โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สภานิติบัญญัติ

ดัชนี สภานิติบัญญัติ

นิติบัญญัติเป็นสภาปรึกษาหารือชนิดหนึ่งซึ่งมีอำนาจผ่าน แก้ไขเพิ่มเติมและยกเลิกกฎหมาย กฎหมายที่เกิดจากสภานิติบัญญัติเรียก กฎหมายลายลักษณ์อักษร นอกเหนือไปจากการตรากฎหมายแล้ว สภานิติบัญญัติยังมีอำนาจสิทธิ์ขาดในการเพิ่มหรือลดภาษีและมีมติเห็นชอบงบประมาณและร่างกฎหมายเกี่ยวด้วยการเงินอื่น สภานิติบัญญัติมีหลายชื่อ ที่พบมากที่สุด คือ รัฐสภาและคองเกรส (congress) โดยสองคำนี้มีความหมายจำเพาะกว่า ในการปกครองระบบรัฐสภา ฝ่ายบริหารรับผิดชอบต่อสภานิติบัญญัติซึ่งอาจถอดถอนฝ่ายบริหารได้ด้วยการอภิปรายไม่ไว้วางใจ ในระบบประธานาธิบดี ตามลัทธิการแยกใช้อำนาจ สภานิติบัญญัติถูกมองว่าเป็นอิสระและเป็นการปกครองแขนงหนึ่งซึ่งเสมอกับฝ่ายตุลาการและฝ่ายบริหาร องค์ประกอบหลักของสภานิติบัญญัติ คือ มีตั้งแต่หนึ่งสภา (chamber/house) เป็นต้นไป สภา คือ การประชุมซึ่งสามารถอภิปรายและลงมติในร่างกฎหมายได้ สภานิติบัญญัติซึ่งมีสภาเดียว เรียก สภาเดียว ส่วนสภานิติบัญญัติที่มีสองสภา เรียก ระบบสองสภา ซึ่งปกติอธิบายเป็นสภาสูงและสภาล่าง โดยมักมีหน้าที่อำนาจและวิธีการเลือกสมาชิกต่างกัน นอกจากนี้ ยังมีสภานิติบัญญัติที่มีมากกว่าสองสภา แต่ไม่ค่อยพบ ในระบบรัฐสภาส่วนมาก สภาล่างเป็นสภาที่มีอำนาจกว่า ขณะที่สภาสูงเป็นเพียงสภาให้คำปรึกษาหรือทบทวน อย่างไรก็ดี ในระบบประธานาธิบดี อำนาจของสองสภามักคล้ายหรือเท่ากัน ในสหพันธรัฐ สภาสูงมักเป็นตัวแทนของรัฐที่มารวมกัน (component state) ซึ่งรวมถึงสภานิติบัญญัติเหนือชาติของสหภาพยุโรปด้วย ด้วยจุดประสงค์นี้ สภาสูงอาจมีผู้แทนจากรัฐบาลของรัฐ ดังเช่นในกรณีสหภาพยุโรปและเยอรมนี หรือมาจากการเลือกตั้งตามสูตรซึ่งให้การมีผู้แทนเท่าเทียมกันแก่รัฐซึ่งมีประชากรน้อยกว่า เช่นในกรณีออสเตรเลียและสหรัฐอเมริกาปัจจุบัน.

104 ความสัมพันธ์: บรรษัทบัญญัติพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชากบฏในประเทศไทยกฎหมายลายลักษณ์อักษรกระทู้ถามการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551การพัฒนาการเมืองการลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์การอภิปรายไม่ไว้วางใจการถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์การขอประชามติโดยบังคับการขอประชามติโดยเลือกการแยกใช้อำนาจการเมืองฝรั่งเศสภาระรับผิดชอบมหาวิทยาลัยมหาสารคามมุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกีมงแต็สกีเยอรสนา โตสิตระกูลระบบรัฐสภาระบบสภาเดี่ยวระบบเวสต์มินสเตอร์รัฐบาลกลางโซมาเลียรัฐบาลกลางเปลี่ยนผ่านรัฐสภารัฐสภากลางโซมาเลียรัฐสภากลางเบลเยียมรัฐสภาฝรั่งเศสรัฐสภาสหรัฐรัฐสภาสหราชอาณาจักรรัฐสภาอังกฤษรัฐสภาไทยรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549รัฐโอคลาโฮมาราชยสภารายชื่อรางวัลเกียรติยศนานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะรายชื่อสภานิติบัญญัติแบ่งตามประเทศรายชื่อธงในประเทศกัมพูชาลัทธิคอมมิวนิสต์แบบองค์คณะนิยมลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939)วอชิงตัน ดี.ซี.วันรัฐธรรมนูญวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557วุฒิสภาวุฒิสภาสหรัฐสภาฐานันดร (ประเทศฝรั่งเศส)สภาผู้แทนรัฐเยอรมนีสภาผู้แทนราษฎร...สภาผู้แทนราษฎรพม่าสภาผู้แทนราษฎรกัมพูชาสภาที่ปฤกษาราชการแผ่นดินสภานิติบัญญัติกาตาลุญญาสภาแห่งชาติลาวสมถวิล สังขะทรัพย์สหรัฐสัญญา ธรรมศักดิ์สาธารณรัฐระบบรัฐสภาหมู่เกาะโซโลมอนหัวหน้ารัฐบาลอภิรัฐมนตรีสภาอาคารรัฐสภาสหรัฐอำนาจบริหารอำนาจอธิปไตยของปวงชนองค์การบริหารส่วนตำบลหนองสามวังผู้คุมเสียงในสภาผู้เผด็จการจอร์จ ดับเบิลยู. บุชธงรัฐอะแลสกาดอกไม้ประจำชาติของสาธารณรัฐจีนความโปร่งใสคำสั่งของฝ่ายบริหารตัวแทนตั้ว ลพานุกรมซังกูเนียงปันลาลาวีกันซีวิลลอว์ (ระบบกฎหมาย)ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขประชาธิปไตยโดยตรงประชาธิปไตยเชิงเนื้อหาประชาธิปไตยเสรีนิยมประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมืองประมุขแห่งรัฐประธานรัฐสภาไทยประเภทของประชาธิปไตยประเทศกัมพูชาประเทศสวีเดนประเทศสิงคโปร์ประเทศอาร์มีเนียประเทศอิตาลีประเทศโมร็อกโกประเทศไอซ์แลนด์ประเทศไทยประเทศเกาหลีเหนือปรีดี พนมยงค์นักการเมืองนิติรัฐแองกลิคันคอมมิวเนียนแคว้นปกครองตนเองของประเทศสเปนแคนทอนเอสตาโด โนโว (โปรตุเกส)เอเชียนเกมส์ 2018เทศบาลในประเทศฝรั่งเศสเครือจักรภพแห่งอังกฤษ ขยายดัชนี (54 มากกว่า) »

บรรษัท

รรษัท (corporation) หรือ บริษัท (เป็นคำที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา) หมายถึงองคภาวะตามกฎหมาย (legal entity) ที่มีสิทธิและความรับผิดแตกต่างกันระหว่างสมาชิก ซึ่งจัดตั้งภายใต้กฎหมายของรัฐ บรรษัทมีหลายรูปแบบต่างกันออกไป ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการประกอบกิจการธุรกิจ บรรษัทในยุคก่อนก่อตั้งขึ้นโดยกฎบัตร (เช่นพระราชบัญญัติหรือรัฐบัญญัติผ่านทางรัฐสภาหรือสภานิติบัญญัติ) ปัจจุบันนี้บรรษัทใหม่สามารถก่อตั้งขึ้นได้โดยการจดทะเบียนตามที่กฎหมายกำหน.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและบรรษัท · ดูเพิ่มเติม »

บัญญัติ

ัญญัติ (บัน-หฺยัด) อาจหมายถึง; นิติศาสตร.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและบัญญัติ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (Communist Party of Kampuchea; គណបក្សកុំមុយនីសកម្ពុជា; CPK) หรือพรรคคอมมิวนิสต์เขมร (Khmer Communist Party), เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ซึ่งต่อมา กลุ่มที่ได้ครองอำนาจรัฐใน..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

กบฏในประเทศไทย

ตามกฎหมายไทย กบฏ เป็นความผิดอาญา ฐานกระทำความผิดต่อความมั่นคงของรัฐ ภายในราชอาณาจักร โดยใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าจะใช้กำลังประทุษร้าย เพื่อล้มล้าง หรือเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ หรือล้มล้างอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร หรืออำนาจตุลาการ หรืออำนาจอธิปไตยทั้งสาม หรือแบ่งแยกราชอาณาจักรหรือยึดอำนาจปกครองในส่วนใดส่วนหนึ่งแห่งราชอาณาจักร เรียกว่า ความผิดฐานเป็นกบฏหรือขบถ และกำหนดโทษสำหรับผู้ก่อการกบฏ ให้ประหารชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต อย่างไรก็ตาม มีผู้ได้รับโทษทัณฑ์ในข้อหากบฏในราชอาณาจักรน้อย มีที่ได้รับพระราชทานอภัยโทษ เช่น กบฏ ร.ศ. 130 รับนิรโทษกรรมจากรัฐบาล หรือหลบหนีไปนอกราชอาณาจักร เช่น กบฏวังหลวง กรณีที่มีผู้รับโทษประหารชีวิตได้แก่ กบฏ 26 มีนาคม 2520 ซึ่งเป็นหนึ่งในชนวนเหตุที่ทำให้ทหารรัฐประหารรัฐบาลธานินทร์ กรัยวิเชียรในเวลาต่อม.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและกบฏในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายลายลักษณ์อักษร

กฎหมายลายลักษณ์อักษร คือ กฎหมายซึ่งมีการจดบันทึกเป็นตัวหนังสือ (ต่างจากกฎหมายที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรหรือกฎหมายจารีตประเพณี) ที่กำหนดโดยสภานิติบัญญัติ (ต่างจากกฎหมายที่เป็นระเบียบข้อบังคับซึ่งฝ่ายบริหารประกาศใช้ หรือคอมมอนลอว์ของฝ่ายตุลาการ) หรือผู้บัญญัติกฎหมาย ในกรณีสมบูรณาญาสิทธิราช บทกฎหมาย (statute) อาจกำเนิดขึ้นจากสภานิติบัญญัติระดับชาติ รัฐ หรือเทศบาลท้องถิ่นก็ได้ กฎหมายลายลักษณ์อักษรอยู่รองกว่ากฎหมายรัฐธรรมนูญของแผ่นดิน.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและกฎหมายลายลักษณ์อักษร · ดูเพิ่มเติม »

กระทู้ถาม

กระทู้ถาม คือคำถามทีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา ถามนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรี เพื่อขอให้ตอบ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานของรัฐบาลในเรื่องใดๆ กระทู้ถามเป็นเครื่องมือหนึ่งที่สมาชิกรัฐสภา (คือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา) ใช้เพื่อตรวจสอบและควบคุมการบริหารงานของรัฐบาล.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและกระทู้ถาม · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551

การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไต..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การพัฒนาการเมือง

การพัฒนาการเมือง (อังกฤษ: Political Development) เป็นคำที่เริ่มใช้กันในวงวิชาการรัฐศาสตร์เมื่อทศวรรษที่ 1960 โดยพัฒนามาจากการเรียนการสอนวิชาการเมืองเปรียบเทียบ (comparative politics) การพัฒนาการเมืองใช้เป็นมาตรฐานทางความเชื่อในทางการเมืองในเรื่องที่ว่า การเมืองในประเทศต่างๆต่างก็สามารถพัฒนาเข้าสู่สภาวะทางการเมืองที่ “ดีกว่า” แบบหนึ่ง การวัดการพัฒนาการทางการเมืองบางทีก็เรียกว่า “การทำการเมืองให้มีความทันสมัย (political modernization) ” การศึกษาวิชาการพัฒนาการเมืองมีมโนทัศน์หลักที่สำคัญคือสถาบันทางการเมือง และวัฒนธรรมทางการเมือง.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและการพัฒนาการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

การลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์

การลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์ (Voting in Switzerland, votation) เป็นกระบวนการที่ประชาชนชาวสวิสตัดสินใจในเรื่องการปกครองและเลือกตั้งเจ้าหน้าที่ต่าง ๆ โดยหน่วยเลือกตั้งจะเปิดตอนเช้าวันเสาร์และวันอาทิตย์ แต่คนโดยมากจะลงคะแนนล่วงหน้าทางไปรษณีย์ (Abstimmungssonntag) การลงคะแนนจะยุติที่เที่ยงวันอาทิตย์ และโดยปกติจะรู้ผลในเย็นวันเดียวกัน ระบอบการปกครองของสวิตเซอร์แลนด์พิเศษกว่าประเทศประชาธิปไตยอื่น ๆ ในปัจจุบัน เพราะมีการดำเนินงานแบบประชาธิปไตยโดยตรงขนานกับประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน จึงมีการเรียกระบอบนี้ว่า ระบอบประชาธิปไตยกึ่งโดยตรง ซึ่งให้อำนาจประชาชนเพื่อค้านกฎหมายที่ผ่านรัฐสภา และเพื่อเสนอการเปลี่ยนรัฐธรรมนูญได้ทุกเมื่อ ในระดับสหพันธรัฐ อาจมีการลงคะแนนเสียงด้วยเหตุดังต่อไปนี้คือ.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและการลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

การอภิปรายไม่ไว้วางใจ

การอภิปรายไม่ไว้วางใจ คือ การอภิปรายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (โดยมากเป็นสมาชิกฝ่ายค้าน) กระทำเมื่อเห็นว่าการทำงานของรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีไม่เป็นที่พอใจ ในกรณีนี้สมาชิกมีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติไม่ไว้วางใจ ถือเป็นวิธีการหนึ่งในการควบคุมและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล วิธีอื่นนอกจากนี้ ได้แก่ การตั้งกระทู้ถาม การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน การถอดถอนจากตำแหน่ง การอภิปรายไม่ไว้วางใจเป็นวิธีที่เห็นผลชัดเจนที่สุด มีผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐบาลมากที่สุด และยังเป็นการคานอำนาจของฝ่ายบริหาร (รัฐบาล) โดยฝ่ายนิติบัญญัติ (รัฐสภา) ที่ชัดเจนและได้ผลดีที่สุดด้วย การอภิปรายไม่ไว้วางใจเป็นไปตามหลักการที่ว่า "ฝ่ายบริหารจะอยู่ได้ก็โดยความไว้วางใจของฝ่ายนิติบัญญัติ" ดังนั้นการอภิปรายไม่ไว้วางใจจะมีขึ้นก็ต่อเมื่อรัฐสภาเห็นว่ารัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีไม่ควรแก่การไว้วางใจให้ปฏิบัติหน้าที่ต่อไป ซึ่งอาจเกิดจากการตัดสินใจผิดพลาด การใช้อำนาจหน้าที่ในทางมิชอบ เป็นต้น.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและการอภิปรายไม่ไว้วางใจ · ดูเพิ่มเติม »

การถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์

การถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์ (majority rule) เป็นกฎเกณฑ์การตัดสินใจซึ่งเลือกทางที่มีคะแนนเสียงข้างมาก คือ มีคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่ง การถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์เป็นกฎเกณฑ์การตัดสินใจทวิภาคที่ใช้มากที่สุดในหน่วยงานวินิจฉัยสั่งการที่มีอิทธิพล รวมทั้งสภานิติบัญญัติของชาติประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน นักวิชาการบางส่วนแนะนำคัดค้านการใช้การถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์อย่างน้อยในบางพฤติการณ์ เพราะป็นการแลกโดยปริยายระหว่างประโยชน์ของการถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์กับคุณค่าอื่นที่สำคัญต่อสังคมประชาธิปไตย ข้อโต้แย้งที่ขึ้นชื่อที่สุด คือ การถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์อาจนำไปสู่ "ระบบเผด็จการโดยเสียงข้างมาก" ฉะนั้น จึงแนะนำให้ใช้คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด (supermajority) และการจำกัดอำนาจรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญเพื่อบรรเทาผลกระทบเหล่านี้ ล่าสุด นักทฤษฎีการออกเสียงลงคะแนนแย้งว่า การถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์เป็นเกณฑ์ที่ดีที่สุดในการคุ้มครองฝ่ายข้างน้อ.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและการถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

การขอประชามติโดยบังคับ

ปสเตอร์สนับสนุนให้สวิตเซอร์แลนด์เข้าร่วมสันนิบาตชาติในปี 2463 สวิตเซอร์แลนด์เข้าร่วมกับสหประชาชาติในปี 2545 การขอประชามติโดยบังคับ หรือ การลงประชามติโดยบังคับ หรือ การลงประชามติแก้ไขรัฐธรรมนูญ หรือ การลงประชามติแก้ไขกฎบัตร (mandatory referendum, obligatorisches Referendum, référendum obligatoire, referendum obligatoric) เป็นกลไกทางประชาธิปไตยโดยตรงในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ที่บังคับให้มีการลงประชามติในเรื่องที่รัฐบาลระดับสหพันธรัฐ ระดับรัฐ หรือระดับเทศบาล ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายนิติบัญญัติหรือฝ่ายบริหาร ต้องการตัดสิน เช่นการเปลี่ยนรัฐธรรมนูญ การเข้าร่วมเป็นภาคีกับหน่วยการปกครองอื่น ๆ ไม่ว่าจะในระดับสหพันธรัฐหรือรัฐ การตัดสินใจเรื่องงบประมาณของฝ่ายนิติบัญญัติหรือฝ่ายบริหารของรัฐบาลระดับรัฐหรือระดับเทศบาล การเปลี่ยนรัฐธรรมมนูญของสหพันธรัฐจำต้องได้เสียงข้างมากจากทั้งประชาชนและจากรัฐ (double majority).

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและการขอประชามติโดยบังคับ · ดูเพิ่มเติม »

การขอประชามติโดยเลือก

ัตรลงคะแนนกระดาษวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 เพื่อการไม่เช็คหนังสือเดินทางสำหรับประเทศบัลแกเรียและโรมาเนีย โดยเป็นส่วนของความตกลงเชงเกน การขอประชามติโดยเลือก หรือ การลงประชามติโดยเลือก (optional referendum, fakultatives Referendum, référendum facultatif, referendum facoltativo, referendum facultativ) เป็นกลไกทางประชาธิปไตยโดยตรงในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ที่ให้ประชาชนสามารถค้านกฎหมายที่ผ่านโดยรัฐสภาของสหพันธรัฐ (Federal Assembly) หรือกฤษฎีกาของทั้งฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารในระดับรัฐหรือเทศบาล ในระดับสหพันธรัฐ จะมีการจัดให้ลงคะแนนเสียงสำหรับกฎหมายทุกฉบับ ที่ได้รวบรวมลายเซ็น 50,000 รายของผู้คัดค้านโดยทำภายใน 100 วันหลังจากประกาศโดยรัฐสภา นี่ต่างจากการขอประชามติโดยบังคับเพราะต้องรวบรวมลายเซ็น อนึ่ง การขอประชามติสำหรับกฎหมายระดับสหพันธรัฐก็ยังสามารถเสนอทำได้โดยรัฐอย่างน้อย 8 รัฐ (cantonal referendum) ซึ่งต่างจากการขอประชามติโดยเลือกและการขอประชามติโดยบังคับในระดับรัฐเอง.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและการขอประชามติโดยเลือก · ดูเพิ่มเติม »

การแยกใช้อำนาจ

การแยกใช้อำนาจ เป็นแบบจำลองวิธีการปกครองรัฐ มีขึ้นครั้งแรกในกรีซโบราณ ภายใต้แบบจำลองนี้ รัฐแบ่งออกเป็นอำนาจต่าง ๆ ซึ่งแต่ละอำนาจมีอำนาจแยกเป็นเอกเทศต่อกัน และมีขอบเขตความรับผิดชอบต่างกัน เพื่อที่อำนาจของอำนาจหนึ่งจะไม่ไปขัดกับอำนาจที่สัมพันธ์กับอีกอำนาจหนึ่ง การแยกใช้อำนาจนี้ปกติแบ่งเป็นอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหารและอำนาจตุลาการ หมวดหมู่:กฎหมายรัฐธรรมนูญ หมวดหมู่:ปรัชญากฎหมาย หมวดหมู่:อภิธานศัพท์การเมือง.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและการแยกใช้อำนาจ · ดูเพิ่มเติม »

การเมืองฝรั่งเศส

การเมืองฝรั่งเศส เป็นการปกครองโดยระบอบสาธารณรัฐ ประชาธิปไตย กึ่งประธานาธิบดี โดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล และระบอบพรรคการเมือง รัฐบาลใช้อำนาจผ่านทางบริหาร รัฐสภาและรัฐบาลใช้อำนาจผ่านทางนิติบัญญัติ ส่วนอำนาจตุลาการเป็นอิสระจากอำนาจบริหารและนิติบัญญัต.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและการเมืองฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ภาระรับผิดชอบ

ระรับผิดชอบ หรือ ภาระความรับผิดศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน สืบค้นคำว่า accountability (accountability) หมายถึง ความรับผิด และรับชอบในผลของการกระทำตามบทบาทหน้าที่ของผู้กระทำ ไม่ว่าผู้นั้นจะดำรงตำแหน่งใดในทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง (Tsai, 2011: 5) อย่างไรก็ตาม คำนี้อาจจะพิจารณาได้เป็นสองความหมายที่ซ้อนกัน ความหมายแรก เป็นความหมายที่ใช้กันทั่วไปในระบอบประชาธิปไตย ที่หมายถึง บรรดาผู้ที่ใช้อำนาจ ไม่ว่าจะเป็นรัฐบาล สมาชิกรัฐสภา หรือสภาท้องถิ่นผู้มาจากการเลือกตั้ง หรือ ข้าราชการและเจ้าหน้าที่รัฐผู้มาจากการแต่งตั้ง จะต้องแสดงให้เห็นได้ว่าตนได้ใช้อำนาจที่ได้รับมอบ รวมทั้งได้ปฏิบัติหน้าที่อย่างถูกต้องเรียบร้อย ความหมายที่สองคือ รูปแบบต่างๆ ในอันที่จะให้เกิดความแน่ใจได้ว่า ค่านิยมของผู้ที่ได้รับมอบอำนาจหรือความรับผิดชอบมีความสอดคล้องต้องกันกับค่านิยมของผู้ที่มอบอำนาจ (พฤทธิสาณ, 2554: 1).

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและภาระรับผิดชอบ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Mahasarakham University, อักษรย่อ: มมส - MSU) ตั้งอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม ก่อกำเนิดจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 และได้รับการยกระดับเป็นมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เมื่อปี พ.ศ. 2537 นับเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งที่ 22 ของประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีวิทยาเขตหลักที่ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม และวิทยาเขตพื้นที่ในเมือง ตำบลตลาด อำเภอเมือง มหาสารคาม เปิดการสอนระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก 177 สาขาวิชา ใน 21 คณะหรือเทียบเท่า และขยายโอก่าสทางการศึกษาโดยจัดโครงการศึกษาที่จังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดอุดรธานี นอกจากนี้ยังมีการจัดการเรียนการสอนขั้นพื้นฐาน คือ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและมหาวิทยาลัยมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี

นม ชอมสกี เป็นผู้มีชื่อเสียงในฐานะปัญญาชน นักปฏิบัติการ (หรือนักกิจกรรม) ทางการเมือง และนักวิจารณ์ เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาและรัฐบาลอื่น ๆ เขาเรียกตัวเองว่า นักสังคมนิยมแบบอิสรนิยม ผู้สนับสนุนสหการนิยมแบบอนาธิปไตย (anarcho-syndicalism) และมองว่า เป็นผู้รอบรู้สำคัญคนหนึ่งในการเมืองฝ่ายซ้ายของสหรัฐ โนม ชอมสกี ในการประท้วงต่อต้านสงครามในเมืองแวนคูเวอร์ พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและมุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี · ดูเพิ่มเติม »

มงแต็สกีเยอ

ร์ล-หลุยส์ เดอ เซอกงดา บารอนแห่งลาแบรดและมงแต็สกีเยอ (Charles-Louis de Secondat, baron de La Brède et de Montesquieu) หรือรู้จักกันในชื่อ มงแต็สกีเยอ (Montesquieu) เป็นนักวิพากษ์สังคมและนักคิดทางการเมืองชาวฝรั่งเศสผู้มีชีวิตอยู่ในยุคเรืองปัญญา มีชื่อเสียงเกี่ยวกับทฤษฎีการแบ่งแยกอำนาจที่พูดถึงในการปกครองสมัยใหม่และใช้ในรัฐธรรมนูญในหลายประเทศ และเป็นผู้ที่ทำให้คำว่าระบบเจ้าขุนมูลนายและจักรวรรดิไบแซนไทน์ใช้กันอย่างแพร่หล.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและมงแต็สกีเยอ · ดูเพิ่มเติม »

รสนา โตสิตระกูล

รสนา โตสิตระกูล นางสาวรสนา โตสิตระกูล (27 กันยายน พ.ศ. 2496 -) เป็นนักรณรงค์ด้านสุขภาพและสิทธิผู้บริโภค มีบทบาทสำคัญในการเปิดโปงขบวนการทุจริต กรณีการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ในกระทรวงสาธารณสุข เมื่อ พ.ศ. 2541 ยับยั้งการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 น..รสนาได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภา กรุงเทพมหานคร โดยได้รับคะแนนเป็นอันดับ 4 (แต่ไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ เพราะเกิดรัฐประหาร 19 กันยา เสียก่อน) ปัจจุบัน (พ.ศ. 2551) ลงรับสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภา กรุงเทพมหานคร หมายเลข 5 โดยได้รับคะแนนเป็นอันดับที่ 1 ซึ่งมีคะแนนนำอันดับที่ 2 นายนิติพงษ์ ห่อนาค นักแต่งเพลงชื่อดังอย่างขาดลอย (น.ส.รสนา โตสิตระกูล ได้คะแนนทั้งหมด 743,397 คะแนน) (นายนิติพงษ์ ห่อนาค ได้คะแนนประมาณ 200,000 คะแนน) ได้รับรองจาก กกต.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและรสนา โตสิตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

ระบบรัฐสภา

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ที่ไม่มีอำนาจในการปกครอง ระบบรัฐสภา เป็นกลไกการปกครอง ที่ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลมีที่มาจากรัฐสภาซึ่งทำหน้าที่นิติบัญญัติ และมีความรับผิดชอบต่อสภา ในระบบรัฐสภา ตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ และตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลมักจะแยกออกจากกัน โดยหัวหน้ารัฐบาลเป็นนายกรัฐมนตรี ในขณะที่ประมุขแห่งรัฐเป็นพระมหากษัตริย์ตามการสืบสันตติวงศ์ หรือประธานาธิบดีจากการเลือกตั้ง ระบบรัฐสภาสมัยใหม่มีต้นกำเนิดในอังกฤษใน ศตวรรษที่17 โดยมีประเทศที่ใช้ระบบสาธารณรัฐระบบรัฐสภาได้แก่ เยอรมนี อิตาลี อินเดีย ออสเตรีย ฮังการี ตุรกี อิรัก อิสราเอล ปากีสถาน สิงคโปร์ ไอร์แลนด์ ไอซ์แลนด์ ฟินแลนด์ กรีซ เซอร์เบีย เช็กเกีย บัลแกเรีย เนปาล บังกลาเทศ เอธิโอเปีย ซูรินาม เป็นต้น ส่วนประเทศที่ใช้ระบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญได้แก่ สหราชอาณาจักร ญี่ปุ่น ไทย กัมพูชา มาเลเซีย สเปน สวีเดน นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม เดนมาร์ก แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ลักเซมเบิร์ก ลิกเตนสไตน์ โมนาโก อันดอร์รา เป็นต้น.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและระบบรัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

ระบบสภาเดี่ยว

ระบบสภาเดี่ยว (unicameralism) เป็นระบบการปกครองที่มีองค์นิติบัญญัติหรือรัฐสภาแห่งเดียว ประเทศที่ใช้ระบบสภาเดียวส่วนใหญ่เป็นประเทศเล็กและเป็นรัฐที่มีความเป็นหนึ่งเดียวกัน จึงไม่เห็นความจำเป็นที่จะต้องมีสภาสูง.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและระบบสภาเดี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

ระบบเวสต์มินสเตอร์

ระราชวังเวสต์มินสเตอร์ ระบบเวสมินสเตอร์ เป็นระบอบการปกครองประชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา ซึ่งยึดตามการเมืองสหราชอาณาจักร คำนี้มาจากพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ อันเป็นที่ประชุมรัฐสภาสหราชอาณาจักร ระบบเวสมินสเตอร์ คือ ชุดวิธีดำเนินการสำหรับการดำเนินสภานิติบัญญัต.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและระบบเวสต์มินสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลกลางโซมาเลีย

รัฐบาลกลางโซมาเลีย (Dowladda Federaalka Soomaaliya, حكومة الصومال الاتحادية) เป็นรัฐบาลโซมาเลียที่นานาชาติรับรอง ก่อตั้งเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและรัฐบาลกลางโซมาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลกลางเปลี่ยนผ่าน

รัฐบาลกลางเปลี่ยนผ่าน (TFG) (Dowladda Federaalka Kumeelgaarka, الحكومة الاتحادية الانتقالية) เป็นรัฐบาลของประเทศโซมาเลียที่นานาชาติรับรอง จนถึงวันที่ 20 สิงหาคม..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและรัฐบาลกลางเปลี่ยนผ่าน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภา

ผู้แทนราษฎรของออสเตรเลีย รัฐสภา เป็นสภานิติบัญญัติชนิดหนึ่ง รัฐสภาจะทำหน้าที่ออกกฎหมาย อภิปราย หารือกันระหว่างสมาชิกรัฐสภา ถกเถียงประเด็นทางการเมืองหรือกิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ โดยรัฐสภาจะมีเฉพาะประเทศที่ใช้ใช้ระบอบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งสหราชอาณาจักรเป็นประเทศแรกในโลกที่มีระบบรัฐสภาและเป็นต้นแบบระบอบประชาธิปไตยในสมัยปัจจุบันด้วย เช่น ฝรั่งเศส สเปน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เป็นต้น.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและรัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภากลางโซมาเลีย

รัฐสภากลางโซมาเลีย (Golaha Shacabka Soomaaliya; often Baarlamaanka Federaalka Soomaaliya; البرلمان الاتحادي في الصومال) เป็นรัฐสภาแห่งชาติของประเทศโซมาเลียที่ก่อตั้งในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและรัฐสภากลางโซมาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภากลางเบลเยียม

รัฐสภากลางเบลเยียม (Belgian Federal Parliament; Parlement fédéral belge; Federaal Parlement van België; Föderales Parlament von Belgien) เป็นสภานิติบัญญัติระดับชาติของเบลเยียม ใช้ระบบสองสภา ประกอบด้วย สภาผู้แทนราษฎร (Chamber of Representatives; la Chambre des Représentants, Kamer van Volksvertegenwoordigers) กับวุฒิสภา (Senate; le Sénat; Senaat).

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและรัฐสภากลางเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาฝรั่งเศส

รัฐสภาฝรั่งเศส (Parlement français) เป็นสถาบันฝ่ายนิติบัญญัติในระบบการปกครองของประเทศฝรั่งเศส โดยยึดระบบสองสภา ซึ่งประกอบไปด้ว.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและรัฐสภาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาสหรัฐ

รัฐสภาสหรัฐ (United States Congress) เป็นสภานิติบัญญัติสูงสุดในระบบการปกครองสหรัฐ ซึ่งเป็นระบบสภาคู่ ที่ประกอบด้วย วุฒิสภา (Senate) และ สภาผู้แทนราษฎร (House of Representatives) สมาชิกของทั้งสองสภาได้รับเลือกจากประชาชนโดยตรง สมาชิก 435 คนของสภาผู้แทนราษฎรเป็นตัวแทนจากเขตการปกครอง (district) และมีหน้าที่สองปี ผู้แทนราษฎรได้รับเลือกตั้งมาจากเขตการปกครองตามจำนวนประชากรที่ระบุไว้ในเขตการเลือกตั้งสหรัฐซึ่งเปลื่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม ฉะนั้นทุกสองปีหนึ่งในสามของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องได้รับเลือกตั้งใหม่ ส่วนสมาชิกวุฒิสภา 100 คนของวุฒิสภารับหน้าที่ครั้งละหกปี แต่ละมลรัฐมีสิทธิในการเลือกสมาชิกวุฒิสภาสองคนไม่ว่าจะเป็นรัฐมีประชากรมากหรือน้อยเท่าใด รัฐธรรมนูญสหรัฐให้อำนาจในการออกกฎหมายแก่รัฐสภาทั้งวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎรมีอำนาจเท่ากันในกระบวนการออกกฎหมาย กฎหมายทุกฉบับที่นำมาปฏิบัติได้ต้องได้รับการอนุมัติจากทั้งสองสภา แต่รัฐธรรมนูญให้อำนาจพิเศษที่เป็นเอกลักษณ์บางอย่างแก่ทั้งสองสภา เช่นวุฒิสภามีอำนาจในการอนุมัติสนธิสัญญา และ การแต่งตั้งตำแหน่งของหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาลที่เสนอโดยประธานาธิบดี แต่กฎหมายเกี่ยวกับการหารายได้เพิ่มเป็นหน้าที่ของสภาผู้แทนราษฎรที่จะเสนอ นอกจากนั้นสภาผู้แทนราษฎรก็ยังมีอำนาจฟ้องขับเจ้าหน้าที่ชั้นสูงออกจากตำแหน่ง (impeachment) ขณะที่วุฒิสภามีอำนาจในการพิจารณาฟ้องดังกล่าว ปัจจุบันเป็นสมัยประชุมที่ 115 เริ่มเมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและรัฐสภาสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาสหราชอาณาจักร

รัฐสภาสหราชอาณาจักร หรือ รัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ (Parliament of the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland หรือ Parliament of the United Kingdom) เป็นสถาบันฝ่ายนิติบัญญัติสูงสุดในสหราชอาณาจักรและดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร โดยมีประมุขเป็นพระมหากษัตริย์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 รัฐสภาสหราชอาณาจักรอังกฤษเป็นระบบสองสภา (Bicameralism) ซึ่งประกอบไปด้วย “สภาสูง” หรือ สภาขุนนาง (House of Lords) และ “สภาล่าง” หรือ สภาสามัญชน (House of Commons) พระมหากษัตริย์เป็นองค์ประกอบที่สามของรัฐสภา สภาทั้งสองสภาประชุมแยกกันในห้องประชุมรัฐสภาภายในพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า “ตึกรัฐสภา” ที่นครเวสต์มินสเตอร์ในกรุงลอนดอน ตามปกติแล้วรัฐมนตรีของรัฐบาลทั้งหมดรวมทั้งนายกรัฐมนตรีเป็นสมาชิกสภาสามัญชน แต่ก็มีข้อยกเว้นในบางกรณีที่เป็นสมาชิกของสภาขุนนาง ที่ประชุมรัฐสภา ณ พระราชวังเวสมินเตอร์ รัฐสภาสหราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งเป็นครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและรัฐสภาสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาอังกฤษ

รัฐสภาอังกฤษและพระมหากษัตริย์ ราว ค.ศ. 1300 รัฐสภาอังกฤษ (Parliament of England) เป็นสถาบันฝ่ายนิติบัญญัติสูงสุดในราชอาณาจักรอังกฤษ รัฐสภาอังกฤษวิวัฒนาการมาจากสภาของต้นยุคกลางซึ่งมีหน้าที่ให้คำปรึกษาต่อพระมหากษัตริย์อังกฤษ การวิวัฒนาการทำให้อำนาจของรัฐสภาเพิ่มมากขึ้นในขณะที่อำนาจของพระมหากษัตริย์ลดน้อยลง เมื่อรัฐสภาอังกฤษและรัฐสภาแห่งสกอตแลนด์ลงนามในพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 ซึ่งรวมราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรสกอตแลนด์เข้าด้วยกัน รัฐสภาอังกฤษและรัฐสภาแห่งสกอตแลนด์ก็ถูกยุบ รัฐสภาใหม่กลายเป็นรัฐสภาแห่งบริเตนใหญ่ และในที่สุดก็เป็นรัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักรซึ่งเป็นรากฐานของระบบรัฐสภาของอังกฤษในปัจจุบัน ซึ่งทำให้ระบบรัฐสภาของสหราชอาณาจักรเป็นระบบรัฐสภาที่เก่าแก่ที่สุดในโลกจนได้รับสมญานามว่า “แม่แห่งรัฐสภา” ซึ่งเป็นระบบประชาธิปไตยที่เป็นรากฐานของมาตรฐานในการก่อตั้งระบบรัฐสภาทั่วโลก.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและรัฐสภาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาไทย

รัฐสภาแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นสภานิติบัญญัติระดับชาติของประเทศไทย เป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอันเป็นส่วนหนึ่งของอำนาจอธิปไตยของปวงชนชาวไทยตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บัญญัติให้รัฐสภาประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นการปกครองโดยใช้ระบบสองสภา โดยทั้งสองสภาจะประชุมร่วมกันหรือแยกกันแล้วแต่ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ โดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา และประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา โดยตำแหน่ง อย่างไรก็ดีตามบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บัญญัติให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติที่ตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ยังคงทำหน้าที่รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาต่อไป และให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติแห่งชาติสิ้นสุดลงในวันก่อนวันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534

รัฐประหาร 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐโอคลาโฮมา

รัฐโอคลาโฮมา (Oklahoma, โอวเคฺลอะโฮ้วเม่อะ) เป็นรัฐหนึ่งใน 50 รัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา มีประชากรประมาณ 3.64 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและรัฐโอคลาโฮมา · ดูเพิ่มเติม »

ราชยสภา

ตราแผ่นดินของอินเดีย ราชยสภา (Rajya Sabha; राज्यसभा Rājyasabhā) เป็นสภาสูงของรัฐสภาอินเดีย ประกอบด้วยสมาชิกราชยสภาจำนวนสองร้อยห้าสิบคน สิบสองคนในจำนวนนี้นเป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านศิลปศาสตร์ อักษรศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมสงเคราะหศาสตร์ ซึ่งได้รับการคัดสรรโดยประธานาธิบดีอินเดียและได้รับสมญาว่า "สมาชิกคัดสรร" ส่วนสมาชิกที่เหลือแห่งราชยสภามาจากการเลือกตั้งโดยสภานิติบัญญัติประจำรัฐและดินแดนต่าง ๆ ของประเทศอินเดีย สมาชิกทุกคนอยู่ในตำแหน่งคราวละหกปี โดยจะมีการเลือกตั้งสมาชิกครึ่งหนึ่งทุก ๆ สองปี ราชยสภาดำเนินสมัยประชุมอย่างไม่ขาดสาย และต่างจาก "โลกสภา" หรือสภาล่างของรัฐสภาอินเดีย ที่โลกสภาสามารถถูกยุบสภาได้ แต่จะไม่มีการยุบราชยสภา อย่างไรก็ดี ประธานาธิบดีอินเดียมีอำนาจที่จะสั่งการให้ระงับสมัยประชุมของราชยสภาและโลกสภาได้ทั้งคู่ ราชยสภาและโลกสภาบริหารอำนาจนิติบัญญัติร่วมกัน โดยมีอำนาจหน้าที่เท่าเทียมกันในการตรากฎหมายและพิจารณาร่างกฎหมาย (ยกเว้นประเด็นที่เกี่ยวกับงบประมาณ เป็นอำนาจหน้าที่โดยตรงของโลกสภามิใช่ราชยสภา) ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านนิติบัญญัติ ปัญหาดังกล่าวนี้จะได้รับการตัดสินโดยที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาอินเดีย แต่โดยที่ราชยสภามีสมาชิกน้อยกว่าโลกสภาถึงสองเท่า จึงนับว่าโลกสภามีอำนาจมากกว่าในการประชุมร่วมกันดังกล่าว อย่างไรก็ดี การประชุมร่วมกันของสภาทั้งสองที่ประกอบขึ้นมาเป็นรัฐสภาอินเดียมีน้อยครั้งมาก ในประวัติศาสตร์ตั้งแต่การก่อตั้งสาธารณรัฐอินเดียจนถึงปัจจุบัน มีการประชุมร่วมเช่นว่านั้นเพียงสามครั้งเท่านั้น รองประธานาธิบดีอินเดียเป็นนายกราชยสภาโดยตำแหน่ง ส่วนอุปนายกราชยสภานั้นเป็นสมาชิกราชยสภาคนหนึ่งที่ได้รับการเลือกตั้งจากสมาชิกด้วยกันเอง และจะทำหน้าที่กำกับการบริหารและการทำงานตามปกติของราชยสภา รวมทั้งทำหน้าที่ประธานการประชุมในวาระเมื่อรองประธานาธิบดี (นายกราชยสภา) ไม่ได้มาปฏิบัติหน้าที่ ราชยสภานี้เปิดประชุมเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและราชยสภา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรางวัลเกียรติยศนานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะ

นี่คือรางวัลเกียรติยศนานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะ นายกสมาคมสร้างคุณค่า คนที่ 3 ปัจจุบัน เป็นประธานกิตติมศักดิ์สมาคมสร้างคุณค่า และเป็นประธานสมาคมสร้างคุณค่าสากล.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและรายชื่อรางวัลเกียรติยศนานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสภานิติบัญญัติแบ่งตามประเทศ

นี่เป็นรายชื่อสภานิติบัญญัติแบ่งตามประเทศ มีทั้งระดับชาติ (national) และเหนือชาติ (supranational) ชื่อสภานิติบัญญัตินั้นผิดแผกกันไปในแต่ละแห่ง ที่นิยม คือ สมัชชาแห่งชาติ (national assembly) และรัฐสภา (parliament หรือ congress).

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและรายชื่อสภานิติบัญญัติแบ่งตามประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศกัมพูชา

ตารางเบื้องล่างต่อไปนี้คือข้อมูลเกี่ยวกับธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ในกัมพูชาอย่างสังเขป.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและรายชื่อธงในประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิคอมมิวนิสต์แบบองค์คณะนิยม

ลัทธิคอมมิวนิสต์แบบองค์คณะนิยม หรือ องค์คณะนิยม (Council communism หรือ Councilism) คือกระแสหนึ่งของแนวคิดสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1920 มีแรงบันดาลใจมาจากการปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918-1919 ลัทธินี้มีลักษณะที่เป็นปฏิปักษ์กับลัทธิทุนนิยมรัฐ (state capitalism) และลัทธิสังคมนิยมรัฐ (state socialism) แต่มุ่งเน้นรูปแบบองค์คณะแรงงาน (workers' council) และประชาธิปไตยแบบองค์คณะนิยม (council democracy) ในฐานะกลไกที่ใช้รื้อถอนรัฐชนชั้น (class state) มีความเคลื่อนไหวหลักในเยอรมนีและเนเธอร์แลนด์ระหว่างคริสต์ทศวรรษที่ 1920 และยังคงปรากฎอยู่จนถึงปัจจุบันภายในขบวนการสังคมนิยมและคอมมิวนิสต์กระแสหลัก หลักการที่เด่นชัดที่สุดของลัทธิคอมมิวนิสต์แบบองค์คณะนิยมคือจุดยืนตรงกันข้ามกับลัทธิพลพรรคแนวหน้านิยม (party vanguardism) และลัทธิศูนย์รวมนิยมแบบประชาธิปไตยตามแนวคิดของเลนิน รวมถึงต่อสู้เรียกร้องบนจุดยืนที่ว่าองค์คณะแรงงานที่เกิดขึ้นตามโรงงานอุตสาหกรรมและปกครองส่วนท้องถิ่นคือรูปแบบตามธรรมชาติขององค์กรและผู้มีอำนาจของชนชั้นแรงงาน นอกจากนี้ยังมีจุดยืนตรงข้ามกับอุดมการณ์ประชาธิปไตยสังคมนิยม โดยปฏิเสธแนวทางปฏิรูปนิยมและรัฐสภานิยม เช่น การประนีประนอมที่แลกผลประโยชน์ต่างตอบแทน (quids pro quo หรือ logrolling) ที่สามารถพบเห็นได้ทั่วไปในแวดวงการเมืองแบบรั.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและลัทธิคอมมิวนิสต์แบบองค์คณะนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939)

นี่คือ ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 1939 ถึง 31 ธันวาคม 1939.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939) · ดูเพิ่มเติม »

วอชิงตัน ดี.ซี.

กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. (Washington, D.C) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตปกครองพิเศษโคลอมเบีย (District of Columbia) มักเรียกทั่วไปว่า กรุงวอชิงตัน (Washington) หรือ ดี.ซี (D.C.) เป็นเมืองหลวงของสหรัฐ ก่อตั้งขึ้นเมื่อภายหลังจากการปฏิวัติอเมริกา โดยชื่อ วอชิงตัน มาจากชื่อของจอร์จ วอชิงตัน ประธานาธิบดีสหรัฐคนแรก และบิดาผู้ก่อตั้งประเทศคนหนึ่ง วอชิงตันเป็นนครหลักนครหนึ่งของเขตมหานครวอชิงตัน (Washington Metropolitan Area) โดยมีประชากรที่อาศัยอยู่ในวอชิงตันจำนวนประมาณ 6,131,977 คน โดยวอชิงตันได้รับฉายาว่าเป็นเมืองหลวงทางการเมืองของโลก เนื่องจากเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลางสหรัฐและสถาบันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศจำนวนมากเช่น ธนาคารโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เป็นต้น กรุงวอชิงตันเป็นนครที่นักท่องเที่ยวเข้าเยี่ยมชมมากที่สุดนครหนึ่งในโลก โดยในแต่ละปีจะมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมชมวอชิงตัน ปีละประมาณ 20 ล้านคน การลงนามรัฐบัญญัติที่ตั้งในสหรัฐ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและวอชิงตัน ดี.ซี. · ดูเพิ่มเติม »

วันรัฐธรรมนูญ

วันรัฐธรรมนูญ (Constitution Day) เป็นวันหยุดราชการเพื่อรำลึกถึงรัฐธรรมนูญของประเทศนั้น ๆ วันรัฐธรรมนูญมักจะถูกจัดให้ตรงกับวันครบรอบการลงลายมือชื่อ การประกาศใช้ หรือการเห็นชอบซึ่งรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและวันรัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557

วิกฤตการณ์การเมืองไท..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภา

วุฒิสภา เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาสูงในระบบสภาคู่ วุฒิสภาดั้งเดิมนั้นคือวุฒิสภาโรมัน.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและวุฒิสภา · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาสหรัฐ

วุฒิสภาสหรัฐ (United States Senate) เป็นสภาสูงของรัฐสภาสหรัฐ โดยเป็นสภานิติบัญญัติแห่งสหรัฐร่วมกับสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐซึ่งเป็นสภาล่าง องค์ประกอบและอำนาจของวุฒิสภาตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐ มาตรา 1 วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกวุฒิสภาซึ่งเป็นผู้แทนจากแต่ละรัฐ โดยแต่ละรัฐมีผู้แทนเท่ากันรัฐละสองคน ไม่ว่ามีประชากรมากน้อยเพียงใด โดยมีวาระดำรงตำแหน่งสลับฟันปลา (staggered term) วาระละ 6 ปี ปัจจุบันในสหภาพมี 50 รัฐ ฉะนั้นจึงมีสมาชิกวุฒิสภา 100 คน ตั้งแต่ปี 1789 ถึง 1913 สมาชิกวุฒิสภามาจากการแต่งตั้งของสภานิติบัญญัติของรัฐที่ตนเป็นผู้แทน หลังการให้สัตยาบันการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญครั้งที่ 17 ในปี 1913 ปัจจุบัน สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งของประชาชน ห้องประชุมวุฒิสภาตั้งอยู่ปีกเหนือของอาคารรัฐสภาสหรัฐในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและวุฒิสภาสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สภาฐานันดร (ประเทศฝรั่งเศส)

นันดร (Etats Généraux; States-General/Estates-General) เป็นสภานิติบัญญัติในระบอบเก่าของราชอาณาจักรฝรั่งเศส ประกอบด้วยสามฐานันดรแห่งราชอาณาจักร (Three Estates of the Realm) คือ นักบวช (those who pray) ชนชั้นขุนนาง (those who fight) และสามัญชน (those who work) แต่ละฐานันดรมีการประชุมแยกกัน แต่เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการเรียกประชุมและยุบสภาฐานันดร กับทั้งสภาฐานันดรไม่มีอำนาจให้ความเห็นชอบพระราชโองการเกี่ยวกับภาษีอากร โดยเฉพาะอย่างยิ่งไม่มีอำนาจนิติบัญญัติเลย เพียงตั้งขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือของพระมหากษัตริย์เท่านั้น สภาฐานันดรจึงไม่มีอำนาจเป็นของตนอย่างแท้จริง เป็นข้อต่างจากรัฐสภาแห่งอังกฤษ สภาฐานันดรแห่งฝรั่งเศสเทียบได้กับสถาบันอื่น ๆ ในยุโรป เช่น สภาฐานันดรแห่งเนเธอร์แลนด์ รัฐสภาแห่งอังกฤษ สภาฐานันดรแห่งสกอตแลนด์ สภาฐานันดรแห่งสเปน สภานิติบัญญัติแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และสภานิติบัญญัติประจำรัฐในประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและสภาฐานันดร (ประเทศฝรั่งเศส) · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนรัฐเยอรมนี

ผู้แทนรัฐ (Bundesrat) เป็นสภานิติบัญญัติระดับชาติของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีซึ่งประกอบด้วยผู้แทนจากสิบหกรัฐThe Bundesrat is referred to here as the second chamber of the German parliament, but this designation is disputed by some.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและสภาผู้แทนรัฐเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎร

ผู้แทนราษฎร เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาล่างในระบบสภาคู.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรพม่า

ผู้แทนราษฎรพม่า (ပြည်သူ့ လွှတ်တော်, Pyithu Hluttaw) เป็นสภาล่างในรัฐสภาแห่งสหภาพ สภานิติบัญญัติระบบสองสภาของประเทศพม่า ซึ่งประกอบด้วยสมาชิก 440 คนในจำนวนนี้ 330 คนได้รับการเลือกตั้งโดยตรงและ 110 คนได้รับการแต่งตั้งจากกองทัพพม่า หลังจากการเลือกตั้งทั่วไป..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและสภาผู้แทนราษฎรพม่า · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรกัมพูชา

ผู้แทนราษฎร (សភាតំណាងរាស្ត្រ สภาตํณางราสฺตฺร; Parliament) ชื่อเต็มว่า สภาผู้แทนราษฎรในพระราชาณาจักรกัมพูชา (សភាតំណាងរាស្ត្រនៃព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា สภาตํณางราสฺตฺรไนพฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นสภานิติบัญญัติระดับชาติของประเทศกัมพูชา ใช้ระบบสองสภา ประกอบด้วยสภาย่อย 2 สภา คือ.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและสภาผู้แทนราษฎรกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

สภาที่ปฤกษาราชการแผ่นดิน

ที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน (Council of State หรือ Supreme Council of the State) เป็นสภาที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2417 ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 12 คน มีหน้าที่ถวายคำปรึกษาและความคิดเห็นต่างๆ ด้านนิติบัญญัติ โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นประธานในที่ประชุม เมื่อข้อราชการใดเป็นที่เห็นชอบของเสียงส่วนใหญ่ในที่ประชุม ก็ให้ออกเป็นกฎหมายบังคับใช้ต่อไป พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตรา พระราชบัญญัติเคาน์ซิลออฟสเตด พุทธศักราช ๒๔๑๗ ระบุที่มาของสมาชิกสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน ว.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและสภาที่ปฤกษาราชการแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติกาตาลุญญา

นิติบัญญัติกาตาลุญญา (Parlament de Catalunya; Parlamento de Cataluña) หรือ สภานิติบัญญัติกาตาลุญญอ (อารัน: Parlament de Catalonha) เป็นสภานิติบัญญัติระบบสภาเดียวของกาตาลุญญา ทำหน้าที่เป็นตัวแทนประชาชนกาตาลุญญาและใช้อำนาจออกกฎหมายต่าง ๆ อนุมัติงบประมาณรายจ่ายของฌานาราลิตัตดากาตาลุญญา และควบคุมหรือผลักดันให้เกิดการกระทำทางการเมืองของฝ่ายบริหาร ปัจจุบันสภานี้ประกอบด้วยสมาชิก 135 คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งทางตรงด้วยสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปทุก 4 ปี การเลือกตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติกาตาลุญญาครั้งล่าสุดจัดขึ้นในวันที่ 27 กันยายน..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและสภานิติบัญญัติกาตาลุญญา · ดูเพิ่มเติม »

สภาแห่งชาติลาว

แห่งชาติลาว (ສະພາແຫ່ງຊາດລາວ; The National Assembly of The Lao PDR) เป็นสถาบันทางการเมืองที่มีความสำคัญของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวปกครองตามระบอบประชาธิปไตยประชาชน (สังคมนิยม - คอมมิวนิสต์) แบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง มีองค์กรแห่งสิทธิอำนาจสูงสุด คือ “พรรคประชาชนปฏิวัติลาว” “สภาแห่งชาติ” เป็น “องค์กรนิติบัญญัติ” และเป็นองค์กรบริหารอำนาจสูงสุด ฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการต่างขึ้นตรง ได้รับแต่งตั้ง และต้องรายงานผลการปฏิบัติงานต่อสภาแห่งชาติ โดยอำนาจสูงสุดในการบริหารงานของประเทศ (อำนาจในการเลือกตั้ง) ยังเป็นของประชาชน ดังนั้นจึงเป็นการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และ เพื่อประชาชน.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและสภาแห่งชาติลาว · ดูเพิ่มเติม »

สมถวิล สังขะทรัพย์

นางสมถวิล สังขะทรัพย์ เป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนสมถวิล สุขุมวิท 67 โรงเรียนดวงถวิล โรงเรียนสมถวิล ราชดำริ โรงเรียนสมถวิล หัวหิน โรงเรียนอนุบาลสมาคมสตรีไทยและแผนกรับเลี้ยงเด็กยากจน โรงเรียนสอนภาษา สมาคมนักเรียนเก่าญี่ปุ่น ในพระบรมราชูปถัมภ์ โรงเรียนศูนย์ฝึกอาชีวเกษตรสงเคราะห์ (จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดสระบุรี).

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและสมถวิล สังขะทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สัญญา ธรรมศักดิ์

ตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปลัดกระทรวงยุติธรรมรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2545 สิริอายุรวมได้ 94 ปี.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและสัญญา ธรรมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐระบบรัฐสภา

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ที่ไม่มีอำนาจในการปกครอง สาธารณรัฐแบบรัฐสภา คือ สาธารณรัฐซึ่งบริหารภายใต้ระบบการปกครองแบบรัฐสภา โดยฝ่ายบริหาร (รัฐบาล) ได้รับความชอบธรรมจากและรับผิดชอบต่อสภานิติบัญญัติ มีสาธารณรัฐแบบรัฐสภาแบบต่าง ๆ ส่วนมากมีการแบ่งแยกชัดเจนระหว่างหัวหน้ารัฐบาลและประมุขแห่งรัฐ โดยหัวหน้ารัฐบาลเป็นผู้ครองอำนาจที่แท้จริง เช่นเดียวกับราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บ้างรวมบทบาทของประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล เช่นเดียวกับระบบประธานาธิบดี แต่ยังต้องอาศัยอำนาจของรั.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและสาธารณรัฐระบบรัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะโซโลมอน

หมู่เกาะโซโลมอน (Solomon Islands) เป็นประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศปาปัวนิวกินี และเป็นส่วนหนึ่งของเครือจักรภพ ประกอบด้วยเกาะต่าง ๆ กว่า 990 เกาะ ซึ่งมีพื้นที่รวมกัน 28,000 ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและหมู่เกาะโซโลมอน · ดูเพิ่มเติม »

หัวหน้ารัฐบาล

หัวหน้ารัฐบาล (head of government) เป็นคำทั่วไป ใช้กับข้าราชการสูงสุดหรือสูงสุดอันดับสองในฝ่ายบริหารของรัฐเอกราช รัฐสหพันธ์ หรืออาณานิคมปกครองตนเองหนึ่ง ผู้ซึ่งมักเป็นประธานคณะรัฐมนตรี คำว่า "หัวหน้ารัฐบาล" มักใช้แยกกับคำว่า "ประมุขแห่งรัฐ" เช่น ในอนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ข้อ 7 และอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมที่กระทำต่อบุคคลที่ได้รับความคุ้มครองระหว่างประเทศ รวมทั้งตัวแทนทางทูต ข้อ 1 และรายการพิธีสารสหประชาชาติ อำนาจของหัวหน้ารัฐบาล และความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งนั้นกับสถาบันอื่นของรัฐ (เช่น ประมุขแห่งรัฐและสภานิติบัญญัติ) แตกต่างกันได้มากตามแต่ละรัฐ ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับตัวแบบรัฐธรรมนูญเฉพาะที่เลือก.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและหัวหน้ารัฐบาล · ดูเพิ่มเติม »

อภิรัฐมนตรีสภา

อภิรัฐมนตรีสภา (Supreme Council of State of Siam) เป็นสภาที่ปรึกษาและนิติบัญญัติที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งขึ้น พระองค์มีพระราชประสงค์ที่จะตั้งสภาคล้ายกับคณะรัฐมนตรี ที่ซึ่งเจ้าหน้าที่ที่สำคัญที่สุดของรัฐจะประชุมเพื่อตัดสินใจในการงานของรัฐ สภาได้รับการก่อตั้งเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและอภิรัฐมนตรีสภา · ดูเพิ่มเติม »

อาคารรัฐสภาสหรัฐ

อาคารรัฐสภาสหรัฐอเมริกา มุมมองจากฝั่งตะวันออก ในปี ค.ศ.2013 อาคารรัฐสภาสหรัฐอเมริกา เวลาค่ำ ในปี ค.ศ.2013 อาคารรัฐสภาสหรัฐอเมริกา หรือทับศัพท์ว่า ยูเอสแคปพิตอล (United States Capitol; U.S. Capitol) เป็นอาคารรัฐสภาแห่งสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา เป็นสถานที่ประชุมของสถาบันฝ่ายนิติบัญญัติสูงสุดในระบบการปกครองของสหรัฐอเมริกา และถือเป็นสัญลักษณ์ของกรุงวอชิงตัน ดีซี ออกแบบโดย วิลเลียม ทอร์นตัน เริ่มก่อสร้างเมื่อ 18 กันยายน ค.ศ. 1793 สร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1800 ใช้เวลาสร้าง 6 ปี ตัวอาคารมีลักษณะก่อด้วยหินอ่อนสีขาว เป็นอาคาร 5 ชั้น มีโดมสูง 268 ฟุต ยาว 750 ฟุต กว้าง 375 ฟุต ภายในตกแต่งด้วยหินอ่อนและแกะสลักลวดลายเสาแบบกรีก มีภาพสีน้ำมันที่เป็นสถาปัตยกรรมที่สวยงาม อาคารรัฐสภาสหรัฐอเมริกาเป็นต้นแบบในการก่อสร้างอาคารของรัฐบาลอื่น ๆ เช่น ทำเนียบขาว สำนักงานราชการ ศาลตุลาการ ฯลฯ โดยมีลักษณะเป็นหินอ่อนสีขาวสไตล์นีโอคลาสสิค ทางฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตกมีลักษณะที่แตกต่างกันไปตามชื่อเรียก แต่ในส่วนของฝั่งตะวันออกจะใช้ในการรับรองผู้เยี่ยมเยียนและบุคคลสำคัญระดับประเทศเท่านั้น ในวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2544 อาคารรัฐสภา เกือบจะถูกทำลายในเหตุวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 โดยผู้โดยสารของเครื่องบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 93ได้ต่อสู้กับผู้ก่อการร้ายทำให้ไม่สามารถทำตามที่ผู้ก่อการร้ายวางแผนเอาไว้ได้จนเครื่องบินไปตกที่รัฐเพนซิลเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา อาคารรัฐสภาสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ทางตะวันออกของอนุสาวรีย์วอชิงตัน และถือเป็นอาคารรัฐสภาที่มีความสวยงามเป็นอันดับ 1 ของโลก ในปี ค.ศ. 2014 มีการปรับปรุงในส่วนของโดม ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงโดยเราสามารถสังเกตเห็นนั่งร้านภายนอก สำหรับโครงการฟื้นฟู กำหนดแล้วเสร็จในช่วงต้นปี ค.ศ. 2017 หมวดหมู่:สถานที่ท่องเที่ยวในสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในวอชิงตัน ดี.ซี.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและอาคารรัฐสภาสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

อำนาจบริหาร

อำนาจบริหาร (Executive) เป็นการปกครองส่วนที่มีอำนาจและความรับผิดชอบเฉพาะการบริหารประเทศประจำวัน ระบบการแยกใช้อำนาจออกแบบมาเพื่อกระจายอำนาจในบรรดาหลายฝ่าย เป็นความพยายามที่จะรักษาเสรีภาพปัจเจกบุคคลเพื่อเป็นการสนองตอบผู้นำทรราชตลอดประวัติศาสตร์ บทบาทของฝ่ายบริหาร คือ บังคับใช้กฎหมายตามที่สภานิติบัญญัติบัญญัติขึ้นและระบบตุลาการตีความ ฝ่ายบริหารสามารถเป็นบ่อเกิดของกฎหมายบางประเภทได้ เช่น กฤษฎีกาหรือคำสั่งของฝ่ายบริหาร ระบบข้าราชการประจำบริหารมักเป็นที่มาของระเบี.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและอำนาจบริหาร · ดูเพิ่มเติม »

อำนาจอธิปไตยของปวงชน

อำนาจอธิปไตยของปวงชน (Sovereignty of the People or Popular Sovereignty) หมายถึงแนวคิดที่ว่าแหล่งที่มาของอำนาจสูงสุดของรัฐ หรือ อำนาจอธิปไตยมีที่มาจากพลเมืองทุกๆคนภายในรัฐ จึงทำให้บางครั้งแนวคิดนี้ถูกเรียกว่าอธิปไตยของมหาชน (popular sovereignty) ซึ่งก็มีความหมายในลักษณะเดียวกัน เพียงแต่เน้นให้เห็นถึงรากฐานของอำนาจอธิปไตยที่มีความโยงใยกับประชาชนจำนวนมากในสังคมในระบอบประชาธิปไตย หรือ ก็คือแนวคิดที่ว่า “อำนาจเป็นของปวงประชามหาชน” (power belongs to the people) (Kurian, 2011: 1580-1581).

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและอำนาจอธิปไตยของปวงชน · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบลหนองสามวัง

องค์การบริหารส่วนตำบลหนองสามวัง ตั้งอยู่ในเขตอำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี เดิมอดีตจังหวัดธัญบุรี ตำบลที่ใหญ่ที่สุดในอำเภอหนองเสือ.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและองค์การบริหารส่วนตำบลหนองสามวัง · ดูเพิ่มเติม »

ผู้คุมเสียงในสภา

ผู้คุมเสียงในสภาหรือวิป (whip) เป็นพนักงานในพรรคการเมือง ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อรับรองวินัยพรรคในสภานิติบัญญัติ ผู้คุมเสียงในสภาเป็น "ผู้ทำงานสกปรก" (enforcer) ของพรรคซึ่งตรงแบบเสนอสิ่งจูงใจและขู่ลงโทษสมาชิกพรรคเพื่อรับรองว่าเขาเหล่านั้นออกเสียงตามนโยบายของพรรคอย่างเป็นทางการ บทบาทของผู้คุมเสียงในสภายังเพื่อรับรองว่าผู้แทนที่ได้รับเลือกของพรรคเข้าประชุมเมื่อมีการออกเสียงที่สำคัญ หมวดหมู่:อภิธานศัพท์การเมือง.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและผู้คุมเสียงในสภา · ดูเพิ่มเติม »

ผู้เผด็จการ

ผู้เผด็จการ (dictator) เป็นผู้ปกครอง (คือ สมบูรณาญาสิทธิราชย์หรืออัตตาธิปไตย) ที่มีอำนาจเบ็ดเสร็จแต่เพียงผู้เดียว (ซึ่งอาจรวมถึงการควบคุมทางทหารหรือสินบน แต่ไม่จำเป็นเสมอไป) แต่ไม่ถูกจำกัดอยู่เฉพาะในวงศาคณาญาติ อย่างสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เมื่อรัฐอื่นเรียกประมุขแห่งรัฐใดรัฐหนึ่งว่า ผู้เผด็จการ รัฐนั้นจะถูกเรียกว่า เผด็จการ คำนี้กำเนิดขึ้นเป็นตำแหน่งของฝ่ายปกครองในโรมโบราณที่ถูกแต่งตั้งโดยวุฒิสภา เพื่อปกครองสาธารณรัฐในยามฉุกเฉิน (ดูเพิ่มที่ ผู้เผด็จการโรมัน) โดยทั่วไป การใช้คำว่า "ผู้เผด็จการ" สมัยใหม่มักใช้อธิบายผู้นำที่ถือ และ/หรือ ละเมิดอำนาจจากบุคคลเกินธรรมดา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อำนาจที่จะออกกฎหมายโดยไม่มีการจำกัดจากสภานิติบัญญัติ เผด็จการมักเข้าลักษณะดังต่อไปนี้ การเลื่อนการเลือกตั้งและยกเลิกเสรีภาพพลเมือง การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน การปกครองโดยกฤษฎีกา การปราบปรามคู่แข่งทางการเมืองโดยไม่อาศัยกระบวนการนิติธรรม รวมทั้งรัฐพรรคการเมืองเดียวและลัทธิบูชาบุคคล ผู้นำทั้งหลายที่เถลิงอำนาจในหลากหลายระบอบ เช่น เผด็จการทหาร รัฐพรรคการเมืองเดียว และรัฐบาลพลเรือนที่อยู่ภายใต้การปกครองส่วนตัว ถูกเรียกว่าเป็น ผู้เผด็จการ ทั้งนี้ พวกเขาอาจมีมุมมองทางการเมืองเป็นฝ่ายซ้ายหรือฝ่ายขวา หรืออาจเป็นกลางทางการเมืองก็ได้.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและผู้เผด็จการ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ ดับเบิลยู. บุช

รืออากาศโท จอร์จ วอล์กเกอร์ บุช (George Walker Bush) เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) เป็นประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 43 บุชสังกัดพรรครีพับลิกัน และเกิดในตระกูลบุชซึ่งเป็นตระกูลนักการเมืองตระกูลใหญ่ของสหรัฐอเมริกา โดยพ่อของเขาคือ จอร์จ บุช ประธานาธิบดีคนที่ 41 และน้องชายเขา เจบ บุช เป็นอดีตผู้ว่าการมลรัฐฟลอริดา ก่อนเริ่มเล่นการเมือง จอร์จ ดับเบิลยู บุชเป็นนักธุรกิจบ่อน้ำมัน และเป็นเจ้าของทีมเบสบอล เทกซัส เรนเจอร์ (Texas Rangers) เขาเริ่มเล่นการเมืองระดับท้องถิ่นโดยเป็นผู้ว่าการรัฐเทกซัสคนที่ 46 ชนะการเสนอชื่อลงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีของพรรครีพับลิกัน และชนะการเลือกตั้งต่อรองประธานาธิบดี อัล กอร์ใน พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) และได้รับการเลือกตั้งสมัยที่สองเมื่อ พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) โดยเอาชนะวุฒิสมาชิก จอห์น เคร์รี ของ พรรคเดโมแครต.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและจอร์จ ดับเบิลยู. บุช · ดูเพิ่มเติม »

ธงรัฐอะแลสกา

งรัฐอะแลสกา เป็นธงพื้นหลังสีน้ำเงินเข้ม ประกอบด้วยดาวสีทอง 8 ดวง เรียงตัวกันตามกลุ่มดาวหมีใหญ่ โดยดาวเหนือ (ดวงที่อยู่มุมขวาบน) มีขนาดใหญ่กว่าดาวอีก 7 ดวงที่เหลือ.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและธงรัฐอะแลสกา · ดูเพิ่มเติม »

ดอกไม้ประจำชาติของสาธารณรัฐจีน

อกบ๊วย The Chinese Taipei Olympic flag uses a plum blossom design. ดอกไม้ประจำชาติของสาธารณรัฐจีน คือดอกพลัม หรือดอกบ๊วย (plum blossom) ได้รับการกำหนดให้เป็นดอกไม้ประจำชาติโดยสภาบริหาร (Executive Yuan) แห่งสาธารณรัฐจีน เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ปี..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและดอกไม้ประจำชาติของสาธารณรัฐจีน · ดูเพิ่มเติม »

ความโปร่งใส

วามโปร่งใส (ทางการเมือง) (Political Transparency) หมายถึง ความสามารถของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยที่จะเข้าถึง และอภิปรายเกี่ยวกับข้อเท็จจริง เอกสาร และข้อมูลเกี่ยวกับการตัดสินใจดำเนินนโยบายสาธารณะ การใช้อำนาจบริหารประเทศของรัฐบาลและทางราชการ ตลอดจนการแต่งตั้งบุคคลเข้าสู่ตำแหน่งทางการเมือง และในระบบราชการ โดยที่มาของคำว่าความโปร่งใสนี้มาจากความหมายในทางวิทยาศาสตร์กายภาพที่นำไปใช้อธิบายคุณลักษณะของวัตถุที่มีคุณสมบัติ “โปร่งใส” คือ วัตถุที่แสงสว่างสามารถลอดผ่านผิวของวัตถุทำให้สามารถมองทะลุพื้นผิวของวัตถุได้นั่นเอง แต่อย่างไรก็ตาม ความหมายในเชิงการเมืองยังมีความหมายที่ลึกกว่าแค่เพียงการมองเห็นการทำงานของรัฐบาล และราชการ แต่ยังรวมถึงการที่ประชาชนสามารถเข้าใจ มีส่วนร่วม และควบคุมตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลได้อีกด้วย (Kurian, 2011: 1686).

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและความโปร่งใส · ดูเพิ่มเติม »

คำสั่งของฝ่ายบริหาร

ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาตราคำสั่งของฝ่ายบริหาร (executive order) เพื่อช่วยเจ้าพนักงานและหน่วยงานของฝ่ายบริหารจัดการปฏิบัติการภายในรัฐบาลกลางเอง คำสั่งของฝ่ายบริหารมีผลทางกฎหมายสมบูรณ์เมื่อได้รับอนุญาตจากฝ่ายนิติบัญญัติซึ่งรัฐธรรมนูญมอบอำนาจโดยตรงแก่ฝ่ายบริหาร หรือทำตามที่รัฐบัญญัติซึ่งมอบอำนาจดุลยพินิจบางส่วนแก่ประธานาธิบดีอย่างชัดเจน (กฎหมายที่ออกตามอำนาจที่ได้รับมอบหมาย)John Contrubis, Executive Orders and Proclamations, CRS Report for Congress #95-722A, March 9, 1999, Pp.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและคำสั่งของฝ่ายบริหาร · ดูเพิ่มเติม »

ตัวแทน

ตัวแทน (agency) เป็นคำที่มีความหมายหลายนัย ขึ้นอยู่กับบริบทของการใช้ โดยในที่นี้จะแยกการพิจารณาเป็น 3 บริบทคือ การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ซึ่งคำว่าตัวแทนในทั้ง 3 บริบท มีความหมายร่วมกัน คือ การกระทำกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งที่ตัวเราเองไม่สามารถกระทำการนั้นเองได้ จึงจำเป็นต้องมีการเลือกตัวแทนขึ้นมา และมอบอำนาจให้กระทำกิจกรรมดังกล่าวแทนตน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการบริหาร การร่างกฎหมาย การทำสัญญาทางธุรกิจ การจ้างงาน หรือการเป็นตัวแทนของสาธารณะ เป็นต้น ในบริบททางการเมือง การเลือกตัวแทนและการมอบอำนาจนั้น เป็นปรากฏการณ์ร่วมกันของการเมืองในระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน ที่ตั้งอยู่บนปรัชญาการเมืองว่าประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย แต่เมื่อประชาชนไม่สามารถมีส่วนร่วมทางการเมืองได้โดยตรง ด้วยข้อจำกัดของเวลา ความรู้ ทักษะและอื่น ๆ ประชาชนจึงพร้อมใจกันเลือกผู้แทน (representatives) และ “มอบหมายอำนาจ” ให้ผู้แทนเหล่านั้นตัดสินใจเชิงนโยบายและบริหารประเทศแทนตน ในความสัมพันธ์นี้ ประชาชนจึงเป็นเจ้าของอำนาจ (principal) ในขณะที่สมาชิกรัฐสภาและรัฐบาล เป็นตัวแทนที่ได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่แทน (agent) (Kiewiet and McCubbins, 1991) ในทางทฤษฎี เบิร์ช (Birch, 2007: 134-140) ได้แบ่งตัวแทนออกเป็นประเภทต่าง ๆ บนฐานคิดที่ว่าประชาชนมีเหตุผลในการรักษาผลประโยชน์ของตัวเอง จึงได้เลือกผู้แทนที่จะสามารถรักษาผลประโยชน์ของตนได้มากที่สุด ในขณะเดียวกันผู้แทนก็มีผลประโยชน์ของตัวเองเช่นกัน เพื่อให้ได้มาซึ่งตำแหน่งทางการเมืองจึงต้องตอบสนองผลประโยชน์ของตัวเองและผลประโยชน์ของประชาชนที่เลือกตนเข้าสู่ตำแหน่งด้วย ฉะนั้น ในทางการเมือง ตัวแทนจึงเป็นเรื่องของผลประโยชน์ต่างตอบแทน (reciprocity) ระหว่างตัวแทนกับประชาชน ในการพิจารณาการเป็นตัวแทนในเชิงโครงสร้าง มีจุดสนใจอยู่ 3 ส่วนคือประชาชนที่เป็นผู้เลือกผู้แทน (people ส่วนที่เป็น voter) ในฐานะที่เป็นผู้ตัดสินใจเลือกผู้แทนทางการเมือง (political representatives) แต่ผู้แทนดังกล่าวต้องแสดงความเป็นตัวแทนต่อประชาชนทั้งหมด (people ที่เป็นประชาชนโดยรวม the whole) ไม่เพียงแต่เฉพาะผู้เลือกตั้งที่เลือกตนมาเท่านั้น ความสัมพันธ์ในการเป็นตัวแทนจึงเชื่อมโยงกับบริบทและโครงสร้างมิติต่าง ๆ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ (Vieira and Runciman, 2008: 140-147) ในทางเศรษฐกิจ การศึกษาเรื่องตัวแทนเป็นการวิเคราะห์ภายใต้กรอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวการและตัวแทน (principal-agent framework) จะอธิบายกิจกรรมของการแทนที่เป็นความสัมพันธ์ระหว่างตัวการ (principal) และตัวแทน (agent) ที่สัมพันธ์กันผ่านสัญญาตัวแทน โดยทั่วไปตัวการต้องการตัวแทนที่สามารถทำงานให้แก่ตนได้อย่างเต็มที่สมบูรณ์ ในขณะที่ตัวแทนก็จะพยายามนำเสนอข้อดีของตัวเองและปกปิดข้อบกพร่องบางประการ เพื่อให้ได้รับเลือกจากตัวการและได้งานทำ ซึ่งทำให้เห็นว่าทั้งตัวการและตัวแทนต่างมีผลประโยชน์เป็นของตัวเองและพยายามให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์จากความสัมพันธ์ดังกล่าว ในทางสังคม ตัวแทนหมายถึงผู้ทำหน้าที่ในการขัดเกลาทางสังคม (agent of socialization) ในการสร้างความรู้ ความสามารถ ทักษะ ทัศนคติ อุดมการณ์ ฯลฯ ไปในทางที่สังคมต้องการและสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมได้ ตัวแทนดังกล่าว เช่น ครอบครัว กลุ่มเพื่อน และโรงเรียน เป็นต้น นอกจากนี้ ตัวแทนในทางสังคมอาจหมายถึงกลุ่ม NGOs ต่าง ๆ ที่ทำงานในพื้นที่ประชาสังคม โดยกลุ่มองค์กรพัฒนาเอกชนจะแสดงตนว่าเป็นตัวแทนของผลประโยชน์สาธารณะ และคอยทำงานปกป้องผลประโยชน์ดังกล่าว.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและตัวแทน · ดูเพิ่มเติม »

ตั้ว ลพานุกรม

รองอำมาตย์เอก ตั้ว ลพานุกรม (21 ตุลาคม พ.ศ. 2441- 27 สิงหาคม พ.ศ. 2484)น้าชาด สำนักพิมพ์ข่าวสด ฉบับวันที่ 5 ตุลาคม..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและตั้ว ลพานุกรม · ดูเพิ่มเติม »

ซังกูเนียงปันลาลาวีกัน

ซังกูเนียงปันลาลาวีกัน (Sangguniang Panlalawigan; Provincial Council) หรือ โปรวินเชียลบอร์ด เป็นคำภาษาฟิลิปีโนที่ใช้เรียกแทนสภานิติบัญญัติประจำจังหวัดของประเทศฟิลิปปินส์ อำนาจหน้าที่ของสภานิติบัญญัตินี้ ถูกกำหนดโดย ประมวลรัฐบาลท้องถิ่น ตั้งแต..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและซังกูเนียงปันลาลาวีกัน · ดูเพิ่มเติม »

ซีวิลลอว์ (ระบบกฎหมาย)

ระบบกฎหมายทั่วโลก ซีวิลลอว์ (civil law) เป็นระบบกฎหมายซึ่งได้รับอิทธิพลจากกฎหมายโรมัน ลักษณะพื้นฐานของซีวิลลอว์คือ เป็นกฎหมายที่บัญญัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เป็นระบบประมวล และมิได้ตัดสินตามแนวคำพิพากษาของศาล ระบบกฎหมายดังกล่าวจึงได้ยึดถือฝ่ายนิติบัญญัติเป็นบ่อเกิดหลักของกฎหมาย และระบบศาลมักจะใช้วิธีพิจารณาโดยระบบไต่สวน และศาลจะไม่ผูกพันตามคำพิพากษาในคดีก่อนๆ ในเชิงความคิด ซีวิลลอว์เป็นกลุ่มของแนวคิดและระบบกฎหมายซึ่งได้รับมาจากประมวลกฎหมายจัสติเนียน รวมไปถึงกฎหมายของชนเผ่าเยอรมัน สงฆ์ ระบบศักดินา และจารีตประเพณีภายในท้องถิ่นเอง รวมไปถึงความคิดเช่น กฎหมายธรรมชาติ แนวคิดในการจัดทำประมวลกฎหมาย และกลุ่มปฏิฐานนิยม (กลุ่มที่ยึดถือกฎหมายที่บัญญัติไว้เป็นหลัก) ซีวิลลอว์ดำเนินจากนัยนามธรรม วางระเบียบหลักการทั่วไป และแบ่งแยกกฎระเบียบสารบัญญัติออกจากระเบียบพิจารณาความ ในระบบนี้จะให้ความสำคัญกับกฎหมายลายลักษณ์อักษรเป็นอันดับแรก เมื่อมีข้อเท็จจริงปรากฏขึ้น จะพิจารณาก่อนว่ามีกฎหมายลายลักษณ์อักษรบัญญัติไว้หรือไม่เกี่ยวกับข้อเท็จจริงดังกล่าว ถ้ามีก็จะนำกฎหมายลายที่บัญญัติไว้นั้นนำมาปรับใช้กับข้อเท็จจริง หากไม่มีกฎหมายให้พิจารณาจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่นนั้นๆ จารีตประเพณีก็คือ ประเพณีที่ประพฤติและปฏิบัติกันมานมนาน และไม่ขัดต่อศีลธรรม ถ้าไม่ปฏิบัติตามก็ถือว่าผิด และถ้าไม่มีจารีตประเพณีที่เกี่ยวข้อง กฎหมายจะอนุโลมให้ใช้บทบัญญัติที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งก่อน จนในที่สุดหากยังไม่มีบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งอีก ก็จะให้นำหลักกฎหมายทั่วไปมาปรับใช้ ดังนั้นในระบบนี้จึงไม่ยึดหลักคำพิพากษาเดิม จะต้องดูตัวบทก่อนแล้วถึงจะตัดสินคดีได้.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและซีวิลลอว์ (ระบบกฎหมาย) · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (Office of the Council of State of Thailand.) เป็นชื่อเรียกระบอบการปกครองในประเทศไทย ที่รวมเอาทั้งรูปแบบการปกครอง (form of government) ประเภทประชาธิปไตยโดยมีรัฐสภา (parliamentary democracy) กับรูปแบบรัฐ (form of state) ประเภทการปกครองราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ (constitutional monarchy) ไว้ในคำเดียวกัน สำหรับที่มานั้น วลีที่ว่า "ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข" เพิ่งจะมีขึ้นในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไท..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยโดยตรง

การชุมนุมตามกระบวนการประชาธิปไตยโดยตรงที่เรียกว่า Landsgemeinde ในแคนทอนกลารุสปี พ.ศ. 2549 ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ประชาธิปไตยโดยตรง (direct democracy) หรือ ประชาธิปไตยบริสุทธิ์ (pure democracy.) เป็นการปกครองแบบประชาธิปไตย ที่ประชาชนตัดสินการริเริ่มออกกฎหมาย/นโยบายต่าง ๆ โดยตรง ไม่ว่าจะโดยออกเสียงลงคะแนนหรือลงประชามติเป็นต้น ซึ่งต่างจากรัฐประชาธิปไตยปัจจุบันโดยมากอันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน ที่ประชาชนออกเสียงเลือกผู้แทนเพื่อทำหน้าที่ริเริ่มแล้วออกเสียงตัดสินนโยบายอีกทอดหนึ่ง ในระบอบนี้ ประชาชนอาจมีอำนาจการตัดสินใจทางฝ่ายบริหาร ริเริ่มแล้วตัดสินการออกกฎหมายทางฝ่ายนิติบัญญัติ เลือกตั้งและถอดถอนเจ้าหน้าที่ และดำเนินการทางฝ่ายตุลาการ ประชาธิปไตยโดยตรงมีรูปแบบหลัก ๆ สองอย่างคือประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมและประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและประชาธิปไตยโดยตรง · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยเชิงเนื้อหา

ประชาธิปไตยเชิงเนื้อหา (Substantive Democracy) เป็นรูปแบบหนึ่งของประชาธิปไตยที่เน้นเรื่องของผลลัพธ์ (outcome) ของกระบวนการและกลไกต่างๆ ในระบอบประชาธิปไตย โดยเกณฑ์หรือมาตรวัดความเป็นประชาธิปไตยเชิงเนื้อหามักประกอบด้ว.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและประชาธิปไตยเชิงเนื้อหา · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยเสรีนิยม

รัฐสภาของประเทศฟินแลนด์ (Eduskunta) - มีประเทศและอาณาเขตหลายแห่งที่เรียกได้ว่า มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปเป็นแห่งแรก รัฐ Grand Duchy of Finland (ก่อนจะเป็นประเทศฟินแลนด์) ได้มีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2449 ประชาธิปไตยเสรีนิยม หรือ ประชาธิปไตยแบบเสรีนิยม (Liberal democracy) หรือบางครั้งเรียกว่า ประชาธิปไตยแบบตะวันตก เป็นทั้งคตินิยมทางการเมืองและระบอบการปกครองรูปแบบหนึ่ง ที่การปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนจะดำเนินการใต้หลักเสรีนิยม คือ การพิทักษ์สิทธิของปัจเจกบุคคล ซึ่งโดยทั่วไปจะระบุไว้ในกฎหมาย ระบอบมีลักษณะเฉพาะ คือ.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและประชาธิปไตยเสรีนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง

ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง (Déclaration des droits de l'homme et du citoyen) เป็นเอกสารสำคัญซึ่งเกิดขึ้นในสมัยปฏิวัติฝรั่งเศส กำหนดให้สิทธิของปัจเจกชนและสิทธิมวลชลเป็นสิทธิสากล ประกาศฉบับนี้ได้รับอิทธิพลจากทฤษฎีสิทธิธรรมชาติ ซึ่งหมายความว่า สิทธิดังกล่าวมีอยู่ไม่ว่าเมื่อใดและที่ใด เนื่องจากเป็นสิทธิที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานธรรมชาติของมนุษย์ สภาร่างรัฐธรรมนูญ (assemblée nationale constituante) รับรองร่างสุดท้ายของประกาศนี้เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ประมุขแห่งรัฐ

ประมุขแห่งรัฐ (head of state) เป็นคำที่ใช้ในกฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายระหว่างประเทศ รัฐศาสตร์และพิธีการทูตเมื่อหมายถึงข้าราชการ (official) ที่ดำรงตำแหน่งสูงสุดในรัฐเอกราชหนึ่ง ๆ และมีอำนาจเด็ดขาดหรือจำกัดที่จะปฏิบัติเป็นผู้แทนสาธารณะสูงสุด (chief public representative) ของรัฐ ประมุขแห่งรัฐในประเทศส่วนใหญ่เป็นบุคคลธรรมดาที่ดำรงตำแหน่ง หากในบางประเทศ คณะบุคคลอยู่ในตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ เช่น สภาสหพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ ประธานาธิบดีบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และผู้ครองนครร่วม (Captains Regent) ซานมารีโน คำว่า "ประมุขแห่งรัฐ" มักใช้เพื่อแยกความแตกต่างจากคำว่า "หัวหน้ารัฐบาล" ยกตัวอย่าง ในอนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ข้อ 7 และอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมที่กระทำต่อบุคคลที่ได้รับความคุ้มครองระหว่างประเทศ รวมทั้งตัวแทนทางทูต ข้อ 1 เช่น ระบบรัฐสภาอย่างสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี พระมหากษัตริย์และประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นประมุขแห่งรัฐในสองประเทศนี้ตามลำดับ ขณะที่นายกรัฐมนตรีได้รับการยอมรับเป็นหัวหน้ารัฐบาล อย่างไรก็ดี ในสาธารณรัฐที่มีระบบประธานาธิบดี เช่น สหรัฐอเมริกาและสหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล ประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล ซึ่งบุคคลที่เป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลยังอาจเกิดได้ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชและบางครั้งเช่นเดียวกับระบอบเผด็จการอื่น ๆ บทบาทของประมุขแห่งรัฐโดยทั่วไป รวมทั้งการใช้อำนาจทางการเมือง และหน้าที่ ถูกกำหนดในรัฐธรรมนูญและกฎหมายของประเทศนั้น ๆ อนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูตปฏิบัติภายใต้ข้อสันนิษฐานว่า หัวหน้าคณะทูต (คือ เอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต) ของประเทศผู้ส่งถูกถือว่าเป็นของประมุขแห่งรัฐรัฐผู้รับ มักคิดกันว่าประมุขแห่งรัฐเป็น "ผู้นำ" อย่างเป็นทางการของรัฐชาติหนึ่ง ๆ ปัจจุบัน หลายประเทศคาดหวังให้ประมุขแห่งรัฐของตนรวมค่านิยมของชาติในแบบนิยมที่คล้ายกัน.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและประมุขแห่งรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประธานรัฐสภาไทย

ประธานรัฐสภาไทย เป็นตำแหน่งประมุขของอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติ ของไทย ซึ่งในแต่ละช่วงเวลา จะประกอบด้วยสภาเดียวหรือสองสภา แล้วแต่บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญในขณะนั้น ซึ่งในสมัยก่อน ประธานรัฐสภาอาจมาจากประธานสภาผู้แทนราษฎรหรือประธานวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 รัฐสภาไทยประกอบด้วย สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา โดยมีโดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา และประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภาโดยตำแหน่ง นอกจากนี้ประธานรัฐสภายังดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา (ก.ร.) ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา ปัจจุบันตำแหน่งนี้ได้ว่างลง โดยพรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นผู้ทำหน้าที่แทน.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและประธานรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเภทของประชาธิปไตย

ประเภทของประชาธิปไตย สามารถจำแนกได้ออกเป็นหลายประเภท โดยบางประเภทให้เสรีภาพและความมีสิทธิ์มีเสียงแก่พลเมืองมากกว่ารูปแบบอื่น ประเภทของประชาธิปไตย สามารถแบ่งได้ดังนี้.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและประเภทของประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดน

วีเดน (Sweden; สฺแวรฺแย) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรสวีเดน (Kingdom of Sweden) เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในยุโรปเหนือ เขตแดนทางตะวันตกจรดประเทศนอร์เวย์ ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศฟินแลนด์ และช่องแคบ สแกเกอร์แรก (Skagerrak) ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดช่องแคบแคทีแกต (Kattegat) และทางตะวันออกจรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย มีกรุงสต็อกโฮล์มเป็นเมืองหลวง ประเทศสวีเดนมีประชากรที่เบาบาง เว้นแต่ในเขตเมืองใหญ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศประกอบด้วยป่าไม้ และภูเขาสูง หลังจากสิ้นสุดยุคไวกิง สวีเดนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพคาลมาร์ ร่วมกับเดนมาร์กและนอร์เวย์ (ในช่วงเวลานี้ ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน) สวีเดนได้ออกจากสหภาพในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และได้รบสู้กับประเทศเพื่อนบ้านเป็นเวลาหลายปี โดยเฉพาะรัสเซีย และเดนมาร์กกับนอร์เวย์ที่ยังเป็นสหภาพอยู่ ซึ่งไม่ยอมรับการที่สวีเดนออกจากสหภาพ ในคริสศตวรรษที่ 17 สวีเดนได้ขยายเขตด้วยสงครามและกลายเป็นมหาอำนาจด้วยขนาด 2 เท่าของปัจจุบัน ถึง..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและประเทศสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและประเทศสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์มีเนีย

อาร์มีเนีย หรือ อาร์เมเนีย (Armenia,; Հայաստան ฮายาสตาน) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอาร์มีเนีย (Republic of Armenia; Հայաստանի Հանրապետություն) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส มีอาณาเขตติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตก ติดต่อกับจอร์เจียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันออก และทางทิศใต้ติดต่อกับอิหร่านและรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (เป็นดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) อาร์มีเนียเป็นรัฐสมาชิกของสภายุโรปและเครือรัฐเอกราช อาร์มีเนียเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและประเทศอาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโมร็อกโก

มร็อกโก (ชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรโมร็อกโก, เป็นรัฐเดี่ยวและรัฐเอกราชที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคมาเกร็บในแอฟริกาเหนือ เป็นหนึ่งในถิ่นกำเนินชนเบอร์เบอร์ ในทางภูมิศาสตร์โมร็อกโกมีเทือกเขาหินขรุขระตรงกลาง มีทะเลทรายขนาดใหญ่และมีชายฝั่งยาวมาตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกจนถึงทะเลเมดิเตอเรเนียน โมร็อกโกมีพื้นที่ประมาณ 710,850 ตารางกิโลเมตรและประชากรกว่า 33.8 ล้านคน เมืองหลวงชื่อราบัตและมีเมืองใหญ่สุดชื่อกาซาบล็องกา นอกจากนี้ยังมีเมืองสำคัญอื่น ๆ อีกอาทิมาร์ราคิช แทงเจียร์ ซาเล่ห์ แฟ็ส แม็กแน็สและ วัจด้า ในทางประวัติศาสตร์โมร็อกโกเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคมีความเป็นอิสระและไม่ได้ถูกยุ่งเกียวหรือรุกรานโดยเพื่อนบ้านตั้งแต่สุลต่าน โมเลย์ อิดริส ที่ 1ก่อตั้งรัฐโมร็อกโกครั้งแรกใน พ.ศ. 1332 ประเทศถูกปกครองโดยระบบราชวงศ์และเจริญสุดขีดในช่วงราชวงศ์อัลโมราวิดและราชวงศ์อัลโลฮัดซึ่งครอบครองส่วนหนึ่งของคาบสมุทรไอบีเรียและแอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือ ราชวงศ์มารีนิดและราชวงศ์ซาดีได้ยืนหยัดต่อต้านการรุกร่านจากต่างประเทศ อีกทั้งโมร็อกโกเป็นประเทศในแอฟริกาเหนือประเทศเดียวที่เลี่ยงการยึดครองจากจักรวรรดิออตโตมันได้ ราชวงศ์อเลาอัวซึ่งปกครองประเทศอยู่ในปัจุบันนั้นขึ้นมามีอำนาจในโมร็อกโกตั้งแต่ พ.ศ. 2174 ใน พ.ศ. 2455 โมร็อกโกถูกแบ่งเป็นโมร็อกโกในอารักขาของฝรั่งเศส โมร็อกโกในอารักขาของสเปนกับเขตสากลในแทนเจียร์และกลับมาได้รับเอกราชใน พ.ศ. 2499 วัฒนธรรมชาวโมร็อกโกจะเป็นแบบผสมผสานตามอิทธิพลของเบอร์เบอร์ อาหรับ แอฟริกาตะวันตกและยุโรป โมร็อกโกอ้างว่าเวสเทิร์นสะฮาราซึ่งเป็นดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองซึ่งเคยเป็นสะฮาราของสเปนนั้นเป็นจังหวัดทางใต้ของโมร็อกโก หลังจากสเปนตกลงที่จะปลดปล่อยดินแดนนี้ให้โมร็อกโกและมอริเตเนียใน พ.ศ. 2518 ชาวซาห์ราวีได้ทำสงครามแบบกองโจร มอริเตเนียถอนตัวออกจากดินแดนที่มีสิทธิครอบครองใน พ.ศ. 2522 และสงครามอันยืดเยื้อก็ยุติจากการหยุดยิงใน พ.ศ. 2534 ปัจจุบันโมร็อกโกครอบครองดินแดนสองในสาม โมร็อกโกปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญกับรัฐสภาที่มาจากการเลือกตั้ง กษัตริย์โมร็อกโกมีอำนาจบริหารและอำนาจนิติบัญญัติอย่างมาก โดยเฉพาะการทหาร นโยบายต่างประเทศและศาสนา อำนาจบริหารออกใช้โดยรัฐบาล ขณะที่สภานิติบัญญัติเป็นของรัฐบาลและสภาผู้แทนราษฎรโมร็อกโกและราชมนตรีสภาทั้งสองสภา กษัตริย์สามารถออกพระราชกฤษฎีกาที่เรียกว่าดาฮีร์ซึ่งมีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย นอกจากนี้กษัตริย์สามารถยุบสภาหลังจากปรึกษานายกรัฐมนตรีและประธานศาลรัฐธรรมนูญ ชาวโมร็อกโกส่วนมากนับถือศาสนาอิสลามมีภาษาราชการคือภาษาอาหรับและภาษาเบอร์เบอร์ ภาษาเบอร์เบอร์เป็นภาษาหลักของโมร็อกโกก่อนที่อาหรับจะมามีบทบาทในคริสศ์ศตวรรษที่ 600 ภาษาอาหรับในโมร็อกโกเรียกว่า Darija โมร็อกโกเป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ สหภาพเมดิเตอร์เรเนียนและสหภาพแอฟริกา และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ห้าของแอฟริก.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและประเทศโมร็อกโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์

อซ์แลนด์ (Iceland; อิสตลันต์) เป็นประเทศนอร์ดิกในยุโรปเหนือ ตั้งอยู่บนเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ระหว่างกรีนแลนด์ นอร์เวย์ และสหราชอาณาจักร มีเมืองหลวงคือเรคยาวิก ไอซ์แลนด์มีประชากรประมาณสามแสนคน มีพื้นที่ประเทศรวม 102,775 ตารางกิโลเมตร เรียกข้อมูลวันที่ 2008-03-03 นับว่ามีประชากรเบาบาง จากดัชนีการพัฒนามนุษย์ ปี..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและประเทศไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีเหนือ

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (Democratic People's Republic of Korea: DPRK) หรือชื่อโดยทั่วไปว่า เกาหลีเหนือ (North Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก กินพื้นที่ครึ่งเหนือของคาบสมุทรเกาหลี เมืองหลวงและนครใหญ่สุดคือ เปียงยาง เขตปลอดทหารเกาหลีเป็นเขตกันชนระหว่างประเทศเกาหลีใต้กับเกาหลีเหนือ แม่น้ำอัมนกหรือยาลู่ และตูเมนเป็นพรมแดนระหว่างประเทศจีนกับเกาหลีเหนือ แม่น้ำตูเมนส่วนที่ห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพรมแดนกับประเทศรัสเซีย คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิเกาหลีปกครองเรื่อยมากระทั่งถูกผนวกเข้ากับญี่ปุ่นหลังสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและประเทศเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

นักการเมือง

นักการเมือง, ผู้นำทางการเมืองหรือบุคคลทางการเมือง (อังกฤษ: politician มาจากภาษากรีกโบราณ polis ที่แปลว่า "เมือง") เป็นบุคคลผู้เกี่ยวข้องกับการมีอิทธิพลต่อนโยบายสาธารณะและการวินิจฉัยสั่งการ ซึ่งรวมผู้ดำรงตำแหน่งวินิจฉัยสั่งการในรัฐบาล และผู้ที่มุ่งดำรงตำแหน่งเหล่านั้น ไม่ว่าด้วยวิธีการเลือกตั้ง การสืบทอด รัฐประหาร การแต่งตั้ง การพิชิต หรือวิธีอื่น การเมืองไม่ใช่จำกัดอยู่เพียงวิธีการปกครองผ่านตำแหน่งสาธารณะเท่านั้น ตำแหน่งทางการเมืองอาจถืออยู่ในบรรษัทก็ได้.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและนักการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

นิติรัฐ

นิติรัฐ (Rechtsstaat) เป็นถ้อยคำที่ใช้กันในประเทศที่ใช้ระบบ ประมวลกฎหมาย ซึ่งถือกำเนิดในยุโรปภาคพื้นทวีป โดยมีกฎหมายโรมัน Jus Civileเป็นแม่แบบ หมายถึงการบริหารปกครองรัฐหรือสังคมซึ่งถือกฎหมายเป็นใหญ่ เป็น "การปกครอง" โดยกฎหมาย มิใช่แล้วแต่อำเภอใจของผู้ใช้อำนาจหรือ "ผู้ปกครอง" ส่วนประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายคอมมอนลอว์ ซึ่งมีประเทศอังกฤษเป็นแม่แบบนั้นจะอ้างถึง "หลักนิติธรรม" หรือ Rule of Law ซึ่งโดยสรุปก็มีความหมายแบบเดียวกันนั่นคือ ถือกฎหมายเป็นใหญ่ในการบริหารจัดการรั.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและนิติรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

แองกลิคันคอมมิวเนียน

แองกลิคันคอมมิวเนียน (Anglican Communion) เป็นองค์การระหว่างประเทศของคริสตจักรระดับชาติและระดับภูมิภาคที่ถือนิกายแองกลิคัน มีการร่วมสมานฉันท์กับคริสตจักรแห่งอังกฤษในฐานะเป็นคริสตจักรแม่ในคอมมิวเนียน มีอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีเป็นประธานไพรเมต การร่วมสมานฉันท์ในที่นี้หมายถึงมีข้อตกลงร่วมกันในการกำหนดหลักความเชื่อ และชาวแองกลิคันทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ในคริสตจักรใด ๆ ในคอมมิวเนียนได้ สมาชิกของแองกลิคันคอมมิวเนียนในปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 80 ล้านคนทั่วโลก นับว่าเป็นนิกายในศาสนาคริสต์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสามรองจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกและคริสตจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และแม้จะอยู่ในแองกลิคันคอมมิวเนียนด้วยกันก็ไม่ใช่ทุกคริสตจักรในคอมมิวเนียนนี้ที่ใช้ชื่อแองกลิคัน เช่น คริสตจักรแห่งไอร์แลนด์ คริสตจักรสกอตติชอีปิสโคปัล คริสตจักรอีปิสโคปัล (สหรัฐ) เป็นต้น บางคริสตจักรก็เรียกตนแองว่าแองกลิคันเพราะถือว่าสืบสายมาจากคริสตจักรในอังกฤษ เช่น คริสตจักรแองกลิคันแห่งแคนาดา แต่ละคริสตจักรมีสิทธฺิ์กำหนดหลักความเชื่อ แนวพิธีกรรม และกระบวนการทางนิติบัญญัติเป็นของตนเอง แต่โดยมากจะถือตามคริสตจักรแห่งอังกฤษ ทุกคริสตจักรมีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล มีไพรเมตเป็นประมุข อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีเป็นประมุขทางศาสนาของคริสตจักรแห่งอังกฤษ แต่ไม่มีอำนาจหน้าที่ในคริสตจักรอื่น ๆ คงเป็นที่ยอมรับเฉพาะในฐานะประมุขเชิงสัญลักษณ์ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลก ในบรรดาไพรเมตในนิกายแองกลิคันจึงถือว่าอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีเป็น บุคคลอันดับหนึ่งในบรรดาผู้ที่เท่าเทียมกัน (Primus inter pares) ชาวแองกลิคันถือว่าแองกลิคันคอมมิวเนียนเป็นคริสตจักรที่เป็นหนึ่งเดียว ศักดิ์สิทธิ์ สากล และสืบมาจากอัครทูต มีทั้งความเป็นคาทอลิกและโปรเตสแตนต์ ศาสนิกชนบางคนจึงถือว่าแองกลิคันเป็นนิกายคาทอลิกที่ไม่ยอมรับพระสันตะปาปา หรือเป็นนิกายโปรเตสแตนต์แบบหนึ่งแม้จะไม่มีนักเทววิทยาโดดเด่นอย่างคริสตจักรอื่น เช่น มาร์ติน ลูเทอร์ จอห์น น็อกซ์ ฌ็อง กาลแว็ง ฮุลดริช สวิงลีย์ หรือจอห์น เวสลีย์ สำนักงานแองกลิคันคอมมิวเนียนมีเลขาธิการคือศาสนาจารย์ แคนันเคนเนท เคียรันเป็นหัวหน้.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและแองกลิคันคอมมิวเนียน · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นปกครองตนเองของประเทศสเปน

ในประเทศสเปน แคว้นปกครองตนเอง หรือ ประชาคมปกครองตนเอง (comunidad autónoma; comunitat autònoma; comunidade autónoma; autonomia erkidegoa) เป็นเขตทางการเมืองและการปกครองในระดับบนสุดที่ได้รับการจัดตั้งโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญสเปน พ.ศ. 2521 โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรับประกันความเป็นอิสระในการปกครองตนเอง (อย่างมีข้อจำกัด) ของชาติทางประวัติศาสตร์และภูมิภาคต่าง ๆ ที่ประกอบกันเป็นสเปนArticle 2.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและแคว้นปกครองตนเองของประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

แคนทอน

แคนทอน (canton) เป็นหน่วยการปกครองของประเทศหนึ่ง ๆ โดยทั่วไปแล้ว แคนทอนจะค่อนข้างเล็กทั้งโดยขนาดพื้นที่และจำนวนประชากรเมื่อเทียบกับหน่วยการปกครองอื่น ๆ เช่น เทศมณฑล/เคาน์ตี เขต (department) และจังหวัด และโดยสากลแล้ว แคนทอนที่รู้จักดีที่สุด ที่สำคัญทางการเมืองมากที่สุด ก็คือของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพราะแม้จะเป็นส่วนหนึ่งของสมาพันธรัฐสวิสทั้งโดยทฤษฎีและโดยประวัติ แต่แคนทอนในสวิตเซอร์แลนด์ก็ยังจัดได้ว่าเป็นรัฐกึ่งเอกราช (semi-sovereign) คำว่าแคนทอนมาจากคำภาษาฝรั่งเศสสมัยกลาง/ภาษาอิตาลี/ภาษาละติน ว่า canton / cantone / canto / canthus ซึ่งแปลว่า "เมือง" "เขต" หรือ "มุม".

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและแคนทอน · ดูเพิ่มเติม »

เอสตาโด โนโว (โปรตุเกส)

อสตาโด โนโว (Estado Novo แปลว่า:"รัฐใหม่") หรือ สาธารณรัฐที่ 2คือระบอบเผด็จชาตินิยมโปรตุเกสก่อตั่งขึ้นในปี..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและเอสตาโด โนโว (โปรตุเกส) · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 2018

กีฬาเอเชียนเกมส์ 2018 (Pesta Olahraga Musim Panas Asia 2018) หรือชื่อที่เป็นทางการ กีฬาเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 18 หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ จาการ์ตา ปาเล็มบัง 2018 เป็นมหกรรมกีฬานานาชาติที่สำคัญที่สุดในทวีปเอเชีย ควบคุมโดยสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย ซึ่งจัดขึ้นในกรุงจาการ์ตา และเมืองปาเล็มบัง ประเทศอินโดนีเซีย จัดขึ้นระหว่างวันที่ 18 สิงหาคม ถึง 2 กันยายน..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและเอเชียนเกมส์ 2018 · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลในประเทศฝรั่งเศส

ทศบาล (commune) เป็นหน่วยการบริหารที่เล็กที่สุดในสาธารณรัฐฝรั่งเศส ถือได้ว่าเป็นหน่วยการปกครองท้องถิ่นในระดับรากฐาน มีความเก่าแก่และมีขนาดเล็กที่สุดเมื่อเทียบกับในประเทศอื่น ๆ ปัจจุบัน มีเทศบาลมากกว่า 36,580 แห่ง (และอีก 183 แห่งในจังหวัดโพ้นทะเล) มีจำนวนสมาชิกสภาซึ่งมาจากการเลือกตั้งถึงประมาณ 550,000 คน เทศบาลโดยส่วนใหญ่ถึงกว่าร้อยละ 90 มีลักษณะเป็นเมืองขนาดเล็กและอยู่ในพื้นที่ชนบทซึ่งมีประชากรต่ำกว่า 1,500 คน.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและเทศบาลในประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

เครือจักรภพแห่งอังกฤษ

รือจักรภพแห่งอังกฤษ (Commonwealth of England) คือรัฐบาลสาธารณรัฐที่ปกครองอังกฤษ รวมทั้งเวลส์ ไอร์แลนด์ และสกอตแลนด์ ระหว่างปี ค.ศ. 1649 ถึง ค.ศ. 1660 หลังจากการสำเร็จโทษของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 เครือจักรภพอังกฤษกำเนิดขึ้นจากพระราชบัญญัติประกาศอังกฤษเป็นเครือจักรภพโดยรัฐสภารัมพ์ (Rump Parliament) เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติและเครือจักรภพแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ฝ่ายนิติบัญญัติอำนาจนิติบัญญัตินิติบัญญัติ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »