สารบัญ
64 ความสัมพันธ์: ฟิลิปที่ 3 ดยุกแห่งเบอร์กันดีพ.ศ. 1880พ.ศ. 1974พระเจ้าชาร์ลที่ 5 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าชาร์ลที่ 6 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฌ็องที่ 2 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษการก่อการกำเริบของประชาชนในยุโรปช่วงปลายสมัยกลางการล้อมออร์เลอ็องการ์กาซอนกางเขนยุทธการที่อาแซ็งกูร์ยุทธการที่เครซียูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3รอแดซระบำมรณะราชวงศ์วาลัวราชอาณาจักรฝรั่งเศสรายชื่อสนธิสัญญารายชื่อตัวละครในนักเตะแข้งสายฟ้า GOรายพระนามพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสริชาร์ด แพลนแทเจเนต ดยุกที่ 3 แห่งยอร์กสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในฝรั่งเศสสงครามดอกกุหลาบสนธิสัญญาอารัส (ค.ศ. 1435)สนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1303)สนธิสัญญาเบรตีญีอังกฤษสมัยแองโกล-นอร์มันอารามบอนวาล (จังหวัดอาแวรง)อารามฟงต์แนอารามมาซ็องอารามโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญอาสนวิหารรอแดซอาสนวิหารลูว์ซงอาสนวิหารลีมอฌอาสนวิหารแกลร์มง-แฟร็องอาสนวิหารโบแวฮัมฟรีย์ สแตฟฟอร์ด ดยุกที่ 1 แห่งบักกิงแฮมฌาน ดาร์กฌ็องที่ 2 ดยุกแห่งเบอร์กันดีจอห์น ฮอว์ควูดจอห์นแห่งแลงแคสเตอร์ ดยุกที่ 1 แห่งเบดฟอร์ดธนูยาวอังกฤษทุพภิกขภัยดัชชีเบอร์กันดีประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสประวัติศาสตร์อังกฤษปราสาทกัสแตลโน-เบรอเตอนู... ขยายดัชนี (14 มากกว่า) »
ฟิลิปที่ 3 ดยุกแห่งเบอร์กันดี
ฟิลลิปเดอะกูด หรือ ฟิลลิปที่ 3 ดยุคแห่งบูร์กอญ ('''Philippe le Bon'''., Philip the Good หรือ Philip III, Duke of Burgundy) (31 กรกฎาคม ค.ศ. 1396 - 15 มิถุนายน ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและฟิลิปที่ 3 ดยุกแห่งเบอร์กันดี
พ.ศ. 1880
ทธศักราช 1880 ใกล้เคียงกั.
พ.ศ. 1974
ทธศักราช 1974 ใกล้เคียงกั.
พระเจ้าชาร์ลที่ 5 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าชาร์ลที่ 5 แห่งฝรั่งเศส (Charles V of France หรือ Charles the Wise หรือ Charles le Sage; 21 มกราคม ค.ศ. 1338 - 16 กันยายน ค.ศ. 1380) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัว ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 8 เมษายน ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและพระเจ้าชาร์ลที่ 5 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าชาร์ลที่ 6 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าชาร์ลส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศส (ภาษาอังกฤษ: Charles VI of France) (3 ธันวาคม ค.ศ. 1368- 21 ตุลาคม ค.ศ. 1422) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ที่ได้รับการขนานพระนามว่า “le Bien-Aimé” (ผู้เป็นที่รัก) หรือ “le Fol or le Fou” (ผู้เสียพระสติ) พระเจ้าชาร์ลส์ทรงเป็นสมาชิกในราชวงศ์วาลัวส์ และเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 5 แห่งฝรั่งเศส พระเจ้าชาร์ลส์ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและพระเจ้าชาร์ลที่ 6 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส (Charles VII de France; Charles VII of France) (22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1403- 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1461) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัว ที่ได้รับการขนานพระนามว่า “le Victorieux” (ผู้พิชิต) หรือ “le Bien-Servi” (ผู้ได้รับการสนองพระบรมราชโองการเป็นอย่างดี) พระเจ้าชาร์ลทรงเป็นเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าชาร์ลที่ 6 แห่งฝรั่งเศส การขึ้นครองราชบัลลังก์ของพระองค์ได้รับการคัดค้านโดยฝ่ายอังกฤษที่ขณะนั้นมีอำนาจอยู่ทางตอนเหนือของฝรั่งเศส คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษที่นำโดยจอห์นแห่งแลงคาสเตอร์ ดยุกแห่งเบดฟอร์ดที่ 1 ที่ทำการปกครองฝรั่งเศสแทนพระเจ้าเฮนรีอยู่ในปารีสก็อ้างว่าพระเจ้าเฮนรีที่ 6 ทรงเป็นผู้มีสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสอย่างถูกต้องตามที่ระบุในสนธิสัญญาตรัวส์ (Treaty of Troyes) แต่พระเจ้าชาร์ลก็ทรงได้เข้าทำพระราชพิธีบรมราชาภิเษกที่เมืองแรงส์ในปี ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและพระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าฌ็องที่ 2 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าฌ็องที่ 2 แห่งฝรั่งเศส (John II of France หรือ John the Good หรือ Jean le Bon) (16 เมษายน ค.ศ. 1319 - 8 เมษายน ค.ศ. 1364) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสองค์ที่สองของราชวงศ์วาลัว ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 8 เมษายน ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและพระเจ้าฌ็องที่ 2 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ
มเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ (Edward III of England; Édouard III d'Angleterre; 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1312 – 21 มิถุนายน ค.ศ. 1377) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทของราชอาณาจักรอังกฤษระหว่างปี ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ
พระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษ
มเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษ (Henry V of England) (16 กันยายน ค.ศ. 1387 – 31 สิงหาคม ค.ศ. 1422) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์แลงคาสเตอร์ของราชอาณาจักรอังกฤษระหว่างปี..
ดู สงครามร้อยปีและพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษ
การก่อการกำเริบของประชาชนในยุโรปช่วงปลายสมัยกลาง
มเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษพบปะกับคณะผู้ก่อการในการปฏิวัติชาวนา การปฏิวัติของชุมชนในปลายสมัยกลางของยุโรป (Popular revolt in late medieval Europe) โดยทั่วไปเป็นการก่อความไม่สงบหรือการปฏิวัติของเกษตรกรในชนบทหรือชนชั้นกลางในเมืองในการต่อต้านขุนนาง, นักบวช หรือ พระมหากษัตริย์ระหว่างคริสต์ศัตวรรษที่ 14 จนถึงต้นคริสต์ศัตวรรษที่ 16 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ“วิกฤติกาลของปลายสมัยกลางของยุโรป”(Crisis of the Late Middle Ages) บางครั้งก็เรียกว่า“กบฏชาวนา”(Peasant revolt) ที่เป็นการปฏิวัติของชุมชนที่ครอบคลุมอย่างกว้างไม่เฉพาะแต่เกษตรกรหรือชาวน.
ดู สงครามร้อยปีและการก่อการกำเริบของประชาชนในยุโรปช่วงปลายสมัยกลาง
การล้อมออร์เลอ็อง
การล้อมออร์เลอ็อง (Siege of Orléans) เป็นยุทธการในสงครามร้อยปี ที่เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1428 ถึงวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและการล้อมออร์เลอ็อง
การ์กาซอน
การ์กาซอน (Carcassonne) เป็นเมืองที่มีกำแพงป้องกันเมืองล้อมรอบที่ตั้งอยู่จังหวัดโอดในอดีตแคว้นล็องก์ด็อกในประเทศฝรั่งเศส เมืองการ์กาซอนแยกออกเป็นสองส่วน “Cité de Carcassonne” ซึ่งเป็นบริเวณเมืองที่ล้อมรอบด้วยกำแพงเมือง และ “ville basse” ซึ่งเป็นบริเวณปริมณฑลรอบตัวเมืองเก่า ที่มาของการ์กาซอนมาจากตำนานพื้นบ้านที่กล่าวว่าหลังจากประมุขของปราสาทชื่อ “การ์กัส” สามารถยุติการล้อมเมืองได้ก็ทำการสั่นระฆังเพื่อเป็นการเฉลิมฉลอง “Carcas sona” แต่การสร้างเป็นประติมากรรมฟื้นฟูกอธิคบนคอลัมน์บนประตูนาร์บอนเป็นของใหม่ ป้อมปราการที่บูรณปฏิสังขรณ์ใหม่หมดในปี..
กางเขน
กางเขนแบบที่ง่ายที่สุดเรียกว่ากางเขนละติน หรือ “crux ordinaria” ที่เป็นสัญลักษณ์ของการตรึงพระเยซูที่กางเขนตามความเชื่อในคริสต์ศาสนา กางเขน (Cross) เป็นเครื่องหมายทรงเรขาคณิตที่ประกอบด้วยแกนสองแกนตัดเป็นมุมฉากกัน ตามปกติแล้วแกนจะเป็นแนวตั้งขวางกับแนวนอน แต่ถ้าตัดทแยงกันก็จะเรียกว่ากางเขนไขว้ หรือ กางเขนนักบุญอันดรูว์ กางเขนเป็นสัญลักษณ์ที่เก่าแก่ที่สุดที่ใช้โดยมนุษย์ และใช้เป็นสัญลักษณ์ศาสนาหลายศาสนาที่รวมทั้งคริสต์ศาสนา กางเขนบ่อยครั้งจะเป็นสัญลักษณ์ของธาตุหลักทั้ง 4 ของโลก (เชวาลิเย์, ค.ศ.
ยุทธการที่อาแซ็งกูร์
ทธการอาแฌงคูร์ต (Battle of Agincourt) เป็นยุทธการในสงครามร้อยปีที่เกิดขึ้นเมื่อวันศุกร์ที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1415 ที่เมืองอาแฌงคูร์ตทางตอนเหนือของฝรั่งเศส เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายอังกฤษที่นำโดยสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษ และฝ่ายฝรั่งเศสที่นำโดยชาร์ลส์ ดาลเบรต์ ผลของยุทธการครั้งนี้ฝ่ายอังกฤษได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดต่อกองกำลังที่เหนือกว่ามากของฝรั่งเศส ชัยชนะของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีเป็นการเริ่มสมัยของสงครามใหม่ เมื่อพระเจ้าเฮนรีทรงอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสหลังจากที่ผลของการเจรจาในการสละสิทธิราชบัลลังก์ฝรั่งเศสเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนกับค่าตอบแทนไม่ประสบผลสำเร็จ พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศสไม่ทรงสามารถนำกองทัพด้วยพระองค์เองได้เนื่องจากการประชวร ทางฝ่ายฝรั่งเศสจึงนำโดยชาร์ลส์ ดาลเบรต์ผู้เป็นข้าหลวงแห่งฝรั่งเศส (Constable of France) และขุนนางกลุ่มอาร์มันญัค (Armagnac party) สิ่งสำคัญที่เกิดขึ้นในสงครามครั้งนี้ในด้านความก้าวหน้าทางอาวุธที่ทำให้ฝ่ายอังกฤษได้รับชัยชนะคือการใช้ธนูแบบที่เรียกว่า ธนูยาวอังกฤษ ที่เป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ของกองทัพของสมเด็จพระเจ้าเฮนรี.
ดู สงครามร้อยปีและยุทธการที่อาแซ็งกูร์
ยุทธการที่เครซี
ทธการเครซี (Battle of Crécy หรือ Battle of Cressy) เป็นยุทธการในสงครามร้อยปีที่เป็นสงครามระหว่างราชอาณาจักรอังกฤษฝ่ายหนึ่ง และราชอาณาจักรฝรั่งเศสอีกฝ่ายหนึ่ง ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและยุทธการที่เครซี
ยูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3
ูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3 (Europa Universalis III) เรียกโดยย่อว่า EUIII หรือ EU3 เป็นวีดีโอเกมแนววางแผนการรบแบบเรียลไทม์ที่เน้นยุทธศาสตร์ระดับประเทศ พัฒนาโดยพาราด็อกซ์ ดีวีลอปเมนต์ สตูดิโอ และจัดจำหน่ายโดยบริษัทพาราด็อกซ์ อินเตอร์แอ็คทีฟ ตัวเกมหลักสำหรับวินโดวส์วางจำหน่ายในเดือนมกราคม..
ดู สงครามร้อยปีและยูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3
รอแดซ
รอแดซ (Rodez) ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศสเป็นเมืองหลวงของจังหวัดอาแวรงของแคว้นมีดี-ปีเรเน ชาวเมืองรอแดซเรียกว่า "Ruthenois".
ระบำมรณะ
“ระบำมรณะ” โดย ไมเคิล โวลเกอมุท ราว ค.ศ. 1493 จาก “Liber chronicarum” โดยฮาร์ทมันน์ เชเดล เปียเตอร์ บรูเกล (ผู้พ่อ), “ชัยชนะแห่งความตาย” (The Triumph of Death) (ราว ค.ศ.
ราชวงศ์วาลัว
ราชวงศ์วาลัว (Valois dynasty) เป็นสาขาย่อยของราชวงศ์กาเปเตียง สืบราชสมบัติฝรั่งเศสต่อจากราชวงศ์กาเปเตียงในค.ศ. 1328 และส่งต่อให้ราชวงศ์บูร์บงในค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและราชวงศ์วาลัว
ราชอาณาจักรฝรั่งเศส
ราชอาณาจักรฝรั่งเศส (Royaume de France) คือประเทศฝรั่งเศสในสมัยกลางและต้นสมัยใหม่ ก่อนที่จะเปลี่ยนการปกครองมาเป็นแบบสาธารณรัฐดังปัจจุบัน ถือเป็นรัฐที่ทรงอิทธิพลมากที่สุดรัฐหนึ่งในยุโรป เป็นประเทศมหาอำนาจตั้งแต่ปลายสมัยกลางและสงครามร้อยปี และกลายเป็นจักรวรรดิที่แผ่ขยายอาณานิคมไปทั่วโลกแม้แต่ในทวีปอเมริกาเหนือ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสมีต้นกำเนิดมาจากราชอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก ซึ่งเป็นรัฐด้านตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงตามสนธิสัญญาแวร์เดิง และอยู่ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงจนถึงปี..
ดู สงครามร้อยปีและราชอาณาจักรฝรั่งเศส
รายชื่อสนธิสัญญา
การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.
ดู สงครามร้อยปีและรายชื่อสนธิสัญญา
รายชื่อตัวละครในนักเตะแข้งสายฟ้า GO
รายละเอียดตัวละครใน อินาสึมะอีเลฟเวน GO ทั้งเกมและอะนิเม.
ดู สงครามร้อยปีและรายชื่อตัวละครในนักเตะแข้งสายฟ้า GO
รายพระนามพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส
สมเด็จพระจักรพรรดินีเออเชนีเดอมองติโค พระจักรพรรดินีองค์สุดท้ายของฝรั่งเศส สมเด็จราชินีมารี อองตัวเนตแห่งออสเตรีย พระมเหสีในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส ที่ทรงถูกบั่นพระเศียรในการปฏิวัติฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีมาเรีย เทเรส ชาร์ล็อตแห่งฝรั่งเศส พระมเหสีในพระเจ้าหลุยส์ที่ 19 แห่งฝรั่งเศส เป็นสมเด็จพระราชินีที่ครองราชสมบัติเพียง 20 นาทีเท่านั้น ดูที่รายพระนามกษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส พระมเหสีแห่งฝรั่งเศส ตั้งแต่พ.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและรายพระนามพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส
ริชาร์ด แพลนแทเจเนต ดยุกที่ 3 แห่งยอร์ก
ริชาร์ด แพลนทาเจเน็ท ดยุคแห่งยอร์คที่ 3 (Richard Plantagenet, 3rd Duke of York) (21 กันยายน ค.ศ. 1411 - 30 ธันวาคม ค.ศ. 1460) ริชาร์ด แพลนทาเจเน็ทเป็นสมาชิกในราชวงศ์ยอร์คผู้มีตำแหน่งหน้าที่ระดับสูงในฝรั่งเศสในปลายสงครามร้อยปีและในอังกฤษในระหว่างรัชสมัยของพระเจ้าเฮนรีที่ 6 ความขัดแย้งของดยุคแห่งยอร์คกับพระเจ้าเฮนรีเป็นสาเหตุที่ทำความปั่นป่วนทางการเมืองในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 และเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดสงครามดอกกุหลาบ แม้ว่าริชาร์ด แพลนทาเจเน็ทจะมิได้เป็นพระมหากษัตริย์แต่ก็เป็นบิดาของพระเจ้าแผ่นดินสองพระองค์ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4และพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 ริชาร์ด แพลนทาเจเน็ทปกครองอังกฤษในฐานะผู้พิทักษ์แห่งอังกฤษระหว่างปี ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและริชาร์ด แพลนแทเจเนต ดยุกที่ 3 แห่งยอร์ก
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในฝรั่งเศส
มัยฟื้นฟูศิลปวิทยาฝรั่งเศส (French Renaissance) หมายถึงการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมและศิลปะ ระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 จนถึง ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่เป็นส่วนหนึ่งของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของยุโรป ที่นักประวัติศาสตร์เชื่อกันว่าเริ่มต้นขึ้นในอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 14 สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของฝรั่งเศสตามปกติแล้วถือว่าเริ่มขึ้น ตั้งแต่การรุกรานของฝรั่งเศสเข้าไปในอิตาลีในปี..
ดู สงครามร้อยปีและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในฝรั่งเศส
สงครามดอกกุหลาบ
ที่ตั้งสำคัญในสงครามดอกกุหลาบ สงครามดอกกุหลาบ (Wars of the Roses) เป็นชุดสงครามราชวงศ์ที่ผู้สนับสนุนราชวงศ์แพลนแทเจเนตสองสายที่เป็นคู่แข่งชิงราชบัลลังก์อังกฤษกัน ได้แก่ ราชวงศ์แลงแคสเตอร์และราชวงศ์ยอร์ก (ซึ่งสัญลักษณ์ตราประจำตระกูล คือ ดอกกุหลาบสีแดงและสีขาวตามลำดับ) ทั้งสองฝ่ายรบกันเป็นช่วงห่าง ๆ กันระหว่างปี 1455 ถึง 1485 แม้จะมีการสู้รบที่เกี่ยวข้องอีกทั้งก่อนหน้าและหลังช่วงนี้ สงครามดังกล่าวเป็นผลจากปัญหาทางสังคมและการเงินหลังสงครามร้อยปี ชัยชนะบั้นปลายเป็นของผู้เรียกร้องเชื้อสายแลงแคสเตอร์ค่อนข้างห่าง เฮนรี ทิวดอร์ ผู้กำราบพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ยอร์ก และอภิเษกสมรสกับเอลิซาเบธแห่งยอร์ก พระราชธิดาในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 เพื่อรวมสองราชวงศ์ หลังจากนั้น ราชวงศ์ทิวดอร์ปกครองอังกฤษและเวลส์เป็นเวลา 117 ปี เฮนรีแห่งโบลิงโบรกทรงก่อตั้งราชวงศ์แลงแคสเตอร์ขณะทรงราชย์ในปี 1399 เมื่อทรงถอดพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 พระภราดร (ลูกพี่ลูกน้อง) จากราชสมบัติ พระราชโอรส พระเจ้าเฮนรีที่ 5 ยังทรงรักษาการอยู่ในราชสมบัติของตระกูลไว้ได้ แต่เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตในปี 1422 พระเจ้าเฮนรีที่ 6 ทายาทของพระองค์ เป็นทารก การอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของราชวงศ์แลงแคสเตอร์สืบมาจากจอห์นแห่งกอนต์ ดยุกที่ 1 แห่งแลงแคสเตอร์ พระราชโอรสที่ยังมีพระชนมชีพพระองค์ที่สามในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 สิทธิในราชบัลลังก์ของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 ถูกริชาร์ด ดยุคแห่งยอร์คคัดค้าน ผู้สามารถอ้างว่าสืบเชื้อสายจากไลโอเนลแห่งแอนต์เวิร์ป และเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งยอร์กพระราชโอรสที่ยังมียังมีพระชนมชีพพระองค์ที่สองและสี่ในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 ริชาร์ดแห่งยอร์ค ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญของรัฐหลายตำแหน่ง ทะเลาะกับราชวงศ์แลงแคสเตอร์สำคัญ ๆ ในราชสำนักและกับมาร์กาเรตแห่งอ็องฌู พระมเหสีในพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แม้เคยเกิดการปะทะกันด้วยอาวุธระหว่างผู้สนับสนุนราชวงศ์ยอร์กและแลงแคสเตอร์มาก่อนหน้านั้นแล้ว แต่การสู้รบเปิดเผยครั้งแรกเกิดขึ้นในปี 1455 ที่ยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 1 ราชวงศ์แลงแคสเตอร์คนที่โดดเด่นหลายคนเสียชีวิต แต่ทายาทที่เหลือยังพยาบาทกับริชาร์ด แม้จะมีการฟื้นฟูสันติภาพชั่วคราว มาร์กาเรตแห่งอ็องฌู ดลให้ราชวงศ์แลงแคสเตอร์คัดค้านอิทธิพลของเอิร์ลแห่งยอร์ค การสู้รบดำเนินต่ออย่างรุนแรงขึ้นในปี 1459 เอิร์ลแห่งยอร์คและผู้สนับสนุนของพระองค์ถูกบีบให้หนีออกนอกประเทศ แต่ผู้สนับสนุนที่โดดเด่นที่สุดของพระองค์คนหนึ่ง เอิร์ลแห่งวอริก บุกครองอังกฤษจากกาเลและสามารถจับพระเจ้าเฮนรีเป็นเชลยได้ที่ยุทธการที่นอร์แธมป์ตัน เอิร์ลแห่งยอร์คเสด็จกลับประเทศและเป็นผู้พิทักษ์อังกฤษ (Protector of England) แต่ทรงถูกปรามมิให้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ มาร์กาเร็ตและอภิชนแลงแคสเตอร์ผู้ไม่ยอมปรองดองประชุมกำลังทางเหนือของอังกฤษ และเมื่อเอิร์ลแห่งยอร์คเคลื่อนทัพขึ้นเหนือไปปราบ พระองค์กับเอ็ดเวิร์ด พระราชโอรสพระองค์ที่สอง ถูกปลงพระชนม์ทั้งคู่ที่ยุทธการเวคฟีลด์ในเดือนธันวาคม 1460 กองทัพแลงแคสเตอร์รุกลงใต้และจับพระเจ้าเฮนรีเป็นเชลยได้อีกในยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 2 แต่ไม่สามารถยึดครองกรุงลอนดอนไว้ได้ และถอยกลับไปทางเหนือในเวลาต่อมา พระราชโอรสองค์โตของเอิร์ลแห่งยอร์ค เอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งมาร์ช ได้รับการประกาศเป็นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 พระองค์ระดมกองทัพราชวงศ์ยอร์คและได้ชัยเด็ดขาดที่ยุทธการที่โทว์ทันเมื่อเดือนมีนาคม 1461 หลังการลุกขึ้นต่อต้านของแลงแคสเตอร์ทางเหนือถูกกำราบในปี 1464 และพระเจ้าเฮนรีถูกจับเป็นเชลยอีกครั้ง พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทะเลาะกับเอิร์ลแห่งวอริก สมญา "ผู้สร้างกษัตริย์" (Kingmaker) ผู้สนับสนุนและที่ปรึกษาหลักของพระองค์ และยังแตกแยกกับพระสหายหลายคน และกระทั่งพระบรมวงศานุวงศ์ โดยทรงสนับสนุนตระกูลของสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ วูดวิลล์ซึ่งมีอำนาจขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งพระองค์ทรงอภิเษกสมรสด้วยอย่างลับ ๆ ทีแรก เอิร์ลแห่งวอริกพยายามยกน้องชาย จอร์จ ดยุกแห่งแคลเรนซ์ เป็นพระมหากษัตริย์ แล้วจึงฟื้นฟูพระเจ้าเฮนรีที่ 6 กลับสู่ราชสมบัติ จากนั้นสองปี พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 ทรงได้รับชัยชนะสมบูรณ์อีกครั้งที่บาร์เนต (เมษายน 1471) ที่ซึ่งเอิร์ลแห่งวอริกถูกสังหาร และทูกสบรี (พฤษภาคม 1471) ที่ซึ่งเอ็ดเวิร์ดแห่งเวสต์มินสเตอร์ ทายาทแลงแคสเตอร์ ถูกประหารชีวิตหลังยุทธการ พระเจ้าเฮนรีถูกปลงพระชนม์ในหอคอยลอนดอนหลายวันจากนั้น ยุติลำดับการสืบราชสันตติวงศ์โดยตรงของแลงแคสเตอร์ จากนั้น บ้านเมืองค่อนข้างสงบอยู่พักหนึ่ง จนพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จสวรรคตกะทันหันในปี 1483 ริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์ พระอนุชาที่ยังมีพระชนมชีพของพระองค์ ทีแรกเคลื่อนไหวเพื่อกันมิให้ตระกูลวูดวิลล์ที่ไม่เป็นที่นิยมของพระมเหสีหม้ายของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเข้าร่วมในรัฐบาลระหว่างที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 พระราชโอรสของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ด ยังทรงพระเยาว์ จึงยึดราชบัลลังก์เป็นของตน โดยอ้างว่า การสมรสของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เฮนรี ทิวดอร์ พระญาติห่าง ๆ ของพระมหากษัตริย์แลงแคสเตอร์ผู้รับสืบทอดการอ้างสิทธิ์มาด้วย ชนะพระเจ้าริชาร์ดที่บอสเวิร์ธฟิลด์ในปี 1485 พระองค์ราชาภิเษกเป็นพระเจ้าเฮนรีที่ 7 และอภิเษกสมรสกับเอลิซาเบธแห่งยอร์ก พระราชธิดาในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 เพื่อรวมและประสานราชวงศ์ทั้งสอง.
ดู สงครามร้อยปีและสงครามดอกกุหลาบ
สนธิสัญญาอารัส (ค.ศ. 1435)
นธิสัญญาอารัส หรือ การประชุมใหญ่แห่งอารัส (Congress of Arras หรือ Congress of Arras) เป็นการประชุมทางการทูตที่เกิดขึ้นที่อารัสในประเทศฝรั่งเศสปัจจุบันในปี ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและสนธิสัญญาอารัส (ค.ศ. 1435)
สนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1303)
นธิสัญญาปารีส (Treaty of Paris) คือสนธิสัญญาระหว่างพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งราชอาณาจักรอังกฤษ และ พระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งราชอาณาจักรฝรั่งเศส ระหว่างสงครามร้อยปี ที่ลงนามกันเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม..
ดู สงครามร้อยปีและสนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1303)
สนธิสัญญาเบรตีญี
ฝรั่งเศสหลังจากที่ลงนามในสนธิสัญญา สนธิสัญญาเบรตีญี (Traité de Brétigny; Treaty of Brétigny) เป็นสนธิสัญญาที่ลงนามเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม..
ดู สงครามร้อยปีและสนธิสัญญาเบรตีญี
อังกฤษสมัยแองโกล-นอร์มัน
แองโกล-นอร์มัน (Anglo-Norman) คือผู้สืบเชื้อสายจากชาวนอร์มันผู้ปกครองอังกฤษหลังจากที่ได้รับชัยชนะในการรุกรานอังกฤษโดยดยุควิลเลียมแห่งนอร์ม็องดีในปี ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและอังกฤษสมัยแองโกล-นอร์มัน
อารามบอนวาล (จังหวัดอาแวรง)
อารามบอนวาล (Bonneval Abbey) มีชื่อเต็มว่าอารามแม่พระแห่งบอนวาล (Abbaye Notre-Dame de Bonneval) เป็นแอบบีย์ของคณะซิสเตอร์เชียน ตั้งอยู่ที่เมืองเลอแกรอล จังหวัดอาแวรง แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส ในปัจจุบันเป็นของนักพรตหญิงคณะแทรปพิสต.
ดู สงครามร้อยปีและอารามบอนวาล (จังหวัดอาแวรง)
อารามฟงต์แน
อารามฟงต์แน (Abbaye de Fontenay) เป็นแอบบีย์ของคณะซิสเตอร์เชียนที่สมบูรณ์และเก่าแก่ที่สุดของยุโรป ตั้งอยู่ไม่ไกลจากเมืองมงบาร์ ประเทศฝรั่งเศส อารามฟงต์แนก่อตั้งโดยนักบุญแบร์นาร์แห่งแกลร์โวในปี ค.ศ.
อารามมาซ็อง
อารามมาซ็อง (Abbaye de Mazan; Mazan Abbey) เป็นอารามของคณะซิสเตอร์เชียน ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านมาซ็อง-ลาเบอี ในจังหวัดอาร์แด็ช แคว้นโรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส อารามมาซ็องก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.
อารามโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ
อารามโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ (Beaulieu-sur-Dordogne Abbey) หรือชื่อเต็มคือ อารามแซ็ง-ปีแยร์เดอโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ (Abbaye Saint-Pierre de Beaulieu-sur-Dordogne) เป็นแอบบีย์ของคณะเบเนดิกติน ตั้งอยู่ที่เมืองโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ กอแรซ แคว้นลีมูแซ็ง ประเทศฝรั่ง.
ดู สงครามร้อยปีและอารามโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ
อาสนวิหารรอแดซ
อาสนวิหารรอแดซ (Cathédrale de Rodez) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งรอแดซ (Cathédrale Notre-Dame de Rodez) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก ของมุขมณฑลรอแดซ ตั้งอยู่ที่เมืองรอแดซในประเทศฝรั่งเศส ด้านหน้าที่มีลักษณะตันเป็นส่วนหนึ่งของกำแพงเมืองรอแดซ.
ดู สงครามร้อยปีและอาสนวิหารรอแดซ
อาสนวิหารลูว์ซง
อาสนวิหารลูว์ซง (Cathédrale de Luçon) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์แห่งลูว์ซง (Cathédrale Notre-Dame-de-l'Assomption de Luçon) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลลูว์ซง ตั้งอยู่ในเขตเมืองลูว์ซง จังหวัดว็องเด แคว้นเปอีเดอลาลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ อาสนวิหารแห่งนี้สร้างขึ้นในแบบกอทิก และยังมีองค์ประกอบบางส่วนในแบบโรมาเนสก์ รวมทั้งในยุคที่ใหม่กว่านั้น คือ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (หรือคลาสสิก) ซึ่งองค์ประกอบต่าง ๆ นี้ได้ถูกขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและอาสนวิหารลูว์ซง
อาสนวิหารลีมอฌ
อาสนวิหารลีมอฌ (Cathédrale de Limoges) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนแห่งลีมอฌ (Cathédrale Saint-Étienne de Limoges) เป็นทั้งอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลลีมอฌ ตั้งอยู่ติดกับ "สวนพระสังฆราช" (Jardin de l'Évêché) ในเขตเมืองเก่า "ลาซีเต" (La Cité) ของลีมอฌ จังหวัดโอต-เวียน แคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญสเทเฟน (ปฐมมรณสักขี) เป็นหนึ่งในอนุสรณ์สถานสำคัญที่สุดในลีมอฌคู่กับสถานีรถไฟลีมอฌ และยังถือเป็นคริสต์ศาสนสถานแห่งเดียวในภูมิภาคลีมูแซ็งที่สร้างในแบบกอธิกที่สมบูรณ์แบบ อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและอาสนวิหารลีมอฌ
อาสนวิหารแกลร์มง-แฟร็อง
อาสนวิหารแกลร์มง-แฟร็อง (Cathédrale de Clermont-Ferrand) หรือชื่อทางการคือ อาสนวิหารแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์แห่งแกลร์มง-แฟร็อง (Cathédrale Notre-Dame-de-l'Assomption de Clermont-Ferrand) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นอาสนวิหาร ตั้งอยู่ที่เมืองแกลร์มง-แฟร็องในจังหวัดปุย-เดอ-โดมในแคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส และเป็นที่ตั้งอาสนะของอาร์ชบิชอปแห่งแกลร์มง สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบกอทิกที่สร้างด้วยหินภูเขาไฟสีดำทั้งหลังที่ทำให้เป็นเอกลักษณ์จากอาสนวิหารอื่นและมองเห็นแต่ไกลจากหอสูงสองหอที่สูง 96.2 เมตรเหนือสิ่งก่อสร้างอื่นใดของตัวเมือง.
ดู สงครามร้อยปีและอาสนวิหารแกลร์มง-แฟร็อง
อาสนวิหารโบแว
อาสนวิหารโบแว (Cathédrale de Beauvais) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งโบแว (Cathédrale Saint-Pierre de Beauvais) เป็นอาสนวิหารนิกายโรมันคาทอลิกและที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลโบแว นัวยง และซ็องลิส ตั้งอยู่ที่เมืองโบแว จังหวัดอวซ แคว้นโอดฟร็องส์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเปโตร เป็นอาสนวิหารแบบกอธิกที่มีบริเวณร้องเพลงสวดที่สูงที่สุดในโลก (48.50 เมตร) อาสนวิหารแห่งนี้ได้รับการขนานนามว่าเป็นสถานที่แบบสถาปัตยกรรมกอทิกแห่งหนึ่งที่แสดงถึงความสำเร็จสูงสุดและความกล้าหาญทางสถาปัตยกรรม โดยตัวอาคารมีเพียงแขนกางเขน (คริสต์ศตวรรษที่ 16) และบริเวณร้องเพลงสวด พร้อมทั้งมุขโค้งและชาเปลจำนวน 7 หลัง (คริสต์ศตวรรษที่ 13) ซึ่งสามารถเข้าถึงได้จากทางจรมุข นอกจากนี้ยังพบโบสถ์เล็กแบบสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์สร้างราวคริสต์ศตวรรษที่ 10 เรียกว่า "บาเซิฟวร์" (Basse Œuvre) ซึ่งปัจจุบันได้รับการบูรณะจนอยู่ในสภาพดีตั้งอยู่บริเวณที่จะเป็นที่ตั้งของบริเวณกลางโบสถ์อีกด้วย อาสนวิหารโบแวได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและอาสนวิหารโบแว
ฮัมฟรีย์ สแตฟฟอร์ด ดยุกที่ 1 แห่งบักกิงแฮม
ัมฟรีย์ สตาฟฟอร์ด ดยุกแห่งบัคคิงแฮมที่ 1 (Humphrey Stafford, 1st Duke of Buckingham) (15 สิงหาคม ค.ศ. 1402 - 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1460) ฮัมฟรีย์ สตาฟฟอร์ดเป็นขุนนางชาวอังกฤษผู้มีบทบาทในสงครามร้อยปีและสงครามดอกกุหลาบ ฮัมฟรีย์เป็นบุตรของเอ็ดมันด์ สตาฟฟอร์ด เอิร์ลแห่งสตาฟฟอร์ดที่ 5 และแอนน์แห่งกลอสเตอร์และเป็นพระนัดดาของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ ฮัมฟรีย์ สตาฟฟอร์ดเสียชีวิตในสนามรบในยุทธการนอร์ทแธมตันเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและฮัมฟรีย์ สแตฟฟอร์ด ดยุกที่ 1 แห่งบักกิงแฮม
ฌาน ดาร์ก
น ดาร์ก (IPA) หรือโจนออฟอาร์ก (ราว 6 มกราคม ค.ศ. 1412 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1431) ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญโยนออฟอาร์ค เป็นวีรสตรีของฝรั่งเศสและเป็นนักบุญในนิกายโรมันคาทอลิก โจนมาจากครอบครัวชาวนาที่เกิดทางตะวันออกของฝรั่งเศสและเป็นผู้นำกองทัพฝรั่งเศสในสงครามร้อยปีหลายครั้งที่ได้รับชัยชนะต่อฝ่ายอังกฤษโดยอ้างว่ามีพระเจ้าเป็นผู้ชี้ทาง และเป็นผู้มีส่วนทางอ้อมในการขึ้นครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 7 โจนถูกจับโดยฝ่ายเบอร์กันดีและถูกขายให้แก่ฝ่ายอังกฤษ ถูกพิจารณาคดี และถูกเผาทั้งเป็นในข้อหาว่าเป็นพวกนอกรีตเมื่ออายุ 19 ปี ยี่สิบสี่ปีต่อมาพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 7 ไม่ทรงสามารถที่จะแสดงพระองค์ว่าทรงได้รับอำนาจมาจากผู้ที่ถูกประณามว่าเป็นผู้นอกรีต สมเด็จพระสันตะปาปาคาลิกซ์ตุสที่ 3 จึงทรงมีคำสั่งให้มีตั้งศาลใหม่ในการพิจารณาการดำเนินการการพิจารณาคดีและการตัดสินของศาลแรก ศาลสรุปว่าฌานเป็นผู้บริสุทธิ์ และทางวาติกันประกาศให้ฌานเป็น “มรณสักขี”w:fr:Jeanne d'ArcAndrew Ward (2005) ในปี..
ฌ็องที่ 2 ดยุกแห่งเบอร์กันดี
อห์นเดอะเฟียร์เลสส์ หรือ จอห์นที่ 2 ดยุคแห่งบูร์กอญ ('''Jean sans Peur'''., John the Fearless หรือ John II, Duke of Burgundy) (28 พฤษภาคม ค.ศ. 1371 - 10 กันยายน ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและฌ็องที่ 2 ดยุกแห่งเบอร์กันดี
จอห์น ฮอว์ควูด
อห์น ฮอว์ควูด (John Hawkwood) (ค.ศ. 1320 – ค.ศ. 1394) เป็นทหารรับจ้างหรือคอนดตติเอเรชาวอังกฤษของคริสต์ศตวรรษที่ 14 ในอิตาลี นักบันทึกพงศาวดารชาวฝรั่งเศสฌอง ฟรัวส์ซาร์ท (Jean Froissart) รู้จักฮอว์ควูดในนามว่า “ฮัคคูเด” และชาวอิตาลีว่า “จิโอวานนิ อคูโต” ฮอว์ควูดเริ่มอาชีพโดยการเป็นทหารรับจ้างให้แก่พระสันตะปาปาก่อนและต่อมาก็กับฝ่ายต่างๆ ตามแต่จะได้รับจ้างเป็นเวลากว่า 30 ปี ชีวิตเบื้องต้นของฮอว์ควูดเต็มไปด้วยตำนานและเรื่องเล่าขานและไม่ทราบสาเหตุของการมีอาชีพเป็นทหาร แต่ตามเรื่องที่ยอมรับกันเป็นส่วนใหญ่ฮอว์ควูดเป็นลูกชายคนที่สองของช่างย้อมหนังในเอสเซ็กซ์และได้ไปฝึกงานอยู่ที่ลอนดอน บางเรื่องก็อ้างว่าเป็นช่างตัดเสื้อมาก่อนที่จะเป็นทหาร ฮอว์ควูดเป็นทหารในกองทัพอังกฤษในฝรั่งเศสในตอนต้นของสงครามร้อยปี ภายใต้การนำของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ บ้างก็ว่าฮอว์ควูดเข้าร่วมต่อสู้ในยุทธการเครซี และ/หรือ ยุทธการปัวติเยร์ส แต่ก็ไม่มีหลักฐานสนับสนุน นอกจากนั้นก็มีตำนานว่าได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์โดยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเองหรือไม่ก็เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายดำ หรืออาจจะเป็นได้ว่าแต่งตั้งตนเองเพื่อเป็นประโยชน์แก่การไปรับจ้างเป็นทหาร ชีวิตการเป็นทหารของฮอว์ควูดให้แก่ฝ่ายอังกฤษมาสิ้นสุดลงในยุทธการเบรตินยี ใน..
ดู สงครามร้อยปีและจอห์น ฮอว์ควูด
จอห์นแห่งแลงแคสเตอร์ ดยุกที่ 1 แห่งเบดฟอร์ด
อห์นแห่งแลงคาสเตอร์ ดยุคแห่งเบดฟอร์ดที่ 1 หรือ จอห์น แพลนทาเจเน็ท (John of Lancaster, 1st Duke of Bedford หรือ John Plantagenet) (20 มิถุนายน ค.ศ. 1389 - 14 กันยายน ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและจอห์นแห่งแลงแคสเตอร์ ดยุกที่ 1 แห่งเบดฟอร์ด
ธนูยาวอังกฤษ
นูยาวอังกฤษ ยาว 2 เมตร แรงต้าน (draw force) 470 นิวตัน ธนูยาวอังกฤษ หรือเรียก ธนูยาวเวลส์ เป็นธนูยาวสมัยกลางประเภททรงพลัง ยาวประมาณ 1.83 เมตร ซึ่งชาวอังกฤษและชาวเวลส์ใช้ในการล่าสัตว์และเป็นอาวุธในสงครามสมัยกลาง การใช้ธนูยาวของอังกฤษมีประสิทธิภาพต่อฝรั่งเศสระหว่างสงครามร้อยปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงต้นของสงคราม ในยุทธการเครซี (ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและธนูยาวอังกฤษ
ทุพภิกขภัย
ทุพภิกขภัย (famine) คือสภาวะของการขาดแคลนอาหารอย่างกว้างขวางซึ่งอาจใช้กับสภาวะที่เกิดในสัตว์ชนิดใดก็ได้ วิกฤติการณ์ดังกล่าวมักจะตามมาด้วยสภาวะทุพโภชนาการ, การอดอยาก, โรคระบาด และการเพิ่มจำนวนการเสียชีวิต องค์ประกอบสำคัญในการบรรเทาสภาวะทุพภิกขภัยก็ได้แก่การแจกจ่ายสารอาหารรอง เช่นวิตามินและ แร่ธาตุจากซองอาหารบำบัดที่ประกอบด้วยสารเสริมอาหาร หรือให้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโดยตรงhttp://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,1914655, 00.html Can one pill tame the illness no one wants to talk about? ประเภทการบรรเทาสภาวะทุพภิกขภัยแบบหนึ่งการให้เงินหรือให้ตั๋วแก่ผู้ที่อดอยากเพื่อนำไปซื้อหรือแลกเปลี่ยนเป็นอาหารจากเกษตรกรท้องถิ่น แทนที่จะนำทุนไปซื้ออาหารจากประเทศผู้บริจาค กฎหมายมักต้องระบุ เพราะเป็นการเสียเงินค่าขนส่ง การแก้ปัญหาความขาดแคลนระยะยาวก็ทำได้โดยการลงทุนในการเกษตรกรรมแบบใหม่ในภูมิภาคที่ยังไม่มีระบบดังกล่าว เช่นการใช้ปุ๋ย และสร้างระบบการชลประทานอันวิธีสำคัญที่ใช้ในการกำจัดความหิวโหยในประเทศพัฒนาแล้ว แต่กฎของธนาคารโลกจำกัดการให้ทุนช่วยเหลือเกษตรกร และการใช้ปุ๋ยก็ได้รับการต่อต้านจากนักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบางกลุ่มเพราะมีผลตามมาอย่างคาดไม่ถึง คือ ปริมาณน้ำและถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์ลดลงhttp://www.theatlantic.com/issues/97jan/borlaug/borlaug.htm Forgotten benefactor of humanity.
ดัชชีเบอร์กันดี
ัชชีเบอร์กันดี (Duchy of Burgundy) เป็นอาณาเขตการปกครองยุคศักดินาในฝรั่งเศสในสมัยกลาง ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของฝรั่งเศสปัจจุบันที่ใกล้เคียงกับบริเวณบูร์กอญในปัจจุบัน เป็นอาณาจักรที่เป็นอาณาจักรระหว่างปี..
ดู สงครามร้อยปีและดัชชีเบอร์กันดี
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส
ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..
ดู สงครามร้อยปีและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส
ประวัติศาสตร์อังกฤษ
อังกฤษ เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุด และมีประชากรมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในสหราชอาณาจักร ประวัติศาสตร์อังกฤษเริ่มขึ้นเมื่อมีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์เมื่อหลายพันปีมาแล้ว ภูมิภาคที่ปัจจุบันคืออังกฤษภายในสหราชอาณาจักรเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของมนุษย์นีอันเดอร์ธอลราว 230,000 ปีมาแล้ว ขณะที่มนุษย์โฮโมเซเพียนซึ่งเป็นมนุษย์สมัยใหม่เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานราว 29,000 ปีมาแล้ว แต่การอยู่ต่อเนื่องกันโดยตลอดเริ่มขึ้นราว 11,000 ปีมาแล้วในปลายยุคน้ำแข็ง ในบริเวณภูมิภาคนี้ยังมีร่องรอยของมนุษย์สมัยต่างๆ ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่เริ่มตั้งแต่ยุคหินกลาง, ยุคหินใหม่ และ ยุคสำริด เช่น สโตนเฮนจ์ และเนินดินที่เอฟบรี ในยุคเหล็กอังกฤษก็เช่นเดียวกับบริเตนทั้งหมดทางใต้ของเฟิร์ธออฟฟอร์ธเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชนเคลต์ที่เป็นกลุ่มชนที่เรียกว่า บริเตน (Briton) หรือเผ่าเบลแจ ในปี..
ดู สงครามร้อยปีและประวัติศาสตร์อังกฤษ
ปราสาทกัสแตลโน-เบรอเตอนู
ปราสาทกัสแตลโน-เบรอเตอนู (Château de Castelnau-Bretenoux) เป็นปราสาทที่ตั้งอยู่ที่เมืองพรูว์โดมาในจังหวัดล็อต แคว้นมีดี-ปีเรเน ประเทศฝรั่งเศส ปราสาทกัสแตลโน-เบรอเตอนูเป็นปราสาทอันเด่นเป็นสง่าที่สุดแห่งหนึ่งในบริเวณแกร์ซี ปราสาทได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ เมื่อปี..
ดู สงครามร้อยปีและปราสาทกัสแตลโน-เบรอเตอนู
ปราสาทวอริก
ปราสาทวอริก (Warwick Castle) เป็นปราสาทสมัยกลางที่ตั้งอยู่ที่เมืองวอริกในเทศมณฑลวอริกเชอร์ สหราชอาณาจักร ตัวปราสาทตั้งอยู่บนเนินบนโค้งแม่น้ำเอวอน สร้างโดยสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ เมื่อปี ค.ศ.
แบล็กเดท
การฝังศพผู้เสียชีวิตจากแบล็กเดทในเมืองตูร์แน ภาพประกอบจากบันทึกของฌีล ลี มุยซี (Gilles Li Muisis) อธิการอารามนักบุญมาร์แต็งแห่งตูร์แน แบล็กเดท (Black Death) หรือ กาฬมรณะ เป็นโรคระบาดทั่วครั้งที่ก่อความเสียหายมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษย์ ซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิตประเมินไว้ราว 75 ถึง 100 ล้านคน และทวีความรุนแรงที่สุดในทวีปยุโรประหว่างปี 1348–50 การวิเคราะห์ดีเอ็นเอของผู้เสียชีวิตในทวีปยุโรปตอนเหนือและใต้บ่งชี้ว่า จุลชีพก่อโรคอันเป็นสาเหตุของโรค คือ แบคทีเรีย Yersinia pestis ซึ่งอาจก่อกาฬโรคได้หลายแบบ คาดว่าแบล็กเดทเริ่มต้นในจีนหรือเอเชียกลาง จากนั้นแพร่มาตามเส้นทางสายไหมและถึงไครเมียในปี 1346 และหมัดหนูตะวันออก (Xenopsylla cheopis) ซึ่งอาศัยอยู่ในหนูดำอันอยู่บนเรือพาณิชย์ทั่วไป น่าจะเป็นตัวนำโรคจากไครเมีย กาฬโรคได้แพร่ไปทั่วเมดิเตอร์เรเนียนและทวีปยุโรป ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตเป็น 30–60% ของประชากรทั้งทวีปยุโรป กาฬโรคลดประชากรโลกจากที่ประเมินไว้ 450 ล้านคน ลงเหลือ 350–375 ล้านคนในคริสต์ศตวรรษที่ 14 กาฬโรคมีผลต่อเส้นทางประวัติศาสตร์ยุโรป ก่อให้เกิดทั้งกลียุคทางศาสนา สังคมและเศรษฐกิจ ประชากรยุโรปกว่าจะกลับคืนจำนวนก็ใช้เวลา 150 ปี กาฬโรคอุบัติซ้ำเป็นครั้งคราวในทวีปยุโรปกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 19.
แรยอน็อง
มหาวิหารโคโลญ (ค.ศ. 1248-ค.ศ. 1322) ที่ถือกันว่าเป็นงานสถาปัตยกรรมแรยอน็องที่งดงามที่สุดของยุคกลางหน้าต่างกุหลาบแบบแรยอน็องของมหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส แรยอน็อง (Rayonnant) เป็นคำที่ใช้ในการบรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมกอทิกแบบฝรั่งเศสที่รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ.
แวร์ซาย
แวร์ซาย (Versailles) เป็นเมืองที่โด่งดังในฐานะที่เป็นที่ตั้งของพระราชวังแวร์ซาย แวร์ซายเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรฝรั่งเศสโดยพฤตินัยเป็นเวลากว่าหนึ่งศตวรรษ นับจาก..
โจน ออฟ อาร์ค วีรสตรีเหล็กหัวใจทมิฬ
น ออฟ อาร์ค วีรสตรีเหล็กหัวใจทมิฬ (The Messenger: The Story of Joan of Arc, Jeanne d'Arc) ภาพยนตร์ประวัติศาสตร์สงครามสัญชาติฝรั่งเศส นำแสดงโดย มิลา โยโววิช, จอห์น มัลโควิช, เฟย์ ดันนาเวย์, แว็งซอง กาสแซล, เตกี การ์โย และ ดัสติน ฮอฟฟ์แมน กำกับการแสดงโดย ลุค เบซอง.
ดู สงครามร้อยปีและโจน ออฟ อาร์ค วีรสตรีเหล็กหัวใจทมิฬ
ไดนาสตีวอริเออร์
Dynasty Warriors เป็นวิดีโอเกมแนวแอ็กชันที่สร้างและพัฒนาโดย Koei เนื้อเรื่องและตัวละครส่วนใหญ่ใน Dynasty Warriors มีต้นแบบมาจากวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่อง สามก๊ก โดยก่อนหน้าที่จะสร้างเกมชุด Dynasty Warriors ขึ้นมานั้น Koei เคยสร้างเกมชุดอื่นที่มีต้นแบบมาจากสามก๊กที่ใช้ชื่อว่า Romance of the Three Kingdoms มาก่อน โดยเป็นเกมวางแผนการรบประเภททีละรอบ (Turn Based Strategy) ในภาคแรกของ Dynasty Warriors นั้นทางประเทศญี่ปุ่นให้ชื่อว่า Sangokumusō ซึ่งในภาคแรกนี้ภาพของเกมจะออกมาในรูปแบบ 2D (คล้ายเกมเทคเคน) และเป็นเกมแนวต่อสู้ แต่ในภาคต่อๆมานั้น Dynasty Warriors ได้เปลี่ยนให้ภาพออกมาในรูปแบบ 3D (คล้ายเกม GTA) รวมถึงเปลี่ยนออกมาเป็นเกมแนวแอ็กชันอาร์พีจี และยังได้เปลี่ยนชื่อเป็น Shin Sangokumusō ตั้งแต่ภาค 2 เป็นต้นมาด้วย เกมชุด ไดนาสตีวอริเออร์ ถือเป็นเกมที่ประสบความสำเร็จเกมนึงของ Koei โดยหากนับรวมเกมชุดทั้งภาคต่อและภาคย่อย ถึงปี 2554 มียอดขายไปแล้วมากกว่า 18 ล้านยูนิต.
ดู สงครามร้อยปีและไดนาสตีวอริเออร์
เส้นเวลาของยุคกลาง
้นเวลาของประวัติศาสตร์ยุคกลาง คือ เส้นเวลาที่บอกถึงการใช้ชีวิตของมนุษย์ในยุคประวัติศาสตร์ตอนกลาง ซึ่งเส้นเวลานี้ต่อจากเส้นเวลาของประวัติศาสตร์โบราณ.
ดู สงครามร้อยปีและเส้นเวลาของยุคกลาง
เอวานเจลีน เอ.เค. แม็คโดเวล
อวานเจลีน เอ..
ดู สงครามร้อยปีและเอวานเจลีน เอ.เค. แม็คโดเวล
เอ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 1
อ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 1 หรือ เอ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 2 (Edmund Beaufort, 1st Duke of Somerset หรือ 2nd Duke of Somerset) (ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและเอ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 1
เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายดำ
อ็ดเวิร์ด เจ้าชายดำ หรือ เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายแห่งเวลส์ หรือที่รู้จักกันในพระนาม เอ็ดเวิร์ดแห่งวูดสต็อค (Edward, the Black Prince หรือ Edward of Woodstock) (15 มิถุนายน ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและเอ็ดเวิร์ด เจ้าชายดำ
เอ็ดเวิร์ดแห่งนอริช ดยุกที่ 2 แห่งยอร์ก
อ็ดเวิร์ดแห่งนอริช ดยุคแห่งยอร์คที่ 2 (Edward of Norwich, 2nd Duke of York หรือ Edward of Norwich, 1st Duke of Aumale) (ค.ศ. 1373 - 25 ตุลาคม ค.ศ. 1415) เอ็ดเวิร์ดแห่งนอริช ดยุคแห่งยอร์คที่ 2เป็นขุนนางชาวอังกฤษผู้มีบทบาทในการต่อสู้กับราชอาณาจักรฝรั่งเศสในสงครามร้อยปี เอ็ดเวิร์ดเสียชีวิตระหว่างการต่อสู้ในยุทธการอาแฌงคูร์ต เอ็ดเวิร์ดเป็นบุตรของเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุคแห่งยอร์คที่ 1และภรรยาคนแรกอินแฟนตาอิสซาเบลลาแห่งคาสตีล ปู่และย่าทางพ่อคือสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุคแห่งยอร์คที่ 1และพระราชินีฟิลลิปปา ปู่และย่าทางแม่คือสมเด็จพระเจ้าเปโดรแห่งคาสตีลและมาเรียเดอปาดิลล.
ดู สงครามร้อยปีและเอ็ดเวิร์ดแห่งนอริช ดยุกที่ 2 แห่งยอร์ก
เคานต์แห่งบลัว
ตราอาร์มเคานต์แห่งบลัวเดิม ตราอาร์มเคานต์แห่งบลัวใหม่ เคานต์แห่งบลัว (Counts of Blois) เดิมมีศูนย์กลางที่บลัว ทางใต้ของกรุงปารีสในฝรั่งเศส เมืองสำคัญก็นอกไปจากบลัวเองแล้วก็ได้แก่ชาทร์ บลัวมีความสัมพันธ์กับช็องปาญ, ชาตียง (ประมุขมักจะมาพำนักที่บลัว) และต่อมากับพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส บลัวมีบทบาทสำคัญระหว่างสงครามร้อยปีเมื่อโจนออฟอาร์กใช้เป็นที่มั่น อาณาบริเวณของบลัวเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ทางด้านเหนือติดกับนอร์ม็องดี ดินแดนบลัวต่อมาก็ขายให้เป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ในปี ค.ศ.
ดู สงครามร้อยปีและเคานต์แห่งบลัว
Chevauchée
Chevauchée (ภาษาฝรั่งเศสที่แปลว่า “promenade” หรือ “horse charge” ขึ้นอยู่กับบริบท) เป็นยุทธวิธีที่ใช้ในการสงครามยุคกลางเพื่อทำให้ข้าศึกอ่อนกำลังลงโดยการก่อความไม่สงบต่างๆ เช่นการปล้นสดมในอาณาบริเวณของศัตรู หรือการเผาเพื่อที่จะบ่อนทำลายผลผลิตในบริเวณที่ก่อกวนซึ่งตรงกันข้ามการใช้วิธีล้อมหรือการต่อสู้ในการเอาชนะเป็นการเด็ดขาด "Chevauchée" อาจจะเป็นวิธีที่เป็นการกดดันให้ฝ่ายศัตรูให้ออกมาต่อสู้ หรือเป็นวิธีข่มอำนาจของรัฐบาลฝ่ายศัตรู ที่ทำให้ผู้อยู่ในอารักขาหมดความเชื่อมั่นและความจงรักภักดีต่อรัฐบาล การใช้วิธีนี้มักจะทำให้เกิดการอพยพใหญ่ๆ เข้าไปอยู่ในเมืองที่มีกำแพงป้องกันหรือในปราสาทที่วิธี “Chevauchée” ไม่มีผล.
30 พฤษภาคม
วันที่ 30 พฤษภาคม เป็นวันที่ 150 ของปี (วันที่ 151 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 215 วันในปีนั้น.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Hundred Years WarHundred Years' War