โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ดัชนี สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

420 ความสัมพันธ์: Anti-vascular endothelial growth factor therapyAxonotmesisบรรจบ บรรณรุจิบรรณาธิการชะฮาดะฮ์ชะเอม แก้วคล้ายชัย มุกตพันธุ์บัสราบังแทรกชาวดัตช์บาทหลวงชาติพันธุ์วรรณนาบาปชุมชนแออัดชนชั้นกระฎุมพีฟองมันพญามังรายพญานาคพรหมันพระบรมมหาราชวังพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระมหาอุปราชพระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)พระยมพระยศเจ้านายไทยพระยางั่วนำถุมพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์พระราชาคณะพระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์พระสังฆาธิการพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)พระอภัยมณีพระอรหันต์พระอสีติมหาสาวกพระอินทร์พระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์พระที่นั่งอมรพิมานมณีพระที่นั่งเทวารัณยสถานพระปรมาภิไธย (พระมหากษัตริย์ไทย)พระโพธิสัตว์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์พระเครื่องพหุเทวนิยมพิธีกรรมพิธีสำเร็จการศึกษาพิเชฏฐ์ กาลามเกษตร์พุทธวงศ์พุทธศาสนิกชน...พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554พจนานุกรมกฎหมายพจนานุกรมภาษาไทยพจนานุกรมคำใหม่พงศาวดารพ่อขุนรามคำแหงมหาราชกฎหมายตราสามดวงกระสือกระดอมกระด้างภัณฑ์และละมุนภัณฑ์กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงกวางชะมดไซบีเรียกะเทยกันภัยมหิดลกาญจนา นาคสกุลการลงโทษทางกายการวิจัยการสลายให้กัมมันตรังสีการสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์การอยู่กินด้วยกันโดยไม่ได้สมรสการจับการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถานการทับศัพท์การทับศัพท์ภาษาพม่าการทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่นการทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศสการทับศัพท์ภาษามลายูการทับศัพท์ภาษารัสเซียการทับศัพท์ภาษาสเปนการทับศัพท์ภาษาอังกฤษการทับศัพท์ภาษาอาหรับการทับศัพท์ภาษาอิตาลีการทับศัพท์ภาษาอินโดนีเซียการทับศัพท์ภาษาฮินดีการทับศัพท์ภาษาจีนการทับศัพท์ภาษาเกาหลีการทับศัพท์ภาษาเยอรมันการทับศัพท์ภาษาเวียดนามการค้าประเวณีการฆ่าคนการตราสังการตัดขาดจากศาสนาการประหารทารกผู้วิมลการประทับฟ้องการเลิกกีดกันชาวคาทอลิกการเขียนคำทับศัพท์ภาษาบาลีกำจร มนุญปิจุกำแพงพังกุศลและอกุศลภาพพจน์ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์ภาวิช ทองโรจน์ภาษาภาษาวิบัติภาษาวิทยาศาสตร์ภาษาผสมภาษาคลาสสิกภาษาไทยภาษาไทยถิ่นเหนือภาคอีสาน (ประเทศไทย)ภาคีสมาชิกภาคีสมาชิกราชบัณฑิตยสภาภาคตะวันออก (ประเทศไทย)ภาคตะวันตก (ประเทศไทย)ภาคใต้ (ประเทศไทย)ภาคเหนือ (ประเทศไทย)ภูมิลำเนาภความลพิษมลรัฐ (คำศัพท์)มหาลดาปสาธน์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมคธมหาวิทยาลัยรังสิตมหาวิทยาลัยลิเวอร์พูลมหาดเล็กมัดจำมารมาร (ศาสนาพุทธ)มาห์เซียร์มาตรการบังคับทางอาญามานุษยรูปนิยมมุขนายกมูลนิธิแผ่นดินธรรมมีแชล แนมนตร์ยามายืม (กฎหมาย)ยืมใช้สิ้นเปลืองยืมใช้คงรูปยุคหินกลาง (แอฟริกา)ยงค์วิมล เลณบุรีรพินทรนาถ ฐากุรรอยัลไฮเนสรัฐมีนัสเชไรส์รัฐรีโอเดจาเนโรรัฐอาลาโกอัสรัฐนาคาแลนด์รัฐโกลีมาราชบัณฑิตราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดรายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยรายพระนามและรายนามนายกราชบัณฑิตยสถานและราชบัณฑิตยสภารายการภาพธงชาติรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญรุกขเทวดารูปสี่เหลี่ยมคางหมูรู้รักภาษาไทยลัทธิลัทธิประทับใจลัทธิไวษณพลิขิต ธีรเวคินลูกหนี้ร่วมวชิราวุธวิทยาลัยวัฒนธรรมวัดวัดชนะสงครามราชวรมหาวิหารวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารวัดคณิกาผลวัตถุมงคลวันประมงแห่งชาติวิชัย ริ้วตระกูลวิบูลย์ ลี้สุวรรณวิรุณ ตั้งเจริญวิวัฒนาการเบนเข้าวิทยุติดตามตัววงศ์หนูศัพท์ปัญญาประดิษฐ์ศาลพระภูมิศาสนศึกษาศาสนาศาสนามาณีกีศาสนาคริสต์ศาสนจักรศิลปกรรมศิลป์ พีระศรีศูนย์เกิดแผ่นดินไหวศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติสก๊อยสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22สมเด็จพระราชินีนาถสมเด็จพระศรีสุธรรมราชาสมเด็จพระสังฆราชไทยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์สยามสวัสดิ์ ตันตระรัตน์สวัสดิ์ ตันติสุขสะพานพระพุทธยอดฟ้าสะพานมหาดไทยอุทิศสะพานมัฆวานรังสรรค์สะพานเทเวศรนฤมิตรสังข์รดน้ำสามก๊กสารหนูสารัตถะสางห่าสำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)สิทธิเก็บกินสิทธิเหนือพื้นดินสุญตาสุรพล อิสรไกรศีลสุหนัตสีสันสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สถานการณ์ฉุกเฉินสปิริตสแลงหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทหม่อมราชนิกุลหม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณหลวงมัศยจิตรการ (ประสพ ตีระนันทน์)หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภาหีหนี้อุปกรณ์หนี้ประธานอมเรศ ภูมิรัตนอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะอรุณรัตน์ วิเชียรเขียวอสูรอสงไขยอัครมุขนายกอัตตาธิปไตย (แก้ความกำกวม)อายุความอาศรม 4อาณาจักรอาคารชุดอำมาตยาธิปไตยอำนาจหน้าที่อำเภอกันทรลักษ์อำเภอมัญจาคีรีอำเภอธัญบุรีอุทลุมอุปราชอธิการอีเมลองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐานอนุญาโตตุลาการอนุศาสนาจารย์ฮาคุบะ ซางูรุจับยี่กีจักรพรรดิจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดสุโขทัยจังหวัดของประเทศไทยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดเพชรบูรณ์จาตุมหาราชิกาจานบินจำลอง สารพัดนึกจำนงค์ ทองประเสริฐจิรโชค วีระสยธรรมศาสตร์ถะถนนสิบสามห้างถนนนิมิตใหม่ถนนเทพรักษ์ทรัพย์สินทรัพย์อุปกรณ์ทฤษฎีโดมิโนทอมัส มอร์ทองประศรีทิม เบอร์เนิร์ส-ลีทุกรกิริยาท่าราชวรดิฐขรัวอินโข่งขั้นตอนวิธีขนมบ้าบิ่นข้าราชการฝ่ายตุลาการ (ประเทศไทย)ดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ดาดราและนครหเวลีดินแดนดุสิตความชั่วร้ายความรอดความสามารถของบุคคลความสงบเรียบร้อยของประชาชนความประมาทเลินเล่อความไวต่ออักษรใหญ่เล็กคัมภีร์คำสร้างใหม่คำนำหน้าชื่อคิโนะคูนิยะคืนหมาหอนคูลอมบ์คณะรักษาความสงบแห่งชาติคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะนักบวชคาทอลิกคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คนทรงคนไร้ความสามารถคนเก่งภาษาไทยค้อนประธานงูตกเป็นพับตรัสรู้ตราผ้าผูกคอลูกเสือประจำจังหวัดตรีทูต (แพทยศาสตร์)ตัวตนตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)ต้นหนต้นไม้เงินต้นไม้ทองฉกามาพจรปรพรหมันประชาธิปไตยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ประเทศไทย)ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ประทุษวาจาประคอง นิมมานเหมินท์ประเสริฐ ณ นครประเทศพัฒนาน้อยที่สุดประเทศราชประเทศคอซอวอประเทศไทยปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์ปรนิมมิตวสวัตดีปลาย่าดุก (สกุล)ปลาตะลุมพุกปิศาจปูดูเชร์รีปูนนอกรีตนักบวชนักสิทธิ์นายกนิพพานนิมมานรดีนิติภาวะนิติสัมพันธ์นิติเหตุนขลิขิตน้ำมนต์แฟชั่นแฟนแมงดาแม่ซื้อแยกราชเทวีแยกแครายแอนติออกแถบ นีละนิธิแถมสุข นุ่มนนท์โชห่วยโมฆะโมฆียกรรมโยนิโสมนสิการโรคใหลตายโรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่โลกาภิวัตน์โทรโทรทัศน์ในประเทศไทยโคลงโลกนิติไพฑูรย์ สินลารัตน์ไญยนิยมไสยศาสตร์ไฮเนสไปรษณีย์อืดอาดเบญจศีลเภสัชศาสตร์เมแทบอลิซึมเรือนเครื่องสับเลอง ชาร์ล เตฟว์แน็งเลียงผาเวทมนตร์เวทางคศาสตร์เสือกเสียงเสียดแทรก ฟัน ก้องเสียงเสียดแทรก ฟัน ไม่ก้องเสนาะฉันท์เหนี่ยว ดุริยพันธุ์เอกเทศสัญญาเอตทัคคะเจริญใจ สุนทรวาทินเจ้าจอมทับทิม (แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม)เจ้าคณะภาคเทพารักษ์เทวีเทวทูตเทวดาเทศกาลเพนเทคอสต์เขตการปกครองของประเทศไทยเดชา บุญค้ำเดมะนิมเดินกะลาเดียรถีย์เด็กแว้นเครื่องรางเคอร์เนลเซอรีนไฮเนสเปลือกหอยเปาบุ้นจิ้นBurst fractureLNeurapraxiaNeurotmesisTh (ทวิอักษร)Z ขยายดัชนี (370 มากกว่า) »

Anti-vascular endothelial growth factor therapy

Anti-vascular endothelial growth factor therapy หรือ anti-VEGF therapy หรือ anti-VEGF medication เป็นการระงับแฟกเตอร์ซึ่งโปรโหมตการเติบโตของเส้นเลือดที่เนื้อเยื่อบุโพรง คือ vascular endothelial growth factor (VEGF) เพื่อรักษามะเร็งบางอย่างและจุดภาพชัดเสื่อมเนื่องกับอายุ (AMD) ด้วยสารภูมิต้านทานโมโนโคลน เช่น bevacizumab (Avastin), ด้วยสารอนุพันธ์ เช่น ranibizumab (Lucentis), และด้วยโมเลกุลเล็ก ๆ ที่ใช้ทานได้ซึ่งยับยั้งเอนไซม์ tyrosine kinase ที่เริ่มทำงานอาศัย VEGF โมเลกุลรวมทั้ง lapatinib, sunitinib, sorafenib, axitinib, และ pazopanib โดยยาเหล่านี้บางอย่างมีหน่วยรับ VEGF เป็นเป้าหมาย ไม่ใช่มี VEGF เป็นเป้าหมายโดยตรง สารประกอบที่เป็นสารภูมิต้านทานทั้งสอง และยากิน 3 อย่างแรกมีวางขายในตลาด ส่วนยากิน 2 อย่างหลังคือ axitinib และ pazopanib ยังอยู่ในระยะการทดลองทางคลินิกเพื่อรักษาโรคนี้ งานปี 2008 ได้สรุปว่า ยาต้าน VEGF ได้แสดงประสิทธิผลในการรักษามะเร็งทั้งในหนูแบบจำลองและในมนุษย์ แต่ "ประโยชน์ที่ได้อย่างดีที่สุดก็ชั่วคราว แล้วก็ตามด้วยการฟื้นคืนการเจริญเติบโตของเนื้องอก" งานศึกษาต่อ ๆ มาเกี่ยวกับผลของยายับยั้ง VEGF ยังแสดงด้วยว่า แม้ยาอาจลดการเติบโตของเนื้องอกหลัก แต่ก็สามารถโปรโหมตการแพร่กระจายของเนื้องอกไปพร้อม ๆ กัน ส่วน AZ2171 (cediranib) ซึ่งเป็นยายับยั้ง tyrosine kinase แบบหลายเป้าหมายได้แสดงว่า มีผลต้านบวม (anti-edema) โดยลดสภาพให้ซึมผ่านได้ และช่วยปรับเส้นเลือดให้เป็นปกติ งานปริทัศน์เป็นระบบของคอเครนปี 2014 ศึกษาประสิทธิผลของ ranibizumab และ pegaptanib ในคนไข้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับอาการบวมในจุดภาพชัด (macular edema) ที่มีเหตุจากการอุดตันของเส้นเลือด คือ central retinal vein ในจอตา คนไข้ที่อยู่ในกลุ่มรักษาทั้งสองกลุ่มดีขึ้นทั้งในการเห็นภาพชัด (visual acuity) และการลดอาการบวมที่จุดภาพชัดในช่วงเวลา 6 เดือน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและAnti-vascular endothelial growth factor therapy · ดูเพิ่มเติม »

Axonotmesis

Axonotmesis ที่เส้นประสาท Axonotmesis เป็นความบาดเจ็บที่เส้นประสาทนอกส่วนกลางคือที่อวัยวะส่วนปลายต่าง ๆ แอกซอนและปลอกไมอีลินจะเสียหายในความบาดเจ็บเช่นนี้ แต่เซลล์ชวานน์, endoneurium, perineurium และ epineurium จะไม่เสียหาย การควบคุมกล้ามเนื้อและการรับความรู้สึกในลำดับต่อจากจุดที่เสียหายจะเสียไปในที่สุด เพราะเส้นประสาทจะเสื่อมเนื่องกับกระบวนการ Wallerian degeneration เหตุการขาดเลือดเฉพาะที่ อาการนี้ปกติจะเป็นผลของความบาดเจ็บหรือความฟกช้ำซึ่งรุนแรงกว่าที่ก่อให้เกิดอาการ neuropraxia Axonotmesis โดยหลักจะเกิดจากความบาดเจ็บที่เกิดจากการยืด (stretch injury) เช่น ข้อเคลื่อนหรือแขนขาหัก ซึ่งทำให้เส้นประสาทขาด ถ้าคนไข้ไม่รู้สึกเจ็บเพราะเหตุเส้นประสาทที่เปิดออก ก็จะสามารถกำหนดจุดบาดเจ็บเนื่องจากความรู้สึกที่ผิดปกติในอวัยวะนั้น ๆ แพทย์อาจจะสั่งการตรวจความเร็วในการส่งสัญญาณประสาท (Nerve Conduction Velocity, NCV) เพื่อตรวจปัญหาเพิ่มยิ่งขึ้น ถ้าวินิจฉัยว่าเป็นอาการนี้ การบันทึกคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ (Electromyography) ที่ทำหลังจากบาดเจ็บ 3-4 สัปดาห์จะแสดงอาการเส้นประสาทขาด (denervation) และกล้ามเนื้อสั่นระริก (fibrillation) หรือการเชื่อมต่อทางประสาทที่ผิดปกติและกล้ามเนื้อที่หดเกร็งผิดปกต.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและAxonotmesis · ดูเพิ่มเติม »

บรรจบ บรรณรุจิ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ร้อยโท ดร.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและบรรจบ บรรณรุจิ · ดูเพิ่มเติม »

บรรณาธิการ

รรณาธิการ (คำสนธิ: บรรณ (หนังสือ) + อธิการ (เจ้าการ); Editor) เป็นบุคคลซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบ ในการจัดทำ รวบรวม ตรวจแก้ คัดเลือก หรือควบคุม เนื้อหาและภาพทั้งหมด ที่จะตีพิมพ์เป็นหนังสือ หรือเป็นสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดว่าจะออกเรื่อยไปตามลำดับ โดยใช้ชื่อเดิม เช่น หนังสือพิมพ์ และนิตยสารต่างๆ และนิยมใช้เป็นคำย่ออย่างไม่เป็นทางการว่า “.ก.” ส่วนคำที่ใช้เรียกกระบวนการลักษณะดังกล่าว คือ บรรณาธิกร (Editing) พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของ บรรณาธิการ ไว้ว่า ผู้จัดเลือกเฟ้น รวบรวม ปรับปรุง และรับผิดชอบเรื่องลงพิมพ์ และในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการพิมพ์ พุทธศักราช 2550 ระบุว่า บรรณาธิการ หมายความถึง บุคคลผู้รับผิดชอบ ในการจัดทำ และควบคุมเนื้อหา ข้อความ หรือภาพ ที่ลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ รวมทั้งวัสดุ หรือเอกสาร ที่แทรกในหนังสือพิมพ์ โดยความเห็นชอบของบรรณาธิการด้วย เมื่อหนังสือพิมพ์ มีความหมายรวมไปถึง นิตยสาร วารสาร สิ่งพิมพ์ ที่เรียกชื่ออย่างอื่น ในทำนองเดียวกัน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและบรรณาธิการ · ดูเพิ่มเติม »

ชะฮาดะฮ์

(الشهادة "ปฏิญาณตน"; หรือ อัชชะฮาดะตาน (الشَهادَتانْ, "คำปฏิญาณทั้งสอง")) เป็นบทประกาศความเชื่อในศาสนาอิสลาม ถึงความศรัทธาในพระเจ้าองค์เดียว และแสดงความยอมรับว่านบีมุฮัมมัดเป็นศาสนทูตของพระเจ้า คำประกาศดังกล่าวในรูปแบบอย่างย่อที่สุด มีใจความดังนี้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและชะฮาดะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชะเอม แก้วคล้าย

'''อาจารย์ชะเอม แก้วคล้าย''' ผู้เชี่ยวชาญด้านจารึกและภาษาบาลีสันสกฤต นายชะเอม แก้วคล้าย (20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485 -) เกิดที่บ้านหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านจารึกอักษรโบราณ ภาษาไทย ภาษาบาลีสันสกฤต และพุทธศาสนา มีผลงานการอ่านและแปลจารึกที่พบในประเทศไทยเป็นจำนวนมาก รวมทั้งการแปลคัมภีร์พุทธศาสนาจากภาษาสันสกฤต ปัจจุบันเป็นข้าราชการบำนาญ แต่ยังมีผลงานด้านภาษาและจารึกอย่างต่อเนื่อง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและชะเอม แก้วคล้าย · ดูเพิ่มเติม »

ชัย มุกตพันธุ์

ตราจารย์ ชัย มุกตพันธุ์ (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2460-25 พฤษภาคม พ.ศ. 2530) เป็นนักวิชาการชาวไทยซึ่งได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งวิชาปฐพีกลศาสตร์แห่งประเทศไทย ในอดีตเป็นเลขาธิการราชบัณฑิตยสถาน อธิบดีกรมอาชีวศึกษา คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลงานสำคัญชิ้นหนึ่งคือ ร่วมเป็นผู้แทนของประเทศไทยในการก่อตั้ง บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร.ป.อ. (องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) ซึ่งปัจจุบันคือ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ศาสตราจารย์ ดร.ชัย มุกตพันธุ์ หรือ ศาสตราจารย์ ชัย มุกตพันธุ์ ยังเคยเป็นอาจารย์ผู้สอน นิสิต และนักศึกษา วิศวกรรม ทั้งปริญญาตรี โท และเอก มากกว่า 40 รุ่น ทั้งชาวไทยและชาวเอเชีย อื่น ๆ นับเป็นปูชนียบุคคลที่สำคัญของชาวไทย ซึ่งประสิทธิประสาทวิชาการ แก่วิศวกร เพื่อให้เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและชัย มุกตพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

บัสรา

ัสรา, แบสรา (Basra) หรือ อัลบัศเราะฮ์ (البصرة) เป็นเมืองหรืออำเภอหลักของจังหวัดบัสรา ประเทศอิรัก ตั้งในเขตชัฏฏุลอะร็อบ ริมอ่าวเปอร์เซีย เป็นที่ตั้งของมัสยิดแห่งแรกนอกคาบสมุทรอาระเบีย และศูนย์กีฬาที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคตะวันออกกลาง คือ บัสราสปอร์ตซิตี ตัวเมืองอยู่ระหว่างประเทศคูเวตและประเทศอิหร่าน ชื่อเมืองมาจากคำภาษาอาหรับ بصر (บัศร์) หรือการแลเห็น เนื่องจากเมืองนี้เป็นเมืองหน้าด่านทางทะเล แต่ไม่มีท่าเรือน้ำลึกเหมือนเมืองอุมกัศร์ (أم قصر) ที่อยู่ใกล้ ๆ กัน อย่างไรก็ตามรัฐบาลอิรักกำหนดให้เมืองบัสราเป็นเมืองเศรษฐกิจสำคัญ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและบัสรา · ดูเพิ่มเติม »

บังแทรก

ังแทรก คือ เครื่องสูงอย่างหนึ่งที่ใช้กั้นบังแดดของพระมหากษัตริย์และเจ้านายชั้นสูงและใช้ในริ้วขบวนพิธีแห่ มีลักษณะคล้ายพัด มีด้ามยาว ทำด้วยผ้าปักดิ้นทองเป็นลวดลายด้วยวิธีปักหักทองขวาง มีโครงเหล็กเส้น บังแทรกมีลักษณะกลม มียอดแหลม ขอบเป็นหยักคล้ายกลีบบัว ด้านบนทำเป็นยอดรูปกระจังเรียวแหลม มีด้ามไม้ยาวหุ้มโลหะ ความยาวตั้งแต่ยอดถึงปลายด้าม 78 เซนติเมตร บังแทรกเมื่อเชิญเข้าริ้วกระบวนแห่จะแทรกอยู่ระหว่างฉัตร 5 ชั้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและบังแทรก · ดูเพิ่มเติม »

ชาวดัตช์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและชาวดัตช์ · ดูเพิ่มเติม »

บาทหลวง

ทหลวงดนัย วรรณะ (อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์) และ ขวา-บาทหลวงสมเกียรติ บุญอนันตบุตร (โรมันคาทอลิก) บาทหลวง (priest)ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 387-8 หมายถึง นักบวชในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ ส่วนนิกายโปรเตสแตนต์เรียก priest ว่า ปุโรหิต.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและบาทหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ชาติพันธุ์วรรณนา

ติพันธุ์วรรณนา (ethnography) เป็นชาติพันธุ์วิทยาและมานุษยวิทยาสาขาหนึ่งที่ศึกษาและอธิบายวัฒนธรรมและพฤติกรรมแบบต่าง ๆ ของกลุ่มคน ระบบ แบบแผนทางสังคม ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี และวิถีชีวิตของกลุ่มคนนั้น ๆ โดยใช้วิธีการคำนึงถึงข้อเท็จจริงแห่งประเด็นศึกษา มากกว่าจะใช้วิธีการตามหลักทั่วไป อาทิ การตั้งสมมุติฐาน การสัมภาษณ์ และการทำแบบสอบถาม.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและชาติพันธุ์วรรณนา · ดูเพิ่มเติม »

บาป

ป หมายถึง การกระทำผิดหลักคำสอนหรือข้อห้ามในศาสนา ความชั่วร้าย ความมัวหมอง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและบาป · ดูเพิ่มเติม »

ชุมชนแออัด

มชนแออัดที่ใหญ่ที่สุด 30 อันดับแรกของโลก ชุมชนแออัด คีเบรา ในเคนยา ชุมชนแออัด ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน สาขานิติศาสตร์ ปรับปรุง 11 มี..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและชุมชนแออัด · ดูเพิ่มเติม »

ชนชั้นกระฎุมพี

กระฎุมพี (/กฺระดุมพี/) เป็นชนชั้นทางสังคมกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอยู่ในกลุ่มชนชั้นกลางหรือชนชั้นพ่อค้าวาณิช ซึ่งได้สถานะทางสังคมหรืออำนาจมาจากหน้าที่การงาน การศึกษา หรือความมั่งมี (ซึ่งตรงกันข้ามกับพวกอภิชน) เป็นชนชั้นที่มีฐานะจากการค้าขายหรืองานช่างฝีมือ ไม่มีที่ดินเป็นของตนเอง ซึ่งอาจหมายรวมถึง นายทุน นายทุนน้อย คนชั้นกลาง ส่วน "ไพร่กระฎุมพี" นั้น หมายถึงชนชั้นที่อยู่ต่ำกว่ากระฎุมพีแต่สูงกว่าชนชั้นที่ต่ำที่สุดในสังคม เป็น "พลเมืองที่มีเงินพอใช้เลี้ยงชีวิตไม่เป็นทาสบุคคลผู้ใด"ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ,, มติชน, 1 กันยายน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและชนชั้นกระฎุมพี · ดูเพิ่มเติม »

ฟองมัน

ฟองมัน หรือ ตาไก่ (๏) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนที่นิยมใช้ในหนังสือไทยสมัยโบราณ ใช้เมื่อขึ้นต้นบท ตอน หรือเรื่อง ทั้งคำประพันธ์ร้อยกรองและร้อยแก้ว โดยไม่จำเป็นต้องย่อหน้าหรือขึ้นบรรทัดใหม่ อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันนี้นิยมใช้ฟองมันเมื่อขึ้นต้นบทร้อยกรองเท่านั้น นอกจากเครื่องหมายฟองมันที่เป็นรูปวงกลมแล้ว ในสมัยโบราณยังนิยมใช้เครื่องหมาย ฟองมันฟันหนู นั่นคือ มีเครื่องหมาย ฟันหนู (") วางอยู่บนฟองมัน ใช้กำกับเมื่อจะขึ้นต้นบท หรือตอน โดยมีชื่อเรียกอื่นอีก เช่น ฟันหนูฟองมัน หรือ ฝนทองฟองมัน บางแห่งใช้เครื่องหมายวงกลมเล็ก มีฟันหนูวางอยู่ข้างบน เรียกว่า ฟองดัน ก็มี ฟองมันไม่มีปรากฏบนแป้นพิมพ์ภาษาไทย แต่มีอยู่ในรหัสอักขระ TIS 620 ที่ 0xEF (239) และรหัสยูนิโคดที่ U+0E4F.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและฟองมัน · ดูเพิ่มเติม »

พญามังราย

ญามังรายประเสริฐ ณ นคร; 2549, กุมภาพันธ์: 267.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพญามังราย · ดูเพิ่มเติม »

พญานาค

ญานาค (नागराज นาคราช) หมายถึง นาคผู้เป็นใหญ่ นาคผู้เป็นหัวหน้า ตามความเชื่อในศาสนาแบบอินเดีย คล้ายกับพญามังกร (龍王 หลงหวัง) ตามคติศาสนาพื้นบ้านจีน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพญานาค · ดูเพิ่มเติม »

พรหมัน

ตามความเชื่อในศาสนาฮินดู พรหมัน (อ่านว่า พฺรม-มัน; ब्रह्मन्) คือความเป็นจริงสูงสุด เป็นสิ่งสัมบูรณ์ ไม่มีรูปร่าง ไร้ขีดจำกัด เป็นพระวิญญาณบริสุทธิ์ เป็นที่มาและจุดหมายปลายทางของสรรพสิ่งในสกลจักรวาล คัมภีร์อุปนิษัทระบุว่าสรรพสัตว์รับรู้พรหมันได้ใน 2 ลักษณะ คือ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพรหมัน · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมมหาราชวัง

ระบรมมหาราชวัง หรือพระราชวังพระนคร เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน พระบรมมหาราชวังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับที่ 16 ของโลก โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมในปี พ.ศ. 2549 เป็นจำนวนถึง 8,995,000 คน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระบรมมหาราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาอุปราช

ระมหาอุปราช เป็นตำแหน่งรัชทายาท พบในประเทศพม่า ล้านนา ลาว และสยาม.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระมหาอุปราช · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

ระมหาโพธิวงศาจารย์ นามเดิม ทองดี สุรเดช ฉายา สุรเตโช เป็นราชบัณฑิต พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร หัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ 8 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช) · ดูเพิ่มเติม »

พระยม

ระยม พระยมราช หรือ มัจจุราช คือเทพเจ้าแห่งนรกและความตาย ตามความเชื่อในศาสนาแบบอินเดี.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระยม · ดูเพิ่มเติม »

พระยศเจ้านายไทย

ในประเทศไทย พระยศเจ้านาย คือพระอิสริยยศของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระยศเจ้านายไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระยางั่วนำถุม

ระยางั่วนำถุม เป็นพระมหากษัตริย์สุโขทัยลำดับที่ 5 (พ.ศ. 1866 - พ.ศ. 1890) เป็นพระราชโอรสพ่อขุนบานเมือง สันนิษฐานกันว่าพ่อขุนศรีอินทราทิตย์คงอภิเษกสมรสกับพระธิดาของพ่อขุนศรีนาวนำถุม เหตุที่สันนิษฐานเช่นนั้นเนื่องจากเป็นธรรมเนียมของคนสมัยนั้น ที่นิยมเอาชื่อบรรพบุรุษมาตั้งเป็นชื่อหลาน พระยางั่วนำถุมเป็นกษัตริย์ครองเมืองศรีสัชนาลัยสุโขทัยมาก่อนตามจารึกหลักที่ 15 แต่ขึ้นเป็นกษัตริย์ต่อจากพระยาเลอไทยซึ่งเป็นพระบิดาของพระยาลิไทยกษัตริย์ลำดับที่ 6 เรื่องราวของพระยางั่วนำถุมยังคลุมเครือเนื่องจากมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไม่มาก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระยางั่วนำถุม · ดูเพิ่มเติม »

พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)

ระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) (28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2414 — 30 เมษายน พ.ศ. 2479) เป็นอดีตข้าราชการไทยสังกัดกระทรวงมหาดไทย ผู้ดำรงตำแหน่งเป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า มีชื่อเสียงจากความรอบรู้ในประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา และการเป็นผู้บุกเบิกการค้นคว้าทางโบราณคดีที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์กรุงศรีอ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์

มหาอำมาตย์โท พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส หรือนามปากกว่า น.ม.. (10 มกราคม พ.ศ. 2419 – 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) ทรงเป็นปราชญ์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นพระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย ทรงเป็นต้นราชสกุล "รัชนี" สิ้นพระชนม์เมื่อวันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชาคณะ

ในการพระราชทานสมณศักดิ์ชั้นพระราชาคณะขึ้นไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จไปพระราชทานด้วยพระองค์เองหรือไม่ก็โปรดเกล้าให้ผู้แทนพระองค์เป็นผู้มอบแทน พัดยศสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรอง พระราชาคณะ หมายถึงพระภิกษุที่ได้รับสถาปนาให้มีสมณศักดิ์ตั้งแต่ชั้นสามัญจนถึงชั้นสมเด็จพระราชาคณะ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเรียกว่าพระสังฆราชาคณะ หมายความว่าเจ้าคณะผู้ปกครองสงฆ์ ต่อมาในสมักรุงรัตนโกสินทร์เปลี่ยนเป็นพระราชาคณะ ความหมายยังคงเดิม มีคำนำหน้าราชทินนามว่าพระ แต่ภาษาชาวบ้านเรียกกันว่าเจ้าคุณหรือท่านเจ้าคุณ ถ้าเป็นสมเด็จพระราชาคณะเรียกว่าท่านเจ้าประคุณ แยกเป็นลำดับดังนี้ พัดยศสมณศักดิ์พระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระราชาคณะ · ดูเพิ่มเติม »

พระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์

"''การรับเป็นมนุษย์''" เป็นส่วนหนึ่งของวัฏจักรชีวิตของพระเยซู โดยมีพระตรีเอกภาพอยู่ตรงกลางภาพ ฟรีโดลิน ไลเบอร์ วาดไว้ราวคริสต์ศตวรรษที่ 19 พระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์ (ศัพท์ราชบัณฑิตยสถาน) หรือ พระวจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์ (ศัพท์โรมันคาทอลิก) หรือ พระวาทะทรงเกิดเป็นมนุษย์ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Incarnation of the Word) ในศาสนาคริสต์หมายถึงการที่พระเยซูซึ่งเชื่อว่าเป็นพระเจ้าพระบุตรหรือพระวจนะ ได้เสด็จลงมาบนโลกเพื่อรับสภาพมนุษย์ผ่านทางครรภ์ของนางมารีย์ (บางคริสตจักร เช่น โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ จึงยกย่องพระนางมารีย์พรหมจารีเป็นพระมารดาพระเจ้าด้วย) เรื่องพระเจ้ามารับสภาพมนุษย์ถือเป็นหลักคำสอนทางเทววิทยาที่หลักข้อเชื่อไนซีนให้การรับรอง โดยถือว่าพระเยซูเป็นพระบุคคลที่สองในพระเป็นเจ้าซึ่งเป็นตรีเอกภาพ ได้มารับสภาพมนุษย์โดยที่ธรรมชาติพระเป็นเจ้าเดิมยังดำรงอยู่ในตัว หลักข้อเชื่อนี้จึงถือว่าพระเยซูทรงเป็นทั้งมนุษย์และพระเป็นเจ้าโดยสมบูรณ์ ดังที่พระวรสารนักบุญยอห์นระบุว่า "พระวจนะเป็นพระเจ้...

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระสังฆาธิการ

ระสังฆาธิการ หมายถึง พระภิกษุผู้มีตำแหน่งในการปกครองคณะสงฆ์ไทย นับตั้งแต่ผู้ช่วยเจ้าอาวาสขึ้นไปจนถึงเจ้าคณ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระสังฆาธิการ · ดูเพิ่มเติม »

พระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)

ระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป พระสารประเสริฐ นามเดิม ตรี นาคะประทีป (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2432 - 4 มิถุนายน พ.ศ. 2488) ผู้เชี่ยวชาญวิชาอักษรศาสตร์ภาษาไทย ผู้ร่วมแปลและถ่ายหนังสือหิโตปเทศจากภาษาอังกฤษร่วมกับพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) และได้ร่วมงานกันต่อเนื่องมาเป็นเวลานานและใช้นามปากกาที่มีชื่อเสียงร่วมกันคือ “เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป”.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) · ดูเพิ่มเติม »

พระอภัยมณี

ระอภัยมณี เป็นวรรณคดีชิ้นเยี่ยมเรื่องหนึ่งของไทย ผลงานชิ้นเอกของพระสุนทรโวหาร หรือสุนทรภู่ กวีเอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประพันธ์ขึ้นเป็นนิทานคำกลอนที่มีความยาวมากถึง 94 เล่มสมุดไทย เมื่อพิมพ์เป็นเล่มหนังสือ จะมีความยาวกว่าหนึ่งพันสองร้อยหน้า ระยะเวลาในการประพันธ์ไม่มีการระบุไว้อย่างแน่ชัด แต่คาดว่าสุนทรภู่เริ่มประพันธ์ราวปี..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระอภัยมณี · ดูเพิ่มเติม »

พระอรหันต์

ในศาสนาพุทธ พระอรหันต์ (พระ-อะ-ระ-หัน; arahant; अर्हत् arhat) คือ พระอริยบุคคลชั้นสูงสุด สามารถละสังโยชน์ได้ครบ 10 ประการ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระอรหันต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระอสีติมหาสาวก

ระอสีติมหาสาวก คือ พระสาวกผู้ใหญ่ 80 องค์ของพระพุทธเจ้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระอสีติมหาสาวก · ดูเพิ่มเติม »

พระอินทร์

http://www.school.net.th/library/create-web/10000/literature/10000-5627.html | สถานบำบวงหลัก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์

ระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์ เป็นพระที่นั่งตึก2ชั้นศิลปกรรมแบบยุโรปโดยพระที่นั่งองค์นี้สร้างเชื่อมต่อกับพระที่นั่งจักรีมหาปราสาททางด้านทิศตะวันออก โดยมีชื่อเรียกว่าห้องโต๊ะ ใช้สำหรับประกอบพระราชพิธีสำคัญๆต่างๆและใช้สำหรับพระราชทานเลี้ยงรับรอง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งอมรพิมานมณี

ระที่นั่งอมรพิมานมณี เป็นพระที่นั่งที่สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระที่นั่งองค์1ในหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ปัจจุบันถูกรื้อลงแล้ว.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระที่นั่งอมรพิมานมณี · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งเทวารัณยสถาน

ระที่นั่งเทวารัณยสถาน เป็นพระที่นั่งที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นส่วนหนึ่งของหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระที่นั่งเทวารัณยสถาน · ดูเพิ่มเติม »

พระปรมาภิไธย (พระมหากษัตริย์ไทย)

อักษรพระปรมาภิไธยย่อ มปร ในตราสัญลักษณ์ ครบ 200 ปี แห่งการพระบรมราชสมภพ ตราสัญลักษณ์พระปรมาภิไธยย่อ ภปร ตราสัญลักษณ์พระปรมาภิไธยย่อ วปร อักษรพระปรมาภิไธยย่อ จปร ในตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรียนวัดบวรนิเวศ พระปรมาภิไธย (พระ+ปรม+อภิไธย แปลว่า ชื่ออันประเสริฐยิ่ง) ศ.ดร.กาญจนา นาคสกุล, จาก เว็บไซต์ ราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง พระนามของพระมหากษัตริย์ราชเจ้า ตามที่จารึกในพระสุพรรณบัฏ หลังจากที่ได้มีพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว ซึ่งเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 1 และใช้มาจนถึงพระมหากษัตริย์พระองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระปรมาภิไธย (พระมหากษัตริย์ไทย) · ดูเพิ่มเติม »

พระโพธิสัตว์

ระปรัชญาปารมิตา ชวา ศิลปะศรีวิชัย พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ ศิลปะขอม วัดโทได พระโพธิสัตว์ (बोधिसत्त्व bodhisattva; बोधिसत्त bodhisatta) หมายถึง ผู้ที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า คำว่า "โพธิสัตว์" แปลว่า ผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ ทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายานเชื่อว่ามีพระโพธิสัตว์เป็นจำนวนมาก แต่รายละเอียดความเชื่อแตกต่างกันไป.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

ตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 5 กันยายน พ.ศ. 2519) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานสมัชชาองค์การสหประชาชาติ และอดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน รวมถึงเป็นผู้ร่วมสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และทรงเสนอให้คณะรัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง) พระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศด้วยคำบาลีและสันสกฤต สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กันยายน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเครื่อง

ระเครื่องราง นิยมเรียกโดยย่อว่า พระเครื่อง หมายถึง พระพุทธรูปขนาดเล็ก สร้างไว้สำหรับบรรจุไว้ในเจดีย์ เพื่อเป็นที่ระลึกถึงพระพุทธเจ้า อาจจะรวมถึงรูปสมมติขนาดเล็กของพระสงฆ์อริยบุคคล พระโพธิสัตว์ และเทพเจ้าด้ว.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพระเครื่อง · ดูเพิ่มเติม »

พหุเทวนิยม

ทพอียิปต์ พหุเทวนิยม (polytheism) เป็นการบูชาหรือความเชื่อในพระเป็นเจ้าหรือเทพเจ้าหลายองค์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 427 ถือเป็นเทวนิยมแบบหนึ่ง ซึ่งตรงข้ามกับเอกเทวนิยมที่เชื่อในพระเป็นเจ้าองค์เดียว ผู้ที่เชื่อแบบพหุเทวนิยมไม่ได้บูชาเทพเจ้าทุกองค์เสมอกัน แต่อาจบูชาเฉพาะองค์ใดองค์หนึ่งเป็นพิเศษก็ได้ (เรียกว่าอติเทวนิยม) ศาสนาประเภทพหุเทวนิยม เช่น พหุเทวนิยมกรีกและโรมัน เทพปกรฌัมสลาฟ ศาสนาฮินดู ศาสนาชินโต ศาสนาพื้นบ้านจีน ลัทธิเต๋า เป็นต้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพหุเทวนิยม · ดูเพิ่มเติม »

พิธีกรรม

ีกรรม หรือ ศาสนพิธี (Ritual) หมายถึง การบูชา แบบอย่างหรือแบบแผนต่าง ๆ ที่ปฏิบัติในทางศาสน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพิธีกรรม · ดูเพิ่มเติม »

พิธีสำเร็จการศึกษา

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานปริญญาบัตร แก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีประจำปีการศึกษา 2520 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีสำเร็จการศึกษา (graduation ceremony) เป็นพิธีการพิเศษซึ่งสถาบันอุดมศึกษาจัดขึ้นเพื่อมอบปริญญาบัตรแก่บัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาประจำปีอย่างเป็นทางการ โดยเริ่มจัดให้มีขึ้นในต่างประเทศมาก่อน เช่นสหรัฐอเมริกาหรือหลายประเทศในทวีปยุโรป ต่อมาประเทศไทยจึงเริ่มรับเอาประเพณีดังกล่าวเข้ามา โดยกราบบังคมทูลเชิญพระมหากษัตริย์ เพื่อเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน จึงบัญญัติศัพท์ให้เรียกว่า พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ทั้งนี้ตั้งแต..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพิธีสำเร็จการศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

พิเชฏฐ์ กาลามเกษตร์

รองศาสตรจารย์พิเชฏฐ์ กาลามเกษตร์ เป็นนักศึกษาระดับปริญญาโทรุ่นแรกของสาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบซึ่งบุกเบิกขึ้นมา ณ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยท่านร.ดร.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพิเชฏฐ์ กาลามเกษตร์ · ดูเพิ่มเติม »

พุทธวงศ์

ทธวงศ์ (พุทฺธวํส) หมายถึง สายของพระพุทธเจ้า พระโคตมพุทธเจ้าได้ตรัสเรื่องพุทธวงศ์ไว้คราวประทับ ณ นิโครธาราม ระหว่างการเสด็จนิวัตกรุงกบิลพัสดุ์ (หลังตรัสรู้) การสืบสายพุทธวงศ์ไม่ได้มาจากการสืบสายโลหิตหรือการชิงอำนาจปราบดาภิเษกอย่างการสืบราชสมบัติ แต่มาจากสั่งสมบำเพ็ญบารมีและรับพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าในอดีต ในการสังคายนาครั้งที่ 1 ในศาสนาพุทธ พระอรหันต์สาวกที่ร่วมสังคายนาได้จัดให้เรื่อง "พุทธวงศ์" นี้เป็นคัมภีร์หนึ่งในหมวดอปทาน ขุททกนิกาย พระสุตตันตปิฎกในพระไตรปิฎกภาษาบาลี ศาสนาพุทธเชื่อว่าพระพุทธเจ้าในอดีตมีจำนวนมากมายนับไม่ถ้วน แต่พระพุทธเจ้าในอดีตที่พระโคตมพุทธเจ้าทรงนับเข้าในพุทธวงศ์ของพระองค์มีอยู่ 24 พระองค์ เพราะ 24 พระองค์นี้เป็นผู้ประทานพยากรณ์ว่าพระโคตมโพธิสัตว์จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต เมื่อรวมพระโคตมพุทธเจ้าด้วย จึงมีพระพุทธเจ้าทั้งสิ้น 25 พระองค์ในพุทธวง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพุทธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พุทธศาสนิกชน

ทธศาสนิกชน (Buddhist) แปลว่า คนที่นับถือศาสนาพุทธ เรียกอีกอย่างว่า พุทธมามกะ ซึ่งหมายถึง ผู้ประกาศตนว่าพระพุทธเจ้าเป็นพระบรมศาสดาของตน พุทธศาสนิกชน หมายถึง คนที่ยินดีที่จะปฏิบัติตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา เต็มใจที่จะปฏิบัติตามหลักธรรมคือ เว้นจากการทำความชั่ว ทำแต่ความดี และทำจิตใจให้หมดจดจากกิเลส ด้วยการบำเพ็ญบุญในพระพุทธศาสนา เช่น ให้ทาน รักษาศีล และเจริญภาวนาเพื่อขัดเกลา อบรม บ่มเพาะกาย วาจา ใจให้งดงามเรียบร้อย ให้สงบนิ่ง และให้พ้นจากความเศร้าหมองต่างๆ พุทธศาสนิกชน ที่พึงประสงค์คือผู้ปฏิบัติตนให้เป็นผู้รู้ ผู้ฉลาด ตื่นตัวอยู่เสมอ ไม่งมงาย ไม่ประมาทมัวเมา ไม่หลงไปตามกระแสกิเล.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพุทธศาสนิกชน · ดูเพิ่มเติม »

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน

ห้องประชุมภายในราชบัณฑิตยสถาน (ที่ทำการเดิม) หลังการประชุมชำระพจนานุกรม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เป็นพจนานุกรมอธิบายศัพท์ภาษาไทยที่ราชบัณฑิตยสภา (หรือราชบัณฑิตยสถานเดิม) จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการเขียนหนังสือไทยให้เป็นระเบียบเดียวกัน ไม่ลักลั่น โดยมีการปรับปรุงแก้ไขตามลำดับเรื่อยมา เมื่อราชบัณฑิตยสภาจัดพิมพ์พจนานุกรมรุ่นหนึ่ง ๆ แล้วเสร็จ จะเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ออก ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ระเบียบการใช้ตัวสะกด ให้หนังสือราชการและการศึกษาเล่าเรียนใช้ตัวสะกดตามพจนานุกรมรุ่นนั้น ๆ เสมอไป.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน · ดูเพิ่มเติม »

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542

หน้าปกพจนานุกรม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554

หน้าปกพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ฉบับพิมพ์ครั้งแรก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พจนานุกรมกฎหมาย

แถวพจนานุกรมกฎหมายฉบับภาษาอังกฤษและภาษารัสเซีย พจนานุกรมกฎหมาย (law dictionary) เป็นพจนานุกรมประเภทหนึ่งซึ่งจัดทำขึ้นเพื่อให้นิยามสำหรับบรรดาคำที่ใช้ในทางกฎหมาย พจนานุกรมมีหลายรูปแบบแล้วแต่เกณฑ์การจัด เช่น เกณฑ์ภาษา ได้แก่ พจนานุกรมแบบเอกภาษา (monolingual) และแบบทวิภาษา (bilingual) เป็นต้น, เกณฑ์ความครอบคลุม ได้แก่ พจนานุกรมแบบครอบจักรวาล (single-field dictionary) ซึ่งครอบคลุมสาขาทั้งหมดในทางกฎหมาย ขณะอันซึ่งครอบคลุมบางสาขาจะเรียก พจนานุกรมแบบสาขาย่อย (sub-field dictionary), และเกณฑ์การกำหนดศัพท์ ได้แก่ แบบขั้นสูง (maximizing dictionary) คือที่กำหนดศัพท์ครอบคลุมทุกสาขาของกฎหมาย และแบบขั้นต่ำ (minimizing dictionary) เป็นต้น แซนโดร นีลเซน (Sandro Nielsen) ว่าใน ค.ศ. 1994 (พ.ศ. 2537) ว่า พจนานุกรมกฎหมายสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้หลายแขนง ทั้งช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจในบทบัญญัติที่ตนต้องการทำความเข้าใจด้วย เรียกว่าเป็นประโยชน์ในทางสื่อสาร (communicative benefit) และช่วยให้ผู้อ่านได้รับสารประโยชน์และความรู้ทางกฎหมายตามแต่ความสนใจ เรียกว่าเป็นประโยชน์ในทางเรียนรู้ (cognitive benefit) ซึ่งประโยชน์เหล่านี้มักปรากฏในพจนานุกรมกฎหมายแบบเอกภาษามากกว่า ขณะที่แบบทวิภาษานั้นมักประกอบด้วยคำศัพท์หรือคำอธิบายศัพท์ในสองภาษา อันจะช่วยยังความรู้เกี่ยวกับกฎหมายในภาษาต่างประเทศได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะเกี่ยวกับกฎหมายของต่างประเทศ ตลอดจนช่วยในการแปลกฎหมายจากภาษาหนึ่งเป็นภาษาหนึ่งด้วย อนึ่ง ตำราศัพทวิทยาทางกฎหมาย (legal terminology textbook) จะต่างจากพจนานุกรมกฎหมายซึ่งมีการเรียงคำศัพท์และให้คำอธิบายศัพท์ตามลำดับอักษร ตรงที่ตำราศัพทวิทยาจะลำดับศัพท์ตามหมวดหมู่หรือหัวเรื่องเป็นต้น ซึ่งผู้สนใจในคำศัพท์กฎหมายในหมวดหมู่หนึ่ง ๆ มักเปิดตำราศัพทวิทยาทางกฎหมายมากกว่าพจนานุกรมกฎหมาย สำหรับพจนานุกรมกฎหมายฉบับแรกของประเทศไทย คือ พจนานุกรมกฎหมายของ ขุนสมาหารหิตะคดี (โป๊ โปรคุปต์) ซึ่งมีคำโฆษณาบนปกว่า "พจนานุกรมกฎหมายเล่มแรกของประเทศไทย บรรจุคำตั้งแต่โบราณกาลถึงปัจจุบันกาล สำหรับความสะดวกในผู้ใคร่ศึกษาและผู้ต้องการทราบ" อย่างไรก็ดี ที่ว่า "ปัจจุบันกาล" บนปกนั้นหมายถึงกาลที่พจนานุกรมพิมพ์ขึ้น คือ พ.ศ. 2474 เท่านั้น แม้ว่าจะได้รับการพิมพ์ซ้ำเป็นครั้งที่สองใน พ.ศ. 2549 แต่พจนานุกรมฉบับนี้ยังมิได้รับการปรับปรุงนับแต่บัดนั้นจนบัดนี้ อย่างไรก็ดี ยังมีพจนานุกรมกฎหมายอีกหลายเล่มในภาษาไทยที่มีการปรับปรุงเสมอ เช่น พจนานุกรมศัพท์กฎหมายไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฯลฯ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพจนานุกรมกฎหมาย · ดูเพิ่มเติม »

พจนานุกรมภาษาไทย

นานุกรมภาษาไทย หมายถึงพจนานุกรมที่เรียงลำดับตามดัชนีของศัพท์ภาษาไทย หรือพจนานุกรมที่ให้การจำกัดความเป็นภาษาไทย หรือทั้งสองอย่าง พจนานุกรมภาษาไทยที่เป็นทางการของประเทศไทยในปัจจุบันคือ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพจนานุกรมภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

พจนานุกรมคำใหม่

หน้าปกพจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 1 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พจนานุกรมคำใหม่ เป็นพจนานุกรมภาษาไทยที่ราชบัณฑิตยสถานเรียบเรียงขึ้น มีเนื้อหารวบรวมและให้นิยามคำไทยต่าง ๆ ที่ไม่ปรากฏใน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพจนานุกรมคำใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

พงศาวดาร

งศาวดาร คือบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับประเทศชาติหรือพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของประเทศชาตินั้น ๆ พงศาวดารในฐานะหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ปัจจุบันมีการถกเถียงกันเรื่องความน่าจะเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่า เป็นหลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานชั้นรอง เพราะมีการเขียนพงศาวดารหลายฉบับในลักษณะที่คล้ายกันแต่แตกต่างกันในเนื้อหาและรายละเอียด ประกอบกับการใช้ศักราชในพงศาวดารไม่สอดคล้องกัน กล่าวคือ บ้างใช้มหาศักราช บ้างใช้จุลศักราช และพงศาวดารมีการเขียนขึ้นภายหลังเหตุการณ์ เช่น พระราชพงศาวดารฉบับเถื่อน ซึ่งเขียนขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แต่กล่าวถึงก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา เป็นต้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพงศาวดาร · ดูเพิ่มเติม »

พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

อขุนรามคำแหงมหาราช หรือ พญาร่วง หรือ พระบาทกมรเตงอัญศรีรามราช เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 3 ในราชวงศ์พระร่วงแห่งราชอาณาจักรสุโขทัย เสวยราชย์ประมาณ พ.ศ. 1822 ถึงประมาณ พ.ศ. 1841 พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกของไทยที่ได้รับการยกย่องเป็น "มหาราช" ด้วยทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจอันทรงคุณประโยชน์แก่แผ่นดิน ทรงรวบรวมอาณาจักรไทยจนเป็นปึกแผ่นกว้างขวาง ทั้งยังได้ทรงประดิษฐ์ตัวอักษรไทยขึ้น ทำให้ชาติไทยได้สะสมความรู้ทางศิลปะ วัฒนธรรม และวิชาการต่าง ๆ สืบทอดกันมากว่าเจ็ดร้อยปี:3.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและพ่อขุนรามคำแหงมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายตราสามดวง

กฎหมายตราสามดวง ตราประจำตำแหน่ง 3 ดวงที่ประทับในกฎหมายตราสามดวง กฎหมายตราสามดวง คือ ประมวลกฎหมายในรัชกาลที่ 1 เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชำระกฎหมายเก่าที่มีมาแต่ครั้งโบราณ แล้วรวบรวมเป็นประมวลกฎหมายขึ้นเมื่อจุลศักราช 1166 ตรงกับ พ.ศ. 2347 โปรดให้เรียกว่า “กฎหมายตราสามดวง” ให้อาลักษณ์ชุบเส้นหมึกสามชุด แต่ละชุดประทับตรา 3 ดวง คือ ตราพระราชสีห์ (สำหรับตำแหน่งสมุหนายก) 1 ตราพระคชสีห์ (สำหรับตำแหน่งสมุหพระกลาโหม) 1 และตราบัวแก้ว (สำหรับตำแหน่งโกษาธิบดี หมายถึงพระคลัง ซึ่งดูแลรวมทั้งกิจการด้านต่างประเทศ) ไว้ทุกเล่มเก็บไว้ ณ ห้องเครื่องชุดหนึ่ง หอหลวงชุดหนึ่ง และศาลหลวงอีกชุดหนึ่ง กฎหมายตราสามดวงนี้ ได้ใช้อาลักษณ์หลายท่านเขียนขึ้น โดยแยกเป็น “ฉบับหลวง” และ “ฉบับรองทรง” โดยสันนิษฐานว่า สำหรับฉบับหลวง ชุดหนึ่งเป็นสมุดไทย 41 เล่ม เมื่อรวม 3 ชุด จึงมีทั้งสิ้น 123 เล่ม แต่เท่าที่พบ ในปัจจุบันเหลืออยู่เพียง 79 เล่ม โดยเก็บไว้ที่กระทรวงยุติธรรม 37 เล่ม และที่หอสมุดแห่งชาติ 41 เล่ม ส่วนอีก 44 เล่ม ไม่ทราบว่าขาดหายไปด้วยประการใด ส่วน ฉบับรองทรง นั้น ก็คือ กฎหมายตราสามดวงที่อาลักษณ์ชุดเดียวกับที่เขียนฉบับหลวง ได้เขียนขึ้น โดยเขียนในเวลาไล่เลี่ยกัน โดยฉบับหลวง เขียนในปีฉลู..1167 (พ.ศ. 2348) ส่วนฉบับรองทรงเขียนขึ้นในปี..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและกฎหมายตราสามดวง · ดูเพิ่มเติม »

กระสือ

กระสือ กระสือ เป็นชื่อผีชนิดหนึ่งที่ถือว่าเข้าสิงในตัวผู้หญิงและชอบกินของโสโครก คู่กับ "กระหัง" ซึ่งเข้าสิงในตัวผู้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและกระสือ · ดูเพิ่มเติม »

กระดอม

กระดอม ((Lour.) Merr. หรือ Gymnopetalum cochinchinense (Lour.) Kurz) เป็นพืชชนิดหนึ่งในสกุล Gymnopetalum ซึ่งจัดอยู่ในวงศ์แตง (Cucurbitaceae) มีลักษณะเป็นไม้เลื้อย กระดอมสามารถนำมาใช้เป็นสมุนไพรอันปรากฏในตำรับตำรายาโบราณของไทย โดยเฉพาะส่วนของเมล็ด ต้นกระดอมขึ้นอยู่ทั่วไปตามที่รกร้าง มีถิ่นกระจายพันธุ์ในแถบประเทศอินเดีย ศรีลังกา พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และมาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบได้ทั่วทุกภาคราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและกระดอม · ดูเพิ่มเติม »

กระด้างภัณฑ์และละมุนภัณฑ์

กระด้างภัณฑ์ และ ละมุนภัณฑ์ เป็นคำศัพท์ภาษาไทยที่เข้าใจผิดกันว่า ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติไว้สำหรับ ฮาร์ดแวร์ (hardware) และซอฟต์แวร์ (software) ตามลำดั.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและกระด้างภัณฑ์และละมุนภัณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง

วนประกอบและทางเดินแสงของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงhttp://www.garyseronik.com/?q.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง · ดูเพิ่มเติม »

กวางชะมดไซบีเรีย

กวางชะมดไซบีเรีย (Siberian musk deer, Кабарга, 原麝, 사향노루) เป็นกวางชะมด (Moschidae) ชนิดหนึ่ง มีตัวสั้นป้อม ขนตามลำตัวมีสีน้ำตาลแดง หูตั้ง หางสั้น มีแถบยาวสีขาว 2 แถบ ขนานกันตามความยาวของลำคอ ที่ตะโพกและหลังช่วงท้ายมีจุดสีขาว ไม่มีเขาทั้งตัวผู้และตัวเมีย ตัวผู้มีเขี้ยวบนยาวประมาณ 7 เซนติเมตร โผล่ออกมาจากปากเห็นได้ชัดเจน มีต่อมผลิตกลิ่นอยู่ที่ใต้ท้องระหว่างสะดือกับอวัยวะเพศ พบกระจายพันธุ์ในเอเชียเหนือ ในป่าไทกาทางตอนใต้ของไซบีเรีย และพบในบางส่วนของมองโกเลีย, มองโกเลียใน, แมนจูเรีย และคาบสมุทรเกาหลี ออกหากินตามลำพังเวลาเช้ามืดหรือพลบค่ำ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและกวางชะมดไซบีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

กะเทย

กะเทย ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายว่า "คนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง, คนที่มีจิตใจและกิริยาอาการตรงข้ามกับเพศของตน; ผลไม้ที่เมล็ดลีบ เช่น ลำไยกะเทย" ส่วนความหมายทางแพทยศาสตร์ หมายถึง คนที่มีอวัยวะของทั้งผู้หญิงและผู้ชายอยู่ในคน ๆ เดียวกัน ส่วนกะเทยที่มีจิตใจตรงข้ามกับเพศของตน ทางการแพทย์เรียกกลุ่มนี้ว่า "ลักเพศ".

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและกะเทย · ดูเพิ่มเติม »

กันภัยมหิดล

กันภัยมหิดล หรือ กันภัย เป็นชื่อไม้เถาชนิด Afgekia mahidolae Burtt et Chermsir.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและกันภัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

กาญจนา นาคสกุล

ตราจารย์กิตติคุณ ดร.กาญจนา นาคสกุล ศาสตราจารย์กิตติคุณ กาญจนา นาคสกุล ราชบัณฑิตสำนักศิลปกรรม ประเภทวรรณศิลป์ สาขาภาษาไทย เป็นผู้เชี่ยวชาญภาษาและวรรณคดีไทย รวมทั้งภาษาและวรรณคดีเขมรมากที่สุดคนหนึ่งของประเทศ มีผลงานด้านการเขียนเกี่ยวกับภาษาไทยและภาษาเขมรเป็นจำนวนมาก กาญจนาเป็นที่รู้จักกันมากยิ่งขึ้นเมื่อจัดรายการ "ภาษาไทยวันละคำ" โดยหยิบยกคำภาษาไทยที่คนไทยใช้กันผิดพลาดมากมาอธิบายเพื่อให้เกิดความเข้าใจและใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องยิ่งขึ้น ในปี 2555 กาญจนาได้เสนอแนวทางการปรับปรุงคำยืมจากภาษาอังกฤษ 176 คำ แต่ได้ถูกคัดค้าน และทางราชบัณฑิตยสถานได้ ประกาศว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและกาญจนา นาคสกุล · ดูเพิ่มเติม »

การลงโทษทางกาย

การลงโทษทางกาย(corporal punishment) คือ การลงโทษโดยการเฆี่ยนตีตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพื่อทำให้เกิดความเจ็บปวด อาจใช้ไม้เรียว สายหนัง หรือเข็มขัด เช่นการลงโทษเด็กนักเรียนในโรงเรียนหรือแม้แต่ที่บ้าน ซึ่งปัจจุบันหลายประเทศถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย อีกทั้งยังเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนประการหนึ่ง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการลงโทษทางกาย · ดูเพิ่มเติม »

การวิจัย

อลิน เลวี วอร์เนอร์ (Olin Levi Warner) การวิจัยชูคบเพลิงแห่งความรู้ (พ.ศ. 2439) ห้องสมุดรัฐสภาสหรัฐฯ อาคารโทมัส เจฟเฟอร์สัน, วอชิงตัน ดีซี การวิจัย (research) หมายถึงการกระทำของมนุษย์เพื่อค้นหาความจริงในสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่กระทำด้วยพื้นฐานของปัญญา ความมุ่งหมายหลักในการทำวิจัยได้แก่การค้นพบ (discovering), การแปลความหมาย, และ การพัฒนากรรมวิธีและระบบ สู่ความก้าวหน้าในความรู้ด้านต่าง ๆ ในเชิงวิทยาศาสตร์ที่หลากหลายในโลกและจักรวาล การวิจัยอาจต้องใช้หรือไม่ต้องใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ก็ได้ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ อาศัยการประยุกต์ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ที่ได้แรงผลักดันจากความอยากรู้อยากเห็น การวิจัยเป็นตัวสร้างข้อมูลข่าวสารเชิงวิทยาศาสตร์และทฤษฎีที่มนุษย์นำมาใช้ในการอธิบายธรรมชาติและคุณสมบัติของสรรพสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรา การวิจัยช่วยให้การประยุกต์ทฤษฎีต่าง ๆ มีความเป็นไปได้ในเชิงปฏิบัติ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้รับเงินสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐ องค์การการกุศล กลุ่มเอกชนซึ่งรวมถึงบริษัทต่าง ๆ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์จำแนกได้เป็นประเภทตามสาขาวิทยาการและวิชาเฉพาะทาง คำว่าการวิจัยยังใช้หมายถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับวิชาการบางสาขาอีกด้ว.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการวิจัย · ดูเพิ่มเติม »

การสลายให้กัมมันตรังสี

การสลายให้อนุภาคแอลฟา เป็นการสลายให้กัมมันตรังสีชนิดหนึ่งที่นิวเคลียสของอะตอมปลดปล่อย อนุภาคแอลฟา เป็นผลให้อะตอมแปลงร่าง (หรือ "สลาย") กลายเป็นอะตอมที่มีเลขมวลลดลง 4 หน่วยและเลขอะตอมลดลง 2 หน่วย การสลายให้กัมมันตรังสี (radioactive decay) หรือ การสลายของนิวเคลียส หรือ การแผ่กัมมันตรังสี (nuclear decay หรือ radioactivity) เป็นกระบวนการที่ นิวเคลียสของอะตอมที่ไม่เสถียร สูญเสียพลังงานจากการปลดปล่อยรังสี.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการสลายให้กัมมันตรังสี · ดูเพิ่มเติม »

การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์

การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์เป็นวิธีการประหารพระราชวงศ์ไทยโดยการใช้ท่อนจันทน์เป็นอุปกรณ์ วิธีการดังกล่าวไม่มีการปฏิบัติอีกต่อมาตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรเมนมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้เลิกเสียอย่างเป็นทางการตั้งแต่มีการประกาศใช้กฎหมายลักษณะอาญา ร..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

การอยู่กินด้วยกันโดยไม่ได้สมรส

การอยู่กินด้วยกันโดยไม่ได้สมรส (concubinage) หมายถึง ภาวะที่หญิงมีความสัมพันธ์เชิงสมรสกับอีกบุคคลหนึ่ง ซึ่งฝ่ายหนึ่งมักมีสถานะทางสังคมสูงกว่าอีกฝ่ายหนึ่ง ความสัมพันธ์เชิงสมรสหมายความว่าไม่ได้สมรสกันจริง ๆ แต่อยู่กินกันอย่างคู่สมรส ซึ่งหากเป็นการจดทะเบียนสมรสซ้อนจะกลายเป็นความผิดอาญาตามกฎหมายไทย แต่หากไม่จดทะเบียนสมรสก็จะไม่มีสิทธิตามกฎหมาย ข้อนี้นับเป็นข้อเสียของการเป็นเมียหรือผัวที่ผิดกฎหมายของผู้อื่น ในกรณีปรกติแล้วมักเป็นเรื่องระหว่างหญิงกับชาย โดยชายนั้นมักมีภริยาอย่างเป็นทางการหรือ "เมียหลวง" อยู่แล้ว และก็อาจมีภริยาลับอยู่อีกหลายคนด้วย ซึ่งภริยาลับนี้ก็มักมีสถานะทางสังคมต่ำต้อยกว่าภริยาหลวง กับทั้งตัวภริยาลับและบุตรที่เกิดแต่นางภริยาลับนี้ฝ่ายชายจะให้การสนับสนุนอย่างออกนอกหน้าก็มิได้ เพราะผิดทั้งจริยธรรม จารีตประเพณีในบางท้องถิ่น และกฎหมายของบางท้องถิ่นด้วย เช่น กฎหมายไทยมิได้ให้สิทธิภริยาลับเสมอภริยาหลวง แต่ในความเป็นจริงแล้ว ใครเป็นภริยาลับของใครสังคมก็มักรู้กันอยู่แก่ใจและบางทีก็เอาไปซุบซิบนินทากันอย่างสนุกปากอีกด้วย คำว่า "ภริยาลับ" (concubine) เป็นศัพท์ทางนิติศาสตร์ แต่ในภาษาอังกฤษคำว่า "concubine" นั้นใช้ได้กับทั้งหญิงทั้งชายที่ไปเป็นภริยาลับหรือสามีลับของบุคคลอื่น นอกจากนี้ ในภาษาไทยยังมีคำเรียก "ภริยาลับ" อีกหลาย ๆ คำ เช่น อนุภริยา, อนุภรรยา, เมียน้อย หรือ เมียเก็.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการอยู่กินด้วยกันโดยไม่ได้สมรส · ดูเพิ่มเติม »

การจับ

thumb จับ หรือในอดีตใช้ว่า เกาะ (arrest) นั้น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ว่า เป็นอาการที่ "เกาะกุมตัวไว้โดยเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจตามกฎหมาย, จับกุม ก็ว่า" กล่าวคือ เป็นการพรากไปซึ่งเสรีภาพของบุคคล เพื่อประโยชน์แห่งการสอบสวนความผิดอาญาหรือการปราบปรามการกระทำความผิดอาญา โดยในภาษาอังกฤษ คำว่า "arrest" นั้น มาจากคำในภาษาฝรั่งเศส "arrêt" หมายความว่า "หยุดยั้ง" ส่วนในภาษาไทย คำว่า "เกาะ" นั้น หมายความว่า "ไปเอาตัวมาโดยอำนาจศาลเป็นต้น เช่น ไปเกาะตัวมา" ในความหมายทั่วไป คำว่า "จับ" นั้น หมายถึง การกุมหรือกักตัวบุคคลหนึ่ง ๆ และตามความหมายนี้ หากจะถามว่าบุคคลถูกจับแล้วหรือยัง คำตอบมิได้ขึ้นอยู่กับว่า การนั้นชื่อว่าเป็นการจับโดยชอบด้วยกฎหมายแล้วหรือยัง แต่ต้องพิจารณาว่า บุคคลนั้น ๆ ถูกพรากเสรีภาพในการเคลื่อนไหวของเขาไปแล้วหรือยัง ทว่า ในความหมายของกฎหมาย การจับ ซึ่งเป็นขั้นตอนหนึ่งในวิธีพิจารณาความอาญานั้น เป็นการที่บุคคลหนึ่งซึ่งมีอำนาจตามกฎหมาย เอาอีกบุคคลหนึ่งควบคุมไว้ กักไว้ หรือขังไว้ เพื่อเอาคำให้การของเขา หรือเพื่อป้องกันการกระทำความผิดอาญาเพิ่มเติม ตามความหมายนี้ องค์ประกอบอันสำคัญแห่งการจับ จักต้องประกอบด้วย เจตนาที่จะจับโดยอาศัยอำนาจหน้าที่ และประกอบด้วยการหน่วงเหนี่ยวหรือกักขังบุคคลไว้โดยประการที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งในลักษณะนี้ เป็นที่รับรู้กันว่า บุคคลนั้น ๆ ถูกจับ โดยปรกติ เจ้าพนักงานตำรวจ และเจ้าพนักงานอื่น ๆ มีอำนาจจับ แต่ในบางสถานการณ์ ราษฎรก็มีอำนาจจับ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ข้อ 9 ว่า "ซึ่งจะจับ กักขัง หรือเนรเทศบุคคลใดตามอำเภอใจนั้น หากระทำได้ไม่" Partridge, Eric and Paul BealeA dictionary of slang and unconventional English, p. 790, 886.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการจับ · ดูเพิ่มเติม »

การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถาน

การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง เป็นหลักการถอดตัวอักษรไทยเป็นอักษรโรมันอย่างเป็นทางการโดยราชบัณฑิตยสถาน ใช้ในสำหรับหนังสือและสิ่งพิมพ์ของรัฐบาล และป้ายชื่อถนนต่าง ๆ ในประเทศไทย รูปแบบใหม่ประกาศใช้เมื่อ 11 มกราคม พ.ศ. 2542 ระบบการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันของราชบัณฑิตยสถานเป็นระบบที่นิยมใช้ในการเขียนคำทับศัพท์ระบบหนึ่งในภาษาไท.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถาน · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์

ตัวอย่างหนึ่งของการเปรียบเทียบอักษรเพื่อการทับศัพท์ จากอักษรซีริลลิกไปเป็นอักษรละติน การทับศัพท์ หรือ การปริวรรต คือ การถอดอักษร หรือแปลงข้อความจากระบบการเขียนหรือภาษาหนึ่งไปสู่อีกระบบหนึ่งอย่างมีหลักการ เพื่อให้สามารถเขียนคำในภาษาต่างประเทศด้วยภาษาและอักษรในภาษานั้น ๆ ได้สะดวก เช่น การทับศัพท์ภาษาอังกฤษซึ่งเขียนด้วยอักษรโรมัน มาเป็นอักษรไทยเพื่อใช้ในภาษาไทย หรือการทับศัพท์ภาษาไทย ไปเป็นอักษรโรมันเพื่อใช้ในภาษาอังกฤษ เป็นต้น ส่วนมากใช้กับวิสามานยนาม อาทิ ชื่อบุคคล สถานที่ หรือชื่อเฉพาะที่ไม่สามารถแปลความหมายเป็นภาษาอื่นได้โดยสะดวก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการทับศัพท์ · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาพม่า

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาพม่านี้เป็นหลักการที่กำหนดตามสํานักงานราชบัณฑิต.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการทับศัพท์ภาษาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่นนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามสำนักงานราชบัณฑิตยสภา (ประกาศใช้เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2561).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศส

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศสนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษามลายู

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษามลายูที่ใช้ในประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ และบรูไนนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามสํานักงานราชบัณฑิต.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการทับศัพท์ภาษามลายู · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษารัสเซีย

การเขียนคำทับศัพท์ภาษารัสเซีย เป็นการเขียนคำทับศัพท์ภาษารัสเซียนี้ เป็นหลักการทั่วไปที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน สำหรับศัพท์บางคำที่มีการอ่านออกเสียงผิดไปจากปรกติ ให้ถือการทับศัพท์ตามการออกเสียงของคำนั้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการทับศัพท์ภาษารัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาสเปน

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาสเปนนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามสํานักงานราชบัณฑิตยสภา สำหรับศัพท์บางคำที่มีการอ่านออกเสียงผิดไปจากปรกติ ให้ถือการทับศัพท์ตามการออกเสียงของคำนั้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการทับศัพท์ภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาอังกฤษ

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การเขียนคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ ในภาษาไทย มีระบบอ้างอิงระบบเดียวในการเขียนคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ โดยทางราชการกำหนดไว้โดยใช้ระบบการเขียนคำทับศัพท์จาก ราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการทับศัพท์ภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาอาหรับ

การทับศัพท์ภาษาอาหรับ ที่ใช้ในปัจจุบันมีสองแบบ คือ แบบราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งมีประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีให้ใช้เป็นบรรทัดฐานเมื่อวันที่ 7 มีนาคม..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการทับศัพท์ภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาอิตาลี

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การเขียนคำทับศัพท์ภาษาอิตาลีนี้ เป็นหลักการทั่วไปที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน สำหรับศัพท์บางคำที่มีการอ่านออกเสียงผิดไปจากปรกติ ให้ถือการทับศัพท์ตามการออกเสียงของคำนั้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการทับศัพท์ภาษาอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาอินโดนีเซีย

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาอินโดนีเซียนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามสํานักงานราชบัณฑิต.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการทับศัพท์ภาษาอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาฮินดี

การทับศัพท์ภาษาฮินดีนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการทับศัพท์ภาษาฮินดี · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาจีน

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาจีนกลางนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา) ซึ่งอาจแตกต่างจากที่นักวิชาการและสื่อบางส่วนใช้อยู่บ้างเล็กน้อย โปรดดูรายละเอียดท้ายบทความ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการทับศัพท์ภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาเกาหลี

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาเกาหลีนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการทับศัพท์ภาษาเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาเยอรมัน

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การเขียนคำทับศัพท์ภาษาเยอรมันนี้เป็นหลักเกณฑ์ทั่วไปที่กำหนดโดยราชบัณฑิตยสถาน ในกรณีที่คำบางคำออกเสียงแตกต่างจากทั่วไปก็ให้ยึดตามการออกเสียงนั้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการทับศัพท์ภาษาเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาเวียดนาม

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาเวียดนามนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการทับศัพท์ภาษาเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

การค้าประเวณี

ผู้หญิงขายบริการ ในสถานบริการแห่งหนึ่งในเยอรมนี การค้าประเวณี (prostitution) คือธุรกิจหรือวิธีปฏิบัติโดยการทำกิจกรรมทางเพศเพื่อแลกกับค่าตอบแทน ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เงิน ของ บริการ หรือประโยชน์แบบอื่นตามแต่ตกลง หญิงค้าประเวณีนั้นเรียก นครโสเภณี (prostitute) แปลว่า "หญิงงามเมือง" (โสเภณี แปลว่า หญิงงาม) และมักตัดไปเรียกว่า "โสเภณี" เฉย ๆ ส่วนภาษาถิ่นอีสานเรียก "หญิงแม่จ้าง" และภาษาปากเรียก "กะหรี่", "หญิงหากิน" หรือ "อีตัว" เป็นต้น สำนักของเหล่านครโสเภณีเรียก โรงนครโสเภณี, โรงหญิงนครโสเภณี หรือ ซ่องโสเภณี (bawdy house, brothel, disorderly house, house of ill fame หรือ house of prostitution).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการค้าประเวณี · ดูเพิ่มเติม »

การฆ่าคน

การฆ่าคน (murder) เป็นการกระทำให้มนุษย์ถึงแก่ความตาย จัดเป็นอาชญากรรมประเภทหนึ่ง ทางนิติศาสตร์แบ่งเป็นสองประเภท คือ การทำให้คนตายโดยเจตนา (homicide) และการทำให้คนตายโดยไม่เจตนา (manslaughter) การฆ่าคนทั้งสองประเภท ผู้กระทำต้องระวางโทษหนักหรือเบาตามกฎหมายแล้วแต่กรณี.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการฆ่าคน · ดูเพิ่มเติม »

การตราสัง

การตราสังศพผู้ประสบภัยคลื่นสึนามิ พ.ศ. 2547 การตราสัง หมายความว่า การมัดศพ หรือการผูกศพให้เป็นเปลาะ ๆ ด้วยด้ายดิบเป็นต้น "ดอยใน" ก็เรียก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการตราสัง · ดูเพิ่มเติม »

การตัดขาดจากศาสนา

การตัดขาดจากศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเททพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 204 (excommunication) คือการตำหนิโทษทางศาสนา เพื่อขับไล่บุคคลหนึ่งให้พ้นจากการเป็นสมาชิกของศาสนจักร คำว่า excommunication หมายถึง การไม่ร่วมสมานฉันท์ (communion).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการตัดขาดจากศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

การประหารทารกผู้วิมล

ตรกรรม “ทารกผู้วิมล” (the Holy Innocents) โดยแมตเทโอ ดี จีโอวานนี (Matteo di Giovanni) ค.ศ. 1482 (พ.ศ. 2024) การประหารทารกผู้วิมล (Massacre of the Innocents) เป็นมหาทารกฆาตอันกษัตริย์เฮโรด พระเจ้ากรุงเยรูซาเลม รับสั่งให้ประหารทารกเพศชายผู้ไร้มลทินทั้งนครเบธเลเฮม ในวาระที่พระเยซูประสูติ เพื่อกันมิให้พระองค์ต้องทรงเสียพระราชบัลลังก์ไปให้แก่พระเยซูผู้ทรงได้ชื่อว่าเป็น “กษัตริย์ของชาวยิว” เหตุการณ์นี้มีบันทึกในพระวรสารนักบุญมัทธิว (Gospel of Matthew) บทที่ 2 ข้อ 13-16 ซึ่งเชื่อว่าเป็นผลงานการประพันธ์ของนักบุญมัทธิว ผู้ประกาศข่าวประเสริฐ (Matthew the Evangelist) และพระวรสารนักบุญเจมส์เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 2Protoevangelium of James: Online.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการประหารทารกผู้วิมล · ดูเพิ่มเติม »

การประทับฟ้อง

thumb การประทับฟ้อง (acceptance หรือ admission) นั้น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 นิยามว่า "รับฟ้องไว้พิจารณาต่อไป" กล่าวคือ เป็นการที่ศาลมีคำสั่งให้รับคำฟ้องไว้พิจารณา หลังจากที่ศาลพิเคราะห์แล้ว ซึ่งอาจจะโดยไต่สวนมูลฟ้องแล้ว ลงความเห็นว่า คดีที่ฟ้องนั้นมีมูลพอที่จะว่ากล่าวตัดสินให้ได้ คำว่า "ประทับฟ้อง" ในภาษาไทยนั้น มีเบื้องหลังมาจากวิธีพิจารณาคดีตามกฎหมายไทยแต่โบราณ คือ พระธรรมศาสตร์ หรือที่ในสมัยต่อมาได้รับการประชุมเข้าเป็น ประชุมกฎหมายรัชกาลที่ 1 ซึ่งมาตรา 1 แห่งพระธรรมนูญ ในประชุมกฎหมายดังกล่าว บัญญัติว่าราชบัณฑิตยสถาน, 2553: 58.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการประทับฟ้อง · ดูเพิ่มเติม »

การเลิกกีดกันชาวคาทอลิก

แสตมป์ออกในปี ค.ศ. 1929 ฉลองโอกาส “การปลดแอกคาทอลิก” โดยมีภาพเหมือนของแดเนียล โอคอนเนลล์ การเลิกกีดกันคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิก หรือการเลิกกีดกันชาวคาทอลิก (Catholic Emancipation; Catholic relief) เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 จนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่เป็นการลดหรือการยกเลิกการจำกัดสิทธิของคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกในไอร์แลนด์ ที่เป็นผลมาจากการบังคับใช้พระราชบัญญัติและกฎหมายของบริเตนในไอร์แลนด์ที่รวมทั้งพระราชบัญญัติสมานฉันท์, the พระราชบัญญัติทดสอบ และ ประมวลกฎหมายอาญาของไอร์แลนด์ ประมวลกฎหมายอาญาเป็นบทบัญญัติหลายฉบับที่บังคับใช้ในไอร์แลนด์ภายใต้การปกครองของบริเตน ที่มีวัตถุประสงค์ในการพยายามยุบเลิกอำนาจของฝ่ายเสียงข้างมากในไอร์แลนด์ผู้เป็นโรมันคาทอลิก การบังคับยกเลิกอำนาจทั้งทางโลกและทางธรรมของพระสันตะปาปาส่งผลกระทบกระเทือนต่อผู้ถือคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกในไอร์แลนด์เป็นอันมาก หลังจากการเสียชีวิตของเจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวตเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1766เป็นเวลา 70 ปีสถาบันพระสันตะปาปาก็ยอมรับราชวงศ์ฮาโนเวอร์ว่าเป็นราชวงศ์ที่ปกครองอังกฤษ, สกอตแลนด์ และ ไอร์แลนด์โดยถูกต้อง หลังจากนั้นกฎหมายอาญาก็เริ่มได้รับการยุบเลิก พระราชบัญญัติฉบับสำคัญที่สุดของการปลดแอกคาทอลิกคือ พระราชบัญญัติเพื่อการผ่อนปรนสิทธิของโรมันคาทอลิก..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการเลิกกีดกันชาวคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

การเขียนคำทับศัพท์ภาษาบาลี

การเขียนคำทับศัพท์ภาษาบาลี สำหรับใช้ในการเขียนอักษรไทยนั้นมีระบบที่ค่อนข้างชัดเจน อาจมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเรื่อยมาตั้งแต่สมัยโบราณ ปัจจุบัน (พ.ศ. 2549) ราชบัณฑิตยสถานยังไม่ได้วางหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาบาลี แต่ในบรรดาชาวไทยที่รู้ภาษาบาลี จะยึดธรรมเนียมการทับศัพท์ที่สืบทอดต่อๆ กันมา จนอาจกล่าวได้ว่าเป็นมาตรฐานไปแล้ว.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและการเขียนคำทับศัพท์ภาษาบาลี · ดูเพิ่มเติม »

กำจร มนุญปิจุ

ตราจารย์เกียรติคุณ นาวาตรี กำจร มนุญปิจุ ร.น.ราชบัณฑิต เกิดวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2469 ที่ตำบลบางหลวง อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี เป็นบุตรของ ขุนกัลยาณวิทย์ (เกิด มนุญปิจุ) อดีตศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี และนางกิม มนุญปิจุ สมรสกับนางวิภาวรรณ มนุญปิจุ มีบุตรชาย 1 คน คือ นายณัฐเสกข์ (กวิช) มนุญป.น.ต.กำจร มนุญปิจุ เป็นนักวิทยาศาสตร์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาอินทรีย์เคมี เป็นผู้ริเริ่มดำเนินการให้เกิดความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระหว่างประเทศไทยและประเทศออสเตรีย นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและกำจร มนุญปิจุ · ดูเพิ่มเติม »

กำแพงพัง

กำแพงพัง (tropical ulcer, aden ulcer, jungle rot, malabar ulcer หรือ tropical phagedena; ulcus tropicum) เป็นชื่อโรคผิวหนังชนิดแผลเปื่อยหรือโรคไข้กาฬประเภทหนึ่งซึ่งอาจยังให้ผู้ป่วยถึงแก่ความตายได้ "โรคแผลเปื่อยในประเทศร้อน" หรือ "โรคแผลประเทศร้อน" หรือ "โรคแผลปากหมู" ก็เรียก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและกำแพงพัง · ดูเพิ่มเติม »

กุศลและอกุศล

กุศล หมายถึง บุญ ความดี ความฉลาด ในทสุตตรสูตร พระสารีบุตรกล่าวว่ารากเหง้าของกุศลมี 3 อย่าง คือ ความไม่โลภ ความไม่คิดประทุษร้าย และความไม่หลง อกุศล หมายถึง บาป, ความชั่วร้าย, ไม่เป็นมงคล, ไม่ฉลาด, กรรมชั่ว ตรงกันข้ามกับ กุศล ซึ่งแปลว่า ความดี ในสัมมาทิฏฐิสูตร พระสารีบุตรอธิบายว่า อกุศล คือ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและกุศลและอกุศล · ดูเพิ่มเติม »

ภาพพจน์

น์ (figure of speech) คือ ถ้อยคำที่เป็นสำนวนโวหารทำให้นึกเห็นเป็นภาพ หรือถ้อยคำที่เรียบเรียงอย่างมีชั้นเชิงเป็นโวหาร มีเจตนาให้มีประสิทธิผลต่อความคิด ความเข้าใจ ให้จินตนาการและถ่ายทอดอารมณ์ได้อย่างกว้างขวางลึกซึ้งกว่าการบอกเล่าที่ตรงไปตรงม.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและภาพพจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์

ระติดพันในอสังหาริมทรัพย์ (charge on immovable property) เป็นทรัพยสิทธิประเภทหนึ่งที่ตัดทอนกรรมสิทธิ์ของเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ กล่าวคือ อสังหาริมทรัพย์อาจต้องตกอยู่ในภาระติดพันอันเป็นเหตุให้ผู้รับประโยชน์มีสิทธิได้รับชำระหนี้เป็นคราว ๆ จากอสังหาริมทรัพย์นั้น หรือได้ใช้และถือประโยชน์แห่งอสังหาริมทรัพย์นั้นตามที่ระบุกันไว้ เช่น อนุญาตให้เพื่อนสามารถเข้าอาศัยในบ้านพักตากอากาศชายทะเลได้ในเดือนเมษายนของทุกปีเป็นเวลาสามสิบปี หรืออนุญาตให้เพื่อนได้รับเงินหนึ่งล้านบาทจากค่าเช่าที่ดินที่ตนเก็บมาทุกครั้งเป็นเวลาสามสิบปี เป็นต้นมานิตย์ จุมปา, 2551: 450.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาวิช ทองโรจน์

ตราจารย์พิเศษ เภสัชกร ภาวิช ทองโรจน์ ศาสตราภิชานเกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 เคยดำรงตำแหน่งอาทิ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิการบดีผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาวิทยาลัยนครพนม, มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ รักษาการอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ และนายกสภาเภสัชกรรม ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยนครพนม และภาคีสมาชิกแห่งราชบัณฑิตยสถาน สาขาเภสัชศาสตร.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและภาวิช ทองโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษา

ษาในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง การพูดอะไรก็ได้ที่เป็นภาษาเช่น สวัสดี คน สวย ให้ พี่ ไป ส่ง ป่าว เป็นราก...

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาวิบัติ

ษาวิบัติ รวมถึง ในประเทศไทย มีการวิพากษ์วิจารณ์ถึงปัญหาเด็กไทยขาดการศึกษารวมถึงปัญหาภาษาวิบัติทำให้เด็กไทย ไม่สามารถใช้ภาษาไทยได้มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ในขณะเดียวกันได้มีการใช้คำว่าภาษาอุบัติแทนที่ภาษาวิบัติที่มีความหมายในเชิงลบ โดยภาษาอุบัติหมายถึงภาษาที่เกิดขึ้นมาใหม่ ตอบสนองวัฒนธรรมย่อย เช่นเดียวกับภาษาเฉพาะวงการที่เป็นศัพท์สแลง ทั้งนี้ นิธิ เอียวศรีวงศ์ ว่า ภาษาวิบัติเป็นการเปลี่ยนแปลงของภาษาที่ผู้ใหญ่ในสังคมไม่ชอบ แม้ภาษาจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ แต่ผู้ใหญ่ไม่ชอบให้ภาษาเปลี่ยน การให้เหตุผลว่าภาษาไทยไม่ควรเปลี่ยนแปลง เพราะเป็นภาษาของชาติที่มีความศักดิ์สิทธิ์ นิธิเห็นว่าเป็นเหตุผลแบบไสยศาสตร์ ไม่ค่อยน่าฟัง นิธิยังเห็นว่า ปัญหาของภาษาไทยในปัจจุบันคือ การใช้ภาษาไม่มีประสิทธิภาพ เช่น ไวยากรณ์ การใช้ศัพท์หรือการเรียบเรียง เป็นต้น และการไม่ศึกษาภาษาที่เปลี่ยนแปลงไปนี้เองที่จะเป็นเหตุให้เกิด "ภาษาวิบัติ" เดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและภาษาวิบัติ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาวิทยาศาสตร์

ษาวิทยาศาสตร์ เป็นภาษาที่เกิดขึ้นใหม่อยู่เสมอ เพราะโลกมีความเคลื่อนไหว ความก้าวหน้าจากทฤษฎีใหม่ๆ จากการค้นพบใหม่ๆ ทั้งแบบค่อยเป็นค่อยไป และแบบก้าวกระโดด ส่งผลให้เกิดคำที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวิทยาศาสตร์ หลักการและการค้นพบทางวิทยาศาสตร์เป็นไปโดยเข้าใจตรงกัน จึงต้องมีการดำเนินการเกี่ยวกับภาษาวิทยาศาสตร์นั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นการให้ความหมาย การบัญญัติศัพท์ การทับศัพท.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและภาษาวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาผสม

การปนของภาษา คือการที่เราใช้ภาษา 2 ภาษาหรือมากกว่านั้นปนกัน การปนของภาษาเริ่มขึ้นตั้งแต่การ เข้ามาของอาณานิคม ต่างชาติในไทย โดยเริ่มการปนของภาษาในราชสำนักไทย ที่มีการติดต่อกันของเชื้อพระวงศ์ไทย หรือแม้กระทั่งขุนนางชั้นสูงที่จบการศึกษามาจากต่างประเทศ แม้กระทั่งรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 ในการที่ทรงเขียนจดหมายถึง พระโอรส เชื้อพระวงศ์ ต่างๆ ก็ทรงมีการใช้คำไทยปนกับ การใช้คำอังกฤษมาตั้งแต่สมัยนั้น หลังจากนั้นก็มีการใช้ภาษาที่ปนกันในหมู่คนชั้นสูง ที่ได้รับการศึกษาสูง จนกลายเป็นค่านิยมว่าหากใครพูดไทยคำ อังกฤษคำ จะดูเท่ โก้หรู เป็นเครื่องบ่งว่ามีการศึกษาสูง จวบจนกระทั่งทุกวันนี้ทัศนคติของการใช้ภาษาก็ไม่ได้เปลี่ยนไปแต่อย่างใด ซ้ำร้ายกลับมากขึ้นทุกที จนทำให้เกิดการกร่อนของภาษาไทยเรา หรือมีการใช้ภาษาที่ผิดไป ที่เรียกว่าภาษาวิบัตินั่นเอง สังคมไทยนั้นเป็นสังคมที่เปิดรับสิ่งต่าง ๆ ได้ง่าย รับเอาวัฒนธรรมต่างๆ ของต่างชาติมามากเกินไป จนลืมที่จะรักษาวัฒนธรรมตน ลืมรักษาภาษาของตน จุดเริ่มต้นมาจากชนชั้นสูง จนกระทั่งการศึกษาได้กว้างขึ้นแพร่หลายขึ้น มีผลให้มีการปนภาษามากขึ้นโดยมีการทับศัพท์นั่นเอง การใช้ทับศัพท์นั้นมีข้อดีอยู่ที่ว่าศัพท์อังกฤษ บางคำมีความหมายไทย ที่ยาวยืด ไม่สะดวกต่อการพูดและเขียน ในบางกรณีจึงนิยมใช้ทับศัพท์มากกว่า หรือบางครั้งราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติศัพท์ที่ค่อนข้างแปลกหูแปลกตา หรืออาจดูเชยจนเกินไปในหมู่วัยรุ่น เราจึงนิยมใช้คำทับศัพท์มากกว่า เช่นคำว่า software ที่บัญญัติคำไทยว่า ส่วนชุดคำสั่ง, hardware บัญญัติว่า ส่วนอุปกรณ์ หรือแม้กระทั่ง joy stick ที่ใช้คำไทยว่า ก้านควบคุม นั้น คำเหล่านี้มักไม่เป็นที่นิยมใช้ และไม่เป็นที่คุ้นเคย คนไทยเราจึงใช้คำทับศัพท์เป็น ฮาร์ดแวร์, ซอฟต์แวร์, จอยสติก ซึ่งเป็นที่นิยมมากกว่า ดังนั้นการที่มีการปนของภาษาเกิดขึ้นนั้น อาจจะเกิดจากการไหลเข้ามาของวัฒนธรรมและเทคโนโลยีจากต่างชาติ ค่านิยมต่าง ๆ ของคนรุ่นใหม่ การเอาอย่างของวัยรุ่น หรือแม้กระทั่งคนที่เกี่ยวข้องกับภาษาของชาติ ทุกฝ่าย ที่เป็นผู้บัญญัติคำศัพท์และความหมายในภาษา เหล่านี้ต่างก็มีส่วนที่ทำให้เกิดการปนของภาษาในประเท.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและภาษาผสม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคลาสสิก

ษาคลาสสิก (classical language) หมายถึง ภาษาเก่าแก่ที่เป็นรากฐานของภาษาอื่น ๆ เช่น ภาษาสันสกฤต ภาษาละติน แม้ปัจจุบันจะไม่ได้มีการใช้สนทนากัน แต่ก็ถือว่ามีคุณค่าในทางวรรณคดี.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและภาษาคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทยถิ่นเหนือ

ำเมือง (40px)) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นภาษาถิ่นของชาวไทยวนทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ซึ่งเป็นอาณาจักรล้านนาเดิม ได้แก่ เชียงใหม่, เชียงราย, อุตรดิตถ์, แพร่, น่าน, แม่ฮ่องสอน, ลำพูน, ลำปาง, พะเยา และยังมีการพูดและการผสมภาษากันในบางพื้นที่ของจังหวัดตาก, สุโขทัย และเพชรบูรณ์ ปัจจุบันกลุ่มคนไทยวนได้กระจัดกระจายและมีถิ่นที่อยู่ในจังหวัดสระบุรี, จังหวัดราชบุรี และอำเภอของจังหวัดอื่นที่ใกล้เคียงกับราชบุรีอีกด้วย คำเมืองยังสามารถแบ่งออกเป็นสำเนียงล้านนาตะวันตก (ในจังหวัดเชียงใหม่, ลำพูน และแม่ฮ่องสอน) และสำเนียงล้านนาตะวันออก (ในจังหวัดเชียงราย, พะเยา, ลำปาง, อุตรดิตถ์, แพร่ และน่าน) ซึ่งจะมีความแตกต่างกันบ้าง คือ สำเนียงล้านนาตะวันออกส่วนใหญ่จะไม่พบสระเอือะ เอือ แต่จะใช้สระเอียะ เอียแทน (มีเสียงเอือะและเอือเพียงแต่คนต่างถิ่นฟังไม่ออกเอง เนื่องจากเสียงที่ออกมาจะเป็นเสียงนาสิกใกล้เคียงกับเอียะ เอีย) ส่วนคนในจังหวัดลำพูนมักจะพูดสำเนียงเมืองยอง เพราะชาวลำพูนจำนวนมากสืบเชื้อสายมาจากชาวยองในรัฐฉาน จึงมีสำเนียงที่เป็นเอกลักษณ์ คำเมืองมีไวยากรณ์คล้ายกับภาษาไทยกลางแต่ใช้คำศัพท์ไม่เหมือนกันและไวยากรณ์ที่แตกต่างกันอยู่บ้าง แต่เดิมใช้คู่กับ อักษรธรรมล้านนา ซึ่งเป็นตัวอักษรของอาณาจักรล้านนาที่ใช้อักษรมอญเป็นต้นแ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและภาษาไทยถิ่นเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ภาคอีสาน (ประเทศไทย)

อีสาน (มาจากภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต ऐशान aiśāna แปลว่า "ตะวันออกเฉียงเหนือ") หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภูมิภาคหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่บนแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้ำโขงกั้นประเทศลาวทางทิศเหนือและตะวันออกของภาค ทางทิศใต้มีเทือกเขาพนมดงรักกั้นประเทศกัมพูชาและภาคตะวันออกของประเทศไทย และมีทิวเขาเพชรบูรณ์และทิวเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นทางตะวันตกแยกจากภาคกลาง ภาคอีสานยังมีเนื้อที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ร้อยละ 33.17 เทียบได้กับหนี่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทยได้จัดว่าเป็นพื้นที่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูลมโล ภูหลวง และภูกระดึง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของชาวอีสานในหลายจังหวัดด้วยกัน เช่น แม่น้ำห้วยหลวง แม่น้ำชี ลำตะคอง แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล แม่น้ำสงคราม ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน ซึ่งเป็นภาษาอีสานสำเนียงหนึ่งทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง ส่วนภาษาไทยนิยมใช้กันทั่วไปโดยเฉพาะในเมืองใหญ่และจังหวัดนครราชสีมาแต่ไม่ถือเป็นภาษาหลัก ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมรที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ มีภาษาถิ่นอื่น ๆ อีกมาก เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทโคราช ภาษากวย (ส่วย) ภาษาแสก ภาษาข่า ภาษากะเลิง ภาษาโย้ย ภาษาย้อ เป็นต้น ภาคอีสานยังมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นที่สุดของประเทศ เช่น อาหาร ภาษา อักษร เช่น อักษรไทน้อย ดนตรีหมอลำ ดนตรีกันตรึม ดนตรีเจรียง และศิลปะการฟ้อนรำ การเซิ้ง ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและภาคอีสาน (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภาคีสมาชิก

ีสมาชิก อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและภาคีสมาชิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาคีสมาชิกราชบัณฑิตยสภา

ีสมาชิกราชบัณฑิตยสภา ผู้ทรงคุณวุฒิมีความรู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งที่อยู่ในหน้าที่ของราชบัณฑิตยสภา โดยมีจำนวนจำกัดได้ไม่เกิน 160 คน แบ่งเป็นสำนักต่าง ๆ คือ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง 40 คน สำนักวิทยาศาสตร์ 80 คน และสำนักศิลปกรรม 40 คน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและภาคีสมาชิกราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

ภาคตะวันออก (ประเทศไทย)

ตะวันออก เป็นภูมิภาคย่อยทางตะวันออกของประเทศไทย เดิมถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคกลาง อยู่ติดชายฝั่งอ่าวไทยด้านตะวันออก นับเป็นอีกภูมิภาคหนึ่งที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็นแหล่งอุตสาหกรรม ผลไม้ และอัญมณีของประเท.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและภาคตะวันออก (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภาคตะวันตก (ประเทศไทย)

ตะวันตก เป็นภูมิภาคหนึ่งของประเทศไทยในระบบการแบ่งแบบ 6 ภูมิภาคตามคณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติ และเป็นภูมิภาคย่อยของภาคกลางของระบบการแบ่งแบบ 4 ภูมิภาค (ซึ่งรวมภาคตะวันออก และภาคตะวันตก) ภาคตะวันตกมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศพม่าทางทิศตะวันตก ติดต่อกับภาคเหนือทางทิศเหนือ ติดต่อกับภาคกลางทางทิศตะวันออก และติดต่อกับภาคใต้ทางทิศใต้ ภาคตะวันตกประกอบไปด้วยจังหวัดเพียง 5 จังหวัด แม้ว่าจะจัดรวมอยู่ในภาคตะวันตก แต่ในภูมิภาคนี้ยังมีความหลากหลาย ตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ซึ่งแตกต่างกันค่อนข้างมาก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและภาคตะวันตก (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภาคใต้ (ประเทศไทย)

ใต้ เป็นภูมิภาคหนึ่งของไทย ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ขนาบด้วยอ่าวไทยทางฝั่งตะวันออก และทะเลอันดามันทางฝั่งตะวันตก มีเนื้อที่รวม 70,715.2 ตารางกิโลเมตร ความยาวจากเหนือจรดใต้ประมาณ 750 กิโลเมตร ทุกจังหวัดของภาคมีพื้นที่ติดชายฝั่งทะเล ยกเว้นจังหวัดยะลาและจังหวัดพัทลุง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและภาคใต้ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภาคเหนือ (ประเทศไทย)

หนือ เป็นภูมิภาคที่อยู่ด้านบนสุดของไทย มีลักษณะภูมิประเทศอันประกอบไปด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อน ต่อเนื่องมาจากทิวเขาฉานโยมาในประเทศพม่าและประเทศลาว ภาคเหนือมีภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา เหมือนกับพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ การที่มีพื้นที่อยู่เหนือระดับน้ำทะเลและมีเส้นละติจูดอยู่ตอนบนทำให้สภาพอากาศของภาคเหนือเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลอย่างเห็นได้ชัด เช่น มีฤดูหนาวที่หนาวเย็นกว่าภูมิภาคอื่น ๆ ทางด้านประวัติศาสตร์ของภาคเหนือมีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับอาณาจักรล้านน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและภาคเหนือ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิลำเนา

ูมิลำเนา (domicile (แบบบริเตน), domicil (แบบอเมริกา)) หมายถึง แหล่งสำคัญอันเป็นที่อยู่ของบุคคล ซึ่งไม่จำเป็นต้องเป็นถิ่นที่อยู่ตามทะเบียนบ้านหรือทะเบียนสำมะโนครัว และไม่ได้มีความหมายอย่างเดียวกับ "มาตุภูมิ" ดังที่คนส่วนใหญ่เข้าใจ ตามกฎหมายไทยสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและภูมิลำเนา · ดูเพิ่มเติม »

ภควา

วา (भगवा) หรือ ภควานฺ (भगवान्) เป็นสมัญญาของพระเจ้าในศาสนาแบบอินเดีย โดยพุทธศาสนิกชนใช้คำนี้หมายถึงพระพุทธเจ้า ชาวฮินดูลัทธิไวษณพใช้หมายถึงองค์อวตารของพระวิษณุ (เช่น พระกฤษณะ) ลัทธิไศวะใช้หมายถึงพระศิวะJames Lochtefeld (2000), "Bhagavan", The Illustrated Encyclopedia of Hinduism, Vol.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและภควา · ดูเพิ่มเติม »

มลพิษ

มลพิษ หมายถึง ของเสีย วัตถุอันตราย และมลสารอื่น ๆ รวมทั้งกาก ตะกอน หรือสิ่งตกค้างจากสิ่งเหล่านั้นที่ถูกปล่อยทิ้งจากแหล่งกำเนิดมลพิษ หรือที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ ซึ่งก่อให้เกิดหรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือภาวะที่เป็นพิษภัยอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนได้ และหมายความรวมถึง รังสี ความร้อน แสง เสียง กลิ่น ความสั่นสะเทือน หรือเหตุรำคาญอื่น ๆ ที่เกิดหรือถูกปล่อยออกจากแหล่งกำเนิดมลพิษด้ว.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและมลพิษ · ดูเพิ่มเติม »

มลรัฐ (คำศัพท์)

ำว่า มลรัฐ เป็นคำใช้เรียกหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นของบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา และสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี บัญญัติ จากคำว่า "state" ในภาษาอังกฤษ ต่อมา "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี และประกาศราชบัณฑิตยสถาน เรื่องกำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและมลรัฐ (คำศัพท์) · ดูเพิ่มเติม »

มหาลดาปสาธน์

มหาลดาปสาธน์ เป็นเครื่องประดับชุดแต่งงานของสาวชาวอินเดีย ซึ่งสวมคู่กับส่าหรี โดยสวมตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า ตรงศีรษะก็ทำเป็นรูปนกยูงไว้ตัวนึง ซึ่งส่วนประกอบก็เต็มไปด้วยของมีค่ามากมาย ในสมัยพุทธกาลมีผู้ครอบครองมหาลดาปสาธน์ 3 คน คือ นางวิสาขา พระนางมัลลิกา และลูกเศรษฐี ณ พาราณาสี.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและมหาลดาปสาธน์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(มจร.) คือสถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนาชั้นสูงในรูปแบบมหาวิทยาลัย ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขึ้นเพื่อถวายแด่คณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย โดยเริ่มจัดการเรียนการสอนด้านพุทธศาสตร์เป็นสาขาแรก แล้วต่อมาได้ขยายการเรียนการสอนไปยังสาขาวิชาอื่นๆ คล้ายกับรูปแบบการก่อตั้ง มหาวิทยาลัยปารีส ประเทศฝรั่งเศส และมหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ ที่เริ่มต้นจากสาขาด้านศาสนาแล้วขยายไปยังสาขาอื่นอีกมายมาย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือกำเนิดจาก "มหาธาตุวิทยาลัย" ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นภายในวัดมหาธาตุฯ เมื่อปี พ.ศ. 2430 โดยเริ่มทำการสอนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมคธ

มหาวิทยาลัยมคธ (Magadh University) ชื่อย่อ: MU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาล อยู่ในตำบลโพธิคยา อำเภอคยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย จัดตั้งขึ้นโดยรัฐบัญญัติมหาวิทยาลัยแห่งรัฐพิหาร พ.ศ. 2519 ทั้งนี้ โดยพฤตินัยแล้วมหาวิทยาลัยก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2505 โดยนายสัตเยนทรา นารายัณ สิงห์ (Satyendra Narayan Sinha) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของอินเดีย มีวัตถุประสงค์แรกเริ่มเพื่อการเผยแผ่พุทธศาสนา มหาวิทยาลัยเปิดทำการครั้งแรกในวันที่ 2 มีนาคม ปีก่อตั้งนั้นเอง ปัจจุบัน จัดการเรียนการสอนในสาขาเศรษฐศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ พาณิชยศาสตร์ คอมพิวเตอร์ศึกษา วิทยาการคอมพิวเตอร์ แพทยศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และบริหารศาสตร์ นับเป็นมหาวิทยาลัยที่มีขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของอินเดีย พุทธคยาเจดี.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและมหาวิทยาลัยมคธ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรังสิต

มหาวิทยาลัยรังสิต (Rangsit University; ชื่อย่อ: มรส. - RSU) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย ถูกจัดอยู่ในลำดับที่ 20 มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในประเทศ นอกจากนี้ยังถูกจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่ดีที่สุด ลำดับที่ 1 ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2528 เปิดสอนหลากหลายหลักสูตร ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก โดยเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่มีจำนวนศาสตราจารย์มากเป็นลำดับต้นๆของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีจำนวนศิลปินดาราศึกษาอยู่เป็นจำนวนมากตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและมหาวิทยาลัยรังสิต · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล

มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล (University of Liverpool) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ในสหราชอาณาจักรที่มีเปิดสอนในระบบที่อิงฐานการเรียนการสอนในห้องเรียนและบนพื้นฐานของการทำวิจัย ตั้งอยู่ในเมืองลิเวอร์พูล ประเทศอังกฤษ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1881 ในรูปแบบของมหาวิทยาลัยวิทยาลัย (University College) โดยเปิดสอน 3 คณะ (Faculty) ที่ประกอบด้วยภาควิชา (Department) และสำนักวิชา (School) ต่างๆรวมแล้ว 35 สาขาวิชา มหาวิทยาลิเวอร์พูลเป็นมหาวิทยาลัยที่มีความก้าวหน้าอย่างโดดเด่นในด้านนวัตกรรมงานวิจัย โดยเป็นหนึ่งในสมาชิกของกลุ่มรัสเซล (Russell Group) ซึ่งเป็นกลุ่มของมหาวิทยาลัยในสหราชอาณาจักรที่ประกอบด้วยมหาวิทยาลัยวิจัยขนาดใหญ่ใน 18 มหาวิทยาลัยจากสมาชิก 19 แห่ง ติด 20 อันดับแรกของประเทศในด้านงบวิจัย และเป็นหนึ่งในสมาชิกกลุ่มความร่วมมือด้านงานวิจัยของมหาวิทยาลัยในเขตภาคเหนือของสหราชอาณาจักรอีกด้วย มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูลเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในสหราชอาณาจักรที่สามารถสร้างมหาวิทยาลัยอิสระในประเทศจีนและเป็นมหาวิทยาลัยจีน-บริติชแห่งแรกของโลก เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของโลกที่เปิดสอนสาขาวิชาสมุทรศาสตร์ (Oceanography) การออกแบบเมือง (Civic Design) สถาปัตยกรรมศาสตร์ (Architecture) และชีวเคมี (Biochemistry) ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูลมีเงินสนับสนุนรายปีกว่า 410 ล้านปอนด์สเตอร์ลิง ซึ่งในจำนวนนี้ประกอบด้วบงบประมาณที่สนับสนุนด้านงานวิจัยถึง 150 ล้านปอนด์สเตอร์ลิง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและมหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล · ดูเพิ่มเติม »

มหาดเล็ก

มหาดเล็ก หมายถึง ข้าราชการในพระราชสำนัก โดยพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายไว้ว่า “......

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและมหาดเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

มัดจำ

มัดจำ (earnest) คือ เงินหรือทรัพย์สินอย่างอื่นอันมีค่าในตัวซึ่งให้ไว้เพื่อเป็นพยานหลักฐานว่าได้มีการทำสัญญากันขึ้นแล้ว และเพื่อเป็นประกันการปฏิบัติตามสัญญานั้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและมัดจำ · ดูเพิ่มเติม »

มาร

ที่พรรณาถึงลักษณะของมารดังที่พบเห็นใน''โคเด็กซ์ กิกาส'' มาร (Devil; διάβολος หรือ diávolos.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและมาร · ดูเพิ่มเติม »

มาร (ศาสนาพุทธ)

ทวบุตรมารผจญพระพุทธเจ้า มาร (มาร; Mara มาจากรากศัพท์ มรฺ แปลว่า "ตาย" มารจึงแปลว่า "ผู้ทำให้ตาย") หมายถึง เทวดาจำพวกหนึ่ง มีใจบาปหยาบช้าคอยกีดกันไม่ให้ทำบุญ ในวรรณกรรมไทย "มาร" หมายถึง ยักษ์ ด้วย ในพระพุทธศาสนาใช้หมายถึง สิ่งใด ๆ ที่ฆ่าบุคคลให้ตายจากคุณความดีหรือจากผลที่หมายอันประเสริฐ, สิ่งที่ล้างผลาญคุณความดี, ตัวการที่กำจัดหรือขัดขวางบุคคลมิให้บรรลุ ผลสำเร็จอันดีงาม, พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต),, พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและมาร (ศาสนาพุทธ) · ดูเพิ่มเติม »

มาห์เซียร์

ปลาพลวงหิน (''Neolissochilus stracheyi'') ที่น้ำตกเอราวัณ จังหวัดกาญจนบุรี ปลาเวียนทอง (''Tor putitora'') วัยอ่อน ซึ่งเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในกลุ่มมาห์เซียร์ มาห์เซียร์ (Mahseers), มหาศีร์ (महाशीर) หรือ มหาสีร์ (महासीर) เป็นชื่อสามัญของปลาน้ำจืดขนาดใหญ่จำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในสกุล Tor, Neolissochilus และ Naziritorโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสกุล Tor ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มาห์เซียร์เป็นปลาที่กระจายพันธุ์ในเขตร้อนของทวีปเอเชียตั้งแต่มาเลเซีย, อินโดนีเซีย, เอเชียใต้ จนถึงอิหร่าน ตลอดจนอนุทวีปอินเดียMenon AGK, 1992.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและมาห์เซียร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาตรการบังคับทางอาญา

มาตรการบังคับทางอาญา (criminal sanction) เป็นมาตรการต่าง ๆ ที่จะนำมาใช้แก่ผู้กระทำความผิดอาญา ประกอบด้ว.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและมาตรการบังคับทางอาญา · ดูเพิ่มเติม »

มานุษยรูปนิยม

มานุษยรูปนิยม (Anthropomorphism) หรือ บุคคลวัต หรือ บุคลาธิษฐาน (personification) คือ การเอาลักษณะของมนุษย์ไปใช้กับสิ่งที่ไม่ใช่มนุษย์ เช่น สัตว์ สิ่งไม่มีชีวิต ปรากฏการณ์ องค์การ รวมถึงวิญญาณและเทวดา คำภาษาอังกฤษบัญญัติขึ้นช่วง..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและมานุษยรูปนิยม · ดูเพิ่มเติม »

มุขนายก

ันทบุรี เป็นคนไทยคนแรกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นมุขนายก บิชอป (Bishop) กรมการศาสนาและราชบัณฑิตยสถานบางครั้งให้เรียกว่ามุขนายก เป็นตำแหน่งการปกครองในคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ หรือแม้แต่ในนิกายโปรเตสแตนต์บางคณะ เช่น แองกลิคัน ลูเทอแรน เมทอดิสต.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและมุขนายก · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิแผ่นดินธรรม

มูลนิธิแผ่นดินธรรม ในพระสังฆราชูปถัมภ์ เป็นองค์กรการกุศลทางพระพุทธศาสนา ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อผลิตรายการธรรมะป้อนโทรทัศน์เพื่อให้ประชาชนชาวพุทธทั่วไปได้เข้าใจหลักพุทธธรรมของพระพุทธเจ้าจากคัมภีร์พระไตรปิฎก ภาษาบาลี ทั้งในเชิงทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยเฉพาะในเชิงภาคปฏิบัตินั้น ทีมงานผู้ผลิตรายการแผ่นดินธรรมได้เลือกปฏิปทาของพระอาจารย์กรรมฐานหรือพระป่า เช่น พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต มานำเสนอเป็นประจำ เพื่อให้ประชาชนได้รู้ว่าหลักธรรมของพระพุทธเจ้านั้นทันสมัยอยู่เสมอ สามารถศึกษาและนำไปปฏิบัติได้จริง แม้สังคมจะเจริญเพียงใดก็ตาม.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและมูลนิธิแผ่นดินธรรม · ดูเพิ่มเติม »

มีแชล แน

มีแชล แน (Michel Ney,; 10 มกราคม ค.ศ. 1769 - 7 ธันวาคม ค.ศ. 1815) เป็นทหารและผู้บัญชาการทหารระหว่างสงครามปฏิวัติฝรั่งเศสและสงครามนโปเลียน เขาเป็นหนึ่งใน 18 จอมพลฝรั่งเศสดั้งเดิมที่นโปเลียนทรงสถาปนา ได้รับสมญานามว่า จอมสุรโยธิน (the bravest of the brave) เขาเป็นจอมพลแห่งฝรั่งเศสเพียงคนเดียวที่ถูกตัดสินประหารชีวิตในข้อหาทรราชหลังการฟื้นฟูราชาธิปไตยในฝรั่งเศสครั้งที่สอง ท่ามกลางเสียงคัดค้านของชาวฝรั่งเศสทั่วไป.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและมีแชล แน · ดูเพิ่มเติม »

มนตร์

มนตร์ (मन्त्र) หรือ มนต์ (manta) คำศักดิ์สิทธิ์หรือคำสำหรับสวดเพื่อเป็นสิริมงคล พบในศาสนาแบบอินเดีย ทั้งศาสนาฮินดู ศาสนาเชน ศาสนาพุทธ ศาสนาซิกข์ โดยทั่วไปมักเป็นคำสรรเสริญสิ่งศักดิ์สิท.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและมนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยามา

มา คือสวรรค์ชั้นที่ 3 ในฉกามาพจร มีท้าวสุยามะเป็นจอมเท.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและยามา · ดูเพิ่มเติม »

ยืม (กฎหมาย)

ืม (loan; prêt, /เปร/) หมายความว่า "ขอสิ่งของมาใช้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแล้วคืนให้หรือใช้คืน" ในทางกฎหมายเป็นสัญญาประเภทสัญญามีชื่อ ซึ่งบุคคลฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า "ผู้ให้ยืม" (lender) ส่งมอบทรัพย์สินของตนให้แก่บุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า "ผู้ยืม" (borrower) เพื่อให้ผู้ยืมใช้สอย และผู้ยืมจะได้คืนทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้ให้ยืมเมื่อเขาใช้สอยเสร็จแล้ว แบ่งเป็นสองประเภท ได้แก่ ยืมใช้คงรูป (loan for use; prêt à usage) คือ สัญญายืมที่ผู้ให้ยืมให้ผู้ยืมใช้สอยทรัพย์สินสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้เปล่า และผู้ยืมตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินนั้นเมื่อได้ใช้สอยเสร็จแล้วขุนสมาหารหิตะคดี (โป๊ โปรคุปต์), 2549: 281.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและยืม (กฎหมาย) · ดูเพิ่มเติม »

ยืมใช้สิ้นเปลือง

ืมใช้สิ้นเปลือง (loan for consumption; IPA: pʀɛ•də•kɔ̃sɔmasjɔ̃ /เปรเดอกงซอมาซียง/)) คือ สัญญายืม (loan) ซึ่งบุคคลฝ่ายหนึ่ง เรียก "ผู้ให้ยืม" (lender) โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินชนิดใช้ไปสิ้นไปนั้นเป็นปริมาณมีกำหนดให้ไปแก่บุคคลอีกฝ่าย เรียก "ผู้ยืม" (borrower) และผู้ยืมตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินเป็นประเภท ชนิด และปริมาณเช่นเดียวกันให้แทนทรัพย์สินซึ่งให้ยืมนั้น การยืมอันมีวัตถุแห่งสัญญาเป็นเงินนั้น เรียก "กู้ยืม" (loan of money)ราชบัณฑิตยสถาน, 2551: ออนไลน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและยืมใช้สิ้นเปลือง · ดูเพิ่มเติม »

ยืมใช้คงรูป

ืมใช้คงรูป (loan for use หรือ commodate; prêt à usage หรือ commodat) เป็นสัญญายืม (loan) ประเภทหนึ่ง ที่บุคคลฝ่ายหนึ่ง เรียก "ผู้ให้ยืม" (lender) ให้บุคคลอีกฝ่าย เรียก "ผู้ยืม" (borrower) ใช้สอยทรัพย์สินสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้เปล่า และผู้ยืมตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินนั้นเมื่อได้ใช้สอยเสร็จแล้ว ยืมใช้คงรูปเป็นหนึ่งในสองประเภทของสัญญายืม คู่กับ "ยืมใช้สิ้นเปลือง" (loan for consumption) การยืมทั้งหลายเหล่านี้ นับเป็นพฤติกรรมในชีวิตประจำวันของมนุษย์ที่เรียกได้ว่าไม่มีใครไม่เคยยืมหรือถูกยืม ไม่ว่าจะเป็นของเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น ดินสอ ปากกา ยางลบ ไปจนถึงของสำคัญต่าง ๆ เช่น ทรัพย์สินเงินทอง ทั้งนี้ เหตุผลหนึ่งก็เนื่องจากสมาชิกในสังคมมิได้มีฐานะทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน กับทั้งความจำเป็นหลาย ๆ ด้าน อาทิ ในการประกอบธุรกิจที่ต้องการทุนสูงหรือทุนหมุนเวียน และอาจรวมถึงกิเลสตัณหาอยากได้อยากมีจนเกิดสำนวนไทยว่า "กู้หนี้ยืมสิน" การยืมจึงก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่ระหว่างผู้ให้ยืมกับผู้ยืม ซึ่งบางทีนำไปสู่ความวิวาทบาดทะเลาะในสังคม ดังนั้น เพื่อความสงบเรียบร้อยของส่วนรวม กฎหมายจึงเข้ามาควบคุมพฤติกรรมในการยืม.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและยืมใช้คงรูป · ดูเพิ่มเติม »

ยุคหินกลาง (แอฟริกา)

ในสาขาบรรพมานุษยวิทยาและชีววิทยาวิวัฒนาการเป็นต้น ยุคหินกลาง (Middle Stone Age ตัวย่อ MSA) เป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์ของแอฟริการะหว่างยุคหินต้น (Early Stone Age) และยุคหินหลัง ๆ (Later Stone Age) โดยทั่วไปพิจารณาว่าเริ่มประมาณ 280,000 ปีก่อนและยุติประมาณ 50,000-25,000 ปีก่อน จุดเริ่มต้นของเครื่องมือหินแบบ MSA อาจเริ่มตั้งแต่ 550,000-500,000 ปีก่อน และดังนั้น นักวิจัยบางคนพิจารณาว่านั่นเป็นจุดเริ่มต้นของ MSA MSA บ่อยครั้งเข้าใจผิดว่าเท่ากับยุคหินเก่ากลาง (Middle Paleolithic) ของยุโรป เพราะมีระยะเวลาเกือบเหมือนกัน แต่ยุคหินเก่ากลางของยุโรปสัมพันธ์กับสปีชีส์มนุษย์ที่ต่างกัน ซึ่งก็คือ ''Homo neanderthalensis'' เปรียบเทียบกับแอฟริกาที่ไม่มีมนุษย์สปีชีส์นี้ในช่วง MSA นอกจากนั้นแล้ว งานโบราณคดีในแอฟริกายังได้ให้หลักฐานเป็นจำนวนมากที่แสดงว่า พฤติกรรมและลักษณะทางประชานของมนุษย์ปัจจุบันได้เริ่มพัฒนาขึ้นในแอฟริกาช่วง MSA ก่อนกว่าที่พบในยุโรปช่วงยุคหินเก่ากลางอย่างมาก อนึ่ง ราชบัณฑิตยสถานแปลคำว่า Mesolithic period (12,000-7,000 ปีก่อนในยุโรป และ 22,000-11,500 ปีก่อนในลิแวนต์) ว่า "ยุคหินกลาง" ซึ่งอาจซ้ำกับคำแปลของ Middle Stone Age (280,000-25,000 ปีก่อนในแอฟริกา) ได้เหมือนกัน แต่ให้สังเกตว่าคำแต่ละคำหมายเอาสิ่งที่ต่างกันแทบสิ้นเชิง MSA สัมพันธ์กับทั้งมนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน (anatomically modern humans) สปีชีส์ Homo sapiens และกับมนุษย์โบราณ (archaic Homo sapiens) ซึ่งบางครั้งก็เรียกว่า Homo helmei ด้วย หลักฐานที่เป็นรูปธรรมยุคต้น ๆ ของ MSA มาจากโบราณสถานต่าง ๆ ใน Gademotta Formation ในเอธิโอเปีย, หมวดหินแคปธิวริน (Kapthurin Formation) ในประเทศเคนยา และ Kathu Pan ในแอฟริกาใต้ เครื่องมือยุคหินกลางแอฟริกา (MSA) จากถ้ำบลอมโบส์ แอฟริกาใต้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและยุคหินกลาง (แอฟริกา) · ดูเพิ่มเติม »

ยงค์วิมล เลณบุรี

ตราจารย์ ยงค์วิมล เลณบุรี (23 สิงหาคม 2495 -) เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานดีเด่นในสาขาคณิตศาสตร์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ ระดับ 11 สังกัด คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการยกย่องให้เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2541 สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2550 สาขาคณิตศาสตร์ และได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นราชบัณฑิต ประเภทวิทยาศาสตร์กายภาพ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน ตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและยงค์วิมล เลณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

รพินทรนาถ ฐากุร

รพินทรนาถ ฐากุร (রবীন্দ্রনাথ ঠাকুর, Robindronath Ţhakur) (7 พฤษภาคม 2404 - 7 สิงหาคม 2484) มีสมัญญานามว่า "คุรุเทพ" เป็นนักปรัชญาพรหโมสมัช นักธรรมชาตินิยม และกวีภาษาเบงกาลี เขาเริ่มเขียนบทกวีครั้งแรกตั้งแต่อายุเพียง 8 ปี ครั้นอายุได้ 16 ปี ก็ได้ตีพิมพ์เผยแพร่งานกวีนิพนธ์ภายใต้นามปากกา ภาณุสิงโห และเริ่มเขียนเรื่องสั้นกับบทละครในปี..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและรพินทรนาถ ฐากุร · ดูเพิ่มเติม »

รอยัลไฮเนส

รอยัลไฮเนส (Royal Highness) หรือ รอยัลไฮนิส (/ˈhʌɪnɪs/) เป็นฐานันดรศักดิ์ของสมาชิกราชวงศ์บางชั้นในทวีปยุโรป มักใช้นำพระนามเจ้าชายหรือเจ้าหญิงที่เป็นพระราชบุตรในสมเด็จพระราชาธิบดีหรือสมเด็จพระราชินีนาถ ฐานันดรศักดิ์รอยัลไฮเนสมีศักดิ์ต่ำกว่า "อิมพีเรียลไฮเนส" แต่สูงกว่า "แกรนด์ดิวคัลไฮเนส", "ไฮเนส" และ "เซอรีนไฮเนส" เป็นต้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและรอยัลไฮเนส · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมีนัสเชไรส์

รัฐมีนัสเชไรส์ (Minas Gerais) เป็น 1 ใน 26 รัฐของบราซิล เป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 2 และร่ำรวยที่สุดเป็นอันดับ 2 มีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับ 4 เมืองหลวงของรัฐคือเมืองเบโลโอรีซอนตี ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของรัฐ รัฐเป็นผู้ผลิตหลักทางด้านกาแฟและนม ของประเทศ ยังมีมรดกสถาปัตยกรรมและศิลปะอาณานิคมในเมืองประวัติศาสตร์อย่างเช่น Ouro Preto, Diamantina, Tiradentes และ Serro ทางทิศใต้ของรัฐเป็นจุดท่องเที่ยว สปาน้ำแร่ อย่างในเมือง Caxambu, São Lourenço, São Thomé das Letras, Monte Verde และมีอุทยานแห่งชาติ Caparaó, Canastra, Ibitipoca และ Aiuruoca ภูมิประเทศของรัฐประกอบด้วยภูเขา หุบเขาและมีพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์อย่างกว้างขวาง ส่วนในเมือง Serra do Cipó, Sete Lagoas, Cordisburgo และ Lagoa Santa มีสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญอย่าง ถ้ำและน้ำตก มีถ้ำที่มีชื่อเสียงอยู่ในรัฐนี้มากม.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและรัฐมีนัสเชไรส์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐรีโอเดจาเนโร

รัฐรีโอเดจาเนโร หรือ รัฐรีอูดีจาเนรู (Rio de Janeiro) เป็น 1 ใน 26 รัฐของประเทศบราซิล ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ ติดกับรัฐมีนัสเชไรส์ทางทิศเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือ, ติดกับรัฐเอสปีรีตูซันตูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และติดกับรัฐเซาเปาลูทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ และติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันออกและใต้ รัฐรีโอเดจาเนโรมีพื้นที่ 43,653 ตร.กม.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและรัฐรีโอเดจาเนโร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอาลาโกอัส

รัฐอาลาโกอัส (Alagoas) เป็นรัฐเล็ก ๆ ทางตะวันออกเฉียงเหนือของบราซิล ตั้งอยู่ระหว่างรัฐเปร์นัมบูกูและรัฐเซร์ชิเป และยังติดกับรัฐบาเยียทางตะวันตกเฉียงใต้ เขตแดนทางใต้ของรัฐอาลาโกอัสแบ่งออกโดยแม่น้ำเซาฟรังซีสกู แต่เดิมชาวดัตช์ได้เข้ามาถึงรัฐเพื่อนบ้านอย่าง รัฐเปร์นัมบูกูและจบลงด้วยการครอบครองดินแดน เมืองหลวงของรัฐคือเมือง มาเซโอ ที่มีชื่อเสียงเรื่องชายหาดและอาหารทะเล และถือเป็นเมืองที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวมากที่สุดของรั.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและรัฐอาลาโกอัส · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนาคาแลนด์

รัฐนาคาแลนด์ราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและรัฐนาคาแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐโกลีมา

รัฐโกลีมา (Colima) เป็นรัฐทางตะวันตกของประเทศเม็กซิโก มีเมืองหลวงในชื่อเดียวกันคือเมืองโกลีมา รัฐโกลีมาเป็นรัฐเล็ก ๆ ที่อยู่ติดกับรัฐฮาลิสโกทางทิศเหนือและตะวันออก, ติดกับรัฐมิโชอากัง ทางทิศใต้ ส่วนทางตะวันตกของรัฐโกลีมาติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก นอกเหนือจากเมืองหลวงของรัฐแล้ว เมืองสำคัญอื่น ๆ ของรัฐอาทิเช่นเมือง มันซานีโย (Manzanillo) และเมืองเตโกมัน (Tecomán) รัฐโกลีมามีพื้นที่ 5,455 ตร.กม.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและรัฐโกลีมา · ดูเพิ่มเติม »

ราชบัณฑิต

ราชบัณฑิต คือ "นักปราชญ์หลวง" ที่เป็นสมาชิกขององค์การวิทยาการของรัฐคือ ราชบัณฑิตยสภาโดยต้องเป็นผู้ที่มีเกียรติประวัติดีงาม ได้รับการยอมรับและการยกย่องจากผู้รู้ในศาสตร์สาขาเดียวแห่งตนและจากคนทั่วไป มีสัญชาติไทย อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี ได้รับการคัดเลือกจากสภาราชบัณฑิตว่าเป็นผู้รู้ในสาขาวิชาใดสาขาหนึ่งที่มีกำหนดไว้ในราชบัณฑิตยสถาน เมื่อได้รับการคัดเลือกแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นราชบัณฑิตและจะได้รับค่าสมนาคุณเป็นรายเดือน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและราชบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

ราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)

ราชการส่วนกลาง หมายถึง ราชการที่ดำเนินการและบริหารโดยหน่วยราชการในส่วนกลางของฝ่ายบริหาร เพื่อสนองความต้องการของประชาชน จะมีลักษณะการปกครองแบบรวมอำนาจ หมายความว่า เป็นการรวมอำนาจในการสั่งการ การกำหนดนโยบายการวางแผน การควบคุมตรวจสอบ และการบริหารราชการสำคัญ ๆ ไว้ที่นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีและกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ตามหลักการรวมอำนาจ การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง จัดแบ่งออกได้ดังนี้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด

ันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด เป็นพันธุ์ไม้ที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถได้พระราชทานให้กับผู้ว่าราชการจังหวัดของแต่ละจังหวัด เพื่อให้นำไปปลูกเป็นสิริมงคลแก่จังหวัดและเพื่อเป็นการรณรงค์ให้ประชาชนปลูกต้นไม้ในโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี (พระราชพิธีกาญจนาภิเษก) รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดของแต่ละจังหวัดแยกตามภาค (ตามเกณฑ์การแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน) มีรายละเอียดตามที่ปรากฏในตารางข้างล่าง ทั้งนี้ พันธุ์ไม้มงคลพระราชทานของบางจังหวัด (ได้แก่ นครปฐม บุรีรัมย์ ยโสธร ระนอง ระยอง สุโขทัย และสุรินทร์) จะเป็นพรรณไม้คนละชนิดกับต้นไม้ประจำจังหวัดนั้น ๆ ส่วนจังหวัดบึงกาฬไม่มีพันธุ์ไม้พระราชทานเนื่องจากขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดหนอง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)

รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (List of fields of doctoral studies) นี้จัดทำขึ้นโดย "ศูนย์วิจัยความเห็นแห่งชาติ" (Opinion Research Center หรือ NORC) ที่ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยชิคาโก สหรัฐอเมริกาจากการสำรวจปริญญาเอกที่มีผู้จบการศึกษารายปี โดยจัดทำให้กับมูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ และหน่วยงานของรัฐบาลกลางอีกหลายหน่วยงานในสหรัฐฯ ทั้งหมดนี้คือสายวิชาการศึกษาระดับปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยที่มุ่งสู่ปริญญาดุษฎีบัณฑิตปรัชญา (Doctor of Philosophy หรือ Ph.D.) และการศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต (Doctor of Education Ed.D 1หรือ D.Ed) ที่เปิดสอนในสหรัฐฯ ซึ่งในปีการศึกษา 2547-2548 พบว่าร้อยละ 90.3 ของปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยจำนวน 43,354 ปริญญาในสหรัฐฯ ปริญญาเป็น Ph.D. และร้อยละ 7.0 เป็น Ed.D. การศึกษาระดับปริญญาเอกสาขาวิชาชีพ (professional doctorates) เช่น แพทยศาสตร์ (Doctor of Medicine - M.D.) และปริญญาเอกด้านกฎหมาย (Juris Doctor - J.D.) ไม่นับรวมในรายชื่อนี้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและรายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา) · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามนายกราชบัณฑิตยสถานและราชบัณฑิตยสภา

้านล่างนี้คือรายพระนามและรายนามนายกราชบัณฑิตยสถานและราชบัณฑิต.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและรายพระนามและรายนามนายกราชบัณฑิตยสถานและราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รายชื่อบุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับธรรมศาสตร์ในที่นี้ได้รวบรวมและแยกแยะออกมาตามคณะหรือสถาบันที่คนผู้นั้นเกี่ยวข้อง ซึ่งมีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

right บุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ เป็นการรวบรวมรายชื่อบุคคลที่จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ ซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่วันสถาปนาโรงเรียนอย่างเป็นทางการในวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและรายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

รุกขเทวดา

รุกขเทวดาตามคติพม่า รุกขเทวดา (รุกฺขเทวตา) คือเทวดาที่สิงสถิตอยู่ตามไม้ต้น คัมภีร์ธัมมปทัฏฐกถาถือว่ารุกขเทวดาอยู่จำพวกเดียวกับพระภูมิ และเป็นเทวดาในชั้นจาตุมหาราชิกา ส่วน นางไม้ เป็นผีผู้หญิงที่สิงสถิตตามต้นไม้ใหญ่ ศาสนาพุทธถือว่านางไม้เป็นคนธรรพ์ที่ถือกำเนิดอยู่ภายในต้นไม้ และต่างจากรุกขเทวดาตรงที่ เมื่อต้นไม้ที่สิงสถิตนั้นล้มลง รุกขเทวดาจะย้ายไปอาศัยต้นไม้อื่นต่อ แต่นางไม้ยังคงสถิตในต้นไม้นั้นเรื่อยไปแม้ไม้นั้นจะถูกแปรรูปแล้วก็ตาม นางไม้ตามความเชื่อของไทย จัดเป็นสตรีสาวสวย ไว้ผมยาวประบ่า ห่มผ้าสไบเฉวียงบ่า นุ่งผ้าจีบงดงาม แต่นางไม้ในความเชื่อของชาวตะวันตก หรือที่เรียกว่า "นิมฟ์" มักจะไม่นุ่งห่มเสื้อผ้าอาภรณ์ อาจจะเป็นในแง่ของผีที่ไม่มีความก้าวหน้าด้านการแต่งตัวเคยแต่งกายอย่างไรก็แต่งเช่นนั้น ไม่สวมเสื้อหรือรองเท้า แต่จะสวมหมวกหรือมงกุฎอยู่เสมอไม่ถอดออก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและรุกขเทวดา · ดูเพิ่มเติม »

รูปสี่เหลี่ยมคางหมู

ในทางเรขาคณิต รูปสี่เหลี่ยมคางหมู คือรูปสี่เหลี่ยมชนิดหนึ่งที่มีด้านตรงข้ามขนานกันจำนวนหนึ่งคู่ รูปสี่เหลี่ยมคางหมู ABCD เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ baseline ABCD หรือ ⏢ ABCD ภาษาอังกฤษสำเนียงอเมริกันเรียกรูปสี่เหลี่ยมคางหมูว่า trapezoid ในขณะที่สำเนียงอังกฤษและออสเตรเลียเรียกว่า trapezium ในทางกลับกัน สำเนียงอเมริกันเรียกรูปสี่เหลี่ยมด้านไม่ขนาน (ด้านไม่เท่า) ว่า trapezium ในขณะที่สำเนียงอังกฤษและออสเตรเลียเรียกว่า trapezoid.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและรูปสี่เหลี่ยมคางหมู · ดูเพิ่มเติม »

รู้รักภาษาไทย

รายการรู้รักภาษาไทย เป็นรายการโทรทัศน์ในรูปแบบการ์ตูนแอนิเมชั่นสอนการใช้ภาษาไทยที่มักเขียนเขียนหรือใช้ผิดในชีวิตประจำวัน จัดทำโดยราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งในอดีตก็เคยมีรายการลักษณะเช่นนี้คือภาษาไทยวันละคำ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและรู้รักภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิ

ลัทธิ (ลทฺธิ; doctrine) หมายถึง ความเชื่อ ความคิดเห็น และหลักการ เกี่ยวกับศาสนา ปรัชญา การเมือง เศรษฐกิจ หรือสังคม ที่นับถือและปฏิบัติตามสืบเนื่องกันมา จนเป็นอุดมการณ์ของกลุ่มชนหรือสำนักวิชาการต่าง ๆ เช่น สังคมนิยม ชาตินิยม ทุนนิยม เป็นต้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและลัทธิ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิประทับใจ

''Avenue de l'Opéra'') โดยกามีย์ ปีซาโร ลัทธิประทับใจ หรือ อิมเพรสชันนิซึม (impressionism) เป็นขบวนการศิลปะที่เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเริ่มต้นจากการรวมตัวกันอย่างหลวม ๆ ของจิตรกรทั้งหลายที่มีนิวาสถานอยู่ในกรุงปารีส พวกเขาเริ่มจัดแสดงงานศิลปะในช่วงทศวรรษที่ 1860 ชื่อของขบวนการนี้มีที่มาจากภาพวาดของโกลด มอแน ที่มีชื่อว่า Impression, Sunrise ("Impression, soleil levant" ในภาษาฝรั่งเศส) และนักวิจารณ์ศิลปะนามว่าหลุยส์ เลอรัว (Louis Leroy) ก็ได้ให้กำเนิดคำคำนี้ขึ้นมาอย่างไม่ตั้งใจในบทวิจารณ์ศิลปะเชิงเสียดสีซึ่งตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์เลอชารีวารี (Le Charivari) อิทธิพลของลัทธิประทับใจยังแผ่ออกจากวงการศิลปะไปยังดนตรีและวรรณกรรม.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและลัทธิประทับใจ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิไวษณพ

ลัทธิไวษณพ เป็นนิกายในศาสนาฮินดูที่นับถือพระวิษณุเป็นพระเป็นเจ้าผู้ยิ่งใหญ่กว่าเทพใด ๆ รวมทั้งในกลุ่มตรีมูรติ พระองค์ยังมีพระนามอื่น ๆ อีก เช่น พระราม พระกฤษณะ พระนารายณ์ พระวาสุเทพ พระหริ เป็นต้น นิกายนี้มีต้นกำเนิดมาจากลัทธิภควัต (หรือลัทธิบูชาพระกฤษณะ) ในสหัสวรรษที่ 1 ก่อนคริสต์ศักราช ต่อมารามานันทะได้พัฒนาลัทธิบูชาพระรามขึ้นจนปัจจุบันกลายเป็นคณะนักพรตที่ใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชีย ลัทธิไวษณพแบ่งเป็นหลายสำนัก เช่น ไทฺวตะ เวทานตะของมัธวาจารย์ วิศิษฏาไทฺวตะ เวทานตะของรามานุชะ สมาคมกฤษณภาวนามฤตนานาชาติของภักติเวทานตสวามี คีตาอาศรมของสวามี หริหระ มหาราช เป็นต้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและลัทธิไวษณพ · ดูเพิ่มเติม »

ลิขิต ธีรเวคิน

ตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559) ราชบัณฑิตสาขาวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสภา นักรัฐศาสตร์และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน เป็นนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ (ระดับ 11) อดีตอาจารย์ประจำและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ และรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน ยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ (พ.ศ. 2540) อดีตหัวหน้าพรรคพลังแผ่นดินไท (30 มิถุนายน พ.ศ. 2549-30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) และ เคยได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไทย อีกด้วย (พ.ศ. 2545-2548 และ พ.ศ. 2549) สำหรับในด้านภูมิปัญญาความคิด ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน ถือเป็นนักวิชาการอาวุโสที่ทรงอิทธิพลในวงการสังคมศาสตร์ไทย ทั้งยังคร่ำหวอดและเชี่ยวชาญการเมืองไทยมาอย่างยาวนานหลายทศวรรษ มีข้อคิดเห็น ข้อวิจารณ์ทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองผ่านสื่อสารมวลชนแขนงต่างๆ อยู่สม่ำเสมอ เป็นเจ้าของวลีเด็ดที่เตือนสังคมไทยในวิกฤตการณ์การเมืองช่วงปี..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและลิขิต ธีรเวคิน · ดูเพิ่มเติม »

ลูกหนี้ร่วม

ลูกหนี้ร่วม (joint obligor) คือ บุคคลหลายคนที่ร่วมกันผูกพันตนเองในหนี้ (obligation) รายเดียวกันโดยทุกคนต้องชำระหนี้รายนั้นจนครบถ้วน เว้นแต่ลูกหนี้ร่วมคนหนึ่งพ้นจากความเป็นหนี้ หนี้ที่เหลืออยู่ก็ตกเป็นภาระของลูกหนี้ร่วมคนอื่น ๆ ที่จะต้องชำระหนี้ต่อไปจนครบถ้วน การเป็นลูกหนี้ร่วมนั้นภาษาอังกฤษว่า "solidarity" ปรกติแล้วมักพบเห็นแต่ลูกหนี้ (obligor) เดี่ยว ๆ คนเดียว ซึ่งการเป็นลูกหนี้ร่วมนี้ย่อมเป็นผลเสียมากกว่าผลดีเพราะทุกคนต้องร่วมรับผิดชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้จนกว่าหนี้นั้นจะครบถ้วนหรือที่เรียก "ชำระหนี้โดยสิ้นเชิง" (performance in whole) และเจ้าหนี้มีความได้เปรียบกว่าลูกหนี้ร่วมตรงที่จะเรียกให้ลูกหนี้ร่วมคนใดคนหนึ่งรับผิดชำระหนี้โดยสิ้นเชิงแต่ผู้เดียวก็ได้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและลูกหนี้ร่วม · ดูเพิ่มเติม »

วชิราวุธวิทยาลัย

วชิราวุธวิทยาลัย เป็นโรงเรียนประจำชายล้วน สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้างโรงเรียนแก่กุลบุตรชาวไทยแทนการสร้างพระอารามซึ่งมีอยู่มากแล้วนั้น ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้มีพระบรมราชโองการให้รวมโรงเรียนมหาดเล็กหลวง กรุงเทพ และโรงเรียนราชวิทยาลัยเข้าด้วยกัน โดยให้นักเรียนย้ายมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวงกรุงเทพ พร้อมทั้งได้พระราชทานนามโรงเรียนขึ้นใหม่ว่า “วชิราวุธวิทยาลัย” เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานกำเนิดโรงเรียนสืบต่อไป วชิราวุธวิทยาลัยมีตึกที่พักนักเรียน เรียกว่า "คณะ" เป็นเสมือนบ้านของนักเรียน แบ่งออกเป็น 2 ฝั่ง คือ คณะเด็กโต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยม แบ่งออกเป็น ๖ คณะ คือ คณะผู้บังคับการ คณะดุสิต คณะจิตรดา คณะพญาไท คณะจงรักภักดี คณะศักดิ์ศรีมงคล ส่วนคณะเด็กเล็กสำหรับนักเรียนชั้นประถม แบ่งออกเป็น ๓ คณะ คือ คณะสนามจันทร์ คณะนันทอุทยาน และ คณะสราญรมย์ นอกจากนี้ ทางโรงเรียนยังส่งเสริมให้นักเรียนได้เล่นกีฬาต่าง ๆ เช่น รักบี้ฟุตบอล แบดมินตัน นอกจากนี้ ยังมีการจัดการแข่งขันรักบี้ประเพณีกับมาเลย์ คอลเลจ (Malay College Kuala Kangsar) จากประเทศมาเลเซีย เป็นประจำทุก ๆ ปี ปัจจุบัน ดำเนินการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตั้งอยู่ที่ ถนนราชวิถี แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและวชิราวุธวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วัด

วัด, อาวาส หรือ อาราม คือคำเรียก ศาสนสถานของศาสนาพุทธในประเทศไทย กัมพูชา และลาว เป็นที่อยู่ของภิกษุ และประกอบศาสนกิจของพุทธศาสนิกชน ภายในวัดมีวิหาร อุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฎิ เมรุ ซึ่งใช้สำหรับประกอบศาสนพิธีต่าง ๆ เช่น การเวียนเทียน การสวดมนต์ การทำสมาธิ วัดโดยส่วนใหญ่นิยมแบ่งเขตภายในวัดออกเป็นสามส่วนคือ พุทธาวาส สังฆาวาส และสัตวาส โดยส่วนพุทธาวาสจะเป็นที่ตั้งของสถูปเจดีย์ อุโบสถ สถานที่ประกอบกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา ส่วนสังฆาวาส จะเป็นส่วนกุฎิสงฆ์สำหรับภิกษุสามเณรจำพรรษา ส่วนสัตวาสเป็นส่วนที่อนุญาตให้พุทธศาสนิกชนนำสัตว์เลี้ยงมาปล่อยเพื่อให้วัด และพระภิกษุสงฆ์สามเณรได้เลี้ยงดู และในปัจจุบันแทบทุกวัดจะเพิ่มส่วนฌาปนสถานเข้าไปด้วย เพื่อประโยชน์ในด้านการประกอบพิธีทางศาสนาของชุมชน เช่น การฌาปนกิจศพ โดยในอดีตส่วนนี้จะเป็นป่าช้า ซึ่งอยู่ติดหรือใกล้วัด ตามธรรมเนียมของแต่ละท้องถิ่น ซึ่งส่วนใหญ่กลุ่มฌาปนสถานในวัดพุทธศาสนาในประเทศไทยจะตั้งอยู่บนพื้นที่ ๆ เป็นป่าช้าเดิม.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและวัด · ดูเพิ่มเติม »

วัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร

วัดชนะสงคราม เป็นวัดโบราณสร้างในสมัยอยุธยา ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้าง เดิมเรียกว่าวัดกลางนา ต่อมาถูกยกสถานะเป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและวัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (/พระ-เชด-ตุ-พน-วิ-มน-มัง-คะ-ลา-ราม/) หรือ วัดโพธิ์ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร และเป็นวัดประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทั้งยังเปรียบเสมือนเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศด้วย เนื่องจากเป็นที่รวมจารึกสรรพวิชาหลายแขนง และทางยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจำโลกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เมื่อ มีนาคม..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดคณิกาผล

วัดคณิกาผล เป็นวัดไทยในพุทธศาสนามหานิกาย ประเภทวัดราษฎร์ ตั้งอยู่ที่ถนนพลับพลาไชย แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร ตรงกันข้ามกับสถานีตำรวจนครบาลพลับพลาไชย 2 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว หญิงนางหนึ่งชื่อ แฟง มักเรียกกันว่า ยายแฟง เป็นเจ้าสำนักโสเภณีชื่อ "โรงยายแฟง" อยู่ที่ตรอกเต๊า ถนนเยาวราช มีศรัทธาในพุทธศาสนา จึงชวนหญิงโสเภณีในสำนักของนางเอารายได้จากการค้าประเวณีมาลงขันกันสร้างวัดขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและวัดคณิกาผล · ดูเพิ่มเติม »

วัตถุมงคล

วัตถุมงคล หมายถึง เครื่องรางของขลังที่เชื่อว่าจะนำความสุขความเจริญเป็นต้นมาให้ หรือป้องกันภัยอันตรายต่าง ๆ วัตถุมงคล เป็นเรื่องของความเชื่อและศรัทธาในสิ่งของที่สร้างขึ้นมีความสัมพันธ์ทางด้านศาสนา ตามสมัยนิยมตั้งแต่โบราณกาลมีหลักฐานเป็นวัตถุมงคลที่สร้างขึ้นมีอายุเก่าแก่เกือบ 2,000 ปี วัตถุมงคลจะมีมากมายในสังคมไทย เช่น พระเครื่อง, พระกริ่ง, พระกริ่งปวเรศ, ปลัดขิก, ผ้ายันต์, ตะกรุด, มีดหมอ, องค์เทพที่เป็นทางศาสนาอื่น ๆ เช่น พระพรหม, พระตรีมูรติ, พระราหู.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและวัตถุมงคล · ดูเพิ่มเติม »

วันประมงแห่งชาติ

วันประมงแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 21 กันยายนของทุกปี เพื่อเป็นการสนับสนุนในการทำอาชีพประมง และเป็นที่ระลึก สร้างขวัญกำลังใจในการประกอบอาชีพของชาวประมงไท.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและวันประมงแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วิชัย ริ้วตระกูล

ตาจารย์ วิชัย ริ้วตระกูล (12 ตุลาคม 2485 -) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยนครพนม นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ประจำปี..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและวิชัย ริ้วตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

วิบูลย์ ลี้สุวรรณ

วิบูลย์ ลี้สุวรรณ (19 ตุลาคม พ.ศ. 2490 -) ศิลปินสาขาจิตรกรรม ศาสตราจารย์สาขาทัศนศิลป์ ภาควิชาทัศนศิลป์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ นครปฐม ราชบัณฑิต ประจำสำนักศิลปรรม ราชบัณฑิตยสภา สาขาวิจิตรศิลป.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและวิบูลย์ ลี้สุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

วิรุณ ตั้งเจริญ

ตราจารย์ ดร.วิรุณ ตั้งเจริญ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 -) นายกภามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (พ.ศ. 2546 - 2554) อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 นักการศึกษา นักบริหาร ศิลปินด้านทัศนศิลป์ ผลงานที่โดดเด่นที่สุด คือการเป็นนักวิชาการด้านศิลปะ มีผลงานออกสู่สังคมอย่างต่อเนื่อง เช่น ผลงานหนังสือประวัติศาสตร์ศิลป์ และ ทฤษฎีด้านศิลป.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและวิรุณ ตั้งเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการเบนเข้า

วิวัฒนาการเบนเข้า (Convergent evolution) คือการวิวัฒนาการแบบที่สิ่งมีชีวิตที่ไม่ได้มีบรรพบุรุษร่วมกัน แต่มีลักษณะที่วิวัฒนาการได้ผลลัพธ์ที่คล้ายกัน แต่ต้องกำหนดจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายที่ใช้ในการสังเกต และเปรียบเทียบกลไกการวิวัฒนาการที่เกิดขึ้น ปีกเป็นตัวอย่างวิวัฒนาการเบนเข้าที่ยอดเยี่ยม แมลงบินได้ นก และค้างคาว ต่างมีวิวัฒนาการการบินที่อิสระ แต่มาบรรจบกันตรงคุณลักษณะที่มีประโยชน์นี้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและวิวัฒนาการเบนเข้า · ดูเพิ่มเติม »

วิทยุติดตามตัว

วิทยุติดตามตัวรุ่นต่าง ๆ วิทยุติดตามตัว หรือ เพจเจอร์ (pager) (ราชบัณฑิตยสถาน: วิทยุเรียกตัว, วิทยุตามตัว) เป็นเครื่องมือทางโทรคมนาคมส่วนตัวอย่างง่าย สำหรับการส่งข้อความสั้น ๆ โดยรับข้อความทางเดียว กับจำนวนข้อความที่จำกัด อย่างเช่นหมายเลขโทรศัพท์ติดต่อกลับ จนถึงทั้งตัวอักษรและตัวเลข และเพจเจอร์ 2 ทาง คือสามารถส่งและรับอีเมล การส่งข้อความตัวและและการส่งเอสเอ็มเอส โดยการส่งข้อความไม่สามารถที่จะส่งได้ทันทีทันใด แต่ต้องโทรศัพท์ไปยังโอเปอร์เรเตอร์เพื่อบอกให้เจ้าหน้าที่พิมพ์ข้อความที่ต้องการและส่งต่อให้อีกทอดหนึ่ง โดยแจ้งหมายเลขประจำเครื่องของผู้รับ ปัจจุบัน เพจเจอร์โดยมากใช้สำหรับการสนับสนุนการส่งข้อความในยามวิกฤต เนื่องจากความน่าเชื่อถือ และสามารถส่งข้อความถึงอุปกรณ์เป็นกลุ่มได้ ไม่เหมือนกับเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ ที่ในยามฉุกเฉินหรือหายนะจะประสบปัญหาการใช้เครือข่ายเกินพิกัดจนใช้การไม่ได้ อย่างเช่นในเหตุวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 หรือเหตุการณ์พายุเฮอร์ริเคนแคทรีนา ด้วยเหตุผลนี้ทำให้เพจเจอร์ยังคงได้รับความนิยมในหมู่ของเจ้าหน้าที่บริการฉุกเฉิน เจ้าหน้าที่ด้านการแพทย์ และเจ้าหน้าที่ดูแลระบบบริการสารสนเท.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและวิทยุติดตามตัว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์หนู

วงศ์หนู (Rat, Mice, Mouse; วงศ์: Muridae) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมวงศ์หนึ่ง ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Muridae นับเป็นสัตว์ที่มนุษย์รู้จักกันเป็นอย่างดี และนับเป็นวงศ์ของสัตว์ฟันแทะที่มีความหลากหลายและจำนวนสมาชิกมากที่สุดด้วย ด้วยมีจำนวนสมาชิกมากกว่า 700 ชนิด ตั้งแต่อาร์กติกเซอร์เคิลจนถึงปลายสุดของทวีปอเมริกาใต้ โดยยังแบ่งออกเป็นวงศ์ย่อยได้อีก 5 วงศ์ (ดูในตาราง).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและวงศ์หนู · ดูเพิ่มเติม »

ศัพท์ปัญญาประดิษฐ์

ในปัจจุบัน ปัญญาประดิษฐ์ยังเป็นสาขาวิชาที่มีการศึกษาและวิจัย อยู่ในกลุ่มเล็กๆในไทย ทำให้มีคำศัพท์มากมาย ที่ทางราชบัณฑิตยสถานยังไม่ได้บัญญัติคำภาษาไทย หน้านี้จึงรวบรวมคำศัพท์ในสาขาปัญญาประดิษฐ์ที่ใช้ในวิกิพีเดียนี้ รวมถึงคำที่มีผู้อื่นบัญญัติไว้แล้ว.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและศัพท์ปัญญาประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลพระภูมิ

ลพระภูมิ ศาลพระภูมิ หมายถึง ศาลที่สร้างขึ้นเพื่อให้เป็นที่สถิตของเทพารักษ์ พบได้ทั่วไปในประเทศไทย มีลักษณะเป็นบ้านหรือวิหารหลังเล็กตั้งอยู่บนเสาเดี่ยว หรือปะรำทำจากปูนหรือไม้เป็นต้น ตั้งไว้ในจุดที่เชื่อว่าเป็นมงคล ซึ่งมักจะอยู่ริมรั้วหรือมุมหนึ่งนอกบ้าน และบ้านหนึ่งก็อาจมีศาลพระภูมิมากกว่าหนึ่งหลัง การบวงสรวงศาลพระภูมิเป็นการถวายพวงมาลัย ดอกไม้ และอาหาร ให้กับวิญญาณที่สถิตอยู่ในศาล ซึ่งมักจะทำก่อนพิธีกรรมของบ้านนั้นหรือเนื่องในวันสำคัญ ศาลพระภูมิที่ถอนแล้วมักจะนำไปไว้ที่วัดหรือทิ้งไว้ตามข้างทางแยก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและศาลพระภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนศึกษา

ัญลักษณ์ของศาสนาต่าง ๆ ศาสนศึกษา (religious studies; religious education) คือสาขาวิชาที่ศึกษาความเชื่อ พฤติกรรม และสถาบันทางศาสนา โดยการบรรยาย ตีความ และอธิบาย ศาสนาอย่างเป็นระบบ อิงกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์และมุมมองจากวัฒนธรรมที่หลากหลาย ศาสนศึกษาต่างจากเทววิทยาซึ่งเน้นศึกษาเพื่อให้เกิดความเชื่อและเข้าใจอำนาจเหนือมนุษย์ เช่น เทวดา พระเป็นเจ้า แต่ศาสนศึกษาจะศึกษาจากมุมมองของคนนอก จึงมีการใช้หลายสาขาวิชามาเป็นเครื่องมือในการศึกษาด้วย เช่น มานุษยวิทยา สังคมวิทยา จิตวิทยา ปรัชญา และประวัติศาสตร์ศาสนา ศาสนศึกษาเกิดขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นช่วงที่การศึกษาคัมภีร์ไบเบิลด้วยหลักวิชาประวัติศาสตร์กำลังเป็นที่นิยม และคัมภีร์ของศาสนาพุทธและศาสนาฮินดูก็เพิ่งถูกแปลเป็นภาษายุโรปเป็นครั้งแรก นักศาสนศึกษาที่มีบทบาทสำคัญในยุคแรก ๆ คือ ศาสตราจารย์มักซ์ มึลเลอร์ ในช่วงแรกนั้นยังใช้ชื่อว่าศาสนาเปรียบเทียบหรือศาสนศาสตร.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและศาสนศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนา

ัญลักษณ์ของศาสนาต่าง ๆ ภาพศาสนพิธีในศาสนาต่าง ๆ ทั่วโลก ศาสนา (Religion) หมายถึง ลัทธิความเชื่อของมนุษย์ เกี่ยวกับการกำเนิดและสิ้นสุดของโลก หลักศีลธรรม ตลอดจนลัทธิพิธีที่กระทำตามความเชื่อนั้น ๆ หลายศาสนามีการบรรยาย สัญลักษณ์และประวัติศาสตร์ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเจตนาอธิบายความหมายของชีวิต และ/หรืออธิบายกำเนิดชีวิตหรือเอกภพ จากความเชื่อของศาสนาเกี่ยวกับจักรวาลและธรรมชาติมนุษย์ คนได้รับศีลธรรม จริยศาสตร์ กฎหมายศาสนาหรือวิถีชีวิตลำดับก่อน บางการประมาณว่า มีศาสนาราว 4,200 ศาสนาในโลก นอกจากนี้ ยังมีผู้ไม่นับถือศาสนาใด ๆ ซึ่งเรียกว่า ผู้ที่ไม่มีศาสน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนามาณีกี

นามาณีกี หรือ ศาสนามานี หรือ มานีธรรม (मानी धर्म - Manichaeism) หรือ หมอหนีเจี้ยว หรือ ม๊อนี้ก่า (摩尼教) เป็นศาสนาแบบ เอกเทวนิยม และไญยนิยม (Gnosticism) ที่มีต้นกำเนิดในจักรวรรดิแซสซานิด มีพระมานีหัยยา (मानी हय्या) เป็นศาสดา แม้ว่างานเขียนของท่านจะหายสาบสูญไปทั้งหมดแล้ว แต่ยังคงมีฉบับแปลในภาษาต่าง ๆ ตกทอดมาถึงปัจจุบัน ศาสนามานี เป็นสาขาหนึ่งของ ศาสนาโซโรอัสเตอร์ เป็นต้นกำเนิดของ ลัทธิบัวขาว ลัทธิเซียนเทียนเต้า และ ลัทธิอนุตตรธรรม สอนเชิงจักรวาลวิทยาว่าจักรวาลแบ่งออกเป็นของด้าน คือด้านความดีงาม จิตวิญญาณ และความสว่าง กับความชั่วร้าย วัตถุ และความมืด สันนิษฐานว่าศาสนามานีได้รับแนวคิดนี้มาจากแนวคิดของพวกไญยนิยมในเมโสโปเตเมีย ศาสนามานีกีแพร่หลายมากในภูมิภาคที่ใช้ภาษาแอราเมอิกและภาษาซีรีแอก ราว คริสต์ศตวรรษที่ 3 - 7 จนกลายเป็นศาสนาที่แพร่หลายมากที่สุดในโลกศาสนาหนึ่งในยุคนั้น ศาสนจักรมานีแพร่ไปทางตะวันออกไกลถึงประเทศจีน และทางตะวันตกไกลถึงจักรวรรดิโรมัน โดยมีศาสนิกชนส่วนมากเป็นทหาร จนได้ชื่อว่าเป็นศาสนาของกองทัพ และกลายเป็นคู่แข่งของศาสนาคริสต์ แทนลัทธิเพกันที่เสื่อมไปก่อนหน้านั้นแล้ว ศาสนามานีในภูมิภาคตะวันออกดำรงอยู่นานกว่าทางตะวันตก โดยเสื่อมสลายไปราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ทางใต้ของจีน ศาสนิกชนของศาสนานี้เรียกว่า ชาวมานี หรือ มานีเชียน ซึ่งในปัจจุบันใช้หมายรวมถึง ผู้มีแนวคิดทางจริยศาสตร์รูปแบบหนึ่งที่มองศีลธรรมแบบทวินิยม คือมีความดีความชั่วอยู่จริง และอยู่แยกกันต่างหากอย่างชัดเจน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและศาสนามาณีกี · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A. The fundamental Christian faith: the origin, history and interpretation of the Apostles' and Nicene creeds. C. Scribner's sons, 1913.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนจักร

นจักร คือ อำนาจปกครองทางศาสนา เรียกคู่กับ "อาณาจักร" คืออำนาจปกครองทางบ้านเมือง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและศาสนจักร · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปกรรม

ลปกรรม (อ่านว่า สิน-ละ-ปะ-กัม) มีความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ว่า สิ่งที่เป็นศิลปะ, สิ่งที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นศิลปะ ศิลปกรรม มีความหมายตรงกับวลีภาษาอังกฤษว่า "work of art" และคำภาษาอังกฤษว่า "art".

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและศิลปกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ศิลป์ พีระศรี

ตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี (15 กันยายน พ.ศ. 2435 — 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505) เดิมชื่อ คอร์ราโด เฟโรชี (Corrado Feroci) ชาวอิตาลีสัญชาติไทย เป็นประติมากรจากเมืองฟลอเรนซ์ที่เข้ามารับราชการในประเทศไทยตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเป็นปูชนียบุคคลคนหนึ่งของไทยที่ได้สร้างคุณูปการในทางศิลปะและมีผลงานที่เป็นที่กล่าวขานจนเป็นที่รู้จักกว้างขวาง ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งและอาจารย์สอนวิชาศิลปะที่โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ซึ่งภายหลังได้รับการยกฐานะให้เป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยศาสตราจารย์ศิลป์ได้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัย มีความรักใคร่ ห่วงใยและปรารถนาดีต่อลูกศิษย์อยู่ตลอดจนเป็นที่รักและนับถือทั้งในหมู่ศิษย์และอาจารย์ด้วยกัน ศาสตราจารย์ศิลป์ยังเป็นผู้วางรากฐานที่เข้มแข็งให้แก่วงการศิลปะไทยสมัยใหม่จากการที่ได้พร่ำสอนและผลักดันลูกศิษย์ให้ได้มีความรู้ความสามารถในวิชาศิลปะทั้งงานจิตรกรรมและงานช่าง มีจุดประสงค์ให้คนไทยมีความรู้ความเข้าใจในศิลปะและสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะได้ด้วยความสามารถของบุคลากรของตนเอง การก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงเปรียบเสมือนการหว่านเมล็ดพันธุ์ให้แก่คนไทยเพื่อที่จะออกไปสร้างศิลปะเพื่อแผ่นดินของตน และถึงแม้จะริเริ่มรากฐานของความรู้ด้านศิลปะตะวันตกในประเทศไทย แต่ในขณะเดียวกันศาสตรจารย์ศิลป์ก็ได้ศึกษาศิลปะไทยอย่างลึกซึ้ง เนื่องจากต้องการให้คนไทยรักษาความงามของศิลปะไทยเอาไว้ จึงได้เกิดการสร้างลูกศิษย์ที่มีความรู้ทั้งงานศิลปะตะวันตกและศิลปะไทยออกไปเป็นกำลังสำคัญให้แก่วงการศิลปะไทยเป็นจำนวนมาก และเกิดรูปแบบงานศิลปะไทยสมัยใหม่ในที่สุด ด้วยคุณูปการนี้ศาสตราจารย์ศิลป์จึงได้รับการยกย่องให้เป็นปูชนียบุคคลของมหาวิทยาลัยศิลปากรและของประเทศไทย โดยเฉพาะในงานประติมากรรมที่ได้มีผลงานที่โดดเด่นมากมายที่สร้างไว้แก่ประเทศไทย ได้แก่ พระพุทธรูปประธานที่พุทธมณฑล, อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ, อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย และรวมไปถึง พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ที่วงเวียนใหญ่, พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี และพระบรมราชานุสาวรีย์ของกษัตริย์ไทยอีกหลายพระองค์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ศาสตรจารย์ศิลป์จงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทยและเป็นบิดาแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยในวันที่ 15 กันยายน ของทุกปีจะถือเป็นวันศิลป์ พีระศรี ซึ่งมหาวิทยาลัยจะจัดงานรำลึกขึ้นทุกปีเพื่อระลึกถึงคุณงามความดีของศาสตราจารย์ศิลป์ที่มีต่อมหาวิทยาลัยและประเทศไทยหลายประการ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและศิลป์ พีระศรี · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว

ูนย์เกิดแผ่นดินไหวคือตำแหน่งใต้ผิวโลกที่เกิดการปลดปล่อยพลังงาน จุดเกิดแผ่นดินไหว (focus) หมายถึงตำแหน่งที่เกิดแผ่นดินไหวและเป็นศูนย์กลางที่เกิดการปลดปล่อยความเครียดและพลังงานซึ่งถูกกักเก็บไว้ในชั้นหิน จุดนี้เป็นจุดเดียวกับที่รอยเลื่อนเริ่มต้นการเคลื่อน ความลึกจุดเกิดแผ่นดินไหวสามารถคำนวณได้จากการวัดซึ่งขึ้นอยู่กับปรากฏการณ์คลื่นแผ่นดินไหว ด้วยปรากฏการณ์คลื่นทั้งหมดในทางฟิสิกส์ มีความไม่แน่นอนอยู่ในการวัดปริมาณดังกล่าวเพิ่มยิ่งขึ้นตามความยาวคลื่น ดังนั้นความลึกจุดเกิดแผ่นดินไหวของแหล่งที่มาของคลื่นที่มีความยาวนี้ (ความถี่ต่ำ) จึงเป็นการยากที่จะตรวจสอบให้แน่ชัด แผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงมากจะส่งพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาส่วนใหญ่ในรูปของคลื่นแผ่นดินไหวที่มีความยาวคลื่นมาก และดังนั้น แผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงมากขึ้นเท่าใดก็เป็นการปลดปล่อยพลังงานจากหินที่มีมวลมากยิ่งขึ้นเท่านั้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและศูนย์เกิดแผ่นดินไหว · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

ูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (National Electronics and Computer Technology Center) หรือ เนคเทค (NECTEC) เป็นหน่วยงานภายใต้สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่ที่อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี โดยมีหน้าที่หลักในการดำเนินการวิจัย ให้ทุนสนับสนุนการวิจัยในภาครัฐ รวมถึงการบริการเพื่อพัฒนา เสริมสร้างอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ โทรคมนาคม สารสนเท.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สก๊อย

ก๊อย หรือ เลดี้แซป คือวัยรุ่นหญิงที่มักนั่งท้ายมอเตอร์ไซค์ของเด็กแว้น มักใส่เสื้อยืดรัดติ้ว หรือไม่ก็สายเดี่ยว เสื้อกล้าม เกาะอก ชอบใส่กางเกงขาสั้นมาก ๆ มักผัดหน้าให้ขาววอก และจะผูกผมเป็น 2 ข้าง ส่วนริมฝีปากจะแดงระเรื่อ เครื่องประดับชิ้นสำคัญ คือ หวี และการใช้โทรศัพท์มือถือ ส่วนใหญ่บริเวณน่องขาของสก๊อยมักมีรอยท่อไอเสียดาด และรอยแผลเป็นประปรายตามแข้งขาเนื่องจากอุบัติเหตุ ท่าประจำตัวของสิ่งมีชีวิตประเภทนี้ คือ สายย่อ คำว่าสก๊อย นั้นมีที่มาจาก "สก๊อยจัง" (Skoichun) ซึ่งเป็นตัวละครที่ออกแบบขึ้นเพื่อฉลองครบรอบ 7 ปีของมอนสเตอร์คลับ เพื่อไว้คู่กับแซ๊บคุง ซึ่งทั้ง สก๊อยจัง และ แซปคุง ต่างเป็นเนื้อคู่ตุนาหงันกัน (โดยคนเขียนเรื่อง Sea-cret Agent Joe) พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 1 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้นิยาม เด็กสก๊อย และ เด็กก๊อย ว่า วัยรุ่นผู้หญิงที่ซ้อนท้ายมอเตอร์ไซค์ของเด็กแว้นในลักษณะกอดรัด มักนุ่งกางเกงยีนส์ขาสั้นมาก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสก๊อย · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 (6 มกราคม พ.ศ. 2544 - 5 มกราคม พ.ศ. 2548) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน โดยมีพรรคการเมืองที่ได้รับการเลือกตั้งสูงสุด คือ พรรคไทยรักไทย จำนวน 377 คน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถ

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยแบบรัฐสภา สมเด็จพระราชินีนาถ (Queen Regnant) คือ พระมหากษัตริย์หญิงผู้ครองราชสมบัติด้วยสิทธิ์ของพระองค์เอง ต่างจาก "สมเด็จพระราชินี" (Queen Consort) ซึ่งเป็นพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติ และไม่ทรงมีอำนาจในการบริหารราชกิจของบ้านเมืองอย่างเป็นทางการใด ๆ โดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์มีทั้ง "สมเด็จพระราชาธิบดี" (King Regnant) และ "พระมหากษัตริย์พระราชสวามี" (King Consort) แต่เกิดขึ้นได้ยาก และมีการใช้พระอิสริยยศเพียงสองครั้งในประวัติศาสตร์ราชวงศ์อังกฤษ ระบอบราชาธิปไตยในปัจจุบันที่ให้สมเด็จพระราชินีนาถทรงครองราชบัลลังก์ พระสวามีของพระองค์จะไม่ได้มีพระอิสริยยศเป็นพระราชา แต่เป็นเพียงแค่ชั้นเจ้าชายเท่านั้น พระราชสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระสวามีคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสก็อตแลนด์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชสวามีในอาณาจักรของพระองค์เอง แต่ไม่เป็นที่ชื่นชอบของพสกนิกรและการอภิเษกสมรสกินเวลาเพียงไม่นาน พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระราชินีนาถแห่งชาวสก็อต ทรงได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี พระมหากษัตริย์ที่ปกครองร่วมกันเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และที่ 1 แห่งไอร์แลนด์ แต่ถือเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองร่วมกันครั้งเดียว และเป็นทางการที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ แต่หลังจากนั้นมา พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถในประเทศอังกฤษได้รับการสถาปนาเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" (Prince Consort) (มีเพียงคนเดียวที่ได้รับการแต่งตั้งพระอิสริยยศนี้อย่างเป็นทางการคือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) การเสวยราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถจะเกิดขึ้นเมื่อลำดับการสืบราชบัลลังก์เอื้ออำนวย วิธีการสืบราชสมบัติ (เป็นพระมหากษัตริย์ หัวหน้าเผ่า ฯลฯ) และรวมถึงการแต่งตั้ง (พระมหากษัตริย์ในรัฐสภา หรือ คณะมนตรีแต่งตั้งรัชทายาท) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติก่อนที่สุด (primogeniture) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติหลังที่สุด (ultimogeniture) ขอบเขตในการสืบราชสมบัติอาจยึดจากสายทางพระชนก สายทางพระชนนีหรือทั้งสองฝ่าย หรือที่ไม่ค่อยเกิดขึ้น (เมื่อถึงคราวจำเป็น) มาจากการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการสืบราชสมบัติโดยตามเพศ อาจจะให้ทั้งชายและหญิง จำกัดแต่เพศชายเท่านั้น หรือจำกัดแต่เพศหญิงเท่านั้น การสืบราชบัลลังก์ที่เป็นแบบแผนมากที่สุดตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายตลอดจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นแบบการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดา (male-preference primogeniture) กล่าวคือ ลำดับการสืบราชบัลลังก์อยู่ในบรรดาพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ตามลำดับการประสูติก่อนแล้วจึงตามมาด้วยของพระราชธิดา ในบางอาณาจักรทางประวัติศาสตร์ห้ามมิให้มีการสืบราชสมบัติโดยผู้หญิงหรือผ่านทางเชื้อสายของผู้หญิง แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีบางแห่งที่ยังคงยึดถือหลักเกณฑ์นี้ตามกฎหมายแซลิก ดังตัวอย่างเช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก แต่เมื่อกษัตริย์ดัตช์พระองค์สุดท้ายเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2433 และสืบราชบัลลังก์ต่อมาโดยพระราชธิดา กฎหมายแซลิกจึงไม่ยอมให้ลักเซมเบิร์กยอมรับพระองค์ในฐานะเป็นแกรนด์ดัชเชสผู้ปกครองตามพระราชสิทธิของพระองค์เอง เช่นเดียวกับตอนที่ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์แห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ พระองค์ไม่ได้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งแฮโนเวอร์ด้วย ถึงแม้ว่าสมเด็จพระปิตุลาธิราชของพระองค์ทรงเคยเป็นกษัตริย์ของทั้งสองประเทศมาก่อน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ประเทศสวีเดน นอร์เวย์ เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ได้แก้ไขพระราชบัญญัติการสืบราชบัลลังก์จากการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดามาเป็นมีสิทธิสืบราชสมบัติเท่ากันตามลำดับการประสูติโดยไม่จำกัดเรื่องเพศ ในบางกรณี การเปลี่ยนแปลงอาจยังไม่ส่งผลอะไรมากมายจนกว่ารุ่นต่อจากรุ่นปัจจุบันเกิดขึ้นมา เพื่อหลีกเลี่ยงการยึดตำแหน่งของบุคคลที่อยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์มาก่อน โดยเฉพาะในพระอิสริยยศพิเศษ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสมเด็จพระราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีสุธรรมราชา

มเด็จพระศรีสุธรรมราชาธิราช หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 7 เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 26 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นรัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์ปราสาททอง ทรงครองราชย์ในปี..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสมเด็จพระศรีสุธรรมราชา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสังฆราชไทย

ในประเทศไทย สมเด็จพระสังฆราช คือประมุขแห่งคณะสงฆ์ ซึ่งตามกฎหมายคณะสงฆ์บัญญัติให้ทรงดำรงตำแหน่งสกลมหาสังฆปริณายก ที่มาและอำนาจหน้าที่ของสมเด็จพระสังฆราชเป็นไปตามพระราชบัญญัติคณะสง..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสมเด็จพระสังฆราชไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) เป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และโดยพระชนมายุจึงนับเป็นพระกุลเชษฐ์พระองค์ปัจจุบันในพระบรมราชจักรีวงศ์ เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ขณะที่พระราชสวามีเสด็จออกผนวช ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 73, ตอน 76ก, 25 กันยายน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าจิตรเจริญ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณร.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สยาม

งชาติสยาม พ.ศ. 2398-พ.ศ. 2459 สยาม (อักษรละติน: Siam, อักษรเทวนาครี: श्याम) เคยเป็นชื่อเรียกประเทศไทยในอดีต แต่มิใช่ชื่อที่คนไทยเรียกตนเอง ราชบัณฑิตยสถาน ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสยาม · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ ตันตระรัตน์

ตราจารย์ สวัสดิ์ ตันตระรัตน์ (4 ตุลาคม พ.ศ. 2492 -) เป็นนักวิชาการด้านโทรคมนาคมและการประมวลผลสัญญาณดิจิทัล คนสำคัญคนหนึ่งของประเทศไทย ปัจจุบันเป็นราชบัณฑิต ประจำสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา และผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจั.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสวัสดิ์ ตันตระรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ ตันติสุข

วัสดิ์ ตันติสุข ศิลปินแห่งชาติ สวัสดิ์ ตันติสุข (24 เมษายน พ.ศ. 2468 - 4 สิงหาคม พ.ศ. 2552) ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ประจำปี..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสวัสดิ์ ตันติสุข · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระพุทธยอดฟ้า

มุมสูงของสะพานพระพุทธยอดฟ้าและสะพานพระปกเกล้า สะพานพระพุทธยอดฟ้า หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (Phra Phuttha Yodfa Bridge, Memorial Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่เชื่อมการคมนาคมติดต่อระหว่างฝั่งพระนครกับฝั่งธนบุรีของกรุงเทพมหานคร ที่ปลายถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กับปลายถนนประชาธิปก แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี ปัจจุบันสะพานแห่งนี้อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสะพานพระพุทธยอดฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

สะพานมหาดไทยอุทิศ

นมหาดไทยอุทิศ สะพานมหาดไทยอุทิศ หรือชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า สะพานร้องไห้ เปิดใช้เป็นทางการเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2457 เป็นสะพานของถนนบริพัตร ในพื้นที่แขวงบ้านบาตร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เพื่อข้ามคลองมหานาค ณ จุดบรรจบระหว่างคลองมหานาคกับคลองรอบกรุงหรือคลองโอ่งอ่าง-บางลำพู มาเชื่อมกับถนนดำรงรักษ์และถนนหลานหลวง รวมทั้งถนนราชดำเนิน สะพานมหาดไทยอุทิศตั้งอยู่ใกล้เคียงกับภูเขาทอง วัดสระเกศและป้อมมหากาฬ สร้างขึ้นเพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยร่วมกับข้าราชการของกระทรวงทั่วประเทศร่วมกันบริจาคค่าก่อสร้าง ซึ่งรวมเงินได้ 41,241 บาท 61 สตางค์ มอบให้กรมสุขาภิบาลเป็นผู้สร้าง สิ้นค่าก่อสร้างไปทั้งสิ้น 57,053 บาท 29 สตางค์ ส่วนที่เกินโปรดเกล้าให้กรมสุขาภิบาลออกเงินสมทบ การก่อสร้างสะพานมหาดไทยอุทิศเป็นพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อให้การสัญจรไปมาสะดวกขึ้นเนื่องจากบริเวณนี้เป็นที่รวมของถนนหลายสาย แต่เสด็จสวรรคตเสียก่อน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานนามสะพานมหาดไทยอุทิศและโปรดเกล้าให้กรมสุขาภิบาลทำหุ่นจำลองตัวสะพพานไปตั้งถวายตัวในงานถวายพระเพลิงพระบรมศพของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวด้วย ประติมากรรมนูนต่ำรูปสตรีอุ้มเด็ก หรือแม่อุ้มลูกร้องไห้ สะพานมหาดไทยอุทิศมีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมแบบยุโรปและก่อสร้างตามวิธีสมัยใหม่ กลางราวสะพานด้านขวามีภาพประติมากรรมนูนต่ำเป็นรูปสตรีอุ้มเด็ก ในมือมีช่อดอกซ่อนกลิ่น ด้านซ้ายเป็นรูปผู้ชายยืนจับไหล่ของเด็ก เป็นภาพแสดงถึงความโศรกเศร้าอาลัยรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันเป็นที่มาของชื่อ "สะพานร้องไห้" พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีเปิดสะพานด้วยพระองค์เองในคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนี้แล้ว ในปัจจุบัน สะพานมหาดไทยอุทิศยังเป็นสะพานที่เป็นโบราณสถานที่สามารถให้รถวิ่งข้ามได้เพียงแห่งเดียวในกรุงเทพมหานคร โดยไม่ได้มีการขยายพื้นที่ของสะพานออก จึงยังคงสภาพเดิมตั้งแต่แรกสร้างไว้ได้มากถึงร้อยละ 90.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสะพานมหาดไทยอุทิศ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานมัฆวานรังสรรค์

นมัฆวานรังสรรค์ เป็นสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ที่สร้างขึ้นพร้อมกับการสร้างถนนราชดำเนินนอก ซึ่งเป็นถนนขนาดใหญ่ แบบที่เรียกว่า Avenue ของทวีปยุโรป อยู่ในพื้นที่เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ผู้ออกแบบคือนายการ์โล อัลเลกรี นายช่างชาวอิตาลี สร้างตามสถาปัตยกรรมอิตาลีและสเปน ใช้เวลา 3 ปี ลักษณะเป็นสะพานโครงสร้างคานเหล็กพื้นคอนกรีต ส่วนประดับคือรางสะพานที่เป็นเหล็กหล่อและดวงตรารูปช้างเอราวัณ ที่กลางสะพานมีเสาหินอ่อน มุมสะพานรองรับโคมไฟสำริด ผนังเชิงลาดสะพานประดับด้วยหินอ่อน สะพานแห่งนี้ได้ชื่อว่าเป็นสะพานที่สวยงามสะพานหนึ่งในกรุงเทพฯ รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดเมื่อ..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสะพานมัฆวานรังสรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานเทเวศรนฤมิตร

นเทเวศรนฤมิตร เป็นสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ตั้งอยู่บนถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นสะพานที่สร้างขึ้นโดยพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสงค์สร้างสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษมทั้งหมดห้าสะพานและทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามให้มีชื่อคล้องจองกันทั้งหมด โดยทรงปรึกษากับพระราชเลขานุการที่เชี่ยวชาญภาษามคธ ได้นามเป็นมงคลคล้องจองกัน โดยมีความหมายโดยรวมว่า "สะพานที่เทวดานฤมิตร" คือ สะพานเทเศวรนฤมิตร, สะพานวิศสุกรรมนฤมาณ, สะพานมัฆวานรังสรรค์, สะพานเทวกรรมรังรักษ์ และสะพานจตุรภักตร์รังสฤษดิ์ โดยในส่วนของสะพานเทเวศรนฤมิตร นั้นมีความหมายถึง "สะพานที่เทวดาผู้เป็นใหญ่สร้าง" หรือ "สะพานที่พระอิศวรเป็นผู้สร้าง" เมื่อสร้างเสร็จแล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสะพานเทเวศรนฤมิตร · ดูเพิ่มเติม »

สังข์รดน้ำ

ังข์รดน้ำ (Valambari shank, Great indian chank) เป็นหอยทะเลฝาเดี่ยวชนิดหนึ่ง ในวงศ์หอยสังข์มงคล (Turbinellidae) จัดเป็นหอยขนาดใหญ่ มีเปลือกหนา รูปเปลือกค่อนข้างป้อม วงเกลียวตัวกลม ส่วนปลายมีร่องยาวปานกลาง ส่วนยอดเตี้ย ช่องเปลือกรูปรี ขอบด้านในมีสัน 3-4 อัน ผิวชั้นนอกสุดสีน้ำตาล เป็นชั้นที่บางและหลุดล่อนง่าย และมักจะหลุดออกเมื่อหอยตาย เปลือกชั้นรองลงไปเป็นส่วนที่มีความหนาและแข็ง ค่อนข้างเรียบ มีสีขาวนวลหรือสีขาวอมชมพู พบกระจายพันธุ์อยู่เฉพาะมหาสมุทรอินเดียทางตอนใต้ของประเทศอินเดียและประเทศศรีลังกาเท่านั้น อาศัยอยู่ตามพื้นน้ำที่เป็นพื้นทราย กินหนอนตัวแบนและแพลงก์ตอนเป็นอาหาร สังข์รดน้ำ โดยปกติแล้วจะมีเปลือกเวียนทางซ้าย (อุตราวรรต) ตามเข็มนาฬิกา แต่มีบางตัวที่เวียนไปทางด้านขวา (ทักษิณาวรรต) ซึ่งพบได้น้อยมาก ซึ่งหอยลักษณะนี้ตามคติของศาสนาฮินดูจะถือเป็นมงคล (ตามคติของพราหมณ์-ฮินดู ขว.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสังข์รดน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก

มก๊ก (Romance of the Three Kingdoms) เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง จัดเป็นวรรณกรรมเพชรน้ำเอกของโลก เป็นมรดกทางปัญญาของปราชญ์ชาวตะวันออกที่สุดยอด มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากกว่า 10 ภาษาการแปลสามก๊กในปัจจุบัน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

สารหนู

รหนู (arsenic) เป็นชื่อธาตุลำดับที่ 33 สัญลักษณ์ As ลักษณะเป็นของแข็ง มีสามอัญรูป คือ สารหนูสีเทา สารหนูสีดำ และสารหนูสีเหลือง หลายคนเข้าใจว่าสารหนูเป็นธาตุที่เป็นพิษ แต่ความจริงแล้วสารหนูบริสุทธิ์ไม่เป็นพิษแต่ประการใด มันจะเกิดพิษก็ต่อเมื่อ ไปรวมตัวกับธาตุอื่นเช่น Arsenic trioxide.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสารหนู · ดูเพิ่มเติม »

สารัตถะ

ในทางปรัชญา สารัตถะ (essence) คือคุณลักษณะหรือภาวะอันเป็นเนื้อแท้ ซึ่งทำให้สิ่งหนึ่ง ๆ เป็นตัวของตัวเอง แตกต่างจากสิ่งอื่น ๆ คตินิยมที่ยอมรับว่าสารัตถะมีอยู่จริง เรียกว่าสารัตถนิยม (essentialism) แต่ละคตินิยมมีทัศนะเกี่ยวกับสารัตถะของมนุษย์ต่างกันไป นักเหตุผลนิยมถือว่าความมีเหตุผลเป็นสารัตถะของมนุษย์ อัตถิภาวนิยมว่าเป็นเสรีภาพ บางศาสนาถือว่าเป็นวิญญาณ เป็นต้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสารัตถะ · ดูเพิ่มเติม »

สางห่า

ในที่เลี้ยง สางห่า หรือ จิ้งเหลนน้อยหางยาว เป็นสัตว์เลื้อยคลานที่จัดอยู่ในอันดับ Squamata เช่นเดียวกับงูและกิ้งก่า จัดอยู่ในวงศ์จิ้งเหลนน้อยหางยาว (Lacertidae).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสางห่า · ดูเพิ่มเติม »

สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)

ำนักนายกรัฐมนตรี เป็นส่วนราชการของรัฐบาลไทย มีฐานะเทียบเท่ากระทรวง ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี มีอำนาจหน้าที่ไม่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบการบริหารราชการทั่วไป เสนอแนะนโยบายและการวางแผนการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และความมั่นคง และราชการเกี่ยวกับการงบประมาณ ระบบราชการ การบริหารงานบุคคล กฎหมายและการพัฒนากฎหมาย การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ การส่งเสริมการลงทุน การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ การปฏิบัติภารกิจพิเศษและราชการอื่นตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ ของสำนักนายกรัฐมนตรีหรือส่วนราชการที่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี หรือที่มิได้อยู่ภายในอำนาจหน้าที่ของกระทรวงใดโดยเฉ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิเก็บกิน

ทธิเก็บกิน (IPA: ˈyuzʊˌfrʌkt /ยูซุฟรักต์/); IPA: yzyfʀɥi /อูซูฟรุย/)) เป็นทรัพยสิทธิประเภทหนึ่ง โดยเป็นสิทธิที่บุคคลสามารถครอบครอง ใช้ และถือเอาซึ่งประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ของบุคคลอื่น เป็นต้นว่า เจ้าของที่นามีสิทธิใช้ที่นาโดยประการต่าง ๆ ผู้ทรงสิทธิเก็บกินในที่นานั้นก็ใช้ที่นาทำนาได้ หรือจะนำที่นานั้นออกให้เช่าเพื่อเก็บค่าเช่าก็ได้เสมอกับเป็นเจ้าของเองทีเดียว เพียงแต่กรรมสิทธิ์ในที่นาดังกล่าวยังอยู่ที่เจ้าของมานิตย์ จุมปา, 2551: 428.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสิทธิเก็บกิน · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิเหนือพื้นดิน

ทธิเหนือพื้นดิน (right of superficies; jus superficiarium; IPA: dʀwɑ•də•sypɛʀfisi /ดรัวเดอซูแปร์ฟีซี/); ? (โรมะจิ: chijōken /ชิโจเก็ง/)) เป็นทรัพยสิทธิประเภทหนึ่ง โดยเป็นสิทธิที่บุคคลจะเป็นเจ้าของโรงเรือน สิ่งปลูกสร้าง หรือสิ่งเพาะปลูก บนที่ดินของผู้อื่น หรือใต้พื้นดินแห่งที่ดินของผู้อื่น บุคคลผู้มีสิทธิเช่นนี้เรียก "ผู้ทรงสิทธิเหนือพื้นดิน" (superficiary) คำ "superficie" ในกลุ่มคำภาษาอังกฤษ "right of superficies" นั้นมาจากคำในภาษาฝรั่งเศส "superficies" (IPA: sypɛʀfisi /ซูแปร์ฟีซี/) แปลว่า ผิว (surface) ซึ่งเป็นคำประสมระหว่าง "super" (ซูแปร์) ว่า เหนือ (above) + "ficie" (ฟีซี) ว่า พื้นดิน (ground).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสิทธิเหนือพื้นดิน · ดูเพิ่มเติม »

สุญตา

ญตา (สุญฺตา) หรือ ศูนยตา (ศูนฺยตา) แปลว่า ความว่างเปล่า, ความเป็นของสูญ คือความไม่มีตัวตน ถือเอาเป็นตัวตนไม่ได้ สุญตามีความหมาย 4 นัย คือ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสุญตา · ดูเพิ่มเติม »

สุรพล อิสรไกรศีล

นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล แพทย์เชี่ยวชาญด้านมะเร็งโรคเลือดที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักและยอมรับของแพทย์ไทย และแพทย์ต่างชาติ และท่านยังเป็นราชบัณฑิตยสภาอีกด้ว.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสุรพล อิสรไกรศีล · ดูเพิ่มเติม »

สุหนัต

ีตาน (ختان; Khitan) คนไทยมักเรียกว่า สุหนัต (สุ-หนัด) หมายถึง พิธีการขริบหนังหุ้มปลายตามข้อกำหนดในศาสนายูดาห์และศาสนาอิสลาม คำว่า สุหนัต มาจากคำว่า "ซูนัต" ในภาษามลายู ซึ่งมาจากคำว่า "ซุนนะฮ์" ในภาษาอาหรับ ซึ่งหมายถึงแบบแผนการปฏิบัติของนบีมุฮัมมัด พิธีสุหนัตเกิดขึ้นครั้งแรกในศาสนายูดาห์ ซึ่งเริ่มทำพิธีนี้ครั้งแรกในสมัยของอับราฮัม การเรียกว่า "เข้าสุนัต" มาจากวลี "มาซุก ญาวี" หรือ "มะโซะยาวี" (แปลว่า เข้าญาวี) ในภาษามลายู หมายถึง เข้า (ศาสนาของ) คนญาวี (มลายูมุสลิม) ด้วยการขริบหนังที่ปลายอวัยวะเพศ การขริบหนังองคชาตเป็นประเพณีของชาวยิว ชาวมุสลิม และคริสต์ศาสนิกชนบางนิกาย เช่นเดียวกับเผ่าหลายเผ่าในแอฟริกา ผู้ที่นับถือศาสนาอื่นนิยมขริบเนื่องจากเหตุผลทาง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสุหนัต · ดูเพิ่มเติม »

สีสัน

ียวกัน แต่มี'''สีสัน'''ที่เปลี่ยนไป สีสัน หมายถึง ระดับสีภายในช่วงสเปคตรัมแสง หรือ ช่วงแสงที่มองเห็น เป็นการเพิ่มคุณลักษณะเฉพาะของที่ทำให้สีแดงแตกต่างจากสีเหลืองจากสีน้ำเงิน สีสันเหล่านี้ส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับความยาวคลื่นเป็นใหญ่ (dominant wavelength) ของแสงที่เปล่งออก หรือสะท้อนจากวัตถุ ตัวอย่างเช่น ในแสงที่มองเห็น ปกติจะอยู่ระหว่างแสงอินฟราเรด (ความยาวคลื่นประมาณ 700 นาโนเมตร) และแสงอัลตราไวโอเลต (ความยาวคลื่นประมาณ 400 นาโนเมตร) คำว่า "สีสัน" อาจหมายถึง สีพิเศษชนิดใดชนิดหนึ่งในสเปคตรัมนั้นก็ได้ ซึ่งกำหนดได้จากความยาวคลื่นหลัก หรือแนวโน้มกลางของความยาวคลื่นรวม ตัวอย่างเช่น คลื่นแสงที่มีแนวโน้มกลางภายใน 565-590 นาโนเมตร จะเป็นสีเหลือง ในทฤษฎีการระบายสี คำว่า "สีสัน" หมายถึง สีบริสุทธิ์ คือสีที่ไม่มีการเติมสีขาว หรือสีดำ เข้ามา สำหรับในปริภูมิสีแบบ RGB นั้น คำว่า "สีสัน" อาจถือได้ว่าเป็นมุมพไซ (φ) ในตำแหน่งมาตรฐาน การคำนวณ φ นั้น ให้ R, G และ B เป็นโคออร์ดิเนตสีในพื้นที่สี RGB ซึ่งกำหนดสเกลจาก 0 ถึง 1 จากนั้น เมื่อได้ค่าความสว่าง (brightness) μ และค่าความอิ่มตัว (saturation) σ แล้ว ก็จะได้สีสัน จากสูตร (เมื่อเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน) การใช้สูตรนี้ φ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสีสัน · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (เอสไอไอที) เป็นสถาบันการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี และการจัดการ สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์Nishino, Fumio and Taweep Chaisomphob, 1997,, Inauguration of the Institute's New Name 'Sirindhorn International Institute of Technology', Commemorative publication, pp.18-24.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานการณ์ฉุกเฉิน

นการณ์ฉุกเฉิน (state of emergency) คือ สถานการณ์อันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งรัฐ หรืออันอาจทำให้รัฐตกอยู่ในภาวะคับขันหรือภาวะการรบหรือการสงคราม ซึ่งฝ่ายบริหารรัฐมีอำนาจประกาศว่าพื้นที่ใดกำลังตกอยู่ในสถานการณ์เช่นว่าโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายของรัฐนั้น ๆ ซึ่งให้อำนาจพิเศษในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน และมักเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล อย่างไรก็ดี กฎหมายว่าด้วยสถานการณ์ฉุกเฉินเป็นกฎหมายที่ให้อำนาจพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ไม่เบ็ดเสร็จเท่ากฎอัยการศึกหรือกฎหมายที่ใช้ในสภาวะสงคราม การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินมักมีภายหลังจากการเกิดภัยธรรมชาติ การก่อความไม่สงบ หรือการประกาศสงคราม ซึ่งอาจมีผลให้เจ้าหน้าที่บางฝ่ายต้องหยุดการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ลงชั่วคราว โดยอำนาจหน้าที่เช่นว่านั้นอาจรวมศูนย์ไปยังเจ้าหน้าที่อีกฝ่ายเพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมสถานการณ์โดยไม่ชักช้า และอาจนำไปสู่การห้ามออกจากเคหสถาน (curfew) หรือการห้ามมั่วสุมชุมนุมกันเพื่อการใด ๆ ก็ดี ณ พื้นที่นั้นในระหว่างที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสถานการณ์ฉุกเฉิน · ดูเพิ่มเติม »

สปิริต

ำว่า สปิริต (spirit) บางตำราแปลว่าจิต.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสปิริต · ดูเพิ่มเติม »

สแลง

แลง (slang) คือ ถ้อยคำหรือสำนวนที่ใช้เข้าใจกันเฉพาะกลุ่มหรือชั่วระยะเวลาหนึ่ง ไม่ใช่ภาษาที่ยอมรับกันว่าถูกต้อง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสแลง · ดูเพิ่มเติม »

หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นหมู่พระที่นั่งที่อยู่ระหว่างพระมหามณเฑียรและหมู่พระมหาปราสาทภายในพระบรมมหาราชวัง ทอดตัวจากทิศเหนือไปทิศใต้ ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นกลางและเขตพระราชฐานชั้นใน สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อใช้เป็นสถานที่ออกว่าราชการและเป็นที่ประทับส่วนพระองค์ เดิมประกอบด้วยหมู่พระที่นั่ง 11 องค์ แต่เนื่องจากพระที่นั่งบางองค์ทรุดโทรมจนยากต่อการบูรณะจึงได้ทำการรื้อลง ปัจจุบัน หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ประกอบด้วย พระที่นั่ง 5 องค์ ได้แก่ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นพระที่นั่งองค์เดียวในหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทที่สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 พระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์ พระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร และพระที่นั่งเทวารัณยสถาน เป็นพระที่นั่งที่รื้อลงและสร้างขึ้นใหม่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชนิกุล

หม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูร) หม่อมอุดมพงษ์เพ็ญสวัสดิ (หม่อมราชวงศ์ประยูร อิศรศักดิ์) หม่อมชาติเดชอุดม (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) หม่อมราชนิกุล หรือ หม่อมราชนิกูล เป็นยศพิเศษที่พระราชทานให้แก่หม่อมราชวงศ์ชายที่ปฏิบัติความดีความชอบในราชการแผ่นดิน ถ้าเทียบกับพระยศเจ้านาย ถือว่าสูงกว่าหม่อมราชวงศ์ แต่ต่ำกว่าหม่อมเจ้า ถ้าเทียบกับบรรดาศักดิ์ฝ่ายขุนนาง ถือว่าศักดิ์สูงกว่าพระ แต่ต่ำกว่าพระยา สมัยกรงศรีอยุธยาเรียกว่าเจ้าราชนิกุล ถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ใช้คำว่า หม่อม แทนคำว่า เจ้า อย่างไรก็ตาม หม่อมราชนิกูลนั้นไม่นับว่าเป็นเจ้านายในพระราชวงศ์จึงไม่ต้องใช้คำราชาศัพท์ และบุตร-ธิดาของหม่อมราชนิกูลก็ยังคงเป็นหม่อมหลวงเช่นเดิม ตั้งแต่อดีตหม่อมราชนิกูลมีจำนวนทั้งสิ้น 36 ท่าน โดยในปัจจุบันไม่มีผู้ดำรงยศนี้แล้ว.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและหม่อมราชนิกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์

ตราจารย์ ร้อยเอก หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2455 - 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) อดีตองคมนตรี,อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการและเป็นนักภาษาศาสตร์ชาวไทยเชี่ยวชาญด้านภาษาบาลีและสันสกฤต หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมายได้แก่องคมนตรี,อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ,ราชบัณฑิต สำนักศิลปกรรม แห่งราชบัณฑิตยสภา ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาบาลีและสันสกฤต คณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานคณะกรรมการแผนกอักษรศาสตร์ มูลนิธิอานันทมหิดล ระหว่างที่ศึกษาอยู่เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ไปทำงานเสรีไทย เป็นทหารในกองทัพบกอังกฤษ จนกระทั่งสงครามเสร็จสิ้นจึงปลดประจำการขณะมียศร้อยเอก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและหม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ

ตราจารย์ หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ (9 พฤศจิกายน 2443 - 27 สิงหาคม 2524) พระโอรสองค์ที่ 20 ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ และเป็นองค์ที่ 3 ของหม่อมบุญ วรรวรรณ ณ อยุธยา สถาปนิกกรมรถไฟ ผู้ร่วมก่อตั้งสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ อาจารย์พิเศษและต่อมาป็นอาจารย์ประจำและคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาปนิกรุ่นบุกเบิกผู้นำเอาเอกลักษณ์ไทยมาประยุกต์กับการออกแบบอาคารสมัยใหม่ ได้ทรงพัฒนาวัสดุก่อสร้างที่มีใช่ในท้องถิ่นให้เหมาะสม เช่นกระเบื้องปิดหัวจั่วกันผุ รวมทั้งการทดลองการใช้วัสดุพื้นถิ่นเช่นไม้ไผ่ ไม้ระแนงเสริมปูนฉาบซึ่งพบว่าใช้งานได้ดีในระดับเศรษฐกิจขณะนั้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและหม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงมัศยจิตรการ (ประสพ ตีระนันทน์)

หลวงมัศยจิตรการ เป็นอดีตนักวิชาการประมง และนักวาดภาพปลาและสัตว์น้ำเพื่อการศึกษาในเชิงวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงในอดีต หลวงมัศยจิตรการ มีชื่อจริงว่า ประสพ ตีระนันทน์ เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2439 ที่จังหวัดจันทบุรี เป็นบุตรของหลวงวิจิตรเจียรไน และนางเปี๊ยก เมื่อสำเร็จการศึกษาเบื้องต้นที่จังหวัดจันทบุรี บ้านเกิดแล้ว ได้เดินทางเข้าสู่กรุงเทพฯ เพื่อศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น โดยสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนราชวิทยาลัย, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนสวนกุหลาบ จนกระทั่งสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ได้เดินไปยังประเทศอังกฤษ เพื่อศึกษาต่อด้านจิตรกรรม เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้ว ได้เดินทางกลับมายังประเทศไทย ด้วยการเป็นผู้ช่วยของ ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ นักวิชาการประมงชาวอเมริกันที่รับราชการอยู่ยังประเทศไทย สังกัดกรมเพาะปลูก กระทรวงเกษตราธิการ จากนั้นได้เลื่อนตำแหน่งขึ้นไปสูงขึ้น ๆ จนกลายเป็นนักวิชาการประมงอย่างเต็มตัว เป็นหัวหน้าแผนกบำรุงสมบัติในน้ำ สังกัดกรมประมง และหัวหน้าแผนกบำรุงทั่วไป และตำแหน่งสุดท้ายเป็นเจ้าพนักงานประมงประจำกรม ก่อนจะลาออกจากราชการเพื่อประกอบกิจการส่วนตัวในปี พ.ศ. 2489 ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น "หลวงมัศยจิตรการ" ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เหรียญดุษฎีมาลาและเข็มศิลปวิทยา รวมทั้งได้รับเลือกเป็นภาคีสมาชิกของราชบัณฑิตยสถานทางจิตรกรรรม สำนักศิลปากรด้วย หลวงมัศยจิตรการ ถือว่าเป็นบุคคลหนึ่งที่เป็นผู้บุกเบิกวิชาการและองค์ความรู้ทางด้านการประมงเป็นผู้แรก ๆ ในประเทศไทย เช่นเดียวกับ ฮิวจ์ แมคคอร์มิค หรือ ศาสตราจารย์โชติ สุวัตถิ มีผลงานที่โดดเด่นเป็นอย่างมากในการวาดภาพและระบายสีปลาและสัตว์น้ำเพื่อการศึกษาทางวิชาการจนมีชื่อเสียงเลื่องลือ ได้รับการวางตัวจากกระทรวงเกษตราธิการให้เป็นผู้เดินทางไปดูราชการและกิจการการประมงประเภทต่าง ๆ ในหลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา, อังกฤษ และฟิลิปปินส์ หลวงมัศยจิตรการ ถึงแก่กรรมลงในปี พ.ศ. 2508 โดยมีพิธีพระราชเพลิงศพ ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 17 เมษายน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและหลวงมัศยจิตรการ (ประสพ ตีระนันทน์) · ดูเพิ่มเติม »

หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา

หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เป็นระบบการทับศัพท์ที่นิยมใช้มากที่สุดระบบหนึ่งในประเทศไทย โดยคณะกรรมการจัดทำหลักเกณฑ์การทับศัพท์และคณะกรรมการปรับปรุงหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่าง ๆ ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา (เดิมคือราชบัณฑิตยสถาน) เป็นผู้กำหนดและเสนอหลักเกณฑ์ต่อสำนักงานราชบัณฑิตยสภาเพื่อออกประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภาให้ใช้หลักเกณฑ์ จากนั้น สำนักงานราชบัณฑิตยสภาจะเป็นผู้เสนอหลักเกณฑ์ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีให้ใช้เป็นมาตรฐานเดียวกัน แล้วลงประกาศเผยแพร่ในราชกิจจานุเบกษาต่อไป.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

หี

หี เป็นคำหยาบ ใช้หมายถึงอวัยวะสืบพันธุ์หญิง ซึ่งรวมถึงปากมดลูกและช่องคลอด แต่โดยทั่วไปแล้วมักจะใช้กันโดยหมายความถึงเฉพาะช่องสังวาสหรือช่องคลอด หรือหมายความรวมทั้งช่องสังวาสและช่องคลอด แต่ไม่รวมถึงปากมดลูกและมดลูก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและหี · ดูเพิ่มเติม »

หนี้อุปกรณ์

หนี้อุปกรณ์ (accessory obligation) เป็นศัพท์กฎหมาย หมายความถึง หนี้ที่พ่วงติดอยู่กับหนี้อีกรายหนึ่งในลักษณะที่หนี้รายแรกมีบ่อเกิดมาจากหนี้รายหลัง โดยหนี้รายหลังนี้เรียก "หนี้ประธาน" (principal obligation) เช่น ในสัญญาซื้อขาย ผู้ซื้อมีหนี้ต้องชำระราคาทรัพย์สินที่ซื้อ และผู้ขายมีหนี้ต้องส่งมอบทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้ซื้อ แต่ผู้ขายเห็นว่าผู้ซื้ออาจไม่ชำระหนี้ได้ จึงเรียกให้ผู้ซื้อส่งมอบรถจักรยานยนต์ไว้คันหนึ่งเพื่อเป็นประกันว่าผู้ซื้อจะชำระราคาทรัพย์สินที่ซื้อจนเรียบร้อย จึงมารับเอาจักรยานยนต์คืนไปได้ เป็นการที่ผู้ขายเรียกให้ผู้ซื้อนำรถจักรยานยนต์มาจำนำไว้ ดังนี้ หนี้ตามสัญญาซื้อขายเรียก "หนี้ประธาน" และหนี้ตามสัญญาจำนำ เรียก "หนี้อุปกรณ์" ว่ากันตามภาษาทั่วไปแล้ว คำว่า "ประธาน" หมายความว่า หลัก และ "อุปกรณ์" หมายความว่า รอง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและหนี้อุปกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

หนี้ประธาน

หนี้ประธาน (principal obligation) เป็นศัพท์กฎหมาย หมายความถึง หนี้ที่มีหนี้อีกรายพ่วงติดอยู่ด้วยในลักษณะที่หนี้รายแรกเป็นที่มาของหนี้รายหลัง โดยหนี้รายหลังนี้เรียก "หนี้อุปกรณ์" (accessory obligation) เช่น ในสัญญาซื้อขาย ผู้ซื้อมีหนี้ต้องชำระราคาทรัพย์สินที่ซื้อ และผู้ขายมีหนี้ต้องส่งมอบทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้ซื้อ แต่ผู้ขายเห็นว่าผู้ซื้ออาจไม่ชำระหนี้ได้ จึงเรียกให้ผู้ซื้อส่งมอบรถจักรยานยนต์ไว้คันหนึ่งเพื่อเป็นประกันว่าผู้ซื้อจะชำระราคาทรัพย์สินที่ซื้อจนเรียบร้อย จึงมารับเอาจักรยานยนต์คืนไปได้ เป็นการที่ผู้ขายเรียกให้ผู้ซื้อนำรถจักรยานยนต์มาจำนำไว้ ดังนี้ หนี้ตามสัญญาซื้อขายเรียก "หนี้ประธาน" และหนี้ตามสัญญาจำนำ เรียก "หนี้อุปกรณ์" ว่ากันตามภาษาทั่วไปแล้ว คำว่า "ประธาน" หมายความว่า หลัก และ "อุปกรณ์" หมายความว่า รอง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและหนี้ประธาน · ดูเพิ่มเติม »

อมเรศ ภูมิรัตน

ตราจารย์ อมเรศ ภูมิรัตน (24 กรกฎาคม 2491 - ปัจจุบัน) เกิดที่อำเภอพระโขนง กรุงเทพมหานคร เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์และกรรมการสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นักวิจัยไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ เชี่ยวชาญด้านการสอน การวิจัย รวมทั้งการประยุกต์และถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่ภาคอุตสาหกรรม มาตลอดระยะเวลากว่า 30 ปี เป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อปี..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอมเรศ ภูมิรัตน · ดูเพิ่มเติม »

อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายกราชบัณฑิตยสถาน และ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นนายแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระบบประสาทและระบบสมองของไทย บิดาของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และนายกรัฐมนตรี คนที่ 27 ของประเทศไท.น.อรรถสิทธิ์ เกิดวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478 เป็นบุตรคนที่ 7 ในจำนวน 10 คนของนายโฆสิต เวชชาชีวะ น้องชายของพระบำราศนราดูร (หลง เวชชาชีวะ) อดีตปลัดกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข มีพี่ชายคือนายนิสสัย เวชชาชีวะ อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ที่เป็นบิดาของนายสุรนันท์ เวชชาชีวะ นักการเมืองพรรคไทยรักไทย และเป็นพี่ชายของนายวิทยา เวชชาชีวะ ที่เป็นอดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศเช่นกัน ระหว่างเป็นคณบดีคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล น.อรรถสิทธิ์ เป็นผู้ริเริ่มโครงการศูนย์วินิจฉัยก้าวหน้าและรังสีร่วมรักษา (AIMC) เป็นโครงการนำร่องของการบริหารงานภายใต้การกำกับดูแลของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สังกัดศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ มีระบบบริหารจัดการแบบพิเศษ โดยมูลนิธิรามาธิบดี เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพสูง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว

ตราจารย์ อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว อาจารย์ประจำสาขาวิชาประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ภาคีสมาชิก สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสถาน สำเร็จการศึกษาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ศศ.บ. ประวัติศาสตร์) และสำเร็จการศึกษาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (อ.ม. ประวัติศาสตร์) เป็นนักประวัติศาสตร์ที่มีความเชียวชาญประวัติศาสตร์ล้านนา และมีความสามารถในการอ่านและเขียนอักษรธรรมล้านนา มีงานวิจัยที่ทำร่วมกับมหาวิทยาลัยต่างๆทั้งในประเทศและต่างประเทศ จนได้รับการยกย่องให้เป็นศาสตราจารย์อาคันตุกะ ของมหาวิทยาลัยหลายแห่ง เช่น มหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย ประเทศออสเตรเลีย มหาวิทยาลัยคอล์แนล ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นต้น และได้รับประเมินความรู้เทียบเท่าปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยคอร์เนล, ๒๕๓๗.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอรุณรัตน์ วิเชียรเขียว · ดูเพิ่มเติม »

อสูร

ตามความเชื่อในศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ อสูร (-saअसुर) คือเทวดาจำพวกหนึ่ง มีนิสัยดุร้าย เป็นปฏิปักษ์กับเทวดาพวกอื่นซึ่งอาศัยบนสวรรค์ อสูรเพศหญิงเรียกว่าอสุรี.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอสูร · ดูเพิ่มเติม »

อสงไขย

อสงไขย (असंख्येय อสํเขฺยย) หมายถึง นับไม่ถ้วน, ไม่ง่ายที่จะนับ, หรือเป็นจำนวนธรรมชาติเท่ากับหนึ่งโกฏิยกกำลัง 20 (10,000,00020) หรือ 10140 (เลข 1 แล้วตามด้วยเลข 0 ต่อท้ายทั้งหมด 140 ตัว) บางตำรากล่าวว่าหมายถึงเลข 10^ ซึ่งมีหลายความหมาย พระพุทธภัทระตีความว่า a.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอสงไขย · ดูเพิ่มเติม »

อัครมุขนายก

2553. อาร์ชบิชอป (Archbishop) หรืออัครมุขนายก ชาวไทยคาทอลิกเรียกว่าพระอัครสังฆราช เป็นตำแหน่งการปกครองระดับสูงในบางคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก ออร์ทอดอกซ์ แองกลิคัน ถือว่ามีสถานะเหนือกว่ามุขนายกกรมการศาสนา, รายงานการศาสนา ประจำปี ๒๕๔๓, กรมการศาสนา, 2543, หน้า 194-6 (bishop) การเป็นอัครมุขนายกหมายถึงการได้ปกครองอัครมุขมณฑล (archdiocese) ซึ่งเป็นมุขมณฑลที่มีความสำคัญเป็นกรณีพิเศษ หรือในกรณีของแองกลิคันคอมมิวเนียนจะหมายถึงกลุ่มมุขมณฑลที่รวมกันเป็นภาคคริสตจักร เช่น ภาคแคนเทอร์เบอรีที่ปกครองโดยอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี แต่ก็ไม่เป็นเช่นนั้นเสมอไป “อัครมุขนายก” มีฐานะเท่าเทียมกับมุขนายกในด้านการศาสนา แต่มีอภิสิทธิ์บางอย่างมากกว่า ฉะนั้นถ้าผู้ที่เป็นมุขนายกอยู่แล้วได้รับการแต่งตั้ง (appointment) เป็นอัครมุขนายกก็ไม่จำเป็นต้องรับการอภิเษก (consecration) อีก มีแต่พิธีเข้ารับตำแหน่ง (installation) แต่ถ้าผู้ที่ได้รับตำแหน่งไม่ได้เป็นมุขนายกมาก่อน ผู้นั้นก็ต้องเข้าพิธีอภิเษกเพื่อรับศีลอนุกรมเสียก่อนที่จะทำหน้าที่เป็นอัครมุขนายก คำว่า “Archbishop” มาจากภาษากรีกว่า “αρχι” ที่แปลว่า “ที่หนึ่ง” หรือ “หัวหน้า” และคำว่า “επισκοπος” ที่แปลว่า “ปกครองดูแล” “อัครมุขนายก” ปกครอง “อัครมุขมณฑล” หรือภาคคริสตจักร ถ้าเป็นในสมัยโบราณโดยเฉพาะในสมัยจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ อัครมุขนายกก็จะปกครอง “รัฐอัครมุขนายก” เช่น อาร์ชบิชอปแห่งไมนซ์ (Archbishop of Mainz) ผู้ปกครอง “ราชรัฐอัครมุขนายกไมนซ์” (Archbishopric of Mainz).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอัครมุขนายก · ดูเพิ่มเติม »

อัตตาธิปไตย (แก้ความกำกวม)

อัตตาธิปไตย ในภาษาไทยมาจากคำว่า "อัตตา" (ตน) และ "อธิปไตย" (ความเป็นใหญ่) โดยมีรากจากคำภาษาบาลีว่า "อตฺตาธิปเตยฺย" โดยราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายว่า "ระบอบการปกครองที่ผู้นำมีอำนาจเด็ดขาดและไม่จำกัด" เป็นคำที่อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอัตตาธิปไตย (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

อายุความ

อายุความ (prescription หรือ limitation) คือระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดให้ใช้สิทธิเรียกร้อง สิทธิฟ้อง หรือสิทธิร้องทุกข์ หากปล่อยเนิ่นนานไปจนล่วงระยะเวลาดังกล่าวแล้ว สิทธิเช่นว่าจะเป็นอันยกขึ้นอ้างอีกมิได้ ซึ่งเรียกว่า "การขาดอายุความ" เช่น สิทธิเรียกร้องขาดอายุความ คดีขาดอายุความ หนี้ขาดอายุความ เป็นต้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอายุความ · ดูเพิ่มเติม »

อาศรม 4

อาศรม 4 คือขั้นตอนการดำเนินชีวิตของมนุษย์ตามหลักธรรมของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู แต่ละช่วงกินเวลา 25 ปี มี 4 ขั้นตามวัยของผู้ปฏิบัติดังนี้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอาศรม 4 · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักร

อาณาจักร (kingdom; dominion) หมายถึง เขตแดนที่อยู่ในอำนาจปกครองของประเทศหนึ่ง อาจจำแนกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

อาคารชุด

อาคารชุดในแคนาดา อาคารชุด หรือ คอนโดมิเนียม (condominium) เป็นที่อยู่อาศัยรูปแบบหนึ่งที่เจ้าของห้องชุดจะต้องแบ่งปันกรรมสิทธิ์หรือความเป็นเจ้าของร่วมกับเจ้าของห้องชุดอื่น ๆ ในพื้นที่ส่วนกลาง เช่น ทางเดิน บริเวณห้องโถง บันได ลิฟต์ โรงจอดรถ สระว่ายน้ำ สนามเด็กเล่น ซึ่งเจ้าของห้องทุกคนจะเป็นเจ้าของร่วมตามกฎหมาย ลักษณะของห้องในอาคารชุดจะเหมือนกับห้องอยู่อาศัย เพียงแต่เราเป็นเจ้าของห้อง ไม่ใช่ผู้เช่า อาคารชุดเริ่มจากสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ธนิดา กิตติอดิสร จากราชบัณฑิตยสถานระบุว่า "คำว่าคอนโดมิเนียมในภาษาอังกฤษหมายถึงการถือกรรมสิทธิ์ร่วมกันในอาคารขนาดใหญ่ที่แบ่งซอยเป็นส่วนต่าง ๆ ให้คนต่างครอบครัวพักอยู่ ต่อมามีความหมายถึง อาคารที่อยู่อาศัย อาคารสำนักงาน หรืออาคารอื่น ที่บุคคลสามารถแยกการถือกรรมสิทธิ์ออกได้เป็นส่วน ๆ โดยแต่ละส่วนประกอบด้วยกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ส่วนบุคคลและกรรมสิทธิ์ร่วมในทรัพย์ส่วนกลาง" ในภาษาอังกฤษ คำเรียกอาคารชุดและกรรมสิทธิ์ร่วมในอาคารชุดนอกเหนือจากคำว่า condominium จะต่างกันไปในแต่ละประเทศหรือภูมิภาค เช่น ในออสเตรเลียและแคนาดาเฉพาะรัฐบริติชโคลัมเบียนิยมเรียกว่า strata title ในขณะที่รัฐควิเบกเรียกว่า divided co-property ส่วนในอังกฤษและเวลส์เรียกว่า commonhold ส่วนภาษาฝรั่งเศสจะเรียกว่า copropriété และในรัฐควิเบกอาจเรียกเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า copropriété divise.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอาคารชุด · ดูเพิ่มเติม »

อำมาตยาธิปไตย

อมาตยาธิปไตย อำมาตยาธิปไตย หรือ ระบบข้าราชการประจำ (bureaucracy; bureaucratic polity) เป็นการปกครองซึ่งมีขุนนางหรือข้าราชการเป็นใหญ่ ราชบัณฑิตยสถาน ให้ความเห็นเพิ่มเติมว่า คนไทยบางกลุ่มแปลความหมายของคำนี้ผิดไปจากความหมายโดยตรงว่า เป็นการปกครองที่อำมาตย์มีอำนาจในการบริหารประเทศ คำภาษาอังกฤษ bureaucratic polity บัญญัติขึ้นโดย Fred W. Riggs อดีตอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งรัฐฮาวาย ในหนังสือที่พิมพ์เผยแพร่ในปี พ.ศ. 2509 เป็นคำใหม่ที่ใช้แก่ประเทศไทยโดยเฉพาะ แต่ภายหลังคำนี้มีใช้แก่ประเทศอื่นด้วย เช่น อินโดนีเซีย นักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ เช่น ดร.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอำมาตยาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

อำนาจหน้าที่

ในรัฐศาสตร์ อำนาจหน้าที่ (authority) หมายถึงความสามารถในการกำหนดกฎเกณฑ์ โดยไม่เกี่ยวข้องกับอำนาจในการบังคับใช้กฎเกณฑ์เหล่านั้น หรือความสามารถในการอนุญาตให้บางสิ่งบางอย่างเกิดขึ้นได้ ผู้คนยอมทำตามอำนาจหน้าที่เนื่องจากความเคารพ ในขณะที่ยอมตามอำนาจด้วยความกลัว ตัวอย่างเช่น "สภามีอำนาจหน้าที่ในการออกกฎหมาย" เมื่อเทียบกับ "ตำรวจมีอำนาจในการจับผู้กระทำความผิด" อำนาจหน้าที่นั้นไม่จำเป็นต้องมีลักษณะที่คงเส้นคงวาหรือว่าสมเหตุสมผล เพียงแต่ต้องเป็นสิ่งที่ถูกยอมรับว่าเป็นแหล่งที่สามารถให้คำอนุญาตได้หรือเป็นสิ่งที่จริงแท้ ปัญหาว่าใครจะมีอำนาจหน้าที่อะไร เป็นเสมือนหัวใจของการโต้เถียงทางการเมือง และคำตอบของคำถามเหล่านี้มักมาจากผลของการพิจารณาเชิงปฏิบัติหรือเชิงศีลธรรม จากแนวปฏิบัติที่ยึดถือกันมาและจากทฤษฎีของระบบยุติธรรมหรือจากสงครามเพื่อความยุติธรรม หน้าที่ (ความหมาย รัฐศาสตร์) คือ คุณลักษณะที่เป็นนามธรรม บ่งบอกถึงการกระทำของแต่ละบุคคลในแต่ละอาชีพ (นาย อำนาจ หมดสิ้นวาสนา).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอำนาจหน้าที่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกันทรลักษ์

กันทรลักษ์ อำเภอน่าอยู่อันดับที่ 9 ของประเทศไทย เป็นอำเภอขนาดใหญ่ มีพื้นที่มากที่สุดในจังหวัดศรีสะเกษและมีประชากรมากที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ไม่รวมอำเภอเมือง) มีแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญอยู่มากมาย พร้อมทั้งมีดินที่มีความอุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งเกษตรกรรมผลิตพืชผลออกจำหน่ายอยู่หลายประเภท เช่น เงาะ ทุเรียน ลำไย สะตอ ลิ้นจี่ ยางพารา และผักสวนครัว คำแปลของชื่ออำเภอ มาจากภาษาบาลี กนฺทร: ส่วนแห่งภูเขา อันน้ำเซาะ, ซอก, ซอกเขา, ถ้ำ, ลำธาร + ลกฺข: จำนวนแสน (สันสฤต ลกฺษ) มีที่มาจากชื่อเดิมบ้านห้วยลำแสนไพรอาบาล.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอำเภอกันทรลักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอมัญจาคีรี

อำเภอมัญจาคีรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดขอนแก่น ตั้งที่ว่าการอำเภอที่ตำบลกุดเค้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอำเภอมัญจาคีรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอธัญบุรี

ัญบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปทุมธานี มีลักษณะเป็นแนวยาวขนานไปกับคลองรังสิตประยูรศักดิ์ไปจนสุดเขตจังหวัด เป็นพื้นที่ที่มีความเจริญมากกว่าอำเภอเมืองปทุมธานี เนื่องจากเป็นทางผ่านของการคนนาคมไปภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีเขตเทศบาลนคร 1 แห่ง เขตเทศบาลเมือง 2 แห่ง และเขตเทศบาลตำบลอีก 1 แห่งในพื้นที.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอำเภอธัญบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อุทลุม

มรสุม (/มระสุม/) เป็นศัพท์กฎหมายไทย โดยเป็นคำพายุ หมายความว่า "ผิดประเพณี, ผิดธรรมะ, นอกแบบ, นอกทาง" คำ "อุทลุม" นี้ใช้เรียกบุคคลและสิ่งต่าง ๆ ที่มีลักษณะดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งบุคคลที่กระทำผิดธรรมะบังอาจฟ้องร้องบุพการีผู้มีพระคุณ เรียกว่า "คนอุทลุม" และเรียกคดีในกรณีนี้ว่า "คดีอุทลุม" ดังที่ปรากฏในประชุมกฎหมายรัชกาลที่ 1 (กฎหมายตราสามดวง) พระไอยการลักษณะรับฟ้อง "มาตรา 21 อนึ่ง ในฟ้องนั้นเป็นคนอุทลุม มิได้รู้คุณพ่อแม่ ปู่ ย่า ตา ยาย อันหาความแก่พ่อแม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ก็ดี ให้ยกฟ้องเสีย มาตรา 25 ผู้ใดเป็นคนอุทลุม มิได้รู้คุณบิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ตา ยาย แลมันมาฟ้องร้องให้เรียกบิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยายมัน ท่านให้มีโทษทวนมันด้วยลวดหนังโดยฉกรรจ์ อย่าให้มันคนร้ายนั้นดูเยี่ยงอย่างกันต่อไป แล้วอย่าให้บังคับบัญชาว่ากล่าวคดีของมันนั้นเลย" ในการร่างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ขึ้น คณะกรรมการร่างได้รับเอาหลักการว่าด้วยคุณธรรมของมนุษย์หลายเรื่องจากกฎหมายตราสามดวงมาโดยตรงทีเดียว ซึ่งไม่ปรากฏในกฎหมายของชาติใดอีกแล้ว อันรวมถึงเรื่องคดีอุทลุมด้วย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ครอบครัว, ลักษณะ 2 บิดามารดากับบุตร, หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ของบิดามารดาและบุตร ที่ยังใช้บังคับอยู่จนปัจจุบัน ห้ามผู้สืบสันดาน (descendant) ฟ้องบุพการี (ascendant) ของตนเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญา โดยบัญญัติว่า "มาตรา 1562 ผู้ใดจะฟ้องบุพการีของตนเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญามิได้ แต่เมื่อผู้นั้นหรือญาติสนิทของผู้นั้นร้องขอ อัยการจะยกคดีขึ้นว่ากล่าวก็ได้" ทั้งนี้ โดยเหตุที่บทบัญญัติมาตรา 1562 ข้างต้น ตัดสิทธิของบุคคล ศาลไทยจึงตีความโดยเคร่งครัดว่า "บุพการี" ซึ่งหมายถึง "ผู้ที่ทำการอุปการะมาก่อน" นั้น ได้แก่ บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย และทวด โดยทางสายโลหิตเท่านั้น ไม่หมายความรวมถึงกรณีที่บุตรบุญธรรมจะฟ้องบุพการีบุญธรรมของตน ดังศาลฎีกาว่า คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 547/2548 "...

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอุทลุม · ดูเพิ่มเติม »

อุปราช

หลุยส์ เมานต์แบ็ทแตน อุปราชแห่งอินเดียคนสุดท้าย อุปราช หรือ "ไวซรอย" (Viceroy) เป็นตำแหน่งที่แต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์เพื่อให้ปกครองเขต แว่นแคว้น หรืออาณาจักร เป็นผู้สำเร็จราชการในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ มาจากภาษาละติน "vice-" แปลว่า ผู้แทน กับภาษาฝรั่งเศส "roi" แปลว่าพระมหากษัตริย์ หากอุปราชเป็นสตรี จะเรียกว่า "ไวซแรน" ซึ่งใช้เรียกพระชายาของอุปราชด้วย ในยุโรป โดยเฉพาะก่อนช่วงศตวรรษที่ 18 พระมหากษัตริย์สเปนได้แต่งตั้งอุปราชประจำแคว้นอารากอง บาเลนเซีย คาตาโลเนีย นาวารร์ ซาร์ดีเนีย ซิซิลี เนเปิลส์ และโปรตุเกส (ช่วงปี ค.ศ. 1580-1640) โดยภายหลังการเถลิงอำนาจของราชวงศ์บูร์บงของสเปน เขตการปกครองของอุปราช ได้ถูกเปลี่ยนไปอยู่ในรูปของ Captaincies General แทน ต่อมาในภายหลังสงครามสืบราชบัลลังก์สเปน แคว้นเหล่านี้ที่อยู่ในอิตาลีได้แยกตัวเองเป็นอิสระ โดยยังใช้ระบบอุปราชเพื่อปกครองอยู่ เช่นแคว้นซาร์ดีเนียยังมีตำแหน่งอุปราชอยู่จนถึงปี..1848 ตำแหน่งอุปราชในไทยเรียกว่ากรมพระราชวังบวรสถานมงคล.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอุปราช · ดูเพิ่มเติม »

อธิการ

อธิการ (authority; superior) มาจากคำในภาษาบาลี "อธิการ" (adhikāra, ออกเสียงว่า "อะธิการะ") แปลว่าเจ้าหน้าที่ การหมายใจ หรือความดี ในภาษาไทยปัจจุบันใช้คำนี้หมายถึงผู้มีอำนาจในด้านการปกครอง พบทั้งในศาสนจักร และการทหาร.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอธิการ · ดูเพิ่มเติม »

อีเมล

อีเมล (e-mail, email) หมายถึง จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (electronic mail) คือวิธีการหนึ่งของการแลกเปลี่ยนข้อความแบบดิจิทัล ซึ่งออกแบบขึ้นเพื่อให้มนุษย์ใช้เป็นหลัก ข้อความนั้นจะต้องประกอบด้วยเนื้อหา ที่อยู่ของผู้ส่ง และที่อยู่ของผู้รับ (ซึ่งอาจมีมากกว่าหนึ่ง) เป็นอย่างน้อย บริการอีเมลบนอินเทอร์เน็ตในทุกวันนี้เริ่มมีการจัดตั้งมาจากอาร์พาเน็ต (ARPANET) และมีการดัดแปลงโค้ดจนนำไปสู่มาตรฐานของการเข้ารหัสข้อความ RFC 733 อีเมลที่ส่งกันในยุคคริสต์ทศวรรษ 1970 นั้นมีความคล้ายคลึงกับอีเมลในปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงจากอาร์พาเน็ตไปเป็นอินเทอร์เน็ตในคริสต์ทศวรรษ 1980 ทำให้เกิดรายละเอียดแบบสมัยใหม่ของการบริการ โดยส่งข้อมูลผ่านเกณฑ์วิธีถ่ายโอนไปรษณีย์อย่างง่าย (SMTP) ซึ่งได้เผยแพร่เป็นมาตรฐานอินเทอร์เน็ต 10 (RFC 821) เมื่อ..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอีเมล · ดูเพิ่มเติม »

องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน

องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (The International Organization for Standardization: ISO) เป็นองค์การระหว่างประเทศที่กำหนดมาตรฐาน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน · ดูเพิ่มเติม »

อนุญาโตตุลาการ

อนุญาโตตุลาการ (arbitrator) คือ บุคคลคนเดียวหรือหลายคนที่คู่กรณีตกลงเสนอข้อพิพาททางแพ่งที่เกิดขึ้นแล้วหรือจะเกิดขึ้นในอนาคตให้ชี้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอนุญาโตตุลาการ · ดูเพิ่มเติม »

อนุศาสนาจารย์

อนุศาสนาจารย์ (Chaplain) หมายถึง อาจารย์ผู้อบรมศีลธรรมของหน่วยราชการ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและอนุศาสนาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮาคุบะ ซางูรุ

ซางูรุ (ราชบัณฑิตยสภา: ฮากูบะ ซางูรุ) เป็นตัวละครที่ปรากฏตัวในมังงะเรื่องจอมโจรอัจฉริยะ กับมังงะและอะนิเมะเรื่อง ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน ฮาคุบะ ซางูรุเป็นบุตรชายของท่านรองฯ กองสืบสวนฮาคุบะ และฮาคุบะ ซางูรุ มีสัตว์เลี้ยงเป็นเหยี่ยวชื่อ "วัตสัน" ซึ่งมีชื่อมาจากนายแพทย์จอห์น เอช. วอตสัน ที่เป็นตัวละครจากนิยายสืบสวนเรื่อง เชอร์ล็อก โฮมส์ ด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและฮาคุบะ ซางูรุ · ดูเพิ่มเติม »

(เฌอ) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 12 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับหลังจาก ซ โซ่ และก่อนหน้า ญ หญิง ออกเสียงอย่าง ช ช้าง จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฌ เฌอ" บางคนเรียก "ฌ กะเฌอ" ซึ่งไม่ถูกต้อง เพราะคำว่า "กระเชอ" นั้นสะกดด้วย ช ช้าง หมายถึง ภาชนะสานแบบหนึ่ง ดังที่ใช้ว่า "กระเชอก้นรั่ว" ส่วน "เฌอ" ที่ใช้ ฌ เฌอ แปลว่า ต้นไม้ เป็นคำมาจากภาษาเขมร ฌ เฌอ ใช้เขียนคำไม่กี่คำ โดยเฉพาะคำที่มาจากภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร ส่วนในภาษาไทยนั้น ก็มีคำที่ใช้ ฌ เฌอ ทั้งที่เป็นพยัญชนะต้นและพยัญชนะท้ายไม่มากนัก คำที่ใช้ ฌ เฌอ ในปัจจุบันมีดังนี้เป็นต้น ฌาน, ฌาปน-, เฌอ, เฌอเอม ฯลฯ อักษร ฌ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /t͡ɕʰ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/ (ในทางทฤษฎี) กรณีทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ ใช้แทนเสียง /ʃ/ หรือ /ʒ/ ทั้งพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและฌ · ดูเพิ่มเติม »

จับยี่กี

ับยี่กี เป็นชื่อการพนันประเภทหนึ่งในประเทศไทยมีแหล่งกำเนิดมาจากประเทศจีน จัดเป็นการพนันลำดับที่ 6 ในบัญชี ก ท้ายพระราชบัญญัติการพนัน พุทธศักราช 2478 พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 นิยามว่า "การเล่นพนันของจีนชนิดหนึ่ง มีไพ่ทำด้วยไม้แผ่นบาง ๆ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า 12 แผ่น" อุปกรณ์การเล่น ประกอบด้วย ไพ่จีนมีสิบสองใบ หรือจะใช้กระดาษเขียนตัวเลขไว้สิบสองใบก็ได้ ในหมู่คนจีน ไพ่แต่ละใบจะเรียกชื่อว่า อั๊งตี่, โอตี่, อั๊งกือ, โอกือ, อั๊งสือ, โอสือ, อั๊งเผ่า, โอเผ่า, อั๊งเฉีย, โอเฉีย, อั๊งเบ๊ และโอเบ๊ ตามลำดับ นอกจากนี้ ในการเล่นยังมีกล่องทึบไว้สำหรับหย่อนไพ่ด้วย วิธีเล่น เจ้ามือเลือกไพ่มาใบหนึ่งแล้วหย่อนลงกล่อง โดยที่ตนเองรู้ว่าไพ่นั้นออกอะไร แล้วให้ผู้เล่นแทงว่าจะออกอะไร เจ้ามือจึงจะบอกคำตอบก่อนหยิบไพ่ขึ้นชู ปรกติแล้วผู้เล่นมีวิธีเก็งโดยหลอกล่อทำเป็นแทงไพ่ตัวนั้นตัวนี้เพื่อหยั่งดูสีหน้าเจ้ามือ วิธีนี้เรียก "เต๊าะ".

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและจับยี่กี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิ

ักรพรรดิ หรือ พระราชาธิราช หมายถึง ประมุขของจักรวรรดิ หากเป็นสตรีเรียกว่า จักรพรรดินี (Empress) แต่คำว่า “จักรพรรดินี” ก็ใช้เรียกพระมเหสีของจักรพรรดิด้วย ในภาษาอังกฤษจะมีคำต่อท้ายให้เป็นที่เข้าใจคือ “Empress Consort” โดยทั่วไปถือกันว่า “จักรพรรดิ” มีฐานันดรสูงกว่า “พระราชา”.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิษณุโลก

ังหวัดพิษณุโลก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีประชากรในปี..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและจังหวัดพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุโขทัย

ทัย (ᩈᩩᨠᩮ᩠ᨡᩣᨴᩱ᩠ᨿ, เดิมสะกดว่า ศุโขไทย) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดแพร่ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก กำแพงเพชร ตาก และลำปาง (เรียงตามเข็มนาฬิกาจากด้านเหนือ).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและจังหวัดสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดของประเทศไทย

ังหวัด เป็นเขตบริหารราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 76 จังหวัด (ทั้งนี้ กรุงเทพมหานครไม่เป็นจังหวัด) จังหวัดถือเป็นระดับการปกครองของรัฐบาลลำดับแรก โดยเป็นหน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคที่รวมท้องที่หลาย ๆ อำเภอเข้าด้วยกันและมีฐานะเป็นนิติบุคคล ในแต่ละจังหวัดปกครองด้วยผู้ว่าราชการจังหวัด การจัดแบ่งกลุ่มจังหวัดออกเป็นภาคต่าง ๆ มีการใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกัน โดยมีทั้งการแบ่งอย่างเป็นทางการโดยราชบัณฑิตยสถานสำหรับใช้ในแบบเรียน และการแบ่งขององค์กรต่าง ๆ ตามแต่การใช้ประโยชน์ ชื่อของจังหวัดนั้นจะเป็นชื่อเดียวกับชื่ออำเภอที่เป็นที่ตั้งของศูนย์กลางจังหวัด เช่น ศูนย์กลางการปกครองของจังหวัดเพชรบุรีอยู่ที่อำเภอเมืองเพชรบุรี เป็นต้น แต่ชื่ออำเภอเหล่านี้มักเรียกย่อแต่เพียงว่า "อำเภอเมือง" ยกเว้นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ใช้ชื่อจังหวัดเป็นชื่ออำเภอที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองโดยตรง (อำเภอพระนครศรีอยุธยา) หน่วยการปกครองย่อยรองไปจากจังหวัดคือ "อำเภอ" ซึ่งมีทั้งสิ้น 878 อำเภอ ซึ่งจำนวนอำเภอนั้นจะแตกต่างกันไปในแต่ละจังหวัด ส่วนเขตการปกครองย่อยของกรุงเทพมหานครมีทั้งหมด 50 เขต.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและจังหวัดของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีรูปร่างยาวในแนวเหนือ-ใต้ และแคบในแนวตะวันออก-ตะวันตก โดยมีส่วนที่แคบที่สุดของประเทศไทย ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดอยู่ที่เทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ ในขณะที่เมืองที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลเมืองหัวหิน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเพชรบูรณ์

ังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 12,668 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 9 ของประเทศ มีประชากร 994,397 คน แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ และมีเขตเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เป็นจังหวัดที่มีทรัพยากรธรรมชาติ มีความอุดมสมบูรณ์ และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและจังหวัดเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

จาตุมหาราชิกา

วาดจตุโลกบาลหรือจตุมหาราชทั้ง 4 ศิลปะพม่า (จากซ้าย) ท้าวธตรฐ ท้าววิรุฬหก ท้าววิรูปักษ์ และท้าวกุเวร ตามคติจักรวาลวิทยาในศาสนาพุทธ จาตุมหาราชิกา (Cātummahārājika, จาตุมฺมหาราชิก; Cāturmahārājikakāyika, จาตุรฺมหาราชิกกายิก) เป็นชื่อสวรรค์ชั้นแรกและเป็นชั้นล่างที่สุดในฉกามาพจร (สวรรค์ในกามภูมิตามคติไตรภูมิ) เรียกสั้น ๆ ว่า ชั้นจาตุม ก็มี มีที่ตั้งอยู่บริเวณเชิงเขาพระสุเมรุ จาตุมหาราชิกา โดยศัพท์แปลว่า "แห่งมหาราชทั้งสี่" เมื่อแปลแบบเอาความจึงหมายถึง "แดนเป็นที่อยู่ของท้าวมหาราชทั้งสี่" หรือ "อาณาจักรของท้าวมหาราช 4 องค์" กล่าวคือ สวรรค์ชั้นนี้เป็นดินแดนที่จอมเทพ 4 องค์ผู้รักษาคุ้มครองโลกใน 4 ทิศ ซึ่งเรียกว่า ท้าวโลกบาล ท้าวจตุโลกบาล หรือ ท้าวจาตุมหาราช หรือ สี่ปวงผี ปกครองอยู่องค์ละทิศ เทวดาชั้นจาตุมหาราชิกามีอายุ 500 ปีทิพย์ (30 วันเป็น 1 เดือน 12 เดือนเป็น 1 ปี) โดย 1 วันและ 1 คืนของสวรรค์ชั้นนี้ เท่ากับ 50 ปีของโลกมนุษย์ คำนวณเป็นปีโลกมนุษย์ได้ 9,000,000 ปีโลกมนุษย์ (บางแห่งกล่าวว่าเท่ากับ 90,000 ปีโลกมนุษย์).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและจาตุมหาราชิกา · ดูเพิ่มเติม »

จานบิน

มืองเพเซอิก รัฐนิวเจอร์ซีย์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี ค.ศ. 1952 จานบิน (flying saucer/flying disc) หรือจานผี เป็นวัตถุบิน ลักษณะคล้ายจานสองใบคว่ำประกบกัน เชื่อกันว่าเป็นยานอวกาศที่มาจากดาวดวงอื่น เป็นคำที่ใช้เรียกกันโดยทั่ว ๆ ไปที่จะหมายความถึงวัตถุบินใด ๆ ที่มีลักษณะผิดปกติไปจากธรรมดาที่เคยพบเห็นกันโดยทั่วไป เป็นคำที่ถูกบัญญัติใช้เมื่อปี..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและจานบิน · ดูเพิ่มเติม »

จำลอง สารพัดนึก

ร.จำลอง สารพัดนึก ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.จำลอง สารพัดนึก เกิดเมื่อเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและจำลอง สารพัดนึก · ดูเพิ่มเติม »

จำนงค์ ทองประเสริฐ

ตราจารย์พิเศษจำนงค์ ทองประเสริฐ ศาสตราจารย์พิเศษจำนงค์ ทองประเสริฐ ราชบัณฑิต สาขาตรรกศาสตร์ ประจำราชบัณฑิตยสถาน มีตำแหน่งเป็นที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และเป็นอุปนายกสภามหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาแห่งโลก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและจำนงค์ ทองประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

จิรโชค วีระสย

ตราจารย์พิเศษ ดร.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและจิรโชค วีระสย · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมศาสตร์

รรมศาสตร์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ถะ

(塔) คือสถูปที่สร้างตามสถาปัตยกรรมจีน มีลักษณะเป็นหอคอยมีหลังคาซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ใช้เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุเพื่อความปลอดภัยหรือเป็นที่สักการะบูชา พัฒนามาจากสถูปที่สร้างขึ้นในอินเดียสมัยโบราณ ถะ ในภาษาอังกฤษเรียกว่า pagoda มาจากคำว่า pagode ในภาษาโปรตุเกส ซึ่งสันนิษฐานว่ามาจากคำว่า butkada ในภาษาเปอร์เซียที่แปลว่า เทวสถานที่มีเทวรูป บ้างก็สันนิษฐานว่ามาจากคำว่า "ผาโจวถะ" (八角塔) ซึ่งเป็นชื่อถะสำคัญแห่งหนึ่งในกวางโจวและชาวยุโรปที่มาเยือนจีนมักได้พบเห็น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและถะ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสิบสามห้าง

แผนที่เขตพระนคร ถนนพระนครอยู่ใกล้กับวัดบวรนิเวศวิหาร (Wat Bowonniwett) ในชื่อ Sip Sam Hang Road ถนนสิบสามห้าง (Thanon Sip Sam Hang) เป็นถนนสายเล็ก ๆ ตั้งอยู่ในย่านบางลำพู แขวงตลาดยอด เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นถนนที่สร้างขึ้นมาตั้งแต่รัชสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมีที่มาจากกลุ่มพ่อค้ากลุ่มหนึ่งในมณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีน ซึ่งเริ่มต้นมีห้างร้านอยู่ทั้งสิ้น 13 ห้าง ได้รวมตัวกันเพื่อเข้าช่วยเหลือซึ่งกันและกันในด้านการค้าและอื่น ๆ มีตึกทำการอยู่ที่มณฑลกวางตุ้ง ต่อมาเมื่อชาวจีนเข้ามาจับจองทำกิจการค้าที่บางลำพู ได้นำวิธีการนี้มาใช้ และได้สร้างอาคารซึ่งมีลักษณะเหมือนอาคารที่ทำการสมาคมเช่นเดียวกันนี้ขึ้นที่บางลำพู แม้ภายหลังเมื่ออาคารดังกล่าวจะถูกรื้อถอน แต่ชื่อสิบสามห้างยังคงอยู่ และได้กลายเป็นชื่อถนนที่เคยเป็นที่ตั้งอาคารสมาคม นอกจากนี้แล้ว ถนนสิบสามห้างในช่วงกึ่งพุทธกาล (พ.ศ. 2500) เป็นแหล่งชุมนุมของวัยรุ่นเช่นเดียวกับสยามสแควร์ในปัจจุบัน เพราะเป็นแหล่งของร้านอาหารจำนวนมาก ที่เปิดกันจนถึงช่วงดึก และยังมีร้านไอศกรีมซึ่งเป็นสิ่งที่หารับประทานยากในสมัยนั้น รวมถึงยังมีบริการโทรทัศน์เปิดให้กับลูกค้าได้ดูอีกด้วย ซึ่งนับว่าเป็นนวัตกรรมใหม่อีกอย่างหนึ่ง ถนนสิบสามห้างได้รับการกล่าวถึงในภาพยนตร์เรื่อง 2499 อันธพาลครองเมือง ภาพยนตร์ไทยในปี..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและถนนสิบสามห้าง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนนิมิตใหม่

นนนิมิตใหม่ (Thanon Nimit Mai) เป็นเส้นทางการคมนาคมในพื้นที่เขตมีนบุรี เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร และอำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและถนนนิมิตใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเทพรักษ์

นนเทพรักษ์ (Thanon Thep Rak) เป็นถนนสายหนึ่งในท้องที่เขตบางเขนและเขตสายไหม ทางตอนเหนือของกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและถนนเทพรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทรัพย์สิน

ทรัพย์ (thing) หมายถึง วัตถุมีรูปร่าง ซึ่งได้แก่สิ่งที่มองเห็นได้ด้วยตา สัมผัสได้ด้วยมือ อาทิ โต๊ะ ตู้ ตั่ง เตียง ช้าง มา วัว ควาย เป็นคำมาจากคำในภาษาสันสกฤตว่า "ทฺรวฺย"ราชบัณฑิตยสถาน, 2551: ออนไลน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและทรัพย์สิน · ดูเพิ่มเติม »

ทรัพย์อุปกรณ์

---- อุปกรณ์ (accessory) หรือ ทรัพย์อุปกรณ์ (accessory thing) หมายถึง สังหาริมทรัพย์ซึ่งโดยปรกตินิยมเฉพาะถิ่นหรือโดยเจตนาชัดแจ้งของเจ้าของทรัพย์ที่เป็นประธาน (principal thing) เป็นของใช้ประจำอยู่กับทรัพย์ที่เป็นประธานเป็นอาจิณ เพื่อประโยชน์แก่การจัดดูแลใช้สอยหรือรักษาทรัพย์ที่เป็นประธาน และเจ้าของทรัพย์ได้นำมาสู่ทรัพย์ที่เป็นประธานโดยการนำมาติดต่อ หรือปรับเข้าไว้ หรือทำโดยประการอื่นใดในฐานะเป็นของใช้ประกอบกับทรัพย์ที่เป็นประธานนั้นราชบัณฑิตยสถาน, 2551: ออนไลน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและทรัพย์อุปกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีโดมิโน

แสดงการล้มตาม ๆ กันอย่างโดมิโนของบรรดาประเทศในเอเชีย เมื่อประเทศจีนหันไปใช้ระบอบคอมมิวนิสต์ ทฤษฎีโดมิโน (domino theory) เป็นทฤษฎีทางนโยบายด้านการต่างประเทศ อุปมาขึ้นจากลักษณะของเกมไพ่ต่อแต้ม ซึ่งถ้ามีไพ่ล้มหนึ่งใบ ไพ่ใบอื่น ๆ ก็จะล้มเป็นแถบติดต่อเป็นลูกโซ่ ทฤษฎีโดมิโนหมายความว่าถ้าประเทศหนึ่งหันไปใช้ระบอบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ จะส่งผลให้ประเทศรอบข้างก็จะเอาอย่างตามไปด้วย เรียกว่า "ผลกระทบแบบโดมิโน (domino effect) ทฤษฎีโดมิโนเกิดขึ้นจากกรณีการขยายตัวของลัทธิและระบอบคอมมิวนิสต์ในทวีปเอเชีย เมื่อจีน เกาหลีเหนือ และเวียดนามเหนือตกเป็นคอมมิวนิสต์ จึงมีความเชื่อว่าประเทศอื่น ๆ เช่น ลาว เขมร ไทย มาเลเซีย ฯลฯ จะถูกครอบงำโดยระบบคอมมิวนิสต์ในที่สุดตามไปด้วย การล้มของโดมิโนจึงหมายถึงการล้มตัวของระบอบประชาธิปไตย แต่เมื่อนำมาใช้กับประเทศในโลกตะวันตกแล้ว อาจกล่าวได้ว่าเป็นทฤษฎีโดมิโนแบบกลับตาลปัตร คือ แทนที่จะเป็นการล้มของระบอบประชาธิปไตย กลับเป็นการคลายตัวและแปรเปลี่ยนจากระบอบการปกครองแบบพรรคเดียว คือ คอมมิวนิสต์ และระบบเศรษฐกิจสังคมนิยม ไปสู่การปกครองแบบหลายพรรค เช่น ในกรณีที่โปแลนด์ หรือในการสลายตัวของพรรคคอมมิวนิสต์ที่ฮังการี การต่อสู้เพื่อเสรีภาพที่โรมาเนีย รวมทั้งการมีท่าทีที่จะใช้ระบบหลายพรรคในสหภาพโซเวียต อย่างไรก็ดี ราชบัณฑิตยสถานแห่งประเทศไทยวิเคราะห์ว่า "...ในสหภาพโซเวียตและใน กลุ่มประเทศยุโรปตะวันตกออกจะแปรเปลี่ยนเป็นทุนนิยมและประชาธิปไตยสมบูรณ์ แบบ คงต้องเปิดช่องสำหรับข้อเท็จจริงที่ว่า การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่น่าจะเป็นไปอย่างสมบูรณ์ ที่หวังได้คือ การมีระบบผสมผสาน แต่ระบบเดิมคงเหลืออยู่เป็นฐาน ทฤษฎีโดมิโนเมื่อใช้ในกรณีกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกน่าจะถูกเพียงครึ่งเดียว ซึ่งก็เป็นกรณีเดียวกับที่ใช้กับกลุ่มประเทศแถบเอเชีย" ทฤษฎีโดมิโนนี้ถูกต่อต้านโดยนายจอห์น ฟอสเตอร์ ดัลเลส (John Foster Dulles) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา โดยได้มีทฤษฎีต่อต้านคือทฤษฎีการสกัดกั้น (containment policy).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและทฤษฎีโดมิโน · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส มอร์

ทอมัส มอร์ (Thomas More) คริสตจักรโรมันคาทอลิกเรียกว่านักบุญทอมัส มอร์ เป็นนักกฎหมาย นักปรัชญาสังคม นักเขียน รัฐบุรุษ และนักมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ดำรงตำแหน่งองคมนตรีในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ และประธานฝ่ายตุลาการอังกฤษตั้งแต่เดือนตุลาคม..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและทอมัส มอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทองประศรี

นางทองประศรีเป็นชื่อตัวละครหญิงตัวสำคัญซึ่งมีบทบาทตั้งแต่ต้นจนจบในเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน โดยเป็นภริยาของข้าราชการทหารชื่อขุนไกรพลพ่ายและเป็นมารดาของพลายแก้ว นางทองประศรีนั้นเป็นตัวอย่างของหญิงไทยแต่โบราณซึ่งมีความรู้ความสามารถและช่วยเหลือส่งเสริมผู้อื่นให้เป็นคนดี ซึ่งตรงกันข้ามกับนางศรีประจันมารดาของนางวันทอง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและทองประศรี · ดูเพิ่มเติม »

ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี

ซอร์ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี ผู้คิดค้นและประดิษฐ์เวิลด์ไวด์เว็บ เซอร์ทิโมที จอห์น เบอร์เนิร์ส-ลี (Sir Timothy John Berners-Lee, OM, KBE, FRS, FREng, FRSA) (8 มิถุนายน พ.ศ. 2498) ผู้คิดค้นและประดิษฐ์ เวิลด์ไวด์เว็บ ผู้อำนวยการWorld Wide Web Consortium (ทำหน้าที่ดูแลการพัฒนาต่อเนื่องใหม่ ๆ เกี่ยวกับเว็บ) นักวิจัยอาวุโสและผู้นั่งในตำแหน่ง ทรีคอมฟาวน์เดอร์สแชร์ (3Com Founders Chair) ที่หอทดลองวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์แห่งเอ็มไอที (CSAIL).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและทิม เบอร์เนิร์ส-ลี · ดูเพิ่มเติม »

ทุกรกิริยา

การเฆี่ยนตนเองเป็นการบำเพ็ญ “ทุกรกิริยา” วิธีหนึ่งที่เริ่มทำกันในช่วงที่เกิดแบล็กเดท ทุกรกิริยา (ทุกฺกรกิริยา; self-mortification/ mortification of the flesh) แปลว่า “การกระทำกิจที่ทำได้โดยยาก” ใช้ในบริบททางศาสนาและจิตวิญญาณ เพื่อหมายถึงการทรมานร่างกายตนเอง เพื่อชำระตนให้บริสุทธิ์จากบาป “ทุกรกิริยา” อย่างง่ายที่สุดคือการละเว้นจากกิเลสบางอย่าง เช่น การงดดื่มสุรา หรือการเลือกใช้ชีวิตอันสมถะ เช่น ใช้ชีวิตอารามวาสี หรือถ้าเป็น “ทุกรกิริยา” ขั้นรุนแรงอาจจะเป็นการทำร้ายตนเองเช่นโดยการเฆี่ยน แทง หรือกรีดเนื้อหนังเป็นต้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและทุกรกิริยา · ดูเพิ่มเติม »

ท่าราชวรดิฐ

250px ท่าราชวรดิฐ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ด้านหน้าพระที่นั่งราชกิจวินิจฉัย ถนนมหาราช แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ท่าราชวรดิฐเป็นท่าเทียบเรือพระทีนั่ง ตั้งอยู่ทางด้านตะวันตกของพระบรมมหาราชวัง เดิมเป็นที่ตั้งของพระตำหนักน้ำซึ่งสร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นตำหนักปักเสาลงในน้ำ ทอดคานเหมือนเรือนแพ มีหลังคามุงกระเบื้อง ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้รื้อตำหนักของเดิมเสีย แล้วลงเขื่อนถมที่ขึ้นเสมอพื้นดิน และสร้างพระที่นั่งขึ้นหมู่หนึ่งเป็นพลับพลาสูงตรงกลางองค์หนึ่ง พระราชทานนามว่า พระที่นั่งชลังคพิมานต่อพลับพลาสูงเข้าไปทางด้านตะวันออก มีพระที่นั่งสูงเป็นที่ประทับองค์หนึ่ง พระราชทานนามว่า พระที่นั่งทิพยสถานเทพสถิต พระที่นั่งข้างเหนือลดพื้นต่ำลงมาเป็นท้องพระโรงฝ่ายหน้าองค์หนึ่ง พระราชทานนามว่า พระที่นั่งราชกิจวินิจฉัย มีพระที่นั่งข้างใต้เหมือนกันกับองค์ข้างเหนือเป็นที่พักฝ่ายใน พระราชทานนามว่าพระที่นั่งอนงค์ในสราญรมย์ ส่วนตรงหน้าพระที่นั่งชลังคพิมานใต้ท่าเสด็จลงเรือ โปรดเกล้าฯ ให้ก่อเขื่อนทำสระเป็นที่สรงสระหนึ่งก่อกำแพงเป็นบริเวณข้างในทั้ง 3 ด้านมีป้อมริมน้ำปลายแนวกำแพงด้านเหนือ พระราชทานนามว่าป้อมพรหมอำนวยศิลป์ ป้อมข้างใต้ตรงชื่อ ป้อมอินทร์อำนวยศร และโปรดเกล้าฯ ให้เรียกรวมกันทั้งบริเวณว่า ท่าราชวรดิฐ แปลว่า ท่าอันประเสริฐของพระราชา ข้างเหนือขึ้นไปทำท่าสำหรับเรือข้าราชการอีกท่าหนึ่ง โปรดเกล้าฯ ให้เรียกว่า ท่านิเวศน์วรดิฐ ซึ่งปัจจุบันเป็นท่าเรือรับส่งข้าราชการทหารเรือและประชาชนทั่วไปข้ามฟากแม่น้ำเจ้าพระยาจากฝั่งพระนครไปยังฝั่งธนบุรีขึ้นตรงท่าของกรมอู่ทหารเรือ ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระที่นั่งในบริเวณท่าราชวรดิฐชำรุดจึงโปรดเกล้าฯ ให้ซ่อมรักษาพระที่นั่งราชกิจวินิจฉัยไว้ นอกนั้นให้รื้อเสีย ปัจจุบันท่าราชวรดิฐยังเป็นที่เสด็จประทับในการเสด็จโดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมาร.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและท่าราชวรดิฐ · ดูเพิ่มเติม »

ขรัวอินโข่ง

ตรกรรมฝาผนังโดยขรัวอินโข่ง ขรัวอินโข่ง มีชีวิตอยู่ในสมัยรัชกาลที่ 3-4 (ไม่ปรากฏวันเดือนปีเกิด) ศิลปินผู้ได้รับการยกย่องเป็นจิตรกรเอกประจำรัชกาลที่ 4 แห่งสมัยรัตนโกสินทร์ เป็นศิลปินในสมณเพศ ศิลปินไทยคนแรกที่ใช้เทคนิคการเขียนภาพฝาผนังแบบตะวันตกที่แสดงปริมาตรใกล้ไกล นับเป็นศิลปินก้าวหน้าแห่งยุคที่ผสมผสานแนวดำเนินชีวิตแบบไทยกับตะวันตกเข้าด้วยกัน ซึ่งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงยกย่องว่า ขรัวอินโข่งเป็นช่างเขียนไม่มีตัวสู้ในสมัยนั้น ในระยะแรกขรัวอินโข่งยังยึดแนวความคิดแบบเดิม คือวาด ภาพเกี่ยวกับพุทธศาสนาตามคตินิยม ภายหลังจึงเปลี่ยนเป็นเขียนภาพเรื่องราวเกี่ยวเนื่องในพระพุทธศาสนา จนกระทั่งหลุดพ้นมาเป็นงานในรูปแบบปริศนาธรรม ความสามารถพิเศษเฉพาะตัวคือการ วาดภาพธรรมชาติโดยเฉพาะต้นไม้ และการควบคุมอารมณ์ของสีในภาพให้มีความกลมกลืนและ เกี่ยวเนื่องกันโดยตลอด ผลงานที่สร้างชื่อเสียงคือภาพปริศนาธรรมที่ฝาผนังภายในพระอุโบสถ วัดบวรนิเวศและวัดบรมนิว.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและขรัวอินโข่ง · ดูเพิ่มเติม »

ขั้นตอนวิธี

ั้นตอนวิธี หรือ อัลกอริทึม (algorithm) หมายถึงกระบวนการแก้ปัญหาที่สามารถเข้าใจได้ มีลำดับหรือวิธีการในการแก้ไขปัญหาใดปัญหาหนึ่งอย่างเป็นขั้นเป็นตอนและชัดเจน เมื่อนำเข้าอะไร แล้วจะต้องได้ผลลัพธ์เช่นไร ซึ่งแตกต่างจากการแก้ปัญหาแบบสามัญสำนึก หรือฮิวริสติก (heuristic) โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทำแบบวนซ้ำ (iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการเปรียบเทียบ (comparison) ในขั้นตอนต่างๆ จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทำงาน ในการทำงานอย่างเดียวกัน เราอาจจะเลือกขั้นตอนวิธีที่ต่างกันเพื่อแก้ปัญหาได้ โดยที่ผลลัพธ์ที่ได้ในขั้นสุดท้ายจะออกมาเหมือนกันหรือไม่ก็ได้ และจะมีความแตกต่าง ที่จำนวนและชุดคำสั่งที่ใช้ต่างกันซึ่งส่งผลให้ เวลา (time), และขนาดหน่วยความจำ (space) ที่ต้องการต่างกัน หรือเรียกได้อีกอย่างว่ามีความซับซ้อน (complexity) ต่างกัน การนำขั้นตอนวิธีไปใช้ ไม่จำกัดเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้กับปัญหาอื่น ๆ ได้เช่น การออกแบบวงจรไฟฟ้า, การทำงานเครื่องจักรกล, หรือแม้กระทั่งปัญหาในธรรมชาติ เช่น วิธีของสมองมนุษย์ในการคิดเลข หรือวิธีการขนอาหารของแมลง หนึ่งในขั้นตอนวิธีอย่างง่าย คือ ขั้นตอนวิธีที่ใช้หาจำนวนที่มีค่ามากที่สุดในรายการ (ซึ่งไม่ได้เรียงลำดับไว้) ในการแก้ปัญหานี้ เราจะต้องดูจำนวนทุกจำนวนในรายการ ซึ่งมีขั้นตอนวิธีดังนี้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและขั้นตอนวิธี · ดูเพิ่มเติม »

ขนมบ้าบิ่น

นมบ้าบิ่น ขนมบ้าบิ่น ขนมไทยอย่างหนึ่ง ทำจากแป้งข้าวเหนียวผสมกับมะพร้าวและนํ้าตาลทรายรวมถึงไข่ไก่ ทำให้สุกด้วยการผิงไฟล่างไฟบน มีลักษณะเป็นชิ้นเล็ก ๆ แบน ๆ เป็นขนมที่มีที่มาจากขนมโปรตุเกสเช่นเดียวกับขนมไทยอีกหลาย ๆ ประเภท แต่ขนมบ้าบิ่นน่าจะถือกำเนิดในยุครัตนโกสินทร์ ที่มาของชื่อ "บ้าบิ่น" มีที่มาด้วยกันสองกระแส บ้างก็ว่ามาจากผู้ที่เป็นเจ้าของตำรับซึ่งเป็นชาวชุมชนกุฎีจีนชื่อ "แม่บิ่น" โดยครั้งแรกใช้ชื่อว่า "ขนมป้าบิ่น" และเรียกเพี้ยนจนกลายเป็นบ้าบิ่นในที่สุด ขณะที่อีกกระแสหนึ่งกล่าวว่า ด้วยความที่ขนมบ้าบิ่นมีที่มาจากขนมโปรตุเกสชื่อ กลชาดาซ เดอ กรูอิงบรา (Queijadas de Coimbra) ซึ่งใช้เนยแข็งเป็นวัตถุดิบ แต่เรียกกันติดปากเพียงคำสุดท้าย คือ "บรา" และต่อมาเพิ่มคำว่า "บิ่น" เข้าไป จนกลายมาเป็นขนมบ้าบิ่นในที่สุด โดยแหล่งของขนมบ้าบิ่นที่ขึ้นชื่อ คือ อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทั้งนี้คำว่า "บ้าบิ่น" พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้นิยามว่า ว. มุทะลุ หุนหันพลันแล่น อวดกล้าทําการอย่างไม่มีสติยั้งคิด บิ่น ก็ว.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและขนมบ้าบิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ข้าราชการฝ่ายตุลาการ (ประเทศไทย)

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถทรงเครื่องแบบข้าราชการตุลาการในฐานะที่ทรงเป็นที่มาแห่งความยุติธรรมตามความเชื่อโบราณ ตุลาการ คือผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาอรรถคดี ตำแหน่งของตุลาการเรียกว่า "ผู้พิพากษา" โบราณเรียกว่า "ตระลาการ" หรือ "กระลาการ"ราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและข้าราชการฝ่ายตุลาการ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)

Aquatint of a Doctor of Divinity at the University of Oxford, in the scarlet and black academic robes corresponding to his position. From Rudolph Ackermann's ''History of Oxford'', 1814. ดอกเตอร์ หรือ ด็อกเตอร์ (doctor) เป็นคำศัพท์ที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษโดยคำศัพท์คำนี้มีรากศัพท์ในภาษาละติน doctor เป็นคำนานที่มาจากกริยาในภาษาละติน docēre แปลว่าสอน ดอกเตอร์ถูกใช้มานานในทวีปยุโรปตั้งแต่การก่อต้งสถาบันอุดมศึกษา และถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายในหลายประเทศทั่วโลก ในภาษาอังกฤษ ดอกเตอร์เป็นคำนำหน้าชื่อของผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก รวมถึงแพทย์และทันตแพทย์ ในประเทศไทย คำนำหน้าชื่อนี้ใช้เฉพาะในความหมายของผู้สำเร็จปริญญาเอกเท่านั้น เพราะมีคำนำหน้าอื่นสำหรับแพทย์และทันตแพท.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม) · ดูเพิ่มเติม »

ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์

วศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ พ.ศ. 2547ภาพดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ เช้าวันที่ 6 มิถุนายน 2012 ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ (Transit of Venus) เป็นปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ ที่เกิดขึ้นเมื่อดาวศุกร์เคลื่อนที่ผ่านแนวเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ คนบนโลกจะเห็นดาวศุกร์เป็นดวงกลมดำขนาดเล็กเคลื่อนที่ผ่านดวงอาทิตย์ การผ่านหน้าคล้ายกับสุริยุปราคาที่เกิดจากดวงจันทร์บดบังดวงอาทิตย์ ต่างกันตรงที่ดาวศุกร์อยู่ห่างจากโลกมากกว่าดวงจันทร์ (แม้ว่าจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า) เราจึงมองเห็นดาวศุกร์มีขนาดเล็กมาก ในอดีตนักดาราศาสตร์ใช้ปรากฏการณ์นี้ในการวัดระยะทางระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์โดยอาศัยการเกิดแพรัลแลกซ์ เจเรไมอาห์ ฮอร์รอกส์ นักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษเป็นคนแรกที่ได้คำนวณและสังเกตเห็นการเคลื่อนตัวในวงโคจรของดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ดังกล่าวเมื่อเวลาตั้งแต่ 15.15 น. จนดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2182 ดวงศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ครั้งต่อไปมีให้เห็นได้ทั่วประเทศไทยในตอนเช้าวันที่ 6 มิถุนายน 2555.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาดราและนครหเวลี

ราและนครหเวลี (દાદરા અને નગર હવેલી, दादरा आणि नगर हवेली, दादर और नगर हवेली) ดินแดนสหภาพแห่งหนึ่งของสาธารณรัฐอินเดีย เป็นเขตการปกครองที่มีดินแดนส่วนแยกเป็นสองส่วนคือดาดรา และนครหเวลี ซึ่งนครหเวลีถือเป็นดินแดนส่วนใหญ่ที่ถูกโอบล้อมโดยรัฐมหาราษฏระกับรัฐคุชราต ส่วนดาดราเป็นเขตขนาดเล็กที่อยู่ทางตอนเหนือของนครหเวลี เป็นดินแดนส่วนแยกถูกโอบล้อมโดยพื้นที่ของรัฐคุชราตทั้งหมด บางส่วนของพื้นที่ห่างจากเมืองดามันประมาณ 10-30 กิโลเมตร มีเมืองเอกคือ เมืองสิลวั.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและดาดราและนครหเวลี · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดน

มืองปาโกปาโกเมืองหลวงของอเมริกันซามัว ดินแดนของสหรัฐอเมริกา ดินแดน (territory) คือเขตการปกครอง อาณานิคมหรืออาณาเขตที่ยังไม่ได้รับเอกราชของประเทศใดประเทศหนึ่ง หรืออาจจะยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติก็ได้ ดินแดนในปัจจุบันบางดินแดนมีการเรียกร้องเอกราชกันบ้างแล้ว เช่น เวสเทิร์นสะฮาราของประเทศโมร็อกโก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและดินแดน · ดูเพิ่มเติม »

ดุสิต

ต คือสวรรค์ชั้นที่ 4 ในฉกามาพจร มีท้าวสันดุสิตเป็นจอมเท.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

ความชั่วร้าย

วามชั่วร้าย เป็นภาวะตรงข้ามกับความดี ใช้หมายถึงการผิดศีลธรรมหรือจารีตประเพณีเป็นต้น และนิยามได้หลายอย่างตามแต่เหตุจูงใจที่ทำ บางศาสนาถือว่าความชั่วร้ายเป็นพลังเหนือธรรมชาติ ความดี-ความชั่วเรียกว่าบุญ-บาป ศาสนาอับราฮัมมองว่าความดี-ความชั่วเป็นคู่ปฏิปักษ์กัน และในวาระสุดท้ายความดีจะชนะ ส่วนความชั่วจะพ่ายแพ้Paul O. Ingram, Frederick John Streng.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและความชั่วร้าย · ดูเพิ่มเติม »

ความรอด

วามรอด (Salvation) ในทางศาสนา หมายถึง การที่วิญญาณปลอดจากบาปและผลของบาป ถือเป็นเป้าหมายของทุกศาสนา แต่แต่ละศาสนาจะอธิบายลักษณะและวิธีการบรรลุถึงความรอดแตกต่างกันไป.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและความรอด · ดูเพิ่มเติม »

ความสามารถของบุคคล

วามสามารถของบุคคล (competence of person) ในทางนิติศาสตร์นั้นได้แก่ความสามารถสองประการ คือ ความสามารถที่บุคคลจะมีสิทธิ และความสามารถที่บุคคลจะใช้สิทธิ บุคคลจะใช้สิทธิกระทำการใด กฎหมายบัญญัติให้ต้องมีความสามารถจะกระทำการนั้นก่อน เพื่อป้องกันความเสียหายอันจะเกิดแก่บุคคลนั้นเองและบุคคลอื่น บุคคลประเภทที่กฎหมายสันนิษฐานว่าไม่อยู่ในภาวะที่จะบริหารความสามารถของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ ผู้เยาว์ (minor), คนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) และคนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person) ซึ่งความสามารถตามกฎหมายของบุคคลเหล่านี้จะถูกจำกัดมากน้อยแล้วแต่กรณี นิติกรรมที่บุคคลเหล่านี้จะกระทำ กฎหมายจึงกำหนดเงื่อนไขไว้ต่าง ๆ เพื่อพิทักษ์ประโยชน์ของเขาเหล่านั้นโดยเฉพาะ อย่างไรก็ดี นิติบุคคล (juristic person) ซึ่งมิใช่บุคคลแท้ ๆ ก็อาจมีความสามารถตามกฎหมายเช่นบุคคลธรรมดา (natural person) ได้ เว้นแต่เป็นเรื่องที่ตามสภาพแล้วไม่สามารถกระทำได้เองจริง ๆ เช่น การมีครอบครัว หรือเข้าสมรส เป็นต้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและความสามารถของบุคคล · ดูเพิ่มเติม »

ความสงบเรียบร้อยของประชาชน

วามสงบเรียบร้อยของประชาชน (public order) เป็นศัพท์ทางวิชาการ หมายถึง ภาวะความเป็นอยู่ของประชาชนที่อยู่ร่วมกันในสังคม โดยมีความปลอดภัยในชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สิน และในการดำเนินชีวิตโดยปรกต.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและความสงบเรียบร้อยของประชาชน · ดูเพิ่มเติม »

ความประมาทเลินเล่อ

วามประมาทเลินเล่อ (negligence) หมายถึง ความที่กระทำการใด ๆ โดยปราศจากความระมัดระวัง หรือโดยละเลยในสิ่งที่ควรกระทำ ผู้กระทำการโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง (gross negligence) กฎหมายไม่อภัยให้เลย และจะเรียกร้องใด ๆ ก็มิได้ด้วย เช่น ผู้ได้รับความเสียหายจากการทำสัญญาซื้อขาย โดยที่ตอนทำสัญญานั้นไม่อ่านข้อความในหนังสือสัญญาให้ถี่ถ้วนก่อน เป็นต้น ขุนสมาหารหิตะคดี (โป๊ โปรคุปต์) ผู้เขียนพจนานุกรมกฎหมายเล่มแรกของประเทศไทย ว่า "ประมาท ตามธรรมดาหมายถึง กิริยาที่กระทำลงโดยมิได้ตั้งใจจะให้เกิดผลเช่นนั้น แต่ได้กระทำการอย่างใดซึ่งคนธรรมดาจะไม่กระทำ หรือละเว้นกระทำการอย่างใดซึ่งคนธรรมดาจะกระทำ จนเกิดผลอันเนื่องจากการกระทำนั้น ผู้ใดกระทำลงโดยความประมาท อาจจะต้องรับผิดชอบในทางกฎหมายก็ได้ ไม่อาจต้องรับผิดชอบในทางกฎหมายก็ได้ เช่น ผู้ที่ขับรถโดยไม่ใช้ความระมัดระวังอย่างธรรมดา ขับรถไปทับคนเข้า ผู้ขับจะต้องรับผิดชอบ แต่ถ้าผู้ใดเดินหลับตาจะไปยังที่แห่งหนึ่ง แต่กลับเดินลงไปในคลอง ผู้นั้นไม่ต้องรับผิดชอบ เพราะฉะนั้น การประมาทที่จะใช้ได้ตามกฎหมายนั้น หมายถึง ผู้ใดมีหน้าที่ใช้ความระวังตามกฎหมาย ผู้นั้นไม่ใช้ความระวัง กลับกระทำผิดหน้าที่ กระทำให้ผู้อื่นต้องเสียหายอันเป็นผลโดยตรงหรือใกล้ชิดกับเหตุ โดยที่ผู้กระทำมิได้ตั้งใจจะให้เกิดผลเช่นนั้น..." คำว่า "ประมาทเลินเล่อ" เป็นคำที่ใช้ในทางกฎหมายแพ่ง ส่วนทางอาญาจะใช้ว่า "ประมาท" เฉ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและความประมาทเลินเล่อ · ดูเพิ่มเติม »

ความไวต่ออักษรใหญ่เล็ก

วามไวต่ออักษรใหญ่เล็ก (case sensitivity) หมายถึงภาวะที่คำคำหนึ่งที่มีความหมายแตกต่างกันเนื่องจากการใช้อักษรตัวใหญ่และอักษรตัวเล็กต่างกัน คำที่เขียนด้วยอักษรตัวใหญ่ไม่จำเป็นต้องมีความหมายเหมือนกับที่เขียนด้วยอักษรตัวเล็กเสมอไป ตัวอย่างเช่น Bill คือชื่อแรกของอดีตประธานาธิบดี บิล คลินตัน ในขณะที่ bill อาจหมายถึงร่างกฎหมายที่เสนอสภา (เป็นตัวอย่างความหมายหนึ่ง) หรืออย่างเช่น Polish หมายถึงชาวโปแลนด์หรือที่เกี่ยวกับประเทศโปแลนด์ ในขณะที่ polish แปลว่าขัดเงา เป็นต้น ภาวะที่ตรงข้ามกับ "ไวต่ออักษรใหญ่เล็ก" (case-sensitive) ก็คือ "ไม่ไวต่ออักษรใหญ่เล็ก" (case-insensitive) หมายความว่า ไม่ว่าจะใช้อักษรตัวใหญ่หรือตัวเล็กก็ให้ความหมายเดียวกัน ตัวอย่างข้อมูลในทางคอมพิวเตอร์ที่โดยปกติไวต่ออักษรใหญ่เล็ก อาท.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและความไวต่ออักษรใหญ่เล็ก · ดูเพิ่มเติม »

คัมภีร์

ัมภีร์ (religious text; holy writ; holy books; scripture; scriptures) หมายถึง ตำราที่ยกย่องหรือนับถือว่าสำคัญทางศาสนาหรือโหราศาสตร์ เป็นต้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและคัมภีร์ · ดูเพิ่มเติม »

คำสร้างใหม่

ำสร้างใหม่ หรือ ศัพท์บัญญัติ หมายถึงคำที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ซึ่งอาจเริ่มมีการใช้งานทั่วไป แต่อาจยังไม่เป็นที่ยอมรับในภาษาทั่วไป อาจถูกสร้างขึ้นมาเพื่อความเฉพาะเจาะจง เกี่ยวกับคน การเผยแพร่ เวลา หรือเหตุการณ์ ในประเทศไทยราชบัณฑิตยสถานมีหน้าที่บัญญัติศัพท์ และมีคณะกรรมการบัญญัติศัพท์สาขาวิชาต่าง ๆ เช่น คณะกรรมการบัญญัติศัพท์ปรับอากาศ คณะกรรมการบัญญัติศัพท์วิทยาศาสตร์ คณะอนุกรรมการบัญญัติศัพท์แพทย์ และคณะกรรมการบัญญัติศัพท์พิมพ์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานทางด้านวิทยาการและเทคโนโลยีจาก ต่างประเทศเข้ามา และได้บัญญัติศัพท์เฉพาะขึ้นมาใช้เอง เช่น คณะกรรมการวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย คณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษาของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ และกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการของกรมวิชาการ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและคำสร้างใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าชื่อ

ำนำหน้าชื่อ หรือ คำนำหน้านาม คือคำที่ใส่เพิ่มไปในชื่อของบุคคลเพื่อบ่งบอกถึงสถานภาพ เช่น การศึกษา ยศตำแหน่ง หรือบรรดาศักดิ์ อาทิ นาย นาง นางสาว ศาสตราจารย์ พันเอก เจ้าชาย กษัตริย์ จักรพรรดิ ฯลฯ ในบางวัฒนธรรมอาจใช้คำแทรกระหว่างชื่อตัวกับนามสกุล เช่น Graf ในชุมชนภาษาเยอรมัน หรือ พระคาร์ดินัลในตำแหน่งบาทหลวงโรมันคาทอลิก แต่เดิมประเทศไทย ไม่มีการใช้คำนำหน้าชื่อเป็นกิจลักษณะ ต่อมาเมื่อมีการประกาศพระบรมราชโองการให้ใช้ พระราชบัญญัติให้ใช้คำนำหน้าชื่อชนต่าง ๆ (ณ วันพุธ เดือน 10 ขึ้น 7 ค่ำ ปีระกาตรีศก) ซึ่งกำหนดคำนำหน้าชื่อ อยู่สำหรับ หญิงและชาย ซึ่งเป็นสามัญชนไว้เพียง 3 คำ ได้แก่ นาย อ้าย และ อี.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและคำนำหน้าชื่อ · ดูเพิ่มเติม »

คิโนะคูนิยะ

ร้านหนังสือคิโนะคูนิยะสาขาแรก ชินจุกุ (โตเกียว) ประเทศญี่ปุ่น ร้านหนังสือคิโนะคูนิยะ (ราชบัณฑิตยสภา: คิโนกูนิยะ โชเต็ง) คือร้านหนังสือสัญชาติญี่ปุ่นที่มีสาขาทั่วประเทศญี่ปุ่นกว่า 72 สาขา และ 30 สาขาทั่วโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927) โดยสาขาแรกตั้งอยู่ที่ชินจูกุ กรุงโตเกียว.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและคิโนะคูนิยะ · ดูเพิ่มเติม »

คืนหมาหอน

ืนหมาหอน หมายถึง คืนสุดท้ายก่อนวันเลือกตั้ง มีความสำคัญในแง่ว่าเป็นคืนที่จะมีการทุจริตการเลือกตั้งสูงมาก โดยเฉพาะการตระเวนตามบ้านเรือนทุกหลังคาเรือนเพื่อซื้อเสียงครั้งสุดท้าย อันเป็นการจ่ายเงินที่หวังผลกำไรสูงมาก เพราะหากประเมินแล้วว่าคะแนนตนยังไม่ถึงเป้าหมายที่ตั้งไว้ หรือเสียงที่ซื้อไปก่อนหน้านี้ถูกซื้อไปด้วยเงินที่สูงกว่า ก็จะต้องรีบซื้อเสียงหรือแจกเงินเพิ่ม นับว่าเป็นโอกาสสุดท้ายที่จะพลิกสถานการณ์ เป็นการวัดดวงหรือทิ้งทวนครั้งสุดท้ายก็ว่าได้ นอกจากนี้ การแจกเงินซื้อเสียงที่จะมีอิทธิพลต่อผู้ไปลงคะแนนนั้น หากทำในวันใกล้เลือกตั้งมากที่สุดก็อาจช่วยให้เป็นที่จดจำได้ง่ายด้วย เนื่องจากปฏิบัติการดังกล่าวกระทำในเวลากลางคืนด้วยลักษณะหลบ ๆ ซ่อน ๆ และมีพิรุธ สุนัขเฝ้าบ้านจึงพากันเห่าหอนเกรียวกราว คืนนั้นจึงเรียก "คืนหมาหอน" ราชบัณฑิตยสถานลงคำนี้ไว้ใน พจนานุกรมคำใหม่ ว่า "คืนหมาหอน น. คืนสุดท้ายก่อนวันเลือกตั้งซึ่งหัวคะแนนเดินไปตามบ้านต่าง ๆ เพื่อจ่ายเงินซื้อเสียง เช่น กกต.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและคืนหมาหอน · ดูเพิ่มเติม »

คูลอมบ์

ูลอมบ์ (coulomb ย่อ: C)ในวงการวิทยาศาสตร์ (และสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา) นิยมใช้ คูลอมบ์ แบบภาษาอังกฤษ ไม่นิยมอ่าน กูลง แบบภาษาฝรั่งเศส โปรดดู และเอกสารวิชาการอื่นประกอบ เป็นหน่วยวัดประจุไฟฟ้าในระบบหน่วยระหว่างประเทศ ตั้งชื่อตา่มชาร์ล-โอกุสแต็ง เดอ กูลงหลักการเขียนคำทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศสของราชบัณฑิตยสภา โดยสำนักศิลปศาสตร์ ฉบั..2554 และ 2535 ถอดรูปตรงกัน นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส สำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศให้คำนิยามไว้ว่า หนึ่งคูลอมบ์ คือปริมาณประจุไฟฟ้าที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าหนึ่งแอมแปร์คูณด้วยเวลาหนึ่งวินาที นอกจากนี้ หนึ่งคูลอมบ์ยังหมายถึงประจุไฟฟ้าที่สะสมในตัวเก็บประจุซึ่งมีความจุ 1 ฟารัด และวางต่อคร่อมความต่างศักย์ 1 โวลต์ ปริมาณประจุไฟฟ้า 1 C มีค่าเท่ากับจำนวนโปรตอน ตัว หรือ mol ส่วน −1 C มีค่าเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน ตัว.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและคูลอมบ์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

ณะรัฐประหารในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ. (National Council for Peace and Order (NCPO) เดิมใช้ชื่อ National Peace and Order Maintaining Council (NPOMC)) เป็นคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง โดยรัฐประหารยึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Political Science, Thammasat University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ จัดเป็น 1 ใน 4 คณะวิชาก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเป็นคณะวิชาลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Education, Silpakorn University) ได้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Architecture, Silpakorn University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

คณะนักบวชคาทอลิก

ในคริสตจักรโรมันคาทอลิก คณะนักบวช หรือ สถาบันนักบวช (religious institute) เป็นสถาบันชีวิตที่ถวายแล้วประเภทหนึ่ง สมาชิกประกอบด้วยชาวคาทอลิกที่สละชีวิตทางโลกมาถือคำปฏิญาณของนักบวชตลอดชีวิต เพื่ออุทิศตนทำงานรับใช้พระศาสนจักรเพียงอย่างเดียว และอยู่รวมกันเป็นคณะ (order/society/congregation) โดยแต่ละคณะมีแนวทางการทำงานและเน้นวัตรปฏิบัติแตกต่างกันไป นอกจากเรียกว่า "คณะนักบวช" แล้ว ราชบัณฑิตยสถานยังใช้คำว่า คณะนักพรต และ คณะนักบวชถือพรต โดยถือว่ามีความหมายเดียวกันราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 163, 421-2 ส่วนประมวลกฎหมายพระศาสนจักร ค.ศ. 1983 ฉบับภาษาไทย ใช้คำว่า คณะสถาบันนักพรต.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและคณะนักบวชคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะนิติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คนทรง

นทรง หรือ ร่างทรง หมายถึง คนที่ให้เจ้าหรือผีมาเข้าสิงในตัว การเข้าสิงนั้นเรียกว่า "การเข้าทรง".

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและคนทรง · ดูเพิ่มเติม »

คนไร้ความสามารถ

นไร้ความสามารถ (incompetent person) คือ คนวิกลจริตถึงขนาดที่ไม่มีทางดูแลตัวเองหรือผลประโยชน์ของตัวเองได้เลย ซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถตามคำร้องขอของ คู่สมรส, บุพการี, ผู้สืบสันดาน, ผู้ปกครอง, ผู้พิทักษ์, ผู้ดูแลรักษาทั่วไป หรือพนักงานอัยการ ซึ่งการเป็นคนไร้ความสามารถจะมีผลนับแต่ศาลมีคำสั่งเป็นต้นไป.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและคนไร้ความสามารถ · ดูเพิ่มเติม »

คนเก่งภาษาไทย

นเก่งภาษาไทย เป็นรายการเกมโชว์ควิซโชว์ที่ออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 18.00 - 18.30 น. เริ่มออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันเสาร์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2552 สิ้นสุดวันเสาร์ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ผลิตรายการโดยบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) โดยออกอากาศทางทีวีไทย ดำเนินรายการโดย แทนคุณ จิตต์อิสระ สร้างสรรค์และควบคุมการผลิตโดย ชยันต์ จันทวงศาทร.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและคนเก่งภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

ค้อนประธาน

้อนแกเฟิลไม้วางอยู่บนรายงานกระบวนพิจารณา จัดแสดงอยู่ที่ศูนย์ตุลาการมินเนโซตา (Minnesota Judicial Center) ค้อนประธาน (marteau de président) หรือ ค้อนแกเฟิล (gavel) หรือในภาษาไทยมักเรียกเพียง ค้อน นั้น เป็นอุปกรณ์ทางพิธีการ ลักษณะอย่างค้อน มีขนาดเล็ก มักทำจากไม้แข็งและติดด้าม สำหรับใช้เคาะที่วาง (block) เพื่อกระทำเสียง ค้อนแกเฟิลนี้เป็นสัญลักษณ์แห่งอำนาจและสิทธิสำหรับกระทำกิจการในอำนาจหน้าที่ของประธาน (chair) อย่างเป็นทางการ หรือสำหรับเป็นประธานในการหนึ่ง ๆ โดยมักใช้กระทำเสียงเคาะเพื่อเรียกความสนใจ หรือเคาะนำหรือจบการสั่ง ประกาศ วินิจฉัย หรือพิพากษา หรืออื่น ๆ ในทำนองเดียวกัน จึงเป็นที่มาของสำนวนในภาษาอังกฤษว่า "gavel-to-gavel" อันหมายถึง การประชุมทั้งกระบวนการ ค้อนแกเฟิลนั้น ตุลาการในศาล และผู้ทอดตลาดในการขายทอดตลาด มักใช้ และในภาษาไทย ลักษณนาม คือ "เต้า" หรือ "อัน"ราชบัณฑิตยสถาน, 2551: ออนไลน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและค้อนประธาน · ดูเพิ่มเติม »

งู

งู เป็นสัตว์เลื้อยคลานอันดับหนึ่ง ไม่มีขา ไม่มีเปลือกตา มีเกล็ดปกคลุมผิวหนังทั่วทั้งลำตัว ลักษณะลำตัวยาวซึ่งโดยขนาดของความยาวนั้น จะขึ้นอยู่กับชนิดของงู ปราดเปรียวและว่องไวในการเคลื่อนที่ มีลิ้นสองแฉกเพื่อใช้สำหรับรับความรู้สึกทางกลิ่น จัดอยู่ในชั้น Reptilia, ตระกูล Squamata, ตระกูลย่อย Serpentes โดยทั่วไปแล้วงูจะกลัวและไม่กัด นอกเสียจากถูกรบกวนหรือบุกรุก จะเลื้อยหลบหนีเมื่อมีสิ่งใดเข้ามาใกล้บริเวณที่อยู่ ออกล่าเหยื่อเมื่อรู้สึกหิว โดยกินสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กเป็นอาหาร ยกเว้นงูบางชนิดที่กินงูด้วยกันเอง เช่น งูจงอาง สามารถมองเห็นได้ดีในที่มืดและในเวลากลางคืน โดยทั่วไปจะออกลูกเป็นไข่ ยกเว้นแต่งูที่มีพิษซึ่งมีผลโดยตรงทางด้านโลหิต (วงศ์งูหางกระดิ่ง((Viperidae)) ซึ่งจะออกลูกเป็นตัว เช่น งูแมวเซา ธรรมชาติโดยทั่วไป งูจะลอกคราบเมื่อมันเริ่มโตขึ้น ทำให้ผิวหนังของงูเริ่มแข็งและคับขึ้น ซึ่งงูจะลอกคราบบ่อยครั้งเมื่องูยังมีอายุไม่มากนัก ซึ่งภายหลังจากการลอกคราบของงู จะทำให้ผิวหนังเก่าหลุดออก แต่เซลล์สีที่ทำให้งูมีสีสันยังคงอยู่ในตัวงู ทำให้เกล็ดที่ปกคลุมผิวหนัง มีสีสันสดใสรวมทั้งทำให้เคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างรวดเร็ว ปัจจุบัน มีงูถูกค้นพบแล้วประมาณ 2,700 ชนิด แต่เป็นงูไม่มีพิษประมาณ 2,300 ชนิด สำหรับในประเทศไทยมีงูจำนวนมากตามสภาพภูมิอากาศ ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อการดำรงชีวิต ทั่วทุกภูมิภาพของประเทศไทยสามารถพบเห็นงูได้มากกว่า 180 ชนิด โดยเป็นงูที่มีพิษจำนวน 46 ชนิด และสามารถจำแนกงูที่มีพิษออกได้อีก 2 ประเภทคือ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและงู · ดูเพิ่มเติม »

ตกเป็นพับ

"ตกเป็นพับ" เป็นคำกริยาในภาษาไทยและเป็นสำนวนกฎหมายไทยที่ค่อนข้างโบราณแต่ยังปรากฏอยู่ในกฎหมายปัจจุบัน มีความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ว่า "นับเป็นสูญ" และมีคำใกล้เคียงคือ "เป็นพับ" หมายความว่า "ตัดเป็นสูญ".

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและตกเป็นพับ · ดูเพิ่มเติม »

ตรัสรู้

ตรัสรู้ หมายถึง การรู้แจ้งของพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นการรู้สภาวะของสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริงในหลักอริยสัจ 4.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและตรัสรู้ · ดูเพิ่มเติม »

ตราผ้าผูกคอลูกเสือประจำจังหวัด

ตราผ้าผูกคอลูกเสือ เป็นตราที่ใช้ในผ้าผูกคอลูกเสือของลูกเสือในแต่ละจังหวัด ซึ่งจะมีความแตกต่างกันในแต่ละจังหวัด ลักษณะของตราแต่ละดวงนั้น เป็นการดัดแปลงจากภาพตราประจำจังหวัดของไทยโดยตรงให้อยู่ในกรอบสี่เหลี่ยมจัตุรัส เกณฑ์การแบ่งภาคของจังหวัดในประเทศไทยในบทความนี้ ถือเอาตามเกณฑ์ของราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและตราผ้าผูกคอลูกเสือประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

ตรีทูต (แพทยศาสตร์)

ตรีทูต (moribundity, final stage, terminal stage หรือ in extremis) หมายถึง ลักษณะบอกอาการของคนใกล้ตายราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและตรีทูต (แพทยศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ตัวตน

ตัวตน หรืออัตตา (self) คือสิ่งที่เป็นสารัตถะของชีวิตของแต่ละบุคคล มีสภาพเที่ยงแท้ถาวร ตัวตนจึงทำให้บุคคลนั้นยังเป็นคนเดิม แม้ว่าร่างกายภายนอกหรือความรู้สึกนึกคิดจะแปรเปลี่ยนไปแล้วก็ตาม ในบางศาสนาเชื่อว่าตัวตนเป็น "วิญญาณ" แม้บุคคลนั้นตาย ตัวตนจะยังดำรงอยู่ต่อไปในภพอื่น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและตัวตน · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)

ตำบลบ้านสวน อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เป็นชุมชนขนาดใหญ่ที่มีประวัติความเป็นมานับแต่ครั้งกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี สืบความจากหลักฐานการตั้งถิ่นฐานโดยมีวัดเป็นศูนย์ในอดีต พร้อมกับหลักฐานวัดร้างที่ขึ้นทะเบียนโดยกรมศิลปากรที่มีประวัติเนื่องต่อกับชุมชนในอดีตล่วงมาจนถึงปัจจุบัน ตำบลบ้านสวนเป็นศูนย์การการเพราะปลูกข้าว "คุณภาพ" ที่สำคัญอีกแหล่งหนึ่งของจังหวัดสุโขทัย อันเนื่องเป็นที่ลุ่มที่เหมาะแก่การทำเกษตร.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย) · ดูเพิ่มเติม »

ต้นหน

ต้นหนเรือกำลังอ่านแผนที่ ต้นหน คือ เจ้าหน้าที่ชี้ทิศทางเดินเรือทะเลหรือเดินอากาศยาน มีหน้าที่เบื้องต้นในการอยู่ประจำเรือทะเลหรืออากาศยานเพื่อหาตำแหน่งของยานพาหนะตลอดเวลา กับทั้งวางแผนการเดินทาง และให้คำแนะนำแก่ผู้บังคับการเรือหรือผู้บังคับการอากาศยาน เกี่ยวกับเวลาถึงที่หมายโดยประมาณระหว่างการเดินทางและให้หลีกเลี่ยงการใช้เส้นทางอันตราย นอกจากนี้ ต้นหนยังมีหน้าที่ี่ดูแลรักษาแผนที่สมุทร วารสารการเดินเรือ อุปกรณ์การเดินเรือ รวมตลอดถึงอุปกรณ์อื่นทางอุตุนิยมวิทยาและอุปกรณ์สื่อสารทั้งปวง สำหรับในกองทัพอากาศในปัจจุบัน ต้นหนมักจะได้รับหน้าที่ระบบอาวุธและบังคับร่วมขึ้นอยู่กับชนิด, แบบและรุ่นของเครื่องบิน สำหรับกองทัพเรือไทย ต้นหนเรือคือนายทหารสังกัดพรรคนาวิน ส่วนยศนั้นขึ้นอยู่กับขนาดของเรือที่ประจำการ คำ "ต้นหน" ยังเป็นคำโบราณมีความหมายว่า คนนำทาง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและต้นหน · ดูเพิ่มเติม »

ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง

''ต้นไม้ทอง'' ที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกัวลาลัมเปอร์ ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง หรือ ต้นไม้ทองเงิน (bunga mas dan perak "ดอกไม้ทองและเงิน") หรือบุหงามาศ (bunga mas "ดอกไม้ทอง") เป็นเครื่องราชบรรณาการที่ประเทศราชของสยามต้องส่งมาถวายพระเจ้าแผ่นดินทุก ๆ สามปี เพื่อแสดงความสวามิภักดิ์ นอกจากนี้ยังใช้เป็นสิ่งของคารวะของเจ้านายหรือขุนนางถวายต่อพระมหากษัตริย์ที่พระราชทานพระอิสริยยศหรือบรรดาศักดิ์ให้สูงขึ้น เรียกว่า "พุ่มไม้เงินพุ่มไม้ทอง" บ้างก็พบว่ามีการใช้ต้นไม้เงินต้นไม้ทองเป็นเครื่องสักการะถวายเป็นพุทธบูชาในวัด ใน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและต้นไม้เงินต้นไม้ทอง · ดูเพิ่มเติม »

ฉกามาพจร

ตามคติจักรวาลวิทยาในศาสนาพุทธ ฉกามาพจร คือสวรรค์ 6 ชั้นที่ยังเกี่ยวข้องกับกาม หรือ สวรรค์ที่อยู่ในกามภูมิ เมื่อนับรวมกับมนุสสภูมิจะเรียกว่ากามสุคติภูมิ 7 สวรรค์ทั้ง 6 ชั้น มีดังนี้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและฉกามาพจร · ดูเพิ่มเติม »

ปรพรหมัน

ปรพรหมัน (परब्रह्मन्) คือพรหมันสูงสุด เกินจะอธิบายและคิดได้ คัมภีร์ในศาสนาฮินดูอธิบายว่าปรพรหมันเป็นวิญญาณไร้รูป (เพราะรูปเป็นมายา) ที่แทรกซึมไปทั่วทุกสิ่งตลอดกาล ชาวฮินดูมีความเชื่อเกี่ยวกับปรพรหมันแตกต่างกัน สำนักอไทฺวตเวทานตะเชื่อว่าปรพรหมันเป็นนิรคุณพรหมัน (พรหมันที่ไร้คุณลักษณะ) แต่สำนักเวทานตะอื่น ๆ เชื่อว่าเป็นสคุณพรหมัน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและปรพรหมัน · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตย

รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ประเทศไทย)

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาแห่งประเทศไทย (ย่อ: ป.วิ.อ.) เป็นประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา อันเป็นกฎหมายวิธีสบัญญัติ (procedural law) ของประเทศไทย เป็นหนึ่งในบรรดาประมวลกฎหมายที่รัฐบาลไทย (แต่ครั้งที่ยังเรียกชื่อประเทศว่า "สยาม") เร่งผลิตใช้ เพื่อริเริ่มขอยกเลิกบรรดาสนธิสัญญาที่ราชอาณาจักรสยามทำไว้กับต่างประเทศ อันมีผลให้สยามต้องเสียเปรียบในด้านสิทธิสภาพนอกอาณาเขตและเอกราชทางการศาลแสวง บุญเฉลิมวิภาศ, 2552: 204.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ย่อ: ป.พ.พ.) เป็นประมวลกฎหมายแพ่ง อันเป็นกฎหมายสารบัญญัติ (substantive law) แห่งประเทศไทย เริ่มร่างครั้งแรกใน ร.ศ. 127 ตรงกับ พ.ศ. 2451 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังการประกาศใช้กฎหมายลักษณะอาญาเมื่อปีเดียวกัน เพื่อริเริ่มขอยกเลิกบรรดาสนธิสัญญาที่ราชอาณาจักรสยามทำไว้กับต่างประเทศอันมีผลให้สยามต้องเสียเปรียบในด้านสิทธิสภาพนอกอาณาเขตและเอกราชทางการศาลแสวง บุญเฉลิมวิภาศ, 2552: 204.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประทุษวาจา

ประทุษวาจา (hate speech) คือ ถ้อยคำโจมตีบุคคลหรือกลุ่มบุคคลด้วยเหตุแห่งเชื้อชาติ ศาสนา เพศ หรือรสนิยมทางเพศ เป็นต้น กฎหมายในบางประเทศระบุว่า ประทุษวาจา หมายถึง ถ้อยคำ ท่วงทีหรือพฤติกรรม ลายลักษณ์อักษร หรือการแสดงออกอย่างใด ๆ ซึ่งต้องห้าม เพราะอาจยั่วยุให้เกิดความรุนแรง การต่อต้าน หรือการเลือกปฏิบัติต่อบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่กฎหมายคุ้มครองไว้ ในบางประเทศ ผู้เสียหายจากประทุษวาจาสามารถร้องขอการเยียวยาตามกฎหมายได้ เว็บไซต์ที่ใช้ประทุษวาจานั้นเรียก "เฮตไซต์" (hate site) ส่วนใหญ่มีลานประชาคมอินเทอร์เน็ต (internet forum) และย่อข่าวซึ่งนำเสนอแนวคิดบางแนวโดยเฉพาะ นอกจากนี้ ยังมีการถกเถียงกันว่า บนโลกอินเทอร์เน็ตควรมีเสรีภาพในการพูดด้วยหรือไม่ การประชุมอภิปรายข้อถกเถียงดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (United Nations High Commissioner for Refugees) อย่างต่อเนื่อง อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination) ข้อ 4 ประณามและให้รัฐภาคีตรากฎหมายลงโทษ "ความคิดที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเหนือกว่าทางเชื้อชาติ หรือความเกลียดชังอันเกิดจากความแตกต่างทางเชื้อชาติ การช่วยกระตุ้นให้เกิดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ และการกระทำรุนแรงหรือกระตุ้นให้เกิดการกระทำรุนแรงนั้นต่อชนเชื้อชาติหนึ่งเชื้อชาติใด หรือกลุ่มบุคคลที่มีสีผิวอื่นหรือเผ่าพันธุ์กำเนิดอื่น ตลอดจนการให้ความช่วยเหลือหรือสนับสนุนทางการเงินต่อกิจกรรมชาตินิยม" ขณะที่กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights) ข้อ 20 ว่า "การสนับสนุนให้เกิดความเกลียดชังในชาติ เผ่าพันธุ์ หรือศาสนา ซึ่งยั่วยุให้เกิดการเลือกปฏิบัติ การเป็นปฏิปักษ์ หรือการใช้ความรุนแรง เป็นสิ่งต้องห้ามตามกฎหมาย" อย่างไรก็ดี วันที่ 3 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและประทุษวาจา · ดูเพิ่มเติม »

ประคอง นิมมานเหมินท์

ตราจารย์ ดร.ประคอง นิมมานเหมินท์ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ประคอง นิมมานเหมินท์ (27 พฤษภาคม 2482 -) นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญภาษาไทยและวรรณคดีไทยเป็นผู้บุกเบิกการศึกษาวรรณกรรมท้องถิ่นด้วยการเขียนวิทยานิพนธ์เรื่อง "ลักษณะวรรณกรรมภาคเหนือ" และจากนั้นยังมีผลงานศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมไทยและวรรณกรรมชนชาติไทจำนวนมาก ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์พิเศษ ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นราชบัณฑิต ประจำสำนักศิลปกรรม ราชบัณฑิต.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและประคอง นิมมานเหมินท์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ ณ นคร

ตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร อดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติปี พ.ศ. 2531 เป็นผู้ประพันธ์คำร้องภาษาไทยของเพลงพระราชนิพนธ์ชะตาชีวิต ใกล้รุ่ง ในดวงใจนิรันดร์ แว่ว เพลงประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศาสตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร หรือ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร สนใจงานด้านคณิตศาสตร์ สถิติ การคำนวณปฏิทิน การแต่งเพลง พันธุศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษาไทยโบราณ มีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นที่ยอมรับและอ้างถึงในวงวิชาการอย่างกว้างขวาง ที่เป็นที่รู้จัก ได้แก่ การชำระประวัติศาสตร์สุโขทัย ถิ่นเดิมและตระกูลภาษาไทย หลักการสอบค้นเมืองสมัยสุโขทัย การแบ่งกลุ่มไทยตามตัวหนังสือ พจนานุกรมไทยอาหม ตัวอักษรไทยในล้านนา ที่มาของอักษรไทยล้านนาและไทยลื้อ นอกจากนี้ ยังมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทั้งภายในและต่างประเทศ ไม่ต่ำกว่า 100 บทความ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร เกิดในวันวสันตวิษุวัต ของปี..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและประเสริฐ ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด

ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด แสดงด้วยสีน้ำเงิน ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด (Least developed country; LDC) เป็นชื่อที่กำหนดโดยสหประชาชาติซึ่งแสดงถึงการที่มีค่าดัชนีการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมต่ำ มีค่าดัชนีการพัฒนามนุษย์ต่ำ เมื่อจัดลำดับเทียบกับประเทศต่างๆ ทั่วโลก แนวคิดของการจัดกลุ่มประเทศพัฒนาน้อยที่สุดเกิดขึ้นเมื่อราว..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและประเทศพัฒนาน้อยที่สุด · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศราช

"ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง" ที่หัวเมืองมลายูส่งมาเป็นเครื่องราชบรรณาการแก่พระเจ้ากรุงสยาม ประเทศราช หรือ รัฐบรรณาการ หมายถึง รัฐที่มีประมุขเป็นของตนเอง แต่อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลและคุ้มครองของพระมหากษัตริย์อีกรัฐหนึ่ง เจ้าผู้ครองนครประเทศราชหรือสามนตราชต้องส่งเครื่องราชบรรณาการถวายเป็นประจำ และในยามศึกสงครามต้องส่งกองกำลังเข้าช่วยกองทัพหลวงด้วย มีลักษณะคล้ายรัฐในอารักขาของจักรวรรดินิยมตะวันตก มีลักษณะคล้ายรัฐในอารักขาของจักรวรรดินิยมตะวันตก ตัวอย่างของประเทศราชได้แก่ เกาหลีภายใต้ราชวงศ์หยวนของจีน (พ.ศ. 1813–1899), กรุงศรีอยุธยาภายใต้พม่า (พ.ศ. 2112–2127), กัมพูชาภายใต้สยาม (ค.ศ. 2337–2427), นครเชียงใหม่ภายใต้สยาม (พ.ศ. 2317–2437).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและประเทศราช · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคอซอวอ

อซอวอ (Косово, Kosovo; Kosovë, Kosova) เป็นภูมิภาคหนึ่งในคาบสมุทรบอลข่าน ติดกับประเทศเซอร์เบียทางทิศเหนือ มอนเตเนโกรทางตะวันตก แอลเบเนียและสาธารณรัฐมาซิโดเนียทางใต้ ไม่มีทางออกสู่ทะเล คอซอวอได้ประกาศเป็นรัฐเอกราชแบบเอกภาคีในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ใช้ชื่อว่า สาธารณรัฐคอซอวอ (Republic of Kosovo) มีการรับรองจากบางประเทศ ในขณะที่เซอร์เบียยังคงถือว่าคอซอวอเป็นจังหวัดปกครองพิเศษของตน เมืองหลวงของคอซอวอคือพริสตีนา (Priština) จำนวนประชากรทั้งจังหวัดประมาณ 2 ล้าน 1 แสนคน ส่วนใหญ่เป็นชาติพันธุ์แอลเบเนีย (ร้อยละ 92) ชาวเซิร์บ (ร้อยละ 5.3) และมีชาวตุรกี ชาวบอสนีแอก กลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ อีกเล็กน้อย (รวมกันร้อยละ 2.7) คอซอวออยู่ภายใต้การบริหารของสหประชาชาติมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 ในขณะที่เอกราชของเซอร์เบียนั้นเป็นที่ยอมรับในประชาคมโลก โดยแท้จริงแล้ว การปกครองของเซอร์เบียมิได้ปรากฏในจังหวัดนี้เลย องค์กรที่ปกครองคอซอวออยู่คือคณะทำงานสหประชาชาติในคอซอวอ (United Nations Mission in Kosovo: UNMIK) และสถาบันการปกครองตนเองชั่วคราวของท้องถิ่น (Provisional Institutions of Self-Government) โดยมีกองกำลังคอซอวอ (Kosovo Force: KFOR) ภายใต้การนำขององค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (NATO) เป็นผู้รักษาความมั่นคง จังหวัดคอซอวอเป็นประเด็นความขัดแย้งทางการเมืองและดินแดนมานานระหว่างชาวเซอร์เบีย (ก่อนหน้านี้คือชาวยูโกสลาฟ) กับชาวแอลเบเนียซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัด การเจรจาในระดับนานาชาติเริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2549 เพื่อตัดสินสถานะสุดท้าย จากรายงานของสื่อแขนงต่าง ๆ คาดกันว่า การเจรจาจะนำมาซึ่งเอกราชของดินแดนแห่งนี้ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ในวันที่ 17 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและประเทศคอซอวอ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์

ตราจารย์ ดร.ปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์ ราชบัณฑิตและนักวิจัยไทยอาวุโสที่มีผลงานเด่นด้านพลังงานและพลังงานทางเลือก ทั้งทางด้านวิชาการและการเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในคณะกรรมการด้านนโยบายพลังงานหลายชุด นอกจากนี้ยังมีผลงานด้านการจัดการการศึกษาและการวิจัยอีกด้วย ปัจจุบันเป็นอธิการบดี มหาวิทยาลัยชินวัตร พ.ศ. 2537.ดร.ปรีดา ได้รับรางวัลวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประเภทบุคคล จาก มูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย พ.ศ. 2549.ดร.ปรีดา ได้รับรางวัลเกียรติยศ PTIT Distinguished Fellow ประจำปี 2549-2550 จาก สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปรนิมมิตวสวัตดี

ปรนิมมิตวสวัตดี คือสวรรค์ชั้นที่ 6 ซึ่งเป็นชั้นสูงสุดในฉกามาพจร มีท้าววสวัตตีเป็นจอมเท.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและปรนิมมิตวสวัตดี · ดูเพิ่มเติม »

ปลาย่าดุก (สกุล)

ปลาย่าดุก (Frogfishes) เป็นสกุลของปลาน้ำเค็มสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาคางคก (Batrachoididae) ใช้ชื่อสกุลว่า Batrachomoeus มีลำตัวทรงกระบอก อ้วนป้อม หัวโต ปลายหัวมนกลม ลำตัวลู่ไปทางข้างหางจนถึงคอดหางซึ่งสั้นมาก ส่วนท้องกลม ปากกว้างมากเป็นรูปโค้ง ตามีขนาดเล็กหรือปานกลาง มีติ่งเนื้อสั้น ลักษณะเป็นเส้นหรือแบนเรียงเป็นแถวอยู่รอบขากรรไกรทั้งบนและล่าง มีติ่งเนื้อในแนวขอบกระดูกฝาเหงือกแผ่นหน้าและกระจายอยู่ทางด้านบนของหัวโดยเฉพาะที่ใกล้บริเวณขอบบนของตา แผ่นปิดเหงือกมีหนามแหลมและแข็งมาก บริเวณโคนครีบอกมีตุ่มเนื้อประปราย มีเส้นข้างตัว 1–2 เส้น ครีบหลังมี 2 ตอนแยกกัน ครีบก้นสั้น ครีบหางมีขอบกลมเป็นรูปพัด ครีบอกมีฐานกว้างตั้งอยู่ในแนวดิ่ง ครีบท้องตั้งอยู่ใต้ส่วนท้ายของหัวในแนวห่างจากหน้าครีบอก ตลอดหัวและลำตัว และครีบมีสีน้ำตาลอมเหลืองหรือสีคล้ำขะมุกขะมอมเป็นด่างเป็นดวงหรือลวดลายขวางไม่เป็นระเบียบ หนามและกระดูกแหลมบนหัวและครีบมีพิษ เป็นปลาที่อาศัยอยู่เพียงลำพังตัวเดียว เป็นปลาที่อาศัยและมักอยู่นิ่ง ๆ กับพื้นทะเลบริเวณใกล้ชายฝั่งหรือในพื้นที่น้ำจืดที่ไม่ไกลจากทะเลมากนัก เป็นปลาที่หากินในเวลากลางคืน โดยซ่อนตัวอยู่ในรูหรือในวัสดุต่าง ๆ เพื่อดักรอเหยื่อ ที่ได้แก่ ปลาหรือสัตว์น้ำต่าง ๆ โดยการฮุบกินไปทั้งตัว เป็นปลาที่เมื่อถูกจับพ้นน้ำแล้ว สามารถส่งเสียงร้องว่า "อุบ ๆ ๆ" ได้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและปลาย่าดุก (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะลุมพุก

ทความนี้หมายถึงปลา ส่วนตะลุมพุกในความหมายอื่นดูที่: ตะลุมพุก ปลาตะลุมพุก หรือ ปลากระลุมพุก หรือ ปลาหลุมพุก (ใต้) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่งที่เข้ามาวางไข่ในน้ำจืด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tenualosa toli ในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและปลาตะลุมพุก · ดูเพิ่มเติม »

ปิศาจ

ปีศาจ (ปิศาจ; demon) หมายถึง ผี วิญญาณชั่วร้ายให้โทษ ตรงข้ามกับเทวดาหรือทูตสวรรค์ซึ่งเป็นวิญญาณฝ่ายดีและให้คุณ เป็นคติที่มักพบในศาสนา เรื่องลี้ลับ วรรณกรรม บันเทิงคดี เรื่องปรัมปรา และนิทานพื้นบ้าน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและปิศาจ · ดูเพิ่มเติม »

ปูดูเชร์รี

ปุทุจเจรี (புதுச்சேரி ปูดุกเชรี อ่าน ปูดุชเชรี; Poudouchéry ปูดูเชรี) หรือชื่อเดิมคือ พอนดิเชอร์รี หรือ พอนดี (Pondicherry หรือ Pondy) เป็นเขตการปกครองดินแดนสหภาพแห่งหนึ่งของสาธารณรัฐอินเดีย ซึ่งเดิมพื้นที่นี้เคยเป็นอดีตอาณานิคมของประเทศฝรั่งเศส และมีดินแดนส่วนแยกอีกจำนวนหนึ่ง แต่เรียกรวมว่า ปุทุจเจรี เนื่องจากปุทุจเจรีเป็นดินแดนส่วนใหญ่ เดิมปุทุจเจรี มีชื่อเดิมว่า พอนดิเชอร์รี แต่ต่อมาในปี พ.ศ. 2549 ได้มีการเปลี่ยนชื่อเมืองใหม่ ซึ่งมีความหมายว่า หมู่บ้านใหม่ ตามภาษาทมิฬ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและปูดูเชร์รี · ดูเพิ่มเติม »

ปูน

ปูน เป็นวัสดุเม็ดละเอียดของหินปูน เปลือกหอย หรือแร่ธาตุอื่น ที่มีลักษณะเป็นผง หรือฝุ่น เมื่อถูกน้ำจะมีลักษณะหนืด เหนียว สามารถปั้นได้ เมื่อแห้งจะแข็งตัวจับเป็นก้อนแข็ง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและปูน · ดูเพิ่มเติม »

นอกรีต

การสังหารหมู่ ณ Mérindol ใน ค.ศ. 1545 เป็นการลงโทษพวกนอกรีตทางศาสนาของฝรั่งเศส นอกรีต (heresy) หมายถึง ไม่ประพฤติตามจารีตประเพณี เป็นคำที่ใช้เรียกทรรศนะของผู้อื่นซึ่งขัดแย้งกับทรรศนะของตน ในโลกตะวันตกคริสตจักรโรมันคาทอลิกเริ่มใช้คำนี้เพื่อหมายถึงแนวความเชื่อใด ๆ ที่ขัดแย้งกับคำสอนต้องเชื่อที่คริสตจักรกำหนด ต่อมาคำนี้ถูกใช้ในความหมายที่กว้างขึ้น คือเป็นข้อกล่าวหาที่คนกลุ่มหนึ่งใช้เรียกคนอีกฝ่ายหนึ่งที่มีความเชื่อขัดกับผู้กล่าวหา มักใช้ในกรณีที่มีการละเมิดกฎศาสนาหรือแบบแผนประเพณี ในทางการเมืองนักการเมืองหัวรุนแรงก็อาจใช้คำนี้กล่าวหาฝ่ายตรงข้าม คำนี้ยังมีความหมายโดยนัยถึงพฤติกรรมหรือความเชื่อที่อาจบ่อนทำลายศีลธรรมที่สังคมยอมรับกันอยู่ การนอกรีตต่างจากการละทิ้งความเชื่อซึ่งเป็นการละทิ้งความเชื่อทางศาสนาหรือการเมืองเดิมของตน และต่างจากความผิดฐานเหยียดหยามศาสนา ซึ่งหมายถึงการแสดงออกว่าไม่เคารพพระเป็นเจ้าหรือศาสนา แต่การนอกรีตนั้นรวมถึงการเชื่อในศาสนาแต่ต่างจากรูปแบบที่คนส่วนใหญ่ยอมรั.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและนอกรีต · ดูเพิ่มเติม »

นักบวช

นักบวช หรือ บรรพชิต เป็นผู้สละชีวิตฆราวาสเข้าพิธีบวชตามลัทธิศาสนาต่าง ๆพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและนักบวช · ดูเพิ่มเติม »

นักสิทธิ์

นักสิทธิ์ หมายถึง ผู้สำเร็จด้านจิตวิญญาณ เพราะมีศรัทธาแรงกล้าและคุณธรรมสูงราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทย, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 236-7 มาจากคำว่า สิทฺธ ในภาษาสันสกฤต ซึ่งแปลว่าผู้สำเร็.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและนักสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

นายก

ำว่า "นายก" หมายความว่า ผู้นำ หรือผู้เป็นหัวหน้า เช่น นายกราชบัณฑิตยสถาน นายกสมาคม นายกสโมสร คำสำคัญ "นายก" อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและนายก · ดูเพิ่มเติม »

นิพพาน

วาดพระพุทธเจ้าเข้าสู่'''อนุปาทิเสสนิพพาน'''สภาวะ นิพพาน (निब्बान nibbāna นิพฺพาน; निर्वाण nirvāṇa นิรฺวาณ) หมายถึง ความดับสนิทแห่งกิเลสและกองทุกข์ เป็นสภาพโลกุตระอันเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดในศาสนาพุทธ คำว่า นิพพาน เป็นคำที่ใช้กันในปรัชญาหลายระบบในอินเดีย โดยใช้ในความหมายของการหลุดพ้น แต่การอธิบายเกี่ยวกับสภาวะของนิพพานนั้นแตกต่างกันออกไป ในปรัชญาอุปนิษัทเชื่อว่านิพพานหรือโมกษะ คือการที่อาตมันย่อยหรือชีวาตมันเข้ารวมเป็นเอกภาพกับพรหมัน แต่ในพระพุทธศาสนาอธิบายว่า นิพพานคือการหลุดพ้นจากอวิชชา ตัณหา ซึ่งแสดงออกในรูปของโลภะ โทสะ และโมหะ มิได้หมายความว่าเป็นการหลุดพ้นของอัตตาหรือตัวตนในโลกนี้ ไปสู่สภาวะของนิพพานอย่างคำสอนอุปนิษัท แต่หมายถึงความดับสนิทแห่งความเร่าร้อนและเครื่องผูกพันร้อยรัดทั้งปวง ซึ่งเรียกว่าเป็นความทุก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและนิพพาน · ดูเพิ่มเติม »

นิมมานรดี

นิมมานรดี คือสวรรค์ชั้นที่ 5 ในฉกามาพจร มีท้าวสุนิมมิตเป็นจอมเท.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและนิมมานรดี · ดูเพิ่มเติม »

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและนิติภาวะ · ดูเพิ่มเติม »

นิติสัมพันธ์

นิติสัมพันธ์ (legal relation) คือ สัญญาหรือข้อตกลงต่างๆที่มีผลในทางกฎหมาย เช่น ความเกี่ยวพันระหว่างทนายความกับลูกความ หรือระหว่างคู่สัญญา เป็นต้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและนิติสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

นิติเหตุ

นิติเหตุ (causative event, legal cause หรือ proximate cause) เป็นศัพท์กฎหมาย หมายถึง เหตุการณ์ที่มีผลตามกฎหมาย โบราณใช้ว่า "นิติการณ์"ราชบัณฑิตยสถาน, 2551: ออนไลน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและนิติเหตุ · ดูเพิ่มเติม »

นขลิขิต

นขลิขิต หรือ วงเล็บ เป็นเครื่องหมายวรรคตอนชนิดหนึ่ง มีลักษณะโค้งเหมือนรอยเล็บ เครื่องหมายด้านซ้ายเรียกว่า วงเล็บเปิด ส่วนด้านขวาเรียกว่า วงเล็บปิด (สำหรับภาษาที่เขียนจากขวาไปซ้ายก็จะเรียกกลับกัน) ปกติใช้สำหรับคลุมข้อความที่ขยายหรืออธิบายจากข้อความอื่น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและนขลิขิต · ดูเพิ่มเติม »

น้ำมนต์

น้ำมนต์ หรือ น้ำมนตร์ หมายถึง นํ้าที่เสกเพื่อใช้อาบ กิน หรือประพรม เป็นต้น ถือกันว่าเป็นมงคล การทำน้ำมนต์พบเห็นได้ทั่วไปในหลายศาสนา เช่น ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ ศาสนาฮินดู เป็นต้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและน้ำมนต์ · ดูเพิ่มเติม »

แฟชั่น

นางแบบบนเวทีเดินแบบในปี ค.ศ. 2014 ภาพ ''ฟอลโลว์อิงเดอะแฟชั่น'' ในปี ค.ศ. 1794 แสดงการแต่งกายผู้หญิงยุคสมัยนั้น รสนิยมการแต่งกายในอดีต แฟชั่นหรือสมัยนิยม (fashion) ราชบัณฑิตยสถาน นิยามว่า "สมัยนิยม, แบบหรือวิธีการที่นิยมกันทั่วไปในชั่วระยะเวลาหนึ่ง." เป็นการยอมรับจนเกิดเป็นค่านิยม มีกระบวนการเกิดภาษาใหม่ ซึ่งเป็นช่วงเวลาหนึ่งเท่านั้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและแฟชั่น · ดูเพิ่มเติม »

แฟน

แฟนบอล แฟน หมายถึง บุคคลที่ชื่นชอบ สามารถหมายถึงความรักหรือคนรักกันที่ยังไม่ได้แต่งงานกัน หรืออาจหมายถึงสามี ภรรยา ในการพูดคุยครั้งหนึ่งๆที่พูดโดยฝ่ายสามีหรือฝ่ายภรรยา ในขณะเดียวกันแฟนในความหมายของพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานเป็นคำนาม หมายถึง ผู้นิยมชมชอบ เช่น แฟนเพลง แฟนภาพยนตร์ แฟนมวย,ผู้เป็นที่ชอบพอรักใคร่ คู่รัก สามีหรือภรร.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและแฟน · ดูเพิ่มเติม »

แมงดา

การผสมพันธุ์ของแมงดา แมงดา หรือที่บางครั้งเรียกว่า แมงดาทะเล จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัมอาร์โธรพอด โดยที่ไม่ใช่ครัสเตเชียน แต่เป็นเมอโรสโทมาทา อยู่ในอันดับ Xiphosura และวงศ์ Limulidae.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและแมงดา · ดูเพิ่มเติม »

แม่ซื้อ

แม่ซื้อ หมายถึง เทวดาหรือผีที่คอยดูแลรักษาเด็กทารก เชื่อว่าเด็กทุกคนที่เกิดมาต้องมีแม่ซื้อประจำวันเกิดคอยดูแล เพื่อปกปักรักษาไม่ให้เด็กเจ็บไข้ได้ป่วย ส่วนมากเป็นหญิง เชื่อว่ามี 7 ตนอยู่ประจำวันได้แก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและแม่ซื้อ · ดูเพิ่มเติม »

แยกราชเทวี

แยกราชเทวี (Ratchathewi Intersection) เป็นสี่แยกในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดของถนนพญาไทและถนนเพชรบุรี แต่ดั้งเดิม ณ สถานที่นี้ เคยเป็นที่ตั้งของสะพานพระราชเทวี หรีอที่นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า สะพานราชเทวี อันเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กข้ามคลองประแจจีน บนฝั่งถนนพญาไทก่อนถึงถนนประแจจีน (ถนนเพชรบุรี) สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยพระราชทรัพย์ของสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมายุครบ ๕๐ พรรษา ด้วยการบริจาคพระราชทรัพย์สร้างสะพาน และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานนามและทรงประกอบพระราชพิธีเปิดเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและแยกราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

แยกแคราย

แยกแคราย (Khae Rai Intersection) เป็นทางแยกจุดตัดระหว่างถนนติวานนท์ ถนนรัตนาธิเบศร์ และถนนงามวงศ์วาน ในท้องที่หมู่ที่ 9 ตำบลบางกระสอ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี การจราจรบริเวณทางแยกนี้จะติดขัดมากเป็นพิเศษในช่วงเวลาเร่งด่วน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและแยกแคราย · ดูเพิ่มเติม »

แอนติออก

ที่ตั้งของ “แอนติออก” ในประเทศตุรกีปัจจุบัน แอนติออก (Ἀντιόχεια ἡ ἐπὶ Δάφνῃ, Ἀντιόχεια ἡ ἐπὶ Ὀρόντου หรือ Ἀντιόχεια ἡ Μεγάλη; Antiochia ad Orontem; Antioch หรือ Great Antioch หรือ Syrian Antioch) เป็นเมืองโบราณที่ตั้งอยู่บนฝั่ง แม่น้ำออรอนตีส ในประเทศตุรกีปัจจุบัน แอนติออกตั้งอยู่ใกล้กับเมืองใหม่อันทาเคีย แอนติออกก่อตั้งขึ้นเมื่อปลายศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราชโดยเซลิวคัสที่ 1 นิคาเตอร์ขุนพลในพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช แอนติออกเจริญขึ้นมาจนในที่สุดก็เป็นเมืองคู่แข่งของอะเล็กซานเดรีย และเป็นเมืองเอกของตะวันออกใกล้ และเป็นเมืองศูนย์กลางของประวัติศาสตร์ยุคแรกของคริสต์ศาสน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและแอนติออก · ดูเพิ่มเติม »

แถบ นีละนิธิ

ตราจารย์อุปการคุณ แถบ นีละนิธิ (1 กรกฎาคม 2450 - 10 สิงหาคม 2523) อดีตราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน, อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อดีตคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และอดีตคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและแถบ นีละนิธิ · ดูเพิ่มเติม »

แถมสุข นุ่มนนท์

ตราจารย์เกียรติคุณ แถมสุข นุ่มนนท์ เป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยและนักประวัติศาสตร์ชาวไทย ผู้ซึ่งมีผลงานจากหนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ เช่น เมืองไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ขบวนการ ร.ศ. 130 ความสัมพันธ์ระหว่างไทย-สหรัฐอเมริกา ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองhttp://koha.library.tu.ac.th/cgi-bin/koha/opac-search.pl?q.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและแถมสุข นุ่มนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

โชห่วย

ห่วย คือ ของชำ, ร้านขายของชำ ตามความหมายในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..2554 เป็นคำที่มาจากภาษาจีนแต้จิ๋วว่า 粗货อ่านว่าโชวห่วย ตัวหนังสือจีน 粗 อาจแปลได้ว่า หยาบ พื้นๆ บ้านๆ (ตรงข้ามกับ ละเอียดประณีต) ส่วนตัวหนังสือ 货 แปลว่าสินค้า สิ่งของ รวมกันจึงหมายถึงสินค้าพื้นๆ ที่ใช้กินใช้สอยประจำวัน ร้านขายของชำ สะดวกซื้อ สารพัดสิ่ง มักมีลักษณะอยู่ในตึกแถว มีขนาดต่างๆ กันตั้งแตคูหาเดียวถึงหลายคูหา โดยมากเป็นกิจการเล็กๆ กิจการในครัวเรือน สร้างรายรับเล็กๆ น้อยๆ ใช้ในชีวิตประจำวัน ปัจจุบัน มีจำนวนน้อยลงไปมาก เนื่องจากไม่ได้รับการปรับรูปแบบให้ทันสมัย และต้องเผชิญกับคู่แข่งยุคโมเดิร์นเทรดที่เป็นร้านสะดวกซื้อ รูปลักษณ์ทันสมัย ติดแอร์ เปิดตลอด 24 ชั่วโมง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและโชห่วย · ดูเพิ่มเติม »

โมฆะ

มฆะ (void) มีความหมายโดยทั่วไปว่า เปล่า ว่าง ไม่มีประโยชน์ หรือไม่มีผล โดยในทางกฎหมายนั้นหมายความว่า เสียเปล่า หรือไม่มีผลบังคับหรือผูกพันตามกฎหมายราชบัณฑิตยสถาน, 2551: ออนไลน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและโมฆะ · ดูเพิ่มเติม »

โมฆียกรรม

มฆียกรรม (voidable act) หมายถึง นิติกรรมซึ่งอาจบอกล้าง เพิกถอน หรือให้สัตยาบันได้, ถ้าบอกล้างก็เป็นโมฆะมาแต่เริ่มแรก ถ้าให้สัตยาบันก็มีผลสมบูรณ์มาแต่เริ่มแรก ทั้งนี้ กฎหมายเขียนเป็น "โมฆียะกรรม" ตามรูปแบบการเขียนโบราณสมัยรัชกาลที่ 6 ซึ่งยังไม่มีการบังคับให้การเขียนสะกดคำต้องเป็นไปตามพจนานุกรมของทางราชการราชบัณฑิตยสถาน, 2551: ออนไลน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและโมฆียกรรม · ดูเพิ่มเติม »

โยนิโสมนสิการ

นิโสมนสิการ (บาลี: yonisomanasikāra, คำอ่าน: โยนิโสมะนะสิกาน) หมายถึง การทำในใจให้ดีละเอียดถี่ถ้วน กล่าวคือ การพิจารณาอย่างรอบคอบถี่ถ้วน ทางพุทธศาสนาถือว่ามีคุณค่าเท่ากับความไม่ประมาทหรือ "อัปมาท" ซึ่งเป็นแหล่งรวมแห่งธรรมฝ่ายดีหรือ "กุศลธรรม" ทั้งปวง ดังปรากฏในพระไตรปิฎก เล่ม ๑๙ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค ข้อ ๔๖๔ หน้า ๑๒๙ นอกจากนั้น ยังจัดเป็นธรรมะข้อหนึ่งในกลุ่มธรรมที่เป็นไปเพื่อความเจริญด้วยปัญญา และเป็นธรรมะมีอุปการะมากแก่มนุษย์ดังพรรณาในพระไตรปิฎก เล่ม ๑๒ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต ข้อ ๒๖๘-๙ หน้า ๓๓๒ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๔๘: ๕๘๗.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและโยนิโสมนสิการ · ดูเพิ่มเติม »

โรคใหลตาย

รคใหลตาย (sudden unexpected death syndrome (ย่อ: SUDS) หรือ sudden unexpected nocturnal death syndrome (ย่อ: SUNDS)), มักสะกดผิดว่า โรคไหลตาย (ดู ศัพทมูล), เป็น ความตายที่เกิดแก่บุคคล ไม่ว่าวัยรุ่น (adolescent) หรือ ผู้ใหญ่ (adult) อย่างปัจจุบันทันด่วนขณะนอนหลับ และไม่อาจอธิบายสาเหตุแห่งความตายนั้นได้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและโรคใหลตาย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่

รงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่ แต่เดิมชื่อว่าโรงเรียนเทพวงศ์ ตั้งอยู่ระหว่างวัดพระบาทและวัดมิ่งเมือง (ในสมัยนั้น) ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและโรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

โลกาภิวัตน์

ลกาภิวัตน์ (มักเขียนผิดเป็น โลกาภิวัฒน์) หรือ โลกานุวัตร (globalization) คือ ผลจากการพัฒนาการติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตของความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างปัจเจกบุคคล ชุมชน หน่วยธุรกิจ และรัฐบาล ทั่วทั้งโลก โลกาภิวัตน์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึง "การแพร่กระจายไปทั่วโลก การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นต้น" โลกาภิวัตน์ เป็นคำศัพท์เฉพาะที่บัญญัติขึ้นเพื่อตอบสนองปรากฏการณ์ของสังคมโลกที่เหตุการณ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในส่วนหนึ่งของโลก ส่งผลกระทบอันรวดเร็วและสำคัญต่อส่วนอื่นๆของโลก โลกาภิวัตน์ หมายถึงกระบวนการที่ประชากรของโลกถูกหลอมรวมกลายเป็นสังคมเดี่ยว กระบวนการนี้เกิดจากแรงของอิทธิพลร่วมทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีและสังคม-วัฒนธรรมและการเมือง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและโลกาภิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

โทร

ทร ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า ไกล โทร อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและโทร · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ในประเทศไทย

ทรทัศน์ในประเทศไทย ออกอากาศทางภาคพื้นดินเป็นช่องทางหลัก โดยแพร่ภาพผ่านคลื่นวิทยุ ซึ่งระยะแรกที่ออกอากาศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498 เริ่มใช้ย่านความถี่สูงมาก (Very High Frequency; VHF) ซึ่งประกอบด้วย ช่วงความถี่ต่ำ (low band) คือช่องสัญญาณที่ 2-4 และช่วงความถี่สูง (high band) คือช่องสัญญาณที่ 5-12 จนกระทั่งปี พ.ศ. 2538 จึงเริ่มใช้ย่านความถี่สูงยิ่ง (Ultra High Frequency; UHF) คือช่องสัญญาณที่ 26-60 (ช่วงความถี่ต่ำ (low band) คือช่องสัญญาณที่ 26-34 และช่วงความถี่สูง (high band) คือช่องสัญญาณที่ 35-60) ทั้งนี้ ตั้งแต่เริ่มออกอากาศ จนถึง พ.ศ. 2517 ใช้ระบบสัญญาณแอนะล็อก ในการส่งแพร่ภาพขาวดำ 525 เส้นต่อภาพ 30 ภาพต่อวินาที (National Television System Committee; NTSC) ซึ่งกำหนดขึ้นโดย คณะกรรมการสื่อสารแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (Federal Communications Committee; FCC ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเต็มเป็น Federal Communications Commission) ต่อมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 จึงเริ่มนำระบบการส่งแพร่ภาพ 625 เส้นต่อภาพ 25 ภาพต่อวินาที (Phase Alternating Line; PAL) ซึ่งกำหนดขึ้นโดย คณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติว่าด้วยคลื่นวิทยุ (Consultative Committee on International Radio; CCIR ปัจจุบันคือ ภาควิทยุคมนาคมโดยสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ International Telecommunication Union Radiocommunication Sector; ITU-R) เข้ามาใช้ในประเทศไทย และเริ่มออกอากาศด้วยภาพสี ภายใต้ระบบดังกล่าวตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังมีบริการโทรทัศน์แห่งชาติ ภายใต้กำกับของกรมประชาสัมพันธ์ เริ่มจากส่วนภูมิภาคตั้งแต่ปี พ.ศ. 2502 และเริ่มดำเนินการในส่วนกลางตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 จนถึงปัจจุบัน จากนั้นก็เริ่มนำระบบดิจิทัล เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิตรายการ และควบคุมการออกอากาศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 และนำมาใช้กับกระบวนการส่งแพร่ภาพ ผ่านโครงข่ายอุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 จนถึงปัจจุบัน โดยจะยุติการออกอากาศด้วยสัญญาณแอนะล็อก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ส่วนระบบการออกอากาศด้วยช่องทางอื่น ซึ่งนำเข้ามาใช้ในประเทศไทย ประกอบด้วย บริการกระจายสัญญาณแบบหลายจุดหลายช่อง (Multichannel multipoint distribution service; MMDS) ระหว่างปี พ.ศ. 2532-2556, ผ่านคลื่นวิทยุไมโครเวฟ ระหว่างปี..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและโทรทัศน์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

โคลงโลกนิติ

ลงโลกนิติ เป็นวรรณกรรมประเภทคำสอน ในลักษณะของโคลงสุภาษิต คำว่า โลกนิติ (อ่านว่า โลก-กะ-นิด) แปลว่า ระเบียบแบบแผนแห่งโลก เนื้อหาในโคลงโลกนิติจึงมุ่งแสดงความจริงของโลกและสัจธรรมของชีวิต เพื่อให้ผู้อ่านได้รู้เท่าทันต่อโลก และเข้าใจในความเป็นไปของชีวิต พร้อมเป็นแม่แบบเพื่อให้ผู้อ่านได้ดำเนินชีวิตไปในทางที่ถูกต้องดีงามสืบไป โคลงโลกนิติมีความไพเราะเหมาะสมทั้งด้านรูปแบบและเนื้อหาปรัชญาสาระ ครบคุณค่าทางวรรณกรรม ทำให้เป็นที่แพร่หลายในหมู่คนทั่วไป บางท่านกล่าวยกย่องโคลงโลกนิติว่าเป็น อมตะวรรณกรรมคำสอน หรือ ยอดสุภาษิตอมตะ, ได้รับคัดเลือกจากกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นบทอ่านในหนังสือแบบเรียนสำหรับนักเรียนนักศึกษาอยู่ทุกยุคสมัย และได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและโคลงโลกนิติ · ดูเพิ่มเติม »

ไพฑูรย์ สินลารัตน์

ตราจารย์กิตติคุณ ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, กรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, รักษาการคณบดีวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต และอดีตคณบดีคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกิดเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2489 สมรสกับนางอภิรัตน์ สินลารัตน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและไพฑูรย์ สินลารัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไญยนิยม

ญยนิยม หรือลัทธินอสติก (gnosticism; γνῶσις gnōsis ความรู้; الغنوصية‎) คือแนวคิดทางศาสนารูปแบบหนึ่งในสมัยโบราณ ซึ่งเชื่อว่ามนุษย์ควรสละโลกวัตถุ เพื่อมุ่งเน้นเรื่องจิตวิญญาณ แนวคิดเช่นนี้มีอิทธิพลอย่างมากต่อศาสนาสมัยโบราณ ดังเห็นได้จากการถือพรต ถือพรหมจรรย์ เพื่อให้ถึงการหลุดพ้น การตรัสรู้ ความรอด การกลับไปรวมกับพระเป็นเจ้า เป็นต้น อย่างไรก็ตาม รายละเอียดการปฏิบัติอาจแตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่ม ไญยนิยมเริ่มปรากฏรูปแบบชัดเจนขึ้นเมื่ออยู่ในบริบทของศาสนาคริสต์ ในอดีตนักวิชาการบางคนเชื่อว่าไญยนิยมเกิดขึ้นก่อนศาสนาคริสต์ และเป็นต้นกำเนิดของความเชื่อและการปฏิบัติหลายอย่างที่แพร่หลายอยู่แล้วในสมัยนั้น ทั้งในศาสนาคริสต์ยุคแรก ศาสนายูดาห์แบบเฮลเลนิสต์ ศาสนาโรมันโบราณ ศาสนาโซโรอัสเตอร์ และลัทธิเพลโต แต่เมื่อค้นพบหอสมุดนักฮัมมาดี กลับไม่ปรากฏตำราไญยนิยม จึงได้ข้อสรุปว่าไญยนิยมที่เป็นระบบ เป็นเอกภาพ เพิ่งถูกพัฒนาขึ้นมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 2.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและไญยนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ไสยศาสตร์

ตร์ หมายถึง วิชาทางไสย อันเป็นลัทธิเกี่ยวกับเวทมนตร์คาถาที่เชื่อว่ามาจากศาสนาพราหมณ์ โดยเฉพาะจากคัมภีร์อถรรพเวท ที่มีพิธีเพื่อให้เกิดสิริมงคลป้องกันอันตรายต่อตนเองหรือทำอันตรายต่อผู้อื่น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและไสยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮเนส

นส (Highness) หรือ ไฮนิส (/ˈhʌɪnɪs/) เป็นฐานันดรศักดิ์ของสมาชิกราชวงศ์บางชั้นในทวีปยุโรป มักใช้นำพระนามเจ้าชายหรือเจ้าหญิงที่เป็นพระราชบุตรในสมเด็จพระราชาธิบดีหรือสมเด็จพระราชินีนาถ หรือพระราชบุตรในเจ้าชายและเจ้าหญิง ฐานันดรศักดิ์ไฮเนสมีศักดิ์ต่ำกว่า "อิมพีเรียลไฮเนส", "รอยัลไฮเนส", "แกรนด์ดิวคัลไฮเนส" แต่สูงกว่า "เซอรีนไฮเนส" เป็นต้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและไฮเนส · ดูเพิ่มเติม »

ไปรษณีย์อืดอาด

ปรษณีย์อืดอาด ซึ่งเป็นศัพท์บัญญัติจากภาษาอังกฤษว่า "snail mail" หรือ "smail" (จาก snail + mail) เป็นคำที่ประดิษฐ์กันขึ้นในทางเสียดสีระบบการขนส่งไปรษณียภัณฑ์ว่ากว่าจะบริการส่งถึงผู้รับนั้นช่างอืดอาดเหลือใจ โดยเฉพาะในภาษาอังกฤษนั้นว่าอืดอาดอย่าง "snail" คือหอยทาก เทียบไม่ได้กับไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ไปรษณีย์อืดอาดนี้ความจริงแล้วก็หมายถึงไปรษณียภัณฑ์ที่ไม่ได้ส่งผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์นั่นเอง คือเป็นไปรษณียภัณฑ์ทั่วไปซึ่งบางทีภาษาอังกฤษก็เรียก "ไปรษณีย์กระดาษ" (paper mail) หรือ "ไปรษณีย์บก" (land mail) นอกจากนี้ คำ "ไปรษณีย์อืดอาด" ยังหมายถึง มิตรสัมพันธ์ทางไปรษณีย์ (pen pal) อีกด้วย คำ "ไปรษณีย์อืดอาด" มีการใช้ครั้งแรกประมาณ พ.ศ. 2513 ในเรื่องสั้น "เดอะเลตเทอร์" (The Letter) ที่นายอาร์โนลด์ โลเบล (Arnold Lobel) เขียนไว้ในหนังสือ "ฟรอกแอนด์โทดอาร์เฟรนส์" (Frog and Toad are Friends) แต่มิใช่ในความหมายดังข้างต้น แต่หมายถึงไปรษณีย์ที่อืดอาดเพราะมีหอยทากจริง ๆ เป็นพนักงานไปรษณีย์ โดยในเรื่องสั้นนั้น เจ้ากบฝากจดหมายให้เจ้าหอยทากนำไปส่งให้แก่เจ้าคางคก พนักงานไปรษณีย์หอยทากใช้เวลาสี่วันในการนำพาจดหมายไปถึงจุดหมาย ต่อมายังมีการใช้คำนี้โดยหมายถึงไปรษณีย์ที่หอยทากจริง ๆ เป็นพนักงานไปรษณีย์อีกด้วย โดยในภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่อง "สตรอว์เบอร์รีชอร์ตเค้กอินบิ๊กแอปเพิลซิตี" (Strawberry Shortcake in Big Apple City) ฉายเมื่อ พ.ศ. 2524 เป็นมุกตลกซึ่งผลสตรอว์เบอร์รีได้รับจดหมายของเธอช้ากว่าปรกติถึงสามสัปดาห์ เพราะหอยทากเป็นพนักงานไปรษณีย์ และก็ยอมรับว่า "ไปรษณีย์หอยทาก (snail mail) อืดอาดเป็นธรรมดา".

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและไปรษณีย์อืดอาด · ดูเพิ่มเติม »

เบญจศีล

ญจศีล หรือ ปัญจสีล แปลว่า ศีล 5 เป็นศีลหรือข้อห้ามในลำดับเบื้องต้นตามพระโอวาทของพระโคตมพุทธเจ้า พระศาสดาพระองค์ปัจจุบันแห่งศาสนาพุทธ แต่ทั้งนี้เบญจศีลเป็นหลักการที่มีมาและเป็นที่สั่งสอนทั่วไปก่อนพระพุทธโคดมอุบัติแล้วราชบัณฑิตยสถาน, 2548: 363.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเบญจศีล · ดูเพิ่มเติม »

เภสัชศาสตร์

ร้านยาแผนปัจจุบันในประเทศนอร์เวย์ เภสัชศาสตร์ ตามความหมายของราชบัณฑิตยสถานเป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งว่าด้วยกระบวนการต่างๆ เกี่ยวกับเรื่องยาบำบัด บรรเทา หรือป้องกันโรค โดยศึกษาตั้งแต่วัตถุดิบที่จะนำมาผลิตยา การปรุงยา การเก็บรักษา ตลอดจนกระบวนการกระจายยา โดยศึกษาตั้งแต่แหล่งของยา โครงสร้างทางเคมีของยา การผลิตเป็นรูปแบบยาเตรียมต่างๆ การควบคุมคุณภาพและการประกันคุณภาพยาและเภสัชภัณฑ์ การวิจัยและการพัฒนายาและเภสัชภัณฑ์ ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา เภสัชจลนศาสตร์ เภสัชพลศาสตร์ การใช้ยาทางคลินิกในโรคของระบบต่างๆ อาการไม่พึงประสงค์ของยา การติดตามผลของยา การประเมินการใช้ยา ไปจนถึงการบริหารจัดการเรื่องยาและกฎหมายเกี่ยวกับยา ทั้งนี้ยังครอบคลุมไปถึงเครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร สารเสพติด สารพิษ และวัตถุหรือสารออกฤทธิ์ประเภทต่างๆ เภสัชศาสตร์กำเนิดขึ้นควบคู่กับวิวัฒนาการของมนุษยชาติ ในการบำบัดรักษาคนป่วยในสมัยโบราณได้นำพืช สัตว์ และแร่ธาตุในการบำบัดรักษา โดยศึกษาวิธีการจากสิ่งมีชีวิตรอบตัว จนได้มีการจดบันทึกสั่งสมองค์ความรู้สู่การพัฒนาเภสัชตำรับฉบับแรกของโลกโดยชาวสุเมเรียน และได้เริ่มมีการศึกษาฤทธิ์ของยาอย่างเป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้นในสมัยของฮิปโปเครตีส การเรียนการสอนทางเภสัชศาสตร์ในสมัยโบราณเป็นการศึกษาในวงจำกัดของชนชั้นสูงในสังคมอาหรับและการสืบทอดตำราโดยบาทหลวงเท่านั้น จนกระทั่งสมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 ทรงประกาศกฎหมายเกี่ยวกับวิชาชีพเภสัชกรรม และการฝึกหัดทางเภสัชศาสตร์ทำให้มีการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบยิ่งขึ้น เภสัชศาสตร์เป็นศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์สุขภาพอย่างยิ่ง การเรียนการสอนทางเภสัชศาสตร์เน้นหลักในวิชาการด้านเคมีเป็นส่วนใหญ่ มีการแบ่งสาขาวิชาทางเภสัชศาสตร์จำแนกย่อยอีกหลายสาขา โดยแบ่งเป็นด้านวิทยาศาสตร์เภสัชกรรม ประกอบด้วยสาขาเภสัชวิทยา เภสัชเวท เภสัชเคมี เภสัชวิเคราะห์และเภสัชภัณฑ์ จวบจนกระทั่งเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมขึ้น การผลิตยาจึงได้ประยุกต์สู่ด้านเภสัชอุตสาหกรรมด้วย ด้านเภสัชบริบาลศาสตร์ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการบริบาลผู้ป่วยและดูแลรักษาควบคุมการใช้ ตลอดจนติดตามผลการรักษาจากการใช้ยา ประกอบด้วยสาขาเภสัชกรรมคลินิกและเภสัชกรรมโรงพยาบาล และด้านเภสัชสาธารณสุข เภสัชศาสตร์สังคมและบริหารเภสัชกิจที่ดูแลการใช้ยาในระดับประชากรและการบริหารจัดการเรื่อง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเภสัชศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เมแทบอลิซึม

กระบวนการสร้างและสลาย หรือ เมแทบอลิซึม (metabolism) มาจากภาษากรีก μεταβολή ("metabolē") มีความหมายว่า "เปลี่ยนแปลง" เป็นกลุ่มปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในเซลล์สิ่งมีชีวิตเพื่อค้ำจุนชีวิต วัตถุประสงค์หลักสามประการของเมแทบอลิซึม ได้แก่ การเปลี่ยนอาหารและเชื้อเพลิงให้เป็นพลังงานในการดำเนินกระบวนการของเซลล์ การเปลี่ยนอาหารและเชื้อเพลิงเป็นหน่วยย่อยของโปรตีน ลิพิด กรดนิวคลิอิกและคาร์โบไฮเดรตบางชนิด และการขจัดของเสียไนโตรเจน ปฏิกิริยาเหล่านี้มีเอนไซม์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เพื่อให้สิ่งมีชีวิตเติบโตและเจริญพันธุ์ คงไว้ซึ่งโครงสร้างและตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม "เมแทบอลิซึม" ยังสามารถหมายถึง ผลรวมของปฏิกิริยาเคมีทั้งหมดที่เกิดในสิ่งมีชีวิต รวมทั้งการย่อยและการขนส่งสสารเข้าสู่เซลล์และระหว่างเซลล์ กลุ่มปฏิกิริยาเหล่านี้เรียกว่า เมแทบอลิซึมสารอินเทอร์มีเดียต (intermediary หรือ intermediate metabolism) โดยปกติ เมแทบอลิซึมแบ่งได้เป็นสองประเภท คือ แคแทบอลิซึม (catabolism) ที่เป็นการสลายสสารอินทรีย์ ตัวอย่างเช่น การสลายกลูโคสให้เป็นไพรูเวต เพื่อให้ได้พลังงานในการหายใจระดับเซลล์ และแอแนบอลิซึม (anabolism) ที่หมายถึงการสร้างส่วนประกอบของเซลล์ เช่น โปรตีนและกรดนิวคลีอิก ทั้งนี้ การเกิดแคแทบอลิซึมส่วนใหญ่มักมีการปลดปล่อยพลังงานออกมา ส่วนการเกิดแอแนบอลิซึมนั้นจะมีการใช้พลังงานเพื่อเกิดปฏิกิริยา ปฏิกิริยาเคมีของเมแทบอลิซึมถูกจัดอยู่ในวิถีเมแทบอลิซึม (metabolic pathway) ซึ่งสารเคมีชนิดหนึ่งๆ จะถูกเปลี่ยนแปลงหลายขั้นตอนจนกลายเป็นสารชนิดอื่น โดยอาศัยการเข้าทำปฏิกิริยาของใช้เอนไซม์หลายชนิด ทั้งนี้ เอนไซม์ชนิดต่างๆ นั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเกิดเมแทบอลิซึม เพราะเอนไซม์จะเป็นตัวกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาเคมีเหล่านั้น โดยการเข้าจับกับปฏิกิริยาที่เกิดเองได้ (spontaneous process) อยู่แล้วในร่างกาย และหลังการเกิดปฏิกิริยาจะมีปลดปล่อยพลังงานออกมา พลังงานที่เกิดขึ้นนี้จะถูกนำไปใช้ในปฏิกิริยาเคมีอื่นของสิ่งมีชีวิตที่ไม่อาจเกิดขึ้นได้เองหากปราศจากพลังงาน จึงอาจกล่าวได้ว่า เอนไซม์ทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ทำให้ปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ของร่างกายดำเนินไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ เอนไซม์ยังทำหน้าที่ควบคุมวิถีเมแทบอลิซึมในกระบวนการการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในสิ่งแวดล้อมของเซลล์หรือสัญญาณจากเซลล์อื่น ระบบเมแทบอลิซึมของสิ่งมีชีวิตจะเป็นตัวกำหนดว่า สารใดที่มีคุณค่าทางโภชนาการและเป็นพิษสำหรับสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ตัวอย่างเช่น โปรคาริโอตบางชนิดใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์เป็นสารอาหาร ทว่าแก๊สดังกล่าวกลับเป็นสารที่ก่อให้เกิดพิษแก่สัตว์ ทั้งนี้ ความเร็วของเมแทบอลิซึม หรืออัตราเมแทบอลิกนั้น ส่งผลต่อปริมาณอาหารที่สิ่งมีชีวิตต้องการ รวมไปถึงวิธีที่สิ่งมีชีวิตนั้นจะได้อาหารมาด้วย คุณลักษณะที่โดดเด่นของเมแทบอลิซึม คือ ความคล้ายคลึงกันของวิถีเมแทบอลิซึมและส่วนประกอบพื้นฐาน แม้จะในสปีชีส์ที่ต่างกันมากก็ตาม ตัวอย่างเช่น กลุ่มกรดคาร์บอกซิลิกที่ทราบกันดีว่าเป็นสารตัวกลางในวัฏจักรเครปส์นั้นพบได้ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่มีการศึกษาในปัจจุบัน ตั้งแต่สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวอย่างแบคทีเรีย Escherichia coli ไปจนถึงสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ขนาดใหญ่อย่างช้าง ความคล้ายคลึงกันอย่างน่าประหลาดใจของวิถีเมแทบอลิซึมเหล่านี้เป็นไปได้ว่าอาจเป็นผลเนื่องมาจากวิถีเมแทบอลิซึมที่ปรากฏขึ้นในช่วงแรกของประวัติศาสตร์วิวัฒนาการ และสืบมาจนถึงปัจจุบันเพราะประสิทธิผลของกระบวนการนี้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเมแทบอลิซึม · ดูเพิ่มเติม »

เรือนเครื่องสับ

รือนเครื่องสับ คือประเภทหนึ่งของเรือนที่อยู่อาศัยของคนไทย ที่เรียกว่า เรือนไทย คู่กันกับ เรือนเครื่องผูก ตามความหมายของราชบัณฑิตยสถานหมายถึง "เป็นเรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีเข้าปากไม้" ส่วนใหญ่เรือนเครื่องสับเป็นเรือน 3 ห้อง กว้าง 8 ศอก แต่จะใหญ่โตมากขึ้นถ้าเจ้าของมีตำแหน่งสำคัญ เช่น เสนาบดี ช่างที่สร้างจะเป็นช่างเฉพาะทาง ก่อนสร้างจะมีการประกอบพิธีหลายๆอย่าง ในภาคกลางมักใช้ไม้เต็งรังทำพื้น เพราะแข็งมาก ทำหัวเทียนได้แข็งแรง ภาคเหนือนิยมใช้ไม้สัก ไม้ที่ไม่นิยมใช้ เช่น ไม้ตะเคียนทอง เพราะมียางสีเลือด ไม่น่าดู ลักษณะทั่วไปของเรือนเครื่องสับ คือ เป็นเรือนที่ก่อสร้างแบบถาวร วัสดุที่ใช้มักจะเป็นไม้จริง การเชื่อมต่อชิ้นส่วนต่าง ๆ ของอาคารจะใช้วิธีบากเข้าสลัก เข้าเดือย ตอกด้วยลิ่มไม้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเรือนเครื่องสับ · ดูเพิ่มเติม »

เลอง ชาร์ล เตฟว์แน็ง

ลอง ชาร์ล เตฟว์แน็งสะกดตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศส ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเลอง ชาร์ล เตฟว์แน็ง · ดูเพิ่มเติม »

เลียงผา

ลียงผา หรือ เยียงผา หรือ โครำ (Serows; อีสาน: เยือง) เป็นสกุลของสัตว์กีบคู่สกุลหนึ่ง ในวงศ์ Bovidae วงศ์ย่อย Caprinae คือ วงศ์เดียวกับแพะและแกะ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Capricornis (/แคป/-ปริ-คอร์-นิส/).

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเลียงผา · ดูเพิ่มเติม »

เวทมนตร์

วทมนตร์ หมายถึง ถ้อยคำศักดิ์สิทธิ์ที่ใช้บริกรรมเพื่อให้ความประสงค์ของตนสำเร็จพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเวทมนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เวทางคศาสตร์

วทางคศาสตร์ หรือเวทางค์ คือ คัมภีร์ชุดหนึ่งของศาสนาพราหมณ์ ว่าด้วยวิชาประกอบการศึกษาพระเวท มีหกคัมภีร์ คือ 1.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเวทางคศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เสือก

ือก เป็นคำกริยาและคำวิเศษณ์ หมายความว่า ชอบเข้าไปยุ่งในเรื่องของคนอื่นหรือเรื่องที่มิใช่หน้าที่ของตน อยากรู้อยากเห็น โดยที่อีกฝ่ายไม่ต้องการให้มายุ่งหรือเกี่ยวข้อง ในภาษาไทยมีไวพจน์อยู่หลายคำ เช่น จุ้น, จุ้นจ้าน, เจ๋อ, ละลาบละล้วง, สอดรู้, สอดรู้สอดเห็น, สะเหล่อ, สะเออะ, สาระแน, สู่รู้, เสนอหน้า, เสือกกระบาล, เสือกกะโหลก, แส่ ฯลฯ ซึ่งทุกคำมีความหมายในทางลบ และมักใช้เป็นคำด่า อาการเสือกเป็นอารมณ์ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมอยากรู้ อยากเห็น อยากค้นหา อยากสืบเสาะ ซึ่งอาการเช่นนี้มิได้มีแต่เฉพาะในมนุษย์เท่านั้น แต่สัตว์อีกหลายสายพันธุ์ก็ดุจกัน หากผู้มีอาการได้สนองความรู้เช่นนี้โดยมีพฤติกรรมต่าง ๆ จนติดเป็นสันดาน อย่างไรก็ดี อาการเสือกเป็นพฤติกรรมอันไม่เป็นที่พึงประสงค์ ผู้เสือกอาจประสบอันตรายได้ ดังคำว่า "แส่หาเรื่อง" และการเสือกก็มักตามมาด้วยการนินทาไม่ว่าข้อเท็จจริงจะเป็นอย่างไร แต่หากพฤติกรรมนั้นกระทำให้ผู้อื่นต้องเสียหาย อาจเป็นความผิดอาญาฐานหมิ่นประมาทและอาจถูกฟ้องเอาค่าเสียหายทางแพ่งได้และเป็นคำหยาบคายที่ไม.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเสือก · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเสียดแทรก ฟัน ก้อง

ียงเสียดแทรก ฟัน ก้อง เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่นภาษาอังกฤษ ภาษาเวลส์ ภาษาไอซ์แลนด์ ฯลฯ แต่ไม่มีในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ /ð/ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ D การทับศัพท์ในภาษาไทย มักใช้ ด แทนเสียงนี้ให้กับ th ของภาษาอังกฤษ เช่น the.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเสียงเสียดแทรก ฟัน ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเสียดแทรก ฟัน ไม่ก้อง

เสียงเสียดแทรก ฟัน ไม่ก้อง เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่นภาษาอังกฤษ ภาษาพม่า ภาษากะเหรี่ยง ฯลฯ แต่ไม่มีในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ /θ/ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ T การทับศัพท์ในภาษาไทย มักใช้ ธ, ท, ซ แทนเสียงนี้ให้กับ th ของภาษาอังกฤษ เช่น theta อาจพบเป็น เซตา, ซีตา, ธีตา ฯลฯ ในขณะที่ราชบัณฑิตยสถานกำหนดให้ใช้ ท เพียงอย่างเดียว หมวดหมู่:เสียงพยัญชนะ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเสียงเสียดแทรก ฟัน ไม่ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เสนาะฉันท์

นาะฉันท์ เป็นพระนิพนธ์ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ลักษณะคำประพันธ์ โคลงสี่สุภาพ จุดมุ่งหมายในการแต่ง แสดงความสามารถของกวี และเพื่อส่งเข้าประกวดราชบัณฑิตยสภา เมื่อ..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเสนาะฉันท์ · ดูเพิ่มเติม »

เหนี่ยว ดุริยพันธุ์

หนี่ยว ดุริยพันธุ์ เกิดเมื่อ 10 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเหนี่ยว ดุริยพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอกเทศสัญญา

อกเทศสัญญา (specific contract), หนี้เอกเทศ (specific obligation) หรือ สัญญามีชื่อ (nominated contract) เป็นศัพท์กฎหมาย หมายถึง หนี้หรือสัญญาประเภทที่กฎหมายขนานนามให้เป็นพิเศษ เพื่อวางกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องเป็นการเอกเทศ ดังนั้น หนี้หรือสัญญาทั่วไปที่ไม่ปรากฏชื่อตามกฎหมาย จึงได้ชื่อว่า "สัญญาไม่มีชื่อ" (innominate contract) หรือ "หนี้สามัญ" (general obligation) โดยปรกติแล้ว กฎหมายจะวางบทบัญญัติครอบคลุมสัญญาและหนี้เป็นการทั่วไปก่อน เรียกบทบัญญัตินี้ว่า "บททั่วไป" ซึ่งจะใช้บังคับแก่ทุกกรณี และวางหลักเฉพาะเจาะจงสำหรับเรื่องพิเศษบางประเภท เรียกบทบัญญัตินี้ว่า "บทพิเศษ" ซึ่งต้องนำมาใช้ก่อนบททั่วไป เมื่อไม่มีบทพิเศษบัญญัติไว้จึงค่อยยกบททั่วไปมาใช้ เช่น ตามกฎหมายไทย ซื้อขายเป็นเอกเทศสัญญาที่มีบทบัญญัติกำหนดความสัมพันธ์ของคู่กรณีไว้เป็นบทพิเศษ แต่ไม่ได้กำหนดเรื่องการเกิดและการสิ้นสุดลงของสัญญา จึงต้องยกบททั่วไปที่เกี่ยวข้องมาใช้ เอกเทศสัญญาและหนี้เอกเทศนั้นเป็นบทบัญญัติจำพวกบทพิเศษ ส่วนสัญญาไม่มีชื่อและหนี้ทั่วไปคือสัญญาและหนี้ตามบททั่วไปนั่นเอง และเอกเทศสัญญาหรือหนี้เอกเทศจะมีประเภทใดบ้างนั้น ขึ้นอยู่กฎหมายของแต่ละประเท.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเอกเทศสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

เอตทัคคะ

อตทัคคะ หมายถึง ผู้ยอดเยี่ยมในทางใดทางหนึ่งเป็นพิเศษ เป็นตำแหน่งที่พระพุทธเจ้าได้ประทานแต่งตั้งให้พระสาวกของพระองค์ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ผู้มีความรู้ความสามารถเด่นกว่าท่านอื่น ๆ ในด้านนั้น ๆ และตำแหน่งเอตทัคคะแต่ละตำแหน่งทรงแต่งตั้งเพียงรูปเดียวท่านเดียวเท่านั้น ในแต่ละพุทธบริษัทแต่ละฝ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเอตทัคคะ · ดูเพิ่มเติม »

เจริญใจ สุนทรวาทิน

ริญใจ สุนทรวาทิน (16 กันยายน พ.ศ. 2458 - 10 เมษายน พ.ศ. 2554) เป็นศิลปิน และนักวิชาการชาวไทยด้านศิลปวัฒนธรรมแบบราชสำนัก มีความสามารถในด้านการละคร ชำนาญในการบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประเภทวงเครื่องสายและวงมโหรี โดยเฉพาะซอสามสาย มีความเชี่ยวชาญในการขับร้องเพลงประกอบการแสดงนาฏกรรม รวมถึงเพลงไทยเพื่อการฟังตามแบบฉบับและแนวทางร่วมสมัย กล่าวได้ว่า เป็นผู้ที่มีน้ำเสียงไพเราะ ขับร้องด้วยอารมณ์อันสมจริง ประณีตละเมียดละไม ได้อรรถรสของวรรณคดี ได้รับการขนานนามจากนักดนตรีไทยว่าเป็น “เพชรประดับมงกุฎแห่งคีตศิลป์ไทย” เจริญใจ สุนทรวาทิน เป็นที่รู้จักในวงการเพลงไทยตั้งแต่วัยเยาว์ เคยเป็นข้าราชบริพารในยุคก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เคยได้รับรางวัลชนะเลิศระดับชาติจากการประกวดขับร้องเพลงไทย เป็นครูผู้ควบคุมวงดนตรีและสอนการขับร้องเพลงไทย เป็นอาจารย์ผู้ถวายงานสอนดนตรีและขับร้องแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์) ประจำปีพุทธศักราช 2530 จากคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาต.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเจริญใจ สุนทรวาทิน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมทับทิม (แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม)

ทับทิม รับบทโดย ลินดา ดาร์เนล ในภาพยนตร์ฉบับปี พ.ศ. 2489 แอนนากับทับทิม รับบทโดยเดบอราห์ เคอร์ และริตา มอเรโนในภาพยนตร์ฉบับปี พ.ศ. 2499 เจ้าจอมทับทิม ในเรื่อง แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม เป็นบุคคลที่แอนนา ลีโอโนเวนส์ กล่าวถึงในหนังสือเล่มที่สองชื่อ "นิยายรักในราชสำนักฝ่ายใน" (Romance of the Harem) และถูกนำมาขยายความในบทประพันธ์ของมาร์กาเรต แลนดอน เรื่อง "แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม" (Anna and the King of Siam) ในปี..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเจ้าจอมทับทิม (แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะภาค

้าคณะภาค เป็นพระสังฆาธิการที่ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งจากสมเด็จพระสังฆราช โดยผ่านมติการเห็นชอบของมหาเถรสมาคม มีอำนาจหน้าที่การปกครองตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์และกฎมหาเถรสมาคม ในเขตจังหวัดของตน เจ้าคณะภาค คือพระสังฆาธิการผู้ปกครองคณะสงฆ์ระดั.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเจ้าคณะภาค · ดูเพิ่มเติม »

เทพารักษ์

ศาลพระภูมิ ซึ่งมนุษย์สร้างให้เป็นที่สถิตของเทพารักษ์ เทพารักษ์ หมายถึง เทวดาที่ดูแลรักษาที่แห่งใดแห่งหนึ่ง ตามศาสนาพุทธ ถือว่าเทพารักษ์เป็นเทพระดับหนึ่ง ในสวรรค์ชั้นกามาพจรภพ บางที่อาจเรียกว่าเป็นเทวดา บางที่อาจเรียกว่าผีเสฐียรโก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเทพารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เทวี

ทวี (देवी; goddess) หมายถึง เทวดาผู้หญิง เทวีบางองค์เชื่อว่าเกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ต่าง ๆ เช่น โลก ความอุดมสมบูรณ์ ความเป็นแม่ เป็นต้น ลัทธิศาสนาที่บูชาเทวีเป็นหลัก เช่น ลัทธิศักติในศาสนาฮินดู พระนางตาราในศาสนาพุทธแบบทิเบต เป็นต้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเทวี · ดูเพิ่มเติม »

เทวทูต

ทวทูต หมายถึง ทูตของเทพ ซึ่งเป็นสัญญาณเตือนให้ระลึกถึงธรรมดาของชีวิต จนเกิดความสังเวชแล้วเร่งทำความดี ใน "ทูตสูตร" พระโคตมพุทธเจ้าตรัสว่าเทวทูตมี 3 จำพวก ได้แก.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเทวทูต · ดูเพิ่มเติม »

เทวดา

ระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ เทวดา (devatā) หรือ เทพ (deva เทว) ตามคติความเชื่อทางศาสนาต่าง ๆ หมายถึง ชาวสวรรค์ที่เป็นโอปปาติกะ มีกายทิพย์ ตาทิพย์ หูทิพย์ และกินอาหารทิพย์ และเสวยสุขในสรวงสวรรค์ชั้นต่าง ๆ ซึ่งถือว่าเป็นภพภูมิที่ดี เทวดาผู้หญิงเรียกว่า เทวี หรือ "เทพี" หรือ นางฟ้า เทวดาผู้มีมิจฉาทิฐิ เรียกว่า มาร คำว่า เทพเจ้า หมายถึง เทวดาผู้เป็นใหญ่ ตามความเชื่อแบบพหุเทวนิยม ซึ่งเชื่อว่ามีอำนาจควบคุมธรรมชาติบางอย่าง เช่น สุริยเทพ เทพเจ้าแห่งสายฟ้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเทวดา · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลเพนเทคอสต์

ทศกาลเพนเทคอสต์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 420-1 (ราชบัณฑิตยสถาน) หรือ วันเปนเตกอสเต (โรมันคาทอลิก) มาจากคำว่า Πεντηκοστή ในภาษากรีก ซึ่งแปลว่า "(วัน) ที่ 50" เพราะเป็นวันที่ 50 นับจากวันสมโภชปัสคา วงศ์วานอิสราเอลจัดเทศกาลนี้ขึ้นเพื่อเป็นการระลึกถึงการที่พระยาห์เวห์ได้ประทานธรรมบัญญัติแก่โมเสสที่ภูเขาซีนาย ส่วนคริสต์ศาสนิกชนถือวันนี้เป็นการเฉลิมฉลองเหตุการณ์ที่พระวิญญาณบริสุทธิ์ได้ลงมาประทับบนอัครทูตเพื่อเป็นกำลังในการประกาศข่าวดีต่อมวลมนุษย์ คริสตจักรโรมันคาทอลิกจึงถือวันนี้เป็นวันสมโภชพระจิตเจ้า และนับเป็นวันเกิดของคริสตจักรด้ว.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเทศกาลเพนเทคอสต์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศไทย

ตการปกครองของประเทศไทย แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบคือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และการปกครองส่วนท้องถิ่น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเขตการปกครองของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เดชา บุญค้ำ

ตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้ำ (เกิด 13 ตุลาคม พ.ศ. 2482 -) ราชบัณฑิต ประเภทวิชาสถาปัตยศิลป์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม สำนักศิลปกรรมศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภูมิสถาปัตยกรรม) ประจำปี 2549 ภูมิสถาปนิกคนสำคัญของเมืองไทย ผู้บุกเบิกด้านการศึกษาและวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมของประเทศไทย ได้ออกแบบงานภูมิสถาปัตยกรรมที่สำคัญหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็น สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์เขตต่างๆ, สวนหลวง ร.๙, อุทยานเบญจสิริ, สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ และอื่นๆ รวมทั้งงานภูมิทัศน์วัดโสธรวรารามวรวิหาร ผังแม่บทภูมิทัศน์เดิมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (พ.ศ. 2537) เป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม ที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเดชา บุญค้ำ · ดูเพิ่มเติม »

เดมะนิม

เดมะนิม (demonym; δῆμος dẽmos "ประชา", ὄνομα ónoma "นาม" ประชานาม) เป็นคำเรียกผู้อยู่อาศัยในท้องที่หนึ่ง ตัวอย่างเช่น เดมะนิมประชาชนของประเทศแคนาดา เรียก คะเนดียน เดมะนิมประชาชนประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เรียก สวิส บางท้องที่มีหลายรูป ตัวอย่างเช่น เดมะนิมสำหรับประชาชนเกาะบริเตนเป็นได้ทั้งบริติชหรือบริทึน ราชบัณฑิตยสถานมีหลักเกณฑ์ว่า คำคุณศัพท์เกี่ยวกับชนชาติต่าง ๆ ให้ทับศัพท์ในรูปคำนามที่เป็นชื่อประเทศ เช่น ชาวแคนาดา ชาวฮังการี ยกเว้นคำที่ใช้กันนานแล้ว เช่น ชาวเยอรมัน ชาวอเมริกัน ชาวสวิส เป็นต้น หมวดหมู่:ประชากร หมวดหมู่:ประเภทของคำ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเดมะนิม · ดูเพิ่มเติม »

เดินกะลา

นกะลา เป็นการละเล่นเด็กไทย โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่หาได้ทั่วไปตามท้องถิ่น ซึ่งผู้ใหญ่มักทำให้เด็กๆ เล่นเพื่อความสนุกเพลิดเพลิน, เสริมสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ และเป็นการฝึกการทรงตัวอีกด้ว.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเดินกะลา · ดูเพิ่มเติม »

เดียรถีย์

ียรถีย์ (tīrthika; ติตฺถิย) แปลว่า ผู้มีลัทธิดังท่าน้ำอันเป็นที่ข้าม ใช้หมายถึง นักบวชนอกศาสนาพุทธในประเทศอินเดียสมัยพุทธกาล มีหลายพวก เช่น ปริพาชก นิครนถ์ ดาบส อเจลก (ชีเปลือย) ปัจจุบันคำนี้ถูกนำมาใช้เรียกผู้ทำนอกเรื่องหรือนอกรีตนอกรอย ประพฤตินอกธรรมนอกพระวินัยว่า พวกเดียรถีย์ ซึ่งถือเป็นคำดูถูกหรือคำ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเดียรถีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เด็กแว้น

็กแว้นที่แข่งขันกันตามถนนใหญ่ เด็กแว้น (มีการสะกด เด็กแว๊น) หรือ เด็กแซบ หมายถึงผู้ที่อายุประมาณ 15-28 ปี ที่ออกขับมอเตอร์ไซค์ไปเป็นกลุ่มในเวลากลางคืน มีลักษณะการแต่งกาย และทรงผม รวมถึงรสนิยมการฟังเพลง ที่คล้ายกัน ราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายของคำไว้ว่า "วัยรุ่นผู้ชายที่ชอบเร่งเครื่องมอเตอร์ไซค์ให้มีเสียงดังแว้น ๆ ".

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเด็กแว้น · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราง

รื่องราง หมายถึง ของที่นับถือว่าป้องกันอันตราย ยิงไม่ออก ฟันไม่เข้า เช่น ตระกรุด ผ้ายันต์ เหล็กไหล เครื่องรางถือเป็นวัตถุมงคลประเภทหนึ่ง ของขลัง คือของที่ถือว่าศักดิ์สิทธิ์ มีพลังหรืออำนาจที่อาจบันดาลให้เป็นไป หรืออาจบันดาลสิ่งที่ต้องประสงค์สำเร็จได้ สองคำนี้มักนิยมใช้คู่กันเป็น เครื่องรางของขลัง เครื่องรางของขลัง ปกติเป็นเรื่องนอกคำสอนของศาสนาพุทธ ถูกจัดอยู่ในประเภทไสยศาสตร์มากว่า แต่เป็นที่นิยมกันมาแต่โบราณ ด้วยเห็นว่าพลังหรืออำนาจนัน้มาจากพุทธคุณ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเครื่องราง · ดูเพิ่มเติม »

เคอร์เนล

อร์เนลเชื่อมต่อระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ เคอร์เนล (kernel อ่านว่า เคอร์เนิล เนื่องจากตัว e ไม่ออกเสียง) หมายถึง ส่วนประกอบหลักของระบบปฏิบัติการ ซึ่งคอยดูแลบริหารทรัพยากรของระบบ และติดต่อกับฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์ เนื่องจากว่าเป็นส่วนประกอบพื้นฐานของระบบปฏิบัติการ เคอร์เนล นั้นเป็นฐานล่างสุดในการติดต่อกับทรัพยากรต่างๆ เช่น หน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง และ อุปกรณ์อินพุตและเอาต์พุต.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเคอร์เนล · ดูเพิ่มเติม »

เซอรีนไฮเนส

ซอรีนไฮเนส (Serene Highness) หรือ เซอรีนไฮนิส (/ˈhʌɪnɪs/) เป็นฐานันดรศักดิ์ของสมาชิกราชวงศ์บางชั้นในทวีปยุโรป มักใช้นำพระนามเจ้าชายหรือเจ้าหญิงที่เป็นพระราชบุตรในเจ้าฟ้าชายหรือเจ้าฟ้าหญิง ฐานันดรศักดิ์รอยัลไฮเนสมีศักดิ์ต่ำกว่า "อิมพีเรียลไฮเนส" "รอยัลไฮเนส" "แกรนด์ดิวคัลไฮเนส" และ "ไฮเนส" เป็นต้น.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเซอรีนไฮเนส · ดูเพิ่มเติม »

เปลือกหอย

ปลือกหอยนานาชนิด เปลือกหอย หรือ ฝาหอย หรือ กาบหอย คือ สสารที่เป็นของแข็งที่ห่อหุ้มลำตัวภายนอกของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัมมอลลัสคา หรือที่นิยมเรียกกันติดปากว่า หอย มีลักษณะแตกต่างกันออกไป ซึ่งหอยจะใช้เป็นเครื่องอำพรางอันตรายจากสัตว์อื่น เป็นสัญลักษณ์สื่อสารระหว่างกัน และช่วยควบคุมอุณหภูมิภายในเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ำ เปลือกหอยเป็นสิ่งที่ติดตัวกับหอยมานับตั้งแต่ยังเป็นตัวอ่อนและฟักออกมาจากไข่ โดยไม่ต้องลอกคราบเหมือนสัตว์ในไฟลัมอาร์โธพอดหรือ ครัสเตเชียน โดยขนาดจะใหญ่ขึ้นมาตามขนาดของตัวหอย เปลือกหอยประกอบด้วยสารจำพวกแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นส่วนใหญ่ ส่วนที่เหลือเป็นสารอื่น ๆ เช่น แคลเซียมฟอสเฟต, แมกนีเซียมคาร์บอเนต, แมกนีเซียมฟอสเฟต, แมกนีเซียมซิลิเกต, โปรตีนประเภทคอนไคโอลิน เปลือกหอยแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือ.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเปลือกหอย · ดูเพิ่มเติม »

เปาบุ้นจิ้น

ปา เจิ่ง ในภาษาจีนมาตรฐาน หรือ เปาจิ้น ในภาษาจีนฮกเกี้ยน (11 เมษายน ค.ศ. 999 — 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1062) วรรณกรรมเรียก เปา เหวินเจิ่ง ในภาษาจีนมาตรฐาน หรือ เปาบุ้นจิ้น ในภาษาจีนฮกเกี้ยน (包文拯) เป็นข้าราชการชาวจีนในรัชสมัยจักรพรรดิเหรินจงแห่งราชวงศ์ซ่งของจักรวรรดิจีน ตลอดเวลา 25 ปีที่รับราชการนั้น เปา เจิ่ง แสดงออกซึ่งความซื่อสัตย์สุจริตและเป็นกลางอย่างเสมอหน้า ในระหว่าง..

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและเปาบุ้นจิ้น · ดูเพิ่มเติม »

Burst fracture

burst fracture เป็นการบาดเจ็บของกระดูกสันหลังแบบหนึ่งที่ลำกระดูกสันหลัง (vertebra) แตก/หักออกเนื่องจากเกิดภาระ/โหลดมากเกินที่โครงกระดูกแกน (เช่น รถชน ตกมาจากที่สูง หรือแม้แต่การชักบางอย่าง) โดยมีส่วนแหลมของลำกระดูกทิ่มเข้าไปในเนื้อเยื่อรอบ ๆ และบางครั้งเข้าไปในไขสันหลังเอง burst fracture จะจัดตาม "ความรุนแรงของการเสียรูปทรง, ความรุนแรงของอันตรายต่อช่องบรรจุไขสันหลัง, ระดับที่ลำกระดูกสั้นลง, และระดับความบกพร่องทางประสาท" เป็นการบาดเจ็บที่พิจารณาว่า รุนแรงกว่ากระดูกหักเหตุอัด (compression fracture) เพราะอาจตามด้วยความเสียหายทางประสาทในระยะยาว ซึ่งสามารถแสดงอาการทั้งหมดอย่างทันที หรือค่อย ๆ เพิ่มขึ้นเป็นระยะเวลานาน.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและBurst fracture · ดูเพิ่มเติม »

L

L (ตัวใหญ่:L ตัวเล็ก:l) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 12.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและL · ดูเพิ่มเติม »

Neurapraxia

Neurapraxia เป็นความผิดปกติของระบบประสาทนอกส่วนกลางที่ทำให้การควบคุมกล้ามเนื้อ (motor) หรือการรับความรู้สึก (sensory) เสียหายเนื่องจากส่งกระแสประสาทไม่ได้ โดยเฉลี่ยจะคงยืนประมาณ 6-8 อาทิตย์ก่อนหาย ภาวะนี้มักจะมีเหตุจากความบาดเจ็บต่อระบบประสาทเนื่องจากแรงกระแทกจากภายนอกต่อเส้นใยกล้ามเนื้อ (muscle fiber) และต่อใยประสาทสั่งการ ซึ่งสร้างแรงกดที่เส้นประสาทอย่างซ้ำ ๆ หรือคงยืน เพราะแรงกดนี้ การขาดเลือดเฉพาะที่ก็จะเกิดขึ้นแล้วทำให้เกิดรอยโรคที่เส้นประสาท ซึ่งร่างกายมนุษย์โดยธรรมชาติจะตอบสนองเป็นอาการบวมน้ำรอบ ๆ จุดที่ถูกกด รอยโรคจะหยุดหรือขัดขวางกระแสประสาทที่ช่วงหนึ่งในเส้นประสาท ทำให้ระบบประสาทต่อจากจุดนั้นไม่ทำงานหรือทำงานได้ไม่สมบูรณ์ แล้วทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง อาการนี้ทำปลอกไมอีลินที่หุ้มเส้นประสาทให้เสียหายอย่างชั่วคราว แต่ไม่ทำให้เส้นประสาทเสียหาย จึงไม่ใช่ความเสียหายอย่างถาวร ดังนั้น กระบวนการที่ทำให้เสียเส้นประสาทอย่างถาวรคือ Wallerian degeneration จึงไม่เกิดขึ้นเนื่องกับอาการนี้ เพื่อจะจัดว่าเป็น neurapraxia ตามระบบจำแนกความบาดเจ็บต่อเส้นประสาทนอกส่วนกลาง Seddon classification เมื่อกระแสประสาทกลับสามารถส่งต่อได้แล้ว อาการจะต้องหายอย่างสมบูรณ์และรวดเร็ว ไม่เช่นนั้นแล้ว ก็จะจัดเป็นอาการที่หนักกว่า เช่น axonotmesis หรือ neurotmesis ดังนั้น neurapraxia จึงเป็นการบาดเจ็บต่อเส้นประสาทนอกส่วนกลางแบบเบาสุด เป็นอาการที่สามัญต่อนักกีฬามืออาชีพ โดยเฉพาะนักอเมริกันฟุตบอล และเป็นอาการที่ควรปรึกษาแพทย์เพื่อรักษา คำว่า Neurapraxia เป็นคำอนุพัทธ์ของคำว่า apraxia (ภาวะเสียการรู้ปฏิบัติ) ซึ่งเป็น "การเสียหรือความพิการของสมรรถภาพในการเคลื่อนไหวแบบประสานและซับซ้อน โดยการควบคุมกล้ามเนื้อหรือการรับความรู้สึกจะไม่บกพร่อง".

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและNeurapraxia · ดูเพิ่มเติม »

Neurotmesis

Neurotmesis (ในภาษากรีก คำว่า tmesis หมายถึง "ตัด") เป็นอาการหนึ่งในระบบจำแนกความบาดเจ็บต่อเส้นประสาทนอกส่วนกลาง Seddon classification โดยเป็นอาการซึ่งหนักที่สุด เพราะทั้งใยประสาทและปลอกหุ้มจะขาดโดยสิ้นเชิง และถึงแม้อาจฟื้นสภาพได้บางส่วน แต่ก็ไม่สามารถหายสนิทกลับไปเหมือนเดิมได้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและNeurotmesis · ดูเพิ่มเติม »

Th (ทวิอักษร)

Th ในอักษรละตินเป็นทวิอักษรหรืออักษรสองตัวที่ใช้แทนเสียงเดียว โดยพบได้ในระบบการเขียนหลายภาษาของยุโรป ที่ใช้อักษรโรมันและกรีกเป็นหลัก ในภาษาอังกฤษ อักษร th มักจะออกเสียงในแบบเสียงเสียดแทรกจากฟันได้สองลักษณะ คือ ลักษณะเสียงก้อง ออกเสียงเป็น (ในคำว่า this) และลักษณะเสียงไม่ก้อง ออกเสียงเป็น (ในคำว่า think) อย่างไรก็ตาม ในภาษาอังกฤษสมัยกลาง (Middle English) มีการใช้อักษรสำหรับแต่ละเสียงโดยเฉพาะ นั่นคือ อักษร และ สำหรับในภาษาอื่น เช่น ภาษาเยอรมัน th ออกเสียงเป็นเสียง ในภาษาแอลเบเนีย ออกเสียง และยังคงถือว่าตัวอักษร Th เป็นตัวอักษรที่ 29 ของตัวอักษรทั้งหมด โดยอยู่ระหว่าง T และ U ในภาษาไทย เนื่องจากไม่มีเสียงอักษรไทยที่ใกล้เคียงกับ และ ตามกฎของราชบัณฑิตยสถานที่ใช้ในเอกสารของทางราชการไทย กำหนดให้ การถอดเสียงภาษาอังกฤษ มาเป็นภาษาไทย ให้ถอดตัวอักษร th มาเป็นตัวอักษร ด หรือ ท ขึ้นอยู่กับการออกเสียง (ซึ่งออกเสียง และ ใกล้เคียงกับเสียง และ ตามลำดับ) ในบางครั้งจะเกิดปัญหาที่คำทับศัพท์มีการซ้ำซ้อน เช่นคำว่า "thank" และ "tank" เมื่อทับศัพท์ออกมาตามหลัก แล้วรูปจะเหมือนกัน คือ "แทงก์" แต่การออกเสียงแตกต่างกัน นอกจากนี้ยังมีบางกลุ่มที่ถอดเสียง เป็น.ธง เพื่อเปรียบต่างกับเสียง ที่เป็น ท.ทหาร เช่นในคำว่า มาราธอน (marathon).ธง สำหรับในคำทับศัพท์นี้แสดงถึงเสียง สำหรับการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง กำหนดให้ตัวอักษร ฐ ฒ ถ ธ ท ถอดเป็นตัวอักษร th ในภาษาอังกฤษ ซึ่งออกเสียง.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและTh (ทวิอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

Z

Z (ตัวใหญ่:Z ตัวเล็ก:z) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 26 และเป็นลำดับสุดท้.

ใหม่!!: สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและZ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ราชบัณฑิตยสภาราชบัณฑิตยสถานสํานักงานราชบัณฑิตยสภาอาคารราชบัณฑิตยสถาน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »