โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

หมาก

ดัชนี หมาก

หมาก เป็นพืชจำพวกปาล์ม มีด้วยกันหลายชนิด ดังนี้; พื.

30 ความสัมพันธ์: ชะโนดชัยชนะ บุญนะโชติพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินีพืชใบเลี้ยงเดี่ยวรัฐสุลต่านอาเจะฮ์ลูกหมากศาสนาพุทธในประเทศภูฏานสมเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนาสาละสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทยหมากนางลิงอังกาบสีปูนอาหารกับโรคมะเร็งอำเภอกรงปินังอุทยานแห่งชาติน้ำตกคลองแก้วทางขามคัวะขุนลัวะอ้ายก้อมตราบุรฉัตรประเทศภูฏานปาล์ม (พืช)ปาล์มน้ำพุปูนเปลือกหอยปีแนบองนางแย้มป่าแปลก พิบูลสงครามโคล่าเขาควายไม่หลูบเขี้ยวฟานGene flow

ชะโนด

นด หรือ ค้อสร้อย (Taraw palm) คือ พืชตระกูลปาล์ม พบได้ในเอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, ออสเตรเลีย และแหลมปลายสุดของทวีปแอฟริกา ลักษณะเป็นปาล์มชนิดหนึ่งไม่มีหนาม มีใบเหมือนใบตาล ลำต้นเหมือนต้นมะพร้าว ลูกเป็นเม็ดเล็ก ๆ คล้ายหมาก สูงเต็มที่ประมาณ 30 เมตร สำหรับในประเทศไทยกลับเป็นพืชที่หายาก โดยแหล่งที่มีชะโนดมากที่สุดอยู่ในอำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ในสถานที่ ๆ เรียกว่า ป่าคำชะโนด ชะโนดในจังหวัดนราธิวาสเรียกว่า "ค้อ​" หรือ "​สิ​เหรง"​.

ใหม่!!: หมากและชะโนด · ดูเพิ่มเติม »

ชัยชนะ บุญนะโชติ

ัยชนะ บุญนะโชติ เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้องเพลงลูกทุ่ง) ปี 2541 จากผลงานการนักร้องลูกทุ่งเสียงดี และสร้างสรรค์ผลงานเพลงฮิตมากมาย นอกจากนั้นก็ยังมีความสามารถในด้านศิลปะการแสดงภาคกลางเช่นลิเก ลำตัด เพลงอีแซว การแสดงตลก รวมถึงการแต่งเพลง ชัยชนะ ได้สร้างนักร้องลูกทุ่งประดับวงการไว้หลายคน โดยหนึ่งในจำนวนนั้นก็คือ ไวพจน์ เพชรสุพรรณ ปัจจุบันแม้จะอยู่ในวงการมานานถึงครึ่งศตวรรษ ชัยชนะ บุญนะโชติ ก็ยังคงรับงานร้องเพลงทั่วไป รวมทั้งงานทำขวัญนาค เช่นที่เคยทำมานานหลายสิบปี.

ใหม่!!: หมากและชัยชนะ บุญนะโชติ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี (13 พฤษภาคม พ.ศ. 2407 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2501) หรือที่ถวายเรียกกันว่า เสด็จอธิบดี อธิบดีหญิงคนแรกของประเทศไทย พระองค์เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม..

ใหม่!!: หมากและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี · ดูเพิ่มเติม »

พืชใบเลี้ยงเดี่ยว

ืชใบเลี้ยงเดี่ยว (Monocotyledon หรือ Liliopsida) เป็นชั้นหนึ่งในส่วนพืชดอกที่มีความสำคัญอย่างยิ่งกลุ่มหนึ่ง ครอบครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของพื้นโลก และเป็นพื้ชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสูงอีกด้วย พืชใบเลี้ยงเดี่ยววงศ์ใหญ่ที่สุด คือ กล้วยไม้ (Orchidaceae) โดยมีดอกที่ซับซ้อน และสวยงาม เพื่อดึงดูดแมลงชนิดต่างให้ช่วยในการผสมพันธุ์ ส่วนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่มีปริมาณมากเป็นอันดับสอง และอาจจะเป็นวงศ์ที่โดดเด่นกว่า ก็คือ หญ้า (Poaceae หรือ Gramineae) โดยมีวิวัฒนาการอีกทางหนึ่ง มีลักษณะพิเศษคือ การแพร่ขยายพันธุ์โดยอาศัยลม พืชในวงศ์หญ้านั้นมีดอกขนาดเล็ก แต่เมื่อรวมเป็นกลุ่มอาจปรากฏเป็นช่อดอกที่มองเห็นชัดเจนและสวยงาม.

ใหม่!!: หมากและพืชใบเลี้ยงเดี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสุลต่านอาเจะฮ์

รัฐสุลต่านอาเจะฮ์ (Sultanate of Aceh) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรอาเจะฮ์ดารุซซาลัม (Kingdom of Aceh Darussalam, ภาษาอาเจะฮ์: Keurajeuën Acèh Darussalam; อักษรยาวี: كاورجاون اچيه دارالسلام) เป็นรัฐที่มีสุลต่านเป็นผู้ปกครองอยู่ในบริเวณที่ปัจจุบันคือจังหวัดอาเจะฮ์ ประเทศอินโดนีเซีย ครองอำนาจในราวพุทธศตวรรษที่ 21 – 22 ก่อนจะเสื่อมอำนาจลง เมืองหลวงตั้งอยู่ที่กูตาราจา ปัจจุบันคือบันดาอาเจะฮ์ ในช่วงที่มีอำนาจ อาเจะฮ์พยายามเข้ายึดครองรัฐสุลต่านยะโฮร์ และมะละกาที่อยู่ภายใต้การปกครองของโปรตุเกส พยายามเข้าควบคุมช่องแคบมะละกา และพื้นที่ที่มีพริกไทยและดีบุกมาก อาเจะฮ์เป็นศูนย์กลางของนักปราชญ์อิสลามและการค้.

ใหม่!!: หมากและรัฐสุลต่านอาเจะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ลูกหมาก

ลูกหมาก อาจหมายถึง.

ใหม่!!: หมากและลูกหมาก · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศภูฏาน

การปกครองของคณะสงฆ์ภูฏาน แบ่งออกเป็น 5 ชั้นปกครอง คือ.

ใหม่!!: หมากและศาสนาพุทธในประเทศภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนา

มเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนา มีพระนามเต็มว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าเชษฐาขัติยวงศา พระมหาศรีสว่างวัฒนา (ພຣະບາດສົມເດັດພຣະເຈົ້າເຊດຖາຂັດຕິຍະວົງສາ ພຣະມະຫາສີສະຫວ່າງວັດທະນາ) หรือ เจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนา (ເຈົ້າມະຫາຊີວິດສີສະຫວ່າງວັດທະນາ)สะกดด้วยอักขรวิธีเก่าว่า ພຣະບາທສົມເດັຈພຣະເຈົ້າເຊສຖາຂັຕິຍວົງສາ ພຣະມຫາສຣີສວ່າງວັທນາ ปริวรรต: พระบาทสมเด็จพระเจ้าเชสถาขัติยวงสา พระมหาสรีสว่างวัทนา และ ເຈົ້າມຫາຊີວິຕສຣີສວ່າງວັທນາ ปริวรรต: เจ้ามหาชีวิตสรีสว่างวัทนา ตามลำดับ (ສົມຈິຕ ພັນລັກ. (2012) ພາສາລາວລ້ານຊ້າງ ກ່ອນປີ ພ.ສ 2478; ຄ.ສ 1935 ສະບັບຄົ້ນຄວ້າ. ສົມມະນາ ການພິມ ສປປ ລາວ.) เป็นพระมหากษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรลาว ก่อนที่จะถูกฝ่ายปะเทดลาวยึดอำนาจเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวใน..

ใหม่!!: หมากและสมเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

สาละ

ละ เป็นพืชในวงศ์ Dipterocarpaceae เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาฮินดู เป็นที่ประทับของพระเจ้า และเป็นสัญลักษณ์แห่งอินทรา ในทางพุทธศาสนา ต้นสาละคือต้นที่พระพุทธมารดายืนเหนี่ยวกิ่งในขณะประสูติไม่ใช่ต้นสาละลังกา เป็นไม้เนื้อแข็งที่มีความสำคัญในอินเดีย ใช้ในการก่อสร้างโดยเฉพาะกรอบประตูและหน้าต่าง ใบอ่อนและตาดอกในรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดี.

ใหม่!!: หมากและสาละ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย

อาณาเขตของประเทศไทยระหว่างสงคราม สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไท.

ใหม่!!: หมากและสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

หมากนางลิง

หมากนางลิงหรือหมากชะแวก หมากหน่อ เป็นพืชในวงศ์ปาล์ม เป็นปาล์มกอหรือขึ้นเป็นต้นเดียวในบางครั้ง ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ กลิ่นคล้ายส้ม ดอกแยกเพศไม่แยกต้น ผลสุกสีแดงส้ม มีจะงอย พบในบริเวณตั้งแต่อินเดีย อินโดจีน มาเลเซียไปจนถึงฟิลิปปินส์ เมล็ดใช้รับประทานแทนหมากแต่มีคุณภาพต่ำกว่า ยอดอ่อนรับประทานได้ ในหมู่เกาะอันดามันนำใบมามุงหลังคา ลำต้นทำเสาบ้าน ไฟล์:Areca_triandra.JPG|หมากางลิงที่ Nong Nooch Tropical Garden.

ใหม่!!: หมากและหมากนางลิง · ดูเพิ่มเติม »

อังกาบสีปูน

อังกาบสีปูน (หรือ ไม้พุ่มคลุมดินขนาดเล็ก เป็นกิ่งทอดเลื้อย สูง 15 - 40 ซม. ใบรูปไข่ ปลายแหลม ยาว 2 - 4 ซม. มีสีเขียวเป็นมัน ดอกมีสีแดงอมส้ม คล้ายสีปูนแดงที่กินกับหมาก กลีบดอกกลมมน ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด หรือปักชำ ปลูกเป็นไม้ประดับสวยงามได้ทั้งในที่ร่มรำไร และกลางแจ้ง.

ใหม่!!: หมากและอังกาบสีปูน · ดูเพิ่มเติม »

อาหารกับโรคมะเร็ง

ษณานี้เสนอว่า อาหารที่ถูกสุขภาพจะช่วยป้องกันโรคมะเร็ง อาหารมีผลสำคัญต่อความเสี่ยงโรคมะเร็ง โดยอาหารบางอย่างอาจเพิ่มและบางอย่างอาจลดความเสี่ยง และโดยรวม ๆ แล้ว ปัจจัยต่าง ๆ รวมทั้งอาหาร การไม่ออกกำลังกาย และโรคอ้วนอาจจะสัมพันธ์กับความตายจากมะเร็งในอัตราถึง 30-35% แต่ก็มีงานทบทวนวรรณกรรมปี 2554 ที่เสนอว่า พลังงานจากอาหารที่บริโภคมีอิทธิพลต่ออุบัติการณ์ของมะเร็ง และอาจมีผลต่อการเติบโตของมะเร็งด้วย ไม่ใช่อาหารชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะ แม้ว่าจะมีคำแนะนำมากมายหลายอย่างเกี่ยวกับอาหารเพื่อลดความเสี่ยงต่อมะเร็ง แต่มีน้อยอย่างที่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ดี แต่ทั้งโรคอ้วนและการดื่มเหล้า มีหลักฐานยืนยันว่าเป็นเหตุของมะเร็ง ดังนั้น รายงานปี 2557 ขององค์การอนามัยโลก จึงแนะนำให้ลดการบริโภคเครื่องดื่มหวาน ๆ เพื่อแก้ปัญหาโรคอ้วน แม้ว่าอาหารที่มีผักผลไม้น้อยและมีเนื้อแดงมากอาจเป็นปัจจัยเสี่ยง แต่ก็ยังไม่มีการยืนยันที่ชัดเจน และอาจมีผลน้อยต่อบุคคลที่ทานอาหารสมบูรณ์และมีน้ำหนักที่เหมาะสม แต่ก็มีอาหารบางประเภทโดยเฉพาะ ที่สัมพันธ์กับมะเร็งบางอย่าง คือ มีงานศึกษาที่สัมพันธ์การบริโภคเนื้อแดง หรือเนื้อที่ผ่านกรรมวิธีการผลิตเพื่อเพิ่มรสชาติหรือเพื่อให้เก็บได้นาน (processed meat) กับการเพิ่มปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งต่อมลูกหมาก และมะเร็งตับอ่อน ซึ่งอธิบายเป็นบางส่วนได้ว่าเป็นเพราะมีสารก่อมะเร็งที่เกิดขึ้นเพราะผ่านความร้อนสูง และเพราะมีอะฟลาทอกซินที่เป็นสารปนเปื้อนสามัญและทำให้เกิดมะเร็งตับ ส่วนการดื่มกาแฟสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งตับที่ต่ำกว่า การเคี้ยวหมากก่อให้เกิดมะเร็งปาก และการบริโภคอาหารที่ต่าง ๆ กันอาจอธิบายอุบัติการณ์ของมะเร็งที่ต่าง ๆ กันในประเทศต่าง ๆ ได้โดยบางส่วน ยกตัวอย่างเช่น มะเร็งกระเพาะอาหารเป็นเรื่องสามัญกว่าในประเทศญี่ปุ่นเพราะทานอาหารที่เค็มกว่า และมะเร็งลำไส้ใหญ่เกิดขึ้นอย่างสามัญกว่าในสหรัฐอเมริกา ผู้ที่อพยพย้ายถิ่นฐานมักจะเกิดความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งเหมือนกับคนพื้นเมือง บางครั้งแม้ภายในชั่วยุคคนเดียว ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ที่สำคัญระหว่างอาหารกับมะเร็ง คำแนะนำทางอาหารเพื่อป้องกันโรคมะเร็งปกติจะรวมการรักษาน้ำหนักตัว การรับประทานพืชผักผลไม้ ธัญพืชที่ไม่ขัดสี และปลา เป็นหลัก และการลดการบริโภคเนื้อแดง ไขมันสัตว์ และน้ำตาล.

ใหม่!!: หมากและอาหารกับโรคมะเร็ง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกรงปินัง

กรงปินัง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดยะลา จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา พ.ศ. 2547 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม..

ใหม่!!: หมากและอำเภอกรงปินัง · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติน้ำตกคลองแก้ว

อุทยานแห่งชาติน้ำตกคลองแก้ว ตั้งอยู่ในเขตตำบลหนองบอน ตำบลช้างทูน ตำบลบ่อพลอย ตำบลนนทรีย์ และตำบลด่านชุมพล อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ก่อนได้รับการจัดตั้งเป็นอุทยานมีฐานะเป็นป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสมิง (ป่าคลองใหญ่และป่าเขาไฟไหม้) โดยได้รับการจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติอย่างไม่เป็นทางการเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2543 และเป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดตร.

ใหม่!!: หมากและอุทยานแห่งชาติน้ำตกคลองแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

ทาง

ทาง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: หมากและทาง · ดูเพิ่มเติม »

ขามคัวะ

มคัวะ หรือ กระนวล เป็นพืชในวงศ์ Sterculiaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เปลือกสีออกแดง หูใบจักเป็นครุย ผิวใบด้านล่างมีขน ดอกรวมกันเป็นกระจุก ผลแบบแคบซูล เนื้อไม้แข็งทนทาน พบตั้งแต่ อินเดีย ศรีลังกา และอินโดจีน ในอินโดจีนใช้เปลือกกินแทนหมาก เนื้อไม้ใช้ทำด้ามขวานและเชื้อเพลิง.

ใหม่!!: หมากและขามคัวะ · ดูเพิ่มเติม »

ขุนลัวะอ้ายก้อม

นลัวะอ้ายก้อม เป็นผีหลวงหรือผีใหญ่ที่ดูแลบริเวณพระธาตุช่อแฮทั้งหมดตามความเชื่อของชาวแพร่ โดยในบริเวณนี้เดิมเป็นที่อยู่ของชาวลัวะมาก่อน ในตำนานพระธาตุช่อแฮ ขุนลัวะได้เกิดแรงศรัทธาจากการที่พระพุทธเจ้าฉันหมากที่ทำให้เมาโดยไม่เป็นอันตราย พระพุทธเจ้าได้มอบเส้นเกศาให้ขุนลัวะ ขุนลัวะจึงนำมาใส่ผอบฝังไว้ ต่อมาเมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานจึงได้นำพระธาตุส่วนกระดูกศอกข้างซ้ายมาไว้ที่นี่ ศาลของขุนลัวะอ้ายก้อมอยู่ในปริเวณใกล้เคียงกับพระธาตุช่อแฮ ทุกปีก่อนถึงงานไหว้พระธาตุช่อแฮในวันขึ้นห้าค่ำ เดือนหกเหนือ จะมีพิธีไหว้ขุนลัวะอ้ายก้อม ของไหว้ที่สำคัญคือหมากพลู ข้าวตอก ดอกไม้ ข้าวสาร เหล้า และน้ำเขียว.

ใหม่!!: หมากและขุนลัวะอ้ายก้อม · ดูเพิ่มเติม »

ตราบุรฉัตร

ตราบุรฉัตร ตราบุรฉัตร เป็นตราวงกลมทำจากเหล็กหล่อสีแดงน้ำหมาก สร้างขึ้นเพื่อเป็นการน้อมรำลึกถึง พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ในการที่พระองค์ทรงนำรถจักรดีเซลคันแรกมาใช้งานเมื่อปี พ.ศ. 2471 โดยตราบุรฉัตรจะติดข้างรถจักรดีเซลไฟฟ้าทุกคัน.

ใหม่!!: หมากและตราบุรฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศภูฏาน

ประเทศภูฏาน (Bhutan; บูตาน) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรภูฏาน เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียที่มีขนาดเล็ก และมีภูเขาเป็นจำนวนมาก ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัยระหว่างประเทศอินเดียกับประเทศจีน ชื่อในภาษาท้องถิ่นของประเทศคือ Druk Yul แปลว่า "ดินแดนของมังกรสายฟ้า (Land of the Thunder Dragon)" นอกจากนี้ยังเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Druk Tsendhen และชื่อเพลงชาติ เนื่องจากที่ภูฏาน เสียงสายฟ้าฟาดถือเป็นเสียงของมังกร ส่วนชื่อ ภูฏาน (Bhutan) มาจากคำสมาสในภาษาบาลี ภู-อุฏฺฏาน อันมีความหมายว่า "แผ่นดินบนที่สูง" (ในภาษาฮินดี สะกด भूटान ถอดเป็นตัวอักษรคือ ภูฏาน).

ใหม่!!: หมากและประเทศภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์ม (พืช)

ปาล์ม (Palm) เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่อยู่ในวงศ์ Arecacae (ชื่อเดิมคือ Palmae) นับเป็นพืชวงศ์ใหญ่ที่สุด (รองจากหญ้า) ทั้งในแง่จำนวนของชนิด และปริมาณที่มีอยู่อย่างอุดมสมบูรณ์ จำแนกได้กว่า 210 สกุล ราว 3,800 ชนิด เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวไม่แยกกิ่งก้านสาขา พืชจำพวกปาล์มนี้มีร่องรอยในซากดึกดำบรรพ์ที่เก่าแก่ถึงประมาณ 80 ล้านปีมาแล้ว ปัจจุบันนี้เราพบปาล์มได้ในหลากหลายพื้นทั่วโลก อันเนื่องจากปาล์มสามารถเติบโตในสภาพภูมิอากาศที่หลากหลาย แม้ว่าส่วนใหญ่จะเป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อน และกึ่งเขตร้อนก็ตาม แต่ปาล์มสามารถเติบโตได้ตั้งแต่ละติจูด 30 องศาเหนือ ลงมาจนถึงละติจูด 30 องศาใต้ ปาล์มที่พบในเขตเหนือสุด คือ ปาล์มพัดยุโรป (Chamaerops humilis) ซึ่งเติบโตในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และแอฟริกาตอนเหนือ ส่วนปาล์มที่พบตอนใต้สุด คือปาล์มนิเกา (Rhopalostylis sapida) ที่พบในนิวซีแลนด์ และหมู่เกาะแชแธม ปาล์มก็ยังเติบโตบนพื้นที่สูงถึง 3,000 เมตร (บนเทือกเขาแอนดีส) ส่วนที่แห้งแล้งอย่างทะเลทราย (อินทผลัม) และที่ชื้นแฉะ ก็ยังเป็นที่อาศัยส่วนใหญ่ของปาล์มหลากหลายชนิด (เช่น จาก ชิด สาคู).

ใหม่!!: หมากและปาล์ม (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ปาล์มน้ำพุ

ปาล์มน้ำพุ ปาล์มน้ำพุ เป็นปาล์มลักษณะลำต้นเดี่ยว ปลูกเป็นไม้ประดับประเภทโตเร็ว รูปใบเป็นกาบห่อหุ้มลำต้นเหมือนหมาก ใบลักษณะใบแบบขนนก ขนาดลำต้นที่โคนประมาณ 6 -10 นิ้ว ลำต้นเห็นเป็นรอยกาบชัดเจน ลักษณะของกาบห่าง ทำให้ปาล์มน้ำพุโตเร็ว ไม่เป็นไม้ประดับที่ดี เนื่องจากเมื่ออายุประมาณ 5-10 ปี ลำต้นจะสูงชลูดไม่ตำกว่า 6 - 10 เมตร ไม่สวยงาม เจ้าของธุรกิจที่เพาะพันธุ์ปาล์มน้ำพุหากไม่รีบขายออกไปให้เร็วจะทำให้ปาล์มไม่เหลือฟอร์มไม้ประดับที่สวยงาม จึงไม่ค่อยนิยมเพาะพันธุ์ขาย ปาล์มน้ำพุออกผลเป็นทะลายคล้าย ๆ หมาก แต่ผลเล็กกว่าหมาก คือขนาดผลยาวรีประมาณขนาดนิ้วก้อยเท่านั้น ผลเมื่อสุกพร้อมจะนำไปขยายพันธุ์ได้จะเปลี่ยนสีจากเขียวเป็นเหลืองและเป็นสีส้มสดในที่สุด เปลือกนอกของผลเมื่อโดนผิวหนังอ่อน ๆ จะเป็นพิษทำให้คันจึงควรระวังไม่บีบให้น้ำจากผลถูกผิวหนังอ่อน ๆ หรือเข้าตา หมวดหมู่:ปาล์ม.

ใหม่!!: หมากและปาล์มน้ำพุ · ดูเพิ่มเติม »

ปูนเปลือกหอย

ปูนหอย หรือ ปูนเปลือกหอย เป็นปูนที่นำเปลือกหอยมาเผาและบดให้ละเอียด นำมาใช้ในอุตสาหกรรม เช่น ผงพระเครื่อง นำมาผสมกับน้ำมันตังอิ๊วและน้ำแก้วและส่วนผสมต่าง ๆ อีกทั้งยังนำมาเป็นปูนกินหมากได้ ปูนหอยที่นิยมก็จะเป็นปูนจากหอยแครง และหอยตลับ เพราะให้เนื้อปูนขาวได้มากกว่า ยังนำไปทำเป็นปุ๋ยได้ดี และอาหารสัตว์ได้อีก หมวดหมู่:วัสดุ.

ใหม่!!: หมากและปูนเปลือกหอย · ดูเพิ่มเติม »

ปีแนบอง

ปีแนบอง หรือ ปีแนดือกอ เป็นพืชในวงศ์ปาล์ม เป็นปาล์มแตกกอขนาดเล็ก ดอกแยกเพศแต่ไม่แยกต้น ใบประกอบแบบขนนก ผลอ่อนสีขาว สุกแล้วเป็นสีแดง พบในภาคใต้ของไทยไปจนถึงรัฐซาราวะก์ เมล็ดใช้รับประทานแทนหมากแต่คุณภาพต่ำกว่า ยอดอ่อนรับประทานได้ รากและใบใช้เป็นยาคุมกำเน.

ใหม่!!: หมากและปีแนบอง · ดูเพิ่มเติม »

นางแย้มป่า

นางแย้มป่า, พนมสวรรค์ป่า หรือ พวงสวรรค์ เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae เป็นพืชใกล้สูญพันธุ์ในไทย ไม้พุ่ม มีขนสั้นหนานุ่มปกคลุม กิ่งเป็นเหลี่ยม ดอกช่อ กลีบเลี้ยงรูประฆัง เกสรตัวผู้ 4 อัน ยื่นยาวพ้นกลีบดอก ผลเมล็ดเดียวแข็ง สีขาว กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดีย อินโดจีน เกาะสุมาตราจนถึงฟิลิปปินส์ ในคาบสมุทรมลายูใช้เปลือกลำต้นกินแทนหมาก.

ใหม่!!: หมากและนางแย้มป่า · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: หมากและแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โคล่า

ล่า (Cola) เป็นพืชไม่ผลัดใบสกุลหนึ่ง มีด้วยกันประมาณ 125 สปีชีส์ เป็นพืชพื้นเมืองในเขตป่าดงดิบของทวีปแอฟริกา จำแนกอยู่ในวงศ์ Malvaceae วงศ์ย่อย Sterculioideae (หรืออาจแยกเป็นวงศ์ Sterculiaceae ต่างหาก ก็มี) ถือว่ามีความสัมพันธ์กับพืชสกุล Theobroma (โกโก้) ในทวีปอเมริกาใต้ ต้นโคล่านั้นมีความสูงเต็มที่ 20 เมตร มีใบมันวาว คล้ายรูปไข่ ยาวเต็มที่ 30 เซนติเมตร;สปีชีส์อื่น.

ใหม่!!: หมากและโคล่า · ดูเพิ่มเติม »

เขาควายไม่หลูบ

วายไม่หลูบ หรือ เขาควายไม่ว้องหรือโงบ เป็นพืชในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้รอเลื้อยเนื้อแข็ง กิ่งอ่อนเป็นสี่เหลี่ยม มีขนปกคลุม ดอกช่อออกที่ปลายยอด มีริ้วประดับย่อยระหว่างดอก ดอกรูปร่างเหมือนดอกเข็ม สีเขียวหรือเหลือง ผลเป็นแคปซูลแห้ง เมล็ดมีปีก กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดียไปจนถึงอินโดจีน และเกาะสุมาตรา ในอินโดจีนใช้เปลือกกินแทนหมาก แก้ไข้ ในเวียดนามเคยใช้ชงน้ำดื่มแทนน้ำ.

ใหม่!!: หมากและเขาควายไม่หลูบ · ดูเพิ่มเติม »

เขี้ยวฟาน

ี้ยวฟาน หรือ หำฟาน เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Oleaceae ลำต้นและกิงอ่อนมีขนสีนวลเทา ใบเดี่ยว ดอกช่อ ออกที่ซอกใบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย กลีบดอกสีขาว ผลเมื่ออ่อนสีเขียว ผลแก่สีม่วงหรือสีดำ ร่วงง่าย ใบมีรสเผ็ด ชาวไทยอีสานนำมารับประทานกับหมากแทนใบพลูได้.

ใหม่!!: หมากและเขี้ยวฟาน · ดูเพิ่มเติม »

Gene flow

ในสาขาพันธุศาสตร์ประชากร gene flow (การไหลของยีน, การโอนยีน) หรือ gene migration เป็นการโอนความแตกต่างของยีน (genetic variation) ของประชากรกลุ่มหนึ่งไปยังอีกกลุ่มหนึ่ง ถ้าอัตราการโอนยีนสูงพอ กลุ่มประชากรทั้งสองก็จะพิจารณาว่ามีความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity) ที่เหมือนกัน และดังนั้น จึงเท่ากับเป็นกลุ่มเดียวกัน มีการแสดงแล้วว่า ต้องมี "ผู้อพยพหนึ่งหน่วยต่อหนึ่งรุ่น" เป็นอย่างน้อย เพื่อป้องกันไม่ให้กลุ่มประชากรเบนออกจากกันทางพันธุกรรมเนื่องจากการเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจง (genetic drift) กระบวนการนี้เป็นกลไกสำคัญเพื่อโอนความหลากหลายของยีนในระหว่างกลุ่มประชากรต่าง ๆ หน่วยที่ "อพยพ" เข้ามาหรือออกจากกลุ่มประชากรอาจเปลี่ยน ความถี่อัลลีล (allele frequency, สัดส่วนของสมาชิกกลุ่มประชากรที่มีรูปแบบหนึ่งเฉพาะของยีน) ซึ่งก็จะเปลี่ยนการแจกแจงความหลากหลายของยีนระหว่างกลุ่มประชากร "การอพยพ" อาจเพิ่มรูปแบบยีนใหม่ ๆ ให้กับสปีชีส์หรือประชากรกลุ่ม ๆ หนึ่ง อัตราการโอนที่สูงสามารถลดความแตกต่างของยีนระหว่างสองกลุ่มและเพิ่มภาวะเอกพันธุ์ เพราะเหตุนี้ การโอนยีนจึงเชื่อว่าจำกัด การเกิดสปีชีสใหม่ (speciation) เพราะรวมยีนของกลุ่มต่าง ๆ และดังนั้น จึงป้องกันพัฒนาการความแตกต่างที่อาจนำไปสู่การเกิดสปีชีสใหม่ '''gene flow''' ก็คือการโอนอัลลีลจากประชากรกลุ่มหนึ่งไปยังอีกกลุ่มหนึ่งผ่าน "การอพยพ" ของสิ่งมีชีวิตแต่ละหน่วย มีปัจจัยต่าง ๆ ต่ออัตราการโอนยีนข้ามกลุ่มประชากร อัตราคาดว่าจะต่ำในสปีชีส์ที่กระจายแพร่พันธุ์หรือเคลื่อนที่ไปได้ในระดับต่ำ ที่อยู่ในที่อยู่ซึ่งแบ่งออกจากกัน ที่มีกลุ่มประชากรต่าง ๆ อยู่ห่างกัน และมีกลุ่มประชากรเล็ก การเคลื่อนที่ได้มีบทบาทสำคัญต่ออัตราการโอนยีน เพราะสิ่งมีชีวิตที่เคลื่อนที่ได้มีโอกาสอพยพไปที่อื่นสูงกว่า แม้สัตว์มักจะเคลื่อนที่ได้มากกว่าพืช แต่พาหะที่เป็นสัตว์หรือลมก็อาจจะขนละอองเรณูและเมล็ดพืชไปได้ไกล ๆ เหมือนกัน เมื่อระยะแพร่กระจายพันธุ์ลดลง การโอนยีนก็จะถูกขัดขวาง การผสมพันธุ์ในสายพันธุ์ (inbreeding) วัดโดย สัมประสิทธิ์การผสมพันธุ์ในสายพันธุ์ (inbreeding coefficient ตัวย่อ F) ก็จะเพิ่มขึ้น ยกตัวอย่างเช่น กลุ่มประชากรบนเกาะจำนวนมากมีอัตราการโอนยีนที่ต่ำ เพราะอยู่ในภูมิภาคแยกต่างหากและมีขนาดประชากรเล็ก ตัวอย่างโดยเฉพาะอย่างหนึ่งก็คือ จิงโจ้สกุล Petrogale lateralis (Black-footed Rock-wallaby) ที่มีกลุ่มซึ่งผสมพันธุ์ภายในสายพันธุ์บนเกาะต่าง ๆ แยกต่างหาก ๆ นอกชายฝั่งของออสเตรเลีย นี่เนื่องจากไปมาหาสู่กันไม่ได้ การโอนยีนจึงเป็นไปไม่ได้ และทำให้ต้องผสมพันธุ์กันในสายพัน.

ใหม่!!: หมากและGene flow · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

C. lutescensChrysalidocarpus lutescensD. lutescensDypsis lutescens

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »