เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สงครามจีน–พม่า

ดัชนี สงครามจีน–พม่า

งครามจีน–พม่า (တရုတ်-မြန်မာ စစ်, 中緬戰爭, 清緬戰爭) หรือ การบุกพม่าของราชวงศ์ชิง หรือ การทัพพม่าแห่งราชวงศ์ชิง (Qing invasions of Burma, Myanmar campaign of the Qing Dynasty) เป็นการสงครามระหว่างราชวงศ์ชิงของจีน กับราชวงศ์โกนบองของพม่า กินเวลา 4 ปี ระหว่าง..

สารบัญ

  1. 18 ความสัมพันธ์: บะละมินทินฟู่เหิงกองทัพอาณาจักรพม่าการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองมังมหานรธาราชวงศ์โกนบองสิบการทัพใหญ่สงครามอะแซหวุ่นกี้สงครามจีน–พม่าสนธิสัญญากองตนหมิงรุ่ยอะแซหวุ่นกี้อากุ้ยประเทศพม่าแปดกองธงเตนจามินคองเนเมียวสีหบดีเนเมียวสีหตู

บะละมินทิน

ละมินทิน (ဗလမင်းထင်, or) แม่ทัพที่มีชื่อเสียงระหว่างสงครามจีน-พม่า เขาเป็นแม่ทัพคู่บารมีอีกคนหนึ่งของพระเจ้ามังระ เป็นนายทหารผู้ยิ่งใหญ่หนึ่งใน 68 ทหารผู้กล้าหาญที่ร่วมกันสถาปนาราชวงศ์โกนบอง ผู้ซึ่งพระเจ้ามังระให้ความสำคัญไม่แพ้อะแซหวุ่นกี้ โดยให้เขาเป็นผู้รักษาเมืองกองตน เมืองหน้าด่านที่เป็นเสมือนหัวใจแห่งราชวงค์โกนบองจากจักรวรรดิต้าชิง.

ดู สงครามจีน–พม่าและบะละมินทิน

ฟู่เหิง

ฟู่เหิง (ဖူဟင်း), ยอดนักการทหารและนักปกครองแห่งกองธงเหลืองขลิบ(กองธงที่สำคัญที่สุดแห่งราชวงค์ชิง ขึ้นตรงต่อองค์จักรพรรดิ) โดยตัวฟู่เหิงยังมีอีกฐานะหนึ่งเป็นน้องชายของจักรพรรดินีเสี้ยวเสียนฉุน จักรพรรดิเฉียนหลงทรงโปรดปรานฟู่เหิงผู้นี้มากทั้งเรื่องสติปัญญาและความรอบคอบในการทำงานโดยมักจะสอบถามความคิดเห็นจากเขาก่อนตัดสินใจในหลายๆเรื่อง ซึ่งฟู่เหิงเองก็ไม่ทำให้พระองค์ผิดหวังเลยไม่ว่าจะเรื่องการเมืองหรือการทหาร จักรพรรดิเฉียนหลงโปรดปราณเขาถึงขนาดยกย่องว่าเป็นเหมือนน้องชายอีกคนหนึ่ง อีกสิ่งที่แสดงถึงความใส่ใจในตัวฟู่เหิงคือการแต่งตั้งลูกชายของเขาอย่างฝูคังอาน ให้มีบรรดาศักดิ์เป็นกู้ซานเป้ยจื่อเปรียบเสมือนโอรสบุญธรรมอีกคนของพระองค์ จุดเปลี่ยนครั้งสำคัญในชีวิตของเขาคือ สงครามจีน-พม่า ซึ่งต้าชิงต้องพ่ายแพ้ไปแล้วถึง3ครั้งแถมยังต้องเสียหมิงรุ่ยยอดนักการทหารซึ่งมีศักดิ์เป็นหลานชายของเขาไปอีกคน ในครั้งนี้จักรพรรดิเฉียนหลงจึงได้ตัดสินใจระดมเสนาบดีครั้งใหญ่ที่สุดในยุคพระองค์ และยังส่งกองทัพที่ดีที่สุดของราชวงค์ชิงในยุคนั้นอย่างทัพแปดกองธงหวังพิชิตพระเจ้ามังระให้จงได้ โดยพระองค์ได้แต่งตั้งฟู่เหิงให้เป็นผู้นำทัพในศึกครั้งนี้ และทำพิธีส่งกองทัพนี้อย่างยิ่งใหญ่ต่อหน้าพระบรมวงศานุวงศ์แห่งต้าชิงด้วยพระองค์เอง.

ดู สงครามจีน–พม่าและฟู่เหิง

กองทัพอาณาจักรพม่า

กองทัพอาณาจักรพม่า (တပ်မတော်) เป็นกองกำลังทหารพม่าราชาธิปไตย ตั้งแต่ศตวรรษที่ 9 ถึง ศตวรรษที่ 19.

ดู สงครามจีน–พม่าและกองทัพอาณาจักรพม่า

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองหรือ สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง เป็นความขัดแย้งทางทหารครั้งที่สองระหว่างราชวงศ์โกนบองแห่งพม่า กับราชวงศ์บ้านพลูหลวงแห่งอยุธยา ในการทัพครั้งนี้ กรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นราชธานีคนไทยเกือบสี่ศตวรรษได้เสียแก่พม่าและถึงกาลสิ้นสุดลงไปด้วย เหตุการณ์ได้เกิดขึ้นเมื่อวันอังคาร ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน ตรงกับวันที่ 7 เมษายน..

ดู สงครามจีน–พม่าและการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง

มังมหานรธา

มังมหานรธา (မဟာနော်ရထာ, Maha Nawrahta) เป็นหนึ่งในขุนพลเอกของพระเจ้ามังระที่พระองค์ทรงไว้ใจเป็นอย่างมาก มังมหานรธามักจะเป็นตัวเลือกแรกๆที่พระเจ้ามังระทรงเลือกใช้งานโดยไม่คำนึงถึงอายุที่มากของเขาไม่ว่าผู้ใดจะทัดทาน ในปี..

ดู สงครามจีน–พม่าและมังมหานรธา

ราชวงศ์โกนบอง

ราชวงศ์โกนบอง (ကုန်းဘောင်ခေတ်,; Konbaung Dynasty) เป็นราชวงศ์ที่ 3 ในประวัติศาสตร์พม่า และเป็นราชวงศ์สุดท้ายของพม่า ก่อนที่จะตกเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร และสิ้นสุดการปกครองระบอบราชาธิปไตยของพม่า ราชวงศ์อลองพญานั้นได้รับการสถาปนาขึ้นโดยการเสวยราชสมบัติของพระเจ้าอลองพญาในปี..

ดู สงครามจีน–พม่าและราชวงศ์โกนบอง

สิบการทัพใหญ่

222px 222px 222px สิบการทัพใหญ่ (Ten Great Campaigns) เป็นชุดสงครามในรัชสมัยจักรพรรดิเฉียนหลง ซึ่งมีประกาศในหนังสือประจำปีทางการของราชวงศ์ชิง สิบการทัพใหญ่ได้แก่ สามการทัพเพื่อขยายอาณาเขตการควบคุมของจีนในเอเชียกลาง แบ่งเป็นสองครั้งต่อดซุงการ์ (1755–1757) และการปราบปรามซินเจียง (1758–1759) อีกเจ็ดการทัพที่เหลือนั้น มีลักษณะเป็นการรักษาความสงบเรียบร้อย (police action) ตรงแนวพรมแดนที่สถาปนาไว้ก่อนแล้ว แบ่งเป็น สองครั้งเพื่อปราบปรามกบฏจินฉวนในเสฉวน หนึ่งครั้งต่อกบฏในไต้หวัน (1787–1788) และการรบนอกประเทศอีกสี่ครั้ง ต่อพม่า (1765–1769) เวียดนาม (1788–1789) และชาวกุรข่าที่ชอบทำสงครามในเนปาลตรงชายแดนระหว่างทิเบตกับอินเดีย (1790–1792) ซึ่งนับเป็นสองการทั.

ดู สงครามจีน–พม่าและสิบการทัพใหญ่

สงครามอะแซหวุ่นกี้

้นทางการเดินทัพของพม่าทั้ง3ทาง สงครามอะแซหวุ่นกี้ เป็นสงครามระหว่างอาณาจักรธนบุรีและพม่าครั้งสำคัญที่สุด ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเดือน ตุลาคม พ.ศ.

ดู สงครามจีน–พม่าและสงครามอะแซหวุ่นกี้

สงครามจีน–พม่า

งครามจีน–พม่า (တရုတ်-မြန်မာ စစ်, 中緬戰爭, 清緬戰爭) หรือ การบุกพม่าของราชวงศ์ชิง หรือ การทัพพม่าแห่งราชวงศ์ชิง (Qing invasions of Burma, Myanmar campaign of the Qing Dynasty) เป็นการสงครามระหว่างราชวงศ์ชิงของจีน กับราชวงศ์โกนบองของพม่า กินเวลา 4 ปี ระหว่าง..

ดู สงครามจีน–พม่าและสงครามจีน–พม่า

สนธิสัญญากองตน

thumb สนธิสัญญากองตน เป็นการทำสัญญาพักรบในสงครามจีน-พม่าที่ต่อเนื่องยาวนานถึง4ปี ตั้งแต่เดือนธันวาคม..

ดู สงครามจีน–พม่าและสนธิสัญญากองตน

หมิงรุ่ย

หมิงรุ่ย (မင်းယွီ) เป็นทหารที่เก่งกาจที่สุดคนหนึ่งของราชวงค์ชิงในยุคนั้น ตลอดเวลาที่เขาทำสงคราม เขามักจะมองหาจุดอ่อนในกองทัพของศัตรูก่อนเสมอ เมื่อเจอแล้วก็จะทำการโจมตีอย่างรวดเร็วและรุนแรง ทำให้ตลอดเวลาที่เขาเป็นผู้บัญชาการทหารนั้น แทบไม่เคยพ่ายแพ้แก่ผู้ใดเลย ไม่ว่าจะมองโกลหรือพวกอุยเกอร์ในซินเจียง หมิงรุ่ยนับได้ว่าเป็นขุนศึกคู่พระทัยคนหนึ่งของจักรพรรดิเฉียนหลง ซึ่งพระองค์โปรดปรานเป็นอย่างยิ่ง ทั้งเรื่องความสามารถและอายุที่ยังไม่มากนัก นับได้ว่าเป็นตัวเต็งเสาหลักอีกคนหนึ่งของราชวงค์ชิง แต่จุดเปลี่ยนสำคัญก็มาถึงเมื่อครั้งจักรพรรดิเฉียนหลงตัดสินใจ ทำสงครามกับพระเจ้ามังระ ซึ่งก็พ่ายแพ้ถึงสองครั้ง พระองค์จึงตัดสินใจส่งหมิงรุ่ย ขุนพลเอกของราชวงค์ชิงลงมาเพื่อหวังจะปราบปรามอาณาจักรทางใต้ให้ราบคาบ โดยได้ส่งกองทหารที่ดีที่สุดของราชวงค์ชิงในยุคนั้นอย่างกองทัพแปดกองธง 50,000 นาย ลงมาทำศึก แต่การณ์ก็ไม่ได้เป็นดังนั้นเมื่อหมิงรุ่ยต้องมาพบกับ นักการทหารที่เก่งกาจที่สุดคนหนึ่งของพม่าอย่างอะแซหวุ่นกี้ เส้นทางการบุกของหมิงรุ่ย แบ่งทัพเป็น 2 ทาง.

ดู สงครามจีน–พม่าและหมิงรุ่ย

อะแซหวุ่นกี้

มะฮาตีฮะตูระ (แปลงเป็นไทย มหาสีหสุระ, မဟာသီဟသူရ, Maha Thiha Thura; ราวพุทธศักราช 2263-2325) เอกสารไทยเรียก อะแซหวุ่นกี้ เป็นแม่ทัพแห่งกองทัพพม่าช่วง..

ดู สงครามจีน–พม่าและอะแซหวุ่นกี้

อากุ้ย

อากุ้ย แห่งกองธงขาว เป็นแม่ทัพคนสำคัญของจักรพรรดิเฉียนหลง ผู้ทำศึกมากมายตลอดรัชสมัยของพระองค์ ทั้งสิบการทัพใหญ่และอีกหลายต่อหลายศึก ภายหลังอากุ้ยได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาบุญธรรมของจักรพรรดิเจียชิ่งและองค์ชายหย่งหลิน โดยหลังจากอากุ้ยเสียชีวิต จักรพรรดิเจียชิ่งยกย่องอากุ้ยเป็นเสมือนจุ้นหวัง และให้วาดภาพอากุ้ยสวมเครื่องแบบของเชื้อพระวงศ์ โดยภาพดังกล่าววาดขึ้นในปีเจียชิ่งที่ 3.

ดู สงครามจีน–พม่าและอากุ้ย

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ดู สงครามจีน–พม่าและประเทศพม่า

แปดกองธง

แปดกองธง (จีน: 八旗, พินอิน: baqí) เป็นกองกำลังทหารในยุคราชวงศ์ชิงในประวัติศาสตร์จีน เป็นการจัดการบริหารและวางกองกำลังต่อสู้ของราชวงศ์ชิง โดยผู้ที่สถาปนากองทัพนี้ คือ จักรพรรดินู่เอ๋อร์ฮาชื่อ (ค.ศ.

ดู สงครามจีน–พม่าและแปดกองธง

เตนจามินคอง

ตนจามินคอง (တိမ်ကြားမင်းခေါင် Teingya Minkhaung) เป็นแม่ทัพที่พระเจ้ามังระยกย่องให้เป็นผู้นำการรบแบบพิเศษ(รบแบบกองโจร) ที่เก่งกาจที่สุดคนหนึ่งในยุคของพระองค์ โดยให้สมญานามว่า "ดุจดั่งเมฆ" ความหมายคือเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วไม่เป็นที่สังเกต ยากแก่การทำลาย และหายไปอย่างไร้ร่องลอ.

ดู สงครามจีน–พม่าและเตนจามินคอง

เนเมียวสีหบดี

นเมียวสีหบดี (နေမျိုးသီဟပတေ့, Ne Myo Thihapate) เขาเป็นแม่ทัพของราชวงศ์คองบองที่โดดเด่นมีฝีมือการรบเป็นที่น่าเกรงขาม อีกทั้งเป็นทหารคู่บารมีของพระเจ้ามังระอีกคนหนึ่ง.

ดู สงครามจีน–พม่าและเนเมียวสีหบดี

เนเมียวสีหตู

นเมียวสีหตู (နေမျိုးစည်သူ) นับเป็นผู้ชำนาญการรบแบบจรยุทธที่เก่งกาจที่สุดผู้หนึ่งของพม่า โดยพระเจ้ามังระเห็นถึงความสามารถในด้านนี้ของเขา และเลือกใช้งานเขาเพื่อก่อกวนแนวหลังของต้าชิง ซึ่งเนเมียวสีหตูก็สามารถทำผลงานได้เป็นอย่างดี จนทำให้กองทัพต้าชิงต้องลำบากทุกครั้งที่เจอเขา เนเมียวสีหตูนับเป็นอีกหนึ่งหัวใจสำคัญที่อยู่เบื้องหลังชัยชนะทุกครั้งของพม่า และทุกความพ่ายของต้าชิงจะต้องมีเขาอยู่ด้วยตลอด เนเมียวสีหตู และเตงจามินคองทำสงครามกองโจรกับต้าชิงได้อย่างมีประสิท.

ดู สงครามจีน–พม่าและเนเมียวสีหตู

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Sino-Burmese War (1765–69)