โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อันดับหญ้า

ดัชนี อันดับหญ้า

อันดับหญ้า หรือ Poales เป็นอันดับขยาดใหญ่ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และรวมวงศ์ของพืชที่สำคัญหลายชนิด เช่น หญ้า กก และสับปะรด มีสมาชิก 16 วงศ์ พืชในอันดับนี้พบตั้งแต่ยุคครีตาเชียสตอนปลาย พืชกลุ่มนี้ดอกขนาดเล็ก มีกาบหุ้ม และเป็นดอกช่อ ผสมเกสรด้วยลม และเมล็ดมักสะสมแป้ง ระบบ APG III จัดให้อันดับนี้อยู่ในกลุ่มคอมเมลินิด (commelinids) ประกอบไปด้วย.

101 ความสัมพันธ์: พืชกินสัตว์พืชใบเลี้ยงเดี่ยวกกกกรังกากกสามเหลี่ยมใหญ่กกสามเหลี่ยมเล็กกกอียิปต์กกขนากกกดอกขาวกกคมบางกกคมบางกลมกกเล็กกระจูดกระถินนากระดุมกระดึงกระดุมจิ๋วกระดุมเต็มลูกเดือยวงศ์กกวงศ์กระถินทุ่งวงศ์กระดุมเงินวงศ์สับปะรดวงศ์ธูปฤๅษีสกุลกกสกุลกระดุมสกุลข้าวสกุลข้าวฟ่างสับปะรดหญ้าหญ้าชันกาดหญ้าพองลมหญ้าพงหญ้ากายหญ้ากุศะหญ้ามิสแคนทัสหญ้ามิสแคนทัสช้างหญ้ายอนหูหญ้ารัดเขียดหญ้ารังกาแก้วหญ้ารังนกหญ้าลอยลมหญ้าสนกระจับหญ้าหางหมาจิ้งจอกหญ้าหนวดฤๅษีหญ้าทรายหญ้าขจรจบหญ้าขนหญ้าขนตาวัวหญ้าข้าวผีหญ้าข้าวทาม...หญ้าข้าวนกหญ้าดอกชมพูหญ้าคาหญ้าตะกรับหญ้าต้นติดหญ้าปล้องหญ้าปล้องละมานหญ้าปล้องข้าวนกหญ้าปากควายหญ้านิ้วหนูหญ้าแพรกหญ้าแฝกหญ้าแดงหญ้าใบคมหญ้าเหงาหลับหญ้าเจ้าชู้หญ้าเข็มมรกตหญ้าเปลือกกระเทียมหัวแมลงวันหวายลิงอ้อยจุกนกยูงจูดทุ่งแสลงหลวงข้าวบาร์เลย์ข้าวฟ่างข้าวฟ่างสามง่ามข้าวฟ่างหางหมาข้าวสาลีข้าวทริทิเคลีข้าวนกข้าวโพดข้าวโอ๊ตข้าวไรย์ตะไคร้ตะไคร้หอมตานต้นอ้อซีริส แอนดินาแห้วหมูแห้วทรงกระเทียมแห้วไทยแขมไผ่ไผ่รวกไผ่สีสุกไผ่หกไผ่ตงไผ่ซางไผ่เฮียะเลาเคราฤษีEremochloa ขยายดัชนี (51 มากกว่า) »

พืชกินสัตว์

''Nepenthes mirabilis'' ที่ขึ้นอยู่ริมถนน พืชกินสัตว์ (carnivorous plant) คือ พืชที่ได้สารอาหารบางส่วนหรือส่วนใหญ่ (แต่ไม่รวมถึงพลังงาน) จากการดักและบริโภคสัตว์หรือสัตว์เซลล์เดียวซึ่งปรกติได้แก่แมลงและสัตว์ขาปล้องเหล่าอื่น ๆ โดยเป็นผลจากการปรับตัวให้อยู่รอดในดินที่มีสารอาหารน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งไนโตรเจน เช่น ดินที่มีสภาพเป็นกรด หิน ฯลฯ ศาสตรนิพนธ์อันเลื่องชื่อฉบับแรกซึ่งว่าด้วยพืชชนิดนี้นั้นเป็นผลงานของชาลส์ ดาร์วิน เมื่อปี..

ใหม่!!: อันดับหญ้าและพืชกินสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

พืชใบเลี้ยงเดี่ยว

ืชใบเลี้ยงเดี่ยว (Monocotyledon หรือ Liliopsida) เป็นชั้นหนึ่งในส่วนพืชดอกที่มีความสำคัญอย่างยิ่งกลุ่มหนึ่ง ครอบครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของพื้นโลก และเป็นพื้ชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสูงอีกด้วย พืชใบเลี้ยงเดี่ยววงศ์ใหญ่ที่สุด คือ กล้วยไม้ (Orchidaceae) โดยมีดอกที่ซับซ้อน และสวยงาม เพื่อดึงดูดแมลงชนิดต่างให้ช่วยในการผสมพันธุ์ ส่วนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่มีปริมาณมากเป็นอันดับสอง และอาจจะเป็นวงศ์ที่โดดเด่นกว่า ก็คือ หญ้า (Poaceae หรือ Gramineae) โดยมีวิวัฒนาการอีกทางหนึ่ง มีลักษณะพิเศษคือ การแพร่ขยายพันธุ์โดยอาศัยลม พืชในวงศ์หญ้านั้นมีดอกขนาดเล็ก แต่เมื่อรวมเป็นกลุ่มอาจปรากฏเป็นช่อดอกที่มองเห็นชัดเจนและสวยงาม.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและพืชใบเลี้ยงเดี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

กก

กก เป็นพืชวงศ์กก หลายฤดู มีเหง้า สูง 50 – 150 เซนติเมตร มักหนาที่โคน ใบมีสีเขียว แต่ปลอกหุ้มมีสีฟางข้าว ดอกเป็นดอกช่อยาวถึง 20 เซนติเมตร ช่อดอกย่อยประกอบด้วยดอกย่อย 6-20 ดอก ขยายพันธุ์ด้วยเหง้าและเมล็ด ชอบดินที่มีน้ำขัง พบในบริเวณที่มีน้ำท่วมขัง และคันนา แพร่กระจายมากทางภาคกลางของประเทศไท.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและกก · ดูเพิ่มเติม »

กกรังกา

กกรังกา (ชื่อสามัญ: Umbrella plant, Flatsedge) เป็นกกขนาดใหญ่ในสกุล Cyperus มีถิ่นกำเนิดในประเทศมาดากัสการ์ ถูกนำไปปลูกเลี้ยงเป็นไม้ประดับทั่วโลก กกรังกามีชื่อสามัญอื่น ๆ อีกคือ กกต้นกลม, กกขนาก, หญ้าลังดา, กกดอกแดง และ กกราชินี พบกระจายอยู่ทั่วโลก มีประมาณ 4,000 ชนิด ชอบที่ชื้นแฉะ ขึ้นในที่ระดับต่ำ ตามหนอง บึง ทางระบาย มีรูปร่างลักษณะและนิเวศวิทยาเหมือนหญ้ามาก.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและกกรังกา · ดูเพิ่มเติม »

กกสามเหลี่ยมใหญ่

กกสามเหลี่ยมใหญ่ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Actinoscirpus grossus, coarse bullrush, greater club rush) เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวอยู่ในวงศ์กก มีอายุยืนหลายฤดู ลำต้นมีลักษณะเป็นสามเหลี่ยม เจริญเติบโตเป็นกอ มีลำต้นใต้ดินแตกไหลได้ พุ่มสูงตั้งแต่ 1-2 เมตร ใบของกกสามเหลี่ยมใหญ่ค่อนข้างแข็ง แผ่นใบแคบ มีลักษณะเรียวยาวเป็นรูปใบหอก ยาวประมาณ 50-100 เซนติเมตร ขอบใบเรียบ ดอกออกเป็นช่อชนิดโคริมบ์ ประกอบด้วยช่อดอกย่อยจำนวนมาก ดอกย่อยไม่มีก้านดอก เกิดลักษณะเวียนรอบก้านดอกอย่างหนาแน่น เมื่อยังเป็นดอกอ่อนจะมีสีเหลืองอ่อนอมเขียว แต่เมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ดอกออกช่วงเดือนเมษายนถึงกรกฎาคม แต่อาจถึงเดือนตุลาคมได้ ขยายพันธุ์โดยใช้ไหลหรือเมล็ด จากเว็บไซด์โครงการอนุรักษ์พันธู์พืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สืบค้นวันที่ 21 พฤศจิกายน 2553 กกสามเหลี่ยมใหญ่พบในบริเวณที่มีน้ำขัง อ่างเก็บน้ำ บ่อเลี้ยงปลา และตามคลองส่งน้ำ พบได้ตั้งแต่ประเทศตุรกี อินเดีย บังคลาเทศ เนปาล ปากีสถาน ศรีลังกา ภูฏาน จีน (มณฑลกวางตุ้งและเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง) ญี่ปุ่น กกสามเหลี่ยมใหญ่เป็นพืชท้องถิ่นของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ มาเลเซีย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ไปจนถึงออสเตรเลีย (นอร์เทิร์นเทร์ริทอรีและรัฐควีนส์แลนด์) รวมทั้งประเทศไทยซึ่งพบได้ทุกภาค จาก Weed Science Society of America (WSSA), สืบค้นวันที่ 21 พฤศจิกายน 2553 กกสามเหลี่ยมใหญ่สามารถนำมาทอเสื่อ จักสานเป็นฝาบ้าน ฝ้าเพดานหรือหลังคาบ้าน นอกจากนี้ยังสามารถทำเป็นตะกร้าและกระเป๋าได้.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและกกสามเหลี่ยมใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

กกสามเหลี่ยมเล็ก

กกสามเหลี่ยมเล็ก หรือ กกช่อดอกขน เป็นพืชวงศ์กกฤดูเดียว ขึ้นเป็นกอสูง 50 – 100 เซนติเมตร ใบยาวกว่ากอ มีริ้วประดับ ดอกเป็นดอกช่อ หุ้มด้วยริ้วประดับ ช่อดอกเป็นแบบซี่ร่มประกอบ ก้านช่อดอกสั้น ช่อดอกย่อยประกอบด้วยดอก 5-7 ดอก ผลเป็นแบบอะคีน สีน้ำตาล ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ชอบดินที่ชื้นแฉะ ขึ้นในที่ลุ่มน้ำขัง ข้างถนนและในท้องน.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและกกสามเหลี่ยมเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

กกอียิปต์

กกอียิปต์ หรือ พาไพรัส (Egyptian papyrus)เป็นพืชน้ำชนิดหนึ่ง ที่เติบโตในพื้นที่ราบลุ่มริมแม่น้ำไนล.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและกกอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

กกขนาก

กกขนาก เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวอยู่ในวงศ์กก เป็นพืชจำพวกไม้ล้มลุก มีอายุไม่เกินหนึ่งปี ขึ้นเป็นกอสูง 10-70 เซนติเมตร ลักษณะลำต้นเป็นเหลี่ยมมีผิวเกลี้ยง มีสันชัดเจน กาบใบเรียงซ้อนกันที่โคนกอ ใบของกกขนากมีรูปขอบขนานแคบ ปลายแหลมยาว 10-20 เซนติเมตร กว้าง 2-6 เซนติเมตร ไม่แยกเป็นก้านใบและแผ่นใบ ดอกออกเป็นช่อแน่นกลมคล้ายร่มที่ซ้อนกัน ออกดอกตลอดปี ช่อดอกย่อยจำนวนมากรวมกันเป็นกระจุก ก้านชูดอกสูง 30-40 เซนติเมตร บริเวณปลายก้านกาบช่อย่อยเป็นแผ่นเยื่อบางสีน้ำตาล รูปรี มีเกสรเพศผู้ 3 อัน ผลของกกขนาดมีสีเหลืองแกมเขียว มีลักษณะเป็นผลแห้ง เมื่อแก่แล้วจะไม่แตก มีขนาดเล็กและเป็นรูปรีหรือรูปไข่กลับ ใช้เมล็ดในการแพร่พันธุ์ จากระบบสืบค้นฐานข้อมูลพรรณไม้องค์การสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, สืบค้นวันที่ 20 พฤศจิกายน 2553 องค์ความรู้เรื่องข้าว จากเว็บไซต์สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, สืบค้นวันที่ 20 พฤศจิกายน 2553 กกขนากพบได้ในเขตร้อนและเขตเส้นศูนย์สูตรของทวีปเอเชีย นอกจากนี้ยังถือว่าเป็นวัชพืชชนิดหนึ่ง ซึ่งมักขึ้นในนาข้าวและตามแหล่งน้ำทั่วไป โดยเฉพาะในดินชื้นแฉะในนาหว่านน้ำตม นาดำและนาหว่านข้าวแห้ง ชอบขึ้นในที่ชื้นแต่ไม่งอกใต้น้ำ องค์ความรู้เรื่องข้าว จากเว็บไซต์กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, สืบค้นวันที่ 20 พฤศจิกายน 2553 กกขนากที่งอกออกมาใหม่ จะมีลักษณะเหมือนปลายมีดแหลมโผล่ขึ้นจากผิวดินและมีสีเขียวอ่อน งอกขึ้นแข่งต้นข้าวได้อย่างรุนแรง เพราะต้นจะสูงกว่าและมีอายุสั้น อาจทำให้ต้นข้าวล้มและผลผลิตลดลงได้ จากการทดลองพบว่า กกขนาก 100 ต้นต่อตารางเมตร จะทำให้ผลผลิตข้าวลดลง 49-84 % แต่ถ้ามีถึง 300 ต้นต่อตารางเมตร จะทำให้ผลผลิตลดลงถึง 57-90% นอกจากนี้ความเสียหายจะเพิ่มมากขึ้น หากดินมีความอุดมสมบูรณ์สูง จากเว็บไซต์กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, สืบค้นวันที่ 20 พฤศจิกายน 2553.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและกกขนาก · ดูเพิ่มเติม »

กกดอกขาว

กกดอกขาว(ชื่อวิทยาศาสตร์: Cyperus brevifolius (Rottb.) Hassk.ชื่อสามัญ: คือ Green Kyllinga) เป็นพืชจำพวกหญ้าเป็นกกที่มีอายุยืนหลายปี มีลำต้นอยู่ใต้ดิน (rhizome) เลื้อยทอดขนานไปกับดิน ชูส่วนที่เป็นยอดและช่อดอก สูง 15-20 เซนติเมตร มีกาบหุ้มลำต้นสีน้ำตาลอมแดง ลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.5-2 มิลลิเมตร ระบบรากเป็นระบบรากฝอยออกตามข้อของลำต้นใต้ดิน ใบ เป็นใบเดี่ยวออกจากส่วนโคนของลำต้น ใบมีรูปร่างเรียว ยาวประมาณ 5-15 เซนติเมตร ขอบใบเรียว มีปลายใบที่แหลม ฐานใบมีสีน้ำตาลแดงแผ่ห่อหุ้มลำต้น ดอกออกเป็นช่อแบบเฮด (head) มีดอกย่อยเป็นจำนวนมากอัดแน่นอยู่ที่ปลายยอดของลำต้น ส่วนของลำต้นที่ชูช่อดอกจะมีรูปร่างเป็นสามเหลี่ยมที่ฐานของช่อดอกมีแผ่นรองดอกสีเขียวคล้ายใบ (bracts) จำนวน 3 ใบ เป็นใบยาว 1 ใบ และใบสั้น 2 ใบ ในช่อดอกประกอบด้วยดอกย่อย 2 ดอก คือดอกด้านล่างจะมีกาบ (glume) สีเขียวใส พับงอเข้าหากัน ปลายแหลม ดอกด้านบนจะมีกาบยาวกว่าด้านล่าง มีเกสรตัวผู้ 3 อัน อับละอองเกสร 2 อัน ส่วนเกสรตัวเมียมีรังไข่อยู่เหนือฐานรองดอก ปลายยอดเกสรตัวเมียแยกเป็น 2 แฉก ช่อดอกดูเป็นสีเขียวอ่อน เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเมื่อแก่ ผล เป็นชนิดอะคีน (achene) รูปร่างแบบไข่กลับหัว มีสีน้ำตาล.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและกกดอกขาว · ดูเพิ่มเติม »

กกคมบาง

กกคมบาง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Scleria sumatrensis) เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวอยู่ในวงศ์กก เป็นพืชจำพวกไม้ล้มลุกอายุขัยหลายฤดู มีเหง้าแข็ง ลำต้นเป็นสามเหลี่ยม มีสันคมสากคาย สูงตั้งแต่ 1-3 เมตร ใบของกกคมบางเป็นรูปแถบยาว 15-30 เซนติเมตร แผ่นใบเป็นสามร่อง ดอกเป็นแบบช่อแยกแขนง ยาว 15-30 เซนติเมตร ช่อดอกย่อยแยกเพศ ดอกเพศเมียรูปไข่ยาว 3.5-4 มิลลิเมตร ช่อดอกเพศผู้รูปหอกยาว 3.5-4 มิลลิเมตร ปลายแหลมมีเกสรเพศผู้จำนวน 3 อัน ผลของกกคมบางมีสีเทา ลักษณะกลมหรือค่อนข้างกลม เมื่อแก่แล้วเปลี่ยนเป็นสีดำ มีแผ่นแข็งรูปถ้วยยาวประมาณครึ่งหนึ่งของผล จากระบบสืบค้นฐานข้อมูลพรรณไม้องค์การสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, สืบค้นวันที่ 21 พฤศจิกายน 2553 กกคมบางแพร่พันธุ์ในแถบเอเชียใต้ บริเวณประเทศอินเดีย ศรีลังกา แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย ภาคใต้ของไทย ไปจนถึงประเทศออสเตรเลีย พบมากในที่โล่งชายน้ำ กกคมบางเรียกกันในจังหวัดนราธิวาสว่า หญ้าคมบาง แต่ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กกคมบาง เป็นชื่อท้องถิ่นของกกสามเหลี่ยมใหญ.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและกกคมบาง · ดูเพิ่มเติม »

กกคมบางกลม

กกคมบางกลม หรือ หญ้าก้ามกุ้ง เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวอยู่ในวงศ์กก มีอายุขัยหลายปี ลักษณะลำต้นเป็นกอ ตั้งตรง สูง 15-50 เซนติเมตร ปลายลำมีขนคายมือ กาบใบโอบปิดลำรูปทรงกระบอกยาว 3-7 เซนติเมตร มีเหลี่ยมและสันชัดเจน ใบรูปหอกหรือรูปแถบ กว้าง 3-8 มิลลิเมตร ยาว 10-100 เซนติเมตร เนื้อหยาบ ผิวใบและขอบใบมีขนคายมือ ดอกของกกคมบางกลมออกเป็นช่อกระจุก มีช่อดอกย่อย 1-5 ช่อ กระจุกดอกย่อยรูปไข่หรือรูปรี กว้างประมาณ 3 มิลลิเมตร ยาว 5-12 มิลลิเมตร มีสีเขียวเข้ม กาบช่อย่อยแผ่นเนื้อหยาบ รูปรี เรียงสลับบนแกนช่อย่อย ปลายเป็นหนามแหลมยาวประมาณ 3 มิลลิเมตร มีเกสรเพศผู้ 6 อัน ส่วนผล มีลักษณะเป็นรูปไข่กลับหรือรูปรี มีผิวเกลี้ยงเป็นคลื่น ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด จากระบบสืบค้นฐานข้อมูลพรรณไม้องค์การสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, สืบค้นวันที่ 22 พฤศจิกายน 2553 กกคมบางกลมพบได้ในที่โล่งน้ำขังตื้นๆ ริมบึง หรือตามชายฝั่ง รวมถึงพบได้ในทุ่งนา พืชชนิดนี้กระจายพันธุ์ทั่วไปตั้งแต่เขตร้อนในทวีปแอฟริกา เอเชียใต้ เช่น ประเทศอินเดีย ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตอนใต้ของประเทศจีนและญี่ปุ่น ไปจนถึงประเทศออสเตรเลี.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและกกคมบางกลม · ดูเพิ่มเติม »

กกเล็ก

กกเล็ก (Elegant cyperus) เป็นพืชวงศ์กก ฤดูเดียว ขึ้นเป็นกอ สูง 20-50 เซนติเมตร ใบเป็นเส้นตรง ยาว 20-40 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกช่อแบบซี่ร่ม แบบเดียวหรือแบบประกอบ ใบประดับขนาดไม่เท่ากัน ยาว 5-10 เซนติเมตร ดอกสีแดงอมน้ำตาลหรือสีเขียว ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ พบในนาข้าวและที่น้ำท่วมขัง.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและกกเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

กระจูด

กระจูด หรือ จูด เป็นพันธุ์ไม้จำพวก "กก" (Sedge) ลักษณะลำต้นกลมสีเขียวอ่อน ดินสอดำ สูงประมาณ 1 - 2 เมตร ออกดอกเป็นกระจุกแน่นคล้ายดอกกระเทียมที่ข้างลำต้นใกล้ยอดกระจุกหนึ่ง แต่มีช่อดอกปลายลำต้นอีกหนึ่งช่อซึ่งมีใบเล็กประกอบช่อด้วย กระจูดชอบขึ้นในพื้นที่น้ำขังซึ่งเรียกว่าโพระหรือพรุ มีถิ่นกำเนิดจากทางเกาะมาดากัสการ์ มอริเซียส ลังกา สุมาตรา แหลมมาลายู และหมู่เกาะต่าง ๆ ในแหลมมาลายู อินโดจีนตอนริมฝั่งทะเล ฮ่องกง บอร์เนียว ตลอดถึงออสเตรเลีย ริมฝั่งตะวันออก.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและกระจูด · ดูเพิ่มเติม »

กระถินนา

กระถินนาเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: อันดับหญ้าและกระถินนา · ดูเพิ่มเติม »

กระดุมกระดึง

กระดุมกระดึง เป็นพืชในสกุลกระดุม วงศ์ Eriocaulaceae เป็นพืชล้มลุก ลำต้นเป็นเหง้าสั้นๆ ใบออกเป็นกระจุก รูปแถบ ก้านช่อดอกโดด 1-3 ก้าน ช่อดอกสีขาวรูปทรงกลมหรือทรงกระบอก ใบประดับรูปใบหอกกลับ ขนสีขาว ออกดอกช่วงกรกฎาคม – กุมภาพันธ์ พบครั้งแรกที่ภูกระดึง จังหวัดเลย โดย T. Shimazu ชาวญี่ปุ่นและคณะ ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ภูกระดึง.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและกระดุมกระดึง · ดูเพิ่มเติม »

กระดุมจิ๋ว

กระดุมจิ๋วหรือกระดุมหัวไม้ขีดไฟ เป็นพืชในสกุลกระดุม วงศ์ Eriocaulaceae เป็นไม้ล้มลุกอายุปีเดียว เหง้าอยู่ใต้ดิน ใบเดี่ยวเป็นกระจุกเหนือดิน มีก้านช่อดอกจำนวนมาก ดอกสีขาวอ่อนถึงน้ำตาล ทรงกลมหรือรูปไข่ จัดเป็นพืชขนาดเล็กที่สุดในสกุลนี้ ออกดอกเดือนตุลาคม – ธันวาคม ใช้เป็นไม้ประดับในการตกแต่งสวนถาด พบครั้งแรกที่ภูกระดึง จังหวัดเล.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและกระดุมจิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

กระดุมเต็ม

กระดุมเต็มหรือมณีเทวา เป็นพืชในสกุลกระดุม วงศ์ Eriocaulaceae ลำต้นสั้นมาก ใบออกเป็นกระจุกที่โคนต้น มีก้านช่อดอก 1-3 ก้าน ช่อดอกทรงกลม สีขาวแกมน้ำตาล เมล็ดสีเหลือง ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม – ธันวาคม พบในภาคตะวันออก พบครั้งแรกที่อำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี โดยศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและกระดุมเต็ม · ดูเพิ่มเติม »

ลูกเดือย

ลูกเดือย เป็นธัญพืชประเภทคาร์โบไฮเดรตเดือยเป็นพืชพื้นเมืองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่มีเส้นใยอาหารสูง เป็นพืชตระกูลเดียวกับข้าว โดยมีลักษณะเป็นเม็ดสีขาว เม็ดจะออกกลม ๆ รี ๆ รสชาติออกมันเล็กน้อ.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและลูกเดือย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กก

ืชวงศ์กก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cyperaceae; Sedge) เป็นไม้ล้มลุก มีประมาณ 4,000 ชนิดแพร่พันธุ์กระจายทั่วโลก ชอบที่ชื้นแฉะ ขึ้นในที่ระดับต่ำตามหนอง บึง ทางระบายคันคูน้ำและโคลนเลน ใน 46 ประเทศจัดพืชวงศ์กกเป็นวัชพืช มีหลายชนิดใช้เป็นอาหารเช่น Eleocharis toberosa และ Scirpus toberosus และหลายชนิดนำมาทำเครื่องจักสานได้อย่าง เสื่อ กระจาด กระเช้า หมวก เช่นกกชนิด Scirpus mucronatus, Lepironia mucronata, Carex brizoides เป็นต้น.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและวงศ์กก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กระถินทุ่ง

วงศ์กระถินทุ่ง หรือ Xyridaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ระบบ APG และ APG II มีวงศ์นี้อยู่ และจัดให้อยู่ในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เคลด commelinids อันดับ Poales โดยในระบบ APG II ต่างไปเล็กน้อยคือ รวมพืชบางชนิดจากวงศ์ Abolbodaceae เข้ามา และไม่จัดให้อยู่ในอันดับใ.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและวงศ์กระถินทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กระดุมเงิน

วงศ์กระดุมเงิน หรือ Eriocaulaceae เป็นวงศ์ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวในอันดับ Poales ประกอบด้วยสมาชิก 1,150-1,200 ใน 10 สกุล แพร่กระจายทั่วไป โดยเฉพาะในเขตร้อนของอเมริกา มี 16 สปีชีส์ที่พบในสหรัฐอเมริกาส่วนใหญ่อยู่ในรัฐทางใต้ ตั้งแต่แคลิฟอร์เนีย ถึง ฟลอริดา มีเพียงสองสปีชีส์พบในแคนาดาและมีเพียงสปีชีส์เดียว (Eriocaulon aquaticum) ที่พบใน ยุโรป ส่วนใหญ่เป็นพืชล้มลุกหลายฤดู;สกุล.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและวงศ์กระดุมเงิน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์สับปะรด

ืชวงศ์สับปะรดโตบนสายโทรศัพท์ในโบลิเวีย วงศ์สับปะรด หรือ Bromeliaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มีสมาชิกประมาณ 3,170 สปีชีส์ โดยเป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อนของทวีปอเมริกา มีบางสปีชีส์พบในเขตกึ่งร้อน และมี 1 สปีชีส์ที่เป็นพืชพื้นเมืองในแอฟริกาตะวันตก คือ Pitcairnia feliciana จัดอยู่ในอันดับ Poales แต่มีความแปลกเพราะเป็นวงศ์เดียวในอันดับนี้ที่มีเนกตารีและรังไข่อยู่ใต้วงชั้นของกลีบดอกJudd, Walter S. Plant systematics a phylogenetic approach.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและวงศ์สับปะรด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ธูปฤๅษี

วงศ์ธูปฤๅษี หรือ Typhaceae เป็นวงศ์ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ระบบ APG II จัดให้วงศ์นี้อยู่ในอันดับ Poales โดยมีสกุลเดียวคือ Typha ต่อมาในระบบ APG III ได้เพิ่มสกุล Sparganium อีกสกุลหนึ่ง ในระบบ Cronquist จัดให้วงศ์นี้อยู่ในอันดับ Typhales ฟอสซิลของพืชวงศ์นี้ พบครั้งแรกในยุคครีตาเชียสตอนปลายBremer, K. (2002).

ใหม่!!: อันดับหญ้าและวงศ์ธูปฤๅษี · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกก

กุลกก หรือ Cyperus เป็นสกุลขนาดใหญ่ มีสมาชิกประมาณ 700 สปีชีส์ อยู่ในวงศ์ Cyperaceae กระจายพันธุ์ทั้งเขตร้อนและเขตอบอุ่น.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและสกุลกก · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกระดุม

กุลกระดุม หรือ Eriocaulon เป็นสกุลที่มีสมาชิก 400 สปีชีส์ในวงศ์ Eriocaulaceae มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางในเขตร้อนโดยเฉพาะเอเชียใต้และอเมริกา มีส่วนน้อยพบในเขตอบอุ่น โดยมีประมาณ 10 สปีชีส์ในสหรัฐอเมริกา พบ 2 สปีชีส์ในแคนาดา ในจีนพบ 35 ส่วนใหญ่พบทางใต้ มีเพียงสปีชีส์เดียวที่พบในยุโรป (E. aquaticum) ในไอร์แลนด์และสกอตแลนด์ที่ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและสกุลกระดุม · ดูเพิ่มเติม »

สกุลข้าว

กุลข้าว เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Poaceae ในเผ่า Oryzeae อยู่ในวงศ์ย่อย Bambusoideae เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียและออสเตรเลียเหนือ และแอฟริกา เป็นสกุลของพืชอาหารที่สำคัญ ทั้ง Oryza sativa และ Oryza glaberrima สมาชิกของสกุลนี้ขึ้นในที่น้ำขัง มีทั้งพืชฤดูเดียวและหลายฤดู;ตัวอย่างสปีชี.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและสกุลข้าว · ดูเพิ่มเติม »

สกุลข้าวฟ่าง

้าวฟ่าง เป็นกลุ่มพืชตระกูลหญ้าในจีนัส Sorghum บางชนิดเพาะปลูกเพื่อเป็นอาหารทั้งของมนุษย์และสัตว์ มีแหล่งเพาะปลูกอยู่ในเขตอบอุ่นทั่วโลก และจัดว่าเป็นพืชท้องถิ่นในภูมิภาคเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในทุกทวีป ยกเว้นออสเตรเลียและโอเชียเนี.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและสกุลข้าวฟ่าง · ดูเพิ่มเติม »

สับปะรด

ับปะรด (ชื่อทางวิทยาศาสตร์: Ananas comosus) เป็นพืชล้มลุกชนิดหนึ่งที่มีต้นกำเนิดมาจากบริเวณทวีปอเมริกาใต้ ลำต้นมีขนาดสูงประมาณ 80-100 เซนติเมตร การปลูกสามารถปลูกได้ง่ายโดยการฝังกลบหน่อหรือส่วนยอดของผลที่เรียกว่า จุก เปลือกของผลสับปะรดภายนอกมีลักษณะคล้ายตาล้อมรอบผล แต่ละท้องถิ่นเรียกสับปะรดแตกต่างกันออกไปเช่น.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและสับปะรด · ดูเพิ่มเติม »

หญ้า

หญ้า เป็นพืชล้มลุกหลายชนิด หลายสกุล ในชั้น Liliopsida วงศ์ Poaceae หรือเป็นที่รู้จักกันดีว่าวงศ์ Gramineae เช่น หญ้าคา (Imperata cylindrica Beauv.) หญ้าตีนกา (Eleusine indica Gaertn.) หญ้าแพรก (Cynodon dactylon Pers.) หญ้าที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ชื่อว่า ธูปฤาษี มีพืชชนิดนี้ประมาณ 600 สกุล และมีประมาณ 10,000 ชนิด มีการประเมินกันว่าหญ้าเป็นพืชที่ปกคลุมผิวโลกกว่า 20% ของพืชทั้งหมดบนโลก พืชในวงศ์นี้เป็นพืชที่มีความสำคัญที่สุดต่อเศรษฐกิจมนุษย์ รวมไปถึง ใช้เป็นสนามหญ้า, อาหารหลักที่ปลูกทั่วโลก, และไม้ไผ่ซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายในการสร้างในเอเชีย แต่บางชนิดจัดเป็นวัชพืช ปัจจุบัน หญ้าเริ่มมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในด้านการนำมาใช้ผลิตพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนอีกด้วย เช่นหญ้ามิสแคนทัส และ หญ้ามิสแคนทัสช้าง พืชในวงศ์หญ้าที่เรารู้จักดี เช่น ข้าว ข้าวโพด ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ข้าวฟ่าง ข้าวโอ้ต ข้าวไรย์ ลูกเดือย หญ้าไรย์ อ้อย ไผ่ ตะไคร้ เป็นต้น.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้า · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าชันกาด

หญ้าชันกาด (torpedograss) เป็นพืชวงศ์หญ้าและเป็นพืชหลายฤดู กระจายตัวโดยการแตกหน่อ สูง 50-100 เซนติเมตร ใบค่อนข้างเป็นเส้นตรง ยาว 7-15 เซนติเมตร มีขนเล็กน้อยที่ด้านบนของใบและตามขอบ ดอกเป็นดอกช่อแบบพานิเคิล ยาว 10 -20 เซนติเมตร ขยายพันธุ์โดยใช้เหง้า เมล็ดส่วนใหญ่ไม่งอก ชอบดินแห้ง พบตามบริเวณริมถนน ที่รกร้าง บางครั้งเป็นวัชพืชในเขตเกษตรกรรม โดยเฉพาะสวนทุเรียน แพร่กระจายทั่วประเทศไท.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าชันกาด · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าพองลม

หญ้าพองลม หรือ ปู่เจ้าลอยท่า เป็นพืชในวงศ์หญ้า ขึ้นอยู่ในน้ำเป็นแพแน่นในน้ำนิ่งหรือเกาะเลื้อยบนที่ชื้นแฉะเกาะกันเป็นกระจุก สามารถพบได้ตามห้วย หนอง คลอง บึง บ่อ สระ ร่องสวนโดยทั่วไป ลำต้นมีลักษณะคล้ายฟองน้ำ แตกแขนงมาก มีรากที่ข้อ ใบแข็งหนา มีความกว้าง 1.2 เซนติเมตร ความยาวประมาณ 5 เซนติเมตร ใบรูปรีมีลักษณะมน ๆ ก้านใบโป่งพอง เพื่อกักน้ำไว้เลียงตัว ดอกช่อ กระจายพันธุ์ในอินเดีย พม่า ไทย และอินโดจีน ในรัฐอัสสัมปลูกเป็นแพในแม่น้ำเพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์ เมล็ดใช้เป็นอาหารในยามขาดแคลนได้ ต้นเหมาะสำหรับเป็นอาหารของวัวควาย บางครั้งเป็นวัชพืชกีดขวางทางน้ำ เมล็ดมีรสหวานมันมีสรรพคุณเป็นยาเย็น รักษาอาการตับอ่อนผิดปกติ ดับพิษและถอนพิษร้อน.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าพองลม · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าพง

หญ้าพง เป็นหญ้าอายุหลายปี มีเหง้ารูปป้อม ดอกช่อ เมล็ดรูปไข่กลับ แก่แล้วร่วง พบตั้งแต่อินเดียใต้ ศรีลังกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และจีนตอนใต้ พบตามชายฝั่งแม่น้ำ เมล็ดใช้เป็นอาหารในยามขาดแคลนได้ ลำต้นใช้เป็นอาหารสัตว์ ในไต้หวันปลูกเป็นพืชอาหารสัตว.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าพง · ดูเพิ่มเติม »

หญ้ากาย

หญ้ากาย เป็นพืชวงศ์หญ้า กอใหญ่ ก้านช่อดอกสูงกว่ากอ ช่อดอกออกที่ปลายก้าน แตกออกจากจุดเดียวกัน ผลขนาดเล็ก ออกดอกช่วงตุลาคม – พฤศจิกายน พบในทุ่งหญ้าบนที่สูงที่จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดเลย พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้ากาย · ดูเพิ่มเติม »

หญ้ากุศะ

หญ้ากุศะ (ชื่อวิทยาศาสตร์ Desmostachya bipinnata) เป็นหญ้าในวงศ์ Gramineae (Poaceae) มีถิ่นกำเนิดที่ประเทศอินเดียและเนปาล ชอบขึ้นในที่แห้งแล้งริมฝั่งแม่น้ำ โดยจะขึ้นเป็นกอเหง้าใหญ่ ใบอวบรูปยาวเหมือนหอก ขอบใบคม ดอกเป็นช่อรูปพีระมิด หรือเป็นแท่งตั้งตรง แข็ง สีน้ำตาลอ่อน ออกดอกตลอดฤดูฝน ขยายพันธุ์ได้โดยการเพาะเมล็ด และแยกกอ หญ้ากุศะเป็นหญ้าชนิดหนึ่งซึ่งถือกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์มาก เนื่องจากเป็นหญ้าที่ปรากฏในพุทธประวัติว่า ในวันก่อนที่พระพุทธเจ้าจะตรัสรู้ เจ้าชายสิทธัตถะได้รับถวายหญ้าชนิดนี้จำนวน 8 กำมือจากพราหมณ์โสตถิยะ และเจ้าชายสิทธัตถะได้นำหญ้ากุศะไปปูรองนั่งเป็นพุทธบัลลังก์ในวันที่พระองค์ตรัสรู้ ทำให้ชาวพุทธถือว่าหญ้านี้มีความสำคัญมาก และจัดให้หญ้านี้เป็นต้นไม้สำคัญชนิดหนึ่งในพุทธประวัติ ชาวฮินดูนับถือว่าหญ้านี้มีความศักดิ์สิทธิ์เช่นกัน โดยนำหญ้านี้มาประกอบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ในวันแรม 15 ค่ำ​เดือน 9 หรือที่เรียกว่า กุโศตปาฎนีอมาวสยา เพื่อเป็นการบูชาพระกฤษณะ เทพเจ้าองค์หนึ่งของศาสนาฮินดู หญ้ากุศะยังมีสรรพคุณทางยาสมุนไพร คือ ใช้ทั้งต้นเป็นยาฝาดสมาน​ขับปัสสาวะ ขับเสมหะ รากมีรสหวาน เป็นยาเย็น แก้อาการกระหายน้ำได้อีกด้ว.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้ากุศะ · ดูเพิ่มเติม »

หญ้ามิสแคนทัส

หญ้ามิสแคนทัส (ชื่อสกุลทางวิทยาศาสตร์ Miscanthus) เป็น สกุล (genus) ของหญ้าพืชหลายปี ประมาณ 15 ชนิด มีถิ่นกำเนิดในถิ่นกึ่งโซนร้อนของแอฟริกาและเอเซียใต้ โดยมีหญ้ามิสแคนทัสชนิดไซเนนซิส หรือ "หญ้าซูซูกิ" (M. sinensis) ชนิดเดียวที่สามารถขึ้นเหนือขึ้นไปได้ในเขตอบอุ่นของเอเชียตะวันออก ชนิดที่เลือก.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้ามิสแคนทัส · ดูเพิ่มเติม »

หญ้ามิสแคนทัสช้าง

หญ้ามิสแคนทัสช้าง (Miscanthus giganteus) เป็นหญ้ามิสแคนทัสชนิดพืชหลายฤดูชนิดหนึ่ง (perennial grass) ขนาดใหญ่ (ที่สามารถสูงได้ถึง 4 เมตร) ที่นำมาใช้ในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ ปัจจุบันมีการผลิตเชิงการค้าในสหราชอาณาจักรซึ่งกำลังเป็นที่ต้องการของตลาดที่เพิ่มกำลังเพิ่มอย่างรวดเร็ว นอกจากการใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับผลิตไฟฟ้าและความร้อนที่มีราคาประหยัดแล้ว หญ้ามิสแคนทัสช้างยังเป็นพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย ด้วยระบบรากที่มีขนาดใหญ่มันจึงสามารถหาอาหารได้ดีกว่า นอกจากนี้ลำต้นส่วนล่างที่สูงยังใช้เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ต่างๆ ตามธรรมชาติได้ดีด้วย การให้ผลผลิตต่อไร่ที่สูงและไม่ต้องการการดูแลมาก หญ้ามิสแคนทัสช้างจึงมีความเหมาะสมมากในการเก็บกักคาร์บอนและใช้ในการสร้างดิน.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้ามิสแคนทัสช้าง · ดูเพิ่มเติม »

หญ้ายอนหู

หญ้ายอนหู หรือ หญ้าดอกขาว (Red sprangletop) เป็นพืชวงศ์หญ้าและพืชฤดูเดียว ขึ้นเป็นกอ ออกรากตามข้อ สูง 50 - 100 เซนติเมตร ใบเรียบ เป็นเส้นตรง ยาว 10 - 20 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกช่อแบบพานิเคิล ยาว 20-60 เซนติเมตร มีช่อดอกย่อยแบบ spike จำนวนมาก ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร แต่ละช่อมี 3-7 ดอก ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ชอบดินที่ระบายน้ำได้ไม่ดี พบในนาหว่าน พบได้ทั่วประเทศไทย หญ้ายอนหูเป็นพืชที่มีฤทธิ์ทางอัลลีโลพาธี สารสกัดด้วยเอทิลอะซีเตตจากลำต้น ยับยั้งการเจริญของแตงกวา แตงโม ฟักทอง ถั่วลิสงนา ผักเสี้ยนผี ผักเบี้ยใหญ่ ข้าว ไมยราบยักษ์ ผักกาดขาวและหญ้าข้าวนกได้.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้ายอนหู · ดูเพิ่มเติม »

หญ้ารัดเขียด

หญ้ารัดเขียด (Lesser Fimbristylis) เป็นพืชวงศ์กก ฤดูเดียว ขึ้นเป็นกอ สูง 25-50 เซนติเมตร ใบติดที่โคนต้น มีปลอกหุ้มยาว 2-4 เซนติเมตร ดอกช่อแบบซี่ร่ม มีช่อดอกย่อย 50 - 100 ช่อ มีดอกย่อยจำนวนมาก ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ชอบพื้นที่เปียกชื้น พบในท้องนา กระจายพันธุ์ได้ทั่วประเทศไท.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้ารัดเขียด · ดูเพิ่มเติม »

หญ้ารังกาแก้ว

หญ้ารังกาแก้ว (Umbrella sedge; rice flatsedge) เป็นพืชล้มลุกวงศ์กก และเป็นพืชฤดูเดียว ขึ้นเป็นกอ สูง 20-60 เซนติเมตร ใบเป็นเส้นตรง สั้นกว่าความสูงของกอ ดอกช่อเป็นแบบซี่ร่ม ยาวถึง 20 เซนติเมตร มีช่อดอกย่อย 3-5 ช่อ ในแนวรัศมี แต่ละช่อดอกย่อยมีดอกย่อย 6-24 ดอก ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ขึ้นได้ทั้งในที่แห้งและที่ชื้น พบเป็นวัชพืชในท้องนาและที่ดอน.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้ารังกาแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

หญ้ารังนก

หญ้ารังนก (Swollen finger grass) เป็นพืชในวงศ์หญ้า และเป็นพืชฤดูเดียว ขึ้นเป็นกลุ่มก้อน สูง 50 - 100 ซม.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้ารังนก · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าลอยลม

หญ้าลอยลม เป็นหญ้าที่ขึ้นตามชายหาด ลำต้นทอดเกาะติดกับผืนทราย ลำต้นเหนียวขึ้นทอดต่อกันเป็นร่างแหคลุมพื้นทราย โดยหยั่งรากยึดเป็นจุด ๆ ใบงอกจากต้นเป็นรูปดาวกระจาย เมื่อถูกทรายกลบจะแทงยอดใหม่ขึ้นมาใหม่ได้ และใบที่หลุดออกจากต้นก็จะปลิวตามลมแล้วไปงอกเป็นต้นใหม่ได้เช่นกัน ใบแข็ง ป้องกันการสูญเสียน้ำ ระบบรากและลำต้นแบบร่างแหช่วยยึดผืนทรายและหาน้ำ และคอยดักเศษไม้เศษใบไว้ย่อยสลายสะสมเป็นสารอินทรีย์หน้าผิวดิน ช่อดอกออกเป็นรัศมีทุกทาง เมื่อผลแก่ ช่อผลจะหลุดจากต้น.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าลอยลม · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าสนกระจับ

หญ้าสนกระจับ (ภาษาอังกฤษ:burgrass, hedgehog grass) เป็นพืชวงศ์หญ้าและพืชฤดูเดียว ออกรากตามข้อ แตกเป็นกอ สูง 50 ซม.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าสนกระจับ · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าหางหมาจิ้งจอก

หญ้าหางหมาจิ้งจอก (Knotroot foxtail; Slender pigeongrass) เป็นหญ้าฤดูเดียว มักขึ้นเป็นกอ แตกกิ่งออกรากตามข้อ สูง 50 – 100 เซนติเมตร ใบเป็นเส้นตรง ลิกุลเป็นขน ดอกเป็นดอกช่อ ทรงคล้ายลำเทียน สีฟางข้าว ยาว 10 – 20 เซนติเมตร มีขนตามข้อ ออกดอกที่ปลายช่อ ออกดอกปีละครั้ง ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ชอบขึ้นในที่ชื้น พบในนาหว่าน และพื้นที่เกษตรกรรมในฤดูแล้ง ส่วนใหญ่พบทางภาคกลางและภาคเหนือของประเทศไท.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าหางหมาจิ้งจอก · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าหนวดฤๅษี

หญ้าหนวดฤๅษี (Tangle head) เป็นพืชวงศ์หญ้าและพืชหลายฤดู ขึ้นเป็นกอ สูง 20 - 100 เซนติเมตร ใบเป็นเส้นตรง ยาว 6-20 เซนติเมตร มีปลอกหุ้มเรียบ ดอกเป็นดอกช่อแบบราซีม ยาว 4-7 เซนติเมตร ช่อดอกย่อยเป็นแบบ spiked ด้านเดียว ยาว 7 มิลลิเมตร ออกดอกทั้งปี ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดและการแตกหน่อ ชอบขึ้นในดินแห้ง พบตามบริเวณข้างถนนและพื้นที่รกร้าง ชาวฮาวายใช้หญ้าชนิดนี้มุงหลังคาบ้าน ไฟล์:Heteropogon contortus seed.jpg ไฟล์:Heteropogon contortus seedhead.jpg ไฟล์:Heteropogon contortus W IMG_3500.jpg.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าหนวดฤๅษี · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าทราย

หญ้าทราย (southern cutgrass; swamp ricegrass) เป็นพืชวงศ์หญ้าและพืชหลายฤดู มีเหง้า ออกรากที่โคนเหง้า ต้นสูง 50 - 100 เซนติเมตร ใบเป็นเส้นตรง ยาว 15-30 เซนติเมตร มีปลอกหุ้มบริเวณข้อ เห็นเป็นขอบชัดเจน มีขน ดอกเป็นดอกช่อแบบพานิเคิลยาว 5-12 เซนติเมตร ประกอบด้วยช่อดอกย่อย 10 - 15 ช่อ และช่อยาว 2-3 เซนติเมตร ในประเทศไทย ออกดอกช่วง พฤศจิกายน - ธันวาคม ขยายพันธุ์ด้วยเหง้าและเมล็ด การสังเคราะห์ด้วยแสงคาดว่ามีการตรึงคาร์บอนแบบ C3 ชอบดินชื้นแฉะ พบในนาข้าว และที่ลุ่มน้ำขังทั้วประเทศไท.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าทราย · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าขจรจบ

หญ้าขจรจบ หรือ หญ้าคอมมิวนิสต์ (desho grass, desho) เป็นพืชดอกใบเลี้ยงเดี่ยวชนิดหนึ่งในสกุล Pennisetum วงศ์หญ้า มีถิ่นกำเนิดในประเทศเอธิโอเปีย ขึ้นมากตามที่สูงชันบริเวณพื้นที่ภูเขาของประเทศSmith, G. (2010).

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าขจรจบ · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าขน

หญ้าขน (Paragrass, buffalograss, panicum grass)เป็นพืชในวงศ์หญ้า เป็นพืชหลายฤดู แพร่กระจายด้วยเมล็ด และการแตกไหล ออกรากตามข้อ สูงประมาณ 2 เมตร ใบมีขน ยาว 10 - 30ซม.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าขน · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าขนตาวัว

หญ้าขนตาวัวชุมศรี ชัยอนันต.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าขนตาวัว · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าข้าวผี

หญ้าข้าวผี เป็นพืชในสกุลข้าว มีวิวัฒนาการใกล้ชิดกับข้าว (Oryza sativa) ขึ้นเป็นกอ ลำต้นทอดขนาน ชูยอดตั้งตรง กาบใบเกลี้ยงใบรูปแถบ ใบหยาบจับที่ขอบจะคายมือ ดอก เป็นช่อดอกแบบแยกแขนง อาหารสะสมภายในเมล็ดไม่เป็นก้อนแข้งแห้งแบบข้าว มักมีลักษณะเหลวข้น เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในอินเดีย กระจายพันธุ์ตามหนองน้ำและที่ลุ่ม เป็นวัชพืชร้ายแรงในนาข้าว เมล็ดที่เกี่ยวปนไปกับข้าว ทำให้ข้าวเน่าและขึ้นราได้ง่าย หญ้าข้าวผีจัดเป็นวัชพืชในสหรัฐอเมริกา หญ้าข้าวผีจะขึ้นปนในแปลงปลูกข้าว และเมล็ดจะหลุดร่วงก่อนจะเกี่ยวข้าว ทำให้แพร่กระจายพันธุ์ได้ดี เมล็ดหญ้าข้าวผีที่ปนไปในข้าวสารจะถือเป็นของแปลกปลอม.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าข้าวผี · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าข้าวทาม

หญ้าข้าวทาม ลำต้นตั้งตรง กาบใบคล้ายทรงกระบอก ลิ้นใบรูปรอยต่อ คล้ายสามเหลี่ยมหรือสามเหลี่ยม ผิวในส่วนข้อเกลี้ยง ใบรูปแถบ ดอกช่อแบบแยกแขนง เมล็ดสีน้ำตาล จัดเป็นข้าวพันธุ์ป่าชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญในการนำมาใช้เป็นแหล่งพันธุกรรมสำหรับปรับปรุงพันธุ์ข้าว ใช้เป็นอาหารในยามขาดแคลน ใช้ผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือในงานพิธีทางศาสนาต่างๆ องค์ประกอบทางเคมีของเมล็ดใกล้เคียงกับข้าว.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าข้าวทาม · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าข้าวนก

หญ้าข้าวนก(Jungle Rice) หญ้าข้าวนก (ภาษาอังกฤษ: jungle rice, birdsrice) เป็นพืชในวงศ์หญ้า เป็นพืชฤดูเดียว ขึ้นเป็นกอ สูง 30-60 ซม.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าข้าวนก · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าดอกชมพู

หญ้าดอกชมพู (Natalgrass; Natal redtop) เป็นหญ้าฤดูเดียว แตกเป็นกอ ออกรากตามข้อ สูง 50 - 100 เซนติเมตร ใบเป็นเส้นตรง มีขนเล็กน้อย ยาว 20 - 30 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกช่อแบบพานิเคิล ยาว 10 - 20 เซนติเมตร ก้านช่อดอกผอม ดอกสีขาว สีม่วงหรือสีชมพู ดอกมีขนคล้ายเส้นไหม ออกดอกช่วงพฤศจิกายน - ธันวาคม ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ชอบดินแห้ง พบในพื้นที่รกร้างและพื้นที่เกษตรกรรม แพร่กระจายในสวนสับปะรด และบริเวณปลูกพืชอื่นๆในประเทศไท.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าดอกชมพู · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าคา

หญ้าคา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Imperata cylindrica Beauv.) เป็นพืชล้มลุกชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในตระกูลหญ้า มีลำต้นสูงประมาณ ๕๐-๑๐๐ เซนติเมตร ลักษณะลำต้นเป็นทรงกลมเรียวยาวขนาดเล็ก ลักษณะใบเป็นขนกระจุก ขอบใบมีลักษณะคมกริบ ออกดอกเป็นช่อก้านยาวสีขาว คล้ายหางกระรอก มีสรรพคุณในการรักษาโรคได้หลายชนิด เช่น โรคไต โรคมะเร็งคอ แก้ลมพิษ ผื่นคัน เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถใช้ประโยชน์จากหญ้าคาในการมุงหลัง.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าคา · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าตะกรับ

หญ้าตะกรับ เป็นพืชวงศ์กกและเป็นพืชหลายฤดู ขึ้นเป็นกอ มีไหล สูง 50–150 เซนติเมตร ใบเป็นเส้นตรง สั้นกว่ากอ ดอกเป็นดอกช่อแบบซี่ร่ม ช่อดอกย่อยยาว 1–3 เซนติเมตร สีน้ำตาลหรือแดง มีดอกย่อย 10–30 ดอก ขยายพันธุ์ด้วยไหลหรือเมล็ด ชอบขึ้นในดินชื้น พบทั่วไปบริเวณท้องนาและที่ที่มีน้ำท่วมขัง.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าตะกรับ · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าต้นติด

หญ้าต้นติด (Running grass) เป็นพืชในวงศ์หญ้า เป็นพืชหลายฤดู มีไหล ออกรากตามข้อ สูงประมาณ 10 - 20 ซม.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าต้นติด · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าปล้อง

หญ้าปล้อง เป็นพืชวงศ์หญ้าและพืชหลายฤดู สูงมากกว่า 2 เมตร ออกรากตามข้อ บริเวณปล้องมีเนื้อเยื่อพิธ (pith) ซึ่งมีรูพรุน ใบเป็นเส้นตรงยาว 15-30 เซนติเมตร ดอกช่อ เป็นรูปทรงกระบอก ยาว 15-20 เซนติเมตร ขยายพันธุ์ด้วยการแตกหน่อและเพาะเมล็ด การสังเคราะห์ด้วยแสงใช้การตรึงคาร์บอนแบบ C3 ชอบขึ้นในดินที่ชื้นแฉะหรือมีน้ำขัง หรือในท้องน.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าปล้อง · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าปล้องละมาน

|name.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าปล้องละมาน · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าปล้องข้าวนก

หญ้าปล้องข้าวนก (ภาษาอังกฤษ: Finger grass, Tropical crabgrass) เป็นพืชวงศ์หญ้าและเป็นพืชฤดูเดียว อยู่เป็นกลุ่มก้อน แตกกิ่งตามข้อสูง 30-50 ซม.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าปล้องข้าวนก · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าปากควาย

หญ้าปากควาย (อังกฤษ: Crowfoot grass, Beach wiregrass) เป็นพืชวงศ์หญ้าและเป็นพืชฤดูเดียว แตกหน่อเป็นกลุ่ม ออกรากและยอดจากข้อของไหลที่อยู่ด้านล่าง สูง 30 - 50 ซม.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าปากควาย · ดูเพิ่มเติม »

หญ้านิ้วหนู

หญ้านิ้วหนู (Tall-fringerush)เป็นพืชวงศ์กก ฤดูเดียว ขึ้นเป็นกอ ใบสั้นกว่าลำต้น มีลิกุลเป้นขนสั้นๆ ดอกช่อแบบซี่ร่ม ยาว 2-4 เซนติเมตร ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ชอบที่ชื้นแฉะ พบในท้องนาและพื้นที่รกร้าง.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้านิ้วหนู · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าแพรก

หญ้าแพรก เป็นพืชพื้นเมืองในทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และยุโรปใต้ ส่วนชื่อ หญ้าเบอร์มิวดา มาจากการที่หญ้าแพรกเป็นพืชต่างถิ่นรุกรานในเบอร์มิวดา แต่ไม่ได้เกิดขึ้นที่นั่น ในประเทศไทย ชาวเหนือ เรียกว่า "หญ้าเป็ด" ส่วนชาวกะเหรี่ยง เรียกว่า "หน่อเก่เด".

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าแพรก · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าแฝก

หญ้าแฝก เป็นพืชที่มีระบบรากลึกและแผ่กระจายลงไปในดินตรงๆ เป็นพืชที่มีอายุได้หลายปี ขึ้นเป็นกอแน่น มีใบเป็นรูปขอบขนานแคบปลายขอบแหลม ยาว 35-80 เซนติเมตร มีส่วนกว้าง 5-9 มิลลิเมตร สามารถขยายพันธุ์ที่ได้ผลรวดเร็ว โดยการแตกหน่อจากลำต้นใต้ดิน ในบางโอกาสสามารถแตกแขนงและรากออกในส่วนของก้านช่อดอกได้ เมื่อหญ้าแฝกโน้มลงดินทำให้มีการเจริญเติบโตเป็นกอหญ้าแฝกใหม่ได้ หญ้าแฝกมีอยู่ 2 สายพันธุ์คือ.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าแฝก · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าแดง

หญ้าแดง (Wrinkle duck-beak) เป็นพืชวงศ์หญ้าและพืชฤดูเดียว สูง 60 -120 เซนติเมตร ใบยาว 20-30 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกช่อแบบราซีมคู่ ยาว 5-10 เซนติเมตร ช่อดอกย่อยเป็นแบบ spike ที่สั้นมาก ยาว 5-10 เซนติเมตร สีออกแดง ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ชอบดินชื้นแฉะ โดยเฉพาะในท้องน.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าแดง · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าใบคม

หญ้าใบคม เป็นพืชหลายฤดู มีไรโซมขนาดสั้น สูง 50 – 100 เซนติเมตร ลำต้นกลม ผอม บางบริเวณมีความแข็งแรง สีเขียวอ่อน ใบคม หนา ยาวประมาณ 2/3 ของกอ ขอบใบเรียบ ปลอกหุ้มสีแดงหรือสีน้ำตาล ดอกช่อแบบซี่ร่ม รัศมีประมาณ 15 เซนติเมตร ช่อดอกย่อยแต่ละอันเป็นแบบ spike ช่อดอกย่อยอันหนึ่งประกอบด้วยดอกย่อยประมาณ 3-5 ดอก มีกาบหุ้มที่คล้ายใบ ขยายพันธุ์ด้วยเหง้าและเมล็ด พบในพื้นที่รกร้าง ริมถนน และในท้องน.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าใบคม · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าเหงาหลับ

หญ้าเหงาหลับ เป็นพืชในวงศ์ Poaceae เป็นหญ้าอายุหลายปี ทรงพุ่มสวยงาม พบในสหรัฐและเม็กซิโก มีฤทธิ์ทำให้เซื่องซึม.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าเหงาหลับ · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าเจ้าชู้

หญ้าเจ้าชู้ (gold beard grass) เป็นไม้ล้มลุกชนิดหนึ่งในวงศ์หญ้า มีหัวและเหง้าแผ่กระจายตามหน้าดิน ดอกเป็นช่อ รูปกลมเรียวคล้ายเมล็ดข้าว มีหนามแหลม สามารถปักติดเสื้อผ้าและผิวหนังได้ โดยเฉพาะเมื่อติดผิวหนังจะรู้สึกเจ็บแสบและคันยิบ ๆ แกะออกจากเสื้อผ้ายากมาก จึงถูกเรียกชื่อว่า หญ้าเจ้าชู้, สืบค้นเดือนกันยายน 2558.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าเจ้าชู้ · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าเข็มมรกต

หญ้าเข็มมรกต เป็นพืชในวงศ์ Poaceae เป็นหญ้าอายุหลายปี ช่อดอกผอมสูง พบในแคนาดาและสหรัฐอเมริกา มีฤทธิ์ทำให้เซื่องซึม.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าเข็มมรกต · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าเปลือกกระเทียมหัวแมลงวัน

หญ้าเปลือกกระเทียมหัวแมลงวัน เป็นพืชในวงศ์กก แพร่กระจายในพื้นที่ชื้นในทวีปอเมริกา เอเชีย แอฟริกา ออสเตรเลีย มาดากัสการ์ และเกะในมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นพืชฤดูเดียว ดอกช่อ ผลแบบอะคีน มีเปลือกสีน้ำตาลอมม่วงหุ้ม.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหญ้าเปลือกกระเทียมหัวแมลงวัน · ดูเพิ่มเติม »

หวายลิง

หวายลิง (whip vine) เป็นพืชในวงศ์ Flagellariaceae.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและหวายลิง · ดูเพิ่มเติม »

อ้อย

อ้อย (อังกฤษ: Sugar-cane; ชื่อวิทยาศาสตร์: Saccharum officinarum  L.) เป็นพืชวงศ์ POACEAE วงศ์เดียวกับ ไผ่ หญ้าและธัญพืช เช่น ข้าวสาลี ข้าว ข้าวโพด และ ข้าวบาร์เลย์ มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในลำต้นอ้อยที่นำมาใช้ทำน้ำตาลมีปริมาณซูโครสประมาณ 17-35% ชานอ้อย (bagasse) ที่ถูกบีบเอาน้ำอ้อยออกไปแล้ว สามารถนำมาใช้ทำกระดาษ พลาสติก เป็นเชื้อเพลิง และอาหารสัตว์ ส่วนกากน้ำตาล (molasses) ที่แยกออกจากน้ำตาลในระหว่างการผลิต สามารถนำไปหมักเป็นเหล้ารัม (rum) ได้อีกด้วย อ้อยเป็นพืชชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างมากเมื่อพิจารณาในแง่ของผลผลิต เพราะอ้อยสามารถใช้ปัจจัยสำหรับการเจริญเติบโต เช่น แสงแดด น้ำ อากาศ และธาตุอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้อ้อยยังเป็นพืชที่ปลูกง่าย และเมื่อปลูกครั้งหนึ่งแล้ว สามารถเก็บเกี่ยวได้หลายครั้ง อ้อยชอบอากาศร้อนและชุ่มชื้น ดังนั้นประเทศที่ปลูกอ้อย ซึ่งมีประมาณ 70 ประเทศจึงอยู่ในแถบร้อนและชุ่มชื้นในระหว่างเส้นรุ้งที่ 35 องศาเหนือ และ 35 องศาใต้ ประเทศผู้ปลูกอ้อยที่สำคัญ ได้แก่ บราซิล คิวบา อินเดี.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและอ้อย · ดูเพิ่มเติม »

จุกนกยูง

กนกยูง เป็นพืชล้มลุกในสกุลกระดุม วงศ์ Eriocaulaceae ลำต้นสั้นมากหรือเป็นเหง้าสั้นๆ ใบสีแดงเป็นกระจุกอยู่โคนต้น ก้านช่อดอกมีจำนวนมาก ยาวกว่าใบ ช่อดอกสีขาวรูปครึ่งวงกลมหรือทรงกลมออกดอกช่วงตุลาคม-กุมภาพันธ์ กระจายพันธุ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย พบครั้งแรก.ดร.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและจุกนกยูง · ดูเพิ่มเติม »

จูดทุ่งแสลงหลวง

ูดทุ่งแสลงหลวง เป็นพืชในวงศ์กก กระจายพันธุ์ในอเมริกาเหนือและบางส่วนในอเมริกาใต้ ชอบขึ้นในที่ชื้น ทั้งทะเลสาบน้ำจืด และที่ลุ่มน้ำขัง เป็นพืชมีเหง้า อายุหลายปี ดอกช่อ.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและจูดทุ่งแสลงหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวบาร์เลย์

้าวบาร์เลย์ เป็นธัญพืชชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในตระกูลหญ้า มีประโยชน์มากทั้งแก่มนุษย์และสัตว์ ทั้งยังสามารถแปรรูปทำเป็นแป้งและเบียร์ได้ด้วย เป็นพืชที่สามารถสะสมอะลูมิเนียมได้ 1,000 mg/kgGrauer & Horst 1990,McCutcheon & Schnoor 2003, Phytoremediation. New Jersey, John Wiley & Sons pg 891.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและข้าวบาร์เลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวฟ่าง

้าวฟ่าง, ข้าวฟ่างหางช้าง หรือ ข้าวฟ่างสมุทรโคดม เป็นพืชปลูกในสกุลข้าวฟ่างและมีชื่อสามัญว่า sorghum เป็นพืชในวงศ์หญ้า อายุปีเดียว ต้นเดี่ยวหรือแตกกอที่โคน มีรากพิเศษเป็นรากฝอย ต้นตั้ง แห้งหรือฉ่ำน้ำ จืดหรือหวาน ส่วนกลางลำต้นมีลักษณะคล้ายฟองน้ำ มีช่วงว่างในส่วนพิธ ใบเรียงสลับ กาบล้อมลำต้นโดยส่วนของกาบซ้อนเหลื่อมกัน มีไขนวลปกคลุม ลิ้นใบสั้น มีขนปกคลุมตามขอบด้านบน มีปากใบทั้งสองด้าน ดอกช่อ ผลแบบธัญพืชกลมหรือปลายมน แหลม ใช้เป็นอาหารทั้งมนุษย์และสัตว์ และใช้เป็นพืชเชื้อเพลิง ข้าวฟ่างหวานเป็นสายพันธุ์ที่ใช้ปลูกเพื่อผลิตน้ำตาลและเอทานอล ต้นสูงกว่าพันธุ์กินเมล็.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและข้าวฟ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวฟ่างสามง่าม

ทุ่งปลูกข้าวฟ่างสามง่ามในเนปาล ข้าวฟ่างสามง่าม เป็นพืชในวงศ์หญ้า เป็นหญ้ากอขนาดใหญ่ ลำต้นตั้งตรงแบบข้าว ผิวลำต้นเกลี้ยง เขียวอ่อนเป็นมัน มีใบมาก กาบใบแบน ผิวเกลี้ยง มีขนเล็กน้อยตามขอบใบ ลิ้นใบสั้นเป็นชายครุย ใบมักโค้งลง มีขนสาก ดอกช่อเป็นกระจุกที่ปลาย ผลแบบกระเปาะ มีหลายสี ข้าวฟ่างสามง่ามเป็นพืชที่มีความหลากหลายและแบ่งเป็นพันธุ์จำนวนมาก พืชชนิดนี้สามารถผสมข้ามพันธุ์กับ Eleusine africana ได้และมีลักษณะทางพันธุกรรมใกล้เคียงกัน ลูกผสมที่ได้ไม่เป็นหมัน จึงรวมเป็นสปีชีส์เดียวกัน และแบ่งเป็นสปีชีส์ย่อยคือ subsp.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและข้าวฟ่างสามง่าม · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวฟ่างหางหมา

มล็ดข้าวฟ่างหางหมา ข้าวฟ่างหางหมาในญี่ปุ่น ข้าวฟ่างหางหมา (Foxtail millet) เป็นพืชในวงศ์หญ้า เป็นหญ้าปีเดียว ขึ้นเป็นกอมีสีเหลืองม่วง กาบใบรูปหลอด ด้านบนเปิดออก ผิวเกลี้ยงหรือมีขนปกคลุมเล็กน้อย ลิ้นใบสั้นเป็นชายครุย เห็นแกนใบชัดเจน ดอกช่อ เมล็ดรูปไข่ มีกาบบนและล่างหุ้มแน่น มีหลายสีตั้งแต่เหลืองอ่อน ส้ม แดง น้ำตาล ดำ มีความแตกต่างระหว่างสายพันธุ์อยู่มาก โดยแบ่งเป็นกลุ่มย่อยที่สำคัญ 3 กลุ่ม คือ.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและข้าวฟ่างหางหมา · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวสาลี

้าวสาลี (Triticum spp.) Belderok, Bob & Hans Mesdag & Dingena A. Donner.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและข้าวสาลี · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวทริทิเคลี

้าวทริทิเคลี (triticale) เป็นธัญพืชชนิดหนึ่ง ซึ่งเกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างข้าวสาลี (Triticum) กับ ข้าวไรย์ (Secale) โดยมีถิ่นกำเนิดมาจากประเทศสกอตแลนด์และประเทศสวีเดน การใช้ชื่อ ทริทิเคลี เกิดจากการผสมคำของภาษาละตินระหว่างคำว่า Triticum (ข้าวสาลี) กับคำว่าSecale (ข้าวไรย์) ซึ่งมีที่มาจากการใช้เกสรตัวผู้ของข้าวสาลีผสมพันธุ์กันกับเกสรตัวเมียของข้าวไรย์ ดังนั้นจึงเลือกที่จะใช้สองพยางค์แรกของคำว่าTriticum มานำหน้าพยางค์สุดท้ายของคำ Secale การเปรียบเทียบลักษณะของข้าวสาลี (ซ้าย),ข้าวทริทิเคลี (กลาง),ข้าวไรย์ (ขวา).

ใหม่!!: อันดับหญ้าและข้าวทริทิเคลี · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวนก

้าวนก เป็นพืชในสกุลข้าว ลำต้นตั้งตรง กาบใบคล้ายทรงกระบอก กาบแน่นมักมีติ่งใบ ลิ้นใบรูปรอยต่อ รูป ผิวในส่วนข้อเกลี้ยง ใบรูปใบหอก ดอกช่อแบบแยกแขนง เมล็ดสีน้ำตาล จัดเป็นข้าวพันธุ์ป่าชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญในการนำมาใช้เป็นแหล่งพันธุกรรมสำหรับปรับปรุงพันธุ์ข้าว ใช้เป็นอาหารในยามขาดแคลน ใช้ผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือในงานพิธีทางศาสนาต่างๆ องค์ประกอบทางเคมีของเมล็ดใกล้เคียงกับข้าว.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและข้าวนก · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวโพด

ลักษณะของข้าวโพด ''Zea mays "fraise"'' ''Zea mays "Oaxacan Green"'' ''Zea mays "Ottofile giallo Tortonese”'' ข้าวโพด (Linn.) ชื่ออื่นๆ ข้าวสาลี สาลี (เหนือ) คง (กระบี่) โพด (ใต้) บือเคเส่ะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) เป็นพืชตระกูลเดียวกับหญ้ามีลำต้นสูง โดยเฉลี่ย 2.2 เมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของลำต้น 0.5-2.0 นิ้ว เมล็ดจากฝักใช้เป็นอาหารคนและสัตว.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและข้าวโพด · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวโอ๊ต

้าวโอ๊ต เป็นธัญพืชชนิดหนึ่ง ใช้เป็นอาหารของมนุษย์และสัตว.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและข้าวโอ๊ต · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวไรย์

ข้าวไรย์ (rye) เป็นพืชชนิดหนึ่งในตระกูลข้าวสาลี ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกันกับข้าวสาลีและข้าวบาร์เลย์มาก เมล็ดของมันเป็นธัญพืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง อีกทั้งมีประโยชน์มากสำหรับมนุษย์และสัตว์ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปแปรรูปทำเป็นแป้ง ขนมปัง วิสกี้และเบียร์ได้อีกด้วย หมวดหมู่:ธัญพืช หมวดหมู่:หญ้า หมวดหมู่:อาหารหลัก ar:شيلم.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและข้าวไรย์ · ดูเพิ่มเติม »

ตะไคร้

ตะไคร้; ชื่อท้องถิ่น: จะไคร (ภาคเหนือ), หัวซิงไค (ภาคอีสาน), ไคร (ภาคใต้), คาหอม (แม่ฮ่องสอน), เชิดเกรย, เหลอะเกรย (เขมร-สุรินทร์), ห่อวอตะโป่ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)) เป็นพืชล้มลุก ความสูงประมาณ 4-6 ฟุต ใบยาวเรียว ปลายใบมีขนหนาม ลำต้นรวมกันเป็นกอ มีกลิ่นหอม ดอกออกเป็นช่อยาวมีดอกเล็กฝอยเป็นจำนวนมาก ตะไคร้เป็นพืชที่สามารถนำส่วนต้นหัวไปประกอบอาหาร และจัดเป็นพืชสมุนไพรด้ว.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและตะไคร้ · ดูเพิ่มเติม »

ตะไคร้หอม

ตะไคร้หอม เป็นพืชวงศ์หญ้าอายุหลายปี มีต้นกำเนิดในเขตร้อนของเอเชีย มีน้ำมันหอมระเหยซึ่งใช้ไล่ยุงได้ ไม่นิยมรับประทานมีฤทธิ์ทางอัลลีโลพาทีโดยสารสกัดด้วยเอทานอลจากลำต้นสามารถยับยั้งการเจริญของคะน้าได้ และนอกจากนี้ ผู้ที่นำเข้าตะไคร้หอมเข้ามาในประเทศไทย คือคุณหลวงมิตรธรรมพิทักษ์โดยนำเข้ามาจาก อินเดียและนำไปปลูกที่ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรีเป็นที่แรก ปัจจุบันมีการนำไปปลูกทั่วประเท.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและตะไคร้หอม · ดูเพิ่มเติม »

ตาน

ตานเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: อันดับหญ้าและตาน · ดูเพิ่มเติม »

ต้นอ้อ

ต้นอ้อ เป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ดีในพื้นดินที่ชื้น เติบโตได้ทั้งในน้ำจืดและน้ำกร่อย เป็นหนึ่งในสายพันธุ์ของกก อ้อเป็นพันธุ์พื้นเมืองในแถบบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน,เอเชียตะวันออกกลาง รวมถึงบางส่วนในแอฟริกาและทางตอนใต้ของเพนนิซูลา เป็นที่นิยมเพาะปลูกมากในแถบเมดิเตอร์เรเนียน แคลิฟอร์เนีย ทางตะวันตกของแปซิฟิกและแถบแคริบเบียน.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและต้นอ้อ · ดูเพิ่มเติม »

ซีริส แอนดินา

ซีริส แอนดินา เป็นพืชในวงศ์ Xyridaceae เป็นพืชประจำท้องถิ่นที่พบเฉพาะประเทศเอกวาดอร์ โดยจะพบพืชชนิดนี้ได้ตามธรรมชาติในป่าที่มีลักษณะร้อนชื้น หมวดหมู่:วงศ์กระถินทุ่ง.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและซีริส แอนดินา · ดูเพิ่มเติม »

แห้วหมู

ก้านช่อดอกตัดตามขวาง หัวของแห้วหมูซึ่งยาวประมาณ 20 มิลลิเมตร แห้วหมู หรือหญ้าแห้วหมู หรือ หญ้าขนหมู เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวในวงศ์กก เป็นพืชจำพวกไม้ล้มลุก ลำต้นอยู่ใต้ดิน มีลักษณะเป็นหัวกลม สั้น มีตาจำนวนมาก และสามารถแทงไหลไปได้ไกลแล้วเกิดหัวใหม่เจริญขึ้นต้นเหนือดิน ใบของแห้วหมูเกิดที่ลำต้น ชิดแน่นโดยเป็นกาบใบหุ้มซ้อนม้วนทับกัน ชูขึ้นเหมือนลำต้นแล้วแผ่เป็นแผ่นใบแบนรูปแถบยาว ปลายแหลม กลางใบเป็นสันร่อง ผิวใบเรียบสีเขียวเข้ม กว้างประมาณ 0.5 เซนติเมตร ยาว 25 เซนติเมตร ดอกของแห้วหมูเกิดที่ปลายยอด ก้านช่อดอกเป็นรูปเหลี่ยมสีเขียวเข้มแทงขึ้นสูง ยาวประมาณ 30 เซนติเมตร แล้วแตกเป็นช่อย่อยอีกหลายช่อ ดอกย่อยสีน้ำตาลจำนวนมาก ผลรูปขอบขนาน ปลายแหลมสีน้ำตาลหรือดำ ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหรือหัวใต้ดิน.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและแห้วหมู · ดูเพิ่มเติม »

แห้วทรงกระเทียม

แห้วจีน หรือ แห้วทรงกระเทียม (Ground chesnut) เป็นพืชวงศ์กกและเป็นพืชหลายฤดู เป็นพืชกึ่งพืชน้ำ มีเหง้าใต้ดิน เหง้าสั้นมีไหลยาว หัวกลมแบนเกิดในส่วนปลายไหล สีน้ำตาลหรือสีดำ ขึ้นเป็นกอ ลำต้นแข็งแรง ลำต้นตรง กลม ใบย่อส่วนเหลือเพียงโคนกาบหุ้มไม่มีแผ่นใบ สีน้ำตาลแดงหรือสีม่วง ยาว 15-20 เซนติเมตร ช่อดอกเดี่ยวเป็นช่อเชิงลด ดอกช่อยาว 1.5 -3.0 เซนติเมตร ดอกย่อยเป็นแบบ spike ยาว 2-5 เซนติเมตร มีริ้วประดับเป็นเยื่อบางๆ กลีบดอกคล้ายเส้นด้ายสีขาวหรือสีน้ำตาล ผลเป็นผลแห้งเมล็ดล่อน สีเหลืองมันจนถึงสีน้ำตาล ขยายพันธุ์ด้วยไหล หน่อ และเมล็ด ชอบที่ชื้นแฉะ พบในพื้นที่ลุ่มที่รกร้าง หนองน้ำและนาข้าว กระจายพันธุ์ทั่วประเทศไทย กระจายพันธุ์ในเขตร้อนของโลกเก่า ตั้งแต่แอฟริกาตะวันตก มาดากัสการ์ อินเดีย จีน ญี่ปุ่น เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลียและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก มีทั้งพันธุ์ป่าและพันธุ์ปลูก โดยพันธุ์ป่าหัวขนาดเล็ก ค่อนข้างดำ พันธุ์ปลูกหัวใหญ่สีออกม่วงหรือน้ำตาล แห้วใช้ปรุงอาหารได้หลายอย่าง ทั้งในจีน อินโดจีน ไทย และประเทศอื่นๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นำมารับประทานเป็นของหวาน หัวขนาดใหญ่นิยมรับประทานสด หัวขนาดเล็กใช้ผลิตแป้ง ในฟิลิปปินส์ใช้ทำข้าวเกรียบ ลำต้นใช้สานเสื่อหรือเป็นอาหารสัตว.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและแห้วทรงกระเทียม · ดูเพิ่มเติม »

แห้วไทย

แห้วไทย เป็นพืชอายุยืน เหง้าเรียว มีเกล็ดสีซีดห่อหุ้ม เหง้าจะฝ่อหลังจากเกิดหัว หัวรูปไข่หรือกลม หัวแก่มีขนสีเทาปกคลุม ลำต้นเรียวเล็ก แข็ง ช่อดอกคล้ายซี่ร่ม มีริ้วประดับเป็นวงรองรับช่อดอก การกระจายพันธุ์พบตั้งแต่แถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตอนใต้ของแอฟริกา อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลีย หัวนำมาต้มสุกหรือคั่ว และบดละเอียดเป็นแป้ง ใช้ทำไอศกรีม ขนมปังหรือโจ๊ก ในสเปนใช้ทำเครื่องดื่มที่เรียกออร์ชาตา ทำจากน้ำคั้นจากหัวสด ลำต้นแห้งใช้สานเสื่อ งานจักสานต่าง ๆ ส่วนบนดินใช้เป็นอาหารสัตว์ หัวมีแป้ง 2030 ของน้ำหนักแห้ง มีน้ำมันที่ประกอบด้วยกรดไขมันไม่อิ่มตัว เช่น กรดโอเลอิก.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและแห้วไทย · ดูเพิ่มเติม »

แขม

แขม (Tall reed, Khagra reed) เป็นวัชพืชน้ำ จำพวกหญ้า (Poaceae) มีอายุยืนหลายฤดู ชอบขึ้นเป็นกลุ่มใหญ่หนาแน่นตามพื้นที่ชื้นแฉะริมน้ำ มีเหง้าใหญ่แข็งแรง ลำต้นตั้งตรง สูง 2–3 เมตร แผ่นใบหยาบกระด้าง ใบยาวเรียวปลายแหลม ยาว 30–80 เซนติเมตร กว้าง 1–3 เซนติเมตร กาบใบที่หุ้มลำต้นไม่มีขนคลุม ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด ช่อดอกมีขนาดใหญ่ ยาวประมาณ 50 เซนติเมตร สีน้ำตาล มีขนคล้ายไหมสีขาวอยู่ทั่วไป กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยมีหลายสถานที่ที่ถูกตั้งชื่อตามชื่อของแขม เช่น เขตหนองแขม เป็นต้น.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและแขม · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่

ผ่ เป็นไม้พุ่มหลายชนิดและหลายสกุลใน วงศ์หญ้า (วงศ์ Poaceae; เดิมคือวงศ์ Gramineae) วงศ์ย่อย Bambusoideae เป็นไม้ไม่ผลัดใบใน ขึ้นเป็นกอ ลำต้นเป็นปล้องๆ เช่น ไผ่จีน (Arundinaria suberecta Munro) ไผ่ป่า (Bambusa arundinacea Willd.) ไผ่สีสุก (B. flexuosa Munro และ B. blumeana Schult.) ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata Munro) ไผ่ดำ (Phyllostachys nigra Munro) ผลผลิตจากไผ่ที่สำคัญคือ หน่อไม้ ซึ่งเป็นอาหารสำคัญของคนไทย นิยมทานกันมากในเกือบทุกภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะภาคเหนือและอีสาน นอกจากนี้ไม้ไผ่ยังมีคุณสมบัติพิเศษทั้งด้านความแข็งแรงและยืดหยุ่นที่เหนือกว่าวัสดุสังเคราะห์หลายชนิด ดังนั้นจึงยังได้รับความนิยมในการทำเครื่องมือเครื่องใช้หลายประเภท ใช้ชะลอน้ำที่เข้าป่าชายเลน นั่งร้านก่อสร้างและบันได เป็นต้น.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่รวก

ผ่รวก เป็นไผ่ขนาดค่อนข้างเล็ก เหง้ารวมเป็นกอแน่น กาบหุ้มลำต้นรัดแน่น ไม่หลุดจนแก่ ยอดกาบเรียงสอบไปหาปลาย ไม่มีติ่งปลายกาบ ใบเดี่ยวเรียงสลับ 2 แถว ทนแล้งได้ดี กระจายพันธุ์ทั่วทุกภาคของประเทศไทย นิยมปลูกกันลมหรือปลูกเป็นรั้ว พบครั้งแรกในประเทศไทย ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติให้แก่ประเทศไทย กระจายพันธุ์ใน ยูนนาน พม่า ลาว ไทย เวียดนาม ศรีลังกา บังกลาเทศ มาเลเซี.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและไผ่รวก · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่สีสุก

ผ่สีสุก เป็นพืชในวงศ์หญ้า (Poaceae) กระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นไผ่ลำต้นสูง 10-18 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 8-12 ซม.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและไผ่สีสุก · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่หก

ผ่หก เป็นไผ่ชนิดหนึ่งในสกุล Dendrocalamus เส้นผ่านศูนย์กลางยาว 12–15 เซนติเมตร และสูงได้ถึง 15–18 เมตร พบในเอเชียใต้ จีน อินเดีย ภูฏาน เนปาล ปากีสถาน ภาษากะเหรี่ยงเรียก หว่าซึ มีเหง้าใต้ดิน ลำต้นเหนือดินตั้งตรงเป็นกอ ลำต้นอ่อนมีขนสีขาว กาบหุ้มลำต้นเกลี้ยงหรือมีขนสีน้ำตาล ใบเดี่ยว ขอบใบสากมือและคม ผิวใบมีขน ก้านใบสั้น กาบใบเป็นสัน โคนพองและหยัก กระจังใบยาวเป็นเคียว มีขนสีม่วง ดอกช่อ ออกตามปลายยอด ในไทย หน่ออ่อนนำมาทำอาหารหน่อรับประทานได้ มีรสขมเล็กน้อย เนื้อไม้ใช้ทำเครื่องจักสาน.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและไผ่หก · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่ตง

ผ่ตง เป็นไผ่สกุลหนึ่งในวงศ์หญ้า (Poaceae) ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกว่า "δένδρον" (déndron) แปลว่า "ต้นไม้" และ "κάλαμος" แปลว่า "พืชจำพวกกกหรืออ้อย" รวมหมายถึง "อ้อยที่เป็นกอคล้ายต้นไม้" จึงสื่อถึงลักษณะของไผ่สกุลนี้ที่มีขนาดใหญ่และนิยมปลูกเพื่อการบริโภคหน่อ ไผ่สกุลนี้มีประมาณ 50 ชนิด ในจำนวนนี้พบในไทย 4 ชนิด กระจายพันธุ์ในเขตร้อนและกึ่งร้อนของทวีปเอเชีย โดยเฉพาะในเขตอินเดีย จีน อินโดนีเซีย พม่า ไทย มาเลเซีย และฟิลิปปิน.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและไผ่ตง · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่ซาง

ผ่ซาง เป็นไผ่ขนาดกลาง มีเหง้าใต้ดิน ลำต้นเหนือดินขึ้นเป็นกอแต่ไม่แน่นมาก โคนของลำต้นแตกกิ่ง กิ่งตรงกลางใหย่กว่ากิ่งอื่นและตั้งฉากกับลำต้น กิ่งอ่อนสีเขียวนวล กิ่งแก่สีเขียวอมเหลือง บริเวณข้อพองออกเล็กน้อย ใบห้อยลง ดอกออกเป็นกระจุกกลม แก่จะมีหนามแหลมคม ชาวขมุและชาวลัวะใช้หน่ออ่อนใส่แกงหรือจิ้มน้ำพริก ใช้ไม่ไผ่สร้างบ้านเรือน เครื่องจักสาน.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและไผ่ซาง · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่เฮียะ

ผ่เฮียะ เป็นไผ่ชนิดหนึ่งในสกุล Cephalostachyum พบในแถบประเทศอินเดียจนถึงภูมิภาคอินโดจีน.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและไผ่เฮียะ · ดูเพิ่มเติม »

เลา

ลา เป็นพืชในวงศ์หญ้า (Poaceae) สกุลอ้อย (Saccharum) มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้ เป็นหญ้าอายุหลายปี ลำต้นกลวง แข็งตั้งขึ้นสูง 1-2 เมตร บริเวณข้อมีตาราก 2 แถว กาบใบผิวเกลี้ยง มีขนที่ขอบใบ รูปขอบขนานแคบ กว้าง 0.5-1.58 ซม.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและเลา · ดูเพิ่มเติม »

เคราฤษี

มุมใกล้ของเคราฤษี เคราฤษี หรือ มอสสเปน (Spanish moss) เป็นพืชในวงศ์สับปะรดที่ไม่มีราก ต้นห้อยย้อยลงมาจากคาคบไม้เป็นสายยาว พบน้อยที่มีรากเส้นเล็ก ๆ งอกออกมา ดอกกลิ่นหอมอ่อน ๆ ดูดน้ำโดยทางใบสีเทาเงิน เนื่องจากมีไตรโคมสีเงินบนใบ ช่วยให้ดูดน้ำจากอากาศที่ชุ่มชื้นได้ดี จะมีเฉพาะรากแรกเกิดที่ยึดเกาะกับวัสดุที่อาศัย จากนั้นจะไม่แตกรากอีก มีการนำเคราฤษีมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย เช่น เป็นวัสดุปลูกในงานแต่งสวน ใช้ยัดเบาะนั่งในรถมาตั้งแต..

ใหม่!!: อันดับหญ้าและเคราฤษี · ดูเพิ่มเติม »

Eremochloa

Eremochloa คือพืชสกุลหนึ่งในวงศ์หญ้า (Poaceae) พบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และออสเตรเลี.

ใหม่!!: อันดับหญ้าและEremochloa · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Poales

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »