โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ศาสนาฮินดู

ดัชนี ศาสนาฮินดู

ัญลักษณ์ “โอม” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระตรีมูรติ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3 ศาสนาฮินดู (Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "ตรีมูรติ" คือ.

601 ความสัมพันธ์: ชยา พัจจันชักนาคดึกดำบรรพ์ชัยปุระบังกลาภูมิบัตรพลีชั้นแกสโทรโพดาบารายตะวันออกชาวชวาชาวบาหลีชาวสเปนชาวอินเดียชาวจามชาวจีนในอินเดียชาวทมิฬชาวซาซะก์ชาวซุนดาชาวปัญจาบชาวโรมานีชาวโปรตุเกสชาวเขมรบาหลีอากาบางกอกอารีนาชื่อวันของสัปดาห์ชีวิตอารามวาสีช่องเขามานาช้างตระกูลพรหมพงศ์ช้างตระกูลอิศวรพงศ์ช้างเอราวัณช้างเผือกพ.ศ. 2462พ.ศ. 2545พม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักรพม่าเชื้อสายอินเดียพรหมันพระพรหมพระพรหม (ศาสนาพุทธ)พระพายพระพิฆเนศพระพุทธรูปแห่งบามียานพระพุทธเจ้าพระกฤษณะพระมหากษัตริย์พระมหากษัตริย์ไทยพระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิคุณ (ชวิน รังสิพราหมณกุล)พระมหาราชครูอัษฎาจารย์ (ละเอียด รัตนพราหมณ์)พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์พระมหาธรรมราชาที่ 1พระยมพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์ไทยพระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539...พระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวายพระราชวังกัมโพชธานีพระราม (หนังสือการ์ตูน)พระราหูพระลักษมีพระลักษมณ์พระรามพระวราหะพระวัชรปาณีโพธิสัตว์พระวิษณุพระวิสุทธิญาณเถร (สมชาย ฐิตวิริโย)พระศิวะพระสุรัสวดีพระอัศวินพระอัคนีพระอินทราณีพระอินทร์พระธรณีพระตรีศักติพระปารวตีพระนารายณ์พระนารายณ์ราชนิเวศน์พระนางวสุนธาราโพธิสัตว์พระแม่พรหมาณีพระแม่ภวานีพระแม่ภูมีพระแม่มาเหศวรีพระแม่มีนากษีพระแม่วัลลีพระแม่ษัษฏีพระแม่อันนปูรณาพระแม่องค์ธรรมพระแม่คงคาพระแม่ตริปุรสุนทรีพระแม่ฉินนมัสตาพระแม่ปฤถวีพระแม่นวทุรคาพระแม่เกามารีพระแม่เทวเสนาพระแม่เปะริยาจจิพระโหราธิบดีพระโคตมพุทธเจ้าพระไวโรจนพุทธะพระไตรปิฎกภาษาบาลีพระเวทพระเวทโพธิสัตว์พระเจดีย์คิริวีหระพระเจ้าศรีธรรมาโศกราชพระเจ้าสูรยวรรมันที่ 1พระเจ้าสูรยวรรมันที่ 2พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2พระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 2พระเจ้าโปรสพระเป็นเจ้าพราหมณ์พราหโมสมาชพหุเทวนิยมพัสเทว ปันเฑพาราณสีพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยาพุทธาวตารพุทธคยาพี.ซี. โซการ์พ่าเกกมลา ประสาท-พิเสสรกรมการศาสนากรมประชาสัมพันธ์กรมโยธาธิการและผังเมืองกระจุกดาวลูกไก่กระแซกรณีพิพาทอโยธยากลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศกัมพูชากลุ่มภาษาอินโด-อารยันกวนอูกัล เพนน์กัลกิกัวลาลัมเปอร์กัปกันดั้มดับเบิลโอกามสูตรกามเทพการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดินการรู้เองการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทยการค้าเครื่องเทศการตราสังการแปลสิ่งเร้าผิดการเดินทางของพาย พาเทลกาลิทาสกาลีกาฮารีงันกางเขนกุมารีกีฬาในประเทศกัมพูชากตรคามภักตปุระภาษากันนาดาภาษากงกณีภาษามราฐีภาษามาลายาลัมภาษาสันสกฤตภาษาอาหมภาษาอินโดนีเซียภาษาคอเรียภาษาคามภาษาเบงกาลีภาษาเขมรภาษาเตลูกูภาษาเป็นภาษาถิ่นได้เมื่อมีกองทัพภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลภูเขาไฟโบรโมภีมราว รามชี อามเพฑกรภควัทคีตาภความกรมหากาพย์มหากุมภะ สงครามพญาครุฑมหาภารตะมหาศิวราตรีมหาตมา คานธีมหานิกายมหาเทวีมองดอมะตูมมัณฑะเลย์มาเรียม อุสมานีมาเลเซียเชื้อสายไทยมุทรามูควัตรมีมางสามณฑลมงกุฎแห่งอินเดียมนุษยศาสตร์มนุษย์มนตร์ยชุรเวทยกยาการ์ตายมยมานตกะยอดเขาอันนะปุรณะยะไข่ยักษ์ยุคมืดของกัมพูชาย่างกุ้งรชนีกานต์รพินทรนาถ ฐากุรรัฐบาลเฉพาะกาลสาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศรัฐชานรัฐพิหารรัฐกะเหรี่ยงรัฐมะละการัฐยะไข่รัฐศรีจนาศะรัฐสิกขิมรัฐอุตตรประเทศรัฐตรังกานูรัฐปะลิสรัฐปะหังรัฐปีนังรัฐเกอดะฮ์รัฐเปรักรัฐเนอเกอรีเซิมบีลันรัตนชาติราชวงศ์ห่งบ่างราชวงศ์จาลุกยะราชวงศ์ตองอูราชวงศ์โมริยะราชวงศ์โจฬะราชอาณาจักรเนปาลราชา รวิ วรรมาราชีพ คานธีรามสวามี เวนกทรมัณรายชื่อธงในประเทศอินเดียรายการสาขาวิชารายนามพระโพธิสัตว์ราวณะราเชนทระ ปรสาทฤคเวทลัทธิไวษณพลัทธิไศวะลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)ลิงค์วรรณะ (ศาสนาฮินดู)วรรณะทางสังคมวัชระวัฒนธรรมวัฒนธรรมกัมพูชาวัฒนธรรมไทยวัดพระศรีมหาอุมาเทวีวัดศรีสวายวันมาฆบูชาวันวิสาขบูชาวันอาสาฬหบูชาวารินทร์ สัจเดววิญญาณวิวรณ์วิศวนาถ ประตาป สิงห์วิษณุวิษณุธรรโมตตรปุราณะวิเทหะวงศ์หอยจุกพราหมณ์วงศ์หนูวงประโคมศรีบาทาศรีนครศังกราจารย์ศาลพระกาฬ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)ศาลพระกาฬ (จังหวัดลพบุรี)ศาลหลักเมืองศาลเจ้าศาสดาศาสนศึกษาศาสนสถานศาสนาศาสนาพุทธศาสนาพุทธกับทฤษฎีวิวัฒนาการศาสนาพุทธในประเทศฟิลิปปินส์ศาสนาพุทธในประเทศกัมพูชาศาสนาพุทธในประเทศมาเลเซียศาสนาพุทธในประเทศอัฟกานิสถานศาสนาพุทธในประเทศอินโดนีเซียศาสนาฮินดูศาสนาฮินดูแบบบาหลีศาสนาแบบอินเดียศาสนาในประเทศกัมพูชาศาสนาในประเทศไทยศิลานักปราชญ์ศิลปะทวารวดีศิลปะตะวันออกศิลปะเกี่ยวกับความตายศิวลึงค์ศุภะ สุขะ ไจนะสมัยจตุมุขสมาคมฮินดูสมาชสมาคมฮินดูธรรมสภาสมณะสมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร)สรรพันตรเทวนิยมสรวปัลลี ราธากฤษณันสวัสติกะสหภาพประชาชนมาร์แฮนอินโดนีเซียสหรัฐสหราชอาณาจักรสังข์รดน้ำสังเวชนียสถานสัปดาห์สันตินิยมสันนิบาตมุสลิมแห่งอินเดียสาบนรสิงห์สาราลา ตามางสารนาถสาละสาอี บาบาแห่งศิรฑีสางขยะสิงโตสิงโตอินเดียสิ่งมีชีวิตนอกโลกสุขาวดี (นิกาย)สุนุวาร์สีลัพพตปรามาสสถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณสงครามอินเดีย-ปากีสถาน ค.ศ. 1947สตี (พิธีกรรม)หญ้ากุศะหมู่เกาะบังกา-เบอลีตุงหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์หมู่เกาะเรียวหอยสังข์แตรหิรัณยกศิปุหีบวัตถุมงคลหงส์หนุมานอชัย เทวคันอมิตาภ พัจจันอวัธอวตารอสูรอหิงสาอะยีอักษรครันถะอักษัย กุมารอัลลอฮาบาดอัคระอัตตาอัปสรอาชญาอารยสมาชอาศรม 4อาหมอาหารมาเลเซียอาทิพุทธะอาณาจักรพุกามอาณาจักรศรีเกษตรอาณาจักรอิศานปุระอาณาจักรจามปาอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์อำเภออู่ทองอินทิรา คานธีอินเดียตะวันออกอุทยานประวัติศาสตร์พิมายอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งอุปนิษัทอีบูเปอร์ตีวีอติเทวนิยมอนาคาริก ธรรมปาละอ่ายตนฮีมานซู โซนิผู้รับใช้พระเป็นเจ้าจรากุราจอร์จ แฮร์ริสันจักรพรรดิศิวาจีจักรวรรดิบรูไนจักรวรรดิมราฐาจักรวรรดิวิชัยนครจักรวรรดิศุงคะจักรวรรดิสาตวาหนะจักรวรรดิขแมร์จักรวรรดิคุปตะจักรวรรดิปาละจักรวรรดินิยมในเอเชียจักรวรรดิแซสซานิดจักระจัณฑาลจัณฑีครห์จังหวัดชวากลางจังหวัดชวาตะวันตกจังหวัดบันเตินจังหวัดบาหลีจังหวัดชุมพรจังหวัดภูเก็ตจังหวัดมาลูกูจังหวัดลัมปุงจังหวัดสุมาตราตะวันตกจังหวัดสุมาตราใต้จังหวัดสุมาตราเหนือจังหวัดอาเจะฮ์จังหวัดจัมบีจังหวัดจันทบุรีจังหวัดติมอร์ตะวันออกจังหวัดปาปัวจังหวัดปาปัวตะวันตกจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์จังหวัดเบิงกูลูจังหวัดเชียงใหม่จังหวัดเรียวจังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์จาการ์ตาจารวากจารู อโสปาจิตอมตวาทจุฬาตรีคูณ (ภูมิศาสตร์)จตุคามรามเทพธรรมราชิกสถูปธรรมจักรธรหราธงชาติกัมพูชาถนนปั้นทฤษฎีสองชาติทวารวดีทวีปเอเชียทศาวตารทองกวาวทะเลสาบปุษกรทักษาเวียงเชียงใหม่ทักษิณาวรรตทักษิเณศวรกาลีมนเทียรที่สูงแคเมอรอนท้าวกุเวรท้าวสักกะท้าวเวสวัณท้าวเวปจิตติฑากิณีขบวนการกลับสู่เยรูซาเลมขอมขันทีขนมต้มดารา (เทพี)ดาวคาเพลลาดาดราและนครหเวลีดิอะเมซิ่งเรซ 16ดิอะเมซิ่งเรซ 18ดิเกร์ ฮูลูคชศาสตร์คยาครอบครัวสกายวอล์คเกอร์คริสต์ทศวรรษ 2000ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐคัมภีร์คัมภีร์อเวสตะคานธี (ภาพยนตร์)คำตี่คุรุนานักเทพคณะนักบวชภิกขาจารคนธรรพ์ค่างหนุมานงูเห่าอินเดียตรีมูรติตรีศูลตรีเทวีตักศิลาตัวตนตาที่สามตำนานน้ำท่วมโลกต้มยำกุ้ง (อาหาร)ซิตตเวซูบะก์ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์ปรพรหมันประชากรศาสตร์บรูไนประวัติศาสตร์บรูไนประวัติศาสตร์กัมพูชาประวัติศาสตร์รัฐชัมมูและกัษมีระประวัติศาสตร์รัฐอัสสัมประวัติศาสตร์หน่วยเงินในประเทศไทยประวัติศาสตร์อักษรประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ตประวัติศาสนาพุทธประณัพ มุขัรชีประติภา ปาฏีลประเพณีสารทเดือนสิบประเทศบังกลาเทศประเทศฟิลิปปินส์ประเทศฟีจีประเทศพม่าประเทศกัมพูชาประเทศภูฏานประเทศมาดากัสการ์ประเทศมาเลเซียประเทศศรีลังกาประเทศสิงคโปร์ประเทศออสเตรเลียประเทศอิหร่านประเทศอิตาลีประเทศอินโดนีเซียประเทศอินเดียประเทศคาซัคสถานประเทศตรินิแดดและโตเบโกประเทศติมอร์-เลสเตประเทศซูรินามประเทศซีลอนในเครือจักรภพประเทศปากีสถานประเทศนอร์เวย์ประเทศโอมานประเทศไทยประเทศเวียดนามประเทศเนปาลปรัมบานันปราสาทบันทายสำเหร่ปราสาทบาปวนปราสาทพระวิหารปราสาทขอมปราสาทนาคพันธ์ปราสาทเมืองต่ำปรางค์ปลัดขิกปลากรายอินเดียปากีสถานตะวันออกปางนาคปรกปืนคาบศิลาปุราณะป่าหิมพานต์ป้อมอัครานกเค้านยายะนรสิงห์นักสิทธิ์นาลันทานาคนางกวัก (เทพปกรณัม)นาซีเลอมะก์นครวัดนครศักดิ์สิทธิ์นครเซบูน้ำมนต์นเรนทระ โมทีแม่ชีเทเรซาแม่น้ำยมุนาแผ่นดินไหวแคว้นมคธใบตองโบสถ์พราหมณ์โบโรบูดูร์โพโกจเจรีล รามัน นารายณันโยคะโรฮีนจาโรงเรียนเมืองพลพิทยาคมโอมโฮลีโขนโคราฆปุระโควินทา (นักแสดง)โซโตโปขราไกรไวเศษิกะไสยศาสตร์ไทยสยามไทยเชื้อสายอินเดียไทเกอร์ ชรอฟฟ์ไตรภูมิเบียร์สิงห์เชค มุฮัมหมัด อับดุลเลาะห์เบน คิงสลีย์เบ็นไซเต็งเพอร์โซนา 3เพอร์โซนา 4เกษียรสมุทรเกาะลมบกเกาะโกโมโดเมลียาเมาะลำเลิงเยอเรลิกเรอูนียงเวทเวทางคศาสตร์เสาชิงช้าเสียมราฐ (เมือง)เส้นเวลาของคณิตศาสตร์เอกเทวนิยมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เจ็ดกฎทางจิตวิญญาณแห่งความสำเร็จเจ้าฟ้าเสือห่มเมืองเทวรูปเทวสถานโบสถ์พราหมณ์เทวัน นายัรเทวาธิปไตยเทวีเทวีศรีเทวีในศาสนาฮินดูเทวนิยมเทศบาลนครยะลาเทศบาลนครเชียงใหม่เทศบาลเมืองหนองคายเทศกาลนวราตรีเขาพระสุเมรุเขตพะโคเขตมัณฑะเลย์เขตย่างกุ้งเคที เพร์รีเต๋าเซลลัปปัน รามนาทันเซอร์ไซยิด อาหมัด ข่านเซนต์เปรตเปลือกหอยเปารพเนื้อวัว13 เมษายน27 กุมภาพันธ์30 มีนาคม ขยายดัชนี (551 มากกว่า) »

ชยา พัจจัน

ทุรี พัจจัน (জয়া ভাদুড়ী বচ্চন; जया बच्चन; เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2491) เป็นนักแสดงของบอลลีวูด ผลงานภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงของเธอ คือ โชเล่ย์, ฟ้ามิอาจกั้นรัก, ปาฏิหาริย์วิญญาณรักเหนือโลก และกัล โฮ นา โฮ โอ้รักสุดชีวิต ชยา พัจจัน เป็นภรรยาของ อมิตาภ พัจจัน และ เป็นมารดาของ อภิเษก พัจจัน อาชีพทางการเมือง ของ ชยา พัจจัน ได้รับการเลือกตั้งเป็น..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและชยา พัจจัน · ดูเพิ่มเติม »

ชักนาคดึกดำบรรพ์

ักนาคดึกดำบรรพ์ เป็นการละเล่นอย่างหนึ่งของไทย มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เป็นการแสดงเรื่องการชักนาคเพื่อเอาน้ำอมฤตจากเกษียรสมุทร ตามคติของฮินดู มักจะแสดงในงานมหรสพหลวง การละเล่นชักมีกล่าวไว้ในกฎมณเฑียรบาลสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนที่กล่าวถึงพระราชพิธีอินทราภิเษกว่า มีการตั้งเขาพระสุเมรุและภูเขาอื่น ๆ ที่กลางสนาม แล้วให้ตำรวจเล็กแต่งตัวเป็นอสูร 100 ตน มหาดเล็กแต่งตัวเป็นเทวดา และวานรอย่างละ 100 และแต่งเป็นสุครีพ พาลี และมหาชมพูอย่างละหนึ่งตัว เข้าร่วมแห่ทำพิธีชักนาคดึกดำบรรพ์ โดยให้อสูรชักหัว เทวดาและวานรชักหาง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและชักนาคดึกดำบรรพ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชัยปุระ

ัยปุระ (जयपुर, Jaipur) เป็นเมืองหลักของรัฐราชสถาน ประเทศอินเดีย และยังเป็นเมืองที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของประเทศอินเดีย (3.1 ล้านคน) ก่อตั้งเมื่อ 17 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและชัยปุระ · ดูเพิ่มเติม »

บังกลาภูมิ

ังกลาภูมิ (Bangabhumi; বঙ্গভূমি หรือ বীর বঙ্গ; คำแปล: แผ่นดินเบงกอล หรือ Bir Bango เป็นชื่อของสาธารณรัฐฮินดูที่มีแผนจะก่อตั้งขึ้นทางตะวันตกเฉียงใต้ของบังกลาเทศ โดยขบวนการต่างๆ เช่น สวาธิน บังกลาภูมิ อันโทลัน (Swadhin Bangabhumi Andolan) และ เบงกลา เสนา (Banga Sena) ขบวนการนี้เริ่มก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2516 หลังจากบังกลาเทศได้รับเอกราช เพื่อรองรับผู้อพยพที่นับถือศาสนาฮินดูจากบังกลาเทศที่เป็นเป้าหมายของกองทัพปากีสถานเมื่อ พ.ศ. 2514 ขบวนการนี้ไม่ได้รับการสนับสนุนเท่าที่ควรจนหยุดกิจกรรมไปชั่วระยะหนึ่ง, BBC, December 22, 2001 และกลับมามีกิจกรรมอีกครั้งใน พ.ศ. 2546 เพื่อเรียกร้องเอกราชของสาธารณรัฐฮินดูบังกลาภูมิ.Banerjee Alok, Times of India, February 4, 2003.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและบังกลาภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

บัตรพลี

หลี บัตรพลี หรือ บัตรกรุงพาลี คือใบตองตานีนำมาทำเป็นกระทงใส่อาหารหวานคาว สำหรับเซ่นสรวงเทพยดา ผี หรือสัมพเวสีตามคติศาสนาฮินดู ภาษาไทยถิ่นเหนือเรียก สะตวง โดยคำว่า "บัตร" คือใบตองตานี ส่วน "พลี" คือ การให้ การเซ่น การถวาย หากเป็นรูปสามเหลี่ยมจะเรียกว่า บัตรคางหมู ถ้ามีเสาธงประกอบตั้งแต่สี่เสาขึ้นไปจะเรียกว่า บัตรพระเกตุ ถ้าทำเป็นสี่เหลี่ยมมียอดจะเรียกว่า บัตรนพเคราะห์ บัตรพลีจะพบได้ตามศาลเพียงตา ทางสามแพร่ง หรือโคนต้นไม้ใหญ่ ส่วนชาวชาวบาหลีในประเทศอินโดนีเซีย มีบัตรพลีเช่นกันแต่ทำจากใบมะพร้าวเรียกว่า จานังซารี (Canang sari) ใช้ใส่บุปผชาติหลากสีสำหรับเซ่นสรวงอจินไตยหรือเทพเจ้าอื่น ๆ พบเห็นได้ทั่วไปในเขตวัด ศาลพระภูมิ บ้าน หรือแม้แต่พื้นดิน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและบัตรพลี · ดูเพิ่มเติม »

ชั้นแกสโทรโพดา

ั้นแกสโทรโพดา (ชั้น: Gastropoda) หรือที่เรียกกันในชื่อสามัญว่า หอยฝาเดียว หรือ หอยฝาเดี่ยว หรือ หอยกาบเดี่ยว หรือ หอยกาบเดียว หรือ หอยเปลือกเดี่ยว หรือ หอยเปลือกเดียว เป็นหนึ่งในลำดับของไฟลัมมอลลัสคา ในสิ่งมีชีวิต สัตว์ในชั้นนี้มีการสืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันมีอยู่ระหว่าง 60,000-80,000 ชนิด จัดเป็นมอลลัสคาที่มีวิวัฒนาการสูงสุดรองจากมอลลัสคาในชั้นเซฟาโลพอดหรือหมึกและหอยงวงช้าง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและชั้นแกสโทรโพดา · ดูเพิ่มเติม »

บารายตะวันออก

รายตะวันออก (បារាយណ៍ខាងកើត; East Baray) ในปัจจุบันเป็น บาราย ที่เหือดแห้งหายไปแล้ว เป็นแหล่งเก็บน้ำสำคัญในอดีตใน เมืองพระนคร ประเทศกัมพูชา ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกของกำแพงเมือง นครธม บารายตะวันออกถูกสร้างขึ้นในราวปี พ.ศ. 1443 (หรือ คริสต์ศตวรรษที่ 10) ในรัชสมัยของ พระเจ้ายโศวรมัน บารายแห่งนี้ถูกหล่อเลี้ยงโดยแม่น้ำเสียมราฐ บารายแห่งนี้เป็นบารายที่ใหญ่ที่สุดอันดับสอง รองลงมาจาก บารายตะวันตก วัดคร่าว ๆ ได้ 7,150 คูณ 1,740 เมตร และบรรจุน้ำเกือบ 50 ล้าน ลูกบาศก์เมตรของน้ำ รูปสลักที่เล่าเรื่องการก่อสร้างบาราย พบได้ตามมุมทั้งสี่ของสิ่งก่อสร้าง ตอนแรก บารายแห่งนี้ ถูกเรียกว่า ยโศดรตตกะ ตามชื่อกษัตริย์ผู้สร้าง บัณฑิตแบ่งแยกกันตามความคิดของวัตถุประสงค์ของบารายนี้ และบารายอื่น ๆ โดยทฤษฎีบางทฤษฎี ชาวขอมกักเก็บน้ำสำหรับการชลประทาน แต่ไม่มีร่องรอยการแกะสลักที่บ่งบอกถึงวัตถุประสงค์ดังกล่าว ทฤษฎีอื่น ๆ คือ บารายถูกสร้างขึ้นมาหลัก ๆ ไว้สำหรับทางศาสนา ซึ่งแสดงถึงทะเลแห่งการสร้าง ซึ่งล้อมรอบเขาพระสุเมรุ ที่อยู่อาศัยของเทพเจ้าในศาสนาฮินดู บารายตะวันออกในปัจจุบันไม่ได้บรรจุน้ำแล้ว แต่เค้าโครงของมันยังคงปรากฏให้เห็นเด่นชัดในภาพถ่ายทางอากาศ ตรงใจกลางของบาราย คือ ปราสาทแม่บุญตะวันออก ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นยกระดับที่เคยเป็นเกาะมาก่อนในอดีต ตอนที่บารายยังบรรจุน้ำ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและบารายตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ชาวชวา

วา เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดในประเทศอินโดนีเซีย มีถิ่นฐานอยู่ทางตอนกลางและทางตะวันออกของเกาะชว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและชาวชวา · ดูเพิ่มเติม »

ชาวบาหลี

หลี (บาหลี: Anak Bali, Wong Bali, Krama Bali; Suku Bali) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์พื้นเมืองที่อาศัยอยู่บนเกาะบาหลีในประเทศอินโดนีเซีย มีประชากรราว 4,200,000 คนหรือเป็นคิดเป็นร้อยละ 1.7 ของประชากรในอินโดนีเซีย ส่วนใหญ่อาศัยอยู่บนเกาะบาหลีร้อยละ 89 ทั้งยังมีชาวบาหลีอาศัยอยู่บนเกาะลอมบอกจำนวนมากอย่างมีนัยสำคัญ และพบทางตะวันออกสุดของเกาะชว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและชาวบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ชาวสเปน

วสเปน (Spanish people หรือ Spaniards; españoles) มีสองความหมาย ความหมายทั่วไปคือ คนพื้นเมืองที่อยู่ส่วนใดส่วนหนึ่งของประเทศสเปน นอกจากนั้นยังมีความหมายด้านกฎหมาย คือบุคคลที่ถือสัญชาติสเปน ในประเทศสเปนนั้นมีชนเผ่าและผู้นับถือศาสนาที่หลากหลาย สะท้อนถึงประวัติศาสตร์ความซับซ้อนของประเทศ ภาษาอย่างเป็นทางการคือ ภาษาสเปน (คาสตีล) ซึ่งเป็นภาษาของสเปนแถบเหนือ-กลาง แต่ละท้องถิ่นมีภาษาเฉพาะกลุ่ม ภาษาที่พูดในสเปนนั้นเป็นกลุ่มภาษาโรมานซ์ (ยกเว้นภาษาบาสก์) ส่วนชาวสเปนนอกประเทศสเปนที่อพยพออกไปจากสเปนนั้น โดยมากมักอยู่ในลาตินอเมริก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและชาวสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอินเดีย

วอินเดีย (Indian people) เป็นประชากรของประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นประเทศที่มีพลเมืองหนาแน่นในเอเชียใต้หรือ 17.31% ของประชากรโลก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและชาวอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ชาวจาม

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับชาติพันธุ์ สำหรับความหมายอื่นดูที่ จาม จาม (người Chăm เหงื่อยจัม, người Chàm เหงื่อยจ่าม; จาม: Urang Campa อูรัง จัมปา) จัดอยู่ในตระกูลภาษามาลาโยโพลินีเชียน อาศัยอยู่บริเวณทางใต้ของเวียดนาม และเป็นกลุ่มชนมุสลิมเป็น 1 ใน 54 ชาติพันธุ์ของประเทศเวียดนาม ในอดีตชนชาติจามตั้งอาณาจักรจามปาที่ยิ่งใหญ่ มีความเจริญรุ่งเรืองช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2-15 ด้วยอาณาเขตติดทะเล ชาวจามจึงมีความสามารถเดินเรือและค้าขายไปตามหมู่เกาะ ไกลถึงแถบตะวันออกกลาง รวมถึงประเทศจีน ส่วนใหญ่เป็นผ้าไหม ไม้หอม เครื่องปั้นดินเผา ปัจจุบันคือบริเวณเมืองดานัง เมืองท่าในตอนกลางของเวียดนาม มีเมืองหลวงชื่อ วิชัย (ปัจจุบันคือเมืองบิญดิ่ญ) มีโบราณสถานกระจัดกระจายอยู่ตามภูเขาต่าง ๆ ในเวียดนาม กระทั่งในปี ค.ศ. 1471 อาณาจักรจามปาสู้รบกับชนชาติเวียดนามเดิม ที่อยู่ทางตอนเหนือของประเทศ ทำให้อาณาจักรจามปาล่มสลาย ชาวจามส่วนใหญ่ต้องอพยพลงไปใต้ปัจจุบันมีชาวจามอาศัยอยู่ทางตอนกลางของเวียดนาม ที่เมืองนิงห์ถ่วง เมืองบินห์ถ่วง เตยนินห์ โฮจิมินห์ ส่วนทางใต้จะอาศัยอยู่เป็นจำนวนมากที่เมืองอันยาง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและชาวจาม · ดูเพิ่มเติม »

ชาวจีนในอินเดีย

นสูบผิ่นในไชนาทาวน์ในกัลกัตตา พ.ศ. 2488 ชาวจีนในอินเดีย (Chinese in India) หรือชาวอินเดียเชื้อสายจีน เป็นกลุ่มชนที่สืบเชื้อสายมาจากชาวจีนที่อพยพเข้ามาตั้งหลักแหล่งในอินเดียเมื่อราว..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและชาวจีนในอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ชาวทมิฬ

วทมิฬ (தமிழர்) เป็นประชากรส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่รัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดีย และบริเวณภาคตะวันตกของประเทศศรีลังกา และชาวทมิฬอยู่ในกลุ่มของชาวดราวิเดียน พูดภาษาทมิฬเป็นภาษาแม่ในรัฐทมิฬนาฑู เขตการปกครองดินแดนสหภาพสาธารณรัฐอินเดียปูดูเชร์รี และจังหวัดเหนือ จังหวัดตะวันออก และปัตตาลัมของประเทศศรีลังกา ชาวทมิฬมีประชากรอยู่ประมาณ 76 ล้านคนที่เกิดทั่วโลก เป็นประชากรที่มีวัฒนธรรมเก่าแก่แห่งหนึ่งของโลก ชาวทมิฬอาศัยอยู่ในศรีลังกา 24.87%, มอริเชียส 10.83%, อินเดีย 5.91%, สิงคโปร์ 5% และ มาเลเซีย 7%.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและชาวทมิฬ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวซาซะก์

ซาซะก์ (Suku Sasak) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์พื้นเมืองที่อาศัยอยู่บนเกาะลอมบอกในประเทศอินโดนีเซีย มีประชากรราว 3,600,000 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 85 ของประชากรทั้งหมดบนเกาะดังกล่าว ชาวซาซะก์มีความเกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกับชาวบาหลีไม่ว่าจะเป็นด้านเชื้อชาติและภาษา แต่ต่างกันเพียงศาสนาที่ส่วนใหญ่ชาวบาหลีนับถือศาสนาฮินดู ส่วนชาวซาซะก์ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและชาวซาซะก์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวซุนดา

วซุนดา เป็นกลุ่มชาติพันธุ์พื้นเมืองในประเทศอินโดนีเซียอาศัยอยู่ในพื้นที่ทางตะวันตกของเกาะชวา มีจำนวนประมาณ 31 ล้านคน ชาวซุนดาใช้ภาษาหลักคือภาษาซุนดา และนับถือศาสนาอิสลามเป็นส่วนใหญ่ เดิมนั้นชาวซุนดามักจะอาศัยอยู่หนาแน่นในจังหวัดชวาตะวันตก, บันเติน และจาการ์ตา รวมทั้งพื้นที่ทางตะวันตกของจังหวัดชวากลาง สำหรับชวากลาง และชวาตะวันออกนั้น เป็นถิ่นฐานเดิมของชาวชวา ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มใหญ่ที่สุดในอินโดนีเซีย วัฒนธรรมของชาวซุนดานั้นส่วนใหญ่ยืมมาจากวัฒนธรรมชวา แต่มีความแตกต่างออกไปเนื่องจากการนับถือศาสนาอิสลาม และมีลำดับชั้นทางสังคมที่แข็งแกร่งน้อยกว่ามาก Hefner (1997).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและชาวซุนดา · ดูเพิ่มเติม »

ชาวปัญจาบ

วปัญจาบ (อักษรคุรมุขี: ਪੰਜਾਬੀ Paṁjābī,อักษรชาห์มุขี: پنجابی Panjābī) เป็นประชากรที่อาศัยอยู่บริเวณภูมิภาคปัญจาบ พูดภาษาปัญจาบซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มย่อยอินโด-อิเรเนียน คำว่าปัญจาบหมายถึง ดินแดนแห่งน้ำทั้งห้า (เปอร์เซีย: panj ("ห้า") āb ("น้ำ")).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและชาวปัญจาบ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวโรมานี

รมานี (Rromane, Romani people หรือ Romany หรือ Romanies หรือ Romanis หรือ Roma หรือ Roms) หรือมักถูกเรียกโดยผู้อื่นว่า ยิปซี (Gypsy) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ของยุโรปที่สืบเชื้อสายมาจากยุคกลางของอินเดีย (Middle kingdoms of India) โรมานีเป็นชนพลัดถิ่น (Romani diaspora) ที่ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในยุโรปโดยเฉพาะกลุ่มโรมาซึ่งเป็นชนกลุ่มย่อยในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก และกลุ่มใหม่ที่ไปตั้งถิ่นฐานในอเมริกา และบางส่วนในดินแดนต่างๆ ทั่วโลก ภาษาโรมานีแบ่งออกไปเป็นสาขาท้องถิ่นหลายสาขาที่มีผู้พูดราวกว่าสองล้านคน แต่จำนวนประชากรที่มีเชื้อสายโรมานีทั้งหมดมากกว่าผู้ใช้ภาษากว่าสองเท่า ชาวโรมานีอื่นพูดภาษาของท้องถิ่นที่ไปตั้งถิ่นฐานหรือภาษาผสมระหว่างภาษาโรมานีและภาษาท้องถิ่นที่พำนัก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและชาวโรมานี · ดูเพิ่มเติม »

ชาวโปรตุเกส

วโปรตุเกส (os portugueses; Portuguese people) คือชนชาติและกลุ่มชาติพันธุ์จากประเทศโปรตุเกส ทางตะวันตกของคาบสมุทรไอบีเรีย ทางตอนใต้-ตะวันตกของทวีปยุโรป ใช้ภาษาโปรตุเกส โดยมากนับถือโรมันคาทอลิก จากประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิโปรตุเกสและการล่าอาณานิคมในแอฟริกา เอเชีย และทวีปอเมริกา เช่นเดียวกับการอพยพตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ทำให้มีสังคมชาวโปรตุเกสในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและชาวโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ชาวเขมร

วเขมร (Khmer people) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีมากที่สุดในประเทศกัมพูชา คิดเป็น 90% ของทั้งประเทศ Accessed July 14, 2008.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและชาวเขมร · ดูเพิ่มเติม »

บาหลีอากา

หลีอากา (Suku Bali Aga) หรือ บาหลีมูลา (Suku Bali Mula) แปลว่า "ชาวบาหลีดั้งเดิม" เป็นชนพื้นเมืองที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและบาหลีอากา · ดูเพิ่มเติม »

บางกอกอารีนา

งกอกอารีนา (Bangkok Arena) หรือชื่อเดิมว่า บางกอกฟุตซอลอารีนา เป็นสนามกีฬาในร่มของประเทศไทย ตั้งอยู่บนพื้นที่ 50 ไร่ ภายในศูนย์ฝึกอบรมข้าราชการกรุงเทพมหานคร เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเพื่อรองรับการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลกครั้งที่ 7 ซึ่งประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ โดยมีโครงการพัฒนาเป็นศูนย์กีฬาทางฝั่งตะวันออกของกรุงเทพมหานครในอนาคต สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (ฟีฟ่า) ลงมติให้ประเทศไทย เป็นเจ้าภาพการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลกครั้งที่ 7 จึงเริ่มดำเนินโครงการก่อสร้างสนามฟุตซอลเพื่อใช้เป็นสนามหลักในการแข่งขัน พร้อมทั้งการจัดพิธีเปิดและพิธีปิดการแข่งขัน ในปี พ.ศ. 2553 คณะรัฐมนตรีซึ่งมีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี มีมติให้กรุงเทพมหานครที่มีหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตรเป็นผู้ว่าราชการ รับผิดชอบโครงการด้วยวงเงินประมาณ 1,300 ล้านบาท โดยลงนามในสัญญาจ้างบริษัท อีเอ็มซี จำกัด (มหาชน) เพื่อเริ่มการก่อสร้าง เมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2555,.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและบางกอกอารีนา · ดูเพิ่มเติม »

ชื่อวันของสัปดาห์

วันในสัปดาห์ ถูกตั้งชื่อตามวัตถุบนท้องฟ้าที่สำคัญ ได้แก่ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดาวอังคาร ดาวพุธ ดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์ และ ดาวเสาร์ ซึ่งเป็นวัตถุบนท้องฟ้าที่สามารถมองเห็นได้ตั้งแต่ในสมัยโบราณ ตั้งแต่มนุษย์เริ่มสนใจในเรื่องของฟากฟ้าแล้ว วันเสาร์และวันอาทิตย์ถูกเรียกกันโดยทั่วไปว่าเป็นวันหยุดประจำสัปดาห์ วันแห่งการพักผ่อนหรือนันทนาการในประเทศตะวันตก ส่วนวันศุกร์และวันเสาร์ เป็นวันแห่งการพักผ่อนในประเทศมุสลิมบางประเทศ ในอิสราเอล ถือว่าวันเสาร์และวันศุกร์หรือวันอาทิตย์เป็นวันพักผ่อนของสัปดาห์ตามโอกาส แต่ในบางประเทศ เช่น อิหร่าน มีวันหยุดของสัปดาห์เพียงแค่หนึ่งวัน คือ วันศุกร์เท่านั้น และสัปดาห์ใหม่จะเริ่มขึ้นในวันเสาร์ ประเทศมุสลิมอื่น ๆ มักจะมีวันหยุดเป็นวันพฤหัสบดีและวันศุกร์ วันอาทิตย์เป็นวันแรกของสัปดาห์ตามวิชาโหราศาสตร์ ในศาสนายูดาย และใน Ecclesiastical Latin รวมไปถึงในสหรัฐอเมริกา และในบางประเทศที่พูดภาษาอังกฤษ รวมไปถึง ประเทศไทย ด้วย ส่วนประเทศจำนวนมากในยุโรป อเมริกาใต้ และบางส่วนของเอเชีย ถือว่าวันจันทร์เป็นวันแรกของสัปดาห์ ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างนานาชาติมาตรฐานสำหรับการใช้วันและเวลา ISO 8601 ซึ่งกำหนดให้วันจันทร์เป็นวันแรกของสัปดาห์ และวันอาทิตย์เป็นวันสุดท้ายของสัปดาห.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและชื่อวันของสัปดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

ชีวิตอารามวาสี

อารามเซนต์แคเธอริน เขาไซนายในอียิปต์ ก่อตั้งราวระหว่าง ค.ศ. 527 ถึง ค.ศ. 565 ชีวิตอารามวาสีสมชัย พิทยาพงษ์พร, บาทหลวง, พัฒนาการวิถีชีวิตจิตคริสตชน, นครปฐม: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม, 2551, หน้า 27 (monasticism) มาจากภาษากรีก “μοναχός” - “monachos” ที่มีรากมาจากคำว่า “monos” ที่แปลว่า “สันโดษ” หรือ “ผู้เดียว” หมายถึงวิถีชีวิตทางศาสนาที่นักบวชเน้นสละชีวิตทางโลกเพื่ออุทิศตนอย่างเต็มตัวในทางธรรม คำนี้ที่มาจากภาษากรีกโบราณและอาจเกี่ยวกับภิกษุซึ่งเป็นนักพรตในพุทธศาสนา ในคริสต์ศาสนา บุรุษที่ใช้ชีวิตอารามวาสีเรียกว่านักพรต ถ้าเป็นหญิงก็เรียกว่านักพรตหญิง นักพรตทั้งชายและหญิงจะเรียกโดยรวมว่าอารามิกชน (monastics) ศาสนาอื่นต่างก็มีชีวิตอารามวาสีเป็นของตนเองโดยเฉพาะในศาสนาพุทธ และรวมทั้งลัทธิเต๋า ศาสนาฮินดู และศาสนาเชน แต่รายละเอียดของแต่ละระบบของแต่ละศาสนาหรือแต่ละนิกายก็แตกต่างจากกันมาก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและชีวิตอารามวาสี · ดูเพิ่มเติม »

ช่องเขามานา

องเขามานาที่หมู่บ้านมานา ช่องเขามานา (Mana Pass; 玛那山口) หรือ มานาลา, ชีร์บิตยา, ชีร์บิตยา-ลา และ ดังกรี-ลา เป็นช่องเขาระหว่างเทือกเขาหิมาลัย ตั้งอยู่ระหว่างพรมแดนทิเบตกับอินเดีย อยู่ที่ความสูง 5,545 เมตร (18,192 ฟุต) เป็นช่องที่เดินทางด้วยพาหนะที่สูงที่สุดในโลก ถนนที่ใช้สัญจรสร้างในช่วงปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและช่องเขามานา · ดูเพิ่มเติม »

ช้างตระกูลพรหมพงศ์

้างตระกูลพรหมพงศ์ เป็นหนึ่งช้างเผือกสี่ตระกูลซึ่งสร้างโดยมหาเทพ พระพรหมในวิชาไตรเทพของศาสนาพราหมณ์ โดยตำราพระคชศาสตร์ และตำรานารายณ์ประทมสินธุ์ ได้กล่าวถึงการกำเนิดช้างมงคลว่า พระนารายณ์บรรทมบนเกษียรสมุทร บังเกิดดอกบัวจากพระอุทรมี ๘ กลีบ ๑๗๓ เกสร จึงนำไปถวายพระอิศวร ที่เขาไกรลาศ พระอิศวรแบ่งเกสรดอกบัวนั้นประทานแก่พระองค์เอง พระอิศวร รับเกสรไว้ ๘ เกสร ประทานแก่ พระพรหม จำนวน ๒๔ เกสร ประทานแก่ พระวิษณุ หรือพระนารายณ์ จำนวน ๘ เกสร และประทานแก่พระอัคคีหรือพระเพลิง จำนวน ๑๓๕ เกสร พระอิศวร พระพรหม พระวิษณุ และพระเพลิง มหาเทพทั้ง ๔ ต่างสร้างช้างเผือกตระกูลต่างๆ ๔ ตระกูล จากดอกบัวนั้นดอกบัวให้เป็นโลก พระพรหม พระอิศวร พระวิษณุและพระอัคนี มหาเทพทั้ง 4 ทรงเนรมิตช้างจากกลีบและเกสรบัว ที่พระนารายณ์ประทาน และสามารถแบ่งช้างมงคลเป็น 4 ตระกูล ตามนามแห่งเทพผู้ให้กำเนิด คือ ๑. ช้างตระกูลพรหมพงศ์ สร้างขึ้นโดย พระพรหม อันพระพรหมให้บังเกิดด้วยเกสรประทุมชาติ์ ช้างตระกูลนี้เมื่อมาสู่พระบารมีย่อมให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองทั้งทางวัตถุและวิทยาการต่างๆ พระพรหมได้สร้าง ๑. ช้างไอยราพตอยู่ทิศบูรพา เกสรหนึ่งทิ้งออกไปข้างทิศบูรพา เกิดเป็นช้างชื่อไอยราพต สมบูรณด้วยลักษณะ ๑๕ ประการ สีกายดุจสีเมฆเมื่อคลุ้มฝน เท้าทั้ง ๔ เท้ากลมดังกงฉัตร เล็บเสมอ หน้าสูงท้ายต่ำอย่างสิงห์ ตัวใหญ่กว่าช้างทั้งปวง ตาใหญ่ดังดาวประกายพฤกษ งายาวขึ้นขวางวงดังภุชงค์นาค หลังราบดังคันธนูปลายหูปรบหน้า หลัง ถึงกัน โขมดทั้ง ๒ สูง เสียงดุจเสียงสังข์ หาง บังคลองต้องด้วยลักษณะ ๑๕ ประการ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและช้างตระกูลพรหมพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ช้างตระกูลอิศวรพงศ์

้างตระกูลอิศวรพงศ์ เป็นหนึ่งช้างเผือกสี่ตระกูลซึ่งสร้างโดยมหาเทพ พระอิศวรในวิชาไตรเทพของศาสนาพราหมณ์ โดยตำราพระคชศาสตร์ และตำรานารายณ์ประทมสินธุ์ ได้กล่าวถึงการกำเนิดช้างมงคลว่า พระนารายณ์บรรทมบนเกษียรสมุทร บังเกิดดอกบัวจากพระอุทรมี ๘ กลีบ ๑๗๓ เกสร จึงนำไปถวายพระอิศวร ที่เขาไกรลาศ พระอิศวรแบ่งเกสรดอกบัวนั้นประทานแก่พระองค์เอง พระอิศวร รับเกสรไว้ ๘ เกสร ประทานแก่ พระพรหม จำนวน ๒๔ เกสร ประทานแก่ พระวิษณุ หรือพระนารายณ์ จำนวน ๘ เกสร และประทานแก่พระอัคคีหรือพระเพลิง จำนวน ๑๓๕ เกสร พระอิศวร พระพรหม พระวิษณุ และพระเพลิง มหาเทพทั้ง ๔ ต่างสร้างช้างเผือกตระกูลต่างๆ ๔ ตระกูล จากเกสรดอกบัวนั้นดอกบัวให้เป็นโลก พระพรหม พระอิศวร พระวิษณุและพระอัคนี มหาเทพทั้ง 4 ทรงเนรมิตช้างจากกลีบและเกสรบัว ที่พระนารายณ์ประทาน และสามารถแบ่งช้างมงคลเป็น 4 ตระกูล ตามนามแห่งเทพผู้ให้กำเนิด คือ ช้างตระกูลอิศวรพงศ์ สร้างขึ้นโดย พระอิศวร อันพระอิศวรให้บังเกิดด้วยเกสรประทุมชาติ์ ช้างตระกูลนี้ พระอิศวรเป็นเจ้าให้บังเกิดชาติ์กระษัตริย์ ชื่อว่าอิศวรพงศ์สมบูรณ์ด้วยลักษณะ เนื้อดำสนิทผิวเนื้อละเอียดเกลี้ยง งาทั้ง ๒ งาใหญ่ขึ้นเสมอกัน เท้าใหญ่ น้ำเต้ากลม โขมดสูง งวงเรียวเป็นต้นปลาย ปากดุจพวยสังข์ คอกลม เมื่อเดินนั้นยกคอ หลังเป็นคันธนู ท้ายเป็นสุกร ผนฎท้องตามวงหลัง อกใหญ่ หน้าสูงกว่าท้าย เท้าหน้าทั้ง ๒ อ่อน เท้าหน้าหลังเรียวรัดฝักบัวกลม หางเป็นข้อห่วง สนับงาเป็น ๒ ชั้น ขนับเสมอมิได้พร่อง หูใหญ่ช่อม่วงยาวข้างขวามีใบหูอ่อนนุ่มมีขนมากกว่าข้างซ้าย หน้าใหญ่ สรรพงามพร้อมต้องด้วยลักษณะช้างตระกูลนี้เมื่อมาสู่พระบารมีย่อมให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองทั้งทางวัตถุและวิทยาการต่างๆ พระอิศวรได้สร้าง อัฐคชาธาร อันพระอิศวรเป็นเจ้าให้บังเกิดด้วยเกสรประทุมชาติ์หรือด้วยเกสรดอกบัวทั้ง ๘ เกสร บังเกิดช้างทั้ง ๘ คือ เกสรที่ ๑. อ้อมจักรวาฬ เกสรหนึ่งทิ้งออกไปให้บังเกิดเป็นช้างหนึ่งชื่อว่าอ้อมจักรวาฬ งาซ้ายเสมอหน้างวง งาขวากอดงวงทับบนงาซ้ายหนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและช้างตระกูลอิศวรพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ช้างเอราวัณ

ระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ (จิตรกรรมลายรดน้ำ วัดสุทัศนเทพวราราม) ช้างเอราวัณ (Erawan: Airavata) ในเรื่องรามายณะ และ ความเชื่อของศาสนาฮินดู กล่าวถึงพระอินทร์มีร่างสีเขียว มีพาหนะเป็นช้าง 3 เชือก เชือกหนึ่งพระศิวะเป็นผู้ประทานให้ชื่อว่า เอราวัณ เชือกหนึ่งพระพรหมป็นผู้ประทานให้ชื่อว่า คีรีเมขล์ไตรดายุค และอีกเชือกหนึ่งพระวิษณุเป็นผู้ ประทานให้ชื่อว่า เอกทันต์ ช้างเอราวัณเป็นช้างที่มีพละกำลังมากที่สุดในหมู่ ช้างทั้ง 3 เชือก และเป็นที่โปรดปรานมากที่สุด ของพระอินทร์ เชื่อกันว่าช้างเชือกนี้เป็นเทพบุตรองค์หนึ่ง เมื่อพระอินทร์ต้องการจะเสด็จไปไหน เอราวัณเทพบุตร ก็จะแปลงกายเป็นช้างเผือก 33 เศียร แต่ละเศียรมีงา 7 งา งาแต่ละงายาวถึง 4 ล้านวา งาแต่ละงามีสระบัว 7 สระ แต่ละสระมีดอกบัว 7 ดอก แต่ละดอกมีกลีบ 7 กลีบ มี 7 เกสร แต่ละเกสรมีปราสาทอยู่ 7 หลัง ปราสาทแต่ละหลังมี 7 ชั้น แต่ละชั้นมี 7 ห้อง แต่ละห้องมี 7 บัลลังก์ แต่ละบัลลังก์มีเทพธิดาสถิต 7 องค์ เทพธิดาแต่ละองค์มีบริวาร องค์ละ 7 นาง เทพธิดาบริวารแต่ ละนางมีนางทาสีนางละ 7 ทาสี รวมทั้งนางเทพอัปสรทั้งหมดประ มาณ 190,248,432 นาง เทพธิดา บริวารรวมกันทั้งหมดประมาณ 13,331,669,031 นาง เศียรทั้ง 33 ของช้างเอราวัณมีอุเปนทเทพยดา สถิตเศียรละ 1 องค์ โดยปกติศิลปินไทยมักจะทำช้าง เอราวัณ เป็นช้าง 3 เศียร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและช้างเอราวัณ · ดูเพิ่มเติม »

ช้างเผือก

้างเผือกปัจจัยนาเคนทร์ในจิตรกรรมฝาผนัง เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์หิมพานต์ ช้างเผือก (White Elephant) คือช้างที่มีลักษณะต่างจากช้างธรรมดาทั่วไป ด้วยมีนัยน์ตา และเล็บสีขาว รวมถึงสีผิวที่อ่อนกว่าช้างธรรมทั่วไป อาจจะเป็นสีชมพูหรือสีขาวก็ได้ โดยที่มิใช่เป็นสัตว์เผือก จัดได้ว่ามีลักษณะที่หาได้ยาก จึงเป็นที่เชื่อกันว่าช้างเผือกเป็นสัตว์ที่เป็นมงคลให้แก่ผู้ที่เป็นเจ้าของ และเป็นเครื่องมงคลชนิดหนึ่งในสัปตรัตนะแห่งพระเจ้าจักรพรรดิ ได้แก่ จักรแก้ว ช้างแก้ว (ช้างเผือก ชื่อ อุโบสถ) ม้าแก้ว มณีแก้ว นางแก้ว คฤหบดีแก้ว และ ปรินายกแก้ว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและช้างเผือก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพ.ศ. 2462 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร

การปกครองของบริเตนในพม่า (British rule in Burma) คือช่วงที่พม่าอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษระหว่าง..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พม่าเชื้อสายอินเดีย

วพม่าเชื้อสายอินเดีย เป็นชนกลุ่มน้อยกลุ่มหนึ่งที่มีจำนวนมาก และแทรกซึมไปทั่วประเทศพม่า ซึ่งประเทศพม่า และประเทศอินเดียเคยมีความสัมพันธ์มายาวนานหลายพันปี รวมไปถึงการเป็นประเทศเพื่อนบ้าน การนำนำศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีมาใช้ และอดีตอาณานิคมของอังกฤษร่วมกัน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพม่าเชื้อสายอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

พรหมัน

ตามความเชื่อในศาสนาฮินดู พรหมัน (อ่านว่า พฺรม-มัน; ब्रह्मन्) คือความเป็นจริงสูงสุด เป็นสิ่งสัมบูรณ์ ไม่มีรูปร่าง ไร้ขีดจำกัด เป็นพระวิญญาณบริสุทธิ์ เป็นที่มาและจุดหมายปลายทางของสรรพสิ่งในสกลจักรวาล คัมภีร์อุปนิษัทระบุว่าสรรพสัตว์รับรู้พรหมันได้ใน 2 ลักษณะ คือ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพรหมัน · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหม

ระพรหม (ब्रह्मा; Brahma; బ్రహ్మ) เป็นเทพเจ้าสูงสุด (ตรีมูรติ) ในคติของศาสนาฮินดู เป็นเทพเจ้าแห่งการสร้างสรรค์ ความเมตตา เป็นพระผู้สร้างโลกและให้กำเนิดสิ่งต่าง ๆ ในจักรวาล และให้กำเนิดคัมภีร์พระเวท พระพรหมมีสี่พักตร์ พระศอสวมลูกประคำ พระหัตถ์แต่ละข้างถือดอกบัว, คัมภีร์ และหม้อน้ำ มีพาหนะเป็นหงส์ หรือ ห่าน พระชายา คือ พระสุรัสวดี เทพีแห่งศิลปะวิทยาการและความรอบรู้ ในคัมภีร์มัตสยาปุราณะเล่าว่า พระพรหมเดิมทีมีถึงห้าพักตร์ การที่มีห้าพักตร์เกิดจาก การที่พระพรหมให้ได้กำเนิดผู้หญิงนางหนึ่งชื่อ ศตรูป ขึ้นมา ความงามของศตรูปทำให้พระองค์หลงใหล เมื่อศตรูปนี้เคลื่อนไปทางใด พระพรหมก็จะหันพระพักตร์เพื่อมองตามไปด้วย แต่ว่ามีครั้งหนึ่งที่พระพรหมไปดูแคลนพระศิวะเข้า ทำให้พระศิวะพิโรธ และใช้ไฟบรรลัยกัลป์จากพระเนตรที่สามที่กลางพระนลาฏเผาพระพักตร์ที่อยู่ด้านบนเศียรของพระพรหม จนเหลือเพียงสี่พักตร์ แต่อีกความเชื่อหนึ่งเล่าว่า เพราะพักตร์ด้านบนของพระพรหมนั้นเจิดจรัสมาก ทำให้พวกสุระและอสุระทนไม่ได้ จึงขอร้องให้พระศิวะเป็นผู้ตัดให้ และยังเชื่อด้วยว่าพระพรหมเป็นผู้สร้างบุคคลในวรรณะต่าง ๆ จากอวัยวะแต่ละส่วน ได้แก่ พราหมณ์เกิดจากพระโอษฐ์, กษัตริย์ เกิดจากอก, แพศย์เกิดจากส่วนท้อง และศูทรเกิดจากเท้า ตามมติของพราหมณาจารย์แต่โบราณกล่าวถึงตำราพรหมชาติ ว่าเป็นตำราที่มาจากพรหม ตำราพุทธลักษณะที่ฤษีแต่งไว้ก็มาจากพรหม เหตุที่รู้เห็นถึงพุทธลักษณะได้เพราะพรหมเป็นผู้มีอายุยืนและได้รู้เห็นเรื่องราวต่างๆอยู่ตลอดกาลนาน เมื่อเวลาพราหมณ์หนุ่มเที่ยวสืบหาที่เรียนและทำความเคารพนบนอบในผู้เฒ่าผู้แก่อยู่นั้น พระพรหมเห็นแก่ความกรุณา พอทราบเรื่อง จึงได้แปลงเพศมาเป็นพราหมณ์ฤษีแล้วบอกวิชา ทั้งเรื่องมนต์ ไสยเวท ตำราพยากรณ์ ตำราดูลักษณะของหมอดู ต่างๆนั้นเองพราหมณ์จึงถือว่ามาจากพรหม และจึงได้นับถือกันว่าเป็นของศักดิ์สิทธิ์มีความงดงาม แม้คัมภีร์ปิงคละดาบส ตำราโตลกจือโหราศาสตร์จีน ถึงตลอดคัมภีร์โหราศาสตร์ในรุ่นหลังๆ ก็ได้กล่าวว่าได้มาแต่ฤษีและเทวะบันดาล อาจารย์ผู้ที่เรียนรู้ไว้ต่างกล่าวถึงสิ่งมงคลนี้ในทำนองเดียวกัน ในคติของชาวไทยที่รับคติความเชื่อจากศาสนาพรหมณ์-ฮินดู เชื่อว่าพระพรหมเป็นผู้ลิขิต ชะตาชีวิตของบุคคลต่าง ๆ ตั้งแต่เกิดจนตาย เรียกว่า "พรหมลิขิต" และผู้ใดที่บูชาพระพรหมอยู่เป็นนิจ พระองค์จะประทานพรให้สมหวัง เรียกว่า "พรพรหม" หรือ "พรหมพร" และยังเป็นเทพประจำทิศเบื้องบนอีกด้วย ด้วยเหตุดังนี้ พระพรหมจึงมีพระนามต่าง ๆ อาทิ "พรหมธาดา" หรือ "ประชาบดี" (ผู้สร้าง), "หงสรถ" หรือ "หงสวาหน" (ผู้มีหงส์เป็นพาหนะ), "จตุรพักตร์" (ผู้มีสี่หน้า), "ปรเมษฐ์" (ผู้ประเสริฐ) เป็นต้น ส่วนในลิลิตโองการแช่งน้ำเรียกว่า "ขุนหงส์ทองเกล้าสี่" โดยความหมายของคำว่า "พรหม" หมายถึง "ความเจริญ, ความกว้างขวาง, ความขยายตัว หรือความเบิกบาน" ดังนั้นตามคติและวัตรปฏิบัติต่าง ๆ ทั้งในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และพุทธศาสนาจึงมีคำว่า พรหม ประกอบคำศัพท์ เช่น "พรหมจรรย์", "พรหมบุตร" หรือ "พรหมวิหาร 4" เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระพรหม · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหม (ศาสนาพุทธ)

ในศาสนาพุทธ พระพรหม เป็นชาวสวรรค์ชั้นสูงกว่าเทวดาในฉกามาพจร และยังเวียนว่ายตายเกิดด้วยอำนาจกิเลส (โลภะ โทสะ โมหะ แต่ในภพชาติก่อนจุติและปฏิสนธิเป็นพรหมมีกุศลมาก มีฌาณสมาบัติเป็นอารมณ์ เมื่อตายจึงไปเกิดที่สวรรค์ชั้นนี้) อยู่ในสวรรค์ที่เรียกว่าพรหมภูมิ (หรือพรหมโลก) พระพรหมแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ พรหมที่มีรูป เรียกว่า "รูปพรหม" มีทั้งหมด 16 ชั้น และพรหมที่ไม่มีรูป เรียกว่า "อรูปพรหม" มีทั้งหมด 4 ชั้น โดยอรูปพรหมจะสูงกว่ารูปพรหม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระพรหม (ศาสนาพุทธ) · ดูเพิ่มเติม »

พระพาย

ระพาย (เทวนาครี: वायु; "วายุ") เป็นเทพเจ้าแห่งลมและพายุ รวมถึงท้องฟ้า ตามคติของศาสนาฮินดู เป็นเทพแห่งธรรมชาติ เช่นเดียวกับพระพิรุณ (ฝน), พระอัคนี (ไฟ), พระแม่คงคา (น้ำ), พระแม่ธรณี (พื้นดิน) พระพายเป็นบุตรของพระกัศยปเทพบิดร และนางทิติ มีหน้าที่ให้ลมแก่สามโลก ในวรรณคดีมหาภารตะ พระพายเป็น บิดาของภีมะ และในวรรณคดีรามเกียรติ์พระพายเป็นบิดาของ หนุมานและยังเป็นปู่ของมัจฉานุกับอสูรผัด ตามคำภีร์วิษณุปุราณะว่า พระพายเป็นกษัตริย์แห่งคนธรรพ์ สำหรับรูปร่างลักษณะของพระพาย มีแตกต่าง หลากหลายออกไป ในคัมภีร์ไตรเทพระบุว่า พระพาย มีกายสีขาวลักษณะงดงามยิ่งนัก ทรงสัตว์พาหนะจำพวกแอนทิโลปหรือกวาง บางปกรณัมก็ว่าทรงเสือสีน้ำเงิน นอกจากนี้แล้ว พระพายยังถือเป็นเทพประจำทิศตะวันตกเฉียงเหนือ (พายัพ) โดยคำว่า "พายัพ" เป็นภาษาสันสกฤต อ่านว่า "วายวฺย" เมื่อถอดความแล้วจะหมายถึง "ทิศของวายุ".

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระพาย · ดูเพิ่มเติม »

พระพิฆเนศ

ระคเณศ (गणेश பிள்ளையார் Ganesha) ชาวไทยนิยมเรียกว่า พระพิฆเนศ (विघ्नेश) พระพิฆเณศวร พระพิฆเณศ หรือ พระคณปติ ทรงเป็นเทพในศาสนาฮินดู ทรงเป็นเทพแห่งความสำเร็จ ทั้งยังทรงเป็นเทพแห่งศิลปวิทยาการและการประพันธ์ ทรงเป็นหัวหน้านำคณะข้ามความขัดข้อง (ผู้เป็นใหญ่เหนือความขัดข้อง).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระพิฆเนศ · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธรูปแห่งบามียาน

ระพุทธรูปแห่งบามียาน (د بودا بتان په باميانو کې De Buda butan pe bamiyano ke; تندیس‌های بودا در باميان tandis-ha-ye buda dar bamiyaan) เป็นพระพุทธรูปยืนจำนวนสององค์ที่สลักอยู่บนหน้าผาสูงสองพันห้าร้อยเมตรในหุบผาบามียาน ณ จังหวัดบามียาน ในพื้นที่ฮาซาราจัตทางตอนกลางของประเทศอัฟกานิสถาน อันห่างจากกรุงคาบูลไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณสองร้อยสามสิบกิโลเมตร หมู่พระพุทธรูปนี้สถาปนาขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 10 ตามศิลปะแบบกรีกโบราณ หมู่พระพุทธรูปนี้ถูกทำลายด้วยระเบิดไดนาไมต์เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2544 ตามคำสั่งของนายมุลลอฮ์ มุฮัมมัด อุมัร ประมุขของรัฐบาลฏอลิบาน ซึ่งให้เหตุผลว่ากฎหมายอิสลามไม่อนุญาตให้บูชารูปเคารพ ในขณะที่นานาประเทศต่างการประณามการกระทำของรัฐบาลฏอลิบานอย่างรุนแรง เพราะหมู่พระพุทธรูปนี้มิใช่สมบัติของบุคคลใดบุคคลหนึ่งแต่เป็น "มรดกโลก" อันเป็นสาธารณสมบัติและความภาคภูมิใจของคนทั้งโลก โดยญี่ปุ่นและสวิตเซอร์แลนด์ร่วมใจกันสนับสนุนให้มีการปฏิสังขรณ์พระพุทธรูปนี้อีกครั้งหนึ่ง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระพุทธรูปแห่งบามียาน · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธเจ้า

ระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือ พระพุทธเจ้า เป็นพระสมัญญานามที่ใช้เรียกพระบรมศาสดาของศาสนาพุทธ พระพุทธศาสนาทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายานต่างนับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นศาสดาของตนเหมือนกันแต่รายละเอียดปลีกย่อยต่างกัน ฝ่ายเถรวาทให้ความสำคัญกับพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบันคือ "พระโคตมพุทธเจ้า" ซึ่งเชื่อว่าเป็นพระองค์ที่ 4 ในภัทรกัปนี้ และมีกล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอดีตกับในอนาคตบ้างแต่ไม่ให้ความสำคัญเท่า ฝ่ายมหายานนับถือพระพุทธเจ้าของฝ่ายเถรวาททั้งหมดและเชื่อว่านอกจากพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ ที่ระบุในพุทธวงศ์ของพระไตรปิฎกภาษาบาลีแล้ว ยังมีพระพุทธเจ้าอีกมากมายเพิ่มเติมขึ้นมาจากตำนานของเถรวาท ผู้ปรารถนาจะเป็นพระพุทธเจ้าต้องบำเพ็ญบารมีเป็นพระโพธิสัตว์ก่อน เมื่อบารมีเต็มแล้วจึงจะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย พระพุทธเจ้าทุกพระองค์มีลักษณะพิเศษตรงกันคือ เป็นมนุษย์เพศชายเกิดในวรรณะกษัตริย์หรือพราหมณ์ พระวรกายสมบูรณ์ด้วยมหาปุริสลักขณะ ก่อนออกผนวชจะอภิเษกสมรสมีพระโอรสพระองค์หนึ่ง หลังจากนั้นทรงพบเทวทูตทำให้ตัดสินใจออกผนวช วันออกผนวชจะตรงกับวันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ ตามคัมภีร์ฝ่ายพุทธ ถือกันว่าพระโคตมพุทธเจ้าดำรงพระชนม์ชีพอยู่ระหว่าง 80 ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงเริ่มพุทธศักราชซึ่งเป็นวันปรินิพพาน ตรงกับ 543 ปีก่อนคริสตกาลตามตำราไทยอ้างอิงปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินจันทรคติไทย และ 483 ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระกฤษณะ

ลปะโจฬะที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินิวเดลี ประเทศอินเดีย วัดพระศรีมหามาริอัมมันที่ประเทศสิงคโปร์ทั้งองค์ พระกฤษณะ (कृष्णLord Krishna) เป็นเทวะองค์หนึ่งในศาสนาพราหมณ์-ศาสนาฮินดูโดยถือว่ารูปแบบอวตารของพระวิษณุ และเป็นตัวดำเนินเรื่องสำคัญในมหากาพย์เรื่อง "มหาภารตะ" มหากาพย์ที่ยิ่งใหญ่ของประเทศอินเดียและยังทรงเป็นต้นกำเนิดของคัมภีร์ภควัทคีตาหนึ่งในคัมภีร์สำคัญของคัมภีร์พระเวททั้งเป็นพระเจ้าสูงสุดของนิกายฮเรกฤษณ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระกฤษณะ · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์

กษัตริย์ หรือ พระมหากษัตริย์ คือประมุขหรือผู้ปกครองสูงสุดของรัฐ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือในราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีน้อยมากซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็ก พระมหากษัตริย์เป็นได้ด้วยการสืบสันตติวงศ์หรือโดยการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมแล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ การสืบสันตติวงศ์ของพระมหากษัตริย์จะสืบทอดต่อกันมาโดยเชื้อพระวงศ์ เรียกว่าพระราชวงศ์ เมื่อสิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ์ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะเป็นตันพระราชวงศ์ใหม่ หรือเป็นผู้สถาปนาพระราชวงศ์ พระมหากษัตริย์อาจมีคำเรียกแตกต่างกัน เช่น พระราชาธิบดี พระจักรพรรดิ พระราชา เจ้ามหาชีวิต เป็นต้น กษัตริย์ ในสังคมฮินดู ยังหมายถึงวรรณะที่ 2 จาก 4 วรรณะ คือวรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระมหากษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิคุณ (ชวิน รังสิพราหมณกุล)

ระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิคุณ (ชวิน รังสิพราหมณกุล) เป็นผู้ดำรงตำแหน่งประธานพระครูพราหมณ์คนปัจจุบันซึ่ง สำเร็จการศึกษาเศรษฐศาสตรบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยรามคำแหง และบวชเป็นพราหมณ์ตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิคุณ (ชวิน รังสิพราหมณกุล) · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาราชครูอัษฎาจารย์ (ละเอียด รัตนพราหมณ์)

ระมหาราชครูอัษฎาจารย์ (ละเอียด รัตนพราหมณ์) พระมหาราชครูอัษฎาจารย์ (ละเอียด รัตนพราหมณ์) (17 มีนาคม 2463 - 2 พฤษภาคม 2554)เป็นประธานพราหมณ์ในพระราชสำนัก และ เป็นผู้นำศาสนาฮินดูแห่งประเทศไทย โดยเขาสืบเชื้อสายมาจากพราหมณ์ในประเทศอินเดีย โดย บรรพบุรุษของเขาได้มาตั้งหลักถิ่นฐานในประเทศไทยเมื่อหลายร้อยปีก่อน โดยตั้งหลักอยู่แถว ภาคใต้ของประเทศไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช และ อพยพมากรุงเทพสมัย รัชกาลที่ 5 ปัจจุบัน พราหมณ์ละเอียด มีหน้าที่ คือ เป็นผู้นำศาสนาฮินดูแห่งประเทศไทย และ ทำหน้าที่ดูแลองค์กรพราหมณ์-ฮินดู ได้แก่ เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ สมาคมฮินดูสมาช และ สมาคมฮินดูธรรม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระมหาราชครูอัษฎาจารย์ (ละเอียด รัตนพราหมณ์) · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์

ระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ เป็นพระโพธิสัตว์อัครสาวกของพระอมิตาภพุทธะเช่นเดียวกับพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ แต่มีคนรู้จักน้อยกว่า ถือว่าท่านเป็นพระโพธิสัตว์ด้านกำลัง สะท้อนพลังจิตที่เข้มแข็งของพระพุทธเจ้า ใกล้เคียงกับความหมายของพระสมันตภัทรโพธิสัตว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาธรรมราชาที่ 1

ระมหาธรรมราชาที่ 1 หรือ พระบาทกมรเตงอัญศรีสุริยพงศ์รามมหาราชาธิราช, พระบาทกมรเตงอัญฦๅไทยราช, พระยาลือไทย หรือ พระยาลิไทย (ครองราชย์ พ.ศ. 1890 - พ.ศ. 1919) พระมหากษัตริย์อาณาจักรสุโขทัยราชวงศ์พระร่วงลำดับที่ 6 เป็นพระโอรสพระยาเลอไทย และพระราชนัดดาของพ่อขุนรามคำแหงมหาร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระมหาธรรมราชาที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

พระยม

ระยม พระยมราช หรือ มัจจุราช คือเทพเจ้าแห่งนรกและความตาย ตามความเชื่อในศาสนาแบบอินเดี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระยม · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์ไทย

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชระหว่างประทับบนพระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเมื่อวันศุกร์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 พระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์ไทย เป็นพระราชพิธีที่ พระมหากษัตริย์ไทย ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการด้วยการเจิมและการสวมพระมหาพิชัยมงกุฎโดยพระราชพิธีบรมราชาภิเษกได้แบ่งออกเป็น 2 พระราชพิธีสำคัญคือ พระราชพิธีบรมราชาภิเษกและพระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียร พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเป็นการผสมผสานกันระหว่างธรรมเนียมของ ศาสนาฮินดู และ ศาสนาพุทธ ซึ่งต้องย้อนกลับไปหลายศตวรรษโดยพระราชพิธีบรมราชาภิเษกประกอบไปด้วย การสรงพระมูรธาภิเษก การเจิม การสวมพระมหาพิชัยมงกุฎ การสถาปนาพระราชินีและพระราชวงศ์ และการรับเครื่องสิริราชกกุธภัณฑ์ส่วนพระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียรเป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้นโดยเหล่าสมาชิกของราชวงศ์ใน พระบรมมหาราชวัง ภายหลังจากประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเสร็จสิ้นแล้วพระมหากษัตริย์ที่ผ่านการสวมมงกุฎแล้วจะประทับพระที่นั่งราชยานพุดตานทองไปประกาศพระองค์เป็นพุทธมามกะและเสด็จไปสักการะพระบรมอัฐิของสมเด็จพระบรมราชบูรพการี หมวดหมู่:ราชาธิปไตยไทย.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539

ระราชพิธีกาญจนาภิเษก (Golden Jubilee) เป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาสที่พระมหากษัตริย์ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ตามคติสากล พระราชพิธีนี้จัดขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยพระองค์ทรงครองราชสมบัติ เป็นปีที่ 50 ใน พุทธศักราช 2538 และครบรอบ 50 ปีจริงในวันที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2539 ซึ่งถือเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติเป็นระยะเวลายาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติไทย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีหมายกำหนดการจัดงานพระราชพิธีกาญจนาภิเษก และงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ระหว่างวันที่ 8-10,12,14,23 มิถุนายน,7พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวาย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวาย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังกัมโพชธานี

้านหน้าของพระราชวังกัมโพชธานี พระราชวังกัมโพชธานี (Kamboza Thadi Palace, Kanbawzathadi Palace; ကမ္ဘောဇသာဒီ နန်းတော်) พระราชวังแห่งเมืองหงสาวดี (พะโค) ของพระเจ้าบุเรงนอง เป็นพระราชวังที่ยิ่งใหญ่สมพระเกียรติ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของพระมหาธาตุเจดีย์ชเวมอดอ (พระธาตุมุเตา) สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2109 ซึ่งเป็นปีที่ 15 ของการครองราชย์ของพระองค์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่พระองค์เรืองอำนาจสูงสุด พระองค์ตัดสินพระทัยเผาพระราชวังเก่าไปเนื่องจากมีการกบฏ พระราชวังกัมโพชธานีสร้างขึ้นโดยใช้แรงงานจากประเทศราชต่าง ๆ และพระองค์โปรดให้ใช้ชื่อประตูต่าง ๆ ทั้งหมด 20 ประตู ตามชื่อของแรงงานประเทศราชที่สร้าง เช่น ประตูทางตอนเหนือปรากฏชื่อ ประตูโยเดีย (อยุธยา) ประตูตอนใต้ชื่อ ประตูเชียงใหม่ อีกทั้งยังมีพระตำหนักของพระสุพรรณกัลยา องค์ประกันที่ตกเป็นเชลยและกลายเป็นมเหสีองค์หนึ่งของพระองค์ด้วย พระราชวังกัมโพชธานีถูกเผาจนเหลือแต่เพียงซาก หลังจากการสวรรคตของพระเจ้าบุเรงนอง ด้วยกบฏยะไข่ พร้อม ๆ กับอาณาจักรตองอูที่เคยเรืองอำนาจเสื่อมลงhttp://culturemyanmar.org/pages/doa_royal_palace.html จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2533 รัฐบาลพม่าได้ขุดค้นพบซากของพระราชวังที่เหลือเพียงแค่ตอไม้ที่โผล่พ้นดินออกมาเท่านั้น และได้มีการเร่งสร้างพระราชวังจำลององค์ใหม่ขึ้นมา ฉาบด้วยสีทองทั้งหลัง ทั้งที่พื้นดินบริเวณโดยรอบได้ขุดพบโบราณวัตถุต่าง ๆ มากมาย ซึ่งเชื่อว่ายังมีอยู่อีกจำนวนมากที่ยังไม่ถูกขุดขึ้นมา แต่ได้ถูกทางการสร้างพระราชวังทับลงไปแล้ว แต่ซากไม้ที่ใช้สร้างพระราชวังแต่ครั้งอดีตที่ยังหลงเหลืออยู่ได้ถูกจัดแสดง ซึ่งไม้แต่ละท่อนมีตัวอักษรจารึกอยู่ว่าเป็นผลงานของเมืองใด ภายในพระราชวัง มีพระราชบัลลังก์ที่มีชื่อว่า "บัลลังก์ภุมรินทร์" หรือ "บัลลังก์ผึ้ง" ซึ่งสร้างขึ้นมาจากคติเรื่องจักรวาลตามความเชื่อของศาสนาฮินดู ปัจจุบัน พระราชวังกัมโพชธานีเป็นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่งของหงสาวดีและประเทศพม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระราชวังกัมโพชธานี · ดูเพิ่มเติม »

พระราม (หนังสือการ์ตูน)

ระราม (Rama) เป็นตัวละครที่มาจากร่างอวตารแห่งเทพฮินดู พระราม เผยแพร่ในหนังสือการ์ตูนชุดของสำนักพิมพ์ดีซีคอมิกส์ ปรากฏตัวครั้งแรกในหนังสือการ์ตูนเรื่อง Wonder Woman ฉบับที่ 148 ซีรีส์ 2 (กันยายน 1999) สร้างสรรค์โดย Eric Luke และYanick Paquette.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระราม (หนังสือการ์ตูน) · ดูเพิ่มเติม »

พระราหู

ระราหู (राहु ราหู) เป็นอสูรและเทวดานพเคราะห์องค์หนึ่งตามคติของศาสนาฮินดูและศาสนาพุท.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระราหู · ดูเพิ่มเติม »

พระลักษมี

รูปปั้นนูนสูงของพระแม่ลักษมีประดับเทวสถานมุนีศวรัม ประเทศศรีลังกา เทวรูปพระลักษมีสำริด ศิลปะโจฬะ อินเดียใต้ พระลักษมี (ลกฺษฺมี) หรือ พระมหาลักษมี เป็นเทพีในศาสนาฮินดู โดยเป็นเทพีแห่งความร่ำรวย โชคชะตา ความรัก ความงาม ดอกบัว และความอุดมสมบูรณ์ รูปเคารพของพระแม่ลักษมีนั้นนอกจากจะพบในศาสนสถานของศาสนาฮินดูแล้ว ยังพบในศาสนสถานของศาสนาเชนและศาสนาพุทธ ในบางแห่งอีกด้วย พระลักษมีนั้นมีความคล้ายคลึงกันกับเทพีของกรีกองค์หนึ่ง คือเทพีอะโฟร์ดิตี้ โดยที่เทพีทั้งสองนี้ ถือกำเนิดจากมหาสมุทรเหมือนกัน และเป็นตัวแทนของความสวยงามเหมือนกันอีกด้วย นอกจากนั้น พระแม่ลักษมี มีกำเนิดจากฟองน้ำ ในคราวเทวดาและอสูร กวนเกษียรสมุทร น้ำอมฤต จึงได้นามว่า ชลธิชา (เกิดแต่น้ำ) หรือ กษีราพธิตนยา (พระธิดาแห่งพระสมุทร) ในขณะที่ผุดขึ้นมานั้นนั่งมาในดอกบัวและมือถือดอกบัวด้วย จึงมีอีกนามหนึ่งว่า ปัทมา หรือ กมลา แต่ในคัมภีร์วิษณุปุราณะจะกล่าวไว้ว่า พระแม่ลักษมีเป็นธิดาของพระฤๅษีภฤคุกับนางขยาติ และยังกล่าวต่อไปอีกว่าพระแม่ลักษมีเป็นมารดา พระกามเทพ ด้วย พระแม่ลักษมี ผู้ศรัทธาจะถือกันว่าเป็น เทพนารีผู้อำนวยโชค มีน้ำพระทัยเมตตาปราณีอยู่เป็นนิจ เป็นตัวอย่างแห่งนางที่งามตลอดทั้งรูปและกิริยามารยาท มีวาจาเปี่ยมด้วยเสน่ห์และไพเราะ ทั้งถือกันว่าเป็นผู้นำมาซึ่งความเจริญทุกประการ นับกันว่าเป็นผู้อุปถัมภ์บรรดาสตรีทุกชั้น ส่วนรูปมักเขียนเป็นสตรีที่งามยิ่งมี 2 กรอย่างธรรมดา (บางแห่งก็ว่ามี 4 กร) สีกายเป็นสีทองเสื้อทรงสีเหลือง นั่งหรือยืนบนดอกบัวและมือถือดอกบัว พระแม่ลักษมี เป็นชายาของ พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ เมื่อพระวิษณุได้อวตารเป็นพระราม พระแม่ลักษมีก็ได้อวตารตามไปเป็นนางสีดา และเมื่อพระวิษณุอวตารเป็นพระกฤษณะ ในปางกฤษณาวตาร พระวิษณุอวตารเป็น พระกฤษณะ พระแม่ลักษมีก็ไปเป็น พระนางรุกมิณี หรือ พระนางราธาเทวี ในปางปรศุรามาวตารก็ไปอวตารเป็น พระแม่ธรณี ในปางวามนาวตารก็อวตารไปเป็น พระนางกมลา เป็นต้น คติความเชื่อถือเกี่ยวกับพระแม่ลักษมีในเมืองไทยอาจเห็นว่า ไม่พบมากนักนอกจากปรากฏในวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ หรือ รามายณะ ที่เสด็จอวตารลงมาเป็นนางสีดาในรามาวตาร ซึ่งเป็นชนวนเหตุของการรบ ระหว่างทศกัณฐ์ กับพระราม นอกจากนั้นก็ไม่พบได้เด่นชัดนัก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระลักษมี · ดูเพิ่มเติม »

พระลักษมณ์พระราม

นักแสดงสวมหัวโขนฝ่ายอสูรพงศ์จากเรื่องพระลักษมณ์พระราม พระลักษมณ์พระราม (ພະລັກພະລາມ, อักขรวิธีเดิม: ພຣະລັກພຣະຣາມ), พระรามชาดก (ພຣະຣາມຊາດົກ) หรือ รามเกียรติ์ (ລາມມະກຽນ, อักขรวิธีเดิม: ຣາມມະກຽນ) เป็นมหากาพย์ลาวที่ดัดแปลงมาจาก รามายณะ ของวาลมีกิ มีความใกล้เคียงกับ ฮิกายัตเซอรีรามา (Hikayat Seri Rama.) อันเป็นรามายณะฉบับมลายู มหากาพย์นี้เคยสูญหายไปพร้อมกับศาสนาฮินดู แต่ภายหลังได้กลับมาอีกครั้งในรูปแบบชาดกของพระพุทธศาสนา ซึ่งเคยแพร่หลายและเป็นที่นิยมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยด้วยเคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านช้าง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระลักษมณ์พระราม · ดูเพิ่มเติม »

พระวราหะ

ประติมากรรมลอยองค์ขนาดใหญ่ของพระวราหะในลักษณะหมูป่าทั้งองค์ ที่ขชุราโห ประเทศอินเดีย พระวราหะ (lord Varaha) หรือ วราหะอวตาร(Varaha avatar) คือเทวดาองค์หนึ่งในศาสนาฮินดู เป็นอวตารของพระวิษณุ โดยปรากฏตามเนื้อเรื่องในคัมภีร์ปุราณะ อุปนิษัท และคัมภีร์อื่น ๆ ในศาสนาฮินดู มีกายเป็นมนุษย์ แต่ศีรษะเป็นหมูป่า หรือปรากฏองค์เป็นหมูป่าทั้งอง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระวราหะ · ดูเพิ่มเติม »

พระวัชรปาณีโพธิสัตว์

ระวัชรปาณีโพธิสัตว์ หมายถึงพระโพธิสัตว์ผู้ถือสายฟ้า หลักฐานฝ่ายบาลีถือว่าเป็นยักษ์ที่คอยคุ้มครองพระพุทธเจ้า ส่วนทางมหายานถือว่าเป็นพระโพธิสัตว์ชั้นสูงองค์หนึ่ง มักปรากฏคู่กับพระมัญชุศรีโพธิสัตว์และพระปัทมปาณิโพธิสัตว์ ความเชื่อเกี่ยวกับพระวัชรปาณิอาจวิวัฒนาการมาจากพระอินทร์ในศาสนาพราหมณ์ที่ถือสายฟ้าเช่นกัน และอาจจะพัฒนามาจากความเชื่อเกี่ยวกับพระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ ชาวพุทธมหายานถือว่าท่านเป็นพระโพธิสัตว์ที่คุ้มครองนาคที่ควบคุมเมฆฝน และนิยมสร้างรูปของท่านไว้ที่ประตูทางเข้าวัดเพื่อขับไล่ความชั่วร้าย พระวัชรปาณีมีชื่อจีนว่ากิมกังผ่อสัก จัดอยู่ในกลุ่มเจ็ดพระมหาโพธิสัตว์ตามความเชื่อของชาวจีน แต่มีความสำคัญน้อยกว่าพระอวโลกิเตศวรและพระกษิติครรภ์โพธิสัตว์มาก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระวัชรปาณีโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวิษณุ

ลปะโจฬะที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินิวเดลี ประเทศอินเดีย. ศิลปะโจฬะที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินิวเดลี ประเทศอินเดีย. พระวิษณุ (विष्णु วิษฺณุ) หรือที่รู้จักกันในพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า พระนารายณ์ (नारायण นารายณ) เป็นหนึ่งในสามตรีมูรติ มีหน้าที่คุ้มครองแลดูแลรักษาทั้ง 3 โลกตามความเชื่อของชาวฮินดู จากคัมภีร์พราหมณ์ รูปร่างลักษณะมีพระวรกายจะมีสีที่เปลี่ยนไปตามยุค ฉลองพระองค์ดั่งกษัตริย์ มีมงกุฎทอง อาภรณ์สีเหลือง มี 4 กร ถือ สังข์ จักรสุทรรศน์ คทาเกาโมทกี แต่ที่จะพบเห็นได้บ่อยที่สุดคือถือ จักร์ สังข์ คทา ส่วนอีกกรจะถือ ดอกบัวบ้าง หรือ ไม่ถืออะไรเลยบ้าง (โดยจะอยู่ในลักษณะ"ประทานพร") โดยปรกติ พระวิษณุ จะทรงประทับอยู่ที่เกษียรสมุทร โดยส่วนมากจะบรรทมอยู่บนหลังพญาอนันตนาคราช โดยมีพระชายาคือพระแม่ลักษมีมหาเทวี คอยฝ้าดูแลปรนิบัติอยู่ข้าง ๆ เสมอ พาหนะของพระวิษณุคือ พญาครุฑ พระวิษณุ มีอีกพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า "หริ" แปลว่าผู้ดูแลแห่งจักรวาลถือเป็นเทพสูงสุด เพราะทุกอย่างเกิดจาก "หริ" โดย"หริ"ได้แบ่งตนเองออกเป็น 3 คือ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระวิษณุ · ดูเพิ่มเติม »

พระวิสุทธิญาณเถร (สมชาย ฐิตวิริโย)

ระวิสุทธิญาณเถร (หลวงปู่สมชาย ฐิตวิริโย) พระกรรมฐาน สายท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ อดีตประธานสงฆ์วัดเขาสุกิม เกิดเมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2468 ณ หมู่บ้านเหล่างิ้ว ตำบลจังหาร อำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระวิสุทธิญาณเถร (สมชาย ฐิตวิริโย) · ดูเพิ่มเติม »

พระศิวะ

ระศิวะ หรือ พระอิศวร (शिव; Shiva) หนึ่งในตรีมูรติ หรือเทพเจ้าสูงสุดสามพระองค์ตามความเชื่อในศาสนาฮินดู (อีกสององค์ ได้แก่ พระพรหม และพระวิษณุ) พระแม่อุมาเทวีประดับโปุรัม ประเทศอินเดีย. พระแม่อุมาเทวีประดับโปุรัม ประเทศอินเดีย. พระศิวะ มีรูปกายเป็นชายหนุ่มร่างกำยำ วรรณะขาว (สีผิวขาว) นุ่งห่มหนังเสือเหมือนฤๅษี มีสังวาล์เป็นลูกประคำหรือกะโหลกมนุษย์ มีงูเห่าคล้องพระศอ ไว้พระเกศายาว ซึ่งจะม้วนเป็นจุฑา (มวยผม) มีพระจันทร์เป็นปิ่น มีคงคาอยู่บนยอดจุฑา ซึ่งพ่นน้ำมาตลอด และมีดวงพระเนตร (ตาที่ 3) กลางพระนลาฏ (หน้าผาก) ซึ่งโดยปกติจะปิดอยู่เสมอ เชื่อว่าหากเปิดขึ้นเมื่อไหร่ ไฟบรรลัยกัลป์จะเผาผลาญล้างโลก (บ้างว่าเป็นพระพรหม) ถือว่าเป็นการสิ้นสุดกัปหนึ่ง ก่อนที่พระพรหมจะสร้างโลกขึ้นมาใหม่ มีพาหนะ คือ โคอุศุภราช (วัวเพศผู้สีขาวล้วน) มีชายา คือ พระอุมา เทพีแห่งความกล้าหาญ มีโอรสสององค์ คือ พระขันทกุมารและพระพิฆเนศ ประทับอยู่ ณ เขาไกรลาส อันเป็นศูนย์กลางแห่งจักรวาล ชายาอีกองค์คือพระแม่คงคา มีธิดาคือพระแม่มนสาเทวีหรือพระยามี พระศิวะเป็นเทพที่จะคอยขับไล่สิ่งชั่วร้ายให้ห่างไกล และทำให้เกิดความดีงามเป็นศิริมงคลเกิดขึ้น ผู้ที่มีความทุกข์ไม่ว่าจะเป็นในทางใด หากบวงสรวงบูชา ขอพรให้พ้นทุกข์ พระศิวะก็จะประทานพรให้ผู้นั้นได้พ้นจากห้วงแห่งความทุกข์ พระศิวะมีท่าร่ายรำอันเป็นการร่ายรำของเทพเจ้า เรียกว่า "ปางนาฏราช" เมื่อแปลงกายลงไปปราบฤๅษีที่ไม่ประพฤติตนอยู่ในเพศดาบส ซึ่งต่อมาชาวฮินดูได้ถือเอาท่าร่ายรำนี้เป็นต้นแบบของการร่ายรำต่าง ๆ มาตราบจนปัจจุบัน นอกจากนี้แล้ว พระศิวะยังถือว่าเป็นเจ้าแห่งผีหรือปีศาจอีกด้วย โดยมีพระนามเรียกว่า "ปีศาจบดี" หรือ "ภูเตศวร" นอกจากนี้แล้วพระอิศวร ยังมีพระนามอื่นอีก เช่น "รุทร", "ศังกร", "ศุลี", "นิลกัณฐ์", "หระ" หรือ "อีสาน" และยังเป็นเทพประจำทิศตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ อีสาน อีกด้วย นอกจากนี้แล้ว ยังเชื่อว่าพระศอของพระศิวะมีสีดำ ทั้งนี้เนื่องจากพระองค์ได้ยาพิษของพญานาคไว้เมื่อครั้งกวนเกษียรสมุทรทำน้ำอมฤตเพื่อช่วยโลก ซึ่งบทหนึ่งในกามนิต-วาสิฏฐี วรรณกรรมอิงพุทธศาสนาได้อ้างถึง สีของความรักว่าเป็นสีดำ เสมือนสีคอพระศิวะ พระศิวะ ที่ประเทศศรีลังกา อันเป็นประเทศที่ศาสนาพราหมณ์ได้เข้ามาเผยแพร่ก่อน ก่อนที่จะกลายมาเป็นศาสนาพุทธเป็นศาสนาหลักอย่างเช่นในปัจจุบัน พระศิวะในความเชื่อของที่นี่จะมีพาหนะเป็นนกยูง และกลายมาเป็นเทพเจ้าที่ทำหน้าที่ปกปักษ์รักษาพุทธศาสน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระศิวะ · ดูเพิ่มเติม »

พระสุรัสวดี

ระสุรัสวตี เทวีอักษรศาสตร์(ตราสัญลักษณ์ประจำคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พระสุรัสวดี หรือ พระสรัสวดี (सरस्वती สรสฺวตี) เป็นเทพสตรีในศาสนาฮินดู ทรงอุปถัมภ์ความรู้, ศิลปะ, ดนตรี, ปัญญา และการเรียนรู้Kinsley, David (1988).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระสุรัสวดี · ดูเพิ่มเติม »

พระอัศวิน

ระอัศวิน (Ashvins, สันสกฤต: अश्विन) เป็นเทพเจ้าตามคติความเชื่อของศาสนาฮินดู พระอัศวินเป็นเทพเจ้าฝาแฝดที่มีศีรษะเป็นม้า และมีร่างกายเป็นมนุษย์ องค์หนึ่งมีพระนามว่า นาสัตยอัศวิน (ความกรุณา) อีกองค์หนึ่งมีพระนามว่า ทัศรอัศวิน (ความรู้แจ้ง) เทียบได้กับเทพเจ้าตามเทพปกรณัมกรีก เช่น โฟบอส และ ดีมอส, ฮิปนอส และ ทานาทอส, แคสเตอร์ และ พอลลักซ์ เป็นต้น พระอัศวินเป็นพระโอรสของพระอาทิตย์ กับนางสัญญา นางสัญญาต้องการจะหนีพระอาทิตย์ไปบวชอยู่ในป่า จึงแปลงร่างเป็นม้าเพศเมีย แต่พระอาทิตย์ก็ยังแปลงร่างเป็นม้าเพศผู้ไปอยู่ด้วยจนเกิดเป็นพระอัศวินขึ้นมา พระอัศวิน เป็นเทพที่ประทานนำทรัพย์ต่าง ๆ มาให้มนุษย์ และยังปกป้องมนุษย์จากภัยอันตรายต่าง ๆ จนถึงโรคภัยไข้เจ็บ เพราะพระอัศวินยังมีหน้าที่เป็นแพทย์สวรรค์ด้วย พระอัศวิน ยังเป็นเทพแห่งแสงสว่าง ทั้งคู่จะขับรถม้านำหน้าราชรถของพระอาทิตย์มาก่อนเวลารุ่งสาง พระอัศวินได้ถูกกล่าวถึงเป็นอย่างมากในคัมภีร์ฤคเวท ซึ่งในคัมภีร์นั้นมีการกล่าวถึงพระนามของพระอัศวินถึง 400 ครั้ง ในมหากาพย์รามายณะ ทวิวิท และ แมนทะ ทหารวานร ของพระรามเป็นบุตรของพระอัศวินทั้งคู่ ในมหากาพย์มหาภารตะ นางมาทรี ชายาของท้าวปาณฑุได้ขอโอรสจากเทพเจ้าทั้งหลาย โดยที่พระนางมีลูกกับพระอัศวินสองคน คือ นกุล (เกิดจากพระนาสัตยอัศวิน) และ สหเทพ (เกิดจากพระทัศรอัศวิน).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระอัศวิน · ดูเพิ่มเติม »

พระอัคนี

ระอัคนี หรือ พระอัคคี หรือ พระเพลิง (สันสกฤต: อคฺนิ, อัคนิ अग्नि) เป็นเทพในศาสนาฮินดู โดยเป็นเทพแห่งไฟ และเป็นเทพประจำทิศตะวันออกเฉียงใต้ (อาคเนย์) พระอัคนีมี ๓ พระรูปทรงได้แก่ อัคนี วิทยุต (สายฟ้า) และดวงอาทิต.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระอัคนี · ดูเพิ่มเติม »

พระอินทราณี

ระอินทราณี (สันสกฤต: इन्द्राणी อังกฤษ: Indrani)หรือ ศจี เป็นเทวสตรี ในศาสนาฮินดู เป็นหนึ่งในคณะเทวีสัปตมาตฤกาทั้ง 7 พระอินทราณีทรงถือกำเนิดจากพลังของพระอินทร์และเทวีศจี ทรงมีลักษณะเหมือนพระอินทร์ เพียงแต่ทรงเป็นสตรีเท่านั้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระอินทราณี · ดูเพิ่มเติม »

พระอินทร์

http://www.school.net.th/library/create-web/10000/literature/10000-5627.html | สถานบำบวงหลัก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระธรณี

วัดท่าสุทธาวาส พระแม่ธรณี หรือ พระศรีวสุนธรา ภาษากะเหรี่ยงว่า ซ่งทะรี่ เป็นเทพีแห่งพื้นแผ่นดิน ปรากฏในตำนานทั้งศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ ในคติของศาสนาฮินดูให้ความเคารพนับถือว่าแผ่นดินเป็นสิ่งค้ำจุนสรรพสิ่งทั้งปวงในโลกเปรียบเสมือนมารดาผู้ให้กำเนิดหล่อเลี้ยงโลกและแผ่นดิน จึงได้รับยกย่องว่าเป็นเทพจากธรรมชาติองค์หนึ่งเป็นเพศหญิง เรียกนามว่า "ธรณิธริตริ" แปลว่า "ผู้ค้ำจุนพระธรณี" แม้จะมิค่อยมีรูปเคารพอย่างแพร่หลายเช่นเทพองค์อื่นแต่ก็มีผู้ให้ความเคารพนับถือเป็นจำนวนมิใช่น้อย เพราะถือกันว่าพระธรณีสถิตย์อยู่ตามที่ต่าง ๆ ทุกหนทุกแห่ง จะทำการบูชาด้วย ข้าว ผลไม้ และนมด้วยการวางไว้บนก้อนหิน หรือประพรมลงบนพื้นดิน บางแห่งใช้เหล้าเป็นการสังเวยก็มี นอกจากนี้ชาวฮินดูยังมีการขอขมาลาโทษเมื่อจะวางเท้าลงบนพื้นดินก่อนจะลุกขึ้นในตอนเช้า วัวหรือควายที่มีลูกก่อนที่จะให้ลูกกินนมครั้งแรก เจ้าของจะปล่อยน้ำนมของแม่วัวลงบนพื้นดินเสียก่อนทุกครั้งไป ถ้าเป็นพวกชาวนาก็จะขอให้พระธรณีช่วยคุ้มครองผืนนาและวัวควาย แม้ในพระเวทก็มีการขอร้องต่อพระธรณีให้ช่วยพิทักษ์คุ้มครองวิญญาณของคนตาย และต่อมาได้นับถือว่าเป็นเทพแห่งไร่นาด้วย ในแคว้นปัญจาบเชื่อกันว่าพระธรณีจะนอนหลับเป็นเวลาหนึ่งสัปดาห์ของทุก ๆ เดือนชาวไร่ชาวนาจะหยุดไม่ทำงานในระยะนี้ เทพแห่งแผ่นดินหรือพระธรณี ไม่ค่อยมีเรื่องราวประวัติความเป็นมาปรากฏมากมายดังเช่นเทพองค์อื่น หรือมีก็สับสน เช่น บางแห่งว่าพระธรณีมีโอรสกับพระนารายณ์องค์หนึ่งคือพระอังคาร บางแห่งว่าพระอังคารเป็นโอรสของพระศิวะกับพระธรณี หรือในคติพราหมณ์พบเพียงว่าเป็นชายาของพระธุรวะหรือดาวเหนือ ในพุทธศาสนา พระแม่ธรณีปรากฏกายเพื่อบีบน้ำจากมวยผมให้ท่วมทัพท้าววสวัตตีที่มาผจญพระโคตมพุทธเจ้าในคืนวันตรัสรู้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระธรณี · ดูเพิ่มเติม »

พระตรีศักติ

ระตรีศักติ หรือ พระแม่ 3 ภพ คือการรวมตัวของมหาเทวีสตรีทั้ง 3 พระองค์ ได้แก่ พระปารวตี (มเหสีแห่งพระศิวะ) พระลักษมี (มเหสีแห่งพระวิษณุ) และพระสุรัสวดี (มเหสีแห่งพระพรหม) เมื่อพระเทวีทั้งสามรวมกันเป็นหนึ่งเดียวกัน จะปรากฏรูปเป็น พระศักติเทวี พระมารดาแห่งจักรวาล เป็นเทวีแห่งการทำลายความชั่วร้ายทั้งหลาย ใครที่บูชาพระศักติเทวี (พระแม่ทั้ง 3) แล้ว ย่อมได้รับพลังอำนาจจากพระปารวตี โชคลาภและความร่ำรวยจากพระลักษมี สติปัญญาและความรอบรู้ในศิลปวิทยาการจากพระสุรัสวตี พระศักติเทวีนั้นประทับอยู่บนสิงโตหรือเสือ อันเป็นสัญลักษณ์แห่งอำนาจและชัยชนะ โดยรูปพระศักติจะมีอวตารในหลายรูปลักษณ์ เช่น พระแม่ทุรคา เพื่อปราบอสูรมหิษาสูร และในรูปนวทุรคา หรือ นวศักติทั้งเก้า ที่เป็นที่มาของเทศกาลนวราตรีอีกด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระตรีศักติ · ดูเพิ่มเติม »

พระปารวตี

ปารวตี (पार्वती Pārvatī) หรือ อุมา (उमा Umā) เป็นเทวดาสตรีในศาสนาฮินดู เป็นเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ ความรัก การอุทิศตน ตลอดจนพลังอำนาจศักดิ์สิทธิ์Suresh Chandra (1998), Encyclopaedia of Hindu Gods and Goddesses,, pp 245-246 ถือกันว่า พระนางเป็นด้านอ่อนโยนและเอาใจใส่ของเทวีศักติ พระนางยังแสดงพระองค์เป็นหลายด้าน เรียกว่า "ปาง" แต่ละปางเป็นที่รู้จักด้วยหลายชื่อหลายเรื่องราวKeller and Ruether (2006), Encyclopedia of Women and Religion in North America, Indiana University Press,, pp 663 พระนาง พร้อมด้วยพระลักษมี เทวีแห่งความมั่งคั่งรุ่งเรือง และพระสรัสวดี เทวีแห่งความรู้ ประกอบกันเป็นองค์สาม (trinity) ของเทวีฮินดู เรียกว่า ตรีเทวี พระนางเป็นพระชายาของพระศิวะ เทพเจ้าผู้ปกปักรักษาสรรพชีวิตและทำลายล้างความชั่วร้ายEdward Balfour,, The Encyclopaedia of India and of Eastern and Southern Asia, pp 153 พระนางเป็นพระธิดาของพระหิมวัต เทพแห่งภูเขา กับพระนางไมนาวติ ผู้เป็นพระชายาH.V. Dehejia, Parvati: Goddess of Love, Mapin,, pp 11 พระนางทรงให้กำเนิดพระคเณศกับพระขันทกุมาร คัมภีร์ปุราณะยังกล่าวว่า พระนางเป็นพระพี่นางหรือน้องนางของพระวิษณุ และของพระคงคาWilliam J. Wilkins,, Hindu Mythology - Vedic and Puranic, Thacker Spink London, pp 295 พระนางกับพระสวามีทรงเป็นเทพศูนย์กลางแห่งไศวนิกาย หรือลัทธิซึ่งถือพระศิวะเป็นใหญ่ ศาสนาฮินดูยังเชื่อว่า พระนางทรงเป็นพลังงานและอำนาจแห่งการสร้างสรรค์ใหม่ของพระสวามี เป็นรากเหง้าของพันธะที่รัดรึงสรรพสิ่งเข้าด้วยกัน และเป็นหนทางแห่งการปลดปล่อยทางจิตวิญญาณในเทวาลัยฮินดูที่สร้างถวายพระนางและพระสวามี มักใช้โยนี (อวัยวะเพศหญิง) เป็นสัญลักษณ์แทนพระนาง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระปารวตี · ดูเพิ่มเติม »

พระนารายณ์

ระนารายณ์บรรมบนหลังพญาอนันตนาคราช ณ เกษียรสมุทร และให้กำเนิดพระพรหม ดูบทความหลักที่ พระวิษณุ พระนารายณ์ (สันสกฤต: नारायण; Narayana; ความหมาย: ผู้ที่ได้เคลื่อนไหวอยู่ในน้ำ) เป็นเทพเจ้าสูงสุดหนึ่งในสามพระองค์ (ตรีมูรติ) ในความเชื่อของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู โดยมากถือว่าเป็นองค์เดียวกันกับพระวิษณุ แต่ทว่าชาวไทยส่วนใหญ่จะคุ้นเคยกับพระนาม พระนารายณ์ มากกว่า เหตุที่มีพระนามแตกต่างกัน เนื่องจากมีบางคัมภีร์ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเล่าว่า เดิมทีมีเทพเจ้าเพียงองค์เดียว คือ พระนารายณ์ ซึ่งเรียกว่าปรพรหม ซึ่งเป็นพระผู้สร้างทุกสรรพสิ่ง เมื่อพระนารายณ์รำพึงถึงการสร้างโลก ก็ทรงคำนึงถึงการปกปักรักษา แต่พระปรพรหมนั้นเป็นอรูปกเทพ คือ ไม่มีตัวตน จึงไม่สามารถที่จะสร้างโลกได้ จึงแบ่งภาคแยกร่างออกมาเป็น พระวิษณุ ซึ่งทรงประทานพระนามให้ และเมื่อพระวิษณุบรรทมหลับในเกษียรสมุทร ก็ทรงสุบินถึงการสร้างทุกสรรพสิ่ง ซึ่งพระวิษณุเป็นเทพผู้สร้างโลก สิ่งมีชีวิต รวมถึงมนุษย์ และที่พระนาภีของพระองค์ก็บังเกิดมีดอกบัวหลวงผุดขึ้นมา และภายในดอกบัวนั้นก็มี พระพรหม ซึ่งเป็นหนึ่งในตรีมูรติอยู่ภายใน ซึ่งพระวิษณุก็เป็นผู้ให้กำเนิดพระพรหมด้วย บางตำราก็กล่าวว่าเดิมมีพระนามว่า วิษณุ หรือ พิษณุ และได้เปลี่ยนเป็น นารายณ์ ในระยะหลัง โดยพระองค์มีสีพระวรกายเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยของโลก ในกฤตยุค ยุคแรกของโลก ยุคที่คุณธรรมความดีของมนุษย์มีเต็มเปี่ยม สีกายพระนารายณ์สีขาว ยุคที่สอง ไตรดายุค ธรรมะและคุณธรรมมนุษย์เหลือสามในสี่ สีกายพระนารายณ์เป็นสีแดง ยุคที่สาม ทวาปรยุค คุณธรรมมนุษย์เหลือครึ่งเดียว สีกายเป็นสีเหลือง ยุคปัจจุบัน เป็นยุคที่สี่ กลียุค คุณธรรมของมนุษย์ลดลงเหลือหนึ่งในสี่ สีกายพระนารายณ์ เปลี่ยนเป็นสีนิลแก่หรือสีดำ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระนารายณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระนารายณ์ราชนิเวศน์

หมู่ตึกพระคลังศุภรัตน์หรือหมู๋ตึกสิบสองท้องพระคลัง พระนารายณ์ราชนิเวศน์ ตั้งอยู่ในเขตตำบลท่าหิน อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี โดยชาวเมืองลพบุรีเรียกกันติดปากว่า "วังนารายณ์" ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระนารายณ์ราชนิเวศน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระนางวสุนธาราโพธิสัตว์

ติพุทธศาสนามหายาน ศิลปะเนปาล พระนางวสุนธาราโพธิสัตว์ (坚牢地神Vasudhārā bodhisattva.)เป็นพระโพธิสัตว์ฝ่ายหญิงตามความเชื่อของพุทธศาสนามหายาน พุทธศาสนาวัชรยานและศาสนาเต๋า โดยนับถือว่าพระโพธิสัตว์พระองค์หนึ่ง โดยตรงกับพระแม่ธรณีในพุทธศาสนาเถรวาทและพระแม่ปฤถวีหรือพระแม่ภูมี ในศาสนาฮินดู ในประเทศจีนและได้รับการนับถือมากและปรากฎร่วมกันในคณะเทพธรรมบาล.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระนางวสุนธาราโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่พรหมาณี

ระแม่พรหมาณี (สันสกฤต: ब्रह्माणी อังกฤษ: Brahmani)หรือพรหมมี เป็นเทวสตรี ในศาสนาฮินดู เป็นหนึ่งในคณะเทวีสัปตมาตฤกาทั้ง 7 พระแม่พรหมมาณีทรงถือกำเนิดจากพลังของพระพรหมและพระสุรัสวดี พระแม่พรหมาณีทรงมีลักษณะเหมือนพระพรหม เพียงแต่ทรงเป็นสตรีเท่านั้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระแม่พรหมาณี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่ภวานี

ระแม่ภวานี (สันสกฤษ: भवानी Bhavani) เป็นเทวสตรีใน ศาสนาฮินดู ซึ่งถึงว่าเป็นภาคหนึ่งของ พระแม่อุมาเทวี คำว่า ภวานี หมายถึง "คนที่มอบชีวิต" หรือ พลังอำนาจของธรรมชาติหรือแหล่งที่มาของพลังงานความคิดสร้างสรร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระแม่ภวานี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่ภูมี

ระแม่ภูมี (भूमि; Bhūmi) หรือ พระแม่ภู เป็นพระเทวีแห่งโลก ปรากฏในตำนานทั้งศาสนาพราหมณ์-ศาสนาฮินดู ในฐานะชายาองค์ที่สองของพระวิษณุ ซึ่งเป็นธิดาองค์ที่3ของท้าวหิมวัตและพระนางเมนกา แล้วยังเป็นพี่น้องกับพระแม่คงคาและพระแม่อุมาเทวีอีกด้วย โดยคล้ายกับความเชื่อเรื่องพระแม่ธรณีในศาสนาพุท.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระแม่ภูมี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มาเหศวรี

ระแม่มเหศวรี(माहेस्वरीMaheshvari)เป็นเทวีในศาสนาฮินดูองค์หนึ่งในคณะของพระแม่สัปตมาตฤกา โดยถือว่าเป็นพลังของพระอิศวรและพระอุมาเทวี ในศาสนาฮินดูและยังปรากฏเทวรูปในประเทศไทยที่ประเทศไทยเทวสถานโบสถ์พราหมณ์ กรุงเทพมหานครโดยประดิษฐานในบุษบกขนาบข้างร่วมกับเทวรูปพระนารายณ์และเทวรูปพระลักษมี ในหอพระนารายณ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระแม่มาเหศวรี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มีนากษี

ระแม่มีนากษี (ทมิฬ: மீனாட்சி อังกฤษ: Meenakshi) เป็นเทวสตรี ในศาสนาฮินดู เป็นอวตารปางหนึ่งของพระแม่ปารวตี พระชายาของพระศิวะ เป็นที่นับถือของชาวอินเดียใต้ในแถบเมืองมธุไร รัฐทมิฬนาฑู นอกจากนี้พระแม่มีนากษียังถือเป็นพระเทวีประจำเมืองมธุไร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระแม่มีนากษี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่วัลลี

เทวรูปสัมฤทธิ์ของพระนางเทวเสนา(ซ้าย) พระขันทกุมาร(กลาง) และพระแม่วัลลี(ขวา) จิตรกรรมภาพโดย ราชารวิมา จากซ้าย พระนางเทวเสนา พระขันทกุมาร และพระแม่เทวเสนาขณะประทับเทพพาหนะ พระแม่วัลลี (Valli) เป็นเป็นเทพสตรี ในศาสนาฮินดู เป็นพระชายาองค์ที่สองของ พระขันทกุมาร และมีความเกี่ยวกับตำนานพื้นเมืองของดินแดนกัตรคามในฐานะเทพสตรีผู้มาจากดินแดนนี้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระแม่วัลลี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่ษัษฏี

ระแม่ษัษฏีเทวี(Shashthi)เป็นเทวนารี ในศาสนาฮินดู และปรากฏเฉพาะในอินเดียภาคเหนือเป็นส่วนใหญ่ และทรงเป็นรู้จักและนับถือภาคเหนือของอินเดียและในรัฐเบงกอลตะวันตก ชาวฮินดูและคัมภีร์ในศาสนาฮินดูนั้นถือพระนางทรงเป็นภาคหนึ่งของ พระแม่ปารวตีและพระแม่ทุรคา และทรงมีลักษณะคล้ายคลึงเช่นเดียวกับเทวนารีของอินเดียใต้ คือ พระแม่เทวเสน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระแม่ษัษฏี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่อันนปูรณา

ระแม่อันปูรณา (อักษรเทวนาคิรี:अन्नपूर्णा)เป็นเทวีในศาสนาฮินดู คำว่า อันนา หมายถึง "อาหาร" หรือ "ธัญพืช" และ คำว่า ปูรณา หมายถึง "เต็มรูปแบบที่สมบูรณ์และดี" ดังนั้น คำว่า อันปูรณา จึงหมายถึง ความอุดมสมบูรณ์ในทุกด้านของอาหาร และ ยังถือว่า เป็นภาคหนึ่งของพระศรีมหาอุมาเทวีพระมเหสีของพระศิว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระแม่อันนปูรณา · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่องค์ธรรม

อักษร 母 ''หมู่'' หมายถึง ''''พระแม่องค์ธรรม'''' พระเป็นเจ้าตามความเชื่อของลัทธิเซียนเทียนเต้าและอีก 5 ลัทธิที่แตกแขนงออกมา พระแม่องค์ธรรม (老母 เหลาหมู่)สายทอง (พงศาธรรม ๑), ศุภนิมิต ผู้แปล, กรุงเทพฯ: ส่งเสริมคุณภาพชีวิต, ม.ป.ป., หน้า 9 คือพระเป็นเจ้าตามความเชื่อของลัทธิบัวขาว รวมถึงลัทธิศาสนาต่าง ๆ ในประเทศจีนที่สืบมาจากลัทธินี้ด้วย เช่น ลัทธิเซียนเทียนเต้า ลัทธิอนุตตรธรรม ลัทธิถงซั่นเซ่อ ลัทธิฉือฮุ่ยถัง ลัทธิเทียนเต๋อเซิ่ง และลัทธิเต้าเยวี่ยน, Division of Religion and Philosophy, University of Cumbria, เรียกข้อมูลวันที่ 7 มกราคม..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระแม่องค์ธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่คงคา

ตรกรรมถอดแบบจากจิตรกรรมโบราณของอินเดียภาคเหนือ ของพระแม่คงคาทรงเทววาหนะมกร พระแม่คงคา เป็นพระเทวีองค์หนึ่งในคติของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู โดยเป็นพระเทวีแห่งแม่น้ำคงคาซึ่งไหลลงมาจากเทือกเขาหิมาลัยและได้รับการนับถือจากชาวฮินดูเพราะเชื่อกันว่าถ้าใครได้ลงอาบแม่น้ำคงคาถือว่าเป็นการชำระล้างบาปออกไปจากตัวอีกด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระแม่คงคา · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่ตริปุรสุนทรี

พระแม่ตรีปุระสุนทรี (สันสกฤต: त्रिपुरा सुंदरी) หรือ พระแม่ลลิตาเทวี เป็นเทวสตรี ในศาสนาฮินดู เป็น ๑ ใน ๑๐ ของพระแม่ทศมหาวิทยา โดยพระแม่ตรีปุระสุนทรียังทรงเป็นพระเทวีผู้อำนาจที่สุดในพระแม่ทศมหาวิทยาเพราะมีพลังวิทยาของพระเทวีในกลุ่มทศมหาวิทยาทั้งหมดมารวมอยู่ในพลังวิทยาของพระแม่ตรีปุระสุนทรีเพียงพระองค์เดียว พระแม่ตรีปุระสุนทรีอีกรูปลักษณ์หนึ่ง พระแม่ตรีปุระสุนทรีทรงมีลักษณะเป็นหญิงสาวอายุ ๑๖ ปี ทรงมีพระเกศาสีดำพร้อมกับมีกลิ่นดอกอโศก, จำปา และปันนาค โดยพระแม่ทรงกำเนิดขึ้นมาเพื่อปราบอสูรนามว่าภันทาสูรที่ออกอาละวาดทั้งสามโลกในยามนั้น และทรงชุบชีวิตพระกามเทพซึ่งโดนพระศิวะเปิดพระเนตรที่สามเผากลายเป็นเถ้าธุลี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระแม่ตริปุรสุนทรี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่ฉินนมัสตา

พระแม่ฉินนมัสตา (สันสกฤต: छिन्नमस्ता) เป็นเทวสตรี ในศาสนาฮินดู เป็นพระเทวี ๑ ใน ๑๐ ของพระแม่ทศมหาวิทยา พระแม่ฉินนมัสตาถือว่าทรงเป็นแหล่งพลังของถิตถีเพศทั้งปวง นอกจากนี้พระแม่ฉินนมัสตาทรงเป็นที่นับถือของชาวทิเบตอีกด้วย หมวดหมู่:เทวีในศาสนาฮินดู.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระแม่ฉินนมัสตา · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่ปฤถวี

ระแม่ปฤถวี (Prithvi) เป็นเทวีแห่งโลก ปรากฏในตำนานศาสนาพราหมณ์-ศาสนาฮินดู ปัจจุบันรู้จักในนามพระแม่ภูมี ซึ่งเป็นชายาองค์ที่สองของพระวิษณุ และคล้ายกับความเชื่อเรื่องพระแม่ธรณีในศาสนาพุท.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระแม่ปฤถวี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่นวทุรคา

ระแม่นวทุรคา (नवदुर्गा) เป็นการอวตารทั้งหมดทั้ง 9 ปางของพระแม่ทุรคา หรือ พระแม่อุมาในศาสนาฮินดู และเป็นที่มาของเทศกาลนวราตรีอีกด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระแม่นวทุรคา · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่เกามารี

ระแม่เกามารี (สันสกฤต: कौमारी อังกฤษ: Kaumari) เป็นเทวสตรี ในศาสนาฮินดู เป็นหนึ่งในคณะเทวีสัปตมาตฤกาทั้ง 7 พระแม่เกามารีทรงถือกำเนิดจากพลังของพระขันทกุมารกับพระแม่เทวเสนาและพระแม่วัลลี บางตำนานก็ว่าเป็นองค์เดียวกับพระแม่เทวเสน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระแม่เกามารี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่เทวเสนา

ทวรูปสัมฤทธิ์ของพระนางเทวเสนา(ซ้าย) พระขันทกุมาร(กลาง) และพระแม่วัลลี(ขวา) จิตรกรรมภาพโดย ราชารวิมา จากซ้าย พระนางเทวเสนา พระขันทกุมาร และพระแม่เทวเสนาขณะประทับเทพพาหนะ พระแม่เทวเสนา (Devasena) หรือ พระนางเทวยานี เป็นเป็นเทพสตรี ในศาสนาฮินดู เป็นพระชายาองค์แรกของ พระขันทกุมาร และมีความเกี่ยวข้องหรือเป็นองค์เดียวกับพระแม่ษัษฏีเทพสตรี ผู้ทรงวิฬาร์เป็นเทพพาหน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระแม่เทวเสนา · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่เปะริยาจจิ

ระแม่เปะริยาจจิ (பெரியாச்சி; Periyachi) เป็นเทวนารี ในศาสนาฮินดู เป็นเทวีท้องถิ่นที่มีต้นกำเนิดจากอินเดียภาคใต้ ในรัฐทมิฬนาฑูทรงมีลักษณะความสัมพันธ์คล้ายคลึงกับพระแม่กาลีและพระแม่สัษสีเทวีเป็นผู้ดูแลเด็กและมีความเกี่ยวข้องกับการคลอดบุตรและการตั้งครรภ์ พระเปะริยาจจิทรงเป็นที่รู้จักและนิยมบูชาของชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดูในประเทศสิงคโปร์ และประเทศมาเลเซีย สำหรับในประเทศไทยมีการประดิษฐานเทวรูปพระเปะริยาจจิในวัดพระศรีมหาอุมาเทวีในฝั่งเทพพื้นเมืองท้องถิ่นของอินเดียใต้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระแม่เปะริยาจจิ · ดูเพิ่มเติม »

พระโหราธิบดี

ระโหราธิบดี เป็นบุคคลสำคัญท่านหนึ่งในแวดวงวรรณกรรมในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แต่ทั้งนี้ "พระโหราธิบดี" มิใช่ชื่อบุคคล แต่เป็นตำแหน่งและบรรดาศักดิ์ พระโหราธิบดี เป็นตำแหน่งอธิบดีแห่งโหร หรือโหรหลวงประจำราชสำนัก อีกทั้งยังเป็นผู้ควบคุมหรือเป็นหัวหน้าการประกอบพิธีการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับศาสนาพราหมณ์อีกด้วย ซึ่งต้องเป็นบุคคลที่เป็นผู้รู้หนังสือรวมถึงรอบรู้สรรพวิทยาต่าง ๆ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่า พระโหราธิบดีท่านนี้เป็นชาวเมืองพิจิตร นับถือกันว่าทำนายแม่นยำ เคยทายจำนวนหนูที่สมเด็จพระเจ้าปราสาททองครอบไว้อย่างถูกต้อง และเคยทายว่าไฟจะไหม้ในพระราชวังในสามวันสมเด็จพระเจ้าปราสาททองทรงเชื่อจึงเสด็จไปอยู่นอกวังและปรากฏเป็นจริงดังทำนายเกิดฟ้าผ่าต้องหลังคาพระมหาปราสาททำให้ไฟไหม้ลามไปเป็นอันมาจริง ๆ พระโหราธิบดีเป็นที่รู้จักกันในฐานะของการเป็นผู้ประพันธ์ จินดามณี ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระโหราธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

พระโคตมพุทธเจ้า

ระโคตมพุทธเจ้า มีพระนามเดิมในภาษาบาลีว่า สิทธัตถะ โคตมะ หรือในภาษาสันสกฤตว่า สิทฺธารฺถ เคาตมะ (อ่านว่า /สิดทาด —/) (เทวนาครี: सिद्धार्थ गौतम) เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบัน ผู้เป็นศาสดาของศาสนาพุทธ สาวกของพระองค์ไม่นิยมออกพระนามโดยตรง แต่เรียกตามพระสมัญญาว่า "ภควา" (พระผู้มีพระภาคเจ้า) คัมภีร์พุทธศาสนาทั้งนิกายเถรวาทและนิกายมหายานบันทึกตรงกันว่า พระโคตมพุทธเจ้าทรงดำรงพระชนมชีพอยู่ระหว่าง 80 ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงเริ่มพุทธศักราชซึ่งเป็นวันปรินิพพาน ตรงกับ 543 ปี ก่อนคริสตกาลตามตำราไทยซึ่งอ้างอิงปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินจันทรคติไทย และตรงกับ 483 ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล พระโคตมพุทธเจ้าเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายาแห่งศากยวงศ์ โคตมโคตร อันเป็นราชสกุลวงศ์ที่ปกครองกรุงกบิลพัสดุ์มาช้านาน ก่อนออกผนวชทรงดำรงพระอิสสริยยศเป็นรัชทายาท เมื่อเสด็จออกผนวชและบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระพุทธเจ้าแล้ว ทรงได้รับการถวายพระนามต่าง ๆ อาทิ พระศากยมุนี, พระพุทธโคดม, พระโคดมพุทธเจ้า ฯลฯ แต่ทรงเรียกพระองค์เองว่า ตถาคต แปลว่า พระผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือ ทรงปฏิญาณว่า ทรงพ้นจากทุกข์ทั้งปวง สำเร็จแล้วซึ่งอรหัตผล.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระโคตมพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระไวโรจนพุทธะ

ระไวโรจนพุทธะราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 219เป็นพระธยานิพุทธะ 1 ใน 5 องค์ ของนิกายวัชรยาน ทรงเป็นประธานของพระพุทธะทั้ง 5 หมายถึงปัญญาอันสูงสุด ตราประจำพระองค์เป็นธรรมจักร หมายถึง ความเป็นหนึ่ง พระกายเป็นแสงสว่าง มักแทนด้วยสีขาว ตำแหน่งในพุทธมณฑลจะอยู่ตรงกลางโดยมีพุทธะอีก 4 องค์ห้อมล้อม พระโพธิสัตว์ในกลุ่มของท่านที่สำคัญมี 2 องค์ คือ พระสมันตภัทรโพธิสัตว์ และพระมัญชุศรีโพธิสัตว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระไวโรจนพุทธะ · ดูเพิ่มเติม »

พระไตรปิฎกภาษาบาลี

ปรากฏพระพุทธดำรัสในมหาปรินิพพานสูตรว่า "เมื่อทรงปรินิพานไปแล้ว พระธรรมวินัยที่ได้ทรงสั่งสอนไว้แล้ว จักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย"พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปรินิพพานสูตร. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. ออนไลน์. เข้าถึงได้จากhttp://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระไตรปิฎกภาษาบาลี · ดูเพิ่มเติม »

พระเวท

ระเวท คัมภีร์ในศาสนาฮินดู หน้าหนึ่งจากอาถรรพเวท พระเวท (वेद) โดยทั่วไปถือว่าเป็นคัมภีร์ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู หากกล่าวโดยเฉพาะลงไป หมายถึง บทสวดต่างๆ ที่เกี่ยวกับความเชื่อของชาวอินโดอารยัน หรืออาจเรียกได้ว่าศาสนาพราหมณ์ฮินดู โดยมีการรวบรวมเป็นหมวดหมู่ในชั้นหลัง คำว่า “เวท” นั้น หมายถึง ความรู้ มาจากธาตุ “วิทฺ” (กริยา รู้) คัมภีร์พระเวท ประกอบด้วยคัมภีร์ 4 เล่ม ได้แก่ ฤคเวทใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้า สามเวทใช้สำหรับสวดในพิธีกรรมถวายน้ำโสมแก่พระอินทร์และขับกล่อมเทพเจ้า ยชุรเวทว่าด้วยระเบียบวิธีในการประกอบพิธีบูชายัญและบวงสรวงต่างๆ และ อาถรรพเวท ใช้เป็นที่รวบรวมคาถาอาคมหรือเวทมนตร์ นักประวัติศาสตร์จำนวนมาก ถือว่า พระเวท เป็นส่วนที่เก่าที่สุดที่เหลืออยู่ สำหรับส่วนที่ใหม่สุดของพระเวท น่าจะมีอายุราวพุทธกาล และส่วนที่เก่าสุด ราว 1,000 ปีก่อนพุทธกาล แต่นักภารตวิทยาเชื่อว่า เนื้อหาของคัมภีร์เหล่านี้น่าจะได้มีการท่องจำกันมาก่อนการบันทึกเป็นเวลานานมากแล้ว ซึ่งมีหลักฐานจากลักษณะทางภาษา และปริบททางสังคมต่าง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระเวท · ดูเพิ่มเติม »

พระเวทโพธิสัตว์

ระเวทโพธิสัตว์ เป็นเทพธรรมบาลผู้ปกป้องพุทธศาสนาตามความเชื่อของชาวพุทธมหายานในจีน ตรงกับพระขันธกุมารของศาสนาฮินดู มีหน้าที่กำราบผู้จะทำให้ศาสนาเสื่อมเสีย คอยดูแลวัดวาอารามต่างๆ ลักษณะของพระองค์จะแต่งกายแบบนักรบจีน ในมือถือคทา โดยในสมัยโบราณ ผู้เดินทางที่จะไปค้างคืนตามวัดจะสังเกตรูปปั้นของพระเวทโพธิสัตว์ในวัดว่าถือคทาอย่างไร ถ้าถือไว้ในมือหรือประนมมือแสดงว่าอนุญาตให้เข้าพักได้ แต่ถ้าถือจรดพื้นแสดงว่าไม่อนุญาตให้เข้าพัก ในคัมภีร์ปัจจุบันสมัยภัทรกัลป์สหัสพุทธนามสูตร ได้ระบุว่าพระเวทโพธิสัตว์จะมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าองค์สุดท้ายในกัปป์ปัจจุบันคือภัทรกัปปป์ มีพระนามเมื่อตรัสรู้แล้วว่า พระรุจิพุทธเจ้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระเวทโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจดีย์คิริวีหระ

วัดคิรีวีหาระ (Kiri Vehera) หรือ วัดคิรีวีหาระ เป็นวัดู่เจดีย์ู่ในศาสนาพุทธ ที่ตั้งอยู่ในเขตกัตรคาม ประเทศศรีลังกา สร้างขึ้นคู่วัดกัตรคามในศาสนาฮินดู.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระเจดีย์คิริวีหระ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช

ระเจ้าศรีธรรมาโศกราช เป็นปฐมกษัตริย์เป็นต้นราชวงศ์ปทุมวงศ์ แห่งอาณาจักรตามพรลิงค์ เป็นผู้สร้างเมืองนครศรีธรรมราช จากชุมชนเดิมซึ่งมีชื่อเรียกว่า ตามพรลิงก์ บนหาดทรายแก้ว (บริเวณตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราชในปัจจุบัน) เมื่อปลายพุทธศตวรรษที่ 17 จนกลายเป็นนครรัฐหรือเป็นอาณาจักรใหญ่ในคาบสมุทรไทย ก่อนที่จะเข้ารวมอยู่ในราชอาณาจักรไทย สมัยกรุงศรีอยุธยาในต้นพุทธศตวรรษที่ 20 พระนามกษัตริย์ พระองค์นี้ ปรากฏอยู่ในหลักฐานประวัติศาสตร์ท้องถิ่นหลายชิ้น เช่น ตำนานเมืองนครศรีธรรมราช และจารึกดงแม่นางเมือง (จารึกหลักที่ 35).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าสูรยวรรมันที่ 1

ูรยวรรมันที่ 1 เอกสารไทยบางทีว่า สุริยวรมันที่ 1 (សូរ្យវរ្ម័នទី១ สูรฺยวรฺมันที ๑; Suryavarman I; ? – ค.ศ. 1050) สิ้นพระชนม์แล้วได้พระนามว่า นิพพานบท (និវ្វានបទ นิวฺวานบท) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งจักรวรรดิเขมร เสวยราชย์ตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระเจ้าสูรยวรรมันที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าสูรยวรรมันที่ 2

ูรยวรรมันที่ 2 เอกสารไทยบางทีว่า สุริยวรมันที่ 2 (សូរ្យវរ្ម័នទី២ สูรฺยวรฺมันที ๒; Suryavarman II) สิ้นพระชนม์แล้วได้พระนามว่า บรมวิษณุโลก (បរមវិឝ្ណុលោក บรมวิศฺณุโลก) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งจักรวรรดิเขมร เสวยราชย์ตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระเจ้าสูรยวรรมันที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2

ระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 พระมหากษัตริย์แห่ง จักรวรรดิขแมร์ ครองสิริราชสมบัติตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 2

ระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 2 (Chandragupta II, สันสกฤต: चन्द्रगुप्त विक्रमादित्य) เป็นพระมหาจักรพรรดิพระองค์ที่ 3 แห่งจักรวรรดิคุปตะ ผู้ครองกรุงปาตลีบุตร กรุงอุชเชนี และอนุทวีปอินเดียในราวปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโปรส

ปรส หรือ โปรัส (पोरस Porasa) หรือ ปุรูวาส (पुरूवास Purūvāsa) เป็นกษัตริย์แห่งเปารพ (Pauravas) ซึ่งมีดินแดนอยู่ในอนุทวีปอินเดียกินอาณาบริเวณระหว่างแม่น้ำเฌลัมกับแม่น้ำจนาพ ท้องที่ซึ่งปัจจุบันคือปัญจาบ โปรสกระทำศึกกับอเล็กซานเดอร์มหาราชในยุทธการที่ไฮดัสเปส (Battle of the Hydaspes) ซึ่งเชื่อว่า ปัจจุบันคือเมือง Mong ในปากีสถาน เอกสารกรีกระบุว่า อเล็กซานเดอร์ประทับใจในโปรสมาก เมื่ออเล็กซานเดอร์ปราบโปรสได้แล้ว ก็โปรดให้โปรสครองบัลลังก์ดังเดิม แต่ในฐานะเจ้าประเทศราช เรียก เซแทร็ป (satrap) ทั้งโปรดให้โปรสมีอำนาจเหนือดินแดนทางตะวันออกเฉียงใต้ขยายไปจนถึงแม่น้ำบีอาส เมื่ออเล็กซานเดอร์ถูกลอบปลงพระชนม์ใน 323 ปีก่อนคริสตกาล แล้วโปรสก็ถูก ยูดีมัส (Eudemus) นายทหารคนหนึ่งของอเล็กซานเดอร์ ลอบสังหารในระหว่าง 321 ถึง 315 ปีก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระเจ้าโปรส · ดูเพิ่มเติม »

พระเป็นเจ้า

ระนามพระยาห์เวห์ในภาษาฮีบรู พระเป็นเจ้า (God) หมายถึง เทวดาผู้เป็นใหญ่ ถือเป็นเทวดาเพียงพระองค์เดียวตามความเชื่อแบบเอกเทวนิยม หรือเป็นเทวดาผู้เป็นสารัตถะเดียวของเอกภพตามความเชื่อแบบพหุเทวนิยมSwinburne, R.G. "God" in Honderich, Ted.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพระเป็นเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พราหมณ์

ราหมณ์ (อักษรเทวนาครี: ब्राह्मण) เป็นวรรณะหนึ่งในแนวคิดศาสนาพราหมณ์-ฮินดู นอกจากนี้ยังมีชื่อเรียกอื่นๆ เช่น วิปฺระ, ทฺวิช, ทฺวิโชตฺตมะ หรือ ภูสร เป็นต้น พราหมณนั้นเป็นวรรณะหนึ่งในสี่วรรณะของสังคมอินเดีย เป็นผู้สืบทอดวิชาความรู้ ในคัมภีร์ ไตรเวทพิธีกรรม จารีต ประเพณี ศิลปะวัฒนธรรม และคติความเชื่อต่าง ๆ ให้สืบทอดต่อไป หรือไม่สืบทอดก็ได้โดยใช้ชีวิตตามปกติชนคนธรรมดาทั่วไป คงไว้ให้ผู้ใดในตระกูลสืบทอดแทน เป็นผู้มีสิทธิ์เลือก แบ่งแยกเป็นนิกายคือ พวกไศวนิกาย จะถือเพศ นุ่งขาว ห่มขาว ไว้มวยผม ถือศีล จริยาวัตรของพราหมณ์ มีครอบครัวได้ อยู่บ้าน หรือ เทวะสถาน ประจำลัทธิ นิกายแห่งตน อีกนิกายหนึ่งคือ ไวษณวะนิกาย จะไว้ผมเปียหรือมวยผม ถือเพศพรหมจรรย์ กินมังสวิรัติ ไม่ถูกต้องตัวสตรีเพศ นุ่งห่มสีขาว หรือสีต่าง ๆตามวรรณะนิกาย และอาศัยอยูในเทวสถาน ในการบวชเป็นพราหมณ์หลวง จะต้องได้รับความยินยอมจากที่ประชุมพราหมณ์ ในทำเนียบพราหมณ์หลวง โดยผู้บวชจะนำของมาถวายพราหมณ์ผู้ใหญ่ แล้วพราหมณ์ผู้ใหญ่จะมอบสายสิญจน์รับพราหมณ์ใหม่ หรือทวิชาติ ซึ่งหมายถึงการเกิดครั้งที่ 2 ซึ่งการบวชพราหมณ์ไม่ได้มีกฎปฏิบัติจำนวนมากเหมือนกับการบวชพระ โดยถือศีล 5 เป็นศีลปฏิบัติ สามารถแต่งกายสุภาพเหมือนผู้ชายทั่วไปในเวลาปกติ และสวมเครื่องแบบเป็นเสื้อราชปะแตนและโจงกระเบนสีขาวในยามประกอบพิธีกรรม รวมถึงสามารถมีภรรยาเพื่อมีทายาทสืบตระกูลพราหมณ์ต่อไปได้ กระนั้นก็ยังมีข้อห้ามบางประการที่พราหมณ์ไม่สามารถทำได้ อาทิ ห้ามรับประทานเนื้อวัว ปลาไหล และงูต่างๆ ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นบริวารของเทพในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และห้ามตัดแต่งผม ต้องไว้ผมยาวแล้วมุ่นเป็นมวยไว้ที่ท้ายทอย เพราะตามหลักศาสนาเชื่อว่าบริเวณดังกล่าวเป็นที่อยู่ของเทวดา สำหรับกิจประจำวันที่พราหมณ์ต้องทำ คือนมัสการพระอาทิตย์ตามเวลาเช้า กลางวัน เย็น เพื่อเป็นการนำจิตวิญญาณกลับไปสู่พรหม กล่าวคือ การไหว้พระอาทิตย์จะนำแสงสว่างให้เกิดในปัญญานำไปสู่การหลุดพ้น และจะมีการสาธยายพระเวท ซึ่งถือเป็นคัมภีร์หลักในศาสนาพราหมณ์ ประกอบด้วย ฤคเวท ใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้า สามเวท ใช้สำหรับสวดในพิธีกรรมถวายน้ำโสมแก่พระอินทร์และขับกล่อมเทพเจ้า ยชุรเวท ว่าด้วยระเบียบวิธีในการประกอบพิธีบูชายัญและบวงสรวงต่างๆ และ อาถรรพเวท ใช้เป็นที่รวบรวมคาถาอาคมหรือเวทมนตร์ ปฏิบัติต่อเทพด้วยความศรัทธา ปัจจุบันพราหมณ์หลวงจะเข้าไปเกี่ยวข้องกับ พระราชพิธีต่างๆ ของพระมหากษัตริย์ ในการอัญเชิญพระผู้เป็นเจ้าและทวยเทพตามความเชื่อของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู มาเป็นสักขีในการกระทำพิธีนั้นๆ เพื่อความเป็นสิริมงคลแด่องค์พระมหากษัตริย์ ราชบัลลังก์ และบ้านเมือง โดยงานพระราชพิธีจะแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ งานประจำปี ได้แก่ งานเฉลิมพระชนมพรรษา วันฉัตรมงคล วันพืชมงคล การเปลี่ยนเครื่องทรงพระแก้วมรกต เป็นต้น และงานตามวาระ อาทิ พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เมื่อปีที่แล้ว เป็นต้น หน้าที่ของพราหมณ์หลวงคือการรักษาวัฒนธรรมในการประกอบพระราชพิธีถวายตามโอกาสต่างๆ แต่ก็สามารถรับประกอบพิธีอื่นๆ ที่นอกเหนือจากงานพระราชพิธีได้ เรียกว่า รัฐพิธี เป็นงานที่ถูกเชิญมาจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น วางศิลาฤกษ์ ยกเสาเอก งานวันเกิด งานตัดจุก ตั้งศาลพระภูมิ ซึ่งจะมีเงินทักษิณามอบให้พราหมณ์ตามศรัทธา ทั้งนี้ ปัจจุบันมีตระกูลพราหมณ์ที่ปฏิบัติหน้าที่ถวายงานพระราชพิธี หรือที่เรียกกันว่า พราหมณ์หลวง ซึ่งสืบสายมาจากบรรพบุรุษทั้งสิ้น 7 ตระกูล ได้แก่ สยมภพ โกมลเวทิน นาคะเวทิน วุฒิพราหมณ์ ภวังคนันท์ รัตนพราหมณ์ และรังสิพราหมณกุล.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พราหโมสมาช

ทเพนทรนาถ ฐากุร ผู้ก่อตั้งพราหโมสมาช พราหโมสมาช (Brahmo Samaj; ব্রাহ্ম সমাজ Bramho Shômaj) หมายถึงสมาคมเพื่อการบูชาพระเจ้าอย่างแท้จริง เป็นสมาคมของผู้นับถือศาสนาฮินดู จัดตั้งขึ้นที่กัลกัตตาเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพราหโมสมาช · ดูเพิ่มเติม »

พหุเทวนิยม

ทพอียิปต์ พหุเทวนิยม (polytheism) เป็นการบูชาหรือความเชื่อในพระเป็นเจ้าหรือเทพเจ้าหลายองค์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 427 ถือเป็นเทวนิยมแบบหนึ่ง ซึ่งตรงข้ามกับเอกเทวนิยมที่เชื่อในพระเป็นเจ้าองค์เดียว ผู้ที่เชื่อแบบพหุเทวนิยมไม่ได้บูชาเทพเจ้าทุกองค์เสมอกัน แต่อาจบูชาเฉพาะองค์ใดองค์หนึ่งเป็นพิเศษก็ได้ (เรียกว่าอติเทวนิยม) ศาสนาประเภทพหุเทวนิยม เช่น พหุเทวนิยมกรีกและโรมัน เทพปกรฌัมสลาฟ ศาสนาฮินดู ศาสนาชินโต ศาสนาพื้นบ้านจีน ลัทธิเต๋า เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพหุเทวนิยม · ดูเพิ่มเติม »

พัสเทว ปันเฑ

ัสเทว ปันเฑ (Basdeo Panday, เกิด 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1933) นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 ของตรินิแดดและโตเบโก ดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพัสเทว ปันเฑ · ดูเพิ่มเติม »

พาราณสี

ราณสี (Bārāṇasī พาราณสี; वाराणसी, Vārāṇasī วาราณสี) เป็นเมืองหลวงของแคว้นกาสี (Kingdom of Kashi) ในสมัยพุทธกาล ปัจจุบันตั้งอยู่ในรัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย ห่างจากลัคเนาซึ่งเป็นเมืองหลวงของอุตตรประเทศเป็นระยะทาง 320 กิโลเมตร พาราณสีมีแม่น้ำคงคาไหลผ่าน เป็นเมืองที่ศักดิสิทธิ์ที่สุดหนึ่งในเจ็ดเมืองศักดิสิทธิ์ (สัปดาปุริ, Sapta Puri) ในความเชื่อของศาสนาฮินดูและศาสนาเชน พาราณสีมีประวัติความเป็นมายาวนานกว่า 4,000 ปี เป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศอินเดียและยังจัดเป็นเมืองที่มีผู้อยู่อาศัยต่อเนื่องยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์โลกด้วย ถือว่าเป็นสุทธาวาสที่สถิตแห่งศิวเทพ ถือว่าเป็นเมืองอมตะของอินเดียและเป็นที่แสวงบุญทั้งของชาวฮินดูและชาวพุทธทั่วโลก ครั้งสมัยอาณานิคม เมืองนี้มีชื่อว่า เบนาเรส (Benares) พาราณสียังเป็นเมืองที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาในหลายด้าน โดยมีอาณาเขตครอบคลุมถึงป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาแก่พระปัญจวัคคีย์ ซึ่งปัจจุบันเรียกว่า สารน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพาราณสี · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา

ัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ตั้งอยู่บริเวณวัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร ทางทิศตะวันออก ถนนรักษ์นรกิจ ตำบลเวียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยพระครูโสภณเจตสิการาม(เอี่ยม) เป็นผู้เริ่มก่อตั้ง เมื่อ พ.ศ. 2478 ต่อมาปี พ.ศ. 2493 พระครูอินทปัญญาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ) เป็นผู้เริ่มก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์ถาวรแห่งแรกให้แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2495 ต่อมากรมศิลปากรได้งบประมาณสร้างอาคารหลังที่ 2 ในปี พ.ศ. 2499 ซึ่งก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2500 หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2524 ได้ปรับปรุงขยายต่อเติมอาคารหลังแรก จัดทำครุภัณฑ์ปรับปรุงการจัดแสดงใหม่ให้ได้มาตรฐานสากล และทำพิธีเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา เป็นทางการครั้งแรกเมื่อ วันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2525.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา · ดูเพิ่มเติม »

พุทธาวตาร

ภาพพุทธาวตารจากหนังสือส่งเสริมการอ่านระดับมัธยมศึกษาเรื่อง เงาะป่า นารายณ์สิบปาง พระนลคำหลวง วาดโดย สามารถ สุขสาธุ พุทธาวตาร เป็นอวตารปางที่ ๙ ของพระวิษณุซึ่งอวตารเป็นพระพุทธเจ้าตามความเชื่อของชาวฮินดู ซึ่งเรื่องราวเกี่ยวกับอวตารปางนี้มีปรากฏในคัมภีร์มัตสยปุราณะ อัคนิปุราณะ ภาควัตปุราณะ และภวิษยปุราณะ ส่วนสาเหตุแห่งการอวตารเป็นพระพุทธเจ้ามีระบุว่า พระวิษณุทรงอวตารลงมาเป็นพระพุทธเจ้าเพื่อหลอกลวงชนที่ชั่วร้าย ทั้งอสูร แทตย์ ทานพ ฯลฯ เพื่อให้หลงเชื่อในสิ่งที่ผิดและจะได้รับผลร้ายแห่งมิจฉาทิฐินั้น ซึ่งผู้แต่งเรื่องราวของพุทธาวตารเป็นพราหมณ์มีชื่อว่าศังกราจารย์ส่วนสาเหตุที่แต่งเพราะเพื่อดึงชาวพุทธเสื่อมศรัทธาในพระพุทธศาสนากลับมานับถือศาสนาฮินดูอีกครั้ง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพุทธาวตาร · ดูเพิ่มเติม »

พุทธคยา

ทธคยา (บาลี: พุทฺธคยา, อังกฤษ: Bodh Gaya, Mahabodhi Temple, बोधगया) คือคำเรียกกลุ่มพุทธสถานสำคัญใน อำเภอคยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นพุทธสถานที่มีความสำคัญที่สุด 1 ใน 4 แห่ง ของชาวพุทธ เนื่องจากเป็นที่ตั้งของสถานที่ตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พุทธสังเวชนียสถานที่มีความสำคัญที่สุดของชาวพุทธทั่วโลก ปัจจุบันบริเวณพุทธศาสนสถานอันเป็นที่ตั้งของสถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วัดมหาโพธิ อยู่ในความดูแลของคณะกรรมการร่วม พุทธ-ฮินดู พุทธคยา ปัจจุบันตั้งอยู่ด้านตะวันตกของแม่น้ำเนรัญชรา ไกลจากฝั่งแม่น้ำประมาณ 350 เมตร (นับจากพระแท่นวัชรอาสน์) พุทธคยามีสัญลักษณ์ที่สำคัญคือองค์เจดีย์สี่เหลี่ยมที่สูงใหญ่ โดยสูงถึง 51 เมตร ฐานวัดโดยรอบได้ 121.29 เมตร ล้อมรอบด้วยโบราณวัตถุ โบราณสถานสำคัญ เช่น ต้นพระศรีมหาโพธิ์ พระแท่นวัชรอาสน์ ที่ประทับตรัสรู้ และอนิมิสสเจดีย์ เป็นต้น ซึ่งนอกจากพุทธสถานโบราณแล้ว บริเวณโดยรอบพุทธคยายังเป็นที่ตั้งของวัดพุทธนานาชาติ รวมทั้งวัดไทยคือ วัดไทยพุทธคยา สำหรับชาวพุทธ พุทธคยา นับเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่สำคัญที่สุดของนักแสวงบุญชาวพุทธทั่วโลกที่ต้องการมาสักการะสังเวชนียสถานสำคัญ 1 ใน 4 แห่งของพระพุทธศาสนา โดยในปี พ.ศ. 2545 วัดมหาโพธิ (พุทธคยา) สถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม ขององค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพุทธคยา · ดูเพิ่มเติม »

พี.ซี. โซการ์

ี.ซี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพี.ซี. โซการ์ · ดูเพิ่มเติม »

พ่าเก

วไทพ่าเก เป็นชาวไทกลุ่มหนึ่งที่อพยพมาอาศัยอยู่ที่ประเทศอินเดีย โดยอพยพเข้าทางทิวเขาปาดไก่ ทางตอนเหนือของประเทศพม่าปัจจุบัน ถิ่นเดิมของชาวไทพ่าเกอยู่ที่เมืองเมาหลวง ต่อมาได้ติมตามกษัตริย์อาหมมาอยู่ที่เมืองกอง (โมกอง) บริเวณถ้ำผาใหญ่ และผานั้นเป็นผาอันเก่าแก่มาก จึงได้ชื่อว่า ชาวไทพ่าเก ถึงปี พ.ศ. 2358 จึงอพยพข้ามทิวเขาปาดไก่จึงอพยพสู่เมืองนุนสวนคำ ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่รัฐอรุณาจัลประเทศ ต่อมาถูกน้ำท่วมบ้านเรือนเสียหาย จึงอพยพมาอยู่ริมลำน้ำจิก ครั้งอังกฤษเข้ามาปกครองเมืองนุนสวนคำ จึงย้ายไปอยู่ริมแม่น้ำทิหิงจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและพ่าเก · ดูเพิ่มเติม »

กมลา ประสาท-พิเสสร

กมลา ประสาท-พิเสสร (Kamla Persad-Bissessar, เกิด 22 เมษายน ค.ศ. 1952) อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 7 ของสาธารณรัฐตรินิแดดและโตเบโก และเป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของประเทศ ซึ่งดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกมลา ประสาท-พิเสสร · ดูเพิ่มเติม »

กรมการศาสนา

กรมการศาสนา (Department of Religious Affairs) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม มีหน้าที่การดำเนินงานของรัฐด้านศาสนา โดยการทำนุบำรุงส่งเสริมและให้ความอุปถัมภ์คุ้มครองกิจการศาสนาพุทธและศาสนาอื่นๆ ที่ทางราชการรับรอง (ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาซิกข์) ตลอดจนส่งเสริมพัฒนาความรู้คู่คุณธรรม ส่งเสริมความเข้าใจอันดี และสร้างความสมานฉันท์ระหว่างศาสนิกชนของทุกศาสนา รวมทั้งดำเนินการเพื่อให้คนไทยนำหลักธรรมของศาสนามาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้เป็นคนดีมีคุณธรรม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกรมการศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

กรมประชาสัมพันธ์

กรมประชาสัมพันธ์ เป็นหน่วยงานประชาสัมพันธ์ของรัฐบาลไทย ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เสริมสร้างความเข้าใจ ระหว่างหน่วยงานรัฐกับประชาชน และระหว่างประชาชนกับประชาชนด้วยกัน นอกจากนี้ ยังทำหน้าที่โน้มน้าวชักจูงประชาชน ให้ร่วมมือกับรัฐบาล และหน่วยงานราชการ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกรมประชาสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรมโยธาธิการและผังเมือง

กรมโยธาธิการและผังเมือง (Department of Public Works and Town & Country Planning) เป็นหน่วยงานราชการสังกัดในกระทรวงมหาดไทย ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 จากการรวมกรมโยธาธิการ และกรมการผังเมือง กรมโยธาธิการและผังเมือง มีภารกิจในด้านการผังเมือง การโยธาธิการ การออกแบบก่อสร้างและควบคุมการก่อสร้างอาคาร ดำเนินการและสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาเมือง พื้นที่ และชนบท กำหนดและกำกับดูแลนโยบายการใช้ประโยชน์ที่ดิน การตั้งถิ่นฐานและโครงสร้างพื้นฐาน รวมทั้งการกำหนดคุณภาพ และมาตรฐานการก่อสร้าง ด้านสถาปัตยกรรม วิศวกรรม และการผังเมือง เพื่อให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี เกิดมาตรฐานความปลอดภัย มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย และจัดการสิ่งปลูกสร้างตามระบบการผังเมืองที่ดี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกรมโยธาธิการและผังเมือง · ดูเพิ่มเติม »

กระจุกดาวลูกไก่

กระจุกดาวลูกไก่ หรือ กระจุกดาวไพลยาดีส (Pleiades) หรือวัตถุเมสสิเยร์ M45 หรือ ดาวพี่น้องทั้งเจ็ด เป็นกระจุกดาวเปิดในกลุ่มดาววัว ประกอบด้วยดาวฤกษ์ระดับ B ที่มีประวัติการสังเกตมาตั้งแต่สมัยกลาง นับเป็นหนึ่งในกระจุกดาวที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด และอาจเป็นกระจุกดาวที่มีชื่อเสียงมากที่สุดและสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนด้วยตาเปล่า กระจุกดาวนี้ประกอบด้วยดาวฤกษ์สีน้ำเงินที่มีอายุราว 100 ล้านปี แต่เดิมเคยเชื่อว่าเศษฝุ่นที่ทำให้เกิดการสะท้อนแสงจาง ๆ เรืองรองรอบดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดน่าจะเป็นเศษที่หลงเหลือจากการก่อตัวของกระจุกดาว (จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เนบิวลามายา ตามชื่อดาวมายา) แต่ปัจจุบันเป็นที่ประจักษ์แล้วว่าไม่มีความเกี่ยวข้องกัน เป็นเพียงฝุ่นเมฆในสสารระหว่างดาวที่ดาวฤกษ์กำลังเคลื่อนผ่านเท่านั้น นักดาราศาสตร์คาดการณ์ว่ากระจุกดาวนี้จะมีอายุต่อไปอีกอย่างน้อย 250 ล้านปี หลังจากนั้นก็จะกระจัดกระจายออกไปเนื่องจากปฏิกิริยาแรงโน้มถ่วงที่เกิดจากดาราจักรเพื่อนบ้านใกล้เคียง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกระจุกดาวลูกไก่ · ดูเพิ่มเติม »

กระแซ

กระแซ (Cassay) บ้างเรียก เมเต (Meitei), มีเต (Meetei) หรือ มณิปุรี (Manipuri,, Census of India, 2001 मणिपुरी) เป็นชาติพันธุ์หนึ่งอาศัยอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย และเป็นประชากรส่วนใหญ่ของรัฐมณีปุระ ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่บริเวณที่ราบตอนกลางของรัฐมณีปุระ และยังพบอีกว่ามีจำนวนไม่น้อยอาศัยดินแดนข้างเคียงเช่น รัฐอัสสัม, รัฐเมฆาลัย และรัฐตริปุระ ทั้งยังพบการตั้งถิ่นฐานในประเทศอื่น ๆ ใกล้เคียงคือประเทศบังกลาเทศ และพม่า ชาวกระแซจะใช้ภาษามณีปุระ ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาทิเบต-พม่า ทั้งยังเป็นหนึ่งในยี่สิบสองภาษาราชการของประเทศอินเดียตามรัฐธรรมนูญ..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกระแซ · ดูเพิ่มเติม »

กรณีพิพาทอโยธยา

กรณีพิพาทอโยธยา (Ayodhya dispute; अयोध्या विवाद 'Ayōdhyā Vivād', مسئلۂ ایودھیا 'Masʾala-ē Ayōdhyā') เป็นข้อโต้แยงในเชิงการเมือง ประวัติศาสตร์และศาสนาในเมืองอโยธยา ซึ่งเป็นความขัดแย้งระหว่างผู้นับถือศาสนาฮินดูและอิสลาม ในคัมภีร์อโยธยา มหาตมยา กล่าวว่ามีโบสถ์พระรามอยู่ที่รามโกฏ อันเป็นที่ประสูติของพระราม ชาวฮินดูได้อ้างว่ามีการรื้อถอนโบสถ์พระรามมาสร้างมัสยิดบาบรีเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกรณีพิพาทอโยธยา · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศกัมพูชา

แผนที่ของกลุ่มชาติพันธุ์ในกัมพูชา (พ.ศ. 2515) กลุ่มชาติพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในกัมพูชาคือชาวเขมร สำหรับชนกลุ่มน้อยที่มีมากที่สุดคือชาวเวียดนาม อีกจำนวนหนึ่งเป็นลูกหลานของพ่อค้าชาวจีน และกลุ่มชาติพันธุ์พื้นเมืองเช่นชาวม้ง พนองและไทรวมทั้งกลุ่มอื่นๆที่เรียกชาวเขมรบนหรือแขมร์เลอ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน

ตที่มีผู้พูดกลุ่มภาษาอินโดอารยัน กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน เป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน จากรายงานใน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกลุ่มภาษาอินโด-อารยัน · ดูเพิ่มเติม »

กวนอู

กวนอู เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่อง สามก๊ก ที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เกิดเมื่อวันที่ 24 เดือนมิถุนายน จีนศักราชเอี่ยงฮี ปี พ.ศ. 704 ในรัชกาลฮั่นฮวนเต้ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 12 เดือนกรกฎาคม จีนศักราชเคี่ยงเซ้ง ปี 763 ในรัชกาลฮั่นเหี้ยนเต้ มีชื่อรองว่า "หุนเตี๋ยง" (Yunchang) เป็นชาวอำเภอไก่เหลียง ลักษณะตามคำบรรยายในวรรณกรรมสามก๊ก กวนอูเป็นผู้มีรูปร่างสูงใหญ่ 9 ฟุตจีนหรือประมาณ 6 ศอก ใบหน้าแดงเหมือนผลพุทราสุก นัยน์ตายาวรี คิ้วดั่งหนอนไหม หนวดเครางามถึงอก มีง้าวรูปจันทร์เสี้ยว ยาว 11 ศอก หนัก 82 ชั่ง เป็นอาวุธประจำกายเรียกว่า ง้าวมังกรเขียว หรือง้าวมังกรจันทร์ฉงาย ในจินตนาการของศิลปินมักวาดภาพหรือปั้นภาพให้กวนอูแต่งกายด้วยชุดสีเขียวและมีผ้าโพกศีรษะ กวนอูมีความเชี่ยวชาญและเก่งกาจวิทยายุทธ จงรักภักดี กตัญญูรู้คุณ มีคุณธรรมและซื่อสัตย์เป็นเลิศ ในวัยหนุ่มฉกรรจ์กวนอูได้พลั้งมือฆ่าปลัดอำเภอและน้าชายตายจนต้องหลบหนีการจับกุมกวนอู ตัวละครสำคัญในสามก๊ก, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกวนอู · ดูเพิ่มเติม »

กัล เพนน์

กัล เพนน์ (Kal Penn, कल पेन) เกิดเมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2520 นักแสดงฮอลลีวูด มีชื่อจริงว่า กัลเพน สุเรศ โมที กัล เพนน์ ได้กล่าวว่าเรื่องราวของปู่ย่าตายายของเขาเดินขบวนกับ มหาตมา คานธี สำหรับอินเดียเป็นประเทศที่มีอิทธิพลสำคัญในความสนใจของเขาทางการเมือง ภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงของเขา คือ Harold & Kumar (คู่บ้าฮาป่วน) ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกัล เพนน์ · ดูเพิ่มเติม »

กัลกิ

กัลกี (กัลกะ, กลฺกิ; कल्कि) ในศาสนาฮินดูโบราณ คือมหาอวตารที่ 10 และเป็นมหาอวตารสุดท้ายของพระวิษณุเทพผู้คุ้มครองโลก กัลกีมาสู่โลกระหว่างการสิ้นสุดของกลียุค ชื่อ "กัลกิ" เป็นการอุปมาความเป็นนิรันดรและเวลา ต้นกำเนิดของชื่อนี้อาจจะมาจากคำว่า "กันคา" ซึ่งหมายถึง สิ่งสกปรก หรือ สิ่งโสโครก หรือ ความคดโกง ดังนั้น "กัลกิ" จึงหมายถึง ผู้ทำลายความคดโกง, ผู้ทำลายความเขลา, ผู้ทำลายความสับสนวุ่นวาย หรือ ผู้ทำลายความมืดมน ในศาสนาฮินดู "กัลกยาวตาร" หมายถึง "อวตารแห่งอนาคต" (อนาคตาวตาร) อย่างไรก็ตามมีการแปลความหมายที่แตกต่างออกไปอีก(ซึ่งมีพื้นฐานอยู่บนต้นกำเนิดทางนิรุกติศาสตร์จากภาษาสันสกฤตโบราณซึ่งแตกต่างกันไป โดยรวมถึงการแปลความหมายว่า ม้าขาว ซึ่งเป็นความหมายอย่างง่ายด้วย).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกัลกิ · ดูเพิ่มเติม »

กัวลาลัมเปอร์

กัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur, อักษรยาวี: كوالا لومڤور, ออกเสียงตามภาษามลายูว่า กัวลาลุมปูร์) เป็นเมืองหลวงของประเทศมาเลเซียและเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศด้วย ภายในมาเลเซียเอง กัวลาลัมเปอร์มักจะเรียกย่อ ๆ ว่า KL กัวลาลัมเปอร์เป็นหนึ่งในสามดินแดนสหพันธ์ของมาเลเซีย (Malaysian Federal Territories) ล้อมรอบด้วยรัฐเซอลาโงร์บนชายฝั่งตะวันตกตอนกลางของคาบสมุทรมลายู ฝ่ายบริหารของรัฐบาลมาเลเซียได้ย้ายไปที่เมืองใหม่คือ ปูตราจายา อย่างไรก็ดี พระราชฐานของกษัตริย์ของมาเลเซีย รัฐสภามาเลเซีย และฝ่ายนิติบัญญัติยังคงอยู่ที่กัวลาลัมเปอร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกัวลาลัมเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กัป

กัป หรือ กัลป์ (กปฺป; कल्प กลฺป) หมายถึง ช่วงระยะเวลาอันยาวนานของโลก จนไม่สามารถกำหนดเป็นวัน เดือน หรือปีได้ พบในหลายศาสนา เช่น ศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดู ลัทธิอนุตตรธรรม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกัป · ดูเพิ่มเติม »

กันดั้มดับเบิลโอ

มบิลสูทกันดั้มดับเบิลโอ เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น 1 ในซีรีส์ กันดั้ม เริ่มออกอากาศครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2550 ถึง 29 มีนาคม พ.ศ. 2551 มีความยาวทั้งหมด 25 ตอน และมีกำหนดการที่จะออกอากาศซีซันที่ 2 ต่อ หลังจากเว้นระยะเวลาไปช่วงหนึ่ง ส่วนในประเทศไทย โมบิลสูทกันดั้มดับเบิลโอ วางจำหน่ายในรูปแบบวีซีดี-ดีวีดีลิขสิทธิ์ โดย DEXโดยกันดั้มภาคนี้เป็นกันดั้มภาคสุดท้ายที่ทางDEXจัดจำหน่ายในรูปแบบวีซีดี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกันดั้มดับเบิลโอ · ดูเพิ่มเติม »

กามสูตร

กามสูตร (pronunciation, กามสูตฺร) เป็นคัมภีร์ฮินดูสมัยโบราณ ว่าด้วยเพศศึกษา หรือพฤติกรรมทางเพศของมนุษย์ เขียนโดยวาตสยายน (วาต-สยา-ยะ-นะ) ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นผลงานมาตรฐานว่าด้วยความรักในวรรณคดีสันสกฤต โดยมีชื่อเต็มว่า "วาตฺสฺยายน กาม สูตฺร" (คัมภีร์ว่าด้วยความรักของวาตสยายน) นอกจากนี้ยังมีความสำคัญในด้านสังคมวิทยาและแพทยศาสตร์ ส่วนหนึ่งของคัมภีร์ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธุ์ ส่วนใหญ่ในรูปแบบของร้อยแก้ว "กาม" ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ของเป้าหมายในชีวิตของศาสนาฮินดู แปลว่าความต้องการที่รวมถึงความต้องการทางเพศ ซึ่งถูกบันทึกไว้บนหนังสือเล่มนี้ และคำว่า "สูตร" แปลว่าเส้นที่จัดให้สิ่งต่าง ๆ อยู่ด้วยกัน และสามารถสื่อถึงคติพจน์หรือกฎ หรือการรวบรวมคติพจน์ในรูปแบบของคู่มือ คัมภีร์นี้เหมือนหลักสู่การใช้ชีวิตอย่างมีศีลธรรมและงดงาม โดยกล่าวเกี่ยวกับธรรมชาติของความรัก ชีวิตในครอบครัว และมุมมองอื่น ๆ เกี่ยวกับการใช้ชีวิตบนฐานของสุขารมณ์ ในบางมุมของโลก กามสูตร ถูกตีความหมายเป็นดั่งท่วงท่าการร่วมเพศแบบสร้างสรรค์ ทว่าในความเป็นจริงแล้วมีเพียงแค่ 20% ของกามสูตรเท่านั้นที่กล่าวถึงท่าร่วมเพศ ส่วนที่เหลือนั้นเกี่ยวกับปรัชญาและทฤษฎีของความรัก สิ่งที่จุดประกายความต้องการ สิ่งที่ทำให้ความต้องการคงอยู่ และเมื่อไหร่หรือตอนไหนที่มันดีหรือไม่ดี เชื่อกันว่า กามสูตรถูกเขียนข้ึนระหว่าง 400 ปีก่อนคริสต์ศักราช และ คริสต์ศักราชที่ 200.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกามสูตร · ดูเพิ่มเติม »

กามเทพ

กามเทพ (สันสกฤต: काम देव กามะ เทวะ) เป็นเทพเจ้าในความเชื่อของศาสนาพราหมณ์ฮินดู ถือเป็นเทพเจ้าแห่งความรัก (กาม หมายถึง ความรัก ความปรารถนา) มีขอช้างเป็นอาวุธ ในวรรณคดีไทยเรียกว่า ขอกาม มีพรรณนาไว้ในวรรณคดีไทยสมัยอยุธยา กามเทพของอินเดีย มีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่ อนังคะ (ไร้ตัวตน), กันทรรป, มันมถะ (ผู้กวนหัวใจ), มทนะ (มึนเมา), รติกานตะ (เจ้าแห่งฤดูกาล), ปุษปวาน หรือ กาม ก็มี กามเทพนั้น มักจะบรรยายภาพเป็นชายหนุ่มรูปงาม มีปีก มีอาวุธเป็นคันธรและธนู คันศรนั้นทำมาจากลำอ้อย มีผึ้งตอม และลูกศรประดับด้วยดอกไม้หอม ๕ ชนิด มีสหายเป็นนกดุเหว่า นกแก้ว ผึ้ง ฤดูใบไม้ผลิ และสายลมเอื่อย ทั้งหมดล้วนเป็นสัญลักษณ์ของฤดูใบไม้ผลิ ตามศิวปุราณะ กล่าวว่า กามเทพเป็นโอรสของพระพรหม ตำนานอื่นๆ เช่น สกันธปุราณะ ถือว่ากามเทพเป็นพี่ชายของประสุติ ทั้งสองเป็นโอรสของศตรุป โอรสของพระพรหม แต่ตำนานทั้งหมดเล่าตรงกัน ว่ากามเทพนั้น สมรสกับนางรตี ธิดาของประสุติและทักษะ บางตำนานเชื่อว่ากามเทพยังเคยเป็นอวตารหนึ่งของปรัทยุมนะ โอรสของพระกฤษณะ และนางรุกมิณี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกามเทพ · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน

ตราสัญลักษณ์รายการความจริงวันนี้ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน เป็นการชุมนุมทางการเมือง ที่ผู้บริหารและผู้จัดรายการทางสถานีประชาธิปไตยร่วมกันจัดขึ้น โดยพัฒนามาจากงานครอบครัวความจริงวันนี้สัญจร ที่จัดโดยกลุ่มผู้ดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ เพื่อพบปะกับผู้ชมรายการ รวมถึงย้อนรำลึกถึงบรรยากาศ ในการชุมนุมต่อต้านเผด็จการทหาร ในนามของกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

การรู้เอง

isbn.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและการรู้เอง · ดูเพิ่มเติม »

การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย

ษาบาลี หรือภาษามคธ เป็นภาษาที่จารึกพระไตรปิฎก ด้วยเป็นภาษาที่คนชมพูทวีปในสมัยพุทธกาลนิยมใช้กันทั่วไป จึงเป็นภาษาที่พระพุทธเจ้าใช้เผยแพร่พระพุทธศาสนาในสมัยนั้น หลังจากพุทธปรินิพพานมีการทำปฐมสังคายนา พระเถระได้ตกลงกันใช้ภาษาบาลีสำหรับจดจำพระไตรปิฎก พระสงฆ์สายเถรวาทจึงต้องศึกษาภาษาบาลีให้เข้าใจลึกซึ้งและสามารถเทียบเคียงสอบทานกับพระไตรปิฎกที่เก็บไว้ในสถานที่ต่างกันได้ เพื่อรักษาการแปลความหมายจากพระพุทธพจน์ในพระไตรปิฎกให้ถูกต้องไม่บิดเบือน และหน้าที่นี้ก็เป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ในประเทศไทยเช่นเดียวกันเทวประภาส มากคล้าย เปรียญ..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

การค้าเครื่องเทศ

วามสำคัญทางเศรษฐกิจเส้นทางสายไหมและเส้นทางเครื่องเทศของเส้นทางการค้าไปยังตะวันออกมาถูกปิดโดยจักรวรรดิออตโตมัน ราว ค.ศ. 1453 เมื่อจักรวรรดิไบแซนไทน์และคอนสแตนติโนเปิลล่ม ซึ่งเป็นชนวนที่ทำให้เกิดการแข่งขันกันสำรวจหาเส้นทางการค้าไปยังตะวันออกใหม่ที่เริ่มด้วยการพยายามหาเส้นทางรอบแอฟริกาที่ในที่สุดก็นำไปสู่ยุคแห่งการสำรวจ ภาพแสดงเส้นทางการเดินทางของวัชกู ดา กามาไปยังอินเดีย (เส้นดำ) ผู้เดินทางรอบแอฟริกาคนแรก เส้นทางของเปรู ดา กูวิลยัง (สีส้ม) และอาฟงซู ดี ไปวา (สีน้ำเงิน) เส้นทางซ้อนกันเป็นสีเขียว การค้าเครื่องเทศ คือกิจการทางการพาณิชย์ที่มีต้นตอมาแต่ยุคโบราณที่เป็นการค้าขายสินค้าที่รวมทั้งเครื่องเทศ, สมุนไพร และฝิ่น การวิวัฒนาการของวัฒนธรรมของเอเชียบางส่วนก็มีอิทธิพลมาจากการค้าขายเครื่องเทศ จากนั้นก็ตามด้วยโลกกรีก-โรมันที่ใช้เส้นทางสายเครื่องหอม และเส้นทางสายโรมัน-อินเดียเป็นเส้นทางการค้ามายังตะวันออกFage 1975: 164 เส้นทางสายโรมัน-อินเดียวิวัฒนาการมาจากเทคนิคที่ใช้โดยมหาอำนาจทางการค้าของราชอาณาจักรอัคซูม (ราว 400 ปีก่อนคริสต์ศักราช-จนถึง ค.ศ. 1000 กว่า ๆ) ที่เป็นการริเริ่มการใช้เส้นทางในทะเลแดงมาตั้งแต่ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 1 อัคซูมแบ่งปันความรู้ในการใช้ลมมรสุมในการเดินเรือกับชาวโรมัน (ราว 30-10 ปีก่อนคริสตกาล) และรักษาสัมพันธ์ภาพระหว่างกันอย่างปรองดองมาจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 7 เมื่ออิสลามเรืองอำนาจขึ้น ก็ปิดเส้นทางการค้าทางทะเล และหันมาใช้ขบวนคาราวานในการขนส่งทางบกไปยังอียิปต์และซุเอซ ซึ่งเท่ากับเป็นการตัดความสัมพันธ์ทางการค้าโดยตรงระหว่างยุโรปไปยังอัคซูมและอินเดีย และในที่สุดพ่อค้าอาหรับก็ยึดการขนส่งสินค้าเข้ามาอยู่ในมือของตนเอง โดยการขนส่งสินค้าเข้าทางบริเวณเลแวนต์ไปให้แก่พ่อค้าเวนิสในยุโรปยุโรป การขนส่งด้วยวิธีนี้มายุติลงเมื่อออตโตมันเติร์กมาปิดเส้นทางอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและการค้าเครื่องเทศ · ดูเพิ่มเติม »

การตราสัง

การตราสังศพผู้ประสบภัยคลื่นสึนามิ พ.ศ. 2547 การตราสัง หมายความว่า การมัดศพ หรือการผูกศพให้เป็นเปลาะ ๆ ด้วยด้ายดิบเป็นต้น "ดอยใน" ก็เรียก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและการตราสัง · ดูเพิ่มเติม »

การแปลสิ่งเร้าผิด

งานศิลป์ "Head on a Platter (ศีรษะในจาน)" แสดงที่ศูนย์วิทยาศาสตร์ประจำภาค ในเมืองโภปาล รัฐมัธยประเทศ ประเทศอินเดีย การแปลสิ่งเร้าผิด"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ illusion ว่า "การลวงตา, การแปลสิ่งเร้าผิด, มายา, ภาวะลวงตา" หรือ มายา (illusion) หมายถึงความผิดพลาดหรือความบิดเบือนของการรับรู้ทางประสาทสัมผัส ที่ชี้ให้เห็นถึงวิธีที่สมองจัดระเบียบและแปลผลข้อมูลทางประสาทสัมผัส แม้ว่า การแปลสิ่งเร้าผิดจะบิดเบือนความเป็นจริง แต่ก็เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดกับคนโดยมาก การแปลสิ่งเร้าผิดอาจเกิดขึ้นทางประสาทสัมผัสใดก็ได้ในมนุษย์ แต่ภาพลวงตาเป็นการแปลสิ่งเร้าผิดที่รู้จักกันดีที่สุดและมีความเข้าใจกันมากที่สุด ที่มีความสนใจในภาพลวงตามากก็เพราะว่า การมองเห็นเป็นประสาทสัมผัสที่มีอิทธิพลมากที่สุด ซึ่งเห็นได้ในตัวอย่างเช่น คนที่กำลังดูการพูดดัดเสียง (ventriloquism) ได้ยินเสียงว่ามาจากหุ่นที่อยู่ที่มือของคนพูด เนื่องจากว่า เห็นหุ่นนั้นขยับปากตามเสียงคำพูด (แต่ไม่เห็นคนพูดขยับปาก) การแปลสิ่งเร้าผิดบางอย่างมีเหตุจากข้อสันนิษฐานที่สมองมีเกี่ยวกับความเป็นจริงเมื่อเกิดการรับรู้ ข้อสันนิษฐานเหล่านั้นเกิดขึ้นอาศัยรูปแบบของสิ่งที่รับรู้, ความสามารถในการรับรู้ความลึกและการรับรู้ความเคลื่อนไหว, และความรู้สึกที่เป็นอัตวิสัยว่า วัตถุหรือลักษณะต่าง ๆ ของวัตถุนั้นไม่มีความเปลี่ยนแปลงแม้ความรู้สึกทางประสาทสัมผัสเกี่ยวกับวัตถุนั้นจะได้เปลี่ยนไปแล้ว ส่วนการแปลสิ่งเร้าผิดอื่น ๆ เกิดขึ้นอาศัยความเป็นไปในระบบการรับรู้ภายในร่างกาย หรือองค์ประกอบอื่น ๆ ภายนอกร่างกายในสิ่งแวดล้อม คำว่า การแปลสิ่งเร้าผิด หมายถึงการบิดเบือนความเป็นจริงทางการรับรู้ที่มีลักษณะเฉพาะ โดยที่ไม่เหมือนกับอาการประสาทหลอน (hallucination) ซึ่งเป็นความบิดเบือนความเป็นจริงโดยไม่มีสิ่งเร้า การแปลสิ่งเร้าผิดเป็นการแปลผลความรู้สึก (อาศัยสิ่งเร้า) ที่มีขึ้นจริง ๆ ผิด ยกตัวอย่างเช่น การได้ยินเสียงโดยไม่มีเสียงจริง ๆ ในสิ่งแวดล้อมเป็นอาการประสาทหลอน แต่ว่า การได้ยินเสียงคนในเสียงน้ำที่กำลังไหลอยู่ (หรือในเสียงอื่น ๆ) เป็นการแปลสิ่งเร้าผิด ละครไมม์ ผู้แสดงทำท่าเหมือนกับพิงอะไรอยู่ที่ไม่มีจริง ๆ ละครไมม์เป็นบทการละเล่นลวงตาที่สร้างขึ้นโดยอาศัยการเคลื่อนไหวกาย คือผู้เล่นละครสร้างภาพลวงตาโดยเคลื่อนกายเหมือนกับทำปฏิกิริยากับวัตถุที่ไม่มี ภาพลวงตาเช่นนี้เกิดขึ้นได้อาศัยข้อสันนิษฐานที่ผู้ชมมีเกี่ยวกับความเป็นไปในโลกจริง ๆ บทเล่นที่รู้จักกันดีก็คือ "กำแพง" (คือทำปฏิกิริยากับกำแพงที่ไม่มี) "ปีนขึ้นบันได" "พิง" (ดูรูป) "ปีนลงบันได" และ "ดึงและผลัก".

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและการแปลสิ่งเร้าผิด · ดูเพิ่มเติม »

การเดินทางของพาย พาเทล

การเดินทางของพาย พาเทล (Life of Pi) เป็นนวนิยายผจญภัยแนวแฟนตาซีของ ยานน์ มาร์เทล ผู้เขียนได้รับแรงบันดาลใจจากเพื่อนในวัยเด็กคนหนึ่งซึ่งเคยเดินทางผจญภัยในอินเดีย ตัวเอกของเรื่องนี้ พิสซีน "พาย" โมลิตอร์ พาเทล เด็กชายชาวอินเดียจากเมืองพอนดิเชอร์รี ได้สำรวจประเด็นทางจิตวิญญาณตั้งแต่ในวัยเยาว์ เขามีชีวิตรอดจากเหตุการณ์เรือล่ม โดยอยู่ในเรือชูชีพเป็นเวลา 227 วัน กับเสือโคร่งเบงกอลชื่อ ริชาร์ด พาร์เกอร์ ในน่านน้ำมหาสมุทรแปซิฟิก นวนิยายตีพิมพ์เป็นครั้งแรกในแคนาดาในปีเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและการเดินทางของพาย พาเทล · ดูเพิ่มเติม »

กาลิทาส

กาลิทาส กาลิทาส (कालिदास) เป็นกวีและนักเขียนบทละครภาษาสันสกฤตที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่ง ได้รับการยกย่องเป็นรัตนกวี และกวิกุลคุรุ (ครูใหญ่แห่งกวีทั้งปวง) กาลิทาสเป็นกวีที่นับถือพระศิวะ และได้เขียนบทกวีและบทละครจำนวนมากตามขนบของปกรณัมและปรัชญาฮินดู ชื่อ กาลิทาสนั้น มีความหมายว่า ทาสรับใช้เจ้าแม่กาลี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกาลิทาส · ดูเพิ่มเติม »

กาลี

รูปปั้นนูนสูงของพระแม่กาลีและพระแม่ทุรคาประดับเทวสถานพระแม่จามุนดา ประเทศอินเดีย พระแม่กาลี หรือ กาลิกา (काली, Kālī, แปลว่า หญิงดำ) เป็นปางหนึ่งของพระอุมาเทวี ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู มีกายสีดำสนิท มีลักษณะดุร้าย มี ๑๐ พระกร ถืออาวุธร้ายอยู่ในพระกรทั้งสิบนั้น แลบลิ้นยาวถึงทรวงอก ที่ริมฝีปากมีเลือดไหลหยดเป็นทางยาว เครื่องประดับเป็นหัวกะโหลก มีงูใหญ่ร้อยคาดองค์ดั่งสังวาลย์ พระแม่กาลี หรือ เจ้าแม่กาลี มีอำนาจฤทธิ์ในการปราบปรามสิ่งชั่วร้ายทั้งปวง มีเทวานุภาพอันแรงกล้า สร้างความวิบัติแก่เหล่าอสูรอย่างรุนแรง เด็ดขาด แฝงเร้นไว้ซึ่งความน่ากลัว ผู้บูชาพระแม่กาลีอย่างถูกต้องและเคร่งครัด พระแม่จะประทานความแข็งแกร่ง ความกล้าหาญ และอำนาจเหนือผู้อื่น พระแม่กาลี ยังมีพลังอำนาจในการขจัดคุณไสย ลบล้างไสยเวทย์ด้านมืด หากบุคคลใดถูกกระทำทางไสยศาสตร์ เมื่อผู้นั้นได้สวดบูชาอ้อนวอนต่อพระองค์ท่านแล้ว พระองค์ท่านก็มักให้พร ขจัดสิ่งอาถรรพ์ชั่วร้ายให้มลายหายไป และประทานสิ่งที่เป็นไปได้ยากให้ได้รับอย่างง่ายดาย ผู้ใดกระทำการสวดบูชา สรรเสริญ และถวายเครื่องสังเวยแด่พระแม่กาลีเป็นประจำ พระองค์ท่านจะประทานความปลอดภัยมาสู่ผู้นั้น ทรงดลบันดาลให้เกิดความสันติผาสุกแก่ผู้ครองเรือนทั่วไป คุ้มครองผู้บูชาจากภยันตรายและอุบัติเหตุร้ายแรง พระแม่กาลีทรงมีบุคลิกภาพที่ยากแก่การเข้าใจ มีความลึกลับที่สุดในบรรดาเทพเทวาทั้งปวง พระนางมีความดุดัน เกรี้ยวกราด รูปลักษณ์และอุปนิสัยล้วนเต็มไปด้วยความน่าสะพรึงกลัว แต่พระนางก็จะทำลายเฉพาะอสูร ปีศาจ และมนุษย์ที่กระทำการชั่วร้ายเท่านั้น เนื่องจากพระแม่กาลีก็คือเทพ และเทพก็มักปกป้องคุ้มครองผู้กระทำความดีเช่นเดียวกันทุกพระองค์ ฉะนั้น แม้ผู้ที่บูชาพระแม่อย่างเคร่งครัด แต่เป็นคนที่ไม่ดี มีความคิดที่ชั่วร้าย เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น พระแม่ท่านก็จะทำลายบุคคลผู้นั้นเสียโดยไม่ละเว้น ผู้ที่มีจิตใจไม่มั่นคง กำลังประสบหรือผ่านพ้นจากเหตุการณ์ร้ายแรงทำให้จิตใจอ่อนแอ สามารถกระทำการบูชาพระองค์ เพื่อขอความเข้มแข็ง และเด็ดขาด ผู้ที่เจอคุณไสย และถูกเบียดเบียนจากพลังงานชั่วร้ายหรืออำนาจไม่ดีทั้งจากมนุษย์และอมนุษย์ สามารถขอพระเมตตา จาก พรหมวิหารธรรมของท่าน ขจัดและทำลายให้พินาศสิ้น ผู้ที่ฝันร้าย เจออวมงคล นิมิตอันเป็นเหตุไม่ดี มีประการต่างๆ สามารถกระทำการบูชา ด้วยประทีปสีแดงและดำ ช่วยปัดเป่าให้มลายหายไป ผู้ที่มีโรคร้ายแรง ยากแก่การรักษา สามารถกระทำ ปฏิบัติบูชา อันจะกล่าวภายหลัง เพื่อหาหนทางบรรเทาโรคภัยได้ ผู้ที่ผิดหวังในรัก รักเพศเดียวกัน รักซ้อนรักแทรก สามารถกระทำปฏิบัติบูชาและบูชาเทวรุปประจำองค์ท่านได้เพื่อความสมหวังทั้งปวง นอกจากนั้น ท่านยังเด่นในเรื่อง การให้โชคลาภและยศฐาบันดาศักดิ์ด้วย พระมหาเทวีท่านโปรดปรานการบูชา ด้วยประทีปหรืออัคนี(อารตีไฟ) ปูเทวรุปด้วยผ้าแดงหรือสีดำก้ได้ (สามารถใช้ สีเงินหรือสีขาว เพื่อระลึกถึง พรหมวิหารธรรมของพระองคืได้ด้วย) ตำนานกล่าวว่า พระอุมาซึ่งอยู่ในปางอัมพิกา พระสิริโฉมงดงามเสด็จสู่สนามรบ เมื่อเหล่าอสูรได้เห็นก็พยายามจะได้นางเป็นชายา แต่นางได้ต่อสู้กับเหล่าอสูรด้วยความพิโรธ ในปางพระแม่กาลี จนอสูรทั้งหลายตายจนเกือบหมด เหลือเพียงมาธูอสูร ที่ทรงสังหารอย่างไรก็ไม่ตาย เพราะเคยได้รับพรจากพระศิวะให้มีชีวิตเป็นอมตะ หากเลือดหยดถึงพื้นดินก็จะเกิดเป็นอสูรอีกมากมายไม่สิ้นสุด ร้อนถึงพระศิวะ ทรงประทานวิธีให้พระแม่กาลีดื่มเลือดอสูรทุกครั้งอย่าให้ตกถึงดิน มาธูอสูรจึงถึงแก่ความตาย หลังจากชนะอสูรมาธู พระนางทรงดีพระทัย กระโดดเต้นเพื่อฉลองชัยชนะ แต่ด้วยตบะอันแรงกล้าทำให้เกิดความเดือดร้อน ต่อด้วยโลกธาตุทั้งปวงเมื่อพระนางกระทืบพระบาท พระศิวะจะเข้าห้ามปรามก็เกรงความดุร้ายของพระนาง จึงใช้อุบายทรงทอดพระกายลงบนพื้นที่พระนางจะกระทืบพระบาท เมื่อพระกาลีเห็นพระศิวะที่พื้น ด้วยปางหนึ่งที่เป็นพระปารวตี ซึ่งรักและภักดีในพระศิวะยิ่ง ก็ทรงชะงัก และแลบลิ้นด้วยความขวยเขิน การบูชาพระแม่กาลี ต้องใช้เลือดบริสุทธิ์ ในอดีตมีการใช้หญิงพรหมจารีย์ไปบูชายัญด้วยเลือดจากลำคอ แต่เมื่ออังกฤษเข้าปกครองอินเดีย ได้สั่งห้ามการฆ่าคนเพื่อบูชายัญ ปัจจุบันนี้การบูชาพระแม่กาลีใช้เลือดแพะแทน จากการที่พระแม่กาลีเป็นปางหนึ่งของพระอุมาเทวีที่ดุร้าย มีรูปลักษณ์คล้ายปีศาจและใช้เลือดและชีวิตในการบูชายัญ จึงมีความเข้าใจผิดกันว่า พระแม่กาลีเป็นเทพเจ้าแห่งความชั่วร้าย ในสำนวนภาษาไทยจึงมีคำว่า "กาลี" ซึ่งหมายความว่า สิ่งที่ชั่วร้าย เช่น "กาลีบ้านกาลีเมือง" หมายถึง "สิ่งที่ชั่วร้ายต่อบ้านเมือง" เป็นต้น บ้างก็ว่าเจ้าแม่กาลีเป็นเทพเจ้าที่โจรบูชา แต่แท้ที่จริงแล้ว ถ้าคนไม่ดีบูชาเจ้าแม่กาลี ก็จะมีอันเป็นไปในเร็ววัน วิธีการบูชาเจ้าแม่กาลีจะต้องถวายน้ำ นมและดอกไม้ ผลไม้ และเอกไม้ที่พระแม่โปรดปรานคือ ดอกชบาแดง ผู้บูชาต้องสวดบทบูชาเจ้าแม่กาลีทั้งเช้าเย็นว่า"โอม ศรี มหากาลิกาไย นะมะห์" โอม เจมาตากาลี โอม สตี เยมา ตา กาลี โอม ศรี มหากาลี มาตา นมัช เลือกบทที่ชอบ และคุ้นชิน หรือ ทำสมาธิถวายปรานแก่องค์พระแม่เพื่อเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับพระแม่ ห เจ้าแม่กาลีที่มีชื่อเสียงที่สุดในประเทศไทยคือที่วัดแขก สีลม ผู้ที่ประสบเคราะห์กรรมโดนรังแก สามารถไปไหว้ท่านเพื่อแก้ไขดวงชะตาได้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกาลี · ดูเพิ่มเติม »

กาฮารีงัน

กาฮารีงัน (Kaharingan) คือศาสนาพื้นเมืองของชาวดายะก์บนเกาะบอร์เนียวของประเทศอินโดนีเซีย โดย กาฮารีงัน นั้นมีความหมายว่าพลังแห่งชีวิตและความเชื่อ คือเชื่อในการมีอยู่เทพเจ้า ที่มีเทพเจ้าสูงสุดเพียงพระองค์เดียวตามหลักปรัชญาปัญจศีลของอินโดนีเซียข้อที่หนึ่ง ซึ่งกาฮารีงันเองก็รับอิทธิพลฮินดูจากชวามาช้านานแล้ว รัฐบาลจึงมองว่ากาฮารีงันไม่ใช่ศาสนา หากแต่ถือเป็นเพียงศาสนาฮินดูท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง และอาจเป็นเพราะศาสนาฮินดูเป็นหนึ่งในหกศาสนาที่รัฐบาลอินโดนีเซียให้การยอมรับอย่างเป็นทางการ กาฮารีงันมีเทศกาลที่สำคัญคือเทศกาลตีวะฮ์ (Tiwah) ที่จะมีการบูชายัญควาย วัว หมู และไก่ถวายแด่องค์เทพเจ้า กาฮารีงัน มาจากคำดายะก์เก่าว่า ฮาริง (Haring) แปลว่า "ชีวิต" หรือ "มีชีวิตอยู่" โดยมีสัญลักษณ์ประจำศาสนาคือภาพต้นไม้แห่งชีวิตที่มีกิ่งก้านสาขาและหอก ยอดบนสุดจะมีรูปนกเงือกและดวงอาทิตย์ ที่สองสิ่งหลังนี้เป็นสัญลักษณ์แทนเทพเจ้าสูงสุดคือ รันยิงมาฮาลาลา (Ranying Mahalala) โดยจะมีพ่อหมอที่เรียกว่าบาเลียน (Balian) เป็นผู้นำในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา หรือทำพิธีกรรมไสยศาสตร์อื่น ๆ หากชาวกาฮารีงันถึงแก่มรณกรรมก็จะมีพิธีศพครั้งแรกคือการฝัง ก่อนขุดศพขึ้นมาประกอบพิธีอีกครั้งโดยนำกระดูกมาไว้ในซันดุง (Sandung) ซึ่งเป็นโกศที่มีลักษณะเหมือนศาลพระภูมิตามคติไทย และเชื่อว่าวิญญาณของบรรพชนที่ตายไปจะเป็นผีดีมาปกป้องหมู่บ้านจากภยันตราย ปัจจุบันชาวดายะก์หลายเผ่านิยมเข้ารีตศาสนาคริสต์และอิสลามกันมากขึ้น ผู้ที่นับถือกาฮารีงันก็ลดลงอย่างน่าใจห.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกาฮารีงัน · ดูเพิ่มเติม »

กางเขน

กางเขนแบบที่ง่ายที่สุดเรียกว่ากางเขนละติน หรือ “crux ordinaria” ที่เป็นสัญลักษณ์ของการตรึงพระเยซูที่กางเขนตามความเชื่อในคริสต์ศาสนา กางเขน (Cross) เป็นเครื่องหมายทรงเรขาคณิตที่ประกอบด้วยแกนสองแกนตัดเป็นมุมฉากกัน ตามปกติแล้วแกนจะเป็นแนวตั้งขวางกับแนวนอน แต่ถ้าตัดทแยงกันก็จะเรียกว่ากางเขนไขว้ หรือ กางเขนนักบุญอันดรูว์ กางเขนเป็นสัญลักษณ์ที่เก่าแก่ที่สุดที่ใช้โดยมนุษย์ และใช้เป็นสัญลักษณ์ศาสนาหลายศาสนาที่รวมทั้งคริสต์ศาสนา กางเขนบ่อยครั้งจะเป็นสัญลักษณ์ของธาตุหลักทั้ง 4 ของโลก (เชวาลิเย์, ค.ศ. 1997) หรืออีกความหมายหนึ่งคือความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของเทพที่เป็นแกนตั้งและโลกที่คือแกนนอน (คอค, ค.ศ. 1955).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกางเขน · ดูเพิ่มเติม »

กุมารี

นี ศากยะ อดีตกุมารีของเมืองภัคตปุระ กุมารี (เนปาล: कुमारी; Kumari) คือเทพธิดาผู้มีชีวิตจริงของชาวเนปาล ที่เชื่อว่าเป็นปางหนึ่งของเทวีทาเลจู ซึ่งเป็นปางหนึ่งของเทวีทุรคา ศักติ (ชายา) ของพระศิวะ ซึ่งเป็นหนึ่งในตรีมูรติ (เทพผู้ยิ่งใหญ่ 3 องค์) ที่ดุร้ายเหมือนเทวีกาลี มาจุติเกิด มาจากการสรรหาจากเด็กหญิงจากวรรณะล่าง และเป็นที่เคารพของผู้นับถือศาสนาฮินดู จนกระทั่งเทวีทุรคามาออกจากร่าง ซึ่งจะนับเมื่อเด็กหญิงผู้นั้นมีประจำเดือน หรือได้รับบาดแผลจนมีเลือดออกจากร่างกายเป็นจำนวนมาก โดยความเชื่อเรื่องกุมารี เป็นการผสมผสมานกันระหว่างความเชื่อในศาสนาฮินดูและพุทธศาสนาแบบธิเบตหรือวัชรยานในท้องถิ่น มีความเชื่อกระจายทั่วไปในอนุทวีปอินเดีย เช่น อัสสัม, ทมิฬนาฑู, เบงกอล, แคชเมียร์ แต่ที่ได้รับความนิยมและเชื่อถือมากที่สุด คือ เนปาลหน้า 44-57, เทพเจ้าผู้มีลมหายใจแห่งเนปาล โดย อิซาเบลลา ทรี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาในประเทศกัมพูชา

วชนกัมพูชากำลังเล่นฟุตบอล กัมพูชามีความเกี่ยวข้องกับกีฬามากว่า 30 ปี มีกีฬาที่เป็นที่นิยมคือฟุตบอล และศิลปะป้องกันตัว ได้แก่ ปกกอโตหรือกระบี่กระบอง ประดัลเสรี และมวยปล้ำกัมพูชาที่นิยมไปทั่วประเท.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกีฬาในประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

กตรคาม

กัตรคาม (කතරගම; கதிர்காமம்; Kataragama) เป็นเมืองหนึ่งในประเทศศรีลังกา ถือเมืองศักดิ์สิทธิ์ของชาวพุทธและชาวฮินดูในประเทศศรีลังกา เป็นที่ตั้งของกตรคามเทวาลัยที่มีชื่อเสียงและมีตำนานพื้นเมืองเกี่ยวกับของประเทศศรีลังกา ซึ่งสร้างอุทิศให้แก่พระขันธกุมารและ พระแม่วัลลีในศาสนาฮินดู และมีพระเจดีย์คิริวีหระวัดของศาสนาพุทธ หมวดหมู่:เมืองในประเทศศรีลังกา หมวดหมู่:มรดกโลกในประเทศศรีลังกา.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและกตรคาม · ดูเพิ่มเติม »

ภักตปุระ

ักตปุระ (भक्तपुर bhaktapur) หรือ ภาทคเอา (भादगाउँ bhādgāũ)http://www.nepalandbeyond.com/bhaktapur-durbar-square.html หรือ ขวปะ (ख्वप Khvapa) เป็นหนึ่งในเมืองหลักของประเทศเนปาล ตั้งอยู่ทางตะวันออกของหุบเขากาฐมาณฑุ ถือเป็นเมืองที่มีประวัติความเป็นมายาวนานแห่งหนึ่ง ห่างจากกรุงกาฐมาณฑุ เมืองหลวงของประเทศ 13 กิโลเมตร ในอดีตภักตปุระเป็นหนึ่งในสามอาณาจักรของชาวเนวารแห่งหุบเขากาฐมาณฑุ ปัจจุบันเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สามของหุบเขารองจากกาฐมาณฑุ กับลลิตปุระ และเป็นเมืองหนึ่งที่มีชาวเนวารอาศัยอยู่เป็นส่วนใหญ่ เมืองนี้เป็นที่ตั้งของจัตุรัสภักตปุระดูร์บาร์ (भक्तपुर दरवार क्षेत्र) ซึ่งจัตุรัสดังกล่าวเป็นฉากถ่ายทำภาพยนตร์เรื่อง Little Buddha นำแสดงโดยเคอานู รีฟ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและภักตปุระ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากันนาดา

ษากันนาดา (ಕನ್ನಡ) เป็นภาษากลุ่มดราวิเดียนที่สำคัญภาษาหนึ่ง ใช้พูดทางภาคใต้ของอินเดีย เป็นภาษาราชการของรัฐกรณาฏกะ เขียนด้วยอักษรกันนาดา เช่นเดียวกับภาษาท้องถิ่นอื่น ๆ ในรัฐกรณาฏกะ ได้แก่ ภาษาตูลู ภาษาโกทวะ และภาษากอนกานีที่เขียนด้วยอักษรกันนาดาเช่นกัน ภาษากันนาดาได้รับอิทธิพลด้านคำศัพท์จากภาษาสันสกฤตเช่นเดียวกับภาษากลุ่มดราวิเดียนอื่น ๆ วรรณคดีรุ่นแรก ๆ ที่เขียนด้วยภาษานี้คือ กาวิราชมาร์กา ของกษัตริย์นริปาตุง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและภาษากันนาดา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากงกณี

ษากงกณี(อักษรเทวนาครี: कोंकणी; อักษรกันนาดา:ಕೊಂಕಣಿ; อักษรมาลายาลัม:കൊംകണീ; อักษรโรมัน: Konknni) เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน โดยมีคำศัพท์จากภาษาดราวิเดียนปนอยู่ด้วย ได้รับอิทธิพลจากภาษาอื่นหลายภาษา ทั้งภาษาโปรตุเกส ภาษากันนาดา ภาษามราฐี ภาษาเปอร์เซีย และภาษาอาหรับ มีผู้พูดประมาณ 7.6 ล้านคน http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและภาษากงกณี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามราฐี

ษามราฐี (मराठी) เป็นภาษาหนึ่งในตระกูลอินเดีย-ยุโรป หรืออินโด-ยูโรเปียน (Indo-European) ที่พูดกันในประเทศอินเดีย และใช้เป็นประจำรัฐอย่างเป็นทางการของรัฐมหาราษฏระและรัฐใกล้เคียง โดยใช้อักษรที่เรียกว่า อักษรเทวนาครี นอกจากนี้ภาษามราฐียังเป็นหนึ่งใน 18 ภาษาประจำชาติอย่างเป็นทางการของอินเดียด้วย โดยมีผู้ใช้เกือบร้อยล้านคน เฉพาะในรัฐมหาราษฏระ มีผู้ใช้ภาษามราฐีราว 90 ล้านคน ทั้งยังนับเป็นภาษาหนึ่งที่มีประวัติยาวนาน จารึกภาษามราฐีที่เก่าที่สุด พบครั้งแรกในรัฐกรณาฏกะ เป็นจารึก ของอินเดีย สันนิษฐานจารึกไว้เมื่อประมาณ 1,300 ปีที่แล้ว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและภาษามราฐี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาลายาลัม

ษามาลายาลัมเป็นภาษาราชการของรัฐเกราลาทางภาคใต้ของอินเดีย มีผู้พูดประมาณ 36 ล้านคน และมีผู้พูดในเกาะลักษทวีปด้วย จัดอยู่ในภาษาตระกูลดราวิเดียน ใกล้เคียงกับภาษาทมิฬ เขียนด้วยอักษรมาลายาลัม ภาษามาลายาลัมจัดอยู่ในกลุ่มดราวิเดียนใต้ คาดว่ามีกำเนิดร่วมกับภาษาทมิฬเมื่อราว..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและภาษามาลายาลัม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสันสกฤต

ษาสันสกฤต เป็นภาษาที่รับอิทธิพลมาจากอินเดียและส่งผลมาถึงอาณาจักรในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (संस्कृता वाक्, สํสฺกฺฤตา วากฺ; Sanskrit) เป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน (หรืออินเดีย-ยุโรป) สาขาย่อยอินโด-อิเรเนียน (อินเดีย-อิหร่าน) และอยู่ในกลุ่มย่อยอินโด-อารยัน (อินเดีย-อารยะ) โดยมีระดับวิวัฒนาการในระดับใกล้เคียงกับภาษาละตินและภาษากรีก เป็นต้น โดยทั่วไปถือว่าเป็นภาษาที่ตายแล้ว ทว่ายังมีผู้ใช้ภาษาสันสกฤตอยู่บ้างในแวดวงที่จำกัดในประเทศอินเดีย เช่น หมู่บ้านมัททูร์ ในรัฐกรณาฏกะ โดยมีการคิดคำศัพท์ใหม่ๆ ขึ้นมาด้วย ในศาสนาฮินดูเชื่อว่า ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาสื่อที่เทพเจ้าใช้สื่อสารกับมวลมนุษย์ เพื่อถ่ายทอดความรู้แจ้งและปัญญาญาณแก่เหล่าฤๅษีทั้งหลายแต่ครั้งดึกดำบรร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและภาษาสันสกฤต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหม

ษาอาหม (Ahom language) เป็นหนึ่งในกลุ่มภาษาย่อยไทพายัพ ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มกัม-ไท, เบ-ไท, ไท-แสก อยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได ภาษาอาหมนั้นมีอักษร และถ้อยคำของตนใช้สื่อสารทั้งพูดและเขียนมาอย่างต่อเนื่อง แต่ชาวอาหมในปัจจุบันนั้นหันไปใช้ภาษาอัสสัมซึ่งอยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียนแล้ว อย่างไรก็ตาม ถ้อยคำที่บันทึกจารึกไว้ในคัมภีร์ในบทสวดในพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ก็แสดงให้เห็นว่านักบวชชาวไทอาหมยังใช้ภาษาไทได้อย่างสมบูรณ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและภาษาอาหม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอินโดนีเซีย

ษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia; Indonesian language) เป็นภาษาทางการของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นภาษาที่น่าสังเกตในหลายด้าน เริ่มต้นด้วยการที่ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่พูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง และส่วนน้อยที่พูดเป็นภาษาแม่ในบางนัย ภาษานี้เป็นภาษาที่ค่อนข้างใหม่ เนื่องจากเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2488 และเป็นภาษาที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากเกิดคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น ๆ อยู่ตลอด ชื่อท้องถิ่นของภาษาอินโดนีเซียคือ บาฮาซาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia) และชื่อนี้ก็นำมาใช้ในภาษาอังกฤษในบางโอก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและภาษาอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคอเรีย

ภาษาคอเรีย เป็นภาษาในกลุ่มราชสถาน มีผู้พูดราว 25,000 คนในจังหวัดสินธ์ ประเทศปากีสถาน ผู้พูดส่วนใหญ่นับถือศาสนาฮินดูและใช้ภาษาฮินดีในบทสวด คอเรีย.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและภาษาคอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาม

ภาษาคาม หรือภาษาคามกูรา ภาษากามกูรา เป็นภาษาในกลุ่มทิเบต-พม่าใช้พูดในเขตที่สูงของเนปาลตะวันตกโดยเผ่ามาคัร โดยชนที่อยู่ตามพื้นที่ราบในบริเวณนั้นเป็นผู้พูดภาษาเนปาลหรือพูดภาษาเนปาลและภาษาเนวารี ที่นับถือศาสนาฮินดู บริเวณที่ชนเผ่านี้อาศัยอยู่นั้นเป็นทางผ่านระหว่างทิเบตกับอินเดีย การได้รับอิทธิพลจากอินเดียและทิเบตน้อย ทำให้ภาษาคามยังคงอยู่ได้ คาม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและภาษาคาม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเบงกาลี

ษาเบงกาลี (বাংলা, บังคลา) เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรของประเทศบังคลาเทศ และรัฐเบงกอลตะวันตกในประเทศอินเดีย ที่ติดกับบังคลาเทศ นอกจากนี้ยังมีชุมชนของคนที่พูดภาษาเบงกอลที่ใหญ่พอควรในรัฐอัสสัม (อีกรัฐในอินเดีย ติดกับทั้งรัฐเบงกอลตะวันตกและประเทศบังคลาเทศ) และในประชากรที่อพยพไปทางตะวันตกและตะวันออกกลาง รูปแบบมาตรฐานของภาษานี้เรียกว่า cholit bhaashaa: จลิตภาษา เป็นภาษาย่อยที่พูดกันมากที่สุด มีแบบมาจาก "Calcutta Bengali" (ภาษาเบงกอลที่พูดในเมืองกัลกัตตา) ในประเทศบังกลาเทศ เขียนด้วยอักษรเบงกาลี ในภาษาอังกฤษ Bengali ใช้เรียกทั้งภาษาและคนที่พูดภาษานี้ ในภาษาเบงกาลีเองเรียกภาษาว่า Bangla: บังคลา (বাঙলা), ซึ่งเป็นคำที่เริ่มใช้มากขึ้นในภาษาอังกฤษ ส่วนในภาษาบังคลา ชาวเบงกอลเรียกว่า Bangali: บางกาลี (বাংলা) ถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมเนียมของชาวเบงกาลีเรียกว่า Bengal: เบงกอล ในภาษาอังกฤษ และ Bongo: บองโก Banga: บางกา หรือ Bangla: บังคลา ในภาษาเบงกาลี "Bangadesh: บางกาเทศ" และ "Bangladesh: บังคลาเทศ" เป็นคำที่ใช้เรียกภูมิภาคของชาวเบงกอลก่อนที่จะมีการแยกเป็นสองส่วน คือ เบงกอลตะวันตก (West Bengal หรือ Poshchim Bongo: ปอจิม บองโก หรือ ประจิมบังกา) ซึ่งได้กลายเป็นรัฐของอินเดีย และส่วนตะวันออก (เบงกอลตะวันออก: East Bengal หรือ Purbo Bongo: ปูร์โบ บองโก หรือ บูรพาบังกา) กลายเป็นประเทศบังคลาเทศ เนื่องจากมีผู้ใช้ภาษาเบงกาลีมากกว่า250ล้านคนทั่วโลก ชีค ฮาซินา วาเจด นายกรัฐมนตรีบังกลาเทศ เสนอเมื่อ เดือนกันยายน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและภาษาเบงกาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเขมร

ษาเขมร (ភាសាខ្មែរ ภาสาแขฺมร เพียซา ขฺมะเอ) ซึ่งเป็นภาษาประจำชาติของราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นหนึ่งในภาษาหลักของภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก และได้รับอิทธิพลหลายๆ ประการมาจากภาษาสันสกฤต และภาษาบาลี พอสมควร ซึ่งอิทธิพลเหล่านี้เข้ามาผ่านศาสนาพุทธ และศาสนาฮินดู ในขณะที่อิทธิพลจากภาษาอื่นๆ โดยมากเป็นคำยืม เช่น จากภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม เป็นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาษา และความใกล้ชิดกันในทางภูมิศาสตร์ และภาษาจีนจากการอพยพ ภาษาฝรั่งเศสจากการตกเป็นอาณานิคมช่วงเวลาหนึ่ง และภาษามลายูจากความสัมพันธ์ในอดีตและการที่เคยมีอาณาจักรจามปาในตอนกลางของประเทศเวียดนาม ภาษาเขมรแปลกไปจากภาษาในประเทศเพื่อนบ้าน (ภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม) เนื่องจากไม่มีเสียงวรรณยุกต.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและภาษาเขมร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเตลูกู

ษาเตลูกู (Telugu తెలుగు) อยู่ในตระกูลภาษาดราวิเดียน แต่มีอิทธิพลพอสมควรจากภาษากลุ่มอินโด-อารยันภายใต้ตระกูล อินโด-ยุโรเปียนและเป็นภาษาราชการของรัฐอานธรประเทศ (Andhra Pradesh) ของอินเดีย ภาษาเตลูกูเป็นตระกูลภาษาดราวิเดียนที่มีผู้พูดมากที่สุด เป็นภาษาที่พูดเป็นอันดับ 2 รองจากภาษาฮินดี และเป็นหนึ่งใน 22 ภาษาราชการของอินเดีย เขียนด้วยอักษรเตลูกู ชาวอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 19 เรียกภาษาเตลูกูว่า ภาษาอิตาลีของโลกตะวันออก (Italian of the East) เนื่องจากทุกคำในภาษาเตลูกูลงท้ายด้วยเสียงสระ แต่เชื่อว่านักสำรวจชาวอิตาลี นิกโกเลาะ ดา กอนตี (Niccolò Da Conti) ได้คิดวลีนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 15.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและภาษาเตลูกู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเป็นภาษาถิ่นได้เมื่อมีกองทัพ

ษาเป็นภาษาถิ่นได้เมื่อมีกองทัพ (a language is a dialect with an army and a navy) เป็นสำนวนหนึ่งVictor H. Mair, The Columbia History of Chinese Literature, p. 24: "It has often been facetiously remarked...

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและภาษาเป็นภาษาถิ่นได้เมื่อมีกองทัพ · ดูเพิ่มเติม »

ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วิชามนุษยศาสตร์ เป็น 1 ใน 4 ภาควิชาที่สังกัด คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวคือ ภาควิชามนุษยศาสตร์ ภาควิชาสังคมศาสตร์ ภาควิชาศึกษาศาสตร์ และภาควิชาสังคมและสุขภาพ ผู้บุกเบิกก่อตั้งภาควิชานี้ขึ้นมา คือ ร.ดร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟโบรโม

ูเขาไฟโบรโม ภูเขาไฟโบรโม (Gunung Bromo) ตั้งอยู่ในอุทยานแห่งชาติโบรโมเทงเกอร์เซเมรู เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาเทงเกอร์มาสซีฟ บนเกาะชวาตะวันออก ประเทศอินโดนีเซีย ยอดภูเขาไฟนี้มีความสูง 2,329 เมตร ซึ่งไม่ได้เป็นยอดเขาที่สูงที่สุด แต่เป็นแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมของนักท่องเที่ยว เนื่องจากความสูงไม่มากนัก และเดินทางถึงยอดเขาได้โดยง่าย ชื่อ โบรโม มาจากตัวสะกดในภาษาชวาของคำว่า "พรหม" ซึ่งเป็นพระนามของเทพเจ้าในศาสนาฮินดู ในเดือนธันวาคมของทุกปีจะมีเทศกาล Yadnya Kasada ชนชาวพื้นเมืองจะเดินเท้าขึ้นไปบนปากปล่องภูเขาไฟ และประกอบพิธีเซ่นไหว้เทพเจ้าโดยการโยนอาหาร ดอกไม้ และสัตว์บูชายัญลงในแอ่งภูเขาไฟ ภูเขาไฟโบรโมเป็นภูเขาไฟที่ยังไม่ดับ การปะทุครั้งล่าสุดเกิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและภูเขาไฟโบรโม · ดูเพิ่มเติม »

ภีมราว รามชี อามเพฑกร

อกเตอร์ ภีมราว รามชี อามเพฑกร (भीमराव रामजी आंबेडकर) อดีตรัฐมนตรีกระทรวงแรงงานและกระทรวงยุติธรรมของอินเดีย และเป็นประธานร่างรัฐธรรมนูญของอินเดีย ท่านถูกยกย่องให้เป็น "บิดาแห่งรัฐธรรมนูญอินเดีย" อีกด้วย อามเพฑกร เป็นผู้อุปถัมภพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย และได้เดินร่วม ขบวนกับ มหาตมา คานธี และชวาหระลาล เนห์รู เพื่อเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษ ต่อมาเนห์รูได้เป็นนายกรัฐมนตรีและได้แต่งตั้งให้อามเพฑกร เป็นรัฐมนตรีกระทรวงแรงงานและกระทรวงยุติธรรม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและภีมราว รามชี อามเพฑกร · ดูเพิ่มเติม »

ภควัทคีตา

หนังสือภควัทคีตาฉบับภาษาสันสกฤต คัดลอกสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 พระกฤษณะสำแดงร่างเป็นพระนารายณ์ ขณะสอนอนุศาสน์ภควัทคีตาแก่อรชุน ภควัทคีตา (สันสกฤต: भगवद्गीता, อ่านว่า "พะ-คะ-วัด-คี-ตา") เป็นชื่อคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาฮินดู โดยเฉพาะสำหรับนิกายไวษณพหรือผู้ที่ยกย่องพระวิษณุ (พระนารายณ์) เป็นพระเจ้าสูงสุด ชื่อคัมภีร์ ภควัทคีตา (ภควตฺ + คีตา) แปลว่า "บทเพลง (หรือลำนำ) แห่งพระผู้เป็นเจ้า" นำเรื่องราวส่วนหนึ่งมาจากมหากาพย์มหาภารตะ ประกอบด้วยบทกวี 700 บท.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและภควัทคีตา · ดูเพิ่มเติม »

ภควา

วา (भगवा) หรือ ภควานฺ (भगवान्) เป็นสมัญญาของพระเจ้าในศาสนาแบบอินเดีย โดยพุทธศาสนิกชนใช้คำนี้หมายถึงพระพุทธเจ้า ชาวฮินดูลัทธิไวษณพใช้หมายถึงองค์อวตารของพระวิษณุ (เช่น พระกฤษณะ) ลัทธิไศวะใช้หมายถึงพระศิวะJames Lochtefeld (2000), "Bhagavan", The Illustrated Encyclopedia of Hinduism, Vol.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและภควา · ดูเพิ่มเติม »

มกร

ระแม่คงคาทรงมกรเป็นพาหนะ มกร (/มะ-กอน/ หรือ /มะ-กะ-ระ/) หรือ เบญจลักษณ์ เป็นสัตว์ตามความเชื่อของพม่า ล้านนา สยาม และเขมร เรียกอีกอย่างว่า ตัวสำรอก เนื่องจากในงานศิลปะ มกรมักจะคายหรือสำรอกเอาวัตถุใด ๆ ออกมาทุกครั้ง เช่น มกรคายนาค (พญานาค) ในเทววิทยาฮินดู มกร (मकर) จัดเป็นสัตว์ประหลาดในทะเลชนิดหนึ่ง ปกติมักแสดงอยู่ในรูปของสัตว์ผสม ครึ่งหน้าอาจเป็นสัตว์บกอย่างรูปช้าง, จระเข้ หรือกวาง ครึ่งหลังเป็นรูปสัตว์น้ำ (มักเป็นส่วนหาง) เช่น หางเป็นปลา หรือท่อนหลังเป็นแมวน้ำ บางครั้งอาจปรากฏส่วนหางเป็นรูปนกยูงก็มี มกรจัดเป็นเทพพาหนะสำหรับพระแม่คงคา เทพเจ้าแห่งแม่น้ำคงคา และพระวรุณ เทพแห่งทะเลและสายฝน ทางความเชื่อของล้านนาจะใช้มกรในพิธีขอฝน นอกจากนี้ยังเป็นสัญลักษณ์ที่ปรากฏในธงของพระกามเทพอันมีชื่อว่า "การกะธวัช" อีกด้วย อนึ่ง มกรถูกใช้เป็นสัญลักษณ์ของราศีมกร ซึ่งเป็น 1 ใน 12 ราศีทางโหราศาสตร์ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกันเรียกเป็นมังกรด้วย ตามทางเข้าเทวสถานในศาสนาฮินดูและศาสนาสถานในพุทธศาสนามักทำรูปมกรไว้เป็นอารักษ์ประจำปากทางนั้น ๆ ในภาษาไทย มีการแผลงคำ "มกร" เป็น "มังกร" เพื่อใช้เรียกสัตว์สมมติอันตรงกับคำว่า "Dragon" ในภาษาอังกฤษ หรือ "หลง" (อักษรจีนตัวเต็ม: 龍; อักษรจีนตัวย่อ: 龙; พินอิน: lóng; ฮกเกี้ยน: และแต้จิ๋ว: เล้ง) ในภาษาจีนกลาง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมกร · ดูเพิ่มเติม »

มหากาพย์

มหากาพย์ (Epic poetry) คือ วรรณคดีที่เล่าเรื่องราวของวีรบุรุษหรือวัฒนธรรม มักเป็นเรื่องที่เก่าแก่ มีโครงเรื่องซับซ้อนและยาว ตัวละครมากมาย และได้รับการยกย่อง มหากาพย์โดยมากในเอเชีย จะเป็นการแสดงให้เห็นถึงความเชื่อหรือศาสนาของชาตินั้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมหากาพย์ · ดูเพิ่มเติม »

มหากุมภะ สงครามพญาครุฑ

มหากุมภะ สงครามมหาครุฑ (Maha Kumbh: Ek Rahasaya, Ek Kahani) เป็นละครโทรทัศน์ที่ถ่ายทำเมื่อปี ค.ศ. 2015 นำแสดงโดย สิทธัตถะ นิกัม, ปาวาล ราชพัต ออกอากาศทางช่อง ไบรต์ทีวี ละครเรื่องนี้ออกอากาศทุกวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 21.00 น. - 22.00 น. ต่อจากละครเรื่อง อภินิหาร ฮาติม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมหากุมภะ สงครามพญาครุฑ · ดูเพิ่มเติม »

มหาภารตะ

ียนการรบในมหาภารตะ จากต้นฉบับภาษาสันสกฤต รูปอรชุนทรงราชรถออกศึก มีพระกฤษณะเป็นนายสารถี (ศิลปะอินเดีย สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 - 19) มหาภารตะ (publisher ด้วยมีจำนวนคำ 1.8 ล้านคำ นับว่ายาวกว่ามหากาพย์อีเลียด หรือมหากาพย์โอดิสซี ของกรีกโบราณจุดประกาย 4 บันเทิง, Ranclamoozhan จากบทกวีสู่หนังอินเดียที่ 'แพง' ที่สุด. "โลกนี้มีมายา" โดย ลีนาร์. กรุงเทพธุรกิจปีที่ 29 ฉบับที่ 10441: วันจันทร์ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2560 มีเนื้อหาซับซ้อน เล่าเรื่องอันยืดยาวที่เกี่ยวข้องกับเทพปกรณัม การสงคราม และหลักปรัชญาของอินเดีย ทั้งนี้ยังมีเรื่องย่อย ๆ แทรกอยู่มากมาย ซี่งหลายเรื่องก็เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีในเมืองไทย เช่น ภควัทคีตา ศกุนตลา สาวิตรี พระนล กฤษณาสอนน้อง อนิรุทธ์ เป็นต้น ทั้งนี้ ยังถือว่าเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ที่สำคัญของศาสนาฮินดูด้วย นอกจากนี้ มหาภารตะนี้ยังสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีชีวิต ศาสนา การเมือง ศิลปะหลายแขนง ประวัติความเป็นมาของวงศ์ตระกูลต่าง ๆ ในเรื่อง และธรรมเนียมประเพณีการรบการสงครามของอินเดียยุคโบราณด้วย มหาภารตะ เป็น เรื่องราวความขัดแย้ง ของ พี่น้องสองตระกูล ระหว่าง ตระกูลเการพ และตระกูลปาณฑพ ซึ่งทั้งสองตระกูลต่างก็สืบเชื้อสายมาจากท้าวภรต แห่ง กรุงหัสตินาปุระ จนบานปลายไปสู่ มหาสงครามที่ทุ่งกุรุเกษตร ซึ่งมีพันธมิตร ของแต่ละฝ่ายเข้าร่วมรบด้วยเป็นจำนวนมาก กล่าวกันว่านี่คือการต่อสู้ระหว่าง ฝ่ายธรรมะ และฝ่ายอธรรม ความดี และความชั่ว ซึ่งในที่สุดแล้ว ฝ่ายปาณฑพก็เป็นผู้ชนะในสงครามครั้งนี้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมหาภารตะ · ดูเพิ่มเติม »

มหาศิวราตรี

มหาศิวราตรี (อักษรละติน: Mahā Shivarātri; อักษรเทวนาครี: महाशिवरात्रि) คือวันสำคัญทางศาสนาของศาสนาฮินดู ศิวราตรี แปลว่า ราตรีหรือค่ำคืนแห่ง (การบูชา) พระศิวะ ศิวราตรีเป็นเทศกาลสำคัญยิ่งวันหนึ่งในรอบปีของชาวฮินดู โดยพิธีศิวราตรีจะจัดขึ้นในช่วงเดือน 3 ตามปฏิทินจันทรคติของไทย หรือเดือนมาฆะ (ตามปฏิทินของฮินดู) คือพิธีนี้จะอยู่ในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ถึงต้นเดือนมีนาคมของทุกปี โดยวันสำคัญที่สุดของเทศกาลนี้อยู่ในคืนวันเพ็ญ (ศุกลปักษ์) เดือน 3 โดยชาวฮินดูจะประกอบพิธีบูชาพระศิวะเจ้าด้วยพิธีกรรมต่าง ๆ ตลอดทั้งวันทั้งคืน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมหาศิวราตรี · ดูเพิ่มเติม »

มหาตมา คานธี

มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1876 มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1900 มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1915 มหาตมา คานธี (Mahatma Gandhi) มีชื่อเต็มว่า โมหันทาส กะรัมจันท คานธี (મોહનદાસ કરમચંદ ગાંધી; Mohandas Karamchand Gandhi) เป็นผู้นำและนักการเมืองที่มีชื่อเสียงชาวอินเดียและศาสนาฮินดู.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมหาตมา คานธี · ดูเพิ่มเติม »

มหานิกาย

มหานิกาย เป็นคำเรียกนิกาย หรือคณะของพระสงฆ์ไทยสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทย เป็นฝ่ายคันถธุระ เดิมนั้น คำเรียกแบ่งแยกพระสงฆ์สายเถรวาทในประเทศไทยออกเป็นมหานิกายและธรรมยุติกนิกายยังไม่มี เนื่องจากคณะพระสงฆ์ไทยในสมัยโบราณ ก่อนหน้าที่จะมีการจัดตั้งคณะธรรมยุตขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ไม่มีการแบ่งแยกออกเป็นนิกายต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่พระสงฆ์ไทยนั้นล้วนแต่เป็นเถรวาทสายลังกาวงศ์ทั้งสิ้น จนเมื่อพระวชิรญาณเถระ หรือเจ้าฟ้ามงกุฏ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4) ได้ก่อตั้งนิกายธรรมยุตขึ้นในปี พ.ศ. 2376 แยกออกจากคณะพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่เดิมซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในสมัยนั้น จึงทำให้พระองค์คิดคำเรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทยที่เป็นสายเถรวาทลังกาวงศ์เดิมว่า พระส่วนมาก หรือ มหานิกาย ซึ่งคำ มหานิกาย นั้น มาจากธาตุศัพท์ภาษาบาลี มหนฺต + นิกาย แปลว่าพวกมาก กล่าวโดยสรุป มหานิกายก็คือ พระสงฆ์สายเถรวาทลังกาวงศ์ดั้งเดิมในประเทศไทยส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่พระสงฆ์ธรรมยุติกนิก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมหานิกาย · ดูเพิ่มเติม »

มหาเทวี

มหาเทวี มีความหมายตรงตัวว่า เทวีหรือนางกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ และอาจหมายถึง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมหาเทวี · ดูเพิ่มเติม »

มองดอ

มองดอ (Maungdaw) เป็นเมืองหนึ่งในรัฐยะไข่ทางภาคตะวันตกของพม่า มองดอเป็นเมืองที่อยู่ทางตะวันตกสุดของพม่าติดกับชายแดนบังกลาเทศ ห่างจากบูตีต่อง 16 ไมล์ ทั้งสองเมืองแยกออกจากกันด้วยภูเขามายยู และเชื่อมต่อกันด้วยอุโมงค์ที่สร้างเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมองดอ · ดูเพิ่มเติม »

มะตูม

ผลมะตูมผ่าครึ่ง มะตูม มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aegle marmelos ภาคเหนือเรียกว่า มะปิน ภาคใต้เรียกว่า กะทันตาเถร, ตูม และตุ่มตัง ภาคอีสานเรียกว่า หมากตูม ภาษาเขมรเรียกว่า พะโนงค์ ชาวกะเหรี่ยงเรียกว่า มะปีส่า นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมะตูม · ดูเพิ่มเติม »

มัณฑะเลย์

มัณฑะเลย์ (မန္တလေးမြို့ หม่านดะเล้) เป็นอดีตเมืองหลวง และเมืองใหญ่อันดับที่สองของพม่ารองจากนครย่างกุ้ง ตั้งอยู่ในภูมิภาคมัณฑะเลย์ ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำอิรวดี ห่างจากย่างกุ้งไปทางทิศเหนือ 716 กิโลเมตร ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมัณฑะเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียม อุสมานี

มาเรียม อุสมานี เบกุม ซาฮิบา (Mariam uz-Zamani Begum Sahiba, मरियम-उझ-झमानी มริยัม อุฌ ฌมานี) หรืออาจรู้จักในนาม หารกาพาอี หรือ โชธาพาอี (जोधाबाई) พระราชธิดาในราชาภารมัล กุศวาหาแห่งราชวงศ์ราชปุตที่นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู มีพระนามเดิมว่า ราชกุมารี หิระ คุนวารี ต่อมาพระนางได้อภิเษกสมรสกับสมเด็จพระจักรพรรดิอัคบาร์ กษัตริย์แห่งราชวงศ์โมกุลที่นับถือศาสนาอิสลาม และมีพระราชโอรสด้วยกันเพียงพระองค์เดียวคือ สมเด็จพระจักรพรรดิชะฮันคีร์ เรื่องราวความรักของพระองค์ ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคือ โชธา อัคบาร์ นำแสดงโดย ฤติก โรศัน รับบทเป็น อัคบาร์ และไอศวรรยา ราย รับบทเป็น โชธา และภาพยนตร์ดังกล่าวยังได้รับรางวัลต่างๆจำนวนมาก อาทิ รางวัลจากเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติมิมบาของภาพยนตร์มุสลิม ประเทศรัสเซีย เทศกาลภาพยนตร์เซาเปาลูครั้งที่ 32 ประเทศบราซิล เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมาเรียม อุสมานี · ดูเพิ่มเติม »

มาเลเซียเชื้อสายไทย

วมาเลเซียเชื้อสายไทย หรือ ชาวสยาม (นิยมเรียกในมาเลเซีย) เป็นชาวไทยถิ่นใต้ที่อาศัยอยู่พื้นที่แถบนี้มาช้านาน โดยการเข้ามาเรื่อย ๆ พอนานเข้าก็กลายเป็นชนกลุ่มหนึ่งในรัฐไทรบุรี ปะลิส กลันตัน ทางตอนเหนือของรัฐเประก์ และมีจำนวนหนึ่งอาศัยในปีนัง โดยบางส่วนได้ผสมกลมกลืนกับชนพื้นเมืองแถบนี้ด้วย ภายหลังการยกดินแดนส่วนนี้แก่อังกฤษ ชาวไทยกลุ่มนี้จึงเป็นสิ่งตกค้างในประเทศมาเลเซียจนถึงปัจจุบัน แต่ชาวไทยในประเทศมาเลเซียนี้ก็ยังรักษาประเพณีวัฒนธรรมของไทยในอดีตไว้ได้อย่างดี รวมถึงภาษา และศาสนาที่เป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกับชาวมลายูทั่วไป.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมาเลเซียเชื้อสายไทย · ดูเพิ่มเติม »

มุทรา

มุทรา (मुद्रा mudrā) เป็นท่าทางแสดงสัญลักษณ์ทางพิธีกรรมในศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ ส่วนมากเน้นที่ลักษณะมือและนิ้ว มุทราแต่ละท่าจะแฝงนัยความหมายทางจิตวิญญาณแตกต่างกันไปตามประติมานวิทยาและการฝึกจิตที่พบในศาสนาแบบอินเดีย ในพิธีกรรมของลัทธิตันตระมีมุทรากำหนดไว้ถึง 108 ท่า ทางฝ่ายโยคะ การใช้มุทราจะควบคู่ไปกับการฝึกปราณายาม (การควบคุมลมหายใจ) มุทราที่สำคัญได้แก่ ปัทมาสนะ สุขาสนะ และวัชราสนะ ซึ่งแสดงท่านั่งแตกต่างกันไปเพื่อเสริมพลังปราณในร่างก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมุทรา · ดูเพิ่มเติม »

มูควัตร

มูควัตร แปลว่า การปฏิบัติอย่างเป็นใบ้ กล่าวคือ การงดเปล่งวาจา ซึ่งพุทธศาสนาถือว่าเป็น "เดียรถียสมาทาน" หรือข้อวัตรสำหรับนักบวชนอกพุทธศาสนา ในพุทธศาสนา โคตมพุทธะตรัสว่า มูควัตรเป็นการกระทำของโมฆบุรุษผู้ประมาท และเป็นการอยู่อย่างสัตว์ทั้งหลายที่ไม่มีการพูดจากัน ทรงห้ามการสมาทานมูควัตร ภิกษุผู้ล่วงบัญญัตินี้จะถูกปรับอาบัติทุกกฎ ปัจจุบัน สามารถพบมูควัตรได้ในศาสนาพราหมณ์ และพุทธศาสนาบางลัทธิโดยในพุทธศาสานาบางลัทธิเช่นว่านี้แนะนำว่าเป็นการฝึกความอดทน ไม่ให้ผู้ปฏิบัติธรรมได้พูดจาในสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ และเป็นการบำเพ็ญขันต.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมูควัตร · ดูเพิ่มเติม »

มีมางสา

ลัทธิมีมางสา (Mīmāṃsā; ภาษาสันสกฤต: मीमांसा) เป็นปรัชญาในศาสนาฮินดู คำว่ามีมางสาหมายถึงการสอบสวนซึ่งปรัชญานี้มาจากการสอบสวนเกี่ยวกับพระเวทโดยเน้นส่วนที่เป็นมันตระและพราหมณะของพระเวท ลัทธินี้เริ่มต้นโดยไชมิณิ ซึ่งเป็นผู้แต่งคัมภีร์มีมางสาสูตร ต่อมา ประภากระและกุมาริละ ภัฏฏะ ได้นำมาพัฒนาต่อจนแตกเป็นสองสำนัก ปรัชญามีมางสาเป็นพหุสัจจนิยม ถือว่าความจริงแท้มีทากมาย คัมภีร์พระเวทเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ จึงเป็นสิ่งที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุด สิ่งที่พระเวทบอกว่าควรถือเป็นธรรม สิ่งที่พระเวทบอกว่าไม่ควร ถือเป็นอธรรม ธรรมจะนำมาซึ่งความสุข มี 4 ระดับคือ เกิดจากทรัพย์สิน เกิดจากการบำรุงกามคุณทั้งห้า ความสงบใจ และการหลุดพ้นไปจากอำนาจของกิเลส ปรัชญานี้ถือว่าชีวาตมันหรืออัตตาเป็นอมตะ และมีจำนวนมากเป็นอนันตะ หรือนับไม่ถ้วน ร่างกายเป็นพาหนะของชีวาตมัน โลกและสิ่งต่างๆในโลกเกิดจากปัจจัยตามธรรมชาติไม่ใช่การสร้างของพระเจ้า โลกจะดำรงอยู่ตลอดไป โดยไม่มีพระเจ้ามาทำลายได้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมีมางสา · ดูเพิ่มเติม »

มณฑล

มณฑล อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎแห่งอินเดีย

มงกุฎแห่งอินเดีย หรือ อิมพิเรียลคราวน์แห่งอินเดีย (The Imperial Crown of India) เป็นมงกุฎประจำสำหรับประมุขแห่งราชวงศ์อังกฤษ ซึ่งมีพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอินเดีย ซึ่งใช้ในช่วงทศวรรษสุดท้ายของจักรวรรดิอินเดีย มงกุฎองค์นี้เก็บรักษารวมกันกับเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักร แต่มิถือเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องราชกกุธภัณฑ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมงกุฎแห่งอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

มนุษยศาสตร์

นักปรัชญาเพลโต มนุษยศาสตร์ (humanities) เป็นกลุ่มของสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาสภาวะแห่งมนุษย์โดยส่วนใหญ่ใช้กรรมวิธีเชิงวิเคราะห์, วิจารณญาณ หรือการคาดการณ์ซึ่งแตกต่างจากการเข้าสู่ปัญหาด้วยกรรมวิธีเชิงประจักษ์ด้วยธรรมชาติ, สังคมศาสตร์ โดยธรรมเนียมทั่วไปมนุษยศาสตร์รวมถึงสาขาวิชาภาษาศาสตร์โบราณและภาษาศาสตร์สมัยใหม่, วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง และดนตรี บางครั้งมีการรวมเอาสาขาวิชาอื่นเพิ่มเข้าไปด้วย ได้แก่ มานุษยวิทยา ภูมิภาคศึกษา การสื่อสารและวัฒนธรรมศึกษา แม้ว่าสาขาวิชาเหล่านี้มักถูกจัดไว้ในสาขาสังคมศาสตร์ นักวิชาการที่อยู่ในสายของสาขาวิชานี้ บางครั้งอาจเรียกตนเองว่าเป็น "นักมนุษยนิยม" อย่างไรก็ตามคำดังกล่าวก็ได้ใช้เรียกนักปรัชญาสาขามนุษยนิยมแต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรั.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมนุษยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์

มนุษย์ (ภาษาละตินแปลว่า "คนฉลาด" หรือ "ผู้รู้") เป็นสปีชีส์เดียวที่ยังมีชีวิตอยู่ในสกุล Homo ในทางกายวิภาค มนุษย์สมัยใหม่ถือกำเนิดขึ้นในทวีปแอฟริการาว 200,000 ปีที่แล้ว และบรรลุความนำสมัยทางพฤติกรรม (behavioral modernity) อย่างสมบูรณ์เมื่อราว 50,000 ปีที่แล้ว เชื้อสายมนุษย์แยกออกจากบรรพบุรุษร่วมสุดท้ายกับชิมแพนซี สิ่งมีชีวิตที่ใกล้ชิดที่สุด เมื่อราว 5 ล้านปีที่แล้วในแอฟริกา ก่อนจะวิวัฒนาการไปเป็นออสตราโลพิเธซีน (Australopithecines) และสุดท้ายเป็นสกุล Homo สปีชีส์ โฮโม แรก ๆ ที่อพยพออกจากแอฟริกา คือ Homo erectus, Homo ergaster ร่วมกับ Homo heidelbergensis ซึ่งถูกมองว่าเป็นบรรพบุรุษสายตรงของมนุษย์สมัยใหม่ Homo sapiens ยังเดินหน้าตั้งถิ่นฐานในทวีปต่าง ๆ โดยมาถึงยูเรเซียระหว่าง 125,000-60,000 ปีที่แล้ว ทวีปออสเตรเลียราว 40,000 ปีที่แล้ว ทวีปอเมริการาว 15,000 ปีที่แล้ว และเกาะห่างไกล เช่น ฮาวาย เกาะอีสเตอร์ มาดากัสการ์และนิวซีแลนด์ระหว่าง..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

มนตร์

มนตร์ (मन्त्र) หรือ มนต์ (manta) คำศักดิ์สิทธิ์หรือคำสำหรับสวดเพื่อเป็นสิริมงคล พบในศาสนาแบบอินเดีย ทั้งศาสนาฮินดู ศาสนาเชน ศาสนาพุทธ ศาสนาซิกข์ โดยทั่วไปมักเป็นคำสรรเสริญสิ่งศักดิ์สิท.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและมนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยชุรเวท

รเวท (สันสกฤต ยชุรฺเวท, यजुर्वेद) เป็นหนึ่งในสี่แห่งคัมภีร์พระเวทในศาสนาพราหมณ์ฮินดู มาจากศัพท์ ยชุสฺ (บทสวดด้วยพิธีกรรม) และ เวท (ความรู้) ประมาณกันว่าประพันธ์ขึ้นเมื่อราว 1,400 - 1,000 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนหลักของคัมภีร์นี้เรียกว่า "ยชุรเวทสัมหิตา" มีคาถา หรือมันตระ ที่จำเป็นแก่การกระทำพิธีสังเวยตามความเชื่อในศาสนาสมัยพระเวท และมีการเพิ่มเติมคำอธิบายว่าด้วยการประกอบพิธีต่าง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและยชุรเวท · ดูเพิ่มเติม »

ยกยาการ์ตา

กยาการ์ตา (Yogyakarta) เป็นเมืองหลักของเขตปกครองพิเศษยกยาการ์ตา เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ที่นี่ถือว่าเป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมชวาโบราณทั้งในด้านดนตรี นาฏศิลป์ และงานฝีมือ ยกยาการ์ตาเคยเป็นเมืองหลวงในช่วงที่อินโดนีเซียเรียกร้องเอกราชจากดัชต์ในปีช่วง..1945 - 1949 เมืองยกยาการ์ตาแต่เดิมมีชื่อว่า "อโยธยา" (Ayodhya) ซึ่งตั้งตามเมืองในวรรณคดีเรื่องรามายณะ ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็นยกยาการ์ตา โดยคำว่า ยกยา (Yogya) แปลว่า "เหมาะสม" ส่วนคำว่า การ์ตา (Karta) แปลว่า "รุ่งเรือง".

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและยกยาการ์ตา · ดูเพิ่มเติม »

ยม

ม อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและยม · ดูเพิ่มเติม »

ยมานตกะ

รูปปั้นยมานตกะที่พิพิธภัณฑ์ในอังกฤษ ยมานตกะ (ภาษาทิเบต:གཤིན་རྗེ་གཤེད་ Gshin-rje-gshed) เป็นเทพยิดัมหรือผู้ปกป้องธรรมในภาคดุร้ายองค์หนึ่งตามความเชื่อของชาวพุทธในทิเบต แปลว่า ที่ตายของพระยม หรือผู้ทำให้พระยมเกรงกลัว เชื่อกันว่าเป็นภาคดุของพระมัญชุศรีโพธิสัตว์ เพื่อปราบพระยม และอาจสร้างขึ้นเพื่อลดทอนอำนาจของเทพเจ้าในศาสนาฮินดู โดยเฉพาะไศวนิก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและยมานตกะ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขาอันนะปุรณะ

อดเขาอันนาปุรณะใต้ (Annapurna South) และ ยอดเขาอันนาปุรณะ 1 (Annapurna I) เทือกเขาอันนะปุรณะ (Annapurna Massif) เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาหิมาลัยด้านตะวันตก ในประเทศเนปาล ซึ่งประกอบด้วยยอดเขาสูงเกินกว่า 7,200 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ถึง 6 ยอด ที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ ยอดเขาอันนะปุรณะ 1 (Annapurna I) ยอดเขาสูงอันดับ 10 ของโลก หนึ่งใน 14 ยอดเขาที่สูงเกิน 8 พันเมตร คือมีความสูงถึง 8,091 เมตร นอกจากนี้ในทิวเขาอันนะปุรณะ มียอดเขาซารังโกต (Sarangkot) สูง 1,592 เมตรจากระดับน้ำทะเล ซึ่งเป็นจุดชมพระอาทิตย์ขึ้น ที่ได้รับการยกย่องว่าสวยที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ชื่อ "อันนะปูรณา" (अन्नपूर्णा, อนฺนปูรณา) เป็นภาษาสันสกฤต หมายถึง เทวีแห่งการเก็บเกี่ยว ซึ่งในคติทางฮินดู ถือเป็นปางที่ 8 ใน 9 ปางของ พระอุมาเทวี ชายาของพระศิวะ ที่ทรงเป็นผู้ประทาน ความอุดมสมบูรณ์ แก่พืชพันธุ์ธัญญาหาร เรียกอีกชื่อหนึ่งว่าปาง "มหาเคารี" ซึ่งเป็นปางที่มีผู้สักการบูชามากที่สุด รองจากปาง "กาลราตรี" หรือ "เจ้าแม่กาลี" และเพื่อแสดงความเคารพ รัฐบาลเนปาล ได้ประกาศสงวน ยอดเขามัจฉาปูชเร (Machhapuchhre) หรือ ยอดเขาหางปลา (Mt. Fishtail) ใกล้เมืองโปครา (Pokhara) เป็นเขตปลอดนักไต่เขา เพื่อให้เป็นที่สถิตของ องค์เทวีอันนะปุรณะ ยอดเขาอันนะปุรณะ 1 (Annapurna I) เป็นยอดเขาสูงเกิน 8,000 เมตรแห่งแรก ที่มีมนุษย์ไต่ถึง โดย เมารีซ เออร์โซ (Maurice Herzog) และ ลูอิส แลชเนล (Louis Lachenal) นักไต่เขาชาวฝรั่งเศส นำทีมอีก 7 คน ขึ้นสู่ยอดเขาสำเร็จในปี พ.ศ. 2493 หรือ 3 ปีก่อนที่ เซอร์เอ็ดมันด์ ฮิลลารี จะพิชิต ยอดเขาเอเวอร์เรสต์ และแม้ว่าเอเวอร์เรสต์ จะโด่งดังในฐานะยอดเขาสูงที่สุดในโลก แต่ในความเป็นจริง มีนักไต่เขามาเยือนอันนะปุรณะ ถึงกว่า 40,000 คนต่อปี ซึ่งมากกว่าเอเวอร์เรสต์ 2 เท่า เนื่องจากอันนะปุรณะ มีความหลากหลายทางสภาพภูมิศาสตร์ ทั้งทะเลสาบในหุบเขาโปคราที่มีอากาศร้อนชื้น ไปจนถึงภูเขาน้ำแข็ง ประกอบไปด้วยพรรณไม้ และสัตว์ป่า เช่น แพะภูเขา เสือดาวหิมะ รวมทั้งนกต่างๆ กว่า 400 สปีชี่ส์ โดยมีชนเผ่าที่แตกต่างกันถึง 7 ชนเผ่า ทำให้เส้นทางเดินเขารอบทิวเขาอันนะปุรณะหนึ่งสัปดาห์ ถือเป็นเส้นทางคลาสสิกแห่งหนึ่ง สำหรับนักไต่เขาทั่วโลก ยอดสูงสุดของอันนะปุรณะ ถือเป็นหนึ่งในยอดเขาอันตรายที่สุดในโลก มีอัตราการเสียชีวิตของนักไต่เขาสูงถึงร้อยละ 40 จากสถิติจนถึงปี พ.ศ. 2548 มีผู้พิชิตยอดเขาอันนะปุรณะสำเร็จ 103 คน และมีผู้เสียชีวิตถึง 56 คน ส่วนมากเนื่องจากหิมะถล่มที่เกิดขึ้นเป็นประจำ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและยอดเขาอันนะปุรณะ · ดูเพิ่มเติม »

ยะไข่

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับชาติพันธุ์ สำหรับเขตการปกครอง ดูที่ รัฐยะไข่ สำหรับแคว้นโบราณ ดูที่ แคว้นยะไข่ ยะไข่, อะระกัน หรือ ระขึน (ရခိုင်လူမျိုး; IPA:; Rakhine) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์หลักกลุ่มหนึ่งในประเทศพม่า อาศัยในรัฐยะไข่ ชาวยะไข่ถือเป็นชาวพม่าพื้นถิ่นในรัฐยะไข่กลุ่มหนึ่ง ภาษาพูดของชาวยะไข่นั้นถือเป็นสำเนียงหนึ่งในภาษาพม่า และยังมีร่องรอยของภาษาพม่าโบราณหลงเหลืออยู่ อันมีเสียงบางเสียงซึ่งในภาษาพม่าสำเนียงย่างกุ้งไม่มีใช้แล้ว เช่น เสียง ร โดยภาษายะไข่นั้นยังรักษาเสียง ร ไว้ได้ครบแทบทุกตำแหน่ง หากต้องการสะกดคำที่มีอักษร ร จึงควรดูที่การออกเสียงของภาษายะไข่ ทั้งนี้เนื่องจากยะไข่ห่างไกลศูนย์กลางจากพม่า โดยมีเทือกเขาอาระกันโยมาขวางกั้นอยู่ อีกทั้งยะไข่เองก็เคยมีอิสรภาพในการปกครองตนเองเป็นอาณาจักรอยู่ร่วมหลายร้อยปี ภายหลังจากการมาของอังกฤษ ยะไข่ถูกมองว่าต่างจากชาวพม่าทั่วไป ดินแดนยะไข่จึงถูกกำหนดเป็นรัฐหนึ่งเฉกเช่นเดียวกับชนกลุ่มน้อยในพม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและยะไข่ · ดูเพิ่มเติม »

ยักษ์

รูปปั้นยักษ์ '''ทศกัณฐ์''' ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่งเป็นยักษ์จากเรื่องรามเกียรติ์ ยักษ์ เป็นอมนุษย์ชนิดหนึ่งที่มีกล่าวถึงทั้งในทางศาสนาและวรรณคดี ยักษ์ในความเชื่อของไทยมักได้รับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธ ในขณะที่ความเชื่อในบริเวณอื่นๆของโลกก็มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับอมนุษย์ที่มีร่างกายใหญ่โต ชอบของสดคาว ซึ่งเทียบได้กับยักษ์ในความเชื่อของคนไทยเช่นกัน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคมืดของกัมพูชา

มืดของกัมพูชา เริ่มขึ้นหลังจากอาณาจักรเขมรเริ่มอ่อนแอลง ประเทศราชประกาศตัวเป็นอิสระ เกิดความวุ่นวายในราชอาณาจักร จนในที่สุดการล่มสลายของอาณาจักรเขมร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและยุคมืดของกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ย่างกุ้ง

งกุ้ง หรือ ยานโกน (ရန်ကုန်, MLCTS rankun mrui, ยานโกน มโย; "อวสานสงคราม") หรือ ร่างกุ้ง (Rangoon) เป็นเมืองหลวงของเขตย่างกุ้ง ย่างกุ้งเป็นเมืองหลวงของพม่าจนถึงปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและย่างกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

รชนีกานต์

ศิวจีราว คายักวาท (शिवाजीराव गायकवाड) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ราจินีขันธ์ (ரஜினிகாந்த்; रजनीकांत) เป็นนักแสดงชาวอินเดียชื่อดังที่แสดงให้กับวงการภาพยนตร์ภาษาทางใต้ของอินเดีย โดยเฉพาะในภาพยนตร์ภาษาทมิฬ ราจินีขันธ์เริ่มอาชีพการแสดงขณะที่มีผู้พบเห็นเมื่อเขายังเป็นกระเป๋ารถเมล์ในเมืองบังคาลอร์ ก่อนที่จะเริ่มอาชีพงานแสดงและค่อยๆขยับบทบาทจนได้รับบทเด่นในเวลาต่อมา ผลงานที่มีชื่อเสียงคือบท จิตติ ในเรื่อง เอ็นทิรัน เมื่อปี 2010 และ กาบาลี ในเรื่อง กาบาลี เมื่อปี 2016 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2493 หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่ หมวดหมู่:นักแสดงอินเดีย หมวดหมู่:ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดู หมวดหมู่:บุคคลจากบังคาลอร์.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรชนีกานต์ · ดูเพิ่มเติม »

รพินทรนาถ ฐากุร

รพินทรนาถ ฐากุร (রবীন্দ্রনাথ ঠাকুর, Robindronath Ţhakur) (7 พฤษภาคม 2404 - 7 สิงหาคม 2484) มีสมัญญานามว่า "คุรุเทพ" เป็นนักปรัชญาพรหโมสมัช นักธรรมชาตินิยม และกวีภาษาเบงกาลี เขาเริ่มเขียนบทกวีครั้งแรกตั้งแต่อายุเพียง 8 ปี ครั้นอายุได้ 16 ปี ก็ได้ตีพิมพ์เผยแพร่งานกวีนิพนธ์ภายใต้นามปากกา ภาณุสิงโห และเริ่มเขียนเรื่องสั้นกับบทละครในปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรพินทรนาถ ฐากุร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลเฉพาะกาลสาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ

รัฐบาลเฉพาะกาลสาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ (Provisional Government of the People's Republic of Bangladesh; গণপ্রজাতন্ত্রী বাংলাদেশ অস্থায়ী সরকার, Gônoprojatontri Bangladesh Asthayi Shorkar) บางครั้งเรียกรัฐบาลมูชิบนคร เป็นรัฐบาลพลัดถิ่น ตั้งอยู่ที่กัลกัตตา ประเทศอินเดียระหว่างสงครามปลดปล่อยบังกลาเทศ ก่อตั้งเมื่อกลางเดือนเมษายน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรัฐบาลเฉพาะกาลสาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐชาน

รัฐชาน หรือ รัฐฉาน (ရှမ်းပြည်နယ်, ช้าน ปหฺยี่แหน่; ไทใหญ่:; เมิ้งไต๊) บ้างเรียก รัฐไทใหญ่ เป็นรัฐหนึ่งในประเทศพม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรัฐชาน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐพิหาร

หาร คือ รัฐที่อยู่ในประเทศอินเดีย มีพุทธคยาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ ภาษาที่ใช้ในรัฐพิหาร คือ ภาษาฮินดีถูกแบ่งเป็นสองส่วนด้วยแม่น้ำคงคาซึ่งไหลผ่านจากตะวันตกไปตะวันออก เดิมคือแคว้นมคธ มีสถานที่สำคัญทางพุทธศาสนาหลายแห่ง เช่น พุทธคยา นาลันทา มีความสำคัญด้านคมนาคมขนส่งเพราะเป็นประตูสู่เนปาลและรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือ สินค้าเกษตรที่สำคัญคืออ้อย ปอ ชา มีการส่งเสริมอุตสาหกรรมน้ำตาล สุราและเอทานอล.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรัฐพิหาร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกะเหรี่ยง

รัฐกะเหรี่ยง หรือ รัฐกะยีน (ကရင်ပြည်နယ်) เป็นรัฐของประเทศพม่า มีเมืองหลวงอยู่ที่พะอาน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรัฐกะเหรี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมะละกา

มะละกา (Melaka; ยาวี: ملاك; Malacca) เป็นรัฐทางตอนใต้ในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่บริเวณช่องแคบมะละกา ตรงข้ามกับเกาะสุมาตรา รัฐมะละกาเป็นหนึ่งในสองรัฐของมาเลเซียที่ไม่มีเจ้าผู้ครองรัฐเป็นประมุขแต่มีผู้ว่าราชการรัฐแทน ในอดีต มะละกาเป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้าระหว่างตะวันออกและตะวันตกบนช่องแคบมะละกามากว่า 500 ปี มีลักษณะของสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานระหว่างศิลปกรรมโปรตุเกส ดัตช์ และมลายู ได้รับการยกย่องให้เป็นนครประวัติศาสตร์บนช่องแคบมะละกาจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรัฐมะละกา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐยะไข่

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับเขตการปกครอง สำหรับชาติพันธุ์ ดูที่ ยะไข่ สำหรับแคว้นโบราณ ดูที่ แคว้นยะไข่ รัฐยะไข่ (ရခိုင်ပြည်နယ်, สำเนียงยะไข่ ระไข่ง์ เปร่เหน่, สำเนียงพม่า ยะไข่ง์ ปหฺยี่แหฺน่) ชื่อเดิม รัฐอาระกัน (Arakan) เป็นหนึ่งในรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศพม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรัฐยะไข่ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐศรีจนาศะ

แคว้นศรีจนาศะตามจารึกหลักที่ 118 พบที่บ่ออีกา ทางใต้ของเมืองโคราชเก่า จังหวัดนครราชสีมา ระบุศักราช 790 ตรงกับ พ.ศ. 1411 และจารึกหลักที่ 117 ซึ่งสันนิษฐานว่าถูกเคลื่อนย้ายมาจากที่อื่น สองหลักยืนยันถึงการมีอยู่จริงของอาณาจักรศรีจนาศะ เพราะมีรายชื่อกษัตริย์ผู้ปกครอง กล่าวถึงดินแดนนอกกัมพุชเทศ แสดงให้เห็นถึงความเป็นรัฐอิสระที่นับถือทั้งศาสนาพุทธและศาสนาฮินดูลัทธิไศวนิกาย อย่างน้อยก็ช่วงพุทธศตวรรษที่ 12-15 นักปราชญ์หลายท่านเชื่อว่าศรีจนาศะตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำมูลคือ เมืองเสมา-โคราช หรืออำเภอสูงเนินในปัจจุบัน หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ไทย.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรัฐศรีจนาศะ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสิกขิม

รัฐสิกขิม (เทวนาครี: सिक्किम; ภาษาทิเบต: འབྲས་ལྗོངས་; Sikkim) คือรัฐหนึ่งทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย มีพื้นที่ทางตะวันตกติดต่อกับประเทศเนปาล ทางทิศเหนือติดต่อกับเขตปกครองตนเองทิเบต และประเทศจีน ทางทิศตะวันออกติดต่อกับประเทศภูฏาน และทิศใต้ติดต่อกับรัฐเบงกอลตะวันตก รัฐหนึ่งของอินเดีย แต่เดิมสิกขิมเป็นรัฐเอกราช มีขนาดใหญ่กว่าเดลีเล็กน้อย ปกครองโดยราชวงศ์นัมเกล ด้วยความเป็นรัฐเอกราชเล็ก ๆ อาจถูกบั่นทอนจากจีนซึ่งยึดทิเบตได้ เมื่ออินเดียได้รับเอกราช สิกขิมจึงยอมอยู่ใต้เอกราชเดียวกับอินเดียเมื่อ 30 กว่าปีก่อน อดีตประชากรส่วนใหญ่ของที่นี้เป็นชาวเลปชาซึ่งมีเชื้อสายเป็นชาวทิเบต แต่ปัจจุบันประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเนปาลี ประมาณร้อยละ 75 ของประชากร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรัฐสิกขิม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอุตตรประเทศ

รัฐอุตตรประเทศ คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่บริเวณส่วนบนของประเทศโดยมีเขตแดนติดต่อกับประเทศเนปาลทางทิศเหนือ เป็นที่ตั้งของเมืองสำคัญในศาสนาฮินดู เช่น เมืองพาราณสี อโยธยา (เมืองเกิดของพระราม) มธุรา (เมืองเกิดของพระกฤษณะ) และอัลลาลาบัดหรือเมืองโกสัมพีในสมัยพุทธกาล อุตตรประเทศ หมวดหมู่:รัฐอุตตรประเทศ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2493 หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2377.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรัฐอุตตรประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐตรังกานู

ตรังกานู (Terengganu เดิมสะกดว่า Trengganu หรือ Tringganu, อักษรยาวี: ترڠڬانو) เป็นรัฐสุลต่านและเป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธ์มาเลเซีย มีชื่อเฉลิมเมืองเป็นภาษาอาหรับว่า ดารุลอีมาน ("ถิ่นที่อยู่แห่งความศรัทธา") รัฐตรังกานูตั้งอยู่ริมชายฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของมาเลเซียตะวันตก ทางทิศเหนือและทิศตะวันตกติดต่อกับรัฐกลันตัน ทางทิศใต้ติดต่อกับรัฐปะหัง และทางทิศตะวันออกจรดทะเลจีนใต้ หมู่เกาะเปอร์เฮินเตียน (Perhentian Islands) เป็นส่วนหนึ่งของรัฐนี้ด้วย ทำให้รัฐตรังกานูมีพื้นที่ทั้งหมดรวม 12,955 ตารางกิโลเมตร องค์ประกอบทางชาติพันธุ์ในปี พ.ศ. 2538 ได้แก่ ชาวมลายู (859,402 คน หรือร้อยละ 94) ชาวจีน (42,970 คน หรือร้อยละ 5) ชาวอินเดีย (4,355 คน) และอื่น ๆ (3,238 คน) เมืองชายฝั่งกัวลาเตอเริงกานู (Kuala Terengganu) ตั้งอยู่ที่ปากแม่น้ำตรังกานูเป็นทั้งเมืองหลวงของรัฐและเมืองของสุลต่าน และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของรั.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรัฐตรังกานู · ดูเพิ่มเติม »

รัฐปะลิส

ปะลิส หรือเดิมสะกดว่า ปลิศ หรือ เปอร์ลิศ (Perlis, ยาวี: فرليس) มีชื่อเต็มคือ เปอร์ลิซอินเดอรากายางัน (Perlis Indera Kayangan; ยาวี: ڤرليس ايندرا كايڠن) เป็นรัฐที่เล็กที่สุดในมาเลเซีย อยู่ทางตอนเหนือสุดของมาเลเซียตะวันตก และติดชายแดนประเทศไทย ประชากรของรัฐมีจำนวน 198,335 คน ในปี 2543 ในจำนวนนี้เป็นชาวมลายูประมาณ 166,200 คนหรือร้อยละ 78, ชาวจีน 24,000 คนหรือร้อยละ 17, ชาวอินเดีย 3,700 คน และอื่น ๆ 5,400 คน) เมืองหลวงของรัฐปะลิสคือ กังการ์ เมืองที่เป็นที่ประทับของเจ้าผู้ครองนครคืออาเรา นอกจากนี้เมืองการค้าสำคัญบริเวณชายไทย-มาเลเซียคือปาดังเบซาร์ ส่วนเมืองท่าของรัฐซึ่งเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของรัฐคือกัวลาปะล.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรัฐปะลิส · ดูเพิ่มเติม »

รัฐปะหัง

ปะหัง (Pahang, อักษรยาวี: ڨهڠ) เป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธรัฐมาเลเซีย และเป็นรัฐที่ใหญ่ที่สุดบนมาเลเซียตะวันตก ครอบคลุมบริเวณแอ่งแม่น้ำปะหัง มีอาณาเขตติดต่อกับรัฐกลันตันทางทิศเหนือ ติดต่อกับรัฐเประก์ รัฐเซอลาโงร์ และรัฐเนอเกอรีเซิมบีลันทางทิศตะวันตก ติดต่อกับรัฐยะโฮร์ทางทิศใต้ ส่วนทางทิศตะวันออกติดต่อกับรัฐตรังกานูและทะเลจีนใต้ เมืองหลวงของรัฐคือกวนตัน (Kuantan) ส่วนเมืองของเจ้าผู้ครองตั้งอยู่ที่ปกัน (Pekan) เมืองสำคัญอื่น ๆ ได้แก่ กัวลาลีปิส เตเมร์โละห์ และรีสอร์ตเชิงเขาที่ที่สูงเกินติง ที่สูงจาเมรอน และเฟรเซอส์ฮิลล์ ชื่อเฉลิมเมืองของรัฐปะหังคือ ดารุลมักมูร์ ("ถิ่นที่อยู่แห่งความเงียบสงบ") องค์ประกอบทางชาติพันธุ์ของผู้คนในรัฐนี้ประมาณอย่างหยาบ ๆ ได้แก่ ชาวมลายู + ภูมิบุตร 1 ล้านคน ชาวจีน 233,000 คน ชาวอินเดีย 68,500 คน อื่น ๆ 13,700 คน และไร้สัญชาติ 68,000 คน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรัฐปะหัง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐปีนัง

ปูเลาปีนัง (Pulau Pinang) เป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธรัฐมาเลเซีย เดิมชาวมลายูรุ่นแรกเรียกว่า ปูเลาวาซาตู หรือเกาะเดี่ยว ต่อมาพบในแผนที่เดินเรือ เรียกว่า ปูเลาปีนัง หรือเกาะหมาก ต่อมาอังกฤษเรียกว่า เกาะพรินซ์ออฟเวล.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรัฐปีนัง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเกอดะฮ์

กอดะฮ์ (Kedah, قدح) หรือ ไทรบุรี มีชื่อเฉลิมเมืองเป็นภาษาอาหรับว่า ดารุลอามัน ("ถิ่นที่อยู่แห่งสันติภาพ") เป็นรัฐหนึ่งในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมาเลเซียตะวันตก ครอบคลุมขนาดเนื้อที่ 9,425 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยพื้นที่บนแผ่นดินใหญ่มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบใช้สำหรับปลูกข้าว รวมทั้งเกาะลังกาวี พรมแดนของรัฐเกอดะฮ์ทางทิศเหนือติดต่อกับรัฐปะลิส และติดต่อกับจังหวัดสงขลาและจังหวัดยะลาของประเทศไทย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐเประก์ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับรัฐปีนัง เมืองหลวงของรัฐคือ อาโลร์เซอตาร์ และเมืองของเจ้าผู้ครองคือ อานักบูกิต เมืองหลักอื่น ๆ ได้แก่ ซูไงเปอตานี (Sungai Petani) และกูลิม (Kulim) บนแผ่นดินใหญ่ รวมทั้งกูวะห์ (Kuah) บนเกาะลังกาวี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรัฐเกอดะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเปรัก

ปรัก หรือ เประก์ (Perak, อักษรยาวี: ڨيرق) เป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นประเทศมาเลเซีย มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองบนมาเลเซียตะวันตก ติดต่อกับรัฐเกอดะฮ์และจังหวัดยะลาของประเทศไทยทางทิศเหนือ รัฐปีนังทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ รัฐกลันตันและรัฐปะหังทางทิศตะวันออก รัฐเซอลาโงร์ทางทิศใต้ ส่วนทางทิศตะวันตกจรดช่องแคบมะละกา "เปรัก" (Perak) ในภาษามลายูหมายถึงเงิน ซึ่งน่าจะมาจากสีเงินของแร่ดีบุก แต่บางคนก็ว่าชื่อของรัฐมาจาก "แสงวิบวับของปลาในน้ำ" ซึ่งส่องเป็นประกายเหมือนเงิน ส่วนชื่อเฉลิมเมืองในภาษาอาหรับคือ ดารุลริฎวาน ("ดินแดนแห่งความสง่างาม") เกาะปังกอร์เป็นเกาะเล็ก ๆ ใกล้ชายฝั่ง มีกิจกรรมท่องเที่ยวต่าง ๆ เช่น การดำน้ำ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรัฐเปรัก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน

นอเกอรีเซิมบีลัน (Negeri Sembilan, อักษรยาวี: نڬري سمبيلن) เป็น 1 ใน 13 รัฐที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธ์มาเลเซีย ตั้งอยู่ทางชายฝั่งทะเลตะวันตกของมาเลเซียตะวันตก มีพื้นที่ประมาณ 6,650 ตารางกิโลเมตร คำว่า "เนอเกอรีเซิมบีลัน" แปลว่า 9 รัฐ สืบเนื่องจากในสมัยก่อนแบ่งการปกครองเป็น 9 อำเภอ มีเมืองหลวงชื่อ เซอเริมบัน เป็นเมืองท่าที่มีชายฝั่งทะเลสวยงาม เหมาะแก่การพักผ่อน องค์ประกอบของกลุ่มชาติพันธุ์ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน · ดูเพิ่มเติม »

รัตนชาติ

รัตนชาติหรือหินอัญมณี (gemstone) เป็นกลุ่มประเภทของแร่ประเภทหนึ่ง โดยหมายถึง แร่หรือหินบางชนิด หรืออินทรียวัตถุธรรมชาติที่นำมาเจียระไน ตกแต่ง หรือแกะสลัก เพื่อใช้เป็นเครื่องประดับ มีความงาม ทนทาน และหายาก โดยปกติแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ เพชร และพลอย ซึ่งหมายถึง อัญมณีทุกชนิดยกเว้นเพชร หากผ่านการตกแต่งหรือเจียระไนแล้ว เรียกว่า อัญมณี นอกจากนี้ สารประกอบที่ได้จากสิ่งมีชีวิตที่อาจจัดเป็นรัตนชาติได้แก่ ไข่มุก และปะการังและอำพัน รัตนชาติหรืออัญมณี เป็นผลึกที่มีมลทินอยู่ภายใน ทำให้มีสีต่าง ๆ กันไป มีความแข็ง สามารถเจียระไนให้เกิดมุม เพื่อให้เกิดการกระจายแสงเห็นความแวววาว มลทินในแร่ ทำให้แร่มีสีต่าง ๆ กัน แร่คอรันดัมบริสุทธิ์ เป็นสารพวกอะลูมิเนียมออกไซด์ มีสีขาว ถ้ามีมลทินจำพวกโครเมียมผสม ทำให้มีสีแดง เช่นทับทิม ส่วน เหล็ก ไทเทเนียม ทำให้มีสีน้ำเงิน (ทับทิมกับไพลิน เป็นแร่คอรันดัมเหมือนกัน แต่มีมลทินต่างชนิดกัน) เกณฑ์ที่ใช้ตัดสินอัญมณีได้แก่ ความแข็ง (ตามมาตราโมส), ความถ่วงจำเพาะ และค่าดัชนีหักเหของแสง ดัชนีหักเหของแสง เป็นค่าคงที่ของอัญมณีแต่ละชนิด จึงใช้ตัดสินว่าเป็นของปลอมหรือไม่ ความแข็งของแร่ก็มีผลต่อราคาของอัญมณีด้วย จึงนำมาทดสอบ โดยการขูดขีดกัน (อาจใช้ตะไบ มือ เหรียญทองแดง มีดพับ, กระจก ทดสอบ) แร่ที่มีรอยขูดขีดจะอ่อนกว่า ซึ่งทดสอบได้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรัตนชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ห่งบ่าง

ราชวงศ์ห่งบ่าง (thời kỳ Hồng Bàng, 鴻厖) เป็นราชวงศ์แรกในประวัติศาสตร์เวียดนาม ที่ปกครองในช่วง 2,879–258 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นช่วงเวลาในประวัติศาสตร์เวียดนามซึ่งประกอบไปด้วยสหภาพทางการเมืองในช่วง 2,879 ก่อนคริสต์ศักราชของชนเผ่าหลายแห่งในภาคเหนือของบริเวณหุบเขาแม่น้ำแดง และได้ถูกปกครองโดยอาน เซือง เวือง ในปี 258 ก่อนคริสต์ศักราช พงศาวดารเวียดนามตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 กล่าวคือ ดั่ยเหวียตสือกี๊ตว่านทือ (大越史記全書, Đại Việt sử ký toàn thư) อ้างว่าช่วงเวลาของยุคราชวงศ์ห่งบ่างเริ่มต้นด้วยกิญ เซือง เวือง ในฐานะ กษัตริย์หุ่ง (𤤰雄, Hùng Vương) องค์แรก ชื่อตำแหน่งได้ถูกใช้ในการอภิปรายสมัยใหม่หลายครั้งเกี่ยวกับผู้ปกครองชาวเวียดนามโบราณในยุคนี้ กษัตริย์หุ่งเป็นตำแหน่งผู้ปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของประเทศ (ซึ่งต่อมาเป็นที่รู้จักในชื่อซิกกวี๋และวันลางในเวลาต่อมา) และอย่างน้อยก็ในทางทฤษฎี ในยุคสมัยนี้ได้มีการควบคุมการใช้ที่ดินและทรัพยากรอย่างเป็นระบบขึ้นอย่างสมบูรณ์ แต่อย่างไรก็ตามบันทึกประวัติศาสตร์ของกษัตริย์ดังกล่าวใน 3 พันปีก่อนคริสต์ศักราชก็ยังถือว่าขาดแคลนอยู่มาก ประวัติของยุคห่งบ่างเกิดขึ้นในช่วงของราชวงศ์ที่แบ่งเป็น 18 ราชวงศ์ของกษัตริย์หุ่ง ในยุคกษัตริย์หุ่งได้รับความเจริญรุ่งเรืองพร้อมกับอารยธรรมการปลูกนาข้าวในบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงในช่วงยุคสำริด ในช่วงปลายของยุคห่งบ่างได้เกิดสงครามจำนวนมาก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและราชวงศ์ห่งบ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จาลุกยะ

ราชวงศ์จาลุกยะ (กันนาดา: ಚಾಲುಕ್ಯರು, Chalukya dynasty) คือราชวงศ์อินเดียผู้ปกครองดินแดนอันกว้างใหญ่ในอินเดียใต้และอินเดียกลางระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 6 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 แม้ว่าความเห็นในเรื่องต้นกำเนิดของราชวงศ์จาลุกยะจะมีด้วยกันหลายทฤษฎีแต่โดยทั่วไปแล้วต่างก็เห็นพ้องกันว่าผู้ก่อตั้งจักรวรรดิที่บาดามีเป็นผู้ที่มาจากบริเวณรัฐกรณาฏกะN.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและราชวงศ์จาลุกยะ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ตองอู

ราชวงศ์ตองอู (Toungoo Dynasty; တောင်ငူခေတ်) ราชวงศ์ที่ 2 ในประวัติศาสตร์พม่า ภายหลังจากราชวงศ์พุกาม ราชวงศ์แรกล่มสลายลงจากการรุกรานของชาวมองโกลโดยกุบไลข่าน พระเจ้าเมงจีโย ได้รวบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยู่อย่างกระจัดกระจาย โดยสถาปนาเมืองตองอูขึ้นเป็นราชธานี เพราะเป็นเมืองที่อยู่ในขุนเขาซึ่งเป็นปราการที่เข้มแข็ง ตองอูเข้มแข็งขึ้นมารัชสมัยของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระโอรสของพระองค์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อมา โดยได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรขยายไปรอบด้าน เช่น แปร, พะสิม อังวะ, ยะไข่ และที่สำคัญที่สุดคือ หงสาวดี อันเป็นอาณาจักรเดิมของมอญ ซึ่งเป็นศัตรูที่สำคัญของพม่า ยุคสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ได้ครอบคลุมอาณาจักรพม่าทั้งตอนบนและตอนล่างลุ่มน้ำอิระวดี อีกทั้งได้บุคลากรที่สำคัญ เช่น มหาอุปราชาบุเรงนอง, เมงเยสีหตู ร่วมกันสร้างอาณาจักรให้ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง และได้ย้ายเมืองหลวงจากตองอูมายังหงสาวดี ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ เมืองต่าง ๆ ที่เคยขึ้นต่ออาณาจักร ก็แข็งเมืองไม่ยอมขึ้นตรงต่อไป มีกบฏเกิดขึ้นมากมาย มหาอุปราชาบุเรงนองต้องใช้เวลาปราบปรามอยู่ราวอีก 2-3 ปี จึงจะได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ ในรัชสมัยของพระเจ้าบุเรงนอง ได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรตองอู ให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยครอบคลุมตั้งแต่ลุ่มน้ำอิระวดี ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจรดถึงลุ่มน้ำโขงในลาว มีเมืองเป็นประเทศราชต่าง ๆ มากมาย เช่น เชียงใหม่, ฉาน, อยุธยา, ล้านช้าง, กัมพุช เป็นต้น จนได้การขนานพระนามว่าเป็น "พระเจ้าชนะสิบทิศ" แต่ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบุเรงนอง ศูนย์กลางอำนาจของอาณาจักรถูกสั่นคลอน เนื่องจากการปกครองอย่างแข็งกร้าว ไร้ไมตรีของพระเจ้านันทบุเรง พระราชโอรสของพระองค์ เมืองที่เคยขึ้นเป็นประเทศราชต่าง ๆ ต่างแข็งเมืองและได้ประกาศอิสรภาพ ทำสงครามรบพุ่งกันตลอดมา เช่น แปร, อังวะ, อยุธยา เป็นต้น ในที่สุดเมืองทั้งหลายเหล่านี้ก็แตกแยกกระจัดกระจายออกไป และภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้านันทบุเรง ราชวงศ์ตองอูก็ยังได้สืบราชสมบัติต่อมา แต่ไม่มีกษัตริย์พระองค์ใดที่เข้มแข็งพอที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำกอบกู้อาณาจักรขึ้นมา แม้นจะมีความพยายามจากพระเจ้าอโนเพตลุน ราชนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งเรียกกันว่า "ยุคนยองยาน" (Nyaungyan Dynasty) แต่ก็สำเร็จเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากยุคนี้แล้ว มอญสามารถตั้งตัวได้และขึ้นมาเป็นใหญ่แทน ก่อนที่ทางพม่าจะสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาอีกครั้งในสมัยพระเจ้าอลองพญา ในทางวิชาการ นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งราชวงศ์ตองอูไว้เป็น 2 ยุค คือ ราชวงศ์ตองอูตอนต้น กินระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2029 - พ.ศ. 2142 คือตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าเมงจีโยจนถึงพระเจ้านันทบุเรง และราชวงศ์ตองอูตอนปลายหรือยุคหลัง ตั้งแต่ พ.ศ. 2140 - พ.ศ. 2295 ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้านยองยานจนถึงการสถาปนาอำนาจขึ้นมาของพระเจ้าอลองพญ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและราชวงศ์ตองอู · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โมริยะ

มริยะ (เขียนตามภาษาบาลี) หรือ เมารยะ (เขียนตามภาษาสันสกฤต: मौर्य, เมารฺย) เป็นจักรวรรดิซึ่งมีเนื้อที่กว้างใหญ่และมีอิทธิพลมากที่สุดจักรวรรดิหนึ่งในอินเดีย ปกครองโดยราชวงศ์โมริยะ (मौर्य राजवंश, เมารฺย ราชวํศ) ตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและราชวงศ์โมริยะ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โจฬะ

ราชวงศ์โจฬะ (Chola Dynasty, சோழர் குலம்) เป็นราชวงศ์ทมิฬทราวิฑที่ส่วนใหญ่ปกครองทางตอนใต้ของอินเดียมาจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 13 ถิ่นกำเนิดของราชวงศ์อยู่ที่ลุ่มแม่น้ำกาเวรี (Kaveri River) พระเจ้าการิกาลาโจฬะ (Karikala Chola) เป็นบุคคลสำคัญที่สุดในยุคโจฬะตอนต้น ขณะที่จักรพรรดิองค์อื่นๆ หลายองค์ทรงมีชื่อเสียงในยุคกลาง ราชวงศ์โจฬะรุ่งเรืองตลอดมาตั้งแต่ครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 9 มาจนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13K.A. Nilakanta Sastri, A History of South India, p 5 ในรัชสมัยของพระเจ้าราชาราชะโจฬะที่ 1 และพระเจ้าราเชนทระโจฬะที่ 1 ผู้เป็นพระราชโอรส ราชวงศ์โจฬะก็กลายเป็นมหาอำนาจทางการทหาร เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของเอเชียKulke and Rothermund, p 115Keay, p 215 ระหว่างปี ค.ศ. 1010 ถึงปี ค.ศ. 1200 ดินแดนของจักรวรรดิโจฬะก็ครอบคลุมตั้งแต่เกาะมัลดีฟส์ทางตอนใต้ขึ้นไปทางเหนือจนจรดแม่น้ำโคทาวารีในรัฐอานธรประเทศMajumdar, p 407 พระเจ้าราชาราชะโจฬะที่ 1 ทรงพิชิตคาบสมุทรอินเดียใต้ ผนวกดินแดนที่ปัจจุบันคือศรีลังกา และยึดครองมัลดีฟส์ ต่อมาพระเจ้าราเชนทระโจฬะที่ 1 ทรงรณรงค์ขึ้นไปทางเหนือของอินเดียจนไปถึงแม่น้ำคงคาและสามารถพิชิตนครหลวงปาฏลีบุตรแห่งจักรวรรดิปาละ นอกจากนั้นก็ยังทรงไปรุกรานราชอาณาจักรของกลุ่มเกาะมลายู และขยายดินแดนไปถึงพม่า และ เวียดนามและภาคใต้ของไทย The kadaram campaign is first mentioned in Rajendra's inscriptions dating from his 14th year. The name of the Srivijaya king was Sangrama Vijayatungavarman. K.A. Nilakanta Sastri, The CōĻas, pp 211–220Meyer, p 73 ราชวงศ์โจฬะมาเริ่มเสื่อมโทรมลงเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 และสลายตัวไปเมื่อราชอาณาจักรปัณฑยะและจักรวรรดิฮอยซาลาขึ้นมาเรืองอำนาจK.A. Nilakanta Sastri, A History of South India, p 192 สิ่งที่สำคัญของราชวงศ์โจฬะคือการเป็นผู้อุปถัมภ์วรรณคดีทมิฬ และการก่อสร้างวัด พระมหากษัตริย์ของราชวงศ์โจฬะทรงนิยมสร้างวัด ที่ไม่แต่จะเป็นสถานที่สำหรับการสักการะ แต่ยังเป็นศูนย์กลางของกิจการทางเศรษฐกิจด้วยVasudevan, pp 20-22 และ ยังริเริ่มระบบการปกครองจากศูนย์กลางและระบบราชการที่เป็นระเบียบแบบแผน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและราชวงศ์โจฬะ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเนปาล

ราชอาณาจักรเนปาล (Kingdom of Nepal, नेपाल अधिराज्य) หรือราชอาณาจักรโครขา ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและราชอาณาจักรเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

ราชา รวิ วรรมา

ราชา รวิ วรรมา เป็นจิตกรและศิลปินผู้มีชื่อเสียงของอินเดีย เขาได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในจิตรกรที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของศิลปะอินเดียสำหรับเหตุผลทางด้านสุนทรียศาสตร์และกว้างขึ้นหลายประการ ประการแรกผลงานของราชา รวิ วรรมา ถือเป็นตัวอย่างที่ดีที่สุดในการผสมผสานของเทคนิคยุโรปกับความรู้สึกของอินเดียอย่างหมดจด ในขณะที่ยังคงรักษาประเพณีและสุนทรียภาพของศิลปะอินเดียไว้ ประการที่สองเขาเป็นคนน่าจดจำสำหรับการพิมพ์ภาพราคาไม่แพงจากภาพวาดของเขาที่มีต่อสาธารณชนซึ่งช่วยเพิ่มการเข้าถึงและอิทธิพลของเขาในฐานะจิตรกรและบุคคลสาธารณะ ภาพวาดที่มีชื่อเสียงของราชา รวิ วรรมาส่วนมากมักเป็นภาพเทพเจ้าฮินดูและเรื่องราวจากวรรณคดีสันสฤตเรื่องต่าง ๆ เช่น มหาภารตะ รามายณะ ฯลฯ เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและราชา รวิ วรรมา · ดูเพิ่มเติม »

ราชีพ คานธี

ราชีพ รตนะ คานธี (राजीव गांधी, Rajiv Ratna Gandhi, 20 สิงหาคม ค.ศ. 1944 - 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1991) นายกรัฐมนตรีคนที่ 7 ของอินเดีย ดำรงตำแหน่งตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและราชีพ คานธี · ดูเพิ่มเติม »

รามสวามี เวนกทรมัณ

รามสวามี เวนกทรมัณ (. வெங்கட்ராமன்) เกิดเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรามสวามี เวนกทรมัณ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอินเดีย

งในหน้านี้ เป็นธงต่างๆ ที่มีการใช้และเคยใช้ในสาธารณรัฐอินเดี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรายชื่อธงในประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

รายการสาขาวิชา

รายชื่อสาขาวิชา หรือ สาขาการศึกษา (Field of study) หมายถึงสาขาความรู้ หรือ การวิจัยที่เปิดสอนในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย คำว่า สาขาวิชา ได้รับการนิยามและยอมรับโดย วารสารวิชาการที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย และโดยสมาคมผู้รู้ (learned societies) และโดยภาควิชาหรือคณะวิชาที่บุคคลผู้อยู่ในสาขาวิชานั้นๆ สังกัด โดยปกติ สาขาการศึกษาต่างๆ มักมีสาขาย่อยหรือแขนงวิชาแตกออกไป เส้นแบ่งระหว่างสาขาย่อยมักยังมีความคลุมเครือและมีกฎเกณฑ์ที่ไม่ชัดเจน ในยุโรปสมัยกลางซึ่งขณะนั้นยังมีการแบ่งคณะวิชาออกเป็น 4 คณะหรือสายวิชา ได้แก่เทววิทยา การแพทย์ ธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ และศิลปะ โดยคณะวิชาหลังมีสถานะไม่สูงเท่า 3 สาขาแรก การแบ่งสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยสมัยนั้นมีรากสืบทอดมาจากขบวนการแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร (Secularization) ของมหาวิทยาลัยซึ่งเกิดขึ้นราวสมัยกลาง-ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณ พ.ศ. 2390 - พ.ศ. 2440) โดยได้เพิ่มวิชาภาษาศาสตร์ที่ไม่ใช่คลาสสิก วรรณคดี และวิชาสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยาและวิศวกรรมศาสตร์เสริมเข้าไปในหลักสูตรแบบประเพณีโบราณ ในต้นคริสต์ศตวรรษ ที่ 20 (ประมาณ พ.ศ. 2440 - พ.ศ. 2475) ได้มีการเพิ่มสาขาวิชาใหม่ๆ เช่น การศึกษา สังคมวิทยา และจิตวิทยา ในมหาวิทยาลัยต่างๆ และในช่วงประมาณ พ.ศ. 2513 - พ.ศ. 2523) ได้เกิดปรากฏการณ์ "การระเบิด" ของสาขาวิชาใหม่ๆ ที่เน้นเนื้อหาเฉพาะเจาะจง เช่น สื่อศึกษา สตรีศึกษา และชนผิวดำศึกษา สาขาใหม่ๆ เหล่านี้จัดขึ้นในมหาวิทยาลัยเพื่อรองรับอาชีพและวิชาชีพต่างๆ เช่น การพยาบาล การจัดการโรงพยาบาล การราชทัณฑ์ และหลังสุดก็ได้เห็นสาขาวิชาที่เป็นลักษณะ "สหสาขาวิชา" เช่น ชีวเคมี และ ธรณีฟิสิกส์เกิดเพิ่มขึ้นและได้รับการยอมรับว่าสาขาวิชาใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นเหล่านี้ได้ช่วยเพิ่มพูนความรู้ให้กว้างขวางขึ้น เครื่องหมายดอกจัน * แสดงเป็นหมายเหตุว่าสาขาวิชานั้นยังเป็นที่ถกเถียงถึงสถานภาพว่าควรนับไว้ในสายวิชาใด เช่น วิชามานุษยวิทยา และวิชาภาษาศาสตร์ควรจัดไว้ในกลุ่มสังคมศาสตร์ หรือ มนุษยศาสตร์ เป็นที่สังเกตได้ว่าบางท่าน โดยเฉพาะนักทฤษฎีวิจารณ์มักให้ความสำคัญในการบ่งชี้การจัดกลุ่มที่เข้มงวดในทุกสายวิชา รวมทั้งความชัดเจนของโครงสร้างของแนวคิดโดยรวมของแต่ละวิชาซึ่งยังเป็นถกเถียงได้มากสำหรับบางคน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรายการสาขาวิชา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามพระโพธิสัตว์

ระโพธิสัตว์ คือบุคคลที่บำเพ็ญบารมีเพื่อตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต พระโพธิสัตว์สำคัญตามความเชื่อของศาสนาพุทธนิกายมหายานมีดังนี้ พระกษิติครรภมหาโพธิสัตว์ พระจันทรประภาโพธิสัตว์ และพระสุริยประภาโพธิสัตว์ พระจุนทีโพธิสัตว์ พระนางตารา พระนาคารชุนะ พระปัทมสัมภวะ พระนางปรัชญาปารมิตา พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ นางวสุธระ พระวัชรปาณีโพธิสัตว์ พระศรีอริยเมตไตรย พระสมันตภัทรโพธิสัตว์ พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ พระอากาศครรภโพธิสัตว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและรายนามพระโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

ราวณะ

ราวณะ หรือ ราพณ์ (रावण Rāvaṇa) เป็นตัวละครหลักฝ่ายร้ายในมหากาพย์เรื่อง รามายณะ ของศาสนาฮินดู โดยเป็นราชารากษสแห่งนครลงกา ซึ่งเชื่อกันว่า ตรงกับประเทศศรีลังกาในปัจจุบัน ราวณะมักเป็นที่พรรณนาว่า มีศีรษะสิบศีรษะ เป็นสาวกของพระศิวะ เป็นมหาปราชญ์ ปกครองบ้านเมืองอย่างเปี่ยมสามารถ ชำนาญบรรเลงวีณา (वीणा vīṇā) และมุ่งหมายจะเป็นใหญ่เหนือทวยเทพ ศีรษะทั้งสิบของเขายังเป็นเครื่องสำแดงถึงศาสตร์ทั้งหกและเวททั้งสี่ นอกจากนี้ ตามความใน รามายณะ ราวณะลักพาสีดา ภริยาของพระราม เพื่อล้างแค้นที่พระรามและพระลักษณ์อนุชาตัดจมูกศูรปณขา กนิษฐาของราวณะ ชาวฮินดูในหลายส่วนของประเทศอินเดีย ประเทศศรีลังกา และประเทศอินโดนีเซีย เคารพบูชาราวณะ และถือเป็นสาวกพระศิวะที่ได้รับความเคารพยำเกรงที่สุด เทวสถานพระศิวะหลายแห่งยังตั้งรูปราวณะคู่กับรูปพระศิวะด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและราวณะ · ดูเพิ่มเติม »

ราเชนทระ ปรสาท

ร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและราเชนทระ ปรสาท · ดูเพิ่มเติม »

ฤคเวท

วท (ऋग्वेद, ฤคฺเวท, Rigveda) เป็นคัมภีร์เล่มแรกในวรรณคดีพระเวท แต่งขึ้นเมื่อราว 3000 ปีก่อนคริสตกาล เป็นตำราทางศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ประกอบไปด้วยบทสวดที่วางท่วงทำนองในการสวดไว้อย่างตายตัว กล่าวถึงบทสรรเสริญคุณ อำนาจแห่งเทวะ และประวัติการสร้างโลก รวมถึงหน้าที่ของพระพรหมผู้สร้างมนุษย์และสรรพสิ่ง ซึ่งจะใช้ในพิธีการบรวงสรวงเทพเจ้าต่างๆ ของชาวอารยัน ตามประเพณีของฮินดูแล้ว การแบ่งหมวดหมู่ของคัมภีร์พระเวทนี้ วยาส (ผู้แต่งมหากาพย์ มหาภารตะ) เป็นผู้ทำขึ้นโดยรับคำสั่งจากพระพรหมณ์ การจัดรวบรวมบทสวดในคัมภีร์ฤคเวทนี้ เรียกว่า ฤคเวทสังหิตา มีบทสวดทั้งหมด 1,028 บท เป็นหนึ่งในคัมภีร์ทั้งสี่ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งเรียกรวมกันว่า "พระเวท" และนับเป็นบทสวดที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษยชาติ เนื้อหาด้านชาติพันธุวิทยาและภูมิศาสตร์ที่ปรากฏในฤคเวทนั้น เป็นหลักฐานแสดงว่าฤคเวทนั้นมีมานานกว่า 3,000 ปีก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและฤคเวท · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิไวษณพ

ลัทธิไวษณพ เป็นนิกายในศาสนาฮินดูที่นับถือพระวิษณุเป็นพระเป็นเจ้าผู้ยิ่งใหญ่กว่าเทพใด ๆ รวมทั้งในกลุ่มตรีมูรติ พระองค์ยังมีพระนามอื่น ๆ อีก เช่น พระราม พระกฤษณะ พระนารายณ์ พระวาสุเทพ พระหริ เป็นต้น นิกายนี้มีต้นกำเนิดมาจากลัทธิภควัต (หรือลัทธิบูชาพระกฤษณะ) ในสหัสวรรษที่ 1 ก่อนคริสต์ศักราช ต่อมารามานันทะได้พัฒนาลัทธิบูชาพระรามขึ้นจนปัจจุบันกลายเป็นคณะนักพรตที่ใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชีย ลัทธิไวษณพแบ่งเป็นหลายสำนัก เช่น ไทฺวตะ เวทานตะของมัธวาจารย์ วิศิษฏาไทฺวตะ เวทานตะของรามานุชะ สมาคมกฤษณภาวนามฤตนานาชาติของภักติเวทานตสวามี คีตาอาศรมของสวามี หริหระ มหาราช เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและลัทธิไวษณพ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิไศวะ

การบูชาพระศิวะ ในศาสนาฮินดู ลัทธิไศวะ (Shaivism) เป็นลัทธินิกายที่นับถือพระศิวะเป็นพระเป็นเจ้าหรือพรหมัน ศาสนิกชนในลัทธินี้เรียกว่าชาวไศวะ ซึ่งมีรูปแบบความเชื่อและการปฏิบัติแตกต่างกันไปเป็นหลายกลุ่ม เช่น ศิวสิทธานตะที่มีแนวคิดว่าบุคคลจะหลุดพ้นได้โดยการภักดีต่อพระศิวะ แต่ลัทธิโยคะถือว่าทุกสิ่งเป็นส่วนหนึ่งของพรหมันอยู่แล้วGanesh Tagare (2002), The Pratyabhijñā Philosophy, Motilal Banarsidass, ISBN 978-81-208-1892-7, pages 16–19 ลัทธินี้ถือพระเวทและอาคมเป็นคัมภีร์สำคัญDavid Smith (1996), The Dance of Siva: Religion, Art and Poetry in South India, Cambridge University Press, ISBN 978-0-521-48234-9, page 116Mariasusai Dhavamony (1999), Hindu Spirituality, Gregorian University and Biblical Press, ISBN 978-88-7652-818-7, pages 31–34 with footnotesMark Dyczkowski (1989), The Canon of the Śaivāgama, Motilal Banarsidass, ISBN 978-81-208-0595-8, pages 43–44 ลัทธิไศวะมีที่มาจากการนับถือพระรุทรในสมัยพระเวท (ราวสองพันปีก่อนคริสต์ศักราช)Peter Bisschop (2011),, Oxford University Press คัมภีร์เศวตาศวตโรปนิษัทซึ่งแต่งขึ้นราวหนึ่งพันปีก่อนคริสต์ศักราชปรากฏคำว่า รุทร ศิวะ มเหศวร แต่การตีความคำเหล่านี้ยังเป็นที่ถกเถียงอยู่D Srinivasan (1997), Many Heads, Arms, and Eyes, Brill, ISBN 978-9004107588, pages 96-97 and Chapter 9 จนถึงคริสต์สหัสวรรษที่ 1 ลัทธิไศวะทั้งสายภักตินิยมและสายโยคะก็เริ่มแพร่หลายในหลายอาณาจักร รวมทั้งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่พบโบสถ์พราหมณ์ลัทธิไศวะหลายพันแห่งในประเทศอินโดนีเซีย กัมพูชา และเวียดนาม ความเชื่อของลัทธิไศวะมีหลายรูปแบบ บางกลุ่มถือว่าพระศิวะคือมหาเทพพระผู้สร้าง รักษา และทำลายล้างโลก บางกลุ่มมองว่าพระศิวะหมายถึงอาตมันอันเป็นภาวะแก่นสารของสรรพสิ่ง ในด้านการปฏิบัติ มีการบูชาพระศิวะรวมถึงพระปารวตีผู้เป็นศักติ (ซึ่งแบบขนบของลัทธิศักติ) ตามโบสถ์พราหมณ์ต่าง ๆ บางกลุ่มเน้นการถือพรตฝึกโยคะเพื่อให้เข้าถึงพระศิวะที่เป็นอาตมันภายในตนเอง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและลัทธิไศวะ · ดูเพิ่มเติม »

ลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)

ลาว (ລາວ) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ตระกูลภาษาไท-กะได เป็นชนชาติใหญ่ที่สุดและมีจำนวนมากที่สุดในประเทศลาว มีประชากรประมาณ 14 ล้านคน ซึ่งคิดเป็นเป็นจำนวนร้อยละ 53.2 ส่วนที่อื่น ๆ อาศัยอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ชาวลาวบางส่วนได้อพยพไปตั้งถิ่นฐานที่สหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป ชาวลาวส่วนใหญ่ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาที่พูดกันในชีวิตประจำวัน ชาวลาวส่วนมากจะนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท และบางส่วนยังนับถือควบคู่ไปกับลัทธิภูตผีวิญญาณต่าง ๆ แม้ชาวลาวจะตกอยู่ภายใต้อำนาจของชนชาติต่าง ๆ แต่ก็ยังรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีของตนได้เป็นอย่างดี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและลาว (กลุ่มชาติพันธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

ลิงค์

ลิงค์ หรือ ลึงค์ (लिङ्गं แปลว่า เครื่องหมาย สัญลักษณ์ เพศ องคชาติ การอนุมาน คัพภะที่ก่อเกิดลูกหลานชั่วนิรันดร์) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและลิงค์ · ดูเพิ่มเติม »

วรรณะ (ศาสนาฮินดู)

วรรณะ (สันสกฤต: वर्णः)ในหลักความเชื่อของศาสนาฮินดู ได้แบ่งคนที่อยู่เป็น 4 วรรณะ มีหน้าที่ที่แตกต่างกันออกไปตามความสำคัญของแต่ละบุคคล เพื่อแบ่งหน้าที่ทางสังคม เรียงตั้งแต่สูงถึงต่ำคือ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวรรณะ (ศาสนาฮินดู) · ดูเพิ่มเติม »

วรรณะทางสังคม

url.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวรรณะทางสังคม · ดูเพิ่มเติม »

วัชระ

วัชระ เป็นอาวุธประจำกายของพระอินทร์ วัชระ แปลว่า สายฟ้า และมีอีกความหมายหนึ่งแปลว่า เพชร ด้วยเหตุนี้พระอินทร์จึงเป็นเทพแห่งสายฟ้า ลักษณะของวัชระเป็นอาวุธทีมีหลายแหลมสองด้าน แต่ละด้านมีเงี่ยงยาวแหลมงองุ้ม 4 แฉก ตรงส่วนกลางใช้สำหรับจับ ในลัทธิวัชรยาน วัชระถูกใช้ประดับติดกับตัวระฆัง เพราะประกอบในงานพิธี หมวดหมู่:อาวุธของประเทศอินเดีย.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวัชระ · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรมกัมพูชา

วัฒนธรรมกัมพูชาที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติมีพื้นฐานมาจากศาสนาทั้งศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู กัมพูชาได้รับอิทธิพลจากอินเดียทั้งทางด้านภาษาและศิลปะผ่านทางแผ่นดินใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมทั้งจากการค้าทางทะเลทางไกลกับอินเดียและจีนจนเกิดอาณาจักรฟูนันขึ้นเป็นครั้งแรก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวัฒนธรรมกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรมไทย

วัฒนธรรมไทยได้รับอิทธิพลหลักจากวัฒนธรรมอินเดีย จีน ขอม ตลอดจนวิญญาณนิยม ศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู วัฒนธรรมแห่งชาติของไทยเป็นการสร้างสรรค์ใหม่ซึ่งสิ่งที่ปัจจุบันถือเป็นวัฒนธรรมไทยเดิมไม่มีอยู่ในรูปแบบนั้นเมื่อกว่าร้อยปีก่อน บ่อเกิดสามารถสืบย้อนไปได้ถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง หลวงพิบูลสงครามสนับสนุนการส่งเสริมวัฒนธรรมไทยกลางเป็นวัฒนธรรมแห่งชาตินิยามและยับยั้งมิให้ชนกลุ่มน้อยแสดงออกซึ่งวัฒนธรรมของตน วัฒนธรรมพลเมืองรุ่นปัจจุบันซึ่งส่วนใหญ่ยึดรุ่นอุดมคติของวัฒนธรรมไทยกลางเป็นการสร้างสรรค์ใหม่ซึ่งรวมลักษณะชาตินิยมสมัยรัชกาลที่ 5 ราชย์กัมพูชา และลัทธิอิงสามัญชนที่นิยมบุคคลลักษณะ หรือสรุปคือ วัฒนธรรมพลเมืองของไทยปัจจุบันนิยามว่าประเทศไทยเป็นดินแดนของคนไทยกลาง มีศาสนาเดียวคือ พุทธนิกายเถรวาท และปกครองโดยราชวงศ์จักรีOtto F. von Feigenblatt.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวัฒนธรรมไทย · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระศรีมหาอุมาเทวี

วัดพระศรีมหาอุมาเทวี ตั้งอยู่บนถนนสีลม วัดพระศรีมหาอุมาเทวี หรือ วัดแขกสีลม เป็นโบสถ์พราหมณ์ ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเพื่อเป็นสถานที่ถวายการบูชาพระศรีมหาอุมาเทวีซึ่งเป็นพระชายาของพระศิวะ โดยมีพระแม่มารีอัมมันหรือพระแม่อุมาเทวีที่คนไทยรู้จักเป็นประธานของวั.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวัดพระศรีมหาอุมาเทวี · ดูเพิ่มเติม »

วัดศรีสวาย

วัดศรีสวาย ตั้งอยู่ห่างออกไปทางตอนใต้ของวัดมหาธาตุประมาณ 350 เมตร โบราณสถานสำคัญที่ตั้งอยู่ในกำแพงแก้ว ประกอบด้วยปรางค์ 3 องค์ รูปแบบศิลปะลพบุรี ลักษณะของปรางค์ค่อนข้างเพรียว ตั้งอยู่บนฐานเตี้ย ๆ ลวดลายปูนปั้นบางส่วนเหมือนลายบนเครื่องถ้วยจีน สมัยราชวงศ์หยวน ได้พบทับหลังสลักเป็นรูปนารายณ์บรรทมสินธุ์ ชิ้นส่วนของเทวรูป และศิวลึงค์ที่แสดงให้เห็นว่าเคยเป็นเทวสถานในศาสนาฮินดูมาก่อน แล้วแปลงเป็นพุทธสถานโดยต่อเติมวิหารขึ้นที่ด้านหน้า แล้วเป็นวัดในพุทธศาสนาภายหลัง นน วัดศรีสวาย เดิมเป็นเทวสถานในศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู ลักษณะเป็นปรางค์สามยอดแบบขอม มีคูน้ำล้อมรอบปรางค์สามองค์ โบราณสถานดังกล่าวนี้มีที่มาจากทรงปราสาทแบบขอม แต่ได้รับการดัดแปลงแตกต่างจากต้นแบบ เช่นส่วนประดับของปราสาทขอมที่เรียกว่า บันแถลง กลายเป็นรูปกลีบขนุน และปูนปั้นประดับกลีบขนุนเป็นรูปครุฑยุดนาคและเทวดา ปรางค์วัดศรีสวายจึงแตกต่างจากปรางค์สมัยกรุงศรีอยุธยาซึ่งมีต้นแบบจาก ปรางค์ในศิลปะขอมและคล้ายคลึงแบบขอมมากกว่าปรางค์ในแบบของช่างสุโขทัย เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสเมืองสุโขทัย ทรงพบรูปพระอิศวรและและโบราณวัตถุหินจำหลักเป็นทับหลังรูปพระนารายณ์บรรทมสินธุ์ รูปพระนารายณ์สี่กร และชิ้นส่วนของเทวรูปและศิวลึงค์ทำด้วยสำริด จึงทรงสันนิษฐานว่า วัดศรีสวายนี้คงเป็นสถานที่พวกพราหมณ์ใช้ทำพิธีโล้ชิงช้า (ตรียัมปวาย) แต่ต่อมาเมื่อคนไทยเข้ามาครอบครองกรุงสุโขทัย วัดนี้จึงถูกดัดแปลงให้เป็นวัดทางพระพุทธศาสน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวัดศรีสวาย · ดูเพิ่มเติม »

วันมาฆบูชา

ปุรณมี วันมาฆบูชา (มาฆปูชา; Magha Puja) เป็นวันสำคัญของชาวพุทธเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๓๐, ๓๐ มีนาคม..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวันมาฆบูชา · ดูเพิ่มเติม »

วันวิสาขบูชา

วันที่สำคัญที่สุดในพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันคล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญของพระพุทธศาสนามากถึง 3 เหตุการณ์ คือ เป็นวันคล้ายวันประสูติ, ตรัสรู้ และปรินิพพาน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกอย่างหนึ่งว่า '''"วันพระพุทธเจ้า"''' วันวิสาขบูชา (วิสาขปุณฺณมีปูชา; Vesak) เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธสำหรับพุทธศาสนิกชนทุกนิกายทั่วโลก ทั้งเป็นวันหยุดราชการในหลายประเทศ และวันสำคัญในระดับนานาชาติตามข้อมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติRequest for inclusion of an additional item in the agenda of the fifty-fourth session in United Nations (12 November 1999).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวันวิสาขบูชา · ดูเพิ่มเติม »

วันอาสาฬหบูชา

วันอาสาฬหบูชา (อาสาฬหปูชา; Āsāḷha Pūjā) เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธนิกายเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๗๕, ตอน ๕๒, ๑๒ มิถุนายน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวันอาสาฬหบูชา · ดูเพิ่มเติม »

วารินทร์ สัจเดว

thumb วารินทร์ สัจเดว เป็นผู้ประกาศข่าว, นักจัดรายการวิทยุ และนักแสดงชาวไทยเชื้อสายอินเดีย นับถือศาสนาฮินดู สำเร็จการศึกษาสาขานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยเอเมอร์สัน บอสตัน สหรัฐ (นักเรียนทุนฟุลไบรท์), บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวารินทร์ สัจเดว · ดูเพิ่มเติม »

วิญญาณ

วิญญาณ (soul; जीव) ในทางปรัชญาหมายถึงสิ่งซึ่งเชื่อกันว่าเป็นสารัตถะของชีวิตมนุษย์ อาจรวมถึงสิ่งมีชีวิตประเภทอื่น ๆ ด้วย วิญญาณเป็นสิ่งที่ไม่เน่าเปื่อย เป็นอมตะ ศาสนาอับราฮัมเชื่อว่าเฉพาะมนุษย์เท่านั้นที่มีวิญญาณ มนุษย์จึงเป็นสิ่งมีชีวิตประเภทเดียวที่ไม่ตาย (ในส่วนวิญญาณ) และอาจไปรวมกับพระเป็นเจ้าได้ ขณะที่ศาสนาอื่น ๆ บางศาสนา เช่น ศาสนาเชนเชื่อว่าไม่เฉพาะมนุษย์แต่สิ่งมีชีวิตทุกชีวิตมีวิญญาณ ส่วนลัทธิวิญญาณนิยมเชื่อว่าทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต (เช่น แม่น้ำ ภูเขา) ล้วนมีวิญญาณทั้งสิ้น บางลัทธิเชื่อว่าโลกก็มีวิญญาณเรียกว่าวิญญาณโลก หรืออาตมันในศาสนาฮินดู คำว่าวิญญาณ มักมีความหมายแนวเดียวกับจิต สปิริต และตัวตน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวิญญาณ · ดูเพิ่มเติม »

วิวรณ์

อห์นแห่งปัทมอสกำลังเขียนหนังสือวิวรณ์ตามที่ได้รับการเปิดเผยจากพระเจ้า ภาพวาดโดยเฮียโรนิมัส บอส ในศาสนาแบบเทวนิยมและเทววิทยา วิวรณ์ (revelation) หมายถึง การที่สิ่งเหนือธรรมชาติ เช่น เทวดา พระเป็นเจ้า ได้เปิดเผยความจริงหรือความรู้สำคัญบางประการแก่มนุษย์ หลาย ๆ ศาสนาเชื่อว่า คัมภีร์ของตนมาจากการวิวรณ์ของพระเจ้าหรือสิ่งเหนือธรรมชาติ เช่น ชาวยิวเชื่อว่าพระยาห์เวห์ได้ประทานคัมภีร์โทราห์ที่ภูเขาซีนาย ชาวมุสลิมเชื่อว่าอัลลอฮ์ได้ประทานคัมภีร์อัลกุรอานแก่นบีมุฮัมมัดเป็นคำ ๆ ทีละอักษร ส่วนศาสนาฮินดูก็ถือว่าพระเวทเป็น “อเปารุเษยะ” (ไม่ใช่ฝีมือมนุษย์) แต่บรรดาฤๅษีได้สดับฟังจากพระเจ้ามาโดยตรง จึงเรียกว่า "ศรุติ" (สิ่งที่ได้ฟังมา) คริสต์ศาสนิกชนก็เชื่อว่าคัมภีร์ไบเบิลทั้งพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ถูกเขียนขึ้นโดยการดลใจจากพระเจ้า ในศาสนาอับราฮัม วิวรณ์จึงถือเป็นสิ่งสำคัญมาก เพราะเป็นการแสดงถึงเจตจำนงและพระญาณสอดส่องของพระเจ้าต่อมนุษย์ ในพันธสัญญาใหม่มีหนังสือเล่มหนึ่งชื่อ "หนังสือวิวรณ์" เป็นส่วนสุดท้ายของคัมภีร์ไบเบิล กล่าวถึงวันสิ้นโลกและการพิพากษาครั้งสุดท้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวิวรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวนาถ ประตาป สิงห์

วิศวนาถ ประตาป ซิงห์ (विश्वनाथ प्रताप सिंह) เกิดเมื่อ 25 มิถุยายน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวิศวนาถ ประตาป สิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

วิษณุ

วิษณุ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวิษณุ · ดูเพิ่มเติม »

วิษณุธรรโมตตรปุราณะ

คัมภีร์วิษณุธรรมโมตระปุราณะ (Vishnudharmottara Purana) เป็นชื่อคัมภีร์ที่สำคัญประเภทหนึ่งในศาสนาฮินดู ซึ่งให้ความสำคัญและยกย่องพระวิษณุ และไวษณพกาย เป็นปุราณะ อยู่ในหมวดย่อยของอุปปุราณะเนื้อหาในปุราณนี้จะเน้นถึงพระวิษณุโดยเฉพาะ หมวดหมู่:คัมภีร์ของศาสนาฮินดู หมวดหมู่:ปรัมปราวิทยา หมวดหมู่:ศาสนาฮินดู หมวดหมู่:พระวิษณุ หมวดหมู่:อวตาร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวิษณุธรรโมตตรปุราณะ · ดูเพิ่มเติม »

วิเทหะ

วิเทหะ (विदेह) หรือ มิถิลา (मिथिला) เป็นราชอาณาจักรโบราณในประเทศอินเดียสมัยพระเวท ซึ่งรุ่งเรืองขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้าชนก มีดินแดนซึ่งปัจจุบันได้แก่ภาคมิถิลากินอาณาบริเวณทางเหนือและตะวันออกของรัฐพิหาร ประเทศอินเดีย กับตะวันออกของที่ราบตะราอี ประเทศเนปาล.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวิเทหะ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์หอยจุกพราหมณ์

วงศ์หอยจุกพราหมณ์ หรือ วงศ์หอยสังข์ทะนาน (Volute, วงศ์: Volutidae) เป็นวงศ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัมมอลลัสคา ชั้นหอยฝาเดี่ยว (Gastopoda) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Volutidae เป็นหอยที่พบในทะเลเท่านั้น มีจุดเด่น คือ ที่ปลายของเปลือกหรือก้นหอย ขมวดเป็นเกลียวกลมคล้ายมวยผมของพราหมณ์ นักบวชในศาสนาฮินดู หอยจุกพราหมณ์ เป็นหอยที่กินหอยจำพวกอื่นเป็นอาหาร มีขนาดของเปลือกยาวตั้งแต่ 9-500 มิลลิเมตร ส่วนใหญ่ไม่มีท่อน้ำออก พบในเขตร้อนและเขตขั้วโลก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวงศ์หอยจุกพราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์หนู

วงศ์หนู (Rat, Mice, Mouse; วงศ์: Muridae) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมวงศ์หนึ่ง ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Muridae นับเป็นสัตว์ที่มนุษย์รู้จักกันเป็นอย่างดี และนับเป็นวงศ์ของสัตว์ฟันแทะที่มีความหลากหลายและจำนวนสมาชิกมากที่สุดด้วย ด้วยมีจำนวนสมาชิกมากกว่า 700 ชนิด ตั้งแต่อาร์กติกเซอร์เคิลจนถึงปลายสุดของทวีปอเมริกาใต้ โดยยังแบ่งออกเป็นวงศ์ย่อยได้อีก 5 วงศ์ (ดูในตาราง).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวงศ์หนู · ดูเพิ่มเติม »

วงประโคม

วงประโคมคือวงดนตรีที่ใช้ประกอบงานพระราชพิธีและแสดงถึงพระราชอิสริยยศของพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ ตลอดจนถึงขุนนางข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตามความเชื่อของศาสนาพราหมณ์ฮินดู ว่า พระมหากษัตริย์ พระราชวงศ์ ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ เมื่อเสียชีวิตไป จะกลับสู่สรวงสวรรค์ จึงต้องมีการประโคมเพื่อส่งดวงวิญญานกลับสู่สรวงสวรร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและวงประโคม · ดูเพิ่มเติม »

ศรีบาทา

รีบาทา (Sri Pada; Samanalakanda - සමනළ කන්ද "ภูเขาผีเสื้อ"; Sivanolipatha Malai - சிவனொளி பாதமலை) หรือ แอดัมส์พีก (Adam's Peak) เป็นภูเขารูปโคน ตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศศรีลังกา บนยอดเขามี "ศรีบาทา" หินขนาด 1.80 เมตร ในทางพระพุทธศาสนาถือว่าเป็นรอยพระพุทธบาทข้างซ้ายของพระโคตมพุทธเจ้า ในขณะที่ศาสนาฮินดูถือว่าเป็นรอยเท้าของพระศิวะ ในขณะที่ศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม ถือว่าเป็นรอยเท้าของอาดัม ศรีบาทาตั้งอยู่ทางตอนใต้ของที่ราบสูงทางตอนกลางของศรีลังกา อยู่ในเขตจังหวัดซาบารากามูวา ห่างจากเมืองรัตนปุระไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 40 กิโลเมตร บริเวณใกล้เคียงเป็นภูเขาป่าดงดิบหลายลูก เป็นที่ตั้งของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า มีช้าง เสือดาว และสัตว์ป่าอื่นๆ อาศัยอยู่ โดยเขาศรีบาทามียอดเขา 7353 ฟุต สูงที่สุดบนเกาะศรีลังก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศรีบาทา · ดูเพิ่มเติม »

ศรีนคร

รีนคร (แคชเมียร์: سری نگر; อูร์ดู: شرینگر; โดกรี: श्रीनगर; Srinagar) เป็นเมืองหลวงของรัฐทางเหนือสุดของอินเดีย รัฐชัมมูและกัศมีร์ ตั้งอยู่ในหุบเขาแคชเมียร์ บนฝั่งแม่น้ำเฌลัม สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 1,600 เมตร เป็นหนึ่งในเมืองใหญ่ที่สุดของอินเดียที่ไม่ได้นับถือศาสนาฮินดู โดยมีมุสลิม 97% เมืองมีประชากร 894,940 คน (ค.ศ. 2001) เมืองผลิตพรม ไหม เงิน เครื่องหนัง ภาชนะทองแดง มีการแกะสลักไม้ การท่องเที่ยว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศรีนคร · ดูเพิ่มเติม »

ศังกราจารย์

อาทิศังกราจารย์และสานุศิษย์, ผลงานโดยราชา รวิ วรรมา, ราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19ประติมากรรมรูปอาทิศังกราจารย์ที่เมืองไมซอร์ อาทิ ศังกระ (आदि शङ्करः, ആദി ശങ്കരൻ, ஆதி சங்கரர்; ชื่ออื่น: ศังกระ ภควัตปาทจารย์, อาทิศังกราจารย์, ศังกราจารย์) มีชีวิตอยู่ระหว่าง..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศังกราจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลพระกาฬ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)

ลพระกาฬ เป็นเทวสถานในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ก่อนถูกดัดแปลงเป็นพุทธสถานในยุคต่อมา ตั้งอยู่บริเวณสี่แยกตะแลงแกงบนเกาะเมือง อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตั้งอยู่บริเวณเกือบกึ่งกลางเกาะเมืองและเป็นย่านตลาดที่มีผู้คนพลุกพล่านมาก และหากมีการประหารนักโทษก็จะมีการเสียบหัวประจานให้ประชาชีเห็นจะได้เกรงกลัวมิเอาเยี่ยงอย่าง ปัจจุบันศาลพระกาฬหลงเหลือเพียงรากฐานของอิฐเท่านั้น สุจิตต์ วงษ์เทศให้คำอธิบายว่าศาลพระกาฬในจังหวัดพระนครศรีอยุธยานี้เป็นแบบอย่างในการสร้างเทวสถานโบสถ์พราหมณ์และเสาชิงช้าหน้าวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารในกรุงเทพมหานครด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาลพระกาฬ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

ศาลพระกาฬ (จังหวัดลพบุรี)

ลพระกาฬ หรือเดิมเรียกว่า ศาลสูง เป็นโบราณสถานและศาสนสถานที่ตั้งอยู่กลางวงเวียนชื่อ วงเวียนศรีสุนทร บนถนนนารายณ์มหาราช ในเขตตำบลทะเลชุบศร อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของพระปรางค์สามยอด และเส้นทางรถไฟสายเหนือ ภายในเป็นที่ประดิษฐาน เจ้าพ่อพระกาฬ เทวรูปโบราณยุคขอมเรืองอำน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาลพระกาฬ (จังหวัดลพบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

ศาลหลักเมือง

ศาลหลักเมือง คือสถานที่ศักดิ์สิทธิ์อันเป็นที่ตั้งของหลักเมือง ซึ่งตามธรรมเนียมพิธีของศาสนาพราหมณ์,ศาสนาพื้นบ้านแบบจีนหรือลัทธิเต๋าว่า ก่อนที่จะสร้างเมืองจะต้องทำพิธียกเสาหลักเมืองในที่อันเป็นชัยภูมิสำคัญ เพื่อเป็นสิริมงคลแก่บ้านเมืองที่จะสร้างขึ้น ศาลหลักเมืองในประเทศไทยส่วนใหญ่ทำจากไม้มงคล เช่น ชัยพฤกษ์ ราชพฤกษ์ ในลักษณะเสา ปลายยอดเป็นดอกบัวตูม หรือหน้าเทวดา หรืออาจเป็นหลักหินโบราณ ใบเสมาโบราณ ที่พบในพื้นที่นั้นๆ ตัวศาลส่วนใหญ่เป็นศาลาจตุรมุขทรงไทย มีประตูทั้งสี่ด้าน ยอดอาจเป็นแบบปรางค์ แบบปราสาท แบบมณฑป หรือเป็นศาลเจ้าแบบจีน ตามศรัทธาการก่อสร้างในพื้นที่นั้น บางพื้นที่อาจพบร่วมกันทั้งเสาหลักเมือง และศาลเจ้าแบบจีน ซึ่งมักมีองค์ประธานศาลเจ้าเป็นเทวรูปไม้หรือศิลา เรียกว่า เจ้าพ่อหลักเมือง หรือเจ้าแม่หลักเมือง สถานที่ตั้งส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ชุมชนเมืองเก่า อาจเป็นตัวจังหวัด หน้าศาลากลางจังหวัด ในประเทศไทยจังหวัดส่วนใหญ่มีศาลหลักเมือง บางอำเภอก็มีศาลหลักเมือง ซึ่งยังคงเรียกว่า ศาลหลักเมืองเนื่องจากบางอำเภอก็เป็นเมืองเก่า ก่อนถูกลดฐานะลงเป็นอำเภอในปัจจุบัน ตามชุมชนเล็กๆ อื่นๆ ก็อาจมีศาลประจำชุมชนเหมือนกัน แต่จะเรียกเป็นศาลหรือเจ้าที่ประจำหมู่บ้าน ชุมชน *.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาลหลักเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ศาลเจ้า

ักการสถานของโฮเดเกเทรีย มหาวิหารอัสสัมชัญในกรุงสโมเลงสค์ ประเทศรัสเซีย ค.ศ. 1912 หีบสามกษัตริย์ของมหาวิหารโคโลญในเยอรมนีที่บรรจุกระดูกของโหราจารย์ถือกันว่าเป็น “หีบสักการะ” ภาพเขียน “The Shrine” โดยจอห์น วิลเลียม วอเทอร์เฮาส์ ค.ศ. 1895 ศาลเจ้า ชาวคาทอลิกเรียกว่าสักการสถาน ตรงภาษาอังกฤษว่า “Shrine” มาจากภาษาละติน “Scrinium” ที่แปลว่า “หีบสำหรับหนังสือหรือเอกสาร” และภาษาฝรั่งเศสเก่า “escrin” ที่แปลว่า “กล่องหรือหีบ” คือสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่อุทิศให้แก่บุคคลสำคัญทางศาสนา บรรพบุรุษ วีรบุรุษ มรณสักขี นักบุญ หรือบุคคลที่มีความสำคัญหรือเป็นที่นับถือผู้เป็นที่สักการะ ในศาลมักจะประกอบด้วยรูปเคารพ วัตถุมงคล หรือสิ่งของต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้เป็นที่สักการะ ศาลที่สร้างขึ้นเพื่อรับสิ่งสักการะเรียกว่า “แท่นบูชา” ศาลเจ้าเป็นสิ่งที่พบในศาสนาแทบทุกศาสนาในโลกที่รวมทั้งศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาฮินดู ศาสนาพื้นบ้านจีน และศาสนาชินโต และการใช้ในทางที่ไม่เกี่ยวกับศาสนาเช่นรำลึกสถานเกี่ยวกับสงคราม ศาลเจ้ามีลักษณะต่างกันไปหลายอย่าง ปูชนียสถานบางแห่งก็ตั้งอยู่ภายในโบสถ์ วัด สุสาน หรือแม้แต่ในบ้านเรือนที่อยู่อาศัย หรือบางครั้งก็จะเป็นแบบที่เคลื่อนย้ายได้ เช่นในลักษณะของ “หีบวัตถุมงคล” ศาลเจ้าบางครั้งก็อาจจะกลายมาเป็นศูนย์กลางที่ประดิษฐานเทวรูปต่าง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาลเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

ศาสดา

ือผู้ก่อตั้งศาสนา หรือผู้คิดค้น ริเริ่มในการนำคำสอนไปเผยแผ่ เช่น พระพุทธศาสนามีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา ศาสนายูดาห์มีโมเสสเป็นศาสดา เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาสดา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนศึกษา

ัญลักษณ์ของศาสนาต่าง ๆ ศาสนศึกษา (religious studies; religious education) คือสาขาวิชาที่ศึกษาความเชื่อ พฤติกรรม และสถาบันทางศาสนา โดยการบรรยาย ตีความ และอธิบาย ศาสนาอย่างเป็นระบบ อิงกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์และมุมมองจากวัฒนธรรมที่หลากหลาย ศาสนศึกษาต่างจากเทววิทยาซึ่งเน้นศึกษาเพื่อให้เกิดความเชื่อและเข้าใจอำนาจเหนือมนุษย์ เช่น เทวดา พระเป็นเจ้า แต่ศาสนศึกษาจะศึกษาจากมุมมองของคนนอก จึงมีการใช้หลายสาขาวิชามาเป็นเครื่องมือในการศึกษาด้วย เช่น มานุษยวิทยา สังคมวิทยา จิตวิทยา ปรัชญา และประวัติศาสตร์ศาสนา ศาสนศึกษาเกิดขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นช่วงที่การศึกษาคัมภีร์ไบเบิลด้วยหลักวิชาประวัติศาสตร์กำลังเป็นที่นิยม และคัมภีร์ของศาสนาพุทธและศาสนาฮินดูก็เพิ่งถูกแปลเป็นภาษายุโรปเป็นครั้งแรก นักศาสนศึกษาที่มีบทบาทสำคัญในยุคแรก ๆ คือ ศาสตราจารย์มักซ์ มึลเลอร์ ในช่วงแรกนั้นยังใช้ชื่อว่าศาสนาเปรียบเทียบหรือศาสนศาสตร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาสนศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนสถาน

นสถาน (Place of worship) คือสถานทางศาสนา ใช้ประกอบศาสนพิธี เช่น การอาราธนาศีลและสมาทานศีลในวัด และการละหมาดในมัสยิดอิสลาม เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาสนสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนา

ัญลักษณ์ของศาสนาต่าง ๆ ภาพศาสนพิธีในศาสนาต่าง ๆ ทั่วโลก ศาสนา (Religion) หมายถึง ลัทธิความเชื่อของมนุษย์ เกี่ยวกับการกำเนิดและสิ้นสุดของโลก หลักศีลธรรม ตลอดจนลัทธิพิธีที่กระทำตามความเชื่อนั้น ๆ หลายศาสนามีการบรรยาย สัญลักษณ์และประวัติศาสตร์ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเจตนาอธิบายความหมายของชีวิต และ/หรืออธิบายกำเนิดชีวิตหรือเอกภพ จากความเชื่อของศาสนาเกี่ยวกับจักรวาลและธรรมชาติมนุษย์ คนได้รับศีลธรรม จริยศาสตร์ กฎหมายศาสนาหรือวิถีชีวิตลำดับก่อน บางการประมาณว่า มีศาสนาราว 4,200 ศาสนาในโลก นอกจากนี้ ยังมีผู้ไม่นับถือศาสนาใด ๆ ซึ่งเรียกว่า ผู้ที่ไม่มีศาสน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธกับทฤษฎีวิวัฒนาการ

นื่องจากไม่มีหลักสำคัญทางพุทธศาสนาที่ค้านกับทฤษฎีวิวัฒนาการ ชาวพุทธเป็นจำนวนมากยอมรับหลักวิทยาศาสตร์ข้อนี้ได้ แต่คำถามเกี่ยวกับความที่โลก (เอกภพ) มีที่สุดหรือไม่มีที่สุด เที่ยงหรือไม่เที่ยง โดยทั่วไปเป็นปัญหาในปัญหา 10 อย่างที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงพยากรณ์ เพราะไม่เป็นประโยชน์ต่อข้อปฏิบัติให้ถึงมรรคผลนิพพาน เพราะเหตุนั้น ชาวพุทธบางพวกไม่ใส่ใจในปัญหาเหล่านี้ว่ามีประโยชน์เพื่อการพ้นทุกข์ทั้งของตนและผู้อื่น ส่วนองค์ทะไลลามะทรงปฏิเสธวิวัฒนาการที่มาจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติว่า ซึ่งเป็นคำกล่าวที่มีนักวิชาการอธิบายว่า องค์ทะไลลามะได้ตรัสเช่นนี้ก็เพราะว่า การเวียนว่ายตายเกิดนั้นเป็นผลของกรรม ตามหลักของศาสนาพุท.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธกับทฤษฎีวิวัฒนาการ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศฟิลิปปินส์

ประเทศฟิลิปปินส์ เป็นประเทศที่มีพลเมืองส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก และใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก แต่ในเวลาเดียวกันก็มีกลุ่มศาสนาต่าง ๆ อยู่ในประเทศด้วยกัน ทั้งอิสลาม พุทธ ฮินดู และศาสนาอื่น ๆ บนเอกภาพที่หลากหล.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธในประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศกัมพูชา

กัมພູມາาเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์ ความเป็นมากว่าพันปี โดยแต่เดิมเป็นดินแดนของกลุ่มชาติพันธ์มอญ-เขมร ที่มีหลักฐานว่าอพยพมาจากอินเดีย ในฐานะพ่อค้า หรือเพื่อการค้า ผ่านเข้ามาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของคาบสมุทรอินโดจีน และตั้งถิ่นฐาน ผสมผสานกับคนในท้องถิ่นเดิม และกับคนที่อพยพมาทีหลัง ทั้งในชาติพันธุ์ และทางวัฒนธรรมมีความเจริญเพิ่มขึ้นตามลำดับ ต่อมาได้มีชนอินเดียเข้ามาติดต่อค้าขาย และได้นำเอาวัฒนธรรมอินเดียมาเผยแผ่ด้วย ทำให้กัมพูชารับเอาวัฒนธรรมอินเดีย ซึ่งก็คือพระพุทธศาสนาด้วยเช่นกัน จากหลักฐานที่ปรากฏ กัมพูชาเป็นดินแดนแรก ๆ ที่รับอิทธิพลของพระพุทธศาสนาเมื่อเข้ามาเผยแผ่เข้ามาสู่สุวรรณภูมิ รวมทั้งได้รับอิทธิพลในด้านความเจริญทางด้านจิตใจมาจากประเทศอินเดีย ศาสนาแรกที่เป็นศาสนาสำคัญของชาวกัมพูชา คือ ศาสนาพราหมณ์ และศาสนาที่รองลงมา คือ พระพุทธศาสนา ศาสนาทั้งสองนี้ ได้กลายเป็นศาสนาหลัก และศาสนารองในสังคมกัมพูชา ดังปรากฏหลักฐานทางด้านจารึก โบราณดคี และหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏผ่านปราสาทนครวัต ปราสาทนครธม และพลวัฒน์ทางพระพุทธศาสนาสืบมาจนกระทั่งปัจจุบัน โดยพัฒนาการของพระพุทธศาสนาที่ปรากฏสามารถจัดเป็นลำดับในแต่ละช่วงเวลาได้เป็นยุคต่าง ๆ ดังนี้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธในประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศมาเลเซีย

อดีตประเทศมาเลเซียเคยได้รับอิทธิพลของศาสนาฮินดู-พุทธมาตั้งแต่สมัยอาณาจักรศรีวิชัย แต่ต่อมาเมื่อศาสนาอิสลามได้เข้ามาแพร่หลายอย่างกว้างขวางนับตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 20 ในรัชสมัยของพระเจ้าปรเมศวรเป็นต้นมาทำให้พุทธศาสนาหมดความสำคัญไป ในระยะเวลาหนึ่ง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธในประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศอัฟกานิสถาน

ทธศาสนาได้เผยแพร่เข้ามาตั้งแต่สมัยพุทธกาล โดยกลุ่มชาวศากยะที่หนีตายจากพระเจ้าวิฑฑูภะมีเจ้าชายองค์หนึ่งได้สมรสกับกับพระเทพธิดาพญานาค แล้วตั้งรกรากอยู่ที่แคว้นอุทยาน (Udyana) ทางตอนเหนือของอัฟกานิสถานในปัจจุบัน และต่อมาก็หลังทุติยสังคายนาก็มีพระกลุ่มมหาสังฆิกะได้เผยแพร่ในบริเวณแคว้นนครหาร (Nagarahara) ซึ่งใกล้แคว้นคันธาระทางทิศเหนือ แต่สองยุคนี้ ไม่ปรากฏแน่ชัดทางประวัติศาสตร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธในประเทศอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศอินโดนีเซีย

ประชากรของประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบันส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม แต่อดีตเคยมีพระพุทธศาสนาแบบมหายานเข้ามาประดิษฐานอยู่ พระพุทธศาสนาได้รุ่งเรืองมาก ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 มีโบราณสถานที่สำคัญ 2 แห่งอยู่ในอินโดนีเซียคือ บรมพุทโธ (โบโรบุดูร์) ตั้งอยู่ที่ราบเกฑุ (kedu) ในภาคกลางของชวา ห่างจากเมืองยอกจาการ์ตา (Jogjagata) ในปัจจุบันทางเหนือประมาณ 40 กิโลเมตร และพระวิหารเมนดุต (Mendut) ซึ่งอยู่ห่างจาก โบโรบุดูร์ไปทางทิศตะวันออก 3 กิโลเมตร ต่อมาเมื่ออิสลามได้ขยายอำนาจครอบงำอินโดนีเซียในปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธในประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาฮินดู

ัญลักษณ์ “โอม” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระตรีมูรติ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3 ศาสนาฮินดู (Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "ตรีมูรติ" คือ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาสนาฮินดู · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาฮินดูแบบบาหลี

ตรีบาหลีขณะประกอบพิธีกรรมทางศาสนาที่อูบุดก่อนถวายของบูชาแด่เทพเจ้า ปัทมาสน์ที่ประทับของอจินไตย ศาสนาฮินดูแบบบาหลี (Agama Hindu Dharma) หรือ ลัทธิวารีศักดิ์สิทธิ์ (Agama Tirtha) เป็นศาสนาฮินดูรูปแบบหนึ่งที่ปฏิบัติในกลุ่มชาวบาหลีบนเกาะบาหลีในประเทศอินโดนีเซีย อันมีความแตกต่างจากศาสนาฮินดูสายหลักคือมีการสักการะผีพื้นเมือง บูชาผีบรรพบุรุษ และเคารพพระโพธิสัตว์ซึ่งเป็นของคติทางศาสนาพุทธด้วย แม้ว่าประชากรส่วนใหญ่ของประเทศอินโดนีเซียจะนับถือศาสนาอิสลามและคริสต์ แต่ชาวบาหลียุคปัจจุบันยังคงยึดมั่นในหลักธรรมของตนและยังประกอบพิธีกรรมทางศาสนาอย่างฮินดูอยู.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาสนาฮินดูแบบบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาแบบอินเดีย

นาแบบอินเดีย (Indian religions) คือศาสนาที่มีต้นกำเนิดในอนุทวีปอินเดีย ได้แก่ ศาสนาฮินดู ศาสนาเชน ศาสนาพุทธ และศาสนาซิกข์Adams, C. J.,, Encyclopædia Britannica, 2007.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาสนาแบบอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาในประเทศกัมพูชา

นาที่สำคัญในกัมพูชาคือศาสนาพุทธ มาตั้งแต่สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 โดยก่อนหน้านั้น ศาสนาฮินดูเป็นศาสนาที่มีความสำคัญมาเป็นเวลากว่าพันปี ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเผยแพร่เข้ามาพร้อมกับมิชชันนารีจากฝรั่งเศส เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 23-24 ศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่เป็นที่นับถือในหมู่ชาวจาม ส่วนชาวเขมรเชื้อสายจีน นับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน ลัทธิขงจื๊อ และความเชื่อดั้งเดิมของชาวจีน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาสนาในประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาในประเทศไทย

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรมให้ทางราชการรับรองศาสนาในประเทศไทยไว้ 5 ศาสนา ดังนี้ ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาซิก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศาสนาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ศิลานักปราชญ์

วาด ''The Alchemist in Search of the Philosopher's Stone'' โดย โจเซฟ ไรต์ (ค.ศ. 1771) ศิลานักปราชญ์ (philosopher's stone, lapis philosophorum) เป็นสสารทางการเล่นแร่แปรธาตุอันเป็นตำนานซึ่งกล่าวกันว่าสามารถเปลี่ยนโลหะฐาน (เช่น ตะกั่ว) ให้เป็นทองคำหรือเงินได้ นอกจากนี้ บางครั้งยังเชื่อกันว่าเป็นน้ำอมฤตด้วย มีประโยชน์ทำให้กลับเป็นวัยหนุ่มสาว (rejuvenation) และอาจถึงบรรลุความเป็นอมตะ ศิลานักปราชญ์เป็นเป้าหมายการแสวงมากที่สุดในการเล่นแร่แปรธาตุตะวันตก ศิลานักปราชญ์เป็นสัญลักษณ์ใจกลางของการเล่นแร่แปรธาตุ โดยเป็นสัญลักษณ์แสดงความสมบูรณ์แบบที่ดีเลิศที่สุด การเห็นแจ้งและความสุขสำราญปานสวรรค์ ความพยายามแสวงศิลานักปราชญ์ เรียก "งานใหญ่" (The Great Work; Magnum opus) ในศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู จินดามณีเป็นวัตถุที่เทียบเท่ากับศิลานักปราชญ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศิลานักปราชญ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะทวารวดี

ระพุทธรูปปางแสดงธรรมที่พระปฐมเจดีย์ อาณาจักรทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ 11-16) เป็นของชนชาติมอญ ละโว้ มีศูนย์กลางอยู่บริเวณจังหวัดนครปฐม จังหวัดราชบุรี อำเภออู่ทอง และกินพื้นที่ไปจนถึงภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงหนือ แถบ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดปราจีนบุรี และขึ้นไปถึงทางเหนือ จังหวัดลำพูน มีศิลปะเป็นของตนเอง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศิลปะทวารวดี · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะตะวันออก

ทั่วไปแล้วมักจะลงความเห็นกันว่า ศิลปะตะวันออกเป็นศิลปะอุดมคติ อันเป็นศิลปะที่มิได้ยึดถือเอาความจริงตามธรรมชาติเป็นหลักจนเกินไป หรือทำเหมือนธรรมชาติทุกกระเบียดนิ้ว และแม้ว่าจะใช้ลักษณะรูปแบบของธรรมชาติเป็นพื้นฐาน แต่ก็มิได้เน้นจนเกิดความสำคัญเท่ากับลักษณะรูปแบบที่สร้างสรรค์โดยจินตนาการ เพราะฉะนั้นเมื่อสร้างสรรค์รูปที่ประสงค์จะเอาไว้สักการบูชา จึงพยายามถ่ายทอดแนวคิดออกมาให้มีลักษณะที่สูงกว่าธรรมชาติ สังเกตได้จากพระพุทธรูป ซึ่งมีส่วนประกอบพระวรกาย เช่นเดียวกับมนุษย์ แต่ก็มิได้คล้อยตามลักษณะอันแท้จริงของมนุษย์ตามธรรมชาติ ศิลปะตะวันออก เป็นศิลปะที่มีลักษณะเด่นชัดในเรื่องของเอกลักษณ์ อันเนื่องมาจากความคิดที่ประดิษฐ์ขึ้นอย่างวิจิตรบรรจงของคนในชาติ นอกจากนั้นศิลปะยังแบ่งออกตามฐานะของบุคคล เช่น ในราชสำนักก็ย่อมจะต้องประณีตวิจิตรตระการตา เพราะเป็นสิ่งของใกล้ชิดกับกษัตริย์ ส่วนศิลปะของบุคคลทั่วไปก็แสดงฐานะที่แตกต่างกันอีกด้วย เช่น สิ่งของเครื่องใช้ของเศรษฐีกับสามัญชนทั่วไป เป็นต้น ที่เป็นไปตามฐานะของบุคคลเช่นนี้ ก็เพื่อความเหมาะสมกับโอกาสที่จะใช้ด้วย เช่น เครื่องราชูปโภคของกษัตริย์ ก็เพื่อแสดงความสง่างามสมศักดิ์ศรีของการเป็นกษัตริย์ อันเป็นประมุขของประเทศ เพราะกษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะเป็นสัญลักษณ์แห่งความเป็นเอกราชของชาติอีกด้วย ศิลปะตะวันออกได้รับการสร้างสรรค์ขึ้นอย่างฉลาดและแฝงไว้ด้วยแนวคิดและรูปแบบอันสร้างสรรค์ขึ้นเฉพาะเป็นเรื่อง ๆ ไป เช่น การสร้างสถูปเจดีย์ในพระพุทธศาสนา ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยพระเจ้าอโศกมหาร..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศิลปะตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะเกี่ยวกับความตาย

ลปะเกี่ยวกับความตาย (Funerary art) คือประเภทของงานศิลปะที่เป็นรูปแบบหรือตั้งอยู่กับร่างของผู้ตาย ที่เก็บศพเป็นคำกว้างๆ ที่สใช้สำหรับบรรจุผู้ตาย ขณะที่สมบัติสุสานคือสิ่งของที่ฝังหรือตั้งไว้กับผู้ตาย—ที่นอกไปจากร่างของผู้ตาย—ที่ได้รับการวางไว้กับผู้ตาย สิ่งของต่างๆ ที่ฝังไปกับผู้ตายอาจจะรวมทั้งสิ่งของส่วนตัว หรือวัตถุหรือสิ่งของที่สร้างขึ้นโดยเฉพาะสำหรับทำการฝัง หรือวัตถุหรือสิ่งของขนาดย่อที่เชื่อกันว่าจะมีประโยชน์ต่อผู้ตายในโลกใหม่ ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมต่างๆ ในอดีตมักจะมาจากวัตถุที่ฝังไว้กับผู้ตายเหล่านี้ ศิลปะเกี่ยวกับความตายอาจจะมีวัตถุประสงค์หลายประการที่นอกไปจากเพื่อความมีสุนทรีย์ในการแสดงถึงความเชื่อหรืออารมณ์เกี่ยวกับชีวิตหลังความตาย ศิลปะเกี่ยวกับความตายอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของพิธีการฝังศพ, เป็นสิ่งของที่ผู้ตายจะนำไปใช้ได้ในโลกหน้า และ เป็นวัตถุเพื่อการเฉลิมฉลองชีวิตและความสำเร็จของผู้ตาย หรือ เป็นส่วนหนึ่งของปัจจัยในประเพณีการสักการะบรรพบุรุษ (ancestor veneration) นอกจากนั้นศิลปะเกี่ยวกับความตายก็อาจจะเป็นเครื่องเตือนถึงความไม่เที่ยงแท้ของสังขารของมนุษย์, เครื่องแสดงถึงคุณค่าและบทบาทของวัฒนธรรม และเป็นการเอาใจวิญญาณของผู้ที่เสียชีวิตไปแล้ว เพื่อที่จะป้องกันไม่ให้กลับมาหลอกหลอนผู้ที่ยังมีชีวิตอยู่ วัฒนธรรมหลายวัฒนธรรมมีบุคลาธิษฐานยมทูต เช่นเทพเฮอร์มีสของกรีก หรือเทพชารุน ผู้เป็นผู้นำทางวิญญาณไปยังโลกสำหรับผู้ตาย ศิลปะเกี่ยวกับความตายมีมาตั้งแต่สมัยมนุษย์นีอันเดอร์ธอลกว่า 100,000 ปีมาแล้ว และดำเนินในทุกชาติทุกวัฒนธรรมต่อมา—ยกเว้นวัฒนธรรมฮินดูที่มีข้อมูลเพียงเล็กน้อยที่เป็นข้อยกเว้น งานศิลปะอันมีชื่อเสียงในวัฒนธรรมยุคโบราณในอดีต—ตั้งแต่พีระมิดอียิปต์ และสมบัติฟาโรห์ทุตอังค์อามุน ไปจนถึง สุสานจิ๋นซีฮ่องเต้ล้อมรอบฮวงซุ้ยของจักรพรรดิจีนฉินสื่อหวงแห่งราชวงศ์ฉิน, the ที่เก็บศพฮาลิคาร์นาสซัส, เรือฝังที่ซัททันฮู และ ทัชมาฮาล—เป็นที่เก็บศพหรือที่พบสิ่งของที่ฝังไปกับผู้ตายเป็นจำนวนมาก ส่วนใหญ่แล้วศิลปะเกี่ยวกับความตายมักจะสร้างขึ้นโดยผู้อุปถัมภ์ศิลปินผู้มีฐานะดี ส่วนการฝังศพหรือทำศพของผู้มีฐานะยากจนก็อาจจะเพียงแต่เป็นภาพที่เขียนหยาบๆ ง่ายๆ และสิ่งของติดตัวที่เป็นสมบัติเมื่อมีชีวิตอยู.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศิลปะเกี่ยวกับความตาย · ดูเพิ่มเติม »

ศิวลึงค์

วลึงค์ ลึงค์ หรือ ลิงค์ (लिङ्गं หมายถึง เครื่องหมาย สัญลักษณ์ เพศ องคชาต การอนุมาน คัพภะที่ก่อเกิดลูกหลานชั่วนิรันดร์) เป็นสัญลักษณะของพระศิวะเทพเจ้าในศาสนาฮินดู ใช้ในการบูชาสักการะในโบสถ์วิหารฮินดูHinduism: Beliefs and Practices, by Jeanne Fowler, pgs.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศิวลึงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ศุภะ สุขะ ไจนะ

"ศุภะ สุขะ ไจนะ" เป็นชื่อเพลงชาติ (قومی ترانہ) ของรัฐบาลเฉพาะกาลแห่งอินเดียอิสระ (Arzi Hukumat-e-Azad Hind เรียกโดยย่อ Azad Hind) เพลงนี้มีพื้นฐานมาจากบทกวี ชนะ คณะ มนะ ซึ่งเป็นบทกวีภาษาเบงกาลีดัดแปลงเป็นภาษาสันสกฤต ผลงานของรพินทรนาถ ฐากูร หลังจากย้ายการเคลื่อนไหวจากเยอรมนีมาสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปี ค.ศ. 1943 สุภาษ จันทระ โพส โดยความช่วยเหลือของมุมตัซ ฮุสเซ็น (Mumtaz Hussain) นักเขียนประจำสถานีวิทยุอินเดียอิสระ และพันเอกอะบิด ฮะซัน ซัฟฟรานี (Abid Hassan Saffrani) แห่งกองทัพแห่งชาติอินเดีย เขาได้เขียนเพลงชนะ คณะ มนะ ของฐากูรขึ้นใหม่เป็นภาษาฮินดูสตานี ในชื่อ "ศุภะ สุขะ ไจนะ" เพื่อใช้เป็นเพลงชาติ เนตาชี (ฉายาของสุภาษ จันทระ โพส) ให้ความสำคัญกับบทเพลงไว้ในฐานะที่มาของพลังในในการเตรียมใจสู้จนถึงที่สุด เขาได้ลงมายังสถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพแห่งชาติอินเดีย ณ อาคารคาเธย์บิลดิ้ง ในประเทศสิงคโปร์ และให้ร้อยเอกราม สิงห์ ฐากูร (Ram Singh Thakur) ประพันธ์ทำนองสำหรับใช้กับเพลงที่ได้แปลมาจากผลงานต้นฉบับภาษาเบงกาลีของรพินทรนาถ ฐากูร โดยขอให้เขาแต่งเป็นทำนองมาร์ชซึ่งไม่ทำให้คนฟังแล้วหลับ แต่ปลุกคนที่หลับอยู่ให้ตื่นขึ้นมาแทน ต่อมาอินเดียได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1947 ในวันถัดมา ชวาหระลาล เนห์รู ได้ชักธงติรังคะขึ้นเหนื้อเชิงเทินป้อมแดงเมืองเดลลี และกล่าวคำปราศรัยต่อประชาชาติ ในโอกาสนี้ ร้อยเอกราม สิงห์ ฐากูร ได้รับเชิญให้เล่นทำนอง "เพลงชาติ" (Qaumi Tarana) ของกองทัพแห่งชาติอินเดียพร้อมกับวงออร์เคสตร้าของเขาเป็นกรณีพิเศษ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและศุภะ สุขะ ไจนะ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยจตุมุข

อาณาจักรเขมรซึ่งเป็นอาณาจักรที่สืบต่อมาจากอาณาจักรขอมโบราณนั้น มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองจตุรมุข ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของเมืองพนมเปญ ตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสมัยจตุมุข · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมฮินดูสมาช

มาคมฮินดูสมาช หรือ วัดเทพมณเฑียร เสาชิงช้า เป็นโบสถ์พราหมณ์ลัทธิไวษณพ ตั้งอยู่ด้านบนของโรงเรียนภารตวิทยาลัย ถนนศิริพงษ์ แขวงสำราญราษฎร์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเพื่อเป็นเทวสถานของพระวิษณุและเทพเจ้าในศาสนาฮินดู.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสมาคมฮินดูสมาช · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมฮินดูธรรมสภา

มาคมฮินดูธรรมสภา หรือ วัดวิษณุ ยานนาวา เป็นโบสถ์พราหมณ์ลัทธิไวษณพ ตั้งอยู่เยื้องกับวัดปรก เขตสาทร กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเพื่อเป็นเทวสถานของพระวิษณุและเทพเจ้าในศาสนาฮินดู.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสมาคมฮินดูธรรมสภา · ดูเพิ่มเติม »

สมณะ

มณะ (श्रमण; Samaṇa) แปลว่า ผู้สงบ ผู้แสวงหา นักพรตMonier Monier-Williams, श्रमण zramaNa, Sanskrit-English Dictionary, Oxford University Press, page 1096 เป็นขบวนการศาสนาแบบอินเดียสมัยโบราณที่คู่ขนานไปกับศาสนาพราหมณ์ และเป็นต้นกำเนิดของศาสนาเชน ศาสนาพุทธ รวมถึงลัทธิอาชีวกและลัทธิจารวาก พัฒนาการทางศาสนาที่สำคัญที่เกิดจากขบวนการสมณะ ได้แก่ การฝึกโยคะ สังสารวัฏ และโมกษะ ซึ่งยังแพร่หลายในศาสนาแบบอินเดียจวบจนปัจจุบันFlood, Gavin.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสมณะ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร)

มเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลั.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร) · ดูเพิ่มเติม »

สรรพันตรเทวนิยม

รรพัชฌัตเทวนิยม (Panentheism) เป็นเทวนิยมรูปแบบหนึ่งที่เชื่อว่าพระเป็นเจ้าทรงสถิตแทรกซึมอยู่ทั่วโลก (ตลอดทั้งจักรวาล) มีลักษณะเป็นแนวคิดสายกลางระหว่างแนวคิดแบบเอกเทวนิยมด้ังเดิมที่มองว่าพระเป็นเจ้าทรงอยู่แยกขาดจากโลก กับแนวคิดสรรพเทวนิยมที่มองว่าพระเป็นเจ้ากับโลกเป็นสิ่งเดียวกัน สรรพัชฌัตเทวนิยมจึงเสนอว่าพระเป็นเจ้าทรงปรากฏพระองค์ในโลก (ไม่ได้แยกขาดจากกัน) แต่พระองค์ก็ไม่ใช่ภาวะเดียวกับโลก แนวคิดนี้ปรากฏในสาขาปรัชญาและเทววิทยามาหลายศตวรรษ แต่มาเฟื่องฟูมากในโลกตะวันตกเมื่อสองศตวรรษที่แล้ว เมื่อศาสนาคริสต์ต้องปรับตัวเข้ากับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ ศาสนาที่มีแนวคิดแบบสรรพัชฌัตเทวนิยม เช่น ศาสนาฮินดูสำนักวิศิษฏาไทฺวตะ เวทานตะ และลัทธิอนุตตรธรรม เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสรรพันตรเทวนิยม · ดูเพิ่มเติม »

สรวปัลลี ราธากฤษณัน

ร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสรวปัลลี ราธากฤษณัน · ดูเพิ่มเติม »

สวัสติกะ

รื่องหมายสวัสติกะ บนพระพุทธรูป สวัสติกะ (ภาษาอังกฤษ: Swastika; สันสกฤต स्वस्तिक svastika) เป็นเครื่องหมายกากบาทที่ตรงส่วนปลายทำมุมฉาก โดยมีทั้งลักษณะที่ทิศทางด้านซ้าย หรือด้านขวา เครื่องหมายสวัสติกะ มีการใช้เป็นสัญลักษณ์ใน ศาสนาฮินดู และ พุทธศาสนา ในประเทศตะวันตกรู้จักกันมากในสัญลักษณ์ของฝ่ายนาซี โดยสวัสติกะของนาซีจะเอียงทำมุม 45 องศากับแนวระนาบ สวัสติกะของฮินดูจะมีจุด ประดับที่มุมต่างๆ ของสัญลักษณ์ สัญลักษณ์สวัสติกะของฝ่ายนาซี จะมีลักษณะทิศทางทางด้านขวา หากสังเกตดูจะพบว่าเป็นรูปอักษรโรมันตัว S 2 ตัวซ้อนกัน ซึ่งย่อมาจากคำในภาษาเยอรมัน โดย S ตัวหนึ่งมาจากคำว่า "Stadt" แปลว่า บ้านเมือง และอีกตัวหนึ่งมาจากคำว่า "Sicherheit" แปลว่า ปลอดภั.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสวัสติกะ · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพประชาชนมาร์แฮนอินโดนีเซีย

หภาพประชาชนมาร์แฮนอินโดนีเซีย (Indonesian Marhaen People's Union; ภาษาอินโดนีเซีย: Persatuan Rakyat Marhaen Indonesia) เป็นที่รู้จักกันในชื่อย่อว่าเปอร์ไม (Permai) เป็นขบวนการทางสังคมในอินโดนีเซีย ทำงานทั้งในรูปพรรคการเมืองและสมาคมอาบังงัน ก่อตั้งเมื่อ 17 ธันวาคม..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสหภาพประชาชนมาร์แฮนอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สังข์รดน้ำ

ังข์รดน้ำ (Valambari shank, Great indian chank) เป็นหอยทะเลฝาเดี่ยวชนิดหนึ่ง ในวงศ์หอยสังข์มงคล (Turbinellidae) จัดเป็นหอยขนาดใหญ่ มีเปลือกหนา รูปเปลือกค่อนข้างป้อม วงเกลียวตัวกลม ส่วนปลายมีร่องยาวปานกลาง ส่วนยอดเตี้ย ช่องเปลือกรูปรี ขอบด้านในมีสัน 3-4 อัน ผิวชั้นนอกสุดสีน้ำตาล เป็นชั้นที่บางและหลุดล่อนง่าย และมักจะหลุดออกเมื่อหอยตาย เปลือกชั้นรองลงไปเป็นส่วนที่มีความหนาและแข็ง ค่อนข้างเรียบ มีสีขาวนวลหรือสีขาวอมชมพู พบกระจายพันธุ์อยู่เฉพาะมหาสมุทรอินเดียทางตอนใต้ของประเทศอินเดียและประเทศศรีลังกาเท่านั้น อาศัยอยู่ตามพื้นน้ำที่เป็นพื้นทราย กินหนอนตัวแบนและแพลงก์ตอนเป็นอาหาร สังข์รดน้ำ โดยปกติแล้วจะมีเปลือกเวียนทางซ้าย (อุตราวรรต) ตามเข็มนาฬิกา แต่มีบางตัวที่เวียนไปทางด้านขวา (ทักษิณาวรรต) ซึ่งพบได้น้อยมาก ซึ่งหอยลักษณะนี้ตามคติของศาสนาฮินดูจะถือเป็นมงคล (ตามคติของพราหมณ์-ฮินดู ขว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสังข์รดน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

สังเวชนียสถาน

ังเวชนียสถาน (อ่านว่า สัง-เว-ชะ-นี-ยะ-สะ-ถาน) แปลว่า สถานที่อันเป็นที่ตั้งแห่งความสังเวช เป็นคำที่ใช้เรียกสถานที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธเจ้าโดยเฉพาะ สังเวชนียสถาน หมายถึงสถานที่ที่ทำให้เกิดความรู้สึกระลึกถึงพระพุทธเจ้า เกิดความแช่มชื่น เบิกบาน เกิดแรงบันดาลใจที่จะทำความดี เมื่อได้ไปพบเห็น สังเวชนียสถาน มี 4 แห่ง คือ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสังเวชนียสถาน · ดูเพิ่มเติม »

สัปดาห์

ัปดาห์ เป็นหน่วยวัดเวลาเท่ากับเจ็ดวัน เป็นหน่วยเล็กกว่าเดือน อย่างไรก็ดี บางครั้งคำว่า "สัปดาห์" นี้ยังหมายถึงหน่วยวัดเวลาอื่นซึ่งน้อยหรือมากกว่าเจ็ด โดยในประวัติศาสตร์ สัปดาห์หนึ่งยาวสี่ถึงสิบวันในที่ต่าง ๆ กัน หลักฐานการนับว่าสัปดาห์หนึ่งมีเจ็ดวันอย่างต่อเนื่องมานั้นปรากฏในหมู่ชาวยิวระหว่างการคุมขังที่บาบิโลน (Babylonian Captivity) ในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล ทั้งศาสนายูดาย (ตามบรรยายการสรรค์สร้างในโทราห์/ไบเบิล) และบาบิโลนโบราณใช้สัปดาห์เจ็ดวัน วัฒนธรรมอื่นได้รับเอาสัปดาห์เจ็ดวันไปในเวลาแตกต่างกัน ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 1 ถึง 3 จักรวรรดิโรมันค่อย ๆ แทนที่ปฏิทินโรมันซึ่งสัปดาห์หนึ่งมีแปดวันด้วยสัปดาห์เจ็ดวัน ชาวฮินดูอาจรับสัปดาห์เจ็ดวันก่อนศตวรรษที่ 11 ก่อนคริสตกาล นอกจากนี้ ยังมีหลักฐานว่าชาวจีนบางกลุ่มได้ใช้สัปดาห์เจ็ดวันตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสัปดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

สันตินิยม

ันตินิยม (Pacifism) เป็นแนวคิดที่ต่อต้านสงครามตลอดจนความรุนแรงต่างๆ โดยเชื่อว่าสงครามและความรุนแรงเป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้ทางศีลธรรม แต่สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆได้โดยสันติวิธี ซึ่งนักสันตินิยมมักกล่าวถึงแนวทางปฏิบัติโดยยึดหลักศาสนา อย่างไรก็ตามยังมีการให้คำวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นแนวคิดที่สามารถปฏิบัติได้ยาก เนื่องจากการให้โลกนี้ปราศจากความรุนแรงในความเป็นจริงนั้นไม่อาจเกิดขึ้นได้โดยตลอด ในบางครั้ง การใช้มาตรการขั้นเด็ดขาดโดยยึดหลักจริยธรรมแก้ปัญหาอาจเป็นแนวทางที่ดีกว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสันตินิยม · ดูเพิ่มเติม »

สันนิบาตมุสลิมแห่งอินเดีย

ณะทำงานของสันนิบาตมุสลิมที่ลาฮอร์ สันนิบาตมุสลิมแห่งอินเดีย (All-India Muslim League; ภาษาอูรดู: آل انڈیا مسلم لیگ) เป็นองค์กรที่ตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสันนิบาตมุสลิมแห่งอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

สาบนรสิงห์

นรสิงห์ เป็นนวนิยายประพันธ์โดย จินตนา ปิ่นเฉลียว ในนามปากกา จินตวีร์ วิวัธน..จินตนิยายแห่งเทพ ที่เป็นหนึ่งในตำนาน ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทางช่อง 5 (ปี 2539)กำกับโดย จารึก สงวนพงษ์ บทโทรทัศน์โดย อัครกิตต.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสาบนรสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

สาราลา ตามาง

ราลา ตามาง หรือ สาราลา โครขาลี อดีตพระสนมในสมเด็จพระราชาธิบดีตริภุวนวีรพิกรมศาหเทวะ พระมหากษัตริย์แห่งเนปาล ซึ่งครองราชย์ในช่วงปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสาราลา ตามาง · ดูเพิ่มเติม »

สารนาถ

รนาถ เป็นพุทธสังเวชนียสถานแห่งที่ 3 (1 ใน 4 แห่งของชาวพุทธ) ตั้งห่างจากเมืองพาราณสี เมืองศูนย์กลางทางศาสนาของศาสนาฮินดู ไปทางเหนือราวเก้ากิโลเมตร อยู่ในรัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดียในปัจจุบัน หรือ แคว้นมคธ ชมพูทวีป ในสมัยพุทธกาล เหตุที่ได้ชื่อว่าสารนาถ เนื่องมาจากสถานที่แห่งนี้เป็นสถานที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา เริ่มต้นประกาศพระพุทธศาสนาเพื่อเป็นที่พึ่งแก่มหาชนทั้งหลาย และบ้างก็ว่ามาจากศัพท์ว่า สารงฺค + นาร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสารนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สาละ

ละ เป็นพืชในวงศ์ Dipterocarpaceae เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาฮินดู เป็นที่ประทับของพระเจ้า และเป็นสัญลักษณ์แห่งอินทรา ในทางพุทธศาสนา ต้นสาละคือต้นที่พระพุทธมารดายืนเหนี่ยวกิ่งในขณะประสูติไม่ใช่ต้นสาละลังกา เป็นไม้เนื้อแข็งที่มีความสำคัญในอินเดีย ใช้ในการก่อสร้างโดยเฉพาะกรอบประตูและหน้าต่าง ใบอ่อนและตาดอกในรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสาละ · ดูเพิ่มเติม »

สาอี บาบาแห่งศิรฑี

อี บาบาแห่งศิรฑี สาอี บาบาแห่งศิรฑี (सत्य साईं बाबा; शिर्डीचे श्री साईबाबा ศิรฺฑีเจ ศฺรี สาอีพาพา) เกิดใน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสาอี บาบาแห่งศิรฑี · ดูเพิ่มเติม »

สางขยะ

งขยะ หรือสัมขยะ (Samkhya; सांख्य) เป็นปรัชญาหนึ่งในศาสนาฮินดู ที่เก่าแก่กว่าลัทธิอื่นๆ มีมาก่อนพุทธกาล เพราะเจ้าชายสิทธัตถะได้ศึกษาลัทธินี้ในสำนักอุทกดาบสและอาฬารดาบส คำว่าสางขยะมาจากคำว่าสังขยาแปลว่าจำนวนหรือการนับ ลัทธินี้ถือว่าความจริงแท้มีสองอย่างคือปุรุษะกับประกฤติ ทำให้ลัทธินี้เป็นลัทธิที่เน้นทวินิยม ซึ่งต่างจากลัทธิเวทานตะ ปุรุษะนี้คือผู้รับรู้ ประกฤติคือมูลเหตุของโลก เป็นรากเหง้าที่มองไม่เห็นของสรรพสิ่ง วิวัฒนาการของสิ่งต่างๆเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างปุรุษะกับประกฤติ โมกษะเป็นเป้าหมายของชีวิตที่พ้นจากความทุกข์ทั้งปวง โดยการพิจารณาให้เห็นความแตกต่างระหว่างปุรุษะกับประกฤติ แล้วแยกทั้งสองสิ่งนี้ออกจากกันเมื่อแยกได้เด็ดขาดก็เป็นอันถึงซึ่งโมกษ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสางขยะ · ดูเพิ่มเติม »

สิงโต

งโต (Lion) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อยู่ในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว สิงโตมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera leo มีขนาดลำตัวใหญ่ ขนาดไล่เลี่ยกับเสือโคร่งทั่วไป (P. tigris) ซึ่งเป็นสัตว์ในสกุล Panthera เหมือนกัน จัดเป็นสัตว์ในวงศ์ Felidae ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดรองมาจากเสือโคร่งไซบีเรีย (P. t. altaica) พื้นลำตัวสีน้ำตาล ไม่มีลาย ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่จะมีขนสร้อยคอยาว ขนปลายหางเป็นพู่ ชอบอยู่เป็นฝูงตามทุ่งโล่ง มีน้ำหนักประมาณ 250 กิโลกรัม (550 ปอนด์) ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่า มักทำหน้าที่ล่าเหยื่อ มีน้ำหนักประมาณ 180 กิโลกรัม (400 ปอนด์) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกาและประเทศอินเดีย ในป่าธรรมชาติ สิงโตมีอายุขัยประมาณ 10-14 ปี ส่วนสิงโตที่อยู่ในกรงเลี้ยงมีอายุยืนถึง 20 ปี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสิงโต · ดูเพิ่มเติม »

สิงโตอินเดีย

งโตอินเดีย หรือ สิงโตเอเชีย หรือ สิงโตเปอร์เซีย (أسد آسيوي; Indian lion, Asiatic lion, Persian lion) เป็นชนิดย่อยของสิงโตที่ยังหลงเหลือในปัจจุบัน มีรูปร่างทั่วไปคล้ายสิงโตที่พบในทวีปแอฟริกา แต่มีขนาดเล็กกว่า โดยตัวผู้เมื่อโตเต็มมีน้ำหนักประมาณ 160–190 กิโลกรัม ตัวเมียหนักประมาณ 110–120 กิโลกรัม ความยาวหัวถึงหางของตัวผู้ 2.92 เมตร ลักษณะเด่นอีกประการหนึ่งของสิงโตอินเดีย คือ มีแผงคอทั้งตัวผู้และตัวเมีย และแผงคอของตัวผู้ไม่หนาและใหญ่เหมือนสิงโตในทวีปแอฟริกา มองเห็นใบหูเห็นชัดเจน ดังนั้นตัวผู้และตัวเมียจึงมีรูปลักษณ์ที่คล้ายกันมาก นอกจากนี้แล้วยังมีหนังทอดยาวตลอดใต้ลำตัวซึ่งไม่พบในสิงโตในทวีปแอฟริกา ทั้งนี้เนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ต่างกันเนื่องจากสิงโตอินเดียอาศัยอยู่ในป่าทึบไม่เหมือนกับสิงโตในแอฟริกาที่อาศัยอยู่ในทุ่งหญ้าโล่งกว้าง และทำให้สิงโตอินเดียเป็นสัตว์ที่แฝงตัวได้อย่างกลมกลืนกับธรรมชาติรอบตัวในศรีลังกามีสิงโตอีกสายพันธ์คือ สิงโตศรีลังกา แต่สูญพันธ์เมื่อ32,000ปีก่อนไปพร้อมกับ เสือศรีลังกา มีซากฟอสซิลบางส่วนในพิพิธภัณฑ์ในศรีลังกา ในอดีต มีการกระจายพันธุ์ในภูมิภาคตะวันออกกลาง, เปอร์เซีย, อิรัก, ซีเรีย, อัฟกานิสถาน, ปากีสถานไปจนถึงมาซิโดเนียในกรีซ และ ศรีลังกา ด้วยแต่ปัจจุบันพบเหลือเพียงแห่งเดียวในธรรมชาติ คือ อุทยานแห่งชาติป่ากีร์ ในรัฐคุชราตทางตอนเหนือของอินเดียเท่านั้น และอยู่ในสถานะวิกฤตต่อการสูญพันธุ์ แต่ได้เพิ่มจำนวนขึ้นจากเมื่อประมาณ 30 ปี ก่อนที่เหลือเพียงไม่กี่สิบตัวเท่านั้น เป็น 530 ตัวในปัจจุบัน และอยู่ในอัตราที่เพิ่มขึ้น พฤติกรรมการรวมฝูงของสิงโตอินเดีย แตกต่างไปจากสิงโตในทวีปแอฟริกา กล่าวคือ มีขนาดฝูงที่เล็กกว่า โดยมีจำนวนอย่างมากที่สุดเพียง 5 ตัวเท่านั้น และอาจมีตัวเมียเพียง 2 ตัว และอาจมีตัวผู้เป็นจ่าฝูง 2 ตัวก็เป็นได้ โดยเป็นลักษณะร่วมปกครอง ขณะที่ตัวผู้จะเข้าร่วมฝูงก็ต่อเนื่องจะล่าเหยื่อหรือในการผสมพันธุ์เท่านั้น ในวัฒนธรรมของอินเดีย มีสิงโตอยู่มากมาย เช่น หัวเสาหินสลักในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชที่เป็นรูปสิงโตอินเดีย รวมถึงปรัมปราในศาสนาฮินดูที่เป็นศาสนาพื้นเมืองของอินเดีย ก็มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับสิงโตอยู่มาก หรือแม้กระทั่งในประวัติศาสตร์ยุโรปเอง ก็มีภาพโมเสกของอเล็กซานเดอร์มหาราชทรงร่วมล่าสิงโตกับพระสหาย ซึ่งเชื่อว่าเป็นแม่ทัพชื่อ เฮฟฟาฮิสเตียน เชื่อว่าสิงโตชนิดนั้นก็คือ สิงโตอินเดีย นั่นเอง ทางวัฒนธรรมจีน มีการละเล่นเชิดสิงโต ซึ่งในประเทศจีนเองไม่มีสิงโตเป็นสัตว์พื้นเมือง เชื่อว่าเป็นการรับมาจากเปอร์เซีย ด้วยการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกันผ่านเส้นทางสายไหม สิงโตอินเดียตัวเมียเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 4 ปี ซึ่งมากกว่าสิงโตในทวีปแอฟริกา และจะออกลูกในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงต้นเดือนเมษายน และมีอายุขัยโดยเฉลี่ย 16–18 ปี ในตัวผู้ และตัวเมีย 17–18 ปี พบมากที่สุดคือ 21 ปี ถือว่ามากกว่าสิงโตทวีปแอฟริก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสิงโตอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

สิ่งมีชีวิตนอกโลก

นหุ่นยนต์รถสำรวจคิวริออซิตี้โรเวอร์) มนุษย์ต่างดาวในจินตนาการของคนส่วนใหญ่ มนุษย์ต่างดาว (alien) เป็นสิ่งที่เชื่อว่าอาจมีอยู่จริงแต่ยังไม่มีข้อพิสูจน์ ลักษณะเป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่นอกโลก ซึ่งในความคิดของคนส่วนใหญ่ มักจะวาดภาพ มนุษย์ต่างดาว ลักษณะคล้ายคนแต่ ตัวเขียว หัวโต ตาโต เคยมาเยือนโลกโดยมากับ จานบิน สิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrial life) (จากคำภาษาละติน: extra และ terrestris) ถูกกำหนดให้เป็นชีวิตที่ไม่ได้เกิดจากโลก มันมักจะหมายถึง สิ่งมีชีวิตนอกโลก หรือเรียกเพียงว่า มนุษย์ต่างดาว (หรือมนุษย์ต่างดาวในอวกาศเพื่อให้แตกต่างจากคำจำกัดความอื่น ๆ ของมนุษย์ต่างภิภพหรือมนุษย์ต่างดาว) รูปแบบชีวิตเหล่านี้ตามสมมติฐานของชีวิตช่วงระยะเริ่มจากสิ่งมีชีวิตจำพวกแบคทีเรียขั้นพื้นฐานเหมือนสิ่งมีชีวิตที่เรียบง่ายไปไกลจนถึงขั้นที่มีความซับซ้อนมากขึ้นเกินกว่าสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า มนุษย์ ความเป็นไปได้ว่ายังอาจจะมีไวรัส (viruses) ที่มีการดำรงชีวิตอยู่แบบสิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrially) ได้รับการเสนอขึ้น การพัฒนาและการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับชีวิตต่างดาวที่เป็นที่รู้จักกันในนามของวิชาที่เรียกว่า "ชีววิทยานอกโลก" หรือ "ชีวดาราศาสตร์" ("exobiology" or "astrobiology") แม้ว่าวิชาชีวดาราศาสตร์จะยังคงพิจารณาถึงชีวิตที่เกิดขึ้นที่เป็นขั้นพื้นฐานบนโลกที่ใช้ในบริบททางดาราศาสตร์อยู่ก็ตาม นักวิทยาศาสตร์หลายคนคิดว่าชีวิตนอกโลกเป็นสิ่งที่มีความเป็นไปได้ แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานโดยตรงในการดำรงอยู่ของมัน นับตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 20 ได้มีการค้นหาอย่างต่อเนื่องสำหรับสัญญาณของชีวิตนอกโลก, จากวิทยุที่ใช้ในการตรวจจับสัญญาณต่างดาวที่มีความเป็นไปได้, ไปจนถึงกล้องโทรทรรศน์ที่ใช้ในการค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่มีศักยภาพเพียงพอสำหรับเป็นสถานที่เอื้ออาศัยสำหรับสภาพชีวิตที่อาจสามารถทำให้เกิดขึ้นได้ นอกจากนี้มันก็ยังมีบทบาทที่สำคัญต่องานเขียนทางด้านเกี่ยวกับนิยายวิทยาศาสตร์ (science fiction) อีกด้วย ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา, ผลงานทางด้านนิยายวิทยาศาสตร์, โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีส่วนร่วมของฮอลลีวู้ด, ได้ช่วยเพิ่มทวีความสนใจให้มากขึ้นของประชาชนในความเป็นไปได้เกี่ยวกับชีวิตนอกโลก บางส่วนสนับสนุนให้ใช้วิธีการเชิงรุกสำหรับในความพยายามและได้รับการติดต่อกับสิ่งมีชีวิตจากห้วงอวกาศ, ในขณะที่อีกบางส่วน ยืนยันว่ามันก็อาจจะเป็นอันตรายต่อมนุษย์เราชาวโลกเราได้สำหรับในการที่จะกระตือรือร้นเรียกร้องความสนใจจากมนุษย์ต่างดาว ในอดีตที่ผ่านมา, ความขัดแย้งกันระหว่างวัฒนธรรมที่เจริญและคนพื้นเมืองนั้นก็ยังไม่ได้เป็นไปด้วยดี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสิ่งมีชีวิตนอกโลก · ดูเพิ่มเติม »

สุขาวดี (นิกาย)

ระอมิตาภพุทธะและพระโพธิสัตว์ 2 องค์คือพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ (ขวา) และพระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ (ซ้าย) ในวัดใกล้กับเมือง Meinong, มณฑลเกาสง, ไต้หวัน นิกายสุขาวดี (浄土教, Jōdokyō; 정토종, jeongtojong; Tịnh Độ Tông) เป็นนิกายในศาสนาพุทธที่ตั้งขึ้นครั้งแรกในประเทศจีน แม้จะมีกำเนิดมาจากพระสูตรที่มาจากประเทศอินเดีย แต่ในอินเดียไม่ได้เป็นนิกายเอกเทศ นิกายนี้พระฮุ่นเจียงตั้งขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 9 สมัยราชวงศ์ตั้งจิ้น คำสอนของท่านเน้นการเจริญพุทธสติถึงพระอมิตาภพุทธะและปรารถนาไปเกิดในแดนสุขาวดี ในจีนเรียกนิกายนี้ว่า นิกายวิสุทธิภูมิ (จิ้งถู่จง).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสุขาวดี (นิกาย) · ดูเพิ่มเติม »

สุนุวาร์

นุวาร์ หรือ ซูนูวาร์ EngSunuwar NPसुनुवार คนสุนุวาร์เป็นส่วนหนึ่งของชนพื้นเมืองของประเทศเนปาลและบางพื้นที่ในประเทศอินเดีย ภูฏาน: ดาร์จีลิง, สิกขิม, อัสสัม ชนเผ่าได้รับอิทธิพลจากศาสนาฮินดู ส่วนใหญ่คนสุนุวาร์นับถือศาสนา 79.50% ฮินดู และ 17.4% พุทธ กีราต แต่ไม่แบ่งแยกศาสนา การสำรวจสำมะโนประชากรปี 2012 คนสุนุวาร์ ประมาณ 100,000 คน ซูนูวาร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสุนุวาร์ · ดูเพิ่มเติม »

สีลัพพตปรามาส

'''สีลัพพตปรามาส''' โดยความหมายหลักคือความเชื่อในการบำเพ็ญศีลหรือวัตรปฏิบัติ (พรต) นอกพระพุทธศาสนา (ภาพ: ขบวนชาวฮินดูเปลือยกายในพิธีทางศาสนาในเมืองหริดวาร์ อินเดีย สีลัพพตปรามาส (บาลี: สีลพฺพตปรามาส) เป็นศัพท์ในพระไตรปิฎกเถรวาท มาจากคำสมาสแบบสนธิว่า สีล (แปลว่า ศีล หรือ วิรัติ อันเป็นข้องดเว้น) + วต (แปลว่า พรต หรือ วัตร อันเป็นข้อปฏิบัติ) + ปรามาส (อ่านว่า ปะ-รา-มาด, แปลว่า การจับต้อง, การลูบคลำ) สีลัพพตปรามาส หมายความถึงความยึดมั่นถือมั่นอยู่ในสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือศีลพรตภายนอกพระพุทธศาสนา หรือความยึดมั่นถือมั่นในการบำเพ็ญเพียงกายและวาจาตามหลักธรรมพระพุทธศาสนา (ศีล) ของตนว่าเป็นสิ่งที่ประเสริฐ ซึ่งเป็นเหตุให้ละเลยการปฏิบัติทางด้านจิตใจหรือการใช้ปัญญาเพื่อหลุดพ้น สีลัพพตปรามาสจัดเป็นความเห็นผิดหรือมิจฉาทิฏฐิอย่างหนึ่ง จัดเข้าในกลุ่มสังโยชน์ขั้นต้นที่พระอริยบุคคลระดับโสดาบันจะละความยึดมั่นเช่นนี้ได้ สีลัพพตปรามาสในพระไตรปิฎก ปรากฏทั้งในคัมภีร์สุตตันตปิฎกและอภิธรรมปิฎก โดยความหมายหลักของคำว่าศีลและพรตในศัพท์นี้ หมายถึงการปฏิบัติตามความเชื่อนอกพระพุทธศาสนา เช่น ความเชื่อในอำนาจบันดาลของสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือพระผู้เป็นเจ้า, ความเชื่อของศาสนาพราหมณ์ที่เชื่อว่าการบำเพ็ญทุกกรกิริยาจะสามารถทำให้ผู้บำเพ็ญหลุดพ้นจากความทุกข์หรือหลุดพ้นจากอำนาจของกิเลสได้ หรือความเชื่อของลัทธิตันตระที่เชื่อว่าการมั่วสุมอยู่ในกามารมณ์จะสามารถทำให้หลุดพ้นจากทุกข์ได้ เป็นต้น นอกจากนี้ ความเชื่อในทางพระพุทธศาสนาก็อาจถือว่าเป็นศีลพรตในสีลัพพตปรามาสได้ กล่าวคือความยึดมั่นถือมั่นว่าการบำเพ็ญศีลในทางพระพุทธศาสนาอย่างสมบูรณ์ของตนว่าเป็นสิ่งประเสริฐจนละเลยการปฏิบัติทางด้านจิตใจ และความเชื่ออย่างยึดมั่นถือมั่นว่าการบำเพ็ญเพียงแต่ศีลในพระพุทธศาสนาตามที่ตนยึดถือเพียงอย่างเดียวจะช่วยให้เป็นผู้บริสุทธิ์ได้ เช่น ความเชื่อว่าการถือศีลจะช่วยให้คนบริสุทธิ์ ซึ่งรวมไปถึงความเชื่อในการทานเจ หรือการปิดวาจา หรือความเชื่อในอำนาจอิทธิฤทธิ์บันดาลของพระพุทธรูปหรือพระสงฆ์เป็นต้น โดยสรุป สีลัพพตปรามาส คือความเชื่ออย่างเห็นผิดในอำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายนอกตัว, ความยึดมั่นในความดีเพียงขั้นศีลของตน และความเชื่อว่าการบำเพ็ญทางกายวาจาเท่านั้นที่จะสามารถทำให้คนบริสุทธิ์จากกิเลสหรือหลุดพ้นได้ ความเห็นเหล่านี้ถูกจัดเป็นความเห็นที่ผิดพลาดในทางพระพุทธศาสนาเพราะเนื่องด้วยพระพุทธศาสนาเน้นเรื่องภายในจิตใจคือการหลุดพ้นด้วยปัญญาภายในเป็นสำคัญ นอกจากนี้พระพุทธเจ้าตรัสหลักสีลัพพตปรามาสไว้ก็เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ปฏิบัติหลงผิดจากแนวทางหลักในพระพุทธศาสนา กล่าวคือไม่ให้มัวแต่หลงยึดมั่นแค่เพียงความบริสุทธิ์ของศีลที่มีเฉพาะด้านกายและวาจา โดยละเลยความบริสุทธิ์ด้านจิตใจไป ซึ่งความยึดมั่นถือมั่นเช่นนี้จัดเป็นอัสมิมานะซึ่งจัดเป็นกิเลสชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสีลัพพตปรามาส · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ

ันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ หมู่ที่ 1 ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขล.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอินเดีย-ปากีสถาน ค.ศ. 1947

งครามอินเดีย-ปากีสถาน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสงครามอินเดีย-ปากีสถาน ค.ศ. 1947 · ดูเพิ่มเติม »

สตี (พิธีกรรม)

ีสตี หมายถึงประเพณีการทำศพของชาวฮินดู พบในประเทศอินเดีย พิธีนี้เป็นการบูชายัญตนเองของหญิงหม้ายในพิธีศพของสามี บางครั้งเต็มใจ แต่บางครั้งก็ถูกคนอื่นบังคับ หญิงหม้ายที่ทำพิธีนี้จะถูกยกย่องให้เป็นมหาเทวีสตีมาตา และเรียกพื้นที่ที่ประกอบพิธีว่า สตีสถล (สตีสะถะละ) แล้วสร้างโบสถ์หรือวัดเพื่อให้ประชาชนกราบไหว้บูชาต่อไป คำว่า “สตี” เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า “ภรรยาผู้ซื่อสัตย์” การเป็นสตรีผู้ทรงคุณความดีนั้นต้องซื่อสัตย์ต่อสามีอย่างสูง และต้องเมตตากรุณาต่อญาติพี่น้อง พิธีการกระโดดเข้ากองไฟของหญิงหม้าย มีอยู่ 2 ลักษณะ ดังนี้ กลุ่มหญิงหม้ายที่มีฐานะต่ำต้อย หากสามีของหญิงหม้ายเสียชีวิต จะมีการจัดงานศพแบบกลางแจ้งนอกเมือง ซึ่งมีกองไฟกองใหญ่กองไว้ เมื่อศพของสามีกำลังถูกเผาอยู่นั้น ภรรยาก็จะกระโจนเข้าไปในกองไฟและถูกเผาตายตามไปด้วยเช่นกัน กลุ่มหญิงที่มีฐานะร่ำรวย หากสามีของหญิงหม้ายที่มีฐานะ และมีทรัพย์สินมากเสียชีวิต ภรรยาของเขาจะจัดงานศพให้สามีเป็นอย่างดี มีการขุดหลุมลึกเท่าความสูงของสามี นำศพไปวาง ใส่เครื่องหอมลงไปและจุดไฟเผาภายในหลุมนั้น ส่วนหญิงหม้ายก็จะจัดงานรื่นเริง ร่วมงานกันอย่างสนุกสนาน โดยผู้ที่มาร่วมงานก็จะปลอบโยนเธอ หญิงหม้ายจะแจกทรัพย์สินเงินทองให้กับญาติพี่น้องและคนที่มาร่วมงาน จากนั้นก็จะนำหญิงหม้ายขึ้นนั่งบนหลังม้า(ต้องเป็นสีเทาหรือขาวเท่านั้น) และเดินไปยังหลุมที่เผาสามี ระหว่างทางก็จะปลอบโยนเธอตลอดทางจนถึงหลุมเผ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและสตี (พิธีกรรม) · ดูเพิ่มเติม »

หญ้ากุศะ

หญ้ากุศะ (ชื่อวิทยาศาสตร์ Desmostachya bipinnata) เป็นหญ้าในวงศ์ Gramineae (Poaceae) มีถิ่นกำเนิดที่ประเทศอินเดียและเนปาล ชอบขึ้นในที่แห้งแล้งริมฝั่งแม่น้ำ โดยจะขึ้นเป็นกอเหง้าใหญ่ ใบอวบรูปยาวเหมือนหอก ขอบใบคม ดอกเป็นช่อรูปพีระมิด หรือเป็นแท่งตั้งตรง แข็ง สีน้ำตาลอ่อน ออกดอกตลอดฤดูฝน ขยายพันธุ์ได้โดยการเพาะเมล็ด และแยกกอ หญ้ากุศะเป็นหญ้าชนิดหนึ่งซึ่งถือกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์มาก เนื่องจากเป็นหญ้าที่ปรากฏในพุทธประวัติว่า ในวันก่อนที่พระพุทธเจ้าจะตรัสรู้ เจ้าชายสิทธัตถะได้รับถวายหญ้าชนิดนี้จำนวน 8 กำมือจากพราหมณ์โสตถิยะ และเจ้าชายสิทธัตถะได้นำหญ้ากุศะไปปูรองนั่งเป็นพุทธบัลลังก์ในวันที่พระองค์ตรัสรู้ ทำให้ชาวพุทธถือว่าหญ้านี้มีความสำคัญมาก และจัดให้หญ้านี้เป็นต้นไม้สำคัญชนิดหนึ่งในพุทธประวัติ ชาวฮินดูนับถือว่าหญ้านี้มีความศักดิ์สิทธิ์เช่นกัน โดยนำหญ้านี้มาประกอบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ในวันแรม 15 ค่ำ​เดือน 9 หรือที่เรียกว่า กุโศตปาฎนีอมาวสยา เพื่อเป็นการบูชาพระกฤษณะ เทพเจ้าองค์หนึ่งของศาสนาฮินดู หญ้ากุศะยังมีสรรพคุณทางยาสมุนไพร คือ ใช้ทั้งต้นเป็นยาฝาดสมาน​ขับปัสสาวะ ขับเสมหะ รากมีรสหวาน เป็นยาเย็น แก้อาการกระหายน้ำได้อีกด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและหญ้ากุศะ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะบังกา-เบอลีตุง

หมู่เกาะบังกา-เบอลีตุง (อินโดนีเซีย: Kepulauan Bangka Belitung) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศอินโดนีเซีย และเคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดสุมาตราใต้ ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะสุมาตรา ประกอบด้วยเกาะหลักสองแห่ง ได้แก่ เกาะบังกา และเกาะเบอลีตุง ซึ่งคั่นด้วยช่องแคบกัสปาร์ จังหวัดนี้ถูกแยกจากเกาะสุมาตราโดยช่องแคบบังกา จังหวัดนี้ติดกับทะเลนาตูนาทางทิศเหนือ ติดกับทะเลชวาทางทิศใต้ ติดกับช่องแคบการีมาตาทางทิศตะวันออก และติดกับจังหวัดสุมาตราใต้ทางทิศตะวันตก เมืองหลักคือปังกัลปีนัง ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการปกครอง เมืองอื่น ๆ ที่สำคัญ ได้แก่ ซุงไกลีอัต ตันจงปันดัน และมังการ์ สำหรับในปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและหมู่เกาะบังกา-เบอลีตุง · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์

หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ (Dutch East Indies หรือ Netherlands East Indies; Nederlands-Indië; Hindia-Belanda) คืออาณานิคมซึ่งอยู่ในการควบคุมของอดีตบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ ซึ่งต่อมาอยู่ภายใต้การบริหารของรัฐบาลเนเธอร์แลนด์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 และกลายเป็นประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเรียว

หมู่เกาะเรียว (Kepulauan Riau) เป็นหมู่เกาะแห่งหนึ่งในเกาะสุมาตรา ซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 6 ของโลกและเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในประเทศอินโดนีเซีย และเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะมลายู อยู่ทางตอนใต้ของประเทศสิงคโปร์ ทางตะวันออกของหมู่เกาะนี้คือมหาสมุทรอินเดีย และมีเมืองหลวงชื่อตันจุงปีนัง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและหมู่เกาะเรียว · ดูเพิ่มเติม »

หอยสังข์แตร

หอยสังข์แตร (Triton's trumpet, Giant triton) จัดเป็นมอลลัสคาในชั้นหอยฝาเดี่ยว มีรูปร่างลักษณะและลวดลายสีสวยงาม เปลือกค่อนข้างบาง ยอดเรียวแหลมคล้ายเจดีย์ ช่องปากเปิดกว้างมีสีส้มพื้นผิวด้านนอกสีน้ำตาลอ่อนแต้มด้วยลวดลายสีน้ำตาลเข้มจางสลับกัน ขนาดความยาวเปลือกประมาณ 1 ฟุต มักอาศัยอยู่ในแนวปะการังน้ำตื้น ของอินโด-แปซิฟิก สำหรับในน่านน้ำไทยจัดว่าเป็นหอยฝาเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่ที่สุด โดยจะพบในความลึกประมาณ 30 เมตร ทั้ง บริเวณอ่าวไทยและฝั่งทะเลอันดามัน เช่นอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดภูเก็ต เป็นต้น กินอาหารจำพวก ปลิงทะเลและดาวทะเลเป็นอาหาร โดยเฉพาะดาวมงกุฎหนาม ซึ่งเป็นสัตว์ที่กินปะการังเป็นอาหาร จึงจัดได้ว่าหอยสังข์แตรเป็นตัวควบคุมตามธรรมชาติมิให้ปะการังต้องสูญหาย ถือเป็นสัตว์น้ำที่หาได้ยากในปัจจุบัน และมีสถานะทางกฎหมายเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ปัจจุบันกรมประมงเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์เพื่อปล่อยกลับลงทะเลดังเดิมเพื่อคงปริมาณจำนวนในธรรมชาติไว้ให้สมดุล เปลือกของหอยสังข์แตร ใช้เป็นเครื่องเป่าในพิธีกรรมต่าง ๆ ของศาสนาพราหมณ์มาตั้งแต่สมัยโบราณ โดยที่ชื่อวิทยาศาสตร์นั้น ตั้งมาจากชื่อของ ไทรตัน ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งท้องทะเลตามเทพปกรณัมกรีก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและหอยสังข์แตร · ดูเพิ่มเติม »

หิรัณยกศิปุ

นรสิงห์กำลังสังหารหิรัณยกศิปุ หิรัณยกศิปุ (हिरण्‍यकशिपु) เป็นอสูรจากคัมภีร์ปุราณะของศาสนาฮินดู ซึ่งถูกนรสิงห์ซึ่งเป็นอวตารของพระนารายณ์สังหาร โดยสาเหตุที่พระนารายณ์ต้องอวตารลงมาเป็นนรสิงห์เป็นเพราะว่า หิรัณยกศิปุได้รับพรจากพระอิศวรว่าจะไม่ถูกสังหารโดยมนุษย์หรือสัตว์ ซึ่งนรสิงห์ก็ไม่ใช่ทั้งมนุษย์หรือสัตว์ หิรัณยกศิปุมีน้องชายชื่อ หิรัณยกศะ ซึ่งถูกพระวราหะ ซึ่งเป็นอวตารของพระนารายณ์สังหารเช่นกัน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและหิรัณยกศิปุ · ดูเพิ่มเติม »

หีบวัตถุมงคล

นักบุญทอรินัส กนิษกะ, เปชวาร์, ปากีสถาน, ในปัจจุบันอยู่ที่มัณฑะเลย์, พม่า เครื่องบรรจุวัตถุมงคลที่เซวิลล์ หีบวัตถุมงคล (Reliquary) หรือบางครั้งก็เรียกว่า “หีบสักการะ” หรือคำในภาษาฝรั่งเศสว่า “châsse” ที่แปลว่า “หีบ” คือตู้ที่ใช้บรรจุวัตถุมงคล ที่อาจจะเป็นชิ้นส่วนจากร่างของนักบุญเช่นกระดูก ชิ้นเสื้อผ้า หรือสิ่งของที่เกี่ยวข้องกับนักบุญ หรือ บุคคลสำคัญทางศาสนา ความแท้ของสิ่งของดังกล่าวมักจะเป็นเรื่องที่โต้แย้งกัน คริสต์ศาสนสถานบางแห่งก็ระบุว่าต้องการเอกสารที่พิสูจน์ประวัติความเป็นเจ้าของ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและหีบวัตถุมงคล · ดูเพิ่มเติม »

หงส์

หงส์ (มักเขียนผิดเป็น หงษ์) เป็นนกน้ำขนาดใหญ่ที่อยู่ในสกุล Cygnus ในวงศ์ Anatidae อันเป็นวงศ์เดียวกับเป็ดและนกเป็ดน้ำ มีลักษณะทั่วไป มีขนสีขาวทั้งตัว จะงอยปากสีเหลืองส้มและมีปุ่มสีดำที่ฐานของปาก มักรวมฝูงในบึงน้ำเพื่อกินพืชน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็ก พบในทวีปเอเชียทางตอนเหนือ, ยุโรปทางตอนเหนือ, อเมริกา และออสเตรเลีย หงส์ สามารถร่อนลงบนพื้นน้ำแข็งหรือผิวน้ำที่เยือกตัวเป็นน้ำแข็งได้ เพราะมีอุ้งตีนที่ใหญ่คล้ายใบพายซึ่งช่วยกระจายน้ำหนักได้เมื่อร่อนลง แต่จะควบคุมการร่อนได้ดีกว่าในบริเวณที่น้ำแข็งละลาย หงส์มีทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

หนุมาน

1.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและหนุมาน · ดูเพิ่มเติม »

อชัย เทวคัน

อชัย เทวคัน (Ajay Devgan; अजय देवगन; ਅਜੇ ਦੇਵਗਨ) เป็นนักแสดงชาวอินเดีย ที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดเป็นคนหนึ่งในวงการหนังบอลลีวู้ด อชัย เทวคัน เป็นบุตรชายของ วีรู เทวคัน และ วีนา เทวคัน ครอบครัวของเขาเป็นคนเชื้อสายปัญจาบี หมวดหมู่:นักแสดงชาย หมวดหมู่:นักแสดงอินเดีย หมวดหมู่:นักแสดงภาพยนตร์ชาวอินเดีย หมวดหมู่:ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดู หมวดหมู่:บุคคลจากนิวเดลี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอชัย เทวคัน · ดูเพิ่มเติม »

อมิตาภ พัจจัน

อมิตาภ พัจจัน (Amitabh Bachchan; अमिताभ बच्चन; เกิด 11 ตุลาคม ค.ศ. 1942) เป็นนักแสดงดังจากประเทศอินเดีย ภาพยนตร์เด่นของเขา คือ โชเล่ย์, ฟ้ามิอาจกั้นรัก, ปาฏิหาริย์วิญญาณรักเหนือโลก ฯลฯ เป็นบิดาของนักแสดงอินเดีย อภิเษก พัจจัน และเป็นพ่อสามีของนักแสดงไอศวรรยา ราย อมิตาภยังเป็นสมาชิกเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ของประเทศฝรั่งเศสอีกด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอมิตาภ พัจจัน · ดูเพิ่มเติม »

อวัธ

อวัธ (Awadh; अवध, اودھ) หรืออูธเป็นแคว้นที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ทางตอนเหนือของอินเดียตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำระหว่างแม่น้ำยมุนาทางตะวันตกเฉียงใต้และแม่น้ำคันทักทางตะวันออก คำว่าอวัธมาจากอโยธยางเป็นชื่อเมืองของพระราม อังกฤษเข้ามายึดแคว้นนี้ไปทีละส่วนใน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอวัธ · ดูเพิ่มเติม »

อวตาร

กัลกยาวตาร (อัศวินม้าขาว) อวตาร (अवतार, avatāra) คือการที่เทพเจ้าองค์ต่าง ๆ ตามความเชื่อของศาสนาฮินดูแบ่งภาคมาเกิดบนโลกมนุษย์ โดยเทพแบ่งพลังงานส่วนหนึ่งลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือสัตว์ เพื่อทำหน้าที่อย่างหนึ่งอย่างใด ในลัทธิไวษณพถือว่าเมื่อศีลธรรมของมนุษย์เสื่อมลง จนเกิดความเดือดร้อนไปทั่ว พระวิษณุจะอวตารลงมาปราบยุคเข็ญ การอวตารส่วนใหญ่มักจะเกี่ยวข้องกับพระวิษณุ แต่ก็ยังมีที่เชื่อมโยงกับเทวดาอื่น ๆ รายชื่อของพระนารายณ์อวตารปรากฏในคัมภีร์ฮินดูจำนวนมากรวมทั้งอวตารทั้งสิบในครุฑ ปุราณะ และอวตาร 22 ปางในภควัตปุราณะ รวมทั้งที่เพิ่มอีกภายหลังจนนับไม่ถ้วน พระวิษณุอวตารเป็นความเชื่อหลักของลัทธิไวษณพ หลักฐานเกี่ยวกับอวตารยุคแรก ๆ อยู่ในภควัทคีตา มีเรื่องราวเกี่ยวกับอวตารของพระศิวะและพระพิฆเนศ และเทพีต่าง ๆ โดยเฉพาะในหมู่ผู้นับถือลัทธิศักติ อย่างไรก็ตาม อวตารของพระนารายณ์เป็นที่รู้จักมากที.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอวตาร · ดูเพิ่มเติม »

อสูร

ตามความเชื่อในศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ อสูร (-saअसुर) คือเทวดาจำพวกหนึ่ง มีนิสัยดุร้าย เป็นปฏิปักษ์กับเทวดาพวกอื่นซึ่งอาศัยบนสวรรค์ อสูรเพศหญิงเรียกว่าอสุรี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอสูร · ดูเพิ่มเติม »

อหิงสา

อหิงสา หรือ อหึงสา (अहिंसा) หมายถึง การไม่เบียดเบียน, การเว้นจากการทำร้าย คำว่า "อหิงสา" ยังหมายถึง การไม่ใช้ความรุนแรง และในศาสนาแบบอินเดียหลายศาสนา มโนทัศน์ดังกล่าวใช้กับสิ่งมีชีวิตทุกชนิดรวมทั้งสัตว์Bajpai, Shiva (2011).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอหิงสา · ดูเพิ่มเติม »

อะยี

นิกายอะยี (အရည်းဂိုဏ်း) หรือ ศาสนาพุทธแบบอะยี (Ari Buddhism) เป็นนิกายหนึ่งที่เคยปฏิบัติในประเทศพม่าก่อนที่พระเจ้าอโนรธามังช่อจะทรงปฏิรูปศาสนาพุทธช่วงศตวรรษที่ 11.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอะยี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรครันถะ

อักษรครันถะ (เทวนาครี ग्रन्थ หมายถึง "หนังสือ" หรือ "จารึก") หรือ อักษรคฤนถ์ หรือ อักษรคฤณถ์ พัฒนามาจากอักษรพราหมี เริ่มปรากฏเมื่อราว..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอักษรครันถะ · ดูเพิ่มเติม »

อักษัย กุมาร

อักษัย กุมาร (अक्षय कुमार) เกิดเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2510 เป็นลูกเขยของราเชศ ขันนา พระเอกชื่อดังของบอลลีวูดในอดีต อักษัยเคยมาเป็นเชฟ ในกรุงเทพมหานคร และเคยมาเรียนศิลปะการต่อสู้ของไทยด้วยเช่นกัน ภาพยนตร์เด่น ๆ ของเขา คือ Chandni Chowk to China (จอมยุทธ์โรตี บี้แดนมังกร) และ Singh Is Kinng (มาเฟีย รามซิงห์) หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2510 หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่ หมวดหมู่:ชาวอินเดียในประเทศไทย หมวดหมู่:ผู้ฝึกศิลปะการต่อสู้ หมวดหมู่:นักแสดงอินเดีย หมวดหมู่:ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดู หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐปัญจาบ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอักษัย กุมาร · ดูเพิ่มเติม »

อัลลอฮาบาด

อัลลอฮาบาด (Allahabad; ภาษาฮินดี: इलाहाबाद; ภาษาอูรดู: الہ آباد) เป็นเมืองใหญ่เมืองหนึ่งในรัฐอุตตรประเทศ และมีความสำคัญทางศาสนาฮินดูเพราะเป็นจุดที่แม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ทั้งสามสายคือ แม่น้ำคงคา แม่น้ำยมุนา และแม่น้ำสรัสวดีมาบรรจบกันซึ่งเรียกว่าจุฬาตรีคูณ แต่เดิมเมืองนี้ชื่อเมืองประยาค พบศิลาจารึกสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชเกี่ยวกับคำสอนทางพุทธศาสนา ในสมัยพระเจ้าสมุทรคุปต์ได้บันทึกเพิ่มเติมในด้านที่ว่างอยู่เกี่ยวกับการขยายอำนาจของพระองค์ ต่อมาใน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอัลลอฮาบาด · ดูเพิ่มเติม »

อัคระ

อัคระ (आगरा Āgrā, آگرہ, Agra) อดีตเมืองหลวงของอินเดียในสมัยที่ยังเรียกว่า "ฮินดูสถาน" (Hindustan) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำยมนา (Yomuna) ทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย ในรัฐอุตตรประเทศ ตั้งอยู่ห่างจากเมืองลัคเนา (Lucknow) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของรัฐอุตตรประเทศไปทางทิศตะวันตกเป็นระยะทาง และ ทางทิศใต้ของกรุงนิวเดลี เมืองอัคระมีประชากรทั้งหมด 1,686,976 คน (ปีค.ศ. 2010) ถือเป็นหนึ่งในเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในรัฐอุตตรประเทศ และอันดับที่ 19 ในประเทศอินเดี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอัคระ · ดูเพิ่มเติม »

อัตตา

อัตตา (อตฺตา; อาตฺมนฺ) แปลว่า ตัวตน ร่างกาย รูปลักษณะ ตัวเอง หรือวิญญาณ ตามทฤษฎีของผู้นับถือลัทธิว่าชีวิตเกิดขึ้นด้วยวิญญาณหรืออาตมัน ซึ่งชาวอินเดียทางภาคเหนือได้ยึดถือเช่นนั้น ในคัมภีร์อุปนิษัทอธิบายไว้ว่า อัตตาเป็นตัวตนเล็ก ๆ รูปร่างเหมือนคน อาศัยอยู่ในหัวใจเวลาปกติ และหนีออกจากร่างกายไปในเวลานอนหลับ หรือในเวลาสงบแน่นิ่ง เมื่ออัตตานั้นกลับมาสู่ร่างเหมือนเดิม ชีวิตและการเคลื่อนไหวจึงเกิดขึ้นเป็นไปตามเดิม ในเวลาตายอัตตาก็จะหนีออกจากร่าง ไปใช้ชีวิตในอมตะของตนเองวนเวียนไปอย่างนีโดยไม่มีสิ้นสุด (นัยพจนา. บาลี-อังกฤษ ของสมาคมบาลีปกรณ์) ในศาสนาพุทธ พระพุทธเจ้าเรียกความเชื่อเรื่องอัตตาว่าสัสสตทิฐิ ถือเป็นมิจฉาทิฐิอย่างหนึ่ง และเรียกว่าอัตตวาทุปาทาน ซึ่งถือเป็นความยึดมั่นถือมั่นประการหนึ่ง อัตตาในคำไทยทั่วไปใช้ในรูป อัตต, อัต เช่น อัตตาธิปไตย อัตชีวประวัติ อัตภาพ อัตโนมัต.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอัตตา · ดูเพิ่มเติม »

อัปสร

ระบำนางอัปสรในปัจจุบัน ในรูปแบบเดียวกันกับภาพสลักปราสาทขอมโบราณ อัปสร (अप्सराः อปฺสราะ, พหูพจน์ अप्सरसः อปฺสรสะ; อจฺฉรา) ถือเป็นนางฟ้าจำพวกหนึ่ง แต่ไม่ใช่เทวี บังเกิดขึ้นเมื่อครั้งกวนเกษียรสมุทร เพื่อเอาน้ำอมฤตขึ้นมา ดังความปรากฏในมหากาพย์มหาภารตะ ของอินเดีย คำว่า "อัปสร" นั้น มาจากคำว่า "อัป" (หมายถึง น้ำ) และ "สร" (หมายถึง การเคลื่อนไป) อัปสร จึงหมายถึง ผู้ที่เคลื่อนไปในน้ำ อันเป็นกำเนิดของนาง ทว่าโดยทั่วไป ถือว่านางเป็นชาวสวรรค์ ในเรื่องเล่าของอินเดียมีการกล่าวถึงนางอัปสรไว้มากมาย นับว่าเป็นตัวละครที่สำคัญตัวหนึ่งในเทพปกรณัมของอินเดีย ไม่น้อยไปกว่าเทพเจ้าและชาวสวรรค์อื่นๆ ตามเทพปกรณัมฮินดู กล่าวว่าพระพรหมทรงสร้างนางอัปสรขึ้น และเป็นนางบำเรออยู่ในราชสำนักของพระอินทร์ ในคัมภีร์นาฏยศาสตร์ ได้กล่าวถึงนางอัปสรที่สำคัญไว้หลายตนด้วยกัน เช่น มัญชุเกศี, สุเกศี, มิสรเกศี, สุโลจนะ, เสาทมิณี, เทวทัตตะ, เทวเสนะ, มโนรม, สุทาติ, สุนทรี, วิคัคธะ, วิวิธ, พุธ, สุมล, สันตติ, สุนันทา, สุมุขี, มาคธี, อรชุนี, สรลา, เกระลา, ธฤติ, นันทา, สุปุษกลา, สุปุษปมาลา และ กาลภา นางอัปสรมีอำนาจแปลงกายได้ ทั้งยังมีความสามารถในการขับร้องและเต้นรำเป็นอย่างยิ่ง ในราชสำนักของพระอินทร์มีนางอัปสรอยู่ 26 ตน แต่ละตนมีความสามารถในเชิงศิลปะต่างๆ กัน เทียบได้กับตำนานมิวส์ของเทพปกรณัมกรีก นอกจากนี้ยังมีตำนานกล่าวต่อไปว่า นางอัปสรนั้นเป็นชายาของคนธรรพ์ ซึ่งเป็นนักดนตรีในสวรรค์ โดยนางจะเต้นรำไปตามจังหวะดนตรีที่สามีของตนบรรเลง โดยทั่วไปมีความเชื่อว่านางอัปสรเป็นเครื่องหมายแห่งความเจริญงอกงาม แต่บางถิ่นก็เชื่อว่าอัปสรมีอำนาจแห่งความชั่วร้ายอยู่ด้วย ในปราสาทนครวัดของกัมพูชา มีการสลักภาพนางอัปสรไว้มากมาย โดยที่แต่ละรูปมีใบหน้า ท่าทาง และการแต่งกายที่แตกต่างกันไป.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอัปสร · ดูเพิ่มเติม »

อาชญา

อาชญาจักระ มีสัญลักษณ์เป็นดอกบัวสีม่วง มีกลีบ 2 กลีบ อาชญา (आज्ञा) เป็นจักระที่หกตามความเชื่อของศาสนาฮินดูลัทธิตันตระและกุณฑาลินีโยคะ เชื่อว่าตั้งอยู่ภายในศีรษะหลังหว่างคิ้ว ซึ่งถือว่าเป็นตำแหน่งตาที่สาม ในศาสนาฮินดูถือว่าอาชญาจักระเป็นจักระแห่งจิต คือดวงตาแห่งพุทธิปัญญา มนุษย์มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้ในความฝันก็โดยอาศัยอาชญาจักระนี้ และพลังงานทางจิตวิญญาณจากสิ่งแวดล้อมจะเข้ามาในร่างกายผ่านจักระนี้ด้วย อาชญาจักระยังเป็นจุดบรรจบของนาฑิทั้งสามก่อนจะไหลขึ้นสู่สหัสราระซึ่งเป็นจักระสูงสุด ผู้ปฏิบัติโดยเพ่งที่จักระนี้จะสามารถพ้นจากทวิภาวะได้ นอกจากศาสนาฮินดูแล้ว ศาสนาพุทธแบบทิเบตและลัทธิอนุตตรธรรมก็ให้ความสำคัญกับอาชญาจักระด้วย ลัทธิอนุตตรธรรมเรียกอาชญาจักระว่าจุดญาณทวาร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอาชญา · ดูเพิ่มเติม »

อารยสมาช

การประชุมของอารยสมาชจาก R. V. Russell's 1916 "The Tribes and Castes of the Central Provinces of India--Volume I". อารยสมาช (Arya Samaj; ภาษาสันสกฤต: आर्य समाज,; ภาษาปัญจาบ: ਆਰਯ ਸਮਾਜ) หรือ สมาคมของชาวอารยัน เป็นสมาคมของผู้นับถือศาสนาฮินดูโดยสวามีทยานันทะ สรัสวตีเป็นผู้ก่อตั้งที่บอมเบย์เมื่อ 10 เมษายน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอารยสมาช · ดูเพิ่มเติม »

อาศรม 4

อาศรม 4 คือขั้นตอนการดำเนินชีวิตของมนุษย์ตามหลักธรรมของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู แต่ละช่วงกินเวลา 25 ปี มี 4 ขั้นตามวัยของผู้ปฏิบัติดังนี้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอาศรม 4 · ดูเพิ่มเติม »

อาหม

อาหม (আহোম; อาโหมะ) หรือ ไทอาหม กลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งซึ่งอาศัยในรัฐอัสสัมของประเทศอินเดีย เดิมใช้ภาษาอาหม ในกลุ่มภาษาย่อยไท-พายัพ ซึงเป็นภาษาในกลุ่มภาษากัม-ไท ตระกูลภาษาไท-กะได แต่ชาวอาหมในปัจจุบันนั้นหันไปใช้ภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียนแล้วhttp://www.ethnologue.com/show_language.asp?code.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอาหม · ดูเพิ่มเติม »

อาหารมาเลเซีย

มะตะบะที่ขายริมถนนในมาเลเซีย อาหารมาเลเซีย เป็นอาหารที่ได้รับอิทธิพลจากหลายวัฒนธรรมทั่วโลก อิทธิพลหลักมาจากชาวมลายู ชาวจีน และชาวอินเดีย นอกจากนั้นยังได้รับอิทธิพลจากชาวเปอรานากันและยูเรเซีย ชาวโอรังอัสลี และชนเผ่าต่าง ๆ ในซาราวะก์และซาบะฮ์ อาหารมาเลเซียจึงมีความหลากหลายมากโดยรวมทั้งการปรุงอาหารของมลายู จีน อินเดีย อินโดนีเซียโดยเฉพาะในเกาะบอร์เนียว และได้รับอิทธิพลในส่วนน้อยมาจากไทย โปรตุเกส อังกฤษ อาหรับ ทำให้อาหารมาเลเซียมีความหลากหลายทั้งรสชาติ วิธีการ และมีความซับซ้อนมาก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอาหารมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

อาทิพุทธะ

ระวัชรธารพุทธะ พระอาทิพุทธะเป็นพระพุทธเจ้าที่พบในคติความเชื่อของพุทธศาสนามหายานบางกลุ่ม ไม่พบในฝ่ายเถรวาท โดยเชื่อว่าอาทิพุทธะเป็นพระพุทธเจ้าพระองค์แรก กำเนิดขึ้นพร้อมกับโลก อยู่ในโลกชั่วนิรันดร์ เป็นพระผู้สร้างสรรพสิ่งในโลก และเป็นแหล่งกำเนิดของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ประทับบนพรหมโลกชั้นอกนิฏฐ์ มีสถานะเสมอปรมาตมันในศาสนาฮินดูราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 15-16.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอาทิพุทธะ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรพุกาม

อาณาจักรพุกาม (Pagan Kingdom; ပုဂံခေတ်) เป็นอาณาจักรโบราณในช่วง..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอาณาจักรพุกาม · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรศรีเกษตร

อาณาจักรศรีเกษตร (Sri Ksetra Kingdom) เป็นนครรัฐของชาวปยู ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีในภาคกลาง และภาคใต้ของประเทศพม่าในปัจจุบัน เชื่อว่ามีกำเนิดในสมัยต้นพุทธกาล หรือก่อน 2500 ปีมาแล้ว โดยชนชาติผิวหรือปยู โดยตั้งบ้านเมืองอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองแปร ต่อมาชนชาติปยูได้เปลี่ยนมานับถือศาสนาพุทธ และได้รับความเจริญทางอักษรศาสตร์จากอินเดีย ในยุคที่รุ่งเรืองถึงขีดสุด อาณาจักรนี้มีอำนาจปกครองเกือบตลอดแหลมมลายู จนใน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอาณาจักรศรีเกษตร · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอิศานปุระ

อาณาจักรอิศานปุระ หรือ อาณาจักรเจนละ เป็นอาณาจักรโบราณ เจริญรุ่งเรืองในช่วงพุทธศตวรรษที่ 11 ปัจจุบันคือภาคอีสานตอนล่างของประเทศไทย ตอนบนของประเทศกัมพูชา และตอนล่างของประเทศลาว สถาปนาขึ้นโดยพระเจ้าอิศานวรมัน ผู้สืบเชื้อสายมาจากกษัตริย์เจนละ คือพระเจ้ามเหนทระวรมัน หรือพระเจ้าจิตรเสน ผู้ครองแคว้นเจนละ ที่ทรงครอบครองดินแดนในพื้นที่อีสานตอนใต้และลาวทางตอนใต้แถบวัดภู หลังจากที่ได้รับการสิบทอดอำนาจจากพระเจ้าจิตรเสน พระเจ้าอิศานวรมันเสด็จขึ้นครองราชย์ราว พ.ศ. 1153 - พ.ศ. 1198 ได้ทำสงครามกับอาณาจักรฟูนัน ที่ยึดของพื้นที่ทางตอนใต้ ในที่สุดก็ได้ควบรวมเป็นอาณาจักรเดียวกัน เป็นการสูญสิ้นอาณาจักรฟูนัน และได้สถาปนาศูนย์กลางการปกครองขึ้นใหม่ ชื่อว่า อิศานปุระ เมืองอิศานปุระ ที่พระเจ้าอิศานวรมันสถาปนาขึ้น นักวิชาการส่วนใหญ่เชื่อว่า ตั้งอยู่บริเวณกลุ่มปราสาทซ็อมโบร์ไพรกุกห์ (สมโบไพรกุก) ในเขตจังหวัดกัมปงธม ในประเทศกัมพูชา ซึ่งปรากฏหลักฐานปราสาทอิฐ ศาสนสถานในศาสนาฮินดูจำนวนมาก หลังจากรัชสมัยพระเจ้าอิศานวรมัน มีกษัตริย์ปกครองอีก 2 พระองค์ คือพระเจ้าภววรมันที่ 2 และพระเจ้าชัยวรมันที่ 1 หลังจากนั้นบ้านเมืองเกิดความแตกแยก อาณาจักรถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน กลายเป็น เจนละบก และ เจนละน้ำ ทำให้เมืองอีศานปุระถูกลดความสำคัญลง และต่อมาพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 เชื้อสายของพระเจ้าอิศานวรมัน ได้รวบรวมทั้งสอง และสถาปนาอาณาจักรขึ้นใหม่ ชื่อว่า ยโศธรปุระ หรือเมืองพระนคร บริเวณจังหวัดเสียมราฐ ประเทศกัมพูชาในปัจจุบัน กลุ่มปราสาทซ็อมโบร์ไพรกุกห์ (อิศานปุระ) เป็นกลุ่มปราสาทโบราณมีอายุมากกว่า 1390 ปี มีปราสาทที่ปรากฏให้เห็นเป็นหลักฐานในปัจจุบันมากกว่า 170 ที่ โดยมีปราสาทสำคัญอยู่ 3 กลุ่มหลักในบริเวณราชธานีอิศานปุระ ซึ่งปัจจุบันได้รับการบูรณะให้นักท่องเที่ยวสามารถเยี่ยมชมได้ และเนื่องจากมีปราสาทมากมายนับร้อยแห่ง จึงทำให้นักโบราณคดีชาวตะวันตกที่เข้ามาทำการสำรวจในพื้นที่ช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ได้จัดทำระบบบัญชีชื่อปราสาทต่างๆขึ้นและยังคงใช้กันมาจนถึงปัจจุบัน ทำให้ปราสาทซ็อมโบร์ไพรกุกห์มี ชื่อเป็นทางการ เป็นตัวอักษรและตัวเลข แทนชื่อที่ชาวบ้านเรียก โดยปราสาทต่าง ๆ ในกลุ่มเหนือ จะมีชื่อขึ้นต้นว่า N (North) ปราสาทกลุ่มกลางมีชื่อขึ้นต้นว่า C (Central) และปราสาทกลุ่มใต้ มีชื่อขึ้นต้นว่า S (South) แล้วตามด้วยตัวเลขที่แสดงถึงความสำคัญ หรือตามลำดับการเรียงตัวที่ตั้งของปราสาท เช่น N1 หมายถึงปราสาทประธานของกลุ่มเหนือ S1 หมายถึงปราสาทประธานของกลุ่มใต้ คือปราสาทเนียกปวน และ C1 หมายถึงปราสาทประธานของกลุ่มกลาง คือปราสาทตาว เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอาณาจักรอิศานปุระ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรจามปา

นสถานศิลปะจามปา อาณาจักรจามปา เป็นอาณาจักรโบราณตั้งเมื่อพุทธศตวรรษที่ 7 อยู่ทางใต้ของจีน อยู่ทางตะวันออกของฟูนัน ปัจจุบันคือบริเวณเมืองเว้, ตามกี่, ฟานซาง-ท้าปจ่าม และญาจาง เนื่องจากสมัยก่อนพื้นที่นี้เป็นเขตทุรกันดาร จีนจึงไม่สามารถครอบครองพื้นที่นี้ได้ ชนชาติจามสืบเชื้อสายจากชาว มาลาโยโพลินีเชียน พวกจามเป็นชาวทะเลมีความสามารถทางการเดินเรือ ต่อมาราว..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอาณาจักรจามปา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์

้านใหม่ไชยพจน์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดบุรีรัมย์ ห่างจากตัวจังหวัดบุรีรัมย์ ประมาณ 95 กิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และประกอบอาชีพเกษตรเกษตรกรเป็นหลัก แยกตัวออกจากอำเภอพุทไธสงเมื่อปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภออู่ทอง

อำเภออู่ทอง เป็นอำเภอที่อยู่ในจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอำเภออู่ทอง · ดูเพิ่มเติม »

อินทิรา คานธี

อินทิรา ปริยทรศินี คานธี (इन्दिरा प्रियदर्शिनी गान्धी, Indira Priyadarsini Gandhi, 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2460 - 31 ตุลาคม พ.ศ. 2527) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีอินเดียที่ดำรงตำแหน่งถึง 3 วาระติดต่อกัน และเป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกในประเทศอินเดีย อินทิรา คานธี มีชื่อเดิมว่า อินทิรา ปรียทรศินี เนห์รู เป็นบุตรสาวของชวาหระลาล เนห์รู นายกรัฐมนตรีคนแรกของอินเดีย กับกมลา เนห์รู นางอินทิราสมรสกับผิโรช คานธี ซึ่งมีนามสกุลเดียวกับมหาตมา คานธี แต่ไม่ได้มีความสัมพันธ์เป็นเครือญาติกัน อินทิรามีบุตรชายสองคน คือ ราชีพ คานธีและสัญชัย คานธี โดยบุตรทั้งสองต่างดำเนินกิจกรรมทางการเมืองสืบต่อจากมารดา อินทิรา คานธีถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2527 หลังจากถูกองครักษ์สองคนใช้อาวุธปืนกระหน่ำยิงกว่า 30 นัด ที่บริเวณสวนในทำเนียบนายกรัฐมนตรี และถึงแก่อสัญกรรมระหว่างถูกนำตัวส่งโรงพยาบาล สาเหตุเนื่องจากเหตุการณ์ความขัดแย้งระหว่างชาวฮินดูกับชาวซิก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอินทิรา คานธี · ดูเพิ่มเติม »

อินเดียตะวันออก

งประเทศที่รวมอยู่ในอินเดียตะวันตก อินเดียตะวันออก, อีสต์อินดีส หรือ อินดีส (East Indies หรือ Indies) เป็นคำที่ใช้บรรยายดินแดนที่รวมทั้งเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้Oxford Dictionary of English 2e, Oxford University Press, 2003, East Indies/East India ที่เป็นที่ตั้งของประเทศอินเดีย, ปากีสถาน, บังกลาเทศ, พม่า, ศรีลังกา, มัลดีฟส์ และรวมทั้งไทย, กัมพูชา, ลาว, บรูไน, สิงคโปร์, ฟิลิปปินส์, ติมอร์-เลสเต, มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ในความหมายที่จำกัดอินดีสหมายถึงหมู่เกาะทางตะวันออกเฉียงใต้ของเอเชียโดยเฉพาะหมู่เกาะมลายูOxford Dictionary of English 2e, Oxford University Press, 2003, "East Indies/East India" อาณานิคมของเนเธอร์แลนด์ในบริเวณนี้เรียกว่าหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ ก่อนที่จะมาเป็นอินโดนีเซีย อินเดียตะวันออก (East Indies) อาจจะรวมอินโดจีน, หมู่เกาะฟิลิปปินส์, บรูไน, สิงคโปร์ และติมอร์-เลสเต แต่จะไม่รวมนิวกินีตะวันตก (ปาปัวตะวันตก) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเมลานีเซีย ผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในอินเดียตะวันออกบางครั้งก็เรียกว่า "ชาวอินเดียตะวันออก" เพื่อให้แตกต่างจากผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในเอเชียใต้, แคริบเบียน (ที่เรียกว่า “ชาวอินเดียตะวันตก”) และจากผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในทวีปอเมริกาที่เรียกว่า "ชาวอเมริกันอินเดียน" (แต่ในอเมริกาเหนือคำว่า "ชาวอินเดียตะวันออก" อาจจะหมายถึงผู้ที่มาจากอินเดียที่อยู่ในอเมริกาเหนือ) ชาวอินเดียตะวันออกมาจากหลายวัฒนธรรม หลายชาติพันธุ์ และหลายศาสนาที่ส่วนใหญ่รวมทั้งศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ และศาสนาอิสลาม ศาสนาของชนกลุ่มน้อยก็ได้แก่ศาสนาคริสต์, ศาสนาซิกข์, ศาสนาเชน และความเชื่ออื่น ๆ ในบางบริเวณ นอกจากนั้นภาษาที่พูดก็มาจากหลายตระกูล.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอินเดียตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย

อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย เป็นหนึ่งในอุทยานประวัติศาสตร์ของประเทศไทย ที่ตั้งอยู่ในตัวอำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ประกอบด้วยปราสาทหินในสมัยอาณาจักรขอมที่ใหญ่โตและงดงาม สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 ราวพุทธศตวรรษที่ 16 เพื่อใช้.เป็นเทวสถานของศาสนาพราหมณ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง

ปราสาทพนมรุ้ง เมื่อมองจากทางขึ้นด้านหน้า ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง หรือ ปราสาทหินพนมรุ้ง เป็นหนึ่งในปราสาทหินในกลุ่มราชมรรคา ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 2 (บ้านดอนหนองแหน) ตำบลตาเป๊ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ห่างจากตัวเมืองบุรีรัมย์ลงมาทางทิศใต้ประมาณ 77 กิโลเมตร ประกอบไปด้วยโบราณสถานสำคัญ ซึ่งตั้งอยู่บนยอดภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว สูงประมาณ 200 เมตรจากพื้นราบ (ประมาณ 350 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง) คำว่า พนมรุ้ง นั้น มาจากภาษาเขมร คำว่า วนํรุง แปลว่า ภูเขาใหญ่ ปัจจุบัน ปราสาทหินพนมรุ้งกำลังอยู่ในเกณฑ์กำลังพิจารณาเป็นมรดกโลก เช่นเดียวกับ ปราสาทหินในกลุ่มราชมรรคา ปราสาทหินพนมรุ้งเป็นหนึ่งในปราสาทหินขอมของไทยที่มีชื่อเสียงมากที่สุด เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัดบุรีรัมย์ และถือเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญของจังหวัดบุรีรัมย์ รวมถึงเป็นภาพพื้นหลังตราสัญลักษณ์ของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ดอีกด้วย ตัวปราสาทหินพนมรุ้ง ความสวยงามของปราสาท.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

อุปนิษัท

อุปนิษัท (เทวนาครี: उपनिषद्, IAST: upaniṣad) เป็นคัมภีร์ของศาสนาฮินดู เนื้อหาเป็นหลักธรรม หรือคำสอนอันลึกซึ้ง นับเป็นส่วนสุดท้ายของวรรณกรรมพระเวท (วรรณกรรมพระเวทส่วนอื่นได้แก่ สังหิตา, พราหมณะ, อารัณยกะ) และเนื่องจากเป็นส่วนสุดท้ายของวรรณกรรมพระเวท จึงอีกอย่างหนึ่งว่า "เวทานฺต" (เวทานตะ) คำว่า "อุปนิษัท" มาจากรากศัพท์ คำอุปสรรค 'อุป' 'นิ' และธาตุ 'สัท' (นั่ง) ซึ่งหมายถึง นั่งใกล้คนใดคนหนึ่ง อันได้แก่ การนั่งของศิษย์ใกล้ครูอาจารย์ เพื่อสอนหลักธรรมอันลึกซึ้ง คัมภีร์อุปนิษัทนั้นมีอยู่เป็นจำนวนมาก และอยู่ในช่วงเวลาที่กว้าง บางเล่มอยู่ในสมัยก่อนพุทธกาล บางเล่มมีอายุอยู่หลังพุทธกาล.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอุปนิษัท · ดูเพิ่มเติม »

อีบูเปอร์ตีวี

อีบูเปอร์ตีวี (Ibu Pertiwi) หรือโลกมาตา YKIP เป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของอินโดนีเซีย ในนิทานเรื่อง ตานะฮ์ไอร์ (แผ่นดินและน้ำ) ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ชนเผ่าในหมู่เกาะอินโดนีเซียมักจะมีนิทานเกี่ยวกับวิญญาณธรรมชาติและแม่ผู้ให้ชีวิต เทวีศักดิ์สิทธิ์ในธรรมชาติ หลังการเข้ามาของศาสนาฮินดู เทวีศักดิ์สิทธิ์นั้นได้กลายเป็นพระแม่ปฤถวี เทวีผู้เป็นแม่ในศาสนาฮินดู เทวีแห่งโลก ต่อมาจึงได้ชื่อว่าเปอร์ตีวีในอินโดนีเซีย เปอร์ตีวีเป็นชื่อที่นิยมใช้ในเพลงและบทกวีของอินโดนีเซีย เช่นเพลงอีบูเปอร์ตีวี เพลงอินโดเนเซียปูซากา ในเพลงชาติของอินโดนีเซีย (อินโดเนเซียรายา) ท่อนที่ว่า จาดี ปันดู อีบูกู เป็นท่อนที่อ้างถึงอีบูเปอร์ตีวีในฐานะแม่ของชาวอินโดนีเซีย แต่รูปปั้นและภาพของเทวีองค์นี้หายากมาก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอีบูเปอร์ตีวี · ดูเพิ่มเติม »

อติเทวนิยม

อติเทวนิยม เป็นคำไทยที่บัญญัติขึ้น เพื่อใช้นิยามแนวคิดทางเทววิทยา Henotheism (ἑνας, henas - หนึ่ง, และ θεός, theos - เทพ) อติเทวนิยม คือ ความเชื่อที่ทั้งเหมือนและแตกต่างไปจาก เอกเทวนิยม โดยเหมือนกันในแง่ที่นับถือบูชาพระเจ้าหรือเทพเจ้าเพียงองค์เดียว แต่ต่างกันตรงที่อติเทวนิยมยอมรับในการมีอยู่ของพระเจ้าหรือเทพเจ้าองค์อื่นๆด้วย ในขณะที่ เอกเทวนิยม จะถือว่าพระเจ้ามีเพียงองค์เดียวเท่านั้น แม้อาจมีความเชื่อเกี่ยวกับวิญญาณอื่นที่ไม่ใช่พระเจ้าหรือเทพเจ้าปนอยู่ด้วย และอติเทวนิยมก็สอดคล้องกับความเชื่อ พหุเทวนิยม ในประการที่เชื่อในการมีอยู่ของพระเจ้าหลายองค์ ต่างกันตรงที่จะบูชาเพียงพระเจ้าสูงสุดเพียงองค์เดียว ในขณะที่พหุเทวนิยม จะทั้งเชื่อและบูชาพระเจ้าหลายองค์พร้อมๆกัน มักซ์ มึลเลอร์ (1823-1900) นักอินเดียวิทยา และผู้เชี่ยวชาญภาษาสันสกฤตชาวเยอรมัน เป็นบุคคลแรกที่เสนอว่าศาสนาพราหมณ์ หรือศาสนาฮินดู เป็นตัวอย่างที่สำคัญของแนวความคิดแบบอติเทวนิยม แต่ปัจจุบันมีผู้ไม่เห็นด้วยเพราะการจะเป็นอติเทวนิยมโดยแท้ จะต้องเป็นการนับถือบูชาพระเจ้าเพียงองค์เดียว ไม่ใช่บูชาหลายองค์แบบที่ศาสนาพราห์ม-ฮินดูเป็นอยู่ในทุกวันนี้ซึ่งเป็นพหุเทวนิยม เช่นเดียวกับศาสนากรีกและศาสนาจีน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอติเทวนิยม · ดูเพิ่มเติม »

อนาคาริก ธรรมปาละ

อนาคาริก ธรรมปาละ (Anagarika Dhammapala) (เกิด 17 กันยายน พ.ศ. 2407 มรณภาพ 29 เมษายน พ.ศ. 2476) เป็นบุคคลที่สำคัญที่สุดในการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย เป็นผู้ก่อตั้งสมาคมมหาโพธิ์ และเป็นผู้เรียกร้องเอาพุทธสถานในอินเดียกลับคืนมาเป็นของชาวพุทธ ท่านเกิดในครอบครัวผู้มั่งคั่ง บิดาชื่อว่า เดวิด เหววิตรเน เมื่อได้อ่านหนังสือเรื่องประทีปแห่งเอเชียของท่านเซอร์ เอดวินด์ อาโนลด์ ก็เกิดความซาบซึ้ง มีความคิดอยากอุทิศชีวิตถวายต่อพระพุทธองค์ในการฟื้นฟูพุทธศาสนาที่อินเดีย จึงออกเดินทางสู่อินเดีย เมื่อได้เห็นเจดีย์พุทธคยาที่ชำรุดทรุดโทรมถูกทอดทิ้ง และอยู่ในความครอบครองของพวกมหันต์ จึงเกิดความสังเวชใจ ที่ได้พบเห็นเช่นนั้น จึงทำการอธิษฐานต่อต้นพระศรีมหาโพธิ์ว่า จะถวายชีวิตเป็นพุทธบูชา เพื่อฟื้นฟูพุทธศาสนา ในอินเดียและนำพุทธคยากลับคืนมาเป็นสมบัติของชาวพุทธทั่วโลกให้ได้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอนาคาริก ธรรมปาละ · ดูเพิ่มเติม »

อ่ายตน

ทอ่ายตน เป็นชาวไท ที่อพยพมาอาศัยในประเทศอินเดียปัจจุบัน มีประชากร 5,500 คน นับถือศาสนาพุทธร้อยละ 92.09 ฮินดู ร้อยละ 7.91% ไทอ่ายตน มีถิ่นฐานเดิมอยู่ที่เมืองกอง (โมกอง) เช่นเดียวกันกับชาวไทคำยัง และชาวไทนะรา เดิมทีชาวไทอ่ายตนเป็นพวกที่ส่งขันทีให้ราชสำนักเป็นประจำ ต่อมาถูกกริ้วจึงหนีมายังอัสสัม ตั้งหลักแหล่ง 2 แห่ง คือ ที่ภูเขานาคแห่งหนึ่ง และที่สิบสาคร อีกแห่งหนึ่ง มีผู้กล่าวว่ามีผู้กระทำผิดทางชู้สาวกับธิดาเจ้าฟ้า จึงถูกตอน คนไทเหล่านี้จึงได้ชื่อว่า "ไทอ่ายตอน" แต่ออกเสียงเป็น "ไทอ่ายตน" ชาวไทอ่ายตน มีอยู่หลายหมู่บ้านที่เมืองโคลาฆาต เช่น บ้านหิน บ้านน้ำท่วม บอราปัตเถิร ชาวอ่ายตนที่บอราปัตเถิร เล่ากันว่าพวกเขาอพยพมาจากเมืองรีเมืองราม และเจล้าน ภาษาไทอ่ายตนมีลักษณะคล้ายกันกับภาษาไทอาหม จนอาจมีถิ่นฐานเดิมร่วมกัน การแต่งกายของหญิงชาวไทอ่ายตน แต่งกายคล้ายกับหญิงชาวไทพ่าเก แต่นุ่งซิ่นดำแทนซิ่นลาย มีผ้าสไบเฉียงแบบไทย ทั้งชาวไทเหนือ ในยูนนาน และชาวไทเมา ตลอดจนชาวไทยในประเทศไทย ส่วนชาวไทอ่ายตนที่ขริกะเตีย มีอยู่ 3 หมู่บ้าน คือ นานคาว ภลีชัน และเภชเภรี รวมเรียกว่า "สยามคาว" (หมู่บ้านสยาม) แต่ภาษาไทที่นี่นั่นสูญหายไปนานแล้ว แม้พ่อเฒ่าอายุ 70 ปีก็ยังจำไม่ได้ แม้ชาวไทอ่ายตนที่นี่ จะสูญเสียภาษาแล้ว แต่ก็ยังมีการผูกข้อมือรับขวัญ อาหารการกินก็คล้ายๆกับหมู่บ้านชาวไทอื่น ๆ รวมทั้งหนังสือ "ปู่สอนหลาน"ก็ยังเป็นคัมภีร์สำคัญของที่นี่ ถึงแม้จะไม่มีใครเข้าใจแล้ว หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ตระกูลภาษาไท-กะได หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศอินเดีย.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและอ่ายตน · ดูเพิ่มเติม »

ฮีมานซู โซนิ

ีมานซู โซนิ (Himanshu Soni.) เป็นนักแสดงชายชาวอินเดียที่มีชื่อเสียงจากการแสดงเป็น เจ้าชายสิทธัตถะ,พระพุทธเจ้า ในภาพยนตร์ซีรีส์เรื่อง พระพุทธเจ้า มหาศาสดาโลก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและฮีมานซู โซนิ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า

ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า หรือ ผู้รับใช้ของพระเจ้า เป็นสมัญญานามที่ใช้กับศาสนิกชนบางคนในศาสนาเทวนิยม ใช้เพื่อแสดงว่าบุคคลนั้นศรัทธาอย่างแรงกล้า ในคริสตจักรโรมันคาทอลิกใช้คำนี้ในความหมายเฉพาะลงไปอีก คือหมายถึงบุคคลที่อยู่ในกระบวนการชั้นแรกก่อนการประกาศเป็นนักบุญ ส่วนนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ใช้คำนี้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ในนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ คำว่า "ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า" ใกล้เคียงกับคำว่า อับดุลลอฮ์ (عبد الله บ่าวของอัลลอฮ์) ในภาษาอาหรับ และ โอบาดีห์ ในภาษาฮีบรู.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและผู้รับใช้พระเป็นเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

จรากุรา

จรากุรา (চৰাগুৱা) หรือที่รู้จักในนามราชธานีชากุยะ ถูกสถาปนาเป็นราชธานีในรัชสมัยสุดางฟ้า (โอรสมเหสีองค์รองของท้าวขำติ) เนื่องจากศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเริ่มเพิ่มพูนมากในรัชกาลนี้ เดิมสุดางฟ้าสร้างเมืองใหม่ขึ้นที่โธลา แต่ภายหลังได้ย้ายมาอยู่ที่ชารากูจา (ชากุยะ) และราชธานีแห่งนี้ใกล้กับแม่น้ำทิหิง หมวดหมู่:อาณาจักรอาหม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจรากุรา · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ แฮร์ริสัน

อร์จ แฮร์ริสัน (George Harrison) MBE (25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1943 – 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2001) เป็นมือกีตาร์ชาวอังกฤษ นักร้อง-นักแต่งเพลง ผู้สร้างภาพยนตร์ เขาประสบความสำเร็จในระดับนานาชาติจากการเป็นมือกีตาร์ลีดให้กับวงเดอะบีทเทิลส์ และยังมีชื่ออยู่อันดับ 21 ของการจัดอันดับในนิตยสารโรลลิงสโตนในหัวข้อ "100 นักกีตาร์ที่เยี่ยมที่สุดตลอดกาล" มักถูกพูดถึงว่าเป็น "บีทเทิลที่เงียบขรึม" (the quiet Beatle) แฮร์ริสันเชื่อเรื่องเวทมนตร์อินเดีย และยังทำให้ฐานคนฟังของเดอะบีทเทิลส์กว้างขึ้นเช่นเดียวกับกลุ่มผู้ฟังตะวันตก หลังจากที่วงแตกไป เขาประสบความสำเร็จในฐานะศิลปินเดี่ยวและต่อมาก็อยู่ในวง แทรเวลลิงวิลบูรีส์ และยังเป็นโปรดิวเซอร์ภาพยนตร์และเพลงอีกด้วย ถึงแม้ว่าเพลงโดยมากของเดอะบีทเทิลส์จะแต่งโดยเลนนอนและแม็กคาร์ตนีย์ แฮร์ริสันก็ยังแต่งเพลง 1 หรือ 2 เพลงต่ออัลบั้มตั้งแต่ชุด Help! เป็นต้นมา ผลงานเขาที่ร่วมกับเดอะบีทเทิลส์เช่นเพลง "Here Comes the Sun", "Something", "I Me Mine" และ "While My Guitar Gently Weeps" หลังจากวงแตกไป แฮร์ริสันก็ยังเขียนเพลง ออกผลงานทริปเปิลอัลบั้มที่ประสบความสำเร็จอย่าง All Things Must Pass ในปี 1970 ที่มี 2 ซิงเกิ้ลและ ดับเบิลเอ-ไซด์ซิงเกิล: "My Sweet Lord" กับ Isn't It a Pity" นอกจากนี้ในงานเดี่ยว แฮร์ริสันยังร่วมเขียนเพลงฮิต 2 เพลงให้กับริงโก สตารร์ อดีตสมาชิกวงเดอะบีทเทิลส์อีกคน และเพลงในวงแทรเวลลิงวิลบูรีส์ วงซูเปอร์กรุ๊ป ที่ฟอร์มวงในปี 1988 ร่วมกับบ็อบ ดีแลน, ทอม เพตตี, เจฟฟ์ ลีนน์ และรอย ออร์บิสัน แฮร์ริสัน ได้รับวัฒนธรรมอินเดียและฮินดู ในช่วงทศวรรษ 1960 และช่วยให้ความรู้กับคนตะวันตกด้วยเพลงซิตาร์ และกลุ่มเคลื่อนไหวฮาเร กฤษณะ เขาร่วมกับระวี ชังการ์ จัดคอนเสิร์ตการกุศลในปี 1971 ที่ชื่อ Concert for Bangladesh และเขาถือเป็นคนเดียวในเดอะบีทเทิลส์ที่พิมพ์อัตชีวประวัติ ขึ้นที่ชื่อ I Me Mine ในปี 1980 นอกจากการเป็นนักดนตรีแล้ว เขายังเป็นโปรดิวเซอร์เพลง และร่วมก่อตั้งบริษัทผลิตภาพยนตร์ที่ชื่อ แฮนด์เมดฟิล์มส งานของเขาในฐานะผู้สร้างภาพยนตร์ เขาร่วมงานกับผู้คนหลากหลายอย่าง มาดอนน่า และสมาชิกของกลุ่มมอนตี้ ไพธอน ด้านชีวิตส่วนตัวเขาแต่งงาน 2 ครั้ง ครั้งแรกกับนางแบบ แพตตี บอยด์ ในปี 1966 และเลขาบริษัทค่ายเพลงที่ชื่อ โอลิเวีย ทรินิแดด อาเรียส ในปี 1978 ที่มีลูกชายด้วยกัน 1 คน ชื่อ ดานี แฮร์ริสัน เขายังเป็นเพื่อนสนิทกับอีริก แคลปตัน และอีริก ไอเดิล เขาเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งในปอดเมื่อปี 2001.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจอร์จ แฮร์ริสัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิศิวาจี

ฉัตรปตี ศิวาจีราเช โภสเล (छत्रपती शिवाजीराजे भोसले; 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1630 – 3 เมษายน ค.ศ. 1680) เป็นจักรพรรดิองค์แรกแห่ง จักรวรรดิมราฐา ครองราชย์ตั้งแต่ 6 มิถุนายน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจักรพรรดิศิวาจี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบรูไน

ักรวรรดิบรูไน (Bruneian Empire) จัดตั้งขึ้นเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 12 บนเกาะบอร์เนียว ในยุคแรกปกครองโดยกษัตริย์ที่นับถือศาสนาฮินดู ก่อนจะเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม ซึ่งได้รับอิทธิพลทั้งจากมุสลิมอินเดียและชาวอาหรับที่เข้ามาค้าขาย ไม่มีหลักฐานในท้องถิ่นที่จะยืนยันการมีอยู่ แต่ในเอกสารจีนได้อ้างถึงบรูไนในยุคเริ่มแรก โบนี (Boni) ในภาษาจีนอ้างถึงดินแดนเกาะบอร์เนียว ในขณะที่ โปลี (Poli 婆利) ที่อาจจะตั้งอยู่ที่เกาะสุมาตรา มักจะถูกกล่าวว่าหมายถึงบรูไนด้วย หลักฐานเก่าสุดที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างบอร์เนียว (โบนี 渤泥) และจีนบีนทึกไว้ใน (Taiping huanyuji 太平環宇記) ในสมัยของสุลต่านโบลเกียห์ ซึ่งเป็นสุลต่านองค์ที่ 5 ของบรูไน บรูไนมีอำนาจครอบคลุมเกาะบอร์เนียวทั้งหมด และบางส่วนของฟิลิปปินส์ เช่น เกาะมินดาเนา ซึ่งถือเป็นยุคทองของบรูไน กองทัพบรูไนมีกองทัพเรือที่แข็งแกร่ง บางส่วนเป็นโจรสลัดในทะเลจีนใต้ และชายฝั่งของเกาะบอร์เนียว หลักฐานทางตะวันตกชิ้นแรกที่กล่าวถึงบรูไนคืองานเขียนของชาวอิตาลี ลูโดวิโก ดี วาร์เทมา ผู้เดินทางมายังหมู่เกาะโมลุกกะและแวะพักที่เกาะบอร์เนียวเมื่อราว..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจักรวรรดิบรูไน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิมราฐา

ักรวรรดิมราฐา (मराठा साम्राज्य;Maratha Empire) เป็นจักรวรรดิที่มีอำนาจในช่วง ค.ศ. 1674 - ค.ศ. 1818 โดยมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของประเทศอินเดีย บางส่วนของประเทศปากีสถาน และพื้นที่บางส่วนของประเทศบังกลาเทศในปัจจุบัน มีจักรพรรดิองค์แรกคือ สมเด็จพระจักรพรรดิศิวาจี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจักรวรรดิมราฐา · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิวิชัยนคร

ักรวรรดิวิชัยนคร (ವಿಜಯನಗರ ಸಾಮ್ರಾಜ್ಯ, విజయనగర సామ్రాజ్యము, Vijayanagara Empire) เป็นจักรวรรดิที่ตั้งอยู่บนที่ราบสูงเด็คคาน (มทุไร นาย) ทางตอนใต้ของประเทศอินเดียปัจจุบัน จักรวรรดิวิชัยนครก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1336 โดยพระเจ้าหริหระราชาที่ 1และพระอนุชาพระเจ้าบุคคราชาที่ 1 (Bukka Raya I) และรุ่งเรืองต่อมาจนกระทั่งปี ค.ศ. 1646 แม้ว่าอำนาจจะลดถอยลงบ้างเมื่อพ่ายแพ้ต่ออาณาจักรสุลต่านแห่งเด็คคาน (Deccan sultanates) จักรวรรดิตั้งตามชื่อเมืองหลวงวิชัยนคร ซึ่งยังคงมีร่องรอยเหลือให้เห็นในรัฐกรณาฏกะในประเทศอินเดียปัจจุบัน บันทึกของนักเดินทางชาวยุโรปเป็นแหล่งสำคัญของข้อมูลที่เกี่ยวกับจักรวรรดิ ควบกับหลักฐานที่พบทางโบราณคดีทำให้ทราบถึงอำนาจและความมั่งคั่งของจักรวรรดิวิชัยนคร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจักรวรรดิวิชัยนคร · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิศุงคะ

ักรวรรดิศุงคะ (शुंग राजवंश, Sunga Empire หรือ Shunga Empire) เป็นราชวงศ์มคธที่ปกครองทางตอนกลางเหนือและตะวันออกของอินเดีย และบางส่วนของทางตะวันตกเฉียงเหนือที่ปัจจุบันคือปากีสถานตั้งแต่ราว 185 ปีก่อนคริสต์ศักราชมาจนถึง 73 ปีก่อนคริสต์ศักราช จักรวรรดิศุงคะก่อตั้งขึ้นหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโมริยะ เมืองหลวงตั้งอยู่ที่ปาตลีบุตร ต่อมาพระมหากษัตริย์เช่นพระเจ้าภคภัทระ (Bhagabhadra) ก็ทรงตั้งราชสำนักที่วิทิศา ระหว่างสมัยของจักรวรรดิศุงคะเป็นสมัยของการสงครามทั้งกับต่างประเทศและกับศัตรูภายในท้องถิ่น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจักรวรรดิศุงคะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิสาตวาหนะ

ตวาหนะ (Satavahana หรือ Andhras) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจากชุนนระ (ปูเน), ประทิศฐาน (ไพธาน) ในรัฐมหาราษฏระ และ กรีมนคร (Karimnagar) ในรัฐอานธรประเทศทางตอนใต้และตอนกลางของอินเดีย ราวตั้งแต่ 230 ก่อนคริสต์ศักราช แม้ว่าเวลาที่สิ้นสุดลงของสาตวาหนะจะยังคงเป็นปัญหาแต่จากการประมาณโดยทั่วไปแล้วจักรวรรดิสาตวาหนะรุ่งเรืองอยู่เป็นเวลา 450 ปีมาจนถึงราวปี ค.ศ. 220 ราชวงศ์สาตวาหนะได้ชื่อว่าเป็นผู้สร้างความสงบในจักรวรรดิ และหยุดยั้งการเข้ามาของชาวต่างประเทศหลังจากการเสื่อมโทรมของจักรวรรดิโมร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจักรวรรดิสาตวาหนะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิขแมร์

ักรวรรดิขแมร์ หรือ อาณาจักรเขมร หรือบางแหล่งเรียกว่า อาณาจักรขอม เป็นหนึ่งในอาณาจักรโบราณ เริ่มต้นขึ้น ราวพุทธศตวรรษที่ 6 โดยเริ่มจากอาณาจักรฟูนัน มีที่ตั้งอยู่ในบริเวณประเทศกัมพูชา โดยมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของ ประเทศไทย ลาว และบางส่วนของเวียดนามในปัจจุบัน นับเป็นอาณาจักรที่มีแสนยานุภาพมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมาได้อ่อนกำลังลงจนเสียดินแดนบางส่วนให้กับอาณาจักรสุโขทัย และแตกสลายในที่สุดเมื่อตกเป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรเขมรสืบทอดอำนาจจากอาณาจักรเจนฬา มีสงครามผลัดกันแพ้ผลัดกันชนะกับอาณาจักรข้างเคียง เช่น อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรอยุธยา และอาณาจักรจามปา มรดกที่สำคัญที่สุดของอาณาจักรเขมรคือ นครวัด และ นครธม ซึ่งเคยเป็นนครหลวงเมื่อครั้งอาณาจักรแห่งนี้มีความเจริญรุ่งเรืองที่สุด และยังมีลัทธิความเชื่อต่างๆ อย่างหลากหลาย ศาสนาหลักของอาณาจักรนี้ได้แก่ ศาสนาฮินดู พุทธศาสนามหายาน และพุทธศาสนาเถรวาทซึ่งได้รับจากศรีลังกา เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 13.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจักรวรรดิขแมร์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิคุปตะ

ักรวรรดิคุปตะ (Gupta Empire) เป็นจักรวรรดิอินเดียโบราณที่รุ่งเรืองระหว่างปี ค.ศ. 280 จนกระทั่งปี ค.ศ. 550 จักรวรรดิ โดยมีอาณาบริเวณที่ครอบคลุมตางตอนเหนือและตอนกลางของอินเดียทั้งหมด และบังคลาเทศปัจจุบัน จักรวรรดิก่อตั้งขึ้นโดยพระเจ้าศรีคุปต์ โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่ปาฏลีบุตรที่ปัจจุบันคือปัฏนาทางตอนเหนือของรัฐพิหาร ความรุ่งเรืองของจักรวรรดิภายใต้การนำของพระมหากษัตริย์ราชวงศ์คุปตะทำให้มีความเจริญในด้านวิทยาศาสตร์และศิลปะ ในด้านความเจริญทางด้านวัฒนธรรมนักประวัติศาสตร์จัดราชวงศ์คุปตะในระดับเดียวกับราชวงศ์ฮั่น, ราชวงศ์ถัง และจักรวรรดิโรมัน สมัยจักรวรรดิคุปตะถือกันโดยนักวิชาการบางคนว่าเป็นยุคทองของอินเดียในด้านวิทยาศาสตร์, เทคโนโลยี, วิศวกรรม, ศิลปะ, วรรณคดี, ตรรกศาสตร์, คณิตศาสตร์, ดาราศาสตร์, ศาสนา และปรัชญ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจักรวรรดิคุปตะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิปาละ

ักรวรรดิปาละ (Pala Empire) เป็นจักรวรรดิที่ปกครองบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของเอเชียใต้ ปาละมักจะได้รับการบรรยายโดยศัตรูว่าเป็น “ประมุขแห่งกวาดา” (Gaur, West Bengal) คำว่า “ปาละ” ในภาษาเบงกอล (পাল pal) แปลว่า “ผู้พิทักษ์” และใช้เป็นสร้อยพระนามของกษัตริย์ทุกพระองค์ ปาละเป็นผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายมหายานและลัทธิตันตระ พระเจ้าโคปาละทรงเป็นกษัตริย์องค์แรกของราชวงศ์ผู้ขึ้นครองราชย์ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจักรวรรดิปาละ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดินิยมในเอเชีย

ักรวรรดินิยมในเอเชียซึ่งนำเสนอในบทความนี้ว่าด้วยการเข้ามายังบริเวณที่เดิมเรียก หมู่เกาะอินเดียตะวันออก ของชาติยุโรปตะวันตก จักรวรรดินิยมในเอเชียเริ่มขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยการค้นเส้นทางการค้ากับประเทศจีนซึ่งนำไปสู่ยุคแห่งการสำรวจโดยตรง และนำการสงครามสมัยใหม่ตอนต้นมาสู่บริเวณซึ่งขณะนั้นเรียก ตะวันออกไกล เมื่อถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ยุคแห่งการเดินเรือขยายอิทธิพลของยุโรปตะวันตกและพัฒนาการค้าเครื่องเทศภายใต้ลัทธิอาณานิคมอย่างมาก มีจักรวรรดิอาณานิคมยุโรปตะวันตกและจักรวรรดินิยมในเอเชียตลอดหกศตวรรษแห่งลัทธิอาณานิคม จนสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการเมื่อติมอร์-เลสเต ซึ่งเป็นอาณานิคมสุดท้ายของจักรวรรดิโปรตุเกส ได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจักรวรรดินิยมในเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิแซสซานิด

ักรวรรดิซาสซานิยะห์ (ساسانیان, Sassanid Empire) ที่เป็นหนึ่งในจักรวรรดิเปอร์เชียและที่เป็นจักวรรดิสุดท้ายก่อนที่ศาสนาอิสลามจะเริ่มขึ้นเป็นหนึ่งในสองมหาอำนาจของเอเชียตะวันตกเป็นเวลากว่าสี่ร้อยปี ราชวงศ์ซาสซานิยะห์ก่อตั้งโดยอาร์ดาเชอร์ที่ 1 (Ardashir I) หลังจากที่ทรงได้รับชัยชนะต่อจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิพาร์เธียนองค์สุดท้ายอาร์ตาบานัสที่ 4 (Artabanus IV) และมาสิ้นสุดลงเมื่อยาซเดเกิร์ดที่ 3 (Yazdegerd III) มาพ่ายแพ้หลังจากที่ทรงใช้เวลาถึงสิบสี่ปีในการต่อต้านจักรวรรดิกาหลิปรอชิดีนซึ่งเป็นหนึ่งในจักรวรรดิกาหลิปอิสลามที่ตามกันมา จักรวรรดิซาสซานิยะห์หรือที่เรียกว่า “Eranshahr” (“จักรวรรดิอิหร่าน”) ตั้งอยู่ในบริเวณที่เป็นปัจจุบันคืออิหร่าน, อิรัก, อาร์มีเนีย, ทางตอนใต้ของคอเคซัส (รวมทั้งทางตอนใต้ของดาเกสถาน), ตะวันตกเฉียงใต้ของเอเชียกลาง, ตะวันตกของอัฟกานิสถาน, บางส่วนของตุรกี, บางส่วนของซีเรีย, บริเวณริมฝั่งทะเลของคาบสมุทรอาหรับ, บริเวณอ่าวเปอร์เซีย และบางส่วนของทางตะวันตกเฉียงใต้ของปากีสถาน สมัยการปกครองของซาสซานิยะห์เป็นสมัยอันยาวนานของปลายสมัยโบราณและถือกันว่าเป็นสมัยที่สำคัญที่สุดและมีอิทธิพลที่สุดทางประวัติศาสตร์สมัยหนึ่งของ เป็นสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดของวัฒนธรรมของเปอร์เซียแ ละเป็นจักรวรรดิอันยิ่งใหญ่จักรวรรดิสุดท้ายก่อนที่จะเริ่มยุคการพิชิตของมุสลิมและการยอมรับนับถือศาสนาอิสลาม วัฒนธรรมของเปอร์เซียมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมของโรมันเป็นอันมากในยุคซาสซานิยะห์J.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจักรวรรดิแซสซานิด · ดูเพิ่มเติม »

จักระ

ักระ (Chakra, Cakra, Cakka) เป็นศูนย์รวมกายทิพย์ (subtle body) ที่เชื่อว่ามีพลังทางจิตในประเพณีลึกลับของศาสนาแบบอินเดีย, Encyclopaedia Britannica ความคิดมักพบในประเพณีแบบตันตระของศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ และศาสนาเชน จักระถูกมองว่าเป็นจุดรวมพลังงาน การทำงานของร่างกาย หรือจุดต่อทางจิตของกายทิพย์ ทฤษฎีจักระเป็นส่วนหนึ่งของระบบกุณฑลินี (Kundalini) ทฤษฎีเหล่านี้ต่างกันไปตามแต่ละศาสนา เอกสารของศาสนาพุทธกล่าวถึงจักระทั้ง 4 ส่วนศาสนาฮินดูกล่าวถึงจักระทั้ง 7 โดยเชื่อว่าจักระเป็นส่วนหนึ่งของกายทิพย์ ไม่ใช่ร่างกาย และเชื่อมต่อโดยช่องทางพลังงานเรียกว่านาดิ (Nadi) ส่วนนึงในโยคะแบบกุณฑลินีมีการฝึกรวบรวมพลังงานผ่านจักร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจักระ · ดูเพิ่มเติม »

จัณฑาล

ัณฑาลในรัฐเกรละของอินเดีย พ.ศ. 2449 โรงเรียนของพวกจัณฑาลใกล้กับเมืองบังคาลอร์ ในระบบวรรณะของศาสนาฮินดู จัณฑาล เป็นชนชั้นทางสังคมชนชั้นหนึ่งซึ่งจัดว่าอยู่ในชนชั้นต่ำ หมายถึงคนที่มีบิดาและมารดาเป็นคนต่างวรรณะ จึงเกิดมาไร้วรรณะและมีสถานะทางสังคมต่ำยิ่งกว่าวรรณะศูทร จัณฑาลบางคนในอินเดียกำเนิดมาจากวรรณะระดับบน ก็อาจได้รับการยอมรับจากคนในสังคมมากกว่าจัณฑาลที่กำเนิดมาจากวรรณะระดับล่าง ในปัจจุบันมีจัณฑาลหลายคนที่กำเนิดมาจากวรรณะล่าง แต่สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองของอินเดียได้ ในบริบทสากล ผู้มิควรยุ่งเกี่ยว (untouchable) หมายถึงกลุ่มคนที่สังคมไม่ให้การยอมรับและไม่อยากไปคบค้าสมาคมด้วย อาทิ คนดำในรวันดาและแอฟริกาใต้, บุระกุมินในญี่ปุ่นยุคศักดินา ในปัจจุบันทั้งโลกมีผู้เว้นต้องอยู่ราว 160 ล้านคนซึ่งส่วนใหญ่เป็นจัณฑาลที่อาศัยอยู่ในอนุภูมิภาคอินเดี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจัณฑาล · ดูเพิ่มเติม »

จัณฑีครห์

ัณฑีครห์ (Chandigarh) เป็นเมืองหลวงของสองรัฐคือรัฐปัญจาบและรัฐหรยาณา ชื่อของเมืองแปลว่าปราสาทของจัณฑี ซึ่งเป็นเทวีในศาสนาฮินดู สาเหตุที่ทำให้จัณฑีครห์กลายเป็นเมืองหลวงของสองรัฐพร้อมกัน เนื่องจากการที่อินเดียได้รับการปลดปล่อยจากการเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจัณฑีครห์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชวากลาง

วากลาง (Jawa Tengah, ꦗꦮꦠꦼꦔꦃ) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย เมืองเอกคือ เซอมารัง (Semarang) นับเป็นหนึ่งในจังหวัดทั้งหกของเกาะชวา ชวากลางมีจุดเด่นทั้งด้านวัฒนธรรม และทางการเมือง ยอกยาการ์ตาเป็นส่วนสำคัญแห่งหนึ่งของชวากลาง อย่างไรก็ตาม ในเชิงการบริหารแล้ว เมืองนี้และพื้นที่โดยรอบเป็นพื้นที่พิเศษที่แยกต่างหาก นับตั้งแต่อินโดนีเซียประกาศเอกราช จังหวัดชวากลางมีพื้นที่ 32,548.20 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณหนึ่งในสี่ของพื้นที่เกาะชวา มีประชากร 31,820,000 (พ.ศ. 2548) จึงเป็นจังหวัดที่มีประชากรมากเป็นอันดับสามของอินโดนีเซีย รองจากชวาตะวันตก และชวาตะวันออก และมีประชากรประมาณหนึ่งในสี่ของเกาะนี้ ชวากลาง หมวดหมู่:จังหวัดชวากลาง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดชวากลาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชวาตะวันตก

วาตะวันตก (Jawa Barat) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย มีเมืองบันดุงเป็นศูนย์กลาง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดชวาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบันเติน

ันเติน (Banten) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ที่อ่าวบันเตินทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะชวา มีพื้นที่ 9,160.7 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 9,083,114 คน (พ.ศ. 2548) จังหวัดบันเตินก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2543 โดยแยกออกจากจังหวัดชวาตะวันตก มีเมืองหลวงคือเซอรัง (Serang).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดบันเติน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบาหลี

หลี (Bali) เป็น 1 ใน 34 จังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย เมืองสำคัญคือเดินปาซาร์ พื้นที่ทั้งหมด 5,634.40 ตารางกิโลเมตร มีประชากรทั้งสิ้น 3,422,600 คน ความหนาแน่นของประชากร 607 คน/ตารางกิโลเมตร ภาษาที่ใช้คือภาษาอินโดนีเซียและภาษาบาหลี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชุมพร

มพร มีชื่อปรากฏมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1098 โดยมีฐานะเป็นเมืองสิบสองนักษัตรของราชอาณาจักรนครศรีธรรมราช ใช้รูปแพะเป็นตราเมือง และเป็นเมืองหน้าด่านฝ่ายเหนือ เพราะอยู่ตอนบนของภาคใต้ ใน พ.ศ. 1997 รัชสมัยแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ปรากฏในกฎหมายตราสามดวงว่า เมืองชุมพรเป็นเมืองตรี อาณาจักรฝ่ายใต้ของราชอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ในช่วงนี้ชนชาติจาม แห่งราชอาณาจักรจามปา ถูกชาวเวียดนามรุกราน ชาวจามกลุ่มนี้อพยพเข้าสู่กรุงศรีอยุธยาครั้งแรก ปรากฏว่ามี "อาสาจาม" ในแผ่นดินนี้ เพื่อการขยายอาณานิคมของกรุงศรีอยุธยา ส่วนหนึ่งต้องมารักษาด่านเมืองชุมพร ซึ่งเป็นเมืองตรี และตั้งชาวจาม เป็นเจ้าเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้ขึ้นตรงต่อกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วย ชาวจาม มีความสามารถในการรบ ที่มีชื่อเสียง เช่น กองอาสาจาม เป็นทหารชั้นดี มีวินัย เชี่ยวชาญการเดินเรือ รับใช้ราชสำนักมานาน และเก่งการค้ามาหลายพันปี และต่อมาระหว่าง ปี พ.ศ. 2173 - 2199 ในแผ่นดิน พระเจ้าปราสาททองแห่งราชอาณาจักกรุงศรีอยุธยา ได้กวาดต้อนชาวเมืองแถง หรือ (เดียนเบียนฟู) อยู่ในประเทศเวียดนาม และชาวเมืองพงสาลี อยู่ในประเทศลาว มาเป็นพลเมือง เมืองชุมพร เมืองปะทิว(อำเภอปะทิว) เพื่อทำการเกษตรกรรม และเมืองท่าการค้าสำคัญ ตั้งแต่นั้นมา เดิมชาวจามนับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พ.ศ. 1400 นับถือศาสนาพุทธมหายาน และเมื่อค้าขายกับอาหรับก็นับถือ ศาสนาอิสลาม แต่ชาวจามที่มาอยู่เมืองชุมพร ต่อมานับถือ ศาสนาพุทธ มีวัฒนธรรม ประเพณี เหมือนกัน แต่เมื่อเวลาผ่านไปกว่า 500 -600 ปี ที่ชาวจาม เข้าปกครองเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้จนแทบจะไม่เหลือวัฒนธรรมเดิมเลย เช่น ข้าวต้มใบพ้อ ที่ใช้ในงานมงคล เช่นเดียวกับชาวมุสลิม บ้านกาลอ ตำบลกาลอ อำเภอรามัญ จังหวัดยะลา ก็สูญหายไม่ได้ใช้ในงานมงคลแล้ว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดชุมพร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดภูเก็ต

ูเก็ต เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อยู่ในทะเลอันดามัน จังหวัดที่ใกล้เคียงทางทิศเหนือ คือ จังหวัดพังงา ทางทิศตะวันออก คือ จังหวัดพังงาและจังหวัดกระบี่ ทั้งเกาะล้อมรอบด้วยมหาสมุทรอินเดีย และยังมีเกาะที่อยู่ในอาณาเขตของจังหวัดภูเก็ตทางทิศใต้และตะวันออก การเดินทางเข้าสู่ภูเก็ตนอกจากทางเรือแล้ว สามารถเดินทางโดยรถยนต์ซึ่งมีเพียงเส้นทางเดียวผ่านทางจังหวัดพังงา โดยข้ามสะพานสารสินและสะพานคู่ขนาน คือ สะพานท้าวเทพกระษัตรีและสะพานท้าวศรีสุนทร เพื่อเข้าสู่ตัวจังหวัด และทางอากาศโดยมีท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ตรองรับ ท่าอากาศยานนี้ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ คำว่า ภูเก็ต คาดว่าน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า บูกิต (ในภาษามลายูแปลว่าภูเขา) และคำว่า "ภูเขา" ในภาษาอุรักลาโว้ย เรียกว่า "บูเก๊ะ" หรือที่เคยรู้จักแต่โบราณในนาม เมืองถลาง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมาลูกู

มาลูกู (Maluku) เป็นจังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย โดยประกอบไปด้วยพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ของหมู่เกาะโมลุกกะ เมืองหลักของจังหวัดมาลูกูคืออัมบน บนเกาะอัมบนขนาดเล็ก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดมาลูกู · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลัมปุง

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดลัมปุง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุมาตราตะวันตก

มาตราตะวันตก (Sumatera Barat) หรือเรียกอย่างย่อว่า ซุมบาร์ (Sumbar) เป็นจังหวัดทางภาคตะวันตกของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ประชากรในปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดสุมาตราตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุมาตราใต้

มาตราใต้ (Sumatera Selatan) เป็นจังหวัดหนึ่งทางตอนใต้ของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย มีประชากรทั้งหมด 7,446,401 คน (สำมโนประชากรปี 2553) มีเมืองหลักชื่อปาเล็มบัง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดสุมาตราใต้ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุมาตราเหนือ

มาตราเหนือ (Sumatera Utara) เป็นจังหวัดหนึ่งบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย มีประชากรมากกว่า 13 ล้านคน เป็นจังหวัดที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศหากไม่นับรวมกรุงจาการ์ต.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดสุมาตราเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอาเจะฮ์

อาเจะฮ์ (Aceh) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ทางเหนือสุดของเกาะสุมาตร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดอาเจะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดจัมบี

ัมบี (Jambi) เป็นจังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย จังหวัดอยู่ทางตอนกลางของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย มีเมืองหลักชื่อจัมบี จังหวัดมีเนื้อที่ 50,058.16 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 3,092,265 คน ตามการสำรวจสำมะโนประชากร ปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดจัมบี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดจันทบุรี

ังหวัดจันทบุรี เป็นจังหวัดทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเนื้อที่ 6,388 ตารางกิโลเมตร สภาพภูมิประเทศประกอบไปด้วยป่าไม้ ภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบลุ่มน้ำ และที่ราบชายฝั่งทะเล ในส่วนของพื้นที่ป่าไม้มีประมาณ 3 ใน 10 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา และสระแก้วทางทิศเหนือ ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดตราดและประเทศกัมพูชา ทิศใต้ติดกับอ่าวไทย และทิศตะวันตกติดกับจังหวัดระยองและชลบุรี อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 238 กิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดจันทบุรีอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัด โดยอาชีพที่ประชากรในจังหวัดนิยมประกอบอาชีพมากที่สุดคือเกษตรกรรมและประมง และศาสนาที่มีการนับถือมากที่สุดในจังหวัดคือศาสนาพุท.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดจันทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดติมอร์ตะวันออก

ังหวัดติมอร์ตะวันออก (อินโดนีเซีย: Timor Timur) เป็นจังหวัดของประเทศอินโดนีเซียโดยพฤตินัย เคยถูกจักรวรรดิโปรตุเกสยึดและใช้ชื่ออาณาจักรว่า โปรตุเกสติมอร์ ปัจจุบันพื้นที่ทั้งหมดเป็นของประเทศติมอร์-เลสเต ตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดติมอร์ตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปาปัว

ปาปัว (Papua) เป็น 1 ใน 33 จังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย เมืองหลวงคือ จายาปุระ มีพื้นที่ทั้งหมด 319,036.05 กม2 (123,181 ไมล์2) มีประชากรทั้งหมด 2,833,381 คน ภาษาที่ใช้คือภาษาอินโดนีเซี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดปาปัว · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปาปัวตะวันตก

ปาปัวตะวันตก (Papua Barat) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศอินโดนีเซีย มีพื้นที่ครอบคลุมคาบสมุทรทั้งสองแห่งของเกาะนิวกินี มีเมืองหลักชื่อมาโนะก์วารี แต่เมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือโซรง เมื่อปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดปาปัวตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์

นอร์ทฮอลแลนด์ (North Holland) หรือ โนร์ด-โฮลลันด์ (Noord-Holland) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ติดกับทะเลเหนือ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลักของจังหวัดคือเมืองฮาร์เลม เมืองที่ใหญ่ที่สุดคือกรุงอัมสเตอร์ดัม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเบิงกูลู

งกูลู (Bengkulu) หรือที่ในอดีตเรียกว่า เบงคูเลน (Bencoolen) เป็นชื่อจังหวัดและเมืองท่าทางตอนใต้ของสุมาตราฝั่งตะวันตก เป็นที่ตั้งสถานีการค้าและป้อมปราการของบริษัทอินเดียตะวันออกแห่งอังกฤษ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดเบิงกูลู · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเรียว

รียว (Riau) เป็นหนึ่งใน 33 จังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกของเกาะสุมาตราซึ่งจรดช่องแคบมะละกา มีเมืองหลักชื่อเปอกันบารู จังหวัดมีเนื้อที่ 72,569 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 5,538,367 คน ตามการสำรวจสำมะโนประชากร ปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดเรียว · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์

ซาท์ฮอลแลนด์ (South Holland) หรือ เซยด์-โฮลลันด์ (Zuid-Holland) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลเหนือ ทางตะวันตกของประเทศเนเธอร์แลนด์ เมืองหลักของจังหวัดคือเมืองเดอะเฮก และเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือรอตเทอร์ดาม จังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์เป็นหนึ่งในที่ที่มีความหนาแน่นประชากรมากที่สุดในโลก และเป็นแหล่งอุตสาหกรรม มีประชากร 3,502,595 คน (30 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009) มีพื้นที่ 3,403 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความหนาแน่นของประชากรมากที่สุดในเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

จาการ์ตา

การ์ตา (Jakarta) เป็นเมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่บนเกาะชวาฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือ มีประชากร 8.3 ล้านคน (พ.ศ. 2543) ในอดีตมีชื่อว่า บาตาวียา หรือ ปัตตาเวีย (Batavia) คนไทยในอดีตเรียก กะหลาป๋.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจาการ์ตา · ดูเพิ่มเติม »

จารวาก

รวาก (Cārvāka; चार्वाक) หรือโลกายัต เป็นปรัชญาที่มีมาก่อนพุทธกาล ไม่ปรากฏผู้ตั้งคัมภีร์หรือสาวก ที่ทราบว่ามีลัทธินี้อยู่ เพราะมีกล่าวถึงในคัมภีร์ของศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ และศาสนาเชน แนวความเชื่อของลัทธินี้ถือว่าสิ่งที่เป็นจริงจะต้องรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัส สิ่งที่อยู่นอกเหนือประสาทสัมผัสเช่น โมกษะ นิพพาน บุญบาป ไม่มีอยู่จริง ไม่เชื่อถือคัมภีร์พระเวท เพราะถือว่าเป็นคัมภีร์ที่พวกพราหมณ์แต่งขึ้นเพื่อมอมเมาประชาชน สรรพสิ่งเกิดจากการรวมตัวของธาตุสี่คือดิน น้ำ ลม ไฟ การตายคือการที่ธาตุทั้งสี่แยกตัวออกจากกัน จิตวิญญาณ อาตมัน โลกหน้าไม่มีจริง ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเจ้า จุดหมายของลัทธิจารวากคือความสุขของเนื้อหนังหรือทางประสาทสัมผัส ซึ่งถือว่าเป็นความสุขที่ดีที่สุด การทำดีคือการกระทำที่นำความสุขมาให้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจารวาก · ดูเพิ่มเติม »

จารู อโสปา

รุ อสุภะ (Charu Asopa) เป็นนักแสดงหญิงชาวอินเดีย เธอมีผลงานเด่นและโด่งดังจากการแสดงละครเรื่อง ศิวะ พระมหาเทพ ในบทบาท พระนางเรวดี บทสุปรียา/ วิชกันยา ในละครเรื่อง อายันต์ จอมขมังเวทย์ และบทธัญญา ในละครเรื่อง กอรี เทวีพิทักษ์โลก อีกด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจารู อโสปา · ดูเพิ่มเติม »

จิตอมตวาท

นิกายจิตอมตวาท เป็นนิกายที่เกิดขึ้นในสมัยราชวงศ์คุปตะ ได้รับอิทธิพลจากศาสนาฮินดูมาก หาผู้ก่อตั้งที่แน่นอนไม่ได้ แต่พบแนวความคิดในวรรณคดีสันสกฤตจำนวนมาก ซึ่งเขียนในสมัยหลังท่านนาคารชุนทั้งสิ้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจิตอมตวาท · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาตรีคูณ (ภูมิศาสตร์)

ในความเป็นจริงทางภูมิศาสตร์แล้ว จุฬาตรีคูณเป็นสถานที่ที่แม่น้ำคงคาและแม่น้ำยมุนามาบรรจบกัน จุฬาตรีคูณ หรือ สังคัม (Sangam) เป็นชื่อของสถานที่ในเมืองอัลลอฮาบาด (Allahabad) ที่แม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ในอินเดียสามสายรวมกันคือแม่น้ำคงคา แม่น้ำยมุนา และแม่น้ำสรัสวตี ในทางกายภาพจะเห็นเพียงแม่น้ำคงคาและแม่น้ำยมุนาเท่านั้น เพราะแม่น้ำสรัสวดีเป็นแม่น้ำในตำนาน ไม่พบเห็นในปัจจุบัน จุฬาตรีคูณเป็นสถานที่ที่ใช้ประกอบพิธีกรรม “มหากุมภะ” ในศาสนาฮินดู หมวดหมู่:รัฐอุตตรประเทศ หมวดหมู่:เมืองในประเทศอินเดีย.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจุฬาตรีคูณ (ภูมิศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

จตุคามรามเทพ

ท้าวขัตตุคาม-ท้าวรามเทพ จตุคามรามเทพ หมายถึง เทพรักษาวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช สององค์ คือ ท้าวขัตตุคาม และ ท้าวรามเทพ ซึ่งเดิมในความเชื่อของศาสนาพราหมณ์เป็นเทพชั้นสูง และมีอยู่ทั่วไปทุกภาคของประเทศไทย แต่เมื่อภูมิภาคแถบอุษาคเนย์นี้รับอิทธิพลของพุทธศาสนาเข้ามา ท้าวขัตตุคาม และ ท้าวรามเทพ จึงถูกเปลี่ยนสถานะเป็นเทวดารักษาพระบรมธาตุ และเปลี่ยนชื่อให้เป็นมงคล เป็น ท้าวจตุคาม และสถิตอยู่บนที่บานประตูทางขึ้นพระบรมธาตุ ในปี พ.ศ. 2530 เมื่อครั้งมีการตั้งดวงเมืองนครศรีธรรมราชขึ้นใหม่ จึงมีการอัญเชิญ จตุคามรามเทพ ไปสถิต ณ ที่นั้นเป็นต้นม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและจตุคามรามเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมราชิกสถูป

รรมราชิกสถูป (Dharmarajika Stupa) พระสถูป เก่าแก่ในพระพุทธศาสนาที่ตั้งอยู่ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน (สารนาถ ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและธรรมราชิกสถูป · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมจักร

รรมจักรมีกำ 8 ซี่ หมายถึงอริยมรรคมีองค์ 8 ในทางพระพุทธศาสนา ธรรมจักรอันใช้เป็นเครื่องหมายของคณะสงฆ์ไทย มีกำ 12 ซี่ ธรรมจักรมีกำ 12 ซี่ ในตราสัญลักษณ์พุทธชยันตี 2600 ปี แห่งการตรัสรู้ สัญลักษณ์ธรรมจักรซึ่งใช้เป็นเครื่องหมายของอนุศาสนาจารย์ของกองทัพสหรัฐอเมริกา ธงธรรมจักร ธงสัญลักษณ์พุทธชยันตี 2600 ปี แห่งการตรัสรู้ วงล้อแห่งชีวิต (Wheel of life) หรือ ธรรมจักร (Dharmachakra; Wheel of Dhamma) ในศาสนาพุทธและฮินดู เป็นสัญลักษณ์แทนวัฏจักรเวียนว่ายตายเกิด หรือวงเวียนแห่งการ ประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ของพระพุทธองค์ ลักษณะของธรรมจักรดั้งเดิมมีสองรูปแบบ คือมี หกซี่ หรือบางครั้งห้าซี่ และรูปแบบที่กำเนิดในพุทธศาสนาคือ แปดซี่ สอดคล้องกับ มรรคแปด หรือรูปพระหัถต์ รหัสยูนิโค้ด ซึ่งเป็นรหัสตัวอักษรสากลสำหรับคอมพิวเตอร์ เรียกวงล้อแห่งชีวิตว่า "Wheel of Dhamma" (วงล้อแห่งธรรม) และมีซี่แปดซี่ มีรหัสคือ "U+2638" และมีลักษณะดังนี้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและธรรมจักร · ดูเพิ่มเติม »

ธรหรา

หอคอยธรหรา (धरहरा) หรือ หอคอยภีมเสน เป็นหอคอยสูง 61.88 ม. (203.0 ฟุต) เป็นจำนวน 9 ชั้น ตั้งอยู่ในจัตุรัสดูร์บาร์ ในกรุงกาฐมาณฑุ ได้ถูกสร้างขึ้นในปี 1832 โดยนายภีมเสน ถาปา นายกรัฐมนตรีสมัยนั้น อาคารได้รับการจำแนกจากองค์การยูเนสโกว่าเป็นส่วนหนึ่งของสถาปัตยกรรมกาฐมาณฑุ สถาปัตยกรรมเฉพาะตัวของเมืองกาฐมาณฑุ ภายในหอคอยประกอบด้วย บันไดวนแบบสไปรอล จำนวน 213 ขั้น โดยในชั้นที่ 8 เป็นส่วนระเบียงสามารถมองทิวทัศน์ได้โดยรอบเมืองกาฐมาณฑุ และมีเสาสัมฤทธิ์ ซึ่งสูง 5.2 ม. (17 ฟุต) ประดับในส่วนยอดของหอคอย หอคอยได้เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมภายในตั้งแต่ปี 2005 จนถึงวันที่อาคารถล่มในปี 2015 โครงสร้างส่วนใหญ่ของอาคารได้พังถล่มลงมา จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวใหญ่ในเนปาล แต่ก็ยังมีส่วนฐานที่ยังหลงเหลืออยู.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและธรหรา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติกัมพูชา

งชาติกัมพูชา (ទង់ជាតិកម្ពុជា; ทง่ชาติกมฺพุชา; ต็วงเจียตกำปูเจีย) มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ผืนธงแบ่งตามแนวยาวเป็น 3 ริ้ว โดยริ้วกลางนั้นเป็นพื้นสีแดง กว้าง 2 ส่วน มีรูปปราสาทหินนครวัดสามยอดสีขาวอยู่ตรงกลาง ริ้วที่อยู่ด้านนอกทั้งสองด้านนั้นกว้างริ้วละ 1 ส่วน พื้นสีน้ำเงิน ความหมายของสัญลักษณ์ในธงนั้นสะท้อนถึง 3 สถาบันหลักของประเทศ ดังปรากฏในคำขวัญประจำชาติว่า "ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์" (ជាតិ សាសនា ព្រះមហាក្សត្រ ชาติ สาสนา พฺระมหากฺสตฺร) โดยพื้นสีแดงมีความหมายถึงชาติ ปราสาทนครวัดสีขาวหมายถึงสันติภาพและศาสนา ซึ่งเดิมมีรากเหง้าจากศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และได้เปลี่ยนแปลงมาเป็นพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน ส่วนสีน้ำเงินนั้นหมายถึงสถาบันพระมหากษัตริย์ ซึ่งก็เหมือนกับธงชาติไทย ที่สีแดงคือชาติ สีขาวคือศาสนา และสีน้ำเงินคือพระมหากษัตริย์นั่นเอง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและธงชาติกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ถนนปั้น

นนปั้น ช่วงหน้าวัดพระศรีมหาอุมาเทวี ถนนปั้น เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่แขวงสีลม เขตบางรัก เป็นถนนสายสั้น ๆ ที่มีความยาวเพียง 480 เมตร เชื่อมระหว่างถนนสีลม กับถนนสาทรเหนือ โดยชื่อ "ถนนปั้น" มาจากชื่อของผู้ที่อุทิศที่ดินยกให้ทางการตัดถนน คือ นางปั้น วัชราภัย ผู้เป็นภริยาของหลวงอุปการโกษากร (เวท วัชราภัย) ตรงหัวมุมถนนปั้นที่ถนนสีลม เป็นที่ตั้งของวัดพระศรีมหาอุมาเทวี (วัดแขกสีลม) ศาสนสถานสำคัญของศาสนาฮินดู จึงทำให้ถนนปั้นมีชื่อเรียกติดปากว่า "ตรอกวัดแขก" หรือ "ซอยวัดแขก" เป็นจุดที่มีจำหน่ายข้าวของตลอดจนเครื่องเซ่นไหว้ต่าง ๆ เช่น ขนมลัฑฑู สำหรับบูชาพระพิฆเนศ เป็นต้น และยังมีร้านอาหารและร้านกาแฟตลอดจนบาร์หรือแกลเลอรีเป็นจำนวนมากอีกด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและถนนปั้น · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีสองชาติ

ทฤษฎีสองชาติ (दो क़ौमी नज़रिया, دو قومی نظریہ, do qaumi nazariya; Two-Nation Theory) หมายถึง อุดมการณ์ที่ว่าเอกลักษณ์พื้นฐานของชาวมุสลิมในอนุทวีปอินเดีย คือ ศาสนาของพวกเขา หาใช่ภาษาหรือลักษณะเชื้อชาติไม่ และด้วยเหตุนี้ ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดูและที่นับถือศาสนาอิสลามจึงถือว่าเป็นคนละสัญชาติที่แตกต่างกัน โดยไม่คำนึงถึงชาติพันธุ์หรือลักษณะร่วมอื่น ๆ ทฤษฎีสองชาติเป็นหลักการก่อตั้งของขบวนการปากีสถาน (นั่นคือ อุดมการณ์ก่อตั้งประเทศปากีสถาน) และการแบ่งประเทศอินเดียใน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและทฤษฎีสองชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ทวารวดี

ทวารวดี เป็นคำภาษาสันสกฤต เกิดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 1427 โดยนายแซมมวล บีล (Samuel Beel) ได้แปลงมาจากคำว่า โถโลโปตี้ (Tolopoti) ที่มีอ้างอยู่ในบันทึกของภิกษุจีนจิ้นฮง (Hiuantsang) ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 กล่าวว่า โถโลโปตี เป็นชื่อของอาณาจักรหนึ่งตั้งอยู่ระหว่างอาณาจักรศรีเกษตร และอาณาจักรอิศานปุระ และเขาได้สรุปด้วยว่าอาณาจักรนี้เดิมตั้งอยู่ในดินแดนประเทศไทย(สยาม)ปัจจุบัน และยังสันนิษฐานคำอื่นๆที่มีสำเนียงคล้ายกันเช่น จวนโลโปติ (Tchouanlopoti) หรือ เชอโฮโปติ (Chohopoti) ว่าคืออาณาจักรทวารวดีด้วย ต่อมาความคิดเห็นนี้ได้มีผู้รู้หลายท่านศึกษาต่อและให้การยอมรับเช่น นายเอดัวร์ ชาวาน (Edourd Chavannes) และ นายตากากุสุ (Takakusu) ผู้แปลจดหมายเหตุการเดินทางของภิกษุอี้จิงในปี พ.ศ. 2439 และ นายโปล เปลลิโอต์ (Paul Pelliot) ผู้ขยายความอาณาจักรทวารวดีเพิ่มอีกว่ามีประชาชนเป็นชาวมอญในปี พ.ศ. 2447 เป็นต้น ดังนั้นบรรดาเมืองโบราณรวมทั้งโบราณวัตถุสถานต่างๆที่พบมากมายโดยเฉพาะในบริเวณลุ่มน้ำแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งแต่เดิมไม่สามารถจัดกลุ่มได้ว่าเป็นของขอมหรือของไทย แต่มีลักษณะคล้ายกับศิลปะอินเดียสมัยราชวงศ์คุปตะ - หลังคุปตะ ราวพุทธศตวรรษที่ 9-13 ที่พันตรีลูเนต์ เดอ ลาจองกีเยร์ (Lunet de Lajonguiere) เรียกว่า กลุ่มอิทธิพลอินเดียแต่ไม่ใช่ขอม จึงถูกนำมาสัมพันธ์กลายเป็นเรื่องเดียวกัน โดยศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ (พ.ศ. 2468) และสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (พ.ศ. 2469) เป็นกลุ่มบุคคลแรกที่กำหนดเรียกชื่อดินแดนที่เมืองโบราณเหล่านี้ตั้งอยู่ รวมทั้งงานศิลปกรรมที่พบนั้นว่าคือดินแดนแห่งอาณาจักรทวารวดี และศิลปะแบบทวารวดี โดยใช้เหตุผลของตำแหน่งที่ตั้งอาณาจักรตามบันทึกจีนกับอายุของบันทึก และอายุของงานศิลปกรรมที่ตรงกัน อาณาจักรทวารวดีจึงกลายเป็นอาณาจักรแรกในดินแดนไทย กำหนดอายุตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 12 ลงมาถึงพุทธศตวรรษที่ 16 อาณาจักรทวารวดี เป็นที่น่าเชื่อถือขึ้นอีกเมื่อพบเหรียญเงิน 2 เหรียญ มีจารึกภาษาสันสกฤตอายุราวพุทธศตวรรษที่ 13 จากเมืองนครปฐมโบราณ มีข้อความว่า ศรีทวารวดีศวรปุณยะ ซึ่งแปลได้ว่า บุญกุศลของพระราชาแห่งศรีทวารวดี หรือ บุญของผู้เป็นเจ้าแห่งศรีทวารวดี หรือ พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ อาณาจักรทวารวดีจึงเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่ามีอยู่จริง และยังเชื่อกันอีกด้วยว่าเมืองนครปฐมโบราณน่าจะเป็นศูนย์กลางหรือเมืองหลวงของอาณาจักร (แต่ปัจจุบันพบเหรียญลักษณะคล้ายกันอีก 2 เหรียญ ที่อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี และที่อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี ความสำคัญของเมืองนครปฐมจึงเปลี่ยนไป) แต่ขณะเดียวกันนักวิชาการบางท่านก็เชื่อว่าอำเภออู่ทอง หรืออาจเป็นจังหวัดลพบุรี ที่น่าจะเป็นเมืองหลวงมากกว่ากัน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและทวารวดี · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68–69); "Asia" (pp. 90–91): "A commonly accepted division between Asia and Europe is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles." จีนและอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1 ถึง 1800 จีนเป็นประเทศที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจที่สำคัญและดึงดูดผู้คนจำนวนมากให้ไปทางตะวันออก และตำนาน ความมั่งคั่งและความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณของอินเดียกลายเป็นสัญลักษณ์ของเอเชีย สิ่งเหล่านี้จึงดึงดูดการค้า การสำรวจและการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป การค้นพบเส้นทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกโดยบังเอิญจากยุโรปไปอเมริกาของโคลัมบัสในขณะที่กำลังค้นหาเส้นทางไปยังอินเดียแสดงให้เห็นความดึงดูดใจเหล่านี้ เส้นทางสายไหมกลายเป็นเส้นทางการค้าหลักของฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกในขณะที่ช่องแคบมะละกากลายเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ ช่วงศตวรรษที่ 20 ความแข็งแรงของประชากรเอเชียและเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก) เติบโตเป็นอย่างมากแต่การเติบโตของประชากรโดยรวมลดลงเรื่อย ๆ เอเชียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาหลักบนโลกหลายศาสนา อาทิศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม, ศาสนายูดาห์, ศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ, ลัทธิขงจื๊อ, ลัทธิเต๋า, ศาสนาเชน, ศาสนาซิกข์, ศาสนาโซโรอัสเตอร์และศาสนาอื่น ๆ อีกมากมาย เนื่องเอเชียจากมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายทางแนวคิด ภูมินามวิทยาของเอเชียมีตั้งแต่สมัยคลาสสิกซึ่งคาดว่าน่าจะตั้งตามลักษณะผู้คนมากกว่าลักษณะทางกายภาพ เอเชียมีความแตกต่างกันอย่างมากทั้งด้านภูมิภาค กลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรม, สภาพแวดล้อม, เศรษฐศาสตร์, ประวัติศาสตร์และระบบรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แตกต่างกันอย่างมากเช่น พื้นเขตร้อนหรือทะเลทรายในตะวันออกกลาง, ภูมิอากาศแบบอบอุ่นทางตะวันออก ภูมิอากาศแบบกึ่งอารกติกทางตอนกลางของทวีปและภูมิอากาศแบบขั่วโลกในไซบีเรี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทศาวตาร

อวตารของพระวิษณุ โดยราชา รวิ วรรมา วาดในช่วงศตวรรษที่ 19. ทศาวตาร () หมายถึง อวตารหลักทั้งสิบปางของพระวิษณุ เทพเจ้าในศาสนาฮินดู คำว่าทศาวตาร เป็นคำสมาสของคำว่า ทศ หมายถึง สิบ และ อวตาร หมายถึง การแบ่งภาคมาเก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและทศาวตาร · ดูเพิ่มเติม »

ทองกวาว

ทองกวาว, ทอง หรือ ทองธรรมชาติ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางในวงศ์ถั่ว มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้ จากประเทศปากีสถาน, อินเดีย, บังกลาเทศ, เนปาล, ศรีลังกา, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย และทางตะวันตกของอินโดนีเซีย ทองกวาวมีชื่ออื่นอีกคือ กวาว ก๋าว (ภาคเหนือ), จอมทอง (ภาคใต้), จ้า (เขมร), ทองธรรมชาติ ทองพรหมชาติ ทองต้น (ภาคกลาง), ดอกจาน (อีสาน).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและทองกวาว · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบปุษกร

ทะเลสาบปุษกร (ปุษฺกร-สโรวร; Pushkar Lake) ตั้งอยู่ในเมืองปุษกรในเขตอัชเมร์ (Ajmer) ในรัฐราชสถานทางทิศตะวันตกของประเทศอินเดีย ทะเลสาบปุษกรเป็นแหล่งน้ำศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาฮินดู ในพระคัมภีร์ระบุว่าเป็นราชาของสถานที่แสวงบุญทางน้ำและเกี่ยวข้องกับตำนานของพระพรหม ทะเลสาบปุษกรมีการอ้างถึงในเหรียญตั้งแต่ศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตกาล ทะเลสาบปุษกรมีฆาฏ (ghat) หรือบันไดสำหรับลงไปอาบน้ำ 52 แห่ง เป็นจุดที่นักแสวงบุญจำนวนมากจะมาอาบน้ำศักดิ์สิทธิ์ โดยเฉพาะช่วงเทศกาล การติกปูรณิมา (ตุลาคม–พฤศจิกายน) โดยจะมีการจัดงานปุษกรขึ้นมา การจุ่มตัวลงทะเลสาบเชื่อกันว่าเป็นการชำระบาปและช่วยรักษาเชื้อโรคทางผิวหนัง มีวัดฮินดูตั้งอยู่มากกว่า 500 แห่ง ริมทะเลสาบ การท่องเที่ยวและการตัดไม้ทำลายป่าโดยรอบส่งผลด้านลบต่อทะเลสาบอย่างมาก ทั้งคุณภาพของน้ำ ระดับน้ำที่ลดลงและทำลายประชากรของปลา ในส่วนของการอนุรักษ์ รัฐบาลดูแลเรื่องการขุดโคลนเลน กำจัดวัชพืช บำบัดน้ำ ปลูกป่า และการให้ความรู้ในวงกว้าง หมวดหมู่:ทะเลสาบในประเทศอินเดีย.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและทะเลสาบปุษกร · ดูเพิ่มเติม »

ทักษาเวียงเชียงใหม่

ทักษาเวียงเชียงใหม่ตามการคำนวณของดวงเวียงเชียงใหม่ ในการสร้างเวียงเชียงใหม่นั้น พญามังรายได้ทรงให้เหล่าโหราจารย์ ราชบัณฑิต คิดหาฤกษ์ยามในการสถาปนาเมืองตามแนวคิดและความเชื่อของคนโบราณที่ว่า เมืองนั้นก็มีชีวิตเช่นเดียวกับคน เมื่อมีการสร้างเมืองขึ้นมาก็เหมือนกับการให้ชีวิตเมืองด้วย เมืองนั้นมีส่วนต่างๆ เหมือนคน มีหัว มีสะดือ มีส่วนต่างๆ อยู่ตามทิศต่างๆ และมีดวงเหมือนเหมือนคน เมืองแต่ละเมืองก็จะมีทิศของดวงต่างๆ ไม่เหมือนกัน เมื่อใดเกิดสิ่งไม่ดีขึ้นกับเมือง หรือเกิดภัยพิบัติจะต้องมีการสืบชะตาเมืองเหมือนกับคนด้วย โดยความเชื่อเกี่ยวกับทิศของดาวเมืองนี้เป็นสิ่งที่บันทึกไว้ในคัมภีร์มหาทักษา หรือ ภูมิพยากรณ์ ของศาสนาพราหมณ์ โดยทักษา หมายถึง ชื่อเรียกกลุ่มดาวอัฐเคราะห์ หรือดาวทั้งแปด คือ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ราหู ศุกร์ ที่จัดเข้าระเบียบเป็น บริวาร อายุ เดช ศรี มูล อุตสาหะ มนตรี และกาลกิณี เวียนขวา (ทักษิณาวรรต) ไปตามทิศทั้ง 8 คือ บูรพา อาคเนย์ ทักษิณ หรดี ประจิม พายัพ และอุดร ทักษาเวียงเชียงใหม่นั้นกำหนดตามทิศต่างๆ ดังนี้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและทักษาเวียงเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณาวรรต

ทักษิณาวรรต หมายถึงการเวียนขวา, วนรอบไปทางขวา, หรือเดินเลี้ยวขวาไปรอบๆสิ่งๆหนึ่ง กล่าวคือ เป็นการเดินวนไปข้างหน้าในขณะที่แขนขวาหรือร่างกายทางด้านขวาหันเข้าหาจุดศูนย์กลางหรือแกนกลาง จึงเท่ากับเป็นการเวียนตามเข็มนาฬิกา (clockwise) อีกนัยหนึ่งคือ เป็นการเดินเลี้ยวขวาไปตลอดเวลาอย่างเข็มนาฬิกา คำ "ทักษิณาวรรต" เป็นคำผสมระหว่างคำว่าทักษิณที่หมายความถึงมือขวา ด้านขวา หรือใช้เรียกทิศที่ตั้งอยู่ทางด้านขวามือคือทิศใต้ รวมกับคำว่าอาวรรต ที่มีความหมายถึงการเวียนเป็นวงกลม เป็นคำว่า "ทักษิณาวรรต", ทักขิณาวัฏ ก็ว่า ใช้ร่วมกับคำกิริยาและการกระทำ ความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง การเวียนขวา เวียนไปทางขวา คำทักษิณาวรรต ตรงข้ามกับคำว่า อุตราวรรตหรืออุตราวัฏ คือการเดินเวียนซ้าย, วนเลี้ยวซ้ายไปตลอด, เดินทวนเข็มนาฬิกา (counterclockwise) คำ "ทักษิณาวรรต" นี้ มักใช้บ่อยในขนบธรรมเนียมประเพณีและคติความเชื่อของผู้ที่นับถือศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธว่า การเดินทักษิณาวรรต หรือเวียนขวา 3 รอบสิ่งของหรือบุคคลใดก็ตามแต่ ถือเป็นบุญบารมีและสิ่งมงคลชีวิตเป็นอย่างมาก การเวียนขวา 3 รอบตามคติความเชื่อนั้น ชาวอินเดียในสมัยโบราณเชื่อกันว่า ถ้าหากเดินเวียนขวารอบสิ่งของครบทั้ง 3 รอบ จะเท่ากับเดินเวียนรอบพระรัตนตรัยทั้ง 3 คือพระพุทธ พระธรรมและพระสงฆ์ แต่ถ้าหากเดินเวียนรอบบุคคล นอกจากผู้เวียนจะได้รับบุญบารมีและสิ่งมงคลแก่ชีวิตแล้ว ตัวผู้ถูกเวียนก็จะได้ร่วมรับบุญและความเป็นสิริมงคลจากการเดินเวียนขวาเช่นกัน ต่อมาภายหลังคติความเชื่อแบบทักษิณาวรรตของชาวอินเดียโบราณ ได้แพร่หลายเข้ามาในประเทศไทย ทำให้เกิดการเดินเวียนรอบพุทธศาสนสถานเช่น เจดีย์ พระปรางค์ พระอุโบสถ พระพุทธรูป ฯลฯ แทนการเดินเวียนรอบบุคคลของชาวอินเดีย ซึ่งนอกจากจะหมายความถึงการเวียนเป็นรูปวงกลมทางด้านขวาแล้ว ทักษิณาวรรตยังหมายถึงหอยสังข์ ที่ใช้ในการประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกอีกด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและทักษิณาวรรต · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิเณศวรกาลีมนเทียร

ทักษิเณศวรกาลีมนเทียร (दक्षिणेश्वर काली मंदिर ทกฺษิเณศวร กาลี มนฺทิร; দক্ষিণেশ্বর কালীবাড়ি; Dakshineshwar Kali Temple) เป็นวัดในศาสนาฮินดู ตั้งอยู่ในเมืองทักษิเณศวร ใกล้กับเมืองโกลกาตา ในประเทศอินเดีย โดยมีพระแม่กาลีที่มีพระนามว่า พระแม่ภวาตาริณี (भवतारिणी) เป็นประธานของวัด วัดแห่งนี้สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและทักษิเณศวรกาลีมนเทียร · ดูเพิ่มเติม »

ที่สูงแคเมอรอน

ที่สูงแคเมอรอน (Tanah Tinggi Cameron, ตานะฮ์ติงกีกาเมรน) เป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่บนเขาที่กว้างใหญ่ที่สุดของประเทศมาเลเซีย โดยมีขนาดพื้นที่เท่ากับประเทศสิงคโปร์ ครอบคลุมพื้นที่ว่า 712 ตารางกิโลเมตร(275 ตารางไมล์) มีพื้นที่ทางตอนเหนือติดกับรัฐกลันตัน และทางตะวันตกมีพื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตเมืองปีรัก ที่สูงแคเมอรอน อยู่บริเวณทางปลายสุดฝังตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐปาหัง "คาเมรอน" มีระยะทางประมาณ 90 กิโลเมตร(56 ไมล์) ถ้ามาจากทางเมืองอิโป หรือประมาณ 200 กิโลเมตร (120 ไมล์) ถ้ามาจากทางกัวลาลัมเปอร์ ถือว่าเป็นเขตเลือกตั้งที่เล็กที่สุดในปาหัง ผู้ค้นพบที่สูงแคเมอรอน คือ เซอร์ วิลเลียม คาเมรอนในปี 1885 ที่สูงแคเมอรอน ประกอบด้วย 3 ตำบล คือ ริงเลต (5,165 เฮคเตอร์), ทานะ ราตะ(2,081เฮคเตอร์) และอุรู เทลอม (63,981 เฮคเตอร์) ซึ่งแบ่งเป็นตำบลย่อย ๆ อีก 8 ตำบล คือ ริงเลต, ทานะ ราตะ (ศูนย์กลางบริหารของเมือง), บรินชาง, หุบเขาเบอแทม, ฟาร์มเกีย, ทริงแกป, กัวลา เทอรา และ กัมปุง ราจา พื้นที่เหล่านี้มีความต่างของสูงของแต่ละพื้นที่โดยจัดความสูงอยู่ในช่วงจาก 1100 เมตร ถึง 1600 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล อุณหภูมิเฉลี่ยต่อปีที่เหมาะแก่การพักผ่อนประมาณ 18 องศาเซลเซียส (64 องศาฟาเรนไฮต์) ในระหว่างวันอุณหภูมิจะไม่สูงเกินกว่า 25 องศาเซลเซียส(77 องศาฟาเรนไฮต์) ส่วนในช่วงกลางคืนอุณหภูมิไม่ต่ำไปกว่า 9 องศาเซลเซียส (48 องศาฟาเรนไฮต์) วัดที่พื้นที่ระดับสูง มีสถานพักตากอากาศไว้สำหรับประชาชนที่หลากหลายเชื้อชาติ สามารถรองรับได้มากกว่า 38,000 คน ซึ่งประกอบด้วยชาวมลายูที่เป็นมุสลิมและมีถิ่นฐานอยู่ในอาณาเขตของประเทศมาเลเซียปัจจุบัน (ชาวมลายู(7,321), อื่นๆ(5,668)), ชาวจีน(13,099), ชาวอินเดีย (6,988), กลุ่มที่ไม่ใช่พลเมืองมลายู และชนชาติอื่นๆ(202) ผู้อยู่อาศัยส่วนใหญ่เป็นเจ้าของกิจการ, พนักงานอุตสาหกรรมบริการ, คนงานฟาร์ม, คนเกษียณ หรือข้าราชการ ภาษาที่ใช้พูด มีภาษามลายู, ภาษาจีนกลาง, ภาษาทามิล และภาษาอังกฤษ ศาสนาอิสลาม, ศาสนาพุทธ, ลัทธิเต๋า, ศาสนาฮินดู, ศาสนาคริสต์ และศาสนาซิกห์ เป็นศานาหลักที่นับถือ ที่สูงแคเมอรอน ได้ถูกพัฒนาในปี 1930 เทเบิ้ลแลนด์ เป็นหนึ่งในจุดท่องเที่ยวที่เก่าแก่ที่สุดในมาเลเซีย นอกจากอุตสาหกรรมชาแล้วที่ราบสูงแห่งนี้ถูกบันทึกว่าเป็นสถานที่ที่มีอากาศเย็นด้วยสถานที่นี้เอง มีทั้งสวนผลไม้, สถานที่เพาะชำพันธุ์ไม้, แหล่งเพาะปลูก, น้ำตก, แม่น้ำ, ทะเลสาบ, สัตว์ป่า, ป่าที่ปกคลุมด้วยหญ้ามอส, สนามกอล์ฟ, โรงแรม, สถานที่ศักดิ์สิทธิ์, บังกะโล, แลนด์ โรเวอร์, พิพิธภัณฑ์ และชนพื้นเมืองเดิม(โอแรง แอสลี่) ทางถนนที่เดินทางมาที่สูงแคเมอรอน คือ ทาพาธ, ซิมปัง พูราย, กัว มูแซง และ ซันกาย โคยาน ทาพาธ และ ซิมปัง พูราย เป็นสองทางจากเมืองปีรัก กัว มูแซง และ ซันกาย โคยาน เป็นทางเข้าที่มาจากรัฐกลันตัน และรัฐปาหัง ตามลำดั.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและที่สูงแคเมอรอน · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวกุเวร

ท้าวกุเวรทรงมนุษย์เป็นพาหนะ ท้าวกุเวร (कुबेर กุเพร, कुवेर กุเวร, குபேரன் กุเปรัน) เป็นหนึ่งในสี่จาตุมหาราช ผู้ปกครองเหล่ายักษ์ เป็นชื่อของเทพแห่งความมั่งคั่ง ตามคติในศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู นับถือกันว่าพระองค์เป็นทิกบาลหรือเทพประจำทิศเหนือ และเป็นเทพผู้คุ้มครองโลก (โลกบาล) บางตำราเรียกท้าวกุเวรว่า "ท้าวเวสสุวรรณ" (वैश्रवण ไวศฺรวณ, वेस्सवण. เวสฺสวณ) ตามนามโคตรของท้าวกุเวรในศาสนาฮินดู ส่วนในศาสนาเชนจะเรียกเทพองค์นี้ว่า ศารวนุภูติ (Sarvanubhuti).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและท้าวกุเวร · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวสักกะ

การดำเนินตามทางสายกลางน่าจะเป็นทางที่จะทำให้ตรัสรู้ได้มากกว่าการทรมานตนเอง สักกะ (สกฺก) หรือ ศักระ (शक्र ศกฺร; ความหมาย: ผู้องอาจ ผู้สามารถ) เป็นชื่อของเทพผู้ปกครองสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ในจักรวาลวิทยาของศาสนาพุทธ ปรากฏนามในภาษาบาลีว่า สกฺโก เทวานํ อินฺโท (शक्रो देवानं इन्द्रः ศกฺโร เทวานํ อินฺทฺรห์) หมายถึง "สักกะผู้เป็นใหญ่เหนือทวยเทพทั้งหลาย" ในคัมภีร์ทางศาสนาพุทธ คำว่า "สักกะ" ถือเป็นวิสามานยนาม ไม่อาจใช้เรียกเทพองค์อื่นได้ ในทางตรงกันข้าม คำว่า อินฺท (ภาษาบาลี) หรือ อินฺทฺร (ภาษาสันสกฤต) ซึ่งมีความหมายว่า "ผู้เป็นใหญ่" ใช้หมายถึงท้าวสักกะอยู่บ่อยครั้ง เทพสักกะมักเรียกขานว่า "ท้าวสักกเทวราช" หรือย่อว่า "ท้าวสักกะ" ในวัฒนธรรมเอเชียตะวันออก ท้าวสักกะเป็นที่รู้จักในนาม "ตี้ซื่อเทียน" (帝釋天) หรือ "ซื่อถีหฺวันอิน" (釋提桓因) ในภาษาจีน และ "ไทชะกุเท็น" (帝釈天) ในภาษาญี่ปุ่น สำหรับในประเทศจีนแล้ว บางครั้งมีการเปรียบเทียบว่าท้าวสักกะคือเง็กเซียนฮ่องเต้ (玉皇大帝) หรือจักรพรรดิหยกในลัทธิเต๋า ด้วยถือว่าเทพทั้งสององค์นี้มีวันประสูติเป็นวันเดียวกัน คือ ในวันที่ 9 เดือนที่ 1 ตามปฏิทินจันทรคติจีน (โดยปกติจะอยู่ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ตามปฏิทินสุริยคติ) ในฤคเวท อันเป็นวรรณคดีภาษาสันสกฤตในศาสนาฮินดู คำว่า "ศักระ" อันเป็นนามของท้าวสักกะในภาษาสันสกฤตนั้น ใช้แทนตัวเทพอินทระหรือพระอินทร์อยู่บ่อยครั้ง แต่ในศาสนาพุทธ ตำนานและบุคลิกลักษณะของท้าวสักกะแตกต่างไปจากพระอินทร์ในพระเวทอย่างสิ้นเชิง สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ซึ่งเป็นที่สถิตของท้าวสักกะตั้งอยู่เหนือยอดเขาพระสุเมรุ ซึ่งตามคติเรื่องไตรภูมิ ถือว่าภูเขาแห่งนี้เป็นศูนย์กลางของโลก อันมีพระอาทิตย์และพระจันทร์เวียนโคจรโดยรอบ สวรรค์ชั้นนี้นับเป็นสวรรค์ชั้นที่สูงที่สุดที่เชื่อมต่อกับมนุสสภูมิ (โลกมนุษย์) โดยตรง ท้าวสักกะมีชีวิตที่ยาวนานเช่นเดียวกับเทพทั้งหลาย หากแต่ก็มีวาระที่จะหมดอายุขัยตามแรงบุญของตนเองเช่นกัน ในยามที่ท้าวสักกะจะต้องจุติ (ตาย) เมื่อจิตดับไปแล้ว จะบังเกิดท้าวสักกะองค์ใหม่ (ซึ่งอาจเป็นเทพองค์อื่น) ขึ้นแทนที่ท้าวสักกะองค์เดิมทันที เรื่องราวของท้าวสักกะในทางพระพุทธศาสนาทั้งไม่ว่าจะในอดีตหรือในปัจจุบัน (ในช่วงที่บันทึกพระไตรปิฎก) ปรากฏอยู่ในชาดกและพระสูตรต่าง ๆ ซึ่งโดยมากจะอยู่ในหมวดสังยุตตนิกาย ชื่อท้าวสักกะปรากฏในพระสูตรหลายตอน และมักมีบทบาทเป็นผู้กราบทูลขอคำปรึกษาจากพระโคดมพุทธเจ้าในปัญหาธรรมต่าง ๆ ถือกันว่าพระองค์เป็นธรรมบาล (ผู้คุ้มครองธรรม) ในพุทธศาสนาร่วมกับเหล่าพรหมทั้งหล.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและท้าวสักกะ · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวเวสวัณ

ตัวเหวินเทียนหวัง (ท้าวเวสวัณ) ศิลปะจีน ตราประจำจังหวัดอุดรธานี แสดงรูปท้าวเวสวัณ ท้าวเวสวัณ ที่วัดพระธาตุดอยสุเทพ วัดโทได ท้าวกุเวร หรือ ท้าวเวสวัณ (वैश्रवण Vaiśravaṇa ไวศฺรวณ; वेस्सवण Vessavaṇa เวสฺสวณ) เป็นเทพเจ้าแห่งยักษ์ เป็นหนึ่งในจาตุมหาราช ผู้คุ้มครองและดูแลโลกมนุษย์ สถิตอยู่บนสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา ทรงอิทธิฤทธิ์อานุภาพมากประทับ ณ โลกบาลทิศเหนือ คนไทยโบราณนิยมนำผ้ายันต์รูปยักษ์ผูกไว้ที่หัวเตียงเด็กเพื่อป้องกันวิญญาณชั่วร้ายไม่ให้มารังควานแก่เด็ก ท้าวกุเวรองค์นี้มีกล่าวถึงในอาฏานาฏิยปริตรว่านำเทวดาในสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกามาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า และได้ถวายสัตย์ที่จะดูแลพระพุทธเจ้าและเหล่าสาวกไม่ให้ยักษ์หรือบริวารอื่น ๆ ของท้าวจตุโลกบาลไปรังควาน ท้าวกุเวรหรือท้าวเวสวัณนั้น ส่วนมากเราจะพบเห็นในรูปลักษณ์ของยักษ์ยืนถือกระบองยาวหรือคทา (ไม้เท้าเป็นรูปกระบอง) กันซะส่วนใหญ่ แต่แท้ที่จริงแล้ว ยังมีรูปเคารพของท่านในรูปของชายนั่งในท่า มหาราชลีลา มีลักษณะอันโดดเด่นคือ พระอุระพลุ้ยอีกด้วย กล่าวกันว่าผู้มีอาชีพสัปเหร่อ หรือมีอาชีพประหารชีวิตนักโทษ มักพกพารูปท้าวท้าวเวสวัณ สำหรับคล้องคอเพื่อเป็นเครื่องรางของขลัง ป้องกันภัยจากวิญญาณร้ายที่จะเข้ามาเบียดเบียน ในภายหลังภาพลักษณ์ของท้าวกุเวรที่ปรากฏในรูปของชายพุงพลุ้ยเป็นที่เคารพนับถือ ในความเชื่อว่าเป็นเทพแห่งความร่ำรวย แต่ท้าวกุเวรในรูปของท้าวเวสวัณซึ่งมาในรูปของยักษ์เป็นที่เคารพนับถือว่า เป็นเครื่องรางของขลังป้องกันภูติผีปีศาจ สารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่มที่ 3 หน้า 1439 กล่าวถึงท้าวกุเวรหรือท้าวเวสวัณไว้ว่า กุเวร-ท้าว พระยายักษ์ผู้เป็นเจ้าแห่งขุมทรัพย์มียักษ์ และคุยหกะ (ยักษ์ผู้เฝ้าขุมทรัพย์) เป็นบริวาร ท้าวกุเวรนั้น บางทีก็เรียกว่าท้าวไวศรวัน (เวสสุวรรณ) ภาษาทมิฬเรียก "กุเวร" ว่า "กุเปรัน" ซึ่งมีเรื่องอยู่ในรามเกียรติ์ว่า เป็นพี่ต่างมารดาของทศกัณฐ์ และทศกัณฐ์ไปแย่งบุษบกของท้าวกุเวรไป ท้าวกุเวรมีรูปร่างพิการผิวขาว มีฟัน 8 ซี่ และมีขาสามขา (ภาพท้าวเวสวัณจึงมักเขียนท่ายืนแยงแย ถือไม้กระบองยาว อยู่หว่างขา) เมืองท้าวกุเวรชื่อ "อลกา" อยู่บนเขาหิมาลัย มีสวนอุทยานอยู่ไหล่เขาแห่งหนึ่งของเขาพระสุเมรุ ชื่อว่า "สวนไจตรต" หรือ "มนทร" มีพวกกินนรและคนธรรพ์เป็นผู้รับใช้ ท้าวกุเวรเป็นโลกบาลประจำทิศเหนือ คนจีนเรียกว่า "โต้เหวน" หรือ "โต้บุ๋น" คนญี่ปุ่นเรียกว่า "พสมอน" ท้าวกุเวรนี้สถิตอยู่ยอดเขายุคนธรอีสานราชธานี มีสระโกธาณีใหญ่ 1 สระ ชื่อ ธรณี กว้าง 50 โยชน์ ในน้ำ ดารดาษไปด้วยประทุมชาติ และคลาคล่ำไปด้วย หมู่สัตว์น้ำต่างพรรณ ขอบสระมีมณฑปชื่อ "ภคลวดี" กว้างใหญ่ 12 โยชน์ สำหรับเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ ปกคลุมด้วยเครือเถาภควดีลดาวัลย์ ซึ่งมีดอกออกสะพรั่งห้อยย้อยเป็นพวงพู ณ สถานที่นี้ เป็นสโมสรสถานของเหล่ายักษ์บริวาร และยังมีนครสำหรับเป็นที่แปรเทพยสถานอีก 10 แห่ง ท้าวกุเวรมียักษ์เป็นเสนาบดี 32 ตน ยักษ์รักษาพระนคร 12 ตน ยักษ์เฝ้าประตูนิเวศ 12 ตน ยักษ์ที่เป็นทาส 9 ตน นอกจากนี้ยังมีกล่าวว่า ท้าวเวสวัณยังมีกายสีเขียว สัณฐานสูง 2 คาวุต ประมาณ 200 เส้น มีอาวุธเป็นกระบอง มีพาหนะ ช้าง ม้า รถ บางทีปราสาท อาภรณ์มงกุฎประดับรูปนาค ดำรงอิสริยศเป็นเจ้าแห่งยักษ์ มีบริวารแสนโกฏิ ถือโล่แก้วประพาฬ หอกทอง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและท้าวเวสวัณ · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวเวปจิตติ

ตามความเชื่อในศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู ท้าวเวปจิตติ (Vepacitti) หรือท้าววิประจิตติ (विप्रचित्ति) เป็นราชาของพวกอสูร จึงมีสมัญญาว่าอสุรร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและท้าวเวปจิตติ · ดูเพิ่มเติม »

ฑากิณี

ฑากิณีตามความเชื่อของชาวทิเบต ฑากิณี (डाकिणी ḍākinī; མཁའ་འགྲོ་མ; แบบวิลลี:mkha'-'gro-ma; พินอินทิเบต:Kandroma) เป็นเทพที่ปรากฏในความเชื่อของศาสนาฮินดูและพุทธศาสนาลัทธิตันตระ โดยในศาสนาฮินดูถือว่าเป็นบริวารของเจ้าแม่กาลี ส่วนในลัทธิตันตระถือเป็นเทพผู้ช่วยของสิทธะ ฑากิณีมีหลายองค์ มีทั้งรูปปกติและรูปดุร้าย รูปปกติมี 6 องค์คือ พุทธฑากิณี วัชรฑากิณี รัตนฑากิณี ปัทมฑากิณี กรรมฑากิณี วิศวฑากิณี รูปดุร้าย คือ สวรวพุทธฑากิณี สิงหวักตรา มกรวักตรา วัชรวราหี และมีฑากิณีประจำฤดูกาล อีก 4 องค์คือ วสันตเทวี คิมหันตเทวี ศรัทเทวี และเหมันตเทวี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและฑากิณี · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการกลับสู่เยรูซาเลม

วนการกลับสู่เยรูซาเลม (Back To Jerusalem movement) เป็นเฮาส์เชิร์ดของจีนที่มีวิสัยทัศน์ในการ เผยแพร่ศาสนาสู่ทั้งพุทธ,ฮินดู และประเทศมุสลิมในโลก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและขบวนการกลับสู่เยรูซาเลม · ดูเพิ่มเติม »

ขอม

อม เป็นชื่อทางวัฒนธรรม ไม่ใช่ชื่อชนชาติ หมายถึงคนกลุ่มหนึ่งที่อยู่บริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยา นับถือฮินดูหรือพุทธมหายาน ทางใต้ของแคว้นสุโขทัย อาจจะหมายถึงพวก ละโว้ (หรือ ลพบุรี) เอกสารทางล้านนา เช่น จารึกและตำนานต่างๆ ล้วนระบุสอดคล้องกันว่าขอมคือพวกที่อยู่ทางใต้ของล้านนา(ในสมัยอาณาจักรสุโขทัย) เนื่องจากคำว่า ขอม สัญนิษฐานว่ามาจากคำว่า “เขมร”+”กรอม” (ที่แปลว่าใต้) พูดเร็วๆ กลายเป็น “ขอม” พวกนี้ตัดผมเกรียน และนุ่งโจงกระเบน กินข้าวเจ้า ฯลฯ แคว้นละโว้มีชื่อในตำนาน และพงศาวดารว่า กัมโพช เลียนอย่างชื่อ กัมพูชา ของเขมร นับถือทั้งฮินดูและพุทธมหายาน อาจารย์ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เคยเขียนอธิบายไว้ว่า ขอมเป็นพวกนับถือฮินดูหรือพุทธมหายาน ใครเข้ารีตเป็นฮินดู หรือพุทธมหายาน เป็นได้ชื่อว่า ขอม ทั้งหมด ขอมไม่ใช่ชื่อชนชาติ เพราะไม่มีชนชาติขอม แต่เป็นชื่อทางวัฒนธรรม เช่นเดียวกับ สยาม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและขอม · ดูเพิ่มเติม »

ขันที

หลี่เสียน ค.ศ. 706 ขันที คือ ชายที่ถูกตอน บางประเทศทางเอเชียสมัยโบราณใช้สำหรับควบคุมฝ่ายใน ในภาษาจีนเรียกว่า ไท้เจี๋ยน หรือไท้ก๋ำ (ฮกเกี้ยน:太監,ไท้ก่ำ) ในภาษาละตินและอาหรับเรียกว่ายูนุก (Eunuch) โดยมีรากศัพท์มาจากภาษากรีกคำว่า ยูโนคอส (eunouchos) แปลว่าผู้ดูแลรักษาเตียง ส่วนชนชาติมอญเรียกขันทีว่า กมนุย (อ่านว่า ก็อมนอย) แปลว่า ขันทีที่ปราศจากความรู้สึกทาง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและขันที · ดูเพิ่มเติม »

ขนมต้ม

ำหรับบทความที่เป็นชื่อนักมวยดูที่ นายขนมต้ม ขนมต้ม ขนมต้มเป็นขนมที่มีหลักฐานว่ามีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย เข้ามาพร้องกับศาสนาพราหมณ์และลัทธิความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้า โดยเชื่อกันว่าพระพิฆเนศโปรดขนมนี้มาก ครั้งหนึ่งเสวยเข้าไปจนเต็มพุง เมื่อขี่หนูกลับวิมาน ระหว่างทางหนูมาเจองู ตกใจจึงหยุดทันที พระพิฆเนศตกจากหลังหนู พุงแตก พระพิฆเนศเสียดายขนมจึงกอบเข้าใส่พุงใหม่แล้วเอาซากงูที่ตีตายแล้วมาพันพุงไว้ แล้วจึงกลับไปวิมาน พลศรี คชาชีว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและขนมต้ม · ดูเพิ่มเติม »

ดารา (เทพี)

ระดารา หรือ พระตารา (तारा) เป็นเทพีในศาสนาฮินดู ซึ่งหมายความว่า ดาว เป็นเทวี ๑ ใน ๑๐ ของพระมหาวิท.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและดารา (เทพี) · ดูเพิ่มเติม »

ดาวคาเพลลา

วคาเพลลา (Capella; ชื่ออื่น: α Aur / α Aurigae / Alpha Aurigae) เป็นดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดในกลุ่มดาวสารถี และเป็นดาวที่สว่างที่สุดลำดับที่ 11 บนท้องฟ้า เมื่อมองด้วยตาเปล่าเราอาจเห็นเป็นดาวดวงเดียว แต่ที่แท้แล้วเป็นดาวคู่สีเหลืองขนาดใหญ่สองดวงที่อยู่ใกล้กันมาก และมีดาวคู่อีกคู่หนึ่งจางๆ อยู่ใกล้ๆ ด้วย ดาวคาเพลลาเป็นที่รู้จักในหมู่ชนต่างๆ ทั่วโลกด้วยชื่อที่แตกต่างกันออกไปดังนี้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและดาวคาเพลลา · ดูเพิ่มเติม »

ดาดราและนครหเวลี

ราและนครหเวลี (દાદરા અને નગર હવેલી, दादरा आणि नगर हवेली, दादर और नगर हवेली) ดินแดนสหภาพแห่งหนึ่งของสาธารณรัฐอินเดีย เป็นเขตการปกครองที่มีดินแดนส่วนแยกเป็นสองส่วนคือดาดรา และนครหเวลี ซึ่งนครหเวลีถือเป็นดินแดนส่วนใหญ่ที่ถูกโอบล้อมโดยรัฐมหาราษฏระกับรัฐคุชราต ส่วนดาดราเป็นเขตขนาดเล็กที่อยู่ทางตอนเหนือของนครหเวลี เป็นดินแดนส่วนแยกถูกโอบล้อมโดยพื้นที่ของรัฐคุชราตทั้งหมด บางส่วนของพื้นที่ห่างจากเมืองดามันประมาณ 10-30 กิโลเมตร มีเมืองเอกคือ เมืองสิลวั.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและดาดราและนครหเวลี · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 16

อะเมซิ่ง เรซ 16 (The Amazing Race 16) เป็นฤดูกาลที่ 16 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและดิอะเมซิ่งเรซ 16 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 18

อะเมซิ่ง เรซ 18 (The Amazing Race 18) เป็นฤดูกาลที่ 18 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส ในฤดูกาลนี้ทำลักษณะแบบ ทีมรวมดารา โดยเอาทีมต่างๆ จากฤดูกาลที่ 12-17 มาแข่งขันกันใหม่ จากฤดูกาลที่ 11 ใช้ชื่อว่า The Amazing Race: All-Stars (ดิ อะเมซิ่ง เรซ รวมดารา) แต่ในฤดูกาลนี้จะใช้ชื่อว่า The Amazing Race: Unfinished Business (ดิ อะเมซิ่ง เรซ ธุรกิจนี้ยังสะสางไม่เสร็จ) ซึ่งซีบีเอสได้โปรโมทฤดูกาลนี้ทันที โดยอยู่ภายในตอนสุดท้ายของฤดูกาลที่ 17 เลยและรวมถึงฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลแรกที่จะถ่ายทำในระบบโทรทัศน์ความละเอียดสูงอีกด้วย แต่เป็นที่ทราบกันดีว่ารายการนี้ถ่ายทำยากมาก เนื่องจากช่างกล้องจะต้องวิ่งตามผู้เข้าแข่งขันตลอดและภาพบางภาพในรายการใช้การตัดต่อหรือดึงภาพจากแฟ้มข้อมูลที่เคยมีไว้มาตัดต่อลงไปทำให้อาจมีภาพแบบขนาดความละเอียดมาตรฐานปนอยู่บ้าง โดยทางผู้ผลิตได้กล่าววาจะจัดการปัญหาตรงจุดนี้ให้เหมาะสมอย่างสมดุลและออกอากาศในแบบโทรทัศน์ความละเอียดสูงอย่างแน่นอน และจะมีการจัดฉลองการครบรอบ 10 ปีของรายการซึ่งในการจัดงานครั้งนี้ได้รับการสนับสนุนจากเครื่องดื่มชาสแนปเปิล โดยจะทำการจัดงานวันที่ 8 พฤษภาคม 2554 (ตรงกับวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 ของประเทศไทย) รวมถึงการออกอากาศตอนสุดท้ายของฤดูกาลนี้ในวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 (ตรงกับวันที่ 10 พฤษภาคม 2554 ของประเทศไทย) ด้วยความยาว 2 ชั่วโมงเป็น 2 เลกสุดท้ายติดต่อกันเนื่องจากเคยมีการหยุดฉายไป 1 สัปดาห์ที่ทางสถานีได้ถ่ายทอดสด คันทรี มิวสิก อาวอร์ด คู่พี่น้องจากฤดูกาลที่ 14 คิชากับเจน ซึ่งได้ลำดับที่ 4 ในฤดูกาลนั้น เป็นผู้ชนะการแข่งขันครั้งนี้ไปรวมถึงทั้งคู่ยังเป็นทีมหญิงล้วนคู่ที่สองที่ชนะรายการนี้อีกด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและดิอะเมซิ่งเรซ 18 · ดูเพิ่มเติม »

ดิเกร์ ฮูลู

กร์ ฮูลู (Dikir Hulu) เป็นการละเล่นพื้นบ้านของชาวไทยมุสลิมใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ดิเกร์มาจากภาษาอาหรับว่า ดิเกร์อาวัล หรือดิเกร์อาวา ซึ่งหมายถึงการสวดหรือการร้องเพลง คำว่าฮูลู เป็นภาษามลายู หมายถึง ยุคก่อนหรือจุดเริ่มต้นพัฒนามาจากพิธีกรรมประกอบดนตรีเพื่อรักษาผู้ป่วยที่เชื่อว่าเกิดจากการกระทำของภูตผี ตั้งแต่สมัยที่ผู้คนในบริเวณนี้ยังนับถือศาสนาพุทธนิกายมหายานหรือศาสนาฮินดู ซึ่งได้รับอิทธิพลจากชวา ภายหลังเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลามจึงได้นำการกล่าวสรรเสริญพระเจ้าในศาสนาอิสลามแทน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและดิเกร์ ฮูลู · ดูเพิ่มเติม »

คชศาสตร์

ตร์ เป็นวิชาหนึ่งในวิชาไตรเทพของศาสนาพราหมณ์ เป็นศาสตร์เกี่ยวกับช้าง แบ่งออกเป็น 2 ตำรา คือ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและคชศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คยา

(Gaya) คือตำบลหนึ่งในอำเภอคยา จังหวัดมคธ รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ 100 กิโลเมตร ทางใต้ของเมืองปัฏนา ตัวเมืองทอดยาวไปตามชายฝั่งของแม่น้ำเนรัญชรา เมืองแห่งนี้เป็นเมืองสำคัญทั้งของศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู เพราะเป็นทั้งที่ตั้งของสถานที่เกิดเหตุการณ์สำคัญ ๆ ของพระพุทธศาสนา และสถานที่ ๆ ถูกกล่าวถึงในตำนานปรัมปราในคัมภีร์รามายณะของศาสนาฮินดู โดยภูมิประเทศของคยาเต็มไปด้วยภูเขาหินขนาดเล็ก คยาเป็นเมืองที่เป็นทั้งที่ตั้งของคยาสีสะ สถานที่พระพุทธองค์ทรงแสดงอาทิตตปริยายสูตรเพื่อโปรดแก่เหล่าชฏิล 1,003 รูป และวัดวิษณุบาท วัดฮินดูที่เป็นที่ประดิษฐานของหิน ที่ชาวฮินดูนับถือว่าเป็นรอยบาทของพระวิษณุ สถานที่ศักดิ์สิทธิ์สำคัญ 1 ใน 7 แห่งของศาสนาฮินดู.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและคยา · ดูเพิ่มเติม »

ครอบครัวสกายวอล์คเกอร์

รอบครัวสกายวอล์คเกอร์ เป็นครอบครัวในเรื่องแต่งชุดสตาร์ วอร์ส ครอบครัวสกายวอล์คเกอร์เป็นเชื้อสายมนุษย์ผู้มีสัมผัสในพลัง สมาชิกเก่าแก่ที่สุดที่เป็นที่รู้จักคือฉมี สกายวอล์คเกอร์ สมาชิกครอบครัวนี้มีส่วนร่วมทั้งในนิกายเจไดใหม่ เก่า และซิธลอร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและครอบครัวสกายวอล์คเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 2000

ริสต์ทศวรรษ 2000 (2000s) คือคริสต์ทศวรรษตามปฏิทินเกรโกเรียน เริ่มต้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและคริสต์ทศวรรษ 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ ร่วมกันแถลงข่าว ณ ห้องตะวันออกของทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐ เปิดกว้างในทุกทุกด้านและขยายความสัมพันธ์กันตลอดช่วงสี่ศตวรรษที่ผ่านมา แรกเริ่มในปี พ.ศ. 2150 เมื่ออังกฤษสถาปนาเขตพักพิงถาวรแห่งแรกขึ้นบนพื้นทวีปอเมริกาเหนือ เขตพักพิงแห่งนี้มีชื่อว่า เจมส์ทาวน์ ในยุคที่สหรัฐยังเป็นอาณานิคมทั้งสิบสาม ทั้งสหราชอาณาจักรและสหรัฐต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษด้วยกันคู่ ซึ่งทั้งสองรัฐถูกผูกมัดเข้าด้วยกันทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ภาษาแม่ ระบบยุติธรรม วัฒนธรรม รวมทั้งความเกี่ยวดองกันทางสายเลือดและเครือญาติ ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษในสหรัฐจึงสามารถย้อนต้นตระกูลกลับไปได้หลายชั่วอายุคน ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมามีทั้งสงคราม การก่อกบฏ สันติภาพและความบาดหมางต่อกัน จนกระทั่งท้ายที่สุดทั้งสองก็กลายเป็นทั้งเพื่อนและพันธมิตรต่อกัน ความสัมพันธ์อันหยั่งรากลึกนี้ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดและถาวรเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ สายสัมพันธ์พิเศษ ซึ่งถูกอธิบายโดยนักวิจารณ์ชั้นแนวหน้าอย่าง คริสเตียน อามันพัวร์ ว่าเป็น "พันธมิตรหลักแห่งแอตแลนติก" เช่นเดียวกับประธานวุฒิสมาชิกด้านกิจการยุโรปของสหรัฐ ฌอง ชาฮีน ที่ยอมรับใน พ.ศ. 2553 ว่าเป็น "หนึ่งในเสาหลักแห่งเสถียรภาพของทั่วทั้งโลก" ปัจจุบัน นโยบายด้านการต่างประเทศของสหราชอาณาจักรฉบับล่าสุดกล่าวถึงความสัมพันธ์กับสหรัฐว่าเป็น "หุ้นส่วนความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่สำคัญที่สุด" ขณะที่นโยบายด้านการต่างประเทศของสหรัฐเองก็ยืนยันเช่นกันว่าสหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่ยืนยงที่สุด ซึ่งเห็นได้จากสภาพทางสังคมที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งในด้านการเมือง ความเชื่อมโยงกันของการค้า การพาณิชย์ การเงินการคลัง เทคโนโลยี การศึกษา เช่นเดียวกับด้านศิลปะและวิทยาการ นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกันของรัฐบาลและหน่วยงานทางการทหาร เช่น ปฏิบัติการทางการทหารและปฏิบัติการรักษาสันติภาพร่วมกัน นอกจากนี้โดยปกติแล้วประธานาธิบดีแห่งสหรัฐจะเป็นบุคคลแรกในโลกที่จะส่งจดหมายแสดงความยินดีในการเข้ารับตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนใหม่ ในทางกลับกัน นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็จะส่งจดหมายแสดงความยินดีเป็นบุคคลแรกในโลกเช่นเดียวกัน สหรัฐยังเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เช่นเดียวกับที่สหราชอาณาจักรเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหรัฐ เมื่อรวมทั้งสองประเทศเข้าด้วยกันแล้วจะพบว่าการค้าของทั้งสองประเทศมีสัดส่วนมหาศาลเมื่อเทียบกับการค้าทั่วโลก อีกยังมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอย่างมากต่อประเทศและดินแดนอื่น ๆ ทั่วโลก สหราชอาณาจักรและสหรัฐยังเปนสองประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดและประชากรมากที่สุดในกลุ่มประเทศ แองโกลสเฟียร์ มีประชากรรวมกันมากกว่า 370 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

คัมภีร์

ัมภีร์ (religious text; holy writ; holy books; scripture; scriptures) หมายถึง ตำราที่ยกย่องหรือนับถือว่าสำคัญทางศาสนาหรือโหราศาสตร์ เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและคัมภีร์ · ดูเพิ่มเติม »

คัมภีร์อเวสตะ

อเวสตะหรือ เซนต์ อเวสตะ เป็นคัมภีร์สำคัญในศาสนาโซโรอัสเตอร์ แบ่งออกเป็น 5 หมวด คือ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและคัมภีร์อเวสตะ · ดูเพิ่มเติม »

คานธี (ภาพยนตร์)

นธี เป็นภาพยนตร์ชีวประวัติ สร้างขึ้นจากเรื่องจริงของมหาตมา คานธี นักการเมืองชาวอินเดีย ผู้เคลื่อนไหวเพื่อปลดปล่อยอินเดีย จากการเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร และได้ชื่อว่าเป็นวีรบุรุษผู้ยิ่งใหญ่คนหนึ่งของอินเดีย ออกฉายในค.ศ. 1982 และได้ชนะเลิศรางวัลออสการ์ ถึง 8 รางวัล.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและคานธี (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

คำตี่

ำตี่ ขำติ หรือ ชาวไทคำตี่ เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดกลุ่มหนึ่งในอัสสัม และทางภาคเหนือของประเทศพม่า ในรัฐกะฉิ่น เมืองปูตาโอ แบ่งได้ เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มไทคำตี่หลวง (ในประเทศพม่า) และ กลุ่มสิงคะลิงคำตี่ (ในประเทศอินเดีย).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและคำตี่ · ดูเพิ่มเติม »

คุรุนานักเทพ

วาดคุรุนานักเทพ คุรุนานักเทพ (15 เมษายน พ.ศ. 2012 - 22 กันยายน พ.ศ. 2082) ศาสดาผู้ประกาศศาสนาสิกข์ในแคว้นปัญจาบ ประเทศอินเดียเกิดที่แคว้นปัญจาบ เดิมนับถือศาสนาฮินดู แต่ได้รับการศึกษาในสำนักของศาสนาอิสลามจึงมีความรู้ทั้ง 2 ศาสนา ท่านแต่งงานและมีบุตร 2 คน จากนั้นได้ออกบวชและบำเพ็ญเพียรทางจิตอยู่ 35 ปี จนได้พบพระเจ้าจึงออกเผยแพร่ศาสนาสิกข์ในนามตัวแทนของพระเจ้า วาจาแรกที่ท่านกล่าวเมื่อออกประกาศศาสนาคือ "ในโลกนี้ไม่มีใครเป็นฮินดู ไม่มีใครเป็นอิสลาม" ท่านออกสั่งสอนประชาชนอยู่หลายปี มีศิษย์ทั้งที่เป็นฮินดูและมุสลิม ใน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและคุรุนานักเทพ · ดูเพิ่มเติม »

คณะนักบวชภิกขาจาร

ณะนักบวชภิกขาจาร (mendicant order) คือกลุ่มนักบวชที่ไม่ถือครองกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินใด ๆ (หรือครอบครองเฉพาะที่จำเป็น) ไม่ว่าเป็นการส่วนตัวหรือในนามองค์กร แต่อาศัยปัจจัยยังชีพจากฆราวาสหรือของที่ถูกทิ้งแล้ว และจาริกไปเรื่อย ๆ ไม่อาศัยประจำอยู่ที่แห่งใดโดยเฉพาะ นักบวชภิกขาจารในศาสนาพุทธคือพระภิกษุ ในศาสนาคริสต์คือไฟรเออร์ ในศาสนาฮินดูคือสันนยาสิน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและคณะนักบวชภิกขาจาร · ดูเพิ่มเติม »

คนธรรพ์

รูปสลักไม้คนธรรพ์ ที่พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณริมถนนสุขุมวิทจังหวัดสมุทรปราการ คนธรรพ์ (गन्धर्व Gandharva) เป็นอมนุษย์จำพวกหนึ่ง ตามคติในศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและคนธรรพ์ · ดูเพิ่มเติม »

ค่างหนุมาน

งหนุมาน (Hanuman langur, Gray langur; लंगूर) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับวานร จำพวกค่างสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Semnopithecus อยู่ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) ค่างหนุมาน เป็นค่างที่มีหางยาวมากใช้สำหรับทรงตัวบนต้นไม้ มีขนตามลำตัวสีขาวหรือสีเทา ขณะที่มีใบหน้าและหูสีคล้ำ แขนและขาเรียวยาว กระจายพันธุ์ทั่วไปในอนุทวีปอินเดีย เช่น อินเดีย, เนปาล, ปากีสถาน จนถึงอัฟกานิสถาน ตัวผู้มีความสูงเต็มที่ประมาณ 75 เซนติเมตร น้ำหนักราว 11-18 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็กลงมากว่าเล็กน้อย ค่างหนุมาน หากินได้ทั้งบนพื้นดินและต้นไม้ ในภูมิภาคแถบที่อาศัยอยู่ นับถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ โดยถือเป็นหนุมาน เทพเจ้าตามความเชื่อของศาสนาฮินดู จึงไม่มีภัยคุกคามจากมนุษย์ อีกทั้งเป็นค่างที่ปรับตัวได้ง่าย หากินง่าย จนทำให้ในบางชุมชนของมนุษย์ มีฝูงค่างหนุมานอยู่อาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก จนเกิดเป็นปัญหา ค่างหนุมาน เป็นค่างที่มีความคล่องแคล่วว่องไวมาก จึงไม่มีศัตรูตามธรรมชาติเท่าใดนัก อีกทั้งสามารถกระโดดจากพื้นได้สูงถึง 5 เมตร เพื่อหลบหลีกศัตรูได้อีกด้วยสุดหล้าฟ้าเขียว, รายการ: เสาร์ที่ 20 ตุลาคม 2555 โดย ปองพล อดิเรกสาร ทางช่อง 3.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและค่างหนุมาน · ดูเพิ่มเติม »

งูเห่าอินเดีย

งูเห่าอินเดีย หรือ งูเห่าเอเชีย หรือ งูเห่าแว่น (Indian cobra, Asian cobra, Spectacled cobra) เป็นงูพิษชนิดหนึ่ง จำพวกงูเห่า ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) งูเห่าอินเดีย ถือว่าเป็นงูเห่าที่มีสายพันธุกรรมใกล้ชิดกับงูเห่าไทย (N. kaouthia) และงูเห่าพ่นพิษสยาม (N. siamensis) ซึ่งเดิม (หรือในบางข้อมูลจัดเป็นชนิดย่อยของกันและกัน) เคยเป็นชนิดเดียวกันมาก่อน งูเห่าอินเดีย พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในอนุทวีปอินเดียเช่น อินเดีย, ศรีลังกา, บังกลาเทศ, ปากีสถาน และเนปาล มักอาศัยอยู่ตามพื้นที่ราบ, ป่าโปร่ง หรือท้องทุ่ง, ทุ่งนา กินอาหารจำพวกสัตว์ที่มีขนาดเล็ก ได้แก่ หนู, คางคก, กบ, นก เป็นต้น งูเห่าอินเดียจะออกไข่ในช่วงเดือนเมษายน-กรกฎาคม โดยงูตัวเมียมักจะวางไข่ในรูหนู, จอมปลวก หรือเนินดิน เป็นจำนวน 10 ถึง 30 ฟอง มีระยะเวลาฟักไข่ 48 ถึง 69 วัน ปกติงูเห่าอินเดียมีความยาวประมาณ 1.9 เมตร แต่บางตัวก็ยาวมากถึง 2.4 เมตร แต่ค่อนข้างหายาก นอกจากนี้แล้วยังสามารถพบได้ในพื้นที่ ๆ สูงจากระดับน้ำทะเลถึง 2,000 เมตร (ประมาณ 6,600 ฟุต)Whitaker, Romulus; Captain, Ashok (2004).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและงูเห่าอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ตรีมูรติ

ทวรูปตรีมูรติในศาลเคารพ บริเวณหน้าศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ที่เชื่อกันว่าเป็นเทพเจ้าแห่งความรัก ตรีมูรติ เมื่อแยกออกเป็น 3 (จากซ้าย พระพรหม, พระวิษณุ, พระศิวะ) ตรีมูรติ (Trimurati, Trinity; त्रिमूर्ति) คือ การอวตารรวมของพระเป็นเจ้าสูงสุดทั้งสามองค์ในศาสนาฮินดู อันได้แก่ พระพรหม (พระผู้สร้าง) พระวิษณุ (ผู้ปกป้องรักษา) และ พระศิวะ (ผู้ทำลาย) คำว่า ตรีมูรติ มาจากภาษาสันสกฤต ตรี หมายถึง สาม มูรติ หมายถึง รูปแบบ ตรีมูรติ หมายถึง รูปแบบทั้งสามหรือรูปแบบของพระผู้เป็นเจ้าทั้งสามพระองค์ อันประกอบไปด้วย พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ เป็นหลักสำคัญในศาสนาฮินดู หากมองตามหลักปรัชญาสามารถหมายถึง พระผู้สร้าง พระผู้รักษา และพระผู้ทำลาย หรือสามารถเปรียบได้กับหลักธรรมที่ว่า เกิดขึ้น คงอยู่ และ ดับไป.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและตรีมูรติ · ดูเพิ่มเติม »

ตรีศูล

ตรีศูล หรือย่อว่า ตรี (Trishula; त्रिशूल, trishūla) เป็นประเภทของสามง่ามในวัฒนธรรมอินเดีย แต่ก็พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วยเช่นกัน ตรีศูลมักใช้เป็นสัญลักษณ์ในศาสนาฮินดูและพระพุทธศาสนา คำนี้มีความหมายว่า "หอกสามเล่ม" ในภาษาสันสกฤตและภาษาบาลี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและตรีศูล · ดูเพิ่มเติม »

ตรีเทวี

ตรีเทวีหรือตรีศักติ (Tridevi, त्रिदेवी) คือ การอวตารรวมของภาคของมหาเทวีสูงสุดทั้งสามองค์ในศาสนาฮินดู อันได้แก่ พระแม่ปารวตี (พระมเหสีของพระศิวะ) พระลักษมี (พระมเหสีของพระวิษณุ(พระนารายณ์)) และ พระสุรัสวดี (พระมเหสีของพระพรหม) ซึ่งมหาเทวีสามองค์นี้คือพระผู้เป็นใหญ่ในศาสนาฮินดูนิกายศักติ(นิกายใหญ่ในศาสนาฮินดูที่นับถือพระแม่เป็นหลัก) หมวดหมู่:เทพเจ้าฮินดู หมวดหมู่:เทวีในศาสนาฮินดู.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและตรีเทวี · ดูเพิ่มเติม »

ตักศิลา

ตักศิลา (Taxila; ตัก-กะ-สิ-ลา) หรือ ตักสิลา (Takkaśilā; ตัก-กะ-สิ-ลา) ในภาษาบาลี หรือ ตักษศิลา (Takṣaśilā; ตัก-สะ-สิ-ลา) ในภาษาสันสกฤต เป็นชื่อเมืองอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐปัญจาบ เป็นมหาวิทยาลัยและเป็นศูนย์กลางของศิลปวิชาการ ในอดีตของอินเดียตั้งแต่ก่อนพุทธกาล มีสำนักอาจารย์ทิศาปาโมกข์สั่งสอนศิลปวิทยาต่างๆ แก่ศิษย์ที่มาเล่าเรียนในแถบดินแดนชมพูทวีป บุคคลสำคัญและมีชื่อเสียงหลายท่านที่สำเร็จการศึกษาจากที่แห่งนี้ เช่น พระเจ้าปเสนทิโกศล หมอชีวกโกมารภัจจ์ องคุลีมาล ปัจจุบันนี้ตักศิลาอยู่ในเขตประเทศปากีสถาน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงอิสลามาบาด คงเหลือแต่ซากเมืองให้ได้เห็น มีสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญคือ พิพิธภัณฑ์ตักศิลา ซึ่งได้เก็บรวบรวมหลักฐานเกี่ยวกับความเป็นอยู่และภูมิปัญญาของชาวตักศิลายุคต่าง ๆ เอาไว้อย่างเป็นระบบระเบียบ รวมถึง ซากสถูปเจดีย์ วัดวาอาราม และปฏิมากรรม แบบศิลปะคันธาระ จำนวนมาก อันเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาของผู้คน จนรัฐบาลปากีสถานได้อนุรักษ์ไว้เป็นโบราณสถานภายใต้การสนับสนุนขององค์การยูเนสโก เมืองตักศิลาถือกำเนิดขึ้นตั้งแต่ดึกดำบรรพ์เป็นนครหลวงแห่งแคว้นคันธาระ เป็นหนึ่งในบรรดา 16 แคว้นของชมพูทวีป สถาปนาขึ้นโดยชาวอารยัน ตักศิลาตกอยู่ภายใต้อารยธรรมมากมาย เช่น อารยธรรมกรีกโดยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช และอารยธรรมฮินดูหลายราชวงศ์ ในสมัยพุทธกาลมีพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำแคว้นและรุ่งเรืองมานับพันปี โดยมีความรุ่งเรืองถึงขีดสุดในสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราช พระองค์ได้สร้างตักศิลาให้มีชื่อเสียงพร้อมๆ กับการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ชนชาติเฮฟทาไลต์ (Hephthalite) ได้ยกทัพมาตีอินเดียและทำลายพระพุทธศาสนา ทำให้เมืองตักศิลาพินาศสูญสิ้นแต่บัดนั้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและตักศิลา · ดูเพิ่มเติม »

ตัวตน

ตัวตน หรืออัตตา (self) คือสิ่งที่เป็นสารัตถะของชีวิตของแต่ละบุคคล มีสภาพเที่ยงแท้ถาวร ตัวตนจึงทำให้บุคคลนั้นยังเป็นคนเดิม แม้ว่าร่างกายภายนอกหรือความรู้สึกนึกคิดจะแปรเปลี่ยนไปแล้วก็ตาม ในบางศาสนาเชื่อว่าตัวตนเป็น "วิญญาณ" แม้บุคคลนั้นตาย ตัวตนจะยังดำรงอยู่ต่อไปในภพอื่น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและตัวตน · ดูเพิ่มเติม »

ตาที่สาม

ตามความเชื่อในรหัสยลัทธิและคุยหลัทธิ ตาที่สาม ไม่ใช่ตาเนื้อ แต่เป็นตาภายในที่ทำให้เห็นสิ่งเหนือปกติวิสัย แสดงถึงการรับรู้ระดับสูงในทางจิตวิญญาณ และเป็นสัญลักษณ์ของการรู้แจ้ง รวมถึงการหยั่งรู้พิเศษ เช่น การเห็นนิมิต ตาทิพย์ รู้เหตุการณ์ต่าง ๆ ล่วงหน้า เป็นต้นLeadbeater, C.W. The Chakras Wheaton, Illinois, USA:1927 Theosophical Publishing House Page 79.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและตาที่สาม · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานน้ำท่วมโลก

''The Deluge'' (น้ำท่วมใหญ่) โดย กุสตาฟว์ ดอเร ตำนาน น้ำท่วมโลกครั้งใหญ่ ที่ทำให้เกิดโดยพระเจ้าหรือเทพเจ้า เพื่อทำลายล้างอารยธรรม โดยเป็นการลงโทษความบาปของมนุษย์ เพื่อเริ่มต้นอารยธรรมใหม่ ๆ ที่ส่งผลมายังปัจจุบัน ซึ่งเกิดขึ้นบริเวณอารยธรรมเมโสโปเตเมีย เป็นประเด็นที่ปรากฏอยู่แพร่หลายในตำนานของวัฒนธรรมต่าง ๆ ทั่วโลก เช่น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและตำนานน้ำท่วมโลก · ดูเพิ่มเติม »

ต้มยำกุ้ง (อาหาร)

ต้มยำกุ้ง เป็นอาหารไทยภาคกลางประเภทต้มยำ ซึ่งเป็นที่นิยมรับประทานไปทุกภาคในประเทศไทย เป็นอาหารที่รับประทานกับข้าวและ มีรสเปรี้ยวและเผ็ดเป็นหลักผสมเค็มและหวานเล็กน้อย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ต้มยำน้ำใส และ ต้มยำน้ำข้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและต้มยำกุ้ง (อาหาร) · ดูเพิ่มเติม »

ซิตตเว

ซิตตเว (စစ်တွေမြို့) เป็นเมืองท่าและเมืองหลักของรัฐยะไข่ ประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศ บนเกาะกลางชะวากทะเลของปากแม่น้ำกะลาดาน มายู และเล-มโย โดยแม่น้ำเหล่านี้ไหลลงสู่อ่าวเบงกอลซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเมือง ซิตตเวมีประชากร 147,899 คน (พ.ศ. 2557) เป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอซิตตเวและตำบลซิตตเว กลุ่มชาติพันธุ์ใหญ่ที่สุดคือชาวยะไข่ รองลงมาคือชาวพม่าซึ่งย้ายมาจากส่วนอื่นของประเทศ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ฮินดู และนับถือผีสางตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีชาวโรฮีนจาซึ่งในอดีตเคยตั้งชุมชนมุสลิมในเมืองเรียกว่า "อองมีนกะลา" แต่ได้ถูกวางเพลิงและชาวมุสลิมได้ถูกขับไล่ออกไปในเหตุการณ์จลาจลเมื่อเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและซิตตเว · ดูเพิ่มเติม »

ซูบะก์

ซูบะก์ (Subak) คือชื่อของระบบการจัดการน้ำ (ชลประทาน) สำหรับนาข้าวบนเกาะบาหลี จังหวัดบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งมีการคิดค้นเป็นเวลานานกว่า 1,000 ปี ตั้งแต่คริสศตวรรษที่ 9 สำหรับชาวบาหลี ระบบชลประทานบนเกาะนั้นไม่ง่ายที่จะจัดหาน้ำสำหรับพืชพรรณต่าง ๆ แต่น้ำถูกใช้ในการสร้างระบบนิเวศเทียม นาข้าวในบาหลีถูกสร้างรอบ ๆ วัด และการจัดสรรน้ำถูกสร้างโดยนักบวช ซูบะก์คือระบบชลประทานที่ยั่งยืนตามธรรมชาติซึ่งผูกสังคมเกษตรกรรมบาหลีเข้าด้วยกันภายในศูนย์ชุมชนของหมู่บ้านและวัดบาหลี ครอบคลุม 19,500 เฮกตาร์ การจัดการน้ำอยู่ภายใต้อำนาจหน้าที่ของนักบวชในวัดต่าง ๆ ซึ่งมีการฝึกฝนปรัชญาไตรหิตครณะ (Tri Hita Karana) หรือความสัมพันธ์ของดินแดนระหว่างวิญญาณ โลกมนุษย์ และพระเจ้า ไตรหิตครณะเกี่ยวข้องกับวิธีการโบราณตามอย่างในอินเดียโดยฤๅษีในศาสนาฮินดู.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและซูบะก์ · ดูเพิ่มเติม »

ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์

ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์ เป็นนักวิชาการทางบูรพคดีศึกษา สังกัดมหาวิทยาลัยมหิดล เคยมีผลงานเขียนทั้งบทกวีและบทความตามสื่อมวลชนมาระยะหนึ่งก่อนจะปักหลักทำงานสอนและวิจัยในวิชาชีพที่ถนัดอย่างจริงจังในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์ · ดูเพิ่มเติม »

ปรพรหมัน

ปรพรหมัน (परब्रह्मन्) คือพรหมันสูงสุด เกินจะอธิบายและคิดได้ คัมภีร์ในศาสนาฮินดูอธิบายว่าปรพรหมันเป็นวิญญาณไร้รูป (เพราะรูปเป็นมายา) ที่แทรกซึมไปทั่วทุกสิ่งตลอดกาล ชาวฮินดูมีความเชื่อเกี่ยวกับปรพรหมันแตกต่างกัน สำนักอไทฺวตเวทานตะเชื่อว่าปรพรหมันเป็นนิรคุณพรหมัน (พรหมันที่ไร้คุณลักษณะ) แต่สำนักเวทานตะอื่น ๆ เชื่อว่าเป็นสคุณพรหมัน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและปรพรหมัน · ดูเพิ่มเติม »

ประชากรศาสตร์บรูไน

ทความนี้ว่าด้วยลักษณะประชากรของประเทศบรูไน รวมถึงความหนาแน่นของประชากร ชาติพันธุ์ ระดับการศึกษา สาธารณสุข สถานภาพทางเศรษฐกิจ การนับถือศาสนา เป็นต้น ชาวบรูไนเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ ออสโตรนีเซียน มีต้นกำเนิดมาจากเกาะไต้หวันย้อนหลังไปจาก 5000 ปีก่อนคริสตกาล พวกเขาอาศัยอยู่ตลอดชายฝั่งตะวันตกบนของเกาะบอร์เนียวมีประชากรทั้งหมด (2554) 428,146 คน ภาษาทางการ คือภาษามลายู ศาสนาที่ชาวบรูไนนับถือคือ ศาสนาอิสลามนิกายซุนนี 67% รองลงมาเป็นศาสนาพุทธนิกายมหายาน 13% ศาสนาคริสต์ 10% ศาสนาฮินดู ความเชื่อพื้นเมืองและอื่น ๆ ตามม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประชากรศาสตร์บรูไน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์บรูไน

ประวัติศาสตร์บรูไน สุลต่านแห่งบรูไนทรงสร้างจักรวรรดิบรูไนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ปกครองตั้งแต่ทางตอนเหนือของเกาะบอร์เนียวและทางตอนใต้ของฟิลิปปินส์ ต่อมามีสงครามกับสเปนสั้น ๆ ทำให้บรูไนเริ่มอ่อนกำลังลง จนบรูไนเสียดินแดนซาราวะก์ให้กับรายาผิวขาว จนกระทั่งต้องยอมอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ จนบรูไนได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประวัติศาสตร์บรูไน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์กัมพูชา

ประวัติศาสตร์กัมพูชา เริ่มตั้งแต่ยุคของอาณาจักรฟูนัน อาณาจักรเจนละ พัฒนามาสู่กัมพูชายุคเมืองพระนคร ซึ่งมีความยิ่งใหญ่จนสามารถสร้างนครวัด นครธม เป็นศูนย์กลางของอาณาจักร จนกระทั่งพ่ายแพ้แก่อยุธยากลายเป็นรัฐบรรณาการของอยุธยา จนเมื่อฝรั่งเศสเข้ามามีอำนาจในอินโดจีน กัมพูชากลายเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศส และเป็นรัฐในอารักขาของญี่ปุ่นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสิ้นสุดสงครามโลก กัมพูชาได้เป็นประเทศเอกราช แต่เกิดความสับสนวุ่นวายภายในประเทศเนื่องจากความขัดแย้งภายใน ประเทศตกอยู่ภายใต้การปกครองของเขมรแดงอยู่ระยะหนึ่ง จนกองกำลังของเฮงสัมรินที่มีเวียดนามหนุนหลังเข้ามาขับไล่เขมรแดงออกไป และการเข้ามาไกล่เกลี่ยของสหประชาชาติ เพื่อยุติสงครามกลางเมือง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประวัติศาสตร์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์รัฐชัมมูและกัษมีระ

ประวัติศาสตร์รัฐชัมมูและกัษมีระ มีความเป็นมายาวนาน รัฐชัมมูและกัษมีระเคยเป็นดินแดนที่เป็นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนา ต่อมาได้เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม เคยอยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิดุรรานีในอัฟกานิสถาน จักรวรรดิโมกุล ในอินเดีย และเคยอยู่ภายใต้การปกครองของชาวสิกข์ ภายหลังขับไล่ชาวสิกข์ออกไปได้ ในยุคที่อังกฤษเข้ามา กษัตริย์ของชัมมูและกัษมีระช่วยอังกฤษรบกับชาวสิกข์และได้เป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษ เมื่ออังกฤษให้เอกราชแก่อินเดียและมีการแบ่งเป็นอินเดียและปากีสถาน รัฐชัมมูและกัษมีระกลายเป็นกรณีพิพาทของทั้งสองประเทศจวบจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประวัติศาสตร์รัฐชัมมูและกัษมีระ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์รัฐอัสสัม

หรียญของอาหมออกโดยสุเร็มพา ราเชสวาร์ สิงห์ แห่งราชวงศ์อาหม (พ.ศ. 2294 - 2302) ดินแดนที่เป็นรัฐอัสสัม ประเทศอินเดียในปัจจุบันนี้ ในมหาภารตะกล่าวว่าเป็นดินแดนของแคว้นกามรูป ซึ่งปกครองบริเวณลุ่มแม่น้ำพรหมบุตร ภูฏานและเบงกอลตะวันออก ในบันทึกของพระถังซำจั๋ง กล่าวถึงกษัตริย์ที่ปกครองดินแดนนี้ว่านับถือศาสนาฮินดู มีศิลาและแผ่นจารึกแสดงให้เห็นว่ามีราชวงศ์ต่างๆปกครองดินแดนในบริเวณนี้อย่างต่อเนื่องตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12-17 ในราวพุทธศตวรรษที่ 18 ไทอาหมซึ่งเป็นชาวไทใหญ่เผ่าหนึ่ง ได้เข้ามารุกรานอัสสัมใน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประวัติศาสตร์รัฐอัสสัม · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์หน่วยเงินในประเทศไทย

วิวัฒนาการเงินตราไทยในอดีต วิวัฒนาการเงินตราไทย เริ่มตั้งแต่กลุ่มชนดั้งเดิมในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ได้อาศัยอยู่ในดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบันตั้งแต่ราว 38,000 ปีมาแล้ว ก่อนจะได้รับวัฒนธรรมจากอินเดียนั้น กลุ่มชนเหล่านี้ติดต่อค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้ากัน โดยใช้สิ่งของเป็นสื่อกลาง เมื่อวัฒนธรรมอินเดียแพร่เข้ามาจึงเริ่มผลิตเงินตราเป็นสื่อกลางค้าขาย ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-16 ในวัฒนธรรมแบบฟูนัน-ทวารวดี ได้ผลิตเหรียญกลมแบนจากโลหะเงิน ดีบุก ทองแดง โดยใช้แม่พิมพ์ตราสัญลักษณ์ต่างๆ เช่น พระอาทิตย์ สังข์ แพะ ปูรณกลศ ตัวอักษร เป็นต้น ซึ่งสื่อถึงความเชื่อทางศาสนาพราหมณ์ อำนาจรัฐ กษัตริย์ และความมั่งคั่งอุดมสมบูรณ์ ช่วงพุทธศตวรรษที่ 13-18 อาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งเป็นเมืองท่าค้าขายบริเวณคาบสมุทรภาคใต้ของไทยมีอำนาจควบคุมเส้นทางการค้าทางทะเล มีการผลิตเงินดอกจันทน์และเงินนโม เพื่อระบบเศรษฐกิจอย่างแพร่หลาย ราวพุทธศตวรรษที่ 19 ราชอาณาจักรสุโขทัยและล้านนาก็ถือกำเนิดขึ้นและได้ติดต่อค้าขายกับราชอาณาจักรในลุ่มเจ้าพระยา คือ กรุงศรีอยุธยา ตลอดจนดำเนินการค้าทางทะเลกับจีน อินเดีย ยุโรป และได้ติดต่อค้าขายกับกลุ่มชนทางตอนเหนือของไทย เช่น ล้านช้าง ยูนาน น่านเจ้า เป็นต้น และไปไกลถึงเปอร์เซีย อาหรับ ในดินแดนตะวันออกกลาง ราชอาณาจักรสุโขทัย ล้านนา กรุงศรีอยุธยา ได้ผลิตคิดค้นเงินตราขึ้นใช้ในระบบเศรษฐกิจ พร้อมกันนั้นก็ยอมรับเงินตราของต่างชาติด้วย เงินตราที่ใช้ในอาณาจักรล้านนา ได้แก่ เงินไซซี เงินกำไล เงินเจียง เงินท้อก เงินดอกไม้ ส่วนราชอาณาจักรสุโขทัยและอยุธยาได้ผลิตเงินพดด้วง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะของตนเองขึ้นใช้ และใช้เบี้ยหอยแทนเงินปลีกย่อย บางครั้งเบี้ยหอยขาดแคลนก็ได้ผลิตเบี้ยโลหะและประกับดินเผาขึ้นใช้ร่วมด้วย ภายหลังราชอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาสลายลง กรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร์ถือกำเนิดขึ้นตามลำดับ ก็ยังคงใช้เงินพดด้วงเช่นครั้งกรุงศรีอยุธยา จนกระทั่งถึงรัชกาลที่ 4 การเปิดประเทศสยามสู่อารยประเทศ มีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบเงินตราให้เป็นสากล นำไปสู่การผลิตเงินตราในลักษณะเหรียญกลมแบนออกใช้เป็นครั้งแรก ต่อมารัชกาลที่ 5 จึงทรงประกาศยกเลิกการใช้เงินพดด้วง นับตั้งแต่นั้นเงินตราไทยจึงคงลักษณะเป็นเหรียญกลมแบนต่อเนื่องมาจวบจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประวัติศาสตร์หน่วยเงินในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อักษร

ประวัติศาสตร์ของอักษร ชนิดแทนหน่วยเสียงมีจุดเริ่มต้นอยู่ในอียิปต์โบราณ อักษรแทนหน่วยเสียงชนิดแรกเป็นอักษรไร้สระ ปรากฏเมื่อ 1,457 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นผลงานของแรงงานชาวเซมิติกในอียิปต์ เพื่อใช้เขียนภาษาของตนเอง โดยได้รับอิทธิพลจากอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะซึ่งใช้คู่กับอักษรคำในอักษรไฮโรกลิฟฟิก อักษรอื่นๆ ที่ใช้ในปัจจุบันส่วนใหญ่พัฒนามาจากอักษรนี้รวมทั้งอักษรฟินิเชีย อักษรกรีก และอักษรละติน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประวัติศาสตร์อักษร · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต

ตราประจำจังหวัดภูเก็ต ประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต เดิมคำว่า ภูเก็ต นั้นใช้คำว่า "ภูเก็จ" อันแปลว่าเมืองแก้ว ตรงกับความหมายเดิมซึ่งชาวทมิฬเรียก มณีคราม ตามหลักฐาน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาพุทธ

นาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่สำคัญคือเถรวาทและมหายาน นิกายมหายานได้แพร่หลายไปทั่วเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก เมื่อศาสนาพุทธในอินเดียเสื่อมลง พุทธศาสนามหายานในเอเชียกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เสื่อมตามไปด้วย ยังคงเหลือในจีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม ส่วนนิกายเถรวาทได้เฟื่องฟูขึ้นอีกครั้งในศรีลังกา และแพร่หลายไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พุทธศาสนาได้แพร่หลายไปยังโลกตะวันตกตั้งแต่ครั้งโบราณ แต่ชาวตะวันตกหันมาสนใจพุทธศาสนามากขึ้นในยุคจักรวรรดินิยมและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประวัติศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ประณัพ มุขัรชี

ประณัพ มุขัรชี (เกิดเมื่อ 11 ธันวาคม 1935) คือนักการเมืองชาวอินเดีย ประธานาธิบดีคนที่ 13 ของอินเดีย ก่อนเขาจะเข้ามาเป็นประธานาธิบดี เขาเคยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงกลาโหม กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงการคลัง เขาเกิดในหมู่บ้าน Mirati ใน Birbhum District ของเบงกอลตะวันตก หมวดหมู่:นักเขียนชาวอินเดีย หมวดหมู่:บุคคลจากโกลกาตา หมวดหมู่:ประธานาธิบดีอินเดีย หมวดหมู่:ชาวเบงกาลี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประณัพ มุขัรชี · ดูเพิ่มเติม »

ประติภา ปาฏีล

ประติภา เทวีสิงห์ ปาฏีล (प्रतिभा देवीसिंह पाटिल ปฺรติภา เทวีสิงฺห ปาฏิล; Pratibha Devisingh Patil; เกิด 19 ธันวาคม พ.ศ. 2477) เป็นประธานาธิบดีอินเดียคนที่ 12 นับเป็นชาวมหาราษฎระคนแรกและเป็นสตรีคนแรกในประวัติศาสตร์ของอินเดียที่ได้เข้าดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประติภา ปาฏีล · ดูเพิ่มเติม »

ประเพณีสารทเดือนสิบ

ประเพณีสารทเดือนสิบ เป็นงานบุญประเพณีของคนภาคใต้ของประเทศไทย โดยเฉพาะชาวนครศรีธรรมราช ที่ได้รับอิทธิพลด้านความเชื่อ ซึ่งมาจากทางศาสนาพราหมณ์ โดยมีการผสมผสานกับความเชื่อทางพระพุทธศาสนาเข้ามาในภายหลัง โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อเป็นการอุทิศส่วนกุศลให้แก่ดวงวิญญาณของบรรพชนและญาติที่ล่วงลับ ซึ่งเชื่อว่าได้รับการปล่อยตัวมาจากภูมินรกที่ตนต้องจองจำอยู่เนื่องจากผลกรรมที่ตนได้เคยก่อไว้ตอนที่ยังมีชีวิตอยู่ โดยจะเริ่มปล่อยตัวจากภูมินรกในทุกวันแรม 1 ค่ำ เดือน 10 เพื่อมายังโลกมนุษย์ โดยมีจุดประสงค์ในการมาขอส่วนบุญจากลูกหลานญาติพี่น้องที่ได้เตรียมการอุทิศไว้ให้ เป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้ล่วงลับ หลังจากนั้นก็จะกลับไปยังภูมินรก ในวันแรม 15 ค่ำ เดือน 10 ช่วงระยะเวลาในการประกอบพิธีกรรมของประเพณีสารทเดือนสิบ จะมีขึ้นในวันแรม 1 ค่ำ ถึง วันแรม 15 ค่ำ เดือน 10 ของทุกปี แต่สำหรับวันที่ชาวใต้มักจะนิยมทำบุญกันมากคือ วันแรม 13 ถึง 15 ค่ำ ประเพณีวันสารทเดือนสิบ โดยในส่วนใหญ่แล้วจะตรงกับเดือนกันยายน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเพณีสารทเดือนสิบ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบังกลาเทศ

ังกลาเทศ (বাংলাদেশ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ (গণপ্রজাতন্ত্রী বাংলাদেশ) เป็นประเทศในเอเชียใต้ ซึ่งครอบครองเนื้อที่ในส่วนตะวันตกของภูมิภาคเบงกอล คำว่า "บังกลาเทศ (Bangladesh)" แปลว่า "ประเทศแห่งเบงกอล" ถูกล้อมรอบประเทศอินเดีย 3 ด้าน ยกเว้นพรมแดนด้านใต้ติดอ่าวเบงกอล และตะวันออกเฉียงใต้ติดประเทศพม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศบังกลาเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟีจี

ฟีจี (Fiji,; Viti; ฮินดีฟีจี: फ़िजी) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฟีจี (Republic of Fiji; Matanitu ko Viti; ฮินดีฟีจี: फ़िजी गणराज्य) ตั้งอยู่บนหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศวานูวาตู ทางทิศตะวันตกของประเทศตองงา และทางทิศใต้ของประเทศตูวาลู.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศฟีจี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศภูฏาน

ประเทศภูฏาน (Bhutan; บูตาน) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรภูฏาน เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียที่มีขนาดเล็ก และมีภูเขาเป็นจำนวนมาก ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัยระหว่างประเทศอินเดียกับประเทศจีน ชื่อในภาษาท้องถิ่นของประเทศคือ Druk Yul แปลว่า "ดินแดนของมังกรสายฟ้า (Land of the Thunder Dragon)" นอกจากนี้ยังเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Druk Tsendhen และชื่อเพลงชาติ เนื่องจากที่ภูฏาน เสียงสายฟ้าฟาดถือเป็นเสียงของมังกร ส่วนชื่อ ภูฏาน (Bhutan) มาจากคำสมาสในภาษาบาลี ภู-อุฏฺฏาน อันมีความหมายว่า "แผ่นดินบนที่สูง" (ในภาษาฮินดี สะกด भूटान ถอดเป็นตัวอักษรคือ ภูฏาน).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาดากัสการ์

มาดากัสการ์ (Madagascar; Madagasikara) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมาดากัสการ์ (République de Madagascar; Repoblikan'i Madagasikara) คือชาติเกาะในมหาสมุทรอินเดีย ตั้งอยู่นอกชายฝั่งทางตะวันออกของแอฟริกา ใกล้กับโมซัมบิก เกาะมาดากัสการ์ที่เป็นเกาะหลักเป็นเกาะใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก เป็นถิ่นของสายพันธุ์พืชและสัตว์ถึงร้อยละ 5 ของโลก และมีมากกว่าร้อยละ 80 ที่เป็นสัตว์หรือพืชเฉพาะถิ่นมาดากัสการ์ ที่เด่นคือตัวลีเมอร์ซึ่งอยู่ในตระกูลไพรเมต ตัวฟอสซา (fossa) ซึ่งกินเนื้อ นกเฉพาะถิ่น 3 ตระกูล และต้นบาวบับ (baobab) 6 ชนิด ภาษาหลักคือภาษามาลากาซี สมดุลทางธรรมชาติของมาดากัสการ์ถูกคุกคาม เนื่องจากป่าส่วนใหญ่เสียหาย และลีเมอร์ได้สูญพันธุ์ถึง 15 สายพัน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศมาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศศรีลังกา

รีลังกา (ශ්රී ලංකා; இலங்கை) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา (ශ්රී ලංකා ප්රජාතාන්ත්රික සමාජවාදී ජනරජය; இலங்கை சனநாயக சோசலிசக் குடியரசு) เป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ นอกชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของอนุทวีปอินเดีย ชื่อในอดีตได้แก่ ลังกา ลังกาทวีป สิงหลทวีป และ ซีลอน ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ในสมัยอาณานิคมจนถึง พ.ศ. 2517 มีพรมแดนทางทะเลติดต่อกับอินเดียทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และมัลดีฟส์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลีย

ออสเตรเลีย (Australia) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นประเทศซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย, เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ มันเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลกเมื่อนับพื้นที่ทั้งหมด ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลียประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเวลาอย่างน้อย 40,000 ปี ก่อนที่จะตั้งถิ่นฐานครั้งแรกของอังกฤษในศตวรรษที่ 18,Davison, Hirst and Macintyre, pp.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคาซัคสถาน

อัลมาตี คาซัคสถาน (Қазақстан,; Казахстан) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคาซัคสถาน (Қазақстан Республикасы; Республика Казахстан) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ครอบคลุมกว้างขวางในทวีปเอเชีย และเป็นสาธารณรัฐในอดีตสหภาพโซเวียต มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศในเอเชียกลาง ได้แก่ คีร์กีซถาน อุซเบกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน คาซัคสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต คาซัคสถานเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก อย่างไรก็ดี มีพื้นที่กึ่งทะเลทราย (steppe) อยู่มาก จึงมีประชากรเป็นอันดับที่ 57 มีประมาณ 6 คน/ตร.กม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศคาซัคสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตรินิแดดและโตเบโก

ตรินิแดดและโตเบโก (Trinidad and Tobago) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐตรินิแดดและโตเบโก (Republic of Trinidad and Tobago) เป็นชาติที่ตั้งอยู่ในทวีปอเมริกาใต้ตอนใต้ ตั้งอยู่ห่างจากชายฝั่งเวเนซุเอลา 11 กม. เป็นรัฐที่เป็นหมู่เกาะ ประกอบด้วย 2 เกาะเป็นหลักคือ เกาะตรินิแดด เกาะโตเบโก และเกาะเล็กอื่น ๆ อีก 21 เกาะ โดยตรินิแดดเป็นเกาะที่ใหญ่กว่าและมีประชากรมากกว่า ในขณะที่โตเบโกมีขนาดเล็กกว่า (303 ตารางกิโลเมตร ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นที่ประเทศทั้งหมด) และมีประชากรน้อยกว่า (50,000 คน ร้อยละ 4 ของจำนวนประชากรทั้งหมด) ในภาษาอังกฤษ พลเมืองมีชื่อเรียกเป็นทางการว่า Trinidadians (ชาวตรินิแดด) หรือ Tobagonians (ชาวโตเบโก) หรือ Citizens of Trinidad and Tobago (ชาวตรินิแดดและโตเบโก) แต่ก็มีชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า Trinis หรือ Trinbagonians ตรินิแดดและโตเบโกมีลักษณะต่างจากประเทศแคริบเบียนที่ใช้ภาษาอังกฤษประเทศอื่น ๆ คือมีการประกอบอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่ โดยมีพื้นฐานเศรษฐกิจอยู่บนปิโตรเลียมและปิโตรเคมี ผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากชาวอินเดียและชาวแอฟริกามีจำนวนรวมกันถึงเกือบร้อยละ 80 ของจำนวนประชากร ส่วนที่เหลือเป็นเชื้อชาติผสม ชาวยุโรป จีน และชาวซีเรีย-เลบานอน ตรินิแดดและโตเบโกมีชื่อเสียงในเรื่องงานคาร์นิวัลที่จัดก่อนฤดูถือบวชของคริสต์ (Lenten) และเป็นถิ่นกำเนิดของดนตรีสตีลแพน (steelpan) และการเต้นลิมโบ เมืองหลวง (กรุงพอร์ต-ออฟ-สเปน) เป็นผู้เสนอตัวเป็นที่ตั้งสำนักงานเลขาธิการถาวรเขตการค้าเสรีอเมริกา (Free Trade Area of the Americas: FTAA-ALCA).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศตรินิแดดและโตเบโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศติมอร์-เลสเต

ติมอร์-เลสเต (Timor-Leste,, ตีโมร์แลชตือ) หรือ ติมอร์ตะวันออก (Timór Lorosa'e) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต (República Democrática de Timor-Leste; Repúblika Demokrátika Timór-Leste) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่บนเกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยเกาะติมอร์ด้านตะวันออก เกาะอาเตารู (Atauro) และเกาะฌากู (Jaco) ที่อยู่ใกล้เคียง และเทศบาลโอเอกูซี (Oecusse) ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งตะวันตกของเกาะติมอร์ ติมอร์ตะวันออกถูกล้อมรอบโดยพื้นที่ของประเทศอินโดนีเซีย แต่เดิมประเทศติมอร์-เลสเตถูกปกครองโดยประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งได้ยึดครองติมอร์ตะวันออกเป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) และในปี พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) ติมอร์ตะวันออกได้แยกตัวเป็นอิสระ และได้รับเอกราชอย่างเต็มตัวเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002) เมื่อประเทศติมอร์ตะวันออกเข้าร่วมองค์การสหประชาชาติในปีเดียวกัน ก็ได้ตกลงว่าจะเรียกประเทศอย่างเป็นทางการว่า "ติมอร์-เลสเต" ซึ่งเป็นชื่อในภาษาโปรตุเก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศติมอร์-เลสเต · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซูรินาม

ซูรินาม (Suriname, Surinam,; Suriname,, ซือรีนาเมอ) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐซูรินาม (Republic of Suriname; Republiek Suriname) เดิมรู้จักกันในชื่อ "ดัตช์เกียนา" เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางเหนือของทวีปอเมริกาใต้ ระหว่างเฟรนช์เกียนาทางทิศตะวันออกกับกายอานาทางทิศตะวันตก เขตแดนทางทิศใต้ติดต่อกับบราซิล ส่วนทางเหนือจรดมหาสมุทรแอตแลนติก พื้นที่ทางใต้สุดของประเทศกำลังเป็นกรณีพิพาทกับกายอานาและเฟรนช์เกียน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศซูรินาม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซีลอนในเครือจักรภพ

ประเทศซีลอนในเครือจักรภพThe Sri Lanka Independence Act 1947 uses the name "Ceylon" for the new dominion; nowhere does that Act use the term "Dominion of Ceylon", which although sometimes used was not the official name) หรือ "ซีลอน" คืออดีตรัฐที่ดำรงสถานะก่อนหน้าสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา ปกครองภายใต้ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เป็นพระประม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศซีลอนในเครือจักรภพ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปากีสถาน

ปากีสถาน (Pakistan; پاکستان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน (Islamic Republic of Pakistan; اسلامی جمہوریہ پاکستان) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเอเชียใต้ มีพรมแดนติดกับประเทศอินเดีย อิหร่าน อัฟกานิสถาน และ จีน และมีชายฝั่งติดกับทะเลอาหรับ มีประชากรกว่า 150 ล้านคน มากเป็นอันดับ 6 ของโลก และเป็นประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม ใหญ่เป็นอันดับ 2 และเป็นสมาชิกที่สำคัญของ โอไอซี และเป็นหนึ่งในไม่กี่ประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียร์ไว้ในครอบครอง คำว่า "ปากีสถาน" ซึ่งมีความหมายว่า "ดินแดนของชนบริสุทธิ์" ในภาษาอูรดูและภาษาเปอร์เซียนั้น มาจากการรวมชื่อดินแดนในประเทศนี้ ประกอบด้วยปัญจาบ (Punjab) อัฟกาเนีย (Afghania) แคชเมียร์หรือกัศมีร์ (Kashmir) สินธ์ (Sindh) และบาลูจิสถาน (BaluchisTAN).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศปากีสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์

นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโอมาน

อมาน (Oman; عُمان) หรือชื่อทางการว่า รัฐสุลต่านโอมาน (Sultanate of Oman; سلطنة عُمان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ บนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาหรับ มีพรมแดนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทางตะวันตกติดกับซาอุดีอาระเบีย และทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับเยเมน มีชายฝั่งบนทะเลอาหรับทางใต้และตะวันออก และอ่าวโอมานทางตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากนี้ก็ยังมีดินแดนส่วนแยกอยู่ในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์อีกด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศโอมาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาล

ประเทศเนปาล หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล (Federal Democratic Republic of Nepal; सङ्घीय लोकतान्त्रिक गणतन्त्र नेपाल "สงฺฆีย โลกตานฺตฺริก คณตนฺตฺร เนปาล") เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียใต้ มีพื้นที่ 147,181 ตารางกิโลเมตร และประชากรประมาณ 27 ล้านคน ประเทศเนปาลเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 93 ของโลก และมีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 41 ของโลก ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัย มีพรมแดนทิศเหนือติดสาธารณรัฐประชาชนจีน ทิศใต้ ตะวันออกและตะวันตกติดสาธารณรัฐอินเดีย ประเทศเนปาลแยกจากประเทศบังกลาเทศด้วยฉนวนศิลิกูริ (Siliguri Corridor) แคบ ๆ ในประเทศอินเดีย และแยกจากประเทศภูฏานด้วยรัฐสิกขิมของอินเดีย กรุงกาฐมาณฑุเป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของประเทศ ภาคเหนือของประเทศเนปาลซึ่งเป็นแถบภูเขามีแปดจากสิบภูเขาสูงสุดในโลก ซึ่งรวมยอดเขาเอเวอร์เรสต์ จุดสูงสุดบนโลก ยอดเขากว่า 240 แห่งซึ่งสูงเกิน 6,096 เมตร (20,000 ฟุต) เหนือระดับน้ำทะเลอยู่ในประเทศเนปาล ส่วนภาคใต้มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์และชื้น ชาวเนปาลประมาณ 81.3% นับถือศาสนาฮินดู เป็นสัดส่วนสูงสุดในโลก ศาสนาพุทธมีความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์กับประเทศเนปาล และมีประชากรนับถือ 9% ตามด้วยศาสนาอิสลาม 4.4% Kiratism 3.1% ศาสนาคริสต์ 1.4% และวิญญาณนิยม 0.4% ประชากรสัดส่วนใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคภูเขา อาจระบุตัวว่าเป็นทั้งฮินดูและพุทธ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของธรรมชาติกลมเกลียวของทั้งสองความเชื่อในประเทศเนปาลก็เป็นได้ ประเทศเนปาลปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยตลอดประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ ราชวงศ์ศาหะปกครองตั้งแต่ปี 2311 เมื่อพระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศาหะทรงรวมราชอาณาจักรเล็ก ๆ จำนวนมาก จนปี 2551 สงครามกลางเมืองนานหนึ่งทศวรรษซึ่งเกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิเหมา) ตามด้วยการประท้วงใหญ่โดยพรรคการเมืองหลักทุกพรรค นำสู่ความตกลง 12 ข้อ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2548 การเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 1 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2551 ซึ่งตามมาสนับสนุนการเลิกราชาธิปไตยและการสถาปนาสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนหลายพรรคการเมืองอย่างท่วมท้น แม้ความท้าทายทางการเมืองยังดำเนินไป แต่กรอบนี้ยังอยู่ โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 2 ซึ่งได้รับเลือกตั้งในปี 2556 ในความพยายามเพื่อร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ประเทศเนปาลเป็นประเทศกำลังพัฒนาโดยมีเศรษฐกิจรายได้ต่ำ อยู่ในอันดับที่ 145 จาก 187 ประเทศในดัชนีการพัฒนามนุษย์ในปี 2557 ประเทศเนปาลยังเผชิญกับความหิวและความยากจนระดับสูง แม้ความท้าทายเหล่านี้ ประเทศเนปาลยังคงมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง โดยรัฐบาลผูกมัดยกระดับประเทศจากสถานภาพประเทศด้อยพัฒนาภายในปี 2565.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและประเทศเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

ปรัมบานัน

ันดีปรัมบานัน (Candi Prambanan) หรือ จันดีราราจงกรัง (Candi Rara Jonggrang) คือเทวสถานในศาสนาฮินดูที่ใหญ่ที่สุดในประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ในเขตชวากลาง ห่างจากเมืองยกยาการ์ตาไปทางตะวันออกประมาณ 18 กิโลเมตร ตัววัดนั้นสร้างขื้นเมื่อราวปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและปรัมบานัน · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทบันทายสำเหร่

ปราสาทบันทายสำเหร่ ปราสาทบันทายสำเหร่ (ប្រាសាទបន្ទាយសំរែ บอนตีย์สำแร) ปราสาทนี้ได้รับการบูรณะโดยช่างชาวฝรั่งเศสด้วยวิธี Anastylose เสนีย์ เกษมวัฒนากุล, บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2539, หน้า 69 ซึ่งเป็นวิธีซ่อมแซมโดยคงสภาพเดิมของปราสาทไว้ให้มากที่สุด จะไม่มีการต่อเติมหรือเพิ่มลวดลายขึ้นมาใหม่ โดยมีขั้นตอนดังนี้ ช่างจะทำแผนผังส่วนประกอบต่าง ๆ ของปราสาทไว้ทั้งหมด จากนั้นก็ค่อยๆ รื้อชิ้นส่วนต่าง ๆ ลงมา โดยจะทำเครื่องหมายและถ่ายภาพชิ้นส่วนทุกชิ้น จากนั้นก็ทำการปรับพื้นฐานล่างของปราสาทให้มั่นคงแข็งแรง แล้วสุดท้ายจึงประกอบชิ้นส่วนทั้งหมดกลับเข้าไปเหมือนเดิม การบูรณะปราสาทด้วยวิธีนี้ช่างฮอลันดาเป็นผู้คิดค้นขึ้นและใช้ครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเซีย สำหรับในประเทศไทยเคยใช้กับการบูรณะปราสาทหินพิมายและปราสาทหินเขาพนมรุ้ง ปราสาทบันทายสำเหร่ตั้งอยู่นอกเมืองพระนครไปทางตะวันออก นักวิชาการสันนิษฐานว่าสร้างในสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 หรืออาจจะเป็นสมัยพระเจ้ายโศวรมันที่ 2 เป็นเทวสถานฮินดู ศิลปะแบบนครวัด ภาพสลักส่วนใหญ่แสดงเรื่องราวเกี่ยวกับเรื่องรามเกียรติ์ มีการแกะลายที่ชัดเจน ลึกและหนักแน่น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและปราสาทบันทายสำเหร่ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทบาปวน

ปราสาทบาปวน (Baphuon, ប្រាសាទបាពួន) เป็นปราสาทขอมที่อยู่กลุ่มปราสาทนครวัด สร้างขึ้นในยุคพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 (พ.ศ. 1550-1600) ตั้งอยู่ในเมืองยโสธรปุระ ทางด้านทิศใต้ของปราสาทนครวัดประมาณ 30 กิโลเมตร ปราสาทบาปวนมีลักษณะเป็นรูปทรงพีระมิด มีฐานเป็นชั้น ๆ ส่วนบนสุด เป็นปราสาทประธานหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ลักษณะของตัวปราสาทประธานมียอดเรียวแหลม คล้ายกับปราสาทพนมรุ้ง มีระเบียงคตถึงสามชั้นที่เชื่อมต่อกันได้ตลอด โคปุระขนาดใหญ่สุด อยู่ทางด้านทิศตะวันออก เครื่องบนของโคปุระ ทำด้วยเครื่องไม้มุงกระเบื้อง ซึ่งผุผังไปตามกาลเวลา โดยมีร่องรอยของการเจาะคานไว้บนหน้าบัวของโคปุระ ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นที่ประดิษฐานของศิวลึงค์ทองคำ สัญลักษณ์แทนพระศิวะ แต่ได้สูญหายไปนานแล้ว ปราสาทบาปวนจัดได้ว่าเป็นต้นแบบของศิลปะแบบบาปวนโดยแท้จริง และเป็นศิลปะร่วมแบบเขมรของปราสาทในประเทศไทยหลายแห่งด้วยกัน ซึ่งลักษณะเด่นของศิลปะสมัยนี้ ได้แก่ ภาพสลักเล่าเรื่องทำเป็นช่องเล็ก ๆ ต่อเนื่องกันลงมาในแนวดิ่ง แต่ในสมัยที่พุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองเข้ามาแทนที่ในศาสนาพราหมณ์ ปราสาทบาปวนถูกรื้อลงไปโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เพื่อนำไปสร้างพระพุทธรูปปางไสยาสน์ขนาดใหญ่ที่อยู่ด้านหลังปราสาท ร่องรอยต่าง ๆ ถูกโกลนเพื่อให้เข้ากับลักษณะของพระพุทธรูปปางไสยาสน์ ทางรัฐบาลฝรั่งเศสจึงได้ทำการรื้อและสำรวจทำหมายเลขกันใหม่ จนกระทั่งมาถึงยุคเขมรแดง เอกสารแผนผังการจัดทำการบูรณะปราสาทบาปวนถูกเผาทำลายจนราบเรียบ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2538 ปราสาทบาปวนได้ถูกบูรณะอีกครั้งโดยความช่วยเหลือจากรัฐบาลฝรั่งเศส จนแล้วเสร็จและมีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 และได้เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมได้ โดยได้รับการกล่าวขานว่าเป็นปราสาทที่สวยที่สุดในกลุ่มปราสาทนครวั.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและปราสาทบาปวน · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทพระวิหาร

ปราสาทพระวิหาร (ប្រាសាទព្រះវិហារ บฺราสาทพฺระวิหาร; Temple of Preah Vihear) เป็นปราสาทหินตามแบบศาสนาฮินดูที่ตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก (ភ្នំដងរែក ภฺนํฎงแรก; "ภูเขาไม้คาน") สูงจากระดับทะเลปานกลาง 657 เมตร ที่ตั้งของศาสนสถานแห่งนี้รู้จักกันในนาม เขาพระวิหาร (ភ្នំព្រះវិហារ ภฺนํพฺระวิหาร) อยู่ใกล้อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งเคยเป็นทางขึ้นสู่ปราสาทที่สะดวกที่สุด ปราสาทพระวิหารมีสถาปัตยกรรมแบบเขมร สร้างตามแนวเหนือใต้ซึ่งผิดแปลกไปจากปราสาทขอมส่วนใหญ่ ไทยและกัมพูชามีประวัติพิพาทเหนือตัวปราสาทเป็นเวลานานแล้ว ใน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและปราสาทพระวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทขอม

ปราสาทเขมร หรือ ปราสาทขอม เป็นศาสนสถานในศาสนาพราหมณ์ ที่สร้างขึ้นโดยอาณาจักรเขมร ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 เป็นต้นมา พบมากในประเทศกัมพูชา และในเขตอีสานใต้ของประเทศไทย ปราสาทขอมก่อสร้างด้วยวัสดุอิฐ หินทราย และศิลาแลง ด้วยศิลปะเขมร ในประเทศไทยมีปราสาทขอมในที่ราบสูงอีสานทั้งสิ้น ๑๕๕ แห่งได้แก่ จังหวัดนครราชสีมาจำนวน ๓๗ แห่งแล้ว จังหวัดบุรีรัมย์อีก ๕๐ แห่ง จังหวัดสุรินทร์มีอยู่จำนวน ๓๑ แห่ง จังหวัดชัยภูมิ ๖ แห่ง จังหวัดร้อยเอ็ด ๑๔ แห่ง จังหวัดศรีสะเกษ ๑๑ แห่ง และจังหวัดอุบลราชธานีอีก ๖ แห่ง ส่วนมากมักถูกทำลายเหลือเพียงบางส่วน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและปราสาทขอม · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทนาคพันธ์

ระน้ำตรงกลางของปราสาทนาคพันธ์ ถนนไปที่วัด ปราสาทนาคพันธ์ (ប្រាសាទនាគព័ន្ធ บฺราสาทนาคพันฺธ; Neak Pean / Neak Poan) เป็นปราสาทขนาดเล็ก ตั้งอยู่บนฐานกลมที่มีลักษณะซ้อนลดหลั่นกันลงไปเป็นชั้น ๆ ชั้นสุดท้ายเป็นรูปพญานาค 7 เศียร 2 ตัว โอบล้อมฐานของปราสาทโดยหันส่วนหัวไปทางทิศตะวันออก และส่วนหาง วนอ้อมฐานมาบรรจบกันทางทิศตะวันตก ที่ฐานของปราสาทจำหลักรูปดอกบัวรองรับตัวปราสาท และมีรูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรประดิษฐานอยู่ที่ปราสาททั้ง 4 ทิศ ปราสาทนาคพันธ์ สร้างอยู่กลางสระสี่เหลี่ยมจตุรัสขนาดใหญ่ มีบ่อน้ำขนาดเล็กตั้งอยู่โดยรอบทั้ง 4 ทิศ แต่ละบ่อมีส่วนที่เชื่อมต่อกับสระใหญ่ตรงกลางเพื่อให้น้ำจากสระใหญ่สามารถไหลไปสู่บ่อเล็กได้ การก่อสร้างปราสาทนาคพันธ์น่าจะเกี่ยวข้องกับคติความเชื่อทางศาสนา ผังของปราสาทเป็นลักษณะการจำลองของสระอโนดาต สระอโนดาตเป็นสระน้ำบนสวรรค์มีน้ำที่ใสสะอาดและเต็มเปี่ยมอยู่ตลอดเวลา มีท่าน้ำอยู่ 4 ท่า น้ำในสระอโนดาตจะไหลออกตามช่องภูเขาที่ตั้งอยู่ทั้ง 4 ทิศของสระ ซึ่งปากช่องของภูเขาแต่ละลูกจะเป็นรูปหน้าของสัตว์ 4 ชนิด คือ สิงห์ ช้าง ม้า และวัว ใน "ย้อนรอยอารยะเมืองพระนคร" ซึ่งเขียนโดย ชากส์ คูมาร์เชย์ และแปลโดยอาจารย์วีระ ธีรภัทร ได้กล่าวถึงรูปจำหลักในทิศทั้ง 4 ของปราสาทนาคพันธ์ว่า ที่สระน้ำทางทิศตะวันตกมีหินสลักเป็นรูปหัวมนุษย์ สระน้ำทางทิศเหนือมีหินสลักเป็นรูปหัวช้าง สระน้ำทางทิศตะวันออกมีหินสลักเป็นรูปหัวม้า และสระน้ำทางทิศใต้มีหินสลักเป็นรูปหัวสิงห์ จะเห็นว่าช่างขอมจำหลักรูปหน้าสัตว์ประจำทิศในแต่ละทิศตามคติความเชื่อเรื่องสระอโนดาต แต่ในทิศตะวันตกกลับจำหลักรูปหน้าคนแทนหน้าวัว คติความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับการสร้างปราสาทนาคพันธ์มีทั้งความเชื่อทางพุทธศาสนาและศาสนาฮินดูปะปนกัน ตัวปราสาทกลางสระสร้างตามความเชื่อทางศาสนาพุทธ แต่ไม่ปรากฏรูปพระพุทธเจ้ากลับมีรูปสลักของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรแทน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและปราสาทนาคพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทเมืองต่ำ

ปราสาทเมืองต่ำ เป็นหนึ่งในกลุ่มปราสาทมรรคโค เป็นศาสนสถานที่สร้างตามคติความเชื่อทางศาสนาฮินดู สันนิษฐานว่าสร้างขึ้น เพื่อถวายพระศิวะ มีลักษณะเป็นศาสนสถานประจำเมืองหรือประจำชุมชน ตั้งอยู่บริเวณหน้าวัดปราสาทบูรพาราม ตำบลจระเข้มาก อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ คำว่า เมืองต่ำ ไม่ใช่ชื่อดั้งเดิม แต่เป็นชื่อที่ชาวพื้นเมืองเรียกโบราณสถานแห่งนี้ เพราะปราสาทแห่งนี้ตั้งอยู่บนพื้นราบ ส่วนปราสาทพนมรุ้งตั้งอยู่บนเชิงเขา ซึ่งทั้งปราสาทเมืองต่ำและปราสาทพนมรุ้งอยู่ไม่ห่างกันมาก คือห่างกันเพียง 8 กิโลเมตร นอกจากนี้ วัสดุส่วนหนึ่งจากโบราณสถาน และโบราณวัตถุ ของปราสาทเมืองต่ำ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงนำมาเป็นส่วนประกอบในการทำพระเครื่อง ที่เรียกว่า "พระสมเด็จจิตรลดา" อีกด้วย ปราสาทเมืองต่ำ เป็นศาสนาสถาน ศิลปะขอมแบบบาปวน อายุประมาณ..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและปราสาทเมืองต่ำ · ดูเพิ่มเติม »

ปรางค์

นครวัด กัมพูชา ปรางค์ หรือ พระปรางค์ เป็นสิ่งก่อสร้างประเภทหนึ่งในงานสถาปัตยกรรมไทย เป็นหลักประธานในวัดเช่นเดียวกับพระเจดีย์ แต่เดิมถือว่าเป็นงานสถาปัตยกรรมที่มีรูปแบบลักษณะเฉพาะของขอม โดยมีคติความเชื่อในศาสนาฮินดู ว่าเป็นสัญลักษณ์ของเขาพระสุเมร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและปรางค์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลัดขิก

ปลัดขิกทำจากไม้รัก ปลัดขิก เป็นรูปจำลองอวัยวะเพศชาย มักทำด้วยไม้ ใช้เป็นเครื่องรางของขลัง อ้ายขิก, ไอ้ขิก หรือ ขุนเพ็ด ก็เรียก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและปลัดขิก · ดูเพิ่มเติม »

ปลากรายอินเดีย

ปลากรายอินเดีย (চিতল, அம்பட்டன்வாளை, சொட்டைவாளை, அம்புட்டன் வாழ) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากราย (Notopteridae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายปลากราย (C. ornata) เพียงแต่ปลากรายอินเดียจะมีรูปร่างที่เพรียวกว่า เกล็ดมีขนาดเล็กกว่า บริเวณสันหลังยังมีสีเหลือบทองและยังมีแถบสีเงินเป็นบั้ง ๆ ซึ่งในปลากรายจะไม่มี ลายจุดจะมีลักษณะคล้ายปลาตองลาย (C. blanci) คือ เป็นจุดเล็กกว่าปลากราย แต่ปลากรายอินเดียจะไม่มีจุดมากเท่าปลาตองลาย หรือในบางตัวอาจไม่มีเลย และจุดดังกล่าวเป็นแต้มสีดำไม่มีขอบขาวเป็นวงรอบ และอยู่ค่อนข้างไปทางท้ายลำตัว ปลาในวัยเล็กจะยังไม่มีบั้งสีเงิน พบในภูมิภาคเอเชียใต้ ซึ่งปลาชนิดนี้ในความเชื่อของศาสนาฮินดู พระนารายณ์ได้อวตารลงมาเป็นปลากรายทองในชื่อปาง "มัตสยาวตาร" ชาวฮินดูจึงถือว่าปลาชนิดนี้เป็นปลาศักดิ์สิทธิ์ แต่ก็นิยมใช้บริโภคในท้องถิ่น นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่มีราคาสูง เนื่องจากเป็นปลาที่หายาก อนึ่ง โดยมากแล้วในการอ้างอิงทางอนุกรมวิธาน มักจะจัดให้ปลากรายอินเดียเป็นชนิดเดียวกับปลากราย โดยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ซ้ำซ้อนกัน แต่ความจริงแล้ว ปลาทั้งสองชนิดนี้เป็นปลาคนละชนิดกัน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและปลากรายอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ปากีสถานตะวันออก

ปากีสถานตะวันออก (East Pakistan; পূর্ব পাকিস্তান Purbo Pākistān; مشرقی پاکستان Mašriqī Pākistān) เป็นดินแดนที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของประเทศปากีสถาน ซึ่งอยู่ในดินแดนเบงกอล ระหว่าง..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและปากีสถานตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ปางนาคปรก

ลักษณะพระพุทธรูปนาคปรก (เดิม) ลักษณะพระพุทธรูปนาคปรก (ปัจจุบัน) นาคปรก เป็นชื่อเรียกพระพุทธรูปลักษณะนั่งสมาธิ และมีพญานาคแผ่หัวเป็นพังพานขึ้นจากไหล่ไปปรกพระเศียรของพระพุทธรูป แต่เดิมทำเป็นรูปพญานาคเป็นมนุษย์ มีรูปงู 7 หัวเป็นพังพานขึ้นจากไหล่ไปปรกพระเศียร (ศีรษะ) ในกิริยาที่พญานาคทำท่านมัสการพระพุทธเจ้า ต่อมาภายหลังทำพญานาคเป็นรูปงูขดตัวเป็นฐานตั้งพระพุทธรูปนั่งสมาธิบนตัวพญานาค และมีพังพานและหัวของพญานาค 7 เศียรปรกอยู.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและปางนาคปรก · ดูเพิ่มเติม »

ปืนคาบศิลา

ปืนคาบศิลาและดาบปลายปืน ปืนคาบศิลา (musket) เป็นปืนที่ใช้ดินปืน(ดิน"แรงดันต่ำ")ตำกรอกทางปากกระบอกปืน จากนั้นรอง"หมอน"นุ่น หรือผ้า แล้วใส่หัวกระสุนทรงกลม ปิดด้วยหมอนอีกชั้น ปืนชนิดนี้เมื่อบรรจุกระสุนไว้ต้องถือตั้งตรงตลอด ไม่งั้นกระสุนอาจไหลออกจากปากลำกล้อง เวลาจะยิงต้องใช้ หิน"คาบศิลา"(หินไฟ-Flint) ตอกกระทบโลหะ หรือกระทบกันเอง (มักทำเป็น คอนกติดหินไฟ ผงกด้วยสปริง) เพื่อจุดดินขับในถ้วยที่โคนปืน ให้ไฟแล่บติดดินขับ วิ่งเข้าไปทางรูที่ท้ายลำกล้อง แล้วจึงเกิดการลุกไหม้ในดินปืน ระเบิดกระสุนออกไป ปืนชนิดนี้เป็นต้นแบบของปืนไรเฟิลในปัจจุบันด้วย ไม่มีผู้ทราบว่าใครประดิษฐ์ขึ้น แต่ว่าในเอกสารทางการทหารของจีนได้มีการกล่าวถึงอาวุธชนิดหนึ่งเรียกว่า "หั่วหลงจิง (火龙经)" ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 ในแรกเริ่มปืนคาบศิลาไค้มีการออกแบบให้ใช้กับทหารราบเท่านั้น และได้มีการปรับปรุงขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรม เช่นมีเกลียวในลำกล้อง การมีกล้องเล็ง มีกระสุนปลายแหลมซี่งแต่เดิมนั้นเป็นลูกกลมๆ และในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ก็มีการประดิษฐ์ปืนชนิดที่บรรจุกระสุนทางท้ายรังเพลิงปืนซึ่งแต่เดิมนั้นบรรจุกระสุนทางปากลำกล้องเข้ามาแทนที.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและปืนคาบศิลา · ดูเพิ่มเติม »

ปุราณะ

ระนางอัมพิกะ หรือทุรคา นำ'''มาตฤกา'''ทั้งแปด ไปรบกับอสูรชื่อ '''รักตพีช''' จากเรื่อง "เทวีมาหาตมยัม" ในคัมภีร์'''มารกัณเฑยปุราณะ''' ปุราณะ (पुराण, purāṇa, เก่าแก่, โบราณ) เป็นชื่อคัมภีร์ที่สำคัญประเภทหนึ่งในศาสนาฮินดู (หรือศาสนาเชน และพุทธศาสนา) โดยมากจะเป็นเรื่องเล่าว่าด้วยประวัติของจักรวาล นับตั้งแต่การสร้าง จนถึงการทำลาย (ประลัย) ลำดับพงศ์กษัตริย์ วีรบุรุษ ฤษี ทวยเทพ ตลอดจนจักรวาลวิทยา ปรัชญา และภูมิศาสตร์ของฮินดูด้วย เนื้อหาในปุราณะมักจะเน้นเทพเจ้าองค์ใดองค์หนึ่งโดยเฉพาะ เด่นด้วยแนวคิดเชิงศาสนาและปรัชญา ดำเนินเรื่องให้มีบุคคล (มักจะเป็นฤษี) เป็นผู้เล่าเรื่องให้อีกคนหนึ่งฟัง คัมภีร์ปุราณะแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ มหาปุราณะ และอุปปุราณ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและปุราณะ · ดูเพิ่มเติม »

ป่าหิมพานต์

กินรีและนาค หนึ่งในสัตว์หิมพานต์ ป่าหิมพานต์ หรือ หิมวันต์ เป็นป่าในวรรณคดีและความเชื่อในเรื่องไตรภูมิตามคติศาสนาพุทธและฮินดู มีความเชื่อว่า ป่าหิมพานต์ตั้งอยู่บนเชิงเขาพระสุเมรุ ป่าหิมพานต์มีเนื้อที่ประมาณ 3,000 โยชน์ (1 โยชน์ เท่ากับ 10 ไมล์ หรือ 16 กิโลเมตร) วัดโดยรอบได้ 9,000 โยชน์ ประดับด้วยยอด 84,000 ยอด มีสระใหญ่ 7 สระคือ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและป่าหิมพานต์ · ดูเพิ่มเติม »

ป้อมอัครา

ป้อมอัครา (Agra Fort, आगरा का किला, آگرہ قلعہ) เป็นอนุสรณ์สถานสำคัญ และมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโก ตั้งอยู่ที่เมืองอัครา รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย โดยอยู่ห่างจากอีกหนึ่งอนุสรณ์สถานสำคัญที่อยู่ใกล้เคียง คือ ทัชมาฮาล เป็นระยะทางประมาณ 2.5 กิโลเมตร ป้อมอัครานั้นถือเป็นเมืองขนาดเล็กๆที่ห้อมล้อมด้วยป้อมปราการอันใหญ่โต.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและป้อมอัครา · ดูเพิ่มเติม »

นกเค้า

นกเค้า หรือ นกเค้าแมว หรือ นกฮูก (Owl) เป็นนกที่อยู่ในอันดับ Strigiformes มีรูปใบหน้าคล้ายแมว อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ จับสัตว์เล็ก ๆ กินเป็นอาหาร เช่น หนู, งู หรือสัตว์เลื้อยคลานหรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำเล็ก ๆ ในขณะที่บางชนิดที่มีขนาดใหญ่อาจจับปลา หรือปูกินได้ด้วย จัดเป็นนกล่าเหยื่อจำพวกหนึ่งเหมือนเหยี่ยว, อินทรี และแร้ง ที่หากินในเวลากลางวัน ส่วนนกเค้าแมวนั้นมักหากินในเวลากลางคืน ทำให้มีเล็บโค้งแหลมและมีปากงุ้มแหลมสำหรับจับสัตว์กิน เหตุที่หากินในเวลากลางคืน เป็นเพราะนกเค้าแมวเป็นนกที่ไม่อาจสู้กับนกล่าเหยื่อในเวลากลางวัน อย่าง เหยี่ยวหรืออินทรีได้ อีกทั้งบางครั้งยังถูกนกที่มีขนาดเล็กกว่าอย่าง นกเอี้ยงหรือนกกิ้งโครงไล่จิกตีอีกต่างหาก เนื่องจากเป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืน จึงมีดวงตาโตกว่าเหยี่ยวและอินทรีมาก ดวงตาอยู่ด้านหน้าของใบหน้าเหมือนมนุษย์และสัตว์ตระกูลแมว หัวหมุนได้เกือบรอบตัวได้ถึง 270 องศา เนื่องจากมีกระดูกสันหลังตรงคอ 14 ชิ้น ซึ่งมากกว่าสัตว์ชนิดใด ๆ ในโลก หูของนกเค้าแมวมีความไวมากเป็นพิเศษสำหรับการฟังเสียงในเวลากลางคืนและหาเหยื่อ มีขนปีกอ่อนนุ่ม บินได้เงียบเพื่อไม่ให้เหยื่อรู้ตัว และมีประสาทสายตาที่มองเห็นได้ดีกว่ามนุษย์ถึง 100 เท่าโดยปกติแล้วตัวเมียมีขนาดโตกว่าตัวผู้ ตัวเมียเป็นตัวที่กกไข่ ตัวผู้ไม่กกไข่ มักพบก้อนที่สำรอกคายออกทิ้งลงมาที่พื้นเบื้องล่างในรังหรือบริเวณใกล้เคียงกับรัง เพราะนกเค้าแมวมักกลืนเหยื่อเข้าไปทั้งตัว กระดูกและขนที่ไม่ย่อยก็สำรอกออกมาเป็นก้อนทิ้งทีหลัง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและนกเค้า · ดูเพิ่มเติม »

นยายะ

ลัทธินยายะ (Nyaya; ภาษาสันสกฤต:ny-āyá) เป็นปรัชญาในศาสนาฮินดู คำว่านยายะมาจากภาษาสันสกฤตหมายถึงนำไปสู่ความจริงแท้ ลัทธินี้เริ่มขึ้นหลังพุทธกาลโดยมีฤๅษีโคตมะเป็นผู้แต่งนยายสูตร ต่อมาได้มีผู้แต่งคัมภีร์อธิบายความเพิ่มเติมต่อมาคือวาตสยายนะ แต่งนยายภาษยะ อุททโยตกระ แต่งวารติกะ และ วาจัสปติแต่งตาตปรยฎีกา ทำให้ได้คัมภีร์ในลัทธินยายะที่สมบูรณ์ ลัทธินี้มีความเห็นว่าชีวิตในโลกเต็มไปด้วยความทุกข์ และโมกษะเป็นสภาวะที่ดับทุกข์สิ้นเชิง ความทุกข์ของสัตว์โลกเกิดจากสังโยชน์หรือพันธนะเป็นเครื่องผูกมัดสรรพสัตว์ให้ติดอยู่ในสังสารวัฏ เหตุที่ทำให้เกิดโลกคือปรมาณูของธาตุทั้งสี่คือดินน้ำลมไฟ ปรมาณูของธาตุทั้งสี่นี้เกิดขึ้นเองไม่มีใครสร้างและทำลายได้ พระเจ้าทรงสร้างโลก โดยนำปรมาณูของธาตุทั้งสี่มารวมกันในสัดส่วนที่เหมาะสม และการทำลายโลกของพระเจ้าคือการที่ทรงแยกปรมาณูเหล่านี้ออกจากกัน ชีวาตมันหรือวิญญาณเป็นสภาวะที่เกิดขึ้นเองและดำรงอยู่ชั่วนิรันดร์ มนัสหรือจิตรเป็นสื่อในการรับรู้อารมณ์ของชีวาตมัน จนกระทั่งชีวาตมันบรรลุโมกษะจึงแยกออกจากมนัสได้โดยเด็ดขาด การเกิดคือการที่ชีวาตมันมาอาศัยในร่างกายและการตายคือการที่ชีวาตมันแยกออกจากร่างก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและนยายะ · ดูเพิ่มเติม »

นรสิงห์

ประติมากรรมนูนต่ำนรสิงห์สังหารหิรัณยกศิปุอสูร นรสิงห์แบบพม่า ที่เจดีย์ชเวดากอง นรสิงห์ หรือ นรสีห์ (नरसिंह, Narasimha) เป็นอวตารร่างที่ 4 ของพระนารายณ์ตามเนื้อเรื่องในคัมภีร์ปุราณะ อุปนิษัท และคัมภีร์อื่น ๆ ของศาสนาฮินดู โดยมีร่างกายท่อนล่างเป็นมนุษย์ และร่างกายท่อนบนเป็นสิงโต นรสิงห์เป็นผู้สังหารหิรัณยกศิปุ อสูรตนซึ่งได้รับพรจากพระพรหมว่าจะไม่ถูกสังหารโดยมนุษย์หรือสัตว์ นรสิงห์เป็นที่รู้จักและบูชาโดยทั่วไป หิรัณยกศิปุบำเพ็ญตบะเป็นเวลานาน จนได้รับพรจากพระพรหม ให้เป็นผู้ที่ฆ่าไม่ตายจากมนุษย์, สัตว์, เทวดา ให้ฆ่าไม่ตายทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน ให้ฆ่าไม่ตายทั้งจากอาวุธและมือ ให้ฆ่าไม่ตายทั้งในเรือนและนอกเรือน หิรัณยกศิปุ ได้อาละวาดสร้างความเดือดร้อนไปทั่วทั้งสามภพ พระอินทร์จึงทูลเชิญพระนารายณ์อวตารเกิดมาเป็น นรสิงห์ คือ มนุษย์ครึ่งสิงห์ นรสิงห์สังหารหิรัณยกศิปุด้วยกรงเล็บด้วยการฉีกอก ที่กึ่งกลางบานประตู ในเวลาโพล้เพล้ ก่อนตาย นรสิงห์ได้ถามหิรัณยกศิปุว่า สิ่งที่ฆ่าเจ้าเป็นมนุษย์หรือสัตว์หรือเทวดาหรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ สิ่งที่สังหารเป็นมือหรืออาวุธหรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ ในเรือนหรือนอกเรือนหรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ และเป็นเวลากลางวันหรือกลางคืนหรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ นรสิงห์จึงประกาศว่า บัดนี้ พรที่ประทานจากพระพรหมได้สลายไปสิ้นแล้ว เทวดาทั้งสามภพจึงยินดี รูปประติมากรรมหรือรูปวาดของนรสิงห์ตอนสังหารหิรัณยกศิปุ จึงมักสลักมีรูปเทวดาองค์เล็ก ๆ 2 องค์อยู่ข้างล่างแสดงกิริยายินดีด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและนรสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

นักสิทธิ์

นักสิทธิ์ หมายถึง ผู้สำเร็จด้านจิตวิญญาณ เพราะมีศรัทธาแรงกล้าและคุณธรรมสูงราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทย, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 236-7 มาจากคำว่า สิทฺธ ในภาษาสันสกฤต ซึ่งแปลว่าผู้สำเร็.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและนักสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

นาลันทา

250px โบราณสถานในนาลันทา ด้านหน้า โบราณสถานในนาลันทา ด้านหลัง นาลันทา เป็นชื่อเมือง ๆ หนึ่งในแคว้นมคธ อยู่ห่างจากพระนครราชคฤห์ประมาณ 1 โยชน์ (ประมาณ 16 กิโลเมตร) ณ เมืองนี้มีสวนมะม่วง ชื่อ ปาวาริกัมพวัน (สวนมะม่วงของปาวาริกเศรษฐี) ซึ่งพระพุทธเจ้าเสด็จมาประทับแรมหลายครั้งคัมภีร์ฝ่ายมหายานกล่าวว่า พระสารีบุตรและพระมหาโมคคัลลานะ ซึ่งเป็นอัครสาวก เกิดที่เมืองนาลันทา แต่คัมภีร์ฝ่ายบาลีเรียกถิ่นเกิดของ พระสารีบุตรว่า หมู่บ้านนาลกะหรือนาลันทคาม "นาลันทามหาวิชชาลัยของพุทธศาสนานิกายมหายาน".

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและนาลันทา · ดูเพิ่มเติม »

นาค

นาคสะดุ้ง ประติมากรรมตามบันไดทางขึ้นโบสถ์ของวัดไทย ตามความเชื่อในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นาค (नाग Nāga) เป็นงูขนาดใหญ่มีหงอน เป็นสัญลักษณ์แห่งความยิ่งใหญ่ ความอุดมสมบูรณ์ ความมีวาสนา อีกทั้งยังเป็นสัญลักษณ์ของบันไดสู่จักรวาลอีกด้วย ต้นกำเนิดความเชื่อเรื่องพญานาคน่าจะมาจากอินเดีย ด้วยมีปกรณัมหลายเรื่องเล่าถึงพญานาค โดยเฉพาะในมหากาพย์มหาภารตะ นาคถือเป็นปรปักษ์ของครุฑ ส่วนในตำนานพุทธประวัติ ก็เล่าถึงพญานาคไว้หลายครั้งด้วยกัน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยังมีตำนานเรื่องพญานาคอย่างแพร่หลาย ชาวบ้านในภูมิภาคนี้มักเชื่อกันว่าพญานาคอาศัยอยู่ในแม่น้ำโขง หรือเมืองบาดาล และเชื่อกันว่าเคยมีคนเคยพบรอยพญานาคขึ้นมาในวันออกพรรษาโดยจะมีลักษณะคล้ายรอยของงูขนาดใหญ่ ลักษณะของพญานาคตามความเชื่อในแต่ละภูมิภาคจะแตกต่างกันไป แต่พื้นฐานคือพญานาคนั้นมีลักษณะตัวเป็นงูตัวใหญ่มีหงอนสีทองและตาสีแดง เกล็ดเหมือนปลามีหลายสีแตกต่างกันไปตามบารมี บ้างก็มีสีเขียว บ้างก็มีสีดำ หรือบ้างก็มี 7 สี เหมือนสีของรุ้ง และที่สำคัญคือนาคตระกูลธรรมดาจะมีเศียรเดียว แต่ตระกูลที่สูงขึ้นไปนั้นจะมีสามเศียร ห้าเศียร เจ็ดเศียรและเก้าเศียร นาคจำพวกนี้จะสืบเชื้อสายมาจาก พญาเศษะ (อนันตนาคราช) ผู้เป็นบัลลังก์ของพระวิษณุนารายณ์ปรมนาท ณ เกษียรสมุทร อนันตนาคราชนั้นเล่ากันว่ามีกายใหญ่โตมหึมามีความยาวไม่สิ้นสุด มีพันศีรษะ พญานาคนั้นมีทั้งเกิดในน้ำและบนบก เกิดจากครรภ์และจากไข่ มีอิทธิฤทธิ์สามารถบันดาลให้เกิดคุณและโทษได้ นาคนั้นมักจะแปลงร่างเป็นมนุษย์รูปร่างสวยงาม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและนาค · ดูเพิ่มเติม »

นางกวัก (เทพปกรณัม)

นางกวัก เป็นเทพีแห่งโชคลาภตามคติไทย มีลักษณะเป็นรูปศักดิ์สิทธิ์ทำเป็นรูปหญิงสวมเครื่องแต่งกายและเครื่องประดับอย่างธรรมเนียมไทย นั่งพับเพียบ มือซ้ายวางลงแตะข้างลำตัวหรือวางบนตัก ส่วนมือขวายกขึ้นระดับไหล่ทำท่ากวักมือหรือเรียกเข้ามาหาทิพยประติมา, หน้า 201 เชื่อว่าเทพีองค์นี้จะกวักมือเรียกทรัพย์ เป็นที่นับถืออย่างยิ่งในหมู่พ่อค้าแม่ขายชาวไทยเพราะถือว่าเทพีองค์นี้จะเรียกลูกค้าเข้ามาอุดหนุนสินค้าในร้านทิพยประติมา, หน้า 203.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและนางกวัก (เทพปกรณัม) · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเลอมะก์

นาซีเลอมะก์ห่อด้วยใบตอง นาซีเลอมะก์ (nasi lemak) หรือที่ในภาษามลายูปัตตานีเรียกว่า นาซิ ลือเมาะ (ออกเสียง) เป็นข้าวเจ้าหุงกับกะทิ ซึ่งพบในมาเลเซีย บรูไน สิงคโปร์ หมู่เกาะเรียว และภาคใต้ของประเทศไทย มาเลเซียกล่าวว่าอาหารชนิดนี้เป็นอาหารประจำชาติและเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของมาเลเซีย แม้ว่าจะมีการแพร่กระจายในบริเวณอื่น ๆ อาหารนี้เป็นคนละชนิดกับนาซีดากัง (นาซิ ดาแกฺ) ซึ่งเป็นที่นิยมทางชายฝั่งตะวันออกของคาบสมุทรมลายู คือกลันตันและตรังกานู แต่ทั้งนาซีเลอมะก์และนาซีดากังก็เป็นอาหารเช้าที่แพร่หลาย คำว่านาซีเลอมะก์ในภาษามลายูหมายถึงข้าวมัน โดยนำข้าวไปแช่ในกะทิ แล้วนำส่วนผสมไปนึ่ง กระบวนการปรุงคล้ายกับอาหารอินโดนีเซียคือนาซีอูดุก์ บางครั้งจะเติมใบเตยหอมลงบนข้าวขณะนึ่งเพื่อให้เกิดกลิ่นหอม อาจเพิ่มเครื่องเทศบางชนิด ได้แก่ ขิงและตะไคร้ เพื่อเพิ่มความหอม การรับประทานแบบพื้นบ้านจะห่อด้วยใบตอง ใส่แตงกวาหั่น ปลาร้าทอด (ikan bilis) ถั่วลิสงอบ ไข่ต้มแข็ง และซัมบัลซึ่งเป็นซอสมีลักษณะคล้ายน้ำพริก รสเผ็ด นาซีเลอมะก์นี้อาจจะรับประทานคู่กับไก่ทอด (ayam goreng) ผักบุ้งผัด หมึกผัดพริก (sambal sotong) หอยแครง อาจาด เรินดังเนื้อ (แกงเนื้อกับกะทิและเครื่องเทศ) หรือปอดวัว (paru) อาหารเหล่านี้ส่วนใหญ่มีรสเผ็ด นาซีเลอมะก์เป็นที่นิยมรับประทานในมาเลเซียและสิงคโปร์ นิยมกินเป็นอาหารเช้าทั้งสองประเทศ หรือรับประทานในภัตตาคารเป็นอาหารกลางวันหรืออาหารเย็น มีขายทั้งในศูนย์อาหารของสิงคโปร์และข้างถนนในมาเลเซีย นาซีเลอมะก์กูกุซ (nasi lemak kukus) หรือข้าวมันนึ่ง เป็นอีกชื่อหนึ่งของนาซีเลอมะก์ที่ปรุงให้สุกด้วยการนึ่ง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและนาซีเลอมะก์ · ดูเพิ่มเติม »

นครวัด

นครวัด (អង្គរវត្ត) เป็นหมู่ปราสาทในประเทศกัมพูชาและเป็นศาสนสถานที่ใหญ่ที่สุดในโลก ด้วยพื้นที่รวมกว่า 162.6 เฮกเตอร์ (1.6 ล้านตารางเมตร ซึ่งเท่ากับ 402 เอเคอร์) แรกเริ่มนั้นสร้างขึ้นเป็นเทวลัยในศาสนาฮินดูเพื่ออุทิศแด่พระวิษณุ ก่อนจะค่อยๆเปลี่ยนแปลงกลายเป็นวัดในศาสนาพุทธในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 12 นครวัดสร้างขึ้นในช่วงต้นของคริสศตวรรษที่ 12 โดยพระเจ้าสูรยวรรมันที่ 2 แห่งเมืองยโสธรปุระ (ในปัจจุบันคือเมืองพระนคร) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิเขมร สร้างขึ้นเพื่อให้เป็นเทวลัยประจำรัฐและเป็นสุสานฝังพระศพ ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงการนับถือในลัทธิไศวนิกายของกษัตริย์องค์ก่อนๆ เหตุเพราะนครวัดนั้นสร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระวิษณุแทนที่จะเป็นพระศิวะ และเนื่องจากเป็นปราสาทที่ได้รับการอนุรักษ์ดีที่สุดในบริเวณที่ตั้งโดยรอบ นครวัดจึงเป็นปราสาทเพียงแห่งเดียวที่ยังคงความเป็นศูนย์กลางทางศาสนาที่มีความสำคัญมาตั้งแต่เริ่มก่อสร้าง โดยนครวัดถือจุดสูงสุดของรูปแบบการสร้างสถาปัตยกรรมเขมรแบบดั้งเดิม และได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของประเทศกัมพูชา มีการปรากฏอยู่บนธงชาติ และได้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวของประเทศกัมพูชาที่มีความสำคัญที่สุดในหมู่นักท่องเที่ยว นครวัดได้รวมเอาการวางผังพื้นฐานในสถาปัตยกรรมเขมรสองแบบมาใช้ประกอบเข้าด้วยกัน ซึ่งก็ได้แก่ ผังการสร้างปราสาทให้เสมือนภูเขา (ปราสาทบนฐานชั้น) และการสร้างปราสาทแบบมีระเบียงคดที่มีภาพสลัก การสร้างปราสาทรูปแบบนี้ได้สื่อถึงเขาพระสุเมรุ ซึ่งเป็นสถานที่ที่สถิตของเทพเทวัญในปกรณัมของศาสนาฮินดู ด้านนอกมีคูน้ำและกำแพงล้อม ความยาวรวมกว่า 3.6 กิโลเมตร โดยตัวปราสาทประกอบด้วยระเบียงคดสี่เหลี่ยมที่มีภาพสลักทั้งหมดสามชั้น แต่ละชั้นตั้งอยู่สูงกว่าชั้นล่าง ตรงกลางของปราสาทคือพระปรางค์ที่มีทั้งหมด 5 ยอด นครวัดมีความแตกต่างจากปราสาทในพระนครปราสาทอื่นๆ เนื่องจากมีการหันหน้าไปทางทิศตะวันตก ซึ่งนักวิชาการต่างก็มีความเห็นที่แตกต่างออกไปในเรื่องนัยยะของการสร้างในลักษณะนี้ นครวัดยังได้รับการยกย่องในด้านความงามและความกลมกลืนของตัวสถาปัตยกรรม อาทิ ภาพสลักนูนต่ำที่ใหญ่โต รวมถึงภาพเทวดาที่มีการตกแต่งตามผนังเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและนครวัด · ดูเพิ่มเติม »

นครศักดิ์สิทธิ์

นครศักดิ์สิทธิ์ (holy city) เป็นเมืองที่เป็นศูนย์กลางที่มีประวัติศาสตร์ทางศาสนาและความเชื่อ ส่วนใหญ่จะมีที่สำคัญอยู่อย่างน้อยหนึ่งแห่ง (มักจะเป็นสิ่งที่สำคัญต่อศาสนา เช่น สิ่งปลูกสร้าง, รูปปั้น, ความเชื่อ ฯลฯ) ซึ่งทำให้เกิดการจาริกแสวงบุญ เมืองศักดิ์สิทธิ์เป็น เมืองที่มีสัญลักษณ์ ทีเกี่ยวข้องกับศาสนาและความเชื่อ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและนครศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

นครเซบู

ซบูซิตี (เซบัวโน: Dakbayan sa Sugbu; Lungsod ng Cebu) เป็นนครหนาแน่นในจังหวัดเซบู เขตกิตนางคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ แต่ปกครองอย่างอิสระจากตัวจังหวัด ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและนครเซบู · ดูเพิ่มเติม »

น้ำมนต์

น้ำมนต์ หรือ น้ำมนตร์ หมายถึง นํ้าที่เสกเพื่อใช้อาบ กิน หรือประพรม เป็นต้น ถือกันว่าเป็นมงคล การทำน้ำมนต์พบเห็นได้ทั่วไปในหลายศาสนา เช่น ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ ศาสนาฮินดู เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและน้ำมนต์ · ดูเพิ่มเติม »

นเรนทระ โมที

นเรนทระ ทาโมทรทาส โมที (नरेन्द्र दामोदरदास मोदी; Narendra Damodardas Modi; เกิด 17 กันยายน 1950) เป็นนักการเมืองชาวอินเดียซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีอินเดียตั้งแต่วันที่ 26 พฤษภาคม 2014 หลังจากที่พรรคภารตียชนตา (भारतीय जनता पार्टी; Bharatiya Janata Party) ที่เขาเป็นหัวหน้า ชนะการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อต้นปี 2014 ในเดือนตุลาคม 2001 เกศุภาอี ปเฏล (केशुभाई पटेल; Keshubhai Patel) ลาออกจากตำแหน่งมุขยมนตรี (मुख्यमंत्री; Chief Minister) คนที่ 13 แห่งรัฐคุชราต โมทีจึงได้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวมาจนลาออกไปเป็นนายกรัฐมนตรี นับได้ 4 สมัย เขาจึงเป็นมุขยมนตรีคุชราตซึ่งอยู่ในตำแหน่งยาวนานที่สุด โมทีเคยเป็นกุนซือคนสำคัญของพรรคภารตียชนตาซึ่งวางยุทธศาสตร์ให้พรรคสามารถชนะการเลือกตั้งระดับรัฐในปี 1995 และ 1998 ทั้งมีบทบาทหลักในการหาเสียงเลือกตั้งระดับชาติในปี 2009 ซึ่งสหพันธมิตรหัวก้าวหน้า (संयुक्त प्रगतिशील गठबंधन; United Progressive Alliance) กลุ่มการเมืองที่มีพรรคครองเกรสแห่งชาติอินเดีย (भारतीय राष्ट्रीय कांग्रेस; Indian National Congress) เป็นผู้นำ ชนะ โมทียังเป็นสมาชิกราษฏรียสวยัมเสวกสังฆ์ (राष्ट्रीय स्वयंसेवक संघ; Rashtriya Swayamsevak Sangh) กลุ่มคลั่งชาติในประเทศอินเดีย นักวิชาการและสื่อมวลชนอินเดียถือว่า เขาเป็นผู้คลั่งชาติฮินดู ซึ่งตัวเขาเองก็ยอมรับว่าเขาเป็นนักชาตินิยมฮินดู แม้โมทีได้รับคำชื่นชมเพราะนโยบายเศรษฐกิจของเขาช่วยให้คุชราตมีบรรยายที่อำนวยให้เศรษฐกิจเจริญเติบโตขึ้นอย่างมาก แต่เขาก็ถูกวิพากษ์วิจารณ์ทั้งในบ้านเกิดเมืองนอนและในต่างแดน เกี่ยวกับการจลาจลในคุชราตเมื่อปี 2002 ระหว่างที่เขาปกครองรัฐคุชราต และความล้มเหลวในการทำให้การพัฒนามนุษย์ในรัฐบรรลุผลในทางสร้างสรร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและนเรนทระ โมที · ดูเพิ่มเติม »

แม่ชีเทเรซา

แม่ชีเทเรซา หรือ คุณแม่เทเรซา (26 สิงหาคม พ.ศ. 2453 – 5 กันยายน พ.ศ. 2540) เป็นนักพรตหญิงในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ท่านมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้ช่วยเหลือและผู้ต่อสู้เพื่อคนยากไร้ทั้งในประเทศที่ยากจนและร่ำรวย จนเมื่อปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) ท่านจึงได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ และหลังจากมรณกรรมก็ได้รับการประกาศเป็นบุญราศีโดยสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 มีนามว่า "บุญราศีเทเรซาแห่งกัลกัตตา" ต่อมาในวันที่ 4 กันยายน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและแม่ชีเทเรซา · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำยมุนา

แม่น้ำยมุนา เป็นแม่น้ำในภูมิภาคเอเชียใต้ มี 2 สายซึ่งชื่อคล้ายกันแต่อยู่ต่างประเทศ ได้แก่ แม่น้ำยมุนาแห่งอินเดีย (ภาษาฮินดูสตานี: /jəmʊnaː/ ภาษาอังกฤษ: Yamuna, Jumna) เป็นแม่น้ำสายสำคัญของประเทศอินเดีย ได้ชื่อว่าเป็นแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดู มีต้นกำเนิดทางภาคเหนือของอินเดียบริเวณเทือกเขาหิมาลัย ไหลขนานกับแม่น้ำคงคาไปทางตะวันออกเฉียงใต้ และไปรวมกันที่เมืองอัลลอฮาบาดในอินเดีย แม่น้ำยมุนาแห่งอินเดียมีความยาวประมาณ 1,376 กิโลเมตร แม่น้ำยมุนาแห่งบังกลาเทศ (ภาษาเบงกาลี: যমুনা ภาษาอังกฤษ: Jamuna, Jomuna) เป็นแม่น้ำสายสำคัญหนึ่งในสามสายของประเทศบังกลาเทศ และเป็นสาขาหลักของแม่น้ำพรหมบุตรที่ไหลมาจากเทือกเขาหิมาลัยผ่านอินเดียตะวันออกไปยังบังกลาเทศ ส่วนที่ไหลผ่านบังกลาเทศนี้เองที่เรียกว่าแม่น้ำยมุนา แม่น้ำสายนี้ไหลมารวมกับแม่น้ำเพดม่าซึ่งเป็นสาขาหลักของแม่น้ำคงคาที่ไหลผ่านบังกลาเทศ เกิดเป็นดินดอนสามเหลี่ยมขนาดใหญ่ชื่อว่าสามเหลี่ยมปากแม่น้ำคงคา แม่น้ำยมุนาแห่งบังกลาเทศมีความยาวประมาณ 205 กิโลเมตร ยมุนา ยมุนา.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและแม่น้ำยมุนา · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหว

แผนที่โลกแสดงจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวระหว่างปี พ.ศ. 2506–2541 ทั้งสิ้น 358,214 จุด แผ่นดินไหว เป็นปรากฏการณ์สั่นสะเทือนหรือเขย่าของพื้นผิวโลก เพื่อปรับตัวให้อยู่ในสภาวะสมดุล ซึ่งแผ่นดินไหวสามารถก่อให้เกิดความเสียหายและภัยพิบัติต่อบ้านเมือง สิ่งมีชีวิต ส่วนสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวนั้นส่วนใหญ่เกิดจากธรรมชาติ โดยแผ่นดินไหวบางลักษณะสามารถเกิดจากการกระทำของมนุษย์ได้ แต่มีความรุนแรงน้อยกว่าที่เกิดขึ้นเองจากธรรมชาติ นักธรณีวิทยาประมาณกันว่าในวันหนึ่ง ๆ จะเกิดแผ่นดินไหวประมาณ 1,000 ครั้ง ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นแผ่นดินไหวที่มีการสั่นสะเทือนเพียงเบา ๆ เท่านั้น คนทั่วไปจะไม่รู้สึกถึงแรงสั่นสะเทือน แผ่นดินไหวเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก (แนวระหว่างรอยต่อธรณีภาค) ทำให้เกิดการเคลื่อนตัวของชั้นหินขนาดใหญ่เลื่อน เคลื่อนที่ หรือแตกหักและเกิดการโอนถ่ายพลังงานศักย์ ผ่านในชั้นหินที่อยู่ติดกัน พลังงานศักย์นี้อยู่ในรูปคลื่นไหวสะเทือน ศูนย์เกิดแผ่นดินไหวมักเกิดตามรอยเลื่อน อยู่ในระดับความลึกต่าง ๆ ของผิวโลก เท่าที่เคยวัดได้ลึกสุดอยู่ในชั้นแมนเทิล ส่วนจุดที่อยู่ในระดับสูงกว่า ณ ตำแหน่งผิวโลก เรียกว่า จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว โดยการศึกษาเรื่องแผ่นดินไหวและคลื่นสั่นสะเทือนที่ถูกส่งออกมา เรียกว่า วิทยาแผ่นดินไหว เมื่อจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่อยู่นอกชายฝั่ง อาจเกิดคลื่นสึนามิตามมาได้ นอกจากนี้ แผ่นดินไหวยังอาจก่อให้เกิดดินถล่ม และบางครั้งกิจกรรมภูเขาไฟตามมาได้ แผ่นดินไหววัดโดยใช้การสังเกตจากไซสโมมิเตอร์ (seismometer) มาตราขนาดโมเมนต์เป็นมาตราที่ใช้มากที่สุดซึ่งทั่วโลกรายงานแผ่นดินไหวที่มีขนาดมากกว่าประมาณ 5 สำหรับแผ่นดินไหวอีกจำนวนมากที่ขนาดเล็กกว่า 5 แมกนิจูด สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหวแต่ละประเทศจะวัดด้วยมาตราขนาดท้องถิ่นเป็นส่วนใหญ่ หรือเรียก มาตราริกเตอร์ สองมาตรานี้มีพิสัยความถูกต้องคล้ายกันในเชิงตัวเลข แผ่นดินไหวขนาด 3 หรือต่ำกว่าส่วนใหญ่แทบไม่รู้สึกหรือรู้สึกได้เบามาก ขณะที่แผ่นดินไหวตั้งแต่ขนาด 7 อาจก่อความเสียหายรุนแรงเป็นบริเวณกว้าง ขึ้นอยู่กับความลึก แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์มีขนาดมากกว่า 9 เล็กน้อย แม้จะไม่มีขีดจำกัดว่าขนาดจะมีได้ถึงเท่าใด แผ่นดินไหวใหญ่ล่าสุดที่มีขนาด 9.0 หรือมากกว่า คือ แผ่นดินไหวขนาด 9.0 ที่ประเทศญี่ปุ่นเมื่อปี 2554 และเป็นแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีการบันทึกในญี่ปุ่น ความรุนแรงของการสั่นสะเทือนวัดโดยมาตราเมร์กัลลีที่ถูกดัดแปลง หากตัวแปรอื่นคงที่ แผ่นดินไหวที่อยู่ตื้นกว่าจะสร้างความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างมากกว่าแผ่นดินไหวที่อยู่ลึกกว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและแผ่นดินไหว · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นมคธ

แผนที่เอเชียใต้ แสดงภาพแคว้นอินเดียโบราณทั้ง 16 แห่ง ซึ่งเรียกรวมกันว่ามหาชนบท แคว้นมคธ (บาลี/สันสกฤต: मगध มะคะธะ) เป็นชื่อแคว้นหนึ่งในจำนวน 16 แคว้นใหญ่ในชมพูทวีปสมัยพุทธกาล มีเมืองหลวงชื่อราชคฤห์ พระราชาที่ปกครองแคว้นมคธสมัยพุทธกาลคือพระเจ้าพิมพิสาร ต่อจากนั้นคือพระเจ้าอชาตศัตรูผู้เป็นพระราชโอรส แคว้นมคธเป็นแคว้นที่พระพุทธเจ้าทรงเลือกประดิษฐานพระพุทธศาสนาเป็นแห่งแรกเพราะเป็นแคว้นใหญ่ และทรงรับสวนเวฬุวันนอกเมืองราชคฤห์เป็นอารามแห่งแรกในพระพุทธศาสนา มคธเป็นชื่อของภาษาด้วยคือภาษามคธ อันเป็นภาษาที่พระพุทธเจ้าทรงเลือกใช้ในการประกาศพระศาสนา ซึ่งต่อมาเรียกว่าภาษาบาลี เพราะเป็นภาษาที่รักษาพระพุทธศาสนาเข้าไว้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและแคว้นมคธ · ดูเพิ่มเติม »

ใบตอง

ใบตอง คือใบของต้นกล้วย มีการนำมาใช้หลากหลาย เพราะมีขนาดใหญ่ ยืดหยุ่น กันน้ำและสามารถนำมาตกแต่งได้ มีการใช้ใบตองในการทำอาหาร ห่ออาหารและเป็นภาชนะอาหารอย่างกว้างขวางในประเทศเขตร้อนชื้นหรือกึ่งเขตร้อนชื้น มีการนำมาใช้ตกแต่งและใช้เพื่อเป็นสัญลักษณ์ในพิธีกรรมความเชื่อของฮินดูและพุทธ ในบ้านดั้งเดิมของเขตร้อนชื้น มีการนำมาใช้ทำหลังคาหรือรั้ว โดยทำมาใช้ใบตองแห้ง แต่เดิมใบตองและใบต้นปาล์ม เป็นพื้นผิวที่ใช้สำหรับเขียนในหลายประเทศของอเมริกาใต้และอเมริกาตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและใบตอง · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์พราหมณ์

ราหมณ์ หมายถึง เทวสถานที่ใช้ประกอบพิธีกรรมของศาสนาฮินดู มีพราหมณ์เป็นผู้ดูแลและประกอบพิธี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและโบสถ์พราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

โบโรบูดูร์

มหาสถูปโบโรบูดูร์ (Borobudur) หรือ บาราบูดูร์ (Barabudur) คนไทยรู้จักในชื่อ บุโรพุทโธ เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงของประเทศอินโดนีเซีย บริเวณภาคกลางของเกาะชวา ตั้งอยู่ที่เมืองมาเกอลังบุโรพุทโธ คู่มือท่องเที่ยวจาริกแสวงบุญบุโรพุทโธ ประเทศอินโดนีเซีย, รภัสสา เขมจิรันตากร,.อมรินทร์ บุ๊ค เซ็นเตอร์ จก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและโบโรบูดูร์ · ดูเพิ่มเติม »

โพ

(มักเขียนว่า โพธิ์) (คำว่า "โพ" มาจากภาษาสิงหล; Sacred fig) เป็นต้นไม้สปีชีส์หนึ่งของไทรหรือมะเดื่อ เป็นพืชพื้นเมืองของอินเดีย, เนปาล, ศรีลังกา, ตะวันตกเฉียงใต้ของจีน และ อินโดจีน เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ผลัดใบในฤดูร้อน สูงได้ถึง 30 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลางได้ถึง 3 เมตร รูปใบโดยทั่วไปของต้นโพ ใบมีรูปหัวใจปลายยาว ยาว 10-17 เซนติเมตร กว้าง 8-12 เซนติเมตร ก้านใบยาว 6-10 เซนติเมตร ผลมีขนาดเล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 เซนติเมตร สีเขียวเมื่อสุกมีสีม่วง โพเป็นต้นไม้ที่ถูกสักการะในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนาเชน และ พระพุทธศาสนา ด้วยเหตุนี้จึงมีชื่อว่า "Sacred fig" พระโคตมพุทธเจ้าก็ได้ตรัสรู้เมื่อนั่งอยู่ใต้ต้นโพเช่นกัน โดยต้นโพที่พระโคตมพุทธเจ้าตรัสรู้นั้นชื่อ "ต้นพระศรีมหาโพธิ์" ปัจจุบันยังคงมีชีวิตอยู่ที่ประเทศอินเดีย จึงเชื่อกันว่าโพเป็นสัญลักษณ์แห่งความสุข, ความสำเร็จ, อายุยืน และ ความโชคดี และเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดปราจีนบุรี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและโพ · ดูเพิ่มเติม »

โกจเจรีล รามัน นารายณัน

โกจเจรีล รามัน นารายณัน (കോച്ചേരില്‍ രാമന്‍ നാരായണന്‍) เกิดเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2463 เป็นประธานาธิบดีคนที่ 13 ของอินเดีย เคยร่วมขบวนกับมหาตมะ คานธี ในการเรียกร้องเอกราชให้แก่อินเดีย หลังจากที่คานธีได้เสียชีวิตไปแล้ว เขาได้อธิบายเหตุการณ์เป็น "โศกนาฏกรรมที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตั้งแต่ประเทศอินเดียต้องเผชิญกับการลอบสังหาร มหาตมะ คานธี" นารายณันเป็นนักการทูตอาชีพ ก่อนที่จะดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี เขารับราชการในกระทรวงการต่างประเทศอินเดีย และเคยเป็นเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศไทย (วาระดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2510-2512) โกจเจรีล รามัน นารายณัน เสียชีวิตเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ขณะมีอายุได้ 85 ปี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2463 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2548 หมวดหมู่:นักการเมืองอินเดีย หมวดหมู่:ประธานาธิบดีอินเดีย หมวดหมู่:ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดู หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐเกรละ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและโกจเจรีล รามัน นารายณัน · ดูเพิ่มเติม »

โยคะ

(yoga) เป็น กลุ่มของการปฏิบัติหรือการประพฤติทางกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ โดยมีต้นกำเนิดในประเทศอินเดียสมัยโบราณ โยคะมีอยู่ด้วยกันหลานสำหนักซึ่งมีการปฏิบัติและเป้าหมายต่างกันไป ทั้งในศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ และศาสนาเชนStuart Ray Sarbacker, Samādhi: The Numinous and Cessative in Indo-Tibetan Yoga.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและโยคะ · ดูเพิ่มเติม »

โรฮีนจา

รฮีนจา (ရိုဟင်ဂျာ โรฮีนจา; โรฮีนจา: Ruáingga รูไอง์กา; রোহিঙ্গা, Rohingga) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์มุสลิมที่อาศัยอยู่ทางตอนเหนือของรัฐยะไข่ (อาระกัน) ทางตะวันตกของประเทศพม่า และพูดภาษาโรฮีนจา ชาวโรฮีนจาและนักวิชาการบางส่วนกล่าวว่า โรฮีนจาเป็นชนพื้นเมืองในพื้นที่รัฐยะไข่ ในขณะที่นักประวัติศาสตร์บางส่วนอ้างว่า พวกเขาอพยพเข้าพม่าจากเบงกอลในสมัยการปกครองของสหราชอาณาจักรเป็นหลัก และนักประวัติศาสตร์ส่วนน้อยกล่าวว่า พวกเขาอพยพมาหลังจากพม่าได้รับเอกราชในปี 2491 และหลังจากบังกลาเทศทำสงครามประกาศเอกราชในปี 2514 ชาวมุสลิมตั้งถิ่นฐานในรัฐยะไข่ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 แต่ไม่สามารถประมาณจำนวนผู้ตั้งถิ่นฐานชาวมุสลิมก่อนการปกครองของสหราชอาณาจักรได้อย่างแม่นยำ หลังสงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่หนึ่งในปี 2369 สหราชอาณาจักรผนวกรัฐยะไข่และสนับสนุนให้มีการย้ายถิ่นจากเบงกอลเพื่อทำงานเป็นผู้ใช้แรงงานในไร่นา ประชากรมุสลิมอาจมีจำนวนถึงร้อยละ 5 ของประชากรรัฐยะไข่แล้วเมื่อถึงปี 2412 แต่จากการประเมินของปีก่อนหน้าก็พบว่ามีจำนวนสูงกว่านี้ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ความรุนแรงระหว่างชุมชนก็ปะทุขึ้นระหว่างชาวยะไข่ซึ่งนับถือศาสนาพุทธกับหน่วยกำลังวี (V-Force) ชาวโรฮีนจาที่สหราชอาณาจักรติดอาวุธให้ และการแบ่งขั้วก็รุนแรงมากขึ้นในพื้นที่ ในปี 2525 รัฐบาลพลเอกเนวีนตรากฎหมายความเป็นพลเมืองซึ่งปฏิเสธความเป็นพลเมืองของชาวโรฮีนจา ในปี 2556 มีชาวโรฮีนจาประมาณ 735,000 คนอาศัยอยู่ในประเทศพม่า ส่วนใหญ่อยู่ในเมืองทางเหนือของรัฐยะไข่ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 80–98 ของประชากร สื่อระหว่างประเทศและองค์การสิทธิมนุษยชนกล่าวว่าชาวโรฮีนจาเป็นชนกลุ่มน้อยที่ถูกข่มเหงที่สุดกลุ่มหนึ่งในโลก ชาวโรฮีนจาจำนวนมากหนีไปอยู่ในย่านชนกลุ่มน้อยและค่ายผู้ลี้ภัยในประเทศเพื่อนบ้านอย่างบังกลาเทศ รวมทั้งพื้นที่ตามชายแดนไทย–พม่า ชาวโรฮีนจากว่า 100,000 คนยังอาศัยอยู่ในค่ายสำหรับผู้พลัดถิ่นในประเทศซึ่งทางการไม่อนุญาตให้ออกมา ชาวโรฮีนจาได้รับความสนใจจากนานาชาติในห้วงเหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและโรฮีนจา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม

รงเรียนเมืองพลพิทยาคม (Muangphonpittayakom School) อักษรย่อ (ม.พ.ค.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ประเภท เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัด ตั้งอยู่ เลขที่ 123 ถนนเมืองพล-แวงน้อย ตำบลลอมคอม อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและโรงเรียนเมืองพลพิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โอม

อม (ॐ) เป็นเสียงศักดิ์สิทธิ์และสัญรูปทางจิตวิญญาณในศาสนาแบบอินเดีย นอกจากนี้ยังเป็นมนตร์ (mantra) ในศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธและศาสนาเชน โอมเป็นส่วนหนึ่งของสัญลักษณ์ตัวแทนที่พบในต้นฉบับ ศาสนสถาน อารามและที่สงบทางจิตวิญญาณ (spiritual retreat) สมัยโบราณและสมัยกลางในศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธและศาสนาเชน สัญลักษณนี้มีความหมายทางจิตวิญญาณในทุกธรรมะ (dharma) อินเดีย แต่ความหมายและความหมายโดยนัยของโอมแตกต่างกันระหว่างแต่ละสำนักในและระหว่างประเพณีต่าง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและโอม · ดูเพิ่มเติม »

โฮลี

ผู้เข้าร่วมเทศกาล ผงสี โฮลี (Holi) คำว่า "โฮลี" หมายถึง "การส่งท้ายปีเก่า" เป็นเทศกาลฉลองรื่นเริงที่มีพื้นเพมาจากความเชื่อในศาสนาฮินดูในช่วงฤดูใบไม้ผลิ โดยชาวฮินดูจะออกมาเล่นสาดสีใส่กัน โฮลีจัดขึ้น 2 วันในช่วงเดือนมีนาคม (แรม 1 ค่ำ เดือน 4) เทศกาลนี้เรียกอีกอย่างว่า "เทศกาลแห่งสีสัน" เนื่องจากผู้คนจะออกมาเฉลิมฉลองด้วยการสาดสีหรือป้ายสี ซึ่งเป็นฝุ่นผงใส่กัน ด้วยสีสันต่าง ๆ อย่างสนุกสนาน ซึ่งการสาดสีใส่กันนี้สันนิษฐานว่า เป็นพื้นเพที่ประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รับมา และปรับเปลี่ยนเป็นการสาดน้ำใส่กันแทน คือ สงกรานต์ ฝุ่นผงสีที่ใช้สาดกันนั้นจะทำมาจากธรรมชาติ เช่น ดอกทองกวาว, บีทรูท, ขมิ้น อันเป็นนัยที่บ่งบอกถึงการสิ้นสุดของฤดูหนาวและเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิ มีขนมที่ทำเพื่อรับประทานโดยเฉพาะในเทศกาลนี้ ที่ทำมาจากนมและนมเปรี้ยวเป็นหลัก เชื่อกันว่าหากได้รับประทานขนมด้วยจิตใจเบิกบานจะเป็นนิมิตรหมายที่ดีของการเริ่มต้นปีใหม่ การสาดสีใส่กันนั้น เชื่อว่า เป็นการปัดเป่าสิ่งชั่วร้าย มีปกรณัมมากมายเกี่ยวกับที่มาของเทศกาลนี้ แต่ที่เชื่อกันมากที่สุด คือ การเฉลิมฉลองที่พระวิษณุ หนึ่งในตรีมูรติ เอาชนะนางมารโฮลิกะ ซึ่งเป็นน้องสาวของหิรัณยกศิปุ ที่ดูหมิ่นผู้ที่นับถือพระองค์ ทำให้นางมารถูกไฟแผดเผาจนมอดไหม้ วันก่อนการสาดสีจะมีการก่อกองไฟเพื่อชำระล้างสิ่งไม่ดีไปจากจิตใจ การสาดสีจะเล่นกันเฉพาะช่วงเช้าจนถึงเที่ยงวันเท่านั้น จากนั้น ผู้คนก็จะแยกย้ายไปพักผ่อน เมื่อตกเย็นจะออกมาพบปะสังสรรค์กัน แจกขนมหวานและสวมกอดกัน เทศกาลโฮลี่จึงถือเป็นเทศกาลแห่งมิตรภาพ มิตรสหายได้แสดงไมตรีเข้าสวมกอดกัน ผู้ที่เคยขัดแย้งกันก็จะได้ปรับความเข้าใจกัน โฮลีมักจัดในประเทศอินเดียและเนปาลเป็นหลัก แต่ยังมีการเฉลิมฉลองโดยชาวฮินดูกลุ่มน้อยในบังกลาเทศและปากีสถานด้วย เช่นเดียวกับประเทศที่มีประชากรเชื้อสายอินเดียพลัดถิ่นขนาดใหญ่ที่นับถือศาสนาฮินดู เช่น ซูรินาม มาเลเซีย กายอานา แอฟริกาใต้ ตรินิแดดและโตเบโก สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา มอริเชียส ฟิจิ และไทย The Wall Street Journal (2013) Visit Berlin, Germany (2012).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและโฮลี · ดูเพิ่มเติม »

โขน

น เป็นศิลปะการแสดงชั้นสูงของไทยที่มีความสง่างาม อลังการและอ่อนช้อย การแสดงประเภทหนึ่งที่ใช้ท่ารำตามแบบละครใน แตกต่างเพียงท่ารำที่มีการเพิ่มตัวแสดง เปลี่ยนทำนองเพลงที่ใช้ในการดำเนินเรื่องไม่ให้เหมือนกับละคร แสดงเป็นเรื่องราวโดยลำดับก่อนหลังเหมือนละครทุกประการ ซึ่งไม่เรียกการแสดงเหล่านี้ว่าละครแต่เรียกว่าโขนแทน มีประวัติยาวนานตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จากหลักฐานจดหมายเหตุลาลูแบร์ เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้มีการกล่าวถึงการแสดงโขนว่า เป็นการเต้นออกท่าทาง ประกอบกับเสียงซอและเครื่องดนตรีประเภทต่าง ๆ ผู้แสดงจะสวมหน้ากากปิดบังใบหน้าตนเองและถืออาวุธว่าด้วยการแสดงและการละเล่นอย่างอื่นของชาวสยาม, มหรสพสามอย่างของชาวสยาม,จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ ราชอาณาจักรสยาม, เขียนโดย: มองซิเอร์ เดอ ลาลูแบร์, แปลโดย: สันต์ ท. โกมลบุตร, สำนักพิมพ์ศรีปัญญา, 2548, หน้า 157 โขนเป็นจุดศูนย์รวมของศาสตร์และศิลป์หลากหลายแขนงเช่น วรรณกรรม วรรณศิลป์ นาฏศิลป์ คีตศิลป์ หัตถศิลป์คำนำการแสดงโขนชุดนางลอย, สูจิบัตรการแสดงโขนชุด นางลอย, มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, ระหว่างวันที่ 19 -20 และ 22 -24 พฤศจิกายน 2553, หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย โดยนำเอาวิธีเล่นและการแต่งตัวบางชนิดมาจากการเล่นชักนาคดึกดำบรรพ์ มีท่าทางการต่อสู้ที่โลดโผน ท่ารำ ท่าเต้นเช่น ท่าปฐมในการไหว้ครูของกระบี่กระบอง รวมทั้งการนำศิลปะการพากย์ การเจรจา หน้าพาทย์และเพลงดนตรีเข้ามาประกอบการแสดง ในการแสดงโขน ลักษณะสำคัญอยู่ที่ผู้แสดงต้องสวมหัวโขน ซึ่งเป็นเครื่องสวมครอบหุ้มตั้งแต่ศีรษะถึงคอ เจาะรูสองรูบริเวณดวงตาให้สามารถมองเห็น แสดงอารมณ์ผ่านทางการร่ายรำ สร้างตามลักษณะของตัวละครนั้น ๆ เช่น ตัวยักษ์ ตัวลิง ตัวเทวดา ฯลฯ ตกแต่งด้วยสี ลงรักปิดทอง ประดับกระจก บ้างก็เรียกว่าหน้าโขน ในสมัยโบราณ ตัวพระและตัวเทวดาต่างสวมหัวโขนในการแสดง ต่อมาภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงไม่ต้องสวมหัวโขน คงใช้ใบหน้าจริงเช่นเดียวกับละคร แต่งกายแบบเดียวกับละครใน เครื่องแต่งกายของตัวพระและตัวยักษ์ในสมัยโบราณมักมีสองสีคือ สีหนึ่งเป็นสีเสื้อ อีกสีหนึ่งเป็นสีแขนโดยสมมุติแทนเกราะ เป็นลายหนุนประเภทลายพุ่ม หรือลายกระจังตาอ้อย ส่วนเครื่องแต่งกายตัวลิงจะเป็นลายวงทักษิณาวรรต โดยสมมุติเป็นขนของลิงหรือหมี ดำเนินเรื่องด้วยการกล่าวคำนำเล่าเรื่องเป็นทำนองเรียกว่าพากย์อย่างหนึ่ง กับเจรจาเป็นทำนองอย่างหนึ่ง ใช้กาพย์ยานีและกาพย์ฉบัง โดยมีผู้ให้เสียงแทนเรียกว่าผู้พากย์และเจรจา มีต้นเสียงและลูกคู่ร้องบทให้ ใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้าประกอบการแสดง นิยมแสดงเรื่องรามเกียรติ์และอุณรุท ปัจจุบันสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์มีหน้าที่หลักในการสืบทอดการฝึกหัดโขน และกรมศิลปากร มีหน้าที่ในการจัดการแสดงคำนำการแสดงโขนชุดพรหมมาศ, สูจิบัตรการแสดงโขนชุด พรหมมาศ, มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, ระหว่างวันที่ 25 และ 27 -28 ธันวาคม 2550, หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและโขน · ดูเพิ่มเติม »

โคราฆปุระ

ตำแหน่งที่ตั้งเมืองโคราฆปุระในประเทศอินเดีย โคราฆปุระ (Gorakhpur, เทวนาครี: गोरखपुर, อูรดู: گۋڙکھ پور) เป็นเมืองหลวงของอำเภอโคราฆปุระในภาคตะวันออกของรัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย ใกล้กับพรมแดนประเทศเนปาล โคราฆปุระเป็นเมืองศูนย์กลางทางศาสนาที่สำคัญและมีชื่อเสียงไม่ว่าจะเป็น ศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดู ศาสนาเชน หรือศาสนาสิกข์ โดยชื่อเมืองในปัจจุบันเรียกตามชื่อ โยคีโคราฆชนาถ (Gorakshanath) บริเวณแคว้นนี้เป็นศูนย์กลางที่สำคัญของอารยธรรมอารยันตามคัมภีร์พระเวท ผู้ปกครองดินแดนในบริเวณนี้ในอดีต คือ กษัตริย์ราชวงศ์ สุริยวงศ์ (Solar Dynasty) โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่อโยธยา กษัตริย์สุริยวงศ์นี้ได้ปกครองติดต่อกันอย่างยาวนาน โดยเฉพาะที่รู้จักกันดี คือ พระรามในเรื่อง รามเกียรติ์เป็นหนึ่งในกษัตริย์ราชวงศ์นี้ ในสมัยพุทธกาลยังไม่มีเมืองนี้ เมืองสำคัญในขณะนั้นคือ เวสาลี โกสัมพี พาราณสี และราชคฤห์ ในขณะที่อโยธยากลายเป็นเมืองเล็ก แคว้นนี้ในสมัยพุทธกาลเป็นอาณาเขตของแคว้นโกศล (Kosala) พระพุทธเจ้าทรงถือครองเพศบรรพชิตที่ริมแม่น้ำในบริเวณใกล้ที่ตั้งเมืองในปัจจุบันนี้ ก่อนที่เสด็จไปยังกรุงราชคฤห์ และพระมหาวีระศาสดาของศาสนาเชนได้เดินทางผ่านบริเวณนี้เช่นเดียวกัน ปัจจุบันเมืองโคราฆปุระเป็นเมืองศูนย์กลางธุรกิจ อุตสาหกรรม และการคมนาคมที่สำคัญแห่งหนึ่งของรัฐอุตตรประเท.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและโคราฆปุระ · ดูเพิ่มเติม »

โควินทา (นักแสดง)

วินทา (गोविंदा, เกิด 14 ธันวาคม พ.ศ. 2506) มีชื่อจริงว่า โควินท์ อรุณ อหุชา เป็นนักแสดงตลกที่มีชื่อเสียงของบอลลีวูด ผลงานภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงของเขา คือ Salaam - e - Ishq: Tribute to Love และในปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและโควินทา (นักแสดง) · ดูเพิ่มเติม »

โซโต

ซโต (soto) เป็นซุปแบบพื้นเมืองในอาหารอินโดนีเซีย ใส่เนื้อและผัก ในบางครั้งจัดเป็นอาหารประจำชาติ มีรับประทานตั้งแต่สุมาตราไปจนถึงปาปัว โดยมีความแตกต่างกันมากมีตั้งแต่ขายข้างถนนไปจนถึงในภัตตาคาร ผู้อพยพชาวชวาได้นำอาหารชนิดนี้ไปยังซูรินามและเรียกว่าซาโอโต.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและโซโต · ดูเพิ่มเติม »

โปขรา

ปขรา (เนปาล: पोखरा उपमहानगरपालिका Pokharā Upa-Mahānagarpālikā; Pokhara Sub-Metropolitan City) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศเนปาล มีประชากรราว 250,000 คน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเมืองหลวง กาฐมาณฑุ ราว 200 กม..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและโปขรา · ดูเพิ่มเติม »

ไกร

ำหรับกร่างชนิดอื่น ดูที่: ไทรทอง ไกร หรือ กร่าง (บาลี: นิโครธ; สันสกฤต: บันยัน; ฮินดี: บาร์คาด; Bengal fig, Indian fig, Banyan tree) เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ในสกุล Ficus เช่นเดียวกับโพ (F. religiosa) และไทรย้อยใบแหลม (F. benjamina) ในวงศ์ Moraceae.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและไกร · ดูเพิ่มเติม »

ไวเศษิกะ

วเศษิกะ (Vaisheshika; वैशेषिक) เป็นปรัชญาหนึ่งในศาสนาฮินดู เกิดขึ้นหลังพุทธกาล ผู้สถาปนาลัทธินี้คือฤๅษีกรณาทะ ผู้แต่งไวเศษิกสูตร คำนี้มาจากภาษาสันสกฤตหมายถึงความแตกต่างหรือคุณลักษณะเฉพาะ เป็นแนวคิดแบบพหุสัจนิยม เชื่อว่าส่วนที่เล็กที่สุดของสสารคือปรมาณูมีจำนวนมาก แบ่งแยกไม่ได้และเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของโลก พระเจ้าสูงสุดคือพระมเหศวรเป็นผู้สร้างโลก โดยเจตจำนงของพระองค์ จะกระตุ้นให้ปรมาณูมารวมตัวกัน จนเกิดเป็นสิ่งต่างๆและเป็นโลกในที่สุด เมื่อพระมเหศวรมีเจตจำนงที่จะทำลายโลก ปรมาณูแยกตัวออก โลกก็จะสลายไป เป้าหมายในการดำรงชีวิตคือโมกษะ ซึ่งเป็นภูมิของผู้ไม่มีกิเลส เมื่อชีวาตมันหลุดพ้นจากกิเลส ก็เข้าถึงโมกษะ โดยทั่วไป ลัทธินี้มีแนวคิดคล้ายลัทธินยายะ ต่างกันที่รายละเอียด เช่น แหล่งความรู้ นยายะมี 4 แหล่ง ไวเศษิกะมี 2 แหล่ง ความรู้ประเภทประจักษ์ประมาณ นยายะถือว่าเกิดจากประสาทสัมผัสทั้งห้า แต่ไวเศษิกะถือว่าเกิดจากตาเท่านั้น เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและไวเศษิกะ · ดูเพิ่มเติม »

ไสยศาสตร์

ตร์ หมายถึง วิชาทางไสย อันเป็นลัทธิเกี่ยวกับเวทมนตร์คาถาที่เชื่อว่ามาจากศาสนาพราหมณ์ โดยเฉพาะจากคัมภีร์อถรรพเวท ที่มีพิธีเพื่อให้เกิดสิริมงคลป้องกันอันตรายต่อตนเองหรือทำอันตรายต่อผู้อื่น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและไสยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยสยาม

ทยสยาม (Thai Siam) โดยทั่วไปหมายถึง คือกลุ่มชาติพันธุ์ซึ่งพูดภาษาไทยกลาง หรือมี เชื้อชาติไทยสยามผสมอยู่ ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศไทย และอาศัยกระจายอยู่ในประเทศอื่นทั่วโลก โดยคนไทยส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ รองลงมาคือ ศาสนาอิสลาม และ ศาสนาคริสต์ ในความหมายทางชาติพันธุ์ ใช้เฉพาะเจาะจงถึงคนไทยภาคกลาง หรือเดิมเรียกว่า ชาวสยาม แต่ในความหมายมุมกว้าง สามารถหมายความครอบคลุมถึง กลุ่มชาติพันธุ์ไทย อื่นๆ ทั้งนอกและในราชอาณาจักร เช่น ไทยโคราช ไทยอีสาน ไทยโยเดีย หรือ ไทยเกาะกง เช่นกัน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและไทยสยาม · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเชื้อสายอินเดีย

วไทยเชื้อสายอินเดีย คือชาวไทยที่สืบเชื้อสายมาจากชาวอินเดียที่อพยพเข้ามาอาศัยในประเทศไทย เดิมมี 2 กลุ่ม ได้แก่ ชาวซิกข์มีหลายนิกาย และชาวฮินดู.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและไทยเชื้อสายอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ไทเกอร์ ชรอฟฟ์

มแมนต์ ชรอฟฟ์ (जय हेमन्त श्रॉफ़; Jai Hemant Shroff; เกิด 2 มีนาคม ค.ศ. 1990) เป็นนักแสดงชาวอินเดียที่ทำงานด้านอุตสาหกรรมภาพยนตร์ภาษาฮินดี ชรอฟฟ์เป็นลูกชายของนักแสดง แจ็กกี ชรอฟฟ์ และโปรดิวเซอร์ อายยีชา ชรอฟฟ์ เขาเริ่มงานแสดงครั้งแรกด้วยการรับบทนำในภาพยนตร์แอ็กชันคอเมดีเรื่อง Heropanti (2014) ซึ่งทำให้เขาได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลฟิล์มแฟร์อวอร์ดในสาขาการเปิดตัวดาราชายยอดเยี่ยม เขายังได้แสดงภาพยนตร์เรื่อง Baaghi (2016) ซึ่งทำรายได้ทั่วโลกกว่า 1 พันล้าน (15 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) และได้แสดงภาพยนตร์ซูเปอร์ฮีโรเรื่อง A Flying Jatt (2016) ร่วมกับแจ็กเกอลีน เฟอร์นันเดส และนาธาน โจน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและไทเกอร์ ชรอฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไตรภูมิ

ตรภูมิ หรือ ไตรโลก (หมายถึง สามโลก) ซึ่งเป็นคติเกี่ยวกับโลกสัณฐานตามความเชื่อในศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ ไตรภูมิประกอบด้วย กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ สัตวโลกทั้งหลายก็จะต้องเวียนว่ายตายเกิดในไตรภูมินี้จนกว่าจะสำเร็จเป็นพระอรหันต.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและไตรภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

เบียร์สิงห์

right เบียร์สิงห์ เป็นชื่อตราสินค้าประเภทผลิตภัณฑ์เบียร์ของประเทศไทย ซึ่งผลิตโดย บริษัท บุญรอดบริวเวอรี จำกัด และจัดจำหน่ายโดย บริษัท สิงห์คอร์เปอเรชัน จำกัด (เดิมชื่อบริษัท บุญรอดเทรดดิง จำกัด).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเบียร์สิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

เชค มุฮัมหมัด อับดุลเลาะห์

มุฮัมหมัด อัลดุลเลาะห์ ขณะปราศัยเมื่อ พ.ศ. 2518 เชค มุฮัมหมัด อับดุลเลาะห์ (Shaikh Muhammad Abdullah;शेख़ मुहम्मद अब्‍दुल्‍ला (อักษรเทวนาครี), شيخ محمد عبدالله (อักษรอูรดู)) เป็นมุขมนตรีแห่งรัฐชัมมูและกัษมีระในอินเดียระหว่าง..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเชค มุฮัมหมัด อับดุลเลาะห์ · ดูเพิ่มเติม »

เบน คิงสลีย์

ซอร์ เบน คิงสลีย์, ซีบีอี (Sir Ben Kingsley, CBE) (ภาษาคุชราต:કૃષ્ણા પંડિત ભાનજી) นักแสดงชาวอังกฤษเชื้อสายอินเดีย เจ้าของรางวัลการแสดงทั้งรางวัลออสการ์ รางวัลบาฟตา รางวัลลูกโลกทองคำ และรางวัลของสมาคมนักแสดงอาชีพแห่งอเมริกา มีชื่อเสียงจากการรับบท มหาตมะ คานธี ในภาพยนตร์เรื่อง Ghandhi ในปี 1982 ของริชาร์ด แอทเทนบอโร และบท อิตซัก สเติร์น ในภาพยนตร์ Schindler’s List ปี 1993 ของสตีเวน สปีลเบิร์ก เบน คิงสลีย์ เดิมมีชื่อว่า "กฤษณะ บัณฑิต พานจิ" (Krishna Pandit Bhanji) เกิดในประเทศอังกฤษ บิดาเป็นแพทย์ชาวอังกฤษเชื้อสายอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดู ซึ่งเกิดที่ประเทศเคนยา และเติบโตที่แซนซิบาร์ ประเทศแทนซาเนีย ส่วนมารดาเป็นนางแบบและนักแสดงชาวอังกฤษเชื้อสายยิว-รัสเซีย เขาเปลี่ยนชื่อเป็น เบน คิงสลีย์ ตั้งแต่ประมาณปี 1977 เมื่อเริ่มอาชีพการแสดง เพื่อหลีกเลี่ยงการเหยียดผิวหากใช้ชื่อในภาษาต่างด้าว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเบน คิงสลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เบ็นไซเต็ง

็นไซเต็ง หรือที่เรียกอย่างสั้นว่า เบ็นเต็ง เป็นเทพีองค์หนึ่งตามคติพุทธศาสนาแบบญี่ปุ่น เป็นเทพีองค์เดียวกับพระสรัสวดีของคติศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คติการนับถือเบ็นไซเต็ง เกิดขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 6-8 ผ่านการแปล สุวรรณประภาสสูตร (Suvarṇa-prabhāsa Sūtra; 金光明経) จากภาษาจีนสู่ญี่ปุ่น โดยเนื้อหาให้พระคัมภีร์ดังกล่าวมีเนื้อหาเกี่ยวกับเบ็นไซเต็ง และยังปรากฏใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร (Saddharma Puṇḍarīka Sūtra; 妙法蓮華経) ที่ปรากฏองค์พร้อมกับเครื่องดนตรีญี่ปุ่นดั้งเดิมที่เรียกว่า บิวะ (琵琶) ต่างกับพระสรัสวดีที่ถือ พิณ (วีณา) เบ็นไซเต็ง เป็นหนึ่งในเทพแห่งโชคลาภทั้งเจ็ด และเป็นเทพีแห่งกวี อักษรศาสตร์ นาฏกรรม และดนตรี เชื่อกันว่าผู้ใดนับถือเทวีพระองค์นี้ก็จะพบแสงสว่างแห่งปัญญา ในอดีตเกชะนิยมบูชาเบ็นไซเต็งเพราะเชื่อว่าจะทำให้มีความสามารถเชิงระบำรำฟ้อน ส่วนพวกตีนแมวและพวกย่องเบาเองก็นิยมบูชาเทวีพระองค์นี้เช่นกัน เพราะเชื่อว่าเบ็นไซเต็งจะดลบันดาลให้ภารกิจลุล่วงไปด้วยดี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเบ็นไซเต็ง · ดูเพิ่มเติม »

เพอร์โซนา 3

ปกของเพอร์โซนา 3 ฉบับภาษาญี่ปุ่น เพอร์โซนา 3 เป็นเกมเล่นตามบทบาทสำหรับเครื่องเพลย์สเตชัน 2 เพอร์โซนา 3 เป็นภาคหนึ่งในชุด เพอร์โซนา ซึ่งเป็นชุดย่อยของเมกามิเทนเซย์ พัฒนาโดยบริษัทแอตลัส ออกวางจำหน่ายในญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 ก่อนจะจำหน่ายในอเมริกาเหนือ ในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2550 โดยใช้ชื่อว่า Shin Megami Tensei: Persona 3 (ชินเมกามิเทนเซย์ เพอร์โซนา3) และวันที่29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551ในภาคพื้นยุโรปและออสเตรเลีย ในเวลาต่อมา แอตลัสยังได้จำหน่ายภาคเสริม เพอร์โซนา 3 FES ซึ่งได้ปรับระบบการเล่นและเพิ่มเนื้อหาใหม่เข้าไป ซึ่งภาค FESนี้ วางจำหน่ายในญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2550 ก่อนจะจำหน่ายในอเมริกาเหนือ ในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2551 และในภาคพื้นยุโรปเมื่อวันที่17 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ภาคภาษาอังกฤษซึ่งจำหน่ายในอเมริกาเหนือยังแถมอาร์ตบุคและซาวแทร็คซีดีของเกมพร้อมกับเกมด้วย ซึ่งเพอร์โซนา 3 ก็ได้รับคำวิจารณ์ในด้านบวกอย่างมากมาย นอกจากนั้นยังมีภาครีเมคสำหรับเครื่องเพลย์สเตชันพอร์เทเบิลซึ่งมีกำนหดการวางจำหน่ายในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเพอร์โซนา 3 · ดูเพิ่มเติม »

เพอร์โซนา 4

ปกของเพอร์โซนา 4 เพอร์โซนา 4 เป็นเกมเล่นตามบทบาทสำหรับเครื่องเพลย์สเตชัน 2 เพอร์โซนา 4 เป็นภาคหนึ่งในชุด เพอร์โซนา ซึ่งเป็นชุดย่อยของเมกามิเทนเซย์ พัฒนาโดยบริษัทแอตลัส ออกวางจำหน่ายในญี่ปุ่นเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ก่อนจะจำหน่ายในอเมริกาเหนือ ในเดือน ธันวาคม ปีเดียวกัน โดยใช้ชื่อว่า Shin Megami Tensei: Persona 4 (ชินเมกามิเทนเซย์ เพอร์โซนา4) และเดือนมีนาคม พ.ศ. 2552ในภาคพื้นยุโรป ภาคภาษาอังกฤษซึ่งจำหน่ายในอเมริกาเหนือยังแถมอาร์ตบุคและซาวแทร็คซีดีของเกมพร้อมกับเกมเช่นเดียวกับเพอร์โซนา 3 และเพอร์โซนา 4 ก็ได้รับคำวิจารณ์ในด้านบวกอย่างมากมายเช่นเดียวกัน ตัวละครในเกมนั้นได้รับการออกแบบโดยชิเงโนริ โซเอะจิมะ ยกเว้นเพอร์โซนาที่เป็นปิศาจจากเมกามิเทนเซย์ภาคก่อนๆซึ่งออกแบบโดยคาซึมะ คาเนโกะ ในวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2554 ได้เปิดตัวเว็บไซต์ ซึ่งเป็นเว็บไซต์ของภาคอะนิเมะ และออกฉายในญี่ปุ่นครั้งแรกในวันที่ 6ตุลาคม..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเพอร์โซนา 4 · ดูเพิ่มเติม »

เกษียรสมุทร

รูปปั้นตำนานกวนเกษียรสมุทร ที่ชั้นขาออก สนามบินสุวรรณภูมิ เกษียรสมุทร เป็นทะเลของน้ำนมตามคติความเชื่อของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เป็นวรรณกรรมมหาภารตยุทธและในภควัตปุราณะ ซึ่งเล่าเรื่องถึงครั้งที่พระอินทร์เสด็จลงมาบนโลกและได้พบกับฤาษีทุรวาสที่รับดอกไม้สาการะจากนางอัปสรนางหนึ่งแต่ฤาษีเห็นว่าหากตนคล้องดอกไม้จากนางอัปสรคงจะไม่เหมาะสม จึงได้ถวายดอกไม้นั้นแก่พระอินทร์เมื่อพระอินทร์รับแล้วก็ทรงมอบแก่พระชายาอีกต่อหนึ่งแต่ด้วยกลิ่นของดอกไม้ทำให้พระชายามึนเมาจึงทิ้งไป ฤาษีเห็นดังนั้นก็โกรธจึงสาปแช่งพระอินทร์และบริวารให้อ่อนกำลังลงและพ่ายแพ้ในสงคราม เมื่อสาปแช่งดังนี้แล้วฤษีก็เดินจากไปพลันกำลังของเทวดาก็ลดลงกึ่งหนึ่งและเมื่ออสูรทราบข่าวพระอินทร์โดนสาปแช่งจึงได้ยกทัพไปตีสวรรค์ ทำให้พระอินทร์พ่ายแพ้ และเพื่อฟึ้นคืนกำลังจึงต้องทำการกวนเกษียรสมุทรให้เกิดน้ำอมฤตที่เมื่อดื่มกินจะเป็นอมตะและกำลังยังมากขึ้นกว่าที่เคยมี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเกษียรสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

เกาะลมบก

ลมบก (Lombok) เป็นเกาะที่อยู่ทางตะวันออกของเกาะบาหลี คำว่า "ลมบก" ในภาษาชวาหมายถึงพริกขี้หนู ตั้งอยู่ในจังหวัดนูซาเติงการาตะวันตก ประเทศอินโดนีเซี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเกาะลมบก · ดูเพิ่มเติม »

เกาะโกโมโด

กาะโกโมโด (Indonesian Pulau Komodo) เป็นหนึ่งใน 17,508 เกาะ ของประเทศอินโดนีเซีย ก็นี้เป็นที่รู้จักเนื่องจากเป็นสถานที่อยู่อาศัยของมังกรโกโมโดซึ่งเป็นตะกวดที่ใหญ่ที่สุดในโลก เกาะโกโมโดมีพื้นที่ประมาณ 390 ตารางกิโลเมตรและประชากรประมาณ2,000 คน คนบนเกาะแห่งนี้ส่วนมากเป็นลูกหลานของอดีตนักโทษที่ถูกเนรเทศไปยังเกาะและบางก็เป็นลูกครึ่งกับชาวบูกิสที่มาจากเกาะซูลาเวซี ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม แต่ยังมีกลุ่มคริสเตียนและฮินดูอีกด้วย เกาะโกโมโดอยู่ในหมู่เกาะซุนดาน้อย และเป็นส่วนหนึ่งของอุทยานแห่งชาติโกโมโด นอกจากนี้ยังเป็นเกาะยอดนิยมสำหรับการดำน้ำของจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันออกอีกด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเกาะโกโมโด · ดูเพิ่มเติม »

เมลียา

มลียา (Melilla), มริตช์ (เบอร์เบอร์: ⵎⵔⵉⵞ) หรือ มะลีลียะฮ์ (مليلية) เป็นเมืองหนึ่งของประเทศสเปน ตั้งอยู่ชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนของแอฟริกาเหนือ ทางทิศตะวันตกและทิศใต้ติดต่อกับประเทศโมร็อกโก ชาวสเปนมาตั้งถิ่นฐานที่เมืองนี้ในปี พ.ศ. 2040 แต่เดิมเมืองนี้จัดอยู่ในแคว้นอันดาลูซีอาเนื่องจากเหตุผลทางประวัติศาสตร์ ต่อมาจึงถูกปกครองในฐานะส่วนหนึ่งของจังหวัดมาลากา ก่อนจะได้รับสิทธิ์ในการปกครองตนเองเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2538 และเมืองนี้ยังเคยเป็นเมืองท่าปลอดภาษีก่อนที่สเปนจะเข้าร่วมสหภาพยุโรป พลเมืองประกอบด้วยคริสต์ศาสนิกชน ชาวมุสลิม ชาวยิว และชนกลุ่มน้อยชาวฮินดู ใช้ภาษาสเปนและ/หรือภาษาเบอร์เบอร์ในการสื่อสาร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเมลียา · ดูเพิ่มเติม »

เมาะลำเลิง

มาะลำเลิง หรือ มะละแหม่ง (မော်လမြိုင်) ในเอกสารเก่าของไทยเรียก เมืองพัน เป็นเมืองหลวงของรัฐมอญและเป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับที่สี่ของประเทศพม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเมาะลำเลิง · ดูเพิ่มเติม »

เยอ

อ หรือเผ่าเยอ อพยพย้ายถิ่นฐานมาจาก ประเทศจีนตอนบน ซึ่งไม่ทราบแน่ชัดว่าย้ายมาก่อน หรือหลังสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งคนเผ่าเยอ ย้ายมาถึงจังหวัดศรีสะเกษ ตั้งถิ่นฐานอยู่ใน อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ต่อมาเกิดโรคระบาดจึงได้ได้แบ่งออกเป็นหลาย 4 กลุ่ม ย้ายถิ่นที่อยู่ใหม่ กลุ่มแรก เดินทางไปตั้งถิ่นฐานอยู่ที่เมืองปราสาทเยอ ซึ่งในปัจจุบัน คือบ้านปราสาทเยอ ตั้งอยู่ใน อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มที่ 2 ได้ย้ายไปตั้งถิ่นฐานใน อำเภออุทุมพรพิสัย และอำเภอห้วยทับทัน ส่วนกลุ่มที่ 3 และกลุ่มที่ 4 อาศัยอยู่ใน อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ ในปัจจุบัน ชื่อหมู่บ้านว่า บ้านขมิ้น อยู่ใน ตำบลทุ่ม อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ และบ้านโพนค้อ ตำบลโพนค้อ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเยอ · ดูเพิ่มเติม »

เรลิก

รลิก (relic) คือชิ้นส่วนร่างกายของนักบุญหรือบุคคลที่เป็นที่นับถือ หรือศาสนวัตถุโบราณอื่นๆ ที่มีการเก็บรักษาไว้ให้ศาสนิกชนได้บูชา หรือเป็นเครื่องระลึกถึง ความเชื่อเกี่ยวกับเรลิกมีความสำคัญในหลายศาสนา เช่น ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ ศาสนาฮินดู ลัทธิเชมัน ฯลฯ คำว่า relic มาจาก ภาษาละติน “reliquiae” แปลว่าสิ่งที่หลงเหลืออยู่ และคำว่า “reliquary” หมายถึงที่เก็บรักษาเรลิกซึ่งอาจเป็นหีบหรือตู้ หรือศาสนสถานสถานที่เช่นมหาวิหารหรือวั.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเรลิก · ดูเพิ่มเติม »

เรอูนียง

รอูนียง หรือ เรอูว์นียง (La Réunion) เป็นเกาะตั้งอยู่บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกของมาดากัสการ์ และห่างจากมอริเชียสไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 200 กิโลเมตร (130 ไมล์) ในระบบบริหาร เรอูนียงเป็นหนึ่งในจังหวัดโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส เหมือนกับจังหวัดโพ้นทะเลอื่น ๆ เรอูนียงก็เป็นหนึ่งใน 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส (ในฐานะแคว้นโพ้นทะเล) และเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโดยมีสถานะเท่ากับแคว้นอื่น ๆ ในภาคพื้นทวีปยุโรป เรอูนียงเป็นแคว้นที่อยู่ห่างไกลที่สุดในกลุ่มสหภาพยุโรปและใช้สกุลเงินยูโร ตามความจริง ตำแหน่งที่ตั้งของเรอูนียงในเขตเวลาทางด้านตะวันออกของทวีปยุโรป ทำให้เรอูนียงเป็นแคว้นแรกในโลกที่ใช้สกุลเงินยูโร และการใช้สกุลเงินยูโรเป็นครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อเวลา 00.01 นาฬิกา เมื่อนายกเทศมนตรีเมืองแซง-เดอนี เรอเน-ปอล วิกโตเรีย ซื้อลิ้นจี่ถุงหนึ่งในตล.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเรอูนียง · ดูเพิ่มเติม »

เวท

วท อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเวท · ดูเพิ่มเติม »

เวทางคศาสตร์

วทางคศาสตร์ หรือเวทางค์ คือ คัมภีร์ชุดหนึ่งของศาสนาพราหมณ์ ว่าด้วยวิชาประกอบการศึกษาพระเวท มีหกคัมภีร์ คือ 1.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเวทางคศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เสาชิงช้า

งช้า เป็น สถาปัตยกรรม ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบพิธีโล้ชิงช้า ใน พระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวาย ของ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู โดยทั่วไปหมายถึงเสาชิงช้าที่ตั้งอยู่หน้า วัดสุทัศน์เทพวราราม และลานหน้า ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (ลานคนเมือง) ใกล้กับ เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ ในพื้นที่แขวงเสาชิงช้าและแขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของ กรุงเทพมหานคร แม้พิธีโล้ชิงช้าได้เลิกไปแล้วตั้งแต่สมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ก็ตาม นอกจากนี้ ใน ประเทศไทย ยังมีเสาชิงช้าอีกแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ที่ หน้าหอพระอิศวร เมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งมีการประกอบพิธีโล้ชิงช้ามาแต่โบราณเช่นกัน แต่ได้เลิกไปก่อนที่จะมีการก่อสร้างขึ้นใหม่ในภายหลัง โดยจำลองแบบมาจากเสาชิงช้าที่ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้าที่ กรุงเทพมหานคร แห่งนี้ มีลักษณะเป็นเสาชิงช้าขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บนแท่นหินขนาดใหญ่ สูง 21.15 ม. เส้นผ่านศูนย์กลาง ฐานกลมประมาณ 10.50 ม. ฐานกลมก่อเป็นฐานปัทม์ทำด้วยหินล้างสีขาว พื้นบนปูกระเบื้องดินเผาสีแดง มีบันได 2 ขั้น ทั้ง 2 ด้าน ตามแนวโค้งของฐานติดแผ่นจารึกประวัติเสาชิงช้า เสาไม้แกนกลางคู่และเสาตะเกียบ 2 คู่ เป็นเสาหัวเม็ด ล้วนทำด้วยไม้สักกลึงกลม โครงยึดหัวเสาทั้งคู่แกะสลักอย่างสวยงาม กระจังและหูช้างไม้เป็นลวดลายไทย ทั้งหมดทา สีแดงชาด ติด สายล่อฟ้า จากลวดลายกระจังด้านบนลงดิน กรมศิลปากร ได้ประกาศขึ้นทะเบียนเสาชิงช้าเป็น โบราณสถาน สำคัญของชาติเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 นับตั้งแต่สร้างครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2327 จนถึงการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งล่าสุดซึ่งเสาชิงช้าคู่เดิมถูกถอดเปลี่ยนเมื่อปี พ.ศ. 2549 เสาชิงช้ามีอายุรวมประมาณ 222 ปี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเสาชิงช้า · ดูเพิ่มเติม »

เสียมราฐ (เมือง)

ียมราฐ หรือชื่อท้องถิ่นว่า เสียมเรียบ (សៀមរាប) เป็นเมืองในประเทศกัมพูชา มีฐานะเป็นเมืองเอกของจังหวัดเสียมราฐ (เทียบได้กับอำเภอเมืองของจังหวัดในประเทศไทย) มีประชากรประมาณ 171,800 คน เมืองเสียมราฐเป็นที่รู้จักกันดีเนื่องจากตั้งอยู่ใกล้นครวัด นครธม และปราสาทขอมอื่น ๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของเมืองพระนคร แหล่งมรดกโลกของกัมพู.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเสียมราฐ (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของคณิตศาสตร์

้นเวลาของคณิตศาสตร์บริสุทธิ์และคณิตศาสตร์ประยุกต์ (timeline of mathematics).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเส้นเวลาของคณิตศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอกเทวนิยม

อกเทวนิยมราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 364 (Monotheism มาจากภาษาμόνος, monos - เดียว, และ θεός, theos - เทพ) คือความเชื่อว่ามีพระเป็นเจ้าเป็นเทวดาองค์เดียว หรือความเชื่อว่าพระเป็นเจ้าเป็นหนึ่งเดียว (ไม่ทรงแบ่งภาค) แนวคิดเอกเทวนิยมแบบบริสุทธิ์พบในศาสนายูดาห์และศาสนาอิสลาม ส่วนแบบอ่อนพบในศาสนาคริสต์ส่วนใหญ่ ลัทธิซาเบียน นิกายมอรมอน และศาสนาอื่น ๆ เช่น ศาสนาโซโรอัสเตอร์ ศาสนาบาไฮ ศาสนาซิกข์ และศาสนาฮินดูในบางสำนัก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเอกเทวนิยม · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เจ็ดกฎทางจิตวิญญาณแห่งความสำเร็จ

็ดกฎทางจิตวิญญาณแห่งความสำเร็จ คือ หลักการแห่งความสำเร็จเจ็ดประการที่ เขียนโดย ดีพัค โชปรา ในหนังสือ The Seven Spiritual Laws of Success – A Practical Guide to the Fulfillment of Your Dreams ที่พิมพ์ออกมาเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเจ็ดกฎทางจิตวิญญาณแห่งความสำเร็จ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าเสือห่มเมือง

้าฟ้าเสือห่มเมือง ผู้เป็นโอรสของสุพิมฟ้าขึ้นครองชากุยะสืบต่อมา ทรงเป็นประมุขที่กล้าหาญและขยันขันแข็ง อาณาจักรอาหมได้แผ่อาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวาง มีอาณานิคมอยู่ทุกทิศทาง พวกชุติยะยอมอยู่ใต้อำนาจและอยู่ใต้การควบคุมดูแลของขุนนางอาหมที่สทิยะและทิหิง ครอบครัวอาหมหลายครัวเรือนก็ได้ไปตั้งหลักแหล่งอยู่โดยรอบ การโจมตีของชาวนาคะก็ถูกปราบลงด้วยกำลังทหารที่แข็งแกร่ง อำนาจของชนชาวกะฉารีถูกลิดรอน และราชธานีทิมาปุระก็ตกเป็นของอาหมถึงสองครั้ง ขุนนางผู้หนึ่งชื่อ มารังกี โควา โกฮาอิน ได้รับแต่งตั้งให้ดูแลดินแดนตอนล่างของลุ่มน้ำทันสิริ และดินแดนส่วนใหญ่ของเนากองก็ตกเป็นของอาหม การรุกรานถึงสามครั้งของพวกโมฮัมหมัดก็ถูกปราบลงได้ สภาพสังคมของพลเมืองอาหมได้รับความดูแลเอาใจใส่ ได้แบ่งออกเป็นหมู่เป็นเหล่า ช่างก่อสร้างถูกส่งตัวมากจากชุติยะและที่อื่นๆ การใช้อาวุธปืนได้มีขึ้นเป็นครั้งแรก ศักราช "สัก" ตามแบบของฮินดูถูกนำมาใช้แทนศักราชเก่าซึ่งคำนวณวันเดือนปีตามแบบโจเวียน และในรัชกาลนี้ ความสำคัญทางศาสนาก็มีมิใช่น้อย นอกจากอิทธิพลของพราหมณ์แล้ว ยังมีการปฏิรูปแบบเวชนาวาซึ่งสังคเทพเป็นผู้นำออกเผยแพร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเจ้าฟ้าเสือห่มเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เทวรูป

ทวรูปพระพรหม ที่พิพิธภัณฑ์กีเมต์ จากจังหวัดพระตะบอง ประเทศกัมพูชา เทวรูป (Cult image) เป็นประติมากรรมลอยตัว สร้างขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของเทพเจ้า (ถ้าสร้างขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของสิ่งที่เคารพนับถือที่ไม่ใช่เทพเจ้าเรียกว่า "รูปเคารพ") เทวรูปนั้นได้มีการนำมาใช้เพื่อกิจกรรมหรือพิธีกรรมทางศาสนา และการสักการบูชาเคารพ มีการสักการบูชาที่เป็นเอกลักษณ์ เช่น การถวายข้าวตอกดอกไม้ การไหว้ หรือมีพิธีกระบวนแห่ต่างๆ เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเทวรูป · ดูเพิ่มเติม »

เทวสถานโบสถ์พราหมณ์

ทวสถาน กรุงเทพมหานคร เทวสถาน สำหรับพระนคร (โบสถ์พราหมณ์) หรือที่นิยมเรียกกันว่า เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ เป็นโบสถ์พราหมณ์ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 268 ถนนบ้านดินสอ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ใกล้เสาชิงช้า และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเทวสถานโบสถ์พราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เทวัน นายัร

นคารา วีฏิล เทวัน นายัร (Chengara Veetil Devan Nair) หรือในชื่อย่อว่า ซี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเทวัน นายัร · ดูเพิ่มเติม »

เทวาธิปไตย

ทวาธิปไตย (Theocracy) คือระบอบการปกครองที่มีพระเจ้าหรือเทพเป็นประมุข หรือในความหมายกว้าง ๆ คือระบอบการปกครองที่รัฐปกครองโดยอำนาจจากเทพ (divine guidance) หรือโดยผู้ที่ถือกันว่าได้รับอำนาจหรือการดลใจโดยตรงจากเทพ ในภาษากรีกคอยนี (Koine Greek) หรือภาษากรีกสามัญคำว่า “theocracy” มาจากคำว่า “kra′tos” โดย “the.os” หรือ “ปกครองโดยพระเจ้า” สำหรับผู้มีความศรัทธาแล้วระบบนี้ก็เป็นระบอบการปกครองที่ใช้อำนาจจากเทพในการปกครองมวลมนุษย์ในโลก ไม่โดยผู้ที่เป็นเทพกลับชาติมาเกิด (incarnation) ก็มักจะโดยผู้แทนของศาสนจักรที่มีอำนาจเหนืออาณาจักร รัฐบาลที่ปกครองโดยระบบเทวาธิปไตยปกครองโดยเทพธรรมนูญ (theonomy) ระบอบเทวาธิปไตยควรจะแยกจากระบบการปกครองอื่น ๆ ที่มีศาสนาประจำชาติ (state religion) หรือรัฐบาลที่มีอิทธิพลจากเทวปรัชญาหรือศีลธรรม หรือระบบราชาธิปไตยที่ปกครอง “โดยพระคุณของพระเจ้า” (By the Grace of God) เทวาธิปไตยอาจจะเป็นระบบการปกครองเดี่ยวที่ฐานันดรระดับต่าง ๆ ของรัฐบาลที่ปกครองโดยฝ่ายอาณาจักรเป็นฐานันดรระดับเดียวกันกับที่ใช้ในการปกครองในศาสนจักร หรืออาจจะแบ่งเป็นสองระบบที่แยกฐานันดรระหว่างอาณาจักรและศาสนจักร การปกครองเทวาธิปไตยเป็นระบบที่ใช้ในหลายศาสนาที่ได้แก่ ศาสนาขงจื๊อ ศาสนายูดาห์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาฮินดู พุทธศาสนาบางนิกายเช่นทะไลลามะ และ คริสต์ศาสนาบางนิกายที่รวมทั้งโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์ และมอร์มอน ตัวอย่างของการปกครองระบบเทวาธิปไตยของคริสต์ศาสนาก็ได้แก่การปกครองของจักรวรรดิไบแซนไทน์ระหว่าง..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเทวาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

เทวี

ทวี (देवी; goddess) หมายถึง เทวดาผู้หญิง เทวีบางองค์เชื่อว่าเกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ต่าง ๆ เช่น โลก ความอุดมสมบูรณ์ ความเป็นแม่ เป็นต้น ลัทธิศาสนาที่บูชาเทวีเป็นหลัก เช่น ลัทธิศักติในศาสนาฮินดู พระนางตาราในศาสนาพุทธแบบทิเบต เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเทวี · ดูเพิ่มเติม »

เทวีศรี

เทวีศรี เทวีศรี (Dewi Sri เดวี ซรี) หรือ ศรีเทวี (Shridevi ซรี เดวี) หรือ ไญ โปฮาจี ซังฮฺยัง อัสรี (Nyai Pohaci Sanghyang Asri.) เป็นเทวีผู้อุปถัมภ์ความอุดมสมบูรณ์และพืชพันธุ์ธัญญาหารตามความเชื่อพื้นเมืองดั้งเดิมของชาวชวา, ซุนดา และบาหลีก่อนการรับศาสนาฮินดูและอิสลาม ทำนองเดียวกับคติโพสพของไทย ครั้นหลังการรับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เทวีศรีถือว่าเป็นพระภาคหนึ่งของพระลักษมี และยังคงบูชากันอย่างแพร่หลายในหมู่เกาะบาหลี และชวา หมวดหมู่:คติชนอินโดนีเซีย หมวดหมู่:ปรัมปราวิทยาชาวซุนดา หมวดหมู่:คติชนซุนดา หมวดหมู่:ปรัมปราวิทยาชาวชวา หมวดหมู่:คติชนชวา หมวดหมู่:ปรัมปราวิทยาชาวบาหลี หมวดหมู่:คติชนบาหลี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเทวีศรี · ดูเพิ่มเติม »

เทวีในศาสนาฮินดู

ในศาสนาฮินดู เทวี (देवी) หมายถึง เทวดาผู้หญิง.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเทวีในศาสนาฮินดู · ดูเพิ่มเติม »

เทวนิยม

หล่าทวยเทพในภาพ ''The Triumph of Civilization'' (ชัยชนะแห่งความศิวิไลซ์) เทวนิยม (Theism) ในความหมายอย่างกว้างหมายถึงความเชื่อว่ามีพระเป็นเจ้าหรือเทพเจ้า ความหมายอย่างแคบคือเชื่อแบบเอกเทวนิยมว่ามีพระเจ้าองค์เดียวและทรงสัมพันธ์กับการดำรงอยู่ของเอกภพ เทวนิยมยังเชื่อว่าพระเจ้าทรงเป็นบุคคล และมีอำนาจปกครองและจัดการโลกและเอกภพ แนวคิดตามแบบแผนนี้อธิบายพระเจ้าในเชิงเอกเทวนิยมซึ่งปรากฏในศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดูในบางสำนัก คำว่า Theism ตามแนวคิดนี้เกิดขึ้นในช่วงการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เพื่อให้ต่างจากคำว่าเทวัสนิยม ที่เชื่อว่ามีพระเจ้าเป็นอุตตรภาวะสูงสุด แต่พระเจ้ามิได้ทรงแทรกแซงโลกตามธรรมชาติ และมนุษย์รู้จักพระองค์ได้ด้วยการใช้เหตุผล ไม่ใช่โดยการวิวรณ์ ส่วนสรรพเทวนิยมเชื่อว่าสรรพสิ่งคือพระเจ้า และพหุเทวนิยมเชื่อว่ามีเทวดาหลายองค์ แต่ละองค์มีอำนาจต่าง ๆ กันไป คำว่า Theism มาจาก theos ในภาษากรีกที่แปลว่า เทพ นักปรัชญาชื่อ Ralph Cudworth ใช้คำนี้เป็นคนแรก ส่วนอเทวนิยมเป็นการปฏิเสธความเชื่อแบบเทวนิยมในความหมายกว้าง คือไม่เชื่อว่ามีพระเจ้าองค์เดียว ถ้าปฏิเสธพระเจ้าในความหมายแคบ จะเรียกว่า เทวัสนิยม สรรพเทวนิยม พหุเทวนิยม ตามแต่ลักษณะของความเชื่อ ถ้าเห็นว่าพระเจ้าหรือเทวดาจะมีอยู่หรือไม่เราก็รู้ไม่ได้เรียกว่าอไญยนิยม ถ้าเชื่อว่ารู้ได้ (ว่ามีหรือไม่มี) ก็ถือว่าเป็นเทวนิยมหรืออเทวนิยม (ตามแต่ลักษณะความเชื่อ) เทวนิยมและอเทวนิยมจึงเป็นยืนยันหรือปฏิเสธการดำรงอยู่ของพระเจ้า แต่อไญยนิยมปฏิเสธการรับรู้ ผู้ที่ไม่มีศาสนาจะไม่เชื่อในเรื่องการมีสิ่งศักดิ์สิทธื์ใด ๆ เลย ศาสนาพุทธอาจจัดว่าเป็นทั้งเทวนิยมและอเทวนิยม นิกายเถรวาทและนิกายเซน เชื่อในกฎธรรมชาติ สร้างสรรพสิ่ง จัดเป็นอเทวนิยม นิกายสุขาวดีและวัชรยาน เชื่อว่ามีพระอาทิพุทธะเป็นผู้สร้างโลกและสรรพสิ่งเฉกเช่นพระเจ้า จึงอาจจัดนิกายเหล่านี้เป็นเทวนิยมได้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเทวนิยม · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครยะลา

ทศบาลนครยะลา เป็นเทศบาลนครแห่งหนึ่งในประเทศไทย และ เป็นเทศบาลในจังหวัดยะล.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเทศบาลนครยะลา · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครเชียงใหม่

ียงใหม่ (40px) เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และเป็นเมืองวัฒนธรรมที่สำคัญที่สุดในภาคเหนือของประเทศไทย เป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดเชียงใหม่ และเป็นอดีตนครหลวงแห่งอาณาจักรล้านนา ห่างจากกรุงเทพมหานครไปทางทิศเหนือเป็นระยะทาง มีแม่น้ำปิงไหลผ่านเมือง และตั้งอยู่ท่ามกลางภูเขาที่สูงที่สุดของประเทศ เขตเทศบาลมีพื้นที่ 40.22 ตารางกิโลเมตร โดยครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของอำเภอเมืองเชียงใหม่ ในแง่ของจำนวนประชากรของเทศบาลนครเชียงใหม่ซึ่งมีประมาณ 130,000 คน ระบบสถิติทางการทะเบียน กรมการปกครอง นับว่าเป็นเทศบาลที่มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 4 ของประเทศไทย รองจากเทศบาลนครนนทบุรี เทศบาลนครปากเกร็ด และเทศบาลนครหาดใหญ่ นอกจากนี้ เทศบาลนครเชียงใหม่ยังเป็นเทศบาลนครแห่งแรกของประเทศไท.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเทศบาลนครเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองหนองคาย

ทศบาลเมืองหนองคาย เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมืองในอำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย ตั้งอยู่ริมฝั่งขวาแม่น้ำโขงและมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศลาว โดยมีสะพานมิตรภาพไทย-ลาว เชื่อมต่อจากเมืองหนองคายไปยังนครหลวงเวียงจันทน์ เทศบาลเมืองหนองคายเป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัดหนองคาย มีพื้นที่ 35.15 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรในปี..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเทศบาลเมืองหนองคาย · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลนวราตรี

นวราตรี (नवरात्री નવરાત્રી ଓଡ଼ିଶା), নবরাত্রী ನವರಾತ್ರಿ नवरात्री ਨਰਾਤੇ نَورات / नवरात నవరాత్రీ நவராத்திரி നവരാത്രി) เป็นเทศกาลที่อุทิศตนเพื่อ การสักการบูชาประจำปีแด่พระแม่ทุรคา คำว่า นวราตรีนั้น หมายถึงคำว่า 'เก้าคืน' ในภาษาสันสกฤต. ในช่วงเก้าคืนนี้จะมีการบูชา พระแม่ทุรคาและพระแม่ปารวตีในภาคปางต่างๆเก้าปางด้วยกัน และในวันสุดท้าย คือ วันที่สิบมักจะเรียกว่าเป็น วันวิชยาทศมี (Vijayadashami) หรือ "วันดุเซร่า" (Dussehra) ซึ่งเป็นวันที่สำคัญสุดของเทศกาลนี้ และมีการเฉลิมฉลองทั่วไปทั้ง ประเทศอินเดีย.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเทศกาลนวราตรี · ดูเพิ่มเติม »

เขาพระสุเมรุ

ตรกรรมฝาผนัง เขาพระสุเมรุ เขาพระสุเมรุ ตามคติในศาสนาพราหมณ์ ศาสนาพุทธ และศาสนาเชน คือภูเขาที่เป็นศูนย์กลางของโลกหรือจักรวาล เป็นที่อยู่ของสิ่งมีวิญญาณในภพและภูมิต่าง ๆ ของสัตวโลก โดยมีปลาอานนท์หนุนอยู่ รอบๆ เขาพระสุเมรุ เขาพระสุเมรุตั้งอยู่เหนือน้ำ 84,000 โยชน์ มีภูเขารองรับ 3 ลูก โดยส่วนฐานคือ ตรีกูฏ (สามเส้าหรือสามยอด) มีภูเขาล้อมรอบ 7 ทิว เรียกว่าสัตบริภัณฑ์ คือ ยุคนธร กรวิก อิสินธร สุทัศ เนมินธร วินตกและอัสกัณ มีเทวดาจตุมหาราชิก และบริวารสถิตอยู่ ภายในจักรวาลมีภูเขาชื่อ หิมวา (หิมาลัย) ของจักรวาลทั้งหมด เป็นเทือกเขายาวติดกัน เป็นพืด เรียกว่าเขาจักรวาล โดยแต่ละจักรวาลมีพระอาทิตย์ พระจันทร์ ดาวดึงส์ ยังมีมหาทวีปทั้ง 4 คือ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเขาพระสุเมรุ · ดูเพิ่มเติม »

เขตพะโค

ตพะโค (ပဲခူးတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองหนึ่งของประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ ทางเหนือของเขตติดต่อกับเขตมาเกวและเขตมัณฑะเลย์ ทางตะวันออกกับรัฐกะเหรี่ยง รัฐมอญ และอ่าวเมาะตะมะ ทางใต้กับเขตย่างกุ้ง และทางตะวันตกกับเขตอิรวดีและรัฐยะไข่ พิกัดภูมิศาสตร์ของเขตพะโคได้แก่ 46°45' เหนือ, 19°20' เหนือ, 94°35' ตะวันออก และ 97°10' ตะวันออก.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเขตพะโค · ดูเพิ่มเติม »

เขตมัณฑะเลย์

ตมัณฑะเลย์ (မန္တလေးတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองหนึ่งของประเทศพม่า อยู่ในบริเวณภาคกลาง เมืองหลวงของเขตคือเมืองมัณฑะเลย์ซึ่งตั้งอยู่ตอนกลาง และเมืองหลวงของประเทศคือเนปยีดอซึ่งตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเขตนี้.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเขตมัณฑะเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตย่างกุ้ง

ตย่างกุ้ง (ရန်ကုန်တိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองแห่งหนึ่งของประเทศพม่า ตั้งอยู่ใจกลางบริเวณพม่าตอนล่าง มีเมืองหลวงคือย่างกุ้ง ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและอดีตเมืองหลวงของประเทศ เมืองที่สำคัญอื่น ๆ เช่น สิเรียมและตวูนเต เขตนี้เป็นพื้นที่มีการพัฒนามากที่สุดของประเทศและเป็นประตูสู่นานาชาติ เขตย่างกุ้งมีเนื้อที่ 10,276.7 ตารางกิโลเมตร (3,967.9 ตารางไมล์).

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเขตย่างกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

เคที เพร์รี

แคเทอรีน เอลิซาเบธ ฮัดสัน (Katheryn Elizabeth Hudson; เกิด 25 ตุลาคม ค.ศ. 1984) หรือชื่อในวงการคือ เคที เพร์รี (Katy Perry) เป็นนักร้อง และนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน หลังจากเธอร้องเพลงในโบสถ์ในวัยเด็ก เธอได้ทำงานดนตรีแนวเพลงกอสเปลขณะเป็นวัยรุ่น เพร์รีเซ็นสัญญากับสังกัดเรดฮิลล์เรเคิดส์ และออกสตูดิโออัลบั้มแรกในชื่อ เคที ฮัดสัน โดยใช้ชื่อเกิดของเธอ เมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเคที เพร์รี · ดูเพิ่มเติม »

เต๋า

ปากว้า เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงเต๋าและการก่อกำเนิดสรรพสิ่ง เต๋า (道. เต้า) มีความหมายตามตัวอักษรว่า วิถี หรือ วิธี ต่อมาคัมภีร์เต๋ายุคแรก ได้ใช้คำว่า เต๋า ในความหมายใหม่ว่า เป็นสัจภาวะสูงสุด เป็นอุตรภาพ อัพภันตรภาพ ซึ่งปราศจากรูปร่าง พ้นวิสัยภาษา ความคิด และความเข้าใจของมนุษย์ เชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดและจุดหมายปลายทางของสรรพสิ่ง แม้ความเชื่อนี้จะมีที่มาจากลัทธิเต๋า แต่ก็ได้แพร่หลายไปยังคตินิยมอื่น ๆ ด้วยทั้ง ลัทธิขงจื๊อ ตลอดจนศาสนาและปรัชญาตะวันออกโดยรวม.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเต๋า · ดูเพิ่มเติม »

เซลลัปปัน รามนาทัน

ซลลัปปัน รามนาทัน (Sellapan Ramanathan; செல்லப்பன் ராமநாதன்; 3 กรกฎาคม 2467 – 22 สิงหาคม 2559) หรือชื่อย่อว่า เอ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเซลลัปปัน รามนาทัน · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์ไซยิด อาหมัด ข่าน

ซอร์ไซยิด อาหมัด ข่าน (Sir Sayyid Ahmad Khan; سید احمد تقوی) เป็นนักปฏิรูปชาวอินเดียที่ก่อตั้งสถาบันการศึกษาแบบใหม่สำหรับมุสลิมในอินเดีย โดยให้ความรู้ทางศาสนาควบคู่กับความรู้ทางตะวันตก และพยายามปกป้องสิทธิของมุสลิมในอินเดีย และมีส่วนร่วมในการก่อตั้งขบวนการปากีสถาน อาหมัด ข่านเกิดเมื่อ 17 ตุลาคม..

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเซอร์ไซยิด อาหมัด ข่าน · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์

"นักบุญทั้งหลาย" วาดโดยฟราอันเจลีโก เซนต์ (Saint) ชาวคาทอลิกและชาวออร์ทอดอกซ์ เรียกว่านักบุญ หมายถึง ผู้ศักดิ์สิทธิ์Wycliffe Bible Encyclopedia, "saint", ISBN 0-8024-9697-0, "Christians in general are 'saints' in NT usage, and the term is common in reference to the inclusive membership of a local church.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเซนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เปรต

วาดเปรตแบบญี่ปุ่น เปรต (प्रेत เปฺรต; peta เปต) หมายถึงผี ตามความเชื่อในหลายศาสนาทั้ง ศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดู ศาสนาซิกข์ และศาสนาเชน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเปรต · ดูเพิ่มเติม »

เปลือกหอย

ปลือกหอยนานาชนิด เปลือกหอย หรือ ฝาหอย หรือ กาบหอย คือ สสารที่เป็นของแข็งที่ห่อหุ้มลำตัวภายนอกของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัมมอลลัสคา หรือที่นิยมเรียกกันติดปากว่า หอย มีลักษณะแตกต่างกันออกไป ซึ่งหอยจะใช้เป็นเครื่องอำพรางอันตรายจากสัตว์อื่น เป็นสัญลักษณ์สื่อสารระหว่างกัน และช่วยควบคุมอุณหภูมิภายในเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ำ เปลือกหอยเป็นสิ่งที่ติดตัวกับหอยมานับตั้งแต่ยังเป็นตัวอ่อนและฟักออกมาจากไข่ โดยไม่ต้องลอกคราบเหมือนสัตว์ในไฟลัมอาร์โธพอดหรือ ครัสเตเชียน โดยขนาดจะใหญ่ขึ้นมาตามขนาดของตัวหอย เปลือกหอยประกอบด้วยสารจำพวกแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นส่วนใหญ่ ส่วนที่เหลือเป็นสารอื่น ๆ เช่น แคลเซียมฟอสเฟต, แมกนีเซียมคาร์บอเนต, แมกนีเซียมฟอสเฟต, แมกนีเซียมซิลิเกต, โปรตีนประเภทคอนไคโอลิน เปลือกหอยแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือ.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเปลือกหอย · ดูเพิ่มเติม »

เปารพ

ปารพ, เปารัพ, หรือ เปารวะ (पौरव Paurava; Pauravas) เป็นราชอาณาจักรโบราณทางตะวันตกเฉียงเหนือของอนุทวีปอินเดีย ตั้งอยู่อย่างน้อยใน 892–322 ปีก่อนคริสตกาล เรื่องราวของเปารพนั้นมีบันทึกในเอกสารทางประวัติศาสตร์และศาสนาของฮินดูซึ่งเก่าแก่ถึง 820 ปีก่อนคริสตกาล โปรสครองบัลลังก์แห่งเปารพอยู่ในคราวที่อเล็กซานเดอร์มหาราชรุกรานอนุทวีปอินเดีย เชื่อกันว่า อเล็กซานเดอร์ปราบโปรสได้ในยุทธการที่ไฮดัสเปส (Battle of the Hydaspes) แล้วโปรดให้โปรสครองบัลลังก์ดังเดิม แต่ในฐานะเจ้าประเทศราช เรียก เซแทร็ป (satrap) ครั้น 322 ปีก่อนคริสตกาล จันทรคุปตเมารยะพิชิตดินแดนเปารพได้และก่อตั้งจักรวรรดิเมารยะ จักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในอนุทวีปอินเดี.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเปารพ · ดูเพิ่มเติม »

เนื้อวัว

นื้อวัวดิบที่หั่นเป็นแผ่นบาง เนื้อโค หรือ เนื้อวัว หมายถึง อวัยวะกล้ามเนื้อของสัตว์ประเภทเคี้ยวเอื้องที่เรียกว่าโคหรือวัว ซึ่งไม่รวมความถึงหนัง เขา กีบ และเครื่องในของสัตว์ชนิดนั้น ๆ ด้วย เนื้อโคเป็นประเภทกล้ามเนื้อลาย (Striated muscle) มีลักษณะเป็นเส้นยาวเรียกว่าใยกล้ามเนื้อ (Muscle fiber) ซึ่งจะโตกว่าเซลล์ของเนื้อหมู เนื้อโคที่ดีและสะอาดจะต้องมาจากกระบวนการฆ่าและชำแหละจากโรงฆ่าสัตว์ที่ได้มาตรฐาน ผ่านการตรวจรับรองจากพนักงานตรวจเนื้อสัตว์ ของกระทรวงเกษตรฯ ในประเทศนั้น ๆ เนื้อโคที่สด สะอาด จะมีลักษณะสีแดง ไม่ดำหรือคล้ำ และต้องไม่มีสารเคมี ยา หรือจุลินทรีย์ตกค้างและทำให้เกิดโรคต่อผู้บริโภคได้ ในความเชื่อบางศาสนาเช่นศาสนาฮินดูหรือศาสนาพุทธนิกายมหายาน การรับประทานเนื้อวัวถือว่าผิดหลักศาสน.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและเนื้อวัว · ดูเพิ่มเติม »

13 เมษายน

วันที่ 13 เมษายน เป็นวันที่ 103 ของปี (วันที่ 104 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 262 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและ13 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

27 กุมภาพันธ์

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 58 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 307 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและ27 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

30 มีนาคม

วันที่ 30 มีนาคม เป็นวันที่ 89 ของปี (วันที่ 90 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 276 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศาสนาฮินดูและ30 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Hinduismศาสนาบูชาไฟศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูศาสนาพราหมณ์ฮินดูฮินดูพราหมณ์-ฮินดูนิกายในศาสนาฮินดู

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »