โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อักษรอาหรับ

ดัชนี อักษรอาหรับ

อักษรอาหรับ เป็นอักษรที่มีความสำคัญในศาสนาอิสลาม เพราะคัมภีร์อัลกุรอานเขียนด้วยอักษรนี้ อักษรนี้จึงมีใช้แพร่หลายในกลุ่มผู้นับถือศาสนาอิสลาม แม้แต่ภาษานอกกลุ่มเซมิติก เช่น ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอูรดู และภาษามลายูปัตตานี ตัวอักษรมีหลายแบบแต่รูปร่างของอักษรเหมือนกัน.

189 ความสัมพันธ์: Aชาวอุซเบกบาอ์ชีนพม่าเชื้อสายมลายูพาราไดซ์ นาว อุดมการณ์ปลิดโลกฎ๊อดกลุ่มภาษามองโกลกลุ่มภาษาอิหร่านกลุ่มภาษาทิเบตกลุ่มภาษาเซมิติกกิเมลภาษาบราฮุยภาษาชวาภาษาชะกะไตภาษาบัลติภาษาบาลูจิภาษาชูวัชภาษาพัชโตภาษาการากัลปักภาษากุมซารีภาษากงกณีภาษามลายูภาษามลายูบรูไนภาษามองโกเลียภาษามาลายาลัมภาษามาซันดารานีภาษามาเลเซียภาษายักโนบีภาษาลักภาษาวาคีภาษาสินธีภาษาสิไรกิภาษาอะดีเกยาภาษาอัฟซาร์ภาษาอาหรับภาษาอาหรับบาห์เรนภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ภาษาอาหรับมาโรไนต์ภาษาอาหรับอิรักภาษาอาหรับอ่าวภาษาอาหรับฮิญาซีภาษาอาหรับจอร์แดนภาษาอาหรับคูเซสถานภาษาอาหรับปาเลสไตน์ภาษาอาหรับนัจญ์ดีภาษาอาหรับโอมานภาษาอาหรับโดฟารีภาษาอาหรับเมโสโปเตเมียเหนือภาษาอาหรับเยเมน...ภาษาอาหรับเลบานอนภาษาอาหรับเลอวานต์ภาษาอาเซอร์ไบจานภาษาอุยกูร์ภาษาอุซเบกภาษาอูรดูภาษาฮินดูสตานีภาษาฮินดีภาษาฮีบรูภาษาจามภาษาจิตตะกองภาษาทัวเร็กภาษาทาจิกภาษาขาริโพลีภาษาดารีภาษาดุงกานภาษาควาซไควภาษาควาเรซม์ภาษาคาซัคภาษาคาซาร์ภาษาคีร์กีซภาษาตาตาร์ภาษาตุรกีภาษาตุรกีออตโตมันภาษาตงเซียงภาษาซาริโกลีภาษาซุกนีภาษาแบชเคียร์ภาษาแคชเมียร์ภาษาโภชปุรีภาษาโรฮีนจาภาษาโดกรีภาษาโควาร์ภาษาโนไกภาษาเคิร์ดภาษาเคิร์ดตอนกลางภาษาเคิร์ดใต้ภาษาเตอร์กิกเก่าภาษาเติร์กเมนภาษาเปอร์เซียยูนิโคดย้อดรายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรรายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามทิศทางการเขียนรายชื่อธงในประเทศอัฟกานิสถานรายชื่อธงในประเทศอุซเบกิสถานลาเมดวาฟวิกิพีเดียภาษาคาซัคษาลษาอ์สระ (สัทศาสตร์)สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบสโมสรกีฬาอัลอะฮ์ลีอักษรชวาอักษรบูรีโวลิโออักษรฟินิเชียอักษรมองโกเลียอักษรมาลายาลัมอักษรยาญาอิมลาอักษรยาวีอักษรรูมีอักษรลัณฑาอักษรวาดาอัดอักษรสำหรับภาษาฟูลาอักษรสิเลฏินาครีอักษรอยามีอักษรอาร์วีอักษรอาหรับ/ผังยูนิโคดอักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมันอักษรอาหรับสำหรับภาษาแอฟริคานส์อักษรอิสเกอิมลาอักษรอุยกูร์อักษรอูรดูอักษรอเวสตะอักษรฮีบรูอักษรจามอักษรทานะอักษรทิฟินาคอักษรตระกูลเซมิติกอักษรตัวใหญ่อักษรซีริลลิกอักษรซีรีแอกอักษรนาบาทาเอียนอักษรนดยุกาอักษรโวลอฟอักษรโซมาลีอักษรโซราเบอักษรเบยทากุกจูอักษรเบรลล์ภาษาอาหรับอักษรเสี่ยวเอ้อร์อักษรเอลบ์ซานอักษรเปโกนอัลคามีอาอัลซะลามอัลมะละกีอัลอูร์โดนีอายินอาหรับ (แก้ความกำกวม)อาณาจักรปัตตานีอาเรบีตซาอาเลฟอุรุมชีฮัมซะฮ์ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบกธงชาติอัฟกานิสถานธงชาติอิหร่านธงขาวทาฟขาลิสถานดาเลทคอฟคออ์คาฟฆอยน์ตัวไม่เชื่อมความกว้างศูนย์ตัวเชื่อมความกว้างศูนย์ตัวเลขอับญัดตัวเขียนซอรูเด ชาฮันชาฮี อีรานซออ์ซัดดัม ฮุสเซนซายินซาดีซาเมกประวัติศาสตร์อักษรปลาสินสมุทรหางเส้นนูนไทยเชื้อสายมลายูเพ (ตัวอักษร)เพลงชาติสาธารณรัฐอิสลามอิหร่านเม็มเรชเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้องเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้องเอ ริกิพเฮ (ตัวอักษร)เฮทเททเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์Ch (ทวิอักษร) ขยายดัชนี (139 มากกว่า) »

A

A (ตัวใหญ่: A, ตัวเล็ก: a) คืออักษรและสระตัวแรกในอักษรละติน มีชื่อในภาษาอังกฤษว่า เอ ในขณะที่หลายภาษาเช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี เรียกตามชื่อเดิมของอักษรนี้คือ อา รูปพหูพจน์เขียนเป็น A's, As, as, หรือ a's อักษร A มีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคอียิปต์โบราณโดยมีหลักฐานในอักษรภาพไฮโรกลิฟฟิก และมีการหยิบยืมไปใช้โดยวัฒนธรรมอื่นจนกระทั่งปัจจุบัน โดยยังคงไว้ซึ่งจุดเด่นนั่นคือ A เป็นตัวอักษรแรกของชุดตัวอักษรในภาษาเสมอ ใช้แทนเสียงสระ อา เอ หรือ แอ ที่ประกอบกับเสียงพยัญชนะ หรือใช้แทนเสียงสระอย่างเดียวก็ได้ นอกจากนั้นอักษร A ก็มีการเติมเครื่องหมายและถูกดัดแปลงไปหลายรูปแบบเพื่อการนำไปใช้เป็นอักขรวิธีในภาษาหนึ่ง.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและA · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอุซเบก

วอุซเบก (Uzbeks) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดของกลุ่มชนเตอร์กิกในเอเชียกลาง ประชาชนกลุ่มนี้ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศอุซเบกิสถาน แต่ก็ยังพบได้เป็นประชากรส่วนน้อยของประเทศอัฟกานิสถาน ทาจิกิสถาน คีร์กิซสถาน คาซัคสถาน เติร์กเมนิสถาน รัสเซีย และจีน นอกจากนี้ผู้อพยพผลัดถิ่นชาวอุซเบกอาศัยอยู่ในประเทศตุรกี ซาอุดีอาระเบีย และปากีสถาน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและชาวอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

บาอ์

บาอ์ (ب) เป็นอักษรตัวที่ 2 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู בอักษรซีเรียค ܒ อักษรอาหรับ (ب) ใช้แทนเสียงที่เกิดจาก ริมฝีปาก ก้อง ไม่มีลม (สัทศาสตร์สากล: หรือ /บ/) ตรงกับอักษรละติน “B” ในคำทับศัพท์จะแทนด้วย บ หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและบาอ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชีน

ชีน (Shin) เป็นอักษรตัวที่ 21 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ש‎ และอักษรอาหรับ ﺵ‎ ใช้แทนเสียงไม่ก้อง ออกตามไรฟัน หรือ อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Σ อักษรละติน S และอักษรซีริลลิก С และ Ш และอาจไปเป็นอักษร Sha ในอักษรกลาโกลิติก มาจากอักษรคานาอันไนต์ที่มาจากไฮโรกลิฟรูปพระอาทิตย์ ซึ่งใช้แทนเสียง หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและชีน · ดูเพิ่มเติม »

พม่าเชื้อสายมลายู

วพม่าเชื้อสายมลายู หรือ ปะซู กลุ่มชาติพันธุ์ที่สำคัญกลุ่มหนึ่งที่กระจายตัวลงมาตั้งแต่ตอนบนจนถึงตอนล่างของหมู่เกาะมะริดในเขตแดนของเขตตะนาวศรีทางตอนใต้ของประเทศพม.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและพม่าเชื้อสายมลายู · ดูเพิ่มเติม »

พาราไดซ์ นาว อุดมการณ์ปลิดโลก

อุดมการณ์ปลิดโลก (อาหรับ:الجنّة الآن) ภาพยนตร์เรื่องนี้เริ่มออกฉายในปี ค.ศ. 2005 กำกับโดย Hany Abu-Assad.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและพาราไดซ์ นาว อุดมการณ์ปลิดโลก · ดูเพิ่มเติม »

ฎ๊อด

ฎ๊อด (ﺽ‎) เป็นอักษร 1 ใน 6 ตัว ของอักษรอาหรับที่เพิ่มจากอักษร 22 ตัวของอักษรฟินิเชีย ใช้แทนเสียงก้อง เน้น เกิดจากปุ่มเหงือก (emphatic voiced alveolar plosive; สัทอักษรสากล) เป็นเสียงที่เป็นเอกลักษณ์ของภาษาอาหรับ หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและฎ๊อด · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษามองโกล

กลุ่มภาษามองโกล (Mongolic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่ใช้พูดในเอเชียกลาง มีสมาชิก 13 ภาษา นักภาษาศาสตร์บางกลุ่มรวมกลุ่มภาษามองโกลเข้ากับกลุ่มภาษาตังกูสิต กลุ่มภาษาเตอร์กิก เป็นตระกูลภาษาอัลไตอิก แต่ยังไม่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป ภาษาในกลุ่มนี้ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือภาษามองโกเลีย ซึ่งเป็นภาษาแม่ของชาวมองโกล มีผู้พูด 5.7 ล้านคนในมองโกเลีย รัสเซียและจีน ภาษานิกูดารี ซึ่งเป็นภาษากลุ่มมองโกลที่จัดจำแนกไม่ได้ ยังคงมีผู้พูดราว 100 คนในเฮรัต อัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและกลุ่มภาษามองโกล · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอิหร่าน

การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ของผุ้พูดกลุ่มภาษาอิหร่าน กลุ่มภาษาอิหร่านเป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านที่อยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาอเวสตะถือเป็นภาษาที่เก่าที่สุดของกลุ่มนี้ที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 150 - 200 ล้านคน ภาษาที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาเปอร์เซีย (ประมาณ 70 ล้านคน) ภาษาพาซตู (ประมาณ 40 ล้านคน) ภาษาเคิร์ด (35 ล้านคน) และภาษาบาโลชิ (ประมาณ 7 ล้านคน).

ใหม่!!: อักษรอาหรับและกลุ่มภาษาอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาทิเบต

กลุ่มภาษาทิเบต (Tibetan languages) เป็นกลุ่มย่อยของภาษาที่ไม่สามารถเข้าใจกันได้ ของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ที่พูดโดยชาวทิเบตที่อยู่ในบริเวณเอเชียกลางติดต่อกับเอเชียใต้ ได้แก่ ที่ราบสูงทิเบต ภาคเหนือของอินเดียในบัลติสถาน ลาดัก เนปาล สิกขิม และภูฏาน ส่วนใหญ่ใช้ในการเขียนงานทางศาสนาโดยเฉพาะศาสนาพุทธ ด้วยเหตุผลทางการเมือง สำเนียงของภาษาทิเบตกลาง (รวมทั้งลาซา) คาม และอัมโดในจีน ถือเป็นภาษาทิเบตเพียงภาษาเดียว ในขณะที่ภาษาซองคา ภาษาสิกขิม ภาษาเศรปาและภาษาลาดัก ถือเป็นภาษาเอกเทศต่างหาก แม้ว่าผู้พูดภาษาดังกล่าวจะถือตนว่าเป็นชาวทิเบตด้วย ในทางภาษาศาสตร์ ภาษาซองคาและภาษาเศรปามีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสำเนียงลาซามากกว่าสำเนียงคามและอัมโด มีผู้พูดกลุ่มภาษาทิเบตทั้งหมดราว 6 ล้านคน ภาษาทิเบตสำเนียงลาซามีผู้พูดประมาณ 150,000 คนที่เป็นผู้ลี้ภัยในอินเดียและประเทศอื่นๆ ภาษาทิเบตใช้พูดโดยชนกลุ่มน้อยในทิเบตที่อยู่ใกล้เคียงกับชาวทิเบตมากว่าศตวรรษ แต่ไม่สามารถรักษาภาษาและวัฒนธรรมของตนไว้ได้ ชาวเกวียงในคามนั้น รัฐบาลจีจัดให้เป็นชาวทิเบต แต่ภาษาเกวียงอิกไม่ใช่กลุ่มภาษาทิเบต แม้จะอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ภาษาทิเบตคลาสสิกไม่ใช่ภาษาที่มีวรรรยุกต์ แต่บางสำเนียง เช่น ทิเบตกลางและคาม ได้พัฒนาเสียงวรรณยุกต์ขึ้น ส่วนสำเนียงอัมโดและลาดัก และภาษาบัลติไม่มีวรรณยุกต์ ลักษณะของภาษาทิเบตในปัจจุบันเป็นแบบรูปคำติดต่อแม้ว่าจะไม่พบลักษณะนี้ในภาษาทิเบตคลาสสิก.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและกลุ่มภาษาทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติก

หมายของอมาร์นา เขียนด้วย ภาษาอัคคาเดีย กลุ่มภาษาเซมิติก (Semitic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่มีผู้พูดมากกว่า 300 ล้านคนในปริเวณแอฟริกาเหนือ ตะวันออกกลางและจะงอยของแอฟริกา เป็นสาขาย่อยในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก และเป็นสาขาเดียวของตระกูลนี้ที่มีผู้พูดในทวีปเอเชีย กลุ่มภาษาเซมิติกที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาอาหรับ (ภาษาแม่ 325 ล้านคน) รองลงมาคือภาษาอัมฮารา (27 ล้านคน) ภาษาตึกรึญญา (6.9 ล้านคน) และภาษาฮีบรู (5 ล้านคน) กลุ่มภาษาเซมิติกเป็นกลุ่มภาษาแรกๆ ที่มีระบบการเขียน ภาษาอัคคาเดียเริ่มเขียนตั้งแต่ราว 2,000 ปีก่อนพุทธศักราช นอกจากนั้นยังมีอักษรโบราณที่ใช้เขียนกลุ่มภาษาเซมิติกมากมาย เช่น อักษรฟินิเชีย อักษรอาหรับ อักษรแอราเมอิก อักษรซีรีแอก อักษรอาระเบียใต้ และอักษรเอธิโอปิก มีภาษามอลตาเท่านั้นที่เป็นกลุ่มภาษานี้แต่เขียนด้วยอักษรโรมัน ชื่อของกลุ่มภาษานี้มาจาก เซม บุตรชายของโนอาห์ ในไบเบิล.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและกลุ่มภาษาเซมิติก · ดูเพิ่มเติม »

กิเมล

กิเมล (Gimel) เป็นอักษรตัวที่ 3 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ג อักษรอาหรับ (ج; ญีม /d͡ʒ/) และอักษรซีเรียค ܓ ใช้แทนเสียงก้อง เกิดจากเพดานอ่อน ไม่มีลม ชื่ออักษรนี้มาจากภาษาฟินิเชีย หมายถึง “อูฐ” ส่วนรูปอักษรคานาอันไนต์ เป็นรูปคล้ายบูมเมอแรง ในคำทับศัพท์ภาษาอาหรับจะแทนด้วย ญ หรือ จญ์ เมื่อเป็นตัวสะกด หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและกิเมล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบราฮุย

ภาษาบราฮุย (بروہی) เป็นภาษาที่ใช้พูดในบาโลชิสถาน ประเทศปากีสถาน รวมถึงอัฟกานิสถานและอิหร่านโดยชาวบราฮุย มีรายงานว่ามีผู้พูดในปากีสถาน 2 ล้านคน (2541) ในปากีสถานส่วนใหญ่พูดในเขตกาลัตของบาโลชิสถาน เป็นภาษากลุ่มดราวิเดียนที่ได้รับอิทธิพลจากภาษากลุ่มอิหร่านมาก เช่นจากภาษาบาโลชิ เชื่อว่าเป็นส่วนที่เหลืออยู่ของภาษากลุ่มดราวิเดียนที่เคยแพร่กระจายในบริเวณดังกล่าว ก่อนที่ชาวอารยันจะอพยพเข้ามา นักวิชาการบางส่วนเชื่อว่า ชาวบราฮุยเป็นลุกหลานของกลุ่มชนที่เจ้าของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ ขณะที่สมมติฐานอื่นเชื่อว่าภาษานี้เกิดจากการกลมกลืนกันของภาษากลุ่มดราวิเดียนและอินโด-อารยันในยุคก่อนพระเวท บราฮุย บราฮุย บราฮุย.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาบราฮุย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชวา

ษาชวา คือภาษาพูด ของผู้ที่อาศัยอยู่บนตอนกลางและตะวันออกของเกาะชวาในประเทศอินโดนีเซีย เป็นภาษาแม่ของมากกว่า 75,500,000 คน ภาษาชวาอยู่ในภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน จึงสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซียและภาษามลายู ผู้พูดภาษาชวา พูดภาษาอินโดนีเซียด้วย สำหรับวัตถุประสงค์ทางการและธุรกิจ และเพื่อสื่อสารกับชาวอินโดนีเซียอื่น ๆ มีชุมชนผู้พูดภาษาชวาขนาดใหญ่ในประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะรัฐเซอลาโงร์และยะโฮร์ (คีร์ โตโย รัฐมนตรีของเซอลาโงร์ เป็นชนพื้นเมืองของชวา) อย่างไรก็ดี ภาษาชวาไม่สามารถเข้าใจกันกับภาษามลายูได้.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาชวา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชะกะไต

ษาชะกะไต (ภาษาชะกะไต: جغتای; ภาษาตุรกี: Çağatayca; ภาษาอุยกูร์: چاغاتاي Chaghatay; ภาษาอุซเบก: ﭼىﻐﺎتوي Chig'atoy) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ตายแล้ว เคยใช้พูดในเอเชียกลางและบริเวณโคราซาน คำว่า “ชะกะไต” มีความเกี่ยวพันกับเขตของชะกะไตข่านทางตะวันตกของจักรวรรดิมองโกเลียที่อยู่ในความครอบครองของชะกะไตข่าน ลูกชายคนที่สองของเจงกีสข่าน ชาวตุรกีชะกะไตและชาวตาตาร์จำนวนมากที่เคยพูดภาษานี้เป็นลูกหลานที่สืบตระกูลมาจากชะกะไตข่าน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาชะกะไต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบัลติ

ษาบัลติ เป็นภาษาที่ใช้พูดในบัลติสถานทางเหนือของปากีสถานซึ่งเมื่อก่อน..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาบัลติ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาลูจิ

ษาบาลูจิ (Balochi language) เป็นภาษาที่พูดทางตะวันตกเฉียงเหนือในอิหร่าน เป็นภาษาหลักของชาวบาลูจิในบาลูจิสถานซึ่งอยู่ในปากีสถานตะวันตก อิหร่านตะวันออก และอัฟกานิสถานตอนใต้ เป็นภาษาราชการ 1 ใน 9 ภาษาของปากีสถาน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาบาลูจิ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชูวัช

ษาชูวัช (ภาษาชูวัช: Чӑвашла, Čăvašla, สัทอักษร:; อาจสะกดเป็น Chăvash, Chuwash, Chovash, Chavash, Çuvaş หรือ Çuaş) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใช้พูดในบริเวณเทือกเขายูรัลทางตอนกลางของรัสเซีย เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐชูวัชในประเทศรัสเซีย มีผู้พูดราว 2 ล้านคน เขียนด้วยอักษรซีริลลิก ภาษาที่มีอิทธิพลต่อภาษาชูวัชได้แก่ ภาษาตาตาร์ ภาษากลุ่มฟินโน-อูกริก ภาษารัสเซีย ภาษามารี ภาษามองโกเลีย ภาษาอาหรับ และภาษาเปอร์เซีย แต่โบราณ ภาษาชูวัชเขียนด้วยอักษรออร์คอน เปลี่ยนเป็นอักษรอาหรับเมื่อเข้ารับอิสลาม เมื่อถูกยึดครองโดยมองโกเลีย ระบบการเขียนได้หายไป อักษรแบบใหม่ถูกประดิษฐ์ขึ้นโดย อีวาน ยาคอฟเลวิช ยาคอฟเลฟ ใน..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาชูวัช · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพัชโต

ษาพัชโต (Pashto, Pashtoe, Pushto, Pukhto; پښتو, pax̌tō) หรือ ภาษาปุกโต หรือเรียกในเชิงประวัติศาสตร์ว่า ภาษาอัฟกัน (Afghani; افغاني, afğānī) และ ภาษาปาทาน (Pathani) เป็นภาษาแม่ของชาวปาทาน (Pashtun) ซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศอัฟกานิสถานและแคว้นทางตะวันตกของประเทศปากีสถาน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาพัชโต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาการากัลปัก

ษาการากัลปักเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก พูดโดยชาวการากัลปักที่อยู่ในการากัลปักสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ใกล้เคียงกับภาษาคาซัคและภาษาโนไก คำศัพท์และไวยากรณ์ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากภาษาอุซเบก เป็นภาษารูปคำติดต่อที่มีการเปลี่ยนเสียงสระเช่นเดียวกับภาษาฮังการีและภาษาตุรกี ไม่มีการแบ่งเพศทางไวยากรณ์ เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา เริ่มแรกภาษานี้เขียนด้วยอักษรอาหรับจนถึง..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาการากัลปัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากุมซารี

ษากุมซารี ใช้พูดในเผ่าซิฮุห์ ซึ่งอาศัยอยู่ที่เขตกุมซาร์ ในคาบสมุทรมูซันดัม ประเทศโอมาน เป็นภาษากลุ่มอิหร่านภาษาเดียว ที่ใช้พูดในคาบสมุทรอาระเบีย ผู้พูดภาษานี้ เป็นลูกหลานของชาวประมง ที่เคยอยู่ในอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมาน พัฒนามาจากภาษาเปอร์เซียสมัยใหม่ ใกล้เคียงกับภาษามินาบีสำเนียงหนึ่ง ในบาโลชิสถานใต้ คำศัพท์และไวยากรณ์เป็นแบบภาษากลุ่มอินโด-อิหร่าน แม้จะมีคำจากภาษาอาหรับปนอยู่มากในชีวิตประจำวัน ผู้ใช้เป็นภาษาแม่มีราว 10,000 คน ในขณะที่สมาชิกของเผ่ามี 21,000 คน (พ.ศ. 2543) สมาชิกของเผ่ารุ่นใหม่ หันไปใช้ภาษาอาหรับแทน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษากุมซารี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากงกณี

ษากงกณี(อักษรเทวนาครี: कोंकणी; อักษรกันนาดา:ಕೊಂಕಣಿ; อักษรมาลายาลัม:കൊംകണീ; อักษรโรมัน: Konknni) เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน โดยมีคำศัพท์จากภาษาดราวิเดียนปนอยู่ด้วย ได้รับอิทธิพลจากภาษาอื่นหลายภาษา ทั้งภาษาโปรตุเกส ภาษากันนาดา ภาษามราฐี ภาษาเปอร์เซีย และภาษาอาหรับ มีผู้พูดประมาณ 7.6 ล้านคน http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษากงกณี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายู

ษามลายู (Bahasa Melayu) เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีสถานะเป็นภาษาราชการในบรูไน, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย มีผู้พูดประมาณ 200–250 ล้านคน (ณ ปี พ.ศ. 2552) โดยเป็นภาษาแม่ของผู้คนตลอดสองฟากช่องแคบมะละกา ซึ่งได้แก่ ชายฝั่งคาบสมุทรมลายูของมาเลเซียและชายฝั่งตะวันออกของเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย และได้รับการยอมรับเป็นภาษาแม่ในชายฝั่งตะวันตกของซาราวะก์และกาลีมันตันตะวันตกในเกาะบอร์เนียว นอกจากนี้ยังใช้เป็นภาษาการค้าในภาคใต้ของฟิลิปปินส์ ซึ่งได้แก่ ตอนใต้ของคาบสมุทรซัมบวงกา, กลุ่มเกาะซูลู และเมืองบาตาราซาและบาลาบัก (ซึ่งมีชาวมุสลิมอาศัยอยู่เป็นส่วนใหญ่) ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะปาลาวัน ในฐานะที่เป็นภาษาประจำชาติ (Bahasa Kebangsaan หรือ Bahasa Nasional) ของรัฐเอกราชหลายรัฐ ภาษามลายูมาตรฐานมีชื่อทางการแตกต่างกันไป ในบรูไนและสิงคโปร์เรียกว่า "ภาษามลายู" (Bahasa Melayu) ในมาเลเซียเรียกว่า "ภาษามาเลเซีย" (Bahasa Malaysia) และในอินโดนีเซียเรียกว่า "ภาษาอินโดนีเซีย" (Bahasa Indonesia) อย่างไรก็ตาม ในหลายพื้นที่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะสุมาตราที่ซึ่งภาษามลายูเป็นภาษาพื้นเมือง ชาวอินโดนีเซียจะเรียกภาษานี้ว่า "ภาษามลายู" และมองว่าเป็นภาษาหนึ่งในบรรดาภาษาประจำภูมิภาคของตน ภาษามลายูมาตรฐาน (หรือที่เรียกว่าภาษามลายูราชสำนัก) เคยเป็นวิธภาษามาตรฐานในวรรณกรรมของรัฐสุลต่านมะละกาและยะโฮร์สมัยก่อนอาณานิคม ดังนั้น บางครั้งจึงเรียกว่าภาษานี้ว่าภาษามลายูมะละกา, ภาษามลายูยะโฮร์ หรือภาษามลายูเรียว (หรือชื่ออื่น ๆ ที่ใช้ชื่อเหล่านี้ประกอบกัน) เพื่อแยกให้แตกต่างกับภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาในกลุ่มภาษามลายู จากข้อมูลของเอ็ทนอล็อก (Ethnologue) วิธภาษามลายูต่าง ๆ ซึ่งในปัจจุบันมีรายชื่อเป็นภาษาแยกต่างหาก (รวมถึงวิธภาษาโอรังอัซลีในมาเลเซียตะวันตก) มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับภาษามลายูมาตรฐานมากจนอาจพิสูจน์ได้ว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีภาษามลายูการค้าและภาษาครีโอล (creole) จากภาษามลายูอีกจำนวนมากซึ่งมีพื้นฐานจากภาษากลางที่พัฒนามาจากภาษามลายูตามแบบแผนดั้งเดิม เช่นเดียวกับภาษามลายูมากัสซาร์ซึ่งปรากฏว่าเป็นภาษาผสม.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษามลายู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายูบรูไน

ษามลายูบรูไน (Bahasa Melayu Brunei) เป็นภาษาประจำชาติของประเทศบรูไนและเป็นภาษากลางในพื้นที่บางส่วนของมาเลเซียตะวันออก ภาษานี้ไม่ใช่ภาษาราชการของบรูไน (ซึ่งใช้ภาษามลายูมาตรฐานเป็นภาษาราชการ) แต่มีบทบาทสำคัญในสังคมและกำลังแทนที่ภาษาของชนกลุ่มน้อยภาษาอื่น ๆ ภาษามลายูบรูไนมีผู้พูดประมาณ 266,000 คนhttp://www.ethnologue.com/show_language.asp?code.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษามลายูบรูไน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามองโกเลีย

ษามองโกเลีย เป็นภาษาทางการของประเทศมองโกเลีย และเป็นภาษาหลักของชาวมองโกเลียส่วนใหญ่ ซึ่งคนพูดส่วนใหญ่จะพูดแบบคอลคา (Khalkha) นอกจากนี้ ภาษามองโกเลียก็พูดในพื้นที่รอบนอกในบางมณฑลของสาธารณรัฐประชาชนจีนและสหพันธรัฐรัสเซีย ภาษามองโกเลีย เป็นภาษารูปคำติดต่อคล้ายภาษาตุรกีหรือภาษาฟินน์ มีการเติมปัจจัยที่รากศัพท์ ภาษามองโกเลียมีเพียงสรรพนามบุรุษที่หนึ่งและสอง แต่ไม่มีบุรุษที่สาม แต่ใช้สรรพนามชี้เฉพาะ เช่น นี่ (en) นั่น (ter) นี่ทั้งหลาย (ed nar) และนั่นทั้งหลาย (ted nar) แทน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษามองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาลายาลัม

ษามาลายาลัมเป็นภาษาราชการของรัฐเกราลาทางภาคใต้ของอินเดีย มีผู้พูดประมาณ 36 ล้านคน และมีผู้พูดในเกาะลักษทวีปด้วย จัดอยู่ในภาษาตระกูลดราวิเดียน ใกล้เคียงกับภาษาทมิฬ เขียนด้วยอักษรมาลายาลัม ภาษามาลายาลัมจัดอยู่ในกลุ่มดราวิเดียนใต้ คาดว่ามีกำเนิดร่วมกับภาษาทมิฬเมื่อราว..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษามาลายาลัม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาซันดารานี

ษามาซันดารานี หรือภาษาตาบารี เป็นภาษากลุ่มอิหร่านสาขาตะวันตกเฉียงเหนือ มีผู้พูดในจังหวัดมาซันดารานี ประเทศอิหร่าน ไม่อาจเข้าใจกันได้กับภาษาเปอร์เซีย ภาษามาซันดารานีใกล้เคียงกับภาษาคิเลกิ โดยมีคำศัพท์ใกล้คียงกัน ภาษามาซันดารานีได้รับอิทธิพลจากภาษาอื่นเช่นภาษาอาหรับและภาษาตุรกีด้วย มีผู้พูดน้อยกว่า 3 ล้านคนใน..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษามาซันดารานี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาเลเซีย

ษามาเลเซีย (มาเลเซีย: Bahasa Malaysia; Malaysian language) หรือ ภาษามลายูมาตรฐาน (มาเลเซีย: Bahasa Melayu Baku; Standard Malay language) เป็นภาษาราชการของประเทศมาเลเซียและเป็นทำเนียบภาษาที่ได้รับการปรับปรุงให้เป็นมาตรฐานจากภาษามลายูถิ่นมะละกา มีความใกล้เคียงกับภาษาอินโดนีเซียกว่าร้อยละ 95 มีผู้พูดภาษานี้เป็นภาษาแม่เป็นจำนวนกว่า 10 ล้านคน และมีผู้พูดเป็นภาษาที่สองประมาณ 18 ล้านคน ส่วนใหญ่เป็นชาวมาเลเซียจากกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มอื่น ๆ นอกเหนือจากชาวมลายู ภาษามาเลเซียยังเป็นหนึ่งในวิชาบังคับในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาของมาเลเซียอีกด้ว.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษามาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายักโนบี

ษายักโนบี (ชื่ออื่นๆคือ Yaghnabi, Yagnobi หรือ Yagnabi. - yaγnobī́ zivók (ในภาษาทาจิกเขียนด้วยอักษรซีริลลิกเป็น яғнобӣ зивок), ภาษารัสเซีย ягнобский язык /jagnobskij jazyk/, ภาษาทาจิก забони яғнобӣ /zabon-i yaġnobî/, ภาษาเปอร์เซีย زبان یغنابى /zæbān-e yæġnābī/, ภาษาออสเซติก ягнобаг æвзаг /jagnobag ævzag/, ภาษาเยอรมัน Jaghnobisch, Czech jaghnóbština, ภาษาสโลวัก jagnóbčina, ภาษายูเครน ягнобська мова /jahnobs’ka mova/, ภาษาโปแลนด์ jagnobski język) เป็นภาษากลุ่มอิหร่านตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้พูดโดยชาวยักโนบีในหุบเขาทางเหนือของแม่น้ำยักนอบในเขตซาราฟซาน ประเทศทาจิกิสถาน จัดว่าเป็นลุกหลานของภาษาซอกเดี.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษายักโนบี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลัก

ษาลัก (лакку маз, lakku maz) เป็นภาษาที่พูดในสาธารณรัฐดาเกสตัน ที่อยู่ในประเทศรัสเซีย มีผู้พูดประมาณ 120,000 คน ก่อนปี พ.ศ. 2471 ภาษาลักใช้อักษรอาหรับในการเขียน ต่อมาได้เปลี่ยนมาใช้อักษรละตินเป็นเวลาประมาณ 10 ปี และหลังจาก พ.ศ. 2481 ได้ใช้อักษรซีริลลิกในการเขียน คำในภาษาลักจำนวนมากเป็นคำยืมมาจากภาษาตุรกี ภาษาเปอร์เซีย และภาษารัสเซี.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาลัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาวาคี

ษาวาคี เป็นภาษากลุ่มอิหร่าน กลุ่มย่อยอิหร่านตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาวาคี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสินธี

ษาสินธีเป็นภาษาของกลุ่มชนในเขตสินธ์ในเอเชียใต้ ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศปากีสถาน เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียน แม้ว่าจะเป็นภาษาของชาวอารยัน แต่มีอิทธิพลจากภาษาของดราวิเดียนด้วย ผู้พูดภาษาสินธีพบได้ทั่วโลก เนื่องจากการอพยพออกของประชากรเมื่อปากีสถานแยกตัวออกจากอินเดียเมื่อ..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาสินธี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสิไรกิ

ษาสิไรกิ (ภาษาอูรดู: سراییکی) หรือภาษามุนตานี (อักษรชาห์มูขี: ملتانی, อักษรคุรมุขี: ਮੁਲਤਾਨੀ, อักษรเทวนาครี: मुल्तानी)) หรือภาษาเสไรกิ ภาษามันตานี ภาษาปัญจาบใต้ เป็นภาษาที่ใช้พูดในจังหวัดสินธ์ และปัญจาบ ประเทศปากีสถาน มีผู้พูดราว 14 ล้านคน นอกจากนี้มีผู้พูดอีก 20,000 คนในอินเดียและอังกฤษ ที่มาของคำว่า “สิไรกิ” ยังไม่แน่นอน อาจมาจากภาษาสินธี แปลว่า “เหนือ” หรือภาษาสันสกฤต แปลว่า “พระอาทิตย์”.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาสิไรกิ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอะดีเกยา

ภาษาอะดืยเก (адыгэбзэ adygebze, adəgăbză; Adyghe language) เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐอะดืยเกียในรัสเซีย มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ในรัสเซีย 125,000 คน และอีก 300,000 คนในตุรกี จัดอยู่ในภาษากลุ่มคอเคซัสตะวันออกเฉียงเหนือ เคยเขียนด้วยอักษรอาหรับและอักษรละติน ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรซีริลลิก การเรียงประโยคเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา และใช้รูปประโยคสัมพันธการก หมวดหมู่:ภาษาในประเทศรัสเซีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศจอร์แดน หมวดหมู่:ภาษาในประเทศซีเรีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอิสราเอล หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอิรัก หมวดหมู่:ภาษาในประเทศตุรกี หมวดหมู่:ภาษาในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอะดีเกยา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอัฟซาร์

ษาอัฟซาร์ (Afshar or Afshari) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก มีผู้พูดในอิหร่านและอัฟกานิสถาน บางครั้งถูกจัดให้เป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาอาเซอรี ภาษานี้มีคำยืมจากภาษาดารีมาก และเปลี่ยนเสียง /a/ เป็น /ɒ/ เช่นเดียวกับในภาษาอุซเบก ในหลายกรณี เสียงสระในภาษาอัฟซาร์ เป็นสระปากไม่ห่อในขณะที่ในภาษาอาเซอรีเป็นสระปากห่อ เช่น jiz (100) เป็น jyz ในภาษาอาเซอรีมาตรฐาน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอัฟซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับบาห์เรน

ษาอาหรับบาห์เรน (Bahrani Arabic หรือ Baharna Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในบริเวณบะห์รานีของบาห์เรน และบางส่วนของจังหวัดซาอุดิตะวันออกและในโอมาน ในบาห์เรน สำเนียงนี้เป็นสำเนียงพูดในเมืองหลวงมานามา และในหมู่บ้านบะห์รานี ส่วนอื่นๆจะพูดภาษาอาหรับอ่าวซึ่งใกล้เคียงกับภาษาที่ใช้พูดในคูเวตและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์มากกว่า ในซาอุดิอาระเบีย ศูนย์กลางของผู้พูดในสำเนียงอยู่ที่กาติฟและบริเวณใกล้เคียงและแตกต่างจากสำเนียงอัล-ฮาซาซึ่งเป็นสำเนียงส่วนใหญ่ของจังหวัดซาอุดิตะวันออก ความแตกต่างระหว่างภาษาอาหรับบาห์เรนและสำเนียงใกล้เคียง เกิดจากความแตกต่างทางประวัติศาสตร์ ส่วนใหญ่ของผู้พูดสำเนียงอื่นๆ ในบริเวณนี้เป็นผู้อพยพเข้ามาซึ่งมักจะเป็นชาวเบดูอินเผ่านัจญ์ดี ผู้คนเหล่านี้ปัจจุบันพูดภาษาอาหรับอ่าวที่ต่างจากภาษาอาหรับนัจญ์ดีและภาษาอาหรับของชาวเบดูอินและใกล้เคียงกับภาษาอาหรับบาห์เรนมากกว่า ในบาห์เรน ความแตกต่างหลักระหว่างผู้พูดภาษาอาหรับบาห์เรนและสำเนียงอื่นๆอยู่ที่รูปแบบของไวยากรณ์ และการเน้นหนัก ภาษาอาหรับบาห์เรนมีคำยืมจากภาษาอื่นๆจากภาษาฮินดี (เช่น bānka, sōmān) หรือภาษาอังกฤษ (เช่น lētar, wīl, tēm รวมทั้งภาษาเปอร์เซียด้วย ซึ่งเป็นผลจากการติดต่อค้าขายกับเปอร์เซียในอดีต.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอาหรับบาห์เรน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่

การแพร่กระจายของภาษาอาหรับในโลกอาหรับ. ภาษาราชการภาษาเดียว (เขียว); ภาษาราชการร่วม (ฟ้า) ภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ (Modern Standard Arabic; MSA; ภาษาอาหรับ: اللغة العربية الفصحى‎ al-luġatu l-ʿarabiyyatu l-fuṣḥā) หรือภาษาอาหรับมาตรฐานหรือภาษาเขียนของภาษาอาหรับ เป็นรูปแบบมาตรฐานของภาษาอาหรับที่ใช้สำหรับการเขียนและการพูดที่เป็นทางการ นักวิชาการตะวันตกได้แบ่งมาตรฐานภาษาอาหรับไว้เป็นสองแบบคือภาษาอาหรับคลาสสิก (Classical Arabic; CA; ภาษาอาหรับ: اللغة العربية التراثية) ซึ่งใช้ในอัลกุรอ่าน จักเป็นรูปแบบคลาสสิกของภาษาและภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ (Modern Standard Arabic; MSA; ภาษาอาหรับ: اللغة العربية المعيارية الحديثة) ซึ่งเป็นรูปแบบมาตรฐานที่ใช้ในปัจจุบัน ชาวอาหรับส่วนใหญ่จะถือว่าทั้งสองภาษานี้เป็นภาษาเดียวกัน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับมาโรไนต์

ษาอาหรับมาโรไนต์ในไซปรัส (Cypriot Maronite Arabic) หรือภาษาอาหรับไซปรัส ภาษามาโรไนต์ ภาษาซันนา ใช้พูดในมาโรไนต์ในไซปรัส ผู้พุโส่วนใหญ่มีอายุมากกว่า 30 ปี ผู้พูดภาษานี้อพยพมาจากเลบานอนเมื่อ 700 ปีที่ผ่านมา ได้รับอิทธิพลจากภาษากรีกทั้งทางด้านสัทวิทยาและคำศัพท.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอาหรับมาโรไนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับอิรัก

ษาอาหรับอิรัก (Iraqi Arabic) หรือภาษาอาหรับเมโสโปเตเมีย ภาษาอาหรับแบกแดด ภาษาอาหรับซีเรียเหนือ เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในที่ราบเมโสโปเตเมียในอิรัก ทางใต้ของแบกแดด และบริเวณใกล้เคียงในอิหร่านและซีเรียตะวันออก กลุ่มของสำเนียงรวมทั้งสำเนียงในอนาโตเลีย ติกริส และยูฟราเตส นอกจากนั้ยังมีสำเนียงของชาวยิวและชาวคริสต์ เช่นสำเนียงของชาวเบดูอิน สำเนียงนี้ต่างจากภาษาอาหรับเมโสโปเตเมียเหนือ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอาหรับอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับอ่าว

ภาษาอาหรับอ่าว (Gulf Arabic) หรือภาษาคาลิญี ภาษากาตารี (Khaliji,al-lahjat al-khalijiya اللهجة الخليجية, Qatari) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดตามชายฝั่งอ่าวเปอร์เซีย โดยเฉพาะในคูเวต ซาอุดิอาระเบียตอนกลางและตะวันออก บาห์เรน กาตาร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และบางส่วนของโอมาน ลักษณะสำคัญที่ทำให้ต่างจากสำเนียงของชาวเบดูอินอื่นๆ คือมีคำยืมจากภาษาเปอร์เซียน้อย และการออกเสียง k เป็น ch ("kalb" หมา, อ่านเป็น "chalb"); และบางครั้งออกเสียง j เป็น y (jeeb "นำมา" (เพศชาย), อ่านเป็น "yeeb") อาหรับอ่าว อาหรับอ่าว อาหรับอ่าว อาหรับอ่าว อาหรับอ่าว อาหรับอ่าว หมวดหมู่:ภาษาอาหรับ หมวดหมู่:อ่าวเปอร์เซีย.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอาหรับอ่าว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับฮิญาซี

ษาอาหรับฮิญาซี (Hejazi Arabic หรือ Hijazi Arabic; حجازي) เป็นภาษาอาหรับที่ใช้พูดในบริเวณภาคตะวันตกของซาอุดิอาระเบีย โดยเฉพาะสำเนียงที่ใช้พูดในเฮยาซคือสำเนียงของชาวเบดูอิน และสำเนียงของประชาชนในเมือง สำเนียงในเมืองจะพูดในตัวเมือง เช่น เจดดะห์ เมกกะ และเมดินะ เป็นสำเนียงที่มีผู้เข้าใจแพร่หลายในคาบสมุทรอาระเบีย และมีความใกล้เคียงกับภาษาอาหรับสำเนียงที่พูดในซูดานภาคเหนือ สำเนียงในเมืองมีลักษณะอนุรักษ์น้อยกว่าสำเนียงเบดูอิน มีสระเสียงสั้นมากกว่าสำเนียงที่พูดในบริเวณใกล้เคียง ตำศัพท์มีคำยืมจากสำเนียงของชาวอียิปต์ ซีเรีย และเยเมน การที่เคยอยู่ภายใต้การปกครองของตุรกีมากว่า 500 ปี ทำให้ได้รับอิทธิพลจากภาษาตุรกีด้วย สำเนียงของชาวเบดูอินแต่ละเผ่าจะเข้าใจกันได้ สำเนียงของเผ่าทางตอนเหนือจะมีลักษณะใกล้เคียงกับสำเนียงในจอร์แดนและคาบสมุทรไซน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอาหรับฮิญาซี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับจอร์แดน

ษาอาหรับจอร์แดน (Jordanian Arabic) เป็นกลุ่มของสำเนียงย่อยของภาษาอาหรับเลอวานต์ ใช้พูดในราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน โดยมีโครงสร้างของภาษาเป็นแบบของกลุ่มภาษาเซมิติก แต่ได้อิทธิพลทางรากศัพท์จากภาษาอังกฤษ ภาษาตุรกี และภาษาฝรั่งเศส มีผู้พูดมากกว่า 6 ล้านคน และเป็นที่เข้าใจกันในบริเวณเลอวานต์ จัดเป็นภาษาที่ใช้พูดในชีวิตประจำวันในจอร์แดน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอาหรับจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับคูเซสถาน

ภาษาอาหรับคูเซสถาน (Khuzestani Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในจังหวัดคูเซสถาน ประเทศอิหร่าน มีความใกล้เคียงกับภาษาอาหรับอิรักและมีคำยืมจากภาษาเปอร์เซียเป็นจำนวนมาก หมวดหมู่:ภาษาอาหรับ หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอิหร่าน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอาหรับคูเซสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับปาเลสไตน์

ษาอาหรับปาเลสไตน์ (Palestinian Arabic) เป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาอาหรับเลอวานต์ พูดโดยชาวปาเลสไตน์ โดยสำเนียงของชาวปาเลสไตน์ในชนบทมีความแตกต่างกันมาก โดยเฉพาะการออกเสียง qaf เป็น kaf ซึ่งแตกต่างจากภาษาอาหรับสำเนียงอื่นๆ แต่สำเนียงของชาวปาเลสไตน์ใกล้เคียงกับภาษาอาหรับเลอวานต์ทางเหนือ เช่นภาษาอาหรับซีเรียและภาษาอาหรับเลบานอน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอาหรับปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับนัจญ์ดี

ษาอาหรับนัจญ์ดี (Najdi Arabic; ภาษาอาหรับ: اللهجة النجدية) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในบริเวณทะเลทรายทางภาคกลางและภาคตะวันออกของซาอุดิอาระเบีย ยังรวมถึงสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในริยาด และชาวเบดูอินในจอร์แดน ซีเรียและอิรัก.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอาหรับนัจญ์ดี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับโอมาน

ษาอาหรับโอมาน (Omani Arabic) หรือภาษาอาหรับฮาดารี เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในเทือกเขาฮาญัรในโอมานและตามแนวชายฝั่งใกล้เคียง เคยใช้พูดในเคนยาและแทนซาเนีย ซึ่งปัจจุบันถูกแทนที่ด้วยภาษาสวาฮีลี.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอาหรับโอมาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับโดฟารี

ษาอาหรับโดฟารี (Dhofari Arabic) หรือภาษาอาหรับโซฟารี เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในซาลอลอหฺ โอมานและบริเวณชายฝั่งที่อยู่รอบๆที่เรียกโดฟาร.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอาหรับโดฟารี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับเมโสโปเตเมียเหนือ

ษาอาหรับเมโสโปเตเมียเหนือ (North Mesopotamian Arabic หรือ Maslawi หมายถึง 'แห่งโมซุล') เป็นภาษาอาหรับที่พูดทางเหนือของเทือกเขาฮัมรินในอิรัก ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอิหร่าน ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี และทางภาคเหนือของซีเรีย (หรือทางเมดิเตอร์เรเนียตะวันออก และทางตะวันออกเฉียงใต้ของอนาโตเลีย) เช่นเดียวกับภาษาอาหรับอิรักและภาษาอาหรับซีเรีย ภาษานี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาอราเมอิกมาก นอกจากนั้น ยังมีลักษณะร่วมกับภาษาอาหรับไซปรัสมากเช่นกัน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอาหรับเมโสโปเตเมียเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับเยเมน

ษาอาหรับเยเมน (Yemeni Arabic) เป็นกลุ่มของสำเนียงภาษาอาหรับที่มีผู้พูดในเยเมน โดยแบ่งเป็นสำเนียงหลักๆได้หลากหลายโดยใช้คำศัพท์และหลักทางสัทวิทยาเป็นตัวแบ่งแยก กลุ่มหลักๆได้แก่ สำเนียงซันอานี สำเนียงตาอิซารี สำเนียงเอเดน สำเนียงติอามี และสำเนียงฮาดรามี โดยในบริเวณนี้มีภาษาเอกเทศคือภาษาเมห์รีและภาษาโซโกวตรีซึ่งไม่ใช่สำเนียงของภาษาอาหรับแต่พัฒนามาจากกลุ่มภาษาอาระเบียนใต้โบราณ เช่น ภาษาซาเบียน ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มภาษาเอธิโอปิก.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอาหรับเยเมน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับเลบานอน

ษาอาหรับเลบานอน (Lebanese Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในเลบานอนและเป็นสำเนียงย่อยของภาษาอาหรับเลอวานต์ ชาวมาโรไนต์ในบริเวณนั้นถือว่าภาษาอาหรับเลบานอนเป็นภาษาเอกเท.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอาหรับเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับเลอวานต์

ษาอาหรับเลอวานต์ (Levantine Arabic; ภาษาอาหรับ: شامي Shami) หรือภาษาอาหรับตะวันออก เป็นกลุ่มของภาษาอาหรับที่มีการพูดแพร่กระจายในฉนวนชายฝั่งยาว 100 กิโลเมตร ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก ซึ่งบริเวณนี้เรียกว่าเลอวานต์ ครอบคลุมบริเวณในซีเรีย อิสราเอล ปาเลสไตน์ จอร์แดนตะวันตกและเลบานอน ซึ่งเป็นฝั่งตะวันตกของดินแดนพระจันทร์เสี้ยวอันอุดม ภาษาอาหรับเลอวานต์แบ่งได้เป็น 6 สำเนียงย่อยคือ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอาหรับเลอวานต์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาเซอร์ไบจาน

thumbnail ภาษาอาเซอรี หรือ ภาษาอาเซอร์ไบจาน เป็นภาษาราชการของประเทศอาเซอร์ไบจาน มีชื่อเรียกในภาษาของตนว่า Azərbaycan dili บางสำเนียงของภาษานี้ใช้พูดในอิหร่าน ซึ่งใช้เป็นภาษากลางระหว่างภาษาส่วนน้อยอื่นๆคือ ภาษาเคิร์ด ภาษาอาร์มีเนียและภาษาตาเลชิ มีผู้พูดภาษานี้ในสาธารณรัฐดาเกสถานในรัสเซีย จอร์เจียตะวันตกเฉียงใต้ อิหร่านภาคเหนือ และภาคตะวันออกของตุรกี เป็นภาษาในกลุ่มภาษาอัลไตอิก มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 23 – 30 ล้านคน โดยมีราว 16- 23 ล้านคนในอิหร่านและ 7 ล้านคนในอาเซอร์ไบจาน และ 800,000 ในที่อื่นๆ เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใกล้เคียงกับภาษาตุรกี ได้รับอิทธิพลจากภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับ ผู้พูดภาษานี้พอจะเข้าใจกันได้กับผู้พูดภาษากลุ่มเตอร์กิก สาขาโอคุซอื่นๆ เช่น ภาษาตุรกี ที่ใช้พูดในตุรกี ไซปรัสและแหลมบอลข่าน รวมทั้งภาษาเติร์กเมนด้ว.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอุยกูร์

ษาอุยกูร์ เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก พูดโดยชาวอุยกูร์ในเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ประเทศจีน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอุยกูร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอุซเบก

ษาอุซเบก (อักษรละติน: O'zbek tili ออซเบก ติลี; อักษรซีริลลิก: Ўзбек) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่พูดโดยชาว อุซเบกในประเทศอุซเบกิสถานและพื้นที่อื่น ๆ ในเอเชียกลาง ภาษาที่ใกล้เคียงที่สุดในเชิงคำและไวยากรณ์คือภาษาอุยกูร์ ภาษาเปอร์เซียและภาษารัสเซียได้มีอิทธิพลสำคัญต่อภาษาอุซเบก ภาษาอุซเบกเป็นภาษาราชการของประเทศอุซเบกิสถาน และมีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 18.5 ล้านคน ภาษาอุซเบกก่อนปีพ.ศ. 2535 เขียนด้วยอักษรซีริลลิก แต่ในปัจจุบีนมีการใช้อักษรละตินเขียนในประเทศอุซเบกิสถาน ส่วนชาวจีนที่พูดภาษาอุซเบกใช้อักษรอาหรับเขียน อิทธิพลของศาสนาอิสลามรวมถึงภาษาอาหรับแสดงชัดเจนในภาษาอุซเบก รวมถึงอิทธิพลของภาษารัสเซียในช่วงที่ประเทศอุซเบกิสถานอยู่ภายใต้การยึดครองของจักรวรรดิรัสเซีย และ โซเวียต คำภาษาอาหรับส่วนใหญ่ผ่านเข้ามายังภาษาอุซเบกผ่านทางภาษาเปอร์เซีย ภาษาอุซเบกแบ่งเป็นภาษาย่อย ๆ จำนวนมาก ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมากระหว่างภูมิภาค อย่างไรก็ดี มีภาษาย่อยที่เข้าใจกันทั่วไป ซึ่งใช้ในสื่อมวลชนและในสิ่งตีพิมพ์ส่วนใหญ่ นักภาษาศาสตร์บางคนถือว่าภาษาที่พูดในประเทศอัฟกานิสถานตอนเหนือโดยชาวอุซเบกพื้นเมือง เป็นภาษาย่อยของภาษาอุซเบก.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอูรดู

ษาอูรดู (اردو) เป็นภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ซึ่งพัฒนามาจากหลายภาษารวมกันคือ ภาษาเปอร์เซีย ตุรกี อาหรับ ฮินดี และ สันสกฤต นิยมใช้กันมากในช่วงสมัยรัฐสุลต่านเดลฮี และจักรวรรดิโมกุล (ค.ศ.๑๒๐๐ - ๑๘๐๐) ภาษาอูรดู อยู่ในอันดับที่ ๒๐ ของภาษาที่มีคนใช้เป็นภาษาแม่ และเป็นภาษาราชการของประเทศปากีสถาน นอกจากนี้ยังเป็นภาษาหนึ่งในภาษาราชการ ๒๓ ภาษา ของประเทศอินเดี.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาอูรดู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮินดูสตานี

ภาษาฮินดูสตานี (เทวนาครี: हिन्दुस्तानी; อาหรับ: ہندوستانی) เป็นคำที่เกิดในสมัยที่อังกฤษครอบครองอินเดียและปากีสถาน โดยอังกฤษนำภาษาฮินดีกับภาษาอูรดูมารวมกันแล้วให้ชื่อว่าฮินดูสตานี เขียนได้ทั้งอักษรไกถี อักษรเทวนาครี และอักษรอาหรับ แต่คำศัพท์และไวยากรณ์ของสองภาษานั้นแตกต่างกันมาก เนื่องจากภาษาฮินดีได้รับอิทธิพลมาจากภาษาสันสกฤตและภาษาปรากฤต แต่ภาษาอูรดูได้รับอิทธิพลมาจากภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับ ในทางภาษาศาสตร์จึงไม่ถือว่าเป็นภาษาใหม่ ปัจจุบันยังคงแยกเป็นภาษาฮินดีซึ่งเป็นภาษาทางการของอินเดีย และภาษาอูรดูซึ่งเป็นภาษาทางการของปากีสถาน ฮินดูสตานี.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาฮินดูสตานี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮินดี

ษาฮินดีเป็นภาษาที่พูด ส่วนใหญ่ในประเทศอินเดียเหนือและกลาง เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน อยู่ในกลุ่มย่อย อินโด-อิหร่าน มีวิวัฒนาการมาจากภาษาปรากฤต ในสาขาอินโด-อารยันกลาง ของยุคกลาง และมีวิวัฒนาการทางอ้อมจากภาษาสันสกฤต ภาษาฮินดีได้นำคำศัพท์ชั้นสูงส่วนใหญ่มาจากภาษาสันสกฤต นอกจากนี้ เนื่องจากอิทธิพลของชาวมุสลิมในอินเดียเหนือ ภาษาฮินดียังมีคำที่ยืมมาจากภาษาเปอร์เซีย ภาษาอาหรับ และ ภาษาตุรกี เป็นจำนวนมาก และในที่สุดได้ก่อให้เกิดภาษาอูรดูขึ้น สำหรับภาษา"ฮินดีมาตรฐาน" หรือ "ฮินดีแท้" นั้น มีใช้เฉพะการสื่อสารที่เป็นทางการ ขณะที่ภาษาซึ่งใช้ในชีวิตประจำวันในพื้นที่ส่วนใหญ่นั้น ถือว่าเป็นหนึ่งในภาษาถิ่นย่อย ของภาษาฮินดูสตานี ในแง่ความสัมพันธ์ทางภาษาศาสตร์นั้น ภาษาฮินดีและภาษาอูรดู ถือว่าเป็นภาษาเดียวกัน แตกต่างตรงที่ ภาษาฮินดีนั้นเขียนด้วยอักษรเทวนาครี (Devanāgarī) ขณะที่ภาษาอูรดูนั้น เขียนด้วยอักษรเปอร์เซียและอาหรั.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาฮินดี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรู

ษาฮีบรู (Modern Hebrew, อิฟริท) เป็นภาษาเซมิติก (Semitic) ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afro–Asiatic) เป็นภาษาที่เก่าแก่ โดยมีอายุมาอย่างน้อยตั้งแต่ 3,500 ปีที่แล้ว ในอดีต เคยเป็นภาษาตาย เหมือนดั่งภาษาบาลี สันสกฤต และละติน โดยใช้เป็นภาษาที่ใช้เพียงแต่ในวงจำกัด หนังสือต่างทางศาสนา และสถานที่ทางศาสนาเท่านั้น แต่ปัจจุบัน มีการกลับมาใช้เป็นภาษาพูดใหม่ และเป็นภาษาที่ชาวอิสราเอลใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน โดยภายในในอิสราเอล มีผู้พูดมากกว่า 4,380,000 คน ซึ่งเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอาหรับ นอกอิสราเอล ภาษาฮีบรูยังมีผู้พูดอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งโดยมากเป็นชุมชนชาวยิว ทะนัค (Tanakh) หรือพระคัมภีร์เก่า (The Old Testament) ของศาสนายิว เขียนไว้ด้วยภาษาฮีบรู ซึ่งถือว่าเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ (לשון הקודש Leshon ha-Kodesh: เลโชน ฮา-โกเดช) ของชาวยิวตั้งแต่สมัยโบราณ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ระบุว่าหลัง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นยุคที่จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ทำลายกรุงเยรูซาเลมและอพยพชาวยิวไปยังบาบิโลนและพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นไท ภาษาฮีบรูในแบบที่เขียนในพระคัมภีร์เก่า ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮีบรูใหม่และภาษาแอราเมอิกที่ใช้ในท้องถิ่นนั้น หลังจากพุทธศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันเข้ายึดครองกรุงเยรูซาเล็ม และอพยพชาวยิวออกไป ภาษาฮีบรูเริ่มใช้เป็นภาษาพูดน้อยลงแต่ยังคงเป็นภาษาทางศาสนาและภาษาในการเขียน หลังจากเยรูซาเล็มถูกชาวบาบิโลนทำลายครั้งแรก 586 ปีก่อนคริสตกาล ภาษาอย่างในพระคัมภีร์เก่าเริ่มถูกแทนที่ด้วยคำในลักษณะใหม่ หลังจากจำนวนประชากรของชาวยิวในบางส่วนของจูเดีย (Judea) ลดลง ภาษาฮีบรูเลิกใช้เป็นภาษาพูดราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 แต่ยังคงเป็นภาษาเขียนที่สำคัญต่อเนื่องมาตลอดหลายศตวรรษ นอกจากจะใช้ในศาสนาแล้ว งานเขียนสำหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ เช่น เขียนตำรา จดหมาย ปรัชญา การแพทย์ บทกวี บันทึกศาล ล้วนใช้ภาษาฮีบรู ซึ่งได้เข้ากับวงความรู้และคำเฉพาะใหม่ ๆ โดยคำยืมและคำประดิษฐ์ใหม่ ภาษาฮีบรูยังคงถูกรักษาไว้ในฐานะภาษาเขียนโดยชุมชนชาวยิวทั่วโลก จนกระทั่งมีการตั้งลัทธิไซออนนิสต์เพื่อฟื้นฟูชาติยิว สมาชิกไซออนนิสต์ส่งเสริมให้มีการแทนที่ภาษาพูดของชาวยิวในขณะนั้น เช่นภาษาอาหรับ ภาษาจูเดสโม (Judezmo, ภาษาลาดิโน Ladino ก็เรียก) ภาษายิดดิช ภาษารัสเซีย และภาษาอื่น ๆ ของชาวยิวที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ เป็นภาษาของศาสนายิวส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรู มีการสร้างคำใหม่โดยยืมจากภาษาฮีบรูในไบเบิลหรือจากภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก รวมทั้งภาษาในยุโรป เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาเยอรมัน ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาราชการของปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษตั้งแต..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจาม

ภาษาจามอยู่ในภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดราว 1 แสนคนในเวียดนามและ 220,000 คนในกัมพูชา (พ.ศ. 2535) มีผู้พูดกลุ่มเล็กๆในไทยและมาเลเซีย มีความใกล้เคียงกับภาษาในตระกูลเดียวกันที่ใช้พูดในอินโดนีเซีย มาเลเซีย มาดากัสการ์ และฟิลิปปินส์ มี 2 สำเนียงคือภาษาจามตะวันออกและภาษาจามตะวันตก จาม จาม.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาจาม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจิตตะกอง

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาจิตตะกอง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทัวเร็ก

ริเวณที่มีผู้พูดภาษาทัวเร็ก ภาษาทัวเร็ก (Tuareg) หรือภาษาทามาเช็ก (Tamasheq,, Tamajaq, ⵜⴰⵎⴰⵌⴰⵆ Tamahaq) เป็นภาษาใน กลุ่มภาษาเบอร์เบอร์ พูดโดยชาวทัวเร็กใน มาลี ไนเจอร์ แอลจีเรีย ลิเบีย และ บูร์กินาฟาโซ และมีผู้พูดเล็กน้อยใน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาทัวเร็ก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทาจิก

ษาทาจิก (Tajik Persian หรือ Tajik language หรือ Tajiki;Tadjik หรือ Tadzhik;,อักษรอาหรับเปอร์เซีย تاجیکی‎, tojikī โทจิกิ),тоҷикӣ) เป็นรูปแบบสมัยใหม่แบบหนึ่งของภาษาเปอร์เซีย ที่พูดในเอเชียกลาง เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ใน กลุ่มภาษาอิเรเนียน คนที่พูดภาษาทาจิกส่วนใหญ่อาศัยในประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน และตะวันตกของปากีสถาน แต่ผู้พูดภาษาทาจิกประมาณ 30,000 คน ใกล้ชายแดนประเทศทาจิกิสถานในประเทศจีน) เป็นภาษาราชการของประเทศทาจิกิสถาน ภาษาทาจิก ที่เป็นภาษาราชการของทาจิกิสถาน ต่างจากภาษาเปอร์เซียที่ใช้พูดในอิหร่านและอัฟกานิสถาน ซึ่งเป็นผลมาจากการแบ่งแยกดินแดนทางการเมือง การแบ่งแยกทางภูมิศาสตร์และการจัดมาตรฐานทางภาษา รวมทั้งอิทธิพลของภาษารัสเซียและภาษากลุ่มเตอร์กิกที่อยู่รอบๆ มาตรฐานของภาษานี้ยึดตามสำเนียงตะวันตกเฉียงเหนือของทาจิกิสถานซึ่งเป็นเมืองเก่าของซามาร์คันฑ์ และได้รับอิทธิพลจากภาษาอุซเบกด้วย ภาษาทาจิกมีหน่วยคำในคำศัพท์ การออกเสียงและไวยากรณ์ซึ่งไม่มีในภาษาเปอร์เซียที่พูดในที่อื่น ซึ่งน่าจะเป็นมาจากการที่ถูกแบ่งแยกโดยภูมิศาสตร์เขตเทือกเขาของเอเชียกลาง.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาทาจิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาขาริโพลี

ษาขาริโพลี หรือภาษาขาทิโพลี ภาษาขาทิ-โพลี หรือสำเนียงขารี (/ /; ภาษาฮินดี: खड़ी बोली; ภาษาอูรดู: كهڑى بولى, ตรงตัว "สำเนียงยืนพื้น")เป็นสำเนียงของภาษาฮินดีมีผู้พูดทางตะวันตกของรัฐอุตรประเทศและเดลฮีในประเทศอินเดีย สำเนียงนี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาอูรดูที่มีลักษณะทางภาษาศาสตร์ใกล้เคียงกับภาษาฮินดี.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาขาริโพลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาดารี

ษาดารี (Dari; ภาษาเปอร์เซีย: دری Darī, ออกเสียง) หรือ ภาษาเปอร์เซียดารี (Dari Persian; ภาษาเปอร์เซีย: فارسی دری - Fārsīy e Darī) หรือ ภาษาเปอร์เซียตะวันออก เป็นชื่อที่ใช้เรียกภาษาเปอร์เซียสำเนียงหนึ่งที่ใช้พูดในอัฟกานิสถาน และเป็นชื่อทางการที่รัฐบาลอัฟกานิสถานใช้ในรัฐธรรมนูญ ภาษาดารีเป็นภาษาราชการในอัฟกานิสถานรองจากภาษาพัชโต และใช้เป็นภาษากลางในอัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาดารี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาดุงกาน

ษาดุงกาน (ดุงกาน: Хуэйзў йүян Xuejzw jyian, Дунганский Язык Dunganskij jazyk) เป็นภาษาตระกูลจีน-ทิเบต ใช้พูดโดยชาวดุงกานหรือชาวหุยในเอเชียกลาง.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาดุงกาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาควาซไคว

ษาควาซไคว (Qashqai อาจสะกดเป็น Ghashghai, Qashqa'i, Qashqay, และ Kashkai) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใช้พูดโดยชาวควาซไควที่เป็นชนกลุ่มน้อนในเขตฟาร์ของอิหร่าน มีผู้พูดประมาณ 500,000 คน ใกล้เคียงกับภาษาอาเซอรี เขียนด้วยอักษรอาหรับดัดแปลงแบบเปอร์เซีย ผู้พูดส่วนใหญ่จะใช้ภาษาเปอร์เซียได้ด้ว.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาควาซไคว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาควาเรซม์

ภาษาควาเรซม์ (Khwarezmian language) เป็นภาษาของชาติควาเรซม์ (Khwarezm) ทางเหนือของแม่น้ำจาซาร์เตส (ซีร์ดาร์ยา) ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศอุซเบกิสถาน โดยเป็นภาษากลุ่มอิหร่านตะวันออกเฉียงเหนือที่ตายแล้ว ความรู้เกี่ยวกับภาษานี้มีจำกัด ภาษานี้เคยเขียนด้วยอักษรที่ใกล้เคียงกับอักษรซอกเดียและอักษรปะห์ลาวีที่มาจากอักษรอราเมอิกก่อนที่ศาสนาอิสลามจะแพร่มาถึงบริเวณนี้ เมื่อศาสนาอิสลามแพร่เข้ามาจึงเปลี่ยนไปเขียนด้วยอักษรอาหรับ-เปอร์เซีย ซึ่งเป็นรูปแบบเดียวกับที่ใช้เขียนภาษาพาซตูในปัจจุบัน ภาษานี้ใช้มาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 18 แล้วจึงถูกแทนที่ด้วยภาษาตุรกีและภาษาเปอร์เซีย ควาเรซม์.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาควาเรซม์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาซัค

ษาคาซัค (Kazakh, Kazak, Qazaq, Қазақ тілі, Qazaq tili: คาซัค ติลิ) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ที่มีรหัส ISO 639 ว่า kaz และ kk ภาษาคาซัคเป็นหนึ่งในภาษาราชการของประเทศคาซัคสถาน และนอกจากนี้ยังมีคนพูดภาษานี้ในอัฟกานิสถาน จีน อิหร่าน คีร์กีซสถาน มองโกเลีย รัสเซีย ทาจิกิสถาน ตุรกี เติร์กเมนิสถาน ยูเครน และอุซเบกิสถาน ในเยอรมนีมีคนที่พูดภาษาคาซัคตั้งแต่ครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ทั่วโลกมีคนพูดภาษาคาซัคเป็นภาษาแม่ประมาณ 6.5 ล้านคน เขียนโดยใช้อักษรซีริลลิก อักษรละติน (ในตุรกี) และอักษรอาหรับที่มีการดัดแปลง (ในประเทศจีน อิหร่าน และอัฟกานิสถาน).

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาคาซัค · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาซาร์

ษาคาซาร์ เป็นภาษาที่พูดโดยเผ่าคาร์ซาร์ในเอเชียกลางในยุคกลาง อยู่ในภาษากลุ่มเตอร์กิก ใกล้เคียงกับภาษาฮั่น มีข้อโต้แย้งกันมากว่าภาษาคาซาร์ควรอยู่ในสาขาใดของภาษากลุ่มเตอร์กิกถ้าจะจัดให้อยู่ในกลุ่มนี้ บางคนเสนอว่าน่าจะจัดให้อยู่ในภาษากลุ่มอิหร่านหรือภาษากลุ่มคอเคเซียน อาจได้รับอิทธิพลจากภาษาเตอร์กิกโบราณและภาษาอุยกูร์ นักวิชาการอาหรับในยุคกลางจำแนกให้ภาษาคาซาร์คล้ายกับภาษาของชาวเติร์กเช่น ภาษาโอคุซ นอกจากนั้นภาษาคาซาร์และภาษากลุ่มโอคุซมีความใกล้เคียงกับภาษาอื่น เพราะภาษาบัลการ์อาจได้รับอิทธิพลจากภาษาเตอร์กิกโบราณและภาษาอุยกูร์ นักวิชาการปัจจุบันได้ตั้งสมมติฐานโอคุซโดยสันนิษฐานว่าภาษาคาซาร์มีจุดกำเนิดจากยุคของกอกเติร์ก ซึ่งเป็นไปได้ว่าภาษาเตอร์กิกโบราณแบบของกอกเติร์กมีการใช้เป็นภาษาทางการในช่วงต้นของประวัติภาษาคาซาร์แต่ไม่มีหลักฐานเหลืออยู่ จารึกอักษรออร์คอน ที่ใช้เขียนภาษาคาซาร์ ตัวอย่างของภาษาคาซาร์ที่เหลืออยู่ในปัจจุบันมีน้อยมาก ส่วนใหญ่เป็นชื่อที่ยังเหลืออยู่ในเอกสารทางประวัติศาสตร์ที่เหลืออยู่ในภาษาฮีบรู ภาษาคาซาร์ที่เหลืออยู่เป็นข้อความที่เขียนด้วยอักษรรูนส์แบบเตอร์กิก แต่ก็ยังพบภาษาคาซาร์ที่เขียนด้วยอักษรซีริลลิก อักษรกรีก อักษรฮีบรู อักษรละติน อักษรอาหรับหรืออักษรจอร์เจียในชุมชนที่ต่างกัน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาคาซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคีร์กีซ

ษาคีร์กีซ (Kyrgyz Language; Кыргыз тили, Kyrgyz tili; قىرعىز تىلى) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภาษาราชการของประเทศคีร์กีซสถานคู่กับภาษารัสเซีย มีผู้พูด 7 ล้านคน ในคีร์กีซสถาน จีน อัฟกานิสถาน คาซัคสถาน ทาจิกิสถาน ตุรกี อุซเบกิสถาน ปากีสถานและรัสเซีย เขียนด้วยอักษรซีริลลิกดัดแปลงในคีร์กีซสถาน และอักษรอาหรับดัดแปลงในจีน เคยเขียนด้วยอักษรละตินในช่วง..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาคีร์กีซ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตาตาร์

ษาตาตาร์ เป็นภาษากลุ่มเติร์ก ตระกูลยูราล-อัลไตอิก พูดโดยชาวตาตาร์ จัดเป็นภาษารูปคำติดต่อ มีผู้พูดในบางส่วนของยุโรป รัสเซีย ไซบีเรีย จีน ตุรกี โปแลนด์ ยูเครน ฟินแลนด์ และเอเชียกลาง เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐตาตาร์สถาน เขียนด้วยอักษรซีริลลิกโดยมีอักษรเฉพาะที่ไม่ได้ใช่ในภาษากลุ่มสลาวิก.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาตาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกี

ษาตุรกี (Türkçe ตืร์กเช หรือ Türk dili ตืร์ก ดิลิ) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก เป็นภาษาที่มีผู้พูด 65 – 73 ล้านคนทั่วโลกซึ่งถือเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่มีผู้พูดมากที่สุด ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในตุรกี และมีกระจายอยู่ในไซปรัส บัลแกเรีย กรีซ และยุโรปตะวันออก และมีผู้พูดอีกหลายสิบล้านคนที่อพยพไปอยู่ในยุโรปตะวันตกโดยเฉพาะเยอรมัน ต้นกำเนิดของภาษาพบในเอเชียกลางซึ่งมีการเขียนครั้งแรกเมื่อประมาณ 1,200 ปีมาแล้ว ภาษาตุรกีออตโตมันได้แพร่ขยายไปทางตะวันตกซึ่งเป็นผลมาจากการขยายตัวของจักรวรรดิออตโตมัน พ.ศ. 2471 หลังการปฏิรูปของอตาเตริ์กซึ่งเป็นปีแรกๆของยุคสาธารณรัฐใหม่ มีการปรับปรุงภาษาโดยแทนที่อักษรอาหรับในยุคออตโตมันด้วยอักษรละตินที่เพิ่มเครื่องหมายการออกเสียง มีการตั้งสมาคมภาษาตุรกีเพื่อลดการใช้คำยืมจากภาษาเปอร์เซียกับภาษาอาหรับ หันมาใช้คำดั้งเดิมของภาษากลุ่มเตอร์กิกแทน ลักษณะเด่นของภาษาตุรกีคือมีการเปลี่ยนเสียงสระและการเชื่อมคำแบบรูปคำติดต่อ การเรียงคำโดยทั่วไปเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา ไม่มีการแบ่งเพศของคำนาม.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกีออตโตมัน

ษาตุรกีออตโตมัน (ภาษาอังกฤษ: Ottoman Turkish; ภาษาตุรกี: Osmanlıca หรือ Osmanlı Türkçesi; ภาษาตุรกีออตโตมัน: لسان عثمانی‎ lisân-ı Osmânî) เป็นรูปแบบหนึ่งของภาษาตุรกีที่เคยเป็นภาษาในการปกครองและภาษาเขียนในจักรวรรดิออตโตมัน เป็นภาษาที่มีคำยืมจากภาษาอาหรับและภาษาเปอร์เซียมาก เขียนด้วยอักษรอาหรับ ภาษานี้ไม่เป็นที่เข้าใจในหมู่ชาวตุรกีที่มีการศึกษาต่ำ อย่างไรก็ตาม ภาษาตุรกีที่ใช้พูดในทุกวันนี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาตุรกีออตโตมันเช่นกัน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาตุรกีออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตงเซียง

ษาซานตา (Santa language) หรือภาษาตงเซียง (Dongxiang;ภาษาจีน: 东乡语) เป็นภาษากลุ่มมองโกลที่ใช้พูดโดยชาวตงเซียงในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของจีน ภาษาตงเซียงไม่มีการเปลี่ยนเสียงสระและไม่มีความต่างของความยาวเสียงสร.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาตงเซียง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซาริโกลี

ษาซาริโกลีเป็นภาษากลุ่มอิหร่านตะวันออกเฉียงใต้ กลุ่มย่อยปามีร์ พูดโดยชาวทาจิกในจีน ชื่อเป็นทางการในประเทศจีนคือภาษาทาจิก (塔吉克语/Tǎjíkèyǔ) แต่ถือว่าอยุ่ในกลุ่มย่อยที่ต่างจากภาษาทาจิกที่เป็นภาษาราชการของประเทศทาจิกิสถาน มีผู้พูดราว 10,000 คน ส่วนใหญ่อยู่ในเขตปกครองตนเองทักโกรคัน ทาจิกในมณฑลซินเจียง ผุ้พูดภาษานี้ใช้ภาษาอุยกูร์หรือภาษาจีนติดต่อกับผู้พุดภาษาอื่นๆในบริเวณนั้น โดยทั่วไปสามารถเข้าใจกันได้กับผู้พูดภาษาวาคี ซึ่งเป็นภาษาของชนกลุ่มน้อยชาวทาจิกจีนด้ว.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาซาริโกลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซุกนี

ษาซุกนี เป็นภาษากลุ่มปามีร์ในภาษากลุ่มอิหร่านตะวันออกเฉียงใต้ ใช้ในจังหวัดปกครองตนเองโคร์โน บาดักสถานในทาจิกิสถานและจังหวัดบาดักสถานในอัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาซุกนี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแบชเคียร์

ษาแบชเคียร์ (Bashkir language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ในรัสเซียมากกว่า 1,047,000 คน เมื่อ..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาแบชเคียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแคชเมียร์

ษาแคชเมียร์หรือภาษากัศมีร์เป็นภาษากลุ่มดาร์ดิก ใช้พูดในแคชเมียร์ จัดอยู่ในตระกูลอินโด-ยุเปียน สาขาอินโด-อารยัน เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม ในยุคแรกเขียนด้วยอักษรสรทะ แล้วเปลี่ยนเป็นอักษรอาหรับแบบเปอร์เซียภายหลัง วรรณกรรมภาษาแคชเมียร์มีมาก แต่ไม่ได้รับการสืบทอด ผู้พูดภาษานี้ก็ลดจำนวนลง ภาษานี้เพิ่งได้รับการยอมรับให้เป็นภาษาราชการและมีการสอนในโรงเรียนได้ไม่นาน นิตยสารและหนังสือพิมพ์ภาษาแคชเมียร์มีเพียงฉบับเดียว.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาแคชเมียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโภชปุรี

ษาโภชปุรีเป็นภาษาที่พูดกันแพร่หลายทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย คือทางตะวันตกของรัฐพิหาร ตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐฌารขัณฑ์ และบริเวณปุรวัณฉัลของอุตรประเทศรวมถึงทางใต้ของเนปาล ภาษาโภชปุรีมีผู้พูดในกายอานา ซูรินาม ฟิจิ ทรินิแดดฯ และมอริเชียสด้วย ภาษานี้ถือว่าไม่ใช่ภาษาถิ่นของภาษาฮินดี เตรียมจะรับรองสถานะเป็นภาษาประจำชาติอีกภาษาหนึ่ง ภาษาโภชปุรีมีคำศัพท์คล้ายคลึงกับภาษาสันสกฤต ภาษาฮินดี ภาษาอูรดู และภาษาตระกูลอินโด-อารยันอื่นๆในภาคเหนือของอินเดีย ภาษาโภชปุรีและภาษาใกล้เคียงได้แก่ ภาษาไมถิลีและภาษามคธีเป็นที่รู้จักโดยรวมว่าภาษาพิหาร ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มภาษาอินโด-อารยันตะวันออกเช่นเดียวกับภาษาเบงกาลีและภาษาโอริยา ภาษาถิ่นของภาษาโภชปุรีมีราว 3-4 ภาษาในภาคตะวันออกของรัฐอุตรประเท.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาโภชปุรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโรฮีนจา

ษาโรฮีนจา (โรฮีนจา: Ruáingga) เป็นภาษาที่พูดโดยชาวมุสลิมโรฮีนจา มีผู้พูดทั้งหมด 1,500,000 คน พบในพม่า 1,000,000 คน (พ.ศ. 2549) ในรัฐยะไข่ ประเทศพม่า พบในบังกลาเทศ 200,000 คน (พ.ศ. 2549) และอาจจะมีในมาเลเซีย ซาอุดีอาระเบีย และไทย จัดอยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน สาขาอินโด-อารยันตะวันออก สาขาย่อยเบงกาลี-อัสสัม ใกล้เคียงกับภาษาจิตตะกองในบังกลาเทศ มีคำยืมจากภาษาอูรดู ภาษาเบงกาลี ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอาหรับ ภาษาพม่า และภาษาอังกฤษมาก เดิมชาวโรฮีนจาอพยพจากบังกลาเทศเข้าไปอยู่ในพม่า และปัจจุบันมีผู้อพยพส่วนหนึ่งอพยพกลับไปสู่บังกลาเทศ แต่ถูกผลักดันให้กลับไปสู่พม.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาโรฮีนจา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโดกรี

ษาโดกรีเป็นภาษาในจัมมูร์และแคชเมียร์ รวมทั้งในรัฐปัญจาบและรัฐหิมาจัลประเทศ มีผู้พูดราว 2.1 ล้านคน แต่ก่อนถือว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาปัญจาบ แต่ปัจจุบันได้รับการยอมรับว่าเป็นอีกภาษาหนึ่งในอดีตเขียนด้วยอักษรตกริ ซึ่งคล้ายกับอักษรสรทะที่ใช้เขียนภาษาแคชเมียร์ ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรเทวนาครีหรืออักษรอาหรับ-เปอร์เซียแบบนัสตาลิก.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาโดกรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโควาร์

ษาโควาร์ จัดอยู่ในภาษากลุ่มดาร์ดิก มีผู้พูด 400,000 คน ในชิตรัล ประเทศปากีสถานทางตะวันตกฉียงเหนือ ในหุบเขายาซินและคูปิส ในคลิกิส บางส่วนของสวัตตอนบน เป็นภาษาที่สองในคลิกิสและฮันซา เชื่อกันว่ามีผู้พูดภาษาโควาร์จำนวนเล็กน้อยในอัฟกานิสถาน จีน อินเดีย ทาจิกิสถานและในกรุงอิสตันบูล ภาษาโควาร์มีลักษณะของภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียน อย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่นการใช้สรรพนาม.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาโควาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโนไก

ษาโนไก หรือภาษาตาตาร์ โนไก เป็นภาษาที่ใช้พูดทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัสเซีย แบ่งได้เป็นสำเนียงหลักสามสำเนียงคือ Qara-Nogay (โนไกเหนือหรือโนไกดำ), ใช้พูดในดาเกสถาน Nogai Proper, ใช้พูดใน Stavropol; และ Aqnogay (โนไกตะวันตกหรือโนไกขาว), ใช้พูดในบริเวณแม่น้ำกูบัน Qara-Nogay และNogai Proper มีลักษณะทางภาษาศาสตร์ใกล้เคียงกันแต่ Aqnogay มีลักษณะที่ต่างออกไป จัดอยู่ในภาษากลุ่มเคียปชัก-โนไก ของภาษากลุ่มเตอร์กิก สาขาเคียปชัก เช่นเดียวกับภาษาตาตาร์ ไครเมีย ภาษาการากัลปัก และภาษาคีร์กีซ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาโนไก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเคิร์ด

ษาเคิร์ด (کوردی‎ คูร์ดี) มีผู้พูดราว 31 ล้านคน ในอิรัก (รวมทั้งในเขตปกครองตนเองของชาวเคิร์ด) อิหร่าน ตุรกี ซีเรีย เลบานอน จัดอยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือ ตระกูลอินโด-ยุโรป ภาษาที่ใกล้เคียงคือ ภาษาบาโลชิ ภาษาคิเลกิ และภาษาตาเลียส ภาษาเปอร์เซียที่อยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้จัดเป็นภาษาใกล้เคียงด้วยแต่มีความแตกต่างมากกว่า 3 ภาษาข้างต้น.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาเคิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเคิร์ดตอนกลาง

ษาเคิร์ดตอนกลางหรือภาษาโซรานี (Sorani language ภาษาเคิร์ด: سۆرانی) เป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาเคิร์ดที่ใช้พูดในอิหร่านและอิรัก อยู่ในภาษากลุ่มอิหร่าน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาเคิร์ดตอนกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเคิร์ดใต้

ษาเคิร์ดใต้ (Southern Kurdish) เป็นสำเนียงหลักของภาษาเคิร์ดสำเนียงหนึ่งใช้พูดในทางใต้ของเคอร์ดิสถาน อิหร่านตะวันตกและอิรักตะวันออก ในอิหร่านมีผู้พูดในจังหวัดเกมันชาห์และจังหวัดอีแลม มีผู้พูดในอิหร่านราว 3 ล้านคนเมื่อ..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาเคิร์ดใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเตอร์กิกเก่า

ภาษาเตอร์กิกเก่า ใช้พูดโดยชาวกอกเติร์กและใช้ในจารึกอักษรออร์คอน ใกล้เคียงกับภาษาอุยกูร์โบราณ รวมทั้งภาษาเติร์กในเขตไซบีเรีย เป็นบรรพบุรุษของภาษากลุ่มเติร์กตะวันตก เช่นภาษาโอคุซและภาษาเคียปชัก เตอร์กิกเก่า.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาเตอร์กิกเก่า · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเติร์กเมน

ษาเติร์กเมน (Turkmen, Туркмен, ISO 639-1: tk, ISO 639-2: tuk) คือชื่อภาษาราชการของประเทศเติร์กเมนิสถาน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาเติร์กเมน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปอร์เซีย

ษาเปอร์เซีย หรือ ฟาร์ซี (فارسی Farsi, ฟอร์ซี ชื่อท้องถิ่นใน ประเทศอิหร่าน และประเทศอัฟกานิสถาน), ทาจิก (Tajik, ภาษาย่อยในเอเชียกลาง) หรือ ดารี (Dari ชื่อท้องถิ่นในประเทศอัฟกานิสถาน) เป็นภาษาที่พูดใน ประเทศอิหร่าน ประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศบาห์เรน และประเทศอุซเบกิสถาน เป็นภาษาทางการใน 3 ประเทศแรกที่กล่าวไว้ คนที่พูดเป็นภาษาแม่มีอยู่ประมาณ 75 ล้านคน เป็นสมาชิกของภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เป็นชนิดประธาน กรรม กร.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและภาษาเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

ยูนิโคด

The Unicode Standard, Version 5.0 อักขระยูนิโคดทั้งหมดเมื่อพิมพ์ลงกระดาษ (รวมทั้งสองแผ่น) ยูนิโคด (Unicode) คือมาตรฐานอุตสาหกรรมที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์แสดงผลและจัดการข้อความธรรมดาที่ใช้ในระบบการเขียนของภาษาส่วนใหญ่ในโลกได้อย่างสอดคล้องกัน ยูนิโคดประกอบด้วยรายการอักขระที่แสดงผลได้มากกว่า 100,000 ตัว พัฒนาต่อยอดมาจากมาตรฐานชุดอักขระสากล (Universal Character Set: UCS) และมีการตีพิมพ์ลงในหนังสือ The Unicode Standard เป็นแผนผังรหัสเพื่อใช้เป็นรายการอ้างอิง นอกจากนั้นยังมีการอธิบายวิธีการที่ใช้เข้ารหัสและการนำเสนอมาตรฐานของการเข้ารหัสอักขระอีกจำนวนหนึ่ง การเรียงลำดับอักษร กฎเกณฑ์ของการรวมและการแยกอักขระ รวมไปถึงลำดับการแสดงผลของอักขระสองทิศทาง (เช่นอักษรอาหรับหรืออักษรฮีบรูที่เขียนจากขวาไปซ้าย) ยูนิโคดคอนซอร์เทียม (Unicode Consortium) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร เป็นผู้รับผิดชอบในการพัฒนายูนิโคด องค์กรนี้มีจุดมุ่งหมายเกี่ยวกับการแทนที่การเข้ารหัสอักขระที่มีอยู่ด้วยยูนิโคดและมาตรฐานรูปแบบการแปลงยูนิโคด (Unicode Transformation Format: UTF) แต่ก็เป็นที่ยุ่งยากเนื่องจากแผนการที่มีอยู่ถูกจำกัดไว้ด้วยขนาดและขอบเขต ซึ่งอาจไม่รองรับกับสภาพแวดล้อมหลายภาษาในคอมพิวเตอร์ ความสำเร็จของยูนิโคดคือการรวมรหัสอักขระหลายชนิดให้เป็นหนึ่งเดียว นำไปสู่การใช้งานอย่างกว้างขวางและมีอิทธิพลต่อการแปลภาษาของซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ นั่นคือโปรแกรมจะสามารถใช้ได้หลายภาษา มาตรฐานนี้มีการนำไปใช้เป็นเทคโนโลยีหลักหลายอย่าง อาทิ เอกซ์เอ็มแอล ภาษาจาวา ดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก และระบบปฏิบัติการสมัยใหม่ ยูนิโคดสามารถนำไปใช้งานได้ด้วยชุดอักขระแบบต่าง ๆ ชุดอักขระที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ UTF-8 (ใช้ 1 ไบต์สำหรับอักขระทุกตัวในรหัสแอสกีและมีค่ารหัสเหมือนกับมาตรฐานแอสกี หรือมากกว่านั้นจนถึง 4 ไบต์สำหรับอักขระแบบอื่น) UCS-2 ซึ่งปัจจุบันเลิกใช้แล้ว (ใช้ 2 ไบต์สำหรับอักขระทุกตัว แต่ไม่ครอบคลุมอักขระทั้งหมดในยูนิโคด) และ UTF-16 (เป็นส่วนขยายจาก UCS-2 โดยใช้ 4 ไบต์ สำหรับแทนรหัสอักขระที่ขาดไปของ UCS-2).

ใหม่!!: อักษรอาหรับและยูนิโคด · ดูเพิ่มเติม »

ย้อด

ย้อด (Yod อาจสะกดเป็น Yud หรือ Yodh) เป็นอักษรตัวที่สิบของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ เช่น อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู י‎, อักษรซีเรียค และอักษรอาหรับ ﻱ‎ (ยาอ์) แทนด้วยสัทอักษร อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก (Ι), อักษรละติน I, อักษรซีริลลิกสำหรับภาษายูเครนและภาษาเบลารุส І, (Ⲓ) และอักษรกอทิก eis (̹) เชื่อว่ามาจากอักษรภาพรูปมือ (จากภาษาอาหรับและภาษาฮีบรูสมัยใหม่, yad) หรืออาจจะมาจากอักษรไฮโรกลิฟรูปแขน หมวดหมู่:อักษรอาหรับ fa:ی ja:ي.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและย้อด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษร

อักษรในภาษาต่างๆ แบ่งตามชนิดอักษร.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและรายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามทิศทางการเขียน

รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามทิศทางการเขียน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและรายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามทิศทางการเขียน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอัฟกานิสถาน

หน้านี้คือรายการธงที่มีการใช้ในประเทศอัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและรายชื่อธงในประเทศอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอุซเบกิสถาน

ตารางข้างล่างนี้แสดงภาพธงต่างๆที่ใช้ในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและรายชื่อธงในประเทศอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ลาเมด

ลาเมด (Lamed, Lamedh) เป็นอักษรตัวที่ 12 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ל และอักษรอาหรับ ل (ลาม لَامْ) ใช้แทนเสียง อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Λ อักษรละติน L และอักษรซีริลลิก Л เชื่อกันว่ามาจากไฮโรกลิฟรูปปฏักหรือต้นกก หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและลาเมด · ดูเพิ่มเติม »

วาฟ

วาฟ (Waw, Vav) เป็นอักษรตัวที่ 6 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู อักษรซีเรียค ܘ และอักษรอาหรับ و (วาว) ใช้แทนเสียง หรือ อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Ϝ และ Υ อักษรอีทรัสคัน v และอักษรละติน F V, และ Y; V ต่อมาพัฒนาเป็น U และ W มาจากไฮโรกลิฟรูปห่วง และเป็นทฤษฎีของ ศรันย์ ซึ่งต้องการจะพิสูจน์ว่า เราสามารถเดินทางด้วยความเร็วแสงได้หรือไม่ หมวดหมู่:อักษรอาหรับ en:Waw (letter)#Arabic wāw.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและวาฟ · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาคาซัค

วิกิพีเดียภาษาคาซัค เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาคาซัค เริ่มสร้างเมื่อมิถุนายน พ.ศ. 2545 วิกิพีเดียภาษาคาซัคมีอัตราการเติบโตที่สูงมาก คุณลักษณะเฉพาะของมันคือมันจะถูกเขียนในอักษรที่แตกต่างกันทั้งสามชนิด คือ อักษรซีริลลิก, อักษรละติน, และอักษรอาหรับ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2555 วิกิพีเดียภาษาคาซัคได้ผ่านการเกณฑ์ 200,000 บทความ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและวิกิพีเดียภาษาคาซัค · ดูเพิ่มเติม »

ษาล

ษาล หรือ ซาล (ﺫ‎) เป็นอักษร 1 ใน 6 ตัว ของอักษรอาหรับที่เพิ่มจากอักษร 22 ตัวของอักษรฟินิเชีย ใช้แทนเสียงก้อง เกิดจากฟัน และเป็นเสียงในลำคอ (voiced dental fricative; สัทศาสตร์สากล) เสียงนี้เป็นเสียงเดียวกับ th ในภาษาอังกฤษ แต่การถอดเป็นอักษรโรมันมักถอดเสียงนี้เป็น dh หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและษาล · ดูเพิ่มเติม »

ษาอ์

ษาอ์ (ث) เป็นอักษร 1 ใน 6 ตัว ของอักษรอาหรับ ที่เพิ่มจากอักษร 22 ตัวของอักษรฟินิเชีย ใช้แทนเสียงไม่ก้อง เกิดจากฟัน และเป็นเสียงในลำคอ (ثَاءْ) (สัทศาสตร์สากล) ในคำทับศัพท์จะแทนด้วย ษ หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและษาอ์ · ดูเพิ่มเติม »

สระ (สัทศาสตร์)

ในทางสัทศาสตร์ สระ (สะ-หฺระ) หมายถึงเสียงในภาษาที่เปล่งออกมาจากช่องเสียง (vocal tract) ที่เปิดออกโดยตรงจากช่องเส้นเสียง (glottis) โดยไม่กักอากาศ ตัวอย่างเช่น "อา" หรือ "โอ" (โดยไม่กักอากาศด้วยอักษร อ) ตรงข้ามกับพยัญชนะซึ่งมีการกักอากาศอย่างน้อยหนึ่งจุดภายในช่องเสียง เสียงสระสามารถจัดได้ว่าเป็นพยางค์ ส่วนเสียงเปิดที่เทียบเท่ากันแต่ไม่สามารถเปล่งออกมาเป็นพยางค์ได้เรียกว่า กึ่งสระ (semivowel) เสียงสระเป็นแกนพยางค์ (syllable nucleus) ในทุกภาษา ซึ่งเสียงพยัญชนะจะเกิดขึ้นก่อนหรือหลังเสียงสระเสมอ อย่างไรก็ตามในบางภาษาอนุญาตให้เสียงอื่นเป็นแกนพยางค์ เช่นคำในภาษาอังกฤษ table "โต๊ะ" ใช้เสียง l เป็นแกนพยางค์ (ขีดเล็กๆ ที่อยู่ใต้ l หมายถึงสามารถออกเสียงได้เป็นพยางค์ ส่วนจุดคือตัวแบ่งพยางค์) หรือคำในภาษาเซอร์เบีย vrt "สวน" เป็นต้น แต่เสียงเหล่านี้ไม่เรียกว่าเป็นเสียงสร.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและสระ (สัทศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ

ัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ คือสัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งส่วนจำนวนเต็มออกจากเศษของจำนวนในเลขฐานสิบ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จุดทศนิยม นิยมใช้มหัพภาค (.) เป็นตัวแบ่ง สำหรับมหัพภาคที่ปรากฏในเลขฐานอื่นจะไม่เรียกว่าจุดทศนิยม แต่เรียกว่า จุดฐาน (radix point) สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบยังหมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งตัวเลขจำนวนขนาดใหญ่ออกเป็นกลุ่มที่เรียกว่า สัญลักษณ์แบ่งหลักพัน หรือ เครื่องหมายคั่นหลักพัน นิยมใช้จุลภาค เป็นตัวแบ่งที่ทุกๆ หลักพัน แต่ในบางประเทศอาจมีการสลับการใช้งานมหัพภาคกับจุลภาค หรือแบ่งตรงหลักอื่นที่ไม่ใช่หลักพัน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรกีฬาอัลอะฮ์ลี

มสรกีฬาอัลอะฮ์ลี (อารบิก: النادي الأهلي للألعاب الرياضية) (El Nady El Ahly El Riady, แปล:สโมสรกีฬาแห่งชาติ) เป็นสโมสรกีฬาตั้งอยู่ที่กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ มีชื่อเสียงในด้านทีมฟุตบอลซึ่งกำลังแข่งขันในพรีเมียร์ลีกอียิปต์ ลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศ อัลอะฮ์ลีก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 เมษายน..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและสโมสรกีฬาอัลอะฮ์ลี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรชวา

อักษรชวา (ภาษาชวา: 110px อักซาราจาวา) หรือ ฮานาจารากา (90px) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาชวา โดยก่อนหน้าที่จะใช้อักษรชวาเขียน ราว..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรชวา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรบูรีโวลิโอ

อักษรบูรีโวลิโอ (Buri Wolio)เป็นอักษรอาหรับที่มีลักษณะใกล้เคียงกับอักษรยาวี ดัดแปลงมาเพื่อใช้เขียนภาษาโวลีโอซึ่งเป็นภาษาที่ใช้พูดในเมืองเบาเบา เกาะบูตน สุลาเวสีตะวันออกเฉียงใต้ อักษรนี้มีลักษณะใกล้เคียงกับอักษรยาวี ต่างกันเพียงว่าอักษรบูรีโวลิโอนี้มีเครื่องหมายแทนสระด้วย อักษรนี้ประกอบด้วยอักษร 22 ตัว มาจากอักษรอาหรับ 17 ตัว และอักษรยาวี 5 ตัว.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรบูรีโวลิโอ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฟินิเชีย

ัญชนะและตัวเลขของอักษรฟินิเชีย อักษรฟินิเชีย พัฒนามาจากอักษรคานาอันไนต์ยุคแรกเริ่ม ซึ่งปรากฏครั้งแรกราว 1,800-1,700 ปีก่อนคริสต์ศักราช จารึกเก่าสุดมาจากเมืองโบราณไบบลอส อายุราว 1,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช มีอักษร 22 ตัว ไม่มีเครื่องหมายสระ ชื่อตัวอักษรเหมือนที่ใช้เรียกอักษรฮีบรู.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรฟินิเชีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรมองโกเลีย

อักษรมองโกเลีย (17px Mongγol bičig, ซีริลลิก: Монгол бичиг, Mongol bichig) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษามองโกเลีย เมื่อ..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรมาลายาลัม

อักษรมาลายาลัม หรือ อักษรมาลายะลัม ใช้เขียนภาษามาลายาลัม ปรากฏครั้งแรกในจารึก อายุราว พ.ศ. 1373 พัฒนามาจากอักษรวัตเตศุถุ ซึ่งมาจากอักษรพราหมีอีกต่อหนึ่ง เนื่องจากรูปแบบของอักษรมาลายาลัมไม่เหมาะกับการพิมพ์ จึงมีการปรับรูปแบบให้ง่ายเข้าในช่วง..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรมาลายาลัม · ดูเพิ่มเติม »

อักษรยาญาอิมลา

หน้าปกของหนังสือที่ใช้อักษายาญาอิมลา พิมพ์ด้วยอักษรอาหรับแบบแยกใน พ.ศ. 2467 อักษรยาญาอิมลา (Yaña imlâ: ออกเสียง; อักษรซีริลลิก: яңа имля; ภาษาตาตาร์ หมายถึงการเขียนใหม่) เป็นรูปแบบดัดแปลงของอักษรอาหรับที่ใช้เขียนภาษาตาตาร์ระหว่าง..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรยาญาอิมลา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรยาวี

ตัวอย่างอักษรยาวี อักษรยาวี (حروف جاوي) เป็นอักษรอาหรับดัดแปลงสำหรับเขียนภาษามลายู ภาษาอาเจะฮ์ ภาษาบันจาร์ ภาษามีนังกาเบา ภาษาเตาซูก และภาษาอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ นักปราชญ์คนหนึ่งของปัตตานี ชื่อ ชัยค์ อะห์มัด อัลฟะฏอนี (Syeikh Ahmad al-Fathani) ได้วางกฎเกณฑ์การใช้อักษรยาวีเพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการเขียนภาษามลายูในท้องถิ่นนี้ ในอดีต โลกมลายูใช้อักษรยาวีมาช้านาน ก่อนที่จะเปลี่ยนไปใช้อักษรรูมี ปัจจุบันชาวมุสลิมในประเทศไทยที่พูดภาษามลายู นิยมใช้อักษรยาวีบันทึกเรื่องราวในศาสนา และการสื่อสารต่าง ๆ ส่วนนักเรียนในโรงเรียนปอเนาะ หรือโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จะเริ่มเรียนอักษรยาวีสำหรับอ่านเขียนภาษาอาหรับ (ภาษาในคัมภีร์อัลกุรอาน) ตั้งแต่ยังเยาว์ อักษรยาวียังคงใช้กันอยู่บ้างในมาเลเซีย บรูไน และสุมาตรา คำว่า ยาวี นั้นมาจากคำว่า jawa หมายถึง ชวา นั่นเอง ทั้งนี้ก็เพราะชาวชวาได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานในมะละกาและปัตตานี ได้นำอักษรอาหรับดัดแปลงมาเผยแพร่ และในที่สุดได้รับมาใช้ในชุมชนที่พูดภาษามลายูปัตตานีมาช้านาน เป็นที่น่าสังเกตว่า ยังมีความสับสนในการเรียกชื่ออักษรยาวี และภาษามลายูว่า "ภาษายาวี" แม้กระทั่งในหมู่ผู้พูดภาษามลายู ทว่าความจริงแล้วไม่มีภาษายาวี มีแต่อักษรยาวีกับภาษามลายู.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรยาวี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรรูมี

อักษรรูมี (tulisan rumi) คืออักษรโรมันที่ใช้เขียนภาษามลายู ในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน และสิงคโปร์ คำว่า "รูมี" นั้นแผลงมาจากคำว่า "โรมัน" (Roman) หมายถึงอักษรโรมัน คำว่า "อักษรรูมี" ในภาษามลายูจะหมายรวมถึงอักษรโรมันที่ใช้เขียนภาษาอื่น ๆ เช่นภาษาตากาล็อกด้วย ส่วนในภาษาไทย "อักษรรูมี" หมายถึงอักษรโรมันที่ใช้เขียนภาษามลายูเท่านั้น การกำหนดใช้อักษรโรมันเพื่อถ่ายเสียงภาษามลายูนั้น มีระบบและกฎเกณฑ์ที่แน่นอน เข้าใจง่าย และเขียนได้สะดวก โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่ไม่ใช่เจ้าของภาษา สำหรับผู้ที่ใช้ภาษามลายูเป็นภาษาแม่ อาจคุ้นเคยกับการเขียนอักษรยาวี ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรอาหรับ แต่ทั้งอักษรยาวีและอักษรรูมี ก็สามารถถ่ายทอดเสียงภาษามลายูได้เช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรรูมี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรลัณฑา

อักษรลัณฑะ (Laṇḍā) พัฒนามาจากอักษรศารทา เมื่อราว..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรลัณฑา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรวาดาอัด

text.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรวาดาอัด · ดูเพิ่มเติม »

อักษรสำหรับภาษาฟูลา

อักษรสำหรับภาษาฟูลา เดิมภาษานี้เขียนด้วยอักษรอาหรับที่เรียกอักษรอยามี ก่อนจะเปลี่ยนมาเขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรสำหรับภาษาฟูลา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรสิเลฏินาครี

อักษรสิเลฏินาครี ใกล้เคียงกับอักษรไกถีของรัฐพิหาร จุดกำเนิดยังไม่แน่ชัด เริ่มพบครั้งแรกเมื่อราว..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรสิเลฏินาครี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอยามี

อักษรอยามี (Ajami: عجمي)หรืออยามิยะห์ (عجمية), เป็นชื่อของอักษรชนิดหนึ่งโดยมีรากศัพท์มาจากภาษาอาหรับหมายถึงต่างชาติ เป็นการนำอักษรอาหรับมาใช้เขียนภาษาในกลุ่มภาษาแอฟริกา โดยเฉพาะภาษาฮัวซาและภาษาสวาฮิลี ภาษากลุ่มแอฟริกามีระบบสัทวิทยาต่างจากภาษาอาหรับทำให้มีการปรับอักษรอาหรับเพื่อแสดงเสียงเหล่านั้น ด้วยระบบที่ต่างไปจากอักษรอาหรับที่ใช้ในกลุ่มที่ไม่ได้พูดภาษาอาหรับในตะวันออกกลาง ภาษาฮัวซาในแอฟริกาตะวันตกเป็นตัวอย่างของภาษาที่ใช้อักษรอยามี โดยเฉพาะในช่วงก่อนเป็นอาณานิคม เมื่อมีโรงเรียนสอนอัลกุรอ่านให้แก่เยาวชนมุสลิม และได้สอนอักษรอยามีด้วย เมื่อเจ้าอาณานิคมตะวันตกได้พัฒนาระบบการเขียนภาษาฮัวซาด้วยอักษระลตินหรือโบโก การใช้อักษรอยามีได้ลดลง และปัจจุบันใช้น้อยกว่าอักษรละติน แต่ยังใช้อยู่มากในงานทางด้านศาสนาอิสลาม การใช้อักษรอยามีกับภาษาอื่นในประเทศมุสลิมพบได้ทั่วไป.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรอยามี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอาร์วี

อักษรอาร์วี (Arwi (لسان الأروي lisān-ul-arwī หรือ lisān al-arwi; lit. "the Arwi tongue"; அரபு-தமிழ் arabu-tamil หรือ Arabo-Tamil) เป็นการเขียนภาษาทมิฬด้วยอักษรอาหรับ ได้รับอิทธิพลจากภาษาอาหรับ ใช้โดยชนกลุ่มน้อยมุสลิมในรัฐทมิฬนาฑู และศรีลังกา ในมาดราซายังสอนอักษรอาร์วีในหลักสูตร.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรอาร์วี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอาหรับ/ผังยูนิโคด

ตารางต่อไปนี้เป็นอักษรอาหรับที่อยู่บนยูนิโคด หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรอาหรับ/ผังยูนิโคด · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมัน

ปฏิทินปี 1896 ในเทสซาโลนีกี ในสามบรรทัดแรกเป็นภาษาตุรกีออตโตมัน เขียนด้วยอักษรอาหรับ อักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมัน (ภาษาตุรกีออตโตมัน: الفبا elifbâ) เป็นรูปแบบของ อักษรอาหรับ ที่เพิ่มอักษรบางตัวจาก อักษรเปอร์เซีย ใช้เขียนภาษาตุรกีออตโตมัน ในสมัยจักรวรรดิออตโตมัน และในช่วงแรกๆของสาธารณรัฐตุรกี จนถึง..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอาหรับสำหรับภาษาแอฟริคานส์

อักษรอาหรับสำหรับภาษาแอฟริคานส์ (Arabic Afrikaans; Arabiese Afrikaans; اَرابيسي اَفريكانس) เป็นการนำอักษรอาหรับมาเขียนภาษาแอฟริคานส์ เริ่มเมื่อ..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรอาหรับสำหรับภาษาแอฟริคานส์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอิสเกอิมลา

Qazan'' – قازان เขียนด้วยอักษรยาญาอิมลาซึ่งคล้ายคลึงกับ Zilant ป้ายจารึกบนหลุมฝังศพของ Ğabdulla Tuqay ในปี 2554 ซึ่งจารึกชื่อด้วยภาษาตาตาร์เขียนด้วยอักษรอาหรับ ปกของหนังสือภาษาตาตาร์เบื้องต้นสำหรับชาวรัสเซียเขียนด้วยอักษรอาหรับเมื่อ พ.ศ. 2321 ''Dini kitaplar'' (''หนังสือทางศาสนา'') เขียนด้วยอักษรซีริลลิกและอิสเกอิมลา อิสเกอิมลานิยมใช้ในหมู่มุสลิมอย่างชัดเจน อีกตัวอย่างของการใช้อักษรอาหรับในภาษาตาตาร์ เหรียญโทรศัพท์ ใช้เมื่อราว พ.ศ. 2533 ในเครือข่ายโทรศัพท์กาซาน คำว่ากาซานเขียนด้วยภาษารัสเซีย (Казань) และภาษาตาตาร์ด้วยอิสเกอิมลา (قزان) อักษรอิสเกอิมลา (İske imlâ; "การเขียนแบบเก่า", ออกเสียง isˈke imˈlʲæ|) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรอาหรับที่ใช้เขียนภาษาตาตาร์โบราณและภาษาตาตาร์ก่อน..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรอิสเกอิมลา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอุยกูร์

อักษรอุยกูร์ (Uyghur /Уйғур /ئۇيغۇر) เริ่มแรกภาษาอุยกูร์เขียนด้วยอักษรออร์กอนซึ่งเป็นอักษรรูนส์อักษรอุยกูร์นี้พัฒนามาจากอักษรซอกเดีย ที่มาจากอักษรอราเมอิกอีกต่อหนึ่ง ใช้ในระหว่าง..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรอุยกูร์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอูรดู

อักษรอูรดู เป็นระบบการเขียนที่เขียนจากขวาไปซ้าย ใช้เขียนภาษาอูรดู โดยปรับปรุงมาจากอักษรเปอร์เซีย ที่พัฒนามาจากอักษรอาหรับ มีอักษร 38 ตัว อักษรอูรดูจะนิยมเขียนแบบ นาสตาลิกในขณะที่ อักษรอาหรับโดยทั่วไปจะเขียนแบบ นาสค์ โดยทั่วไป การถอดอักษรอูรดูมาเป็นอักษรโรมัน จะขาดหน่วยเสียงที่ไม่มีในภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นๆที่เขียนด้วยอักษรละติน สถาบันภาษาแห่งชาติ แห่ง ปากีสถาน ได้พัฒนาระบบสำหรับเสียงที่ไม่พบในภาษาอังกฤษ แต่จะเหมาะสมกับผู้ที่รู้ภาษาอูรดู ภาษาอาหรับหรือภาษาเปอร์เซียมากกว่า ประเทศที่มีผู้พูดภาษาอูรดูได้แก่: อัฟกานิสถาน, บาห์เรน, บังกลาเทศ, บอตสวานา, ฟิจิ, เยอรมัน, กายอานา, อินเดีย, มาลาวี, มอริเชียส, เนปาล, นอร์เวย์, โอมาน, กาตาร์, ซาอุดิอาระเบีย, แอฟริกาใต้, ไทย, สหรัฐอาหรับ, สหราชอาณาจักรและแซมเบี.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรอูรดู · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอเวสตะ

อักษรอเวสตะ (Avestan alphabet)ประดิษฐ์เมื่อราว..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรอเวสตะ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฮีบรู

อรมันในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เขียนโดย Elijah Levita อักษรฮีบรูเป็นอักษรตระกูลเซมิติกไร้สระชนิดหนึ่ง ใช้ในการเขียนงานในภาษาฮีบรู ในยุคแรกๆอักษรฮีบรูโบราณพัฒนามาจากอักษรฟินิเชีย อักษรฮีบรูรุ่นใหม่พัฒนามาจากอักษรอราเมอิกรุ่นแรกๆ จารึกภาษาฮีบรูพบครั้งแรกเมื่อ 557 ปีก่อนพุทธศักราช อักษรนี้เขียนจากขวาไปซ้ายในแนวนอน ตัวอักษรบางตัว เช่น กาฟ, เมม, นุน, ฟี และซาดดี มีรูปท้ายคำ ซึ่งจะพบในตำแหน่งสุดท้ายของคำเท่านั้น ไม่มีตัวเลข ใช้เลขอารบิกแทน สระเสียงยาวกำหนดโดยตัว อะเลฟ, วาว และโยด/ยุด ไม่แสดงสระเสียงสั้นยกเว้นในไบเบิล กวีนิพนธ์และหนังสือสำหรับเด็กและชาวต่างชาต.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

อักษรจาม

อักษรจาม อักษรจาม พัฒนามาจากอักษรพราหมี จารึกอักษรจามพบครั้งแรกราว พ.ศ. 1543.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรจาม · ดูเพิ่มเติม »

อักษรทานะ

อักษรทานะ (ތާނަ) ใช้เขียนภาษามัลดีฟส์ เริ่มใช้ในเอกสารราชการของสาธารณรัฐมัลดีฟส์ตั้งแต่ พ.ศ. 2246 โดยใช้แทนอักษรเดิมคืออักษรดิเวส อกุร.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรทานะ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรทิฟินาค

อักษรทิฟินาค (ⵜⵉⴼⵉⵏⴰⵖ, Tifinaɣ Tifinagh) พัฒนามาจากอักษรเบอร์เบอร์โบราณ คำว่า “ทิฟินาค” หมายถึงอักษรฟินิเชีย หรืออาจมาจากภาษากรีก “pínaks” หมายถึง การเขียนป้าย อักษรนี้ใช้ในการเขียนบันทึกส่วนตัว จดหมายและการประดับตกแต่ง ส่วนเอกสารในระดับสาธารณะใช้อักษรอาหรับ นักเรียนระดับประถมศึกษาในโมร็อกโกต้องเรียนภาษาทามาไซต์ด้วยอักษรชนิดนี้ตั้งแต่ เดือนกันยายน..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรทิฟินาค · ดูเพิ่มเติม »

อักษรตระกูลเซมิติก

อักษรตระกูลเซมิติก เป็นกลุ่มของตัวอักษรที่พัฒนามาจากอักษรคานาอันไนต์ที่ได้แรงบันดาลใจจากอักษรไฮโรกลิฟฟิกของอียิปต์โบราณ อักษรเหล่านี้ไม่ได้มาจากสัญลักษณ์แทนพยัญชนะของชาวอียิปต์ แต่เป็นการรวมอักษรไฮโรกลิฟฟิกอื่นๆเข้ามาด้วย ทั้งหมดมี 30 ตัว กำหนดชื่อเป็นภาษาเซมิติก เช่น ไฮโรกลิฟ per (บ้าน ในภาษาอียิปต์) กลายเป็น bayt (บ้าน ในภาษาเซมิติก) เมื่อนำมาเขียนภาษาเซมิติกจะเป็นระบบพยัญชนะล้วน โดยอักษรแต่ละตัวแทนเสียงพยัญชนะตัวแรกของชื่อ เช่น รูปบ้าน beyt ใช้แทนเสียง b หรือใช้แทนทั้งเสียง b และลำดับพยัญชนะ byt ดังที่ใช้แทนเสียง p และลำดับพยัญชนะ pr ในภาษาอียิปต์ ในยุคที่ชาวคานาอันนำอักษรนี้ไปใช้ จะใช้แทนเสียง b เท่านั้น ไม่มีหลักฐานว่าอักษรเซมิติกเริ่มต้นมีจำนวนเท่าใดและเรียงลำดับอย่างใด อักษรที่พัฒนาต่อมานั้น อักษรยูการิติคมี 27 ตัว และอักษรฟินิเชียมี 22 ตัว การเรียงลำดับของอักษรเหล่านี้มี 2 แบบ คือ ลำดับ ABGDE ของอักษรฟินิเชีย และลำดับ HMĦLQ ของอักษรทางใต้ อักษรยูการิติกใช้ทั้ง 2 แบบ ชื่อของอักษรมักใช้ตามอักษรฟินิเชีย ทั้งอักษรซามาริทัน อักษรอราเมอิก อักษรซีเรียค อักษรฮีบรูและอักษรกรีก แต่ต่างไปในอักษรอาหรับและอักษรละติน แต่ไม่มีการใช้ชื่ออักษรในอักษรพราหมีและอักษรรูนิก.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรตระกูลเซมิติก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรตัวใหญ่

การเก็บตัวพิมพ์แยกระหว่างตัวใหญ่กับตัวเล็ก อักษรกรีก บีตา ตัวใหญ่อยู่ทางซ้าย อักษรตัวใหญ่ (อังกฤษ: capital letter, majuscule) คือกลุ่มของอักษรประเภทหนึ่งในระบบการเขียน เช่นในอักษรละติน: A, B, C, D,...

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรตัวใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรซีริลลิก

ประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิก อักษรซีริลลิก หรือ อักษรซิริลลิก (Cyrillic script) เป็นตัวอักษรที่ใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในกลุ่มภาษาสลาวิกนอกจากนี้ยังใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในอีกหลายประเทศ แต่ไม่มีอักษรซีริลลิกทุกตัวกับภาษาใด ขึ้นอยู่กับการเขียนในภาษานั้น ในกลุ่มประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิกด้วยกันเอง จะไม่เรียก ซีริล แต่จะออกเสียงว่า คีริล แทน เช่น ในภาษารัสเซียเรียกอักษรซีริลลิกว่า Кириллица คีริลลิซ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรซีริลลิก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรซีรีแอก

หนังสือเขียนด้วยอักษรซีรีแอก อักษรซีรีแอก (Syriac script) เป็นอักษรที่ใช้ในวรรณคดีทางศาสนาของชาวคริสต์ในซีเรีย ราว..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรซีรีแอก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรนาบาทาเอียน

อักษรนาบาทาเอียน หรืออักษรนาบาเทียน พัฒนามาจากอักษรอราเมอิก ในราว พ.ศ. 643 จารึกหินอักษรนาบาทาเอียน พบในเปตรา เมืองหลวงของราชอาณาจักรนาบาทาเอียน (พ.ศ. 393 - 643) ดามัสกัส และเมดินา ราวคริสต์ศตวรรษที่ 4 -5 อักษรนาบาทาเอียนพัฒนามาเป็นอักษรอาหรั.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรนาบาทาเอียน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรนดยุกา

อักษรนดยุกา (Ndjuká syllabary)ประดิษฐ์โดย อฟากา อตูมิสิ แห่งสุรินาเมตะวันออก ใน พ.ศ. 2453 เขากล่าวว่าเขาได้รับแรงดลใจจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในการคิดอักษรนี้ รูปร่างอักษรมีพื้นฐานมาจากอักษรและตัวเลขของอักษรอาหรับและอักษรละติน และจากสัญลักษณ์รูปภาพที่ใช้อยู่ทั่วไปในหมู่ชาวแอฟริก.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรนดยุกา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรโวลอฟ

อักษรอาหรับสำหรับภาษาโวลอฟ หรืออักษรโวโลฟัล (Wolofal) เป็นอักษรอาหรับรูปแบบหนึ่งสำหรับใช้เขียนภาษาโวลอฟ สิ่งนี้เป็นพื้นฐานของอักษรอยามีในแอฟริกาตะวันตก อักษรอาหรับนี้เป็นอักษรชนิดแรกที่ใช้เขียนภาษาโวลอฟ แม้ว่าในปัจจุบันจะใช้อักษรละตินเป็นอักษรทางการในเซเนกัล แต่ก็ยังมีการใช้อักษรอาหรับในชนบางกลุ่มเพื่อบ่งถึงวัฒนธรรมอิสลามในหมู่ชาวโวลอฟ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรโวลอฟ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรโซมาลี

อักษรโซมาลี (Somali or af Soomaali) หรือออสมันยา ประดิษฐ์ขึ้นระหว่าง..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรโซมาลี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรโซราเบ

อักษรโซราเบ (Sorabe หรือ Sora-be) เป็นอักษรอาหรับที่ใช้เขียนภาษามาลากาซีในช่วงประมาณพุทธศตวรรษที่ 20 คำว่าโซราเบนั้นแปลตรงตัวว่าการเขียนใหญ่ โดยมาจากภาษาอาหรับ "sura" (การเขียน) และภาษามาลากาซี "be" (ใหญ่) ระบบการเขียนนี้ถูกนำเข้ามาผ่านทางการค้ากับชาวอาหรับมุสลิมFerrand, Gabriel (1905) แต่นักวิชาการบางกลุ่มเห็นว่าอาจจะได้รับจากชาวชวามุสลิม เนื่องจากมีมีความคล้ายคลึงระหว่างอักษรโซราเบกับอักษรเปโกน ที่ใช้เขียนภาษาชวา อักษรนี้ที่เป็นลายมือเขียนราว 200 ชิ้นนั้นพบว่าไม่มีอันที่เขียนก่อนพุทธศตวรรษที่ 22.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรโซราเบ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเบยทากุกจู

อักษรเบยทา กุกจู (Beitha Kukju script) ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรเบยทากุกจู · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเบรลล์ภาษาอาหรับ

อักษรเบรลล์ภาษาอาหรับ (birēl ʻarabīyah / birayl&#x202F) เป็นตัวอักษรเบรลล์ของภาษาอาหรับ เริ่มใช้ตั้งแต่ปี คริสตศตวรรษ 1950.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรเบรลล์ภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเสี่ยวเอ้อร์

นานุกรมภาษาจีน-ภาษาอาหรับ-เสี่ยวเอ้อร์ในช่วงแรกของสาธารณรัฐประชาชนจีน อักษรเสี่ยวเอ้อร์ หรือ เสี่ยวเอ้อร์จิง (Xiao'erjing or Xiao'erjin or Xiaor jin หรืออย่างย่อว่า Xiaojing), แปลตรงตัวคือการเขียนของเด็ก หรือการเขียนส่วนน้อย โดยการเขียนดั้งเดิมจะหมายถึงอักษรอาหรับต้นแบบ เป็นรูปแบบการเขียนภาษาจีนด้วยอักษรอาหรับ อักษรนี้ใช้เป็นบางโอกาสในกลุ่มของชนกลุ่มน้อยในจีนที่นับถือศาสนาอิสลาม (ส่วนใหญ่เป็นชาวหุย แต่ก็มีชาวต้งเซี่ยง และชาวซาลาร์) และเคยใช้ในลูกหลานของชาวดันกันในเอเชียกลาง สหภาพโซเวียต ได้บังคับให้ชาวดันกันใช้อักษรละตินแทนที่อักษรเสี่ยวเอ้อร์ และต่อมาเปลี่ยนเป็นอักษรซีริลลิกในปัจจุบัน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรเสี่ยวเอ้อร์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเอลบ์ซาน

อักษรเอลบ์ซาน หรือ อักษรเอลบาซาน (Elbasan script) ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อราว..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรเอลบ์ซาน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเปโกน

อักษรเปโกน (Pegon) เป็นอักษรอาหรับที่ใช้เขียนภาษาชวาและภาษาซุนดา นอกเหนือจากการเขียนด้วยอักษรชวา และใช้มาก่อนที่จะเปลี่ยนเป็นอักษรโรมันในยุคอาณานิคม นิยมใช้เขียนงานทางศาสนาและกวีนิพนธ์ในพุทธศตวรรษที่ 20 คำว่าเปโกนมาจากภาษาชวา pégo หมายถึงเบี่ยงเบน เพราะเป็นการเขียนภาษาชวาด้วยอักษรอาหรับซึ่งไม่ได้เป็นอักษรพื้นเมืองของชาวชวา ความแตกต่างหลักระหว่างอักษรยาวีและอักษรเปโกนคืออักษรจะเขียนตามเสียงที่เปล่งออกมา เพราะในภาษาชวามีสระที่หลากหลายกว่าภาษามลายูทำให้จำเป็นต้องเขียนสระให้ชัดเจนเพื่อป้องกันความสับสน ถ้าอักษรเปโกนเขียนแบบไม่มีเครื่องหมายสระอย่างอักษรยาวีจะเรียก คุนดุล อักษรเปโกนมีเครื่องหมายสำหรับเสียงที่ไม่มีในภาษาอาหรับด้ว.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอักษรเปโกน · ดูเพิ่มเติม »

อัลคามีอา

อัลคามีอา เขียนโดยมันเซโบ เด อาเรบาโล ประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 16 (พุทธศตวรรษที่ 21)The passage is an invitation directed to the Spanish Moriscos or Crypto-Muslims so that they continue fulfilling the Islamic prescriptions in spite of the legal prohibitions and so that they disguise and they are protected showing public adhesion the Christian faith. เอกสารตัวเขียนของ ''Poema de Yuçuf'' ซึ่งเป็นบทกวีภาษาอารากอนที่เขียนด้วยอักษรอาหรับ อัลคามีอา (aljamía) หรือ อะญะมียะฮ์ (عَجَمِيَة, ʿajamiyah) เป็นเอกสารตัวเขียนที่ใช้อักษรอาหรับในการเขียนภาษากลุ่มโรมานซ์ เช่น ภาษาโมแซรับ ภาษาโปรตุเกส ภาษาสเปน ภาษาอารากอน หรือภาษาลาดิโน คำว่าอัลคามีอาเพี้ยนมาจากคำในภาษาอาหรับว่า ʿajamiyah ซึ่งในที่นี้หมายถึงภาษาต่างชาติ และโดยทั่วไปใช้เรียกกลุ่มชนที่ไม่มีบรรพบุรุษเป็นชาวอาหรับ ส่วนในทางภาษาศาสตร์ อัลคามีอาคือการนำอักษรอาหรับไปเขียนภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวันในบางพื้นที่ของอัลอันดะลุส ส่วนภาษาอาหรับเป็นภาษาที่ใช้ในทางวิทยาศาสตร์ วัฒนธรรมชั้นสูง และศาสนา ระบบการเขียนกลุ่มภาษาโรมานซ์ด้วยอักษรอาหรับพัฒนาขึ้นในราวคริสต์ศตวรรษที่ 15 (พุทธศตวรรษที่ 20) และพบมากในศตวรรษต่อมา ต่อมา ชาวโมริสโกได้เลิกใช้ภาษาอาหรับเป็นภาษาทางศาสนา และใช้ภาษาสเปนแทน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอัลคามีอา · ดูเพิ่มเติม »

อัลซะลามอัลมะละกีอัลอูร์โดนี

ลงชาติจอร์แดน มีชื่อว่า "อัลซะลามอัลมะละกีอัลอูร์โดนี" (السلام الملكي الأردني, ถอดเสียงด้วยอักษรโรมัน: Al-salam Al-malaki Al-urdoni) แปลว่า เพลงสรรเสริญพระบารมีจอร์แดน นอกจากจะใช้เป็นเพลงชาติแล้ว ยังใช้เป็นเพลงเกียรติยศสำหรับพระมหากษัตริย์แห่งจอร์แดนด้วย เพลงนี้เริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอัลซะลามอัลมะละกีอัลอูร์โดนี · ดูเพิ่มเติม »

อายิน

อายิน (Ayin) เป็นอักษรตัวที่ 16 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ע‎ และอักษรอาหรับ ع (อัยน์)‎ เริ่มแรกใช้แทนเสียงก้อง เกิดจากคอหอยและเป็นเสียงเสียดแทรก มักแทนด้วยอักษรละติน ʿ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์จากอักษรกรีก spiritus asper ʽ, อายินใช้แทนเสียงที่ต่างจาก /อ/ ซึ่งแทนด้วยอะลิฟ ในภาษาโซมาเลียแสดงอัยนฺด้วยอักษร c, และนักอียิปต์วิทยานิยมแทนเสียงนี้ด้วย c อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Omicron (Ο), และอักษรละติน O, รวมทั้งในอักษรซีริลลิกด้วย อักษรเหล่านี้ใช้แสดงเสียงสระทั้งหมด อักษรนี้มาจากภาษาเซมิติกตะวันตก ʿen "ตา" (ในภาษาอาหรับสมัยใหม่แปลตรงตัวว่า "ตาในภาษาฮีบรู: ayin), และอักษรคานาอันไนต์ รูปตาที่อาจจะมาจากไฮโรกลิฟ (ỉr) หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอายิน · ดูเพิ่มเติม »

อาหรับ (แก้ความกำกวม)

กลุ่มประเทศอาหรับ อาหรับ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอาหรับ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรปัตตานี

อาณาจักรปัตตานี (كراجأن ڤتاني; Kerajaan Patani) ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศไทย ในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส (เมืองสะโตย) (เมืองสตูล) และสงขลาบางส่วนในปัจจุบัน อาณาจักรปัตตานีถือกำเนิดขึ้นก่อนอาณาจักรสยาม 500 ปี เริ่มจากเป็นเผ่าเล็ก ๆ รวมตัวกัน มีประชากรอาศัย 200-250 คน มีชื่อว่า ปีสัง โดยแต่ละปีจะมีตูวอลา (หัวหน้าเผ่าในสมัยนั้น) มาปกครอง และจะสลับทุก ๆ 1 ปี ต่อมามีชนกลุ่มใหญ่เข้ามามีบทบาทในแถบนี้มากขึ้น จนในที่สุด ก็ถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรลังกาสุกะ และเปลี่ยนจากชื่อ ปีสัง มาเป็น บาลูกา ซึ่งมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 9 หลังจากนั้นราว 100 ปี ลูกชายกษัตย์ลังกาสุกะได้เดินทางมาถึงที่นี้และรู้สึกประทับใจ เลยเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น ปาตาอีนิง แล้วก่อตั้งเป็นรัฐใหม่ ชื่อ รัฐปาตาอีนิง จนมีพ่อค้ามากมายเข้ามาติดต่อค้าขายทั้งจีน อาหรับ แต่ชาวอาหรับเรียกที่นี้ว่า ฟาตอนี เลยมีคนเรียกดินแดนแห่งนี้แตกต่างกันออกไป เดิมอาณาจักรปัตตานีนับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน แต่ในราวพุทธศตวรรษที่ 21 ได้เริ่มเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม โดยบางช่วงอาณาจักรแผ่ขยายครอบคลุมถึงรัฐกลันตันและรัฐตรังกานู ตอนกลางของประเทศมาเลเซียอ้างอิงจาก"สี่กษัตริยาปตานี: บัลลังก์เลือด และตำนานรักเพื่อแผ่นดิน" ศิลปวัฒนธรรม ฉบับวันที่ 1 มีนาคม..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอาณาจักรปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

อาเรบีตซา

อาเรบีตซา (บอสเนีย: arebica) หรือ อาราบีตซา (arabica) เป็นอักษรอาหรับรูปแบบหนึ่งที่ใช้เขียนภาษาบอสเนีย เคยใช้เมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 15-19 (พุทธศตวรรษที่ 20-24) เป็นความพยายามของมุสลิมที่จะพัฒนาอักษรอาหรับมาใช้เขียนภาษาบอสเนียนอกเหนือจากอักษรละตินและอักษรซีริลลิกสำหรับภาษาเซอร์เบีย หนังสือที่พิมพ์ด้วยอักษรนี้ตีพิมพ์ครั้งสุดท้ายเมื่อ..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอาเรบีตซา · ดูเพิ่มเติม »

อาเลฟ

อาเลฟ (Aleph) เป็นอักษรตัวแรกของอักษรฮีบรู ตรงกับอักษรอาหรับ (ا; “อลิฟ”) อักษรกรีก “อัลฟา” และอักษรละติน “A” พัฒนามาจากอักษรฟินิเชีย ʾāleph ซึ่งมาจากอักษรคานาอันไนต์ ʾalp “วัว” อักษรนี้ในภาษาอาหรับใช้แทนเสียง /ʔ/ หรือเสียงสระอา เพื่อแสดงว่าอลิฟนั้นแทนเสียงพยัญชนะหรือสระจึงเพิ่มฮัมซะฮ์ (ء) ขึ้นมา เรียกว่า ฮัมซะตุลก็อฏอิ ฮัมซะฮ์ไม่ถือว่าเป็นตัวอักษรเต็มตัวเท่ากับอักษรอื่น ๆ เพราะมักจะใช้คู่กับตัวพาคือ วาว (و), ยาอ์ที่ไม่มีจุดข้างล่าง (ی) และอลิฟ (ا) อลิฟใช้คู่กับฮัมซะฮ์เมื่อเป็นพยางค์แรกของคำและประสมสระเสียงสั้น โดยอยู่ข้างบน (أ) เมื่อเป็นเสียงสระอะหรืออุ และอยู่ข้างล่าง (إ) เมื่อเป็นเสียงสระอิ ถ้าอลิฟเป็นสระเสียงยาวจะไม่แสดงฮัมซะฮ์ ฮัมซะฮ์ชนิดที่ 2 ฮัมซะตุลวัศลิ ใช้เฉพาะกับหน่วยเสียงแรกของคำว่า ال (อัล) อันเป็นคำกำหนดชี้เฉพาะหรือคำในกรณีใกล้เคียงกัน ต่างจากฮัมซะฮ์ชนิดแรกตรงที่ว่า จะถูกยกเลิกเมื่อมีสระอยู่ข้างหน้า ฮัมซะฮ์ชนิดนี้ใช้อะลิฟเป็นตัวพาเท่านั้น ปกติจะไม่เขียนอักษรฮัมซะฮ์ แต่จะเขียนอลิฟเพียงอย่างเดียว อลิฟมัดดะ (alif madda) ใช้ในกรณีที่อะลิฟ 2 ตัวเขียนติดกัน (เสียงอา) จะเขียนอะลิฟในรูป (آ) เช่น القرآن (อัลกุรอาน) อลิฟมักศูเราะฮ์ (alif maqsūrah) รูปร่างเหมือนตัวยาอ์ที่ไม่มีจุดข้างล่าง (ی) ใช้เฉพาะตำแหน่งท้ายคำเท่านั้น ใช้แทนเสียงสระอาเช่นเดียวกับอลิฟ ในคำทับศัพท์ภาษาอาหรับจะแทนฮัมซะฮ์ด้วย อ์ เมื่อเป็นตัวสะก.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอาเลฟ · ดูเพิ่มเติม »

อุรุมชี

left left อุรุมชี หรือ อูรูมชี หรือ อูรูมฉี (มองโกล: Өрөмч "ทุ่งหญ้าที่สวยงาม"; ئۈرۈمچى) หรือตามสำเนียงจีนกลางว่า อูหลู่มู่ฉี เป็นเมืองเอกของเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ประเทศจีน ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นศูนย์กลางเส้นทางสำคัญของทางสายไหมในยุคราชวงศ์ถัง ได้พัฒนาความเป็นศูนย์กลางทางด้านผู้นำทางวัฒนธรรมและทางการค้ายุคราชวงศ์ชิง ในคริสตศตวรรษที่ 19 ในปี..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและอุรุมชี · ดูเพิ่มเติม »

ฮัมซะฮ์

ัมซะฮ์ (الهَمْزة,, ء) เป็นอักษรอาหรับใช้แทนเสียง /อ/ แต่ไม่ถือว่าเป็นตัวอักษรเท่ากับอักษรอื่นอีก 28 ตัว ใช้แสดงการออกเสียงในยุคต้นๆของศาสนาอิสลาม ใช้เติมบนอะลิฟเพื่อบอกว่าอะลิฟตัวนี้ใช้แทนเสียง /อ/ อาจเขียนได้ในรูป.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและฮัมซะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก เป็นธงชาติของอุซเบกิสถานในสมัยที่ยังอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต ประกาศใช้อย่างเป็นทางการโดยรัฐบาลสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก (Uzbek Soviet Socialist Republic) เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2495 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีแดง กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน กลางธงมีแถบสีฟ้าขอบสีขาวพาดผ่าน ที่มุมบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวไขว้และดาวแดงห้าแฉกขอบสีทอง อันเป็นสัญลักษณ์ของขบวนการคอมมิวนิสต์สากล ความหมายของสัญลักษณ์ในธง คือ สีแดง หมายถึงการต่อสู้เพื่อการปฏิวัติของชนชั้นกรรมาชีพ สีฟ้า หมายถึงผืนฟ้าในอุซเบกโซเวียต สีขาว หมายถึงฝ้าย อันเป็นทรัพยากรหลักของประเทศ ค้อนเคียว หมายถึงการร่วมมือกันระหว่างกรรมกรกับชาวนา ดาวแดง หมายถึง ชั้นกรรมาชี.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอัฟกานิสถาน

งชาติสาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน แบบปัจจุบันนี้ ประกาศใช้ในสมัยรัฐบาลชุดถ่ายโอนอำนาจของรัฐอิสลามของอัฟกานิสถาน (พ.ศ. 2545 - พ.ศ. 2547) ลักษณะเป็นธงสามสี รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งตามแนวตั้ง เป็นสีดำ-แดง-เขียว กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน กลางธงมีรูปตราแผ่นดินของอัฟกานิสถาน ในลักษณะภาพลายเส้นสีขาว ลักษณะของธงชาติยุคนี้ คล้ายคลึงกับธงชาติในสมัยราชอาณาจักรอัฟกานิสถาน ช่วง พ.ศ. 2473 - พ.ศ. 2516 โดยมีความแตกต่างสำคัญที่มีการบรรจุภาพอักษรที่เรียกว่า ชะฮาดะฮ์ เป็นข้อความซึ่งแปลเป็นภาษาไทยได้ว่า "ข้าพเจ้านับถือว่า ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกเหนือจากอัลลอหฺ และศาสดามุฮัมมัดคือ​ศาสนทูตแห่งอัลลอหฺ" ที่ตอนบนของภาพตรา วันที่ประกาศใช้อย่างเป็นทางการคือวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2547 ในยุดก่อนสมัยการปกครองของกลุ่มตอลิบานและแนวร่วมอิสลามเพื่อการปลดปล่อยอัฟกานิสถาน ธงชาติในยุคนี้มีการใช้ภาพตราแผ่นดินแบบเดียวกับกับธงยุคปัจจุบัน แต่แถบสีนั้นเป็นแถบสีดำ-ขาว-เขียว เรืยงแถบสีธงตามแนวนอน ประเทศอัฟกานิสถาน ถือได้ว่าเป็นประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบธงชาติในสมัยต่างๆ ตลอดช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 มากครั้งที่สุด มากกว่าชาติอื่นใดในโลกนี้.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและธงชาติอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอิหร่าน

งชาติสาธารณรัฐอิสลามอิหร่านที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ลักษณะเป็นธงสามสี รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 4 ส่วน ยาว 7 ส่วน ภายในแบ่งเป็นแถบสีเขียว สีขาว และสีแดงตามแนวนอน ความกว้างแต่ละแถบเท่ากัน กลางธงมีรูปตราแผ่นดินสาธารณรัฐอิสลามอิหร่านที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ส่วนที่ถัดจากแถบสีขาวทั้งด้านบนและด้านล่างนั้น มีอักษรอาหรับเป็นข้อความ "อัลลอหุ อักบัร" เรียงซ้ำกันไปตามขอบแถบสีขาว รวม 22 ครั้ง ประกาศใช้ตามกฎหมายเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2523.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและธงชาติอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ธงขาว

งขาวที่สร้างขึ้นอย่างง่ายๆ ธงขาว (white flag) เป็นคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ โดยทั่วไปเป็นที่เข้าใจว่าการยกธงขาวเป็นสัญลักษณ์ของการยอมแพ้ หรือการพักรบ หรือทั้งสองกรณี ในการสงคราม อย่างไรก็ดี ธงขาวยังมีความหมายอย่างอื่นอีกมากในประวัติศาสตร์และธรรมเนียมของแต่ละท้องถิ่น.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและธงขาว · ดูเพิ่มเติม »

ทาฟ

ทาฟ (Taw, Tav, Taf) เป็นอักษรตัวที่ 22 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ת อักษรอาหรับ (ت; ตาอ์) เริ่มแรกใช้แทนเสียงที่เกิดจากปุ่มเหงือก ไม่ก้อง ไม่มีลม (สัทศาสตร์สากล) อักษรฟินิเชียที่ใช้แทนเสียงนี้ พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก “Τ” อักษรละติน “T” และอักษรซีริลลิก “Т” ในคำทับศัพท์ภาษาอาหรับจะแทนด้วย ต หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและทาฟ · ดูเพิ่มเติม »

ขาลิสถาน

งของขาลิสถาน ขาลิสถาน (Khalistan; อักษรคุรมุขี: ਖਾਲਿਸਤਾਨ; อักษรชาห์มุขี: ًًخالستان) หมายถึงดินแดนแห่งความบริสุทธิ์ เป็นชื่อของดินแดนที่ต้องการก่อตั้งเป็นรัฐชาติ นำโดยชัคชิต สิงห์ เฉาหัน ผู้นำของสาธารณรัฐสิกข์ขาลิสถาน เป็นความต้องการรวมจังหวัดปัญจาบของปากีสถาน เข้ากับรัฐปัญจาบของอินเดีย และรวมผู้พูดภาษาปัญจาบทั้งหมดให้เป็นเอกภาพ การต่อสู้เพื่อก่อตั้งรัฐนี้นำโดยขบวนการขาลิสถาน ซึ่งเป็นขบวนการที่สำคัญของชาวสิกข์ในอินเดี.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและขาลิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ดาเลท

ดาเลท (Daleth) เป็นอักษรตัวที่ 4 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู (ד‎) อักษรอาหรับ (ﺩ‎; ดาล) และอักษรซีเรียค (ܕ) ใช้แทนเสียงก้องไม่มีลม เกิดจากปุ่มเหงือก (voiced alveolar plosive; สัทอักษรสากล) อักษรนี้มาจากไฮโรกลิฟรูปประตู (dalt ภาษาฮีบรูสมัยใหม่เป็น delet) ส่วนอักษรคานาอันไนต์เรียกปลา (digg ภาษาฮีบรูสมัยใหม่เป็น dag) อักษรฟินิเชียที่ใช้แทนเสียงนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก “Δ ” อักษรละติน “D” และอักษรซีริลลิก “Д” หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและดาเลท · ดูเพิ่มเติม »

คอฟ

คอฟ (Qoph, Qop) เป็นอักษรตัวที่ 19 ของอักษรตะกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ק‎ และอักษรอาหรับ ق (ก๊อฟ)‎ ใช้แทนเสียงเน้นจากคอหอย เกิดที่เพดานอ่อน หรือจากลิ้นไก่ อักษรตัวนี้กลายเป็นอักษรละติน Q และอักษรกรีก มาจากอักษรภาพรูปลิงที่แสดงลำตัวและหาง (ในภาษาฮีบรู, Qoph, สะกดด้วยอักษรฮีบรูเป็น קוף, หมายถึง "ลิง" และ K'of ในภาษาอียิปต์โบราณหมายถึงลิงชนิดหนึ่ง) หรืออาจจะมาจากอักษรภาพรูปหัวและคอของคน (Qaph ในภาษาอาหรับหมายถึงลำคอ) หมวดหมู่:อักษรอาหรับ en:Qoph#Arabic qāf.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

คออ์

คออ์ (خ /x/) เป็นอักษร 1 ใน 6 ตัว ของอักษรอาหรับที่เพิ่มจากอักษร 22 ตัวของอักษรฟินิเชีย ใช้แทนเสียงไม่ก้อง เกิดจากเพดานอ่อน และเป็นเสียงในลำคอ (voiceless velar fricative; สัทอักษรสากล) ภาษากลุ่มเซมิติกทางใต้ แยกเสียง ح และ خ เช่นเดียวกับภาษาอาหรับ และมีอักษรแทนเสียงนี้ในอักษรเอธิโอเปีย (Ḫarm ኀ) และอักษรอาระเบียใต้ด้วย หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและคออ์ · ดูเพิ่มเติม »

คาฟ

คาฟ (Kaph, Kap, Kaf) เป็นอักษรตัวที่ 11 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู כ‎ และอักษรอาหรับ ك (ก๊าฟ كَافْ) การออกเสียงในสัทอักษรเป็น อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก (Κ), อักษรละติน K, และเป็นอักษรซีริลลิก (К) คาดว่าอักษรกาฟมาจากอักษรภาพรูปมือ (ทั้งในภาษาฮีบรูสมัยใหม่และภาษาอาหรับสมัยใหม่ kaph หมายถึงฝ่ามือ) หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและคาฟ · ดูเพิ่มเติม »

ฆอยน์

ฆอยน์ (ﻍ‎) เป็นอักษรอาหรับ 1 ใน 6 ตัวที่เพิ่มจากอักษรฟินิเชีย ใช้แทนเสียงก้อง เกิดจากเพดานอ่อน และเป็นเสียงเสียดแทรก เสียงนี้มีการแยกเป็นหน่วยเสียงต่างหากในภาษาอาหรับ ภาษายูการิติก และสำเนียงเก่าของภาษาคานาอันไนต์ ส่วนสำเนียงที่ใหม่กว่านี้และภาษาฮีบรูติเบอเรียนได้รวมเสียงนี้เข้ากับอัยนฺอย่างสมบูรณ์ อักษรอาระเบียใต้ยังคงมีสัญลักษณ์สำหรับเสียง ġ, บางครั้งใช้แทนเสียง ในคำยืมในภาษาอาหรับ เช่น คำ Ingliizi (إنغليزي) ที่หมายถึง อังกฤษ หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและฆอยน์ · ดูเพิ่มเติม »

ตัวไม่เชื่อมความกว้างศูนย์

ตัวไม่เชื่อมความกว้างศูนย์ (ZWNJ ย่อมาจาก zero-width non-joiner) คืออักขระควบคุมที่ใชัในการเรียงพิมพ์ในคอมพิวเตอร์ ใช้เพื่อจัดการการเชื่อมต่อระหว่างอักษรตัวเขียนบางชนิด เช่นอักษรอาหรับหรืออักษรฮีบรู เมื่อใส่ตัวไม่เชื่อมความกว้างศูนย์ลงไประหว่างอักษรสองตัว จะเป็นการบังคับให้อักษรสองตัวนั้นไม่เชื่อมต่อกัน แต่ยังคงปรากฏอยู่ในตำแหน่งที่ติดกัน ซึ่งอาจจำเป็นต้องใช้ในบางโอกาส โดยเฉพาะภาษาเปอร์เซียซึ่งมีการเขียนต่างจากภาษาอาหรับเล็กน้อย ปกติแล้วตัวไม่เชื่อมความกว้างศูนย์จะไม่สามารถมองเห็นได้ แต่อาจสังเกตได้จากอักษรรูปแบบธรรมดาที่อยู่ติดกัน ตัวไม่เชื่อมอาจแทรกอยู่ระหว่างนั้น ตัวไม่เชื่อมความกว้างศูนย์มีรหัสยูนิโคด U+200C และมี HTML เอนทิตี เป็น #8204; #x200C; และ zwnj;.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและตัวไม่เชื่อมความกว้างศูนย์ · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเชื่อมความกว้างศูนย์

ตัวเชื่อมความกว้างศูนย์ (ZWJ ย่อมาจาก zero-width joiner) คืออักขระควบคุมที่ใชัในการเรียงพิมพ์ในคอมพิวเตอร์ ใช้เพื่อจัดการการเชื่อมต่อระหว่างอักษรตัวเขียนบางชนิด เช่นอักษรอาหรับหรืออักษรตระกูลพราหมี เมื่อใส่ตัวเชื่อมความกว้างศูนย์ลงไปก่อนหรือหลังตัวอักษร จะเป็นการบังคับให้อักษรนั้นแสดงผลในรูปแบบที่เชื่อมต่อกับตัวเชื่อม เสมือนว่ามีอักษรอื่นอีกตัวอยู่ตรงตัวเชื่อมนั้น หรือใช้เพื่อเปลี่ยนการแปลงรูปอักษรเชื่อมต่อให้เป็นแบบอื่น ซึ่งอาจจำเป็นต้องใช้ในบางโอกาส ปกติแล้วตัวเชื่อมความกว้างศูนย์จะไม่สามารถมองเห็นได้ แต่อาจสังเกตได้จากอักษรรูปแบบเชื่อมต่อที่วางอยู่ลอย ๆ ในข้อความ ตัวเชื่อมความกว้างศูนย์มีรหัสยูนิโคด U+200D และมี HTML เอนทิตี เป็น #8205; #x200D; และ zwj;.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและตัวเชื่อมความกว้างศูนย์ · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเลขอับญัด

ตัวเลขอับญัด เป็นระบบเลขที่มีอักษรอาหรับอยู่ 28 ตัว ระบบเลขนี้ถูกใช้ไปแพร่หลายก่อนที่จะประดิษฐ์ตัวเลขอารบิกในช่วงศตวรรษที่ 8 .

ใหม่!!: อักษรอาหรับและตัวเลขอับญัด · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเขียน

ดีนีเลียน ตัวเขียน (cursive) มาจากภาษาละติน (cursivus) แปลว่า การไหล หมายถึงรูปแบบการเขียนด้วยลายมือชนิดใดชนิดหนึ่ง ถูกออกแบบขึ้นเพื่อใช้ในการเขียนจดหมายหรือจดบันทึกอย่างรวดเร็ว ตัวเขียนของอักษรละติน อักษรซีริลลิก และอักษรอาหรับ เป็นต้น ตัวอักษรจะเชื่อมติดกันเป็นคำ ทำให้คำหนึ่ง ๆ ถูกเขียนด้วยเส้นเดียวแต่ซับซ้อน หมวดหมู่:การเขียน หมวดหมู่:อักษรวิจิตร.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและตัวเขียน · ดูเพิ่มเติม »

ซอรูเด ชาฮันชาฮี อีราน

ซอรูเด ชาฮันชาฮี อีราน (سرود شاهنشاهی ایران) เป็นชื่อของเพลงชาติของประเทศอิหร่าน (เปอร์เซีย) ในสมัยของราชวงศ์ปาห์ลาวี เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1933 และยกเลิกไปเมื่อเกิดการปฏิวัติอิสลามอิหร่าน เมื่อ ค.ศ. 1979 ทำนองโดยโมฮัมหมัด ฮาสซิม อัสฟาร์ (Mohamad Haschim Afsar) บทร้องโดย ร้อยโทดาวูด นาจมิ โมฮัดดัม (Lieut. Davood Najmi Moghaddam) เนื้อหาของเพลงโดยรวมเป็นสรรเสริญถึงความกล้าหาญของจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวี.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและซอรูเด ชาฮันชาฮี อีราน · ดูเพิ่มเติม »

ซออ์

ซออ์ (ﻅ‎) เป็นอักษร 1 ใน 6 ตัว ของอักษรอาหรับ ที่เพิ่มจากอักษร 22 ตัวของอักษรฟินิเชีย ใช้แทนเสียงก้อง เกิดจากฟัน และเป็นเสียงในลำคอ (pharyngealized voiced dental fricative; สัทศาสตร์สากล) หรือ เสียงก้อง เกิดจากปุ่มเหงือก และเป็นเสียงในลำคอ (voiced alveolar fricative; สัทศาสตร์สากล) เสียงนี้เป็นเสียงเน้นหนักของ z คล้ายกับเสียงของ ﺫ‎ หรือ ﺯ‎ ในภาษาเปอร์เซีย ใช้กับคำยืมจากภาษาอาหรับเท่านั้น เสียงนี้ยังเป็นเสียงที่ใช้น้อยในภาษาอาหรับด้วย จากรากศัพท์ 2,967 คำที่รวบรวมโดย Wehr (1952) รากศัพท์ที่มีเสียงนี้มีเพียง 42 คำ คิดเป็นร้อยละ 1.4 หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและซออ์ · ดูเพิ่มเติม »

ซัดดัม ฮุสเซน

ซัดดัม ฮุสเซน (Saddam Hussein) หรือ ศ็อดดาม ฮุเซน อับดุลมะญีด อัลตีกรีตี (อาหรับ: صدام حسين عبد المجيد التكريتي; ละติน:Ṣaddām Ḥusayn ʿAbd al-Majīd al-Tikrītī; 28 เมษายน พ.ศ. 2480-30 ธันวาคม พ.ศ. 2549) เป็นอดีตประธานาธิบดีของอิรัก ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อักษรอาหรับและซัดดัม ฮุสเซน · ดูเพิ่มเติม »

ซายิน

ซายิน (Zayin) เป็นอักษรตัวที่ 7 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ז‎อักษรซีเรียค ܙ และอักษรอาหรับ ﺯ‎ (ซัย) ใช้แทนเสียงก้อง เสียดแทรก เกิดจากปุ่มเหงือก อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Ζ, อักษรอีทรัสคัน z, อักษรละติน Z และอักษรซีริลลิก З รูปอักษรคานาอันไนต์เป็นรูปดาบหรืออาวุธอื่น ๆ ส่วนไฮโรกลิฟเป็นรูปโซ่ตรวน หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและซายิน · ดูเพิ่มเติม »

ซาดี

ซาดี (Tsade) เป็นอักษรตัวที่ 18 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรูצ‎ และอักษรอาหรับ ص (ศอด صَادْ)‎ เสียงเริ่มแรกของอักษรนี้น่าจะเป็น แต่ต่อมาเสียงนี้ต่างออกไปในภาษาตระกูลเซมิติกสมัยใหม่ มีที่มาจากอักษรคานาอันไนต์สามตัว ภาษาอาหรับยังคงแยกหน่วยเสียงเหล่านั้นเป็นอักษรสามตัวคือ ṣād และ ṭāʼ ใช้แสดงเสียงต่างกันสามเสียง (ḍād, ẓāʼ) ในภาษาอราเมอิก เสียงใกล้เคียงของอักษรนี้ถูกแทนที่ด้วย ʻayin และ ṭēt ดังนั้น ในภาษาฮีบรู ereẓ ארץ (โลก) เป็น arʻāʼ ארעא ในภาษาอราเมอิก.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและซาดี · ดูเพิ่มเติม »

ซาเมก

ซาเมก (Samekh) เป็นอักษรตัวที่ 15 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรแอราเมอิก อักษรฮีบรู ס อักษรซีเรียค ܣ และอักษรอาหรับ س (ซีน) ใช้แทนเสียงเสียดแทรก ปุ่มเหงือก ไม่ก้อง อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Ξ มาจากอักษรคานาอันไนต์ที่มาจากไฮโรกลิฟรูปกระดูก ซามเมก.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและซาเมก · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อักษร

ประวัติศาสตร์ของอักษร ชนิดแทนหน่วยเสียงมีจุดเริ่มต้นอยู่ในอียิปต์โบราณ อักษรแทนหน่วยเสียงชนิดแรกเป็นอักษรไร้สระ ปรากฏเมื่อ 1,457 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นผลงานของแรงงานชาวเซมิติกในอียิปต์ เพื่อใช้เขียนภาษาของตนเอง โดยได้รับอิทธิพลจากอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะซึ่งใช้คู่กับอักษรคำในอักษรไฮโรกลิฟฟิก อักษรอื่นๆ ที่ใช้ในปัจจุบันส่วนใหญ่พัฒนามาจากอักษรนี้รวมทั้งอักษรฟินิเชีย อักษรกรีก และอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและประวัติศาสตร์อักษร · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสินสมุทรหางเส้น

ปลาสินสมุทรหางเส้น หรือ ปลาสินสมุทรโคราน หรือ ปลาสินสมุทรลายโค้ง หรือที่นิยมเรียกกันในวงการปลาสวยงามว่า โครานแองเจิล หรือ บลูโคราน (Koran angel, Sixbanded angel, Semicircle angel, Half-circle angel, Blue koran angel, Zebra angel) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pomacanthus semicirculatus อยู่ในวงศ์ปลาสินสมุทร (Pomacanthidae) มีลำตัวแบน ครีบหลังมี 2 ตอนเชื่อมต่อกัน โดยที่ครีบหลังยื่นยาวออกไปทางหาง ซึ่งจะเห็นได้ชัดเจนเมื่อปลามีอายุเพิ่มมากขึ้น ครีบหูบางใส ครีบอกยาวแหลม ส่วนปลายครีบทวารยื่นยาวออกไปเช่นเดียวกับครีบหลัง ครีบหางโค้งเป็นรูปพัด พื้นผิวลำตัวของตัวอายุน้อยมีสีเหลืองอมน้ำตาล มีเส้นคาดตามขวางในแนวโค้งสีขาวและสีน้ำเงินมากกว่า 12 เส้น ลายเหล่านี้จะค่อย ๆ จางหายไปหมดเมื่อเจริญเต็มวัย โดยจะมีพื้นสีเหลืองอมเขียว แต้มด้วยจุดสีดำและสีน้ำเงินทั่วลำตัว ขอบแก้มและขอบครีบต่าง ๆ เป็นเส้นสีน้ำเงิน ซึ่งลวดลายและสีสันของปลาสินสมุทรหางเส้นวัยอ่อนนั้นจะคล้ายกับปลาสินสมุทรวงฟ้า (P. annularis) มาก หากแต่ลูกปลาสินสมุทรวงฟ้านั้น มีลวดลายบนตัวเป็นไปในลักษณะค่อนข้างตรง และครีบหางเป็นสีขาวหรือใสไม่มีสี ขณะที่ครีบหางของลูกปลาสินสมุทรหางเส้นจะมีลาย โดยลูกปลาจะเริ่มเปลี่ยนสีสันและลวดลายไปเหมือนตัวเต็มวัยเมื่อมีขนาดประมาณ 7-8 นิ้ว มีความยาวเต็มที่ประมาณ 36-40 เซนติเมตร นับเป็นปลาอีกชนิดหนึ่งในวงศ์นี้ที่มีขนาดใหญ่ กระจายพันธุ์อยู่ตามเกาะแก่งและแนวปะการังใต้น้ำของมหาสมุทรอินเดีย และอินโด-แปซิฟิก ในน่านน้ำไทยพบได้ที่ทะเลอันดามัน แต่ไม่พบในฝั่งอ่าวไทย ลูกปลาวัยอ่อนจะกินสาหร่ายในแนวปะการังเป็นหลัก เมื่อเป็นปลาเต็มวัยจะกินฟองน้ำ, ปะการัง และสาหร่ายเป็นหลัก รวมทั้งสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอย่างอื่น อาทิ หนอนท่อ, กระดุมทะเล, ปะการังอ่อน และหอยสองฝา เป็นต้น เป็นปลาที่มีความสวยงามมากชนิดหนึ่ง นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยถือเป็นปลาสินสมุทรที่เลี้ยงง่ายมากชนิดหนึ่ง เป็นปลาที่กินอาหารได้ทั้งอาหารสดและอาหารสำเร็จรูป ประกอบกับมีราคาไม่แพง เหมาะสำหรับผู้เลี้ยงปลาทะเลมือใหม่ แต่ควรเลี้ยงในตู้ขนาดใหญ่ที่มีความจุน้ำไม่ต่ำกว่า 400 ลิตร เนื่องจากเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ และเป็นปลาที่มีนิสัยดุร้ายก้าวร้าวมาก โดยเฉพาะต่อปลาในสกุลเดียวกัน โดยปลาที่มีการซื้อขายกันในตลาดปลาสวยงามนั้น เป็นปลาที่ต้องจับรวบรวมจากทะเลทั้งนั้น.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและปลาสินสมุทรหางเส้น · ดูเพิ่มเติม »

นูน

นูน (Nun) เป็นอักษรตัวที่ 14 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรูנ‎ และอักษรอาหรับ ﻥ‎ และเป็นอักษรตัวที่สามของอักษรทานะ (ނ)- มีชื่อว่านูนุ แทนด้วยสัทอักษร: อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก (Ν), อักษรอีทรัสคัน ̍, อักษรละติน N, และอักษรซีริลลิก Н คาดว่านุนมาจากอักษรภาพรูปงู (คำว่างูในภาษาฮีบรู, nachash เริ่มด้วยนุน และคำว่างูในภาษาอราเมอิกคือ nun) หรือปลาไหล แต่บางกลุ่มเชื่อว่ามาจากไฮโรกลิฟฟิกของอียิปต์รูปปลาในน้ำ (ในภาษาอาหรับ, nūn หมายถึงปลาหรือวาฬ).

ใหม่!!: อักษรอาหรับและนูน · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเชื้อสายมลายู

วไทยเชื้อสายมลายู หมายถึงชาวไทยซึ่งมีเชื้อสายมลายู มีกระจายทั่วไปในทางภาคใต้ของประเทศไทย ประชากรใช้ภาษาตระกูลมาลาโย-โพลินีเชียน และส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม และมีประชากร ร้อยละ 3 ของประชากรทั้งหมด กระจายตัวหนาแน่นมากที่สุดทางภาคใต้ตอนล่าง ในภาคใต้ส่วนอื่นๆก็มีชาวไทยเชื้อสายมลายูกระจายอยู่ทั่วไป ส่วนภาคกลางเองก็มีมากในกรุงเทพฯ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี เลยไปถึงจังหวัดฉะเชิงเทราในตำบลศาลาแดง อำเภอบางน้ำเปรี้ยวด้ว.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและไทยเชื้อสายมลายู · ดูเพิ่มเติม »

เพ (ตัวอักษร)

เพ (Pe) เป็นอักษรตัวที่ 17 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู פ‎ และอักษรอาหรับ ف (ฟาอ์) ใช้แทนเสียงไม่ก้อง เกิดจากริมฝีปาก ไม่มีลม: IPA อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก Pi (Π), อักษรละติน P, และอักษรซีริลลิก Pe จุดกำเนิดมาจากอักษรภาพรูปปาก (ภาษาฮีบรู pe; ภาษาอาหรับ, fem) พเพ en:Pe (letter)#Arabic fāʼ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและเพ (ตัวอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน

ลงชาติสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (سرود ملی جمهوری اسلامی ایران) เป็นผลงานการประพันธ์ทำนองของฮัสซัน ริยาฮี (Hassan Riyahi) ประกอบด้วยเนื้อร้องซึ่งประพันธ์โดยคณะบุคคลจำนวนหนึ่ง เริ่มใช้เมื่อปี ค.ศ. 1990 เพื่อใช้แทนเพลงชาติซึ่งใช้ในสมัยการปกครองของอายะตุลลอห์ โคไมนี.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและเพลงชาติสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

เม็ม

เม็ม (Mem บางครั้งสะกดเป็น Meem หรือ Mim) เป็นอักษรตัวที่ 13 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู מ‎ และอักษรอาหรับ ﻡ‎ สัทอักษรคือ: อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก Mu (Μ), อักษรอีทรัสคัน ̌, อักษรละติน M, และอักษรซีริลลิก М คาดว่ามีมมาจากอักษรไฮโรกลิฟของอียิปต์รูปน้ำ ที่ทำให้ง่ายขึ้นในอักษรฟินิเชีย และตั้งชื่อด้วยคำว่าน้ำ, mem (mayim ในภาษาฮีบรูสมัยใหม่และ, mye ในภาษาอาหรับ) มเม็ม ar:م fa:م ja:م ko:م ur:م wuu:م.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและเม็ม · ดูเพิ่มเติม »

เรช

เรช (Resh) เป็นอักษรตัวที่ 20 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู (ר) และอักษรอาหรับ (ﺭ‎; รออ์) ใช้แทนเสียงรัวลิ้น (rhotic consonants; สัทอักษรสากล หรือ) แต่ในภาษาฮีบรู จะใช้แทนเสียง และ ด้วย รูปร่างของอักษรนี้ในอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่จะคล้ายกับตัวดาล อักษรซีเรียคใช้ตัวเดียวกัน แยกจากกันโดยใช้จุด r มีจุดอยู่ข้างบน ส่วน d มีจุดอยู่ข้างล่าง อักษรอาหรับ ﺭ‎ มีหางยาวกว่า ﺩ‎ ส่วนในอักษรอราเมอิก และอักษรฮีบรู ที่เป็นอักษรทรงเหลี่ยม ר เป็นขีดทรงโค้งอันเดียว ส่วน ד เป็นขีด 2 ขีดทำมุมกัน อักษรนี้มาจากไฮโรกลิฟรูปหัว (ฮีบรู rosh; อาหรับ ra's) ตัวนี้ภาษาเซมิติกตะวันออกเรียก riš ซึ่งอาจเป็นคำอ่านของอักษรรูปลิ่มในภาษาอัคคาเดีย อักษรฟินิเชียที่ใช้แทนเสียงนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก “Ρ” อักษรละติน “R” และอักษรซีริลลิก “ Р” รเรช ar:ر fa:ر ms:Ra (huruf Arab).

ใหม่!!: อักษรอาหรับและเรช · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้อง

ียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้อง (voiced velar fricative) เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา ยกเว้นภาษาไทย สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ ซึ่งเป็นรูปแปรหนึ่งของตัวอักษรกรีก γ (แกมมา) ที่ใช้เป็นพยัญชนะแทนเสียงนี้ในภาษากรีกสมัยใหม่ (เป็นสัทอักษรคนละตัวกับ ซึ่งแทนเสียงสระเออะ/เออของภาษาไทย) นอกจากนี้ บางครั้งมีการใช้สัญลักษณ์ แทนเสียงเปิด เพดานอ่อน (velar approximant) ซึ่งที่จริงหากเขียนโดยมีเครื่องหมายเสริมสัทอักษรกำกับอยู่ด้วยเป็น หรือ ก็จะถูกต้องกว.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง

ียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง (voiceless velar fricative) เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่น ภาษาเยอรมัน, ภาษาสเปน, ภาษาโปรตุเกส, ภาษารัสเซีย, ภาษาจีนกลาง ฯลฯ แต่ไม่มีเสียงนี้ในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ /x/ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ x เสียงนี้เป็นเสียงหนึ่งในบรรดาเสียงพยัญชนะในภาษาอังกฤษเก่า และยังคงปรากฏในบางภาษาถิ่นของภาษาอังกฤษปัจจุบัน หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่างประเทศของราชบัณฑิตยสถานได้กำหนดให้เขียนทับศัพท์เสียง /x/ ในทุกภาษา (เท่าที่ได้กำหนดหลักเกณฑ์ไว้) ด้วย ค ยกเว้นภาษาอังกฤษให้ใช้ ก เมื่อเป็นตัวสะกด ส่วนภาษาจีนและภาษารัสเซียให้ใช้ ฮ อย่างไรก็ตาม ในการทับศัพท์ภาษารัสเซียนั้น ปัจจุบันนิยมใช้ ค แทนเสียงนี้ แม้แต่ในสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ที่มาจากราชบัณฑิตยสถานเอง ส่วนภาษาสเปน (ซึ่งพบเสียงนี้เป็นตัวสะกดท้ายพยางค์ไม่บ่อยนัก) บางคนนิยมทับศัพท์เสียงนี้ด้ว.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เอ ริกิพ

อ ริกิพ (ئه‌ی رەقیب) เป็นชื่อของเพลงชาติประจำสาธารณรัฐเคอร์ดิสถาน เนื้อร้องประพันธ์โดย ยีนิส รีอูฟ โดยเนื้อร้องประพันธ์ตั้งแต่ พ.ศ. 2481 ชื่อของเพลงนี้อาจแปลได้ว่า "ศัตรูที่รัก".

ใหม่!!: อักษรอาหรับและเอ ริกิพ · ดูเพิ่มเติม »

เฮ (ตัวอักษร)

เฮ (He) เป็นอักษรตัวที่ห้าในอักษรตระกูลเซมิติก รวมทั้งอักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ה‎, อักษรซีเรียค ܗ และอักษรอาหรับ ه‎; ฮาอ์ /h/) ใช้แทนเสียงไม่ก้อง เสียดแทรก เกิดที่สายเสียง อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก Epsilon, อักษรอีทรัสคัน ̄, อักษรละติน E และอักษรซีริลลิก Ye เฮในอักษรฟินิเชียใช้แทนเสียงพยัญชนะ แต่อักษรลูกหลานอื่น ๆ ใช้แทนเสียงสระ ในภาษากลุ่มเซมิติกตะวันตกโบราณ มีเสียงไม่ก้องและเป็นเสียงในลำคอสามเสียงคือ เกิดที่เพดานอ่อน ḫ เกิดที่สายเสียงและคอหอย ḥ ดังที่พบในอักษรอาระเบียใต้และอักษรเอธิโอปิก ในอักษรคานาอันไนต์, ḫayt และ ḥasir รวมเข้ากับ Heth "fence" ฮเฮ ms:Ha (huruf Arab).

ใหม่!!: อักษรอาหรับและเฮ (ตัวอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

เฮท

เฮท (Heth) เป็นอักษรตัวที่ 8 ของอักษรคานาอันไนต์ ซึ่งพัฒนาต่อมาเป็นอักษรฟินิเชีย อักษรฮีบรู อักษรอาหรับ (ح: หาอ์ /ħ/) อักษรซีเรียค ใช้แทนเสียงไม่ก้อง และเป็นเสียงในลำคอซึ่งอาจเป็นทั้งเสียงที่เกิดจากคอหอย (หรือเพดานอ่อน ส่วนภาษาอาหรับแยกความแตกต่างโดยใช้ ح แทนเสียง และใช้ خ แทนเสียง อักษรฮีบรูเริ่มแรกใช้ ח แทน และ כ แทน ต่อมาทั้ง 2 ตัวใช้แทนเสียงไม่ก้องเกิดจากลิ้นไก่ และเป็นเสียงในลำคอ อักษรคานาอันไนต์ตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก “Η”, อักษรละติน "H” และอักษรซีริลลิก “И” โดย H ในอักษรละตินยังใช้แทนเสียงพยัญชนะ ส่วน Η ในอักษรกรีกและ И ใช้แทนเสียงสระ ในคำทับศัพท์จะแทนด้วย ฮ ฮเฮ br:Het ceb:Ḥet en:Heth fi:Ḥet it:Heth pl:Chet sv:Het zh:Heth.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและเฮท · ดูเพิ่มเติม »

เทท

เทท (Teth) เป็นอักษรตัวที่ 9 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ט‎, อักษรซีเรียค ܛ และอักษรอาหรับ (ﻁ; ฏออ์)‎ ใช้แทนเสียง ซึ่งเป็นเสียงพยัญชนะเน้น อักษรนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Theta (Θ) ต้นกำเนิดมาจากอักษรฟินิเชีย ชื่อ ṭēth หมายถึง "ล้อ" แต่อาจจะมาจากอักษรภาพชื่อ ṭab "ดี" ที่มาจากไฮโรกลิฟ nfr "ดี" หมวดหมู่:อักษรอาหรับ en:Teth#Arabic Ṭāʼ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและเทท · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์

ตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ (شىنجاڭ ئۇيغۇر ئاپتونوم رايونى-; 新疆维吾尔自治区) เป็นเขตปกครองตนเองของจีนในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ เป็นเขตปกครองใหญ่ที่สุดของจีน เป็นเขตการปกครองชาติที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 8 ของโลก กินพื้นที่กว่า 1.6 ล้านตารางกิโลเมตรและเป็นเขตการปกครองที่มีประชากรมากที่สุดติดอันดับหนึ่งในสิบ มีดินแดนพิพาทอักไสชินที่จีนบริหารอยู่ ซินเจียงมีพรมแดนติดต่อกับประเทศรัสเซีย มองโกเลีย คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิซสถาน อัฟกานิสถาน ปากีสถานและอินเดีย นอกจากนี้ยังมีพรมแดนติดต่อกับทิเบต มีน้ำมันสำรองอุดมสมบูรณ์และเป็นภาคที่ผลิตแก๊สธรรมชาติใหญ่ที่สุดของจีน.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ · ดูเพิ่มเติม »

Ch (ทวิอักษร)

Ch Ch เป็นทวิอักษรที่พบได้ในหลาย ๆ ภาษา ในบางภาษาจะจัดใช้ ch เป็นอักษรเดี่ยว โดยในพจนานุกรมก็จะไม่ได้รวมอยู่ในหมวดเดียวกับอักษร c แต่จะแยกออกไปต่างหาก อักษร ch ใช้แทนเสียงที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษ.

ใหม่!!: อักษรอาหรับและCh (ทวิอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Arabic alphabetอักษรอารบิก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »