โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

หุ่นยนต์

ดัชนี หุ่นยนต์

อาซีโม คือ android หุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ของบริษัทฮอนด้า ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะโครงสร้างและรูปร่างแตกต่างกันและคล้ายคลึงกับมนุษย์ หุ่นยนต์ในแต่ละประเภทจะมีหน้าที่การทำงานในด้านต่าง ๆ ตามการควบคุมโดยตรงของมนุษย์ การควบคุมระบบต่าง ๆ ในการสั่งงานระหว่างหุ่นยนต์และมนุษย์ สามารถทำได้โดยทางอ้อมและอัตโนมัติ โดยทั่วไปหุ่นยนต์ถูกสร้างขึ้นเพื่อสำหรับงานที่มีความยากลำบากเช่น งานสำรวจในพื้นที่บริเวณแคบหรืองานสำรวจดวงจันทร์ดาวเคราะห์ที่ไม่มีสิ่งมีชีวิต ปัจจุบันเทคโนโลยีของหุ่นยนต์เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เริ่มเข้ามามีบทบาทกับชีวิตของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านอุตสาหกรรมการผลิต แตกต่างจากเมื่อก่อนที่หุ่นยนต์มักถูกนำไปใช้ ในงานอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบันมีการนำหุ่นยนต์มาใช้งานมากขึ้น เช่น หุ่นยนต์ที่ใช้ในทางการแพทย์ หุ่นยนต์สำหรับงานสำรวจ หุ่นยนต์ที่ใช้งานในอวกาศ หรือแม้แต่หุ่นยนต์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นเครื่องเล่นของมนุษย์ จนกระทั่งในปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาให้หุ่นยนต์นั้นมีลักษณะที่คล้ายมนุษย์ เพื่อให้อาศัยอยู่ร่วมกันกับมนุษย์ ให้ได้ในชีวิตประจำวันได้ หุ่นยนต์ถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการใช้งาน คือ 1.หุ่นยนต์ชนิดที่ติดตั้งอยู่กับที่ (fixed robot) เป็นหุ่นยนต์ที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ไปไหนได้ด้วยตัวเอง มีลักษณะเป็นแขนกล สามารถขยับและเคลื่อนไหวได้เฉพาะแต่ละข้อต่อ ภายในตัวเองเท่านั้น มักนำไปใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม เช่นโรงงานประกอบรถยนต์ 2.

111 ความสัมพันธ์: บาคุกัน มอนสเตอร์บอลทะลุมิติชิต เหล่าวัฒนาบีบีเอทบีม (หุ่นยนต์)ฟอลเลน (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)พ.ศ. 2550พิตต์สเบิร์กกฎ 3 ข้อของหุ่นยนต์กริมล็อคกรีวัสกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลการสำรวจอวกาศการแข่งขันออกแบบหุ่นยนต์ระหว่างประเทศการเรียนรู้ของเครื่องการเห็นเป็น 3 มิติกาเรล ชาเปกภาษาโปรแกรมมาร์ค ทิลเดนมนุษย์สองร้อยปียักษ์ (ภาพยนตร์)ยุทธจักรนักจำรายชื่อของวิเศษของโดราเอมอนรายชื่อตอนในทีน ไททันส์รายชื่อตัวละครในสตาร์ วอร์สลุมพินีลุมพินีกันดั้มวิศวกรรมศาสตร์วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรมคอมพิวเตอร์วิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์วิศวกรรมโทรคมนาคมวิศวกรรมไฟฟ้าวิศวกรรมเครื่องกลวิทยาการหุ่นยนต์สัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์สิ่งมีชีวิตนอกโลกสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีสงครามเวหา ฟาฟเนอร์หลานปู่ กู้อีจู้หุ่นยนต์อัตโนมัติหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์หุ่นยนต์ตำรวจหุ่นเหล็กหมายเลข 17อาณานิคมอวกาศอาซิโมอินเทอร์เน็ตบอตอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม 4.0อี.ที. เพื่อนรัก...อีมิว 2ผู้กล้าพระอาทิตย์ ไฟร์เบิร์ดผู้กล้าทองคำ โกลด์รันผู้กล้าในตำนาน ดา การ์นจุลประติมากรรมถนนสายนี้ หัวใจไม่เคยลืมทรานส์ฟอร์มเมอร์ส สงครามจักรกลทะลุจักรวาลทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ไพร์มทฤษฎีระบบควบคุมทวินซิกแนลขบวนการอนาคต ไทม์เรนเจอร์ข้าคือหุ่นยนต์ดองกูโกเอลกวาโปดิอะเมซิ่งเรซ 12ดีวาสเตเตอร์ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)ด็อกเตอร์ดูมความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลกคอบร้า เห่าไฟสายฟ้าคอมพิวเตอร์วิทัศน์คำสั่งผู้กล้า ดั๊กวอนคิม พอสสิเบิลคิวริโอคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลตรีชฎา เพชรรัตน์ตามล่านักฆ่าแอนดรอยด์ตึกหุ่นยนต์ซอฟต์แวร์ซอยด์ หุ่นรบไดโนเสาร์ปลาสิงโตปลาผมนางปัญญาประดิษฐ์แอนดรอยด์แอ็งกรีเบิดส์ (วิดีโอเกม)แฮมทาโร่ แก๊งจิ๋วผจญภัยโกลด์ไลตันโรบอตบอยโรโบคอป 3โรโบคัพโอ้เทพธิดาโดราเอมอนโดะงูโดเรมีโคตรเซียนมาเก๊า เขย่าเวกัส 3ไอดอลมาสเตอร์ เซโนกลอสเซียไอ้แมงมุมในรูปแบบอื่นเกราะเหล็กไหล ไลน์บาร์เรลส์เก็ตเตอร์โรโบเมกะทรอน (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)เมกาก็อดซิลลาเมจิกไนท์ เรย์เอิร์ธเรือรบอวกาศยามาโตะเลกงต์ด็อฟมานเอบียูโรบอตคอนเทสต์เฮนดริค เวด โบดีเจ็ทไฟเออร์ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)เทอร์มิเนเตอร์เทตสึจิน หุ่นเหล็กหมายเลข 28เดอะซิมส์ 2เซคันด์ไลฟ์The Eyes มองตาก็รู้ใครWorld Robot Olympiad ขยายดัชนี (61 มากกว่า) »

บาคุกัน มอนสเตอร์บอลทะลุมิติ

กัน มอนสเตอร์บอลทะลุมิติ เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ซึ่งนำตัวของเล่นบาคุกัน ที่จำหน่ายโดยเซก้า มาดัดแปลงเนื้อเรื่องและสร้างเป็นอะนิเมะ ออกอากาศเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2550 ถึงวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2551 มีความยาวทั้งหมด 51 ตอน, tv-tokyo.co.jp, เรียกข้อมูลเมื่อ 25 มี..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และบาคุกัน มอนสเตอร์บอลทะลุมิติ · ดูเพิ่มเติม »

ชิต เหล่าวัฒนา

รองศาสตราจารย์ ชิต เหล่าวัฒนา อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และเป็นส่วนหนึ่งในคณะกรรมการโครงการ S&T ระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีกับสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (MIT) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจั.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และชิต เหล่าวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

บีบีเอท

ีบีเอท (BB-8) เป็นตัวละครหุ่นยนต์ประเภทดรอยด์ในสตาร์ วอร์ส ปรากฏตัวครั้งแรกในภาพยนตร์สตาร์ วอร์ส: อุบัติการณ์แห่งพลัง โดยเป็นหุ่นยนต์ที่ใช้รีโมตคอนโทรลในการบังคับ ซึ่งต่างจากตัวละครที่ใช้นักแสดงเชิดหรือสวมชุดในภาพยนตร์ก่อนหน้านี้.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และบีบีเอท · ดูเพิ่มเติม »

บีม (หุ่นยนต์)

หุ่นยนต์บีมอย่างง่ายที่มีตัวตรวจจับแสงและวิ่งไล่ตามแสงได้ ซึ่งใช้วัสดุเหลือใช้ อย่างเช่นมอเตอร์ใช้แล้ว และแผ่นพลาสติกเหลือใช้ บีม (BEAM) คือหุ่นยนต์อัตโนมัติรูปแบบหนึ่งที่ไม่ได้อาศัยไมโครคอนโทรลเลอร์ในการควบคุมและประมวลผลสัญญาณเหมือนหุ่นยนต์ทั่วไป แต่อาศัยคุณสมบัติของวงจรแอนะล็อกอย่างง่าย (อย่างเช่น อุปกรณ์เปรียบเทียบ (Comparator) และ ออสซิลเลเตอร์ (Oscillator))ในการสร้างสัญญาณสั่งให้ตัวขับ (actuator) ทำงานได้ กล่าวคือ เป็นการใช้วงจรอิเล็กโทรนิกแบบแอนะล็อกเลียนแบบการทำงานของระบบประสาทในสิ่งมีชีวิตในการสร้างสัญญาณไฟฟ้าเพื่อที่จะควบคุมอวัยวะต่างๆของตัวหุ่นยนต์ (ในที่นี้คือ มอเตอร์ และตัวขับไฮดรอลิก) โดยคำว่า B.E.A.M ย่อมาจาก B.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และบีม (หุ่นยนต์) · ดูเพิ่มเติม »

ฟอลเลน (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)

อะ ฟอลเลน (The fallen) เป็นชื่อตัวละครจากภาพยนตร์ซีรีส์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส (Transformers).

ใหม่!!: หุ่นยนต์และฟอลเลน (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส) · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พิตต์สเบิร์ก

ตต์สเบิร์ก (Pittsburgh) เป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของรัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา และเป็นเคาน์ตีซีตของแอลลิเกนีเคาน์ตี ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐ ตรงจุดบรรจบของแม่น้ำแอลลิเกนีและแม่น้ำโมนังกาฮีลาซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของแม่น้ำโอไฮโอ เป็นเมืองที่มีเขตเมืองใหญ่เป็นอันดับ 22 ของสหรัฐอเมริกา มีประชากร 305,704 คน (สำรวจเมื่อ ค.ศ. 2010) เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์สำคัญในเรื่องการผลิตเหล็กกล้า ปัจจุบันมีเศรษฐกิจที่สำคัญได้แก่ ด้านสุขภาพ การศึกษา เทคโนโลยี หุ่นยนต์ และการให้บริการการเงิน เมืองได้มีการปรับปรุงเมือง ในสถานที่ที่เคยเป็นย่านอุตสาหกรรมที่ทิ้งร้าง เปลี่ยนมาเป็นสำนักงานและย่านช็อปปิ้ง เช่นบริเวณเซาท์ไซด์เวิกส์ และเบเกอรีสแควร์ ฝรั่งเศสสร้างป้อมดูเคนขึ้นที่บริเวณเมืองนี้ใน ค.ศ. 1754 ต่อมาอังกฤษได้ยึดป้อมในปี ค.ศ. 1758 และเปลี่ยนชื่อมาเป็นพิตต์ จนเริ่มมีการตั้งถิ่นฐานในปี ค.ศ. 1760 และตั้งเป็นเมืองในปี ค.ศ. 1816.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และพิตต์สเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

กฎ 3 ข้อของหุ่นยนต์

หุ่นยนต์อาซิโม หุ่นยนต์ของฮอนด้า กฎ 3 ข้อของหุ่นยนต์ ตั้งขึ้นโดย ไอแซค อสิมอฟ เพื่อใช้กับหุ่นยนต์ ในนิยายวิทยาศาสตร์ของ.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และกฎ 3 ข้อของหุ่นยนต์ · ดูเพิ่มเติม »

กริมล็อค

กริมล็อก เป็นชื่อตัวละครหุ่นยนต์พันธุ์ไดโนเสาร์ จากฝ่าย ไดโนบอทส์ จากการ์ตูนชุดเรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และกริมล็อค · ดูเพิ่มเติม »

กรีวัส

กรีวัส (Grievous) หรือ นายพลกรีวัส (General Grievous) คือตัวละครตัวหนึ่งในเรื่องแต่งชุดสตาร์ วอร์ส ปรากฏตัวครั้งแรกในจักรวาลขยาย หลังจากนั้นจึงปรากฏตัวในภาพยนตร์ ถึงแม้ว่าในการปรากฏตัวครั้งแรกในภาพยนตร์การ์ตูนชุด สตาร์ วอร์ส: สงครามโคลน ในตอนที่ 20 กรีวัสจะถูกให้เสียงโดยจอห์น ดิ มัจจิโอ แต่ในตอนต่อๆ มาในซีรีส์นั้น กรีวัสถูกให้เสียงโดยริชาร์ด แมคกอนาเกิล และเมื่อมาปรากฏตัวในภาพยนตร์ สตาร์ วอร์ส เอพพิโซด 3: ซิธชำระแค้น ผู้ที่ให้เสียงกรีวัสก็เปลี่ยนมาเป็นแมธธิว วู้ด สำนักพิมพ์ Dark Horse Comics เริ่มตีพิมพ์หนังสือการ์ตูนสี่เล่มจบเกี่ยวกับกรีวัสในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และกรีวัส · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย

รงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เป็นกลุ่มโรงเรียนวิทยาศาสตร์ที่จัดตั้งขึ้นจากวัตถุประสงค์ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สัมพันธ์ ทองสมัคร เพื่อสนองพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ที่ทรงมุ่งมั่นจะส่งเสริมคุณภาพชีวิต ในด้านความเป็นอยู่และการศึกษาของเยาวชน ปัจจุบันเป็นโรงเรียนที่อยู่ในแผนและยุทธศาสตร์ สำหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์ โดยจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนส่งเสริมให้เด็กคิดเป็น และกล้าลงมือทำ โดยโรงเรียนจะสนับสนุนทั้งด้านอุปกรณ์การเรียนการสอน อุปกรณ์ในห้องทดลองที่มีครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการของเด็ก ในการศึกษาคนคว้าส่งที่ตนเองสนใจได้เอง โดยมีอาจารย์ที่มีความรู้ความสามารถ คอยให้คำปรึกษาและสนับสนุนให้เด็กแสดงศักยภาพของตนได้อย่างเต็มที.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) คือ กล้องโทรทรรศน์ในวงโคจรของโลกที่กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีนำส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อเดือนเมษายน..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล · ดูเพิ่มเติม »

การสำรวจอวกาศ

การสำรวจอวกาศ คือการใช้วิทยาการด้านดาราศาสตร์และอวกาศเพื่อสำรวจและศึกษาห้วงอวกาศภายนอก การศึกษาอวกาศในทางกายภาพสามารถทำได้ทั้งโดยยานอวกาศที่ควบคุมโดยมนุษย์หรือโดยหุ่นยนต์ การเฝ้าสังเกตการณ์วัตถุท้องฟ้า หรือที่เรียกว่าวิชาดาราศาสตร์ ได้กระทำกันมานานดังปรากฏในบันทึกประวัติศาสตร์ ทว่าการใช้จรวดเชื้อเพลิงเหลวขนาดใหญ่ที่เริ่มขึ้นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทำให้การสำรวจอวกาศในทางกายภาพมีความเป็นจริงเป็นจังมากขึ้น ความก้าวหน้าในการสำรวจอวกาศเป็นผลจากงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่ล้ำยุครวมถึงการร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อความอยู่รอดในอนาคตของมนุษย์ชาติ ขณะเดียวกันก็เป็นการสร้างประโยชน์ในทางทหารหรือทางกลยุทธ์ที่เหนือกว่าประเทศอื่นๆ ในบางครั้งจึงมีการวิพากษ์วิจารณ์ถึงประโยชน์ของการสำรวจอวกาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นเรื่องค่าใช้จ่ายและความปลอดภัย ครั้งหนึ่งการสำรวจอวกาศเป็นประเด็นการแข่งขันที่สำคัญระหว่างขั้วอำนาจ เช่นในระหว่างสงครามเย็น การสำรวจอวกาศยุคใหม่ช่วงแรกเป็นการแข่งขันกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับสหรัฐอเมริกา ได้แก่ การส่งยานที่สร้างด้วยมนุษย์ออกไปโคจรรอบโลกได้เป็นครั้งแรกในดาวเทียมสปุตนิก 1 ของสหภาพโซเวียต เมื่อ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1957 และการพิชิตดวงจันทร์เป็นครั้งแรกของยานอพอลโล 11 ของสหรัฐอเมริกาเมื่อ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1969 โดยมากโครงการสำรวจอวกาศของโซเวียตจะสามารถบรรลุเป้าหมายเป็นครั้งแรกได้ก่อน ภายใต้การนำของ Sergey Korolyov และ Kerim Kerimov เช่นการส่งนักบินอวกาศออกไปนอกโลกได้เป็นครั้งแรกใน..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และการสำรวจอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

การแข่งขันออกแบบหุ่นยนต์ระหว่างประเทศ

การแข่งขันออกแบบหุ่นยนต์ระหว่างประเทศ (International Design Robot Contest: IDC RoboCon) เป็นการแข่งขันหุ่นยนต์ที่เน้นการออกแบบหุ่นยนต์ให้สามารถแก้ปัญหาเฉพาะอย่างได้โดยใช้วัสดุและอุปกรณ์จำกัด เป็นการริเริ่มโดยสถาบันเทคโนโลยีแห่งโตเกียวและสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ การแข่งขันนี้จัดขึ้นครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่นในปี..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และการแข่งขันออกแบบหุ่นยนต์ระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

การเรียนรู้ของเครื่อง

การเรียนรู้ของเครื่อง (machine learning) เป็นสาขาหนึ่งของปัญญาประดิษฐ์ที่พัฒนามาจากการศึกษาการรู้จำแบบ เกี่ยวข้องกับการศึกษาและการสร้างอัลกอริทึมที่สามารถเรียนรู้ข้อมูลและทำนายข้อมูลได้ อัลกอริทึมนั้นจะทำงานโดยอาศัยโมเดลที่สร้างมาจากชุดข้อมูลตัวอย่างขาเข้าเพื่อการทำนายหรือตัดสินใจในภายหลัง แทนที่จะทำงานตามลำดับของคำสั่งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การเรียนรู้ของเครื่องมีเกี่ยวข้องอย่างมากกับสถิติศาสตร์ เนื่องจากทั้งสองสาขาศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการทำนายเช่นกัน นอกจากนี้ยังมีความสัมพันธ์กับสาขาการหาค่าเหมาะที่สุดในทางคณิตศาสตร์ที่แงของวิธีการ ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ การเรียนรู้ของเครื่องสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้หลากหมาย ไม่ว่าจะเป็นการกรองอีเมล์ขยะ การรู้จำตัวอักษร เครื่องมือค้นหา และคอมพิวเตอร์วิทัศน.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และการเรียนรู้ของเครื่อง · ดูเพิ่มเติม »

การเห็นเป็น 3 มิติ

การเห็นเป็น 3 มิติ (Stereopsis มาจากภาษากรีกโบราณคำว่า στερεο- คือ stereo- แปลว่า "แข็ง/มี 3 มิติ" และ ὄψις คือ opsis แปลว่า "การปรากฏ การมองเห็น") เป็นคำที่ใช้บ่อยที่สุดโดยหมายถึงการรับรู้ความใกล้ไกลและการรับรู้โครงสร้างและวัตถุที่มี 3 มิติ โดยอาศัยข้อมูลจากตาทั้งสองของบุคคลผู้มีพัฒนาการทางการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาที่เป็นปกติ " เพราะตาของมนุษย์และของสัตว์มากมายอื่น ๆ อยู่ในตำแหน่งตามแนวนอนที่ต่างกันบนศีรษะ การเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาจะเป็นผลจากภาพสองภาพซึ่งต่างกันเล็กน้อยที่ฉายตกลงที่จอตาทั้งสอง และภาพจะแตกต่างโดยหลักเป็นตำแหน่งที่ต่างกันของวัตถุต่าง ๆ ตามแนวนอน ความแตกต่างเช่นนี้เรียกในภาษาอังกฤษว่า horizontal disparities (ความต่างตามแนวนอน) หรือโดยคำที่กว้างกว่าคือ binocular disparities (ความต่างที่สองตา) โดยเปลือกสมองส่วนการเห็นจะแปลความต่างเช่นนี้ให้เป็นการรับรู้ความใกล้ไกล (depth perception) แม้ความต่างที่เห็นด้วยสองตาจะมีอยู่ตามธรรมชาติเมื่อมองทัศนียภาพด้วยสองตา แต่ก็สามารถสร้างขึ้นโดยแสดงภาพ 2 มิติที่ต่างกันสองภาพต่อแต่ละตาต่างหาก ๆ โดยเทคนิคที่เรียกว่า stereoscopy (ภาพ 3 มิติ) ความใกล้ไกลที่รับรู้จากเทคนิคเช่นนี้เรียกในภาษาอังกฤษว่า stereoscopic depth (ความใกล้ไกลจากภาพ 3 มิติ) แต่การรับรู้ความใกล้ไกลและโครงสร้างวัตถุ 3 มิติ ก็เป็นไปได้ด้วยข้อมูลจากแค่ตาเดียว เช่น ขนาดของวัตถุที่ต่างกัน และพารัลแลกซ์เนื่องกับการเคลื่อนไหว (motion parallax) ซึ่งเป็นความแตกต่างของวัตถุหนึ่ง ๆ เมื่อเวลาผ่านไปถ้าผู้มองกำลังเคลื่อนที่อยู่" แม้ความรู้สึกใกล้ไกลในกรณีเช่นนี้ จะไม่ชัดเท่ากับที่ได้จากความต่างที่เห็นด้วยสองตา" ดังนั้น คำภาษาอังกฤษว่า stereopsis หรือ stereoscopic depth บางครั้งจึงหมายถึงการรับรู้ความใกล้ไกลด้วยการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาโดยเฉพาะ ๆ คือหมายถึงเมื่อเรา "เห็นเป็น 3 มิติ" -->.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และการเห็นเป็น 3 มิติ · ดูเพิ่มเติม »

กาเรล ชาเปก

กาเรล ชาเปก (Karel Čapek,; 9 มกราคม พ.ศ. 2433 – 25 ธันวาคม พ.ศ. 2481) เป็นนักเขียนชาวเช็ก ผู้ริเริ่มใช้คำว่า robot (หุ่นยนต์) ซึ่งปรากฏอยู่ในบทละครเรื่อง R.U.R.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และกาเรล ชาเปก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโปรแกรม

ษาโปรแกรม คือภาษาประดิษฐ์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อสื่อสารชุดคำสั่งแก่เครื่องจักร โดยเฉพาะอย่างยิ่งคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมสามารถใช้สร้างโปรแกรมที่ควบคุมพฤติกรรมของเครื่องจักร และ/หรือ แสดงออกด้วยขั้นตอนวิธี (algorithm) อย่างตรงไปตรงมา ผู้เขียนโปรแกรมซึ่งหมายถึงผู้ที่ใช้ภาษาโปรแกรมเรียกว่า โปรแกรมเมอร์ (programmer) ภาษาโปรแกรมในยุคแรกเริ่มนั้นเกิดขึ้นก่อนที่คอมพิวเตอร์จะถูกประดิษฐ์ขึ้น โดยถูกใช้เพื่อควบคุมการทำงานของเครื่องทอผ้าของแจ็กการ์ดและเครื่องเล่นเปียโน ภาษาโปรแกรมต่าง ๆ หลายพันภาษาถูกสร้างขึ้นมา ส่วนมากใช้ในวงการคอมพิวเตอร์ และสำหรับวงการอื่นภาษาโปรแกรมก็เกิดขึ้นใหม่ทุก ๆ ปี ภาษาโปรแกรมส่วนใหญ่อธิบายการคิดคำนวณในรูปแบบเชิงคำสั่ง อาทิลำดับของคำสั่ง ถึงแม้ว่าบางภาษาจะใช้การอธิบายในรูปแบบอื่น ตัวอย่างเช่น ภาษาที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน หรือการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ การพรรณนาถึงภาษาโปรแกรมหนึ่ง ๆ มักจะแบ่งออกเป็นสองส่วนได้แก่ วากยสัมพันธ์ (รูปแบบ) และอรรถศาสตร์ (ความหมาย) บางภาษาถูกนิยามขึ้นด้วยเอกสารข้อกำหนด (ตัวอย่างเช่น ภาษาซีเป็นภาษาหนึ่งที่กำหนดโดยมาตรฐานไอโซ) ในขณะที่ภาษาอื่นอย่างภาษาเพิร์ลรุ่น 5 และก่อนหน้านั้น ใช้การทำให้เกิดผลแบบอ้างอิง (reference implementation) เป็นลักษณะเด่น.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และภาษาโปรแกรม · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ค ทิลเดน

มาร์ค ทิลเดน (Mark W. Tilden) เป็นนักวิทยาการหุ่นยนต์ และเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะของผู้บุกเบิกแนวคิดทางในการประดิษฐ์หุ่นยนต์ที่มีการเคลื่อนที่ซับซ้อนแต่ใช้การออกแบบวงจรทางไฟฟ้าที่เรียบง่าย โดยหุ่นยนต์ของทิวเดนส่วนใหญ่มักจะใช้วงจรแอนะล็อกอย่างง่าย (อย่างเช่น อุปกรณ์เปรียบเทียบ (Comparator) และออสซิลเลเตอร์ (Oscillator))ในการสร้างสัญญาณสั่งให้ตัวขับ (actuator) ทำงานได้ และไม่ได้อาศัยไมโครคอนโทรลเลอร์ในการควบคุมและประมวลผลสัญญาณ ซึ่งต่อมาแนวคิดดังกล่าวได้รับการต่อยอดเป็นแนวคิดที่เรียกว่า หุ่นยนต์แบบ BEAM นอกจากนี้ ทิลเดนยังเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้ประดิษฐ์หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ที่มีชื่อว่า โรโบซาเปี้ยน (Robosapien) ผลิตโดยบริษัท WowWee.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และมาร์ค ทิลเดน · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์สองร้อยปี

มนุษย์สองร้อยปี (The Bicentennial Man) เป็นนิยายวิทยาศาสตร์ ประเภทเรื่องสั้น ที่แต่งโดยไอแซค อสิมอฟ ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 และได้รับรางวัลฮิวโก ในปีนั้น นิยายบอกเล่าถึงเรื่องราวของหุ่นยนต์ชื่อ แอนดรูว์ ซึ่งทำหน้าที่รับใช้ครอบครัวหนึ่งอย่างซื่อสัตย์เป็นเวลาหลายชั่วอายุคน จากการได้คลุกคลีกับมนุษย์เป็นเวลาหลายปี แอนดรูว์ค่อยๆ ซึมซับด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ ค่อยๆ เปลี่ยนแปลงชิ้นส่วนต่างๆ ของตัวมัน ลดทอนความเป็นเครื่องจักรลงทีละน้อย จนในที่สุดก็ได้รับการยอมรับว่ามีความเป็นมนุษย์โดยสมบูรณ์ ในนิยายมีการนำเสนอเรื่องกฎ 3 ข้อของหุ่นยนต์ ด้วย ต่อมา ไอแซค อสิมอฟ ได้ร่วมกับ โรเบิร์ต ซิลเวอร์เบิร์ก เขียนนิยายขยายความเรื่อง The Bicentennial Man ออกมาเป็น The Positronic Man ตีพิมพ์เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2536 ภายหลังการเสียชีวิตของอสิมอฟในปี..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และมนุษย์สองร้อยปี · ดูเพิ่มเติม »

ยักษ์ (ภาพยนตร์)

ักษ์ (Yak: The Giant King) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันสัญชาติไทยผลงานร่วมทุนสร้างระหว่าง บริษัท สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด, บริษัท บ้านอิทธิฤทธิ์ จำกัด, บริษัท ซูเปอร์จิ๋ว จำกัด และดำเนินงานสร้างโดย บริษัท เวิร์คพอยท์ พิคเจอร์ส จำกัด ผลงานกำกับของประภาส ชลศรานนท์ร่วมกับ เอ็กซ์- ชัยพร พานิชรุทติวงศ์ ได้แรงบันดาลใจมาจาก วรรณคดี เรื่องรามเกียรติ์ มานำเสนอในรูปแบบของแอนิเมชันหุ่นยนต.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และยักษ์ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธจักรนักจำ

ทธจักรนักจำ (Memory Battle) เป็นรายการเกมโชว์รายการหนึ่งของ เจเอสแอล ออกอากาศตั้งแต่วันที่ 4 มกราคม - 27 กันยายน พ.ศ. 2546 ออกอากาศทางช่องโมเดิร์นไนน์ทีวี โดยรูปแบบรายการจะเน้นเรื่องความจำ ส่วนด้านแสง สี เสียงนั้น จะมีเอกลักษณ์คือ ตราสัญลักษณ์รายการจะมีรูปหุ่นยนต์ประกอบอยู่, เสียงเพลงไตเติ้ลที่ใช้ในรายการจะเป็นแนวไซเบอร์ และการชิงสัญญาณเพื่อตอบคำถามจะใช้แบบการปั่น.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และยุทธจักรนักจำ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อของวิเศษของโดราเอมอน

"บางชื่ออาจจะไม่ทราบว่ามันคืออะไร หรือใช้อย่างไร ทางบทความนี้ต้องขอความร่วมมือในการแก้ใขด้วย" ของวิเศษของโดราเอมอน เป็นอุปกรณ์หลากหลายรูปแบบที่โดราเอมอน หยิบนำมาใช้ ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกเก็บไว้ในกระเป๋า 4 มิติที่อยู่ที่หน้าท้องของโดราเอมอน ของวิเศษส่วนใหญ่เป็นอุปกรณ์ในนิยายวิทยาศาสตร์ ซึ่งบางอย่างก็จะเป็นการดัดแปลงจากข้าวของเครื่องใช้ในบ้านของชาวญี่ปุ่นเอง และยังมีของวิเศษบางชิ้นก็อ้างถึงความเชื่อทางศาสนาของประเทศญี่ปุ่น ของวิเศษในเรื่องโดราเอมอนนั้นมีประมาณ 4,500 ชิ้น ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะปรากฏออกมาให้เห็นเพียงตอนเดียว แต่ก็ยังมีของวิเศษบางชิ้นที่โดราเอมอนหยิบออกจากกระเป๋านำมาใช้บ่อยครั้ง ศาตราจารย์ยาสึยูกิ โยโกยามะ แห่งมหาวิทยาลัยโทยามะ ได้ทำการวิจัยผลงานเรื่องโดราเอมอน และเปิดเผยว่าของวิเศษที่โดราเอมอนหยิบออกมาจากกระเป๋า 4 มิติ มีทั้งหมด 1,963 ชิ้น ในขณะที่เว็บไซต์ Doraemon FanClub บันทึกจำนวนของวิเศษเอาไว้ทั้งหมด 1,812 ชิ้น หมายเหตุ: ชื่อของวิเศษ รายละเอียด(ตอนที่ใช้).

ใหม่!!: หุ่นยนต์และรายชื่อของวิเศษของโดราเอมอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในทีน ไททันส์

รายชื่อตอนของการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศสหรัฐอเมริกาเรื่อง ทีนไททัน.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และรายชื่อตอนในทีน ไททันส์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในสตาร์ วอร์ส

ผู้นำสูงสุดสโนค (Supreme Leader Snoke) เป็นตัวละครในเรื่องแต่งชุดสตาร์ วอร์ส ปรากฏตัวครั้งแรกในภาพยนตร์อุบัติการณ์แห่งพลังสโนคเป็นชายผู้มีสัมผัสแห่งพลัง ดำรงตำแหน่งผู้นำสูงสุดของปฐมภาคีในช่วงเวลาประมาณ 30 ปี หลังยุทธการเอนดอร์ เขาเป็นผู้มีอำนาจ เก่งกาจในด้านมืดของพลัง เคยได้ฝึกไคโล เร็น และศิษย์อีกอย่างน้อยหนึ่งคน ในภาพยนตร์อุบัติการณ์แห่งพลัง สโนคเป็นตัวละครที่ถูกสร้างจากคอมพิวเตอร์กราฟิกด้วยเทคนิกการจับการเคลื่อนไหว (โมชั่นแคปเจอร์) จากการแสดงของแอนดี้ เซอร์กิส ลักษณะของตัวละครสโนคถูกเปลี่ยนแปลงมาหลายต่อหลายครั้งระหว่างการพัฒนาภาพยนตร์ จนได้รูปลักษณ์สุดท้ายเมื่อตุลาคม..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และรายชื่อตัวละครในสตาร์ วอร์ส · ดูเพิ่มเติม »

ลุมพินี

ลุมพินี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และลุมพินี · ดูเพิ่มเติม »

ลุมพินีกันดั้ม

ลุมพินีกันดั้ม (ルンピニー ガンダム; Lumpini Gundam) เป็นหุ่นยนต์จากการ์ตูนชุด จีกันดั้ม ในรูปของนักมวยไทยที่นักต่อโมเดลชาวญี่ปุ่นส่งเข้าร่วมประกวดโมเดลดัดแปลงในนิตยสาร ฮอบบี้เจแปน (ホビージャパン; HOBBY JAPAN) ของประเทศญี่ปุ่นและได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับหนึ่งในเวลาต่อมา ชื่อ "ลุมพินีกันดั้ม" ได้มาจาก สนามมวยเวทีลุมพินี ซึ่งเป็นสังเวียนมวยไทยที่มีชื่อเสียงของชาติไท.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และลุมพินีกันดั้ม · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมศาสตร์

การจะออกแบบสร้างกังหันลมในทะเลต้องใช้ความรู้ทางวิศวกรรมในหลายๆสาขาประกอบเข้าด้วยกัน วิศวกรรมอาจจะหมายถึงพระวิศวกรรม วิศวกรรมศาสตร์ เป็นสาขาความรู้และวิชาชีพเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ประยุกตวิทยา (เทคโนโลยี), วิทยาศาสตร์และความรู้ทางคณิตศาสตร์เพื่อการใช้ประโยชน์จากกฎทางธรรมชาติและทรัพยากรทางกายภาพให้เกิดประโยชน์สูงสุด, เพื่อช่วยในการออกแบบและประยุกต์ใช้ วัสดุ, โครงสร้าง, เครื่องจักร, เครื่องมือ, ระบบ และ กระบวนการ เพื่อการตอบสนองต่อจุดประสงค์ที่ต้องการได้อย่างปลอดภัยและเชื่อถือได้ American Engineers' Council for Professional Development (ECPD, ซึ่งต่อมาคือ ABET) ได้ให้นิยามเกี่ยวกับวิศวกรรมศาสตร์เอาไว้ดังนี้.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และวิศวกรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์

วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Engineering) เดิมเป็นสาขาหนึ่งของวิศวกรรมไฟฟ้าที่ถูกแยกออกมาเพื่อให้เห็นความแตกต่างของงานทางด้านไฟฟ้ากำลัง กับงานทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์ดิจิทัลคอมพิวเตอร์เครื่องแรกทำด้วยหลอดสูญญากาศ โดยทั่วไปแล้ววิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์หมายความครอบคลุมถึง วงจรอิเล็กทรอนิกส์ระดับสัญญาณต่ำ (small signal) ทั้งระบบแอนะล็อกและดิจิทัล ทั้งระดับPrinted Circuit Board และIntegrated Circuit และอาจรวมไปถึงระบบสื่อสารทั้งทางคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า, และแสง อิเล็กทรอนิกส์ เดิมทีเป็นสาขาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ และ ทดสอบวงจรไฟฟ้า ซึ่งสร้างจากอุปกรณ์ที่มีคุณสมบัติเฉพาะทางแม่เหล็กไฟฟ้า ตั้งแต่อุปกรณ์ที่เป็น active เช่นหลอดสูญญากาศ, แบตเตอรี, เซลล์เชื้อเพลิง, จอแสดงผล จนถึง อุปกรณ์จากสารกึ่งตัวนำเช่น ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และ อื่น ๆ รวมทั้งอุปกรณ์ที่เป็น พาสซีฟ เช่นตัวต้านทาน, ตัวเก็บประจุและขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อให้เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานตามจุดประสงค์ที่ต้องการ เช่น เป็นวงจรวิทยุสื่อสาร วงจรคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ปัจจุบันขอบเขตของวิศวกรรมอิเล็กโทรนิคส์ถูกขยายออกไปเป็น subfield ได้แก่ อิเล็กทรอนิกส์แอนะลอก, อิเล็กทรอนิกส์ดิจิทัล, อิเล็กทรอนิกส์ผู้บริโภค, ระบบการฝังตัว และอิเล็กทรอนิกส์กำลัง วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ยังเข้าไปทำงานร่วมกับงาน implement ของ application, งานด้าน หลักการและ algorithm เกี่ยวกับฟิสิกส์ของ solid state, โทรคมนาคม, ระบบควบคุม, การประมวลผลสัญญาณ, วิศวกรรมระบบคอมพิวเตอร์, วิศวกรรมเครื่องมือ, วิศวกรรมควบคุมพลังงานไฟฟ้า, หุ่นยนต์, และอื่น ๆ อีกมากม.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (computer engineering) เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและสร้างเครื่องหรือระบบคอมพิวเตอร์ และ ระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์ ศาสตร์นี้เกี่ยวข้องกับการศึกษาทางด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ การสื่อสาร และความเกี่ยวเนื่องระหว่างเรื่องทั้งสาม หลักสูตรการเรียนมุ่งเน้นทางด้าน ทฤษฎี กฎ และ การฝึกฝนปฏิบัติของทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า และ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์รวมถึงการประยุกต์เข้ากับปัญหาทางด้านการออกแบบคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์ที่ใช้คอมพิวเตอร์ วิศวกรคอมพิวเตอร์ ศึกษาการออกแบบระบบฮาร์ดแวร์ดิจิทัล ซึ่งรวมถึงระบบการสื่อสาร องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ วิศวกรคอมพิวเตอร์จะเรียนการพัฒนาซอฟต์แวร์ โดยมุ่งเน้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์สำหรับอุปกรณ์ดิจิทัล และ การสร้างส่วนต่อประสานระหว่างผู้ใช้งานซอฟต์แวร์ และ ระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมทั้งความรู้ทางด้านวิศวกรรมที่ดีด้วย ปัจจุบันสาขาวิชาที่สำคัญในด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์คือ ระบบฝังตัว การพัฒนาอุปกรณ์ที่มีซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ฝังตัวภายใน เช่น อุปกรณ์สื่อสารอย่าง โทรศัพท์มือถือ เครื่องเล่นวิทยุระบบดิจิทัล เครื่องบันทึกวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล ระบบเตือนภัย เครื่องถ่ายรังสีเอกซ์ และ เครื่องมือผ่าตัดด้วยแสงเลเซอร์เป็นต้น ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องการการผนวกรวมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ฝังตัวหรือของอื่น ๆ ที่เป็นผลจากการวิศวกรรมคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน ในแง่ของศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นั้น วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เป็นหนึ่งในห้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร และ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือ ระบบสารสนเทศทางธุรก.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์

วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ เป็นสหวิทยาการอันประกอบด้วยองค์ความรู้หลากหลายสาขา วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ (Mechatronics Engineering) เป็นสหวิทยาการเชิงประยุกต์ ที่นำวิชาพื้นฐานหลักว่าด้วย วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ วิศวกรรมการควบคุมอัตโนมัติ วิทยาการคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มาบูรณาการเข้าด้วยกันเพื่อการออกแบบและสร้างผลิตชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์ เมื่อ เทคโนโลยี ก้าวหน้าขึ้น, สาขาย่อยของ วิศวกรรม ก็ขยายและพัฒนk จุดประสงค์ของแมคคาทรอนิกส์จึงเป็นกระบวนการออกแบบที่รวมเป็นหนึ่งเดียวของสาขาย่อยเหล่านี้ แต่เดิม แมคคาทรอนิกส์ได้รวมแค่แมคคานิกส์และอิเล็กทรอนิกส์เท่านั้น ดังนั้นคำว่าแมคคาทรอนิกส์จึงเป็นคำผสมของ แมคคา และ ทรอนิกส์; อย่างไรก็ตาม เมื่อระบบด้านเทคนิคมีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ คำ ๆ นี้จึงถูกขยายความให้รวมถึงพื้นที่ทางเทคนิคมากยิ่งขึ้น คำว่า "แมคคาทรอนิกส์" มีจุดเริ่มต้นในภาษา Japanese-English และถูกริเริ่มโดยนาย Tetsuro Mori, วิศวกรจากบริษัท Yaskawa Electric Corporation คำนี้ถูกลงทะเบียนเป็น เครื่องหมายการค้า โดยบริษัทในญี่ปุ่นด้วยทะเบียนหมายเลข "46-32714" ในปี 1971 อย่างไรก็ตาม หลังจากนั้นบริษัทได้สละสิทธ์การใช้ในสาธารณะ คำนี้จึงขยายออกไปทั่วโลก ในปัจจุบันคำนี้ถูกแปลเป็นภาษาอื่นและได้รับการพิจารณาว่าเป็นคำสำคัญในอุตสาหกรรม มาตรฐานของฝรั่งเศส NF E 01-010 ให้คำนิยามต่อไปนี้: “ดำเนินการในจุดประสงค์เพื่อบูรณาการอย่างเสริมประสานกันของทฤษฎีกลไก, อิเล็กทรอนิกส์, ควบคุม, และวิทยาการคอมพิวเตอร์ภายในการออกแบบและการผลิตผลิตภัณฑ์, เพื่อที่จะปรับปรุงและ/หรือให้ประโยชน์สูงสุดของหน้าที่การทำงานของมัน" คนจำนวนมากปฏิบัติต่อ "แมคคาทรอนิกส์" เหมือนกับเป็นคำศัพท์เฉพาะที่ทันสมัยที่พ้องกับคำว่า "วิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกล" หุ่นยนต์เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของการประยุกต์ใช้แมคคาทรอนิกส์ ตัวอย่างผลงานที่สร้างจากสาขาวิชานี้ได้แก่ “ระบบอัจฉริยะ” (Intelligent Systems) ซึ่งมีกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีระบบเมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และวิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมโทรคมนาคม

วเทียมวงโคจรต่ำที่ไคยัน วิศวกรรมโทรคมนาคม (Telecommunications engineering) เป็นวิชาการด้านวิศวกรรมที่เกิดจากการรวบรวมองค์ความรู้ทางวิศวกรรมไฟฟ้า และ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์เพื่อเสริมสร้างระบบการสื่อสารโทรคมนาคมที่เป็นองค์ความรู้เฉพาะทาง.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และวิศวกรรมโทรคมนาคม · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมไฟฟ้า

วิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering) เป็นสาขาที่ศึกษาทฤษฏีและการประยุกต์ใช้ ไฟฟ้า, คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ผู้ที่ประกอบวิชาชีพในสาขานี้เรียกว่า วิศวกรไฟฟ้า สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าเป็นสาขาที่กว้างประกอบไปด้วยหลายสาขาย่อ.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และวิศวกรรมไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมเครื่องกล

วิศวกรรมเครื่องกลออกแบบและสร้างเครื่องจักร งานวิศวกรรมเครื่องกลรวมไปถึงยานพาหนะในทุกขนาด ระบบปรับอากาศเองก็เป็นหนึ่งในงานทางวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical engineering) เป็นวิชาเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์และกฎทางฟิสิกส์เพื่อการประดิษฐ์ การผลิต และการดูแลรักษาระบบเชิงกล วิศวกรรมเครื่องกลเป็นหนึ่งในสาขาทางวิศวกรรมที่เก่าแก่ที่สุดและมีขอบข่ายกว้างขวางที่สุด การศึกษาวิศวกรรมเครื่องกลนั้นจำเป็นต้องมีความเข้าใจในหลักการพื้นฐานของหลักกลศาสตร์ พลศาสตร์ อุณหพลศาสตร์ กลศาสตร์ของไหลและพลังงานเป็นอย่างดี วิศวกรเครื่องกลนั้นสามารถใช้หลักการณ์พื้นฐานได้ดีพอกับความรู้อื่น ๆ ในงานภาคสนามเพื่อการออกแบบและวิเคราะห์ยานยนต์ อากาศยาน ระบบทำความร้อนและความเย็น เรือ ระบบการผลิต จักรกลและอุปกรณ์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์และอุปกรณ์ทางการแพทย์ เป็นต้น.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และวิศวกรรมเครื่องกล · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาการหุ่นยนต์

ว์ มือหุ่นยนต์ วิทยาการหุ่นยนต์ เป็นศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบ การผลิต และการประยุกต์ใช้งานหุ่นยนต์ วิทยาการหุ่นยนต์เกี่ยวข้องกับ อิเล็กทรอนิกส์, กลศาสตร์, และ ซอฟต์แวร.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และวิทยาการหุ่นยนต์ · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์

รูปสเก็ตสัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์ เทียบกับมนุษย์ สัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์ หรือ สัตว์ประหลาดบรอกตันเคาน์ตี หรือ ปีศาจแฟลทวูดส์ (อังกฤษ: Flatwoods Monster, Braxton County Monster, Phantom of Flatwoods) เป็นสิ่งมีชีวิตประหลาดที่มีรายงานการพบที่เมืองแฟลทวูดส์ ในบรอกตันเคาน์ตี รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา ในคืนวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 1952.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และสัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์ · ดูเพิ่มเติม »

สิ่งมีชีวิตนอกโลก

นหุ่นยนต์รถสำรวจคิวริออซิตี้โรเวอร์) มนุษย์ต่างดาวในจินตนาการของคนส่วนใหญ่ มนุษย์ต่างดาว (alien) เป็นสิ่งที่เชื่อว่าอาจมีอยู่จริงแต่ยังไม่มีข้อพิสูจน์ ลักษณะเป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่นอกโลก ซึ่งในความคิดของคนส่วนใหญ่ มักจะวาดภาพ มนุษย์ต่างดาว ลักษณะคล้ายคนแต่ ตัวเขียว หัวโต ตาโต เคยมาเยือนโลกโดยมากับ จานบิน สิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrial life) (จากคำภาษาละติน: extra และ terrestris) ถูกกำหนดให้เป็นชีวิตที่ไม่ได้เกิดจากโลก มันมักจะหมายถึง สิ่งมีชีวิตนอกโลก หรือเรียกเพียงว่า มนุษย์ต่างดาว (หรือมนุษย์ต่างดาวในอวกาศเพื่อให้แตกต่างจากคำจำกัดความอื่น ๆ ของมนุษย์ต่างภิภพหรือมนุษย์ต่างดาว) รูปแบบชีวิตเหล่านี้ตามสมมติฐานของชีวิตช่วงระยะเริ่มจากสิ่งมีชีวิตจำพวกแบคทีเรียขั้นพื้นฐานเหมือนสิ่งมีชีวิตที่เรียบง่ายไปไกลจนถึงขั้นที่มีความซับซ้อนมากขึ้นเกินกว่าสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า มนุษย์ ความเป็นไปได้ว่ายังอาจจะมีไวรัส (viruses) ที่มีการดำรงชีวิตอยู่แบบสิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrially) ได้รับการเสนอขึ้น การพัฒนาและการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับชีวิตต่างดาวที่เป็นที่รู้จักกันในนามของวิชาที่เรียกว่า "ชีววิทยานอกโลก" หรือ "ชีวดาราศาสตร์" ("exobiology" or "astrobiology") แม้ว่าวิชาชีวดาราศาสตร์จะยังคงพิจารณาถึงชีวิตที่เกิดขึ้นที่เป็นขั้นพื้นฐานบนโลกที่ใช้ในบริบททางดาราศาสตร์อยู่ก็ตาม นักวิทยาศาสตร์หลายคนคิดว่าชีวิตนอกโลกเป็นสิ่งที่มีความเป็นไปได้ แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานโดยตรงในการดำรงอยู่ของมัน นับตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 20 ได้มีการค้นหาอย่างต่อเนื่องสำหรับสัญญาณของชีวิตนอกโลก, จากวิทยุที่ใช้ในการตรวจจับสัญญาณต่างดาวที่มีความเป็นไปได้, ไปจนถึงกล้องโทรทรรศน์ที่ใช้ในการค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่มีศักยภาพเพียงพอสำหรับเป็นสถานที่เอื้ออาศัยสำหรับสภาพชีวิตที่อาจสามารถทำให้เกิดขึ้นได้ นอกจากนี้มันก็ยังมีบทบาทที่สำคัญต่องานเขียนทางด้านเกี่ยวกับนิยายวิทยาศาสตร์ (science fiction) อีกด้วย ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา, ผลงานทางด้านนิยายวิทยาศาสตร์, โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีส่วนร่วมของฮอลลีวู้ด, ได้ช่วยเพิ่มทวีความสนใจให้มากขึ้นของประชาชนในความเป็นไปได้เกี่ยวกับชีวิตนอกโลก บางส่วนสนับสนุนให้ใช้วิธีการเชิงรุกสำหรับในความพยายามและได้รับการติดต่อกับสิ่งมีชีวิตจากห้วงอวกาศ, ในขณะที่อีกบางส่วน ยืนยันว่ามันก็อาจจะเป็นอันตรายต่อมนุษย์เราชาวโลกเราได้สำหรับในการที่จะกระตือรือร้นเรียกร้องความสนใจจากมนุษย์ต่างดาว ในอดีตที่ผ่านมา, ความขัดแย้งกันระหว่างวัฒนธรรมที่เจริญและคนพื้นเมืองนั้นก็ยังไม่ได้เป็นไปด้วยดี.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และสิ่งมีชีวิตนอกโลก · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (ฟีโบ้) เป็นหน่วยงานระดับคณะ ในสังกัด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เริ่มเปิดทำการเรียนการสอนเมื่อปี..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเวหา ฟาฟเนอร์

งครามเวหา ฟาฟเนอร์ เป็นอะนิเมะที่สร้างโดย XEBEC เริ่มออกอากาศตั้งแต่วันที่ 4 กรกฎาคม - 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ทางสถานีทีวีโตเกียว และได้มีการสร้างอะนิเมะตอนพิเศษ "สงครามเวหา ฟาฟเนอร์ RIGHT OF LEFT" ซึ่งเป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นก่อนภาคหลัก ออกอากาศเป็นรายการพิเศษในช่วงสิ้นปีเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ต่อมาในปี พ.ศ. 2552 ทางบริษัทผู้สร้างได้เปิดเผยทางเว็บไซต์ว่าจะเริ่มต้นสร้างภาพยนตร์อะนิเมะ "สงครามเวหา ฟาฟเนอร์ HEAVEN AND EARTH" โดยเริ่มเข้าฉายตามโรงภาพยนตร์ตั้งแต่วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2553 นอกจากนี้ยังไดัรับการดัดแปลงเป็นละครเวทีในชื่อ "สงครามเวหา ฟาฟเนอร์ FACT AND RECOLLECTION" เริ่มเปิดแสดงตั้งแต่วันที่ 16 - 21 ธันวาคม..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และสงครามเวหา ฟาฟเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

หลานปู่ กู้อีจู้

หลานปู่ กู้อีจู้ เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ที่แสดงความสามารถของ หลานปู่-ตาหลาน-ยายหลาน และ ย่าหลาน ผลิตรายการโดย บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) โดยมีพิธีกรคือ ปัญญา นิรันดร์กุล สร้างสรรค์และควบคุมการผลิตโดย รุ่งธรรม พุ่มสีนิล ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในยุคแรกออกอากาศทุกวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 18.15-18.45 น. ตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2551 - 6 กันยายน 2552 ต่อมาจะปรับเปลี่ยนเวลาใหม่ชมกันให้เร็วขึ้นเป็นทุกวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 18.00-18.30 น.ตั้งแต่วันเสาร์ที่ 12 กันยายน 2552 และ ออกอากาศเป็นเทปสุดท้ายวันอาทิตย์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และหลานปู่ กู้อีจู้ · ดูเพิ่มเติม »

หุ่นยนต์อัตโนมัติ

หุ่นยนต์อัตโนมัติ (Autonomous robots) เป็นหุ่นยนต์ที่สามารถทำงานตามคำสั่งที่กำหนดได้ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ไม่แน่นอนโดยปราศจากการควบคุมจากมนุษย์ ในปัจจุบันหุ่นยนต์หลายชนิดมีคุณสมบัติของความอัตโนมัติ (autonomy)ในระดับหนึ่ง หุ่นยนต์ต่างชนิดถูกสร้างต่างวัตถุประสงค์ ความอัตโนมัติก็จะแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับชนิดของงาน งานบางอย่างต้องการหุ่นยนต์ที่มีความอัตโนมัติสูง เช่นงานสำรวจอวกาศ, งานตัดหญ้า, งานดูดฝุ่น และงานบำบัดน้ำเสียเป็นต้น สำหรับหุ่นยนต์ในอุตสาหกรรมยุคใหม่ แม้ว่าตัวหุ่นยนต์ประเภทแขนกล (Robot arm) จะถูกยึดอยู่กับที่ เราก็สามารถพิจารณาได้ว่ามันมีความอัตโนมัติภายใต้สภาวะแวดล้อมของมัน ซึ่งเป้าหมายในการทำงานของมันคือหยิบจับวัตถุที่ไหลมาตามสายพานให้ถูกต้อง โดยจะไม่ทราบได้เลยว่าวัตถุชิ้นต่อไปจะผ่านมาเมื่อไร จึงกล่าวได้ว่า ความอัตโนมัติเป็นสาขาหนึ่งของวิทยาการหุ่นยนต์อันจะช่วยให้หุ่นยนต์สามารถอยู่รอดในสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นพื้นดิน ใต้น้ำ ในอากาศ ใต้ดิน หรือในอวกาศ หุ่นยนต์อัตโนมัติแบบสมบูรณ์ (fully autonomous robot) เรียกได้ว่าเป็นหุ่นยนต์ที่มีความสามารถดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และหุ่นยนต์อัตโนมัติ · ดูเพิ่มเติม »

หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์

อาซิโม ของฮอนด้า ตัวอย่างหนึ่งของหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ (อังกฤษ: humanoid robot) คือหุ่นยนต์ที่ออกแบบขึ้นมาโดยมีพื้นฐานมาจากร่างกายมนุษย์ โดยทั่วไปแล้วหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์มีลำตัวพร้อมหัว สองแขน และสองขา แม้หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์บางรูปแบบจะจำลองเฉพาะบางส่วนของร่างกายเท่านั้น ตัวอย่างเช่น ตัวแต่เอวขึ้นไป หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์บางตัวยังอาจมี 'ใบหน้า' พร้อม 'ตา' และ 'ปาก' อีกด้วย แอนดรอยด์ (android) คือหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ที่สร้างเลียนแบบมนุษย์เพศชาย และ gynoid คือหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ที่สร้างเลียนแบบมนุษย์เพศหญิง หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์เป็นหุ่นยนต์อัตโนมัติ เนื่องจากมันสามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมหรือตัวมันเอง และยังคงทำงานต่อเพื่อบรรลุเป้าหมาย สิ่งนี้เป็นข้อแตกต่างหลักระหว่างฮิวแมนนอยด์และหุ่นยนต์ชนิดอื่น เช่นหุ่นยนต์อุตสาหกรรม ที่ใช้ปฏิบัติภารกิจในสภาพแวดล้อมที่มีโครงสร้างชัดเจนมาก ในบริบทนี้ ความสามารถของหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์อาจรวมถึง แต่ไม่จำกัดแค่สิ่งเหล่านี้.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

หุ่นยนต์ตำรวจ

หุ่นยนต์ตำรวจ เป็นหุ่นยนต์ที่ออกแบบเพื่อทำงานแทนตำรวจในงานตระเวนตรวจอาชญากรรม งานรักษาความปลอดภัย และการตรวจจับการเคลื่อนไหวของผู้บุกรุก.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และหุ่นยนต์ตำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

หุ่นเหล็กหมายเลข 17

หุ่นเหล็กหมายเลข 17 ชื่อภาษาไทยของซีรีส์ญี่ปุ่นชุด 大鉄人17 (ญี่ปุ่น: 大鉄人17,โรมะจิ: Daitetsujin Wan-Sebun, อังกฤษ: Daitetsujin 17) เป็นภาพยนตร์ซีรีส์สำหรับเด็กแนวโทคุซัทสึ ออกฉายใน 18 มีนาคม-11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 ทุกวันศุกร์ ในเวลา 19.00 น.-19.30 น. ทางช่อง TBS สร้างสรรค์โดย โชทาโร่ อิชิโนะโมะริ ผู้สร้างคาเมนไรเดอร์ และผลิตโดย บริษัทโตเอะ เคยฉายในประเทศไทยทางช่อง 7 ในเวลา 10.00 น.-10.30 น. ทุกวันเสาร์ ในชื่อว่า หุ่นเหล็กหมายเลข 17 มีทั้งหมด 35 ตอน หุ่นเหล็กหมายเลข 17 เป็นเรื่องราวความผูกพันของหุ่นยนต์ยักษ์ที่ชื่อ วัน-เซเว่น (17) ที่ถูกสร้างขึ้นโดย กับเด็กชายที่ชื่อ ซาบุโร่ โดยผ่านการติดต่อกันทางหมวกเหล็ก วัน-เซเว่นไม่สามารถพูดได้ แต่ใช้การสื่อสารผ่านทางสายตา โดยวันเซเว่นต้องต่อสู้กับหุ่นยนต์ของเหล่าร้ายที่ผลิตตัวเองขึ้นมา โดยมีหุ่นเหล็กหมายเลข 18 ซึ่งเป็นน้องชายรวมอยู่ด้วย ในตอนสุดท้าย วัน-เซเว่นต้องสละชีวิตตัวเองพร้อมกับหัวหน้าเหล่าร้าย ซีรีส์ชุดนี้ได้ถูกฉายในสหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ. 2525 โดยใช้ชื่อชุดว่า The Defenders and the Great Brain และ Brain 17.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และหุ่นเหล็กหมายเลข 17 · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคมอวกาศ

ปซโคโลนี อาณานิคมอวกาศ หรือ สเปซโคโลนี (Space colony) คือ สภาวะแวดล้อม (สิ่งแวดล้อม) ที่เปรียบเสมือนถิ่นที่อยู่ของมนุษย์ในอนาคต โดยภายในโคโลนีจะมีระบบต่างๆ เอื้อให้กับการดำรงชีวิตของมนุษย์ อาทิ ระบบสร้างชั้นบรรยากาศเทียม ระบบสร้างแรงโน้มถ่วงเทียม ระบบบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำบริสุทธิ์จนมนุษย์สามารถดื่มได้ ระบบรีไซเคิลขยะหรือเผาทำลายขยะ 100% เพื่อให้ไม่มีปัญหาขยะสะสมในโคโลนี ระบบรวบรวมทรัพยากรสำคัญจากอวกาศ ระบบผลิตพลังงานที่มีกำลังสูงเพื่อเป็นพลังงานให้ทั้งโคโลนี สเปซโคโลนีมักถูกกล่าวถึงอยู่เสมอในนวนิยายและการ์ตูนแนววิทยาศาสตร์ แต่สำหรับโลกวิทยาศาสตร์แล้วมีการพัฒนาแนวคิด และวิจัยอย่างเป็นทางการเมื่อสตีเฟ่น ฮอว์คิง ได้กล่าวเอาไว้ในปี..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และอาณานิคมอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

อาซิโม

อาซิโม (ASIMO) คือหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ หรือหุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ของบริษัทฮอนด้า ประเทศญี่ปุ่น สร้างเสร็จเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2543 พัฒนาโดยทีมวิศวกรเยอรมนี โดยพัฒนาจากหุ่นยนต์ทดลองและหุ่นยนต์ต้นแบบจนทำให้มีขนาดเล็กและน้ำหนักเบา เทคโนโลยี i-WALK ช่วยให้อาซิโมสามารถเดินและวิ่งได้อย่างอิสรเสรี ขึ้นบันไดและเต้นรำได้ มีระบบบันทึกเสียงเพื่อตอบสนองคำสั่งของมนุษย์ สามารถจดจำใบหน้าคู่สนทนาได้อย่างแม่นยำ ซึ่งคุณสมบัติดังกล่าวถูกสร้างขึ้นเพื่อให้อาซิโมมีขีดความสามารถรอบด้าน และรองรับความต้องการของมนุษย์ในอนาคต บริษัทฮอนด้าได้ให้คำนิยามของชื่อ ASIMO ว่าย่อมาจาก Advanced Step in Innovative Mobility หมายถึง นวัตกรรมแห่งการเคลื่อนที่อันล้ำสมัย ซึ่งไม่ได้เกี่ยวข้องกับชื่อสกุลของไอแซค อสิมอฟ (アジモフ) นักวิทยาศาสตร์ด้านหุ่นยนต์ชื่อดังแต่อย่างใด แม้ว่าชื่อในภาษาญี่ปุ่นของอาซิโมและอสิมอฟจะสะกดใกล้เคียงกันมาก นอกจากนี้ยังไปพ้องเสียงกับคำว่า อะชิโมะ ที่แปลว่า "มีขาด้วย" อาซิโมได้รับการออกแบบให้สามารถใช้งานได้อย่างง่ายดาย ไม่ว่าจะเป็นการควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะหรือการควบคุมระยะไกล ทีมวิศวกรเริ่มต้นคิดค้น พัฒนาศึกษาวิจัยหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 โดยเริ่มจากการสร้างหุ่นยนต์ต้นแบบ พีทู (P2) ในปี พ.ศ. 2539 และต่อด้วยหุ่นยนต์ต้นแบบ พีทรี (P3) ในปี พ.ศ. 2540 จนกระทั่งมาถึงหุ่นยนต์อาซิโมในปี พ.ศ. 2543 ปัจจุบันฮอนด้าได้เปิดโอกาสให้เช่าอาซิโมเพื่อใช้งานในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และอาซิโม · ดูเพิ่มเติม »

อินเทอร์เน็ตบอต

บอต (bot) หรือ อินเทอร์เน็ตบอต (Internet bot) คือโปรแกรมอัตโนมัติสำหรับทำหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งบอตย่อมาจากคำว่าโรบอต (robot) แปลว่าหุ่นยนต์ บอตที่นิยมใช้ในอินเทอร์เน็ต สำหรับการเก็บข้อมูลจากเว็บเพจ เรียก เว็บครอว์เลอร์ (web crawler) หรือ สไปเดอร์ (spider) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลของเว็บนั้นมาทำการวิเคราะห์ เช่น กูเกิลบอต (GoogleBot) เก็บข้อมูลจากเว็บต่างๆ แล้วมาทำดัชนีของเว็บเพื่อใช้ในเสิร์ชเอนจิน บอตในไออาร์ซีหรือในเมสเซนเจอร์ เป็นโปรแกรมอัตโนมัติที่ตอบคำถามของผู้ใช้ต่างๆ โดยบอตประเภทนี้จะนำคำถามของผู้ใช้มาประมวลผลตามเงื่อนไข และเมื่อพบคำตอบที่น่าจะเกี่ยวข้องจะส่งคำตอบกลับไป หรือถ้าไม่พบคำตอบจะส่งข้อความว่า ไม่เข้าใจในคำถามให้ถามคำถามใหม่ บอตประเภทนี้สามารถตอบคำถามได้หลายประเภท รวมถึงการค้นหา ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ รายงานสภาพภูมิอากาศปัจจุบัน ผลการแข่งขันกีฬา เป็นต้น หมวดหมู่:บอต.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และอินเทอร์เน็ตบอต · ดูเพิ่มเติม »

อิเล็กทรอนิกส์

อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics) เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับวงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เป็น active component เช่นหลอดสูญญากาศ, ทรานซิสเตอร์, ไดโอด และ Integrated Circuit และ ชิ้นส่วน พาสซีฟ (passive component) เช่น ตัวนำไฟฟ้า, ตัวต้านทานไฟฟ้า, ตัวเก็บประจุ และคอยล์ พฤติกรรมไม่เชิงเส้นของ active component และความสามารถในการควบคุมการไหลของอิเล็กตรอนทำให้สามารถขยายสัญญาณอ่อนๆให้แรงขึ้นเพื่อการสื่อสารทางภาพและเสียงเช่นโทรเลข, โทรศัพท์, วิทยุ, โทรทัศน์ เป็นต้น อิเล็กทรอนิกส์ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายในการสื่อสารข้อมูลโทรคมนาคม ความสามารถของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่เป็นสวิทช์ปิดเปิดวงจรถูกนำไปใช้ในวงจร ลอจิกเกต ซึ่งเป็นส่วนสำคัญหลักในระบบคอมพิวเตอร์ นอกจากนั้น วงจรอิเล็กทรอนิกส์ยังถูกนำไปใช้ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน ในการส่งพลังงานไฟฟ้าเป็นระยะทางไกลๆ การผลิตพลังงานทดแทน และอุตสาหกรรมต่างๆอีกมาก อิเล็กทรอนิกส์แตกต่างจากวิทยาศาสตร์ไฟฟ้าและเทคโนโลยีเครื่องกลไฟฟ้า โดยจะเกี่ยวข้องกับการสร้าง, การกระจาย, การสวิทช์, การจัดเก็บและการแปลงพลังงานไฟฟ้าไปและมาจากพลังงานรูปแบบอื่น ๆ โดยใช้สายไฟ, มอเตอร์, เครื่องกำเนิดไฟฟ้า, แบตเตอรี่, สวิตช์, รีเลย์, หม้อแปลงไฟฟ้า ตัวต้านทานและส่วนประกอบที่เป็นพาสซีพอื่นๆ ความแตกต่างนี้เริ่มราวปี 1906 เป็นผลจากการประดิษฐ์ไตรโอดโดยลี เดอ ฟอเรสท์ ซึ่งใช้ขยายสัญญาณวิทยุที่อ่อนๆได้ ทำให้เกิดการออกแบบและพัฒนาระบบการรับส่งสัญญาณเสียงและหลอดสูญญากาศ จึงเรียกสาขานี้ว่า "เทคโนโลยีวิทยุ" จนถึงปี 1950 ปัจจุบัน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่ ใช้ชิ้นส่วนสารกึ่งตัวนำเพื่อควบคุมการทำงานของอิเล็กตรอน การศึกษาเกี่ยวกับอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำและเทคโนโลยีโซลิดสเตต ในขณะที่การออกแบบและการสร้างวงจรอิเล็กทรอนิกส์ในการแก้ปัญหาในทางปฏิบัติอยู่ภายใต้สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ บทความนี้มุ่งเน้นด้านวิศวกรรมของ.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และอิเล็กทรอนิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

อุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรม 4.0 หรือการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 คือชื่อเรียกรูปแบบการจัดการอุตสาหกรรมที่กำลังนิยมในปัจจุบันโดยเป็นการนำสารสนเทศมาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม โดยประกอบด้วย cyber-physical system, Internet of things และ cloud computingHermann, Pentek, Otto, 2016:, accessed on 4 May 2016 โดยอุตสาหกรรม 4.0 เป็นรูปแบบของการทำงานอย่างชาญฉลาด (smart) โดยการนำข้อมูลที่หลากหลายมาผสมผสานเพื่อให้เกิดการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และทันเวลา ทั้งในรูปแบบการจัดการด้วยมนุษย์ และการจัดการด้วยระบบหุ่นยนต์อัตโนมัติ ตลอดห่วงโซ่คุณค่า ชื่อเรียก "อุตสาหกรรม 4.0" มีที่มีจากโครงการ Industrie 4.0 ของรัฐบาลประเทศเยอรมนีในกลยุทธ์การวางแผนพัฒนาอุตสาหกรรมที่นำระบบดิจิตัลเข้ามาเป็นแกนหลัก.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และอุตสาหกรรม 4.0 · ดูเพิ่มเติม »

อี.ที. เพื่อนรัก

อี.ที.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และอี.ที. เพื่อนรัก · ดูเพิ่มเติม »

อีมิว 2

อีมิว 2 หรือ “EMIEW 2” (Excellent Mobility and Interactive Existence as Workmate) เป็นหุ่นยนต์คล้ายมนุษย์ของฮิตาชิ หุ่นยนต์รุ่นแรกที่สามารถพับขาได้ และเคลื่อนไหวโดยใช้ล้อมีทั้งทั้งแบบ 2 ล้อ และ 4 ล้อ มีความสูง 80 เซนติเมตร หนัก 13 กิโลกรัม ควบคุมการทำงานผ่านรีโมตแบบไร้สาย พัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นไก.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และอีมิว 2 · ดูเพิ่มเติม »

ผู้กล้าพระอาทิตย์ ไฟร์เบิร์ด

ผู้กล้าพระอาทิตย์ ไฟร์เบิร์ด (Hero of the Sun, Firebird) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวหุ่นยนต์ ผลงานเรื่องที่ 2 ในกลุ่มยูฉะซีรีส์ (Brave series) ของซันไรส์ ออกอากาศทางสถานีนาโงยะทีวี ทุกวันเสาร์ เวลา 17.00-17.30 น. ตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991 ถึง 25 มกราคม ค.ศ. 1992 รวมออกอากาศทั้งหมด 48 ตอน.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และผู้กล้าพระอาทิตย์ ไฟร์เบิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ผู้กล้าทองคำ โกลด์รัน

ผู้กล้าทองคำ โกลด์รัน (The Brave of Gold Goldran) เป็นภาพยนตร์อนิเมชัน แนวไซไฟ-หุ่นยนต์ ผลงานชุดที่ 6 ของซีรีส์ยูฉะซีรีส์ ออกอากาศทุกวันเสาร์เวลา 17:00 - 17:30 น. ทางสถานีโทรทัศน์นาโงยะทีวี (ทีวีอาซาฮี) ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1995 และสิ้นสุดออกอากาศเมื่อวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 1996 รวมทั้งหมด 48 ตอน.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และผู้กล้าทองคำ โกลด์รัน · ดูเพิ่มเติม »

ผู้กล้าในตำนาน ดา การ์น

ผู้กล้าในตำนาน ดา การ์น (The Brave of Legend Da-Garn) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชัน แนวไซไฟ-หุ่นยนต์ ผลงานชุดที่ 3 ของซีรีส์ยูฉะซีรีส์ ออกอากาศทุกวันเสาร์เวลา 17:00 - 17:30 น. ทางสถานีโทรทัศน์นาโงยะทีวี (ทีวีอาซาฮี) ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 8 กุมภาพัน..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และผู้กล้าในตำนาน ดา การ์น · ดูเพิ่มเติม »

จุลประติมากรรม

ลประติมากรรมพหุรงค์ของนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์จากคริสต์ศตวรรษที่ 18 จุลประติมากรรม (Figurine) “Figurine” เป็นคำที่แผลงมาจากคำว่า “Figure” ที่หมายถึงประติมากรรมขนาดเล็ก (Statuette) ในรูปของมนุษย์, เทพ หรือ สัตว์ จุลประติมากรรมจะเป็นได้ทั้งสัจศิลป์ หรือ สัญลักษณศิลป์ (icon) ขึ้นอยู่กับความชำนาญ/ความสามารถ หรือความตั้งใจของผู้สร้าง งานจุลประติมากรรมในสมัยแรกทำจากหินหรือดินเหนียว แต่เมื่อมาถึงสมัยต่อมาก็อาจจะเป็นเซอรามิค, โลหะ, แก้ว, ไม้ หรือ พลาสติกก็ได้ จุลรูปที่มีส่วนที่เคลื่อนไหวได้เช่นแขน หรือ ขามักจะเรียกว่าตุ๊กตา, หุ่นจัดท่า หรือ action figure; หรือ หุ่นยนต์ หรือ หุ่นกล (Automaton) ถ้าเคลื่อนไหวเองได้ จุลประติมากรรม หรือ จุลรูป บางครั้งก็ใช้ใน เกมกระดาน เช่น หมากรุกเป็นต้น.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และจุลประติมากรรม · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสายนี้ หัวใจไม่เคยลืม

นนสายนี้ หัวใจไม่เคยลืม หรือเรียกโดยย่อว่า ออลเวย์ส (Always) คือ ภาพยนตร์ญี่ปุ่นปี พ.ศ. 2548 ที่ดัดแปลงมาจากมังงะของเรียวเฮ ไซงัง เรื่อง ซังโจเมะโนะยูฮิ กำกับและประพันธ์บทภาพยนตร์โดย ทะกะชิ ยะมะซะกิ นำแสดงโดย มะกิ โฮะริกิตะ, ฮิเดะตะกะ โยะชิโอะกะ, ชินอิจิ สึสึมิ, โคะยุกิ, ฮิโระโกะ ยะกุชิมะรุ, คะซุกิ โคะชิมิสุ และเค็นตะ ซุงะ เข้าฉายในประเทศญี่ปุ่นวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ฉายแบบจำกัดโรงในประเทศไทยเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2549 และเข้าฉายในไต้หวันเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2550 เนื้อเรื่องของภาพยนตร์เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิต ความสัมพันธ์ ความหวัง และความรักของสมาชิกในชุมชนเล็ก ๆ แห่งหนึ่งบนถนนสายที่ 3 โดยมีกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (ประมาณคริสต์ทศวรรษที่ 1950) เป็นฉากหลัง ภาพยนตร์เรื่องนี้ถือได้ว่าประสบความสำเร็จทั้งรายได้และรางวัลที่ได้รับ โดยผลงานที่โดดเด่นที่สุดคือการได้รับรางวัลแจแปนิสอคาเดมี ประจำปี..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และถนนสายนี้ หัวใจไม่เคยลืม · ดูเพิ่มเติม »

ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส สงครามจักรกลทะลุจักรวาล

ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส สงครามจักรกลทะลุจักรวาล (Transformers: Cybertron, Transformers Galaxy Force) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวไซไฟ-หุ่นยนต์ เป็นผลงานซีรีส์ชุดทรานส์ฟอร์มเมอร์ส โดยความร่วมมือของฮาสโบร (Hasbro) และทาคารา (Takara) ออกอากาศตั้งแต่วันที่ 8 มกราคม..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และทรานส์ฟอร์มเมอร์ส สงครามจักรกลทะลุจักรวาล · ดูเพิ่มเติม »

ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ไพร์ม

ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ไพร์ม เป็นการ์ตูนชุดจบในตอนที่สร้างจากเค้าโครงเรื่องโดย ฮาสโบร ออกอากาศทางช่องการ์ตูนเน็ตเวิร์ก สหรัฐอเมริกา สร้างโดย ฮาสโบร สตูดิโอ และ ดาร์บี้ ป๊อป โปรดักชั่นส์ จัดทำแอนิเมชันโดย โพลีกอน พิคเจอร์ส ประพันธ์ดนตรีประกอบโดย ไบรอัน ไทเลอร์, แมทธิว มาร์จสัน และกำกับเสียงโดย ซูซาน บลู เริ่มออกอากาศตอนแรกเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ไพร์ม · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีระบบควบคุม

ระบบควบคุมมีความสำคัญอย่างมากในการปล่อยจรวดและยานอวกาศ ทฤษฎีระบบควบคุม (control theory) เป็นสาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ ในที่นี้ การควบคุมหมายถึง การควบคุมระบบพลศาสตร์ ให้มีค่าเอาต์พุตที่ต้องการ โดยการป้อนค่าอินพุตที่เหมาะสมให้กับระบบ ตัวอย่างที่เห็นได้ทั่วไป เช่น ระบบควบคุมอุณหภูมิห้องของเครื่องปรับอากาศ หรือ แม้แต่ลูกลอยในโถส้วม ที่เปิดน้ำปิดน้ำโดยอัตโนมัติเมื่อน้ำหมดและน้ำเต็ม การควบคุมการขับเคลื่อนยานพาหนะ เช่น รถยนต์ ก็ถือเป็นการควบคุมชนิดหนึ่ง โดยผู้ขับขี่เป็นผู้ควบคุมทิศทางและความเร็ว ซึ่งระบบควบคุมประเภทที่ต้องมีคนเข้ามาเกี่ยวข้องนี้ถือว่าเป็น ระบบควบคุมไม่อัตโนมัติ (manual control) แต่ทฤษฎีระบบควบคุมจะครอบคลุมเฉพาะการวิเคราะห์และออกแบบ ระบบควบคุมอัตโนมัติ (automatic control) เท่านั้น เช่น ระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติ (cruise control) ระบบควบคุมยังอาจแบ่งออกได้เป็นระบบควบคุมวงเปิด (open-loop control) คือ ระบบควบคุมที่ไม่ได้ใช้สัญญาณจากเอาต์พุต มาบ่งชี้ถึงลักษณะการควบคุม ส่วนระบบควบคุมวงปิด (closed-loop control) หรือ ระบบป้อนกลับ (feedback control) นั้นจะใช้ค่าที่วัดจากเอาต์พุต มาคำนวณค่าการควบคุม นอกจากนี้ยังอาจแบ่งได้ตามคุณลักษณะของระบบ เช่น เป็นเชิงเส้น (linear) / ไม่เป็นเชิงเส้น (nonlinear), แปรเปลี่ยนตามเวลา (time-varying) / ไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา (time-invariant) และเวลาต่อเนื่อง (Continuous time) / เวลาไม่ต่อเนื่อง (Discontinuous time).

ใหม่!!: หุ่นยนต์และทฤษฎีระบบควบคุม · ดูเพิ่มเติม »

ทวินซิกแนล

ทวินซิกแนล เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวโชเน็น เรื่องราวเกี่ยวกับหุ่นยนต์เหมือนมนุษย์ที่สามารถแปลงร่างกลายเป็นหุ่นยนต์ตัวเล็กเนื่องจากบั๊กภายในตัว และการต่อสู้ระหว่างมนุษย์ผู้สร้าง.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และทวินซิกแนล · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการอนาคต ไทม์เรนเจอร์

วนการอนาคต ไทม์เรนเจอร์ เป็นภาพยนตร์แนว ขบวนการนักสู้ ลำดับที่ 24 ของประเทศญี่ปุ่น ออกอากาศทางสถานี ทีวีอาซาฮี ทุกวันอาทิตย์ เวลา 7.30-8.00 น. ตามเวลาประเทศญี่ปุ่น โดยเริ่มออกอากาศตั้งแต่เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2000 ถึง 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2001 รวมความยาวทั้งสิ้น 51 ตอน และมีตอนพิเศษอีก 2 ตอน คือ Timeranger Speacial File.51 และ ไทม์เรนเจอร์ vs.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และขบวนการอนาคต ไทม์เรนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ข้าคือหุ่นยนต์

้าคือหุ่นยนต์ (I, Robot) หมายถึงชุดนิยายวิทยาศาสตร์ขนาดสั้นจำนวน 9 เรื่อง แต่งโดยไอแซค อสิมอฟ เรื่องสั้นในชุดเคยลงพิมพ์ในนิตยสารนิยายวิทยาศาสตร์ในสหรัฐอเมริกาชื่อ Super Science Stories และ Astounding Science Fiction ในระหว่าง..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และข้าคือหุ่นยนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ดองกูโกเอลกวาโป

องกูโกเอลกวาโป ดองกูโกเอลกวาโป (Don Cuco El Guapo) เป็นหุ่นยนต์นักเปียโนที่ได้รับการออกแบบและสร้างขึ้นที่แผนกไมโครอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัยเอาโตโนมาเดปวยบลา (อูอาเป) ประเทศเม็กซิโก ใน..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และดองกูโกเอลกวาโป · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 12

อะเมซิ่ง เรซ 12 (The Amazing Race 12) เป็นฤดูกาลที่ 12 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส สำหรับรายการนี้เริ่มออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส ในสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยแทนที่รายการ Viva Laughlin ที่ถูกยกเลิก และตอนสุดท้ายออกอากาศเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2551 ณ เวลา 20 นาฬิกา ตามเวลามาตรฐานตะวันออก และเวลามาตรฐานแปซิฟิกของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และดิอะเมซิ่งเรซ 12 · ดูเพิ่มเติม »

ดีวาสเตเตอร์ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)

ีวาสเตเตอร์ (Devastator เป็นชื่อตัวละครจากภาพยนตร์เรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส (Transformers) เป็นหุ่นยนต์ฝ่ายของ คอนสตรัคติคอน.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และดีวาสเตเตอร์ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส) · ดูเพิ่มเติม »

ด็อกเตอร์ดูม

'''ด็อกเตอร์ดูม''' บนปกหนังสือแฟนแทสติกโฟร์ ฉบับภาษาอิตาลี วิคเตอร์ วอน ดูม (Victor von Doom) เป็นตัวละครที่ปรากฏในหนังสือการ์ตูนที่จัดพิมพ์โดยมาร์เวลคอมิกส์ ได้รับการสร้างสรรค์โดยสแตน ลี กับแจ็ค เคอร์บี้ ซึ่งตัวละครดังกล่าวปรากฏตัวครั้งแรกในหนังสือ แฟนแทสติกโฟร์ #5 (กรกฎาคม ค.ศ. 1962) ซึ่งเป็นสุดยอดดาวร้ายและเป็นศัตรูหลักของแฟนแทสติกโฟร์ และเป็นผู้นำประเทศแลทเวอร์เรียแห่งมาร์เวลยูนิเวิร์ส ดูมเป็นทั้งนักประดิษฐ์อัจฉริยะ และเป็นทั้งผู้วิเศษ เขาได้ทำการต่อสู้กับซูเปอร์ฮีโร่รายอื่นเป็นจำนวนมากในหลายเหตุการณ์เพื่อสร้างอำนาจ และบางครั้งอาจเป็นไปเพื่อการล้างแค้นมาเป็นเวลาหลายปี เหตุการณ์ที่มีการเปิดเผยท้ายเรื่องบ่อยครั้งมักเป็นการต่อสู้ของเหล่าฮีโร่ที่เผชิญหน้ากับหุ่นยนต์ของดูมซึ่งปฏิบัติหน้าที่แทน หรือแม้กระทั่ง ดูมบอท ที่ได้มีการแอบอ้างว่าเป็นตัวเขาเอง ตัวละครด็อกเตอร์ดูมได้รับการรับรองการผลิตจากมาร์เวล ทั้งในรูปแบบของภาพยนตร์, วิดีโอเกม, รายการโทรทัศน์ และสินค้าต่างๆ เช่น แอ็กชันฟิกเกอร์และการ์ดสะสม ด็อกเตอร์ดูมได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับที่ 4 ของวายร้ายที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของ นิตยสารวิซาร์ด จาก 100 รายชื่อวายร้ายที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล ส่วนเว็บไซต์ไอจีเอ็นได้จัดเสนอ 100 รายชื่อวายร้ายจากหนังสือการ์ตูนตลอดกาลแก่ด็อกเตอร์ดูมในอันดับที่ 3.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และด็อกเตอร์ดูม · ดูเพิ่มเติม »

ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก

10.1126/science.1177265 ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก (global catastrophic risk) เป็นเหตุการณ์สมมุติในอนาคต ที่อาจทำความเสียหายต่อมนุษย์อย่างรุนแรงทั่วโลก เหตุการณ์บางอย่างอาจทำลาย หรือทำความเสียหายแก่ อารยธรรมที่มีในปัจจุบัน หรือเหตุการณ์ที่รุนแรงกว่านั้น อาจทำให้มวลมนุษย์สูญพันธุ์ ซึ่งเรียกได้ว่า เป็นความเสี่ยงต่อการอยู่รอดของมนุษย์ (existential risk) ภัยพิบัติตามธรรมชาติ เช่น การระเบิดของซูเปอร์ภูเขาไฟ และการวิ่งชนโลกของดาวเคราะห์น้อย จะเป็นความเสี่ยงในระดับนี้ถ้ารุนแรงเพียงพอ เหตุการณ์ที่มนุษย์เป็นเหตุ ก็อาจจะเป็นความเสี่ยงต่อการอยู่รอดของสัตว์ฉลาดต่าง ๆ ของโลก เช่น ปรากฏการณ์โลกร้อน สงครามนิวเคลียร์ หรือการก่อการร้ายชีวภาพ สถาบันอนาคตของมนุษยชาติ (Future of Humanity Institute) ที่เป็นส่วนของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เชื่อว่า การสูญพันธุ์ของมนุษย์ น่าจะมีเหตุมาจากมนุษย์เอง มากกว่าจากเหตุการณ์ทางธรรมชาติ แต่ว่า เป็นเรื่องยากลำบากที่จะศึกษาการสูญพันธุ์ของมนุษย์ เพราะไม่เคยมีเหตุการณ์นี้จริง ๆ แม้นี่จะไม่ได้หมายความว่า จะไม่เกิดขึ้นในอนาคต แต่ว่า การสร้างแบบจำลองของความเสี่ยงต่อความอยู่รอด เป็นเรื่องยาก โดยส่วนหนึ่งเพราะผู้ศึกษามีความเอนเอียงจากการอยู่รอด คือมีความคิดผิดพลาดที่พุ่งความสนใจไปในสิ่งที่อยู่รอด จนทำให้เหตุผลไม่ตรงกับความจริง.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก · ดูเพิ่มเติม »

คอบร้า เห่าไฟสายฟ้า

อบร้า เห่าไฟสายฟ้า (Cobra) เป็นการ์ตูนไซไฟ ผลงานของ บูอิจิ เทราซาวะ ซึ่งมีทั้งภาพยนตร์การ์ตูนและการ์ตูนทีวี เรื่องราวของคอบร้าสลัดอวกาศที่มีแขนซ้ายเป็นปืนไซโคกัน (Psycho-gun) ซึ่งเป็นปืนเลเซอร์ที่สามารถควบคุมทิศทางลำแสงของปืนได้ด้วยพลังจิต ที่มีคอบร้าใช้เพียงคนเดียวในจักรวาล และใช้พลังงานจากร่างกายมาเป็นกระสุนของปืนไซโคกัน คอบร้าที่มีร่างกายแข็งแกร่งมากกว่าคนปกติทั่วไปมาแต่กำเนิด มีพละกำลังและความอึดมหาศาล ทำให้ปืนไซโคกัน จึงดูเหมือนยิงได้ไม่มีวันหมด คอบบร้าแต่เดิมนั้นเป็นโจรสลัดอิสระ รูปหล่อ ปล้นไปทั่วจักรวาล เป็นโจรที่ปล้นโดยไม่เคยฆ่าคนบริสุทธิ์ มีค่าหัวเป็นอันดับหนึ่งในจักรวาล มีอาวุธเป็นปืนสั้นลูกโม่ 6 นัด ยี่ห้อ โคลท์ ไพธ่อน.77 แม็กนั่ม (ด้ามสลักรูปงูเห่า)และปืนสั้นเลเซอร์ธรรมดาอีก 1 กระบอก มียานเตอร์เติลเป็นพาหนะ(เป็นยานที่ไม่มีปีกมีลักษณะเป็นแท่งสี่เหลี่ยม สร้างด้วยวิทยาการของมนุษย์ที่มีขนาดเล็กแต่ทรงอานุภาพมากที่สุดในกลุ่มยานที่เดินทางไกลในจักรวาลด้วยกัน ใช้แบตเตอรี่ที่ประจุพลังงานจากแสงสว่างและความร้อนเป็นเชื้อเพลิง ที่ใต้ท้องยานยังมียานดำน้ำขนาดเล็กติดไว้ ด้านข้างหัวยานมีช่องยิงมิสไซด์ข้างละ 2 ช่อง มีช่องยิงปืนแสงข้างละ 1 ช่อง สามารถยิงได้ทั้งเลเซอร์และพลาสม่า) มีคู่หูเป็นอาเมอร์รอย(หุ่นยนต์ที่ดัดแปลงจากคนจริง ๆ ซึ่งเป็นแฟนเก่าของคอบบร้า ด้วยวิทยาการไบโอชีวะ ชื่อเลดี้ ซึ่งมีเพียงตัวเดียวในจักรวาลเช่นกัน.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และคอบร้า เห่าไฟสายฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

คอมพิวเตอร์วิทัศน์

อมพิวเตอร์วิทัศน์ (computer vision) เป็นสาขาหนึ่งของวิทยาการคอมพิวเตอร์ ว่าด้วยเรื่องเกี่ยวกับการดึงสารสนเทศจากรูปภาพหรือวีดิทัศน์ เครื่องมือที่ใช้ในคอมพิวเตอร์วิทัศน์ได้แก่ คณิตศาสตร์โดยเฉพาะ เรขาคณิต พีชคณิตเชิงเส้น สถิติ และ การวิจัยดำเนินงาน (การหาค่าเหมาะที่สุด) และการวิเคราะห์เชิงฟังก์ชัน โดยเครื่องมือเหล่านี้ใช้ในการสร้างขั้นตอนวิธีหรือ ขั้นตอนวิธี ในการแยกส่วนภาพ และ การจัดกลุ่มภาพเพือให้คอมพิวเตอร์สามารถ "เข้าใจ" ทัศนียภาพ หรือคุณลักษณะต่าง ๆ ในภาพ เป้าหมายโดยทั่วไปของคอมพิวเตอร์วิทัศน์ได้แก.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และคอมพิวเตอร์วิทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

คำสั่งผู้กล้า ดั๊กวอน

ำสั่งผู้กล้า ดั๊กวอน (Brave Command Dagwon) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น แนวไซไฟ-หุ่นยนต์ ผลงานชุดที่ 7 ในกลุ่มยูฉะซีรีส์ (Brave series) ของซันไรส์ แต่งโดย ฮาจิเมะ ยาทาเตะ ออกอากาศทางสถานีนาโงยะทีวี ตั้งแต่วันที่ 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996 ถึง 25 มกราคม ค.ศ. 1997 รวมความยาวทั้งสิ้น 48 ตอน และมีOVA ตอนพิเศษ อีก 2 ตอน ในเดือน ตุลาคม ค.ศ. 1997.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และคำสั่งผู้กล้า ดั๊กวอน · ดูเพิ่มเติม »

คิม พอสสิเบิล

ม พอสสิเบิล (Kim Possible) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันที่ออกอากาศในประเทศไทยทางช่อง ดิสนีย์แชนแนลเอเชีย (ผ่านทางทรูวิชั่นส์) มีเรื่องราวเกี่ยวกับคิม พอสสิเบิล ผู้มีภารกิจที่จะต้องช่วยโลกและหยุดยั้งผู้ร้ายต่างๆ ในประเทศไทยเคยฉายทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 และมีเสียงพาทย์ไทยในช่องดิสนีย์แชนแนลเอเชีย ปีที่สี่ได้เริ่มในวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 (ทางช่อง Disney Channel).

ใหม่!!: หุ่นยนต์และคิม พอสสิเบิล · ดูเพิ่มเติม »

คิวริโอ

QRIO หุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ของบริษัทโซนี่ คิวริโอ (Qrio เป็นชื่อย่อจากคำว่า Quest for cuRIOsity) เป็นหุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์หรือหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ของบริษัทโซนี่ ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นหุ่นยนต์สำหรับการทูตสันถวไมตรีเพื่อเชื่อมความสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ของบริษัทโซนี่ คิวริโอเป็นหุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ที่ได้รับการพัฒนาต่อจากหุ่นยนต์สุนัข ไอโบ (Aibo) เปิดตัวให้สาธารณชนได้รู้จักในวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2547 โดยมีความสามารถในการเดิน 2 ขา วิ่ง นอนและนั่ง สนทนาด้วยประโยคสั้น ๆ ร้องเพลงและเต้นรำได้คล้ายกับมนุษย์ คิวริโอเป็นหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ที่บริษัทโซนี่สร้างขึ้นเพื่อความบันเทิงและเป็นเพื่อนแก่มนุษย์โดยเฉพาะ มีความสูง 2 ฟุต หรือประมาณ 60 เซนติเมตร และมีน้ำหนัก7 กิโลกรัม คิวริโอมีความสามารถในการรับรู้และทำความเข้าใจประโยคการสนทนาสั้น ๆ ระหว่างคู่สนทนาได้ด้วยคลื่นเสียง พร้อมกับโต้ตอบด้วยท่าทางต่าง ๆ จดจำใบหน้าและแยกแยะใบหน้าคู่สนทนาได้ด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ทำให้คิวริโอมีความรู้สึกและอารมณ์ใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุด สามารถมองเห็นได้ 180 องศาในรูปแบบของ 3 มิติในการคำนวณและวิเคราะห์ระยะทางหรือในด้านของวัตถุที่มองเห็น และที่สำคัญคือคิวริโอนั้นเป็นหุ่นยนต์ขนาดเล็ก จึงเป็นเพื่อนเล่นให้แก่เด็ก ๆ ได้เป็นอย่างดี ชื่อของ Qrio นั้นเป็นคำย่อมาจากคำว่า Quest for Curiosity แปลโดยตรงว่า "ช่างสงสัย หรืออยากใคร่รู้ในเรื่องต่าง ๆ" ซึ่งทางบริษัทโซนี่ได้ตั้งชื่อให้กับคิวริโอโดยดูจากลักษณะภายนอกของคิวริโอที่มีความสนุกสนาน ร่าเริงภายในตัว แต่เดิมนั้นคิวริโอไม่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ จึงถูกเรียกชื่อโดยเรียกตามลักษณะการออกแบบและโครงสร้างหุ่นยนต์ของทางบริษัทโซนี่ว่า หุ่นยนต์ในฝันของบริษัทโซนี่ (Sony Dream Robot) และได้รับการตั้งชื่อ Qrio ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และคิวริโอ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มีจุดประสงค์เพื่อผลิตบุคลากรด้านวิศวกรรมและส่งเสริมงานวิจัยค้นคว้าทางวิศวกรรม ซึ่งถือกำเนิดขึ้นเนื่องจากมหาวิทยาลัยมหิดลต้องการขยายการศึกษาให้กว้างขวางมากขึ้น โดยมีผลงานเด่น คือ หุ่นยนต์สำรวจขั้วโลกใต้.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ตรีชฎา เพชรรัตน์

ตรีชฎา มาลยาภรณ์ (ชื่อจริง: ศักดิ์นรินทร์ มาลยาภรณ์; ชื่อเล่น: ปอย หรือ บอย; เกิด: 5 ตุลาคม 2529) เป็นนักแสดงและนางแบบสาวประเภทสองชาวไทย มีชื่อเสียงเพราะเป็นมิสอินเตอร์เนชั่นแนลควีนกับมิสทิฟฟานี่ยูนิเวิร์ส ประจำปี 2547.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และตรีชฎา เพชรรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ตามล่านักฆ่าแอนดรอยด์

ตามล่านักฆ่าแอนดรอยด์ (PLUTO), ในชื่อภาษาญี่ปุ่นว่า พลูโต เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นวาดโดยนาโอกิ อุราซาว่า ซึ่งการ์ตูนเรื่องนี้นำเนื้อหาจากผลงานของปรมาจารย์แห่งวงการการ์ตูนญี่ปุ่นเท็ตสึกะ โอซามุ เรื่อง "เจ้าหนูอะตอม ตอนหุ่นยนต์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก"(Astro Boy: The World's Strongest Robot) มาเรียบเรียงตีความใหม่ โดยให้ เกซิกต์ หนึ่งใน 7 หุ่นยนต์ที่ทรงประสิทธิภาพที่สุดในโลก เป็นตัวดำเนินเรื่อง ซึ่ง เนื้อหาในตอนหุ่นยนต์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลกนั้น เป็นเพียงส่วนหนึ่ง จากเนื้อหาทั้งหมดในการ์ตูนเรื่องเจ้าหนูอะตอม.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และตามล่านักฆ่าแอนดรอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

ตึกหุ่นยนต์

ตึกหุ่นยนต์ (Robot Building) เป็นอาคารสำนักงานสูง 20 ชั้นของธนาคารยูโอบี (ประเทศไทย) ตั้งอยู่ที่ถนนสาทรใต้ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร เดิมอาคารนี้เป็นของธนาคารเอเซีย แต่เนื่องจากภาวะเงินเฟ้อจึงถูกขายให้กับธนาคารยูโอบีในปัจจุบัน อาคารออกแบบโดย ดร.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และตึกหุ่นยนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ซอฟต์แวร์

OpenOffice.org Writer ซอฟต์แวร์ (software) หรือ ส่วนชุดคำสั่ง หรือบางครั้งมีการสะกดว่า ซอฟ‌ท์แวร์ เป็นส่วนของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ซอฟต์แวร์นั้นนอกจากจะสามารถใช้งานบนคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ยังสามารถใช้งานบนเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์อื่น เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือหุ่นยนต์ในโรงงาน หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ คำว่า "ซอฟต์แวร์" ใช้ครั้งแรกโดย จอห์น ดับเบิลยู. เทอร์กีย์ (John W. Turkey) ในปี พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) โดยแนวคิดของซอฟต์แวร์ปรากฏครั้งแรกในเรียงความของแอลัน ทัวริง บิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ กล่าวกันว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชิ้นแรกของโลกเขียนโดยเอดา ไบรอน เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับเครื่องวิเคราะห์ (analytical engine) ของชาร์ลส แ.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และซอฟต์แวร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซอยด์ หุ่นรบไดโนเสาร์

ซอยด์ หุ่นรบไดโนเสาร์ เป็นการ์ตูนเกี่ยวกับหุ่นยนต์ไดโนเสาร.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และซอยด์ หุ่นรบไดโนเสาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสิงโต

ำหรับปลาสิงโตจำพวกอื่น ดูที่: ปลาย่าดุก และปลาคางคก ปลาสิงโต (Lionfishes, Turkeyfishes, Firefishes, Butterfly-cods) เป็นสกุลของปลาน้ำเค็มทะเลสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาแมงป่อง (Scorpaenidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Pterois (/เท-โร-อิส/; มาจากภาษากรีกคำว่า "πτερον" (pteron) หมายถึง "ปีก" หรือ "ครีบ").

ใหม่!!: หุ่นยนต์และปลาสิงโต · ดูเพิ่มเติม »

ปลาผมนาง

ำหรับปลาผมนางอีกสกุลหนึ่ง ดูที่: ปลาจุยจินขาว และปลาสีกุนครีบยาว ปลาผมนาง หรือ ปลาโฉมนาง หรือ ปลาโฉมงาม (Cobblerfishes, Cockfishes, Threadfishes, Diamond trevallies, Pompanos) เป็นปลาทะเลสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Alectis จัดอยู่ในวงศ์ปลาหางแข็ง (Carangidae) มีรูปร่างทั่วไป คือ ลำตัวสั้น กว้าง แบนข้างมาก คอดหางเล็ก เว้นแต่ที่ส่วนท้ายของเส้นข้างตัว โดยเฉพาะ บริเวณคอดหางเกล็ดอ่อนจะขยายใหญ่เป็นสันแข็งที่ปลายหาง มีกระดูกอ่อนลักษณะเป็นเกล็ดแข็ง 2 อัน โผล่อยู่หน้าครีบก้น ที่สำคัญคือ ต่างก็มีก้านครีบหลังตอนที่ 2 และครีบก้นที่เป็นเส้นยาวมาก ลำตัวผิวหนังสีเงิน เฉพาะใกล้สันหลัง เป็นสีฟ้าอมเทา ในระยะที่เป็นปลาขนาดเล็กจะมีลายพาดขวางเป็นบั้งสีเทาอยู่หลายแถบ เส้นครีบที่เป็นลายยาวมีสีคลํ้าหรือดำคล้ายเส้นผม เรียกว่า "ไอ้เปี๊ยะ" อันเป็นที่มาของชื่อ สันนิษฐานว่าคงเป็นการทำตัวเลียนแบบแมงกะพรุนหน้า ๐๙๖–๐๙๗, ปลาโฉมงาม.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และปลาผมนาง · ดูเพิ่มเติม »

ปัญญาประดิษฐ์

ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) หรือ เอไอ (AI) หมายถึงความฉลาดเทียมที่สร้างขึ้นให้กับสิ่งที่ไม่มีชีวิต ปัญญาประดิษฐ์เป็นสาขาหนึ่งในด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ และวิศวกรรมเป็นหลัก แต่ยังรวมถึงศาสตร์ในด้านอื่น ๆ อย่างจิตวิทยา ปรัชญา หรือชีววิทยา ซึ่งสาขาปัญญาประดิษฐ์เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการการคิด การกระทำ การให้เหตุผล การปรับตัว หรือการอนุมาน และการทำงานของสมอง แม้ว่าดังเดิมนั้นเป็นสาขาหลักในวิทยาการคอมพิวเตอร์ แต่แนวคิดหลาย ๆ อย่างในศาสตร์นี้ได้มาจากการปรับปรุงเพิ่มเติมจากศาสตร์อื่นๆ เช่น.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนดรอยด์

หุ่นแอนดรอยด์รูปร่างผู้หญิงในชื่อว่า แอกทรอยด์ DER ผลิตจากประเทศญี่ปุ่น แอนดรอยด์ (android) คือ หุ่นยนต์ที่สร้างขึ้นมาเลียนแบบมนุษย์ โดยปกติแล้วทั้งทางด้านกายภาพและพฤติกรรม คำนี้ผันมาจากคำกรีก andr- หมายถึง "มนุษย์, เพศชาย" และปัจจัยเสริมท้าย -eides ซึ่งเคยมีความหมายว่า "ในสปีชีส์ของ, เหมือนกับ" (จากคำว่า eidos หมายถึง "สปีชีส์") คำว่า "ดรอยด์" ซึ่งหมายถึงหุ่นยนต์ในเรื่อง สตาร์ วอร์ส ก็ผันมาจากความหมายนี้.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และแอนดรอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

แอ็งกรีเบิดส์ (วิดีโอเกม)

แอ็งกรี เบิดส์ (Angry Birds) เป็นวิดีโอเกมแนวลับสมอง พัฒนาขึ้นโดยบริษัทจากฟินแลนด์ที่ชื่อ โรวิโอโมไบล์ ออกวางจำหน่ายครั้งแรกทางแอปสโตร์ทางไอโฟน และไอพ็อดทัช ของแอปเปิล และเกมยังอยู่ในรูปสมาร์ตโฟนแบบทัชสกรีนอื่นอีกด้วย ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และแอ็งกรีเบิดส์ (วิดีโอเกม) · ดูเพิ่มเติม »

แฮมทาโร่ แก๊งจิ๋วผจญภัย

แฮมทาโร่ แก๊งจิ๋วผจญภัย เป็น การ์ตูนญี่ปุ่น ที่วาดโดย ริสึโกะ คาวาอิ นักวาดการ์ตูนชาวญี่ปุ่น เรื่องราวเกี่ยวกับความน่ารักของเหล่าแฮมสเตอร์หลากหลายตัว โดยมีแฮมทาโร่เป็นตัวชูโรง ต่อมาได้สร้างเป็นอะนิเมะ ออกฉายในประเทศญี่ปุ่น และอีกกว่า 30 ประเทศทั่วโลก.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และแฮมทาโร่ แก๊งจิ๋วผจญภัย · ดูเพิ่มเติม »

โกลด์ไลตัน

กลด์ไลตัน โกลด์ไลตัน (Golden Warrior Gold Lightan) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวหุ่นยนต์ ที่ถูกสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2524 โดยบริษัท ทัตสึโนโกะโปร มีความยาว 52 ตอนจบ เรื่องราวของหุ่นยนต์ที่ต่อสู้เพื่อปกป้องโลก ซึ่งในสภาวะปกติจะอยู่ในรูปของไฟแช็ก โดยมีเด็กคนนึงในเรื่องเป็นเจ้าของ เมื่อถึงเวลาต่อสู้จะแปลงร่างเป็นหุ่นยนต์ และขยายร่างเพื่อสู้กับศัตรู หุ่นยนต์ในเรื่องจะมีทั้งหมด 6 ตัว แต่ละตัวจะทำหน้าที่แตกต่างกัน เช่น ต่อสู้ หรือ ซ่อมบำรุง ในอดีตเคยออกอากาศทาง ช่อง 9 อ.ส.ม.ท. โดยใช้ชื่อภาษาไทยว่า โกลด์ไลตั้น หุ่นทองคำ ชื่อของโกลด์ไลตัน มาจากการผสมคำของคำศัพท์ภาษาอังกฤษ 2 คำจาก โกลด์ (gold) ที่แปลว่าสีทอง และ ไลเตอร์ (lighter) ที่แปลว่าไฟแช็ค นอกจากนี้ โกลด์ไลตัน ยังได้รับเลือกเป็นตัวละครของเกมต่อสู้ ทัทสึโนโกะ vs แคปคอม ด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และโกลด์ไลตัน · ดูเพิ่มเติม »

โรบอตบอย

รบอตบอย (Robotboy) เป็นการ์ตูนจากประเทศฝรั่งเศสที่ร่วมจัดทำโดยการ์ตูนเน็ตเวิร์กและ โปรดักชันของฝรั่งเศส ALPHANIM ในประเทศไทยฉายผ่านทางช่องการ์ตูนเน็ทเวิร์ค ทรูวิชั่นส์ช่อง 32 เวลา 16:00-16:30 ทุกวันจันทร์-ศุกร์ (ปัจจุบันเลิกฉายไปแล้ว).

ใหม่!!: หุ่นยนต์และโรบอตบอย · ดูเพิ่มเติม »

โรโบคอป 3

รโบคอป 3 (RoboCop 2) เป็นภาพยนตร์แอคชั่นสัญชาติอเมริกันที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และโรโบคอป 3 · ดูเพิ่มเติม »

โรโบคัพ

การแข่งขันโรโบคัพปี ค.ศ. 2004 ที่ลิสบอน ประเทศโปรตุเกส โรโบคัพ (Robocup) คือการแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติระดับนานาชาติ จุดประสงค์เพื่อส่งเสริมการศึกษาวิจัย ค้นคว้าและพัฒนาศาสตร์ทางด้านปัญญาประดิษฐ์ (หุ่นยนต์) เริ่มจัดครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และโรโบคัพ · ดูเพิ่มเติม »

โอ้เทพธิดา

thumbnail โอ้เทพธิดา (Oh! My Goddess) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น วาดโดย โคสุเกะ ฟูจิชิมะ มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับเทพธิดาที่ลงมาใช้ชีวิตบนโลกมนุษย์ ต่อมาได้รับการสร้างเป็นดราม่าซีดี โอวีเอ อะนิเมะ ภาพยนตร์การ์ตูนจอเงิน นวนิยาย และเป็นเกมลงในเครื่อง Playstation 2 ในประเทศไทย โอ้เทพธิดา ฉบับหนังสือการ์ตูน ได้ลิขสิทธิ์ตีพิมพ์โดย สยามอินเตอร์คอมิกส์ สำหรับฉบับโอวีเอ ชื่อภาษาไทยว่า เทพธิดาอลเวง (โอ้เทพธิดา) เคยออกอากาศทางช่อง 9 และออกวางจำหน่ายในรูปแบบวีซีดี-ดีวีดี โดย DEX ส่วนภาค Adventures of Mini-Goddess เคยออกอากาศทางช่อง 7.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และโอ้เทพธิดา · ดูเพิ่มเติม »

โดราเอมอน

ราเอมอน หรือ โดเรมอน (ドラえもん) (Doraemon) เป็น การ์ตูนญี่ปุ่น แต่งโดย ฟุจิโกะ ฟุจิโอะ เรื่องราวของหุ่นยนต์แมวชื่อโดราเอมอน โดยฟุจิโกะ ฟุจิโอะ ได้กล่าวว่าโดราเอมอนเกิดวันที่ 3 กันยายน มาจากอนาคตเพื่อกลับมาช่วยเหลือ โนบิตะ เด็กประถมจอมขี้เกียจด้วย ของวิเศษ จากอนาคต โดราเอมอนเริ่มตีพิมพ์ครั้งแรกในญี่ปุ่นเมื่อ เดือนมกราคม พ.ศ. 2513 โดย สำนักพิมพ์โชงะกุกัง โดยมีจำนวนตอนทั้งหมด 1,344 ตอน ต่อมาในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2540 โดราเอมอนได้รับรางวัลเทะซุกะ โอซามุ ครั้งที่ 1 ในสาขาการ์ตูนดีเด่น อีกทั้งยังได้รับเลือกจาก นิตยสารไทม์เอเชีย ให้เป็นหนึ่งในวีรบุรุษของ ทวีปเอเชีย จาก ประเทศญี่ปุ่น จากนั้นในวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2551 โดราเอมอนก็ได้รับเลือกให้เป็นทูตสันถวไมตรี เพื่อการประชาสัมพันธ์วัฒนธรรมของ ประเทศญี่ปุ่น นอกจากนี้บริษัท บันได ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าการ์ตูนที่มีชื่อเสียงของญี่ปุ่น ยังได้ผลิต หุ่นยนต์ โดราเอมอนของจริงขึ้นมาในชื่อว่า "My Doraemon" โดยออกวางจำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2552 ใน ประเทศไทย โดราเอมอนฉบับ หนังสือการ์ตูน มีการตีพิมพ์โดยหลายสำนักพิมพ์ในช่วงก่อนที่จะมีลิขสิทธิ์การ์ตูน แต่ปัจจุบัน สำนักพิมพ์ เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ เป็นผู้ได้รับลิขสิทธิ์ในการจัดพิมพ์แต่เพียงผู้เดียว ส่วนฉบับอะนิเมะ ออกอากาศครั้งแรก วันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2525 ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี ในปัจจุบัน และวางจำหน่ายในรูปแบบวีซีดี-ดีวีดี ลิขสิทธิ์โดยบริษัท โรส วิดีโอ .

ใหม่!!: หุ่นยนต์และโดราเอมอน · ดูเพิ่มเติม »

โดะงู

งู ที่พบในจังหวัดมิยะงิ โดะงู เป็นจุลประติมากรรมอย่างหนึ่งของญี่ปุ่น พบในยุคโจมง (縄文時代) อันเป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่น (กินระยะเวลาประมาณ 14,000 ปีก่อนคริสต์ศักราชถึง 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช) โดะงูเป็นประติมากรรมที่ปั้นเป็นรูปมนุษย์ขนาดเล็ก แต่มีรูปร่างประหลาด โดยมีดวงตากลมโต หัวใหญ่ เอวคอด และสะโพกใหญ่ แลดูคล้ายกับสวมชุดมนุษย์อวกาศ สวมหมวกขนาดใหญ่ หรือคาดเข็มขัดรูปร่างประหลาด โดยมีตำนานเล่ากันว่า โดะงูนั้นมาจากฟากฟ้าและเป็นผู้สั่งสอนศิลปะวิทยาการให้แก่มนุษย์ในยุคนั้นได้มากมาย ดังนั้น จึงมีความเชื่อบางอย่างว่า โดะงู อาจจะเป็นรูปปั้นของมนุษย์ต่างดาวก็ได้ ซึ่งนักโบราณคดีได้ทำการเก็บสะสมโดะงูที่มีลักษณะต่าง ๆ ได้มากถึง 15,000 ชุด แต่ก็มีบางทฤษฎีอธิบายว่า โดะงูเป็นสัญลักษณ์ของการตั้งครรภ์ ซึ่งโดะงูก็คือ เทพมารดา มีการอ้างอิงถึงโดะงูไว้ในวัฒนธรรมร่วมสมัยต่าง ๆ ของญี่ปุ่น เช่น โดเรมอน ในตอน กำเนิดประเทศญี่ปุ่น (ท่องแดนญี่ปุ่นโบราณ) ที่ออกฉายในปี ค.ศ. 1989 โดะงูก็เป็นหุ่นยนต์ตัวหนึ่งของมนุษย์ต่างดาวที่มีแผนการจะยึดครองโลก.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และโดะงู · ดูเพิ่มเติม »

โดเรมี

รามี หรือที่นิยมเรียกในประเทศไทยว่า โดเรมีโชงะกุกัง โดเรมอน-รูม, หน้า 60 เป็นตัวละครจากการ์ตูนเรื่องโดราเอมอน.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และโดเรมี · ดูเพิ่มเติม »

โคตรเซียนมาเก๊า เขย่าเวกัส 3

ตรเซียนมาเก๊า เขย่าเวกัส 3 (From Vegas To Macau 3) เป็นภาพยนตร์ฮ่องกงแนวพนัน-แอกชั่นจากปี ค.ศ. 2016 กำกับโดย หว่อง จิง และ หลิว เหว่ยเฉียง ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์ภาค 3 ในภาพยนตร์ซีรีส์ชุด "ฟรอมเวกัสทูมาเก๊า" ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาคต่อของ From Vegas To Macau 2 นำแสดงโดย โจว เหวินฟะ, จาง เจียฮุย, หลิว เต๋อหัว, หลี่ หยูชุน.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และโคตรเซียนมาเก๊า เขย่าเวกัส 3 · ดูเพิ่มเติม »

ไอดอลมาสเตอร์ เซโนกลอสเซีย

อดอลมาสเตอร์ เซโนกลอสเซีย เป็นอะนิเมะแนวไซไฟ, หุ่นยนต์ เป็นส่วนหนึ่งของโปรเจ็กไอมาส (IM@S) ของ บันไดนัมโกะเกมส์ โดยมีพื้นฐานตัวละครเบื้องต้นมาจากเกม ดิ ไอดอลมาสเตอร์ บนเครื่องเอกซ์บอกซ์ 360 จัดสร้างเป็นแอนิเมชั่นโดยซันไรส์ ด้วยคำขวัญที่ว่า "อยากจะเป็นไอดอลของเธอ" ไอดอลมาสเตอร์ เซโนกลอสเซีย นอกจากจะฉายในโทรทัศน์แล้ว ยังฉายผ่านทางเว็บไซต์ ในประเทศญี่ปุ่น และยังมีการให้ตัวละครหลักโต้ตอบกับแฟนๆ ผ่านทางบล็อกในเว็บไซต์ โดยจำเป็นต้องให้คนที่มีสิทธิ์อยู่แล้ว เป็นผู้เชิญเข้าไปเท่านั้น.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และไอดอลมาสเตอร์ เซโนกลอสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ไอ้แมงมุมในรูปแบบอื่น

อ้แมงมุมรูปแบบต่าง ๆ(วาดโดย เดวิด ลินช์) นอกจากจะเป็นหนึ่งในหนังสือการ์ตูนกระแสหลักของสังกัดมาร์เวลคอมิกส์ (Marvel Comics) แล้ว เรื่องของไอ้แมงมุม หรือสไปเดอร์แมน (Spider-Man) ก็ยังถูกนำมาเล่าในเนื้อเรื่องอื่น ๆ ด้ว.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และไอ้แมงมุมในรูปแบบอื่น · ดูเพิ่มเติม »

เกราะเหล็กไหล ไลน์บาร์เรลส์

กราะเหล็กไหล ไลน์บาร์เรลส์ เกราะเหล็กไหล ไลน์บาร์เรลส์ (Linebarrels of Iron) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวแอ็คชั่นและหุ่นยนต์ ผลงานร่วมของเออิจิ ชิมิสึ กับ โทโมฮิโระ ชิโมงูจิ ลงตีพิมพ์ในนิตยสาร แชมเปี้ยนเรด ของสำนักพิมพ์อาคิตะ ปัจจุบันมีฉบับรวมเล่มออกมาแล้ว 8 เล่ม ต่อมาได้รับการสร้างเป็นอะนิเมะ โดย GONZO และมีกำหนดจะออกอากาศในฤดูใบไม้ร่วง ปี..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และเกราะเหล็กไหล ไลน์บาร์เรลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เก็ตเตอร์โรโบ

ก็ตเตอร์โรโบ ชื่อไทยอภิินิหารหุ่น 3 พลัง เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวหุ่นยนต์ แต่งโดย โก นางาอิ และ เคน อิชิคาวะ ถูกสร้างเป็นอะนิเมะในปี พ.ศ. 2517 โดยโตเอแอนิเมชัน รวมความยาวทั้งสิ้น 51 ตอน.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และเก็ตเตอร์โรโบ · ดูเพิ่มเติม »

เมกะทรอน (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)

มกะทรอน (Megatron) เป็นชื่อตัวละครจากเรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และเมกะทรอน (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส) · ดูเพิ่มเติม »

เมกาก็อดซิลลา

มก้าก็อดซิลลา (Mekagojira,Mechagodzilla) เป็นหุ่นเหล็กที่สร้างขึ้นเลียนแบบรูปร่างและความสามารถมาจากก็อตซิลลา เป็นหนึ่งในตัวละครที่ปรากฏในภาพยนตร์ซีรีส์เรื่องก็อตซิลลา ที่ถูกสร้างขึ้นโดย โตโฮ ปรากฏตัวครั้งแรกในภาพยนตร์เรื่อง Godzilla VS Mechagodzilla ในปี ค.ศ. 1974 และเป็นหนึ่งในตัวละครที่มีชื่อเสียงประเภทไคจูของ โตโฮ ต่อมาในภาพยนตร์ภาค Godzilla VS mechagodzilla 2 ในปี ค.ศ. 1993 เมก้าก็อดซิลลา ได้ถูกนำมาสร้างใหม่โดยมีติดอาวุธบริเวณหัวไหล่โดยติดเครื่องยนต์พลังงาน G แมชชีน 1 ในร่างของซุปเปอร์เมก้าก็อดซิลลา และมีความร้ายกาจมากขึ้น และต่อมาในภาพยนตร์ภาค ก็อดซิลลา สงครามโค่นจอมอสูร ในปี ค.ศ. 2003 เมก้าก็อดซิลลา ได้ถูกนำมาสร้างใหม่ให้มีความร้ายกาจมากขึ้นกว่าภาคก็อดซิลลา ปะทะ เมก้าก็อดซิลลา 2 โดยใช้ชื่อว่า คิริว.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และเมกาก็อดซิลลา · ดูเพิ่มเติม »

เมจิกไนท์ เรย์เอิร์ธ

มจิกไนท์ เรย์เอิร์ธ เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ผลงานของแคลมป์ ลงตีพิมพ์ในนิตยสารนากาโยชิ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และเมจิกไนท์ เรย์เอิร์ธ · ดูเพิ่มเติม »

เรือรบอวกาศยามาโตะ

รือรบอวกาศยามาโตะ หรือ ในชื่อที่ใช้เมื่อครั้งที่เคยออกอากาศในเมืองไทยครั้งแรกโดยไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท. คือ "สตาร์เบลเซอร์ ตลุยอวกาศ" คืออะนิเมะแนววิทยาศาสตร์ของญี่ปุ่น ซึ่งชื่อของเรี่องนั้นเป็นชื่อของยานอวกาศ อะนิเมะเรื่องนี้มีอีกชื่อในภาษาอังกฤษคือ Space Cruiser Yamato (สเปซ ครุยเซอร์ ยามาโตะ) หรือStar Blazers (สตาร์ เบลเซอส์) สำหรับภาคภาษาอังกฤษ ซึ่งออกอากาศในอเมริกาเหนือและออสเตรเลีย สำหรับภาคภาษาอิตาลีก็ใช้ชื่อ สตาร์ เบลเซอ.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และเรือรบอวกาศยามาโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เลกงต์ด็อฟมาน

thumb ฮอฟมันน์ เลกงต์ด็อฟมาน (Les contes d'Hoffmann) เป็นอุปรากรภาษาฝรั่งเศส ความยาว 3 องก์ โดยฌัก ออแฟนบัก ดัดแปลงจากเรื่องสั้นหลายเรื่องของ อี. ที. เอ. ฮอฟมันน์ (1776 – 1822) นักเขียนชาวเยอรมัน ผู้แต่งเรื่อง "นัทแครกเกอร์กับราชาหนู" ซึ่งเป็นต้นฉบับของอุปรากร เดอะนัทแครกเกอร์ โดยนำมาจากเรื่อง Die Gesellschaft im Keller, Der Sandmann, Die Abendteuer der Sylvester-Nacht, Rath Krespel, และ Das verlorene Spiegelbild เป็นเรื่องราวแฟนตาซีเกี่ยวกับความผิดหวังในความรักของฮอฟมานน์ ที่มีกับตุ๊กตากลไกชื่อโอลิมเปีย, กับโสเภณีชื่อกุยเลียตตา และกับเด็กสาวชื่อแอนโทเนีย ออแฟนบักได้ทดลองซ้อมแสดงอุปรากรเรื่องนี้ครั้งแรกที่บ้านของเขาในปารีส เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และเลกงต์ด็อฟมาน · ดูเพิ่มเติม »

เอบียูโรบอตคอนเทสต์

อบียูโรบอตคอนเทสต์ (อังกฤษ: ABU Robot Contest หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า ABU Robocon) เป็นการการแข่งขันหุ่นยนต์ของนักเรียน นักศึกษาในระดับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยจะมีประเทศที่เป็นสมาชิกของเอบียูหมุนเวียนจัดเปลี่ยนกันเป็นเจ้าภาพในทุกปี ซึ่งยังคงจัดการแข่งขันอยู่จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และเอบียูโรบอตคอนเทสต์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮนดริค เวด โบดี

นดริค เวด โบดี (Hendrik Wade BodeVan Valkenburg, M. E. University of Illinois at Urbana-Champaign, "In memoriam: Hendrik W. Bode (1905-1982)", IEEE Transactions on Automatic Control, Vol. AC-29, No 3., March 1984, pp. 193-194. Quote: "Something should be said about his name. To his colleagues at Bell Laboratories and the generations of engineers that have followed, the pronunciation is boh-dee. The Bode family preferred that the original Dutch be used as boh-dah."; 24 ธันวาคม ค.ศ. 1905 – 21 มิถุนายน ค.ศ. 1982) เป็นวิศวกร นักวิจัย นักประดิษฐ์ นักเขียน และนักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันเชื้อสายดัทช์ เป็นผู้บุกเบิกทฤษฎีระบบควบคุมยุคใหม่และระบบโทรคมนาคมทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งได้ปฏิวัติทั้งเนื้อหาและกระบวนวิธีในการทำวิจัย ผลงานวิจัยของเขาส่งผลกระทบอย่างมากต่อสาขาวิชาทางวิศวกรรมจำนวนมาก และเป็นรากฐานให้แก่นวัตกรรมยุคใหม่ เช่น คอมพิวเตอร์ หุ่นยนต์ และโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นต้น โบดีเป็นหนึ่งในนักปรัชญาวิศวกรรมที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคของเขา ได้รับความยกย่องในแวดวงวิชาการทั่วโลกมาอย่างยาวนาน (via Internet archive) เขายังมีชื่อเสียงในหมู่นักศึกษาวิศวกรรมยุคใหม่ โดยเฉพาะในการพัฒนาวิธีวิเคราะห์ขนาดและมุมแบบอะซิมโทติก ซึ่งตั้งชื่อตามชื่อของเขาว่า โบดีพล็อต.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และเฮนดริค เวด โบดี · ดูเพิ่มเติม »

เจ็ทไฟเออร์ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)

็ทไฟร์ แปลงร่างเป็น เครื่องบิน แบล็คเบิร์ด เอสอาร์-71 เจ็ทไฟเออร์ หรือ เจ็ทไฟร์ (.) ชื่อตัวละครจากเรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส (TRANSFORMERS) ชื่อของเจ็ทไฟเออร์ สามารถเรียกชื่อได้อีกหนึ่ง คือ สกายไฟเออร์ หรือ สกายไฟร.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และเจ็ทไฟเออร์ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส) · ดูเพิ่มเติม »

เทอร์มิเนเตอร์

นตร์ชุด เทอร์มิเนเตอร์ (Terminator) เป็นซีรีส์ภาพยนตร์ไซไฟหลายเรื่อง ที่มีจุดเริ่มต้นมาจากภาพยนตร์เรื่อง เดอะ เทอร์มิเนเตอร์ ภาพยนตร์ไซไฟต้นทุนต่ำของเจมส์ คาเมรอน ที่ออกฉายเมื่อ..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และเทอร์มิเนเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เทตสึจิน หุ่นเหล็กหมายเลข 28

ทตสึจิน หุ่นเหล็กหมายเลข 28 (Iron Man 28) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นของมิตสึเทรุ โยโกยามา ตีพิมพ์ครั้งแรกตั้งแต่ พ.ศ. 2501 จำนวน 21 เล่ม และนำมาสร้างเป็นอะนิเมะขาวดำ จำนวน 83 ตอน ฉายในประเทศญี่ปุ่นระหว่าง..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และเทตสึจิน หุ่นเหล็กหมายเลข 28 · ดูเพิ่มเติม »

เดอะซิมส์ 2

อะซิมส์ 2 (The Sims 2) เป็นเกมคอมพิวเตอร์ประเภทแบบจำลองชีวิตคน (Strategic Life Simulation Computer Game) เป็นเกมส์ภาคต่อจากเกมส์ เดอะซิมส์ ภาคแรก พัฒนาโดย แมกซิส และจัดจำหน่ายโดยบริษัทอิเล็กโทรนิคอาร์ต (EA Games) เป็นเกมส์จำลองเช่นเดียวกับภาคแรกซึ่งเปิดตัวไปเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2543 โดยมีมาร์ก มาเธอร์สบาฟ เป็นผู้แต่งเพลงประกอบเกมนี้ ตัวละครที่อยู่ในเกมเดอะซิมส์ (ทั้งคนและสัตว์เลี้ยง) นั้นเรียกว่า ชาวซิม.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และเดอะซิมส์ 2 · ดูเพิ่มเติม »

เซคันด์ไลฟ์

ซคันด์ไลฟ์ (Second Life: SL) เป็นโลกเสมือนบนอินเทอร์เน็ต เริ่มให้บริการเมื่อราว พ.ศ. 2546 พัฒนาโดยบริษัทลินเดนรีเสิร์ช (นิยมเรียกกันว่า ลินเดนแล็บ) และได้รับความสนใจในทางสากลผ่านสื่อข่าวเป็นกระแสหลักในช่วงปลายปี พ.ศ. 2549 ถึงต้นปี พ.ศ. 2550 สามารถใช้บริการเซคันด์ไลฟ์ผ่านทางโปรแกรมลูกข่ายที่ชื่อว่า Second Life Viewer ซึ่งดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์หลัก ผู้ใช้งานแต่ละคนจะเรียกว่า ผู้อาศัย (Resident) ซึ่งสามารถสื่อสารหรือแสดงปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้คนอื่นผ่านการแสดงออกของอวตาร (avatar) โปรแกรมดังกล่าวเป็นระดับการพัฒนาขั้นสูงของบริการเครือข่ายเชิงสังคมผสานเข้ากับมุมมองทั่วไปของเมทาเวิร์ส (metaverse) ผู้อาศัยแต่ละคนสามารถสำรวจ พบปะกับผู้อาศัยอื่น คบหาสมาคม มีส่วนร่วมในกิจกรรมส่วนบุคคลหรือเป็นกลุ่ม สร้างและซื้อขายไอเทม (ทรัพย์สินเสมือน) หรือให้บริการใดๆ บนเซคันด์ไลฟ์ เซคันด์ไลฟ์เป็นหนึ่งในโลกเสมือนที่ได้รับแรงบันดาลใจจากความเคลื่อนไหวทางวรรณกรรมที่เรียกว่า ไซเบอร์พังก์ (cyberpunk) และนวนิยายของนีล สตีเฟนสัน (Neal Stephenson) เรื่อง Snow Crash จุดมุ่งหมายของลินเดนแล็บคือสร้างโลกใหม่ที่คล้ายเมทาเวิร์สซึ่งสตีเฟนสันอธิบายไว้ว่า เป็นโลกที่ผู้ใช้งานสร้างขึ้นเอง และผู้คนสามารถมีปฏิสัมพันธ์ เล่นด้วยกัน ทำธุรกิจ หรือการสื่อสารอย่างอื่น เซคันด์ไลฟ์มีหน่วยเงินเป็นของตัวเองเรียกว่า ลินเดนดอลลาร์ (Linden Dollar: L$) และสามารถแลกเปลี่ยนได้กับหน่วยเงินจริงเป็นดอลลาร์สหรัฐ ในตลาดที่ประกอบด้วย ผู้อาศัย ลินเดนแล็บ และบริษัทในชีวิตจริง แม้เซคันด์ไลฟ์จะถูกเรียกว่าเกมในบางครั้ง แต่ก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ถึงแม้อาจจัดได้ว่าเป็นเกมอย่างหนึ่งที่พื้นฐานที่สุด แต่เซคันด์ไลฟ์ก็ไม่มีแต้ม คะแนน ผู้ชนะหรือผู้แพ้ ระดับ กลยุทธ์ในการจบเกม หรือคุณสมบัติอื่นใดที่จะระบุว่าเป็นเกม แต่ถึงกระนั้น ในโลกของเซคันด์ไลฟ์อาจมีเกมให้เล่นด้วยก็ได้ โปรแกรมนี้เป็นเพียงสภาพแวดล้อมเสมือนที่วางโครงสร้างไว้บางส่วน ที่ซึ่งตัวละครจะต้องรับผิดชอบกิจกรรมใดๆ ด้วยตัวเอง เพื่อความบันเทิงส่วนตัว บัญชีผู้ใช้ทั้งหมดของเซคันด์ไลฟ์ได้รับการลงทะเบียนมากกว่า 8.5 ล้านบัญชี ถึงแม้ว่าจะมีหลายบัญชีที่ไม่ได้ใช้งาน ผู้อาศัยบางคนก็อาจมีบัญชีมากกว่าหนึ่ง และไม่มีตัวเลขใดที่ได้รับรายงานอย่างเป็นทางการ ถึงอย่างไรก็ตามสิ่งที่เด่นชัดก็คือ เซคันด์ไลฟ์มีคู่แข่งหลายโปรแกรมที่โดดเด่น เช่น อิมวู (IMVU), แทร์ (There), แอ็กทีฟเวิลด์ส (Active Worlds) และเรดไลต์เซนเทอร์ (Red Light Center).

ใหม่!!: หุ่นยนต์และเซคันด์ไลฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

The Eyes มองตาก็รู้ใคร

The Eyes มองตาก็รู้ใคร เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทเกมโชว์ ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (โทรทัศน์ระบบดิจิตอลหมายเลข 33) ทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ เวลา 17:30 - 18:00 น. โดยมี จอนนี่ แอนโฟเน่ ทำหน้าที่เป็นผู้ดำเนินรายการ เริ่มออกอากาศครั้งแรกวันที่ 5 มีนาคม..

ใหม่!!: หุ่นยนต์และThe Eyes มองตาก็รู้ใคร · ดูเพิ่มเติม »

World Robot Olympiad

World Robot Olympiad (WRO) หรือการแข่งขันโอลิมปิกหุ่นยนต์ เป็นการแข่งขันหุ่นยนต์ ในด้านการออกแบบและการสร้างหุ่นยนต์รวมถึงการเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ควบคุมหุ่นยนต์ โดยใช้หุ่นยนต์จาก Lego Education มาทำการแข่งขันกันในระดับประเทศและนานาชาติ ซึ่งจัดขึ้นครั้งแรกในปี 2004 ประเทศสิงคโปร์ ปัจจุบันมีสมาชิกกว่า 64 ประเทศทั่วโลก ในแต่ละปีจะมีการจัดแข่งขันระดับนานาชาติโดยหมุนเวียนประเทศเจ้าภาพไปตามประเทศสมาชิก ซึ่งโจทย์ที่เป็นธีมหลักในการแข่งขัน รวมถึงกติกาก็จะเปลี่ยนแปลงไปขึ้นอยู่กับประเทศเจ้าภาพในการจัดการแข่งขัน ในประเทศไทยเองก็เคยมีการจัดการแข่งขันแล้วครั้งหนึ่ง ซึ่งในปี 2018 ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในการจัดแข่งขันระดับโลกอีกครั้ง ✌️ การแข่งขันหุ่นยนต์จัดขึ้น เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้ครูและนักเรียนได้มีโอกาสพัฒนาทักษะการเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์คอมพิวเตอร์ และนำมาประยุกต์ใช้งานต่างๆ  ด้วยตนเอง รู้จักการทำงานร่วมกันเป็นทีม โดยให้มีการจัดการแข่งขันสนามชิงชนะเลิศระดับภูมิภาค 4 ภาค และจัดแข่งขันรอบชิงชนะเลิศประเทศไทย เพื่อคัดเลือกตัวแทนประเทศไทย เข้าร่วมการแข่งขันระดับนานาชาติ ในงาน WRO  (World Robot Olympiad) ในแต่ละปี ของประเทศเจ้าภาพนั้นๆ 👍.

ใหม่!!: หุ่นยนต์และWorld Robot Olympiad · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Robotโรบอทโรบอต

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »