โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สนธิสัญญา

ดัชนี สนธิสัญญา

นธิสัญญา (treaty) เป็นข้อตกลงเฉพาะหน้าภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศซึ่งเข้าทำสัญญาโดยตัวแสดงในกฎหมายระหว่างประเทศ ได้แก่ รัฐเอกราชและองค์การระหว่างประเทศ สนธิสัญญาอาจเรียกชื่อต่าง ๆ เช่น กติกา (covenant), กติกาสัญญา (pact), กรรมสาร (act), ข้อตกลง (accord), ความตกลง (agreement), แถลงการณ์ (communiqué), ปฏิญญา (declaration), พิธีสาร (protocol) และ อนุสัญญา (convention) แต่ไม่ว่าจะเรียกอย่างไร รูปแบบความตกลงทั้งหมดเหล่านี้ถือว่าเป็นสนธิสัญญาเท่าเทียมกันและมีหลักเกณฑ์เดียวกันภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ สนธิสัญญาสามารถเปรียบได้หลวม ๆ กับสัญญา ทั้งสองต่างเป็นวิธีการที่ภาคีที่สมัครใจยอมรับพันธกรณีต่อกัน และภาคีซึ่งไม่สามารถยึดพันธกรณีสามารถรับผิดได้ภายใต้กฎหมายระหว่างประเท.

80 ความสัมพันธ์: บันทึกความเข้าใจพ.ศ. 2411พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิส บี. แซร์)พระเจ้ามหานามะพิธีการทูตพิธีสารมอนทรีออลพิธีสารนักมวยพิธีสารไนโตรเจนออกไซด์พิธีสารเกียวโตพนมเปญกฎหมายสิ่งแวดล้อมการวัดการทารุณเด็กทางเพศการขอประชามติโดยบังคับการฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็กการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์การเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรมทางเพศกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองมาลีเอตัว เลาเปปารัฐบาลกลางรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสรัฐโอคลาโฮมารายชื่อสนธิสัญญาลัทธิกัลโบลำดับศักดิ์ของกฎหมายสภาแห่งชาติลาวสมรภูมิบ้านร่มเกล้าสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศสัญญาสื่อลามกอนาจารเด็กสนธิสัญญาชิโมะโนะเซะกิสนธิสัญญาพอร์ตสมัทสนธิสัญญาสี่อำนาจสนธิสัญญาอึลซาสนธิสัญญาฮาเดียชสนธิสัญญาผนวกดินแดนญี่ปุ่น–เกาหลีสนธิสัญญาจันทราสนธิสัญญาตอร์รีคอส-คาร์เตอร์สนธิสัญญาซันเตินสนธิสัญญานาวิกวอชิงตันสนธิสัญญาแบร์นสนธิสัญญาแวร์เดิงสนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์สนธิสัญญาเบรตีญีสนธิสัญญาเบอร์นีหลวงพ่อศิลาหลักระวังไว้ก่อนอัตติลาอานัมสยามยุทธ...องค์การทรัพย์สินทางปัญญาแห่งโลกอนุสัญญาบาเซิลอนุสัญญากรุงบัวโนสไอเรสอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่นอนุสัญญาสิทธิบัตรสตราสบวร์กอนุสัญญาแรมซาร์อนุสัญญาเจนีวาอนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สองอนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่งจอห์น เบาว์ริงธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศธงชาติไทยทวีปแอนตาร์กติกาความตกลงชั่วคราวคดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505ซิวิไลเซชัน (เกมชุด)ซูสีไทเฮาประวัติศาสตร์ศรีลังกาประเทศกาตาร์ประเทศไทยใน พ.ศ. 2411ปริญญา (แก้ความกำกวม)นากทะเลนโยบายต่างประเทศของโซเวียตยุคเริ่มต้นโรงเรียนเผยอิงโลกตะวันตกเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นยอร์กทาวน์เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเล็กซิงตันเอมิล เคร็บส์20 มีนาคม ขยายดัชนี (30 มากกว่า) »

บันทึกความเข้าใจ

ันทึกความเข้าใจ (memorandum of understanding, ย่อ: MoU) เป็นเอกสารที่บันทึกข้อตกลง ความร่วมมือ หรือ ความเข้าใจระหว่าง องค์กร หน่วยงาน รัฐ เมื่อทั้งสองฝ่ายรับทราบและเข้าใจรายละเอียดในบันทึกความเข้าใจนั้นแล้ว ตัวแทนผู้มีอำนาจของทั้งสองฝ่ายก็จึงจะลงนามในบันทึกความเข้าใจ บันทึกความเข้าใจเป็นสนธิสัญญาก็ต่อเมื่อเข้าองค์ประกอบของสนธิสัญญา ตามอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ. 1969 บันทึกความเข้าใจนั้น ไม่ถือว่าเป็นเป็นหนังสือสัญญาที่มีผลตามกฎหมายโดยตรง แต่จะถูกนำมาอ้างอิง เมื่อเรื่องที่สองฝ่ายที่ลงนามเกิดปัญหาจนต้องพึ่งกระบวนการทางกฎหมาย จึงจะนำบันทึกความเข้าใจดังกล่าวมากล่าวอ้าง (ยกเว้นบันทึกสัญญาที่เข้าข่ายเป็นสนธิสัญญา).

ใหม่!!: สนธิสัญญาและบันทึกความเข้าใจ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2411

ทธศักราช 2411 ตรงกั.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและพ.ศ. 2411 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศมหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 รองจากพระบรมเชษฐา สูงศักดิ์กว่า "วังหน้า" กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (พระมหาอุปราช)พระองค์ใดในอดีต เมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2394 เมื่อมีพระชนมายุได้ 43 พรรษ.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิส บี. แซร์)

ระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิส บี. แซร์) (Francis Bowes Sayre; 30 เมษายน พ.ศ. 2428 - 29 มีนาคม พ.ศ. 2515) เป็นอาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และเป็นบุตรเขยของวูดโรว์ วิลสัน อดีตประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ฟรานซิสเป็นนิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ต่อมา เดินทางมายังประเทศสยาม (ต่อมาคือประเทศไทย) ในฐานะเอกอัครราชทูตสหรัฐประจำสยาม เมื่อ..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและพระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิส บี. แซร์) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามหานามะ

ระเจ้ามหานามศากยราชา เอตทัคคะผู้ถวายทานอันประณีต มีพระอนุชา 1 พระองค์ คือ เจ้าชายอนุรุทธะ เอตทัคคะผู้ได้ตาทิพย์ พระเจ้ามหานามะประสูติในพระราชวังกรุงกบิลพัสดุ์ โดยชื่อมหานามะนั้นสันนิษฐานว่าเป็นชื่อที่ตั้งขึ้นตามชื่อของหนึ่งในปัญจวัคคีย์ที่อาศัยอยู่ในกรุงกบิลพัสดุ์คือท่านมหานามะซึ่งต่อมาได้เป็นท่านพระมหานามะเถระ สำหรับพระเจ้ามหานามะนั้นอดีตชาติของท่านในสมัยพระกัสสปพุทธเจ้าพระองค์เกิดเป็นมนุษย์และได้ฟังธรรมที่พระพุทธองค์ทรงแสดงเกี่ยวกับเรื่องอายุขัยของมนุษย์และพระพุทธเจ้าองค์ต่อไปจึงเกิดความเลื่อมใสแล้วจึงตั้งจิตอธิษฐานเพื่อมาเกิดเป็นพระสาวกของพระโคตมพุทธเจ้า หลังจากที่ตายจากอัตภาพนั้นแล้วได้ท่องเที่ยวอยู่ในภพเทวดาและมนุษย์เท่านั้นและในครั้งพุทธกาลได้มาเกิดเป็นเจ้าศากยะพระนามว่ามหานาม.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและพระเจ้ามหานามะ · ดูเพิ่มเติม »

พิธีการทูต

พิธีการทูต (protocol) ในการเมืองระหว่างประเทศ เป็นมารยาททางการทูตและกิจการของรัฐ คำว่า protocal ยังอาจหมายถึง พิธีสาร คือ ความตกลงระหว่างประเทศที่เพิ่มเติมหรือแก้ไขสนธิสัญญา พิธีการทูตเป็นกฎซึ่งชี้นำว่ากิจกรรมหนึ่ง ๆ ควรดำเนินการอย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาการทูต ส่วนพิธีสารเจาะจงพฤติกรรมที่เหมาะสมและเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปในประเด็นรัฐและการทูต เช่น การแสดงความเคารพอย่างเหมาะสมต่อประมุขแห่งรัฐ การจัดลำดับทูตตามเวลาที่มีการแต่งตั้ง ฯลฯ หมวดหมู่:การทูต หมวดหมู่:มารยาท.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและพิธีการทูต · ดูเพิ่มเติม »

พิธีสารมอนทรีออล

ีสารมอนทรีออลว่าด้วยสารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน (Montreal Protocol on Substances That Deplete the Ozone Layer) คือสนธิสัญญาสากลที่กำหนดขึ้นเพื่อควบคุม, ยับยั้ง, และรณรงค์ให้ลดการผลิตและการใช้สารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน เพื่อรักษาชั้นบรรยากาศโอโซนที่เริ่มจะสูญสลายไปเนื่องจากสารเหล่านี้ โดยพิธีสารได้เปิดให้ประเทศต่างๆ ลงนามเป็นประเทศภาคีสมาชิกในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2530 (1987) และเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2532 (1989) เป็นต้นมา ตั้งแต่นั้นมา ได้มีการแก้ไขปรับปรุงพิธีสาร 5 ครั้งด้วยกัน ครั้งแรก ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร เมื่อ พ.ศ. 2533 (1990), ครั้งที่สอง ณ กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก เมื่อ พ.ศ. 2535 (1992), ครั้งที่สาม ณ กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย เมื่อ พ.ศ. 2538 (1995), ครั้งที่สี่ ณ เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา เมื่อ พ.ศ. 2540 (1997) และครั้งที่ห้า ณ กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อ พ.ศ. 2542 (1999) เนื่องจากมีการนำไปใช้อย่างกว้างขวาง ทั้งได้รับเสียงสนับสนุนและชื่นชมจากนานาประเทศและหลาย ๆ องค์กร พิธีสารมอนทรีออลจึงได้รับการยกย่องให้เป็นตัวอย่างการร่วมมือกันระหว่างประเทศในการแก้ไขปัญหาในระดับนานาชาต.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและพิธีสารมอนทรีออล · ดูเพิ่มเติม »

พิธีสารนักมวย

ีสารนักมวย (Boxer Protocol) หรือชื่ออย่างเป็นทางการในโลกตะวันตกว่า พิธีสารสุดท้ายว่าด้วยการระงับความวุ่นวายระหว่างออสเตรีย-ฮังการี เบลเยียม ฝรั่งเศส เยอรมนี บริเตนใหญ่ อิตาลี ญี่ปุ่น เนเธอร์แลนด์ รัสเซีย สเปน สหรัฐ กับจีน..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและพิธีสารนักมวย · ดูเพิ่มเติม »

พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์

ีสารอนุสัญญาว่าด้วยมลพิษข้ามแดนระยะยาว..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและพิธีสารไนโตรเจนออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

พิธีสารเกียวโต

ีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) ต่อท้ายอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) กำหนดพันธกรณีผูกพันต่อประเทศอุตสาหกรรมให้ลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก UNFCCC เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อมซึ่งมีเป้าหมายเพื่อบรรลุ "เสถียรภาพความเข้มข้นของแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศที่ระดับซึ่งจะป้องกันการรบกวนอันตรายจากน้ำมือมนุษย์กับระบบภูมิอากาศ" พิธีสารเกียวโตมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2540 ในเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น และมามีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2548 จนถึงเดือนกันยายน 2554 มี 191 รัฐลงนามและให้สัตยาบันพิธีสารฯ สหรัฐอเมริกาลงนามแต่มิได้ให้สัตยาบันพิธีสารฯ และแคนาดาถอนตัวจากพิธีสารฯ ในปี 2554 รัฐสมาชิกสหประชาชาติอื่นซึ่งมิได้ให้สัตยาบันพิธีสารฯ ได้แก่ อัฟกานิสถาน อันดอร์ราและเซาท์ซูดาน ภายใต้พิธีสารฯ 37 ประเทศอุตสาหกรรม และประชาคมยุโรปในขณะนั้น ("ภาคีภาคผนวกที่ 1") ผูกมัดตนเองให้จำกัดหรือลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกสี่ชนิด (คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์และซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์) และแก๊สสองกลุ่ม (ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอนและเพอร์ฟลูออโรคาร์บอน) รัฐสมาชิกทุกรัฐให้พันธกรณีทั่วไป การจำกัดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกนี้ไม่รวมการปล่อยจากการบินและการเดินเรือระหว่างประเทศ ที่การเจรจา ประเทศภาคผนวกที่ 1 ตกลงร่วมกันจะลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกลงโดยเฉลี่ยร้อยละ 5.2 ในระยะปี 2551-2555 เป็นสัดส่วนกับการปล่อยแก๊สเรือนกระจกต่อปีในปีฐาน ซึ่งโดยปกติใช้ปี 2533 เนื่องจากสหรัฐอเมริกามิได้ให้สัตยาบันในสนธิสัญญา การปล่อยแก๊สเรือนกระจกร่วมกันของประเทศภาคผนวกที่ 1 พิธีสารเกียวโตลดลงจากต่ำกว่าปีฐานร้อยละ 5.2 เหลือร้อยละ 4.2 PBL publication number 500253004.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและพิธีสารเกียวโต · ดูเพิ่มเติม »

พนมเปญ

นมเปญ หรือ ภนุมปึญ (ភ្នំពេញ พนมเพ็ญ ออกเสียง:; Phnom Penh) อีกชื่อหนึ่งคือ ราชธานีพนมเปญ เป็นเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา และยังเป็นเมืองหลวงของนครหลวงพนมเปญด้วย ครั้งหนึ่งเคยได้ชื่อว่า ไข่มุกแห่งเอเชีย (เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1920 พร้อมกับเมืองเสียมราฐ) นับเป็นเมืองที่เป็นเป้าการท่องเที่ยวทั้งจากผู้คนในประเทศและจากต่างประเทศ พนมเปญยังมีชื่อเสียงในฐานะที่มีสถาปัตยกรรมแบบเขมรดั้งเดิมและแบบได้รับอิทธิพลฝรั่งเศส กรุงพนมเปญเป็นเมืองที่ล้อมรอบด้วยจังหวัดกันดาล และเป็นเมืองศูนย์กลางการค้า การเมือง และวัฒนธรรมของกัมพูชา มีประชากรถึง 2 ล้านคน จากประชากรทั้งประเทศ 15.2 ล้านคน.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและพนมเปญ · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายสิ่งแวดล้อม

กฎหมายสิ่งแวดล้อม (environmental law) คือ กฎหมายประเภทหนึ่ง มักตราขึ้นเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นหลัก เนื้อหาครอบคลุมการป้องกัน และเยียวยาความเสื่อมโทรมแห่งสุขภาพทั้งของมนุษย์และอมนุษย์ และมักคาบเกี่ยวกับกฎหมายจารีตประเพณี สนธิสัญญา ข้อตกลง พันธกรณี กฎระเบียบ และนโยบาย ฯลฯ หลากชนิด กฎหมายสิ่งแวดล้อมของบางประเภทอาจกำหนดคุณภาพสิ่งแวดล้อม และจำกัดเงื่อนไขในการดำเนินกิจการบางประเภทของมนุษย์ เช่น กำหนดปริมาณของภาวะมลพิษที่จะให้มีได้ หรือกำหนดให้ต้องมีการวางแผนและการตรวจสอบกิจการบางอย่าง เป็นต้น นโยบายของรัฐ เป็นต้นว่า มาตรการกันไว้ดีกว่าแก้ (precautionary principles) การมีส่วนร่วมของประชาชน การจัดตั้งศาลสิ่งแวดล้อม และมาตรการใครทำคนนั้นจ่าย (polluter pay principles) ล้วนเป็นลักษณะหนึ่งของกฎหมายสิ่งแวดล้อม ได้มีการริเริ่มจะให้มีกฎหมายสิ่งแวดล้อมขึ้นเป็นครั้งแรกในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมประมาณช่วง พ.ศ. 2503 อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่านานาประเทศในโลกจะได้ตรากฎหมายสิ่งแวดล้อมขึ้น แต่กลไกแห่งกฎหมายดังกล่าวก็มักไม่ประสบผล และในปัจจุบัน กฎหมายสิ่งแวดล้อมก็ถูกมองว่าเป็นเครื่องมือหนึ่งในการโฆษณาและส่งเสริมกลไกการพัฒนาอย่างยั่งยืน การปฏิรูปกฎหมายสิ่งแวดล้อมในขณะนี้ เป็นไปเพื่อพัฒนามาตรการด้านสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพมากกว่าเดิมที่ใช้มาตรการบังคับและควบคุม (command and control) ซึ่งผู้คนมักไม่พึงใจนัก ผลส่วนหนึ่งที่ได้จากการปฏิรูปดังกล่าว เป็นต้นว่า การจัดเก็บภาษีสิ่งแวดล้อม การวางมาตรฐานบางอย่าง เช่น ไอเอสโอ 14001.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและกฎหมายสิ่งแวดล้อม · ดูเพิ่มเติม »

การวัด

หน่วยวัดบางชนิดที่เกี่ยวข้องกับร่างกายมนุษย์ ในทางวิทยาศาสตร์ การวัด คือกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งขนาดของปริมาณอันหนึ่ง เช่นความยาวหรือมวล และเกี่ยวข้องกับ หมวดหมู่:มาตรวิทยา โครงวิทย์.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและการวัด · ดูเพิ่มเติม »

การทารุณเด็กทางเพศ

การทารุณเด็กทางเพศ (Child sexual abuse ตัวย่อ CSA, child molestation) หรือ การกระทำทารุณต่อเด็กทางเพศ หรือ การทำร้ายเด็กทางเพศ เป็นรูปแบบการกระทำทารุณต่อเด็กที่ผู้ใหญ่, หรือเยาวชนหรือวัยรุ่นที่มีอายุมากกว่าและต่างระดับพัฒนา ใช้เด็กกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ มีรูปแบบตั้งแต่การขอหรือบังคับให้เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางเพศ (ไม่ว่าจะได้ผลตามที่ต้องการหรือไม่), การแสดงสิ่งลามกอนาจารไม่ว่าจะเป็นอวัยวะเพศ หัวนมหญิง เป็นต้น เพื่อสนองความต้องการทางเพศของตน เพื่อขู่ขวัญเด็ก หรือเพื่อปะเหลาะประเล้าประโลมเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรม, การสัมผัสเด็กทางเพศ, หรือการใช้เด็กเพื่อผลิตสื่อลามกอนาจาร ทารุณกรรมสามารถเกิดขึ้นได้ในหลายที่หลายสถาน รวมทั้งที่บ้าน ที่โรงเรียน หรือสำนักงานที่มีเด็กทำงานเป็นปกติ การจับเด็กแต่งงานเป็นรูปแบบการทารุณหลักอย่างหนึ่ง ที่กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ได้กล่าวไว้ว่า "อาจเป็นรูปแบบการทารุณและฉวยผลประโยชน์จากเด็กหญิงทางเพศที่แพร่หลายที่สุด" ทารุณกรรมต่อเด็กส่งผลทางจิตใจ ให้เกิดความซึมเศร้า ความวิตกกังวล ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจแบบซับซ้อน (complex post-traumatic stress disorder) ความโน้มเอียงที่จะตกเป็นเหยื่อทารุณกรรมอีกในวัยผู้ใหญ่ รวมทั้งการบาดเจ็บทางกาย และเหล่านี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของปัญหาทั้งหมด ทารุณกรรมโดยสมาชิกครอบครัวซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการร่วมประเวณีกับญาติสนิท จะก่อให้เกิดปัญหาร้ายแรงยิ่งกว่าต่อเด็ก ส่งผลกระทบต่อจิตใจในระยะยาว โดยเฉพาะในกรณีที่ทำโดยผู้ปกครอง ไม่ว่าจะเป็นพ่อ แม่ พ่อเลี้ยง แม่เลี้ยง พ่อบุญธรรม แม่บุญธรรม ความแพร่หลายทั่วโลกของทารุณกรรมทางเพศต่อเด็กประเมินอยู่ที่ 19.7% ในหญิง และ 7.9% ในชาย ผู้กระทำผิดส่วนมากรู้จักเหยื่อ ราว 30% เป็นญาติ บ่อยที่สุดเป็นพี่ชาย พ่อ ลุง หรือลูกพี่ลูกน้อง ราว 60% เป็นคนรู้จักอื่นอย่างเช่น "เพื่อน"ของคนในครอบครัว พี่เลี้ยงเด็ก หรือเพื่อนบ้าน และราว 10% เป็นคนแปลกหน้า ผู้กระทำผิดส่วนใหญ่เป็นชาย จากการศึกษาพบว่า หญิงทำผิดต่อ 14-40% ของเหยื่อเด็กชาย และ 6% ของเหยื่อเด็กหญิง(โดยที่เหลือของเหยื่อทำโดยผู้ทำผิดเพศชาย) ส่วนคำภาษาอังกฤษว่า pedophile (คนใคร่เด็ก) มักจะใช้อย่างไม่เลือกกับทุก ๆ คนที่ทารุณเด็กทางเพศ แต่ผู้ทำผิดต่อเด็กทุกคนไม่ใช่คนใคร่เด็ก ยกเว้นถ้ามีความรู้สึกทางเพศที่รุนแรงกับเด็กที่อยู่ในวัยก่อนหนุ่มสาว และคนใคร่เด็กทุกคนก็ไม่ใช่ผู้ทำผิดต่อเด็ก ในกฎหมายบางประเทศ คำว่า child sexual abuse (การทารุณเด็กทางเพศ) ใช้เป็นคำคลุมทั้งการละเมิดกฎหมายอาญาและแพ่ง ที่ผู้ใหญ่ทำกิจทางเพศร่วมกับผู้เยาว์ หรือฉวยประโยชน์จากผู้เยาว์เพื่อสนองความรู้สึกทางเพศ สมาคมจิตวิทยาอเมริกัน (American Psychological Association) ยืนยันว่า "เด็กไม่สามารถยินยอมมีกิจกรรมทางเพศร่วมกับผู้ใหญ่" และประณามการทำเช่นนั้นของผู้ใหญ่ คือ "ผู้ใหญ่ที่มีกิจกรรมทางเพศร่วมกับเด็ก กำลังละเมิดทั้งกฎหมายและจริยธรรม ที่ไม่มีทางพิจารณาได้ว่าเป็นพฤติกรรมที่ปกติหรือที่ยอมรับได้ในสังคม".

ใหม่!!: สนธิสัญญาและการทารุณเด็กทางเพศ · ดูเพิ่มเติม »

การขอประชามติโดยบังคับ

ปสเตอร์สนับสนุนให้สวิตเซอร์แลนด์เข้าร่วมสันนิบาตชาติในปี 2463 สวิตเซอร์แลนด์เข้าร่วมกับสหประชาชาติในปี 2545 การขอประชามติโดยบังคับ หรือ การลงประชามติโดยบังคับ หรือ การลงประชามติแก้ไขรัฐธรรมนูญ หรือ การลงประชามติแก้ไขกฎบัตร (mandatory referendum, obligatorisches Referendum, référendum obligatoire, referendum obligatoric) เป็นกลไกทางประชาธิปไตยโดยตรงในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ที่บังคับให้มีการลงประชามติในเรื่องที่รัฐบาลระดับสหพันธรัฐ ระดับรัฐ หรือระดับเทศบาล ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายนิติบัญญัติหรือฝ่ายบริหาร ต้องการตัดสิน เช่นการเปลี่ยนรัฐธรรมนูญ การเข้าร่วมเป็นภาคีกับหน่วยการปกครองอื่น ๆ ไม่ว่าจะในระดับสหพันธรัฐหรือรัฐ การตัดสินใจเรื่องงบประมาณของฝ่ายนิติบัญญัติหรือฝ่ายบริหารของรัฐบาลระดับรัฐหรือระดับเทศบาล การเปลี่ยนรัฐธรรมมนูญของสหพันธรัฐจำต้องได้เสียงข้างมากจากทั้งประชาชนและจากรัฐ (double majority).

ใหม่!!: สนธิสัญญาและการขอประชามติโดยบังคับ · ดูเพิ่มเติม »

การฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก

การฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก (Commercial sexual exploitation of children ตัวย่อ CSEC) เป็นธุรกรรมทางการค้าที่อาศัยการฉวยประโยชน์ทางเพศ (sexual exploitation) จากเด็ก เช่นการค้าประเวณี และสื่อลามกอนาจาร อาจจะมีการบีบบังคับและการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก เท่ากับเป็นแรงงานบังคับและเป็นรูปแบบความเป็นทาสยุคปัจจุบัน รวมทั้งการให้บริการทางเพศของเด็กเพื่อผลประโยชน์แลกเปลี่ยน จะเป็นเงินทองหรืออะไรอย่างอื่นก็ดี ปฏิญญาของงานประชุมโลกใหญ่ต้านการฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก (Declaration of the First World Congress against Commercial Sexual Exploitation of Children) ที่ประชุมในเมืองสตอกโฮล์มปี 2539 นิยาม CSEC ว่า CSEC ยังหมายถึงเซ็กซ์ทัวร์ และธุรกรรมทางเพศแบบอื่น ๆ ที่เด็กร่วมกิจกรรมทางเพศเพื่อแลกปัจจัยที่จำเป็นต่อชีวิต เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย หรือการศึกษา รวมทั้งรูปแบบที่สมาชิกในบ้านไม่ห้ามหรือแจ้งตำรวจเกี่ยวกับทารุณกรรมต่อเด็ก เนื่องจากได้ผลประโยชน์จากผู้กระทำผิด และอาจรวมการแต่งงานแบบคลุมถุงชนสำหรับเด็กที่ยังไม่ถึงอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้ ที่เด็กไม่ได้ยินยอมและถูกทารุณทางเพศ ศูนย์เพื่อเด็กหายและถูกฉวยผลประโยชน์แห่งชาติ (National Center for Missing and Exploited Children) ซึ่งเป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไรเอกชน (แต่เบื้องต้นจัดตั้งโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐอเมริกา) กล่าวว่า เด็กหญิง 1 ใน 5 และเด็กชาย 1 ใน 10 จะถูกฉวยประโยชน์หรือทารุณกรรมทางเพศก่อนจะโตเป็นผู้หใญ่ ส่วนกองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) กล่าวว่า การฉวยประโยชน์ทางเพศจากเด็กเป็น "การล่วงละเมิดสิทธิที่รุนแรงที่สุดที่เด็กคนหนึ่งอาจจะต้องอดทนอดกลั้น".

ใหม่!!: สนธิสัญญาและการฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก · ดูเพิ่มเติม »

การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์

250px 250px การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ (royal intermarriage) คือการแต่งงานระหว่างสมาชิกของราชวงศ์ผู้ปกครองสองราชวงศ์ ซึ่งในอดีตถือเป็นยุทโธบายทางการทูตที่ใช้กันโดยทั่วไปเพื่อผลประโยชน์ของชาติ ในบางครั้งการเสกสมรสนี้เกิดขึ้นด้วยการบังคับใช้กระบวนการทางกฎหมายต่อบุคคลผู้สืบเชื้อสายราชวงศ์ และในหลาย ๆ ครั้งเกี่ยวข้องกับนโยบายทางการเมืองและ/หรือขนบธรรมเนียมของระบอบราชาธิปไตยเสียเป็นส่วนใหญ่ ในทวีปยุโรป การเสกสมรสในลักษณะนี้เป็นที่แพร่หลายอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงตั้งแต่สมัยกลางจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในขณะที่หลักฐานของการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ในส่วนอื่น ๆ ของโลก สามารถสืบค้นย้อนไปได้ไกลที่สุดถึงยุคสัมฤทธิ์ ซึ่งบ่อยครั้งที่พระมหากษัตริย์ในอดีตมักจะพยายามแผ่ขยายราชวงศ์ของพระองค์ออกไปทั้งในและนอกประเทศ ดังนั้นสายสัมพันธ์ทางเครือญาติซึ่งเกิดจากการเสกสมรสนี้ จึงเป็นปัจจัยที่ช่วยทั้งกระตุ้นและยับยั้งความขัดแย้งและการรุกรานระหว่างรัฐBucholz, p.228 ทั้งยังช่วยริเริ่ม ส่งเสริม และรับประกันสันติภาพระหว่างรัฐได้อีกด้วย นอกจากนี้สายสัมพันธ์ทางเครือญาติจากการเสกสมรสยังสามารถรักษามิตรไมตรีของสองราชวงศ์ ที่ต่างพยายามหลีกเลี่ยงภัยคุกคามจากการรุกรานและความขัดแย้งอันมีชนวนเหตุมาจากการยุยงของราชวงศ์ที่สาม พร้อมเสริมสร้างโอกาสที่จะผนวกรวมดินแดนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตนจากการอ้างสิทธิ์ทางกฎหมายเหนือราชบัลลังก์ หรือแม้กระทั่งการอ้างสิทธิ์เหนือส่วนหนึ่งของรัฐ เช่น อาณานิคม ผ่านการรับช่วงสืบทอดอำนาจการปกครองในกรณีที่รัฐนั้นเกิดปัญหาไร้รัชทายาทสืบทอดราชบัลลังก์ หรือในกรณีที่พระมหากษัตริย์องค์ก่อนหน้าไม่มีรัชทายาทเพศชายไว้สืบทอดราชสมบัติโดยปราศจากข้อกังขาได้ ในบางส่วนของทวีปยุโรป ราชวงศ์ต่าง ๆ ยังคงนิยมเสกสมรสระหว่างกันเป็นปกติ (สมาชิกราชวงศ์เสกสมรสกับตระกูลขุนนางต่าง ๆ ภายในรัฐ) ไปจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 16 และนับแต่นั้นเป็นต้นมา จึงเริ่มหันมานิยมการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ของรัฐอธิปไตยต่าง ๆ มากขึ้น แต่ในส่วนอื่น ๆ ของโลก การเสกสมรสเช่นนี้กลับได้รับความนิยมน้อยกว่ามากและเริ่มลดจำนวนลงตามกาลเวลาที่ผ่านไป หรือแปรเปลี่ยนไปตามขนบธรรมเนียมและนโยบายการต่างประเทศในขณะนั้น.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

การเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรมทางเพศ

การเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรมทางเพศ (Child grooming) เป็นการสร้างความเป็นมิตรและความรู้สึกดี ๆ กับเด็ก และบางครั้งกับครอบครัวของเด็ก เพื่อลดความระมัดระวังโดยมีจุดประสงค์เพื่อจะทารุณเด็กทางเพศ เป็นวิธีการหลอกล่อเด็กเพื่อที่จะขายเด็ก หรือชักนำเด็กให้เข้าสู่วงจรธุรกิจการค้าประเวณี หรือเพื่อผลิตสื่อลามกอนาจาร อาชญากรรมเยี่ยงนี้มีการกล่าวถึงโดยหลายนัยหลายแบบ เริ่มตั้งแต่อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการปราบปรามการค้าผู้หญิงและเด็ก (International Convention for the Suppression of the Traffic in Women and Children) ในปี 2464 ซึ่งเป็นสนธิสัญญาพหุภาคีของสันนิบาตชาติที่พยายามแก้ปัญหาระหว่างประเทศในการค้าผู้หญิงและเด็กเพื่อการไม่ชอบ แต่ปัญหาในตอนนั้นเป็นแบบนานาชาติ ส่วนแนวคิดเรื่องแก๊งคนไม่ดีที่เสาะหาเหยื่อตระเตรียมเด็กในพื้นที่ เป็นเรื่องอัปเดตล่าสุดโดยศูนย์การฉวยประโยชน์จากเด็กและป้องกันเด็กออนไลน์ (Child Exploitation and Online Protection Centre) ที่เป็นหน่วยตำรวจของสหราชอาณาจักรในปี 2553.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและการเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรมทางเพศ · ดูเพิ่มเติม »

กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง

ม่ได้ลงนามและไม่ได้ให้สัตยาบัน กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights) หรือ ICCPR เป็นสนธิสัญญาพหุภาคี ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

มาลีเอตัว เลาเปปา

มาลีเอตัว เลาเปปา (Malietoa Laupepa) (ค.ศ. 1841 – 22 สิงหาคม ค.ศ. 1898) ทรงเป็นมาลีเอตัวแห่งประเทศซามัว ในปลายศตวรรษที่ 19 มาลีเอตัว เลาเปปา เป็นโอรสในมาลีเอตัว โมลีกับฟาอาลาอิตูอิโอ ฟูอาติโน ซูอา พระองค์ทรงได้เข้ารับศึกษาที่ศาสนาที่วิทยาลัยมาลาอู ทำให้พระองค์ทรงเคร่งศาสนาคริสต์เป็นอย่างมาก พระองค์ทรงอภิเษกสมสกับซิซาวาอิ มาลูโป นิอูวาอาอิมีพระราชโอรส-ธิดาด้วยกัน 3 พระองค์ หนึ่งในนั้นคือมาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 1 พระองค์ทรงครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งซามัว โดยมีจักรวรรดิเยอรมัน สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักรคอยแทรกแทรงทางการเมือง ตามาเซเซไม่ยอมรับพระองค์ และพยายามที่จะทำสงครามชิงราชบัลลังก์ ในที่สุดสงครามก็จบลงด้วยสนธิสัญญาสงบศึก พระองค์ยังคงครองราชย์ต่อไป มาลีเอตัว เลาเปปา เสด็จสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและมาลีเอตัว เลาเปปา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลกลาง

รัฐบาลกลาง เป็นรัฐบาลของรัฐชาติ และเป็นคุณลักษณะที่พบได้มากกว่าในรัฐเดี่ยว รัฐบาลกลางคืออย่างเดียวกับรัฐบาลสหพันธรัฐ ซึ่งรัฐบาลสหพันธรัฐอาจมีการให้อำนาจแก่รัฐสมาชิกหรือรัฐสมาชิกมอบอำนาจให้แก่รัฐบาลสหพันธรัฐมากน้อยแตกต่างกันในแต่ละระดับ แม้บางครั้งจะใช้คำคุณศัพท์ "กลาง" อธิบายรัฐบาลสหพันธรัฐ โครงสร้างของรัฐบาลกลางมีหลากหลาย หลายประเทศสร้างเขตปกครองตนเองโดยมอบอำนาจจากรัฐบาลกลางแก่รัฐบาลในระดับต่ำกว่าชาติ เช่น ระดับภูมิภาค ท้องถิ่นหรือรัฐ ตามการจำกัดความระบบการเมืองพื้นฐานอย่างกว้าง มีรัฐบาลตั้งแต่สองระดับขึ้นไปในดินแดนที่ได้รับการสถาปนาและปกครองผ่านสถาบันร่วมที่มีอำนาจทับซ้อนกันหรือจัดสรรตามที่ระบุในรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายอื่น ความรับผิดชอบทั่วไปของรัฐบาลกลางซึ่งมิได้ให้แก่รัฐบาลระดับต่ำกว่า คือ การรักษาความมั่นคงของชาติและการดำเนินการทูตระหว่างประเทศ รวมทั้งสิทธิในการลงนามสนธิสัญญาอันมีผลผูกพัน โดยพื้นฐาน รัฐบาลกลางมีอำนาจออกกฎหมายบังคับใช้ทั่วประเทศ ซึ่งตรงข้ามกับรัฐบาลท้องถิ่น หมวดหมู่:รัฐศาสตร์.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและรัฐบาลกลาง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส

รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส ฉบับวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1958 (ฉบับที่ 15 ของประเทศฝรั่งเศส) วางกฎเกณฑ์สำหรับสถาบันต่างๆ ของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 ซึ่งถือคติการปกครองว่า "รัฐบาลจากประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน" ชาวฝรั่งเศสได้รับรองรัฐธรรมนูญฉบับนี้ด้วยประชามติเมื่อวันที่ 28 กันยายน ค.ศ. 1958 และกฎหมายสูงสุดฉบันนี้ได้รับการแก้ไขแล้ว 24 ครั้ง โดยการแก้ไขรัฐธรรมนูญได้ทำด้วยวิธีต่างๆ คือ การแก้ไขโดยสภาผู้แทนแห่งรัฐหรือ Congrès (สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาลงคะแนนเสียงพร้อมกัน) หรือการแก้ไขซึ่งรับรองโดยประชาชนผ่านทางประชามติ อารัมภบทของรัฐธรรมนูญฉบับนี้อ้างอิงถึง (1) คำประกาศว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมือง ฉบับวันที่ 26 สิงหาคม ค.ศ. 1789 (2) อารัมภบทรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสฉบับวันที่ 27 ตุลาคม ค.ศ. 1946 (รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4) และ (3) กฎบัตรสิ่งแวดล้อมฉบับปี..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รัฐโอคลาโฮมา

รัฐโอคลาโฮมา (Oklahoma, โอวเคฺลอะโฮ้วเม่อะ) เป็นรัฐหนึ่งใน 50 รัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา มีประชากรประมาณ 3.64 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและรัฐโอคลาโฮมา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิกัลโบ

ลัทธิกัลโบ (Calvo Doctrine) คือลัทธินโยบายการต่างประเทศที่มองว่าอำนาจตัดสินข้อพิพาทในประเด็นการลงทุนระหว่างประเทศควรขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของประเทศที่ได้ไปลงทุน ดังนั้นลัทธิกัลโบจึงได้เสนอให้ห้ามการปกป้องทางการทูตหรือการแทรกแซง (ด้วยกำลังอาวุธ) ก่อนที่การแก้ไขในระดับท้องถิ่นจะถูกใช้หมดทุกหนทางแล้ว ซึ่งตามแนวทางนี้นักลงทุนจะไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากใช้ระบบศาลในท้องถิ่นเท่านั้น จึงถือได้ว่าลัทธินี้เป็นการแสดงออกถึงแนวคิดชาตินิยมในทางกฎหมาย ทั้งนี้หลักการของลัทธิกัลโบซึ่งถูกตั้งชื่อตามนักกฎหมายชาวอาร์เจนตินา การ์โลส กัลโบ ได้ถูกประยุกต์ใช้ทั่วทั้งภูมิภาคละตินอเมริกาและส่วนอื่น ๆ ของโลกด้วย ลัทธินี้ถือกำเนิดขึ้นจากแนวคิดของกัลโบที่ได้แสดงไว้ใน กฎหมายระหว่างประเทศเชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติในยุโรปและอเมริกา (Derecho internacional teórico y práctico de Europa y América) ของเขาที่ปารี..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและลัทธิกัลโบ · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับศักดิ์ของกฎหมาย

ลำดับศักดิ์ของกฎหมาย เป็นแนวความคิดทางกฎหมายของฝรั่งเศส ซึ่งกำหนดลำดับชั้นระหว่างกฎหมายประเภทต่างๆ ซึ่งทำให้ผู้มีอำนาจในการตรากฎหมายที่มีศักดิ์ด้อยกว่าต้องเคารพและไม่สามารถตรากฎหมายที่ละเมิดกฎหมายที่มีศักดิ์สูงกว่าได้ กฎหมายไทยได้นำเอาหลักดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ อาทิ พระราชบัญญัติจะขัดต่อรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีศักดิ์สูงกว่า ไม่ได้ หรือ พระราชบัญญัติจะต้องไม่มีเนื้อหาขัดต่อพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ เป็นต้น ดังที่ มาตรา 6 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไท..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและลำดับศักดิ์ของกฎหมาย · ดูเพิ่มเติม »

สภาแห่งชาติลาว

แห่งชาติลาว (ສະພາແຫ່ງຊາດລາວ; The National Assembly of The Lao PDR) เป็นสถาบันทางการเมืองที่มีความสำคัญของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวปกครองตามระบอบประชาธิปไตยประชาชน (สังคมนิยม - คอมมิวนิสต์) แบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง มีองค์กรแห่งสิทธิอำนาจสูงสุด คือ “พรรคประชาชนปฏิวัติลาว” “สภาแห่งชาติ” เป็น “องค์กรนิติบัญญัติ” และเป็นองค์กรบริหารอำนาจสูงสุด ฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการต่างขึ้นตรง ได้รับแต่งตั้ง และต้องรายงานผลการปฏิบัติงานต่อสภาแห่งชาติ โดยอำนาจสูงสุดในการบริหารงานของประเทศ (อำนาจในการเลือกตั้ง) ยังเป็นของประชาชน ดังนั้นจึงเป็นการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และ เพื่อประชาชน.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสภาแห่งชาติลาว · ดูเพิ่มเติม »

สมรภูมิบ้านร่มเกล้า

มรภูมิบ้านร่มเกล้า หรือ ยุทธการบ้านร่มเกล้า เป็นการรบระหว่างประเทศไทยและประเทศลาว ณ บริเวณบ้านร่มเกล้า ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 จากการสู้รบอย่างหนักต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน ทำให้เกิดการสูญเสียอย่างมากทั้งฝ่ายไทยและลาว และนับเป็นการสูญเสียชีวิตทหารมากที่สุดในการรบของไทยเท่าที่เคยมีมา การรบสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 19 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสมรภูมิบ้านร่มเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (International Telecommunication Union - ชื่อย่อ: ITU) เป็นองค์การชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ซึ่งนับเป็นองค์การสากลที่เก่าแก่มากที่สุดอันดับสอง ที่ยังคงดำเนินการอยู่ โดยในระยะแรกเริ่ม ใช้ชื่อว่า สหภาพโทรเลขระหว่างประเทศ (International Telegraph Union) จัดตั้งขึ้นที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สัญญา

"สัญญา" สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

สื่อลามกอนาจารเด็ก

ื่อลามกอนาจารเด็ก (Child pornography) คือสื่อลามกอนาจารที่ฉวยประโยชน์จากเด็ก (รวมทั้งวัยรุ่น) มีจุดประสงค์เพื่อเร้าอารมณ์ทางเพศ ซึ่งอาจจะผลิตโดยทำร้ายเด็กทางเพศ (เช่น ภาพทารุณเด็กทางเพศ) หรืออาจจะเป็นสื่อแบบเทียมคือเป็นสื่อแต่ง ใช้ผู้ใหญ่ที่แต่งให้เหมือนเด็ก หรือเป็นภาพสร้างขึ้นโดยใช้คอมพิวเตอร์ล้วน ๆ โดยบางทีแม้ภาพวาดหรือแอนิเมชัน ก็สามารถพิจารณาว่าเป็นสื่อเทียมได้เหมือนกัน ทารุณกรรมต่อเด็กเกิดขึ้นเมื่อมีกิจกรรมทางเพศกับเด็ก หรือให้เด็กแสดงบริเวณอวัยวะเพศหรือบริเวณหัวหน่าวเพื่อเร้าอารมณ์ แล้วบันทึกลงในสื่อ สื่อที่ใช้อาจมีหลายแบบ รวมทั้งวรรณกรรม นิตยสาร ภาพถ่าย ประติมากรรม จิตรกรรม การ์ตูน แอนิเมชัน บันทึกเสียง วิดีโอ และวิดีโอเกม กฎหมายเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจารเด็กมักจะรวมภาพทางเพศที่เกี่ยวกับเด็กก่อนวัยเจริญพันธุ์ เด็กวัยเจริญพันธุ์ ผู้เยาว์หลังวัยเจริญพันธุ์ และภาพเด็กที่สร้างโดยคอมพิวเตอร์ ผู้ทำผิดเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจารเด็กที่ถูกจับโดยมากจะมีรูปเด็กก่อนวัยเจริญพันธุ์ ในประเทศสหรัฐอเมริกา ผู้ที่มีภาพเด็กหลังวัยเจริญพันธุ์มีโอกาสน้อยกว่าที่จะถูกดำเนินคดี แม้ว่าจะผิดกฎหมายเช่นกัน ผู้ผลิตสื่อนาจารเด็กพยายามจะหลีกเลี่ยงการถูกดำเนินคดีโดยขายสื่อนอกประเทศ แต่ก็มีการจับกุมผู้ทำผิดเช่นนี้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในประเทศต่าง ๆ คนใคร่เด็กดูและเก็บสะสมสื่อเด็กก่อนวัยเจริญพันธุ์มีจุดประสงค์หลายอย่าง เริ่มตั้งแต่การใช้เพื่อประโยชน์ทางเพศส่วนตัว การแลกเปลี่ยนกับคนใคร่เด็กอื่น ๆ การเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรมทางเพศ หรือการหลอกล่อเด็กให้ติดกับเพื่อฉวยประโยชน์ทางเพศ เช่น เพื่อทำสื่อลามกหรือเพื่อการค้าประเวณี เด็กบางครั้งก็ผลิตสื่อลามกเองหรือเพราะถูกบีบบังคับโดยผู้ใหญ่ สื่อลามกอนาจารเด็กผิดกฎหมายและจะถูกตรวจพิจารณาในที่ต่าง ๆ โดยมากในโลก รวมทั้งประเทศไทยที่นิยามคำว่า "เด็ก" ว่าหมายถึงบุคคลที่มีอายุไม่เกิน 18 ปี ประเทศสมาชิกขององค์การตำรวจอาชญากรรมระหว่างประเทศ (Interpol) 94 ประเทศจาก 187 มีกฎหมายโดยเฉพาะในเรื่องนี้โดยปี 2551 และนี่ยังไม่ได้รวมประเทศที่ห้ามสื่อลามกทุกอย่าง ในบรรดา 94 ประเทศเหล่านี้ การมีสื่อลามกอนาจารเด็กจัดเป็นอาชญากรรมใน 58 ประเทศไม่ว่าตั้งใจจะขายหรือเผยแพร่หรือไม่ รวมทั้งประเทศไทย ทั้งการเผยแพร่และการมี จัดเป็นอาชญากรรมในประเทศตะวันตกโดยมาก มีขบวนการที่ขับเคลื่อนให้สื่อลามกอนาจารเด็กเป็นสิ่งผิดกฎหมายทั่วโลก รวมทั้งองค์กรเช่นสหประชาชาติและคณะกรรมาธิการยุโรป เหตุผลที่ต้องมีกฎหมายสื่อลามกเด็กเป็นการเฉพาะ เหตุผลที่ประเทศต่างๆ มีกฎหมายสื่อลามกเด็กโดยเฉพาะแยกต่างหากจากกฎหมายสื่อลามกผู้ใหญ่ เนื่องจากแนวคิดควบคุมสื่อลามกทั้งสองประเภทต่างกัน เหตุผลหลักในการกำหนดโทษอาญากับการกระทำที่เกี่ยวกับสื่อลามกผู้ใหญ่ตั้งอยู่บนแนวคิดเรื่องการปกป้องศีลธรรมโดยรวมของสังคม กล่าวคือ ภาครัฐเชื่อว่าการปล่อยให้มีการผลิต จำหน่าย หรือ เผยแพร่สื่อลามกผู้ใหญ่อย่างเสรีอาจก่อให้เกิดความเสื่อมทรามต่อศีลธรรมทางเพศของคนในสังคมได้  การกำหนดโทษอาญาเพื่อควบคุมและปราบปรามสื่อลามกเด็กมีเหตุผลพื้นฐานที่ต่างออกไป กล่าวคือ เพื่อปกป้องคุ้มครองเด็กจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ เพราะการผลิตสื่อลามกเด็ก (โดยเฉพาะที่ใช้เด็กจริงๆ แสดง) เป็นรูปแบบหนึ่งของการล่วงละเมิดทางเพศจากเด็ก ในด้านร่างกาย เด็กยังไม่เจริญเติบโตเต็มที่ การให้เด็กมีกิจกรรมทางเพศอาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บในด้านจิตใจ เนื่องจากการเรียนรู้ของเด็กยังไม่พัฒนาเพียงพอที่จะเข้าใจในเรื่องความเหมาะสมของเรื่องเพศ การบังคับหรือล่อลวงให้เด็กมีกิจกรรมทางเพศหรือการถ่ายภาพยั่วยุทางเพศต่างๆ ถือได้ว่าเป็นการทำร้ายจิตใจเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเด็กพบว่าสิ่งที่ตนกระทำไปเป็นเรื่องไม่เหมาะสมสำหรับวัยตัวเอง ก็อาจเกิดความอับอายกลายเป็นบาดแผลทางจิตใจซึ่งอาจจะฝังลึกในใจเด็กไปตลอดชีวิต นอกจากนี้ ในหลายๆ กรณี การที่เด็กเข้าร่วมกิจกรรมทางเพศโดยไม่สมัครใจหรือเกิดจากการล่อลวง บังคับข่มขู่ หรือความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นการแสวงหาประโยชน์อันมิชอบจากความเยาว์วัยของเด็กที่ยังไม่มีความสามารถในการตัดสินใจเพียงพอเกี่ยวกับความเหมาะสมของการมีเพศสัมพันธ์ ยิ่งในกรณีของสื่อลามกเด็กบนอินเทอร์เน็ต ผลกระทบร้ายแรงต่อตัวเด็กอาจขยายเป็นวงกว้างกว่า กล่าวคือ ภาพหรือคลิปวิดีโอบันทึกการล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็กดังกล่าวจะถูกส่งผ่านต่อกันไปและหมุนเวียนอยู่ในโลกไซเบอร์ไม่มีวันสิ้นสุด สิ่งนี้ยิ่งสร้างบาดแผลทางใจให้กับเด็กผู้ปรากฏในสื่อลามกอย่างไม่มีทางเยียวยาหรือลบเลือนออกไปได้.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสื่อลามกอนาจารเด็ก · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาชิโมะโนะเซะกิ

นธิสัญญาชิโมะโนะเซะกิ หรือ สนธิสัญญาหม่ากวัน ในภาษาจีน เป็นสนธิสัญญาระหว่างจักรวรรดิญี่ปุ่นและประเทศจีน โดยราชวงศ์ชิง เมื่อวันที่ 17 เมษายน..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสนธิสัญญาชิโมะโนะเซะกิ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาพอร์ตสมัท

นธิสัญญาพอร์ตสมัท (Treaty of Portsmouth) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพ ซึ่งเกิดขึ้นภายหลังจากที่สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น ในปี 1904-1905 จบลงโดยที่มีจักรวรรดิญี่ปุ่นเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะ โดยสนธิสัญญานี้มีการลงนามและประทับตรา ณ อาคารในอู่ต่อเรือพอร์ตสมัทของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 5 กันยายน 1905 และคณะองคมนตรีแห่งสมเด็จพระจักพรรดิได้ให้สัตยาบัน เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 1905 สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่นในปี 1904-1905 ถือเป็นสงครามครั้งใหญ่ครั้งแรกที่เกิดขึ้นในศตวรรศที่ 20 ฝ่ายหนึ่งมีกองทัพบกที่ใหญ่ที่สุดในโลกอย่างจักรวรรดิรัสเซีย และฝ่ายที่มีกองทัพเรือที่แข็งแกร่งที่สุดในเอเชียตะวันออกอย่างจักรวรรดิญี่ปุ่น.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสนธิสัญญาพอร์ตสมัท · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาสี่อำนาจ

นธิสัญญาสี่อำนาจ (Four-Power Treaty) เป็นสนธิสัญญาระหว่าง สหรัฐอเมริกา, สหราชอาณาจักร, ฝรั่งเศส และ ญี่ปุ่น ลงนามระหว่างการประชุมทหารเรือวอชิงตัน ในวันที่ 13 ธันวาคม 1921 ภายใต้สนธิสัญญานี้ ภาคีสมาชิกได้ตกลงที่จะรักษาสภาพการณ์ของภาคพื้นแปซิฟิก ณ ขณะนั้น ไม่ให้เปลี่ยนแปลงไปจากที่เป็นอยู่ โดยการยอมรับอำนาจเหนือดินแดนแปซิฟิกของชาติสมาชิกสัญญา และแต่ละชาติจะไม่แสวงหาหรือขยายดินแดนเพิ่มเติมอีก และจะปรึกษาหารือกันทุกครั้งเมื่อมีกรณีข้อพิพาทด้านดินแดน อย่างไรก็ตาม ผลลัพธ์หลักของสนธิสัญญาฉบับนี้ คือการยุติลงของพันธมิตรอังกฤษ-ญี่ปุ่นในปี 1923.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสนธิสัญญาสี่อำนาจ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาอึลซา

นธิสัญญาอึลซา (을사조약 อึลซา-โจยัค) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สนธิสัญญาญี่ปุ่น-เกาหลีฉบับที่สอง เป็นสนธิสัญญาที่ทำขึ้นระหว่าง จักรวรรดิเกาหลี และ จักรวรรดิญี่ปุ่น ในปี..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสนธิสัญญาอึลซา · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาฮาเดียช

นธิสัญญาฮาเดียช (Treaty of Hadiach) เป็นสนธิสัญญาที่ลงนามที่เมืองฮาเดียชเมื่อวันที่ 16 กันยายน..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสนธิสัญญาฮาเดียช · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาผนวกดินแดนญี่ปุ่น–เกาหลี

นธิสัญญาผนวกดินแดนญี่ปุ่น-เกาหลี หรือที่รู้จักกันอีกชื่อหนึ่ง สนธิสัญญาญี่ปุ่น-เกาหลี..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสนธิสัญญาผนวกดินแดนญี่ปุ่น–เกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาจันทรา

วามตกลงว่าด้วยกิจกรรมของรัฐบนดวงจันทร์และเทห์ฟากฟ้าอื่น (Agreement Governing the Activities of States on the Moon and Other Celestial Bodies) หรือที่รู้จักกันในชื่อ "สนธิสัญญาจันทรา" (Moon Treaty) หรือ "ความตกลงจันทรา" (Moon Agreement) เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ซึ่งกำหนดให้บรรดาเทห์ฟากฟ้าและวัตถุที่โคจรรอบเทห์ฟากฟ้า เป็นพื้นที่ในเขตอำนาจของประชาคมโลก ส่งผลให้กิจกรรมทั้งปวงในพื้นที่ดังกล่าวต้องเป็นไปตามกฎหมายระหว่างประเทศ น่าเสียดายที่ความตกลงนี้ไม่ประสบผลสำเร็จดังคาดหมายกัน เนื่องเพราะไม่ได้รับความร่วมมือจากรัฐชาติที่ดำเนินหรือจะดำเนินการสำรวจอวกาศโดยมนุษย์ด้วยตนเองแม้แต่รัฐเดียว รัฐเหล่านี้ อาทิ สหรัฐอเมริกา สหพันธรัฐรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ปุ่น อินเดีย และ อิหร่าน.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสนธิสัญญาจันทรา · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาตอร์รีคอส-คาร์เตอร์

จิมมี คาร์เตอร์ และโอมาร์ ตอร์รีคอส จับมือหลังลงนามในสนธิสัญญาตอร์รีคอส-คาร์เตอร์ สนธิสัญญาตอร์รีคอส-คาร์เตอร์ (The Torrijos-Carter Treaties) เป็นสนธิสัญญาที่ร่วมลงนามโดยสหรัฐอเมริกาและประเทศปานามา ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เมื่อวันที่ 7 กันยายน..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสนธิสัญญาตอร์รีคอส-คาร์เตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาซันเติน

นธิสัญญาซานเตน (Vertrag von Xanten, Treaty of Xanten) เป็นสนธิสัญญาที่ลงนามกันที่เมืองซานเตนในประเทศเยอรมนีปัจจุบันเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1614 ระหว่างวูล์ฟกัง วิลเฮล์ม เคานท์พาเลไทน์แห่งนอยบวร์ก (Wolfgang Wilhelm, Count Palatine of Neuburg) และ จอห์น ซิจิมุนด์ อีเล็คเตอร์แห่งบรานเดนบวร์ก (John Sigismund, Elector of Brandenburg) โดยมีผู้แทนจากอังกฤษ และ ฝรั่งเศสเป็นผู้ประสานการต่อรองของสนธิสัญญา สนธิสัญญาเป็นการยุติสงครามสืบอาณาจักรยือลิค (War of the Jülich succession) ซึ่งเป็นสงครามชิงดินแดนที่เดิมเป็นสหอาณาจักรดยุคแห่งยือลิค-คลีฟส์-แบร์ก และความเป็นปฏิปักษ์ระหว่าง วูล์ฟกัง วิลเฮล์ม และ จอห์น ซิจิมุนด์ ตามสนธิสัญญาดินแดนอาณาจักรดยุคแห่งยือลิคและอาณาจักรดยุคแห่งแบร์ก และ ราเวนชไตน์ตกไปเป็นของวูล์ฟกัง วิลเฮล์ม และอาณาจักรเคานท์แห่งคลีฟส์ และ อาณาจักรเคานท์แห่งมาร์คตกไปเป็นของจอห์น ซิจิมุนด์ ดินแดนเหล่านี้เป็นจังหวัดไรน์จังหวัดแรกที่ตกมาอยู่ภายใต้การปกครองของราชวงศ์โฮเฮนโซลเลิร์น และเป็นดินแดนที่เก่าที่สุดของดินแดนที่ต่อมาเป็นไรน์แลนด์ปรัสเซีย (Prussian Rhineland).

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสนธิสัญญาซันเติน · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญานาวิกวอชิงตัน

นธิสัญญานาวิกวอชิงตัน (Washington Naval Treaty) หรือ สนธิสัญญาห้ามหาอำนาจ (Five-Power Treaty) เป็นสนธิสัญญาจำกัดอาวุธยุทธภัณฑ์ทางนาวีของประเทศที่ร่วมลงนาม 5 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา, จักรวรรดิบริติช, จักรวรรดิญี่ปุ่น, สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3, และราชอาณาจักรอิตาลี โดยเป็นผลพวงจากการประชุมนาวิกวอชิงตันที่วอชิงตัน ดี.ซี. ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสนธิสัญญานาวิกวอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาแบร์น

นธิสัญญาแบร์น (Traité de Berne.; Treaty of Bern.) ซึ่งมีการลงนามเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสนธิสัญญาแบร์น · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาแวร์เดิง

นธิสัญญาแวร์เดิง (Treaty of Verdun) เป็นสนธิสัญญาระหว่างพระราชโอรสสามพระองค์ของหลุยส์เดอะไพอัส (พระราชนัดดาของชาร์เลอมาญ) ในการแบ่งจักรวรรดิแฟรงค์ออกเป็นสามอาณาจักร แม้ว่าบางครั้งการแบ่งจักรวรรดิครั้งนี้จะเห็นกันว่าเป็นการทำลายจักรวรรดิมหาอำนาจที่ก่อตั้งขึ้นโดยชาร์เลอมาญ แต่อันที่จริงแล้วเป็นการทำตามประเพณีเจอร์มานิคในการแบ่งทรัพย์ให้แก่ทายาทแต่ละคนเท่าๆ กันแทนที่จะใช้กฎการสืบสมบัติโดยสิทธิของบุตรคนแรก (primogeniture) ที่มอบสมบัติทั้งหมดให้แก่บุตรชายคนโตเท่านั้น เมื่อหลุยส์เดอะไพอัสสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 840 โลแธร์ที่ 1 พระราชโอรสองค์โตก็อ้างสิทธิเหนือราชอาณาจักรของพระอนุชาอีกสองพระองค์และสนับสนุนสิทธิของพระนัดดาเปแปงที่ 2 ในการเป็นกษัตริย์แห่งอากีแตน หลังจากที่ทรงพ่ายแพ้ต่อพระอนุชาลุดวิกเดอะเยอรมันและชาร์ลส์เดอะบอลด์ในยุทธการฟงเตอแน (Battle of Fontenay) ในปี ค.ศ. 841 และทั้งสองพระองค์ทรงสาบานความเป็นพันธมิตรกันในคำสาบานสตราซบูร์ (Oaths of Strasbourg) ในปี ค.ศ. 842 แล้ว โลแธร์ที่ 1 ก็ทรงเต็มพระทัยมากขึ้นที่จะเข้าร่วมในการเจรจาต่อรอง พี่น้องแต่ละคนต่างก็มีอาณาจักรเป็นของตนเองแล้ว โลแธร์ครองอิตาลี, ลุดวิกเดอะเยอรมันครองบาวาเรีย และ ชาร์ลส์เดอะบอลด์ครองอากีแตน ผลของการเจรจาทำให้: เมื่อโลแธร์สละราชสมบัติอิตาลีให้แก่พระราชโอรสองค์โตจักรพรรดิลุดวิกที่ 2 ในปี ค.ศ. 844 ลุดวิกก็ทรงแต่งตั้งให้พระราชบิดาขึ้เป็นจักรพรรดิร่วมในปี ค.ศ. 850 เมื่อโลแธร์เสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 855 อาณาจักรก็ถูกแบ่งเป็นสามส่วนดินแดนที่จักรพรรดิลุดวิกครองอยู่ก็ยังเป็นของพระองค์ ราชอาณาจักรเบอร์กันดีเดิมก็มอบให้แก่พระราชโอรสองค์ที่สามชาร์ลส์แห่งพรอว็องส์และดินแดนที่เหลือแก่โลแธร์ที่ 2 ที่เรียกอาณาจักรของพระองค์ว่าโลธาริงเกีย เมื่อจักรพรรดิลุดวิกที่ 2 ไม่ทรงพอใจที่ไม่ทรงได้รับดินแดนเพิ่มเมื่อพระราชบิดาเสด็จสวรรคต พระองค์ก็ทรงหันไปเป็นพันธมิตรกับพระปิตุลาลุดวิกเดอะเยอรมัน ในการต่อต้านพระอนุชาโลแธร์และพระปิตุลาชาร์ลส์เดอะบอลด์ในปี..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสนธิสัญญาแวร์เดิง · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์

นธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ (Treaty on the Non-Proliferation of Nuclear Weapons หรือเรียกทั่วไปว่า Non-Proliferation Treaty หรือ NPT) เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการกระจายของอาวุธนิวเคลียร์และเทคโนโลยีอาวุธ เพื่อส่งเสริมความร่วมมือการใช้พลังงานนิวเคลียร์ในทางสันติ และเพื่อผลักดันเป้าหมายการบรรลุการลดอาวุธนิวเคลียร์และการลดกำลังรบโดยทั่วไปและสมบูรณ์ สนธิสัญญาฯ เปิดให้ลงนามในปี 2511 มีผลใช้บังคับในปี 2513 วันที่ 11 พฤษภาคม 2538 มีการขยายสนธิสัญญาฯ ขยายเวลาไปอย่างไม่มีกำหนด มีประเทศที่ปฏิบัติตาม NPT มากกว่าความตกลงจำกัดอาวุธและลดกำลังรบอื่นใด อันเป็นหลักฐานความสำคัญของสนธิสัญญาฯ มี 191 รัฐเข้าร่วมสนธิสัญญาฯ แม้ว่าเกาหลีเหนือ ซึ่งเห็นชอบ NPT ในปี 2528 แต่ไม่เคยปฏิบัติตาม โดยประกาศถอนตัวในปี 2546 มีรัฐสมาชิกสหประชาชาติสี่รัฐไม่เคยเข้าร่วม NPT ได้แก่ อินเดีย อิสราเอล ปากีสถานและเซาท์ซูดาน สนธิสัญญาดังกล่าวรับรองรัฐอาวุธนิวเคลียร์ห้ารัฐ ได้แก่ จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา (ซึ่งเป็นสมาชิกถาวรห้าประเทศแห่งคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติด้วย) สี่รัฐอื่นที่ทราบหรือเชื่อว่าครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ ได้แก่ อินเดีย ปากีสถานและเกาหลีเหนือทดสอบอย่างเปิดเผยและประกาศว่าตนครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ ฝ่ายอิสราเอลมีนโยบายปกปิดโครงการอาวุธนิวเคลียร์ของตน NPT ประกอบด้วยคำปรารภและ 11 ข้อ แม้ไม่มีการแสดงมโนทัศน์ "เสา" อยู่ที่ใดใน NPT กระนั้น บางครั้งมีการตีความสนธิสัญญาว่าเป็นระบบสามเสา ซึ่งส่อความความสมดุลระหว่างเสา ดังนี้.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาเบรตีญี

ฝรั่งเศสหลังจากที่ลงนามในสนธิสัญญา สนธิสัญญาเบรตีญี (Traité de Brétigny; Treaty of Brétigny) เป็นสนธิสัญญาที่ลงนามเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสนธิสัญญาเบรตีญี · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาเบอร์นี

นธิสัญญาเบอร์นี (Burney Treaty) คือ สนธิสัญญาทางพระราชไมตรีและการพาณิชย์ฉบับแรกที่กรุงรัตนโกสินทร์ (ต่อมาคือประเทศไทย) ทำกับประเทศตะวันตกในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เฮนรี เบอร์นีได้เป็นทูตอังกฤษเดินทางเข้ามายังกรุงรัตนโกสินทร์ใน..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและสนธิสัญญาเบอร์นี · ดูเพิ่มเติม »

หลวงพ่อศิลา

วัดทุ่งเสลี่ยมเป็นสถานที่ประดิษฐานของ หลวงพ่อศิลา เป็นพระพุทธรูป สกัดจากหินทรายสีเทา ศิลปะทวารวดี พบอยู่ในถ้ำเจ้าราม เคยถูกโจรกรรม และกลับมาประดิษฐานที่วัดทุ่งเสลี่ยม เทศบาลตำบลทุ่งเสลี่ยม.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและหลวงพ่อศิลา · ดูเพิ่มเติม »

หลักระวังไว้ก่อน

หลักระวังไว้ก่อน (precautionary principle) เป็นวิธีการจัดการความเสี่ยงที่มีหลักว่า ถ้าการกระทำหรือนโยบายมีข้อน่าสงสัยว่า จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อสาธารณประโยชน์หรือต่อสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ โดยไม่มีมติส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ว่า การกระทำหรือนโยบายนั้นจะไม่ทำความเสียหาย การพิสูจน์ว่าจะไม่ก่อความเสียหาย ตกเป็นหน้าที่ของบุคคลที่ต้องการทำการนั้น ๆ ผู้ออกนโยบายได้ใช้หลักนี้เป็นเหตุผลการตัดสินใจ ในสถานการณ์ที่อาจเกิดความเสียหายเพราะการตัดสินใจบางอย่าง (เช่นเพื่อจะทำการใดการหนึ่ง หรืออนุมัติให้ทำการใดการหนึ่ง) ในกรณีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไม่ชัดเจน หลักนี้แสดงนัยว่า ผู้ออกนโยบายมีหน้าที่ทางสังคมที่จะป้องกันสาธารณชนจากการได้รับสิ่งที่มีอันตราย เมื่อการสืบสวนทางวิทยาศาสตร์ได้พบความเสี่ยงที่เป็นไปได้ และการป้องกันเช่นนี้จะสามารถเพลาลงได้ ก็ต่อเมื่อมีงานศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่แสดงหลักฐานที่ชัดเจนว่าจะไม่มีอันตรายเกิดขึ้น กฎหมายของเขตบางเขต เช่นในสหภาพยุโรป ได้บังคับใช้หลักนี้ในบางเรื่อง ส่วนในระดับสากล มีการยอมรับใช้หลักนี้เป็นครั้งแรกในปี 2525 เมื่อสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติตกลงใช้กฎบัตรเพื่อธรรมชาติแห่งโลก (World Charter for Nature) แล้วต่อมาจึงมีผลเป็นกฎหมายจริง ๆ ในปี 2530 ผ่านพิธีสารมอนทรีออล (Montreal Protocol) ต่อจากนั้นจึงมีการใช้หลักนี้ตามสนธิสัญญาที่มีผลทางกฎหมายต่าง ๆ เช่น ปฏิญญารีโอ (Rio Declaration) และพิธีสารเกียวโต.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและหลักระวังไว้ก่อน · ดูเพิ่มเติม »

อัตติลา

อัตติลา หรือที่ใช้อ้างอิงส่วนใหญ่ อัตติลาเดอะฮัน (Attila the Hun) (ค.ศ. 406 – ค.ศ. 453) เป็นจักรพรรดิชาวฮันผู้ครองจักรวรรดิฮัน (Hunnic Empire) ซึ่งประกอบไปด้วยกลุ่มชนเผ่าต่างๆทั้ง ฮัน ออสโตรกอท อลานส์ และเผ่าอนารยชนอื่นๆ ในดินแดนยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ระหว่าง ค.ศ. 434 จนถึงเดือนมีนาคม ค.ศ. 453 ที่พระองค์ได้เสด็จสวรรคตลง ในรัชสมัยของพระองค์สามารถครอบครองดินแดนตั้งแต่ ประเทศเยอรมนีไปจนถึงแม่น้ำยูรัล และจากแม่น้ำดานูบไปจนถึงทะเลบอลติก กินพื้นที่มากกว่า 4 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นการครอบครองดินแดนที่มากที่สุดอาณาจักรหนึ่งในยุคมืด ในรัชสมัยการปกครองของอัตติลาทรงเป็นประมุขผู้สร้างความหวาดหวั่นและถือเป็นศัตรูที่อันตรายที่สุดแก่จักรวรรดิโรมันตะวันออกและจักรวรรดิโรมันตะวันตก พระองค์ทรงรุกรานคาบสมุทรบอลข่านถึงสองครั้ง แต่พระองค์ไม่สามารถรุกรานกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้สำเร็จ และจากผลพวงของการพ่ายแพ้ในเปอร์เซีย ในปี..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและอัตติลา · ดูเพิ่มเติม »

อานัมสยามยุทธ

อานัมสยามยุทธ คือสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างไทยกับเวียดนามเพื่อแย่งชิงกัมพูชาในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและอานัมสยามยุทธ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การทรัพย์สินทางปัญญาแห่งโลก

ำนักงานกลางขององค์การทรัพย์สินทางปัญญาแห่งโลกในเจนีวา องค์การทรัพย์สินทางปัญญาแห่งโลก (Organisation Mondiale de la Propriété Intelectuelle หรือ OMPI, World Intellectual Property Organization หรือ WIPO) เป็นหนึ่งในองค์การเฉพาะทางของสหประชาชาติ องค์การได้รับการก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและองค์การทรัพย์สินทางปัญญาแห่งโลก · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาบาเซิล

อนุสัญญาบาเซิล หรือ อนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามแดนและการกำจัดซึ่งของเสียอันตราย (Basel Convention หรือชื่อเต็ม Basel Convention on the Control of Transboundary Movements of Hazardous Wastes and Their Disposal) เป็นสนธิสัญญาระดับนานาชาติว่า ด้วยการจำกัดการเคลื่อนย้ายของเสียอันตรายระหว่างประเทศ โดยเฉพาะจากประเทศกำลังพัฒนาไปยังประเทศด้อยพัฒนา จุดมุ่งหมายคือลดปริมาณสารพิษที่เกิดจากของเสีย หรือ ขยะ อนุสัญญาบาเซิลเริ่มลงนามเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ปัจจุบันมี 166 ประเทศที่ลงนาม โดยมีประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศเฮติ และสหรัฐอเมริกาที่ลงนามแล้ว แต่ยังไม่ได้เริ่มเข้ากระบวนการปฏิบัติตามสนธิสัญญา ความเป็นมา สาระสำคัญและประโยชน์การเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญาบาเซล ความเป็นมาใน ช่วง 10 ปีที่ผ่านมาปัญหาการลักลอบนำของเสียอันตรายจากประเทศอุตสาหกรรมไปทิ้งในประเทศด้อยพัฒนาที่อยู่ในทวีปแอฟริกาอเมริกากลาง และเอเชียได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นตามลำดับโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (The United Nation Environment Programme: UNEP) จึงได้จัดประชุมนานาชาติขึ้นเมื่อเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและอนุสัญญาบาเซิล · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญากรุงบัวโนสไอเรส

อนุสัญญาบัวโนสไอเรส เป็นสนธิสัญญาด้านลิขสิทธิ์ ซึ่งลงนามที่กรุงบัวโนสไอเรส เมื่อวันที่ 11 เมษายน..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและอนุสัญญากรุงบัวโนสไอเรส · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์

ัญลักษณ์ไซเตส อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora) หรือเรียกโดยย่อว่า ไซเตส และเป็นที่รู้จักในชื่อ อนุสัญญากรุงวอชิงตัน (Washington Convention) เป็นสนธิสัญญาซึ่งเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น

อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น หรือเรียกสั้น ๆ ว่า อนุสัญญาลอนดอน หรือ LC '72 หรือย่อว่า ทิ้งขยะกลางทะเล (Convention on the Prevention of Marine Pollution by Dumping of Wastes and Other Matter หรือ Convention on the Prevention of Marine Pollution by Dumping of Wastes and Other Matter หรือ London Convention หรือ LC '72 หรือ Marine Dumping) คือสนธิสัญญาเพื่อการควบคุมมลพิษทางทะเลที่เกิดจากการทิ้งของเสียหรือขยะ โดยการสนับสนุนข้อตกลงระดับภูมิภาคในการเพิ่มเติมอนุสัญญาหลัก สาระสำคัญของสนธิสัญญาครอบคลุมการจงใจทิ้งขยะโดยเรือ, ยานบิน และแท่นเจาะน้ำมันกลางทะเล และไม่ครอบคลุมสิ่งที่ทิ้งลงทะเลจากสิ่งที่ตั้งอยู่บนแผ่นดินเช่นจากท่อ หรือของเสียอันเกิดจากการเดินเรือ หรือ การตั้งสิ่งของในทะเลโดยวัตถุประสงค์อื่นที่ไม่ใช่เพื่อการทิ้ง ที่ไม่ขัดกับจุดประสงค์ของอนุสัญญา อนุสัญญามีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาสิทธิบัตรสตราสบวร์ก

อนุสัญญาสิทธิบัตรสตราสบวร์ก (Strasbourg Convention หรือ Strasbourg Patent Convention) คือสนธิสัญญาพหุภาคีที่ลงนามโดยประเทศสมาชิกของสภาแห่งยุโรปเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและอนุสัญญาสิทธิบัตรสตราสบวร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและอนุสัญญาแรมซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาเจนีวา

อนุสัญญาเจนีวา (Geneva Conventions) คือสนธิสัญญาสี่ฉบับ และพิธีสารสามฉบับที่วางมาตรฐานในการปฏิบัติต่อผู้เป็นเหยื่อของสงครามอย่างมีมนุษยธรรม ได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและอนุสัญญาเจนีวา · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง

อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง (Second Geneva Convention) คือสนธิสัญญาหนึ่งในสี่ฉบับของอนุสัญญาเจนีวาที่วางรากฐานของกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับการพิทักษ์ผู้เป็นเหยื่อของสงคราม และมีผลบังคับเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1906 อนุสัญญาได้รับการแก้ไขต่อมาในปี..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและอนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง

อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง ว่าด้วยการดูแลรักษาทหารผู้บาดเจ็บและเจ็บป่วยในสนามรบ คือสนธิสัญญาหนึ่งในสี่ฉบับของอนุสัญญาเจนีวาที่วางรากฐานของกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับการพิทักษ์ผู้เป็นเหยื่อของสงคราม อนุสัญญาลงนามครั้งแรกโดยประเทศในยุโรปสิบสองประเทศเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและอนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เบาว์ริง

ซอร์จอห์น เบาว์ริง (Sir John Bowring; 17 ตุลาคม พ.ศ. 2335 – 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2415) เป็นเจ้าเมืองฮ่องกง (ค.ศ. 1848-1857) พ่อค้า นักการทูต นักเศรษฐศาสตร์การเมือง นักการศาสนา นักแต่งเพลงสวด กวี นักประพันธ์ บรรณาธิการ และนักภาษาศาสตร์ (โดยรู้ถึง 10 ภาษาหลัก ๆ ทั้งหมด ในยุโรป รวมทั้งภาษาจีน) ตลอดจนถึงเป็นราชทูตที่ได้รับการแต่งตั้งจาก สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งอังกฤษ เพื่อเข้ามาเจริญพระราชไมตรีและเจรจาทำสนธิสัญญากับราชสำนักไทย ในปี พ.ศ. 2398 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในที่สุดก็มีการลงนามในสนธิสัญญาเบาริง เมื่อวันที่ 18 เมษายนปีเดียวกัน สนธิสัญญาฉบับนี้มีผลให้สยามต้องเสียอำนาจอธิปไตยทางการศาลและคนในบังคับอังกฤษมีสิทธิสภาพนอกอาณาเขตในสยาม นอกจากนี้ สนธิสัญญาดังกล่าวเป็นการเปิดการค้าเสรีกับต่างประเทศ ถือเป็นการสิ้นสุดของการผูกขาดการค้ากับต่างประเทศโดยกรมพระคลังสินค้าของสยาม สนธิสัญญานี้มีผลใช้บังคับอยู่นานกว่า 70 ปี ท้ายที่สุดสมัยปลายรัชกาลที่ 4 และต้นรัชกาลที่ 5 ท่านได้รับแต่งตั้งเป็นอัครราชทูตไทยประจำกรุงลอนดอนและทวีปยุโรป ถือได้ว่าเป็น “ตัวแทนประจำคนแรกของไทย” ก็ว่าได้ มีบรรดาศักดิ์เป็น “พระยาสยามมานุกูลกิจ สยามมิตรมหายศ”.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและจอห์น เบาว์ริง · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ

รรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ (Rome Statute of the International Criminal Court) หรือเรียกโดยย่อว่า ธรรมนูญกรุงโรม (Rome Statute) เป็นสนธิสัญญาซึ่งมีเนื้อหาสาระเป็นการจัดตั้งและจัดเขตอำนาจศาลอาญาระหว่างประเทศ ธรรมนูญนี้ได้รับความเห็นชอบจากรัฐต่าง ๆ ณ การประชุมทางการทูตที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2541 และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2545 โดยในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติไทย

งชาติไทย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธงไตรรงค์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สีหลักในธง 3 สี คือ สีแดง ขาว และสีน้ำเงินขาบ ภายในแบ่งเป็นแถบ 5 แถบ แถบในสุดสีน้ำเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบนและล่างเป็นสีขาวและสีแดงตามลำดับ แถบสีน้ำเงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ความหมายสำคัญของธงไตรรงค์นั้นหมายถึงสถาบันหลักทั้งสามของประเทศไทย คือ ชาติ (สีแดง) ศาสนา (สีขาว) และพระมหากษัตริย์ (สีน้ำเงิน) สีทั้งสามนี้เองคือที่มาของการเรียกชื่อธงนี้ว่าธงไตรรงค์ (ไตร.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและธงชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอนตาร์กติกา

วเทียมของทวีปแอนตาร์กติกา แอนตาร์กติกา (Antarctica) เป็นทวีปที่อยู่ใต้สุดของโลกตั้งอยู่ในภูมิภาคแอนตาร์กติกในซีกโลกใต้และเป็นที่ตั้งขั้วโลกใต้ทางภูมิศาสตร์ เกือบทั้งหมดอยู่ในวงกลมแอนตาร์กติกและล้อมลอบด้วยมหาสมุทรใต้ มีพื้นที่ประมาณ 14,000,000 ตารางกิโลเมตร เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 5 ของโลกใหญ่กว่าทวีปออสเตรเลียถึง 2 เท่า พื้นที่ 98% ของทวีปปกคลุมด้วยน้ำแข็งหนาเฉลี่ย 1.9 กิโลเมตร ซึ่งครอบคลุมพื้นที่เกือบจะถึงเหนือสุดของคาบสมุทรแอนตาร์กติก โดยค่าเฉลี่ยแล้วแอนตาร์กติกาเป็นทวีปที่หนาวที่สุด แห้งแล้งที่สุด ลมแรงที่สุดและมีความสูงโดยเฉลี่ยมากที่สุด แอนตาร์กติกาเป็นทะเลทรายที่มีหยาดน้ำฟ้าเฉลี่ย 200 มิลลิเมตรต่อปีตามแนวชายฝั่งและพื้นที่ภายใน แม้ว่าช่วงที่หนาวสุดของปีจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย −63 °C แต่อุณหภูมิอาจต่ำถึง −89.2 °C (และอาจถึง -94.7 ° C หากวัดจากอากาศ) บางสถานที่มีคนราว 1,000 ถึง 5,000 คนอาศัยในสถานีวิจัยที่กระจายอยู่ทั่วที้งทวีปตลอดทั้งปี สิ่งมีชีวิตในแอนตาร์กติกาจะเป็นพวกสาหร่าย แบคทีเรีย เห็ดรา พืช โพรทิสต์และสัตว์บางชนิดเช่นตัวเห็บ ตัวไร นีมาโทดา เพนกวิน สัตว์ตีนครีบและหมีน้ำส่วนพืชก็จะเป็นพวกทันดรา แม้ว่ามีตำนานเล่าขานเกี่ยวกับการมีอยู่ของดินแดนใต้ตั้งแต่ยุคโบราณ แอนตาร์กติกาถูกระบุว่าเป็นดินแดนสุดท้ายบนโลกในประวัติศาสตร์ที่ถูกค้นพบเพราะไม่มีใครเคยพบเลยจนกระทั่ง..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและทวีปแอนตาร์กติกา · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลงชั่วคราว

วามตกลงชั่วคราว (modus vivendi) เป็นสำนวนภาษาละตินที่แสดงถึงการตกลงระหว่างคู่กรณีที่มีความคิดเห็นต่างกัน เช่นเดียวกับสำนวนภาษาอังกฤษว่า “ตกลงว่าไม่อาจจะตกลงกันได้” เมื่อพิจารณาศัพท์ modus แปลว่า วิถี แนวทาง และ vivendi แปลว่า แห่งการมีชีวิต เมื่อรวมกันเข้าก็แปลตรงตัวว่า วิถีชีวิต ซึ่งเป็นนัยแสดงการผ่อนปรนระหว่างคู่กรณีที่มีความขัดแย้งกันเพื่อให้ดำเนินชีวิตกันต่อไปได้ สำนวนดังกล่าวมักจะใช้เฉพาะในโอกาสลำลองหรือสถานการณ์ชั่วครั้งชั่วคราวเกี่ยวกับเรื่องการเมือง ตัวอย่างเช่นเมื่อคู่กรณีสามารถทำความตกลงชั่วคราวเกี่ยวกับดินแดนอันเป็นกรณีพิพาท แม้ว่าจะมีความแตกต่างกันทางการเมืองหรือทางวัฒนธรรม แต่ทั้งสองฝ่ายก็สามารถยอมรับความแตกต่างของกันและกันได้โดยมีวัตถุประสงค์ในการดำเนินความคืบหน้าต่อไป ความคิดดังกล่าวเป็นหลักปรัชญาการเมืองของนักปรัชญาการเมืองชาวอังกฤษ จอห์น เอ็น. เกรย์ ในทางการทูต ความตกลงชั่วคราวเป็นเครื่องมือสำหรับใช้ในการทำความตกลงสากลที่ไม่ว่าจะเป็นข้อตกลงชั่วคราว หรือ ข้อตกลงระยะสั้น ที่มีวัตถุประสงค์ในการใช้เป็นข้อตกลงระหว่างรอการตกลงอย่างถาวร เช่นในการเจรจาต่อรองในรายละเอียดของการทำสนธิสัญญา การตกลงด้วยวิธีดังกล่าวเป็นการตกลงอย่างลำลองซึ่งทำให้ไม่ต้องผ่านกระบวนการอนุมัติอย่างเป็นทางการ โดยทั่วไปแล้วการพักรบและการยอมแพ้มักจะเป็นการตกลงประเภทนี้.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและความตกลงชั่วคราว · ดูเพิ่มเติม »

คดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505

แผนที่ฝรั่งเศส ฉบับที่กัมพูชาส่งให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศใช้พิจารณา คดีปราสาทพระวิหาร เป็นความขัดแย้งระหว่างราชอาณาจักรกัมพูชากับราชอาณาจักรไทย ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2501 จากปัญหาการอ้างสิทธิเหนือบริเวณปราสาทพระวิหาร ซึ่งตั้งอยู่ที่ชายแดนไทยด้านอำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ และชายแดนกัมพูชาด้านจังหวัดพระวิหาร เกิดจากการที่ทั้งไทยและกัมพูชา ถือแผนที่ปักปันเขตแดนตามแนวสันปันน้ำของเทือกเขาพนมดงรักคนละฉบับ ทำให้เกิดปัญหาพื้นที่ทับซ้อนของทั้งสองฝ่ายในบริเวณที่เป็นที่ตั้งของตัวปราสาท โดยทั้งฝ่ายกัมพูชาและฝ่ายไทยได้ยินยอมให้มีการพิจารณาปัญหาดังกล่าวขึ้นที่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในปี พ.ศ. 2502 คดีนี้ศาลโลกได้ตัดสินให้ตัวปราสาทพระวิหารตกเป็นของกัมพูชา เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2505 ด้วยคะแนนเสียง 9 ต่อ 3 ท่ามกลางความไม่พอใจของฝ่ายไทย ซึ่งเห็นว่าศาลโลกตัดสินคดีนี้อย่างไม่ยุติธรรม อย่างไรก็ตาม การตัดสินคดีครั้งนี้ไม่ได้แก้ปัญหาเรื่องอาณาเขตทับซ้อนระหว่างไทย-กัมพูชาในบริเวณดังกล่าวให้หมดไป และยังคงเป็นปัญหาเรื้อรังต่อมาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและคดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

ซิวิไลเซชัน (เกมชุด)

ซิวิไลเซชัน (Civilization) เป็นเกมชุดวางแผนการรบสร้างประเทศขึ้นมาโดยที่ผู้เล่นจะเป็นตัวกษัตริย์ซึ่งผู้เล่นจะเริ่มสร้างตัวละคร เริ่มจากชาวอพยพ แล้วเราจะพัฒนาด้านการเมืองการปกครองการทหารซึ่งจะเหมือนว่าเกมส์นี้จะทำให้ผู้เล่นเหมือนเป็นกษัตริย์จริง ซึ่งจะคอยสร้างบ้านเมืองและปกครองประเทศรวมถึงการพัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรืองจนถึงยุคอวกาศซึ่งผู้เล่นต้องคอยทำให้ ประเทศของผู้เล่นเจริญโดยการพัฒนาเทคโนโลยี อารยธรรม การติดต่อสื่อสารกับประเทศอื่น ๆ ซึ่งจะมีการทำสนธิสัญญาระหว่างประเทศ และทำสงครามระหว่างประเทศได้ เกมนี้เหมาะกับผู้เล่นที่มีอายุ 12 ปี ขึ้นไป หมวดหมู่:เกมชุด.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและซิวิไลเซชัน (เกมชุด) · ดูเพิ่มเติม »

ซูสีไทเฮา

ฉือสี่ไท่โฮ่ว ตามภาษาจีนมาตรฐาน หรือ ซูสีไทเฮา ตามภาษาจีนฮกเกี้ยน (29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1835 – 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1908) เป็นสตรีชาวแมนจูจากตระกูลเย่เฮ่อน่าลา (葉赫那拉氏) ดำรงตำแหน่งไท่โฮ่ว (พระราชชนนีพันปีหลวง) และสำเร็จราชการแทนจักรพรรดิจีนหลายพระองค์ในช่วงปลายราชวงศ์ชิง พระนางจึงควบคุมการปกครองจักรวรรดิจีนโดยพฤตินัยเป็นเวลา 47 ปีตั้งแต..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและซูสีไทเฮา · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ศรีลังกา

ประวัติศาสตร์ศรีลังกา เริ่มต้นเมื่อ 30,000 ปีที่แล้ว พงศาวดารกล่าวไว้ว่ากษัตริย์สิงหลนั้นมีในศตวรรษที่6 และบางคนกล่าวว่ามีเรื่องรามายนะ มหาภารตะ พระพุทธศาสนานั้นเข้ามาในศตวรรษที่3 ในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช จนศตวรรษที่16 ดินแดนชายทะเลบางส่วนตกเป็นของโปรตุเกส อังกฤษ และดัชช์ ในเวลาต่อมาจึงตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ จนกระทั่งปี..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและประวัติศาสตร์ศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกาตาร์

กาตาร์ (قطر‎) หรือชื่อทางการคือ รัฐกาตาร์ (دولة قطر) เป็นรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirate) ในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่บนคาบสมุทรขนาดเล็กที่แตกมาจากคาบสมุทรอาหรับ มีพรมแดนทางใต้ติดกับประเทศซาอุดีอาระเบีย และมีชายฝั่งริมอ่าวเปอร์เซี.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและประเทศกาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2411

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2411 ในประเทศไท.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและประเทศไทยใน พ.ศ. 2411 · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญา (แก้ความกำกวม)

ปริญญา อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและปริญญา (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

นากทะเล

ำหรับนากทะเลที่อยู่ในสกุล Lontra ดูที่: นากทะเลอเมริกาใต้ นากทะเล (Sea otters) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเล ประเภทหนึ่งโดยอาศัยอยู่บริเวณชายฝั่งตอนเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก ในวัยเจริญพันธุ์จะมีน้ำหนักประมาณ 14–45 กิโลกรัม (31–99 ปอนด์) นากทะเลเป็นสัตว์ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae) ชนิดหนึ่ง และเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเลที่มีขนาดเล็กที่สุดอีกด้วย นากทะเลนั้นไม่เหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเลทั่วไปเพราะมีฉนวนกันความร้อนด้วยขนที่หนาแน่น จึงทำให้นากทะเลสามารถหาอาหารในทะเลเป็นเวลานาน ๆ ได้ นากทะเลจะอาศัยอยู่บริเวณชายฝั่ง โดยจะดำดิ่งสู่พื้นทะเลเพื่อหาอาหาร อาหารที่ชอบคือ สาหร่ายทะเล (ถ้าเป็นสาหร่ายเคลท์จะชอบมาก) เม่นทะเล หอยต่าง ๆ กุ้งบางชนิด และปลาบางชนิด นอกจากนี้นากทะเลยังเป็นสัตว์ที่สามารถวัดความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ได้อีกด้วย ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าพฤติกรรมการกินอาหารของนากทะเลที่ใช้หินทุบเปลือกหอยบนหน้าอกตัวเองนั้นเป็นพฤติกรรมที่มีมานานเป็นระยะเวลานับหลายล้านปี ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยถือว่าเป็นพฤติกรรมการกินอาหารที่พัฒนาขึ้นมาจากการกินหรือหาอาหารทั่วไปของสัตว์โลก และเป็นสัตว์ทะเลชนิดแรกที่มีพัฒนาการเช่นนี้ โดยการสังเกตพฤติกรรมแม้แต่ลูกนากทะเลกำพร้าในสถานที่เลี้ยงก็ยังพบว่ามีพฤติกรรมเช่นนี้ ในอดีตจำนวนากทะเลอยูที่ประมาณ 1,000–2,000 ตัวเท่านั้นเพราะถูกล่าอย่างหนักในปี..

ใหม่!!: สนธิสัญญาและนากทะเล · ดูเพิ่มเติม »

นโยบายต่างประเทศของโซเวียตยุคเริ่มต้น

รูปค้อนเคียว สัญลักษณ์ของลัทธิคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียต นโยบายต่างประเทศของโซเวียตยุคเริ่มต้น เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายต่างประเทศของโซเวียต ที่ปรากฏในช่วง ค.ศ. 1917 -1945 ในระหว่างช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 1 และสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในยุโรป เป็นยุคที่สหภาพโซเวียตได้พยายามก่อร่างสร้างตัว เพื่อให้เป็นรัฐสังคมนิยมแบบคอมมิวนิสต์ตามแนวลัทธิมาร์ก-เลนิน และเพื่อดำรงอยู่ได้โดยไม่ถูกทำลายจากมหาอำนาจตะวันตก และป้องกันภัยจากทางตะวันออกไกล คือ ญี่ปุ่น ดังนั้นนโยบายต่างประเทศในช่วงนี้จะอยู่ในสมัยของ เลนิน (1917-1924) และส่วนใหญ่ของ สตาลิน (1924-1953).

ใหม่!!: สนธิสัญญาและนโยบายต่างประเทศของโซเวียตยุคเริ่มต้น · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเผยอิง

รงเรียนเผยอิง (จีน: 培英学校; อังกฤษ: Pei-ing School) เป็นโรงเรียนเอกชนสอนภาษาจีน ที่ดำเนินงานโดย สมาคมแต้จิ๋วแห่งประเทศไทย มีปรัชญาว่า "รักชาติ เพียรศึกษา ซื่อสัตย์ มีคุณธรรม", คติพจน์คือ "ความเพียรพยายาม นำไปสู่ความสำเร็จ" และคำขวัญว่า "เรียนดี กีฬาเด่น เน้นคุณธรรม" จากเว็บไซต์โรงเรียนฯ ปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) มีคณะผู้บริหารประกอบด้วย ดร.ไกรสร จันศิริ นายกสมาคมแต้จิ๋วแห่งประเทศไทย ประธานกรรมการโรงเรียน, นางสาวนงลักษณ์ เดชดำเกิงชัย ผู้อำนวยการโรงเรียน และ นางจินตนา โรจน์ขจรนภาลัย นายกสมาคมศิษย์เก่าเผยอิง.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและโรงเรียนเผยอิง · ดูเพิ่มเติม »

โลกตะวันตก

ลกตะวันตก (Western world และอาจเรียก The West หรือ Occident) เป็นคำซึ่งใช้กล่าวถึงประเทศได้หลายประเทศ โดยประเทศที่หมายถึงอาจแตกต่างกันไปตามบริบทของการใช้คำศัพท์ นอกจากนี้เป็นคำซึ่งมีคำจำกัดความอยู่มากมาย, Our Tradition; James Kurth; accessed 30 August 2011 แนวคิดส่วนของโลกซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกมีรากฐานมาจากอารยธรรมกรีกโรมันในยุโรปและการกำเนิดของศาสนาคริสต์Cambridge University Historical Series, An Essay on Western Civilization in Its Economic Aspects, p.40: Hebraism, like Hellenism, has been an all-important factor in the development of Western Civilization; Judaism, as the precursor of Christianity, has indirectly had had much to do with shaping the ideals and morality of western nations since the christian era.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและโลกตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นยอร์กทาวน์

ูเอสเอส เอนเทอร์ไพรซ์ (CV-6) เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นยอร์กทาวน์ลำสุดท้าย เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นยอร์กทาวน์ (Yorktown class aircraft carrier) เป็นชั้นของเรือบรรทุกเครื่องบินของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา ตั้งชื่อตามเรือธง คือ ยูเอสเอส ยอร์กทาวน์ (CV-5) ที่เข้าประจำการตั้งแต่ช่วง ค.ศ. 1936 ก่อนสงครามโลกครั้งที่สองไม่นาน เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นยอร์กทาวน์พัฒนามาจาก ยูเอสเอส เรนเจอร์ (CV-4) และเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเล็กซิงตัน ซึ่งดัดแปลงมาจากเรือลาดตระเวนประจัญบาน เรือบรรทุกเครื่องบินในชั้นนี้มีทั้งสิ้น 3 ลำ คือ ยูเอสเอส ยอร์กทาวน์ (CV-5), ยูเอสเอส เอนเทอร์ไพรซ์ (CV-6) และยูเอสเอส ฮอร์เน็ต (CV-8) ทั้งสามลำมีระวางขับน้ำ 19,800 ตัน และยังมีเรือ ยูเอสเอส วาสป์ (CV-7) ที่ถูกย่อส่วน ลดระวางขับน้ำเหลือเพียง 14,700 ตัน เพื่อให้กองทัพเรือสหรัฐมีกำลังรบรวมเหลือเพียง 135,000 ตัน เป็นไปตามสนธิสัญญาวอชิงตัน.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นยอร์กทาวน์ · ดูเพิ่มเติม »

เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเล็กซิงตัน

ูเอสเอส เล็กซิงตัน (CV-2) การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 1946 ยูเอสเอส ซาราโตกา (CV-3) ขณะกำลังอัปปาง เรือบรรทุกเครื่องบินเล็กซิงตัน (Lexington class aircraft carrier) เป็นเรือบรรทุกเครื่องบินของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา มีด้วยกันสองลำ คือ ยูเอสเอส เล็กซิงตัน (CV-2) และยูเอสเอส ซาราโตกา (CV-3) เป็นเรือบรรทุกเครื่องบินชุดแรกของสหรัฐที่ได้เข้าประจำการ และออกปฏิบัติการจริง (ไม่นับ ยูเอสเอส แลงลีย์ (CV-1) ที่เป็นเรือทดลอง และถูกดัดแปลงเป็นเรือบรรทุกเครื่องบินทะเล) เรือบรรทุกเครื่องบินในชั้นนี้ เดิมถูกออกแบบให้เป็นเรือลาดตระเวนประจัญบาน (battlecruiser) ได้รับวางกระดูกงูตั้งแต่ช่วงปี 1921-1922 มีทั้งสิ้น 6 ลำ ในชั้น "เรือลาดตระเวนประจัญบานชั้นเล็กซิงตัน" ระวางขับน้ำ 43,500 ตัน ได้แก่ สืบเนื่องจากสนธิสัญญาวอชิงตัน ที่กำหนดให้สหรัฐมีกองกำลังทางเรือได้ไม่เกิน 135,000 ตัน ทำให้การสร้างเรือจำนวน 4 ลำ คือ คอนสเตลเลชัน เรนเจอร์ คอนสติติวชัน และยูไนเต็ด สเตตส์ ถูกระงับ ส่วนยูเอสเอส เล็กซิงตัน และยูเอสเอส ซาราโตกา ถูกดัดแปลงเป็นเรือบรรทุกเครื่องบิน มีระวางขับน้ำ 36,000 ตัน พร้อมกับเปลี่ยนรหัส จาก CC-1 เป็น CV-2 และ CC-3 เป็น CV-3 ตามลำดับ เรือยูเอสเอส เล็กซิงตัน (CV-2) อัปปางลงในการรบที่ทะเลคอรัล เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 1942 ส่วนยูเอสเอส ซาราโตกา (CV-3) ถูกใช้เป็นเป้าการทดลองระเบิดนิวเคลียร์ ในปฏิบัติการครอสโรดส์ ที่หมู่เกาะบิกินี เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 1946.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเล็กซิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

เอมิล เคร็บส์

อมิล เคร็บส์ (เกิดในวันที่ 15 พฤศจิกายน 1867 ใน Freiburg, Schlesien เสียชีวิตเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 1930 ในกรุงเบอร์ลิน) – ชาวเยอรมันที่เป็นต้นแบบการเรียนรู้หลายภาษา (พูดได้หลายภาษา) เป็นบุตรชายของช่างไม้ แหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือแห่งหนึ่งได้เปิดเผยว่าเขาเข้าใจ 68 ภาษาในการพูดหรือการเขียนได้ในระดับดี.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและเอมิล เคร็บส์ · ดูเพิ่มเติม »

20 มีนาคม

วันที่ 20 มีนาคม เป็นวันที่ 79 ของปี (วันที่ 80 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 286 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สนธิสัญญาและ20 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

International agreementสัญญาระหว่างประเทศสนธิสัญญาระหว่างประเทศพิธีสารข้อตกลงระหว่างประเทศความตกลงระหว่างประเทศปฏิญญา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »