ่งในสกุลหวาย เป็นพืชพื้นเมืองในบอร์เนียว พบเฉพาะป่าในยอดเขากีนาบาลู เป็นหวายกอขนาดเล็ก มีมือเกี่ยว ใช้ในการผูกมัดและจักสาน.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและซีเลาซีเลา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบรูไน

รูไน (Brunei) หรือ เนอการาบรูไนดารุซซาลาม (Negara Brunei Darussalam) เป็นรัฐเอกราชบนเกาะบอร์เนียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชายฝั่งทางด้านเหนือจรดทะเลจีนใต้ พรมแดนทางบกที่เหลือจากนั้นถูกล้อมรอบด้วยรัฐซาราวะก์ของมาเลเซียตะวันออก บรูไนเป็นประเทศเดียวที่มีพื้นที่ทั้งหมดอยู่บนเกาะบอร์เนียว ส่วนพื้นที่ ๆ เหลือของเกาะถูกแบ่งเป็นของประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย ประทศบรูไนมีประชากรประมาณ 423,196 คนใน..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและประเทศบรูไน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนจุดอินโด

ปลาช่อนจุดอินโด (Green spotted snakehead, Ocellated snakehead, Eyespot snakehead) เป็นปลาช่อนชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Channa pleurophthalma ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) มีรูปร่างเพรียวยาวในวัยอ่อน แต่เมื่อปลาโตขึ้นแล้วจะเปลี่ยนเป็นหัวแหลมแต่ส่วนลำตัวกลับป้อม คล้ายปลาชะโด (C. miropeltes) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน ปลาขนาดเล็กจะมีลำตัวสีเขียว, สีน้ำเงินหรือแกมน้ำตาลในบางตัว ส่วนท้องสีขาว เมื่อโตขึ้นจะมีลักษณะเด่น คือ มีจุดสีดำที่ล้อมด้วยวงสีส้มกลมคล้ายดวงตาขนาดใหญ่อันเป็นที่มาของชื่อ เรียงกันบริเวณข้างลำตัว โดยจุดแรกจะพบบนแก้มหรือกระดูกปิดเหงือก จุดสุดท้ายจะพบบริเวณคอดหาง โดยจะมีประมาณ 3-7 จุด ในปลาแต่ละตัวอาจมีไม่เท่ากัน หรือข้างสองก็ไม่เท่ากัน และเมื่อปลาโตเต็มวัยจุดเหล่านี้จะกลายเป็นกระจายเป็นจุดกระสีดำตามตัวแทน มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 40 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะสุมาตรา และยังพบในแถบตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะบอร์เนียว และในจังหวัดกาลีมันตัน พบมีการบริโภคในท้องถิ่น และยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ทว่าเป็นปลาที่เลี้ยงให้รอดได้ยาก เนื่องจากปลาขนาดเล็กมักจะปรับตัวให้กับสภาพน้ำในสถานที่เลี้ยงไม่ได้ เพราะเป็นปลาที่อยู่ในน้ำที่มีสภาพความเป็นกรดของน้ำค่อนข้างต่ำ.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาช่อนจุดอินโด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนเข็ม (สกุล)

ปลาช่อนเข็ม (Pikehead fish) ชื่อสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์ Luciocephalinae ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae ใช้ชื่อสกุลว่า Luciocephalus (/ลิว-ซิ-โอ-เซฟ-อา-ลัส/) มีรูปร่างแตกต่างไปจากปลาชนิดอื่นในวงศ์นี้อย่างเห็นได้ชัด โดยกลับมีรูปร่างคล้ายปลาช่อน แต่หัวและปากยื่นยาวแหลมเหมือนปลาเข็ม ลำตัวมีสีน้ำตาลไหม้หรือน้ำตาลเขียว ด้านหลังสีจางกว่า และมีแถบสีดำพาดยาวทางความยาวลำตัวอย่างเห็นได้ชัด ครีบทุกครีบบางใส และไม่มีถุงลม มีขนาดลำตัวตั้งแต่ 20 เซนติเมตร จนถึง 10 เซนติเมตร เป็นปลาที่หากินอยู่ตามผิวน้ำของพรุตั้งแต่ภาคใต้ตอนล่างของไทยไปจนถึงเกาะบอร์เนียว ในอินโดนีเซีย วางไข่โดยตัวผู้จะอมไว้ในปาก และเลี้ยงจนลูกปลาได้ขนาด 1 เซนติเมตร จึงปล่อยออกมา ขณะที่ตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ มีอยู่ 2 ชนิดเท่านั้น คือ.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาช่อนเข็ม (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบ้า (สกุล)

ปลาบ้า (Leptobarbus) เป็นสกุลปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะที่สำคัญทางอนุกรมวิธาน คือ มีหัวกว้าง มีหนวดยาว 2 คู่ ปากค่อนข้างกว้าง มุมปากอยู่หน้านัยน์ตา เกล็ดมีขนาดปานกลาง เส้นข้างลำตัวอยู่ต่ำกว่าแนวกลางลำตัว ไปสิ้นสุดลงที่ส่วนล่างของโคนหาง ครีบหลังมีก้านครีบแขนง 7 ก้าน และที่ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 5 ก้าน เป็นปลาที่กินพืช โดยเฉพาะเมล็ดพืชเป็นอาหาร สกุลปลาบ้ามีทั้งหมด 4 ชนิด พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ประเทศไทย ไปจนถึงเกาะบอร์เนียว และเกาะสุมาตรา นับเป็นปลาจำพวกปลาซิวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่พบได้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นี้ สำหรับในประเทศไทยพบเพียงแค่ชนิดเดียว.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาบ้า (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระจัง

ปลากระจัง หรือ ปลาตีนเขี้ยว (Giant mudskipper) เป็นปลาทะเลและน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) วงศ์ย่อยปลาตีน (Oxudercinae) เป็นปลากระดูกแข็งมีขนาดลำตัวยาวตั้งแต่ 5-30 เซนติเมตร จัดเป็นปลาตีนที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีครีบคู่หน้า ครีบอกที่แข็งแรงใช้ครีบอกที่แข็งแรงใช้ครีบกระโดดเป็นช่วง ๆ ไปมาบนพื้นเลน และคลานขึ้นต้นไม้ หรือยึดเกาะกับต้นโกงกางหรือแสม ตัวผู้มีขนาดลำตัวแบนเล็กน้อย มีเกล็ดปกคลุมทั่วลำตัว มีฟันเขี้ยวซี่เล็ก ๆ ขบซ้อนเหลื่อมกันทั้งริมขากรรไกรบนและล่าง ตำแหน่งของปากอยู่ปลายสุดของหัวขนานกับพื้น ลำตัวมีสีเทาแถบสีน้ำตาลพาดบริเวณหัวและตามตัวมีจุดวาวสีเขียวมรกต ปลายครีบหลังสีขาว, สีน้ำตาล, สีน้ำเงินแวววาวเหมือนมุก ส่วนตัวเมียสีลำตัวค่อนข้างเหลือง เมื่ออยู่บนบก จะหายใจผ่านผิวหนังและช่องเหงือก กินอาหารจำพวกลูกกุ้ง, ลูกปู, ตัวอ่อนของสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ, สาหร่าย และซากพืชและสัตว์บนผิวเลน ในฤดูผสมพันธุ์ ปลากระจังตัวผู้จะมีสีเข้มขึ้น จะใช้ปากขุดโคลนสร้างหลุม เพื่อไว้เป็นที่ผสมพันธุ์ และมีพฤติกรรมหวงเขตแดนเมื่อมีตัวผู้อื่นเข้ามารุกล้ำจะกางครีบหลังขู่และเคลื่อนที่เข้าหาผู้บุกรุกเพื่อต่อสู้ด้วยการกัดทันที กระจายพันธุ์ไปในป่าชายเลนที่มีพื้นเป็นเลนหรือโคลน ตั้งแต่อ่าวเบงกอล, ชายฝั่งทะเลอันดามัน, คาบสมุทรมลายู และเกาะบอร์เนียว เป็นปลาที่มักถูกจับกินเป็นอาหารสำหรับชาวพื้นถิ่น และถูกจับขายเป็นปลาสวยงามด้ว.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลากระจัง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่ช็อกโกแลต

ปลากระดี่ช็อกโกแลต (Chocolate gourami) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sphaerichthys osphromenoides ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) มีรูปร่างบางเฉียบ ส่วนหัวแหลมโดยเฉพาะบริเวณปลายปาก ตากลมโต สีลำตัวเป็นสีน้ำตาลเข้มคล้ายสีของช็อกโกแลตจึงเป็นที่มาของชื่อ มีจุดวงกลมสีดำที่ใกล้โคนครีบหาง ในขณะที่ชื่อวิทยาศาสตร์นั้น คำว่า Sphaerichthys หมายถึงวงกลม และ osphromenoides หมายถึงเหมือน osphromenus อันที่เคยเป็นชื่อพ้อง มีจุดเด่นคือ มีลายพาดวงกลมสีขาว 3-4 วง พาดผ่านตลอดทั้งลำตัวทั้งสองข้าง ปลาตัวผู้จะมีสีแดงเข้มกว่าปลาตัวเมีย และมีขนาดลำตัวที่ใหญ่กว่า มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 6 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในคาบสมุทรมลายูของมาเลเซีย จนถึงเกาะบอร์เนียวและสุมาตรา ในอินโดนีเซีย เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ทว่าเลี้ยงได้ยากมาก ต้องอาศัยการดูแลอย่างดี เนื่องจากเป็นปลาที่อาศัยอยู่ในน้ำค่อนข้างเย็น กล่าวคือ อุณหภูมิประมาณ 22-26 องศาเซลเซียส และค่าความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำเป็นสภาพเป็นกรดเล็กน้อย คือประมาณ 6-6.5 pH มีพฤติกรรมเช่นเดียวกับปลาในวงศ์นี้ชนิดอื่น ๆ คือ รักสงบ ชอบลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ บริเวณผิวน้ำ หรือแอบอยู่ตามพืชน้ำ การแพร่พันธุ์ตัวผู้จะเป็นฝ่ายสร้างหวอดในการวางไข่ และเป็นฝ่ายดูแลไข่จนกว่าจะเป็นตัว โดยไข่จะมีปริมาณ 18 ฟอง ใช้เวลาฟักเป็นตัวราว 10-14 วัน แต่เมื่อเป็นตัวแล้วปลาตัวผู้จะไม่ดูแลไข่ ซึ่งถ้าเป็นในที่เลี้ยงอาจจะกินลูกตัวเองได้ เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันมากในยุโรป ซึ่งถือว่าเป็นปลาที่มีราคาถูก แต่สำหรับในประเทศทางเอเชียถือเป็นปลาราคาแพง และหาได้ค่อนข้างยาก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลากระดี่ช็อกโกแลต · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่ช็อกโกแลต (สกุล)

ปลากระดี่ช็อกโกแลต เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Sphaerichthys ในวงศ์ Macropodusinae อันเป็นวงศ์เดียวกับปลาในปลากัด (Betta spp.) และปลากริม (Trichopsis spp.) โดยอยู่ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae รูปร่างโดยรวมของปลาในสกุลนี้ คือ มีลำตัวขนาดเล็ก มีรูปร่างบาง แบนข้าง ส่วนหัวแหลม ตากลมโตมีขนาดใหญ่ มีสีลำตัวออกไปทางสีน้ำตาลเข้มหรือสีน้ำตาลแดงเหมือนช็อกโกแลต อันเป็นที่มาของชื่อ โดยที่ปลาตัวผู้จะมีสีแดงสดกว่าตัวเมีย และที่สำคัญคือ มีจุดเด่นที่เห็นได้ชัดคือ มีลายพาดขวางลำตัวเหมือนสร้อยสีขาว 3-4 ขีด (คำว่า Sphaerichthys ซึ่งเป็นชื่อสกุลหมายถึง วงกลม)ขนาดลำตัวโดยเฉลี่ยประมาณ 6 เซนติเมตร เป็นปลาที่พบได้ในมาเลเซีย, เกาะบอร์เนียว และเกาะสุมาตรา ในอินโดนีเซียเท่านั้น พบทั้งสิ้น 4 ชนิดนี้.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลากระดี่ช็อกโกแลต (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนบัว

ปลากระเบนบัว (Whitenose whipray, Bleeker's whipray) เป็นปลากระเบนชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) เป็นปลากระเบนที่อยู่ในน้ำจืดชนิดหนึ่ง รูปร่างคล้ายปลากระเบนลายเสือ (H. oxyrhyncha) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่มีขนาดใหญ่กว่ามาก มีจะงอยปากยื่นแหลมกว่า ขอบครีบกว้างกว่า พื้นลำตัวสีนวลหรือสีน้ำตาลแดง ไม่มีลวดลายใด ๆ กลางหลังมีเกล็ดเป็นตุ่มหยาบ ๆ ด้านล่างสีขาว และมีลักษณะคล้ายกับปลากระเบนทะเลชนิด H. fai และ H. pastinacoides เป็นปลาที่ถูกบรรยายทางวิทยาศาสตร์ครั้งแรกโดย พีเตอร์ บลีกเกอร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวดัตช์ในปี..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลากระเบนบัว · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนราหูน้ำจืด

ปลากระเบนราหูน้ำจืด (Giant freshwater whipray) เป็นปลากระเบนน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก จัดอยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) จัดเป็นปลากระเบนที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากปลากระเบนแมนตา (Manta spp.) ที่พบได้ในทะเล โดยมีน้ำหนักได้ถึง 600 กิโลกรัม ความกว้างได้ถึง 2.5–3 เมตร หรือมากกว่านั้น รวมถึงมีความยาวตั้งแต่ปลายส่วนหัวจรดปลายหางที่บันทึกไว้ได้ใหญ่ที่สุด คือ 5 เมตร ถือเป็นหนึ่งในปลาน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับต้น ๆ ของโลก มีส่วนหางเรียวยาวเหมือนแส้ มีลักษณะส่วนปลายหัวแหลม ขอบด้านหน้ามนกลมคล้ายใบโพ ลักษณะตัวเกือบเป็นรูปกลม ส่วนหางยาวไม่มีริ้วหนัง มีเงี่ยงแหลมที่โคนหาง 2 ชิ้น ซึ่งในปลาขนาดใหญ่อาจยาวได้ถึง 8–10 นิ้ว เมื่อหักไปแล้วสามารถงอกขึ้นได้ ในเงี่ยงมีสารเคมีที่มีลักษณะคล้ายเมือกลื่น มีสภาพเป็นสารโปรตีนมีฤทธิ์ในการทำลายเนื้อเยื่อ สำหรับปลาขนาดใหญ่ พิษนี้จะมีความรุนแรงเทียบเท่ากับพิษของงูกะปะ ซึ่งทำให้เสียชีวิตได้เมื่อถูกแทงเข้ากลางหลังมีเกล็ดเป็นตุ่มหยาบ ๆ ด้านบนของปีกและตัวเป็นสีเทาหรือน้ำตาลนวล หางสีคล้ำ ด้านล่างของตัวมีสีขาวนวล ที่ขอบปีกด้านล่างเป็นด่างสีดำ อาศัยในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ จนถึงบริเวณใกล้ปากแม่น้ำ และยังพบในแม่น้ำสายใหญ่ต่าง ๆ เช่น แม่น้ำเจ้าพระยา, แม่น้ำแม่กลอง, แม่น้ำบางปะกง, แม่น้ำโขง, บอร์เนียว, นิวกินี โดยสถานที่ ๆ มักพบตัวขนาดใหญ่ คือ แม่น้ำแม่กลอง บริเวณ 20 กิโลเมตรก่อนไหลลงสู่อ่าวไทย ในเขตอำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม โดยปลาตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ และอาจมีน้ำหนักที่มากกว่าได้ถึง 80 เท่า เป็นปลาที่ออกลูกเป็นตัว โดยลูกปลาที่ออกมาใหม่นั้นจะมีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 50 เซนติเมตร และมีปลอกหุ้มเงี่ยงหางเอาไว้ เพื่อมิให้ทำอันตรายต่อแม่ปลา ออกลูกครั้งละ 2–3 ตัว สันนิษฐานว่าที่ต้องมีขนาดตัวใหญ่เช่นนี้ เพื่อมิให้ตกเป็นอาหารของนักล่าชนิดต่าง ๆ ในแม่น้ำ ได้ชื่อว่า "ราหู" เนื่องจากขนาดลำตัวที่ใหญ่เหมือนราหูอมจันทร์ตามคติของคนโบราณ อีกทั้งยังมีความเชื่ออีกด้วยว่า หากใครพบเห็นหรือจับปลากระเบนราหูน้ำจืดได้ จะพบกับความโชคร้าย ตัวอย่างสตัฟฟ์ในสวนสัตว์พาต้า ชั้น 6 ห้างสรรพสินค้าพาต้า ปิ่นเกล้า เดิมปลากระเบนราหูน้ำจืด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Himantura fluviatilis (ปัจจุบันใช้เป็นชื่อพ้องของ ปลากระเบนธง) โดยข้อมูลที่มีอยู่ระบุว่าพบในแม่น้ำสายใหญ่และทะเลสาบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมา เมื่อการระบุชนิดพันธุ์ปลาถูกศึกษาให้ลงรายละเอียดยิ่งขึ้น ปลากระเบนราหูน้ำจืดจึงถูกอนุกรมวิธานในปี ค.ศ. 1990 โดย ศ.ดร.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลากระเบนราหูน้ำจืด · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนลายเสือ

ปลากระเบนลายเสือ (Marbled whipray) เป็นปลากระเบนน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีรูปร่างเหมือนปลากระเบนชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน หางยาว โคนหางมีเงี่ยงแหลมมีพิษ 1 หรือ 2 ชิ้น ที่สามารถงอกใหม่ได้เมื่อหลุดหรือหักไป หางไม่มีริ้วหนัง พื้นลำตัวด้านบนสีน้ำตาลเหลือง กลางหลังมีเกล็ดเป็นตุ่มหยาบ ๆ มีจุดดำคล้ายลายของเสือดาวกระจายอยู่ทั่วตัวไปจนปลายหาง อันเป็นที่มาของชื่อ พื้นลำตัวด้านล่างสีขาว หากินตามพื้นท้องน้ำโดยอาหารได้แก่ ปลาขนาดเล็ก, สัตว์หน้าดิน และสัตว์มีเปลือก จะว่ายขึ้นมาหากินบริเวณผิวน้ำบ้างเป็นบางครั้ง มีขนาดความกว้างประมาณ 40 เซนติเมตร หางยาว 1.2 เมตร น้ำหนักตั้งแต่ 3-5 กิโลกรัม ปลากระเบนลายเสือเป็นปลาน้ำกร่อยที่พบอาศัยอยู่ค่อนมาทางน้ำจืด เป็นปลาที่พบน้อย พบได้ตามปากแม่น้ำ เช่น ปากแม่น้ำเจ้าพระยา, ปากแม่น้ำโขง, แม่น้ำแม่กลอง, ทะเลสาบเขมร และพบได้ไกลถึงปากแม่น้ำบนเกาะบอร์เนียวของอินโดนีเซีย แต่มีรายงานทางวิชาการว่าพบครั้งแรกที่แม่น้ำน่าน เนื่องจากเป็นปลาที่มีลวดลายสวยงามจึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามที่มีราคาแพง แต่มักจะเลี้ยงไม่ค่อยรอดเพราะปลามักประสบปัญหาปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดหรือภาวะแวดล้อมในที่เลี้ยงไม่ค่อยได้ ปลากระเบนลายเสือมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกว่า "ปลากระเบนเสือดาว", "ปลากระเบนลาย" หรือ "ปลากระเบนลายหินอ่อน".

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลากระเบนลายเสือ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะทิ

ปลากะทิ เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cyclocheilichthys heteronema ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาชนิดหนึ่งที่อยู่ในสกุล Cyclocheilichthys.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลากะทิ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากดดำ

ปลากดดำ หรือ ปลากดหม้อ (Crystal eye catfish, Black diamond catfish) ปลาน้ำจืดไม่มีเกล็ดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hemibagrus wyckii มีรูปร่างค่อนข้างสั้นป้อม หัวและลำตัวตอนหน้าแบนราบกว่าปลาชนิดอื่น ๆ ปากกว้าง ตาค่อนข้างเล็ก ส่วนหลังยกสูง ครีบหลังมีก้านแข็ง ครีบไขมันค่อนข้างยาว หนวดที่ริมฝีปากยาวถึงบริเวณหลัง ตัวมีสีเทาคล้ำหรือดำ ด้านท้องสีจาง ครีบสีคล้ำขอบบนและขอบล่างของครีบหางมีแถบสีขาวเห็นชัดเจน มีขนาดประมาณ 30 เซนติเมตร ใหญ่สุด 70 เซนติเมตร พบในแม่น้ำสายใหญ่ทุกภาคของประเทศ และพบไปถึงบอร์เนียว เป็นปลากดที่มีราคาสูงชนิดหนึ่ง นิยมบริโภคด้วยการปรุงสดเหมือนปลากดคัง (H. wyckioides) และยังเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้อีกด้วย ปลากดหม้อ ยังมีชื่อเรียกที่ต่างออกไปเช่น "ปลาสิงห์ดำ", "ปลากดหางดอก" ชื่อที่ใช้เรียกในวงการปลาสวยงามคือ "มรกตดำ" เป็นปลาที่มีนิสัยดุร้ายก้าวร้าวมาก ไม่สามารถเลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่นได้เล.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลากดดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาก้างพระร่วง

ปลาก้างพระร่วง (glass catfish, ghost catfish, phantom catfish, Thai glass catfish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในสกุล Kryptopterus นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามมากกว่าจะนำมาบริโภค พบได้ทั่วไปในตลาดซื้อขายปลาน้ำจืดสวยงามโดยเป็นปลาส่งออกที่ขึ้นชื่อชนิดหนึ่ง แต่อนุกรมวิธานของปลาชนิดนี้เป็นที่สับสนกันมานานและเพิ่งได้รับการจำแนกอย่างชัดเจนในปี..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาก้างพระร่วง · ดูเพิ่มเติม »

ปลายอดม่วงลาย

ปลายอดม่วงลาย (River tonguesole) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cynoglossus fledmanni ในวงศ์ปลายอดม่วง (Cynoglossidae) มีรูปร่างคล้ายปลายอดม่วงเกล็ดถี่ (C. microlepis) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน แต่มีสีลำตัวมีสีเหลืองอ่อนหรือเขียวอ่อน ตามตัวมีลายเส้นสีดำคล้ายลายเสือพาดตามตัว ขนาดที่พบโดยเฉลี่ยประมาณ 25 เซนติเมตร ถิ่นอาศัยอยู่ที่เดียวกับปลายอดม่วงเกล็ดถี่ แต่พบน้อยกว่า พบได้ในแม่น้ำโขง และปากแม่น้ำใกล้ทะเล ในประเทศไทยพบได้ที่ลุ่มน้ำโขง, ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจนถึงเกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลายอดม่วงลาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสลาด

ปลาสลาด หรือ ปลาฉลาด เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Notopterus notopterus อยู่ในวงศ์ปลากราย (Notopteridae) มีปากกว้างไม่เกินลูกตาเหมือนปลาในวงศ์นี้ชนิดอื่น ๆ พื้นลำตัวมีสีเรียบ ยกเว้นปลาวัยอ่อนจะมีลายบั้งเหมือนปลากราย (Chitala ornata) วัยอ่อน จมูกมีสองคู่ คู่หน้ายื่นออกมาคล้ายหลอดหรือหนวด มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 20-30 เซนติเมตร จัดเป็นปลาที่เล็กที่สุดชนิดหนึ่งของวงศ์นี้ และเป็นเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Notopterus พบในแม่น้ำและแหล่งน้ำนิ่งทั่วประเทศไทย ในต่างประเทศพบได้ที่ภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์ไปจนถึงเกาะสุมาตราและชวาหรือบอร์เนียว เป็นปลาที่หาง่าย มักอยู่รวมเป็นฝูงใหญ่ อาหารได้แก่ ลูกกุ้ง ลูกปลา สัตว์น้ำขนาดเล็ก เป็นปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง และนิยมนำเนื้อไปทำทอดมันแทนเนื้อปลากรายซึ่งมีราคาแพงกว่าได้ นอกจากนี้ยังแปรรูปเป็นอาหารอื่น ๆ ได้อีก เช่น ลูกชิ้นสับนก หรือรมควัน เป็นต้น และยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีก โดยเฉพาะปลาที่กลายสีเป็นสีเผือก ปลาสลาด ยังมีชื่อเรียกอย่างอื่นอีก เช่น "ปลาตอง" หรือ "ปลาตองนา".

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาสลาด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสะกาง

ปลาสะกาง หรือ ปลากระมัง เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดและปลาน้ำกร่อย ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) 4 ชนิด ใช้ชื่อสกุลว่า Puntioplites (/พุน-ทิ-อ็อพ-ลิ-ทีส/) มีรูปร่างโดยรวมคือ ลำตัวแบนข้างมากกว่าปลาสกุลอื่นในวงศ์เดียวกัน โดยมีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน หัวมีขนาดเล็ก ไม่มีหนวด ตาโต มีจุดเด่นคือ สันหลังยกสูงและครีบหลังก้านสุดท้ายแข็งและมีขนาดใหญ่ ยกสูง ด้านหลังของก้านครีบนี้มีทั้งรอยยักและไม่มีรอยยัก ซึ่งแตกต่างกันไปตามแต่ชนิด มีก้านครีบแขนง 8 ก้าน พบกระจายพันธุ์อยู่ในที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศไทย, แม่น้ำโขง และคาบสมุทรมลายูไปจนถึงเกาะบอร์เนียว, เกาะชวา และเกาะซูลาเวซี มีชนิดด้วยกันทั้งหมด คือ.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาสะกาง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสะตือ

ำหรับ "สะตือ" ในความหมายอื่น ดูที่ สะตือ ปลาสะตือ (Giant featherback) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chitala lopis (/ไค-ตา-ลา-โล-ปิส/) อยู่ในวงศ์ปลากราย (Notopteridae) มีรูปร่างคล้ายปลาชนิดอื่นในสกุลเดียวกันนี้ทั่วไป แต่มีท้ายทอยเว้าลึกและลำตัวมีเกล็ดละเอียดกว่า โคนครีบอกมีแต้มคล้ำ และข้างลำตัวมีจุดประสีคล้ำเล็ก ๆ มีขนาดลำตัวประมาณ 60 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 1.5 เมตร นับเป็นปลาชนิดที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้เป็นอันดับสองรองจากปลากรายอินเดีย (C. chitala) โดยสถานที่ค้นพบครั้งแรก คือ กรุงจาการ์ตา บนเกาะชวา ในอินโดนีเซีย และชื่อวิทยาศาสตร์ lopis เป็นชื่อสามัญที่เรียกกันในท้องถิ่นของเมืองเซอมารัง อินโดนีเซีย นับเป็นปลาที่หายากอีกชนิดหนึ่ง ในประเทศไทยพบอาศัยเพียงไม่กี่แห่งเท่านั้น คือ แม่น้ำสาละวิน, แม่น้ำโขง พบน้อยที่แม่น้ำเจ้าพระยาและสาขา และแม่น้ำตาปี ในต่างประเทศพบที่พม่า, มาเลเซีย และบนเกาะบอร์เนียว โดยอาหารได้แก่ สัตว์น้ำขนาดเล็ก ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มีชื่อเรียกอื่นอีก เช่น "ปลาตองแหล่" ในภาษาอีสาน "ปลาสือ" ในภาษาใต้ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า "ปลาตือ" เป็นต้น.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาสะตือ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมูอินโด

ปลาหมูอินโด (Clown loach) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมู (Botiidae) ลำตัวมีลักษณะกลมยาวรี แบนข้างเล็กน้อย ปกคลุมด้วยเกล็ดขนาดเล็กละเอียด มีปากขนาดเล็กแหลม มีหนวดสั้น ๆ ที่ริมฝีปาก 2 คู่ มีตาขนาดเล็ก ใต้ตาจะมีหนามแหลมสั้นทั้งสองข้าง สามารถกางออกมาป้องกันตัวได้ ลำตัวมีสีเหลืองอมส้ม มีแถบสีดำขนาดใหญ่ขอบสีขาวพาดขวางลำตัว 3 แถบ คือ พาดผ่านลูกตา 1 แถบ พาดลำตัวช่วงต้นคอรอบอก 1 แถบ ใกล้โคนหาง โดยพาดจากครีบหลังถึงครีบทวาร 1 แถบ ครีบว่ายและครีบหางมีสีแดง ครีบนอกนั้นมีสีดำ จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ในวงศ์นี้ชนิดหนึ่ง คือ สามารถโตเต็มที่ได้ราว 1 ฟุต มีถิ่นกำเนิดที่เกาะบอร์เนียวและสุมาตรา ในอินโดนีเซีย เดิมปลาหมูอินโดใช้ชื่อสกุล ว่า Botia แต่ในปี ค.ศ. 2004 ดร.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาหมูอินโด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหนวดพราหมณ์หนวดเจ็ดเส้น

ปลาหนวดพราหมณ์หนวดเจ็ดเส้น หรือ ปลาหนวดพราหมณ์ (Paradise threadfin) ปลาน้ำกร่อยที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดได้ อยู่ในวงศ์ปลากุเรา (Polynemidae) มีส่วนหัวขนาดเล็ก ตามีขนาดเล็กอยู่เกือบสุดปลายส่วนหัวและมีเยื่อไขมันคลุม ปากกว้างมีฟันซี่เล็กละเอียดบนขากรรไกร ลำตัวแบนข้าง ครีบอกยาว ส่วนที่เป็นเส้นยาวมีความยาวมากกว่าลำตัวถึง 2 เท่า โดยเฉพาะเส้นบนมีทั้งหมดข้างละ 10 เส้น ครีบหางเว้าลึกปลายแหลม เกล็ดเล็กละเอียดมีลักษณะเป็นปากฉลาม ตัวมีสีเงินวาวอมชมพูหรือสีเนื้อ หัวสีจางอมชมพูหรือสีเนื้อ ครีบสีจาง ด้านท้องสีจาง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 10 - 15 เซนติเมตร ใหญ่สุดพบถึง 20 เซนติเมตร นิยมอยู่เป็นฝูง บางครั้งหากินด้วยการหงายท้องล่าเหยื่อ พบมากในแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง แม่น้ำบางปะกง, แม่น้ำแม่กลอง และแม่น้ำโขงตอนล่าง ในต่างประเทศพบได้จนถึงบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา เป็นปลาที่นิยมใช้บริโภคโดยการปรุงสดและทำปลาตากแห้ง นิยมตกเป็นเกมกีฬา อีกทั้งด้วยความสวยงามของหนวดที่ยาว ทำให้ได้รับความนิยมในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย แต่เลี้ยงให้รอดได้ยากมาก เนื่องจากเป็นปลาที่เปราะบาง มักตายอย่างง่าย ๆ จึงทำให้มีราคาค่อนข้างสูงแต่ในต่างประเทศนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามเป็นอย่างมาก โดยมีราคาเฉลี่ย 500 ถึง 1,500 บาท แล้วแต่ขนาดและความสมบูรณ์ของปล.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาหนวดพราหมณ์หนวดเจ็ดเส้น · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอิแกลาเอ๊ะ

ปลาอิแกลาเอ๊ะ เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาหวีเกศ (Schilbeidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Pseudeutropius (/ซู-ดิว-โทร-เพียส/) เป็นปลาหนังขนาดเล็ก พบอาศัยครั้งแรกบนเกาะบอร์เนียวและสุมาตรา ลำตัวเรียวยาวและแบนข้าง แต่หัวเป็นรูปกระสวย มีหนวด 4 คู่ ระหว่างจมูกคู่หน้ากับคู่หลัง 1 คู่ ริมฝีปากบน 1 คู่ ริมฝีปากล่าง 1 คู่ และที่คาง 1 คู่ นัยน์ตาโตมีบางส่วนอยู่ใต้มุมปาก ครีบหลังสั้นมีเงี่ยงปลายแหลมขอบจักเป็นฟันเลื่อย 1 อัน และมีก้านครีบแขนง 5-6 ก้าน ครีบไขมันเล็ก ครีบก้นมีฐานยาว ครีบอกมีเงี่ยงแข็งและขอบจักเป็นฟันเลื่อย ครีบหางเว้าเป็นแฉกลึก มีการจำแนกไว้ทั้งหมด 6 ชนิด กระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย ได้แก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาอิแกลาเอ๊ะ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอุก

ปลาอุก ปลาน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cephalocassis borneensis อยู่ในวงศ์ปลากดทะเล (Ariidae) มีรูปร่างเพรียว หางคอดเล็ก หลังยกสูงเล็กน้อย จะงอยปากยื่นยาว หัวโตแบนราบเล็กน้อย ปากเล็ก ตาเล็กอยู่กลางหัว ครีบหลังมีก้านแข็งหนาและยาว ครีบไขมันเล็กมีสีคล้ำเล็กน้อย ครีบท้องใหญ่ ครีบหางเว้าลึก ตัวมีสีเทาอมเหลืองอ่อน ด้านท้องสีจาง ครีบสีจาง มีขนาดประมาณ 10 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 20 เซนติเมตร อาศัยในแม่น้ำตอนล่าง พบในแม่น้ำแม่กลองถึงแม่น้ำบางปะกง ในแม่น้ำเจ้าพระยาพบขึ้นไปสูงสุดจนถึง จังหวัดชัยนาท นิยมบริโภคตัวผู้ที่มีไข่ในปากเรียก "ไข่ปลาอุก" โดยนิยมนำมาทำแกงส้ม พบจับขึ้นมาขายเป็นครั้งคราวในตลาดของชัยนาท อยุธยา และ อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา และพบได้ในภาคใต้จนถึงเกาะบอร์เนียว และพบมีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "อุกแดง", "อุกชมพู" หรือ "กดโป๊ะ".

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาอุก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอ้ายอ้าว

ปลาอ้ายอ้าว หรือ ปลาซิวอ้าว หรือ ปลาซิวควาย (Apollo sharks) ชื่อสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Luciosoma (/ลิว-ซิ-โอ-โซ-มา/) มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวเพรียวยาวคล้ายแท่งดินสอ ไม่มีเข็มก้านครีบแรก มีก้านครีบอ่อน 7 ก้าน ก้านครีบก้นมี 6 ก้านครีบ ปากกว้างโดยที่มุมปากยื่นยาวไปจนอยู่ในระดับใต้ตา ครีบหลังอยู่ในส่วนครึ่งหลังของลำตัว มีจุดเด่นคือ มีลายแถบสีดำข้างลำตัว ซึ่งแตกต่างออกไปตามชนิด ขนาดโดยเฉลี่ย โตเต็มที่ประมาณ 25-30 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงบริเวณผิวน้ำ กินอาหารโดยล่าปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร รวมถึงแมลงด้วย พบกระจายพันธุ์ในประเทศไทย, ลาว, กัมพูชา จนถึงเกาะบอร์เนียวและเกาะชวา พบด้วยกันทั้งหมด 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาอ้ายอ้าว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดัง

ปลาดัง ชื่อสกุลของปลากระดูกแข็งในอันดับปลาหนังจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Hemisilurus (/เฮม-อิ-ซิ-ลู-รัส/) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับปลาในสกุล Ceratoglanis ซึ่งเคยถูกจัดให้อยู่ในสกุลเดียวกันมาก่อน แต่ทว่าปลาในสกุลปลาดังนั้น จะมีความลาดที่ส่วนหลังหลังจากหัวสูงกว่า หนวดมีขนาดยาวกว่าและมีพฤติกรรมกระดิกหนวดเพื่อช่วยในการหาอาหารได้เร็วน้อยกว่าปลาสกุล Ceratoglanis มีความยาวตั้งแต่ 50–80 เซนติเมตร โดยที่คำว่า Hemisilurus นั้นมาจากภาษากรีก ที่หมายถึง "ครึ่ง" (ημι) ของ "ปลาเนื้ออ่อน" (silurus) พบทั้งหมด 3 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาดัง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดุกลำพัน

ปลาดุกลำพัน (Slender walking catfish, Nieuhof's walking catfish) เป็นปลาน้ำจืดจำพวกปลาดุกชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาดุก (Clariidae).

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาดุกลำพัน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดุกด้าน

ปลาดุกด้าน (อังกฤษ: Walking catfish, Batrachian walking catfish; ชื่อวิทยาศาสตร์: Clarias batrachus) เป็นปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาดุก (Clariidae) มีรูปร่างค่อนข้างยาวเรียว ส่วนหางค่อนข้างแบน มีสีเทาปนดำ ส่วนท้องมีสีขาว สามารถเคลื่อนที่บนบกได้เป็นระยะทางสั้น ๆ โดยใช้ครีบ เรียกว่า "ปลาแถก" ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 50 เซนติเมตร พบได้ในพื้นที่ลุ่มน้ำโขง, ลุ่มน้ำเจ้าพระยา, คาบสมุทรมลายู, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, ฟิลิปปินส์ และมีรายงานว่าพบในศรีลังกา, บังกลาเทศ, อินเดีย และพม่า ถูกควบคุมการซื้อขายในประเทศเยอรมนี และมีรายงานจากบางประเทศว่าส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศหลังจากนำเข้าไป เนื่องจากเป็นเอเลี่ยนสปีชีส์ ปลาดุกด้านเป็นปลาที่ใช้เป็นอาหารชนิดสำคัญชนิดหนึ่ง และปลาสีเผือกหรือสีที่แปลกไปจากปกติ ยังถูกเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย ในประเทศไทย ปลาดุกด้านถือเป็นปลาน้ำจืดเศรษฐกิจที่สำคัญอีกชนิดหนึ่ง ถูกนำมาปรุงเป็นอาหารต่าง ๆ เช่น ปลาดุกย่าง, ปลาดุกฟู หรือปลาหยอง เป็นต้น.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาดุกด้าน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตอง

ปลาตอง (Clown knifefishes, Featherbackfishes) เป็นสกุลปลากระดูกแข็งที่อยู่ใน วงศ์ปลากราย (Notoperidae) อันดับปลาลิ้นกระดูก (Osteoglossiformes) ใช้ชื่อสกุลว่า Chitala (/ไค-ตา-ลา/).

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาตอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะเพียนลาย

ปลาตะเพียนลาย หรือ ปลาตะเพียนม้าลาย (Striped barb, Zebra barb) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างเรียวยาว มีลายสีดำทั้งหมด 4 แถบ ยาวตามแนวนอนตามลำตัว ลายแต่ละเส้นขนานกัน ลำตัวสีเหลืองจาง ๆ เกล็ดเป็นเงามันสะท้อนแสงแวววาว เม่อยังเป็นลูกปลาวัยอ่อน ลายตามลำตัวจะเป็นแนวขวาง และค่อย ๆ กลายเป็นแนวนอนเมื่อปลาโตขึ้นหน้า 70, ตะเพียน Update, "คุยเฟื่องเรื่องปลาไทย" โดย อ.ชัยวุฒิ กรุดพันธุ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาตะเพียนลาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะเพียนหยดน้ำ

ปลาตะเพียนหยดน้ำ (Snakeskin barb) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาเสือสุมาตรา (Puntigrus tetrazona) หรือปลาเสือข้างลาย (P. partipentazona) ซึ่งเดิมเคยอยู่ร่วมสกุลเดียวกัน แต่ปลาตะเพียนหยดน้ำมีรูปร่างที่ยาวกว่าอย่างเห็นได้ชัดเจน มีสีลำตัวน้ำตาลออกส้ม มีสีดำเป็นรูปหยดน้ำ 4-5 แถบ เป็นลักษณะเด่น มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 5 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่รวมตัวกันเป็นฝูงเหมือนปลาชนิดอื่นในสกุลเดียวกัน โดยแพร่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ติดกับใบของไม้น้ำ ไข่ฟักเป็นตัวภายใน 24-36 ชั่วโมง พบเฉพาะในแหล่งน้ำที่มีสีชา ด้วยมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (Ph) ของน้ำต่ำกว่า 7 เช่น น้ำในป่าพรุ บนเกาะบอร์เนียว เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะการเลี้ยงในตู้ไม้น้ำ รวมกับปลาชนิดอื่น ๆ จัดเป็นปลาที่เลี้ยงได้ง่ายมาก สามารถกินได้ทั้งอาหารสดและอาหารสำเร็จรูป.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาตะเพียนหยดน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะเพียนขาว

ปลาตะเพียนขาว หรือ ปลาตะเพียนเงิน หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า ปลาตะเพียน (Java barb, Silver barb) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างเหมือนปลาในวงศ์ปลาตะเพียนทั่วไป ตัวมีสีเงินแวววาว ด้านหลังมีสีคล้ำเล็กน้อย ด้านท้องสีจาง ครีบอื่น ๆ มีสีเหลืองอ่อน ภาคอีสานเรียกว่า "ปลาปาก" ปลาตะเพียนขาวเป็นปลาพื้นเมืองของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ นับเป็นปลาน้ำจืดที่คนไทยรู้จักดี และอยู่ในวิถีชีวิตความเป็นอยู่มาแต่โบราณ เช่น ปลาตะเพียนใบลาน มีการเลี้ยงปลาชนิดนี้ในประเทศมานานกว่า 30 ปี และถูกนำพันธุ์ไปเลี้ยงยังต่างประเทศ เช่น มาเลเซีย, บอร์เนียว, อินโดนีเซีย แม้ว่าในประเทศเหล่านี้จะมีปลาชนิดนี้อยู่ในธรรมชาติแล้วก็ตาม ขนาดโดยเฉลี่ย 36 เซนติเมตร (พบใหญ่ที่สุด 90 เซนติเมตร น้ำหนัก 13 กิโลกรัม ที่มาเลเซีย) พบชุกชุมในทุกแหล่งน้ำทุกภาคของไทย ยกเว้นแม่น้ำสาละวิน อยู่กันเป็นฝูง ชอบที่น้ำไหลเป็นพิเศษ เป็นปลากินพืช, แมลง และสัตว์หน้าดิน นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย โดยเฉพาะตัวที่เป็นปลาเผือก ซึ่งเรียกกันว่า "ปลาตะเพียนอินโด" นิยมเลี้ยงเพื่อใช้ประโยชน์เก็บกินเศษอาหารที่ปลาใหญ่กินเหลือหรือเก็บตะไคร่น้ำและปรสิตในตู้ หรือแม้กระทั่งเลี้ยงเป็นปลาลูกไล่ของปลาใหญ่กว่า หรือเลี้ยงเพื่อทดสอบค่าความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำ (pH) หรือความเข้มข้นของคลอรีน ก่อนที่จะปล่อยปลาที่จะเลี้ยงจริงลงไป เนื่องจากเป็นปลาที่มีราคาถูก หาซื้อได้ง่าย และมีความไวต่อคุณภาพน้ำ มีการผสมพันธุ์และวางไข่ในช่วงฤดูฝน ตัวเมียเมื่อถึงสภาพสมบูรณ์ ลำตัวจะอวบอ้วนและใหญ่กว่าตัวผู้ถึง 2-3 เท่า ตัวผู้บริเวณข้างแก้มจะมีตุ่มคล้ายสิวอันเป็นเอกลักษณ์ของปลาในวงศ์ปลาตะเพียน ตัวเมียใช้เวลาอุ้มท้องจนกระทั่งวางไข่ประมาณ 1 เดือน ปัจจุบันมีการเพาะพันธุ์ปลาเพื่อนำไปปล่อยในแหล่งน้ำต่าง ๆ มีการนำมาทำเป็นอาหาร เช่น ปลาตะเพียนต้มเค็ม หรือปลาส้ม นับว่าเป็นตำรับที่มีชื่อมากของปลาชนิดนี้ แต่เป็นปลาที่มีก้างมาก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาตะเพียนขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตามิน

ปลาตามิน ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Amblyrhynchichthys truncatus อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างคล้ายปลาตะเพียน ลำตัวแบนข้าง แต่ส่วนหัวและจะงอยบปากสั้นทู่ หน้าหนัก ปากเล็ก ริมฝีปากบาง ไม่มีหนวด ตามีขนาดใหญ่มีเยื่อไขมันใสคลุม จึงเป็นที่มาของชื่อ ครีบหลังสูง มีก้านแข็งที่ขอบหยัก ครีบหางเว้า เกล็ดมีขนาดใหญ่ปานกลาง ครีบอกสั้น ตัวมีสีเงินวาวตลอดทั้งตัว ไม่มีจุดหรือสีอื่นใด ๆ ด้านท้องสีจาง ครีบมีสีเหลืองอ่อนใส มีขนาดประมาณ 20 เซนติเมตร ใหญ่สุดที่พบคือ 40 เซนติเมตร อาศัยในแม่น้ำสายใหญ่ตั้งแต่ แม่น้ำแม่กลอง, แม่น้ำเจ้าพระยา, แม่น้ำโขง และพบไปถึงบอร์เนียว เป็นปลาที่กินพืช และแมลง รวมถึงสัตว์น้ำที่ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น หอย เป็นต้น โดยมีพฤติกรรมหากินตามพื้นท้องน้ำ เป็นปลาที่มักถูกจับได้ครั้งละมาก ๆ มีราคาขายปานกลาง นิยมบริโภคโดยปรุงสดและทำปลาร้า อีกทั้งยังมีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย ปลาตามิน ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลาตาโป" ในภาษาอีสาน "ปลาตาเหลือก" หรือ "ปลาหนามหลัง" เป็นต้น.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาตามิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามแม่น้ำฟันหอก

ปลาฉลามแม่น้ำฟันหอก หรือ ปลาฉลามฟันหอก (Speartooth shark) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง จำพวกปลาฉลามแม่น้ำ จัดอยู่ในวงศ์ปลาฉลามครีบดำ (Carcharhinidae) ปลาฉลามแม่น้ำฟันหอก เป็นปลาฉลามที่อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลแถบป่าชายเลนทางตอนเหนือของออสเตรเลีย, นิวกินี และบอร์เนียว โดยสามารถปรับตัวอาศัยให้อยู่ในน้ำจืดสนิทหรือน้ำกร่อยได้ มีรูปร่างเพรียวยาวสีเทา มีครีบหลังชิ้นที่ 2 ที่มีขนาดใหญ่และมีปื้นสีดำอยู่ใต้ครีบอกทั้ง 2 ข้าง มีซี่เหงือกทั้งหมด 5 ซี่ โดยที่ซี่แรกจะมีขนาดยาวกว่าซี่อื่น ๆ มีฟันรูปร่างเป็นรูปสามเหลี่ยมขนาดใหญ่ โดยฟันแถวบนนั้นมีลักษณะเป็นหยัก ฟันแถวล่างมีรูปร่างเหมือนหัวหอกแคบ ๆ และมีรอยหยักอยู่ตรงปลาย ใช้สำหรับกัดกินอาหารซึ่งได้แก่ ปลากระดูกแข็ง และสัตว์น้ำหน้าดินที่มีกระดองแข็งอย่างครัสเตเชียน เป็นอาหารโดยเฉพาะ มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ย 1 เมตร แต่เชื่อว่าอาจใหญ่ได้เต็มที่ถึง 2.5–3 เมตร ปลาฉลามแม่น้ำฟันหอก ได้รับการบรรยายทางวิทยาศาสตร์เป็นครั้งแรกจากนักชีววิทยาชาวเยอรมัน 2 คน คือ โยฮันเนส มึลเลอร์ และยาค็อบ เฮนเล ในราวปี..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาฉลามแม่น้ำฟันหอก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวหางกรรไกร

ปลาซิวหางกรรไกร หรือ ปลาซิวหางดอก (Scissor-tailed rasbora, Three-lined rasbora) เป็นปลาซิวชนิดหนึ่ง ในสกุล Rasbora มีรูปร่างเรียวยาว แบนข้าง ท่อนหางยาว ส่วนหลังโค้ง หัวโต นัยน์ตาโต ท้องใหญ่ ครีบใหญ่ เกล็ดตามลำตัวมีสีขาวเงินปนน้ำตาล หลังมีสีน้ำตาลปนดำ มีแถบสีดำตามลำตัว มีลายดำบนแฉกของครีบหาง หางแฉกเว้าคล้ายกรรไกรอันเป็นที่มาของชื่อ จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในสกุลนี้ เนื่องจากสามารถโตเต็มที่ได้ 15 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ กินพืชน้ำและแพลงก์ตอนสัตว์น้ำเป็นอาหาร รวมถึงแมลงขนาดเล็กด้วย ในประเทศไทยพบได้ที่ แม่น้ำเจ้าพระยา, แม่น้ำโขง และภาคใต้ ในต่างประเทศพบได้เรื่อยไปจนถึงคาบสมุทรมลายู, เกาะบอร์เนียว และเกาะสุมาตรา เป็นปลาที่สามารถพบได้ทั่วไปในธรรมชาติ นิยมนำมาบริโภคกันในท้องถิ่นที่อาศัย และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะการเลี้ยงในตู้ไม้น้ำ ปัจจุบัน สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง โดยการคัดเลือกพ่อแม่ปลาที่สมบูรณ์ จากนั้นจึงฉีดฮอร์โมนกระตุ้นให้แก่ปลาตัวผู้ และปล่อยทั้งคู่ผสมพันธุ์และวางไข่กันในตู้เลี้ยงหรือบ่อ.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาซิวหางกรรไกร · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวทอง

ปลาซิวทอง (Brilliant rasbora, Long-band rasbora, Einthoven's rasbora) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rasbora einthovenii อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาซิวชนิดหนึ่ง ซึ่งมีรูปร่างลักษณะคล้ายปลาซิวพม่า (R. daniconius) ซึ่งอยู่สกุลเดียวกัน แต่มีความแตกต่างกัน คือ ปลาซิวทองมีครีบอกที่ยาวกว่าความยาวหัว เกล็ดที่เส้นข้างลำตัวที่คาดหางมี 7 แถว ในขณะที่ปลาซิวพม่ามีครีบอกสั้นกว่าความยาวส่วนหัว และเกล็ดระหว่างเส้นข้างลำตัวที่คาดหางมี 9 แถว มีลักษณะตำตัวแบนข้าง เรียวยาว นัยน์ตาโต คาดหางยาว หลังมีสีเทา ลำตัวสีขาวเงินสะท้อนแสง เกล็ดมีขอบสีดำ นัยน์ตาสีแดง มีแถบสีดำพาดยาวผ่านนัยน์ตาไปสิ้นสุดที่ปลายครีบหาง มีความยาวเต็มที่ 10 เซนติเมตร นับเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดชนิดหนึ่งในสกุลเดียวกัน พบกระจายพันธุ์ที่แม่น้ำป่าสักที่จังหวัดเพชรบูรณ์ และปัจจุบันจะพบได้ที่ป่าพรุโต๊ะแดง จังหวัดนราธิวาส ในต่างประเทศพบได้จนถึงที่คาบสมุทรมลายู, อินโดนีเซีย และเกาะบอร์เนียว เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาซิวทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวข้างขวาน

ปลาซิวข้างขวาน หรือ ปลาซิวขวาน เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่งจำพวกปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Trigonostigma เดิมปลาในสกุลนี้เคยถูกจัดให้อยู่ในสกุล Rasbora แต่ปัจจุบันนี้ได้ถูกแยกออกมาต่างหาก ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1999 โดยมีลักษณะเด่นคือ มีแถบสีดำใต้จุดเริ่มต้นของครีบหลังถึงกลางของฐานครีบหาง และมักจะเป็นแถบกว้างด้านหน้า โดยมีลักษณะเป็นสามเหลี่ยมหรือเป็นรูปขวาน ในขณะที่บางชนิดจะเป็นเพียงแถบบาง ๆ และมีพฤติกรรมการวางไข่ โดยวางติดกับใบของพืชน้ำ เป็นปลาที่มีขนาดเล็ก นิยมอยู่เป็นฝูง จึงมีความสำคัญต่อระบบนิเวศในน้ำในแง่ของการเป็นห่วงโซ่อาหารของสัตว์ที่มีขนาดใหญ่กว่า และมีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งมักจะเลี้ยงกันในตู้ไม้น้ำ โดยมีพฤติกรรมในที่เลี้ยง คือ มักจะรวมฝูงว่ายกันอยู่ในระดับกลางน้ำ พบกระจายพันธุ์ในภาคตะวันออกและภาคใต้ของไทย ไปจนถึงกัมพูชา, เกาะสุมาตรา และเกาะบอร์เนียว ปัจจุบันได้มีการอนุกรมวิธานไว้แล้วทั้งหมด 4 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาซิวข้างขวาน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวข้างขวานโกลว์ไลต์

ปลาซิวข้างขวานโกลว์ไลต์ (glowlight rasbora, porkchop rasbora) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาซิวจำพวกปลาซิวข้างขวานชนิดหนึ่ง แตกต่างจากปลาซิวข้างขวานชนิดอื่นตรงที่มีสีบริเวณลำตัวใสสามารถมองทะลุได้ แต่ยังมีลักษณะเด่นตรงรูปขวานสีดำกลางลำตัว ขนาบไปด้วยสีน้ำตาลแดงไปจนถึงหาง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 3 เซนติเมตร เป็นปลาที่อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงในเกาะสุมาตราและบอร์เนียว นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ แต่ในประเทศไทย เป็นปลาที่ค่อนข้างหายาก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาซิวข้างขวานโกลว์ไลต์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวคาโลโครม่า

ปลาซิวคาโลโครม่า (Clown rasbora, Big-spot rasbora) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ลำตัวเรียวยาวมีสีน้ำตาลแดง มีจุดเด่น คือ จุดวงกลมสีดำ 2 จุด โดยเฉพาะจุดหลังที่เป็นจุดขนาดใหญ่ มีความยาวเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร จัดเป็นปลาซิวที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง พบกระจายพันธุ์บนแผ่นดินใหญ่ของคาบสมุทรมลายู เช่น รัฐเซอลาโงร์, ตรังกานู, ปะหัง, ซาราวะก์ และยะโฮร์ในมาเลเซีย และหมู่เกาะต่าง ๆ ในอินโดนีเซีย เช่น เกาะบอร์เนียว, สุมาตรา, จังหวัดกาลีมันตันตะวันออก และกาลีมันตันใต้ เป็นปลาที่อาศัยอยู่รวมเป็นฝูงในน้ำที่มีสภาพเป็นพรุ ที่มีเศษใบไม้และกิ่งไม้ร่วงอยู่ก้นพื้นน้ำ และปล่อยสารแทนนินออกมาทำให้สีของน้ำดูคล้ำ สภาพน้ำมีความเป็นกรดซึ่งอาจจะต่ำไปถึงขั้น 4 pH ได้ ซึ่งพื้นที่อาศัยในธรรมชาติในปัจจุบันกำลังถูกคุกคามจากการทำปาล์มน้ำมัน และสวนยางพารา นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาซิวคาโลโครม่า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าเขียว

ปลาปักเป้าเขียว หรือ ปลาปักเป้าจุดดำยักษ์ (Green pufferfish, Ceylon puffer) เป็นปลาปักเป้าชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tetraodon fluviatilis อยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) มีลักษณะคล้ายกับปลาปักเป้าจุดดำ (T. nigroviridis) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกันมาก เพียงแต่ปลาปักเป้าเขียวมีขนาดใหญ่กว่า กล่าวคือ อาจยาวได้ถึง 25 เซนติเมตร ขณะที่ปลาปักเป้าจุดดำยาวได้เพียงแค่ 17 เซนติเมตรเท่านั้น ในปลาขนาดเล็กจะมีส่วนท้องสีขาว เมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนเป็นสีดำ ด้านหลังเมื่อมองจากด้านบนจะเห็นจุดสีดำขนาดใหญ่ 3-4 แต้ม และในบางตัวจุดดำจะลามไปจนถึงครีบหาง พบกระจายพันธุ์ในชายฝั่งทะเลและปากแม่น้ำตั้งแต่อ่าวเบงกอล, ศรีลังกา, พม่า, ชายฝั่งทะเลด้านอันดามันของไทย ไปจนถึงเกาะบอร์เนียว โดยอาศัยในน้ำจืดที่ค่อนข้างไปทางกร่อยเล็กน้อย มีนิสัยดุร้ายกว่าปลาปักเป้าจุดดำ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งต้องเลี้ยงเดี่ยว หากเลี้ยงรวมกับปลาอื่นหรือแม้แต่ปลาปักเป้าเช่นเดียวกันมักจะกัดกันตลอดเวล.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาปักเป้าเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลานกแก้วหัวโหนก

ระวังสับสนกับ: ปลานกขุนทองหัวโหนก ปลานกแก้วหัวโหนก (Bumphead parrotfish, Green bumphed parrotfish) เป็นปลากระดูกแข็งทะเลชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปลานกแก้ว (Scaridae) ถือเป็นปลานกแก้วมีขนาดใหญ่ที่สุด โดยมีขนาดใหญ่ได้ถึง 1 เมตร หรือ 1.3 เมตร น้ำหนักได้ถึง 46 กิโลกรัม และมีอายุยืนยาวได้นานถึง 40 ปี มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลานกขุนทองหัวโหนก (Cheilinus undulatus) ซึ่งอยู่ในวงศ์ปลานกขุนทอง (Labridae) และถือเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Bolbometopon โดยมีลักษณะเด่น คือ บริเวณหน้าผากโหนกหนาแข็งแรง ทำหน้าที่เปรียบเสมือนกันชนเวลาที่เข้ากัดกินหินหรือปะการังแข็ง ๆ เพื่อกินเป็นอาหาร ปากและฟันหน้าใหญ่แข็งแรง ติดกันเป็นพรืดเหมือนกันกับปลานกแก้วชนิดอื่นทั่วไปไม่เป็นซี่ ๆ เหมือนสัตว์ทั่วไป ลักษณะของปากและฟันเช่นนี้ทำให้ถูกเปรียบเทียบว่าคล้ายกับจะงอยปากของนกแก้ว อันเป็นที่มาของชื่อ มีลำตัวทั่วไปสีเขียว ปลานกแก้วหัวโหนกเป็นปลาที่อยู่อาศัยหากินรวมกันเป็นฝูง ตามแนวปะการัง ในฝูงหนึ่งประมาณ 13-14 ตัว ออกหากินในเวลากลางวัน และเข้านอนตามซอกหลืบถ้ำหรือตามซากเรือจมในเวลากลางคืน ในระดับความลึกไม่เกิน 30 เมตร พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก, ทะเลแดง, ซามัว จนถึงนิวแคลิโดเนียและเกรตแบร์ริเออร์รีฟ ในออสเตรเลีย สำหรับน่านน้ำไทย ถือเป็นปลาที่พบได้น้อย หายาก จึงมักเป็นที่ชื่นชอบของนักประดาน้ำเพื่อถ่ายรูปเช่นเดียวกับปลานกขุนทองหัวโหนก โดยอาจพบได้ที่เขตอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลันและหมู่เกาะสุรินทร์แต่ก็ไม่บ่อยนัก และจำนวนก็ไม่มาก ครั้งละ 3-4 ตัวเท่านั้น แต่สำหรับที่เกาะเซปาดัง ในมาเลเซีย และเกาะบอร์เนียว ในอินโดนีเซียจะพบได้ง่ายกว่า ปลานกแก้วหัวโหนก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลานกแก้วหัวโหนก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแรด

ปลาแรด (Giant gourami) เป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในวงศ์ Osphroneminae ซึ่งอยู่ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae นับเป็นปลาแรดชนิดที่เป็นที่รู้จักมากที.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาแรด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแขยงทอง

ปลาแขยงทอง หรือ ปลาอิแกลาเอ๊ะ (ภาษาอินโดนีเซีย: Ikan nuayang) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pseudeutropius moolenburghae อยู่ในวงศ์ปลาหวีเกศ (Schilbeidae) มีรูปร่างเพรียวยาว นัยน์ตาโต มีหนวดทั้งหมด 4 คู่ ที่ระหว่างจมูกคู่หน้ากับคู่หลัง 1 คู่ ริมฝีปากบน 1 คู่ ริมฝีปากล่าง 1 คู่ และที่คาง 1 คู่ มีครีบไขมันขนาดเล็กอยู่ใกล้ครีบหาง ครีบท้องมีก้านครีบแขนง 42-49 ก้าน ครีบหางเว้าเป็นแฉกลึก ลำตัวมีสีเหลืองเหลือบทองจาง ๆ มีจุดสีดำที่บริเวณหน้าครีบหลัง มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง กินอาหารจำพวก แมลง, แมลงน้ำ และกุ้งขนาดเล็ก ในประเทศไทยพบได้ที่แม่น้ำสาละวินในแถบจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในต่างประเทศพบได้ที่ เกาะสุมาตราและบอร์เนียว โดยปลาชนิดนี้เป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพของน้ำได้เป็นอย่างดี เป็นปลาที่ชาวพื้นเมืองที่จะนิยมนำมาบริโภคกันโดยจับได้ในปริมาณทีละมาก ๆ ใช้หมักเค็มกับเกลือ เป็นปลาที่ความสวยงามมากชนิดหนึ่ง นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางนัก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาแขยงทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแค้วัว

ปลาแค้วัว หรือ ปลาแค้ (Dwarf goonch, Devil catfish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae) มีลักษณะหัวแบนราบมีด้านบนโค้งและด้านล่างเรียบ จะงอยปากยื่นยาว มองจากด้านบนจะโค้ง หนวดเป็นเส้นแข็งมีผังผืดที่ริมฝีปาก ตาเล็กอยู่ด้านบนของหัว มีลักษณะคล้ายตาของงูหรือจระเข้ คือ มีม่านตาดำเล็กเป็นช่องแนวตั้ง ปากกว้างมากมีฟันเป็นเขี้ยวแหลมคมอย่างสัตว์ดุร้าย ส่วนหลังยกสูง ลำตัวแบนราบเล็กน้อย ครีบหลังยกสูงมีก้านครีบแข็งแหลมคมเช่นเดียวกับครีบอก ที่ปลายครีบอก ครีบท้อง ครีบหลัง มีลักษณะเป็นเส้นเรียวยาว โดยเฉพาะในตัวเมีย ผิวหนังสาก บนหัวมีกระ ไม่เรียบ ตัวมีสีเขียวมะกอกหรือน้ำตาลอ่อนอมเหลือง มีประด่างสีคล้ำและสีดำตลอดลำตัวด้านบนและครีบ ด้านท้องสีจาง ครีบท้องของปลาแค้วัวจะตั้งตรงอยู่แนวเดียวกับด้านท้ายของครีบหลัง เป็นปลาล่าเหยื่อ กินปลาและซากสัตว์เป็นอาหาร อาศัยอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ของทุกภาคในประเทศไทย พบน้อยในภาคใต้ พบมากในแม่น้ำเจ้าพระยา ในต่างประเทศพบที่อินเดีย, กัมพูชา, เวียดนาม ไปจนถึงเกาะสุมาตรา, บอร์เนียว และชวา มีความยาวเต็มประมาณ 30-40 เซนติเมตร พบใหญ่สุดไม่เกิน 70 เซนติเมตร นอกจากนี้ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลาตุ๊กแก" เป็นต้น นิยมบริโภคด้วยการปรุงสด เนื้อมีรสชาติดี อร่อย ทำเป็นอาหารได้หลากหลาย เช่น ต้มยำ เป็นต้น มักพบขายในร้านแม่น้ำตามภูมิภาคที่ติดริมแม่น้ำ และเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาแค้วัว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแปบขาวหางดำ

ปลาแปบขาวหางดำ หรือ ปลาแปบ (publisher) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาแปบ ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างเพรียวยาว ลำตัวแบนข้างมากจนริมท้องเป็นสัน หัวมีขนาดเล็ก นัยน์ตาโต ครีบหลังอยู่ค่อนไปทางหางและตรงข้ามกับครีบก้น ครีบอกยาวจรดครีบท้อง ครีบหางเป็นแฉก เกล็ดมีลักษณะบางใสและหลุดง่าย เส้นข้างลำตัวโค้งลงขนานกับริมท้อง ลำตัวมีสีขาวเงิน ด้านหลังขุ่น มีแถบสีเหลืองทองจาง ๆ ยาวตามความยาวลำตัว มีขนาดความยาวเต็มที่ 20 เซนติเมตร เป็นปลาที่อาศัยหากินตามผิวน้ำและกลางน้ำ อยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ กินแมลงและแมลงน้ำต่าง ๆ เป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำและลำคลองของแม่น้ำตาปี ในเขตจังหวัดสุราษฎร์ธานี, ทะเลน้อยในเขตจังหวัดพัทลุง, แม่น้ำจันทบุรีในจังหวัดจันทบุรี และยังพบได้ในแม่น้ำโขง รวมถึงแม่น้ำแม่กลอง และในพื้นที่ป่าพรุ และพบได้ไกลจนถึงอินโดนีเซี.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาแปบขาวหางดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแนนดัส

ปลาแนนดัส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาเสือดำ (Nandidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Nandus (/แนน-ดัส/) เป็นปลาขนาดเล็ก มีรูปร่างคล้ายใบไม้ ลำตัวแบนข้างมาก หัวโต ปากกว้างและยืดหดได้ ขากรรไกรบนยาวถึงหลังนัยน์ตา เยื่อที่ริมกระดูกแก้มแต่ละข้างแยกกันเป็นอิสระ มีกระดูกเป็นซี่แข็งปลายแหลมหนึ่งอันอยู่บนกระดูกแก้ม ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยวที่เป็นซี่แข็งปลายแหลม จำนวน 15-16 ก้าน และมีก้านครีบแขนง 11-12 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยวที่เป็นซี่แข็งปลายแอหลม จำนวน 3 ก้าน และมีก้านครีบแขนง 5-6 ก้าน เกล็ดเป็นแบบสากขอบหยัก เส้นข้างลำตัวแยกออกเป็น 2 ตอน พบปลาขนาดเล็ก แม้จะมีสีสันไม่สวยงาม แต่ก็ยิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มักอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่มีไม้น้ำและพืชน้ำขึ้นหนาแน่น โดยมักจะอยู่นิ่ง ๆ จนดูคล้ายใบไม้ เพื่อรอดักเหยื่อซึ่งได้แก่ ปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงเกาะบอร์เนียว.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาแนนดัส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเบี้ยว

ปลาเบี้ยว หรือ ปลาคางเบือน (Twisted-jaw catfish, Twisted-jaw sheatfish) ชื่อสกุลของปลาน้ำจืด 2 ชนิดในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) ซึ่งอยู่ในอันดับปลาหนัง ใช้ชื่อสกุลว่า Belodontichthy (/เบล-โอ-ดอนท์-อิค-ธีส/; "Belo" เป็นภาษากรีกหมายถึง "ทุกทิศทาง", "odon" หมายถึง "ฟัน" และ "ichthyos" หมายถึง "ปลา" มีความหมายรวมหมายถึง "ปลาที่มีฟันทุกทิศทาง") มีรูปร่างโดยรวมคือ ปากกว้างและเชิดขึ้นอันเป็นที่มาของชื่อ ภายในมีฟันแหลมคม ตาโตอยู่ตอนกลางของหัว ใกล้มุมปากมีหนวด 1 คู่ยาวจนถึงครีบอก ครีบหลังเล็กมาก มีก้านครีบแขนง 3 หรือ 4 ก้าน ครีบอกใหญ่ปลายแหลม ครีบท้องเล็ก ครีบหางเล็กเว้าตื้น ตัวมีสีเงินวาวหรือเหลือบสีเขียวอ่อน ด้านท้องสีจาง นัยน์ตามีเยื่อไขมันบาง ๆ คลุม อาศัยอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ กินอาหาร จำพวก สัตว์น้ำขนาดเล็ก พบกระจายพันธุ์อยุ่เฉพาะภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เท่านั้น พบเพียง 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาเบี้ยว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเกล็ดถี่

ปลาเกล็ดถี่ เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Thynnichthys thynnoides จัดอยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างคล้ายปลาลิ่นหรือปลาหัวโต (Hypophthalmichthys molitrix) ที่มีขนาดเล็ก กล่าวคือ หัวโต ตากลมโต ลำตัวเพรียวแบนข้างเล็กน้อย ไม่มีหนวด ปากเล็กอยู่ปลายสุดของส่วนหัว ครีบหลังไม่มีก้านครีบแข็ง เกล็ดมีขนาดเล็กละเอียดมาก มีสีเงินแวววาวเมื่อถูกแสงและหลุดร่วงได้ง่าย ที่บริเวณเส้นข้างลำตัวมีประมาณ 58-65 เกล็ด ข้อหางคอด ปลายครีบหางเว้าลึก ครีบทุกครีบสีจางใส ที่ฝาปิดแผ่นเหงืออกมีจุดสีคล้ำ ส่วนท้องสีขาวจาง มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ชุกชุมอยู่ทั่วไป โดยเฉพาะที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศไทย ไม่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน และพบได้จนถึงคาบสมุทรมลายูและเกาะบอร์เนียว บางครั้งอาจพบปะปนอยู่กับกลุ่มปลาสร้อยด้วย โดยเฉพาะปลาสร้อยขาว (Henicorhynchus siamensis) อาจจะจำสับสนกันได้ เพราะมีลักษณะคล้ายกัน แต่ปลาสร้อยขาวมีเกล็ดขนาดใหญ่กว่ามาก ปลาเกล็ดถี่เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น โดยมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น สร้อยเกล็ดถี่, นางเกล็ด, เรียงเกล็ด, ลิง, พรม เป็นต้น.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาเกล็ดถี่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเกล็ดถี่ (สกุล)

ปลาเกล็ดถี่ หรือ ปลานางเกล็ด (Thynnichthys) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่งในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะสำคัญก็คือ มีส่วนหัวที่โตจนดูคล้ายปลาลิ่น (Hypophthalmichthys molitrix) ขนาดเล็ก ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยวที่ขอบเรียบ มีก้านครีบแขนง 8 ก้าน ไม่มีริมฝีปากบน ปากอยู่สุดปลายจะงอย ไม่มีหนวด และไม่มีซี่กรองเหงือก เกล็ดมีขนาดเล็กละเอียดมาก เป็นสีเงินแวววาวและหลุดร่วงง่าย มักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง หากินแพลงก์ตอนหรือตะไคร่น้ำเป็นอาหาร โดยอาจปะปนอยู่กับปลาในวงศ์ปลาตะเพียนด้วยกันสกุลอื่น เช่น ปลาสร้อย เป็นต้น พบทั้งหมด 4 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาเกล็ดถี่ (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเสือสุมาตรา

ระวังสับสนกับ ปลาเสือข้างลาย สำหรับ เสือสุมาตรา ที่หมายถึงเสือโคร่งดูที่ เสือโคร่งสุมาตรา ปลาเสือสุมาตรา ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Puntigrus tetrazona อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) วงศ์ย่อย Cyprininae มีรูปร่างคล้ายปลาตะเพียนขนาดเล็ก และมีลักษณะคล้ายคลึงกับปลาเสือข้างลาย (P. partipentazona) ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในสกุลเดียวกันมาก โดยมีพื้นลำตัวสีเหลืองอมส้มเหมือนกัน ต่างกันที่แถบดำของปลาเสือสุมาตรานั้นมีทั้งหมด 4 แถบ และขนาดลำตัวของปลาเสือสุมาตรานั้นจะใหญ่กว่าเล็กน้อย โตเต็มที่มีขนาดไม่เกิน 7 เซนติเมตร พบในประเทศอินโดนีเซีย ที่เกาะบอร์เนียวและสุมาตรา โดยไม่พบในประเทศไทย มีอุปนิสัยคล้ายคลึงกับปลาเสือข้างลาย คือ ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงในบริเวณกลางน้ำ ในแหล่งน้ำสะอาดที่มีพืชพรรณไม้น้ำขึ้นหนาแน่น อาหารได้แก่ อินทรีย์สารและสัตว์น้ำขนาดเล็ก ปลาเสือสุมาตรานั้นได้ถูกนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามมาช้านานแล้ว ด้วยเป็นปลาที่มีราคาถูก เลี้ยงง่าย เพาะขยายพันธุ์ได้ง่าย จึงมีผู้เพาะขยายออกเป็นสีสันต่าง ๆ ที่ต่างจากเดิม เช่น ปลาเผือก หรือ ปลาเสือสุมาตราเขียว เป็นต้น ซึ่งอุปนิสัยในสถานที่เลี้ยงนั้น ปลาเสือสุมาตรานับว่าเป็นปลาที่มีนิสัยก้าวร้าวพอสมควร มักไล่ตอดปลาชนิดอื่นที่ว่ายน้ำช้ากว่า เช่น ปลาทอง หรือ ปลาเทวดา จึงมักนิยมเลี้ยงแต่เพียงชนิดเดียว หรือเลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่นที่ใกล้เคียงกันโดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ และด้วยความที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับปลาเสือข้างลายมากประกอบกับที่นิยมเป็นปลาสวยงามมาช้านาน จึงทำให้เกิดความเข้าใจกันอยู่เสมอว่า ปลาเสือสุมาตรานั้นเป็นปลาชนิดเดียวกันกับปลาเสือข้างลายและเป็นปลาพื้นถิ่นของไทย เป็นต้น.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาเสือสุมาตรา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเสือหกขีด

ปลาเสือหกขีด หรือ ปลาเสือป่าพรุ (Six-band barb) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะและรูปร่างคล้ายกับปลาเสือห้าขีด (D. pentazona) ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวแบนข้าง ส่วนหลังโค้ง หัวมีขนาดเล็ก ตาโต ปากมีขนาดเล็ก มีหนวดที่มุมปาก 1 คู่ จุดเริ่มต้นของครีบหลังอยู่กลางตัว และอยู่หลังครีบท้อง ครีบหางแฉกเว้าลึก สีพื้นของลำตัวเป็นสีขาวเงิน มีแถบสีดำบนลำตัว 6 แถบ โดยมีที่ลำตัว 5 แถบ และที่ส่วนหัวอีก 1 แถบ พาดผ่านตา เกล็ดบางเกล็ดมีสีขาวเงินสะท้อนแสง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5.5 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในภาคใต้ของประเทศไทยในป่าพรุต่าง ๆ เช่น ป่าพรุโต๊ะแดง และพบเรื่อยไปจนถึงแหลมมลายู, เกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเป็นปลาที่เลี้ยงได้ง่ายมาก นิยมเลี้ยงรวมกันเป็นฝูงหรือรวมกับปลาขนาดใกล้เคียงกันในตู้ไม้น้ำ.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลาเสือหกขีด · ดูเพิ่มเติม »

ปลิงแดงยักษ์กีนาบาลู

ปลิงแดงยักษ์กีนาบาลู (Kinabalu giant red leech) เป็นปลิงขนาดใหญ่ ยาวไม่เกิน 30 ซม.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปลิงแดงยักษ์กีนาบาลู · ดูเพิ่มเติม »

ปาเปดา

การปรุงปาเปดาแบบพื้นเมืองของชาวเกาะมาลูกูในกระบอกไม้ไผ่ ปาเปดา (papeda) หรือ บูบูร์ซากู (bubur sagu) เป็นอาหารทำจากสาคู จัดเป็นอาหารท้องถิ่นของหมู่เกาะโมลุกกะและปาปัวตะวันตก มีลักษณะคล้ายอัมบูยัตที่พบในเกาะบอร์เนียวโดยเฉพาะรัฐซาราวักและบรูไน ปาเปดาทำจากแป้งสาคูที่มาจากลำต้นของปาล์มสาคู อายุ 5–15 ปี การปรุงปาเปดาจะนำแป้งไปกวนจนสุกและเหนียวนิยมกินกับแกงเหลืองปลาทูน่าที่ปรุงรสเปรี้ยวด้วยมะขามและมะนาว.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปาเปดา · ดูเพิ่มเติม »

ปืนใหญ่จอมสลัด

ปืนใหญ่จอมสลัด ภาพยนตร์แนวแฟนตาซีอิงประวัติศาสตร์ของ นนทรีย์ นิมิบุตร ทุนสร้าง 140 ล้านบาท เขียนบทภาพยนตร์โดย วินทร์ เลียววาริณ นักเขียนรางวัลซีไรต์ และคงเดช จาตุรันต์รัศมี.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปืนใหญ่จอมสลัด · ดูเพิ่มเติม »

ปูมะพร้าว

ปูมะพร้าวขณะอยู่บนพื้น ปูมะพร้าว (Coconut crab; ชื่อวิทยาศาสตร์: Birgus latro) จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมอาร์โธรพอด เป็นสัตว์ที่วิวัฒนาการมาจากปูเสฉวน และเป็นสัตว์ขาปล้องขนาดใหญ่ที่สุดที่อาศัยอยู่บนพื้นดิน กิตติศัพท์ที่ว่าปูมะพร้าวสามารถเจาะลูกมะพร้าวด้วยก้ามอันทรงพลังนั้นเป็นที่รู้จักกันดี ในบางครั้งปูมะพร้าวถูกเรียกว่า ปูปล้น หรือ ปาล์มขโมย (เยอรมัน: Palmendieb) ทั้งนี้เนื่องจากปูมะพร้าวมักจะขโมยข้าวของเครื่องใช้ภายในบ้านที่ส่องประกาย อย่างเช่น หม้อ หรือถ้วยสแตนเลส บางคนเรียกปูมะพร้าวว่า ปูเสฉวนบก แต่อันที่จริงนอกจากปูมะพร้าวแล้ว ยังมีปูชนิดอื่นอีกที่จัดได้ว่าเป็นปูเสฉวนบกเช่นกัน นอกจากนี้ ปูมะพร้าวอาจมีชื่อเรียกต่างกันไปอีกในแต่ละที่ เช่น ที่เกาะกวม เรียกปูมะพร้าวว่า อายูยู.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปูมะพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

ปนตียานัก

ปนตียานัก (Pontianak) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดกาลีมันตันตะวันตก อินโดนีเซีย เป็นเมืองอุตสาหกรรมขนาดกลาง ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว ที่ปากลำน้ำสายเล็ก ๆ ทางเหนือของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำกาปูอัส เมืองปนตียานักมีพื้นที่ 107.82 กม² เมืองนี้ตั้งอยู่ในแหล่งปลูกมะพร้าว พริกไทย ข้าวเจ้า ยาสูบและอ้อย ส่งยาง น้ำตาล และน้ำมันปาล์มเป็นสินค้าออก เมืองนี้ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและปนตียานัก · ดูเพิ่มเติม »

ป่าเมฆ

ฟินต้นในป่าเมฆบนยอดเขากีนาบาลู, บอร์เนียว ที่ Parque Internacional la Amistad ป่าเมฆเขตอบอุ่นบน La Palma, หมู่เกาะคะเนรี ป่าเมฆของ Monteverde, ประเทศคอสตาริกา ป่าเมฆบนเขาหลูซานทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีน หนึ่งในสะพานแขวนของ Sky walk ใน Santa Elena, Costa Rica หายไปในเมฆ มอสส์ในป่าเมฆเขตอบอุ่นที่ Budawang National Park, ประเทศออสเตรเลีย ป่าเมฆ (cloud forest) หรือ ป่าหมอก (fog forest) คือป่าไม้เขตร้อนในเขตร้อนหรือกึ่งเขตร้อน เติบโตตามภูเขา ไม่ผลัดใบ มีโอกาสถูกปกคลุมด้วยเมฆระดับต่ำได้สูง ปกติมักอยู่ระดับยอดเขาและสันเขา ป่าเมฆจะอุดมไปด้วยมอสส์ไม่ว่าบนพื้นหรือบนต้นไม้จึงเรียกอีกอย่างว่า ป่ามอสส์ (mossy forest) ป่ามอสส์มักจะอยู่บนสันเขาที่ซึ่งได้รับความชื้นจากเมฆอย่างมีประสิท.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและป่าเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

นกชนหิน

นกชนหิน (Helmeted hornbill) เป็นนกขนาดใหญ่ในวงศ์นกเงือก พบในประเทศไทย มาเลเซีย สุมาตรา และบอร์เนียว จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Rhinoplax.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและนกชนหิน · ดูเพิ่มเติม »

นกกระจอกบ้าน

นกกระจอกบ้าน (Eurasian Tree Sparrow) เป็นนกเกาะคอนในวงศ์นกกระจอก มีสีน้ำตาลเข้มที่กระหม่อนและหลังคอ แก้มสีขาวมีจุดดำบนแก้มแต่ละข้าง นกกระจอกทั้งสองเพศมีชุดขนคล้ายกัน นกวัยอ่อนมีสีขนจืดกว่านกที่โตเต็มที่ นกชนิดนี้มีการกระจายพันธุ์เกือบทั้งทวีปยูเรเชียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรู้จักกันในชื่อ Tree Sparrow (นกกระจอกต้นไม้) และมันถูกนำไปสู่ที่อื่นๆ รวมถึง สหรัฐอเมริกา ซึ่งรู้จักกันในชื่อ Eurasian Tree Sparrow (นกกระจอกต้นไม้ยูเรเชีย) หรือ German Sparrow (นกกระจอกเยอรมัน) ต่างไปจากนกพื้นเมือง นกกระจอกต้นไม้อเมริกา (American Tree Sparrow) แม้ว่าจะมีหลายชนิดย่อยที่ได้รับการยอมรับ แต่ลักษณะที่ปรากฏของนกแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยตลอดแนวการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง นกกระจอกบ้านทำรังไม่เป็นระเบียบในโพรงธรรมชาติ รูในอาคาร หรือรังขนาดใหญ่ของนกสาลิกาปากดำหรือนกกระสาขาว นกจะวางไข่คราวหนึ่งห้าถึงหกฟอง ไข่จะฟักเป็นตัวภายในสองอาทิตย์ นกกินเมล็ดพืชเป็นอาหารหลัก แต่บางครั้งจะกินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นอาหาร โดยเฉพาะช่วงฤดูผสมพันธุ์ นกกระจอกบ้านเหมือนกับนกขนาดเล็กทั่วไปซึ่งอาจเสียชีวิตจากการติดเชื้อจากปรสิต โรคภัยไข้เจ็บ และถูกล่าโดยนกล่าเหยื่อ ทำให้โดยทั่วไปมีช่วงชีวิตประมาณสองปี.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและนกกระจอกบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

นกกระเต็นน้อยธรรมดา

นกกระเต็นน้อยธรรมดา (Common kingfisher) เป็นนกกระเต็นชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย จัดอยู่ในวงศ์นกกระเต็นน้อย (Alcedinidae) และมีขนาดที่ค่อนข้างเล็กและน่ารัก มีความยาวจากปลายปากจรดปลายหางประมาณ 16–18 เซนติเมตร เมื่อเทียบกับนกกระเต็นชนิดอื่น ๆ แต่จะแตกต่างกันที่ตัวเมียมีโคนปากล่างและอาจทั้งปากล่างเป็นสีส้มแดงขณะที่ตัวผู้มีปากสีดำสนิท.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและนกกระเต็นน้อยธรรมดา · ดูเพิ่มเติม »

นกสาลิกาเขียว

นกสาลิกาเขียว (Common green magpie) เป็นนกชนิดหนึ่งในวงศ์นกกา (Corvidae) มีขนาด 38 ​เซนติ​เมตร มีปากหนาสี​แดงสด วงรอบตาสี​แดง​และมี​แถบสีดำคาด​เหมือนหน้ากาก บริ​เวณกระหม่อมสี​เขียวอม​เหลือง ลำตัวด้านบนสี​เขียวสด ​ใต้ท้องสี​เขียวอ่อน ช่วงปีกตรงหัว​ไหล่​เป็นสี​เขียว ปลายปีก​เป็นสี​แดง​เข้ม ​และตอน​ในของขนกลางปีกมี​แถบสีดำสลับขาว ขาสี​แดงสด ​ใต้หางมีสีดำสลับขาว ​และส่วนปลายหางจะ​เป็นสีขาว ร้องดัง “กวีก.ก..กวีก..ก..ก....” กระจายพันธุ์ในเทือกเขาหิมาลัยในตอนเหนือของภาคตะวันออกของประเทศอินเดียไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านภาคกลางของประเทศไทย มาเลเซีย ถึงเกาะสุมาตราและทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว ในป่าไม่ผลัดใบ ป่า​เบญจพรรณ นกหากินเป็นคู่หรือเป็นฝูงตามต้นไม้และพื้นดิน กินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง, สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดเล็ก ลูกนก และไข่เป็นอาหาร ทำรังอยู่ตามง่าม​ไม้ รัง​ทำจากกิ่ง​ไม้ ​ใบ​ไม้​แห้ง ​และ​ใบ​ไผ่ วางซ้อนกัน​และสาน​ไปมา​เป็นรูปลักษณะถ้วยตื้นๆ ตรงกลางมีกิ่ง​ไม้​เล็กวางรองอีกชั้น ออก​ไข่ครั้งละ 4 - 6 ฟอง.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและนกสาลิกาเขียว · ดูเพิ่มเติม »

นกหกเล็กปากดำ

นกหกเล็กปากดำ (Blue-crowned hanging parrot) เป็นนกแก้วสีเขียวขนาดเล็ก พบในประเทศไทยไปจนถึงบอร์เนียว กินดอกไม้ หน่ออ่อน ผลไม้ และเมล็ดเป็นอาหาร.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและนกหกเล็กปากดำ · ดูเพิ่มเติม »

นกหว้า

นกหว้า (Great argus, Double-banded argus) เป็นไก่ฟ้าขนาดใหญ่ขนสีน้ำตาล หัวและคอเป็นสีฟ้า พบในป่าของเกาะบอร์เนียว, เกาะสุมาตรา และ คาบสมุทรมลายูในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชื่อวิทยาศาสตร์ของนกหว้าตั้งโดยคาโรลัส ลินเนียสซึ่งโยงถึงจุดคล้ายตาบนปีกจำนวนมาก โดยตั้งตามชื่อ อาร์กัส ยักษ์ร้อยตาในเทพปกรณัมกรีก เดิมทีนกหว้าเคยถูกให้มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด โดยอีกชนิดหนึ่งนั้นใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Argusianus bipunctatus แต่ปัจจุบันได้ถูกรวมกันเป็นชนิดเดียวกัน ดังนั้นชื่อนี้จึงกลายเป็นชื่อพ้องไป เพราะการสูญเสียที่อยู่และถูกล่าเป็นอาหาร นกหว้าจึงจัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่ถูกคุกคามความเสี่ยงต่ำ (NT) ในบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ และจัดอยู่ในบัญชีที่ 2 ของ CITES.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและนกหว้า · ดูเพิ่มเติม »

นกอีวาบตั๊กแตน

นกอีวาบตั๊กแตน (plaintive cuckoo) เป็นนกสกุล Cacomantis ในวงศ์ Cuculidae (วงศ์นกคัคคู) เป็นนกประจำถิ่นของทวีปเอเชีย มีที่อยู่ตั้งแต่อินเดีย จีน อินโดนีเซีย และไท.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและนกอีวาบตั๊กแตน · ดูเพิ่มเติม »

นกขุนทอง

แสดงให้เห็นถึงหัวของนกขุนทองชนิดย่อยต่าง ๆ ซึ่งแตกต่างกันที่เหนียง นกขุนทอง หรือ นกเอี้ยงคำ (คำเมือง) เป็นนกในวงศ์นกเอี้ยงและนกกิ้งโครง (Sturnidae) มีถิ่นอาศัยอยู่ทั่วไปในเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์ มีความสามารถเลียนเสียงมนุษย์ได้เหมือนนกแก้ว จึงนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงกันสูง.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและนกขุนทอง · ดูเพิ่มเติม »

นกคุ่มสี

นกคุ่มสี หรือ ไก่นา (King quail, Blue-breasted quail, Asian blue quail) เป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (Phasianidae) ตัวผู้มีสีสันเด่นกว่านกคุ่ม (Corturnix spp.) ชนิดอื่นมาก โดยบริเวณหน้าผาก, คิ้ว และด้านข้างของคอเป็นสีน้ำเงินแกมเทา บริเวณใต้ตามีแถบสีขาว 2 แถบ คอหอยสีดำและด้านล่างมีแถบใหญ่สีขาว อกและสีข้างเป็นสีน้ำเงินแกมเทา ลำตัวด้านบนเป็นสีน้ำตาลเข้มมีลายจุดและลายขีดสีดำกระจายอยู่ ลำตัวด้านล่างส่วนที่เหลือเป็นสีน้ำตาลแดง ตัวเมียมีลำตัวด้านบนคล้ายกับตัวผู้ คอหอยสีเนื้อ ลำตัวด้านล่างสีเนื้อแกมม่วง อกและสีข้างมีลายแถบสีออกดำ นิ้วสีเหลืองเข้ม พบกระจายพันธุ์ในประเทศอินเดีย, หมู่เกาะนิโคบาร์, ตอนใต้ของจีน, เกาะไต้หวัน, เกาะไหหลำ, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, หมู่เกาะซุนดาใหญ่, ฟิลิปปินส์ จนถึงทวีปออสเตรเลีย มีพฤติกรรมอาศัยอยู่ในป่าหญ้า, ป่าละเมาะ และทุ่งโล่ง พบอยู่เป็นคู่หรือฝูงเล็ก ๆ หากินในเวลากลางวัน โดยหากินตามพื้นดิน ได้แก่ เมล็ดพืช และแมลงต่าง ๆ เช่น ปลวก เมื่อพบศัตรูซ่อนตามกอหญ้า ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อนต่อฤดูฝน ระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน ทำรังด้วยการขุดดินให้เป็นแอ่งเล็ก ๆ บริเวณที่เป็นซุ้มกอหญ้าหรือกอพืช อาจนำใบไม้หรือใบหญ้ามาวางในแอ่งเพื่อรองรับไข่ ออกไข่ครั้งละประมาณ 5-7 ฟอง นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม ในประเทศไทยมีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ปา พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและนกคุ่มสี · ดูเพิ่มเติม »

นกแว่นสีน้ำตาล

นกแว่นสีน้ำตาล (Malayan Peacock-Pheasant หรือ Crested Peacock-Pheasant) เป็นไก่ฟ้าขนาดกลางในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา เป็นญาติใกล้ชิดกลับนกแว่นบอร์เนียว (P. schleiermacheri) ซึ่งแต่เดิมถือเป็นชนิดเดียวกัน ก่อนจะแยกออกจากกันในภายหลังMcGowan (1994), BLI (2008).

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและนกแว่นสีน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

นกแซงแซวหางบ่วงใหญ่

นกแซงแซวหางบ่วงใหญ่ (Greater Racket-tailed Drongo) เป็นนกประจำถิ่นของประเทศในแถบเอเชีย เช่น ประเทศอินเดีย ประเทศศรีลังกา ประเทศบังคลาเทศ ประเทศจีนในตอนใต้ ประเทศอินโดนีเซีย หมู่เกาะนิโคบาร์ หมู่เกาะอันดามัน ประเทศสิงคโปร์ หมู่เกาะเล็กๆใกล้เกาะบอร์เนียว ในประเทศไทยเป็นนกประจำถิ่นที่สามารถพบได้ทั่วไป เช่น อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ในเขตเมือง เช่น สวนผลไม้ในจังหวัดนนทบุรี พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 จึงห้ามล่า พยายามล่า ห้ามค้า ห้ามนำเข้าหรือส่งออก ห้ามครอบครอง ห้ามเพาะพันธุ์ ห้ามเก็บหรือทำอันตรายรัง การห้ามการครอบครองและการค้ามีผลไปถึงไข่และซากด้ว.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและนกแซงแซวหางบ่วงใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า

แถบสีฟ้าที่ปีกมักเห็นได้ชัดจนเป็นเอกลักษณ์ นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าเจอร์ดอน เพศผู้ นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าพายัพ เพศผู้ นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าโคชินไชน่า เพศผู้ นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าชวา เพศผู้ นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า (Blue-winged Leafbird) เป็นชนิดพันธุ์หนึ่งของสกุลนกเขียวก้านตองลักษณะพิเศษคือมีแถบสีฟ้าที่ขอบปีกด้านนอก ยาวตั้งแต่หัวปีกถึงปลายปีก โดยความเข้มอ่อนขึ้นอยู่กับอายุและชนิดพันธุ์ย่อยของนก ชนิดพันธุ์นี้พบครั้งแรกในเขตโคชินไชน่า (ปัจจุบันคือเวียดนามใต้) จึงนำชื่อสถานที่พบมาตั้งเป็นชื่อวิทยาศาสตร์ว่า cochinchinensis.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและนกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

นกเค้าป่าหลังจุด

นกเค้าป่าหลังจุด (Spotted wood-owl) เป็นนกเค้าแมวในสกุล Strix มีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างแปลก เนื่องจากพบในที่ไม่ต่อเนื่องในหลายพื้นที่รอบเกาะบอร์เนียว แต่กลับไม่พบบนเกาะ มีสามชนิดย่อยคือ.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและนกเค้าป่าหลังจุด · ดูเพิ่มเติม »

นากจมูกขน

นากจมูกขน หรือ นากใหญ่หัวปลาดุก (Hairy-nosed otter) เป็นนากชนิดหนึ่งที่สามารถพบได้ในประเทศไทย มีรูปร่างหน้าตาคล้ายนากใหญ่ธรรมดา (L. lutra) ขนตามลำตัวมีสีดำหรือสีน้ำตาลเข้มเหมือนกำมะหยี่ มีลักษณะเด่นคือ มีขนปกคลุมบริเวณจมูกแตกต่างไปจากนากชนิดอื่น ๆ ที่บริเวณจมูกจะเป็นแผ่นหนังเรียบ ริมฝีปากบน คาง และคอด้านล่างมีสีขาว หัวแบน และปากค่อนข้างกว้าง มีความยาวลำตัวและหัว 50-82 เซนติเมตร ความยาวหาง 45-50 เซนติเมตร น้ำหนัก 5-6 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ตอนใต้ของกัมพูชา บริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงของเวียดนาม, มาเลเซีย, ภาคตะวันตกของเกาะสุมาตราและบอร์เนียว สำหรับในประเทศไทยพบบริเวณภาคตะวันตกและภาคใต้ จากรายงานเมื่อปี พ.ศ. 2531 มีการพบนากจมูกขน 2 แห่ง คือ ลุ่มแม่น้ำแม่กลอง และบริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าคลองแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี และในปี พ.ศ. 2542 มีผู้สามารถจับตัวได้อีกที่ป่าพรุโต๊ะแดง จังหวัดนราธิวาส ในบริเวณใกล้กับชายแดนมาเลเซีย นากจมูกขนนับว่าเป็นนากชนิดที่ได้ชื่อว่าหายากที่สุดในโลก เพราะมีรายงานพบเห็นเพียงไม่กี่ครั้งและมีการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมน้อยมาก มักพบนากชนิดนี้ตามพื้นที่ชุ่มน้ำ เช่น ปากแม่น้ำใกล้กับทะเลหรือชายฝั่ง มักอาศัยอยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ แต่อย่างไรก็ตาม ในกลางปี พ.ศ. 2551 ได้มีการเปิดเผยว่าที่เวียดนามได้มีการค้นพบนากจมูกขนที่เขตป่าสงวนอูมิงห่า ในจังหวัดก่าเมา ซึ่งอยู่ทางตอนใต้สุดของเวียดนาม เมื่อเดือนมีนาคม ปีเดียวกัน จากเดิมที่เคยเชื่อว่าสูญพันธุ์ไปเมื่อกว่า 10 ปีที่แล้ว.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและนากจมูกขน · ดูเพิ่มเติม »

นากเล็กเล็บสั้น

นากเล็กเล็บสั้น (oriental small-clawed otter, Asian small-clawed otter) เป็นนากขนาดเล็กที่สุดในโลก ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย ขนตามลำตัวมีสีเทาเข้มหรือสีน้ำตาล แต่สีขนบริเวณท้องจะอ่อนกว่า แต่สามารถเปลี่ยนสีขนได้ตามฤดูกาล ลักษณะเด่นคือ พังผืดบริเวณนิ้วตีนจะมีขนาดเล็กลง ช่วยให้นิ้วเคลื่อนไหวได้คล่องตัวมากขึ้น ใต้คอมีสีขาว มีจมูกที่สั้นมากกว่านากชนิดอื่น ๆ ตัวที่ยังไม่โตเต็มวัยจะมีจมูกยาว และโค้งกว่า เมื่ออายุได้ 5 สัปดาห์จมูกก็จะหดสั้นลง มีความยาวลำตัวและหางประมาณ 45-55 เซนติเมตร ความยาวหาง 25-35 เซนติเมตร น้ำหนัก 1-3 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางทั้งในทวีปแอฟริกาและในทวีปเอเชีย ในทวีปเอเชียพบตั้งแต่ภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย, เนปาล, บังกลาเทศ, ภาคใต้ของจีน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียวและเกาะชวา (แบ่งเป็น 3 ชนิดย่อย ดูในตาราง) นากเล็กเล็บสั้นมีความสามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ในธรรมชาติจะอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำ เช่น ลำธารขนาดเล็ก, ป่าชายเลน, ริมทะเลสาบ, ห้วย, หนอง, คลอง, บึง หรือแม้แต่ในพื้นที่ชุ่มน้ำที่เป็นเขตเกษตรกรรมของมนุษย์ เช่น ตามท้องร่องสวนต่าง ๆ อาหารหลักได้แก่ สัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ แต่ชอบกินปูมากที่สุด มักอาศัยอยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ นากเล็กเล็บสั้นไม่ได้ใช้หนวดเป็นประสาทสัมผัสในการรับรู้เหมือนนากชนิดอื่น ๆ เพราะมีประสาทสัมผัสอยู่ที่ขาหน้า ออกลูกตามโพรงไม้หรือโพรงหินที่มีอยู่แล้ว เพราะขาหน้าไม่แข็งแรงพอจะขุดโพรงริมตลิ่งได้เหมือนนากชนิดอื่น ๆ ออกหากินในเวลากลางคืน บางครั้งอาจพบได้ตั้งแต่ช่วงพลบค่ำจนถึงรุ่งเช้า นากเล็กเล็บสั้นหากนำมาเลี้ยงตั้งแต่ยังเล็ก จะเชื่องและสามารถทำตามคำสั่งของมนุษย์ได้ จึงมีการนำมาแสดงโชว์ตามสวนสัตว์ต่าง ๆ เช่น ซาฟารีเวิลด์ เป็นต้น สำหรับในประเทศไทยพบได้ทั่วทุกภาค แม้แต่กระทั่งพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยพบในพื้นที่แถบคลองบางมด เขตทุ่งครุ ฝั่งธนบุรี เป็นนากเล็กเล็บสั้นที่อาศัยอยู่รวมเป็นฝูง มีพฤติกรรมขโมยกินปลาของเกษตรกรในพื้นที่ตามท้องร่องสวนในเวลากลางคืน.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและนากเล็กเล็บสั้น · ดูเพิ่มเติม »

แบดเจอร์

แบดเจอร์ (badger) เป็นชื่อสามัญของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิด ในอันดับสัตว์กินเนื้อที่อยู่ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae) แบ่งออกได้เป็น 3 วงศ์ย่อย 4 สกุล (ดูในตาราง-แต่โดยมากแล้วจะหมายถึง แบดเจอร์ยุโรป ที่จะอยู่ในวงศ์ย่อย Melinae).

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและแบดเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แมวดาว

แมวดาว (Leopard cat) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเสือขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเท่า ๆ กับแมวบ้าน แต่มีความคล่องแคล่วว่องไวกว่ามาก ขนตามลำตัวมีสีน้ำตาลอมเทา ลักษณะเด่นคือ ตามลำตัวมีจุดขนาดเล็กสีดำกระจายอยู่ทั่วไป ด้านข้างของหัวมีแถบสีน้ำตาลเข้ม 4—5 แถบ ขนบริเวณท้องมีสีขาวนวล แมวดาวตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย แมวดาวมีความยาวลำตัวและหัว 44.5—55 เซนติเมตร ความยาวหาง 23—29 เซนติเมตร น้ำหนัก 3—5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง พบตั้งแต่ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, รัสเซีย, อินเดีย, ปากีสถาน, เนปาล, ภาคใต้ของจีน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, สิงคโปร์ แมวดาว สามารถปรับตัวให้อยู่ในพื้นที่หลากหลายสภาพได้ บางครั้งอาจพบในป่าที่ใกล้กับพื้นที่ชุมชน ล่าสัตว์ขนาดเล็ก เช่น หนู, สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก เป็นอาหาร ออกหากินในเวลากลางคืน พักผ่อนในเวลากลางวัน สามารถปีนต้นไม้ได้คล่องแคล่ว และยังสามารถว่ายน้ำได้อีกด้วย ปกติอาศัยและหากินตามลำพัง ยกเว้นในช่วงผสมพันธุ์ ที่อาจพบเห็นอยู่ด้วยกัน 2 ตัว ใช้เวลาตั้งท้องประมาณ 65—72 วัน ออกลูกครั้งละ 2—4 ตัว จากการศึกษาในสถานที่เลี้ยงมีอายุยืนประมาณ 13 ปี นอกจากนี้แล้ว แมวดาวที่ผสมข้ามสายพันธุ์กับแมวบ้าน จะได้ลูกเป็นแมวพันทางสายพันธุ์ที่เรียกว่า แมวเบงกอล.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและแมวดาว · ดูเพิ่มเติม »

แมวป่าหัวแบน

แมวป่าหัวแบน (Flat-headed cat) แมวป่าชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Prionailurus planiceps อยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) โดยเป็นแมวป่าขนาดเล็ก ขาและหางสั้น ใบหูเล็ก ขนตามลำตัวสีน้ำตาลแดงหรือส้ม ส่วนปลายของขนแต่ละเส้นมีขาวปนเทาหรือเหลืองอ่อน ลักษณะเด่นคือ หัวที่มีรูปร่างยาวและแบน อันเป็นที่มาของชื่อ ลูกแมวป่าหัวแบนจะมีจุดสีขาวบริเวณหลังหู อุ้งเท้าแคบและยาว มีขนากลำตัวและหัวยาว 46.5 - 48.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 12.8 - 13 เซนติเมตร น้ำหนัก 1.5 - 2.2 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์อยู่ทางภาคใต้ของประเทศไทย, มาเลเซีย, เกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว โดยอาศัยและหากินอยู่ตามพื้นที่ชุ่มน้ำ เช่น ป่าพรุ หรือป่าที่น้ำท่วมขังหรือพื้นที่ใกล้แหล่งน้ำ อาหารได้แก่ สัตว์ขนาดเล็ก เช่น กบ, ปลา, สัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ รวมถึงผลไม้บางประเภทด้วย จัดเป็นเสือชนิดที่หายากชนิดหนึ่งของโลก เนื่องจากพบเห็นตัวได้ยากและมีรายงานพบเห็นในธรรมชาติเพียงไม่กี่ครั้ง แม้แต่ภาพถ่ายก็ยังมีเพียงไม่กี่รูปเท่านั้น ปัจจุบัน สวนสัตว์เปิดเขาเขียว จังหวัดชลบุรี สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและแมวป่าหัวแบน · ดูเพิ่มเติม »

แมวแดงบอร์เนียว

แมวแดงบอร์เนียว (Bay Cat, Bornean Cat, Bornean Bay Cat หรือ Bornean Marbled Cat) เป็นแมวป่าถิ่นเดียวที่พบบนเกาะบอร์เนียว ในปี..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและแมวแดงบอร์เนียว · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำปันดารวน

แม่น้ำปันดารวน () เป็นแม่น้ำที่ไหลผ่านเกาะบอร์เนียว และไหลออกทะเลที่อ่าวบรูไน มีบริการเรือข้ามฟากแม่น้ำ.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและแม่น้ำปันดารวน · ดูเพิ่มเติม »

แรดชวา

แรดชวา หรือ ระมาด หรือ แรดซุนดา (Javan Rhinoceros) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ในอันดับสัตว์กีบคี่ในวงศ์แรด อยู่ในสกุลเดียวกันกับแรดอินเดีย เป็นหนึ่งในห้าชนิดของแรดที่ยังเหลืออยู่ ลำตัวยาว 3.1–3.2 ม.สูง 1.4–1.7 ม.มีขนาดใกล้เคียงกับแรดดำ เหนือจมูกมีนอสั้น ๆ หนึ่งนอมีขนาดเล็กกว่าแรดทุกชนิด จึงได้อีกชื่อว่า แรดนอเดียว แรดชวาเป็นแรดเอเชียที่มีการกระจายพันธุ์กว้างที่สุดตั้งแต่เกาะในอินโดนีเซีย ตลอดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อินเดีย และจีน ปัจจุบันแรดชวาถูกคุกคามจนอยู่ในขั้นวิกฤติ มีเพียงสองแห่งเท่านั้นที่ยังมีประชากรหลงเหลืออยู่ในป่า ไม่มีแรดชวาจัดแสดงในสวนสัตว์ แรดชวาอาจเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ที่พบได้ยากที่สุดในโลก มีประชากรแรดน้อยกว่า 40-50 ตัวในอุทยานแห่งชาติอูจุงกูลนบนเกาะชวาในประเทศอินโดนีเซีย และประชากรจำนวนเล็กน้อย (ประเมินเมื่อปี พ.ศ. 2550) ไม่เกิน 8 ตัวในอุทยานแห่งชาติก๊าตเตียนในประเทศเวียดนาม แต่ในปัจจุบันมีการยืนยันว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว การลดลงของแรดชวาเกิดจากการล่าเอานอซึ่งเป็นสิ่งมีค่าในการแพทย์แผนจีนซึ่งมีราคาถึง $30,000 ต่อกก.ในตลาดมืด การสูญเสียถิ่นอาศัยโดยเฉพาะผลของสงครามอย่างสงครามเวียดนาม มีส่วนในการลดลงและขัดขวางการฟื้นฟูของจำนวนประชากร แม้พื้นที่ถิ่นอาศัยที่เหลือจะได้รับการปกป้องแต่แรดชวายังคงเสี่ยงต่อการถูกล่า โรคภัยไข้เจ็บ และการสูญเสียความหลากหลายทางพันธุกรรมซึ่งจะนำไปสู่การผสมพันธุ์ในสายเลือดเดียวกัน แรดชวามีอายุประมาณ 30-45 ปีในธรรมชาติ อาศัยอยู่ในป่าดินชื้น ป่าหญ้าชื้นแฉะ และลุ่มน้ำขนาดใหญ่ แรดชวาเป็นสัตว์สันโดษมักอยู่ลำพังเพียงตัวเดียว ยกเว้นช่วงจับคู่ผสมพันธุ์และเลี้ยงดูลูกอ่อน บางครั้งจะรวมฝูงกันเมื่อลงแช่ปลักโคลนหรือลงกินโป่ง มีอาหารหลักเป็น ใบไม้อ่อน ยอดไม้ ตาไม้ และผลไม้สุกที่ร่วงหล่นตามพื้นดิน นอกจากมนุษย์แล้วแรดชวาไม่มีศัตรูอื่นอีก แรดชวาจะหลีกเลี่ยงมนุษย์แต่จะโจมตีเมื่อรู้สึกถูกคุกคาม เป็นการยากที่นักวิทยาศาสตร์และนักอนุรักษ์จะศึกษาในแรดชวาโดยตรงเพราะพบยากมากและเป็นอันตรายต่อสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ชนิดจากการรบกวน นักวิจัยอาศัยเพียงกับดักกล้องและตัวอย่างมูลเพื่อประเมินสุขภาพและพฤติกรรม ดังนั้นจึงมีการศึกษาในแรดชวาน้อยกว่าในแรดทุกชน.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและแรดชวา · ดูเพิ่มเติม »

โกตากีนาบาลู

กตากีนาบาลู (Kota Kinabalu, کوتا کينا بالو) มีชื่อเดิมว่า เจสเซลตัน (Jesselton) และเป็นที่รู้จักในชื่อย่อว่า เคเค (KK) เป็นเมืองเอกของรัฐซาบะฮ์ ประเทศมาเลเซีย เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ชายฝั่งทะเลจีนใต้ทางตะวันตกของรัฐซาบะฮ์ และตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว มีประชากรราว 452,058 คน ปัจจุบันโกตากีนาบาลูเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ และเปรียบเสมือนประตูสำหรับนักท่องเที่ยวที่เข้ามาเยือนซาบะฮ์และบอร์เนียว นอกจากนี้โกตากีนาบาลูยังเป็นเมืองสำคัญทางอุตสาหกรรมและพาณิชย์ของมาเลเซียตะวันออก ทำให้ที่นี่เป็นหนึ่งในเมืองที่โตเร็วที่สุดของมาเลเซี.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและโกตากีนาบาลู · ดูเพิ่มเติม »

ไก่ฟ้าหน้าเขียว

ก่ฟ้าหน้าเขียว (Crested fireback) เป็นไก่ฟ้าที่มีความสวยงาม มีลักษณะเด่นคือมีแผ่นหนังที่หน้าสีฟ้า ต่างจากไก่ฟ้าชนิดอื่นๆที่มีแผ่นหนังสีแดง พบในประเทศไทย มาเลเซีย บอร์เนียว และสุมาตร.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและไก่ฟ้าหน้าเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ไก่จุก

ก่จุก (Crested wood partridge, Crested partridge, Roul-roul, Red-crowned wood partridge, Green wood partridge) เป็นนกในวงศ์ Phasianidae และเป็นชนิดเดียวในสกุล Rollulus.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและไก่จุก · ดูเพิ่มเติม »

ไส้เดือนยักษ์กีนาบาลู

้เดือนยักษ์กีนาบาลู (Kinabalu giant earthworm) เป็นสัตว์จำพวก Annelid มีสีเทาออกน้ำเงิน พบได้เฉพาะแถบยอดเขากีนาบาลูบนเกาะบอร์เนียว เมื่อโตเต็มที่จะมีความยาวราว 70 ซม.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและไส้เดือนยักษ์กีนาบาลู · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเชื้อสายจาม

วไทยเชื้อสายจาม เป็นชื่อเรียกกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งในตระกูลมาลาโย-โพลินีเชียนหรือชนชาติมลายู อาณาจักรจามอยู่ระหว่าง ญวนกับเขมร ส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาอิสลามเรียกกันว่าแขกจาม มีภาษาพูดที่สื่อสารกันคือ ภาษามลายู เป็นกลุ่มภาษาออสโตรนีเชียน เข้ามาในประเทศไทยด้วยสาเหตุต่าง ๆ ในช่วงหลังจากเสียกรุงวิชัย เมืองหลวงของจามปาให้แก่เวียดนาม คือ.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและไทยเชื้อสายจาม · ดูเพิ่มเติม »

เพ็กฮวยเกี่ยม

ทพบุตรงูทอง หรือ เพ็กฮวยเกี้ยม เป็นนิยายกำลังภายในเรื่องที่สองของ กิมย้ง การแปลเป็นภาษาไทย ครั้งแรก โดย จำลอง พิศนาคะ และ ครั้งที่สองโดย น.นพรัตน์ ชื่อภาษาอังกฤษว่า The Sword Stained With Royal Blood.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเพ็กฮวยเกี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

เกาะสุมาตรา

มาตรา หรือ ซูมาเตอรา (Sumatra; Sumatera) คือเกาะที่มีขนาดเป็นอันดับ 6 ของโลก (มีขนาดประมาณ 470,000 กม.&sup2) และเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศอินโดนีเซี.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา · ดูเพิ่มเติม »

เก้งธรรมดา

ก้งธรรมดา หรือ อีเก้ง หรือ ฟาน หรือที่นิยมเรียกกันว่า เก้ง (Indian muntjac, Common barking deer, Red muntjac) เป็นเก้งชนิดหนึ่ง นับเป็นเก้งชนิดที่รู้จักและมีถิ่นกระจายพันธุ์กว้างขวางที่สุด มีส่วนหลังโก่งเล็กน้อย ลำตัวสีน้ำตาลแดง ด้านใต้ซีดและอมเทาเล็กน้อย หางด้านบนสีน้ำตาลเข้ม ด้านล่างสีขาว เก้งตัวผู้มีเขาสั้น ฐานเขาซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกะโหลกยื่นยาวขึ้นไปเป็นแท่ง มีขนปกคลุม และมีขนสีดำขึ้นตามแนวเขาจนดูเป็นรูปตัววีเมื่อมองด้านหน้าตรง ส่วนปลายเขาสั้น แต่เป็นง่ามเล็ก ๆ แค่สองง่าม ไม่แตกเป็นกิ่งก้านแบบกวาง ผลัดเขาปีละครั้ง ส่วนตัวเมียไม่มีเขาและฐานเขา แต่บนหน้าก็มีขนรูปตัววีเหมือนกัน เก้งตัวที่อายุมากผู้มีเขี้ยวยาวแหลมโค้งโผล่พ้นขากรรไกรออกมา เวลาเดินจะยกขาสูงทุกย่างก้าว หากินได้ทั้งกลางวันและกลางคืน แต่ส่วนใหญ่จะพบตอนเย็นหรือหัวค่ำ และตอนเช้ามืดจนถึงช่วงสาย อดน้ำไม่เก่ง จึงมักอยู่ไม่ไกลจากแหล่งน้ำ อาหารหลักได้แก่ยอดไม้, หน่ออ่อน, ใบไม้, ผลไม้ และรวมถึงเปลือกไม้ด้วย ไม่ค่อยกินหญ้า พบแพร่กระจายพันธุ์ในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่ ศรีลังกา, อินเดีย, จีนตอนใต้, พม่า, ไทย, ลาว, เวียดนาม, กัมพูชา, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, เกาะไหหลำ และหมู่เกาะซุนดา มีฤดูผสมพันธุ์อยู่ในช่วงฤดูหนาว ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงมกราคม ตกลูกต้นฤดูฝนพอดี ปกติตกลูกครั้งละหนึ่งตัว ตั้งท้องนานราว 6 เดือน ออกลูกตามใต้พุ่มไม้ ลูกเก้งมีจุดสีขาวตามตัว เมื่ออายุได้ราว 6 เดือน จุดสีขาวนั้นจึงค่อยจางหายไป เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ได้เมื่ออายุได้ 18 เดือน อายุขัยประมาณ 15 ปี ในประเทศไทย ถือเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเก้งธรรมดา · ดูเพิ่มเติม »

เม่นใหญ่แผงคอยาว

ม่นใหญ่แผงคอยาว (Malayan porcupine, Himalayan porcupine, Large porcupine) เป็นเม่นขนาดใหญ่ หูและหางสั้น ขนตามลำตัวสีดำหรือสีน้ำตาลเข้มเกือบดำ มีขนแข็งแหลมและยาวมากบนหลังและสะโพก ซึ่งขนดังกล่าวจะชี้ตรงไปทางด้านหลัง ก้านขนมีสีขาว บางเส้นอาจมีวงสีดำสลับอยู่ ขนแผงคอยาวประมาณ 3-6 เซนติเมตร มีสีน้ำตาลเข้ม มีฟันหน้าที่ใหญ่ยาวและแข็งแรงมาก มีความยาวลำตัวและหัว 63.5-72.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 6.4-11.4 เซนติเมตร น้ำหนัก 20-27 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ในเนปาล, อินเดีย, ภูฏาน, จีน, บังกลาเทศ, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ทั้งป่าสมบูรณ์และป่าเสื่อมโทรมที่ผ่านการทำลายมาแล้ว หลับนอนในโพรงที่ขุดขึ้นมาเอง บริเวณปากโพรงจะปกคลุมด้วยพืชรกชัฏเพื่ออำพราง ออกหากินในเวลากลางคืน กินอาหารจำพวกรากพืช หน่อไม้ เปลือกไม้ ผลไม้สุกที่ร่วงจากต้น กระดูกสัตว์รวมทั้งเขาสัตว์ด้วย เช่น เขาของเก้งหรือกวางที่ผลัดทิ้งเพื่อเพิ่มแคลเซี่ยมให้กับร่างกาย อีกทั้งเป็นการขัดฟันไม่ให้ยาวเกินไปในตัวด้วย นอนหลับในเวลากลางวันในโพรง โดยจะลากเอาเขาหรือกระดูกสัตว์เข้ามาแทะถึงในโพรง เมื่อพบศัตรูจะกระทืบเท้าเสียงดัง หากไม่สำเร็จจะค่อย ๆ เดินหนี หากศัตรูยังตามมา จะวิ่งหนีรวดเร็วและหยุดอย่างกะทันหัน เพื่อให้ศัตรูหยุดไม่ทันและถูกหนามแหลมทิ่ม โดยปกติจะสั่นขนของตัวเองอยู่เสมอ ทำให้มักได้ยินเสียงการกระทบกันของเส้นขนอยู่บ่อย ๆ ซึ่งเป็นการอวดศักยภาพของตัวเอง หรือแม้แต่เดินธรรมดา ๆ ก็จะได้ยินเสียงเส้นขนลากกับพื้น เม่นใหญ่แผงคอยาวออกลูกครั้งละ 2-3 ตัว มีอายุสูงสุดในที่เลี้ยง 27 ปี.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเม่นใหญ่แผงคอยาว · ดูเพิ่มเติม »

เลอมัง

ลอมัง (Lemang) เป็นข้าวหลามแบบท้องถิ่นของอินโดนีเซีย มาเลเซียและสิงคโปร์ ทำจากข้าวเหนียว กะทิ และเกลือ ปรุงในกระบอกไม้ไผ่ ปิดจุกด้วยใบตอง การปรุงอาหารในกระบอกไม้ไผ่นี้ เป็นที่นิยมในหมู่ชาวอีบันบนเกาะบอร์เนียว นิยมใช้ในงานฉลอง เช่น เทศกาลเก็บเกี่ยวของอีบัน และชาวกาไวดยัก นิยมกินกับแกงไก่ วิธีการปรุงเลอมังนี้เรียกว่าปันโซะห์หรือปันซุห์ โดยนำไปย่างบนไฟอ่อนๆ เปิดจุกออก หมุนกระบอกไปมาบ้าง ใช้เวลา 4-5 ชั่วโมง เลอมังเป็นที่นิยมในหมู่ชาวอินโดนีเซีย มินังกาเบา และอีบันในบอร์เนียว เลอมังมักพบได้ทั่วไปในอินโดนีเซียที่มีชาวมินังกาเบาอาศัยอยู่ วิธีผ่ากระบอกข้าวหลามเพื่อรับประทานข้าวข้างใน เลอมังนิยมรับประทานในช่วงเย็นในเทศกาลอีดุลฟิตรีและอีดุลอัดฮาสำหรับชาวมุสลิมอินโดนีเซีย ชาวโอรังอัสลีในคาบสมุทรมลายูหุงข้าวในกระบอกไม้ไผ่และรับประทานเลอมังเช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเลอมัง · ดูเพิ่มเติม »

เสือ

ือ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ฟิลิดีซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมวโดยชนิดที่เรียกว่าเสือมักมีขนาดลำตัวค่อนข้างใหญ่กว่าและอาศัยอยู่ภายในป่า ขนาดของลำตัวประมาณ 168 - 227 เซนติเมตรและหนักประมาณ 180 - 245 กิโลกรัม รูม่านตากลม เป็นสัตว์กินเนื้อกลุ่มหนึ่ง มีลักษณะและรูปร่างรวมทั้งพฤติกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ แตกต่างจากสัตว์ในกลุ่มอื่น หากินเวลากลางคืน มีถิ่นกำเนิดในป่า เสือส่วนใหญ่ยังคงมีความสามารถในการปีนป่ายต้นไม้ ซึ่งยกเว้นเสือชีต้า เสือทุกชนิดมีกรามที่สั้นและแข็งแรง มีเขี้ยว 2 คู่สำหรับกัดเหยื่อ ทั่วทั้งโลกมีสัตว์ที่อยู่ในวงศ์เสือและแมวประมาณ 37 ชนิด ซึ่งรวมทั้งแมวบ้านด้วย เสือจัดเป็นสัตว์นักล่าที่มีความสง่างามในตัวเอง โดยเฉพาะเสือขนาดใหญ่ที่แลดูน่าเกรงขราม ไม่ว่าจะเป็นเสือโคร่งหรือเสือดาว ผู้ที่พบเห็นเสือในครั้งแรกย่อมเกิดความประทับใจในความสง่างาม แต่ในขณะเดียวกันก็เกิดความหวาดหวั่นเกรงขามในพละกำลังและอำนาจภายในตัวของพวกมัน เสือจึงได้รับการยกย่องให้เป็นราชาแห่งสัตว์ปา และเป็นจ้าวแห่งนักล่าอย่างแท้จริง เสือ จ้าวแห่งนักล่า, ศลิษา สถาปรวัฒน์, ดร.อลัน ราบิโนวิทซ์, สำนักพิมพ์สารคดี, 2538, หน้า 14 ปัจจุบันจำนวนของเสือในประเทศไทยลดจำนวนลงเป็นอย่างมากในระยะเวลาไม่ถึง 10 ปี เสือกลับถูกล่า ป่าภายในประเทศถูกทำลายเป็นอย่างมาก สภาพธรรมชาติในพื้นที่ต่าง ๆ ถูกเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ของมนุษย์เอง ทุกวันนี้ปริมาณของเสือที่จัดอยู่ในลำดับสุดท้ายของห่วงโซ่อาหารถือเป็นสิ่งจำเป็น เพราะการสูญสิ้นหรือลดจำนวนลงอย่างมากของเสือซึ่งเป็นสัตว์กินเนื้อ จะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างและระบบนิเวศทั้งหมด การลดจำนวนอย่างรวดเร็วของเสือเพียงหนึ่งหรือสองชนิดในประเทศไทย ทำให้ปริมาณของสัตว์กินพืชเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว จนทำให้ธรรมชาติเสียความสมดุลในที.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเสือ · ดูเพิ่มเติม »

เสือลายเมฆ

ือลายเมฆ (Clouded leopard) เสือใหญ่ประเภทหนึ่ง อยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae).

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเสือลายเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

เสือลายเมฆบอร์เนียว

ือลายเมฆบอร์เนียว หรือ เสือลายเมฆซุนดา (Bornean clouded leopard, Sunda clouded leopard, Sundaland clouded leopard) แต่เดิมเคยจัดอยู่เป็นชนิดย่อยของเสือลายเมฆ (N. nebulosa) แต่ในวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ. 2006 ทางกองทุนสัตว์ป่าโลก (WWF) ได้ยอมรับให้เป็นเสือชนิดใหม่ของโลก ด้วยว่ามีความแตกต่างจากเสือลายเมฆธรรมดา และแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเสือลายเมฆบอร์เนียว · ดูเพิ่มเติม »

เสี้ยน

ี้ยน ดงเสี้ยน หรือมะเขือเผาะ เป็นพืชในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เปลือกแตกเป็นร่อง หูใบรูปสามเหลี่ยม ดอกขนาดเล็กออกเป็นช่อกระจุกสั้นตามซอกใบ สีเขียวอ่อน ผลมีเนื่อหลายเมล็ดสีม่วงดำ พบตั้งแต่อินเดีย เทือกเขาหิมาลัย อินโดจีน ไทย ไปจนถึงบอร์เนียว ชาวกูบูใน เกาะสุมาตรานำไปพืชชนิดนี้ไปย่างไฟต้มน้ำดื่มแทนกาแฟ และเรียกเครื่องดื่มนี้ว่าโกปีกูบูหรือกาแฟกูบู.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเสี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 5 องศาเหนือ

้นขนานที่ 5 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 5 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก, ทวีปแอฟริกา, มหาสมุทรอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ, มหาสมุทรแปซิฟิกและทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเส้นขนานที่ 5 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 71 องศาตะวันตก  .

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเส้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 70 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 69 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเส้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 112 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 112 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูด ที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก, ทวีปเอเชีย, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรใต้, และ ทวีปแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 112 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 68 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเส้นเมริเดียนที่ 112 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 113 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 113 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 113 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 69 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเส้นเมริเดียนที่ 113 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 65 องศาตะวันตก ระหว่างออสเตรเลียและเส้นขนานที่ 60 องศาใต้ เส้นเมริเดียนนี้ถูกใช้เป็นเขตแดนด้านตะวันตกของเขตเสรีอาวุธนิวเคลียร์แปซิฟิกใต้.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเส้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวดำท้องขาว

หยี่ยวดำท้องขาว (Blyth's Hawk-Eagle), Nisaetus alboniger (เดิมจัดเป็นสกุล Spizaetus) เป็นนกล่าเหยื่อ ในวงศ์ Accipitridae มีการกระจายพันธุ์ในมาเลเซียตะวันตก, ประเทศสิงคโปร์, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียว พบในป่าเปิดโล่ง แม้ว่านกตามเกาะจะพบในป่าที่มีความหนาทึบมากกว่า นกทำรังด้วยกิ่งไม้บนต้นไม้และวางไข่เพียงฟองเดียว เหยี่ยวดำท้องขาวเป็นนกล่าเหยื่อขนาดกลาง ยาวประมาณ 51–58 ซม.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเหยี่ยวดำท้องขาว · ดูเพิ่มเติม »

เหย่เหริน

อักษรสลักเป็นภาษาจีนบนหน้าผา ความว่า "ถ้ำของเหย่เหริน" ในมณฑลหูเป่ย์ตะวันตก เหย่เหริน หรือ ซูเหริน (อังกฤษ: Yeren, Yiren, Yeh Ren; จีน: 野人; พินอิน: Yěrén แปลว่า "คนป่า"; อังกฤษ: Xueren; จีน: 神农架野人; พินอิน: Shénnóngjiàyěrén แปลว่า "คนป่าแห่งเสินหนงเจี้ย") หรือ มนุษย์หมี (อังกฤษ: Man Bear; จีน: 人熊; พินอิน: Ren Xiong) เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งที่เชื่อว่า มีลักษณะคล้ายมนุษย์แต่มีขนดกปกคลุมอยู่ทั่วร่าง อาศัยอยู่ ณ เขตอนุรักษ์ป่าดึกดำบรรพ์เขาเสินหนงเจี้ย ในมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน โดยเหย่เหริน มีลักษณะคล้ายอุรังอุตังที่พบบนเกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา ในอินโดนีเซีย มีขนสีน้ำตาลแดงเข้มยาว 3–4 เซนติเมตร มีท้องขนาดใหญ่ ยืนด้วยขาหลังทั้งสองข้าง มีความสูง 5–7 ฟุต หรือ 8 ฟุต แต่มีรายงานว่าสามารถเคลื่อนไหวได้รวดเร็ว ใบหน้ามีลักษณะผสมกับระหว่างมนุษย์และเอป มีส่วนของขาหน้าหรือมือมีนิ้ว 5 นิ้ว โดยที่นิ้วโป้งแยกออกมาเหมือนมนุษย์ เคยมีการพบรอยเท้าของเหย่เหรินมีความยาว 16 นิ้ว มีโครงสร้างที่ใกล้เคียงกับเอป ในตัวผู้มีองคชาตเหมือนผู้ชาย ในขณะที่ตัวเมียมีเต้านมเหมือนผู้หญิง ส่งเสียงร้องได้ดังและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เชื่อกันว่า เหย่เหริน มีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์นีแอนเดอร์ธาลที่เคยอาศัยอยู่ในเอเชียเหนือ และเอเชียกลาง เมื่อ 350,000 กว่าปีก่อน ซึ่งเมื่อเทียบกับสัตว์ชนิดอื่นที่คล้ายคลึงกัน เช่น บิ๊กฟุตในอเมริกาเหนือ ในคติของจีนมีศัพท์ที่ใช้เรียกสัตว์ที่มีลักษณะเช่นนี้โดยเฉพาะ โดยมีผู้เชื่อว่าอาจจะมีจำนวนเหย่เหรินมากถึง 1,000–2,000 ตัวอาศัยอยู่ในประเทศจีนตอนกลาง นักวิทยาศาสตร์ชาวจีนที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับการมีอยู่ของเหย่เหริน โดยการกล่าวอ้างถึงจากนักท่องเที่ยวที่ได้มาเที่ยวยังเขตอนุรักษ์ป่าดึกดำบรรพ์เขาเสินหนงเจี้ย โดยค้นพบรอยเท้าและทำการหล่อเป็นปูนปลาสเตอร์เพื่อศึกษา ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่มีทฤษฎีว่า เหย่เหรินอาจจะเป็นเอปขนาดใหญ่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ชนิดที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gigantopithecus blacki ที่เคยอาศัยอยู่ในเอเชียกลาง แต่ได้สูญพันธุ์ไปแล้วกว่า 500,000 ปี มีนักวิชาการที่ได้รับทุนจากรัฐบาลให้ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของเหย่เหริน สามารถเก็บตัวอย่างขนที่เชื่อว่าเป็นของเหย่เหรินได้เมื่อนำไปเทียบกับขนของลิงหรือเอปที่เป็นที่รู้จัก ปรากฏว่าไม่ตรงกับชนิดใดเลย ในตำนานพื้นบ้านแถบนี้ เหย่เหรินถูกเล่าขานว่าเป็นสัตว์กินเนื้อ และจับมนุษย์ฉีกแขนขากินเป็นอาหารด้วย ปัจจุบันแม้จะมีการสำรวจศึกษาเกี่ยวกับเหย่เหรินมากขึ้น แต่เรื่องของเหย่เหรินก็ยังคงอยู่ในความเชื่อของชาวจีนพื้นถิ่น ซึ่งป่าที่เหย่เหรินอาศัยอยู่นั้นก็ถือได้ว่าเป็นป่าดึกดำบรรพ์ที่เป็นพื้นที่อนุรักษ์ มีพรรณพืชและพรรณสัตว์โบราณและหายากหลายชนิดอาศัยอยู่ด้วย โดยบางคนที่อ้างว่าเคยพบเห็นเหย่เหริน เป็นเจ้าหน้าที่ของเขตอนุรักษ์ อ้างว่าตนเคยคิดที่จะจับเหย่เหรินด้วยซ้ำ โดยเชื่อว่าเหย่เหรินอาศัยอยู่ในป่าหินซึ่งเป็นจุดสูงสุดของเขตป่าอนุรักษ์เสินหนงเจี้ย รวมถึงมีมัคคุเทศก์ท้องถิ่นขณะนำพานักท่องเที่ยวบนรถทัวร์ ได้เห็นเหย่เหรินตัวหนึ่งที่มีขนสีดำวิ่งตัดหน้ารถด้วยสองขาหลัง คนขับรถได้ตะโกนบอกว่า "เหย่เหริน ๆ" ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเพิ่มเติม พบว่า เหย่เหรินไม่อยู่เป็นกลุ่ม แต่จะอยู่กันเป็นคู่ ๆ ระหว่างตัวผู้และตัวเมีย โดยปกติจะเดินด้วยสองขาหลัง แต่สามารถใช้ขาทั้งสี่ข้างปีนป่ายได้รวดเร็ว โดยกินอาหารจำพวก ผลไม้, ถั่ว, ข้าวโพด และแมลงบางชนิด ในสถานที่ ๆ ไม่มีใครมาพบเห็น.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเหย่เหริน · ดูเพิ่มเติม »

เหตุปะทะในลาฮัดดาตู พ.ศ. 2556

หตุปะทะในลาฮัดดาตู..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเหตุปะทะในลาฮัดดาตู พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

เห่าช้าง

ห่าช้าง (Roughneck monitor lizard) เป็นสัตว์เลื้อยคลานในวงศ์เหี้ย (Varanidae) และ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตาม พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเห่าช้าง · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียเน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 2

อเชียเน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 2 เป็นฤดูกาลที่ 2 ของ เอเชีย เน็กซ์ ท็อป โมเดล ที่ต้องการค้นหาสุดยอดนางแบบ เพื่อทำงานในวงการนางแบบ ในระดับมืออาชีพ โดยสาวๆ ที่เข้าแข่งขัน จะต้องมีเชื้อสายของเอเชียเท่านั้น โดยส่วนมากจะมากจากเอเชียตะวันออกและเอเชียใต้ ซึ่งในฤดูกาลนี้จะถ่ายทำรายการ ใน ประเทศมาเลเซีย และเริ่มออกอากาศวันที่ 8 มกราคม 2557 เป็นวันแรก ผู้ชนะในฤดูกาลนี้ คือ ชีน่า เลียม จาก ประเทศมาเลเซี.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเอเชียเน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ บรูก

ซอร์ เจมส์ บรูก รายาแห่งซาราวะก์ (James Brooke; 29 เมษายน พ.ศ. 2346 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2411) หรือคนไทยในอดีตเรียกว่า เย สัปบุรุษ เป็นนักผจญภัยชาวอังกฤษ และเป็นรายาผิวขาวแห่งซาราวะก์คนแรกที่แต่งตั้งโดยสุลต่านแห่งบรูไน.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเจมส์ บรูก · ดูเพิ่มเติม »

เขนงนายพราน

นงนายพรานเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเขนงนายพราน · ดูเพิ่มเติม »

เดาน์อูบีตุมบุก

น์อูบีตุมบุก (daun ubi tumbuk, แปลตรงตัว "ใบมันสำปะหลังตำ") เป็นอาหารจานผักในอาหารปาดัง ทำจากใบมันสำปะหลัง โดยนำใบมันสำปะหลังมาตำในครกไม้หรือปั่น นำมาปรุงกับเครื่องเทศผัด ซึ่งอย่างน้อยที่สุดจะใส่พริกและหัวหอม บางครั้งจะเพิ่มข่า แคนเดิลนัต กระเทียม ตะไคร้ และเครื่องเทศอื่น ๆ เติมกะทิและปลาแห้ง บางครั้งใส่มะเขือพวง การปรุงในยุโรปสามารถใช้ใบคะน้าแทนได้ เดาน์อูบีตุมบุกที่ปรุงโดยชาวดายักในกาลีมันตันจะต้มใบมันสำปะหลังกับหัวหอม ไขมันสัตว์ และเกลือ.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเดาน์อูบีตุมบุก · ดูเพิ่มเติม »

เคี่ยม

ี่ยม เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Dipterocarpaceae พบในคาบสมุทรอินโดจีน คาบสมุทรมลายู ไปจนถึงเกาะบอร์เนียว ลำต้นตรง ไม่มีพูพอน เปลือกสีน้ำตาลเข้มอมดำ ผิวแตกเป็นร่องลึก หลุดออกได้ ใบเดี่ยว เรียบเป็นมัน ดอกช่อ ดอกสีเหลืองอ่อน บานเต็มที่ กลีบดอกบิดห่อเข้าหากัน ผลเดี่ยว มีปีกสีเขียวทรงลูกข่าง ผลแก่สีน้ำตาล ปลิวตามลมได้ เนื้อไม้แข็งแรงทนทาน ใช้ในงานก่อสร้าง เปลือกไม้ใส่ในภาชนะรองรับน้ำตาลไม่ให้บูดเน่า ใช้เป็นยาห้ามเลือด แก้ท้องร่วง.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเคี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

เต่าน้ำบอร์เนียว

ต่าน้ำบอร์เนียว (Malaysian giant turtle, Bornean river turtle, Malayan giant terrapin) เป็นสัตว์เลื้อยคลานประเภทเต่าชนิดหนึ่ง ในวงศ์เต่านา (Bataguridae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Orlitia เป็นเต่าขนาดใหญ่ กระดองเรียบเป็นรูปไข่สีน้ำตาลเข้มหรือดำ ด้านล่างเป็นสีน้ำตาลเหลืองออกขาว เมื่อโตเต็มที่แล้วขอบกระดองจะราบเรียบ แต่เมื่อยังเป็นวัยที่โตไม่เต็มที่ จะโค้งเป็นโดมมากกว่านี้ และขอบข้างเป็นหยัก มีเล็บนิ้วเท้าที่แหลมคมและเท้าเป็นพังผืด ขนาดโตเต็มที่ ตัวผู้อาจมีความยาวได้กว่า 80 เซนติเมตร หรือ 1 เมตร น้ำหนักกว่า 100 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมียเล็กกว่าเกือบครึ่งตัว โดยมีกระดองยาว 50 เซนติเมตร น้ำหนักเพียง 30 กิโลกรัม จัดเป็นเต่าน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลก และใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้และที่พบในทวีปเอเชีย พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำจืดของเกาะบอร์เนียว, เกาะสุมาตรา และคาบสมุทรมลายูตอนล่าง อาจพบได้ถึงภาคใต้สุดของไทย แถบจังหวัดสตูล กินพืช, ผัก, ผลไม้และสัตว์น้ำต่าง ๆ ตลอดจนซากสัตว์ตายลอยน้ำ เป็นสัตว์ที่อยู่ในภาวะใกล้สูญพันธุ์แล้ว.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและเต่าน้ำบอร์เนียว · ดูเพิ่มเติม »

ISO 3166-2:ID

ISO 3166-2:ID เป็นรายการรหัสสำหรับประเทศอินโดนีเซีย ในมาตรฐาน ISO 3166-2 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐาน ISO 3166 เผยแพร่โดยองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO) ซึ่งได้กำหนดรหัสสำหรับชื่อของเขตการปกครองระดับท้องถิ่น (เช่น จังหวัด หรือ รัฐ) และกำหนดรหัสสำหรับทั้งประเทศด้วย ISO 3166-1 ในปัจจุบันสำหรับประเทศอินโดนีเซีย ISO 3166-2 มีความหมายถึงเขตการปกครองย่อยสองระดับดังนี้.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและISO 3166-2:ID · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes albomarginata

Nepenthes albomarginata หรือ White-Collared Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes albomarginata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes attenboroughii

Nepenthes attenboroughii เป็นพืชกินสัตว์ในสกุลหม้อข้าวหม้อแกงลิง ชื่อถูกตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่ เซอร์ เดวิด เอดเทนบอร์ราวฟฮิไอ (David Attenboroughii) พิธีกรสารคดีชื่อดังของบีบีซีในประเทศอังกฤษ ผู้สนใจและกระตือรือร้นต่อสกุลนี้ หม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดนี้มีหม้อทรงระฆังหงายทั้งหม้อล่างและบน แต่หม้อบนแคบกว่า ฝาตั้งขึ้นRobinson, A.S., A.S. Fleischmann, S.R. McPherson, V.B. Heinrich, E.P. Gironella & C.Q. Peña 2009.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes attenboroughii · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × cantleyi

Nepenthes × cantleyi (ได้ชื่อตาม ร็อบ แคนต์ลีย์ (Rob Cantley) นักอนุรักษ์ธรรมชาติและนักประดิษฐ์หม้อข้าวหม้อแกงลิงปลอม) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงลูกผสมทางธามชาติระหว่าง N. bicalcarata และ N. gracilis นอกจากบรูไนแล้วเป็นพืชหายากมาก ทั้งๆที่พ่อและแม่กระจายพันธุ์กว้างขวางตลอดบอร์เนียวClarke, C.M. 1997.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes × cantleyi · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × ferrugineomarginata

Nepenthes × ferrugineomarginata (มาจากภาษาละติน: ferrugineus.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes × ferrugineomarginata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × hookeriana

Nepenthes × hookeriana (ได้ชื่อตามโยเซพ ดาลตัน ฮุคเกอร์), หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Hooker's Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes × hookeriana · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × kuchingensis

Nepenthes × kuchingensis (ได้ชื่อตามเมืองกูชิง รัฐซาราวะก์) เป็นลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. ampullaria และ N. mirabilis ถึงแม้ว่าจะได้ชื่อตามชื่อเมืองกูชิง แต่หม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดนี้กลับกระจายตัวเป็นวงกว้าง พบได้ในเกาะบอร์เนียว, เกาะนิวกินี, มาเลเซียตะวันตก, เกาะสุมาตรา, และประเทศไท.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes × kuchingensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × sarawakiensis

Nepenthes × sarawakiensis (ได้ชื่อตามรัฐซาราวะก์บนเกาะบอร์เนียว) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. muluensis และ N. tentaculata เป็นพืชหายากตามพ่อแม่ของมันคือ N. muluensis ซึ่งรู้กันว่าพบได้ในภูเขาที่แยกตัวห่างไกล.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes × sarawakiensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × sharifah-hapsahii

Nepenthes × sharifah-hapsahii หรือ Nepenthes × ghazallyana (ได้ชื่อตาม Ghazally Ismail) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. gracilis และ N. mirabilis ถูกบันทึกว่าพบในบอร์เนียว, สุมาตรา และ เพนนิซูล่า มาเลเซียClarke, C.M. 1997.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes × sharifah-hapsahii · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × trichocarpa

Nepenthes × trichocarpa (มาจากภาษากรีก: trikho- "ขน, เส้นด้าย", และ -carpus "ผล"), หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Dainty Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes × trichocarpa · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × trusmadiensis

Nepenthes × trusmadiensis (ได้ชื่อตามภูเขาตรุส มาดี (Trus Madi)) หรือ Trus Madi Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes × trusmadiensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes bicalcarata

Nepenthes bicalcarata (มาจากคำในภาษาละติน: bi "สอง", calcaratus "เดือย, เขี้ยว")หรือ Fanged Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes bicalcarata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes burbidgeae

Nepenthes burbidgeae หรือที่รู้จักกันในชื่อ painted pitcher plantKurata, S. 1976.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes burbidgeae · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes campanulata

Nepenthes campanulata (มาจากภาษาละติน: campanulatus.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes campanulata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes chaniana

Nepenthes chaniana (ได้ชื่อตาม ซี.แอล. เชน (C.L. Chan), กรรมการผู้จัดการของโรงพิมพ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ (บอร์เนียว)) เป็นพืชที่สูง ที่อยู่ในสกุลหม้อข้าวหม้อแกงลิง มีขนสีขาวหนาและยาว หม้อรูปทรงกระบอกมีสีขาวถึงเหลือง เป็นเวลานานมากที่หม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดนี้ถูกระบุผิดเป็น N. pilosa ซึ่ง N. pilosa เป็นพืชถิ่นเดียวของกาลิมันตัน (Kalimantan) N. chaniana พบในรัฐซาบะฮ์และรัฐซาราวะก์ (บูกิต บาทู ลาวี (Bukit Batu Lawi) และภูเขาอื่นๆ) หม้อของ N. pilosa มีรูปทรงกลมมลและกว้างกว่าหม้อของ N. chaniana.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes chaniana · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes faizaliana

Nepenthes faizaliana เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวที่พบบนผาหินปูนของอุทยานแห่งชาติกูนุงมูลูในรัฐซาราวะก์บนเกาะบอร์เนียว คาดกันว่ามันเป็นญาติใกล้ชิดกับ N. boschianaClarke, C.M. 1997.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes faizaliana · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes fallax

Nepenthes fallax (มาจากภาษาละติน: fallax.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes fallax · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes fusca

Nepenthes fusca (มาจากภาษาละติน: fuscus.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes fusca · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes glabrata

Nepenthes glabrata (ภาษาละติน: glaber.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes glabrata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes hamata

Nepenthes hamata (มาจากภาษาละติน: hamatus.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes hamata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes hurrelliana

Nepenthes hurrelliana (ได้ชื่อตามแอนดริว เฮอร์เรลล์ (Andrew Hurrell), นักพฤกษศาสตร์) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่สูงจากบอร์เนียว พบได้ในตอนเหนือของรัฐซาราวะก์, บรูไน และตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐซาบะฮ์ N. hurrelliana มีหม้อรูปกรวยสวยงาม มันอาจเป็นลูกผสมที่คาดว่าพัฒนาตัวมาจากพ่อแม่ดั้งเดิมคือ N. fusca และ N. veitchii มันมีขนน้ำตาลสนิมปกคลุมหนาแน่นตลอดทุกส่วนซึ่งน่าจะได้รับสืบทอดมาจาก N. veitchii.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes hurrelliana · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes mira

Nepenthes mira (มาจากภาษาละติน: mirus "มหัศจรรย์") เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่สูงถิ่นเดียวของพาลาวันในประเทศฟิลิปปินส์ เติบโตที่ระดับความสูง 1500 ถึง 2000 ม.จากระดับน้ำทะเล N. mira ถูกจัดจำแนกโดยแมตทิว จิบบ์ (Matthew Jebb) และมาร์ติน ชีก (Martin Cheek) ในปี..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes mira · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes northiana

Nepenthes northiana หรือ Miss North's Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes northiana · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes philippinensis

Nepenthes philippinensis (จากภาษาละติน: Philippin.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes philippinensis · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes rafflesiana

Nepenthes rafflesiana (ได้ชื่อตามโทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์) หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Raffles' Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes rafflesiana · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes rajah

Nepenthes rajah (มาจากภาษามลายู: rajah.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes rajah · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes stenophylla

Nepenthes stenophylla หรือ Narrow-Leaved Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes stenophylla · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes tentaculata

Nepenthes tentaculata (ภาษาละติน: tentacula.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes tentaculata · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes veitchii

Nepenthes veitchii (ถูกตั้งชื่อตาม George Veitch, ผู้เป็นเจ้าของ Veitch Nurseries), หรือ Veitch's Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes veitchii · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes villosa

Nepenthes villosa หรือ Villose Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes villosa · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes vogelii

Nepenthes vogelii (ได้ชื่อตาม Art Vogel, นักพฤกษศาสตร์และผู้จัดการเรือนกระจกของ Hortus Botanicus Leiden) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของรัฐซาราวะก์, เกาะบอร์เนียว ปรากฏความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ N. fusca และ N. burbidgeae.

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและNepenthes vogelii · ดูเพิ่มเติม »

Solen regularis

Solen regularis เป็นหอยทะเลกาบคู่ชนิดหนึ่ง รูปร่างคล้ายหลอดกาแฟ ความยาว 7–8 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร เปลือกสีน้ำตาลอ่อน เนื้อสีขาวขุ่น ส่วนหัวนิ่ม ส่วนปลายเหนียว หอยชนิดนี้ชอบฝังตัวตามแนวดิ่งในตะกอนดินทรายปนโคลนบริเวณปากแม่น้ำ ในต่างประเทศพบที่เกาะบอร์เนียวและออสเตรเลีย ส่วนในไทยจะพบหอยชนิดนี้แพร่กระจายหนาแน่นตามจังหวัดบริเวณชายฝั่งอ่าวไทย เช่น จังหวัดตราด สมุทรปราการ สมุทรสงคราม เพชรบุรี เป็นต้น หอยในสกุล Solen ที่พบร่วมกับหอยชนิดนี้ได้แก่ S. corneus, S. strictus และ S. thailandicus หอยเหล่านี้มีชื่อสามัญร่วมกันเป็นภาษาไทยว่า "หอยหลอด" หอย S. regularis เป็นหอยหลอดชนิดหนึ่งที่พบมากและมีคุณค่าทางเศรษฐกิจสูงในไทย เมื่อปี..

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและSolen regularis · ดูเพิ่มเติม »

16 กุมภาพันธ์

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 47 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 318 วันในปีนั้น (319 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: เกาะบอร์เนียวและ16 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

กาลิมันตันกาลีมันตันบอร์เนียวเกาะกาลีมันตัน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »