โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ศิลปินแห่งชาติ

ดัชนี ศิลปินแห่งชาติ

ลปินแห่งชาติ ของประเทศไทย หมายถึงศิลปินผู้มีความสามารถ มีผลงานสร้างสรรค์และพัฒนาเป็นที่ยอมรับของวงการ และมีผลงานเป็นประโยชน์ต่อสังคม นับตั้งแต่เริ่มโครงการศิลปินแห่งชาติ (พ.ศ. 2528) ถึงสิ้นปี..

280 ความสัมพันธ์: 'รงค์ วงษ์สวรรค์ชมัยภร บางคมบางชรินทร์ นันทนาครชลูด นิ่มเสมอชลธี ธารทองชัยชนะ บุญนะโชติบัวผัน จันทร์ศรีชาญ บัวบังศรชาย เมืองสิงห์ชาลี อินทรวิจิตรชาติ กอบจิตติบานเย็น รากแก่นชิงร้อยชิงล้าน ทเวนตี้ เซ็นจูรี่ ตั๊กชินกร ไกรลาศบุญยงค์ เกตุคงชุมทางเพลงพระราชนิพนธ์บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552ชูชก กัณหา ชาลีชูชาติ พิทักษากรชูศรี สกุลแก้วช่วง มูลพินิจบ้านทรายทองพ.ศ. 2462พ.ศ. 2475พ.ศ. 2493พ.ศ. 2542พ.ศ. 2550พ.ศ. 2552พยอม สีนะวัฒน์พยงค์ มุกดาพรรคศิลปินพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการพร้อม บุญฤทธิ์พิศมัย วิไลศักดิ์พูน เกษจำรัสพูนทรัพย์ ตราโมทพงษ์ศักดิ์ จันทรุกขากมล ทัศนาญชลีกรุณา กุศลาสัยกฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยากลอนสักวากษิต ภิรมย์กั้น ทองหล่อกาญจนา นาคนันทน์การถ่ายภาพกินรีกุมภาพันธ์ญาณี ตราโมท...ภัทราวดี มีชูธนภาพยนตร์ไทยภาธร ศรีกรานนท์ภิญโญ สุวรรณคีรีมหาวิทยาลัยพะเยามหาวิทยาลัยศิลปากรมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมหาวิทยาลัยคอร์เนลมหาวิทยาลัยนเรศวรมัณฑนา โมรากุลมันมากับความมืดมารศรี อิศรางกูร ณ อยุธยามานพ ยาระณะมานิตย์ ภู่อารีย์มิตร ชัยบัญชามณี พยอมยงค์มนุษยศาสตร์มนตรีมนตรี ตราโมทมนต์รักแม่น้ำมูลยก ชูบัวยืนยง โอภากุลรวงทอง ทองลั่นธมระวี ภาวิไลรัจนา พวงประยงค์รายชื่อพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทยรายชื่อวันสำคัญของไทยรายชื่อผลงานของเวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยทักษิณรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรายนามศิลปินสำนักการสังคีตกรมศิลปากรรายนามศิลปินแห่งชาติรางวัลศรีบูรพาฤทัย ใจจงรักลพ บุรีรัตน์ล้อต๊อกวชิราวุธวิทยาลัยวสิษฐ เดชกุญชรวัดศรีโคมคำวานรสิบแปดมงกุฎวิจิตร คุณาวุฒิวิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์วินัย พันธุรักษ์วีระพันธ์ วอกลางวงศ์เมือง นันทขว้างวนิดา (แก้ความกำกวม)วนิดา พึ่งสุนทรศักดิชัย บำรุงพงศ์ศักดิ์สิริ มีสมสืบศุภชัย จันทร์สุวรรณ์ส.พลายน้อยสมบัติ เมทะนีสมชาย อาสนจินดาสมพงษ์ พงษ์มิตรสมภพ ภิรมย์สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทยสมาน กาญจนะผลินสมควร กระจ่างศาสตร์สรพงศ์ ชาตรีสวัสดิ์ ตันติสุขสอาด เปี่ยมพงษ์สานต์สัปปายะสภาสถานสาริกา กิ่งทองสาคร ยังเขียวสดสำราญ เกิดผลสุชาติ สวัสดิ์ศรีสุภา สิริสิงหสุรชัย จันทิมาธรสุรพล โทณะวณิกสุวัฒน์ วรดิลกสุจิตต์ วงษ์เทศสุดจิตต์ อนันตกุลสุประวัติ ปัทมสูตสุนทรียา ณ เวียงกาญจน์สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยาสถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณสถานีสนามไชยสดใส พันธุมโกมลสง่า อารัมภีรหม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรีหม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมหลวงพวงร้อย อภัยวงศ์หม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณหม่อมหลวงอัศนี ปราโมชหม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยาหยัด ช้างทองหอมหวล นาคศิริหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยหนังตะลุงอบ ไชยวสุอรสา อิศรางกูร ณ อยุธยาอังคนางค์ คุณไชยอารี สุทธิพันธุ์อาวุธ เงินชูกลิ่นอาจินต์ ปัญจพรรค์อำนวย กลัสนิมิอำเภอลองอึ่ง หสิตะเสนอดุล จันทรศักดิ์องอาจ สาตรพันธุ์ผ่องศรี วรนุชจมื่นมานิตย์นเรศ (เฉลิม เศวตนันทน์)จักรพันธุ์ โปษยกฤตจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดยโสธรจังหวัดศรีสะเกษจังหวัดสมุทรสาครจังหวัดสมุทรสงครามจังหวัดสิงห์บุรีจังหวัดสุรินทร์จังหวัดสงขลาจังหวัดอำนาจเจริญจังหวัดอ่างทองจังหวัดน่านจังหวัดเชียงใหม่จิตต์ จงมั่นคงจินตนา สุขสถิตย์จุรี โอศิริจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจตุพร รัตนวราหะธีรพล นิยมธีรนัยน์ ณ หนองคายธงไชย แมคอินไตย์ธนิสร์ ศรีกลิ่นดีถวัลย์ ดัชนีทวีป วรดิลกทองใบ เรืองนนท์ขวัญจิต ศรีประจันต์ดอกดิน กัญญามาลย์ดุษฎี พนมยงค์ดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยาควน ทวนยกคำ กาไวย์คำพูน บุญทวีคำสิงห์ ศรีนอกคำผาย นุปิงคุณพระช่วยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ฉลอง ภักดีวิจิตรฉวีวรรณ ดำเนินฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิฉิ้น อรมุตประภัสสร เสวิกุลประยอม ซองทองประยูร ยมเยี่ยมประสิทธิ์ พยอมยงค์ประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยาประนอม ทาแปงประเวศ ลิมปรังษีปวริศา เพ็ญชาติปิยะพันธ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยานาวาคาราบาวนครินทร์ ชาทองนนทิวรรธน์ จันทนะผะลินแมนรัตน์ ศรีกรานนท์แสงดา บัณสิทธิ์แผ้ว สนิทวงศ์เสนีแจ้ง คล้ายสีทองแท้ ประกาศวุฒิสารโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัยโรงเรียนวัดราชาธิวาสโรงเรียนวัดสุทธิวรารามโรงเรียนวัดนวลนรดิศโรงเรียนวิสุทธรังษีโรงเรียนวิเชียรมาตุโรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารโรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัยโรงเรียนสามัคคีวิทยาคมโรงเรียนสุรวิทยาคารโรงเรียนสตรีจุลนาคโรงเรียนอัสสัมชัญโรงเรียนทวีธาภิเศกโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัยโลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหารโสภาค สุวรรณโผน กิ่งเพชรโปงลางไชยลังกา เครือเสนไพบูลย์ มุสิกโปดกไพรัช สังวริบุตรไวพจน์ เพชรสุพรรณเฟื้อ หริพิทักษ์เพชรา เชาวราษฎร์เพลงลูกทุ่งเพ็ญพรรณ สิทธิไตรย์เพ็ญศรี พุ่มชูศรีเรือนไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเศรษฐา ศิระฉายาเสกสรรค์ ประเสริฐกุลเสรี หวังในธรรมเสียงสวรรค์เมื่อวันวานเห้ง โสภาพงศ์เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรีเจริญใจ สุนทรวาทินเจียร จารุจรณเจ้าดารารัศมี พระราชชายาเจ้าเครือแก้ว ณ เชียงใหม่เข็มรัตน์ กองสุขเดชา บุญค้ำเคแบงก์สยามพิฆเนศเตือน พาทยกุลเฉลิม นาคีรักษ์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์เปรื่อง ชื่นประโยชน์เปลื้อง ฉายรัศมีเป็ด เชิญยิ้มเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์เนื่อง แฝงสีคำ1 เมษายน11 ธันวาคม13 สิงหาคม13 ตุลาคม14 พฤษภาคม14 เมษายน2 เมษายน24 กุมภาพันธ์24 ตุลาคม26 มิถุนายน3 พฤศจิกายน3 มิถุนายน30 เมษายน4 เมษายน8 ธันวาคม ขยายดัชนี (230 มากกว่า) »

'รงค์ วงษ์สวรรค์

'รงค์ วงษ์สวรรค์ เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและ'รงค์ วงษ์สวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ชมัยภร บางคมบาง

นางชมัยภร บางคมบาง (แสงกระจ่าง) ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี 2557 นามเดิม ชมัยพร วิทูธีรศานต์ เกิดเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2493 ที่จังหวัดจันทบุรี เป็นบุตรของนายประชุม นางบัวขาว วิทูธีรศานต์ สมรสกับ นายสิทธิชัย แสงกระจ่าง (ดลสิทธ์ บางคมบาง) มีบุตร 2 คน ปัจจุบันประกอบอาชีพนักเขียน เคยดำรงตำแหน่ง นายกสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย (มกราคม พ.ศ. 2550 - มกราคม พ.ศ. 2554).

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและชมัยภร บางคมบาง · ดูเพิ่มเติม »

ชรินทร์ นันทนาคร

รินทร์ นันทนาคร หรือชื่อเดิม ชรินทร์ งามเมืองเดิมชรินทร์ นามสกุล งามเมือง ต่อมาได้รับพระราชทานนามสกุลจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็น "นันทนาคร" ในปี 2503 (เกิด 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2476 ที่จังหวัดเชียงใหม่) ศิลปินนักร้อง นักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ ได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและชรินทร์ นันทนาคร · ดูเพิ่มเติม »

ชลูด นิ่มเสมอ

ตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ เกิดเมื่อ 2 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและชลูด นิ่มเสมอ · ดูเพิ่มเติม »

ชลธี ธารทอง

ลธี ธารทอง เป็นนักแต่งเพลงลูกทุ่งชื่อดังระดับตำนาน โดยมีผลงานเป็นที่รู้จักและคุ้นหูคนไทยมากมาย และได้สร้างนักร้องชื่อดังหลายคนประดับวงการลูกทุ่งไทย ชลธี ธารทอง ได้รับการประกาศให้เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (นักแต่งเพลงลูกทุ่ง) ปี 2542.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและชลธี ธารทอง · ดูเพิ่มเติม »

ชัยชนะ บุญนะโชติ

ัยชนะ บุญนะโชติ เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้องเพลงลูกทุ่ง) ปี 2541 จากผลงานการนักร้องลูกทุ่งเสียงดี และสร้างสรรค์ผลงานเพลงฮิตมากมาย นอกจากนั้นก็ยังมีความสามารถในด้านศิลปะการแสดงภาคกลางเช่นลิเก ลำตัด เพลงอีแซว การแสดงตลก รวมถึงการแต่งเพลง ชัยชนะ ได้สร้างนักร้องลูกทุ่งประดับวงการไว้หลายคน โดยหนึ่งในจำนวนนั้นก็คือ ไวพจน์ เพชรสุพรรณ ปัจจุบันแม้จะอยู่ในวงการมานานถึงครึ่งศตวรรษ ชัยชนะ บุญนะโชติ ก็ยังคงรับงานร้องเพลงทั่วไป รวมทั้งงานทำขวัญนาค เช่นที่เคยทำมานานหลายสิบปี.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและชัยชนะ บุญนะโชติ · ดูเพิ่มเติม »

บัวผัน จันทร์ศรี

ัวผัน จันทร์ศรี (พ.ศ. 2463 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548) ศิลปินเพลงพื้นบ้าน เพลงอีแซว ที่มีชื่อเสียงของตำบลวังน้ำซับ อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี บัวผัน จันทร์ศรี เกิดเมื่อปีจอ..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและบัวผัน จันทร์ศรี · ดูเพิ่มเติม »

ชาญ บัวบังศร

ร้อยโทชาญ บัวบังศร หรือ ชาญชัย บัวบังศร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง เกิดเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477 ที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนศรีบุณยานนท์ จังหวัดนนทบุรี เริ่มรับราชการเป็นทหารม้าอยู่ที่จังหวัดสระบุรี ต่อมาได้ลาออกจากราชการมาทำงานอยู่ในคณะละครเร่ ได้ศึกษาหาความรู้ทางด้านดนตรีจนสามารถเล่นเครื่องดนตรีได้หลายชนิด ได้แก่ แอคคอร์เดียน, เปียโน, กีตาร์, กีตาร์ฮาวาย และมีความสามารถทางด้านการประพันธ์และเรียบเรียงเพลง เป็นผู้สร้างประวัติศาสตร์ให้กับวงการเพลงลูกทุ่งและเพลงลูกกรุง โดยการนำแอคคอร์เดียนเข้ามาใช้ในเพลงลูกทุ่งเป็นคนแรกจนเป็นเอกลักษณ์ของเพลงลูกทุ่งที่ขาดไม่ได้ตราบจนปัจจุบัน อีกทั้งยังเป็นผู้นำสุดยอดนักร้องในแนวลูกกรุงและลูกทุ่งมาร้องคู่กัน เช่น สุเทพ วงศ์กำแหง และ ผ่องศรี วรนุช โดยมีเพลงที่ได้รับความนิยมและรู้จักเป็นอย่างดี คือ กระท่อมไพรวัลย์, โปรดเถิดดวงใจ, ฝนเดือนหก เป็นต้น จนได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพันธ์เพลงร้องคู่และเพลงร้องแก้ที่มากที่สุด ด้านชีวิตครอบครัว สมรสกับนางเอมอร บัวบังศร ในปี พ.ศ. 2550 ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง เพลงลูกกรุง ต่อมา ร.ท.ชาญ บัวบังศร เข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า จังหวัดนนทบุรี ด้วยอาการเส้นเลือดในสมองตีบ และถึงแก่กรรมด้วยวัย 78 ปี ที่โรงพยาบาลฉะเชิงเทรา หลังจากการเข้ารับรักษาอาการเจ็บป่วยได้ 2 ปี ในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและชาญ บัวบังศร · ดูเพิ่มเติม »

ชาย เมืองสิงห์

มืองสิงห์ มีชื่อจริงว่า สมเศียร พานทอง เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง นักร้อง-นักแต่งเพลงลูกทุ่ง เมื่อปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและชาย เมืองสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาลี อินทรวิจิตร

ลี อินทรวิจิตร เป็นผู้ประพันธ์คำร้อง ผู้กำกับภาพยนตร์ ได้รับยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้ประพันธ์คำร้อง-ผู้กำกับภาพยนตร์) ประจำปีพุทธศักราช 2536 มีผลงานประพันธ์คำร้องเพลงที่มีชื่อเสียง ได้แก่ สดุดีมหาราชา, แสนแสบ, ท่าฉลอม, สาวนครชัยศรี, ทุ่งรวงทอง, มนต์รักดอกคำใต้, แม่กลอง, เรือนแพ, จำเลยรัก ฯลฯ เดิมชื่อ สง่า อินทรวิจิตร เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและชาลี อินทรวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

ชาติ กอบจิตติ

ติ กอบจิตติ (เกิด 25 มิถุนายน 2497) เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ปี พ.ศ. 2547 และนักเขียน 2 รางวัลซีไรต์ และรางวัลช่อการะเก.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและชาติ กอบจิตติ · ดูเพิ่มเติม »

บานเย็น รากแก่น

นเย็น รากแก่น (14 ตุลาคม พ.ศ. 2495 -) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (การแสดงพื้นบ้าน-หมอลำ) ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและบานเย็น รากแก่น · ดูเพิ่มเติม »

ชิงร้อยชิงล้าน ทเวนตี้ เซ็นจูรี่ ตั๊ก

งร้อยชิงล้าน ทเวนตี้ เซ็นจูรี่ ตั๊ก เป็นรายการเกมโชว์ที่เปลี่ยนชื่อจาก ชิงร้อยชิงล้าน Cha Cha Cha เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2551 ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 โดยออกอากาศทุกวันพุธเวลา 22.30 น. และย้ายเวลาการออกอากาศเป็นทุกวันอังคาร เวลา 22.30 น. - 00.30 น. (โดยประมาณ) โดยตั้งแต่ 7 เมษายน พ.ศ. 2552 เป็นต้นไป.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและชิงร้อยชิงล้าน ทเวนตี้ เซ็นจูรี่ ตั๊ก · ดูเพิ่มเติม »

ชินกร ไกรลาศ

น ฝ้ายเทศ เป็นที่รู้จักในชื่อ ชินกร ไกรลาศ (1 เมษายน พ.ศ. 2489 — 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2560) เป็นนักร้องลูกทุ่งที่ประยุกต์เพลงพื้นบ้านมาผสมผสานกับการแสดงดนตรีลูกทุ่งในหลายลักษณะ ทั้งลำตัด เพลงฉ่อย เพลงเกี่ยวข้าว เพลงเรือ เพลงอีแซว และเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้องเพลงลูกทุ่ง) ประจำปีพุทธศักราช 2541.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและชินกร ไกรลาศ · ดูเพิ่มเติม »

บุญยงค์ เกตุคง

รูบุญยงค์ เกตุคง (2463-2539) คีตกวี นักดนตรีที่มีชื่อเสียงชาวไทย ได้รับยกย่องสรรเสริญว่าเป็นระนาดเทวดา เพราะมีฝีมือบรรเลงระนาดเอกได้ยอดเยี่ยมที่สุดคนหนึ่งในยุคสมัยเดียวกัน และเป็นผู้ก่อตั้งวงฟองน้ำ มีบทบาทที่สำคัญในการทลายกรอบของจังหวะที่ใช้ลูกตกเป็นจังหวะหนักหรือจังหวะที่ถูกเน้น ให้เกิดการเล่นแบบเน้นที่จังหวะยกแทน (Syncopation) และนำเทคนิคดังกล่าวมาประพันธ์ดนตรีที่สำคัญ ๆ หลายต่อหลายชิ้น ชิ้นที่โด่งดังมากมีชื่อว่า "ชเวดากอง" ครูบุญยงค์ เกตุคง เป็นบุตรชายคนใหญ่ของนายเที่ยงและนางเขียน เกตุคง.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและบุญยงค์ เกตุคง · ดูเพิ่มเติม »

ชุมทางเพลงพระราชนิพนธ์

มทางเพลงพระราชนิพนธ์ เป็นรายการประกวดขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์ ชิงถ้วยพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (ใบสุดท้าย), ถ้วยพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ ถ้วยประทานจากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ซึ่งมูลนิธิหอสมุดดนตรีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 นำโดย พล.อ. กะสิณ ทองโกมล ประธานหอสมุดเคลื่อนที่ฯ ร่วมกับ มูลนิธิจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์, สมาคมนักเพลงลูกทุ่งแห่งประเทศไทย, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 และสมาคมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรหลักสูตรการบริหารจัดการด้านความมั่นคงขั้นสูง (สวปอ.) ร่วมกันจัดการประกวดขึ้น โดยใช้รูปแบบจากรายการ ชุมทางดาวทอง ผลิตรายการโดย บริษัท เซเว่นสตาร์สตูดิโอ จำกัด ออกอากาศทุกวันพุธ เวลา 09.30 - 10.30 น. ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เริ่มออกอากาศครั้งแรกวันที่ 7 ธันวาคม..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและชุมทางเพลงพระราชนิพนธ์ · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

ชูชก กัณหา ชาลี

ูชก กัณหา ชาลี เป็นภาพยนตร์ไทยที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธประวัติ กล่าวถึงพระโพธิสัตว์ซึ่งเสวยพระชาติสุดท้ายในทศชาติเป็นพระเวสสันดร เป็นเรื่องการเผยแผ่ทานบารมีขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยบริษัท ไทยสากลธุรกิจ จำกัด ของ ณรงค์ สันติสกุลชัยพร กำกับการแสดงโดย รัตน์ เศรษฐภักดี นำแสดงโดยสมบัติ เมทะนี ในบทบาทพระเวสสันดร ร่วมด้วย พิศมัย วิไลศักดิ์ ในบทพระนางมัทรี ส่วนบทชูชก รับบทโดย ประพัตร์ มิตรภักดี และนางอมิตาดา ภรรยาของชูชกรับบทโดย สุชีรา สุภาเสพ สำหรับกัณหาและชาลี รับบทโดย 2 พี่น้อง..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและชูชก กัณหา ชาลี · ดูเพิ่มเติม »

ชูชาติ พิทักษากร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันเอกพิเศษ ชูชาติ พิทักษากร (19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477 —) เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดงด้านดนตรีสากล โดยเป็นผู้มีชื่อเสียงในระดับนานาชาติ และเป็นผู้ถ่ายทอดวิชาดนตรีให้แก่ศาสตราจารย์ ดร. ณัชชา พันธุ์เจริญ, ศาสตราจารย์ ดร. ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นรอรรถ จันทร์กล่ำ, อาจารย์สิทธิชัย เพ็งเจริญ, อาจารย์ทัศนา นาควัชระ, อาจารย์ศิริพงษ์ ทิพย์ธัญ และอาจารย์พิศุทธิ์ สายโอบเอื้อ ทั้งนี้ เขายังเป็นผู้เรียนวิชามวยไทยเลิศฤทธิ์ กับอาจารย์วิสิทธิ์ เลิศฤทธิ์ เป็นเวลาหลายปี เมื่อครั้งรับราชการทหารบก.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและชูชาติ พิทักษากร · ดูเพิ่มเติม »

ชูศรี สกุลแก้ว

ูศรี สกุลแก้ว เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดงด้านหุ่นกระบอกไทย ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและชูศรี สกุลแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

ช่วง มูลพินิจ

วง มูลพินิจ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ประจำปี พ.ศ. 2556 เป็นศิลปินที่มีชื่อเสียงชาวไทย มีผลงานปรากฏทั้งในด้านจิตรกรรมและประติมากรรมตลอดหลายสิบปีที่ผ่านมา งานของช่วงในระยะแรกเริ่มเป็นภาพลายเส้นประยุกต์ลายไทย ต่อมาจึงใช้เทคนิคสีน้ำ และสีน้ำมัน ผลงานส่วนใหญ่แสดงถึงเรื่องราวของดอกไม้ แมลง สัตว์ มนุษย์ ผนึกเรื่องราวทางอุดมคติกับธรรมชาต.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและช่วง มูลพินิจ · ดูเพิ่มเติม »

บ้านทรายทอง

้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ เป็นนวนิยายอมตะเรื่องหนึ่งของวงการวรรณกรรมไทย เขียนโดย ก.สุรางคนางค์ (กัณหา เคียงศิริ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ปี 2529) นักประพันธ์ผู้มีชื่อเสียง ตีพิมพ์ครั้งแรกในนิตยสารรายปักษ์ชื่อ "ปิยมิตร" ประมาณปี พ.ศ. 2493 เคยเป็น ละครโทรทัศน์และ ภาพยนตร์ ได้รับความนิยมสูงตลอดมา สวลี ผกาพันธุ์ มีชื่อเสียงจากบทสาวน้อยถักผมเปีย พจมาน สว่างวงศ์ คนแรกในวงการแสดง จากละครเวทีของคณะอัศวินการละคร ของ เสด็จพระองค์ชายใหญ่ (ภาณุพันธุ์) ที่ ศาลาเฉลิมไท..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและบ้านทรายทอง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและพ.ศ. 2462 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและพ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พยอม สีนะวัฒน์

นางพยอม สีนะวัฒน์ (3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2452 - 25 ตุลาคม พ.ศ. 2551) ชาวจังหวัดศรีสะเกษ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ศิลปะงานผ้า) ปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและพยอม สีนะวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

พยงค์ มุกดา

นาวาตรีพยงค์ มุกดาพันธ์ หรือ ครูพยงค์ มุกดา (4 พฤษภาคม พ.ศ. 2469—12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553) นักร้อง นักแสดง นักแต่งเพลง ที่มีชื่อเสียงจากการเป็นนักแต่งเพลงเป็นจำนวนมาก ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและพยงค์ มุกดา · ดูเพิ่มเติม »

พรรคศิลปิน

รรคศิลปิน เป็นพรรคการเมืองของไทยที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2550 โดยนายวสันต์ สิทธิเขตต์ และกลุ่มศิลปินไทยส่วนหนึ่ง จำนวน 17 คน พรรคศิลปินมีหัวหน้าพรรคคือ นายวสันต์ สิทธิ์เขตต์ มีนายจุมพล อภิสุข จากวงคนด่านเกวียน เป็นเลขาธิการพรรค และนางนิตยา บุญประสิทธิ จากวงกรรมาชน เป็นโฆษกพรรค มีกรรมการพรรค และสมาชิกประกอบด้วยศิลปินในแขนงต่าง ๆ เช่น เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ทวี รัชนีกร ศิลปินแห่งชาติ, สุรชัย จันทิมาธร มงคล อุทก พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ นักดนตรีเพลงเพื่อชีวิต, ไชยันต์ ไชยพร กนกศักดิ์ แก้วเทพ อาจารย์มหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตาม นายวสันต์ สิทธิเขตต์ กล่าวว่าการมีโครงสร้างหัวหน้าพรรค กรรมการบริหารพรรค เพียงเพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายพรรคการเมือง พรรคศิลปิน สิ้นสุดสภาพความเป็นพรรคการเมือง ในปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและพรรคศิลปิน · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระราชพิธีที่รัฐบาลไทยจัดขึ้นเพื่อแสดงความอาลัยเป็นครั้งสุดท้าย ภายหลังการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จัดขึ้น ณ พระเมรุมาศ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง ระหว่างวันที่ 25 – 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ หรือ พระองค์ชายเล็ก (อังกฤษ: His Royal Highness Prince Anusorn Mongkolkarn) (1 เมษายน 2458 - 2 มกราคม 2541) เป็นพระโอรสองค์สุดท้องใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ กับ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล (พระธิดาใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ซึ่งเป็นพระอนุชาร่วมพระครรโภทรกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) มีพระเชษฐา 2 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ · ดูเพิ่มเติม »

พร้อม บุญฤทธิ์

ร้อม บุญฤทธิ์ หรือ พร้อมน้อย ตลุงสากล เป็นนายหนังตะลุงที่มีชื่อเสียง และเป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (หนังตะลุง) ปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและพร้อม บุญฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พิศมัย วิไลศักดิ์

มัย วิไลศักดิ์ ชื่อเล่น มี้ (7 ธันวาคม พ.ศ. 2482-) เป็นศิลปินนักแสดงอาวุโสและเป็นครูสอนศิลปะการแสดง เจ้าของฉายา ดาราเงินล้าน มีผลงานแสดงภาพยนตร์ประมาณ 300 เรื่อง พิศมัย วิไลศักดิ์ ได้รับยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์และละครโทรทัศน์) ประจำปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและพิศมัย วิไลศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พูน เกษจำรัส

ตราจารย์ พูน เกษจำรัส ศาสตราจารย์ พูน เกษจำรัส (15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2464 - 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) เป็นชาวเพชรบุรีโดยกำเนิด ได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภาพถ่ายศิลปะ) เมื่อ ปี พ.ศ. 2531.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและพูน เกษจำรัส · ดูเพิ่มเติม »

พูนทรัพย์ ตราโมท

นางพูนทรัพย์ ตราโมท ภรรยาศิลปินแห่งชาติ มนตรี ตราโมท บุคคลสำคัญด้านนาฏศิลป์จากคณะละครของเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ ที่มีชีวิตอยู่เป็นคนสุดท้าย และศิลปินรุ่นแรกของวงการละครวิทยุของประเทศไทย นางพูนทรัพย์ ตราโมท เกิดในสกุล "นาฏประเสริฐ" เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและพูนทรัพย์ ตราโมท · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์ศักดิ์ จันทรุกขา

งษ์ศักดิ์ จันทรุกขา (ชื่อเดิม นายสงคราม) เกิดเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและพงษ์ศักดิ์ จันทรุกขา · ดูเพิ่มเติม »

กมล ทัศนาญชลี

กมล ทัศนาญชลี ศิลปินแห่งชาติ ปี 2540 สาขาทัศนศิลป์ (ภาพวัยหนุ่ม) ศาสตราจารย์กมล ทัศนาญชลี ศิลปินแห่งชาติ ปี 2540 สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรมและสื่อผสม) เกิดเมื่อ 17 มกราคม 2487 ถือเป็นศิลปินดีเด่นในด้านจิตรกรรมและสื่อผสมร่วมสมัยของไทย ได้รับการยกย่องทั้งในและต่างประเทศ ทางด้านศิลปะร่วมสมัยของไทย ผลงานที่เป็นเอกลักษณ์ในแนวทางสากลที่มีพื้นฐานจากศิลปะแบบประเพณีไทยในอดีต ปัจจุบัน.กมล ทัศนาญชลี สอนหนังสือและสร้างสรรค์ผลงานศิลปะอยู่ที่สหรัฐอเมริกา ในฐานะประธานสภาศิลปกรรมไทยแห่งสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ยังสนับสนุนและส่งเสริมศิลปินไทยในการศึกษาและหาประสบการณ์ ทั้งนี้.กมล ทัศนาญชลี ยังเป็นคนไทยและคนเอเชียเพียงหนึ่งเดียว ที่ผลงานศิลปะถูกบันทึกไว้ใน Gardner's Art Through The Ages หรือ หนังสือประวัติศาสตร์ศิลป์โลก ซึ่งเป็นหนังสือรวบรวมผลงานศิลปะทั่วโลก ทั้งก่อนประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบัน โดยทั่วโลกมีศิลปินได้รับการบันทึกเพียง 30,000 คน ส่วนใหญ่จะเป็นชาวยุโรปและอเมริก.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและกมล ทัศนาญชลี · ดูเพิ่มเติม »

กรุณา กุศลาสัย

กรุณา กุศลาสัย (10 พฤษภาคม พ.ศ. 2463 - 13 สิงหาคม พ.ศ. 2552) เป็นนักเขียนบทความและสารคดี เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาฮินดี ภาษาสันสกฤต และวัฒนธรรมอินเดีย ได้รับการเชิดชูเกียรติ รางวัลศรีบูรพา ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและกรุณา กุศลาสัย · ดูเพิ่มเติม »

กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา

อาคารใหม่สวนอัมพร อาคารศูนย์การค้าริเวอร์ซิตี้ (ฟาสาดเดิม) อาคารสำนักงานใหญ่การบินไทย ถนนวิภาวดีรังสิต เอ็มบีเคเซ็นเตอร์ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา (9 มกราคม พ.ศ. 2475 - 12 มกราคม พ.ศ. 2553) เป็นสถาปนิกชาวไทย นักธุรกิจ ผู้ก่อตั้งบริษัทคาซ่า อดีตคณะบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (คนที่ 4 พ.ศ. 2517-2521),นักแสดง, นักบินสมัครเล่น, อดีตนักกีฬายิงปืนทีมชาติในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและกฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

กลอนสักวา

กลอนสักวา (อ่านว่า สัก-กะ-วา โบราณเขียนว่า สักกรวา) เป็นชื่อของร้อยกรองประเภทกลอนลำนำ ชนิดหนึ่ง 1 บทมี 4 คำกลอน ขึ้นต้นด้วยคำ 'สักวา' และลงท้ายด้วยคำ 'เอย' กลอนสักวาถูกนำมาใช้ทั้งแบบที่เป็นบทประพันธ์ธรรมดา ของผู้ที่มีความสามารถทางด้านการประพันธ์ และนำมาใช้เป็นการละเล่นโต้ตอบกันระหว่างผู้เล่นหลายคน ซึ่งต้องอาศัยความรู้ทางด้านร้อยกรอง และยังต้องอาศัยไหวพริบปฏิภาณของผู้เล่นที่จะสามารถโต้ตอบกันได้อย่างถูกต้องและทันท่วงที การเล่นสักวานี้เป็นที่นิยมกันมากในสมัยโบราณ เพราะเป็นการแสดงออกถึงความสามารถทางก้านกวีนิพนธ์ที่โดดเด่นและสนุกสนานทั้งผู้เล่นและผู้ฟัง.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและกลอนสักวา · ดูเพิ่มเติม »

กษิต ภิรมย์

นายกษิต ภิรมย์ อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองนายกรัฐมนตรีเงา พรรคประชาธิปัตย์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยในหลายประเทศ เกิดวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2487 เป็นบุตรชายของ ศาสตราจารย์พลเรือตรีสมภพ ภิรมย์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) อดีตอธิบดีกรมศิลปากร และอดีตคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยศรีปทุม กับ นางจุนเจือ ภิรมย์ (สกุลเดิม "มุสิกะภุมมะ") นายกษิตสำเร็จการศึกษา ปริญญาตรีสาขาวิเทศสัมพันธ์ (International Affairs) จาก มหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ (Georgetown University) สหรัฐอเมริกา รุ่นเดียวกับประธานาธิบดี บิล คลินตัน แห่งสหรัฐอเมริกา และประธานาธิบดี กลอเรีย อาร์โรโย แห่งฟิลิปปินส์ และ ศึกษาต่อ สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations) ที่ Institute of Social Studies เนเธอร์แลนด์ ก่อนเข้ารับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ ยาวนานกว่า 30 ปี เคยดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยในหลายประเทศ โดยตำแหน่งสุดท้ายก่อนการเกษียณอายุราชการ คือ เอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา ระหว่างการรับราชการที่กระทรวงการต่างประเทศ นายกษิตได้รับการทาบทามจาก นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เพื่อนร่วมรุ่นรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ของน้องชายของนายกษิต ให้เข้าร่วมในคณะทำงานของ นายชวน หลีกภัย ขณะดำรงตำแหน่ง รมว.พาณิชย์ และ รมว.เกษตรและสหกรณ์ และมี นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เป็นเลขานุการรัฐมนตรี โดยนายกษิตได้รับมอบหมายให้ดูแลการติดต่อกับต่างประเทศ และการต้อนรับบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ในช่วงที.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและกษิต ภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

กั้น ทองหล่อ

นาย กั้น ทองหล่อ(พ.ศ. 2455 - พ.ศ. 2531) ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (หนังตะลุง) เมื่อพ.ศ. 2529.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและกั้น ทองหล่อ · ดูเพิ่มเติม »

กาญจนา นาคนันทน์

กาญจนา นาคนันทน์ เป็นนามปากกาของ นงไฉน ปริญญาธวัช (สกุลเดิม: นาคามดี; 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2464 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (นวนิยายและเรื่องสั้น)..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและกาญจนา นาคนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

การถ่ายภาพ

กล้องถ่ายภาพ อุปกรณ์หลักในการถ่ายภาพ การถ่ายภาพ คือ การบันทึกเหตุการณ์ ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยการเก็บสภาพแสง ณ เวลานั้นไว้บนวัตถุไวแสง ผ่านอุปกรณ์รับแสงที่เรียกว่ากล้องถ่ายรูป หลังจากนั้น จะสามารถเปลี่ยนสภาพแสงเหล่านั้นกลับมาเป็นภาพได้อีกครั้งหนึ่ง ผ่านกระบวนการล้างอัดภาพ ในภาษาอังกฤษคำว่า การถ่ายภาพ คือ Photography (อ่านว่า โฟทอก' กระฟี) มาจากการผสมคำกรีกสองคำ คือ คำว่า φως - phos ซึ่งแปลว่า แสง กับคำว่า γραφις - graphis หรือ γραφη - graphê ซึ่งแปลว่า การเขียน.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและการถ่ายภาพ · ดูเพิ่มเติม »

กินรี

รูปหล่อโลหะของ กินร และ กินรี ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กินรี (ตัวเมีย) และ กินนร (ตัวผู้) เป็นสัตว์ในป่าหิมพานต์ ร่างกายท่อนบนเป็นมนุษย์ ท่อนล่างเป็นนก มีปีกบินได้ ตามตำนานเล่าว่าอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ เชิงเขาไกรลาศ นับเป็นสัตว์ที่มีปรากฏในงานศิลปะของไทยมาก ส่วนในวรรณคดีไทยก็มีการอ้างถึงกินรีด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและกินรี · ดูเพิ่มเติม »

กุมภาพันธ์

กุมภาพันธ์ เป็นเดือนที่ 2 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นเดือนที่มีจำนวนวัน 28 หรือ 29 วัน โดยปกติจะมี 28 วัน ยกเว้นปีอธิกสุรทินที่มี 29 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกุมภาพันธ์เริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกุมภ์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีมีน แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกุมภาพันธ์ดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวแพะทะเล และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำในปลายเดือน.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและกุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ญาณี ตราโมท

ญาณี ตราโมท ญาณี ตราโมท เกิดวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 เป็นบุตรของนายมนตรี ตราโมท ศิลปินแห่งชาติ สาขาดนตรีไทย จบมัธยมศึกษาจากโรงเรียนวัดบวรนิเวศ และปริญญาตรีจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังจบการศึกษา คุณญาณีได้เข้าทำงานที่ธนาคารไทยพาณิชย์ ในปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและญาณี ตราโมท · ดูเพิ่มเติม »

ภัทราวดี มีชูธน

ัทราวดี มีชูธน เกิดเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2491 เป็นนักแสดง ละครโทรทัศน์ ละครเวที เป็นครูสอนศิลปะการแสดง เจ้าของโรงละครภัทราวดีเธียเตอร.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและภัทราวดี มีชูธน · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ. 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่สร้างโดยคนไทย ในช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงซบเซาของภาพยนตร์ไทย เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นคืนกลับมา ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมือง และสังคม ในช่วงเวลาระหว่างปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาธร ศรีกรานนท์

รองศาสตราจารย์ ดร.ภาธร ศรีกรานนท์ (เกิด 4 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นนักประพันธ์ดนตรี นักวิชาการดนตรี และนักดนตรี เชี่ยวชาญในเครื่องดนตรี แซกโซโฟนและคลาริเน็ต เป็นสมาชิกหนึ่งใน วง อ.ส. วันศุกร.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและภาธร ศรีกรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ภิญโญ สุวรรณคีรี

รองศาสตราจารย์ ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี (10 มีนาคม 2480 -) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี สถาปนิกสาขาสถาปัตยกรรมไทย นักการศึกษาสถาปัตยกรรมไทยประเพณี ศิลปินแห่งชาติและราชบัณฑิตสำนักศิลปกรรม ประเภทสถาปัตยศิลป์ เป็นบุตรของ นายซ้อน – นางรื่น สุวรรณคีรี สมรสกับ นางลาวัณย์ สุวรรณคีรี มีธิดา ๓ คน ได้แก่ นางสาวดลฤดี สุวรรณคีรี, นางสาวปิยนุช สุวรรณคีรี และนางสาวพุทธชาติ สุวรรณคีรี รองศาสตราจารย์ ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี เกิดเมื่อ 10 มีนาคม..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและภิญโญ สุวรรณคีรี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยพะเยา

มหาวิทยาลัยพะเยา (University of Phayao; ชื่อย่อ: มพ / UP) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐบาล ตั้งอยู่ในจังหวัดพะเยา เดิมเป็นวิทยาเขตในสังกัดมหาวิทยาลัยนเรศวร ต่อมา มีการตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลั..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและมหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University; ชื่อย่อ: มศก. – SU) เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งแรกในประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านศิลปะและการออกแบบ ปัจจุบันเปิดสอนครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสากลอย่างสมบูรณ์ ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร" ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พัฒนาขึ้นเป็นลำดับจนเป็น "โรงเรียนศิลปากร" และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและมหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (ื่อย่อ: ม., STOU) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ "มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช" ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2521 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พุทธศักราช 2521 มหาวิทยาลัยจึงกำหนดวันที่ 5 กันยายน ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีแบบมหาวิทยาลัยเปิดโดยรับนักศึกษาไม่จำกัดจำนวน ปัจจุบันมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชเปิดการศึกษาถึงระดับดุษฎีบัณฑิตในบางสาขาวิชา โดยมีการสอบคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาเหมือนมหาวิทยาลัยปิดทั่วไป มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชไม่มีชั้นเรียนตามปกติเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป แต่ดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกล ซึ่งจัดการเรียนการสอนโดยเน้นให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองจากเอกสารชุดวิชาจากสื่อสารสนเทศต่าง ๆ ที่ทางมหาวิทยาลัยจัดไว้ให้นักศึกษา เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่อต่าง ๆ เป็นต้น ผู้ที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชในอดีต ได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรจากพระหัตถ์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่ในปัจจุบันสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชดำเนินปฏิบัติพระราชกรณียกิจในการพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิต จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจนถึงปัจจุบัน ภายหลัง รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้ออกประกาศที่ 1/2560 เข้าควบคุมมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยคอร์เนล

มหาวิทยาลัยคอร์เนล (Cornell University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในไอวีลีกตั้งอยู่ที่เมืองอิทาคา ในรัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2408 (ค.ศ. 1865) โดย เอซรา คอร์เนล และ แอนดรูว์ ดิกสัน ไวต์ คอร์เนลมีนักศึกษาประมาณ 20,000 คน (ในปี พ.ศ. 2548) มีชื่อเสียงทางด้านวิชาการในหลากหลายด้าน ไม่ว่าจะด้านวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์มีวิทยาลัยขนาดใหญ่ 2 แห่งด้วยกัน คือ College of Arts and Sciences และ College of Agriculture and Life Sciences นอกจากนี้การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษายังได้รับการจัดอันดับอยู่ในระดับสูง อาทิ Johnson Graduate School of Management, College of Engineering, Law School, Weill Cornell Medical College และมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักดีทางด้านศึกษาศาสตร์ นอกจากนี้มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ยังมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักติดอันดับ คือ College of Veterinary Medicine และมีชื่อเสียงสูงมาก คือ School of Hotel Management ด้านสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมีชื่อเล่นว่า Big Red เพราะดินที่นั่นเป็นสีแดง มี Mascot คือ หมี Cornell Big Red Bear บอลช์ฮอลล์ หอพักนักศึกษาหญิง ในมหาวิทยาลัยคอร์เนล.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและมหาวิทยาลัยคอร์เนล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ "มหาวิทยาลัยนเรศวร" นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน มหาวิทยาลัยนเรศวรได้รับการจัดอันดับในด้านการวิจัยให้เป็นมหาวิทยาลัยระดับดีเยี่ยมและเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 9 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ. 2549 หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันที่ 1 กันยายน 2549 และได้รับการจัดอันดับโดย เว็บโอเมตริกซ์ (Webometrics) เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 ให้อยู่ในอันดับที่ 605 ของโลก อันดับที่ 15 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอันดับที่ 9 ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาคภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบนของประเทศไทย โดยมีการเรียนการสอนครอบคลุมครบทุกสาขาวิชาทั้งสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รวมทุกระดับการศึกษาทั้งสิ้น 184 หลักสูตร มีจำนวนนิสิตประมาณ 22,200 คน และมีอาจารย์ประจำกว่า 1,400 คน พิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในช่วงเดือนธันวาคม โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์มาทรงประกอบพิธีสำคัญต่าง ๆ ในกิจการของมหาวิทยาลัยนเรศวร.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและมหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

มัณฑนา โมรากุล

มัณฑนา โมรากุล ปัจจุบันมีชื่อจริงว่า มัณฑนา เกียรติวงศ์ (30 มีนาคม พ.ศ. 2466 -) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล-ขับร้อง) ประจำปีพุทธศักราช 2552 อดีตนักร้องหญิงคนแรกของวงดนตรีกรมโฆษณาการและนักร้องรุ่นแรกของวงสุนทราภรณ.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและมัณฑนา โมรากุล · ดูเพิ่มเติม »

มันมากับความมืด

มันมากับความมืด (Out of the Darkness) ภาพยนตร์ไซไฟสัญชาติไทยในปี พ.ศ. 2514 เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกจากการกำกับของหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล หรือท่านมุ้ย ซึ่งต่อมาได้กลายมาเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชื่อดัง อีกทั้งยังเป็นบทบาทการแสดงครั้งแรกของ สรพงษ์ ชาตรี (ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดงในปี พ.ศ. 2551) อีกทั้งยังถือได้ว่าเป็นภาพยนตร์แนวไซไฟเรื่องแรกด้วยของวงการภาพยนตร์ไทย ซึ่งถือได้ว่าแหวกแนวของภาพยนตร์ไทยด้ว.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและมันมากับความมืด · ดูเพิ่มเติม »

มารศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา

มารศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา (เกิด 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465) เป็นนักแสดงและนักพากย์ภาพยนตร์อาวุโสชาวไทย ได้รับคัดเลือกให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ประจำปี พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและมารศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

มานพ ยาระณะ

อครูมานพ ยาระณะ หรือ พ่อครูพัน (5 กันยายน พ.ศ. 2478 — 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558) เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านศิลปะการฟ้อน, ศิลปะการต่อสู้, การตีกลองสะบัดชัยแบบโบราณ, กลองปู่จา, กลองปู่เจ่, ดนตรีพื้นบ้านล้านนาและดนตรีไทย โดยได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและมานพ ยาระณะ · ดูเพิ่มเติม »

มานิตย์ ภู่อารีย์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์มานิตย์ ภู่อารีย์ (3 ธันวาคม พ.ศ. 2478 - 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551) ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภาพพิมพ์) พ.ศ. 2543.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและมานิตย์ ภู่อารีย์ · ดูเพิ่มเติม »

มิตร ชัยบัญชา

มิตร ชัยบัญชา (28 มกราคม พ.ศ. 2477 - 8 ตุลาคม พ.ศ. 2513) หรือชื่อจริง พันจ่าอากาศโท พิเชษฐ์ ชัยบัญชา (นามสกุลเดิม พุ่มเหม) เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงปล..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและมิตร ชัยบัญชา · ดูเพิ่มเติม »

มณี พยอมยงค์

ตราจารย์เกียรติคุณ มณี พยอมยงค์ ศิลปินแห่งชาติปี พ.ศ. 2549 สาขาวรรณศิลป.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและมณี พยอมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

มนุษยศาสตร์

นักปรัชญาเพลโต มนุษยศาสตร์ (humanities) เป็นกลุ่มของสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาสภาวะแห่งมนุษย์โดยส่วนใหญ่ใช้กรรมวิธีเชิงวิเคราะห์, วิจารณญาณ หรือการคาดการณ์ซึ่งแตกต่างจากการเข้าสู่ปัญหาด้วยกรรมวิธีเชิงประจักษ์ด้วยธรรมชาติ, สังคมศาสตร์ โดยธรรมเนียมทั่วไปมนุษยศาสตร์รวมถึงสาขาวิชาภาษาศาสตร์โบราณและภาษาศาสตร์สมัยใหม่, วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง และดนตรี บางครั้งมีการรวมเอาสาขาวิชาอื่นเพิ่มเข้าไปด้วย ได้แก่ มานุษยวิทยา ภูมิภาคศึกษา การสื่อสารและวัฒนธรรมศึกษา แม้ว่าสาขาวิชาเหล่านี้มักถูกจัดไว้ในสาขาสังคมศาสตร์ นักวิชาการที่อยู่ในสายของสาขาวิชานี้ บางครั้งอาจเรียกตนเองว่าเป็น "นักมนุษยนิยม" อย่างไรก็ตามคำดังกล่าวก็ได้ใช้เรียกนักปรัชญาสาขามนุษยนิยมแต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรั.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและมนุษยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี

มนตรี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี ตราโมท

มนตรี ตราโมท นักดนตรีไทย และศิลปินแห่งชาต.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและมนตรี ตราโมท · ดูเพิ่มเติม »

มนต์รักแม่น้ำมูล

มนต์รักแม่น้ำมูล ภาพยนตร์ไทย ฟอร์มยักษ์จาก ดวงกมลมหรสพ ออกฉายครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2520 จากฝีมือการกำกับของครู พงษ์ศักดิ์ จันทรุกขา ศิลปินแห่งชาติ นำแสดงโดย สมบัติ เมทะนี เนาวรัตน์ ยุกตะนันทน์ นัยนา ชีวานันท์ สุริยา ชินพันธุ์ ปิยะ ตระกูลราษฎร์ และ เปียทิพย์ คุ้มวงศ์ ในปี พ.ศ. 2545 ได้มีการนำภาพยนตร์เรื่องนี้กลับมาสร้างใหม่ในรูปแบบละครโทรทัศน์ทาง ช่อง 5 นำแสดงโดย อำพล ลำพูน, คทรีน่า กลอส, จารุณี สุขสวัสดิ์, รุ่งเรือง อนันตยะ ในปี พ.ศ. 2554 ทาง พอดีคำ เอ็นเตอร์เทนเมนต์ และ บอร์ดคณะกรรมการพิจารณาช่อง 7 อนุมัติ ได้นำกลับมาสร้างใหม่เป็นครั้งที่ 2 โดยได้มีการดัดแปลงเนื้อหาให้ร่วมสมัยพร้อมกับมีการเพิ่มตัวละครใหม่เข้ามาสร้างสีสันนำแสดงโดย ศุกลวัฒน์ คณารศ วรัทยา นิลคูหา ศรัณย์ ศิริลักษณ์ ธันวา สุริยจักร พิมพ์ชนก ลือวิเศษไพบูลย์ ภาณุ สุวรรณโณ และ ปริศนา วงศ์ศิร.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและมนต์รักแม่น้ำมูล · ดูเพิ่มเติม »

ยก ชูบัว

นายยก ชูบัว หรือ โนรายก เป็นโนราที่มีชื่อเสียงคนหนึ่ง เป็นบุตรนายเลิศ นางเอี่ยม ชูบัว เกิดเมื่อ พ.ศ. 2465 ที่บ้านทะเลน้อย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนวัดทะเลน้อย อุปสมบท 1 พรรษา มีฉายาว่า ธมฺมทินฺโน สอบได้นักธรรมตรี จากสนามสอบวัดสุวรรณวิชัย อำเภอควนขนุน เมื่อลาสิกขาได้รับคัดเลือกให้รับราชการตำรวจอยู่ 2 ปี ณ สถานีตำรวจภูธร อำเภอเมืองพัทลุง และระยะดังกล่าวได้แต่งงานกับนางสาวกล่ำ พงค์ชนะ ไม่มีบุตร เมื่ออกจากราชการได้ย้ายครอบครัวมาอยู่ที่อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา โนรายกหัดรำโนรามาตั้งแต่อายุ 8 ขวบ โดยหัดกับโนราเลื่อน พงค์ชนะ บ้านทะเลน้อย และอยู่ประจำคณะโนราเลื่อนมาจนอายุ 16 ปี จึงแยกมาตั้งคณะเอง ในระยะที่แยกโรงใหม่ๆ เมื่อถึงหน้าแล้งโนรายกจะนำคณะไปแสดงอยู่ประจำในเขตจังหวัดภูเก็ตและพังงา ครั้งถึงหน้าฝนก็นำคณะกลับพัทลุง ช่วงที่ว่างจากการแสดงในระยะดังกล่าว โนรายกได้ไปฝึกรำทำบทกับโนราวัน (จังหวัดนครศรีธรรมราช) ซึ่งเป็นโนราที่มีชื่อเสียงมากในการรำทำบทในสมัยนั้น ฝึกอยู่ประมาณ 6 เดือนก็ชำนาญ กลับมาทำพิธีผูกผ้าแล้วเข้าอุปสมบทและรับราชการตำรวจตามลำดับดังกล่าวแล้ว ออกจากตำรวจก็มารำโนราหาเลี้ยงชีพเพียงอย่างเดียว.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและยก ชูบัว · ดูเพิ่มเติม »

ยืนยง โอภากุล

ืนยง โอภากุล หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ แอ๊ด คาราบาว เป็นศิลปินเพลงเพื่อชีวิตชาวไทยเชื้อสายจีน เป็นหัวหน้าวงคาราบาว วงดนตรีเพื่อชีวิตและเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ได้รับยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้อง-นักประพันธ์เพลงไทยสากล) ประจำปี พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและยืนยง โอภากุล · ดูเพิ่มเติม »

รวงทอง ทองลั่นธม

รวงทอง ทองลั่นธม (บางแห่งเขียนเป็น รวงทอง ทองลั่นทม) (8 พฤษภาคม พ.ศ. 2480 -) นักร้องวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ และ วงสุนทราภรณ์ มีชื่อเสียงจากเพลง จำได้ไหม และ ขวัญใจเจ้าทุย รวมทั้งได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและรวงทอง ทองลั่นธม · ดูเพิ่มเติม »

ระวี ภาวิไล

ตราจารย์กิตติคุณ ระวี ภาวิไล (17 ตุลาคม พ.ศ. 2468 — 17 มีนาคม พ.ศ. 2560) เป็นราชบัณฑิต อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักวิชาการด้านดาราศาสตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของไทย นับเป็นบุคคลที่บุกเบิกการศึกษาด้านดาราศาสตร์รุ่นแรก ๆ ของไทย และมีส่วนให้สังคมไทย โดยเฉพาะเยาวชนให้ความสนใจการเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์มากขึ้น สำหรับบุคคลทั่วไป อาจเริ่มรู้จักท่านดีในช่วงการมาเยือนของดาวหางฮัลเลย์ เมื่อต้นปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและระวี ภาวิไล · ดูเพิ่มเติม »

รัจนา พวงประยงค์

นางรัจนา พวงประยงค์ (6 ตุลาคม พ.ศ. 2484 - ปัจจุบัน) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์ไทย-ละคร) พ.ศ. 2554 ข้าราชการบำนาญ สังกัดกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม เป็นนาฏศิลปินที่มากความสามาร.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและรัจนา พวงประยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย

ัณฑ์ในประเทศไทย ในหน้านี้รวบรวมรายชื่อพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทยแบ่งตามเนื้อหาได้ดังนี้ (พิพิธภัณฑ์บางแห่งอาจมีรายชื่ออยู่มากกว่าหนึ่งหมวด).

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและรายชื่อพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวันสำคัญของไทย

รายชื่อวันสำคัญของไท.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและรายชื่อวันสำคัญของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผลงานของเวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์

ตราสัญลักษณ์ของ เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ เริ่มทำการผลิตรายการ "เวทีทอง" ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เป็นรายการแรก ต่อมา บริษัทขยายการผลิตรายการและละครประเภทต่าง ๆ ในหลากหลายรูปแบบ เป็นจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อนำเสนอออกอากาศมาโดยตลอดระยะเวลา 26 ปี ของการดำเนินงานธุรกิจผลิตและรับจ้างผลิตรายการโทรทัศน์ โดยบริษัทมีทีมครีเอทีฟที่มีความคิดสร้างสรรค์ และมีประสบการณ์สร้างสรรค์ผลงานคุณภาพ เช่น เกมโชว์, ควิซโชว์, เรียลลิตี้เกมโชว์, เรียลลิตี้เกมโชว์ควิซโชว์, เรียลลิตี้โชว์, วาไรอิตีโชว์, เกมโชว์ควิซโชว์สำหรับเด็กและเยาวชน, เรียลลิตี้โชว์สำหรับสำหรับเด็กและเยาวชน, เกมโชว์ซิตคอม, ละครซิตคอม, วาไรตี้โชว์ซิตคอม, วาไรตี้โชว์วันหยุดนักขัตฤกษ์, ละครซิตคอมวันหยุดนักขัตฤกษ์, รายการวันหยุดนักขัตฤกษ์, ละครโทรทัศน์เรื่องยาว, วาไรอิตีโชว์และละครเรื่องยาว, ละครเทิดพระเกียรติ และ สารคดีทางโทรทัศน์ โดยนำไปออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ นั่นคือ สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์, สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย, สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และ ช่องเวิร์คพอยท์ ซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้ชมทุกเพศทุกวัย โดยแต่ละรายการของบริษัทฯ ประสบความสำเร็จ และยังได้รับรางวัลในหลากหลายสาขา ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น รางวัลเมขลา, รางวัลโทรทัศน์ทองคำ, รางวัลศิลปินแห่งชาติ จากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ และรางวัลโทรทัศน์แห่งเอเชีย (เอเชี่ยนเทเลวิชั่นอวอร์ดส์) เป็นต้น รวมถึงยอดขายโฆษณาที่สม่ำเสมอของทางบริษัทฯ.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและรายชื่อผลงานของเวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

150px รายชื่อศิษย์เก่า คณาจารย์ ที่มีชื่อเสียงจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและรายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

180px รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เรียงชื่อตามลำดับอักษร.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รายชื่อบุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับธรรมศาสตร์ในที่นี้ได้รวบรวมและแยกแยะออกมาตามคณะหรือสถาบันที่คนผู้นั้นเกี่ยวข้อง ซึ่งมีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยทักษิณ

130px รายนามนิสิตเก่าและบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยทักษิณ เรียงชื่อตามลำดับอักษร.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยทักษิณ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามศิลปินสำนักการสังคีตกรมศิลปากร

รายนามศิลปินสำนักการสังคีตกรมศิลปากร.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและรายนามศิลปินสำนักการสังคีตกรมศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

รายนามศิลปินแห่งชาติ

รายนามศิลปินแห่งชาติ ตั้งแต่ พ.ศ. 2528 ถึงปัจจุบัน จำแนกตามปีและสาขาตามลำดั.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและรายนามศิลปินแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลศรีบูรพา

รางวัลศรีบูรพา เป็นรางวัลที่มอบสำหรับศิลปิน นักคิดนักเขียน และนักหนังสือพิมพ์ ผู้มีผลงานอันทรงคุณค่ามีชีวิตที่เป็นแบบอย่าง เป็นกิจกรรมหนึ่งของ "กองทุนศรีบูรพา" ที่ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อรำลึกและเผยแพร่เกียรติประวัติของ กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือ ศรีบูรพา (31 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 16 มิถุนายน พ.ศ. 2517) นักประชาธิปไตย นักเขียน นักหนังสือพิมพ์คนสำคัญของไทยและของโลก มีงานเขียนหลากหลายทั้งในรูปแบบนวนิยาย เรื่องสั้น สารคดี บทความ กวี นิพนธ์และเรื่องแปล ที่องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก (UNESCO) ยกย่องให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก พิธีมอบรางวัลศรีบูรพา จะมีขึ้นในวันที่ 5 พฤษภาคมของทุกปี ในงานวันนักเขียนซึ่งจัดโดยสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและรางวัลศรีบูรพา · ดูเพิ่มเติม »

ฤทัย ใจจงรัก

รองศาสตราจารย์ ฤทัย ใจจงรัก เกิดเมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2478 เป็นสถาปนิกชาวไทย ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะสถาปัตยกรรม ประจำปีพุทธศักราช 2543.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและฤทัย ใจจงรัก · ดูเพิ่มเติม »

ลพ บุรีรัตน์

ลพ บุรีรัตน์ (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2482 — 10 ธันวาคม พ.ศ. 2559) เป็นนักแต่งเพลงลูกทุ่งและอดีตนักร้องวงดนตรีจุฬารัตน์ ผู้สร้างชื่อเสียงให้กับพุ่มพวง ดวงจันทร์จากเพลง "สาวนาสั่งแฟน" "อื้อฮือหล่อจัง" "กระแซะเข้ามาซิ" "ดาวเรืองดาวโรย" "นัดพบหน้าอำเภอ" จนได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและลพ บุรีรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ล้อต๊อก

ใบปิดภาพยนตร์ ตลกร้องไห้ (2522) ใบปิดภาพยนตร์ แดร๊กคูล่าต๊อก (2522) ใบปิดภาพยนตร์ หลวงตา (2523) ล้อต๊อก มีชื่อจริงว่า สวง ทรัพย์สำรวย (สะ-หฺวง) (1 เมษายน พ.ศ. 2457 — 30 เมษายน พ.ศ. 2545) เป็นนักแสดงตลกและศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง พื้นเพเป็นคนบ้านสวน คลองเสาหิน ตำบลท่าพระ อำเภอบางกอกใหญ่ จังหวัดธนบุรี เป็นบุตรของ นายนุ่ม-นางขม มีอาชีพทำสวนผลไม้ หมากพลู มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน ล้อต๊อกเป็นคนที่ 3 ชื่อ ล้อต๊อก มาจากการแสดงภาพยนตร์ ใกล้เกลือกินเกลือ รับบทเป็น เสี่ยล้อต๊อก คนจนที่ร่ำรวยขึ้นมาแล้วลืมกำพืดตัวเอง เมื่อ พ.ศ. 2495 ต่อด้วยงานกำกับของ ดอกดิน กัญญามาลย์ แนวตลกชุดสามเกลอ (ล้อต๊อก - สมพงษ์ พงษ์มิตร - ดอกดิน) สามเกลอถ่ายหนัง ปีเดียวกัน และ สามเกลอเจอจานผี ปีถัดมา สมรสครั้งแรกกับ สมจิตต์ ทรัพย์สำรวย นางเอกละครคณะจันทรโอภาส และเป็นดาราภาพยนตร์ชื่อดัง เมื่อสมจิตต์เสียชีวิตจึงสมรสใหม่อีกหลายครั้ง หลังสุดแต่งงานกับ ชุลีพร ระมาด มีบุตร 1 คนชื่อ "อุ้มบุญ" หรือมงคลชัย ทรัพย์สำรวย ใช้ชีวิตอยู่บ้านที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ก่อนจะเสียชีวิต.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและล้อต๊อก · ดูเพิ่มเติม »

วชิราวุธวิทยาลัย

วชิราวุธวิทยาลัย เป็นโรงเรียนประจำชายล้วน สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้างโรงเรียนแก่กุลบุตรชาวไทยแทนการสร้างพระอารามซึ่งมีอยู่มากแล้วนั้น ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้มีพระบรมราชโองการให้รวมโรงเรียนมหาดเล็กหลวง กรุงเทพ และโรงเรียนราชวิทยาลัยเข้าด้วยกัน โดยให้นักเรียนย้ายมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวงกรุงเทพ พร้อมทั้งได้พระราชทานนามโรงเรียนขึ้นใหม่ว่า “วชิราวุธวิทยาลัย” เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานกำเนิดโรงเรียนสืบต่อไป วชิราวุธวิทยาลัยมีตึกที่พักนักเรียน เรียกว่า "คณะ" เป็นเสมือนบ้านของนักเรียน แบ่งออกเป็น 2 ฝั่ง คือ คณะเด็กโต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยม แบ่งออกเป็น ๖ คณะ คือ คณะผู้บังคับการ คณะดุสิต คณะจิตรดา คณะพญาไท คณะจงรักภักดี คณะศักดิ์ศรีมงคล ส่วนคณะเด็กเล็กสำหรับนักเรียนชั้นประถม แบ่งออกเป็น ๓ คณะ คือ คณะสนามจันทร์ คณะนันทอุทยาน และ คณะสราญรมย์ นอกจากนี้ ทางโรงเรียนยังส่งเสริมให้นักเรียนได้เล่นกีฬาต่าง ๆ เช่น รักบี้ฟุตบอล แบดมินตัน นอกจากนี้ ยังมีการจัดการแข่งขันรักบี้ประเพณีกับมาเลย์ คอลเลจ (Malay College Kuala Kangsar) จากประเทศมาเลเซีย เป็นประจำทุก ๆ ปี ปัจจุบัน ดำเนินการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตั้งอยู่ที่ ถนนราชวิถี แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและวชิราวุธวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

วสิษฐ เดชกุญชร

ลตำรวจเอก วสิษฐ เดชกุญชร (14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 - 20 มิถุนายน พ.ศ. 2561)) อดีตนายตำรวจราชสำนักประจำ และเป็นผู้ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไว้วางพระราชหฤทัย จนได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง หัวหน้านายตำรวจราชสำนักประจำ ก่อนที่จะออกมาดำรงตำแหน่งรองอธิบดีกรมตำรวจ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำรวจชั้นผู้ใหญ่ ที่เป็นนักเขียนนวนิยายเกี่ยวกับวงการตำรวจ และอาชญากรรม โดยนำมาจากประสบการณ์จริง จนได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี พ.ศ. 2541 ได้รับยกย่องว่าเป็นตำรวจตงฉินแห่งกรมตำรวจไทย ยุคปราบปรามคอมมิวนิสต.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและวสิษฐ เดชกุญชร · ดูเพิ่มเติม »

วัดศรีโคมคำ

วัดศรีโคมคำ หรือ วัดพระเจ้าตนหลวง พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ สังกัดมหานิกาย ภายในวิหารประดิษฐานพระเจ้าตนหลวงเป็นพระประธาน สร้างขึ้นในรัชสมัยของพญายอดเชียงราย กษัตริย์ลำดับที่ 10 แห่งราชวงศ์มังราย วัดศรีโคมคำ ตั้งอยู่ริมกว๊านพะเยา เขตเทศบาลเมืองพะเยา เลขที่ 692 ถนนพหลโยธิน หมู่ที่ 1 ตำบลเวียง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เนื้อที่รวมทั้งสิ้น ประมาณ 74 ไร.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและวัดศรีโคมคำ · ดูเพิ่มเติม »

วานรสิบแปดมงกุฎ

รูปบางส่วนของวานรสิบแปดมงกุฎ ในการแสดงโขนที่ลานคนเมืองเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน2549 วานรสิบแปดมงกุฏ เป็นวานร (ลิง) ในวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ วานรเหล่านี้เป็นเทวดาที่จุติลงมาเป็นวานร และมาเป็นทหารเอกในกองทัพของพระราม ผู้ซึ่งเป็นองค์พระนารายณ์อวตารลงมา และต้องไปอยู่ในป่าเป็นเวลา ๑๔ ปี เพื่อรักษาสัจจวาจาของพระราชบิดา คือท้าวทศรถ เมื่อพระมเหสีของพระราม คือ นางสีดา ถูกทศกัณฐ์ กษัตริย์เมืองลงกา ลักพาตัวไป พระรามต้องนำกองทัพติดตามไปรับนางสีดาคืนมา โดยมีหนุมานผู้นำเอา สุครีพ ซึ่งเป็นน้าชายมาถวายตัวพร้อมไพร่พลเมืองขีดขิน และท้าวมหาชมพูที่ยกกำลังพลเมืองชมพูให้เป็นทหารแห่งองค์พระราม วานรสิบแปดมงกุฏจึงเป็นกำลังพลในทัพขององค์พระราม ที่มาจากสองเมืองคือ เมืองขีดขินของสุครีพ และเมืองชมพูของท้าวมหาชมพู.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและวานรสิบแปดมงกุฎ · ดูเพิ่มเติม »

วิจิตร คุณาวุฒิ

วิจิตร คุณาวุฒิ หรือ คุณาวุฒิ (23 มกราคม พ.ศ. 2465 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์และละคร) ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและวิจิตร คุณาวุฒิ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ (Poh-Chang Academy of Arts, Rajamangala University of Technology Rattanakosin) เดิมคือ โรงเรียนเพาะช่าง ตั้งอยู่ที่ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีสีแดง–สีดำ เป็นสัญลักษณ์ของสถาบัน เพาะช่างเป็นสถาบันศิลปะการช่าง ก่อตั้งขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเอาวันที่ 7 มกราคม..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและวิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

วินัย พันธุรักษ์

วินัย พันธุรักษ์ เป็นหนึ่งในสมาชิกก่อตั้งวง ดิอิมพอสซิเบิล เกิดวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 ที่อำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี จบการศึกษาจากวิทยาลัยพาณิชยการพระนคร เริ่มเล่นดนตรีตั้งแต่อายุ 14 ปี โดยเป็นนักร้องเด็กในวงของครูพยงค์ มุกดา ศิลปินแห่งชาติ ขณะเรียนโรงเรียนอำนวยศิลป์ ธนบุรี เคยร่วมวง P.M.Pocket Music วงดนตรีวัยรุ่นโด่งดังในยุคนั้น เริ่มเล่นอาชีพกับวงต่าง ๆ หลายคณะ จนกระทั่งร่วมกับเศรษฐา ศิระฉายา ก่อตั้งวง Holiday J-3 ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นวงดนตรี ดิอิมพอสซิเบิ้ล ที่ถือว่าเป็นประวัติศาสตร์หน้าหนึ่งของวงการดนตรีไทย หลังจากดิอิมฯ ยุบวง ได้ร่วมกับ เรวัติ พุทธินันทน์ ตั้งวง The Oriental Funk ซึ่งถือว่าเป็นวงดนตรีชั้นนำวงหนึ่งของไทย ปัจจุบันเป็นครูสอนร้องเพลงให้กับสถาบันดนตรีที่มีชื่อเสียง KPN และ สถาบันดนตรีมีฟ้า ด้านชีวิตส่วนตัว วินัย มีบุตร 1 คน คือ วิตติวัต พันธุรักษ์ นักร้องและนักแสดง.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและวินัย พันธุรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วีระพันธ์ วอกลาง

ลเรือตรีวีระพันธ์ วอกลาง เป็นอาจารย์และผู้อำนวยเพลง ทำหน้าที่เป็นวาทยากรของวงดุริยางค์ราชนาวี กองดุริยางค์ทหารเรือ จนได้รับโปรดเกล้าฯให้ดำรงค์ตำแหน่งพลเรือตรีคนแรกและคนเดียวทางด้านสาขาดนตรี เป็นผู้วางรากฐานและร่วมก่อตั้งวงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพ (BSO) หลังเกษียณอายุราชการจากกองดุริยางค์ทหารเรือ ยังคงเป็นอาจารย์สอนดนตรี ไวโอลิน วิโอล่า ทฤษฎีดนตรี การประพันธ์เพลง และการอำนวยเพลงที่โรงเรียนดนตรีวีระพันธ์ ดุริยางค์ พลเรือตรีวีระพันธ์ วอกลาง ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล) พุทธศักราช ๒๕๕๑.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและวีระพันธ์ วอกลาง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เมือง นันทขว้าง

วงศ์เมือง นันทขว้าง (ชื่อเล่น: น้ำพุ; 13 มีนาคม พ.ศ. 2499 – 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2517) เด็กหนุ่มที่เกิดในครอบครัวที่มีชื่อเสียง และฐานะครอบครัวที่มั่นคง แต่พ่อแม่หย่าร้างกัน และต้องมาอยู่กับแม่พร้อมกับพี่น้องอีก 3 คนซึ่งล้วนแต่เป็นผู้หญิง ทำให้ผู้เป็นแม่ที่ต้องทำงานเลี้ยงลูกทั้ง 4 คนดูแลได้ไม่ทั่วถึง และด้วยวัยที่ย่างเข้าสู่วัยรุ่น ประกอบกับความที่เป็นคนมีจิตใจที่อ่อนไหว จนเกิดเป็นปมด้อย ทำให้หันเหเข้าเสพยาเสพติด จนทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งเป็นอุทาหรณ์ได้ดีในยุคสมัยนั้น.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและวงศ์เมือง นันทขว้าง · ดูเพิ่มเติม »

วนิดา (แก้ความกำกวม)

วนิดา อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและวนิดา (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

วนิดา พึ่งสุนทร

วนิดา พึ่งสุนทร (5 ธันวาคม 2480 -) สถาปนิกหญิงแห่งชาติ ได้รับเกียรติคุณให้เป็นผู้อนุรักษ์มรดกไทยดีเด่นด้านสถาปัตยกรรม จากสำนักนายกรัฐมนตรี ศิลปินดีเด่น กรุงเทพมหานคร สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม (แบบประเพณี) ประจำปี 2546 ท่านเป็นอาจารย์ที่เมตตา แนะนำและพร่ำสอนลูกศิษย์ ให้มีความรู้ ความสามารถ รักและเข้าใจในงานสถาปัตยกรรมไทย โดยมีเจตนารมณ์ที่ว่า "สถาปัตยกรรมไทยนั้นสามารถสืบสานและสร้างสรรค์ได้".

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและวนิดา พึ่งสุนทร · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิชัย บำรุงพงศ์

ักดิชัย บำรุงพงศ์ (12 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 — 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557) นักการทูต นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ เจ้าของนามปากกา เสนีย์ เสาวพงศ์ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและศักดิชัย บำรุงพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์สิริ มีสมสืบ

ักดิ์สิริ มีสมสืบ หรือชื่อจริงคือ กิตติศักดิ์ มีสมสืบ (เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 23 สิงหาคม 2500 ที่จังหวัดชัยนาท; ชื่อเล่น: ไวท์) ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและศักดิ์สิริ มีสมสืบ · ดูเพิ่มเติม »

ศุภชัย จันทร์สุวรรณ์

ร.ศุภชัย จันทร์สุวรรณ์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์)..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและศุภชัย จันทร์สุวรรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ส.พลายน้อย

.พลายน้อย เป็นนามปากกาที่รู้จักกันดีและใช้อย่างแพร่หลายของ สมบัติ พลายน้อย เป็นนักเขียนสารคดีเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย วัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ประเพณี สังคมไทยด้านต่าง ๆ ได้รับยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ ในปี พ.ศ. 2553 เกิดเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2472 ที่อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนประชาบาล วัดประดู่ทรงธรรม มัธยมศึกษาที่โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย และประกาศนียบัตรวิชาครูพิเศษประถม (พ.ป.) รับราชการครั้งแรกเป็นเสมียนสรรพากรและเปลี่ยนอาชีพไปรับราชการครูเป็นเวลา 5 ปี มีความสนใจในงานด้านการเขียนมาตั้งแต่ครั้งเรียนชั้นมัธยมศึกษา โดยได้สมัครเรียนวิชาการประพันธ์และการหนังสือพิมพ์ทางไปรษณีย์ของ อาจารย์เปลื้อง ณ นคร จึงงานเริ่มเขียนอย่างจริงจังนับแต่นั้นเป็นต้นมา ต่อมาได้รับการชวนจาก อ.เปลื้อง มาทำงานด้านวารสารของกระทรวงศึกษาธิการหลายฉบับ มีผลงานเขียน ประเภทบทความ บทละคร สารคดี และเรื่องสั้นพิมพ์เผยแพร่ในวารสารต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก ขณะเดียวกันก็ได้จัดรายการวิทยุศึกษาไปพร้อม ๆ กันด้วย เคยดำรงตำแหน่งหัวหน้างานโสตทัศนูปกรณ์และเอกสารสิ่งพิมพ์ กองส่งเสริมและเผยแพร่วัฒนธรรม สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ และเป็นบรรณาธิการวารสารวัฒนธรรมไทย พ.ศ. 2528 ก่อนที่จะเกษียณอายุราชการ 2 ปี ได้ลาออกจากราชการ เพื่อเขียนหนังสือแต่เพียงอย่างเดียว ถือเป็นนักเขียนที่มีความสามารถเขียนหนังสือได้หลายประเภท ปัจจุบันมีงานเขียนรวมเล่มแล้ว ประมาณ 100 เล่ม ส่วนใหญ่เป็นงานเขียนประเภทสารคดี นิทาน ชีวประวัติบุคคลสำคัญ สารานุกรม และปกิณกะอื่น ๆ จำนวนมาก อาทิ เจ้าพระยาวิชาเยนทร์, พระเจ้าตากสินมหาราชแห่งชาติไทย, สารคดีน่ารู้สารพัดนึก, เล่าเรื่องบางกอก, เล่าเรื่องพม่ารามัญ, สารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย เป็นต้น ชีวิตครอบครัว สมรสกับนางจงกล พลายน้อย มีบุตรด้วยกันทั้งหมด 1 คน.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและส.พลายน้อย · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ เมทะนี

มบัติ เมทะนี (เกิด: 26 มิถุนายน พ.ศ. 2480; ชื่อเล่น แอ๊ด) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์และครโทรทัศน์) ประจำปี 2559 นักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย ผู้ชนะเลิศรางวัลตุ๊กตาทองและรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง นอกจากนี้กินเนสบุ๊คยังบันทึกไว้ว่าเป็นนักแสดงที่รับบทเป็นพระเอกมากที่สุดในโลก โดยแสดงเป็นพระเอกถึง 617 เรื่อง.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสมบัติ เมทะนี · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย อาสนจินดา

มชาย อาสนจินดา หรือ.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสมชาย อาสนจินดา · ดูเพิ่มเติม »

สมพงษ์ พงษ์มิตร

มพงษ์ พงษ์มิตร (8 กรกฎาคม พ.ศ. 2462 – 30 พฤษภาคม 2544) เป็นนักแสดงตลกชาวไทย ได้รับเชิดชูเกียรติเป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ในปี พ.ศ. 2541.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสมพงษ์ พงษ์มิตร · ดูเพิ่มเติม »

สมภพ ภิรมย์

ตราจารย์ พลเรือตรี สมภพ ภิรมย์ (26 กรกฎาคม 2459 -3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550) สถาปนิกสาขาสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมไทย ปูชนียบุคคลผู้อนุรักษ์มรดกด้านสถาปัตยกรรมไทย ปูชนียบุคคลด้านสถาปัตยกรรมไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) ประจำปี 2529 และราชบัณฑิตสำนักศิลปกรรม ประเภทสถาปัตยศิลป์ อดีตคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยศรีปทุม อดีตอธิบดีกรมศิลปากร และอดีตนายกสมาคมสถาปนิกสยาม เป็นผู้มีผลงานทางด้านสถาปัตยกรรม และผลงานวิชาการงานเขียนมากมาย ผลงานชิ้นสำคัญ ได้แก่ “กุฎาคาร” “พระเมรุมาศ พระเมรุ และเมรุ สมัยรัตนโกสินทร์” และ “บ้านไทยภาคกลาง” โดยมักจะใช้คำนำหน้าหนังสือหรือบทความว่า “ปกิณกคดีหมายเลข 13” ศาสตราจารย์ พลเรือตรี สมภพ ภิรมย์ เกิดเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสมภพ ภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย

ตราสัญลักษณ์สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย หรือ Thai Association of Landscape Architects (เรียกย่อๆว่า TALA) เป็นสมาคมวิชาชีพ 1 ใน 4 สาขาหลักของสภาสถาปนิก ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมาน กาญจนะผลิน

มาน กาญจนะผลิน (10 มีนาคม พ.ศ. 2464 - 25 มิถุนายน พ.ศ. 2538) นักดนตรีและนักแต่งทำนองเพลงลูกกรุง /ไทยสากลเด่นๆ จำนวนมาก ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสมาน กาญจนะผลิน · ดูเพิ่มเติม »

สมควร กระจ่างศาสตร์

มควร กระจ่างศาสตร์ (13 ธันวาคม พ.ศ. 2463 — 13 มกราคม พ.ศ. 2551) เกิดที่กรุงเทพมหานคร นักแสดงอาวุโส ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ละครเวที-นักแสดง ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสมควร กระจ่างศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สรพงศ์ ชาตรี

รพงษ์ ชาตรี หรือชื่อจริง กรีพงษ์ เทียมเศวต หรือ พิทยา เทียมเศวต นักแสดงชายชั้นแนวหน้าของไทย ผู้ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ในปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสรพงศ์ ชาตรี · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ ตันติสุข

วัสดิ์ ตันติสุข ศิลปินแห่งชาติ สวัสดิ์ ตันติสุข (24 เมษายน พ.ศ. 2468 - 4 สิงหาคม พ.ศ. 2552) ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสวัสดิ์ ตันติสุข · ดูเพิ่มเติม »

สอาด เปี่ยมพงษ์สานต์

อาด เปี่ยมพงศ์สานต์ (เกิด 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475) ชื่อเล่น เล็ก เป็นนักแสดง นักพากย์ ผู้เขียนบทโทรทัศน์ และผู้กำกับการแสดงชาวไทย จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยนิฮง กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ในสาขาวิชาการภาพยนตร์ และวิชาโทรทัศน์จาก N.H.K. TV เมื่อ..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสอาด เปี่ยมพงษ์สานต์ · ดูเพิ่มเติม »

สัปปายะสภาสถาน

ัปปายะสภาสถาน เป็นโครงการก่อสร้างรัฐสภาแห่งใหม่ของประเทศไทยและแห่งที่ 3 ของประเทศไทยแทนที่อาคารเดิมบริเวณข้างสวนสัตว์ดุสิต โครงการก่อสร้างตั้งอยู่ติดริ่มฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา บนถนนทหาร (เกียกกาย) แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต โครงการได้ริเริ่มขึ้นในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551 สมัยที่นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ในการประชุมจัดหาสถานที่ก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ จนมีมติเลือกที่เดินราชพัสดุถนนทหาร (เกียกกาย) แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต เป็นสถานที่ในการก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ สัปปายะสภาสถาน เป็นผลงานชนะเลิศการประกวดแบบของธีรพล นิยม ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) จากผู้ส่งประกวดทั้งหมด 5 ราย โครงการได้เริ่มวางเสาเข็มตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสัปปายะสภาสถาน · ดูเพิ่มเติม »

สาริกา กิ่งทอง

ปกแผ่นเสียงเพลง แสนหวังเหวิด สาริกา กิ่งทอง (สาลิกา ก็เรียก) เป็นนักร้องลูกทุ่งหญิงชื่อดังคนหนึ่งของประเทศไทย และถือกันว่าเป็นขุนพลเพลงลูกทุ่งหญิงจากแดนใต้คนแรกๆของประเทศ เธอเป็นบุตรสาวของนายจูเลี่ยม กิ่งทอง ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (หนังตะลุง) ปี 2535 และนายหนังตะลุงชื่อดังของจังหวัดชุมพร โดยสาริกามีผลงานเพลงดังติดหูคนไทยมากมายหลายเพลง และโด่งดังมาจากเพลง "แต๋วจ๋า".

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสาริกา กิ่งทอง · ดูเพิ่มเติม »

สาคร ยังเขียวสด

นายสาคร ยังเขียวสดกับหุ่นกระบอกรูปตัวเขาเอง อาจารย์ สาคร ยังเขียวสด (พ.ศ. 2465 - 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เป็นศิลปินไทย ทางด้านนาฏกรรม การแสดงหุ่นละครเล็ก ผู้ก่อตั้งนาฏยศาลาหุ่นละครเล็ก และคณะโจหล.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสาคร ยังเขียวสด · ดูเพิ่มเติม »

สำราญ เกิดผล

ำราญ เกิดผล (22 กรกฎาคม พ.ศ. 2470 - 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560) เป็นนักดนตรีชาวไทย ได้รับยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสำราญ เกิดผล · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ สวัสดิ์ศรี

ติ สวัสดิ์ศรี นักเขียนเจ้าของนามปากกา สิงห์สนามหลวง ผู้ก่อตั้ง รางวัลช่อการะเกด เกิดวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2488 ที่ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ่อเป็นหมอเสนารักษ์ แม่เป็นชาวนา จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) สาขาประวัติศาสตร์ จาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2509 สมรสแล้วกับ นางวรรณา สวัสดิ์ศรี (ทรรปนานนท์) นักเขียนเจ้าของนามปากกา "ศรีดาวเรือง" มีบุตรด้วยกัน สุชาติ เคยประกอบอาชีพหลากหลาย ตั้งแต่เป็น ครูโรงเรียนราษฎร์ อาจารย์มหาวิทยาลัย นักเขียน บรรณาธิการนิตยสาร บรรณาธิการสำนักพิมพ์ ร่วมก่อตั้งกลุ่มวรรณกรรม ร่วมก่อตั้งกลุ่มละคร ที่ปรึกษากลุ่มกิจกรรมฯ เป็นผู้ก่อตั้งรางวัลช่อการะเกด และก่อตั้งสำนักช่างวรรณกรรม นอกจากผลงานด้านวรรณกรรม สุชาติ สวัสดิ์ศรียังมีผลงานศิลปะจากการศึกษาด้วยตัวเอง โดยจัดแสดงเป็นนิทรรศการศิลปะแล้วหลายครั้ง ในเหตุการณ์ 14 ตุลา เขาเป็นบรรณาธิการ วารสารรายสามเดือนของสมาคม สังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย สุชาติ สวัสดิ์ศรี ได้รับยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์เมื่อปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสุชาติ สวัสดิ์ศรี · ดูเพิ่มเติม »

สุภา สิริสิงห

ริสิงห (13 สิงหาคม พ.ศ. 2488 -) นักเขียนชาวไทย เจ้าของนามปากกา "โบตั๋น" ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสุภา สิริสิงห · ดูเพิ่มเติม »

สุรชัย จันทิมาธร

รชัย จันทิมาธร หรือที่รู้จักกันดีในชื่อของ หงา คาราวาน เป็นนักร้องนำและหนึ่งในผู้ก่อตั้งวงคาราวาน สุรชัยเป็นนักแต่งเพลงชั้นแนวหน้าคนหนึ่งของวงการเพลงไทย ผู้คนในวงการเพลงเพื่อชีวิตมักเรียกเขาอย่างนับถือว่า น้าหงา หรือ พี่หงา และได้รับการยกย่องให้เป็น อาจารย์ใหญ่แห่งวงการเพลงเพื่อชีวิต.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสุรชัย จันทิมาธร · ดูเพิ่มเติม »

สุรพล โทณะวณิก

รพล โทณะวณิก (7 พฤษภาคม พ.ศ. 2474 -) นักแต่งเพลงไทย นักเขียน นักข่าว นักหนังสือพิมพ์ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสุรพล โทณะวณิก · ดูเพิ่มเติม »

สุวัฒน์ วรดิลก

วัฒน์ วรดิลก (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2466 - 15 เมษายน พ.ศ. 2550) (นามสกุลเดิม “พรหมบุตร”) บุตรของ ขุนวรกิจอักษร กับ นางจำรัส (ชีวกานนท์) เป็นนักเขียนเรื่องสั้น นวนิยาย นักหนังสือพิมพ์ และได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ ใช้นามปากกาหลายชื่อ ที่รู้จักกันดีคือ "รพีพร" มีพี่น้องร่วมบิดามารดา คือ ทวีป วรดิลก ซึ่งเป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงเช่นกัน.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสุวัฒน์ วรดิลก · ดูเพิ่มเติม »

สุจิตต์ วงษ์เทศ

ตต์ วงษ์เทศ (20 เมษายน พ.ศ. 2488 - ปัจจุบัน) นักเขียนรางวัลศรีบูรพา ประจำปี พ.ศ. 2536 ปัจจุบันเป็นนักเขียนประจำในเครือมติชน เขียนเป็นประจำในคอลัมน์ "สยามประเทศไทย" ในหนังสือพิมพ์มติชน และผู้บรรยาย องค์ปาฐกถาพิเศษด้านศิลปะวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และโบราณคดี นอกจากนี้ยังได้รับการยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (กวีนิพนธ์) ประจำปี พ.ศ. 2545 (แต่ได้ขอปฏิเสธรางวัลและค่าตอบแทน).

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสุจิตต์ วงษ์เทศ · ดูเพิ่มเติม »

สุดจิตต์ อนันตกุล

นางสุดจิตต์ อนันตกุล หรือ สุดจิตต์ ดุริยประณีต (16 กรกฎาคม พ.ศ. 2471 - 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์) พ.ศ. 2536 อดีตหัวหน้างานบันเทิงดนตรีไทย ฝ่ายกระจายเสียงในประเทศ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ อดีตหัวหน้าคณะดุริยประณีต แห่งบ้านบางลำภู.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสุดจิตต์ อนันตกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุประวัติ ปัทมสูต

ประวัติ ปัทมสูต ชื่อเล่น อี๊ด (เกิด 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481) เป็นนักแสดงและผู้กำกับลูกครึ่งไทย-โปรตุเกสเกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ ขุนไมตรีสเน่หา และ นางทองใบ จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนพานิชยการเชตุพน ได้รับปริญญาคณะมนุษยศาสตร์มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง ด้านชีวิตส่วนตัวเขาสมรสกับ ศรีสุดา สุกิจจวนิช มีบุตรทั้งสิ้น 4 คน คนแรกชื่อ ก้ามปู ปัทมสูต คนที่สอง กุ้งนาง ปัทมสูต (เสียชีวิตแล้ว) และ ชัชเวทย์ สุกิจจวนิช และบุตรที่เกิดกับ นีรนุช เมฆใหญ่ น้องสาวของนันทวัน เมฆใหญ่ 1 คน คือ กษาปณ์ ปัทมสูต ละครจากสถานีโทรทัศน์ช่อง ๙ บางลำพู บริษัทไทยโทรทัศน์จำกัด คนที่สองจากซ้าย สุประวัติ ปัทมสูตร คนที่สามจากซ้าย สมจินต์ ธรรมทัต ที่เหลือไม่ทราบชื่อ.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสุประวัติ ปัทมสูต · ดูเพิ่มเติม »

สุนทรียา ณ เวียงกาญจน์

กียรติพงศ์ กาญจนภี (22 กันยายน พ.ศ. 2469 - 30 กันยายน พ.ศ. 2557) เป็นชื่อจริงของ สุนทรียา ณ เวียงกาญจน์ ผู้ประพันธ์คำร้องเพลงไทยสากลที่มีชื่อเสียง ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล - ผู้ประพันธ์)..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสุนทรียา ณ เวียงกาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา

มธ ชุมสาย ณ อยุธยา (เกิด มีนาคม 2481) เป็นสถาปนิก จิตรกร ศิลปินชาวไทย และศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม (สถาปัตยกรรมร่วมสมัย) ประจำปี 2541 สุเมธเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะสถาปนิกที่นำเสนองานออกแบบสมัยใหม่ ที่มีความโดดเด่นไม่ว่าจะเป็น อาคารพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ จังหวัดปทุมธานี ที่เป็นอาคารลูกบาศก์ 2 ลูกตั้งเอียง "ตึกหุ่นยนต์" (ธนาคารเอเซีย) อาคารและผังแม่บทมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รังสิต อาคารเนชั่น อาคารอาคารศรีสวรินทิรา โรงพยาบาลศิริราช ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา โรงแรมเอส 31 สุขุมวิท เป็นต้น สุเมธเกิดและเติบโตในกรุงเทพมหานคร โดยเป็นพี่ชายแท้ๆของอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา สุเมธได้เข้าศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ต่อมาเข้ารับการศึกษาต่อที่โรงเรียนกรุงปารีส แล้วจึงย้ายไปศึกษาที่โรงเรียนเวลลิ่งบาเร่อร์ ที่ประเทศอังกฤษ ต่อมาได้เข้ารับการศึกษาในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ตั้งแต่ปริญญาตรีจนจบปริญญาเอก รวมอยู่ในยุโรปกว่า 17 ปี แล้วจึงเข้ารับราชการที่กรมโยธาธิการและสำนักผังเมือง กระทรวงมหาดไทย จนกระทั่งลาออกมาก่อตั้งบริษัทสถาปนิกเป็นของตนเอง.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ

ันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ หมู่ที่ 1 ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขล.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสนามไชย

นีสนามไชย เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีในระบบใต้ดินที่อยู่ใจกลางพื้นที่อนุรักษ์เกาะรัตนโกสินทร์ ในแนวถนนสนามไชย กรุงเทพมหานคร บริเวณวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นส่วนต่อขยายของเส้นทางรถไฟฟ้าใต้ดินจากสถานีหัวลำโพง ผ่านพื้นที่เมืองเก่าก่อนลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณปากคลองตลาด ไปยังฝั่งธนบุรี และยกระดับขึ้นสู่สถานีท่าพระต่อไป.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสถานีสนามไชย · ดูเพิ่มเติม »

สดใส พันธุมโกมล

รองศาสตราจารย์ สดใส พันธุมโกมล (สกุลเดิม วานิชวัฒนา) เกิดเมื่อวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2476 ที่กรุงเทพมหานคร อาจารย์พิเศษคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยเข้าร่วมประกวดนางงามจักรวาล ปี 1959 ที่สหรัฐอเมริกาด้วย และคว้าตำแหน่งนางงามมิตรภาพ หรือ Miss Amity มาครองได้สำเร็จ รองศาสตราจารย์ สดใส พันธุมโกมล เป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาศิลปะการละคร ผู้ร่วมก่อตั้งชมรมดนตรีสากล สจม.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสดใส พันธุมโกมล · ดูเพิ่มเติม »

สง่า อารัมภีร

ง่า อารัมภีร สง่า อารัมภีร หรือ ครูแจ๋ว (แจ๋ว วรจักร์) (11 ธันวาคม พ.ศ. 2464 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2542) เป็นนักเขียนและศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล) เมื่อ..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและสง่า อารัมภีร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี

หม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2458 - 6 ธันวาคม พ.ศ. 2540) สถาปนิก ออกแบบสถาปัตยกรรมไทยมีความชำนาญในการออกแบบผูกลาย ได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและหม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์

หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์ (28 พฤษภาคม พ.ศ. 2469 -) เป็น ศิลปินแห่งชาติ นักแสดง นักร้อง นักเขียน และนักจัดรายการวิทยุโทรทัศน์ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักจากการแนะนำและจัดระดับความอร่อยของร้านอาหาร ในชื่อ "เชลล์ชวนชิม" สัญลักษณ์ชามลายผักกาด ทางหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ตั้งแต..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและหม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงพวงร้อย อภัยวงศ์

ท่านผู้หญิงพวงร้อย อภัยวงศ์ ป.ม., ท..ว.,.ป.ร.1(28 ธันวาคม พ.ศ. 2457 — 17 สิงหาคม พ.ศ. 2543) หรือนามเดิม หม่อมหลวงพวงร้อย สนิทวงศ์ เป็นสตรีไทยคนแรกที่เป็นนักประพันธ์เพลง เมื่อ พ.ศ. 2480 ท่านผู้หญิง พวงร้อยได้รับยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล) เมื่อปี 2529.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและหม่อมหลวงพวงร้อย อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ

หม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ (26 มกราคม พ.ศ. 2473 - 16 เมษายน พ.ศ. 2556) นักเขียนนวนิยาย เรื่องสั้น และสารคดีเกี่ยวชีวิตเจ้านายในวัง เจ้าของนามปากกา "ศรีฟ้า ลดาวัลย์" "สีฟ้า" และ "จุลลดา ภักดีภูมินทร์" ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและหม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช

ลเรือเอก หม่อมหลวง อัศนี ปราโมช (ภาษาอังกฤษ: Admiral ML Usni Pramoj; 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2477 - 2 เมษายน พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี และผู้จัดการทรัพย์สินส่วนพระองค์ พลเรือเอก หม่อมหลวงอัศนี มีชื่อเล่นว่า "ตุ้ย" เป็นบุตรของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี และท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช ณ อยุธยา สมรสกับท่านผู้หญิงวราพร ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม ชลวิจารณ์) มีบุตรทั้งหมด 5 คน ม.ล.อัศนี ปราโมช มีผลงานทางดนตรีมากมาย เป็นนักไวโอลิน นักวิโอล่า ผู้ประพันธ์เพลง และผู้อำนวยเพลง เป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งวงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพ ทำให้ได้รับการยกย่องเป็น ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล) เมื่อปี พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและหม่อมหลวงอัศนี ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

ตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา

หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา หรือ หม่อมครูนุ่ม (สกุลเดิม: อภัยกุล; ถึงแก่กรรม พ.ศ. 2477) เป็นหม่อมในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรัตน์ กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ์ เป็นนางละครในเจ้าคุณจอมมารดาเอม หม่อมครูนุ่มเป็นผู้วางรากฐาน และเป็นผู้ถ่ายทอดท่ารำละครตัวนาง ทั้งหมดของคณะละครวังสวนกุหล.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและหม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หยัด ช้างทอง

หยัด ช้างทอง ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปการแสดง (นาฏศิลป์-โขน) พุทธศักราช ๒๕๓.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและหยัด ช้างทอง · ดูเพิ่มเติม »

หอมหวล นาคศิริ

นายหอมหวล นาคศิริ หรือ พระอธิการหอมหวล คนฺธสิริ ราชาลิเกลูกบท เป็นชาวอำเภอบ้านแพรก พระนครศรีอยุธยา เกิดเมื่อวันจันทร์ ที่3 เมษายน..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและหอมหวล นาคศิริ · ดูเพิ่มเติม »

หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกโดยย่อว่า หอประชุมจุฬาฯ เป็นหอประชุมใหญ่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีความเป็นมาคู่กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาอย่างยาวนาน อีกทั้งยังมีเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์เกิดขึ้นที่อาคารแห่งนี้หลายเหตุการณ์ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร หอประชุมจุฬาฯ เป็นสิ่งปลูกสร้างที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของภูมิทัศน์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำให้เกิดการปรับภูมิทัศน์โดยรอบ เช่น การขุดสระน้ำด้านหน้าประตูใหญ่ ตัดถนนรอบสนามรักบี้และสร้างลานพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2545 สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ได้มอบรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่นให้แก่หอประชุมจุฬาฯ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีพระราชทานแก่นิสิตที่หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นแห่งแรกก่อนที่กิจกรรมนี้จะมีขึ้นในอีกหลายมหาวิทยาลัยในเวลาต่อมา เป็นที่มาของวันทรงดนตรี หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสัญลักษณ์ที่โดดเด่นคู่มหาวิทยาลัยมาตั้งแต่ก่อสร้างแล้วเสร็จ ในปี พ.ศ. 2482 นิสิตและบุคลากรของจุฬาฯ ล้วนผูกพันและมีโอกาส ได้เข้าร่วมพิธีกรรมและกิจกรรมอันหลากหลายที่อาคารหลังนี้ นับตั้งแต่กิจกรรมแรกของการเป็นนิสิต คือพิธีปฐมนิเทศนิสิตใหม่ พิธีปฐมนิเทศนิสิตหอพักของหอพักนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีไหว้ครู เปิดเทศกาลงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ จนกระทั่งเมื่อสำเร็จการศึกษา อาคารหลังนี้ก็เป็นสถานที่ประกอบพิธีพระราชทานปริญญาบัตร นอกจากนี้ยังใช้เป็นที่จัดกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมในวาระสำคัญต่าง ๆ ทั้งในระดับมหาวิทยาลัยและระดับชาต.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

หนังตะลุง

หนังตะลุง หนังตะลุง คือ ศิลปะการแสดงประจำท้องถิ่นอย่างหนึ่งของภาคใต้ เป็นการเล่าเรื่องราวที่ผูกร้อยเป็นนิยาย ดำเนินเรื่องด้วยบทร้อยกรองที่ขับร้องเป็นสำเนียงท้องถิ่น หรือที่เรียกกันว่าการ "ว่าบท" มีบทสนทนาแทรกเป็นระยะ และใช้การแสดงเงาบนจอผ้าเป็นสิ่งดึงดูดสายตาของผู้ชม ซึ่งการว่าบท การสนทนา และการแสดงเงานี้ นายหนังตะลุงเป็นคนแสดงเองทั้งหมด หนังตะลุงเป็นมหรสพที่นิยมแพร่หลายอย่างยิ่งมาเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในยุคสมัยก่อนที่จะมีไฟฟ้าใช้กันทั่วถึงทุกหมู่บ้านอย่างในปัจจุบัน หนังตะลุงแสดงได้ทั้งในงานบุญและงานศพ ดังนั้นงานวัด งานศพ หรืองานเฉลิมฉลองที่สำคัญจึงมักมีหนังตะลุงมาแสดงให้ชมด้วยเสมอ แต่เมื่อเวลาผ่านไป หนังตะลุงกลับกลายเป็นความบันเทิงที่ต้องจัดหามาในราคาที่ "แพงและยุ่งยากกว่า" เมื่อเทียบกับภาพยนตร์ เพราะการจ้างหนังตะลุงมาแสดง เจ้าภาพต้องจัดทำโรงหนังเตรียมไว้ให้ และเพราะหนังตะลุงต้องใช้แรงงานคน (และฝีมือ) มากกว่าการฉายภาพยนตร์ ค่าจ้างต่อคืนจึงแพงกว่า ยุคที่การฉายภาพยนตร์เฟื่องฟู หนังตะลุงและการแสดงท้องถิ่นอื่น ๆ เช่น มโนราห์ รองแง็ง ฯลฯ ก็ซบเซาลง ยิ่งเมื่อเข้าสู่ยุคที่ทุกบ้านมีโทรทัศน์ดู ละครโทรทัศน์จึงเป็นความบันเทิงราคาถูกและสะดวกสบาย ที่มาแย่งความสนใจไปจากศิลปะพื้นบ้านเสียเกือบหมด ปัจจุบัน โครงการศิลปินแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ได้ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์และสืบทอดศิลปะการแสดงหนังตะลุงให้แก่อนุชนรุ่นหลัง เพื่อรักษามรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่านี้ให้คงอยู่สืบไป.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและหนังตะลุง · ดูเพิ่มเติม »

อบ ไชยวสุ

อบ ไชยวสุ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2444 – 2 ตุลาคม พ.ศ. 2540) ครูสอนภาษาไทย นักหนังสือพิมพ์ นักเขียนเรื่องสั้นแนวชวนหัว เจ้าของนามปากกา ฮิวเมอริสต์ และ L.ก.. ได้รับการยกย่องเป็นผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น รางวัลพระเกี้ยวทองคำ และรับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (หัสคดี) ประจำปีพุทธศักราช 2529 อบ ไชยวสุ เกิดที่บ้านตำบลคลองสำเหร่ ฝั่งธนบุรี เป็นบุตรคนโตในจำนวน 8 คนของหลวงรัตนเทพีพลารักษ์ (เชย) กับนางเที่ยง ไชยวสุ บิดาเคยรับราชการเป็นพระพี่เลี้ยงสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดชนะสงคราม โรงเรียนวัดราชบพิธ โรงเรียนเทพศิรินทร์ แล้วรับราชการเป็นครูสอนวิชาภาษาไทย จากนั้นทำงานเป็นบรรณาธิการ นักหนังสือพิมพ์ นักภาษาและนักประพันธ์ เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มนักประพันธ์ชื่อคณะ “สุภาพบุรุษ” เมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและอบ ไชยวสุ · ดูเพิ่มเติม »

อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา

อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา เกิดเมื่อปี 17 สิงหาคม พ.ศ. 2486 ดาราภาพยนตร์ไทย ฉายา "เต่าไทย" ในวงการบันเทิงกว่า 40 ปี อดีตขวัญใจวัยรุ่นชื่อดัง ช่วงต้นทศวรรษ 2500 ถึงกลางทศวรรษ 2510.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและอรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อังคนางค์ คุณไชย

อังคนางค์ คุณไชย นักร้องหมอลำและศิลปินพื้นบ้านอีสาน สาขา ศิลปะการแสดง เป็นศิลปินหมอลำที่มีผลงานมากมายอีกคนหนึ่ง ได้บันทึกแผ่นเสียงทั้งเพลงลูกทุ่ง หมอลำ และการลำเรื่องต่อกลอน.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและอังคนางค์ คุณไชย · ดูเพิ่มเติม »

อารี สุทธิพันธุ์

ตราจารย์พิเศษอารี สุทธิพันธุ์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและอารี สุทธิพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาวุธ เงินชูกลิ่น

ลอากาศตรี ศาสตราภิชานอาวุธ เงินชูกลิ่น (22 มีนาคม พ.ศ. 2485 — 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556) เป็นสถาปนิกชาวไทย อดีตอธิบดีกรมศิลปากร อาจารย์พิเศษในหลายมหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญด้านออกแบบสถาปัตยกรรมไทย หัวหน้าผู้ออกแบบพระเมรุ ในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพถึง 3 ครั้ง ได้แก่ พระเมรุ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ณ ท้องสนามหลวง พล.อ.ต.อาวุธ ยังได้ออกแบบงานสถาปัตยกรรมที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยในงานออกแบบถึง 2 งานหลักๆ ได้แก่ วัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก ศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานคร นอกจากนี้ยังเป็นผู้รับผิดชอบในการบูรณะปฏิสังขรณ์ โบราณสถานแห่งชาติที่สำคัญหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็นงานงานบูรณะมณฑป โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร ในปี.ศ 2539 ให้เป็นมณฑปสีดำ หรือหุ้มด้วยทองแดง ยอดพระมหามณฑป วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร จนต่อมาได้รับการยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (ประยุกต์ศิลป์) สาขาย่อย สถาปัตยกรรม ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและอาวุธ เงินชูกลิ่น · ดูเพิ่มเติม »

อาจินต์ ปัญจพรรค์

"อาจินต์ ปัญจพรรค์" (11 ตุลาคม 2470 -) ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและอาจินต์ ปัญจพรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

อำนวย กลัสนิมิ

ใจเพชร (2506) ชโลมเลือด (2506) พันธุ์ลูกหม้อ (2507) สิงห์ล่าสิงห์ (2507) ผู้ชนะสิบทิศ ตอน ยอดขุนพล (2509) อำนวย กลัสนิมิ หรือ ครูเนรมิต (พ.ศ. 2458 − 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้สร้างภาพยนตร์ ผู้บุกเบิกการสร้างภาพยนตร์ไทยด้วยฟิล์ม 16 ม.ม. ได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้สร้างภาพยนตร์-ผู้กำกับภาพยนตร์) ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและอำนวย กลัสนิมิ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอลอง

อำเภอลอง (25px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดแพร.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและอำเภอลอง · ดูเพิ่มเติม »

อึ่ง หสิตะเสน

อึ่ง หสิตะเสน เดิมคือ เจ้าจอมอึ่ง เป็นอดีตพระสนมในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ เป็นนางละครในเจ้าคุณจอมมารดาเอม หม่อมครูอึ่งเป็นผู้วางรากฐาน และเป็นผู้ถ่ายทอดท่ารำละครตัวพระ ทั้งหมดของคณะละครวังสวนกุหลาบ ภายหลังจากกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญทิวงคตแล้วได้กราบบังคมทูลลาออกจากพระราชวังบวรสถานมงคล.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและอึ่ง หสิตะเสน · ดูเพิ่มเติม »

อดุล จันทรศักดิ์

นายอดุล จันทรศักดิ์ (25 ธันวาคม พ.ศ. 2489 - ปัจจุบัน) ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (กวีนิพนธ์ บทความ)..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและอดุล จันทรศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

องอาจ สาตรพันธุ์

องอาจ สาตรพันธุ์ (เกิด 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2487) เป็นสถาปนิกชาวไทย และศิลปินแห่งชาติ ประจำปี 2552 สาขาทัศนศิลป์ ด้านสถาปัตยกรรมร่วมสมัย เป็นสถาปนิกที่ถือได้ว่าเป็นต้นแบบของสถาปัตยกรรมแบบร่วมสมัยในประเทศไทย ที่มีความสามารถในการสืบทอดและประยุกต์ใช้ศิลปะแบบดั้งเดิมผสมผสานกับศิลปะสมัยใหม่ได้อย่างกลมกลืน และแสดงให้เห็นถึงรากเหง้าของวัฒนธรรมได้เป็นอย่างดี เขาได้รับรางวัลมากมายจากหลาย ๆ สถาบันทางด้านสถาปัตยกรรมร่วมสมัย งานออกแบบขององอาจส่วนใหญ่ มักใช้วัสดุก่อสร้างเป็นคอนกรีต งานช่วงแรกของเขามีรูปแบบเป็นโมเดิร์นเต็มตัว ที่ล้วนได้รับอิทธิพลมาจาก เลอกอร์บูซีเย เช่น อาคารโรงเรียนปานะพันธ์วิทยา ซึ่งเขาได้อิงลักษณะสถาปัตยกรรม 5 ประการของเลอกอร์บูซีเยมาใช้อย่างชัดเจน ปัจจุบันได้ถูกทุบทิ้งไปแล้ว เขายังออกแบบงานในรูปแบบ สถาปัตยกรรมคอนกรีตเปลือย หรือที่เรียกว่า Brutalism เช่น อาคารเรียนฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ด้านงานอออกแบบอาคารสูง เขาเป็นผู้ออกแบบ ตึกช้าง ซึ่งเคยได้รับการจัดอันดับให้เป็นหนึ่งในตึกระฟ้าที่มีเอกลักษณ์ที่สุดในโลก 20 อันดับ งานในช่วงหลัง องอาจได้เปลี่ยนแนวทางการออกแบบไปสู่งานสถาปัตยกรรมท้องถิ่นของไทย ไม่ว่าจะเป็น โรงแรมราชมรรคา โรงแรมแทมมารินวิลเลจ จังหวัดเชียงใหม่ ที่นำรูปแบบล้านนามาใช้ในงานออกแบบอย่างเต็มตัว เขายังเป็นกรรมการตัดสินผลงานดีเด่นทางสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม อีกด้ว.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและองอาจ สาตรพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ผ่องศรี วรนุช

ผ่องศรี วรนุช เป็นศิลปินแห่งชาติ นักร้องเพลงลูกทุ่ง ฉายา ราชีนีลูกทุ่งไทย เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 5 มิถุนายน..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและผ่องศรี วรนุช · ดูเพิ่มเติม »

จมื่นมานิตย์นเรศ (เฉลิม เศวตนันทน์)

มื่นมานิตย์นเรศ ชื่อเดิม เฉลิม เศวตนันทน์ นักแสดงในภาพยนตร์ของรัฐบาลไทย เลือดทหารไทย สร้างโดย ภาพยนตร์เสียงศรีกรุง และเป็นบิดาของ อดีศักดิ์ เศวตนันทน์ (คู่ชีวิต สวลี ผกาพันธ์ ศิลปินแห่งชาติ พ.ศ. 2532) ผู้ประพันธ์เนื้อเพลงรำวงมาตรฐานประจำชาติ 4 เพลง งามแสงเดือน,ชาวไทย,รำซิมารำ และ คืนเดือนหงาย รวมทั้งเพลงปลุกใจ ตลอดจนเพลงจังหวะลีลาศของกรมโฆษณาการ.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและจมื่นมานิตย์นเรศ (เฉลิม เศวตนันทน์) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพันธุ์ โปษยกฤต

อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต จักรพันธุ์ โปษยกฤต หรือที่รู้จักกันในนาม อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต เกิดเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและจักรพันธุ์ โปษยกฤต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดยโสธร

ร เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย เดิมชื่อ บ้านสิงห์ท่า, เมืองยศสุนทร เป็นเมืองเก่าแก่อยู่ริมฝั่งแม่น้ำชีมีประวัติความเป็นมายาวนานกว่า 200 ปี มีประเพณีบุญบั้งไฟที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก ประเพณีหนึ่งเดียวในโลก จัดตั้งโดยคณะปฏิวัติของจอมพลถนอม กิตติขจร ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 70 ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2515 อันให้แยกอำเภอยโสธร อำเภอกุดชุม อำเภอเลิงนกทา อำเภอคำเขื่อนแก้ว อำเภอมหาชนะชัย และอำเภอป่าติ้ว ออกจากจังหวัดอุบลราชธานี แล้วรวมกันตั้งเป็นจังหวัดยโสธร และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2515 สืบไป โดยมีนายชัยทัต สุนทรพิพิธ รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธรคนแรก.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและจังหวัดยโสธร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดศรีสะเกษ

รีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ มีประชากรราว 1.47 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ ภาษาลาว (สำเนียงลาวใต้ซึ้งใช้ครอบคลุมทั้งฝั่งอุบลราชธานีและจำปาศักดิ์), ภาษากูย, ภาษาเยอ และภาษาเขมรถิ่นไทย ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิมกรมศิลปากร.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและจังหวัดศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสาคร

ังหวัดสมุทรสาคร เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้รับการจัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดตามพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและจังหวัดสมุทรสาคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสงคราม

ังหวัดสมุทรสงคราม เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย (หน่วยงานบางแห่งถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันตก) มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดของประเทศ คือประมาณ 416.7 ตารางกิโลเมตร ทั้งยังมีจำนวนประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศด้วย นับเป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและมีชายฝั่งทะเลติดอ่าวไทยยาวประมาณ 23 กิโลเมตรซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มากเพราะเป็นดินดอนปากแม่น้ำ มีภูเขา 1 ลูก (เขายี่สาร) ไม่มีเกาะ มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มโดยพื้นที่ฝั่งตะวันตกจะสูงกว่าฝั่งตะวันออกเล็กน้อย ปลายปี พ.ศ. 2550 ผลการสำรวจดัชนีความมั่นคงของมนุษย์พบว่า สมุทรสงครามเป็นจังหวัดที่มีความมั่นคงของมนุษย์สูงที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและจังหวัดสมุทรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสิงห์บุรี

ังหวัดสิงห์บุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศไท.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและจังหวัดสิงห์บุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุรินทร์

รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและจังหวัดสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอำนาจเจริญ

อำนาจเจริญ เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนานจากการค้นพบแหล่งชุมชนโบราณ โบราณสถาน และโบราณวัตถุตามที่กรมศิลปากรค้นพบและสันนิษฐานไว้ตามหลักฐานทางโบราณคดี (ใบเสมาอายุราว 1,000 ปี) และได้ตั้งเป็นเมืองมานานหลายร้อยปี ได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นจังหวัดเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2536 พร้อมกับจังหวัดหนองบัวลำภูและจังหวัดสระแก้ว เดิมเป็นอำเภอในจังหวัดอุบลราชธานี ประกอบด้วยอำเภออำนาจเจริญ (ปัจจุบันคืออำเภอเมืองอำนาจเจริญ) อำเภอชานุมาน อำเภอปทุมราชวงศา อำเภอพนา อำเภอหัวตะพาน อำเภอเสนางคนิคม และกิ่งอำเภอลืออำนาจ (ปัจจุบันคืออำเภอลืออำนาจ) คำว่าอำนาจเจริญเป็นภาษาเขมร มีความหมายตามตัว คือ อำนาจเจริญ เมืองที่มีสมญานามว่า เมืองข้าวหอมโอชา ถิ่นเสมาพันปี.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและจังหวัดอำนาจเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอ่างทอง

ังหวัดอ่างทอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นจังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตหัตถกรรมพื้นบ้าน เช่น ตุ๊กตาชาววัง งานจักสาน เป็นต้น.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและจังหวัดอ่างทอง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดน่าน

ังหวัดน่าน (15px) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุดของภาคเหนือ เป็นที่ตั้งของเมืองที่สำคัญในอดีต อาทิ เมืองวรนคร เวียงศีรษะเกษ อีกทั้งยังเป็นแหล่งกำเนิดต้นน้ำที่สำคัญของแม่น้ำน่าน.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและจังหวัดน่าน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

จิตต์ จงมั่นคง

ตต์ จงมั่นคง ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภาพถ่ายศิลปะ) เกิดวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2465 ที่ กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาชั้นมัธยม 4 จาก โรงเรียนอัสสัมชัญ บางรัก จิตต์ จงมั่นคง เป็นทั้งช่างภาพ และช่างห้องมืด เป็นศิลปินภาพถ่ายที่มีผลงานภาพถ่ายศิลปะมากมาย และทำงานต่อเนื่องมานานกว่า 40 ปี เป็นผู้ที่ได้อุทิศตนให้กับงานด้านภาพถ่ายศิลปะ อย่างแท้จริง มีผลงานได้รับรางวัล และได้รับเกียรติบัตรจากสมาคมถ่ายภาพต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศเป็นจำนวนมาก ในปีพุทธศักราช 2538 ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภาพถ่ายศิลปะ) จิตต์ จงมั่นคง เสียชีวิตเมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2552 ณ โรงพยาบาลศิริราช ด้วยอาการโรคหัวใจ เมื่อเวลาประมาณ 14.00 น.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและจิตต์ จงมั่นคง · ดูเพิ่มเติม »

จินตนา สุขสถิตย์

นตนา สุขสถิตย์ หรือ จินตนา ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา (6 ธันวาคม พ.ศ. 2481 - ปัจจุบัน) นักร้องเพลงไทยสากล ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล - ขับร้อง)..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและจินตนา สุขสถิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุรี โอศิริ

รี โอศิริ หรือรู้จักโดยทั่วไปว่า “ป้าจุ๊” เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 เป็นนักแสดง นักพากย์ และนักร้อง เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิง โดยเป็นนักร้องหน้าม่านสลับละครของคณะผกาวลี และคณะศิวารมย์ ต่อมาแสดงเป็นนางเอกในละครเพลงเรื่อง “นเรศวรมหาราช” และได้เข้าไปเป็นนักร้องประจำวงดุริยางค์ทหารบก วงสุนทราภรณ์ เป็นผู้ประกาศของสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย พากย์ภาพยนตร์ ตลอดจนเป็นนักแสดงละครเวที ละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ ได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง 4 ครั้ง (สาขาผู้พากย์ยอดเยี่ยม 3 รางวัล และผู้แสดงประกอบยอดเยี่ยม 1 รางวัล) และได้รับเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักพากย์และนักแสดง) ประจำปีพุทธศักราช 2541 จุรีเสียชีวิตด้วยโรคชรา เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2555 ที่ อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย สิริอายุได้ 83 ปี.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและจุรี โอศิริ · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

จตุพร รัตนวราหะ

นายจตุพร รัตนวราหะ (ต้อย) เกิดวันพุธที่ เป็นศิลปินกรมศิลปากร ผู้ได้รับพระราชทานครอบและรับมอบกระบวนท่ารำเพลงหน้าพาทย์องค์พระพิราพ,ได้กราบทูลสอนโขนถวายสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ และ มีผลงานการแสดงเป็นตัวเอกในเรื่องรามเกียรติ์ บทยักษ์ใหญ่ทศกัณฐ์เป็นบทที่อยู่ในความทรงจำของคนรักโขนกรมศิลปากรมานานกว่า ๔๐ ปี เป็นผู้ร่วมงานเคียงข้าง.มรว.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและจตุพร รัตนวราหะ · ดูเพิ่มเติม »

ธีรพล นิยม

ีรพล นิยม (เกิดวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดพังงา) ชื่อเล่น:แบน เป็นสถาปนิกชาวไทย ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและธีรพล นิยม · ดูเพิ่มเติม »

ธีรนัยน์ ณ หนองคาย

ีรนัยน์ ณ หนองคาย (ชื่อเล่น: น้ำมนต์) เกิดวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519 เป็นนักร้องและนักแสดงหญิงชาวไทย สามารถร้องเพลงได้ในหลายรูปแบบ เช่น คลาสสิก ป๊อบ แจ๊ส ไทยลูกกรุง เพลงจากภาพยนตร์และละครเพลงต่าง ๆ ทั้งของไทยและต่างประเทศ เธอได้ร่วมร้องเพลงในงานดนตรีที่สำคัญของประเทศและได้แสดงต่อหน้าที่ประทับ เช่น เป็นนักร้องประจำในงานกาชาดคอนเสิร์ตร่วมกับวงดุริยางค์ราชนาวีตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและธีรนัยน์ ณ หนองคาย · ดูเพิ่มเติม »

ธงไชย แมคอินไตย์

งไชย แมคอินไตย์ (เกิด 8 ธันวาคม พ.ศ. 2501) เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย ได้รับขนานนามว่าเป็นซูเปอร์สตาร์เมืองไทย แรกเข้าวงการบันเทิงเป็นนักแสดงสมทบ ต่อมาได้รับบทพระเอก โดยภาพยนตร์ที่สร้างชื่อเสียงให้กับเขาที่สุดเรื่อง ด้วยรักคือรัก ส่วนละครที่สร้างชื่อเสียงที่สุดของเขาคือบท "โกโบริ" ในละครคู่กรรม ด้านวงการเพลงซึ่งเป็นอาชีพหลักเขาเริ่มต้นจากการประกวดร้องเพลงของสยามกลการ และเป็นนักร้องในสังกัดบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) โดยเขามีอัลบั้มเพลงทั้งหมด 17 อัลบั้ม นอกจากผลงานประจำแล้ว เขาได้รับเกียรติให้ขับร้องเพลงเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสที่สำคัญหลายบทเพลง และในช่วง 25 ปีที่ผ่านมามีคอนเสิร์ตใหญ่ โดยเฉพาะคอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ ครั้งที่ 9 และ คอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ ครั้งที่ 10 สร้างปรากฏการณ์ยอดผู้ชมสูงสุดในประเทศไทย สำหรับบทบาทอื่น ๆ ของเขาในช่วงแรกของวงการบันเทิงเขาเป็นพิธีกรรายการถ่ายทอดสด 7 สีคอนเสิร์ต นอกจากนั้นเขายังเป็นนักพากย์ และผู้บรรยาย ชีวิตของธงไชยทุ่มเทให้กับการทำงานเป็นหลัก เขามีผู้จัดการ 2 คน ที่ดูแลเรื่องส่วนตัว และเรื่องงาน และมีเจ้าหน้าที่ของบริษัทแกรมมี่ช่วยทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ชีวิตส่วนตัวของเขาเป็นโสดและไม่พยายามออกไปไหน เขามี "ไร่อุดมสุข" ที่จังหวัดเชียงราย ซึ่งตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ด้านความพอเพียง จากความกตัญญูของเขาภายหลังจากสูญเสียมารดา หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ประทานพระเมตตา รับเขาเป็นเสมือนบุตรบุญธรรม ธงไชยเป็นศิลปินที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในรอบ 30 ปี ของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และประสบความสำเร็จสูงสุดของประเทศไทย โดยมียอดจำหน่ายอัลบั้มทั้งหมดสูงสุดของประเทศไทย กว่า 25 ล้านชุด ติดระดับแนวหน้าของทวีปเอเชีย และเป็นศิลปินคนแรกของแกรมมี่ที่ทำยอดขายอัลบั้มเกินสองล้านตลับ และมีสตูดิโออัลบั้มเดี่ยวที่ล้านตลับมากที่สุด 7 ชุด โดยเฉพาะอัลบั้มที่ยอดจำหน่ายสูงสุดของเขาคืออัลบั้ม ชุดรับแขก ซึ่งขายได้มากกว่า 5 ล้านชุด จนสื่อบันเทิงต่างประเทศ นำโดยนิตยสาร เอนเตอร์เทนเมนต์วีกลี ยกให้ธงไชยเป็นศิลปินนักร้องผู้ทรงอิทธิพลที่ประสบความสำเร็จสูงสุดของประเทศไทย และเป็นระดับแนวหน้าของทวีปเอเชีย ธงไชยได้รับรางวัลต่าง ๆ จำนวนมาก รวมทั้งบิลบอร์ดวิวเออส์ชอยส์อะวอดส์ 1997 ณ สหรัฐ เป็นนักร้องจากทวีปเอเชียคนแรกที่ได้รับรางวัลดังกล่าว เขาได้รับฉายา "ดาวค้างกรุ" ในปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและธงไชย แมคอินไตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี

หน้าปกซีดีอัลบั้ม ลมไผ่ เป้า, เทียรี่ ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี เป็นอดีตสมาชิกวงคาราบาว ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล) ประจำปี พ.ศ. 2559 ปัจจุบันจัดรายการวิทยุประจำที่คลื่นความคิด F.M.96.5 ของอสมท และเป็นวิทยากรประจำรายการคุณพระช่วย ของเวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ ออกอากาศทางช่องเวิร์คพอยท.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและธนิสร์ ศรีกลิ่นดี · ดูเพิ่มเติม »

ถวัลย์ ดัชนี

วัลย์ ดัชนี ศิลปินแห่งชาติ พ.ศ. 2544 สาขาจิตรกรรม ดร.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและถวัลย์ ดัชนี · ดูเพิ่มเติม »

ทวีป วรดิลก

ทวีป วรดิลก (25 สิงหาคม พ.ศ. 2471 - 8 เมษายน พ.ศ. 2548) นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ ได้รับการประกาศเกียรติคุณเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและทวีป วรดิลก · ดูเพิ่มเติม »

ทองใบ เรืองนนท์

นายทองใบ เรืองนนท์ (พ.ศ. 2469 - พ.ศ. 2550) ผู้ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ละครชาตรี) เมื่อ พ.ศ. 2540.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและทองใบ เรืองนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ขวัญจิต ศรีประจันต์

วัญจิต ศรีประจันต์ มีชื่อจริงว่า เกลียว เสร็จกิจ (3 สิงหาคม พ.ศ. 2490 -) เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงพื้นบ้าน-อีแซว) ปี 2539จากเว็บไซต์หอสมุดแห่งชาติ จังหวัดสุพรรณบุรี เฉลิมพระเกียรติ สืบค้นเมื่อ 13 เมษายน 2561 จากการเป็นแม่เพลงพื้นบ้านภาคกลางที่มีชื่อเสียง เต็มไปด้วยความสามารถในการเล่นเพลงแบบหาตัวจับได้ยาก และเมื่อหันเข้าสู่วงการเพลงลูกทุ่ง ก็ได้รับความนิยมอย่างสูง มีผลงานเพลงดังมากมาย ในจำนวนนั้นก็เป็นเพลงที่เกิดจากการแต่งของตัวเองด้วยหลายเพลง โดยในการนำเสนอเพลงลูกทุ่ง ขวัญจิต ศรีประจันต์ ก็ได้นำท่วงทำนองเพลงพื้นบ้านภาคกลางเข้ามาผสมผสานอย่างลงตัว.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและขวัญจิต ศรีประจันต์ · ดูเพิ่มเติม »

ดอกดิน กัญญามาลย์

นกน้อย (2507) เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกที่รายได้เกินหนึ่งล้านบาท ดอกดิน กัญญามาลย์ (25 ตุลาคม พ.ศ. 2467 - 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2561) ชื่อเล่น ดินนักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้สร้างภาพยนตร์ ได้รับการเชิดชูเกียรติรางวัลนราธิปประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและดอกดิน กัญญามาลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ดุษฎี พนมยงค์

ษฎี พนมยงค์ บุญทัศนกุล (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482) ศิลปินแห่งชาติ เป็นนักดนตรีแนวคลาสสิก เป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกการเรียนการสอนวิชาขับร้องคลาสสิกในประเทศไทย มีผลงานผลิตครู อาจารย์ และนักร้องคลาสสิกที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันเป็นอาจารย์พิเศษวิชาสังคีตนิยม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ นอกจากนี้ยังได้ก่อตั้งและเป็นผู้อำนวยการคณะนักร้องประสานเสียงสวนพลู และยังเป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อการใช้ดนตรีเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่ภาครัฐและเอกชนอย่างสม่ำเสมอ.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและดุษฎี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา

ท่านผู้หญิง ดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ไกรฤกษ์, เกิด 4 กันยายน พ.ศ. 2447 — ถึงแก่อนิจกรรม 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) เป็นธิดาของเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) กับท่านผู้หญิงกลีบ มหิธร (สกุลเดิม บางยี่ขัน) ท่านผู้หญิง ดุษฎีมาลา ได้บันทึกในหนังสือเรื่องของคนห้าแผ่นดินถึงชื่อของท่านว่า "เมื่อคุณพ่อกลับจากสิงคโปร์แล้วจึงตั้งชื่อให้ฉันว่า ดุษฎีมาลา ตามชื่อเหรียญดุษฎีมาลาเข็มศิลปวิทยา ซึ่งท่านได้รับพระราชทานเป็นบำเหน็จ เมื่อสอบไล่ได้เป็นเนติบัณฑิตชั้นที่ ๑ คนแรกของประเทศไทย" ชื่อของท่านผู้หญิงที่ถูกต้องจึงเป็น ดุษฎีมาลา แต่ในประกาศหลายฉบับหรือบันทึกต่างๆ ได้เรียกชื่อท่านผู้หญิงอย่างลำลองว่า ท่านผู้หญิงดุษฎี ต่อมาได้สมรสกับหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ แต่ไม่มีบุตรธิดาด้วยกัน นอกจากนี้ท่านผู้หญิงยังเคยเป็นผู้ถวายงานรับใช้ในตำแหน่งนางสนองพระโอษฐ์ ในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7 ท่านผู้หญิง ดุษฎีมาลาเป็นผู้ประพันธ์คำไหว้ครูที่ใช้อยู่ในปัจจุบันที่ว่า ข้าขอประณตน้อมสักการ บูรพคณาจารย์ ผู้กอปรเกิดประโยชน์ศึกษา ทั้งท่านผู้ประสาทวิชา อบรมจริยา แก่ข้าในกาลปัจจุบัน ข้าขอเคารพอภิวันทน์ ระลึกคุณอนันต์ ด้วยใจนิยมบูชา ขอเดชกตเวทิตา อีกวิริยะพา ปัญญาให้เกิดแตกฉาน ศึกษาสำเร็จทุกประการ อายุยืนนาน อยู่ในศีลธรรมอันดี ให้ได้เป็นเกียรติเป็นศรี ประโยชน์ทวี แก่ชาติและประเทศไทยเทอญ ท่านผู้หญิง ดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 สิริรวมอายุได้ 92 ปี 10 เดือน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงพระมหากรุณาธิคุณ เสด็จพระราชดำเนินพระราชทานเพลิงศพเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส สิริอายุได้ 93 ปี.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ควน ทวนยก

นายควน ทวนยก นักดนตรีไทยพื้นบ้าน และศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและควน ทวนยก · ดูเพิ่มเติม »

คำ กาไวย์

นายคำ กาไวย์ หรือ พ่อครูคำ (25 พฤษภาคม พ.ศ. 2476 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557) ศิลปินแห่งชาติ ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและคำ กาไวย์ · ดูเพิ่มเติม »

คำพูน บุญทวี

ำพูน บุญทวี (26 มิถุนายน 2471 - 4 เมษายน 2546) นักเขียนสารคดี เรื่องสั้น และนวนิยายเกี่ยวกับชีวิตของชาวไทอีสานและชีวิตคนในคุก ได้รับรางวัลซีไรต์เป็นคนแรกของไทยเมื่อ พ.ศ. 2522 จากนวนิยายเรื่อง ลูกอีสาน และได้รับยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ประจำปี พ.ศ. 2544.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและคำพูน บุญทวี · ดูเพิ่มเติม »

คำสิงห์ ศรีนอก

ำสิงห์ ศรีนอก (25 ธันวาคม 2473 -) ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ในปีพ.ศ. 2535 มีนามปากกาว่า ลาว คำหอม เกิดที่บ้านหนองบัวสะอาด ตำบลหนองบัวสะอาด อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ในครอบครัวชาวนา ต่อมาสำเร็จการศึกษาที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยได้รับรางวัลนักเขียนเรื่องสั้นดีเด่น วาระครอบ 100 ปี เรื่องสั้นไท.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและคำสิงห์ ศรีนอก · ดูเพิ่มเติม »

คำผาย นุปิง

ำผาย นุปิง เกิดเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2467 ที่บ้านหัวนา ตำบลท่าน้าว อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน ศิลปินพื้นบ้าน มีความสามารถในการขับซอ สามารถเขียนบทซอที่มีสำนวนภาษาอันไพเราะ สละสลวย เคยได้รับการประกาศเกียรติคุณซอ เมื่อ..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและคำผาย นุปิง · ดูเพิ่มเติม »

คุณพระช่วย

ณพระช่วย เป็นรายการวาไรตี้ที่ส่งเสริมวัฒนธรรมเต็มรูปแบบ ที่บอกเล่าเรื่องราวของ ความเป็นไทย ผลิตโดยบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ดำเนินรายการโดย เท่ง เถิดเทิง (คุณพระเท่ง) และ ภาณุพันธ์ ครุฑโต (คุณพระพัน) ออกอากาศทางช่องเวิร์คพอยท์ ทุกวันอาทิตย์ 09.15 - 10.15.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและคุณพระช่วย · ดูเพิ่มเติม »

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นหนึ่งในสี่คณะกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ร่วมของไทยในสาขาสถาปัตยกรรม และ สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง  (อันดับที่ 101 - 150 ของโลก) จากการจัดอันดับของ QS world university ranking by Subject.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Music, Silpakorn University) จัดตั้งขึ้นเป็นคณะวิชาที่ 10 ในมหาวิทยาลัยศิลปากร ในปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและคณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นหนึ่งในสี่ของมหาวิทยาลัยภายหลังที่ได้ยกเลิกระบบการสอนแบบธรรมศาสตร์บัณฑิต และนับเป็นคณะเศรษฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไท.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฉลอง ภักดีวิจิตร

ฉลอง ภักดีวิจิตร หรือชื่อจริงว่า บุญฉลอง ภักดีวิจิตร เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้กำกับละครโทรทัศน์ มีฉายาที่วงการภาพยนตร์ขนานนามให้คือ "เจ้าพ่อหนังแอ็คชั่น" มีผลงานกำกับภาพยนตร์ไทยอย่าง เรื่อง “ทอง 1” และ “ทอง 2” ฉลองได้นำเอา “ดาราฝรั่ง-ต่างชาติ” มาร่วมงาน เช่น เกรก มอริส-คริส ท็อฟ (ชายงาม ออสเตรีย)-แจน ไมเคิล วินเซนต์-คริสโตเฟอร์ มิทชั่ม-โอลิเวียร์ ฮัสซีย์ และ นางเอกหนังเวียดนาม เถิ่ม ถุย หั่ง ทางด้านงานละคร ฉลองเป็นผู้บุกเบิก ละครแนวแอ็คชั่นของทางช่อง 7 สี คือ “ระย้า” นำแสดงโดยพีท ทองเจือ กับฉัตรมงคล บำเพ็ญ และยังมีผลงานกำกับละคร อย่าง ดาวคนละดวง รักซึมลึก อังกอร์ 1 ทอง 5 ล่าสุดขอบฟ้า ฝนใต้ มาทาดอร์ อังกอร์ 2 เหล็กไหล ฝนเหนือ ชุมแพ ทอง 9 ผ่าโลกบันเทิง เสาร์ 5 นักฆ่าขนตางอน อุบัติรักเกาะสวรรค์ เสาร์ 5 ตอน ทับทิมสยาม พ่อตาปืนโต ดุจตะวันดั่งภูผา เลือดเจ้าพระยา แข่งรักนักซิ่ง หวานใจนายจิตระเบิด ทอง 10 ทิวลิปทอง พ่อตาปืนโต ตอน หลานข้าใครอย่าแตะ ฉลอง ภักดีวิจิตร ได้รับยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้กำกับภาพยนตร์) ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและฉลอง ภักดีวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

ฉวีวรรณ ดำเนิน

แม่ฉวีวรรณ ดำเนิน หรือ แม่ฉวีวรรณ พันธุ ศิลปินแห่งชาติ ปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและฉวีวรรณ ดำเนิน · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ

ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ (23 พฤศจิกายน 2474 -) นักเขียนนวนิยายที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งของไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี พ.ศ. 2540 เป็นเจ้าของนามปากกา พนมเทียน ผู้แต่ง เพชรพระอุมา ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ เกิดที่จังหวัดปัตตานี เป็นบุตรคนสุดท้องของขุนวิเศษสุวรรณภูมิ กับนางสะอาด รัตนกุล เริ่มเขียนนวนิยายเรื่องแรกตั้งแต่สมัยเรียนมัธยมที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เรื่อง “เห่าดง” ลงในสมุดอ่านกันเล่น เมื่อ พ.ศ. 2484 นอกจากเขียนนวนิยายแล้ว ฉัตรชัยยังเป็นคอลัมนิสต์เขียนบทความเกี่ยวกับอาวุธปืน ในหนังสือพิมพ์และนิตยสารบางฉบับด้วย โดยใช้ชื่อจริง และนามปากกา "ก้อง สุรกานต์".

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ฉิ้น อรมุต

นายฉิ้น อรมุต หรือ หนังฉิ้น ธรรมโฆษณ์ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (หนังตะลุง) เมื่อพ.ศ. 2532 ฉิ้น อรมุต เกิดเมื่อวันที่ 17 กันยายน..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและฉิ้น อรมุต · ดูเพิ่มเติม »

ประภัสสร เสวิกุล

ประภัสสร เสวิกุล ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ พุทธศักราช 2554 (22 เมษายน พ.ศ. 2491 — 18 กันยายน พ.ศ. 2558) เป็นนักเขียนที่ได้รับความนิยมจากนักอ่านและเป็นที่ยอมรับในวงวรรณกรรมร่วมสมัยของไทยในช่วงเวลากว่า 40 ปี ท่านได้สร้างสรรค์ผลงานอันมีคุณค่าทั้งนวนิยาย เรื่องสั้น บทกวี สารคดี จำนวนมาก ผลงานจำนวนไม่น้อยได้รับรางวัลในระดับชาติหลายเรื่อง ได้มีผู้นำไปสร้างสรรค์เป็นศิลปะแขนงอื่น คือ ละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ อีกจำนวนหนึ่งได้รับการแปลเป็นภาษาต่างประเทศ วรรณกรรมของนายประภัสสร เสวิกุล มิใช่เพียงให้ความบันเทิงใจแก่ผู้อ่าน แต่ให้ภาพสมจริงของสังคมและชีวิตมนุษย์ ผลงานที่สร้างขึ้นอย่างประณีต ผสมผสานข้อมูลกับจินตนาการอย่างเหมาะสม นำเสนอด้วยฝีมือการประพันธ์ และภาษาที่เลือกสรรแล้ว พร้อมทั้งให้ข้อคิดคติธรรมแก่ผู้อ่าน ได้แสดงให้เป็นที่ประจักษ์ว่าท่านเป็นนักเขียนที่มีอุดมคติและมีสำนึกความรับผิดชอบต่อนักอ่านและสังคม งานประพันธ์ทุกเรื่องของท่านจะฉายภาพให้ผู้อ่านได้เห็นคุณค่าของความเป็นมนุษย์ คุณธรรมและค่านิยมประการต่าง ๆ ได้แก่ ความเป็นผู้นำ มิตรภาพ การพึ่งตนเอง ความขยันหมั่นเพียร ความกล้า สู้ชีวิต ความอดออม ความเมตตา ความกตัญญู ความซื่อสัตย์ ความสามัคคี การเคารพเชื่อฟังผู้อาวุโส การหมั่นแสวงหาความรู้ ตลอดจนการเห็นคุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ เพราะท่านเชื่อมั่นว่าด้านดีของมนุษย์และคุณลักษณะที่ดีของคนไทย จะเป็นพลังสำคัญที่จะธำรงรักษาสังคมและมนุษยชาติไว้ นอกจากการสร้างสรรค์ผลงานวรรณกรรมไว้เป็นสิ่งจรรโลงใจแก่ผู้อ่านแล้ว นายประภัสสร เสวิกุล ยังมีบทบาทสำคัญในการเชิดชูเกียรติและศักดิ์ศรีของนักเขียนรุ่นอาวุโส ส่งเสริมให้เกิดความสัมพันธ์ทางวรรณกรรมระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้แก่วงการนักเขียนและวงวรรณกรรมร่วมสมัยของไทย รวมทั้งถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ด้านการประพันธ์เพื่อสร้างนักเขียนรุ่นเยาว์ให้ก้าวไปสู่การเป็นนักเขียนอาชี.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและประภัสสร เสวิกุล · ดูเพิ่มเติม »

ประยอม ซองทอง

ประยอม ซองทอง (1 มกราคม พ.ศ. 2477 -) เป็นนักเขียนชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากการเขียนกลอน มีผลงานรวมเล่มตีพิมพ์เป็นจำนวนมาก และยังมีผลงานเขียนบทความรณรงค์การใช้ภาษา และบทความเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย ในหนังสือพิมพ์และนิตยสาร ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและประยอม ซองทอง · ดูเพิ่มเติม »

ประยูร ยมเยี่ยม

ประยูร ยมเยี่ยม เป็นศิลปินเพลงพื้นบ้านที่มีความเชี่ยวชาญเพลงลำตัด ในนาม "ลำตัดแม่ประยูร" เกิดเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2476 ที่จังหวัดนนทบุรี จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนวัดสารวัน จังหวัดนครปฐม เข้าสู่อาชีพแสดงลำตัดเมื่ออายุได้ 13 ปี เพราะคุณตาของประยูรมองเห็นแววจึงสนับสนุน และเริ่มออกแสดงลำตัดเป็นครั้งแรกขณะมีอายุ 15 ปี จากนั้นได้เข้าร่วมกับคณะแม่จำรูญ ซึ่งเป็นคณะลำตัดที่มีชื่อเสียงมากในสมัยนั้น จนได้พบกับ “หวังเต๊ะ” จึงได้ร่วมประชันลำตัดกันบ่อยๆ และกลายเป็นคู่ประชันลำตัดยอดนิยมมายาวนาน จนได้แต่งงานและมีบุตร แล้วหย่าขาดจากกัน แต่ก็ยังคงแสดงร่วมกันตลอดมา นอกจากนี้ แม่ประยูรยังสามารถแสดงเพลงพื้นบ้านได้อีกหลายประเภท เช่น เพลงเกี่ยวข้าว เพลงฉ่อย เพลงอีแซว เพลงเรือ เพลงขอทาน เป็นต้น แม่ประยูรเป็นผู้ริเริ่มนำการแสดงลำตัดมาจัดทำเป็นเทปคาสเซ็ท และวิดีโอเทป ออกจำหน่าย เคยออกเทปเพลงแปลงร่วมกับ บุญธรรม พระประโทน เป็นแขกรับเชิญให้กับ ธงไชย แมคอินไตย์ ในคอนเสิร์ต "แบบ เบิร์ด เบิร์ด" ตอน แบบเบิร์ด เบิร์ด อีกแบบ ในปี พ.ศ. 2530 และตอน ความสุข ความทรงจำ ไม่มีที่สิ้นสุด ในปี พ.ศ. 2534 สามารถนำการแสดงลำตัดไปเผยแพร่ในต่างประเทศ และเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ในการช่วยเหลือสังคมและประเทศชาติ เพื่อสื่อความหมายให้ผู้ฟังได้รับข้อมูลข่าวสารที่ทันต่อเหตุการณ์ด้วยรูปแบบความบันเทิงอย่างสนุกสนานและแยบคาย โดยมีความมุ่งมั่นที่จะเผยแพร่และรักษาเพลงพื้นบ้านของไทยเอาไว้ เพื่อถ่ายทอดศาสตร์และศิลป์ให้แก่รุ่นหลานรวมทั้งนิสิตนักศึกษา จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงพื้นบ้าน-ลำตัด) ประจำปี พ.ศ. 2537 แม่ประยูร ยมเยี่ยม ถึงแก่กรรมด้วยโรคหัวใจกำเริบ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ มีอายุได้ 77 ปี.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและประยูร ยมเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ พยอมยงค์

ประสิทธิ์ พยอมยงค์ (7 มีนาคม พ.ศ. 2469 - 2 เมษายน พ.ศ. 2553) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล - เรียบเรียงเสียงประสาน) และเจ้าของบทเพลงข้าวนอกนา บ้านเรา รักเธอเสมอ คนเดียวในดวงใจ ฆ่าฉันให้ตายดีกว่า เดือนเอ๋.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและประสิทธิ์ พยอมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยา

ประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยา (สกุลเดิม กรองทอง; 6 กันยายน พ.ศ. 2462 — 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) มีนามปากกาว่า อุชเชนี และ นิด นรารักษ์ เป็นนักเขียนและนักแปลชาวไท.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ประนอม ทาแปง

ประนอม ทาแปง ศิลปินแห่งชาติ สาขาประณีตศิลป์-ศิลปะการทอผ้..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและประนอม ทาแปง · ดูเพิ่มเติม »

ประเวศ ลิมปรังษี

ประเวศ ลิมปรังษี ประเวศ ลิมปรังษี (17 กันยายน พ.ศ. 2473 - 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2561) เป็นสถาปนิกชาวไทย เกิดที่จังหวัดนครศรีธรรมราช รับราชการจนดำรงตำแหน่ง ผู้ราชการจนดำรงตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญพิเศษ (สถาปนิก 9) ด้านบูรณปฏิสังขรณ์ กรมศิลปากรในปัจจุบัน กรมศิลปากร มีผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรมยาวนานกว่า 30 ปี ทั้งการออกแบบผูกลายไทย มีผลงานทั้งในและต่างประเทศ เช่น การออกแบบพระอุโบสถวัดพุทธประทีป ณ มหานครลอนดอน พลับพลาพระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบรมมหากษัตริยาธิราช ณ ท้องสนามหลวงพระเมรุมาศพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี และบูรณะพระธาตุพนม เป็นต้น ในปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและประเวศ ลิมปรังษี · ดูเพิ่มเติม »

ปวริศา เพ็ญชาติ

ปวริศา เพ็ญชาติ เป็นนักร้อง และ ผู้ประกาศข่าวรายการ สีสันบันเทิง ทาง ไทยทีวีสีช่อง 3 เป็นลูกสาวคนเดียวของมหาเศรษฐี ร.อ. เศรณี และ ปัญญชลี เพ็ญชาติ เป็นหลานปู่ทวดของอดีตนายกฯ จอมพลถนอม กิตติขจร และเป็นหลานตาของ ศิลปินแห่งชาติ และ นักร้องแผ่นเสียงทองคำ ชรินทร์ นันทนาคร คุณยายคือสาวสังคมไฮโซ สปัน เธียรประสิท.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและปวริศา เพ็ญชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะพันธ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

นาวาตรี ปิยะพันธ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ร.น. (13 มิถุนายน พ.ศ. 2477 - 22 ธันวาคม พ.ศ. 2549) นักดนตรีสากล ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและปิยะพันธ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

นาวาคาราบาว

นาวาคาราบาว เป็นคอนเสิร์ตใหญ่ครั้งหนึ่งของวงคาราบาว จัดขึ้นเมื่อเวลา 19.00 น. ของวันเสาร์ที่ 30 เมษายน..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและนาวาคาราบาว · ดูเพิ่มเติม »

นครินทร์ ชาทอง

นครินทร์ ชาทอง (15 กันยายน พ.ศ. 2488 -) เป็นครูหนังตะลุงที่มีชื่อเสียงของไทย และเป็นศิลปินแห่งชาต..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและนครินทร์ ชาทอง · ดูเพิ่มเติม »

นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน

นนทิวรรธน์ จันทะนะผลิน นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน (เกิด 16 ตุลาคม พ.ศ. 2489 เสียชีวิต 21 มกราคม พ.ศ. 2560) ประติมากร อาจารย์และศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (วิจิตรศิลป์) สาขาย่อยประติมากรรม เกิดที่กรุงเทพมหานคร สำเร็จการศึกษามหาบัณฑิตสาขาประติมากรรมจากมหาวิทยาลัยศิลปากร นนทิวรรธน์ได้รับรางวัลจากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 19-22 และ 24 รางวัลการประกวดออกแบบพระพุทธรูปที่วัดทองศาลางาม ฯลฯ.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและนนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน · ดูเพิ่มเติม »

แมนรัตน์ ศรีกรานนท์

รืออากาศตรี ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและแมนรัตน์ ศรีกรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

แสงดา บัณสิทธิ์

นางแสงดา บัณสิทธิ์ (14 เมษายน พ.ศ. 2462 - 11 มกราคม พ.ศ. 2536) ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (การทอผ้า) พ.ศ. 2529.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและแสงดา บัณสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

แผ้ว สนิทวงศ์เสนี

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา และหม่อมแผ้ว ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี (25 ธันวาคม พ.ศ. 2446 - 24 กันยายน พ.ศ. 2543) ศิลปินแห่งชาติประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและแผ้ว สนิทวงศ์เสนี · ดูเพิ่มเติม »

แจ้ง คล้ายสีทอง

รูปงาน “แปดทศวรรษ ครูสุดจิตต์ ดุริยประณีต” ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์) ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๖ ณ บริเวณ สวนสันติชัยปราการ หัวมุมถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ วันเสาร์ที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๑ ครูแจ้ง คล้ายสีทอง เป็นศิลปินแห่งชาติ มีความเชี่ยวชาญในการขับร้องเพลงไทย และขับเสภา หนึ่งในตำนานศิลปินพื้นบ้านของจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและแจ้ง คล้ายสีทอง · ดูเพิ่มเติม »

แท้ ประกาศวุฒิสาร

แท้ ประกาศวุฒิสาร (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2461 -) ผู้อำนวยการสร้าง ผู้กำกับภาพยนตร์ แห่งบริษัทภาพยนตร์ไทยไตรมิตร ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้สร้างภาพยนตร์) ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและแท้ ประกาศวุฒิสาร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย

รงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย (อังกฤษ: Montfort College, 130px) เป็นโรงเรียนเอกชน ในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ปัจจุบันโรงเรียนมงฟอร์ตได้แยกที่ตั้งในแผนกประถม และมัธยมคือ โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย ก่อตั้งเมื่อ 16 มีนาคม พ.ศ. 2475 แผนกประถม ตั้งอยู่ที.เจริญประเทศ ต.ช้างคลาน อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ และ แผนกมัธยมตั้งอยู่ที่ ถนนมงฟอร์ต หมู่บ้านมงฟอร์ตวิลลา ตำบลท่าศาลา อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ในปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดราชาธิวาส

รงเรียนวัดราชาธิวาส (Rajadhivas School) เป็นโรงเรียนสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ ที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงมายาวนาน ตั้งอยู่ในพื้นที่ วัดราชาธิวาสราชวรวิหาร ซึ่งเป็น พระอารามหลวง ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร เมื่อก่อนเป็นโรงเรียนชายล้วน จนถึง พ.ศ. 2538 เป็นโรงเรียน สหศึกษา ตั้งอยู่ที่ ซอยสามเสน 9 แขวง วชิรพยาบาล เขต ดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและโรงเรียนวัดราชาธิวาส · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดสุทธิวราราม

รงเรียนวัดสุทธิวราราม (Wat Suthiwararam School) (อักษรย่อ: ส.ธ., ST) เป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ราษฎรสร้างขึ้นแล้วยกให้กระทรวงธรรมการ มีพระราชหัตถเลขาชมเชยให้การสร้างโรงเรียนวัดสุทธิวรารามเป็นแบบอย่างของการบำเพ็ญกุศลที่ต้องด้วยพระราชนิยมเป็นอย่างยิ่ง โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระองค์เสด็จพระราชดำเนินมาทรงทำพิธีเปิดเป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลวรชาติ มีชูบท, พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าแผ่นดินสยาม, สำนักพิมพ์ สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2552 เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 โดยใช้ชื่อพระราชทานจากพระองค์ ว่า โรงเรียนมัธยมพิเศษสุทธิวราราม ปัจจุบันโรงเรียนวัดสุทธิวรารามมีอายุ ปี เปิดทำการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1-6 เป็นโรงเรียนชายและเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ดำเนินนโยบายแผนปฏิบัติการประจำปีสอดคล้องกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อที่ 5 ไร่ 2 งาน 80 ตารางวา ดำเนินนโยบายแผนปฏิบัติการประจำปีสอดคล้องกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร มีอาคารเรียนทั้งหมด 6 หลัง ห้องเรียน 72 ห้อง แบ่งตามแผนการจัดชั้นเรียนดังนี้ 12-12-12-12-12-12.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและโรงเรียนวัดสุทธิวราราม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดนวลนรดิศ

รงเรียนวัดนวลนรดิศ (Wat Nuannoradit School) อักษรย่อ (น.ด.) เป็น โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ เดิมเป็นประเภทนักเรียนชายล้วน ปัจจุบันเป็นประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บริเวณวัดนวลนรดิศ เลขที่ 137 ซอยเพชรเกษม 19 แขวงปากคลอง เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและโรงเรียนวัดนวลนรดิศ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวิสุทธรังษี

รงเรียนวิสุทธรังษี (Visuttharangsi School) (อักษรย่อ: ว.ส.) เป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งแรกของจังหวัดกาญจนบุรี เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษและเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดกาญจนบุรี สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 (ราชบุรี-กาญจนบุรี) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2447 โดย พระวิสุทธิรังษี หรือ หลวงปู่เปลี่ยน อินฺทสโร เจ้าอาวาสวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ครบรอบการก่อตั้ง 100 ปี เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ปัจจุบันมีอายุ ปี ปัจจุบัน โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี เปิดทำการเรียนการสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ชายล้วน ยกเว้นแผนการเรียน Education Hub Classroom/Enrichment Science Classroom/Intensive Program/English Program/โครงการส่งเสริมศักยภาพฯ) ถึงตอนปลายสายสามัญ (ชาย - หญิง ทุกแผนการเรียน) ปัจจุบันมีนักเรียนมากกว่า 4,000 คน.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและโรงเรียนวิสุทธรังษี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวิเชียรมาตุ

รงเรียนวิเชียรมาตุ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ประจำจังหวัดตรัง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย รับนักเรียนแบบสหศึกษาทั้งชายและหญิง ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มี 10 ห้อง ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มี 13 ห้อง.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและโรงเรียนวิเชียรมาตุ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร

รงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน เดิมมีชื่อว่า “ โรงเรียนสุริยานุเคราะห์ ” ตั้งขึ้นเมื่อ วันที่ 20 พฤษภาคม2450 ณ บริเวณวัด ช้างค้ำวรวิหาร ด้วยความอุปถัมภ์ ของ พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช เจ้าผู้ครองนครน่าน เมื่อแรก ตั้งเปิดสอน ตั้งแต่ชั้น ป.1 ถึง ป.3 ต่อมาในปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและโรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย

รงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนสหศึกษา เปิดสอนในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและโรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม

รงเรียนสามัคคีวิทยาคม (ย่อ: ส.ว.ค.) ชื่อเดิม โรงเรียนประจำจังหวัดเชียงรายสามัคคีวิทยาคม เป็นหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ประเภทสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดเชียงราย มีสถานะเป็นนิติบุคคลมหาชนตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนสามัคคีวิทยาคมก่อตั้งขึ้นโดยพระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร (ศุข ดิษยบุตร) ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย เมื่อ..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและโรงเรียนสามัคคีวิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสุรวิทยาคาร

รงเรียนสุรวิทยาคาร เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัดสุรินทร์ ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ 372 ถนนหลักเมือง ตำบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและโรงเรียนสุรวิทยาคาร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีจุลนาค

รงเรียนสตรีจุลนาค โรงเรียนสหศึกษาระดับประถมศึกษา – มัธยมศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ ก่อตั้ง พ.ศ. 2469 ตั้งอยู่ที่เลขที่ 77 ถนนหลานหลวง แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและโรงเรียนสตรีจุลนาค · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอัสสัมชัญ

รงเรียนอัสสัมชัญ (บ้างเรียก อัสสัมชัญบางรัก หรือ อัสสัมชัญกรุงเทพ, ย่อ: อสช, AC) เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โรงเรียนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ แผนกประถม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเซนต์หลุยส์ 3 ถนนสาทรใต้ และแผนกมัธยม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการขึ้นโดยบาทหลวงเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและโรงเรียนอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนทวีธาภิเศก

รงเรียนทวีธาภิเศก (Taweethapisek School) (อักษรย่อ: ท.ภ. / T.P.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทชายล้วน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 505/5 ซอยอิสรภาพ 42 ถนนอิสรภาพ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร 10600 มีพื้นที่ 13 ไร่ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและโรงเรียนทวีธาภิเศก · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย

รงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย (ย่อ: ป.ร., P.R.C.) เป็นโรงเรียนสหศึกษาของเอกชนในจังหวัดเชียงใหม่ เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 3 จนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่เขต 1 สังกัดสำนักงานพันธกิจการศึกษา มูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี โรงเรียนก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร

ลหะปราสาท เป็นโลหะปราสาทองค์แรกและองค์เดียวของไทย และถือเป็นองค์ที่ 3 ของโลก สร้างในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ในพื้นที่วัดราชนัดดาราม และอยู่ในบริเวณ ลานพลับพลามหาเจษฏาบดินทร ยอดปราสาทประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ โลหะปราสาท ได้รับการปรับปรุงหลายครั้ง ภายหลังก่อสร้างขึ้นตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ภายหลังพระองค์สวรรคตลง โลหะปราสาทก็มิได้ปรับปรุงแล้วเสร็จ จนกระทั่งได้บูรณะครั้งใหญ่จนแล้วเสร็จในสมัยพระราชปัญญาโสภณ (สุข ปุญญรํสี) ปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและโลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

โสภาค สุวรรณ

วรรณ นามปากาของ รำไพพรรณ สุวรรณสาร (ปัจจุบัน ใช้นามสกุล ศรีโสภาค ตามสามี; เกิด 18 สิงหาคม พ.ศ. 2487) ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและโสภาค สุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

โผน กิ่งเพชร

ผน กิ่งเพชร (12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2478 — 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2525) แชมป์โลกชาวไทยคนแรกในประวัติศาสตร์ โผนเป็นนักมวยรูปร่างผอมบาง มีช่วงขาที่ยาว ถนัดขวา และเป็นแชมป์โลกชาวไทยคนแรกที่ได้ครองแชมป์โลกถึง 3 สมัย แต่ด้วยปัญหาส่วนตัว ทำให้โผนติดสุราจนการชกตกต่ำลง จนเสียแชมป์ไปและไม่มีโอกาสชิงแชมป์คืนได้อีก โผนถือเป็นตำนานของวงการมวยสากลคนหนึ่งของไทย วันที่โผนชิงแชมป์โลกได้ถูกกำหนดให้เป็นวันนักกีฬาไทย และมีการสร้างอนุสรณ์สถานของโผนที่หัวหินหลังจากที่โผนเสียชีวิตไปแล้ว 10 ปี.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและโผน กิ่งเพชร · ดูเพิ่มเติม »

โปงลาง

วนประกอบโปงลาง โปงลาง ดนตรีพื้นเมืองอีสานถือว่าจังหวะสำคัญมาก เครื่องดนตรีประเภทตีใช้ดำเนินทำนองอย่างเดียวคือ โปงลาง โปงลางมีวิวัฒนาการมาจากระฆังแขวนคอสัตว์เพื่อให้เกิดเสียงโปงลางที่ใช้บรรเลงอยู่ในภาคอีสานมี2 ชนิด คือ โปงลางไม้และโปงลางเหล็ก ภาพที่แสดงคือ โปงลางไม้ซึ่งประกอบด้วยลูกโปงลางประมาณสิบสองลูกเรียงตามลำดับเสียงสูง ต่ำ ใช้เชือกร้อยเป็นแผงระนาด แต่โปงลางไม่ใช้รางเพราะเห็นว่าเสียงดังอยู่แล้ว แต่นำมาแขวนกับที่แขวน ซึ่งยึดส่วนปลายกับส่วนโคนให้แผงโปงลางทำมุมกับพื้น 45องศา ไม้ตีโปงลางทำด้วยแก่นไม้มีหัวงอนคล้ายค้อนสำหรับผู้บรรเลงใช้ตีดำเนินทำนอง1 คู่ และอีก 1 คู่สำหรับผู้ช่วยใช้เคาะทำให้เกิดเสียงประสานและจังหวะตามลักษณะของดนตรีพื้นเมืองอีสานที่มีเสียงประสาน.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและโปงลาง · ดูเพิ่มเติม »

ไชยลังกา เครือเสน

นายไชยลังกา เครือเสน เกิดเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2447 ที่บ้านศรีพันต้น ตำบลในเวียง อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน เป็นศิลปินอาวุโสด้านดนตรีพื้นบ้านและการขับซอ เริ่มเข้ารับการศึกษาชั้นประถมปีที่ 1 ที่โรงเรียนสุริยานุเคราะห์ (โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร ในปัจจุบัน) เมื่ออายุได้ 11 ปี โดยในระหว่างศึกษาอยู่นั้นมีความสนใจในการแสดงพื้นบ้านจนสามารถแสดงการขับซอได้เป็นครั้งแรกขณะเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ต่อมาหลังจากจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จึงบรรพชาเป็นสามเณรจำพรรษาอยู่ที่วัดศรีพันต้น ตำบลในเวียง อำเภอเมืองน่าน และหลังจากลาสิกขาบทแล้วได้ตั้งวงดนตรีพื้นบ้านชื่อ "ไชยมงคล" เมื่ออายุได้ 23 ปี จากนั้นเริ่มถ่ายทอดวิชาการขับซอและดนตรีพื้นบ้านทั้งสะล้อ ปิน (ซึง) ให้ลูกศิษย์ชายหญิงและผู้สนใจจนได้รับยกย่องเป็น "พ่อครู" เป็นที่เคารพนับถือ ศรัทธา ของลูกศิษย์และประชาชน ทั่วไปอย่างสูง พ่อครูไชยลังกา เครือเสน เคยชนะเลิศการประกวดดนตรีพื้นเมืองจังหวัดน่านเมื่อปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและไชยลังกา เครือเสน · ดูเพิ่มเติม »

ไพบูลย์ มุสิกโปดก

ูลย์ มุสิกโปดก ไพบูลย์ มุสิกโปดก (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2460 ที่จังหวัดเชียงใหม่ — 27 มิถุนายน 2551) เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภาพถ่ายศิลปะ) สร้างผลงานต่อเนื่องมากกว่า 45 ปี โดยผลงานจะเน้นเรื่องวัฒนธรรม ที่มีสาระและความสุนทรีย์ ทำให้ผู้ชมเกิดอารมณ์สะเทือนใจ และอิ่มเอมกับความงามของภาพแต่ละชุด จนได้รับรางวัลยอดเยี่ยมและรางวัลเหรียญทองภาพถ่ายจากต่างประเทศถึง 11 รางวัล และได้รับยกย่องเป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรมสาขาทัศนศิลป์ (ภาพถ่าย)..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและไพบูลย์ มุสิกโปดก · ดูเพิ่มเติม »

ไพรัช สังวริบุตร

รัช สังวริบุตร (เกิด 27 กันยายน พ.ศ. 2474) ชื่อเล่น หรั่ง เป็นผู้กำกับและผู้จัดละครโทรทัศน์ชาวไทย ได้รับเชิดชูเกียรติเป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ในปี พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและไพรัช สังวริบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ไวพจน์ เพชรสุพรรณ

วพจน์ เพชรสุพรรณ เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่งชื่อดังระดับตำนานของประเทศไทย และอยู่ในวงการมานานหลายสิบปี โดยสร้างผลงานเพลงออกมามากมายนับไม่ถ้วน จวบจนถึงปัจจุบันก็ยังคงผลิตผลงานเพลงออกมาอย่างต่อเนื่อง ในจำนวนนั้นเป็นเพลงดังที่ฮิตติดหูมากมาย นอกจากนั้นก็ยังมีความเชี่ยวชาญด้านเพลงพื้นเมืองภาคกลางชนิดหาตัวจับได้ยาก และได้สร้างผลงานเพลงประเภทนี้ออกมามากกว่าศิลปินเพลงพื้นบ้านคนใด ไวพจน์ เพชรสุพรรณยังมีความสามารถด้านการแต่งเพลง และได้แต่งเพลงดังให้กับนักร้องหลายคน ทั้งยังได้ชื่อว่าเป็นผู้สร้างราชินีลูกทุ่งคนที่ 2 คือ พุ่มพวง ดวงจันทร์ ขึ้นมาประดับวงการเพลงเมืองไทยด้วย ไวพจน์ เพชรสุพรรณ ได้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้องเพลงลูกทุ่ง) เมื่อปี พ.ศ. 2540.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและไวพจน์ เพชรสุพรรณ · ดูเพิ่มเติม »

เฟื้อ หริพิทักษ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์เฟื้อ หริพิทักษ์ (22 เมษายน พ.ศ. 2453 - 19 ตุลาคม 2536) ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเฟื้อ หริพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เพชรา เชาวราษฎร์

รา เชาวราษฎร์ (ชื่อเล่น: อี๊ด; เกิด 19 มกราคม พ.ศ. 2486) ชื่อจริงว่า เอก ชาวราษฎร์ เป็นนักแสดงภาพยนตร์เจ้าของฉายา นางเอกนัยน์ตาหยาดน้ำผึ้ง มีผลงานแสดงประมาณ 300 เรื่อง ระหว่าง..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเพชรา เชาวราษฎร์ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงลูกทุ่ง

ลงลูกทุ่ง คือเพลงที่สะท้อนวิถีชีวิต สภาพสังคมอุดมคติและวัฒนธรรมไทย โดยมีท่วงทำนอง คำร้อง สำเนียง และลีลาการร้องการบรรเลงที่เป็นแบบแผน มีลักษณะเฉพาะซึ่งให้บรรยากาศ ความเป็นลูกทุ่ง ขุนวิจิตรมาตราบันทึกไว้ในหนังสือเรื่องของละครและเพลง ว่าเพลงลูกทุ่งเป็นวงดนตรีแบบสากลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปีหรือสองปี ลักษณะเพลงลูกทุ่งในระยะเริ่มแรก มาจากการร้องรำทำเพลงของไทยดั้งเดิม อาทิ แหล่เทศน์ สวดคฤหัสถ์ จำอวด ลิเก (ทรงเครื่อง) ลิเกลูกบท (ไม่แต่งเครื่อง) ลิเกบันตน ลำตัด เพลงขอทาน เพลงพื้นเมืองบางเพลง ฯลฯ โดยเพลงลูกทุ่งนำมาดัดแปลงแล้วใส่ดนตรีแบบสากล เป็นลักษณะเพลงแบบใหม่ ส่วนคำว่า "เพลงลูกทุ่ง" อาจารย์จำนง รังสิกุล คิดประดิษฐ์ขึ้นใช้เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 คอลัมน์ รู้ไปโม้ด เพลงลูกทุ่งมีความชัดเจนจากเพลงลูกกรุงโดยประกอบ ไชยพิพัฒน์ จัดรายการเพลงสถานีไทย โทรทัศน์ ใช้ชื่อรายการว่า "เพลงลูกทุ่ง" สุรพล สมบัติเจริญ ได้ทำให้เพลงลูกทุ่งอยู่ในความนิยม ในช่วงปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเพลงลูกทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

เพ็ญพรรณ สิทธิไตรย์

็ญพรรณ สิทธิไตรย์ (28 มกราคม พ.ศ. 2469 - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2558) เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประณีตศิลป์ - แกะสลักเครื่องสด) ประจำปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเพ็ญพรรณ สิทธิไตรย์ · ดูเพิ่มเติม »

เพ็ญศรี พุ่มชูศรี

็ญศรี พุ่มชูศรี (17 มิถุนายน พ.ศ. 2472—14 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) หรือชื่อเดิม ผ่องศรี พุ่มชูศรี รู้จักกันในชื่อเล่น ป้าโจ๊ว เป็นนักร้อง และครูสอนขับร้องเพลงไทยสากล เป็นนักร้องประจำวงดนตรีกรมโฆษณาการ หรือสุนทราภรณ์ ได้รับการคัดเลือกให้ขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาตั้งแต่ครั้งแรกที่มีการบันทึกแผ่นเสียง ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล-ขับร้อง) ประจำปี พ.ศ. 2534.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเพ็ญศรี พุ่มชูศรี · ดูเพิ่มเติม »

เรือนไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ูนย์ส่งเสริมวัฒนธรรม 3 หรือ เรือนไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือที่เรียกกันสั้นๆในชื่อ เรือนไทยจุฬาฯ เป็นชุดเรือนไทยหมู่จำนวน 5 หลัง ออกแบบโดย เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรมไทย) และ ร.ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) เริ่มก่อสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเรือนไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐา ศิระฉายา

รษฐา ศิระฉายา (ชื่อเล่น ต้อย 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 -) เป็นพิธีกร, นักแสดง และอดีตนักร้องนำวงสตริง ดิอิมพอสซิเบิ้ล เป็นวงสตริงคอมโบที่ประสบความสำเร็จและยังเป็นแรงบันดาลใจให้กับวงดนตรีรุ่นหลังจำนวนมาก ในปี พ.ศ. 2554 เศรษฐาได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล-ขับร้อง) ปัจจุบันเศรษฐายังเป็นประธานมูลนิธิสวัสดิการนักแสดงอาว.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเศรษฐา ศิระฉายา · ดูเพิ่มเติม »

เสกสรรค์ ประเสริฐกุล

กสรรค์ ประเสริฐกุล (พ.ศ. 2492 ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา) เป็นอดีตผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516 นักเขียนรางวัลศรีบูรพา เคยเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย หลังเหตุการณ์ 14 ตุลา โดยมีชื่อจัดตั้งว่า "สหายไท" ในช่วง พ.ศ. 2518 - 2523 เสกสรรค์มีความเห็นขัดแย้งหลายประการกับกรรมการกลางของพรรคฯ และต่อมาได้แยกตัวออกจากพรรค ฯ และได้รับนิรโทษกรรมในเวลาต่อมาจากคำสั่งที่ 66/2523 ในขณะที่พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเสกสรรค์ ประเสริฐกุล · ดูเพิ่มเติม »

เสรี หวังในธรรม

นายเสรี หวังในธรรม (3 มกราคม พ.ศ. 2480 — 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ศิลปะการละคร) ประจำปี พ.ศ. 2531 ผู้เชี่ยวชาญด้านการสังคีต กรมศิลปากร นายเสรี เกิดเมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเสรี หวังในธรรม · ดูเพิ่มเติม »

เสียงสวรรค์เมื่อวันวาน

รายการเสียงสวรรค์ตะวันฉาย รายการเสียงสวรรค์ตะวันฉาย (ชื่อเดิมคือรายการเสียงสวรรค์เมื่อวันวาน) เป็นรายการเพลงอมตะของวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ หรือบทเพลงในแนว "สุนทราภรณ์" ออกอากาศเป็นประจำทุกวันอาทิตย์ เวลา 23.00 น. - 24.00 น. ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ ซึ่งเป็นความร่วมมือในการผลิตรายการ ระหว่างสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย และสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย บรรเลงโดยวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ ในความควบคุมของ โฉมฉาย อรุณฉาน (นิตยา อรุณวงศ์) ซึ่งรายการนี้ได้รับรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ประเภทรายการเพลงดีเด่น ประจำปีพุทธศักราช 2549 เมื่อเดือนมีนาคม 2550.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเสียงสวรรค์เมื่อวันวาน · ดูเพิ่มเติม »

เห้ง โสภาพงศ์

ห้ง โสภาพงศ์ นายเห้ง โสภาพงศ์ ศิลปินแห่งชาติ ประจำปี 2529 สาขาทัศนศิลป์ (เครื่องถม).

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเห้ง โสภาพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี

อาจารย์เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี (เกิดเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2495 ที่กรุงเทพมหานคร) เป็นอาจารย์สอนสถาปัตยกรรมไทย ที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์เผ่า เป็นศิษย์รุ่นแรกของศิลปินแห่งชาติ รศ.ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี ต่อมาในปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี · ดูเพิ่มเติม »

เจริญใจ สุนทรวาทิน

ริญใจ สุนทรวาทิน (16 กันยายน พ.ศ. 2458 - 10 เมษายน พ.ศ. 2554) เป็นศิลปิน และนักวิชาการชาวไทยด้านศิลปวัฒนธรรมแบบราชสำนัก มีความสามารถในด้านการละคร ชำนาญในการบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประเภทวงเครื่องสายและวงมโหรี โดยเฉพาะซอสามสาย มีความเชี่ยวชาญในการขับร้องเพลงประกอบการแสดงนาฏกรรม รวมถึงเพลงไทยเพื่อการฟังตามแบบฉบับและแนวทางร่วมสมัย กล่าวได้ว่า เป็นผู้ที่มีน้ำเสียงไพเราะ ขับร้องด้วยอารมณ์อันสมจริง ประณีตละเมียดละไม ได้อรรถรสของวรรณคดี ได้รับการขนานนามจากนักดนตรีไทยว่าเป็น “เพชรประดับมงกุฎแห่งคีตศิลป์ไทย” เจริญใจ สุนทรวาทิน เป็นที่รู้จักในวงการเพลงไทยตั้งแต่วัยเยาว์ เคยเป็นข้าราชบริพารในยุคก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เคยได้รับรางวัลชนะเลิศระดับชาติจากการประกวดขับร้องเพลงไทย เป็นครูผู้ควบคุมวงดนตรีและสอนการขับร้องเพลงไทย เป็นอาจารย์ผู้ถวายงานสอนดนตรีและขับร้องแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์) ประจำปีพุทธศักราช 2530 จากคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาต.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเจริญใจ สุนทรวาทิน · ดูเพิ่มเติม »

เจียร จารุจรณ

้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ นายรงภักดี (เจียร จารุจรณ) ศิลปินแห่งชาต..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเจียร จารุจรณ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าดารารัศมี พระราชชายา

้าดารารัศมี พระราชชายา (150px) (26 สิงหาคม พ.ศ. 2416 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2476) เจ้าหญิงในราชวงศ์ทิพย์จักรจากนครเชียงใหม่ ผู้มีบทบาทสำคัญต่อการรวมล้านนาเข้ากับสยาม โดยการถวายตัวเป็นสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมลานน.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเจ้าดารารัศมี พระราชชายา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าเครือแก้ว ณ เชียงใหม่

้าเครือแก้ว ณ เชียงใหม่ (5 มกราคม พ.ศ. 2456 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2546) ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์พื้นเมืองล้านนา) ประจำปีพุทธศักราช 2541.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเจ้าเครือแก้ว ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เข็มรัตน์ กองสุข

รองศาสตราจารย์เข็มรัตน์ กองสุข ศิลปินแห่งชาติ ปี 2555 สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม) และอาจารย์คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเข็มรัตน์ กองสุข · ดูเพิ่มเติม »

เดชา บุญค้ำ

ตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้ำ (เกิด 13 ตุลาคม พ.ศ. 2482 -) ราชบัณฑิต ประเภทวิชาสถาปัตยศิลป์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม สำนักศิลปกรรมศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภูมิสถาปัตยกรรม) ประจำปี 2549 ภูมิสถาปนิกคนสำคัญของเมืองไทย ผู้บุกเบิกด้านการศึกษาและวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมของประเทศไทย ได้ออกแบบงานภูมิสถาปัตยกรรมที่สำคัญหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็น สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์เขตต่างๆ, สวนหลวง ร.๙, อุทยานเบญจสิริ, สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ และอื่นๆ รวมทั้งงานภูมิทัศน์วัดโสธรวรารามวรวิหาร ผังแม่บทภูมิทัศน์เดิมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (พ.ศ. 2537) เป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม ที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเดชา บุญค้ำ · ดูเพิ่มเติม »

เคแบงก์สยามพิฆเนศ

รงละครเคแบงก์สยามพิฆเนศ (KBank Siam Pic-Ganesha) เป็นโรงละครสำหรับแสดงละครเวทีและจัดกิจกรรมต่างๆ ตั้งอยู่บริเวณชั้น 7 ศูนย์การค้าสยามสแควร์วัน ถนนพระรามที่ 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ความจุ 1,069 ที่นั่ง นับว่าเป็นโรงละครเอกชนที่มีจำนวนที่นั่งมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศไทยรองจาก เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์ และ โรงละครกาดสวนแก้ว.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเคแบงก์สยามพิฆเนศ · ดูเพิ่มเติม »

เตือน พาทยกุล

นายเตือน พาทยกุล ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย)..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเตือน พาทยกุล · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม นาคีรักษ์

ฉลิม นาคีรักษ์ ศิลปินแห่งชาติ พ.ศ. 2530 สาขาจิตรกรรม นายเฉลิม นาคี (21 กันยายน พ.ศ. 2460 — 2 ธันวาคม พ.ศ. 2545) เป็นศิลปินอาวุโสโอ้โหตัวใหญ้ใหญ่คนสำคัญด้านจิตรกรรมซึ่งเป็นที่ยอมรับนับถือในวงการศิลปะและศิลปศึกษาโดยทั่วไป เกิดเมื่อวันที่ 21 กันยายน พุทธศักราช 2460 ที่อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี มีผลงานดีเด่นทั้งในแบบศิลปะสมัยใหม่และศิลปะแบบประเพณีประยุกต์ ผลงานส่วนใหญ่เกี่ยวกับชีวิตและประเพณีไทยมีความยึดมั่นและศรัทธาในศิลปะได้สร้างสรรค์ผลงานต่อเนื่องกันมาเป็นเวลายาวนานเกือบ 50 ปี มีผลงานแพร่หลายทั้งในและต่างประเทศ เคยได้รับรางวัลในการประกวดศิลปกรรมหลายครั้งและหลายแห่ง ในด้านการถ่ายทอดวิชาความรู้ทางศิลปะนั้น นายเฉลิม นาคีรักษ์ ได้เป็นอาจารย์สอนวิชาศิลปะที่ วิทยาลัยเพาะช่าง เป็นเวลา 37 ปี มีศิษย์เป็นจำนวนมากทั่วประเทศ ได้รับราชการโดยตลอดมา จนได้รับแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการวิทยาลัยเพาะช่างและเป็นคณบดีคณะศิลปกรรมวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขตเพาะช่าง เมื่อเกษียณอายุราชการแล้ว ได้รับแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์พิเศษในสถาบันดังกล่าว นายเฉลิม นาคีรักษ์ ได้นำเอาผลงานศิลปะและวิชาการบริการแก่สังคมตลอดเวลาอันยาวนาน เป็นผู้บุกเบิกศิลปะยุคปัจจุบันคนสำคัญคนหนึ่ง นับเป็นศิลปินที่ดำรงชีพและสร้างสรรค์ผลงานศิลปะอันเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมด้วยจริยวัตรที่ดีงาม.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเฉลิม นาคีรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์

วัดร่องขุ่น ผลงานสร้างและออกแบบโดย เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ (เกิด 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498) เป็นจิตรกรไทยมีผลงานจิตรกรรมไทยหลายผลงาน เช่น ภาพจิตรกรรมไทยในอุโบสถวัดพุทธประทีป กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ, เขียนภาพประกอบบทพระราชนิพนธ์ พระมหาชนก และผลงานศิลปะที่ วัดร่องขุ่น ซึ่งมีทั้งงานสถาปัตถยกรรม, ประติมากรรมปูนปั้น และงานจิตรกรรมไทย ได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ในปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

เปรื่อง ชื่นประโยชน์

ปรื่อง ชื่นประโยชน์ หรือชื่อในวงการนักแต่งเพลง ป. ชื่นประโยชน์ (1 มีนาคม พ.ศ. 2465 - 6 สิงหาคม พ.ศ. 2544) เป็นนักดนตรี และนักแต่งเพลง ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ประพันธ์เพลง) ประจำปี พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเปรื่อง ชื่นประโยชน์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลื้อง ฉายรัศมี

ปลื้อง ฉายรัศมี ศิลปินแห่งชาติปี พ.ศ. 2529 สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีอีสานพื้นบ้าน-โปงลาง) นักดนตรีพื้นบ้านอีสานที่มีความสามารถพิเศษสามารถเล่นและถ่ายทอดการเล่น ดนตรีพื้นบ้านอีสานได้เกือบทุกชนิด ทั้ง พิณ แคน ซอ โปงลางและอื่นๆ โดยเฉพาะ "โปงลาง" นั้น สามารถเล่นและถ่ายทอดการเล่นได้เป็นพิเศษ และที่สำคัญที่สุดคือ เป็นผู้ศึกษา ค้นคว้า ปรับปรุงและพัฒนาโปงลางมาตลอดระยะเวลา 40 ปี จนทำให้ "เกราะลอ" ซึ่งเป็นเพียงสิ่งที่ใช้ตีไล่นก กา ตามไร่ ตามนา พัฒนามาเป็น "โปงลาง" ที่มีสภาพเป็นเครื่องดนตรีที่มีเสียงไพเราะ กังวาน และให้ความรู้สึกของความเป็นพื้นบ้านอีสานอย่างแท้จริงเป็นที่นิยมกันแพร่ หลายและยอมรับกันว่า "โปงลาง" เป็น เครื่องดนตรีเอกลักษณ์ของภาคอีสานเคียงคู่กับ "แคน" ซึ่งมีอยู่ก่อนแล้ว จึงสมควรยกย่องและเชิดชู นายเปลื้อง ฉายรัศมี ไว้ในฐานะเป็นศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีพื้นบ้าน) อย่างแท้จริง ดังนั้นคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติได้ประกาศเกียรติคุณ ยกย่อง นายเปลื้อง ฉายรัศมี ให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีพื้นบ้าน) ประจำปี พุทธศักราช ๒๕๒๙ และได้รับพระราชทานโล่ เข็มเชิดชูเกียรติในวันเสาร์ที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๓๐ ซึ่งเป็นวันศิลปินแห่งชาติ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรล.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเปลื้อง ฉายรัศมี · ดูเพิ่มเติม »

เป็ด เชิญยิ้ม

ัญญา โพธิ์วิจิตร หรือ เป็ด เชิญยิ้ม (เกิด 8 มิถุนายน พ.ศ. 2497 ที่อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง) เป็นนักแสดงตลก และเป็นผู้ก่อตั้งคณะ เชิญยิ้ม ร่วมกับโน๊ต เชิญยิ้ม - (บำเรอ ผ่องอินทรกุล), สรายุทธ สาวยิ้ม, สีหนุ่ม เชิญยิ้ม - (บุญธรรม ฮวดกระโทก)เมื่อ พ.ศ. 2523 อดีตนายกสมาคมศิลปินตลกแห่งประเทศไทย และเป็นรองกรรมการผู้จัดการ บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) เป็ด เชิญยิ้ม หรือ ดร.ธัญญา โพธิ์วิจิตร สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาขั้นสูง จากวิทยาลัยครูจันทรเกษม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ระดับปริญญาตรี จากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปริญญาโท ด้านบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยศรีปทุม และปริญญาเอก ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อต้นปี..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเป็ด เชิญยิ้ม · ดูเพิ่มเติม »

เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์

นาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปีพุทธศักราช 2536 กวีรางวัลซีไรต์ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาต.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

เนื่อง แฝงสีคำ

นื่อง แฝงสีคำ (สกุลเดิม: ชูบดินทร์; 8 กันยายน พ.ศ. 2457 — 15 เมษายน พ.ศ. 2558) เป็นช่างทองจากจังหวัดเพชรบุรี ได้รับรางวัลศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ประเภทประณีตศิลป..

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและเนื่อง แฝงสีคำ · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

11 ธันวาคม

วันที่ 11 ธันวาคม เป็นวันที่ 345 ของปี (วันที่ 346 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 20 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและ11 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 สิงหาคม

วันที่ 13 สิงหาคม เป็นวันที่ 225 ของปี (วันที่ 226 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 140 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและ13 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 ตุลาคม

วันที่ 13 ตุลาคม เป็นวันที่ 286 ในปีปรกติสุรทิน และเป็นวันที่ 287 ในปีอธิกสุรทินตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน โดยเมื่อถึงวันนี้ จะเหลือวันอีก 79 หรือ 78 วันในปีนั้นแล้วแต่กรณี.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและ13 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 พฤษภาคม

วันที่ 14 พฤษภาคม เป็นวันที่ 134 ของปี (วันที่ 135 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 231 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและ14 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 เมษายน

วันที่ 14 เมษายน เป็นวันที่ 104 ของปี (วันที่ 105 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 261 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและ14 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

2 เมษายน

วันที่ 2 เมษายน เป็นวันที่ 92 ของปี (วันที่ 93 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 273 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและ2 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

24 กุมภาพันธ์

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 55 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 310 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและ24 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

24 ตุลาคม

วันที่ 24 ตุลาคม เป็นวันที่ 297 ของปี (วันที่ 298 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 68 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและ24 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 มิถุนายน

วันที่ 26 มิถุนายน เป็นวันที่ 177 ของปี (วันที่ 178 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 188 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและ26 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

3 พฤศจิกายน

วันที่ 3 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 307 ของปี (วันที่ 308 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 58 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและ3 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

3 มิถุนายน

วันที่ 3 มิถุนายน เป็นวันที่ 154 ของปี (วันที่ 155 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 211 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและ3 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

30 เมษายน

วันที่ 30 เมษายน เป็นวันที่ 120 ของปี (วันที่ 121 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 245 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและ30 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

4 เมษายน

วันที่ 4 เมษายน เป็นวันที่ 94 ของปี (วันที่ 95 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 271 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและ4 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

8 ธันวาคม

วันที่ 8 ธันวาคม เป็นวันที่ 342 ของปี (วันที่ 343 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 23 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศิลปินแห่งชาติและ8 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

วันศิลปินแห่งชาติศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปภาพถ่าย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »