โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วินาที

ดัชนี วินาที

วินาที (Second) เป็นหน่วยฐานของเวลาในระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ (เอสไอ) และยังเป็นหน่วยเวลาในระบบการวัดอื่น เท่ากับ 1 ส่วน 60 ของนาที ระหว่าง..

240 ความสัมพันธ์: บรรพตนิวส์ BPNewsบลูทูธชั่วโมงบิกแบงพลังของคลาร์ก เค้นท์พันล้านปีพงษ์ศักดิ์เล็ก ศิษย์คนองศักดิ์กระจุกดาวแฝดกระจงชวากระแสไฟฟ้ากลศาสตร์ดั้งเดิมการพิมพ์ออฟเซตการปรับตัวของประสาทการนับถอยหลังการแปลงฟูรีเยต่อเนื่องการเบนคนละทิศการเมืองใหม่การเข้ารหัสทางประสาทกิโลกิโลวินาทีกิโลเมตรต่อชั่วโมงมาตราซีจีเอสมิลลิวินาทีม้าน้ำยานจอตโตยูเรเนียม-238ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศรายการวันสำคัญเกี่ยวกับวิดีโอเกมรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิดร็อดลิเทียมวังจั่นน้อย ส.พลังชัยวัตต์วัตต์ต่อเมตร-เคลวินวันวิทยาการอำพรางข้อมูลสภาพต้านทานและสภาพนำไฟฟ้าสิงหาคม พ.ศ. 2546สปิน (ฟิสิกส์)หรคุณจูเลียนหลอดกึ่งวงกลมหน่วยฐานเอสไออักษรล่าแสน The Alphabet Thailandอัตราเร็วของแสงอัตราเร็วของเสียงอันดับของขนาด (อุณหภูมิ)อันดับของขนาด (จำนวน)อันดับของขนาด (ความยาว)อันดับของขนาด (ความเร็ว)...อธิกวินาทีฮีโร่ เพชฌฆาต ล่าข้ามโลกจำนวนจุดลอยตัวจูลจงโคร่งธรณีนี่นี้ใครครองทวิภาคขนาดคลื่นพื้นผิวดวงอาทิตย์ดวงจันทร์ดังเคิลออสเตียสดายน์ดาวพฤหัสบดีดาวพลูโตดาวมาคีมาคีดาวยูเรนัสดาวอีริสดาวเสาร์ดาวเฮาเมอาดาวเนปจูนดิอะเมซิ่งเรซ 12ความถี่ความถี่เสียงเปียโนความโน้มถ่วงความเร็วแนวเล็งความเจ็บปวดคาทัลซีรีสซีเวอร์ตปีศาจโดเวอร์ปีแสงนกตะขาบทุ่งนอตนาฬิกานาทีนีออน-18น้ำตกวิกตอเรียน้ำตกอีกวาซูน้ำตกไนแอการาน้ำตกเมอร์ชิสันแบ็กแรลแกนประสาทนำออกแม่น้ำสาละวินแม่น้ำฮัดสันแม่น้ำโขงแรงลอเรนซ์แสงแดนซ์ แดนซ์ เรโวลูชันแคนเดลาโพรงลมดาวฤกษ์โมเมนตัมโลก (ดาวเคราะห์)โลมาอิรวดีโวลต์โน้ตดนตรีไฟฟ้ากระแสสลับเมตรเมตรต่อวินาทีเรือรบอวกาศยามาโตะเรเดียนเวลาเสือโคร่งเสียงเส้นเวลากราฟิกของบิกแบงเส้นเวลาของอนาคตไกลเอสดีการ์ดเฮนรี (หน่วยวัด)เดซิเมตรเควซาร์เคียวอิกุกันจิISO 8601One Million Dollar Paranormal ChallengePSR B1257+12Thrash1 E8 m10 ไฮเจีย100 เฮกคาตี101 เฮเลนา102 มิเรียม103 เฮรา104 ไคลมีน105 อาร์ทิมิส106 ไดโอนี107 คามิลลา108 เฮคิวบา109 ฟีลิชีตัส110 ลิเดีย111 อาที112 อิฟิจิไนอา113 แอมัลเทีย114 คัสแซนดรา115 ไทรา116 ซีโรนา117 โลเมีย118 พีโธ119 แอลเธีย120 แลคิซิส121 เฮอร์ไมโอนี122 เกอร์ดา123 บรุนฮิลด์124 แอลเคสต์125 ไลเบรอเทรกซ์126 เวลเลดา127 โจแฮนนา128 เนเมซิส129 แอนทิโกนี130 อิเล็กตรา131 วาลา132 อีทรา133 Cyrene134 โซโฟรซีนี135 Hertha136 ออสเตรีย137 เมลีเบีย138 โทโลซา139 จูเอวา140 ชีวา141 ลูว์แมน142 Polana143 Adria144 Vibilia145 Adeona146 Lucina147 Protogeneia148 Gallia149 เมดูซา159 Aemilia160 Una2 พัลลัส201 พิเนโลพี202 ไครซีอิส203 ปอมเปจา204 Kallisto205 Martha206 Hersilia207 Hedda208 Lacrimosa209 Dido210 Isabella211 อิซอลดา212 Medea213 Lilaea214 แอเชอรา215 อีโนนี216 คลีโอพัตรา217 Eudora218 Bianca219 Thusnelda220 Stephania221 Eos222 Lucia223 Rosa224 โอเชียนา225 Henrietta226 Weringia227 Philosophia228 Agathe229 Adelinda230 Athamantis231 วินโดโบนา232 รัสเซีย233 Asterope234 Barbara235 แคโรไลนา236 โฮโนเรีย237 โคเอเลสตีนา238 ไฮเพเชีย239 แอดรัสเทีย24 สิงหาคม240 Vanadis241 Germania242 Kriemhild243 ไอด้า244 Sita245 วีรา246 Asporina247 Eukrate248 Lameia249 Ilse250 Bettina251 โซเฟีย252 Clementina253 มาทิลเด254 Augusta255 Oppavia256 แวลพัวร์กา4 ต่อ 4 แฟมิลี่เกม4 เวสตา434 ฮังกาเรีย90482 ออร์กัส ขยายดัชนี (190 มากกว่า) »

บรรพตนิวส์ BPNews

ว็บไซต์ทางการ http://www.govesite.com/BPNews/index.php?p.

ใหม่!!: วินาทีและบรรพตนิวส์ BPNews · ดูเพิ่มเติม »

บลูทูธ

ลูทูธ (Bluetooth) เป็นข้อกำหนดสำหรับอุตสาหกรรมเครือข่ายส่วนบุคคล (Personal Area Networks - PAN) แบบไร้สาย บลูทูธช่วยให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมต่อกันได้ เช่น โทรศัพท์มือถือ พีดีเอ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล โดยผ่านทางคลื่นวิทยุ ที่มาของชื่อบลูทูธนั้นนำมาจากพระนามพระเจ้าฮาราลด์ บลูทูท (King Harald Bluetooth) ของประเทศเดนมาร์ก เพื่อเป็นการรำลึกถึงกษัตริย์ Bluetooth ผู้ปกครองประเทศกลุ่มสแกนดิเนเวีย ซึ่งในปัจจุบันเป็นกลุ่มผู้นำในด้านการผลิตโทรศัพท์มือถือป้อนสู่ตลาดโลก และระบบ Bluetooth นี้ ก็ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้กับโทรศัพท์มือถือ และเริ่มต้นจากประเทศในแถบนี้ด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: วินาทีและบลูทูธ · ดูเพิ่มเติม »

ชั่วโมง

ั่วโมง อักษรย่อ ชม. (Hour: h หรือ hr) เป็นหน่วยของเวล.

ใหม่!!: วินาทีและชั่วโมง · ดูเพิ่มเติม »

บิกแบง

ตาม'''ทฤษฎีบิกแบง''' จักรวาลมีจุดกำเนิดมาจากสภาพที่มีความหนาแน่นสูงและร้อน และจักรวาลมีการขยายตัวอยู่ตลอดเวลา บิกแบง (Big Bang, "การระเบิดครั้งใหญ่") เป็นแบบจำลองของการกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพในจักรวาลวิทยาซึ่งได้รับการสนับสนุนจากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์และจากการสังเกตการณ์ที่แตกต่างกันจำนวนมาก นักวิทยาศาสตร์โดยทั่วไปใช้คำนี้กล่าวถึงแนวคิดการขยายตัวของเอกภพหลังจากสภาวะแรกเริ่มที่ทั้งร้อนและหนาแน่นอย่างมากในช่วงเวลาจำกัดระยะหนึ่งในอดีต และยังคงดำเนินการขยายตัวอยู่จนถึงในปัจจุบัน ฌอร์ฌ เลอแม็ทร์ นักวิทยาศาสตร์และพระโรมันคาทอลิก เป็นผู้เสนอแนวคิดการกำเนิดของเอกภพ ซึ่งต่อมารู้จักกันในชื่อ ทฤษฎีบิกแบง ในเบื้องแรกเขาเรียกทฤษฎีนี้ว่า สมมติฐานเกี่ยวกับอะตอมแรกเริ่ม (hypothesis of the primeval atom) อเล็กซานเดอร์ ฟรีดแมน ทำการคำนวณแบบจำลองโดยมีกรอบการพิจารณาอยู่บนพื้นฐานของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ต่อมาในปี..

ใหม่!!: วินาทีและบิกแบง · ดูเพิ่มเติม »

พลังของคลาร์ก เค้นท์

ทอม เวลลิ่ง แสดงเป็นคลาร์ก เค้นท์ในสมอลวิลล์ พลังของคลาร์ก เค้นท์ นับว่าเป็นจุดสนใจอย่างหนึ่งของซีรีส์ "Smallville" นี้ เนื่องจากละครเรื่องนี้เป็นละครที่กล่าวถึงพัฒนาการของคลาร์ก เค้นท์ก่อนที่จะเป็นซูเปอร์แมนในด้านต่าง ๆ ด้วย เมื่อละครดำเนินไป ความสามารถของคลาร์ก เค้นท์จะถูกพัฒนาเรื่อย ๆ ด้วยความสามารถคลาร์ก ที่อาจจะเกิดเพราะเหตุผลมากมาย เช่นการพัฒนาความสามารถด้วยร่างกายเพื่อทดแทนความสามารถที่สูญเสียไปเพราะโรค หรือมาด้วยเหตุใดก็แล้วแต่ก็ตาม.

ใหม่!!: วินาทีและพลังของคลาร์ก เค้นท์ · ดูเพิ่มเติม »

พันล้านปี

ันล้านปี (billion years)(109 ปี) เป็นหน่วยของเพตาวินาที มีค่าเท่ากับ 3.16×1016 วินาที.

ใหม่!!: วินาทีและพันล้านปี · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์ศักดิ์เล็ก ศิษย์คนองศักดิ์

งษ์ศักดิ์เล็ก ศิษย์คนองศักดิ์ มีชื่อจริงว่า พงศกร วันจงคำ เกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2520 ที่อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา อดีตนักมวยสากลอาชีพ เป็นอดีตแชมป์โลกในรุ่นฟลายเวทของสภามวยโลก (WBC) 2 สมัย และ 3 สมัย(ไม่เป็นทางการ) อดีตแชมป์โลก 2 รุ่น (ไม่เป็นทางการ) ไลต์ฟลายเวต WBU และ ฟลายเวต WBC ได้รับยกย่องให้เป็นแชมป์เกียรติยศ และได้รับสถาปนาให้เป็นแชมป์โลกในรุ่นเดียวกันของเดอะริง (The Ring).

ใหม่!!: วินาทีและพงษ์ศักดิ์เล็ก ศิษย์คนองศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

กระจุกดาวแฝด

กระจุกดาวแฝด NGC 884 และ NGC 869 กระจุกดาวแฝด (Double Cluster) เป็นชื่อสามัญที่ใช้เรียกกระจุกดาวเปิดสองแห่ง NGC 884 และ NGC 869 ซึ่งสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า กระจุกดาวทั้งสองอยู่ใกล้ๆ กันในกลุ่มดาวเพอร์ซีอัส โดยอยู่ห่างจากเราไปประมาณ 7,600 และ 6,800 ปีแสง ตามลำดับ จะเห็นว่ากระจุกดาวทั้งสองก็อยู่ใกล้กันมากเช่นเดียวกันในห้วงอวกาศ กระจุกดาวแฝดคู่นี้ถือเป็นกระจุกดาวอายุค่อนข้างน้อย โดย NGC 869 มีอายุประมาณ 5.6 ล้านปี และ NGC 884 มีอายุราว 3.2 ล้านปี ทั้งนี้อ้างอิงจาก 2000 Sky Catalogue ขณะที่กระจุกดาวลูกไก่มีอายุโดยประมาณอยู่ระหว่าง 75 ล้านปีถึง 150 ล้านปี กระจุกดาวทั้งสองมีปรากฏการณ์การเคลื่อนไปทางน้ำเงิน NGC 869 กำลังเคลื่อนเข้าหาโลกด้วยความเร็ว 22 กิโลเมตร/วินาที ส่วน NGC 884 ก็เดินทางเข้าหาโลกด้วยความเร็วใกล้เคียงกันคือ 21 กิโลเมตร/วินาที ลำดับความร้อนสูงที่สุดของมันบนแถบลำดับหลักของดาวฤกษ์อยู่ที่ระดับสเปกตรัม B0.

ใหม่!!: วินาทีและกระจุกดาวแฝด · ดูเพิ่มเติม »

กระจงชวา

กระจงชวา (Java mouse-deer) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเคี้ยวเอื้องขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ Tragulidae รูปร่างหน้าตาคล้ายกระจงชนิดอื่นทั่วไป ขนตามลำตัวสีน้ำตาลแดงบริเวณหน้าอก และใต้ท้องมีแถบสีขาว 3 เส้นขนานไปกับลำตัว ไม่มีเขาทั้งตัวผู้และตัวเมีย แต่จะมีเขี้ยวงอกมาจากริมฝีปาก โดยเขี้ยวของตัวผู้จะยาวกว่าตัวเมีย มีความยาวลำตัวและหัว 40–48 เซนติเมตร ความยาวหาง 65–80 เซนติเมตร น้ำหนัก 0.7–2 กิโลกรัม มีพฤติกรรมหากินตามลำพัง สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาวะแวดล้อมที่หลากหลายได้ มักอาศัยและหากินในบริเวณป่าที่รกชัฏ ในฤดูผสมพันธุ์หรือมีลูกอ่อนอาจจะอาศัยเป็นคู่ ออกหากินทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน โดยมีทางเดินหาอาหารของตัวเอง ซึ่งเรียกว่า "ด่าน" ซึ่งด่านเป็นเพียงทางเดินเล็ก ๆ ปกคลุมด้วยไม้พื้นล่างที่รกทึบ มีนิสัยขี้อายและตื่นตกใจง่าย เมื่อพบศัตรูจะกระโดดหนีไปด้วยความรวดเร็ว มีฤดูผสมพันธุ์ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคม ก่อนผสมพันธุ์ตัวเมียจะใช้ขาหลังเคาะที่พื้นราว 8 ที ในเวลา 3 วินาที เมื่อตัวผู้ได้ยินเสียงจะเข้ามาหา ใช้เวลาในการตั้งท้องประมาณ 140 วัน ปกติออกลูกครั้งละ 1 ตัว ในช่วงปลายฤดูฝนที่มีอาหารอุดมสมบูรณ์ พบกระจายพันธุ์บนเกาะชวา และเป็นไปได้ว่าอาจมีที่เกาะบาหลีด้วย หมายเหตุ: เดิมทีกระจงชวาเคยถูกรวมเป็นชนิดเดียวกับ กระจงเล็ก (T. kanchil) ที่พบได้ในประเทศไทย, แหลมมลายู, เกาะบอร์เนียว และสุมาตรา แต่ปัจจุบันได้ถูกแยกออกจากกันMeijaard, I., and C. P. Groves (2004).

ใหม่!!: วินาทีและกระจงชวา · ดูเพิ่มเติม »

กระแสไฟฟ้า

วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย โดยที่กระแสถูกแสดงด้วยอักษร ''i'' ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันไฟฟ้า (V), ตัวต้านทาน (R), และกระแส (I) คือ V.

ใหม่!!: วินาทีและกระแสไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

กลศาสตร์ดั้งเดิม

กลศาสตร์ดั้งเดิม เป็นหนึ่งในสองวิชาที่สำคัญที่สุดของกลศาสตร์ (โดยอีกวิชาหนึ่ง คือ กลศาสตร์ควอนตัม) ซึ่งอธิบายถึงการเคลื่อนที่ของวัตถุต่าง ๆ ภายใต้อิทธิพลจากระบบของแรง โดยวิชานี้ถือเป็นวิชาที่ครอบคลุมในด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม และเทคโนโลยีมากที่สุดวิชาหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นวิชาที่เก่าแก่ ซึ่งมีการศึกษาในการเคลื่อนที่ของวัตถุตั้งแต่สมัยโบราณ โดยกลศาสตร์ดั้งเดิมรู้จักในวงกว้างว่า กลศาสตร์นิวตัน ในทางฟิสิกส์ กลศาสตร์ดั้งเดิมอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุขนาดใหญ่โดยแปลงการเคลื่อนที่ต่าง ๆ ให้กลายเป็นส่วนของเครื่องจักรกล เหมือนกันกับวัตถุทางดาราศาสตร์ อาทิ ยานอวกาศ ดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ และ ดาราจักร รวมถึงครอบคลุมไปยังทุกสถานะของสสาร ทั้งของแข็ง ของเหลว และแก๊ส โดยจะให้ผลลัพธ์ที่มีความแม่นยำสูง แต่เมื่อวัตถุมีขนาดเล็กหรือมีความเร็วที่สูงใกล้เคียงกับความเร็วแสง กลศาสตร์ดั้งเดิมจะมีความถูกต้องที่ต่ำลง ต้องใช้กลศาสตร์ควอนตัมในการศึกษาแทนกลศาสตร์ดั้งเดิมเพื่อให้มีความถูกต้องในการคำนวณสูงขึ้น โดยกลศาสตร์ควอนตัมจะเหมาะสมที่จะศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีขนาดเล็กมาก ซึ่งได้ถูกปรับแต่งให้เข้ากับลักษณะของอะตอมในส่วนของความเป็นคลื่น-อนุภาคในอะตอมและโมเลกุล แต่เมื่อกลศาสตร์ทั้งสองไม่สามารถใช้ได้ จากกรณีที่วัตถุขนาดเล็กเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง ทฤษฎีสนามควอนตัมจึงเป็นตัวเลือกที่นำมาใช้ในการคำนวณแทนกลศาสตร์ทั้งสอง คำว่า กลศาสตร์ดั้งเดิม ได้ถูกใช้เป็นครั้งแรกในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เพื่อกล่าวถึงระบบทางฟิสิกส์ของไอแซก นิวตันและนักปรัชญาธรรมชาติคนอื่นที่อยู่ร่วมสมัยในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ประกอบกับทฤษฎีทางดาราศาสตร์ในช่วงแรกเริ่มของโยฮันเนส เคปเลอร์จากข้อมูลการสังเกตที่มีความแม่นยำสูงของไทโค บราเฮ และการศึกษาในการเคลื่อนที่ต่าง ๆ ที่อยู่บนโลกของกาลิเลโอ โดยมุมมองของฟิสิกส์ได้ถูกเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาอย่างยาวนานก่อนที่จะมีทฤษฎีสัมพัทธภาพและกลศาสตร์ควอนตัม ซึ่งแต่เดิม ในบางแห่งทฤษฎีสัมพัทธภาพของไอน์สไตน์ไม่ถูกจัดอยู่ในกลศาสตร์ดั้งเดิม แต่อย่างไรก็ตามเมื่อเวลาผ่านไป หลายแห่งเริ่มจัดให้สัมพัทธภาพเป็นกลศาสตร์ดั้งเดิมในรูปแบบที่ถูกต้อง และถูกพัฒนามากที่สุด แต่เดิมนั้น การพัฒนาในส่วนของกลศาสตร์ดั้งเดิมมักจะกล่าวถึงกลศาสตร์นิวตัน ซึ่งมีการใช้หลักการทางฟิสิกส์ประกอบกับวิธีการทางคณิตศาสตร์โดยนิวตัน ไลบ์นิซ และบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง และวิธีการปกติหลายอย่างได้ถูกพัฒนา นำมาสู่การกำหนดกลศาสตร์ครั้งใหม่ ไม่ว่าจะเป็น กลศาสตร์แบบลากรางจ์ และกลศาสตร์แฮมิลตัน ซึ่งสิ่งเหล่านี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นเป็นอย่างมากในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 อีกทั้งได้ขยายความรู้เป็นอย่างมากพร้อมกับกลศาสตร์นิวตันโดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำกลศาสตร์เหล่านี้ไปใช้ในกลศาสตร์เชิงวิเคราะห์อีกด้วย ในกลศาสตร์ดั้งเดิม วัตถุที่อยู่ในโลกของความเป็นจริงจะถูกจำลองให้อยู่ในรูปของอนุภาคจุด (วัตถุที่ไม่มีการอ้างอิงถึงขนาด) โดยเคลื่อนที่ของอนุภาคจุดจะมีการกำหนดลักษณะเฉพาะของวัตถุ ได้แก่ ตำแหน่งของวัตถุ มวล และแรงที่กระทำต่อวัตถุ ซึ่งจะกำหนดไว้เป็นตัวเลขที่อาจมีหน่วยกำหนดไว้ และกล่าวถึงมาเป็นลำดับ เมื่อมองจากความเป็นจริง วัตถุต่าง ๆ ที่กลศาสตร์ดั้งเดิมกำหนดไว้ว่าวัตถุมีขนาดไม่เป็นศูนย์เสมอ (ซึ่งถ้าวัตถุที่มีขนาดเล็กมาก ๆ อย่างเช่น อิเล็กตรอน กลศาสตร์ควอนตัมจะอธิบายได้อย่างแม่นยำกว่ากลศาสตร์ดั้งเดิม) วัตถุที่มีขนาดไม่เป็นศูนย์จะมีความซับซ้อนในการศึกษามากกว่าอนุภาคจุดตามทฤษฎี เพราะวัตถุมีความอิสระของมันเอง (Degrees of freedom) อาทิ ลูกตะกร้อสามารถหมุนได้ขณะเคลื่อนที่หลังจากที่ถูกเดาะขึ้นไปบนอากาศ อย่างไรก็ตาม ผลลัพธ์ของอนุภาคจุดสามารถใช้ในการศึกษาจำพวกวัตถุทั่วไปได้โดยสมมุติว่าเป็นวัตถุนั้น หรือสร้างอนุภาคจุดสมมุติหลาย ๆ จุดขึ้นมา ดังเช่นจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุที่แสดงเป็นอนุภาคจุด กลศาสตร์ดั้งเดิมใช้สามัญสำนึกเป็นแนวว่าสสารและแรงเกิดขึ้นและมีปฏิสัมพันธ์กันอย่างไร โดยตั้งสมมุติฐานว่าสสารและพลังงานมีความแน่นอน และมีคุณสมบัติที่รู้อยู่แล้ว ได้แก่ ตำแหน่งของวัตถุในปริภูมิ (Space) และความเร็วของวัตถุ อีกทั้งยังสามารถสมมุติว่ามีอิทธิพลโดยตรงกับสิ่งที่อยู่รอบวัตถุในขณะนั้นได้อีกด้วย (หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Principle of locality).

ใหม่!!: วินาทีและกลศาสตร์ดั้งเดิม · ดูเพิ่มเติม »

การพิมพ์ออฟเซต

การพิมพ์ออฟเซต หรือการพิมพ์ลูกกลิ้งคู่ (Offset printing) เป็นเทคนิคการพิมพ์ชนิดหนึ่งซึ่งใช้ลูกกลิ้ง (นิยมเรียกว่า โม) เกลี้ยงทำด้วยยาง ถ่ายทอดหมึกจากลูกกลิ้งแม่แบบ ก่อนจะถ่ายทอดหมึกลงสู่กระดาษ ซึ่งต่างจากการพิมพ์ลูกกลิ้งเดี่ยว (rotary press printing) หรือการพิมพ์แบบประทับอักษร (letterpress printing) ที่ใช้แม่แบบกดลงบนกระดาษโดยตรง การพิมพ์ลูกกลิ้งคู่พัฒนาขึ้นตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: วินาทีและการพิมพ์ออฟเซต · ดูเพิ่มเติม »

การปรับตัวของประสาท

การปรับตัวของประสาท หรือ การปรับตัวรับความรู้สึก (Neural adaptation, sensory adaptation) เป็นการเปลี่ยนการตอบสนองของระบบรับความรู้สึกตามกาลเวลาเนื่องจากสิ่งเร้าที่คงอยู่อย่างต่อเนื่อง โดยจะรู้สึกเหมือนกับสิ่งเร้าได้เปลี่ยนไป ยกตัวอย่างเช่น ถ้าวางมือลงที่โต๊ะ ก็จะรู้สึกถึงผิวโต๊ะได้ทันที แต่ภายในไม่กี่วินาที ก็จะเริ่มไม่รู้สึกถึงผิวของโต๊ะ เพราะในเบื้องต้น เซลล์ประสาทรับความรู้สึกจะตอบสนองต่อสิ่งเร้าคือผิวโต๊ะโดยทันที แล้วก็จะตอบสนองน้อยลง ๆ จนอาจไม่ตอบสนองเลย นี่เป็นตัวอย่างการปรับตัวของระบบประสาท ระบบรับความรู้สึกและระบบประสาททั้งหมดจะมีรูปแบบการปรับตัวบางอย่าง เพื่อให้สามารถตรวจจับความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมได้อย่างต่อเนื่อง ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เซลล์ประสาทรับความรู้สึกที่รับและประมวลข้อมูลความรู้สึก จะเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลาเพื่อตรวจจับความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในสิ่งแวดล้อม ตัวการสำคัญของการปรับตัวในระบบประสาทหลายอย่างอาศัยไอออน Ca2+ ที่ส่งผลป้อนกลับเชิงลบผ่านกระบวนการ second messenger pathway ซึ่งทำให้เซลล์ประสาทรับความรู้สึกสามารถเปิดปิดช่องไอออนตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของการไหลเข้าออกของไอออน มีระบบรับความรู้สึกแบบแรงกลบางอย่างที่ใช้การไหลเข้าของแคลเซียม เพื่อสร้างผลทางกายภาพต่อโปรตีนบางอย่างแล้วทำให้พวกมันเปิดปิดช่องไอออน เป็นไปได้สูงว่าการปรับตัวอาจเพิ่มพิสัยการตอบสนองที่จำกัดของนิวรอน เพื่อเข้ารหัสสิ่งเร้าซึ่งมีพิสัยเชิงพลวัตที่กว้างกว่า โดยปรับพิสัยการตอบสนองของประสาทสัมผัสต่อความเบาแรงของสิ่งเร้า Introduction, pp.

ใหม่!!: วินาทีและการปรับตัวของประสาท · ดูเพิ่มเติม »

การนับถอยหลัง

การนับถอยหลัง หรือ เคาต์ดาวน์ (Countdown) คือการนับตัวเลขถอยหลัง ในหลักวินาที วัน หรือหน่วยเวลาอื่นเพื่อนับถอยหลังสู่เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นหรือวันกำหนด หมดเวลา โดยทั่วไปแล้วจะนับถอยหลังในโอกาสอย่างเช่น การปล่อยจรวดหรือยานอวกาศ การจุดระเบิด การเริ่มการแข่งขัน หรือนับถอยหลังสู่วันปีใหม.

ใหม่!!: วินาทีและการนับถอยหลัง · ดูเพิ่มเติม »

การแปลงฟูรีเยต่อเนื่อง

การแปลงฟูรีเยต่อเนื่อง (continuous Fourier transform) เป็นตัวดำเนินการเชิงเส้นแบบหนึ่งซึ่งทำการแมพฟังก์ชันหนึ่งไปยังอีกฟังก์ชันหนึ่ง อีกนัยหนึ่งการแปลงฟูรีเยนั้นเป็นการแยกองค์ประกอบของฟังก์ชัน ตามสเปกตรัมของความถี่ที่มีค่าต่อเนื่อง และใช้หมายถึง ค่าสัญญาณใน "โดเมนของความถี่" ในทางฟิสิกส์และวิศวกรรม (ดูเพิ่มเติมที่บทความหลัก การแปลงฟูรีเย).

ใหม่!!: วินาทีและการแปลงฟูรีเยต่อเนื่อง · ดูเพิ่มเติม »

การเบนคนละทิศ

ตาทั้งสองจะเบนเพื่อเล็งไปที่วัตถุเดียวกัน ในจักษุวิทยา การเบนคนละทิศ (vergence) เป็นการขยับตาทั้งสองข้างพร้อมกันในทิศทางตรงกันข้ามเพื่อดำรงการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตา เมื่อสัตว์ที่มองเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาจ้องดูวัตถุ ตาทั้งสองจะต้องหมุนไปตามแกนแนวตั้ง เพื่อให้ภาพของวัตถุตกลงที่กลางจอตา เพื่อจะดูวัตถุใกล้ ๆ ตาจะต้องหมุนเข้าหากัน (convergence) เพื่อจะดูวัตถุไกล ๆ ตาจะต้องหมุนออกจากกัน (divergence) เมื่อตาเบนเข้ามาก นี่เรียกว่าตาเหล่เข้า แต่เมื่อมองวัตถุที่ไกล ๆ ตาจะเบนออกจนกระทั่งมีแนวตาขนานกัน โดยเท่ากับตรึงตาที่ระยะอนันต์ (คือไกลมาก) การเบนตาคนละทิศ (vergence) สัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับการปรับตาดูใกล้ไกล (accommodation) ในสถานการณ์ปกติ การเปลี่ยนโฟกัสของตาทั้งสองเพื่อดูวัตถุที่ใกล้หรือไกล จะทำให้เกิดกระบวนการเบนตาคนละทิศและการปรับตาดูใกล้ไกลโดยอัตโนมัติ ซึ่งคู่กันบางครั้งเรียกว่า accommodation-convergence reflex เมื่อเทียบกับการขยับตาแบบ saccade ที่ไวถึง 500 องศา/วินาที การเบนตาคนละทิศช้ากว่ามากที่ประมาณ 25 องศา/วินาที โดยกล้ามเนื้อตาอาจมีใยประสาทสั่งการสำหรับการขยับตาแต่ละอย่างโดยเฉพาะ คือเป็นกลไกต่างหากสองอย่าง.

ใหม่!!: วินาทีและการเบนคนละทิศ · ดูเพิ่มเติม »

การเมืองใหม่

การเมืองใหม่ เป็นแนวความคิดและเป็นคำนิยามที่นายสนธิ ลิ้มทองกุล แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและผู้ก่อตั้งสื่อในเครือผู้จัดการใช้นิยามเปรียบเทียบระหว่างการเมืองไทยในยุคปัจจุบันว่าเป็น การเมืองเก่า เพราะประชาชนไม่มีสิทธิมีเสียงในการตรวจสอบหรือถ่วงดุลอำนาจรัฐ มีสิทธิก็เพียงแค่ 4 วินาทีตอนเลือกตั้งเท่านั้น ซึ่งถือว่าเป็นระบบเลือกตั้งโดยการเลือก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นตัวแทนของประชาชนในสภา เป็นเพียงการเมืองผ่านตัวแทน ในช่วงการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 เรื่องของการเมืองใหม่ได้ถูกหยิบยกมาพูดถึงหลายต่อหลายครั้ง ซึ่งทางกลุ่มพันธมิตรฯได้เคยเสนอว่า การเมืองใหม่จะมีสัดส่วนของสมาชิกวุฒิสภามาจากการแต่งตั้ง 70 % และเลือกตั้ง 30 % ดังต่อไปนี้ ซึ่งแนวคิดนี้ได้ถูกคัดค้านและวิจารณ์จากสังคมหลายภาคส่วนว่าไม่เป็นประชาธิปไตย โดยนายธีรยุทธ บุญมี อาจารย์ประจำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แสดงความเห็นเอาไว้ตอนหนึ่งว่า ต่อมา ทางกลุ่มพันธมิตรฯ ก็ได้เปลี่ยนแนวคิดใหม่เป็นสมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้ง 100 % ในวันที่ 23 กันยายน..

ใหม่!!: วินาทีและการเมืองใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

การเข้ารหัสทางประสาท

การยิงศักยะงานเป็นขบวนหรือเป็นลำดับ ๆ ของเซลล์ประสาท การเข้ารหัสทางประสาท (Neural coding) เป็นการศึกษาทางประสาทวิทยาศาสตร์ เพื่อกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองของเซลล์ประสาทเดี่ยว ๆ หรือของกลุ่มเซลล์ประสาท และความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานทางไฟฟ้าของเซลล์ประสาทในกลุ่ม โดยอาศัยทฤษฎีว่า การทำงานของเครือข่ายเซลล์ประสาทในสมองจะเป็นตัวแทนข้อมูลทางประสาทสัมผัสและข้อมูลอื่น ๆ นักวิชาการจึงเชื่อว่า เซลล์ประสาทสามารถเข้ารหัสข้อมูลเป็นทั้งแบบดิจิตัลและแบบแอนะล็อก.

ใหม่!!: วินาทีและการเข้ารหัสทางประสาท · ดูเพิ่มเติม »

กิโล

กิโล (Kilo) เป็นคำนำหน้าหน่วยในระบบเอสไอ แสดงถึงค่าพัน (103 หรือ 1,000) มีสัญลักษณ์คือ k.

ใหม่!!: วินาทีและกิโล · ดูเพิ่มเติม »

กิโลวินาที

กิโลวินาที (สัญลักษณ์: ks) คือเวลา 1000 วินาที (16 นาที 40 วินาที) โดยที่ 86.4 กิโลวินาที เท่ากับ 1 วัน และ 604.8 กิโลวินาที เท่ากับ 1 สัปดาห.

ใหม่!!: วินาทีและกิโลวินาที · ดูเพิ่มเติม »

กิโลเมตรต่อชั่วโมง

กิโลเมตรต่อชั่วโมง (Kilometre per hour) เป็นหน่วยวัดอัตราเร็ว (ปริมาณสเกลาร์) และความเร็ว (ปริมาณเวกเตอร์) ตามคำจำกัดความ วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 5 กิโลเมตรต่อชั่วโมง แปลว่าในเวลา 1 ชั่วโมง วัตถุนั้นจะเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 5 กิโลเมตร อักษรย่อสำหรับกิโลเมตรต่อชั่วโมงคือ กม./ชม. หรือ กม.·ชม.

ใหม่!!: วินาทีและกิโลเมตรต่อชั่วโมง · ดูเพิ่มเติม »

มาตราซีจีเอส

ระบบเซนติเมตร-กรัม-วินาที (centimetre-gram-second system; ย่อว่า CGS) คือระบบการวัดทางกายภาพในมาตราเมตริก โดยใช้ เซนติเมตรเป็นหน่วยวัดความยาว, กรัมเป็นหน่วยวัดมวล, และ วินาที เป็นหน่วยวัดเวลา หน่วยการวัดทั้งหมดในระบบนี้จะมีพื้นฐานจากหน่วยทั้งสามนี้ แต่ก็มีการขยายการใช้มาตราซีจีเอสนี้กับการวัดค่าแม่เหล็กไฟฟ้าได้หลายวิธี หมวดหมู่:ระบบหน่วย.

ใหม่!!: วินาทีและมาตราซีจีเอส · ดูเพิ่มเติม »

มิลลิวินาที

มิลลิวินาที (ตัวย่อ: ms) เป็นหนึ่งในหนึ่งพันของวินาที 10 มิลลิวินาที (หนึ่งในร้อยของวินาที) เรียกว่า เซนติวินาที 100 มิลลิวินาที (หนึ่งในสิบของวินาที) เรียกว่า เดชิวินาที ในหนึ่งวันมี 86,400,000 (24×60×60×1000) มิลลิวินาทีในหนึ่งวัน.

ใหม่!!: วินาทีและมิลลิวินาที · ดูเพิ่มเติม »

ม้าน้ำ

ม้าน้ำ เป็นปลากระดูกแข็งที่อาศัยอยู่ในทะเลจำพวกหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Hippocampinae (ซึ่งมีอยู่ 2 สกุล คือหนึ่งสกุลนั้นคือ ปลาจิ้มฟันจระเข้สัน ที่อยู่ในสกุล Histiogamphelus มีรูปร่างคล้ายปลาจิ้มฟันจระเข้ผสมกับม้าน้ำ) ในวงศ์ Syngnathidae อันเป็นวงศ์เดียวกับปลาจิ้มฟันจระเข้และมังกรทะเล ในอันดับ Syngnathiformes.

ใหม่!!: วินาทีและม้าน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ยานจอตโต

นอวกาศจอตโต (Giotto) เป็นยานอวกาศที่ไปสำรวจดาวหางฮัลเลย์ ตั้งตามชื่อของจิตรกรจอตโต ผู้วาดภาพดาวหางลงบนผนังโบสถ์เมืองปาดัวของอิตาลี เมื่อ ค.ศ. 1303 ตามที่เขาได้เห็นเมื่อสองปีก่อนหน้านั้น กล้องถ่ายรูปและอุปกรณ์อย่างอื่นในยานได้ปฏิบัติงานอย่างสมบูรณ์ จนกระทั่ง 2 วินาที ก่อนเข้าไปใกล้ใจกลางหัวที่สุดในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1986 และแล้วฝุ่นก็ชนยาน ทำให้กล้องหยุดทำงานและติดต่อกับยานไม่ได้เป็นเวลาสั้น ๆ ใน ค.ศ. 1992 อุปกรณ์หลายอย่างของยานจอตโต ยังเปิดใช้ได้อีกในการสังเกตดาวหางอีกดวงหนึ่งชื่อว่า ดาวหางกริกก์-สคเจลเลอรุป.

ใหม่!!: วินาทีและยานจอตโต · ดูเพิ่มเติม »

ยูเรเนียม-238

ูเรเนียม-238 (238U หรือ U-238) เป็นไอโซโทปกัมมันตรังสีของยูเรเนียม ไอโซโทปนี้สามารถพบได้ในธรรมชาติ ยูเรเนียม-238 ใช้เป็นวัสดุตั้งต้นให้แก่พลูโทเนียม-239 สามารถสลายด้วยวิธีการสลายตัวแอลฟา และ การสลายตัวเบต้าสองครั้ง ไอโซโทป 99.248 % ของยูเรเนียม-238 มีครึ่งชีวิต 1.41 วินาที (4.468 ปี, หรือ 4.468 พันล้านปี).

ใหม่!!: วินาทีและยูเรเนียม-238 · ดูเพิ่มเติม »

ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ

ลบีเรีย, พม่า และ สหรัฐอเมริกา ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ หรือ ระบบเอสไอ (International System of Units; Système international d'unités: SI.) เป็นระบบการวัดที่ปรับปรุงมาจากระบบเมตริก โดยเน้นการสร้างมาจากหน่วยฐานทั้งเจ็ดหน่วยและใช้ระบบเลขฐานสิบ ซึ่งถือว่าเป็นระบบการวัดที่ใช้แพร่หลายที่สุดในโลกทั้งในชีวิตประจำวันและทางวิทยาศาสตร์ ระบบเมตริกแต่เดิมนั้นแบ่งออกเป็นหลายกลุ่ม โดยระบบเอสไอได้รับการพัฒนามาจากระบบหน่วยเมตร-กิโลกรัม-วินาที (meter-kilogram-second: MKS) ในปี 1960 และได้ปรับเปลี่ยนนิยามรวมถึงเพิ่มลดหน่วยฐานเอสไอมาตลอดตามการพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านการวัด เพื่อเพิ่มความเที่ยงตรงในการวัดมากขึ้น ระบบเอสไอเป็นระบบที่ใช้กันเกือบทั้งโลก มีเพียงสามประเทศที่ยังไม่ใช้หน่วยเอสไอเป็นมาตรฐานของหน่วยวัด ได้แก่ ไลบีเรีย พม่า และ สหรัฐอเมริกา แม้ในอังกฤษเองได้ยอมรับให้ใช้ระบบเอสไออย่างเป็นทางการ แม้ว่าจะไม่สามารถทดแทนระบบดั้งเดิมได้ทั้งหม.

ใหม่!!: วินาทีและระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รายการวันสำคัญเกี่ยวกับวิดีโอเกม

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: วินาทีและรายการวันสำคัญเกี่ยวกับวิดีโอเกม · ดูเพิ่มเติม »

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.

ใหม่!!: วินาทีและรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

รายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด

ต่อไปนี้เป็น รายชื่อคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด เรียงลำดับตามตัวอักษรของ คำที่เขียนถูก ตามที่ปรากฏในพจนานุกรมภาษาไทยหรือตามประกาศของหน่วยงานราชการไทย หมายเหตุ: การเขียนสะกดคำในนี้เป็นกรณีทั่วไป แต่ในกรณีเฉพาะ เช่น เป็นวิสามานยนาม อาทิ เป็นชื่อบุคคล ชื่อสถานที่ หรือในทางร้อยกรอง สามารถเขียนสะกดคำแตกต่างได้.

ใหม่!!: วินาทีและรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด · ดูเพิ่มเติม »

ร็อด

ผีเสื้อกลางคืนเล่นไฟ เมื่อถ่ายภาพออกมาทำให้เชื่อว่าเป็นร็อด ร็อด หรือ ร็อดส์ (rod, rods) สิ่งมีชีวิตลึกลับที่ยังไม่มีการยืนยันว่ามีจริงหรือไม่ คืออะไร แต่เชื่อว่ามักจะปรากฏตัวตามสถานที่ต่าง ๆ และสามารถจับภาพได้ด้วยกล้องที่มีความเร็วสูง และเชื่อว่าหลังที่มันปรากฏตัวแล้ว สถานที่นั้น ๆ จะพบกับเหตุวิบัติต่าง ๆ เสมือนหนึ่งว่า ร็อด ได้มาเตือนให้ทราบล่วงหน้าก่อน.

ใหม่!!: วินาทีและร็อด · ดูเพิ่มเติม »

ลิเทียม

ลิเทียม (Lithium) เป็นธาตุมีสัญลักษณ์ Li และเลขอะตอม 3 ในตารางธาตุ ตั้งอยู่ในกลุ่ม 1 ในกลุ่มโลหะอัลคาไล ลิเทียมบริสุทธิ์ เป็นโลหะที่อ่อนนุ่ม และมีสีขาวเงิน ซึ่งถูกออกซิไดส์เร็วในอากาศและน้ำ ลิเทียมเป็นธาตุของแข็ง ที่เบาที่สุด และใช้มากในโลหะผสมสำหรับการนำความร้อน ในถ่านไฟฉายและเป็นส่วนผสมในยาบางชนิดที่เรียกว่า "mood stabilizer".

ใหม่!!: วินาทีและลิเทียม · ดูเพิ่มเติม »

วังจั่นน้อย ส.พลังชัย

วังจั่นน้อ.พลังชัย มีชื่อจริงว่า อาภรณ์ โสภาพ (ชื่อเล่น: ภรณ์) เกิดวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2510 ที่อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี เป็นนักมวยไทยชื่อดังระดับเงินแสนคนหนึ่งในประเทศไทย โด่งดังมีชื่อเสียงอยู่ในช่วง..

ใหม่!!: วินาทีและวังจั่นน้อย ส.พลังชัย · ดูเพิ่มเติม »

วัตต์

วัตต์ (watt, สัญลักษณ์ W) เป็นหน่วยเอสไอของกำลังตั้งชื่อตาม เจมส์ วัตต์ ตัวอย่างพลังงานในหน่วยวัตต์ เช่น หลอดไฟที่ใช้ตามบ้านใช้ 100 วัตต์ ขณะที่ เขื่อนฮูเวอร์ผลิตสองพันล้านวัตต์ 1 วัตต์ มีค่าเท่ากับ 1 จูล ของ พลังงาน ต่อ วินาที วัตต์ (watt หรือ W)คือ หน่วยวัดกำลังไฟฟ้าที่เป็นตัวบอกพลังงานไฟฟ้าของอุปกรณ์หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดที่ใช้ในการทำงาน เช่น หลอดไฟ 100 วัตต์ หมายความว่า หลอดไฟกินไฟ 100 จูลต่อวินาที.

ใหม่!!: วินาทีและวัตต์ · ดูเพิ่มเติม »

วัตต์ต่อเมตร-เคลวิน

วัตต์ต่อเมตร-เคลวิน (W·m−1·K−1) เป็นหน่วยเอสไอ สำหรับวัดค่าสัมประสิทธิ์การนำความร้อน (thermal conductivity, k) ของสสาร ได้มาจากค่า ปริมาณความร้อน Q ที่ถ่ายเทภายในเวลา t ได้ในสสารที่หนา L และมีพื้นที่หน้าตัด A และ ผลต่างอุณหภูมิทั้งสองด้านเป็น ΔT ที่สภาวะคงตัว ดังสมการ อิอิ โดยที่หน่วยของปริมาณความร้อนเป็นจูล เวลาเป็นวินาที ความหนาเป็นเมตร พื้นที่เป็นตารางเมตร และผลต่างอุณหภูมิเป็นเคลวิน การนำความร้อน หมวดหมู่:หน่วยอนุพันธ์เอสไอ.

ใหม่!!: วินาทีและวัตต์ต่อเมตร-เคลวิน · ดูเพิ่มเติม »

วัน

วัน คือหน่วยของเวลาที่เท่ากับ 24 ชั่วโมง ถึงแม้หน่วยนี้จะไม่ใช่หน่วยเอสไอ แต่ก็มีการยอมรับเพื่อใช้ประกอบกับหน่วยเอสไออื่น ซึ่งหน่วยเวลาที่เป็นหน่วยเอสไอคือ วินาที คำว่า วัน มาจากภาษาไทยเดิม (ลาว: ວັນ วัน, ไทใหญ่:ဝၼ်း วั้น) คำว่า day ในภาษาอังกฤษมาจากคำในภาษาอังกฤษเก่า dæg ซึ่งสะกดคล้ายกับภาษาอื่น ๆ ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน ตัวอย่างเช่น dies ในภาษาละตินและ dive ในภาษาสันสกฤต ซึ่งกลายเป็น ทิวา ในภาษาไท.

ใหม่!!: วินาทีและวัน · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาการอำพรางข้อมูล

ต้นไม้ที่มีการอำพรางข้อมูล ถ้าหากนำบิตอื่น ๆ ของ RGB ออกไปยกเว้น 2 บิตสุดท้ายของแต่ละสี ซึ่งภาพที่ได้จะเป็นโทนสีเกือบดำ แล้วเพิ่มความสว่าง 85 เท่า จึงจะปรากฏรูปภาพด้านล่าง ภาพแมวที่ถูกอำพรางเอาไว้ วิทยาการอำพรางข้อมูล (อังกฤษ: Steganography) หมายถึงศาสตร์ในการซ่อนข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ โดยมีจุดมุ่งหมายหลักในการปกปิด ทำให้ดูเหมือนว่าไม่มีการซ่อนข้อมูลลับใด ๆ ในสื่อเป้าหมาย หากมองโดยผิวเผินแล้ว วิทยาการอำพรางข้อมูลมีลักษณะใกล้เคียงกับวิทยาการเข้ารหัสลับ (Cryptography) แต่ความแตกต่างของศาสตร์ทั้งสองคือ การเข้ารหัสมีจุดประสงค์ในการทำให้ข้อความไม่สามารถอ่านเข้าใจได้ แต่การอำพรางข้อมูลมีจุดประสงค์ในการซ่อนข้อมูล ทำให้คนทั่วไปไม่รู้ว่ามีการซ่อนข้อมูลลับอยู่ ตัวอย่างเช่น ในกรณีที่สายลับมีการส่งจดหมายติดต่อไปยังหน่วยงานของตน สมมติจดหมายที่ถูกส่งไปนั้นถูกเปิดตรวจสอบระหว่างทาง หากข้อความถูกเข้ารหัสไว้ก็อาจก่อให้เกิดความสงสัยแก่ผู้ตรวจสอบว่า จดหมายนี้อาจมีข้อความที่เป็นความลับอยู่ แต่หากในจดหมายนั้นใช้วิธีการอำพรางข้อมูล ในการซ่อนข้อความแล้ว ข้อความในจดหมายนั้นก็เสมือนกับจดหมายทั่วไป ไม่มีสิ่งที่เป็นจุดน่าสงสั.

ใหม่!!: วินาทีและวิทยาการอำพรางข้อมูล · ดูเพิ่มเติม »

สภาพต้านทานและสภาพนำไฟฟ้า

ต้านทานไฟฟ้า (electrical resistivity, resistivity, specific electrical resistance, หรือ volume resistivity) คือปริมาณการวัดของการต่อต้านการไหลของกระแสไฟฟ้าในวัสดุ ค่าสภาพต้านทานไฟฟ้าต่ำบ่งชี้ว่าวัสดุยินยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ได้ง่าย หน่วยในระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศของสภาพต้านทานไฟฟ้าคือ โอห์ม เมตร (Ωm) ซึ่งจะแสดงในรูปแบบอักษรกรีกตัว ρ (โร) สภาพนำไฟฟ้า (electrical conductivity หรือ specific conductance) เป็นปริมาณที่ตรงข้ามกัน เป็นการวัดความสามารถในการนำกระแสไฟฟ้า ซึ่งจะแสดงในรูปแบบอักษรกรีกตัว σ (ซิกมา) แต่บางครั้งใช้ κ (เช่น ในวิศวกรรมไฟฟ้า) หรือ γ แทน หน่วยในระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศคือ ซีเมนส์ ต่อ เมตร (S·m−1) และหน่วย CGSE คือส่วนกลับของวินาที (s−1).

ใหม่!!: วินาทีและสภาพต้านทานและสภาพนำไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม พ.ศ. 2546

ง ง -ชลล.

ใหม่!!: วินาทีและสิงหาคม พ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

สปิน (ฟิสิกส์)

ในการศึกษาด้านกลศาสตร์ควอนตัมและฟิสิกส์อนุภาค สปิน (spin) คือคุณลักษณะพื้นฐานของอนุภาคมูลฐาน, อนุภาคประกอบ (ฮาดรอน) และนิวเคลียสอะตอม อนุภาคมูลฐานประเภทเดียวกันทุกตัวจะมี เลขควอนตัมสปิน เลขเดียวกัน ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของสถานะควอนตัมของอนุภาค เมื่อรวมเข้ากับทฤษฎีสถิติของสปิน (spin-statistics theorem) สปินของอิเล็กตรอนจะส่งผลตามหลักการกีดกันของเพาลี อันเป็นตัวการเบื้องหลังของตารางธาตุ ทิศทางสปิน (บางครั้งก็เรียกย่อๆ ว่า "สปิน") ของอนุภาคหนึ่งเป็นองศาอิสระภายในที่สำคัญของอนุภาคนั้น โวล์ฟกัง เพาลี เป็นบุคคลแรกที่เสนอแนวคิดเรื่องของสปิน แต่เขายังไม่ได้ตั้งชื่อให้กับมัน ปี..

ใหม่!!: วินาทีและสปิน (ฟิสิกส์) · ดูเพิ่มเติม »

หรคุณจูเลียน

หรคุณจูเลียน (Julian day) บ้างเรียก จำนวนวันจูเลียน หรือ เลขวันจูเลียน หมายถึง หมายเลขประจำวันซึ่งนับ 1 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ก่อนคริสต์ศักราช 4713 ปี (ค.ศ. -4712) ตามปฏิทินจูเลียน หรือวันที่ 22 พฤศจิกายน ก่อนคริสต์ศักราช 4714 ปี (ค.ศ. -4713) ตามปฏิทินก่อนเกรโกเรียน เวลา 12 นาฬิกาตรง จนถึงปัจจุบันหรือเวลาที่ต้องการ เหตุที่กำหนดให้เริ่มวันที่ดังกล่าวนั้น เป็นเพราะต้องการให้ครอบคลุมถึงเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ต่าง ๆ นอกจากการที่วันที่ดังกล่าวเป็นวันเริ่มวัฏจักรสิบห้าปี (indiction) วัฏจักรสุริยะ และวัฏจักรเมตอน หรคุณจูเลียนหากคำนวณตามสูตรจากปฏิทินต่างระบบ หากเป็นวันที่เดียวกัน จะได้เลขเดียวกันเสมอไปไม่มีผิดเพี้ยน หรคุณจูเลียน ณ วันเวลาใด ๆ มีค่าเท่ากับหรคุณจูเลียน ลดลงเสีย 0.5 (เพราะนับที่เที่่ยงวันเป็นหลักต้องถอยไปที่เที่ยงคืน) แล้วจึงเอาเวลาเป็นทศนิยมนับแต่เริ่มวันนั้นบวกเข้า"Resolution B1" 1997.

ใหม่!!: วินาทีและหรคุณจูเลียน · ดูเพิ่มเติม »

หลอดกึ่งวงกลม

หลอดกึ่งวงกลม (semicircular canal, semicircular duct) เป็นท่อกึ่งวงกลม 3 ท่อที่เชื่อมต่อกันภายในหูชั้นในแต่ละข้าง คือ.

ใหม่!!: วินาทีและหลอดกึ่งวงกลม · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยฐานเอสไอ

การขึ้นต่อการของนิยามในหน่วยฐานเอสไอทั้งเจ็ด หน่วยฐานเอสไอ เป็นหน่วยที่ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศกำหนดไว้เป็นพื้นฐาน โดยหน่วย เอสไออื่นๆที่เรียกว่าหน่วยอนุพันธ์เอสไอ จะเกิดจากการนำหน่วยฐานเอสไอมาประกอบกันทั้งหมด หน่วยฐานเอสไอมีทั้งหมด 7 หน่วยได้แก.

ใหม่!!: วินาทีและหน่วยฐานเอสไอ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรล่าแสน The Alphabet Thailand

อักษรล่าแสน The Alphabet Thailand หรือเรียกโดยย่อว่า อักษรล่าแสน เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทเกมโชว์ ที่ผลิตโดยบริษัท เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด ดำเนินรายการโดย ณัฏฐ์ปวินท์ กุลกัลยาดี (เจ็ม) และ มารุต ชื่นชมบูรณ์ (อาร์ต) เริ่มออกอากาศครั้งแรกในวันที่ 7 มกราคม..

ใหม่!!: วินาทีและอักษรล่าแสน The Alphabet Thailand · ดูเพิ่มเติม »

อัตราเร็วของแสง

ปรากฏการณ์เชเรนคอฟ ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เป็นผลมาจาก อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เร็วกว่าแสงที่เดินทางในน้ำ อัตราเร็วของแสง (speed of light) ในสุญญากาศ มีนิยามว่าเท่ากับ 299,792,458 เมตรต่อวินาที (หรือ 1,080,000,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หรือประมาณ 186,000.000 ไมล์ต่อวินาที หรือ 671,000,000 ไมล์ต่อชั่วโมง) ค่านี้เขียนแทนด้วยตัว c ซึ่งมาจากภาษาละตินคำว่า celeritas (แปลว่า อัตราเร็ว) และเรียกว่าเป็นค่าคงที่ของไอน์สไตน์ แสงเป็นสิ่งที่แปลกประหลาดนั่นคือไม่ว่าผู้สังเกตจะเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง ไม่ว่าจะอยู่ในสถานที่ใด ด้วยเงื่อนไขใด อัตราเร็วของแสงที่ผู้สังเกตคนนั้นวัดได้ จะเท่าเดิมเสมอ ซึ่งขัดกับความรู้สึกของคนทั่วไป แต่เป็นไปตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพ ของ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ สังเกตว่าอัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ เป็น นิยาม ไม่ใช่ การวัด ในหน่วยเอสไอกำหนดให้ เมตร มีนิยามว่าเป็นระยะทางที่แสงเดินทางในสุญญากาศในเวลา 1/299,792,458 วินาที แสงที่เดินทางผ่านตัวกลางโปร่งแสง (คือไม่เป็นสุญญากาศ) จะมีอัตราเร็วต่ำกว่า c อัตราส่วนของ c ต่ออัตราเร็วของแสงที่เดินทางผ่านในตัวกลาง เรียกว่า ดรรชนีหักเหของตัวกลางนั้น โดยเมื่อผ่านแก้ว จะมีดรรชนีหักเห 1.5-1.9 ผ่านน้ำจะมีดรรชีนีหักเห 1.3330 ผ่านเบนซินจะมีดรรชนีหักเห 1.5012 ผ่านคาร์บอนไดซัลไฟต์จะมีดรรชนีหักเห 1.6276 ผ่านเพชรจะมีดรรชนีหักเห 2.417 ผ่านน้ำแข็งจะมีดรรชนีหักเห 1.309.

ใหม่!!: วินาทีและอัตราเร็วของแสง · ดูเพิ่มเติม »

อัตราเร็วของเสียง

อัตราเร็วของเสียง คือ ระยะทางที่เสียงเดินทางไปในตัวกลางใดๆ ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา โดยทั่วไปเสียงเดินทางในอากาศที่มีอุณหภูมิ 25°C (.

ใหม่!!: วินาทีและอัตราเร็วของเสียง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (อุณหภูมิ)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: วินาทีและอันดับของขนาด (อุณหภูมิ) · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (จำนวน)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: วินาทีและอันดับของขนาด (จำนวน) · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (ความยาว)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: วินาทีและอันดับของขนาด (ความยาว) · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (ความเร็ว)

หมวดหมู่:ปริมาณทางกายภาพ หมวดหมู่:อันดับของขน.

ใหม่!!: วินาทีและอันดับของขนาด (ความเร็ว) · ดูเพิ่มเติม »

อธิกวินาที

อธิกวินาที (leap second) คือ วินาทีที่ปรับเพิ่มขึ้นหรือลดลง เพื่อรักษามาตรฐานการประกาศเวลาให้ใกล้เคียงกับเวลาสุริยะ (UT1) โดยเฉลี่ย เนื่องด้วยการประกาศเวลามาตรฐานมีพื้นฐานอยู่บนเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC) ซึ่งรักษาไว้ด้วยนาฬิกาอะตอมที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำสูง แต่เนื่องจากโลกมีการเปลี่ยนแปลง อาทิ การเคลื่อนที่ของเปลือกโลก แผ่นดินไหว ปริมาณน้ำในมหาสมุทร ทำให้อัตราการหมุนของโลกช้าลงหรือเร็วขึ้น ถึงแม้จะเล็กน้อยแต่ก็อาจทำให้เวลาทั้งสองเกิดความแตกต่าง จึงต้องมีการปรับเวลาให้ใกล้เคียงกัน การปรับอธิกวินาทีปัจจุบันควบคุมโดย International Earth Rotation and Reference Systems Service (IERS) ซึ่งก่อนหน้านั้นควบคุมโดย Bureau International de l'Heure (BIH) จนถึง 1 มกราคม พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) การปรับอธิกวินาทีจะกระทำเมื่อ UT1 แตกต่างจาก UTC เกิน ±0.9 วินาที และจะถูกกำหนดให้เพิ่มหรือลดเมื่อสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน หรือ 31 ธันวาคม โดยจะประกาศเป็นคราว ๆ ไป (ถึงแม้ว่าอธิกวินาทีสามารถเพิ่มหรือลดในวันไหนก็ได้) ซึ่งจะทำให้นาทีสุดท้ายของวันดังกล่าวเกินมาหรือขาดไป 1 วินาทีตามทฤษฎี อย่างไรก็ตามการปรับอธิกวินาทีที่เคยเกิดขึ้นในอดีต มีเพียงการเพิ่มเวลาเข้าไปอย่างเดียวเท่านั้น ซึ่งจะทำให้เวลา 23:59:60 ปรากฏขึ้น ก่อนที่จะเป็น 0:00:00 ในวินาทีถัดไป และจะเกิดพร้อมกันทั่วโลก (เช่นประเทศไทยจะปรากฏเป็นเวลา 6:59:60) การปรับอธิกวินาทีเริ่มต้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) และครั้งล่าสุดเมื่อ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016) กราฟแสดงความแตกต่างระหว่าง UT1 กับ UTC ส่วนที่ตั้งชันคืออธิกวินาที.

ใหม่!!: วินาทีและอธิกวินาที · ดูเพิ่มเติม »

ฮีโร่ เพชฌฆาต ล่าข้ามโลก

ีโร่ เพชฌฆาต ล่าข้ามโลก (Bangkok Dangerous) เป็นภาพยนตร์แอคชั่นซึ่งนำแสดงโดย นิโคลัส เคจ, ชาคริต แย้มนาม, เป้ย ปานวาด และนักแสดงชาวฮ่องกง หยาง ไฉ่หนี ออกฉายในปี..

ใหม่!!: วินาทีและฮีโร่ เพชฌฆาต ล่าข้ามโลก · ดูเพิ่มเติม »

จำนวนจุดลอยตัว

Z3 คอมพิวเตอร์ฐานสองเชิงกลที่สามารถโปรแกรมและดำนำเนินการทางคณิตศาสตร์ได้เครื่องแรก (จัดแสดงต่อสาธารณะที่พิพิธภัณฑ์เยอรมันในเมืองมิวนิก ตัวอย่างแสดงถึงการแทนจำนวนจุดลอยตัวโดยแบ่งเป็นการเก็บค่าเลขนัยสำคัญและเลขชี้กำลัง ในทางคอมพิวเตอร์ จำนวนจุดลอยตัว (floating point) คือระบบแทนจำนวนชนิดหนึ่ง ซึ่งจำนวนนั้นอาจมีขนาดใหญ่หรือขนาดเล็กเกินกว่าที่จะแทนด้วยจำนวนเต็ม เนื่องจากจำนวนต่าง ๆ สามารถเขียนแทนด้วยเลขนัยสำคัญ (mantissa) จำนวนหนึ่งโดยประมาณ และเปลี่ยนสเกลด้วยเลขชี้กำลัง (exponent) ฐานของสเกลปกติจะเป็น 2, 10 หรือ 16 เป็นต้น จำนวนทั่วไปจึงสามารถเขียนให้อยู่ในรูปแบบนี้ได้ คำว่า จุดลอยตัว จึงหมายถึงจุดฐาน (จุดทศนิยม หรือในคอมพิวเตอร์คือ จุดทวินิยม) ที่สามารถ "ลอยตัว" ได้ หมายความว่า จุดฐานสามารถวางไว้ที่ตำแหน่งใดก็ได้ที่สัมพันธ์กับเลขนัยสำคัญของจำนวนนั้น ตำแหน่งนี้แสดงไว้แยกต่างหากในข้อมูลภายใน และการแทนด้วยจำนวนจุดลอยตัวจึงอาจถือว่าเป็นสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ในบริบทของคอมพิวเตอร์ หลายปีที่ผ่านมา คอมพิวเตอร์ใช้งานจำนวนจุดลอยตัวในรูปแบบที่แตกต่างกัน เวลาต่อมาจึงทำให้เกิดมาตรฐาน IEEE 754 สำหรับจำนวนที่พบได้อย่างปกติสามัญชนิดนี้ ข้อดีของจำนวนจุดลอยตัวที่มีต่อจำนวนจุดตรึง (fixed point รวมทั้งจำนวนเต็ม) คือจำนวนจุดลอยตัวสามารถรองรับค่าได้ในขอบเขตที่กว้างกว่า ตัวอย่างเช่น จำนวนจุดตรึงที่มีตัวเลขเจ็ดหลัก และกำหนดให้สองหลักสุดท้ายอยู่หลังจุด สามารถแทนจำนวนเหล่านี้ได้ 12345.67, 123.45, 1.23 ในขณะที่จำนวนจุดลอยตัว (ตามเลขฐานสิบของมาตรฐาน IEEE 754) ที่มีตัวเลขเจ็ดหลักเช่นกัน สามารถแทนจำนวนเหล่านี้ได้อีกเพิ่มเติม 1.234567, 123456.7, 0.00001234567, 1234567000000000 เป็นต้น แต่ข้อเสียคือรูปแบบของจำนวนจุดลอยตัวจำเป็นต้องใช้หน่วยเก็บข้อมูลมากขึ้นอีกเล็กน้อย (สำหรับเข้ารหัสตำแหน่งของจุดฐาน) ดังนั้นเมื่อจำนวนทั้งสองประเภทเก็บบันทึกอยู่ในที่ที่เหมือนกัน จำนวนจุดลอยตัวจะใช้เนื้อที่มากกว่าเพื่อเพิ่มความเที่ยง (precision) ความเร็วของการดำเนินการกับจำนวนจุดลอยตัว เป็นการวัดประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่งที่สำคัญในขอบเขตข่ายโปรแกรมประยุกต์ ซึ่งมีหน่วยวัดเป็นฟล็อปส์ (FLOPS - floating-point operations per second การประมวลผลจุดลอยตัวต่อวินาที).

ใหม่!!: วินาทีและจำนวนจุดลอยตัว · ดูเพิ่มเติม »

จูล

ูล (joule; สัญลักษณ์ J) เป็นหน่วยเอสไอ ของ พลังงาน, หรือ งาน ใช้ชื่อนี้เพื่อเป็นเกียรติแก่นักฟิสิกส์ที่ชื่อ เจมส์ เพรสคอตต์ จูล (James Prescott Joule-พ.ศ. 2361–2432).

ใหม่!!: วินาทีและจูล · ดูเพิ่มเติม »

จงโคร่ง

และวงศ์หมาน้ำ จงโคร่ง หรือ หมาน้ำ หรือ กง หรือ กระทาหอง หรือ กระหอง (ปักษ์ใต้) (อังกฤษ: Giant jungle toad, Asian giant toad; ชื่อวิทยาศาสตร์: Phrynoidis aspera) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำจำพวกคางคกขนาดใหญ่ที่พบในประเทศไทยชนิดหนึ่ง จงโคร่งนับเป็นคางคกชนิดที่ใหญ่ที่สุดที่พบได้ในประเทศไทย บริเวณหลังมีน้ำพิษเห็นเป็นปุ่มชักเจน ตาใหญ่ ตัวมีสีน้ำตาลดำ ตัวผู้มักปรากฏลายสีเข้มเป็นแถบทั้งขาหน้า และขาหลัง บริเวณใต้ท้องมีสีขาวหม่น ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 22 เซนติเมตร ขายาว 6-8 นิ้ว ขาหน้าสั้นกว่าขาหลัง นิ้วเท้ามี 4 นิ้ว สามารถเปลี่ยนสีลำตัวได้ตามสภาพแวดล้อม โดยตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ จงโคร่งเป็นสัตว์ที่พบได้เฉพาะในป่าดิบชื้น โดยจะอาศัยอยู่ตามแหล่งน้ำในป่า เช่น ลำธารน้ำตกหรือลำห้วย โดยมักใช้ชีวิตอยู่ในน้ำมากกว่าอยู่บนบก มักหลบอยู่ตามขอนไม้หรือก้อนหินขนาดใหญ่ หากินในเวลากลางคืน อาหารหลักได้แก่ แมลงและสัตว์น้ำขนาดเล็ก มีเสียงร้องคล้ายสุนัขเห่า จึงได้อีกชื่อหนึ่งว่า "หมาน้ำ" โดยมีพฤติกรรมร้องเป็นจังหวะ ๆ ละ 6-10 วินาที ลักษณะไข่เป็นฟองกลม ๆ อาจติดอยู่ตามขอบแหล่งน้ำที่อาศัย โดยฤดูกาลผสมพันธุ์อยู่ในช่วงฤดูฝนจนถึงต้นฤดูหนาว พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในป่าดิบชื้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทย พบได้ในภาคเหนือ, ภาคตะวันตกและภาคใต้ ในความเชื่อของคนปักษ์ใต้ จงโคร่งหรือกงเป็นสัตว์นำโชค หากเข้าบ้านใครถือเป็นลางมงคล แต่ในบางท้องถิ่นมีการเอาหนังของจงโคร่งมาตากแห้งแล้วมวนผสมกับใบยาสูบสูบเหมือนยาสูบทั่วไป มีฤทธิ์แรงกว่ายาสูบหรือบุหรี่ทั่วไป โดยมีความแรงเทียบเท่ากับกัญชา ในฟิลิปปินส์ก็นิยมทำเช่นเดียวกัน ปัจจุบัน มีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง.

ใหม่!!: วินาทีและจงโคร่ง · ดูเพิ่มเติม »

ธรณีนี่นี้ใครครอง

รณีนี่นี้ใครครอง เป็นละครโทรทัศน์ไทย จากบทประพันธ์ กาญจนา นาคนันทน์ โดยนามปากกาของ นงไฉน ปริญญาธวัช ซึ่งได้รับรางวัลประเภทนวนิยายดีเด่นสะท้อนชีวิตในสังคมไทย จากงานวันสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ ของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2518 ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2541 โดย บริษัท โนพลอบเล็ม จำกัด ออกอากาศทางไทยทีวีสีช่อง 3 นำแสดงโดย แอนดริว เกร้กสัน และปิยธิดา วรมุสิก ต่อมาในปี พ.ศ. 2554 บริษัท โนพลอบเล็ม จำกัด ได้นำมาสร้างใหม่อีกครั้ง บทโทรทัศน์ ปารดา กันตพัฒนกุล กำกับการแสดงโดย ยุทธนา ลอพันธ์ไพบูลย์ นำแสดงโดย ณเดชน์ คูกิมิยะ และอุรัสยา เสปอร์บันด์ ออกอากาศในปี พ.ศ. 2555 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อาทิจและดรุณี คือตัวแทนคนรุ่นใหม่ ที่รับสืบทอดภาระและหน้าที่ที่มีต่อแผ่นดิน หรือ "ธรณี" มาจากคุณย่า ผู้หญิงตัวคนเดียวที่ใช้ทั้งความแข็งแกร่งและความอ่อนโยน หว่านพืชปลูกพันธุ์จนเติบโตงอกงาม และสามารถโอบอุ้มทุกชีวิตไว้บนแผ่นดิน แต่กว่าจะถึงวันนั้นได้ อุปสรรคและปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างทางมากมาย ดังชีวิตจริงของเราทุกคน ที่มีทั้งความสนุกสนาน หวามหวาน ทดท้อ และบางครั้งก็มีน้ำตา แต่สุดท้ายแล้ว ความสุขกับความสำเร็จ ก็ย่อมเป็นรางวัลที่ผู้มีความเพียรพึงจะได้รั.

ใหม่!!: วินาทีและธรณีนี่นี้ใครครอง · ดูเพิ่มเติม »

ทวิภาค

ทวิภาค หรือ จุดคู่ คลังความรู้ออนไลน์ ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สวทช. เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง มีลักษณะเป็นจุดสองจุดเรียงตามแนวตั้ง.

ใหม่!!: วินาทีและทวิภาค · ดูเพิ่มเติม »

ขนาดคลื่นพื้นผิว

มาตราขนาดคลื่นพื้นผิว (M_s) เป็นหนึ่งในขนาดมาตราที่ใช้ในวิทยาแผ่นดินไหว เพื่ออธิบายขนาดของแผ่นดินไหว มาตราดังกล่าวใช้ค่าที่ได้จากการวัดคลื่นพื้นผิวเรย์ลี ซึ่งเดินทางตามชั้นบนสุดของผิวโลกเป็นหลัก ปัจจุบันมาตราดังกล่าวใช้ในสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นมาตรฐานแห่งชาติ (GB 17740-1999) ในการจัดหมวดหมู่แผ่นดินไหว ขนาดคลื่นพื้นผิวเดิมได้รับการพัฒนาขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1950 โดยนักวิจัยคนเดียวกับที่พัฒนามาตราขนาดท้องถิ่น (ML) เพื่อพัฒนาความละเอียดในแผ่นดินไหวที่มีขนาดใหญ่ขึ้น.

ใหม่!!: วินาทีและขนาดคลื่นพื้นผิว · ดูเพิ่มเติม »

ดวงอาทิตย์

วงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ ณ ใจกลางระบบสุริยะ เป็นพลาสมาร้อนทรงเกือบกลมสมบูรณ์ โดยมีการเคลื่อนท่พาซึ่งผลิตสนามแม่เหล็กผ่านกระบวนการไดนาโม ปัจจุบันเป็นแหล่งพลังงานสำคัญที่สุดสำหรับสิ่งมีชีวิตบนโลก มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.39 ล้านกิโลเมตร ใหญ่กว่าโลก 109 เท่า และมีมวลประมาณ 330,000 เท่าของโลก คิดเป็นประมาณ 99.86% ของมวลทั้งหมดของระบบสุริยะ มวลประมาณสามในสี่ของดวงอาทิตย์เป็นไฮโดรเจน ส่วนที่เหลือเป็นฮีเลียมเป็นหลัก โดยมีปริมาณธาตุหนักกว่าเล็กน้อย รวมทั้งออกซิเจน คาร์บอน นีออนและเหล็ก ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ลำดับหลักระดับจี (G2V) ตามการจัดประเภทดาวฤกษ์ ซึ่งเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า "ดาวแคระเหลือง" ดวงอาทิตย์เกิดเมื่อประมาณ 4.6 พันล้านปีก่อนจากการยุบทางความโน้มถ่วงของสสารภายในบริเวณเมฆโมเลกุลขนาดใหญ่ สสารนี้ส่วนใหญ่รวมอยู่ที่ใจกลาง ส่วนที่เหลือแบนลงเป็นแผ่นโคจรซึ่งกลายเป็นระบบสุริยะ มวลใจกลางร้อนและหนาแน่นมากจนเริ่มเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น ณ แก่น ซึ่งเชื่อว่าเป็นกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ส่วนใหญ่ ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณครึ่งอายุขัย ไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนักเป็นเวลากว่า 4 พันล้านปีมาแล้วและจะค่อนข้างเสถียรไปอีก 5 พันล้านปี หลังฟิวชันไฮโดรเจนในแก่นของมันลดลงถึงจุดที่ไม่อยู่ในดุลยภาพอุทกสถิตต่อไป แก่นของดวงอาทิตย์จะมีความหนาแน่นและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นส่วนชั้นนอกของดวงอาทิตย์จะขยายออกจนสุดท้ายเป็นดาวยักษ์แดง มีการคำนวณว่าดวงอาทิตย์จะใหญ่พอกลืนวงโคจรปัจจุบันของดาวพุทธและดาวศุกร์ และทำให้โลกอาศัยอยู่ไม่ได้ มนุษย์ทราบความสำคัญของดวงอาทิตย์ที่มีโลกมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และบางวัฒนธรรมถือดวงอาทิตย์เป็นเทวดา การหมุนของโลกและวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลกเป็นรากฐานของปฏิทินสุริยคติ ซึ่งเป็นปฏิทินที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน.

ใหม่!!: วินาทีและดวงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ดวงจันทร์

วงจันทร์เป็นวัตถุดาราศาสตร์ที่โคจรรอบโลก เป็นดาวบริวารถาวรดวงเดียวของโลก เป็นดาวบริวารใหญ่ที่สุดอันดับที่ 5 ในระบบสุริยะ และเป็นดาวบริวารขนาดใหญ่สุดเมื่อเทียบกับกขนาดของดาวเคราะห์ที่โคจร ดวงจันทร์เป็นดาวบริวารที่มีความหนาแน่นที่สุดเป็นอันดับที่ 2 รองจากไอโอของดาวพฤหัสบดี ซึ่งบางส่วนไม่ทราบความหนาแน่น คาดว่าดวงจันทร์ก่อกำเนิดประมาณ 4.51 พันล้านปีก่อน ไม่นานหลังจากโลก คำอธิบายที่ได้รับการยอมรับกว้างขวางที่สุดคือดวงจันทร์ก่อกำเนิดจากเศษที่เหลือจากการชนขนาดยักษ์ระหว่างโลกกับเทห์ขนาดประมาณดาวอังคารชื่อเธียอา ดวงจันทร์หมุนรอบโลกแบบประสานเวลา จะหันด้านเดียวเข้าหาโลกเสมอคือด้านใกล้ที่มีลักษณะเป็นทะเลภูเขาไฟมืด ๆ ซึ่งเติมที่ว่างระหว่างที่สูงเปลือกโบราณสว่างและหลุมอุกกาบาตที่เห็นได้ชัดเจน เมื่อสังเกตจากโลก เป็นเทห์ฟ้าที่เห็นได้เป็นประจำสว่างที่สุดอันดับสองในท้องฟ้าของโลกรองจากดวงอาทิตย์ พื้นผิวแท้จริงแล้วมืด แม้เทียบกับท้องฟ้าราตรีแล้วจะดูสว่างมาก โดยมีการสะท้อนสูงกว่าแอสฟอลต์เสื่อมเล็กน้อย อิทธิพลความโน้มถ่วงของดวงจันทร์ทำให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร และทำให้หนึ่งวันยาวขึ้นเล็กน้อย มีระยะห่างจากโลกเฉลี่ยนับจากศูนย์กลางถึงศูนย์กลางประมาณ 384,403 กิโลเมตร เทียบเท่ากับ 30 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของโลก จุดศูนย์กลางมวลร่วมของระบบตั้งอยู่ที่ตำแหน่ง 1700 กิโลเมตรใต้ผิวโลก หรือประมาณ 1 ใน 4 ของรัศมีของโลก ดวงจันทร์โคจรรอบโลกในเวลาประมาณ 27.3 วันตัวเลขอย่างละเอียดคือ คาบโคจรแท้จริงเฉลี่ยของดวงจันทร์ (sideral orbit) คือ 27.321661 วัน (27 วัน 7 ชั่วโมง 43 นาที 11.5วินาที) และคาบโคจรเฉลี่ยแบบทรอปิคัล (tropical orbit) อยู่ที่ 27.321582 วัน (27 วัน 7 ชั่วโมง 43 นาที 4.7 วินาที) (Explanatory Supplement to the Astronomical Ephemeris, 1961, at p.107).

ใหม่!!: วินาทีและดวงจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดังเคิลออสเตียส

ังเคิลออสเตียส (Dunkleosteus) เป็นสกุลของปลาในยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่ปัจจุบันนี้สูญพันธุ์ไปแล้วสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Dunkleosteus (มาจาก "(เดวิด) Dunkle" + osteus (οστεος, ภาษากรีก: กระดูก); หมายถึง "กระดูกของดังเคิล" ซึ่งตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่ เดวิด ดังเคิล ภัณฑารักษ์แห่งพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาคลีฟแลนด์) ดังเคิลออสเตียส เป็นปลาทะเลขนาดใหญ่อาศัยอยู่ในปลายยุคดีโวเนียน (380-360 ล้านปีมาแล้ว) จัดเป็นปลาที่มีขากรรไกรที่เป็นปลานักล่ากินเนื้อขนาดใหญ่ที่เป็นเสมือนคู่แข่งตัวฉกาจของปลาฉลามในยุคต้นของการวิวัฒนาการเลยทีเดียว ดังเคิลออสเตียส ถือเป็นสกุลของปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่อยู่ในอันดับ Arthrodira รูปลักษณ์ภายนอกของปลาสกุลนี้แลดูดุดันน่ากลัวมาก ที่เห็นเด่นชัดสุดคงเป็นแผ่นขากรรไกรแข็งแรง ยืดหยุ่นได้ดี ไม่มีฟันแต่ที่ขอบปากมีลักษณะแหลมคล้ายเขี้ยวทั้งด้านบนและล่าง ทำให้เป็นเหมือนจะงอยปากไว้งับเหยื่อโดยไม่ต้องใช้ฟัน ในขณะที่มีลำตัวตัวยาว 3-9 เมตร และหนักได้ถึง 3.6-4 ตัน และมีโครงสร้างประกอบด้วยเกล็ดอย่างหนาและแข็งเสมือนชุดเกราะ มีทั้งหมด 7 ชนิด และเป็นชนิดที่เพิ่งได้รับการอนุกรมวิธานไปเมื่อปี ค.ศ. 2010 2 ชนิด (ดูในตาราง) ที่ผ่านมานักวิทยาศาสตร์พบฟอสซิลจำนวนมากของดังเคิลออสเตียสในทวีปอเมริกาเหนือ, โปแลนด์, เบลเยียม และโมร็อกโก แต่มักเป็นฟอสซิลส่วนหัว ทำให้ไม่เป็นที่ชัดเจนว่าท่อนล่างของลำตัวเป็นอย่างไร จากโครงสร้างเสมือนเกราะแข็งหนักของดังเคิลออสเตียสทำให้เชื่อว่าเป็นปลาที่ว่ายน้ำได้ไม่คล่องแคล่วว่องไวเหมือนปลาชนิดอื่น และชอบอาศัยอยู่ใกล้ชายฝั่งมากกว่า นักวิทยาศาสตร์ของพิพิธภัณฑ์ฟิล์ด มิวเซียม และมหาวิทยาลัยชิคาโก ศึกษาโครงสร้างขากรรไกรของดังเคิลออสเตียสแล้วมีความเห็นว่าต้องเป็นปลาที่มีพลังในการกัดมหาศาลเหนือกว่าปลาชนิดอื่นใด และเหนือกว่าปลาฉลามทั่วไป และแม้แต่ปลาฉลามขาว โดยมีแรงกดทับสูงถึง 8,000 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ซึ่งความร้ายกาจอันนี้จึงมักจะถูกนำไปเปรียบเทียบกับไดโนเสาร์กินเนื้อเช่น ไทรันโนซอรัส และจระเข้สมัยใหม่เสียมากกว่า นอกจากนี้ยังอ้าปากได้เร็วมากในอัตรา 1 ใน 50 ส่วนของวินาที ซึ่งทำให้มีพลังมหาศาลในการดูดเหยื่อเข้าไป ซึ่งลักษณะพิเศษเช่นนี้นี้ยังพบได้ในปลากระดูกแข็งสมัยใหม่ที่มีพัฒนาการก้าวหน้าโดยส่วนใหญ่ แต่ปลาในอันดับ Arthrodira นี้มีชีวิตอยู่บนโลกสั้นมาก กล่าวคือ อยู่ได้เพียงประมาณ 50 ล้านปีก็สูญพันธุ์ไปอย่างรวดเร็วในช่วงปลายยุคดีโวเนียน โดยปัจจุบันตามพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาต่าง ๆ ยังมีซากฟอสซิลดังเคิลออสเตียสเก็บแสดงอยู่ โดยที่ที่มีชื่อเสียงที่สุด คือ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาคลีฟแลนด์ในสหรัฐอเมริกา และพิพิธภัณฑ์ควีนส์แลนด์ในออสเตรเลี.

ใหม่!!: วินาทีและดังเคิลออสเตียส · ดูเพิ่มเติม »

ดายน์

น์ (Dyne; สัญลักษณ์ "dyn"; IPA) ในทางฟิสิกส์คือ หน่วยของแรง สำหรับใช้ในระบบการวัดแบบเซนติเมตร-กรัม-วินาที (CGS) ซึ่งเป็นระบบการวัดสำหรับมาตราเมตริก โดยกำหนดให้ 1 ดายน์มีค่าเท่ากับ 10 ไมโครนิวตัน (μN) หรือ 10−5 นิวตัน (.

ใหม่!!: วินาทีและดายน์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวพฤหัสบดี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: วินาทีและดาวพฤหัสบดี · ดูเพิ่มเติม »

ดาวพลูโต

วพลูโต (Pluto; ดัชนีดาวเคราะห์น้อย: 134340 พลูโต) เป็นดาวเคราะห์แคระในแถบไคเปอร์ วงแหวนของวัตถุพ้นดาวเนปจูน โดยเป็นวัตถุแถบไคเปอร์ชิ้นแรกที่ถูกค้นพบ มันมีขนาดใหญ่ที่สุดและมีมวลมากที่สุดเป็นอันดับสองในบรรดาดาวเคราะห์แคระที่รู้จักในระบบสุริยะ และยังเป็นวัตถุที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 9 และมวลมากเป็นอันดับที่ 10 ในระบบสุริยะที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ดาวพลูโตเป็นวัตถุแถบไคเปอร์ที่ใหญ่ที่สุดโดยปริมาตร แต่มีมวลน้อยกว่าอีริส ซึ่งเป็นวัตถุในแถบหินกระจาย ดาวพลูโตมีลักษณะเหมือนกับวัตถุอื่น ๆ ในบริเวณเดียวกัน กล่าวคือ ประกอบไปด้วยหินและน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ มีมวลและปริมาตรประมาณ 1 ใน 6 และ 1 ใน 3 ของดวงจันทร์ตามลำดับ วงโคจรของดาวพลูโตมีความเยื้องศูนย์กลางมาก อยู่ที่ 30 ถึง 49 หน่วยดาราศาสตร์ (4.4 – 7.4 พันล้านกิโลเมตร) จากดวงอาทิตย์ หมายความว่าเมื่อดาวพลูโตอยู่ในตำแหน่งที่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด มันจะอยู่ใกล้กว่าวงโคจรของดาวเนปจูนเสียอีก แต่เนื่องด้วยการสั่นพ้องของวงโคจร ทำให้ดาวเคราะห์ทั้งสองดวงไม่สามารถโคจรมาชนกันได้ ในปี..

ใหม่!!: วินาทีและดาวพลูโต · ดูเพิ่มเติม »

ดาวมาคีมาคี

มาคีมาคี (Makemake;; ภาษาราปานุย: มาเกมาเก) มีชื่อเดิมว่า (136472) มาคีมาคี เป็นดาวเคราะห์แคระที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 3 ในระบบสุริยะ (เท่าที่ค้นพบแล้วในขณะนี้) และเป็นหนึ่งในสองวัตถุที่ใหญ่ที่สุดของแถบไคเปอร์ (KBO) ซึ่งอยู่ในหมู่วัตถุชั้นเอกของแถบไคเปอร์ ดาวมาคีมาคีมีเส้นผ่านศูนย์กลางสามในสี่ของดาวพลูโต ไม่มีดวงจันทร์บริวาร ซึ่งแปลกจากวัตถุขนาดใหญ่อื่น ๆ แถบไคเปอร์ด้วยกัน อุณหภูมิเฉลี่ยที่ต่ำมากของดาวดวงนี้ (ประมาณ 30 เคลวิน) แสดงให้เห็นว่าพื้นผิวของมันถูกปกคลุมด้วยมีเทน อีเทน และอาจจะมีไนโตรเจนแข็งด้วย จากเริ่มแรกที่มีชื่อว่า (และต่อมามีหมายเลขดาวเคราะห์น้อย 136472 กำกับ) ดาวมาคีมาคีถูกค้นพบเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2548 โดยไมเคิล อี. บราวน์ (Michael E. Brown) พร้อมทีมค้นหา ประกาศการค้นพบเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 และในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สหภาพดาราศาสตร์นานาชาติได้รวมมาคีมาคีไว้ในรายชื่อวัตถุที่มีสภาพเหมาะสมที่จะได้รับสถานะ "พลูตอยด์" (Plutoid) ซึ่งเป็นคำที่ใช้เรียกประเภทของดาวเคราะห์แคระที่อยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป บริเวณเดียวกับดาวพลูโตและดาวอีริส ในที่สุดมาคีมาคีก็ได้รับการจัดให้เป็นพลูตอยด์อย่างเป็นทางการในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: วินาทีและดาวมาคีมาคี · ดูเพิ่มเติม »

ดาวยูเรนัส

ซอร์วิลเลียม เฮอร์เชล ภาพจากยานวอยเอเจอร์ 2 แสดง ดาวยูเรนัส วงแหวน และดวงจันทร์บริวาร ดาวยูเรนัส (หรือ มฤตยู) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 7 ในระบบสุริยะ จัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3.

ใหม่!!: วินาทีและดาวยูเรนัส · ดูเพิ่มเติม »

ดาวอีริส

136199 อีริส (Eris) หรือ 2003 UB313 เป็นดาวเคราะห์แคระหนึ่งในวัตถุพ้นดาวเนปจูน (Trans-Neptunian Object - TNO) เป็นดาวเคราะห์แคระดวงใหญ่ เป็นลำดับที่ 2 ในระบบสุริยะที่ถูกค้นพบในปัจจุบัน มีขนาดเล็กกว่าดาวพลูโตเล็กน้อย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1445 กิโลเมตร(ขนาดดาวพลูโต 1473 กิโลเมตร) มีดวงจันทร์บริวาร 1 ดวง ชื่อ ดิสโนเมีย (Dysnomia) อีริสถูกค้นพบโดย ไมเคิล อี. บราวน์และคณะ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 2005 จากภาพที่ถ่ายไว้เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 2003 ด้วยกล้องโทรทรรศน์ของหอดูดาวพาโลมาร์ รัฐแคลิฟอร์เนีย คณะผู้ค้นพบได้เสนอให้ตั้งชื่อดาวที่พบใหม่นี้ว่า ซีนา (Xena) ตามชื่อของละครโทรทัศน์ Xena: Warrior Princess โดยตัวอักษร X หมายถึง ดาวเคราะห์ X ที่เปอร์ซิวัล โลเวลล์ เคยเสนอไว้ และให้ดวงจันทร์บริวารของมันใช้ชื่อว่า แกเบรียลล์ (Gabrielle) แต่ไม่ได้มีการประกาศใช้ชื่อนี้อย่างเป็นทางการ ภายหลังการค้นพบ คณะผู้ค้นพบและนาซาได้ประกาศว่าอีริสเป็น ดาวเคราะห์ดวงที่ 10 แต่จากการประชุมสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล ที่กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ได้ข้อสรุปว่าอีริสไม่จัดเป็นดาวเคราะห์ แต่เป็นดาวเคราะห์แคระ ชื่อ อีริส มาจากชื่อของเทพเจ้าแห่งความวุ่นวาย ผู้วางอุบายโดยใช้แอปเปิลทองคำ เพื่อทำให้เฮรา อาเทนา และอะโฟรไดต์ ซึ่งเป็นสามเทวีพรหมจรรย์ในบรรดาเทพแห่งโอลิมปัสแตกคอกัน เพราะว่าไม่ได้เชิญนางมางานเลี้ยงของเทพ ส่วน ดิสโนเมีย คือชื่อธิดาของอีริส ไฟล์:Animation showing movement of 2003 UB313.gif|ภาพถ่าย 3 ภาพในระยะเวลา 3 ชั่วโมงที่ ไมเคิล อี.

ใหม่!!: วินาทีและดาวอีริส · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเสาร์

วเสาร์ (Saturn) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 6 จากดวงอาทิตย์ ถัดจากดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์เป็นดาวแก๊สยักษ์ที่มีรัศมีเฉลี่ยมากกว่าโลกประมาณเก้าเท่า แม้ว่าจะมีความหนาแน่นเป็นหนึ่งในแปดของโลก แต่มวลของมันมีมากกว่าโลกถึง 95 เท่า ดาวเสาร์ตั้งชื่อตามเทพโรมันแห่งการเกษตร สัญลักษณ์ทางดาราศาสตร์ของดาวเสาร์ (♄) แทนเคียวของเทพเจ้า ดาวเสาร์มีรูปร่างป่องออกตามแนวเส้นศูนย์สูตร ที่เรียกว่าทรงกลมแป้น (oblate spheroid) เส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวขั้วสั้นกว่าตามแนวเส้นศูนย์สูตรเกือบ 10% เป็นผลจากการหมุนรอบตัวเองอย่างรวดเร็ว ดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ก็มีลักษณะเป็นทรงกลมแป้นเช่นกัน แต่ไม่มากเท่าดาวเสาร์ ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยะ ที่มีความหนาแน่นเฉลี่ยน้อยกว่าน้ำ (0.70 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร) อย่างไรก็ตาม บรรยากาศชั้นบนของดาวเสาร์มีความหนาแน่นน้อยกว่านี้ ขณะที่ที่แกนมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำ วงแหวนของดาวเสาร์ประกอบไปด้วย เศษหินและน้ำแข็งขนาดเล็ก เรียงตัวอยู่ในระนาบเดียวกัน และวงแหวนของดาวเสาร์ก็ประกอบไปด้วย วงแหวนย่อยๆมากมาย ความจริงแล้ววงแหวนดาวเสาร์นั้นบางมาก โดยมีความหนาเฉลี่ยเพียง 500 กิโลเมตรเท่านั้น แต่เศษวัตถุในวงแหวนมีความสามารถในการสะท้อนแสงดี และกว้างกว่า 80,000 กิโลเมตร จึงสามารถสังเกตได้จากโลกของเร.

ใหม่!!: วินาทีและดาวเสาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเฮาเมอา

มอา มีชื่อเดิมว่า 136108 เฮาเมอา เป็นดาวเคราะห์แคระดวงหนึ่งในแถบไคเปอร์ มีมวลขนาดหนึ่งในสามของดาวพลูโต ถูกค้นพบในปี พ.ศ. 2547 โดยไมเคิล อี. บราวน์ (Michael E. Brown) และทีมค้นหาจากสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย (แคลเทค) และหอดูดาวเมานาเคอาในสหรัฐอเมริกา และในปี พ.ศ. 2548 โดยโคเซ ลุยส์ ออร์ติซ โมเรโน (José Luis Ortiz Moreno) และทีมค้นหาจากหอดูดาวเซียร์ราเนบาดาในประเทศสเปน (แต่การอ้างว่าเป็นผู้ค้นพบของฝ่ายหลังถูกโต้แย้ง) ในวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2551 สหภาพดาราศาสตร์นานาชาติได้จัดดาวดวงนี้ให้อยู่ในกลุ่มของดาวเคราะห์แคระ และตั้งชื่อตามเฮาเมอา เทพีแห่งการให้กำเนิดของชาวฮาวาย เฮาเมอามีลักษณะพิเศษต่างจากวัตถุพ้นดาวเนปจูนเท่าที่ค้นพบแล้วดวงอื่น ๆ เนื่องจากทำมุมห่างจากดวงอาทิตย์กว้างมาก แม้ว่ายังจะไม่มีการสำรวจรูปร่างของมันโดยตรง แต่จากการคำนวณจากเส้นความสว่าง (light curve) ทำให้สันนิษฐานได้ว่าดาวเคราะห์แคระดวงนี้เป็นวัตถุทรงรี มีแกนหลักยาวเป็นสองเท่าของแกนรอง แต่กระนั้นก็เชื่อว่ามันมีแรงโน้มถ่วงมากพอที่จะดึงดูดตัวเองให้อยู่ในภาวะสมดุลอุทกสถิต (hydrostatic equilibrium) ได้ ดังนั้นดาวดวงนี้จึงมีลักษณะตรงตามคำจำกัดความของดาวเคราะห์แคระ สันนิษฐานว่าการทำมุมเช่นนี้ รวมทั้งลักษณะอื่น ๆ เช่น การหมุนรอบตัวเองเร็วผิดปกติ ความหนาแน่นสูง และอัตราส่วนสะท้อน (albedo) สูง (ซึ่งเชื่อว่าเป็นเพราะชั้นน้ำแข็งบนพื้นผิว) เป็นผลมาจากการชนกันครั้งใหญ่ซึ่งทำให้เฮาเมอากลายเป็นสมาชิกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของตระกูลวัตถุที่เกิดจากการชนกัน (collisional family) ของมันเองซึ่งรวมดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 2 ดวงของมันไว้ด้ว.

ใหม่!!: วินาทีและดาวเฮาเมอา · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเนปจูน

วเนปจูน (Neptune) มีชื่อไทยว่า ดาวเกตุ เป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะลำดับสุดท้ายมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่เป็นอันดับที่ 4 รองจากดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และมีมวลเป็นลำดับที่ 3 รองจากดาวพฤหัสและดาวเสาร์ คำว่า "เนปจูน" นั้นตั้งชื่อตามเทพเจ้าแห่งท้องทะเลของโรมันเหนือ (กรีก: โปเซดอน) มีสัญลักษณ์เป็น (♆) ดาวเนปจูนมีสีน้ำเงิน เนื่องจากองค์ประกอบหลักของบรรยากาศผิวนอกเป็น ไฮโดรเจน ฮีเลียม และมีเทน บรรยากาศของดาวเนปจูน มีกระแสลมที่รุนแรง (2500 กม/ชม.) อุณหภูมิพื้นผิวอยู่ที่ประมาณ -220℃ (-364 °F) ซึ่งหนาวเย็นมาก เนื่องจาก ดาวเนปจูนอยู่ไกลดวงอาทิตย์มาก แต่แกนกลางภายในของดาวเนปจูน ประกอบด้วยหินและก๊าซร้อน อุณหภูมิประมาณ 7,000℃ (12,632 °F) ซึ่งร้อนกว่าพื้นผิวของดวงอาทิตย์ ยานวอยเอเจอร์ 2 เป็นยานอวกาศจากโลกเพียงลำเดียวเท่านั้น ที่เคยเดินทางไปถึงดาวเนปจูนเมื่อ 25 สิงหาคม..

ใหม่!!: วินาทีและดาวเนปจูน · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 12

อะเมซิ่ง เรซ 12 (The Amazing Race 12) เป็นฤดูกาลที่ 12 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส สำหรับรายการนี้เริ่มออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส ในสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยแทนที่รายการ Viva Laughlin ที่ถูกยกเลิก และตอนสุดท้ายออกอากาศเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2551 ณ เวลา 20 นาฬิกา ตามเวลามาตรฐานตะวันออก และเวลามาตรฐานแปซิฟิกของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: วินาทีและดิอะเมซิ่งเรซ 12 · ดูเพิ่มเติม »

ความถี่

วามถี่ (frequency) คือจำนวนการเกิดเหตุการณ์ซ้ำในหนึ่งหน่วยของเวลา ความถี่อาจเรียกว่า ความถี่เชิงเวลา (temporal frequency) หมายถึงแสดงให้เห็นว่าต่างจากความถี่เชิงพื้นที่ (spatial) และความถี่เชิงมุม (angular) คาบคือระยะเวลาของหนึ่งวงจรในเหตุการณ์ที่เกิดซ้ำ ดังนั้นคาบจึงเป็นส่วนกลับของความถี่ ตัวอย่างเช่น ถ้าหัวใจของทารกเกิดใหม่เต้นที่ความถี่ 120 ครั้งต่อนาที คาบ (ช่วงเวลาระหว่างจังหวะหัวใจ) คือครึ่งวินาที (นั่นคือ 60 วินาทีหารจาก 120 จังหวะ) ความถี่เป็นตัวแปรสำคัญในวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม สำหรับระบุอัตราของปรากฏการณ์การแกว่งและการสั่น เช่น การสั่นของเครื่องจักร โสตสัญญาณ (เสียง) คลื่นวิทยุ และแสง.

ใหม่!!: วินาทีและความถี่ · ดูเพิ่มเติม »

ความถี่เสียงเปียโน

วามถี่เสียงของเปียโน โดยทั่วไปมีเสียงจริง 88 ลิ่มนิ้ว โดยเทียบเสียงตามคีย์ A440 หรือ A4 โดยแสดงความถี่ เป็นหน่วยรอบต่อวินาที หรือเฮิรตซ์ (Hz) ของโน้ตดนตรีแต่ละตัว (นั่นคือ ความถี่ของโน้ตแต่ละเสียงที่ได้จากเปียโนมาตรฐาน) การกระจายความถี่นี้ เรียกกันว่า equal temperament นั่นคือ ระดับเสียงถัดไปแต่ละเสียง ได้จากการคูณเสียงก่อนหน้านี้ ด้วย รากที่ 12 ของ 2 (\sqrt) หรือประมาณ 1.05946309436.

ใหม่!!: วินาทีและความถี่เสียงเปียโน · ดูเพิ่มเติม »

ความโน้มถ่วง

หมุนรอบดวงอาทิตย์ ไม่หลุดออกจากวงโคจร (ภาพไม่เป็นไปตามอัตราส่วน) ความโน้มถ่วง (gravity) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติซึ่งทำให้วัตถุกายภาพทั้งหมดดึงดูดเข้าหากัน ความโน้มถ่วงทำให้วัตถุกายภาพมีน้ำหนักและทำให้วัตถุตกสู่พื้นเมื่อปล่อย แรงโน้มถ่วงเป็นหนึ่งในสี่แรงหลัก ซึ่งประกอบด้วย แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงนิวเคลียร์แบบอ่อน และ แรงนิวเคลียร์แบบเข้ม ในจำนวนแรงทั้งสี่แรงหลัก แรงโน้มถ่วงมีค่าน้อยที่สุด ถึงแม้ว่าแรงโน้มถ่วงจะเป็นแรงที่เราไม่สามารถรับรู้ได้มากนักเพราะความเบาบางของแรงที่กระทำต่อเรา แต่ก็เป็นแรงเดียวที่ยึดเหนี่ยวเราไว้กับพื้นโลก แรงโน้มถ่วงมีความแรงแปรผันตรงกับมวล และแปรผกผันกับระยะทางยกกำลังสอง ไม่มีการลดทอนหรือถูกดูดซับเนื่องจากมวลใดๆ ทำให้แรงโน้มถ่วงเป็นแรงที่สำคัญมากในการยึดเหนี่ยวเอกภพไว้ด้วยกัน นอกเหนือจากความโน้มถ่วงที่เกิดระหว่างมวลแล้ว ความโน้มถ่วงยังสามารถเกิดขึ้นได้จากการที่เราเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน เช่น การเพิ่มหรือลดความเร็วของวัตถุ การเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ เป็นต้น.

ใหม่!!: วินาทีและความโน้มถ่วง · ดูเพิ่มเติม »

ความเร็วแนวเล็ง

วามเร็วแนวเล็ง บางครั้งก็เรียกว่า ความเร็วเชิงรัศมี หรือ ความเร็วแนวรัศมี (radial velocity) เป็นความเร็วของวัตถุในทิศทางที่อยู่ตรงแนวสายตาของเรา ไม่ว่าจะเป็นการเคลื่อนเข้าหาตัวเราหรือเคลื่อนออกจากตัวเราก็ตาม แสงจากวัตถุที่มีความเร็วแนวเล็งที่แน่นอนสามารถทำให้เกิดปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ได้ โดยความถี่ของแสงจะลดลงขณะที่วัตถุเคลื่อนที่ห่างออกไป (เรียกว่า การเคลื่อนไปทางแดง) หรือความถี่จะเพิ่มขึ้นเมื่อวัตถุเคลื่อนใกล้เข้ามา (เรียกว่า การเคลื่อนไปทางน้ำเงิน) การวัดความเร็วแนวเล็งของดาวฤกษ์หรือวัตถุส่องสว่างอื่นที่อยู่ห่างไกลสามารถทำได้โดยการตรวจสอบสเปกตรัมความละเอียดสูงและเปรียบเทียบคลื่นความถี่ที่ได้กับแถบสเปกตรัมที่เราทราบค่าแล้วจากห้องทดลอง ตามปกติ ความเร็วแนวเล็งที่เป็นบวกหมายถึงวัตถุกำลังเคลื่อนห่างออกไป ถ้าความเร็วแนวเล็งเป็นลบ หมายถึงวัตถุกำลังเคลื่อนใกล้เข้ามา ในระบบดาวคู่หลายแห่ง การเคลื่อนที่ของวงโคจรจะทำให้ความเร็วแนวเล็งแปรค่าไปมาได้หลายกิโลเมตรต่อวินาที เมื่อค่าสเปกตรัมของดาวเหล่านี้เปลี่ยนแปลงไปมาจากผลของปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ จึงเรียกเหตุการณ์นี้ว่า spectroscopic binaries การศึกษาความเร็วแนวเล็งใช้เพื่อประมาณค่ามวลของดาวฤกษ์และองค์ประกอบของวงโคจรบางตัว เช่นความเยื้องศูนย์กลางของวงโคจรและค่ากึ่งแกนเอก กระบวนการเดียวกันนี้สามารถนำไปใช้ในการตรวจจับดาวเคราะห์รอบดาวฤกษ์ได้ ด้วยหลักการการตรวจจับความเคลื่อนไหวจะบ่งชี้ถึงคาบดาราคติของดาวเคราะห์ และขนาดของการเคลื่อนที่ทำให้สามารถคำนวณค่าต่ำสุดที่เป็นไปได้ของมวลดาวเคราะห์ได้.

ใหม่!!: วินาทีและความเร็วแนวเล็ง · ดูเพิ่มเติม »

ความเจ็บปวด

วามเจ็บปวด (Pain) เป็นความทุกข์ทางกายที่เกิดเพราะสิ่งเร้าที่รุนแรงหรืออันตราย แต่เพราะมันเป็นปรากฏการณ์ที่ซับซ้อน ที่เป็นอัตวิสัย การนิยามมันจึงเป็นเรื่องยาก องค์การมาตรฐานสากล International Association for the Study of Pain (IASP) ได้กำหนดนิยามที่ใช้อย่างกว้างขวางว่า "ความเจ็บปวดเป็นประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสและทางอารมณ์ ที่สัมพันธ์กับโอกาสหรือการเกิดขึ้นจริง ๆ ของความเสียหายในเนื้อเยื่อ หรือที่บอกโดยใช้คำซึ่งกล่าวถึงความเสียหายเช่นนั้น" Derived from ในการวินิจฉัยทางการแพทย์ ความเจ็บปวดพิจารณาว่าเป็นอาการของโรคที่เป็นเหตุ ความเจ็บปวดปกติจะจูงใจให้บุคคลถอยตัวออกจากสถานการณ์ที่ทำให้เสียหาย ให้ปกป้องรักษาอวัยวะที่บาดเจ็บเมื่อกำลังหาย และให้หลีกเลี่ยงประสบการณ์คล้าย ๆ กันในอนาคต ความเจ็บปวดโดยมากจะหายไปเองเมื่อหมดสิ่งเร้าอันตรายและเมื่อแผล/การบาดเจ็บหายดี แต่ก็อาจคงยืนต่อไปได้ ความเจ็บปวดบางอย่างสามารถเกิดแม้เมื่อไม่มีสิ่งเร้าอันตราย ไม่มีความเสียหาย และไม่มีโรค ในประเทศพัฒนาแล้ว ความเจ็บปวดเป็นเหตุสามัญที่สุดให้คนไข้หาหมอ มันเป็นอาการสามัญที่สุดในโรคต่าง ๆ และสามารถบั่นทอนคุณภาพและความเป็นอยู่ในชีวิตของคนไข้ ยาแก้ปวดธรรมดา ๆ ใช้ได้ในกรณี 20-70% ปัจจัยทางจิตอื่น ๆ รวมทั้งการได้ความช่วยเหลือจากสังคม การสะกดจิต ความตื่นเต้น หรือเครื่องล่อความสนใจต่าง ๆ มีอิทธิพลอย่างสำคัญต่อความทุกข์เนื่องจากความเจ็บปว.

ใหม่!!: วินาทีและความเจ็บปวด · ดูเพิ่มเติม »

คาทัล

ทัล (katal; ตัวย่อ kat) เป็นหน่วยวัดอำนาจการเร่งปฏิกิริยาในระบบเอสไอ และเป็นหน่วยอนุพันธ์เอสไอที่ใช้วัดอำนาจการเร่งปฏิกิริยาในเอนไซม์และการเร่งปฏิกิริยาอื่น ๆ หน่วยวัดนี้ถูกเสนอโดยที่ประชุมใหญ่ว่าด้วยการชั่งตวงวัดเพื่อแทนที่หน่วยวัดเอนไซม์ (enzyme unit) อย่างไรก็ตาม หน่วยวัดเอนไซม์ยังคงมีใช้กันอยู่ โดยเฉพาะในวิชาชีวเคมี คาทัลเป็นหน่วยของเอสไออย่างเป็นทางการในปี..

ใหม่!!: วินาทีและคาทัล · ดูเพิ่มเติม »

ซีรีส

ซีรีส หรือ เซเรส (Ceres) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า 1 ซีรีส เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงใหญ่ที่สุดและเป็นดาวเคราะห์แคระดวงเดียวในระบบสุริยะชั้นใน เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงแรกที่ถูกค้นพบ โดยจูเซปเป ปีอาซซี นักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: วินาทีและซีรีส · ดูเพิ่มเติม »

ซีเวอร์ต

ซีเวอร์ต (sievert, Sv) เป็นหน่วยอนุพันธ์เอสไอของปริมาณรังสีสมมูล มันจะแสดงถึงผลทางชีวภาพของรังสีตรงข้ามกับลักษณะทางกายภาพซึ่งเป็นลักษณะของปริมาณรังสีดูดซึมโดยวัดเป็นหน่วยเกรย์ ซีเวอร์ตได้ชื่อตาม รอล์ฟ ซีเวอร์ต (Rolf Sievert) นักฟิสิกส์การแพทย์ชาวสวีเดนที่อุทิศตนเพื่อศึกษาผลของรังสีที่มีต่อสิ่งมีชีวิต.

ใหม่!!: วินาทีและซีเวอร์ต · ดูเพิ่มเติม »

ปีศาจโดเวอร์

ปีศาจโดเวอร์ (Dover Demon) เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับที่ปรากฏตัวที่เมืองโดเวอร์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา เมื่อคืนวันที่ 21 เมษายนต่อกับวันที่ 22 เมษายน ค.ศ. 1977 ตามคำกล่าวอ้างของวัยรุ่นชาวอเมริกัน 4 คน ใน 3 เหตุการณ์ 3 สถานที่ แต่ทั้ง 3 สถานที่นั้นเชื่อมต่อถึงกัน โดยทั้งหมดอยู่ในรัศมีราว 2.5 ไมล.

ใหม่!!: วินาทีและปีศาจโดเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปีแสง

ปีแสง (อังกฤษ: light-year) คือ หน่วยของระยะทางในทางดาราศาสตร์ 1 ปีแสง เท่ากับระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 ปี จากอัตราเร็วแสงที่มีค่า 299,792,458 เมตร/วินาที ระยะทาง 1 ปีแสงจึงมีค่าประมาณ 9.4607 กิโลเมตร.

ใหม่!!: วินาทีและปีแสง · ดูเพิ่มเติม »

นกตะขาบทุ่ง

นกตะขาบทุ่ง หรือ นกขาบ (Indian roller, Blue jay) เป็นนกประจำถิ่นที่พบในทวีปเอเชีย บริเวณตั้งแต่ประเทศอิรัก อนุทวีปอินเดีย จนถึงคาบสมุทรอินโดจีน พบได้ทั่วไปตามต้นไม้ริมทางหรือสายไฟ ทุ่งนา ป่าโปร่ง ในประเทศไทยพบได้ทุกภาคยกเว้นภาคใต้ฝั่งอันดามัน นกตะขาบทุ่งเป็นนกหนึ่งในสองชนิดของวงศ์นกตะขาบ (Coraciidae) ที่พบในประเทศไทย ซึ่งอีกชนิดคือ นกตะขาบดง (Eurystomus orientalis) นกตะขาบทุ่งมีขนาดใกล้เคียงกับนกพิราบ อาหารคือแมลง สัตว์ตัวเล็ก ๆ หรือกิ้งก่าในบางครั้ง.

ใหม่!!: วินาทีและนกตะขาบทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

นอต

นอต (knot) เป็นหน่วยวัดความเร็วภาคพื้นดิน ที่ใช้ในวงการเดินเรือและการบินทั่วโลก มีค่าเท่ากับ 1 ไมล์ทะเล/ชม.

ใหม่!!: วินาทีและนอต · ดูเพิ่มเติม »

นาฬิกา

นาฬิกาติดผนัง นาฬิกา (Clock) เป็นเครื่องมือสำหรับใช้บอกเวลา โดยมากจะมีรอบเวลา 12 ชั่วโมง หรือ 24 ชั่วโมง สำหรับนาฬิกาทั่วไป มีเครื่องหมายบอกชั่วโมง นาที หรือวินาที เครื่องมือสำหรับจับเวลาระยะสั้นๆ เรียกว่านาฬิกาจับเวลา เดิมนั้นเป็นอุปกรณ์เชิงกล มีลานหมุนขับเคลื่อนกำลัง และมีเฟืองเป็นตัวทดความเร็วให้ได้รอบที่ต้องการ และใช้เข็มบอกเวลา โดยใช้หน้าปัดเขียนตัวเลขระบุเวลาเอาไว้ ลักษณนามของนาฬิกา เรียกว่า “เรือน” แต่ก็มีนาฬิกาแบบอื่นๆ ซึ่งใช้บอกอีก เช่น นาฬิกาทราย ใช้จับเวลา, นาฬิกากะลา เป็นกะลาเจาะรูใช้จับเวลา โดยการลอยในน้ำ จนกว่าจะจมก็ถือว่าหมดเวลา, นาฬิกาแดด เป็นการตั้งเครื่องมือเพื่อให้สังเกตการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ โดยดูจากเงาของเครื่องมือ บางครั้งเราก็มีการบอกเวลาโดยใช้เครื่องมืออื่น ซึ่งไม่ได้เรียกว่าเป็น นาฬิกา เช่น การตีกลองบอกเวลาเพล ของพระสงฆ์, การตีฆ้องบอกเวลาของแขกยาม หรือการยิงปืนบอกเวลา เป็นต้น.

ใหม่!!: วินาทีและนาฬิกา · ดูเพิ่มเติม »

นาที

นาที อักษรย่อ น. (Minute) สมัยก่อนใช้คำว่า นาที เป็นหน่วยวัดเวลา โดยหนึ่งหน่วยเท่ากับ ของชั่วโมง.

ใหม่!!: วินาทีและนาที · ดูเพิ่มเติม »

นีออน-18

นีออน-18 (Neon-18) เป็นไอโซโทปกัมมันตรังสีของนีออน มีครึ่งชีวิตประมาณ 1.7 วินาที มันมีมวลประมาณ 18.01 u มันสลายตัวด้วยวิธีการแบ่งแยกโปรตอน และ ด้วยการจับยึดอิเล็กตรอน หลังจากที่นีออน-18 สลายแล้วจะให้ ฟลูออรีน-18 และ ออกซิเจน-16 หมวดหมู่:ไอโซโทปของนีออน.

ใหม่!!: วินาทีและนีออน-18 · ดูเพิ่มเติม »

น้ำตกวิกตอเรีย

น้ำตกวิกตอเรีย (Victoria Falls) หรือในชื่อท้องถิ่นว่า โมซิ-โอวา-ทุนยา (Mosi-oa-Tunya; ควันที่ส่งเสียงร้องคำราม) ตั้งอยู่บริเวณรอยต่อของประเทศแซมเบีย และ ประเทศซิมบับเว เป็นน้ำตกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ถูกค้นพบครั้งแรกโดย ดร.

ใหม่!!: วินาทีและน้ำตกวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

น้ำตกอีกวาซู

น้ำตกอีกวาซู (Iguazu Falls; แปลว่า "สายน้ำอันยิ่งใหญ่") เป็นคำมาจากภาษากวารานี (Guarani) ชาวอินเดียนแดงเผ่าดั้งเดิม น้ำตกอีกวาซูตั้งอยู่บริเวณรอยต่อพรมแดนระหว่างประเทศบราซิลกับประเทศอาร์เจนตินา เป็นน้ำตกที่ใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ และเป็นหนึ่งในน้ำตกที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยใหญ่กว่าน้ำตกไนแอการาประมาณ 30 เท่า และขนาดของน้ำตกใกล้เคียงกับน้ำตกวิกตอเรียในทวีปแอฟริกา น้ำตกอีกวาซูเกิดจากแม่น้ำอีกวาซูซึ่งไหลมาจากที่ราบสูงปารานา ตกจากขอบที่ราบสูงขนาดใหญ่ลงสู่พื้นที่ราบต่ำกว่า จึงกลายเป็นน้ำตกขนาดใหญ่เป็นแนวยาวกว่า 4 กิโลเมตร สูงกว่า 269 ฟุต ประกอบด้วยน้ำตกน้อยใหญ่อีก 275 แห่ง ในช่วงฤดูฝนระหว่างเดือนพฤศจิกายนจนถึงเดือนมีนาคมปริมาณน้ำมีมากถึงกว่า 13.6 ล้านลิตรต่อวินาที แต่ในช่วงฤดูร้อน คือระหว่างเมษายนถึงเดือนตุลาคม ปริมาณน้ำจะลดลงเหลือ 2.3 ล้านลิตรต่อวินาที บริเวณรอบ ๆ น้ำตกจะเกิดละอองน้ำอยู่ตลอดเวลาและมีเสียงดังไปไกลกว่า 24 กิโลเมตร บนฝั่งประเทศบราซิลจะมองเห็นน้ำตกได้ทั่วถึงและงดงาม แต่ทางฝั่งประเทศอาร์เจนตินาสามารถเข้าชมน้ำตกได้ใกล้กว.

ใหม่!!: วินาทีและน้ำตกอีกวาซู · ดูเพิ่มเติม »

น้ำตกไนแอการา

น้ำตกไนแอการา (Niagara Falls; les Chutes du Niagara.) เป็นน้ำตกขนาดใหญ่หลายแห่งประกอบกัน ตั้งอยู่บนแม่น้ำไนแอการาทางตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือ บนพรมแดนระหว่างประเทศแคนาดากับสหรัฐอเมริกา น้ำตกไนแอการาประกอบด้วยน้ำตกสามแห่งที่แยกออกจากกัน คือ "น้ำตกเกือกม้า" (Horseshoe Falls บางครั้งก็เรียก "น้ำตกแคนาดา") สูง 57 เมตร น้ำตกอเมริกา (American Falls) สูงระหว่าง 21–34 เมตร และน้ำตกขนาดเล็กกว่าที่อยู่ติดกัน คือน้ำตก Bridal Veil แม้น้ำตกไนแอการาจะไม่สูงอย่างโดดเด่น แต่ก็กว้างมาก น้ำตกไนแองการามีจุดชมวิวที่สวยงามและเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของทั้ง 2 ประเทศมานานกว่าศตวรรษ แม่น้ำไนแอการาไหลมาจากทะเลสาบอีรีไหลผ่านน้ำตกไนแอการาลงสู่ทะเลสาบออนแทรีโอ เมืองสองฝั่งของน้ำตกในสองประเทศนั้นเป็นเมืองแฝด โดยในฝั่งแคนาดาคือ ไนแอการาฟอลส์ ออนแทรีโอ ส่วนในฝั่งสหรัฐอเมริกาคือ ไนแอการาฟอลส์ รัฐนิวยอร์ก.

ใหม่!!: วินาทีและน้ำตกไนแอการา · ดูเพิ่มเติม »

น้ำตกเมอร์ชิสัน

น้ำตกเมอร์ชิสัน (Murchison falls) เป็นน้ำตกขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในทวีปแอฟริกา เป็นน้ำตกที่ได้รับน้ำจากแม่น้ำไนล์ ตั้งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติน้ำตกเมอร์ชิสัน ประเทศยูกันดา อยู่ระหว่างตอนเหนือของทะเลสาบวิกตอเรียและทะเลสาบไคโอกา และเหนือสุดของทะเลสาบอัลเบิร์ต และอยู่ทางตะวันตกของแอฟริการิฟต์ตะวันตก ด้านล่างของน้ำตกเป็นที่ ๆ น้ำเชี่ยวและไหลวนรุนแรงมาก จนเกิดเป็นฟองขาวเต็มไปหมด จนได้ชื่อว่าเป็น "หม้อต้มน้ำของปีศาจ" เนื่องจากมีปริมาณน้ำไหลผ่านถึง 300 ตัน/วินาที.

ใหม่!!: วินาทีและน้ำตกเมอร์ชิสัน · ดูเพิ่มเติม »

แบ็กแรล

็กเคอเรลในวงการวิทยาศาสตร์ไทยไม่นิยมอ่าน แบ็กแรล เหมือนในภาษาฝรั่งเศส นิยมใช้การอ่านภาษาอังกฤษคือ เบ็กเคอเรล ทำนองเดียวกันกับชื่อหน่วยของกระแสไฟฟ้า แอมแปร์ ซึ่งตั้งตามชื่อของ อ็องเดร-มารี อ็องแปร์ โปรดดู และเอกสารวิชาการอื่นประกอบ (สัญลักษณ์: Bq) เป็นหน่วยอนุพันธ์เอสไอของกัมมันตภาพ หรือการแผ่่กัมมันตรังสี ตามนิยามของสำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ หนึ่งเบ็กเคอเรลหมายถึงกัมมันตภาพหรือการแผ่รังสีที่ได้จากการสลายนิวเคลียสหนึ่งตัวภายในหนึ่งวินาที เขียนในรูปหน่วยฐานได้เป็น s−1 หน่วยเบ็กเคอเรลตั้งชื่อตามอ็องรี แบ็กแรล นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี..

ใหม่!!: วินาทีและแบ็กแรล · ดูเพิ่มเติม »

แกนประสาทนำออก

แกนประสาท หรือ แอกซอน หรือ ใยประสาท (axon มาจากภาษากรีกคำว่า ἄξων คือ áxōn แปลว่า แกน) เป็นเส้นใยเรียวยาวที่ยื่นออกจากเซลล์ประสาทหรือนิวรอน และปกติจะส่งกระแสประสาทหรือคำสั่งออกจากตัวเซลล์เพื่อสื่อสารกับเซลล์อื่น ๆ หน้าที่ของมันก็เพื่อส่งข้อมูลไปยังนิวรอน กล้ามเนื้อ และต่อมต่าง ๆ ในเซลล์ประสาทรับความรู้สึกบางอย่างซึ่งมีรูปร่างเป็น pseudounipolar neuron (เซลล์ประสาทขั้วเดียวเทียม) เช่นที่รับความรู้สึกสัมผัสและอุณหภูมิ กระแสประสาทจะวิ่งไปตามแอกซอนจากส่วนปลายเข้าไปยังตัวเซลล์ แล้วก็จะวิ่งออกจากตัวเซลล์ไปยังไขสันหลังตามสาขาอีกสาขาของแอกซอนเดียวกัน ความผิดปกติของแอกซอนอาจเป็นเหตุให้เกิดความผิดปกติทางประสาทซึ่งมีผลต่อทั้งเซลล์ประสาทในส่วนนอกและส่วนกลาง ใยประสาทสามารถจัดเป็นสามหมวดคือ ใยประสาทกลุ่มเอเด็ลตา (A delta) กลุ่มบี (B) และกลุ่มซี (C) โดยกลุ่มเอและบีจะมีปลอกไมอีลินในขณะที่กลุ่มซีจะไร้ปลอก แอกซอนเป็นส่วนยื่นที่ประกอบด้วยโพรโทพลาสซึมอย่างหนึ่งในสองอย่างที่ยื่นออกจากตัวเซลล์ประสาท ส่วนยื่นอีกอย่างเรียกว่า ใยประสาทนำเข้า/เดนไดรต์ (dendrite) แอกซอนจะต่างจากเดนไดรต์หลายอย่าง รวมทั้งรูปร่าง (เดนไดรต์มักจะเรียวลงเทียบกับแอกซอนที่จะคงขนาด) ความยาว (เดนไดรต์มักจะจำกัดอยู่ในปริภูมิเล็ก ๆ รอบ ๆ ตัวเซลล์ ในขณะที่แอกซอนอาจยาวกว่ามาก) และหน้าที่ (เดนไดรต์เป็นส่วนรับสัญญาณในขณะที่แอกซอนจะเป็นส่วนส่งสัญญาณ) แต่ลักษณะที่ว่านี้ทั้งหมดล้วนแต่มีข้อยกเว้น แอกซอนจะหุ้มด้วยเยื่อที่เรียกว่า axolemma ไซโทพลาซึมของแอกซอนมีชื่อโดยเฉพาะว่าแอกโซพลาซึม (axoplasm) ส่วนสุดของแอกซอนที่แตกเป็นสาขา ๆ เรียกว่า telodendron/telodendria ส่วนสุดของ telodendron ซึ่งป่องเรียกว่าปลายแอกซอน (axon terminal) ซึ่งเชื่อมกับ dendron หรือตัวเซลล์ของนิวรอนอีกตัวหนึ่ง จุดเชื่อที่ว่านี้เรียกว่าจุดประสานประสาท/ไซแนปส์ นิวรอนบางอย่างไม่มีแอกซอนและจะส่งสัญญาณผ่านเดนไดรต์ ไม่มีนิวรอนใด ๆ ที่มีแอกซอนมากกว่าหนึ่งอัน แต่ในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเช่นแมลงและปลิง แอกซอนบางครั้งจะมีส่วนต่าง ๆ ที่ทำงานแทบเป็นอิสระต่อกันและกัน แอกซอนโดยมากจะแตกสาขา และในบางกรณีจะมีสาขาจำนวนมหาศาล แอกซอนจะเชื่อมกับเซลล์อื่น ๆ โดยปกติกับนิวรอนอื่น ๆ แต่บางครั้งก็เชื่อมกับกล้ามเนื้อหรือเซลล์ต่อม ผ่านจุดต่อที่เรียกว่า จุดประสานประสาท/ไซแนปส์ ที่ไซแนปส์ เยื่อหุ้มเซลล์ของแอกซอนจะเข้าไปเกือบชิดกับเยื่อหุ้มของเซลล์เป้าหมาย และโครงสร้างพิเศษระดับโมเลกุลจะเป็นตัวส่งสัญญาณไฟฟ้าหรือเคมี-ไฟฟ้าข้ามช่อง ยังมีไซแนปส์ในระหว่างอื่น ๆ ของแอกซอนซึ่งไม่ใช่ส่วนปลาย โดยเรียกว่า en passant synapse หรือ in passing synapse ไซแนปส์อื่น ๆ จะอยู่ที่ปลายสาขาต่าง ๆ ของแอกซอน แอกซอนหนึ่งใยพร้อมกับสาขาทั้งหมดรวม ๆ กัน อาจเชื่อมกับส่วนต่าง ๆ ในสมองและมีจุดเชื่อมคือไซแนปส์เป็นพัน.

ใหม่!!: วินาทีและแกนประสาทนำออก · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำสาละวิน

แม่น้ำสาละวิน (Salween River; သံလွင်မြစ်; 40px; กะเหรี่ยงสะกอ: โคโหล่โกล) เป็นแม่น้ำสายที่ยาวเป็นอันดับที่ 26 ของโลก ยาว 2,800 กิโลเมตร และเป็นแม่น้ำที่มีความยาวเป็นอันดับสองของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ รองมาจากแม่น้ำโขง จากไทยพีบีเอส มีต้นกำเนิดจากการละลายของหิมะเหนือเทือกเขาหิมาลัย ไหลผ่านมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ที่ซึ่งเรียกแม่น้ำนี้ว่า นู่เจียง (怒江) หมายถึง "แม่น้ำพิโรธ" และผ่านประเทศพม่าผ่านรัฐฉาน รัฐกะยา รัฐกะเหรี่ยง ซึ่งเป็นแม่น้ำกั้นพรมแดน ระหว่างพม่ากับไทยที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน และไหลลงมาบรรจบกับแม่น้ำเมย หลังจากนั้นแม่น้ำสาละวินจึงไหลวกกลับเข้าประเทศพม่า และไหลลงสู่มหาสมุทรอินเดียที่อ่าวเมาะตะมะ รัฐมอญ แม่น้ำสาละวินมีต้นกำเนิดที่เดียวกับแม่น้ำโขง และแม่น้ำแยงซี โดยแบ่งแยกออกจากกันอย่างชัดเจนจากต้นกำเนิด และเนื่องจากเป็นน้ำที่เกิดจากการละลายของหิมะ อุณหภูมิของน้ำในแม่น้ำสาละวินจึงมีความเย็นกว่าน้ำในแม่น้ำอื่น ๆ ในประเทศไทย บางช่วงมีความลึกมากและน้ำไหลแรง นอกจากนี้ ในประเทศ จีน แม่น้ำสาละวิน เป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น "มรดกโลก" ร่วมกับ แม่น้ำโขง และ แม่น้ำแยงซี ในเขตพื้นที่มณฑลยูนนาน ภายใต้ชื่อ พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน โดยพื้นที่ดังกล่าว นับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง.

ใหม่!!: วินาทีและแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำฮัดสัน

แม่น้ำฮัดสัน (Hudson River; ชนพื้นเมืองอิโรควอยส์:เมอห์-ฮี-คัน-เน-ทัก, แปลว่าโมเฮแกนใหญ่.

ใหม่!!: วินาทีและแม่น้ำฮัดสัน · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำโขง

แม่น้ำโขง (မဲခေါင်မြစ်; ແມ່ນ້ຳຂອງ; ទន្លេដ៏ធំ; Mê Kông) มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาหิมาลัย ไหลผ่านบริเวณที่ราบสูงทิเบตและมณฑลชิงไห่ ประเทศจีน ผ่านประเทศจีน ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา และออกสู่ทะเลจีนใต้ที่ประเทศเวียดนาม มีความยาวทั้งหมด 4,880 กิโลเมตร เป็นความยาวในประเทศจีน 2,130 กิโลเมตร ช่วงที่แม่น้ำไหลผ่านประเทศจีนมีชื่อเรียกว่า แม่น้ำหลานชาง หรือ หลานชางเจียง (จีนตัวย่อ: 澜沧江, จีนตัวเต็ม: 瀾滄江) แปลว่า "แม่น้ำที่มีความเชี่ยวกราก" และเมื่อไหลผ่านเข้าเขตประเทศพม่าและประเทศลาว เรียกว่า แม่น้ำของ รวมถึงคำเมืองล้านนาก็เรียก น้ำของ เช่นกัน ส่วนในภาษาไทยเรียกว่า แม่น้ำโขง ลักษณะสำคัญของแม่น้ำโขงคือ มีตลิ่งที่สูงชันมากทั้งสองฝั่ง ไหลเลี้ยวเลาะไปตามไหล่เขา กระแสน้ำจะไหลจากทางเหนือลงสู่ทางใต้ตลอดทั้งปี ระดับน้ำในฤดูฝนกับฤดูแล้งจะมีความแตกต่างกันอย่างมาก ความเร็วของกระแสน้ำขึ้นอยู่กับแต่ละฤดูกาล ดินในแม่น้ำโขงเป็นดินทราย มีเกาะแก่งน้อยใหญ่กว่าหนึ่งร้อยแห่งเรียงรายตลอดแม่น้ำ การที่แม่น้ำโขงไหลผ่านหลายประเทศเช่นเดียวกับแม่น้ำดานูบในยุโรป ทำให้บางคนเรียกว่าแม่น้ำนานาชาติ และทำให้ได้รับการขนานนามว่า แม่น้ำดานูบตะวันออก นอกจากนี้ ในประเทศจีน แม่น้ำโขงยังเป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกร่วมกับแม่น้ำแยงซีและแม่น้ำสาละวินในเขตพื้นที่มณฑลยูนนาน ภายใต้ชื่อ พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน พื้นที่ดังกล่าวนับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง สัตว์น้ำขนาดใหญ่ที่มีความสำคัญและพบได้เฉพาะในแม่น้ำโขงได้แก่ ปลาบึก.

ใหม่!!: วินาทีและแม่น้ำโขง · ดูเพิ่มเติม »

แรงลอเรนซ์

ในทางฟิสิกส์, แรงลอเรนท์ซ (Lorentz Force) เป็นแรงที่เกิดจากจุดประจุเนื่องจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้า เกิดสมการในรูปของสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก: where ตัวพิมพ์หนาหมายถึงปริมาณที่เป็นเวกเตอร์ กฎของแรงลอเรนซ์มีความสัมพันธ์กับกฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์ ประจุบวกจะมีความเร่งไปในทิศทางเดียวกันกับสนามไฟฟ้า E แต่จะเคลื่อนที่เป็นเส้นโค้งทั้งเวกเตอร์ v และสนาม B เป็นไปตามตามกฎมือขวา ในส่วนของ qE เราเรียกว่า แรงไฟฟ้า ส่วน qv×B เรียกว่า แรงแม่เหล็ก บางนิยามอาจกล่าวว่า แรงลอเรนซ์มีเฉพาะส่วนที่เป็นแรงแม่เหล็ก.

ใหม่!!: วินาทีและแรงลอเรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แสง

ปริซึมสามเหลี่ยมกระจายลำแสงขาว ลำที่ความยาวคลื่นมากกว่า (สีแดง) กับลำที่ความยาวคลื่นน้อยกว่า (สีม่วง) แยกจากกัน แสง (light) เป็นการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าในบางส่วนของสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า คำนี้ปกติหมายถึง แสงที่มองเห็นได้ ซึ่งตามนุษย์มองเห็นได้และทำให้เกิดสัมผัสการรับรู้ภาพ แสงที่มองเห็นได้ปกตินิยามว่ามีความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 400–700 นาโนเมตร ระหวางอินฟราเรด (ที่มีความยาวคลื่นยาวกว่าและมีคลื่นแคบกว่านี้) และอัลตราไวโอเล็ต (ที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่าและมีคลื่นกว้างกว่านี้) ความยาวคลื่นนี้หมายถึงความถี่ช่วงประมาณ 430–750 เทระเฮิรตซ์ ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดแสงหลักบนโลก แสงอาทิตย์ให้พลังงานซึ่งพืชสีเขียวใช้ผลิตน้ำตาลเป็นส่วนใหญ่ในรูปของแป้ง ซึ่งปลดปล่อยพลังงานแก่สิ่งมชีวิตที่ย่อยมัน กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงนี้ให้พลังงานแทบทั้งหมดที่สิ่งมีชีวิตใช้ ในอดีต แหล่งสำคัญของแสงอีกแหล่งหนึ่งสำหรับมนุษย์คือไฟ ตั้งแต่แคมป์ไฟโบราณจนถึงตะเกียงเคโรซีนสมัยใหม่ ด้วยการพัฒนาหลอดไฟฟ้าและระบบพลังงาน การให้แสงสว่างด้วยไฟฟ้าได้แทนแสงไฟ สัตว์บางชนิดผลิตแสงไฟของมันเอง เป็นกระบวนการที่เรียก การเรืองแสงทางชีวภาพ คุณสมบัติปฐมภูมิของแสงที่มองเห็นได้ คือ ความเข้ม ทิศทางการแผ่ สเปกตรัมความถี่หรือความยาวคลื่น และโพลาไรเซชัน (polarization) ส่วนความเร็วในสุญญากาศของแสง 299,792,458 เมตรต่อวินาที เป็นค่าคงตัวมูลฐานหนึ่งของธรรมชาติ ในวิชาฟิสิกส์ บางครั้งคำว่า แสง หมายถึงการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าในทุกความยาวคลื่น ไม่ว่ามองเห็นได้หรือไม่ ในความหมายนี้ รังสีแกมมา รังสีเอ็กซ์ ไมโครเวฟและคลื่นวิทยุก็เป็นแสงด้วย เช่นเดียวกับแสงทุกชนิด แสงที่มองเห็นได้มีการเแผ่และดูดซํบในโฟตอนและแสดงคุณสมบัติของทั้งคลื่นและอนุภาค คุณสมบัตินี้เรียก ทวิภาคของคลื่น–อนุภาค การศึกษาแสง ที่เรียก ทัศนศาสตร์ เป็นขอบเขตการวิจัยที่สำคัญในวิชาฟิสิกส์สมัยใหม่) ^~^.

ใหม่!!: วินาทีและแสง · ดูเพิ่มเติม »

แดนซ์ แดนซ์ เรโวลูชัน

ตราสัญลักษณ์เกม แดนซ์ แดนซ์ เรโวลูชัน แดนซ์ แดนซ์ เรโวลูชั่น; Dance Dance Revolution) เป็นเกมที่ได้รับความนิยมในช่วงปี พ.ศ. 2541 ถึงปี พ.ศ. 2546 เป็นเกมประเภทดนตรี ลักษณะโดยทั่วไปภายในเกมจะมีลูกศร ซ้าย ลง ขึ้น ขวา ขึ้นมาตามจังหวะของเพลงที่กำลังบรรเลง โดยให้ผู้เล่นใช้เท้าเหยียบตามจังหวะให้ตรง ซึ่งเกมนี้ มีจุดเด่นตรงที่ใช้เท้าควบคุมเกม โดยมีแผงควบคุมให้เท้าเหยียบตามลูกศร ซ้าย ลง ขึ้น ขวา แดนซ์ แดนซ์ เรโวลูชั่น ปรากฏเป็นครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 2541 โดยบริษัท โคนามิ ประเทศญี่ปุ่น จำกัด และเกมนี้ ได้มีการสร้างภาคต่อไปเรื่อย ๆ และได้มีการเล่นเกมชนิตนี้ในแถบอเมริกาเหนือและแถบยุโรป โดยที่แถบยุโรปได้เรียกชื่อเกมนี้ว่า "แดนซิ่ง สเตจ" (Dancing Stage) เมื่อเป็นที่รู้จักในไทย ทำให้เรียกเป็นภาษาชาวบ้านว่า เกมเต้น นั่นเอง มหาวิทยาลัยบางส่วนในสหรัฐอเมริกาได้มีการเสริมการเล่นเกมนี้เข้าเป็นกิจกรรมชมรม หรือแม้แต่เข้าเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร.

ใหม่!!: วินาทีและแดนซ์ แดนซ์ เรโวลูชัน · ดูเพิ่มเติม »

แคนเดลา

ฟังก์ชันความเข้มการส่องสว่างของการเห็นในเวลากลางวัน (เส้นสีดำ) และการเห็นในเวลากลางคืนhttp://www.cvrl.org/database/text/lum/scvl.htm CIE Scotopic luminosity curve (1951) (เส้นสีเขียว) แกนนอนเป็นความยาวคลื่นในหน่วยนาโนเมตร แคนเดลา (สัญลักษณ์: cd) หรือที่เรียกทั่วไปว่าแรงเทียน เป็นหน่วยฐานเอสไอของความเข้มของการส่องสว่างหมายถึง กำลังแสงที่ปล่อยออกมาจากแหล่งกำเนิดแสงในทิศทางเฉพาะ และถ่วงน้ำหนักโดยฟังก์ชันการส่องสว่างซึ่งเป็นแบบจำลองมาตรฐานของความไวแสงของตามนุษย์ในแต่ละความยาวคลื่น คำว่า Candela ในภาษาละติน ภาษาสเปน และภาษาอิตาเลียนแปลว่าเทียน หนึ่งแคนเดลามีขนาดประมาณหนึ่งแรงเทียน (Candle Power) ซึ่งใช้ประมาณความสว่างของเทียนหนึ่งเล่ม.

ใหม่!!: วินาทีและแคนเดลา · ดูเพิ่มเติม »

โพรงลมดาวฤกษ์

โพรงลมดาวฤกษ์ (Stellar wind bubble) เป็นศัพท์ทางดาราศาสตร์ใช้อธิบายช่องว่างในอวกาศหลายปีแสงซึ่งบรรจุแก๊สร้อนที่พ่นเข้าไปในสสารระหว่างดาวโดยลมดาวฤกษ์ที่มีความเร็วสูง (ประมาณหลายพันกิโลเมตรต่อวินาที) ซึ่งส่งออกมาจากดาวฤกษ์ประเภท O หรือ B ลมดาวฤกษ์อย่างอ่อนๆ อาจจะสามารถทำให้เกิดโครงสร้างโพรงเช่นนี้ขึ้นได้ แต่มักเรียกกันว่า ทรงกลมดาราศาสตร์ (astrosphere) ในระบบสุริยะของเราจะมีปริมณฑลแม่เหล็กเฮลีโอสเฟียร์ (heliosphere) ที่เกิดจากลมสุริยะ ครอบคลุมอาณาเขตดาวเคราะห์ดวงใหญ่ๆ ทั้งหมด เป็นตัวอย่างหนึ่งของโพรงลมดาวฤกษ์ หมวดหมู่:ดาราศาสตร์ดาวฤกษ์ หมวดหมู่:โครงสร้างขนาดใหญ่ในเอกภพ หมวดหมู่:ดาวฤกษ์.

ใหม่!!: วินาทีและโพรงลมดาวฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

โมเมนตัม

ฟล์:HahnEcho GWM.gif| โมเมนตัม หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งมีค่าเท่ากับผลคูณระหว่างมวลและความเร็วของวัตถุ มวลเป็นปริมาณสเกลาร์ แต่ความเร็วเป็นปริมาณเวกเตอร์ เมื่อนำปริมาณทั้งสองเข้าคูณด้วยกัน ถือว่าปริมาณใหม่เป็นปริมาณเวกเตอร์เสมอ ฉะนั้นโมเมนตัมจึงเป็นปริมาณเวกเตอร์ คือมีทั้งขนาดและทิศทาง.

ใหม่!!: วินาทีและโมเมนตัม · ดูเพิ่มเติม »

โลก (ดาวเคราะห์)

ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.

ใหม่!!: วินาทีและโลก (ดาวเคราะห์) · ดูเพิ่มเติม »

โลมาอิรวดี

ำหรับโลมาน้ำจืดจำพวกอื่น ดูที่: โลมาแม่น้ำ โลมาอิรวดี หรือ โลมาหัวบาตรมีครีบหลัง (Irrawaddy dolphin, Ayeyarwaddy dolphin) เป็นโลมาชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์โลมามหาสมุทร (Delphinidae) รูปร่างหน้าตาคล้ายโลมาทั่วไป แต่มีลักษณะเด่นคือ หัวที่มนกลมคล้ายบาตรพระ ลำตัวสีเทาเข้ม แต่บางตัวอาจมีสีอ่อนกว่า ตามีขนาดเล็ก ปากอยู่ด้านล่าง ครีบข้างลำตัวแผ่กว้างเป็นรูปสามเหลี่ยม ครีบบนมีขนาดเล็กมาก มีรูปทรงแบนและบางคล้ายเคียว มีขนาดประมาณ 180-275 เซนติเมตร น้ำหนักไม่มีรายงาน มีการกระจายอย่างกว้างขวางในมหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรอินเดีย, อ่าวไทย มักพบเข้ามาอยู่ในแหล่งน้ำกร่อยและทะเลสาบหรือน้ำจืด เช่น บริเวณปากแม่น้ำ โลมาอิรวดีบางกลุ่มอาจเข้ามาอาศัยอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ด้วย เช่น แม่น้ำโขง และทะเลสาบเขมร ในปี พ.ศ. 2459 มีรายงานว่าพบอยู่ในแม่น้ำเจ้าพระยา และเคยมีผู้จับได้ที่คลองรังสิต ในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ถูกค้นพบครั้งแรกที่แม่น้ำอิรวดีในประเทศพม่า จึงเป็นที่มาของชื่อ ปัจจุบันในน้ำจืด สามารถพบได้ 5 แห่ง คือ ทะเลสาบชิลิก้า ประเทศอินเดีย, แม่น้ำโขง, ทะเลสาบสงขลา, แม่น้ำมหาคาม ประเทศอินโดนีเซีย และปากแม่น้ำบางปะกง โดยสถานที่ ๆ พบได้น้อยที่สุดและถือเป็นแหล่งวิกฤตที่สุด คือ ทะเลสาบสงขลา ในส่วนที่เป็นน้ำจืดหรือน้ำกร่อย หรือที่เรียกว่า ทะเลน้อย มีพฤติกรรมพบได้บริเวณที่มีน้ำขุ่น สามารถอยู่ใต้ผิวน้ำได้นานถึง 70-150 วินาที แล้วจะโผล่ขึ้นมาหายใจสลับกัน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนาน 9 เดือน ลูกที่เกิดมามีขนาด 40 % ของตัวโตเต็มวัย อาหารได้แก่ กุ้ง ปลา และหอยที่อยู่บนผิวน้ำและใต้โคลนตม สถานภาพจัดอยู่ในบัญชีประเภทที่ 1 ของไซเตส (Appendix I) คือ ห้ามซื้อขาย ยกเว้นมีไว้ในการศึกษาและขยายพันธุ์ โลมาอิรวดีมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "โลมาหัวบาตรมีครีบหลัง", "โลมาน้ำจืด", "โลมาหัวหมอน" ในภาษาใต้ และ "ปลาข่า" (ປາຂ່າ) ในภาษาลาว เป็นต้น.

ใหม่!!: วินาทีและโลมาอิรวดี · ดูเพิ่มเติม »

โวลต์

วลต์ (สัญลักษณ์: V) คือหน่วยอนุพันธ์ในระบบเอสไอของความต่างศักย์ไฟฟ้า ปริมาณที่กำกับด้วยหน่วยโวลต์นั้นคือผลการวัดความเข้มของแหล่งจ่ายไฟฟ้าในแง่ที่ว่าจะสร้างพลังงานได้เท่าใดที่ระดับกระแสค่าหนึ่ง ๆ โวลต์ซึ่งเป็นชื่อของหน่วยนี้ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติให้แก่ อาเลสซันโดร วอลตา (พ.ศ. 2288 - 2370) ผู้คิดค้นแบตเตอรี่เคมีชนิดแรกที่เรียกว่าเซลล์โวลตาอิก (Voltaic Pile) โวลท์ (volt หรือ V) คือ หน่วยที่ใช้เรียกเพื่อบอกขนาดของแรงดันไฟฟ้าในบ้าน เช่น 220 V หมายถึง ขนาดของแรงดันไฟฟ้าเท่ากับ 220 โวลท์ (ประเทศไทยใช้ไฟระบบนี้) 1 โวลต์ (V).

ใหม่!!: วินาทีและโวลต์ · ดูเพิ่มเติม »

โน้ตดนตรี

น้ต ''เอ'' หรือ ''ลา'' โน้ต ในทางดนตรี มีความหมายได้สองทาง หมายถึง สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการนำเสนอระดับเสียง และความยาวของเสียง หรือหมายถึงตัวเสียงเองที่เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์เหล่านั้น โน้ตดนตรีแต่ละเสียงจะมีชื่อเรียกประจำของมันเองในแต่ละภาษา เช่น โด-เร-มี-ฟา-ซอล-ลา-ที บางครั้งอาจเขียนอักษรละติน A ถึง G แทนโน้ตดนตรี.

ใหม่!!: วินาทีและโน้ตดนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ไฟฟ้ากระแสสลับ

แสดงความแตกต่างระหว่างไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับ กระแสตรงอาจเป็นบวกหรือลบก็ได้อย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่ไปก็กลับ แต่กระแสสลับ วิ่งไปวิ่งกลับตลอดเวลา จำนวนรอบของไทยคือ 50 รอบต่อวินาที หรือ 50 Hz ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current Electricity: AC หรือ ac) หมายถึงกระแสที่มีทิศทางไปและกลับตลอดระยะเวลา มีการสลับขั้วบวกและลบกันอยู่ตลอดเวลา ไม่เหมือนกระแสตรง (Direct Current, DC หรือ dc) ที่ไฟฟ้าจะไหลไปในทิศทางเดียวและไม่ไหลกลับ เช่น ไฟฟ้าที่ได้จากถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ของรถยนต์ เป็นต้น ไฟฟ้ากระแสสลับจึงเป็นไฟฟ้าที่เหมาะสำหรับบ้านเรือนหรือธุรกิจอุตสาหกรรมที่ใช้ไฟฟ้าปริมาณมากๆ รูปคลื่นเป็น sine wave ในบางกรณี รูปคลื่นอาจเป็นสามเหลี่ยมหรือสี่เหลี่ยม ภาพจำลองการส่งคลื่น AC จาก generator ซึ่งส่งพลังงานกลับทิศทางตลอดเวล.

ใหม่!!: วินาทีและไฟฟ้ากระแสสลับ · ดูเพิ่มเติม »

เมตร

มตร อักษรย่อ ม. (mètre → metre meter The Metric Conversion Act of 1975 gives the Secretary of Commerce of the US the responsibility of interpreting or modifying the SI for use in the US., m) เป็นหน่วยฐานเอสไอของความยาวในหน่วยเอสไอ แต่เดิมนิยามว่าหนึ่งเมตรเท่ากับ 1/10,000,000 ของระยะทางจากเส้นศูนย์สูตรของโลกไปยังขั้วโลกเหนือวัดจากเส้นรอบวงที่ผ่านเมืองปารีส แต่เนื่องจากความแม่นยำทางมาตรวิทยา ที่มีมากขึ้น ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2526 ความยาวหนึ่งเมตรจึงถูกนิยามไว้ให้เท่ากับความยาวที่แสงเดินทางได้ในสุญญากาศ ในช่วงเวลา วินาที.

ใหม่!!: วินาทีและเมตร · ดูเพิ่มเติม »

เมตรต่อวินาที

มตรต่อวินาที (meter per second หรือย่อว่า m/s) เป็นหน่วยเอสไอ ของทั้งความเร็วและอัตราเร็วที่เป็นสเกลาร์ และเวกเตอร์ เป็นค่าของระยะทางวัดเป็นเมตรเทียบกับเวลาเป็นวินาที สัญลักษณ์นิยมเขียนในรูปภาษาอังกฤษว่า m/s หรือ m s-1.

ใหม่!!: วินาทีและเมตรต่อวินาที · ดูเพิ่มเติม »

เรือรบอวกาศยามาโตะ

รือรบอวกาศยามาโตะ หรือ ในชื่อที่ใช้เมื่อครั้งที่เคยออกอากาศในเมืองไทยครั้งแรกโดยไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท. คือ "สตาร์เบลเซอร์ ตลุยอวกาศ" คืออะนิเมะแนววิทยาศาสตร์ของญี่ปุ่น ซึ่งชื่อของเรี่องนั้นเป็นชื่อของยานอวกาศ อะนิเมะเรื่องนี้มีอีกชื่อในภาษาอังกฤษคือ Space Cruiser Yamato (สเปซ ครุยเซอร์ ยามาโตะ) หรือStar Blazers (สตาร์ เบลเซอส์) สำหรับภาคภาษาอังกฤษ ซึ่งออกอากาศในอเมริกาเหนือและออสเตรเลีย สำหรับภาคภาษาอิตาลีก็ใช้ชื่อ สตาร์ เบลเซอ.

ใหม่!!: วินาทีและเรือรบอวกาศยามาโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เรเดียน

มุมปกติทั่วไปบางมุม วัดในหน่วยเรเดียน เรเดียน (radian) คือหน่วยวัดมุมชนิดหนึ่งบนระนาบสองมิติ ใช้สัญลักษณ์ "rad" หรืออักษร c ตัวเล็กที่ยกสูงขึ้น (มาจาก circular measure) ซึ่งไม่เป็นที่นิยมนัก ตัวอย่างเช่น มุมขนาด 1.2 เรเดียน สามารถเขียนได้เป็น "1.2 rad" หรือ "1.2c " เรเดียนเคยเป็น หน่วยเสริม ของหน่วยเอสไอ แต่ถูกยกเลิกใน พ.ศ. 2538 และปัจจุบันนี้เรเดียนได้ถูกพิจารณาให้เป็น หน่วยอนุพันธ์ ในหน่วยเอสไอ สำหรับการวัดมุมในวัตถุทรงตัน ดูที่สเตอเรเดียน ทุกวันนี้เรเดียนเป็นหน่วยพื้นฐานของการวัดมุมในวิชาคณิตศาสตร์ และสัญลักษณ์ "rad" มักจะถูกละไว้ในการเขียนนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ต่างๆ เมื่อใช้หน่วยองศาจะใช้สัญลักษณ์วงกลมเล็ก ° เพื่อให้เห็นความแตกต่างระหว่างองศากับเรเดียน.

ใหม่!!: วินาทีและเรเดียน · ดูเพิ่มเติม »

เวลา

ำหรับนวนิยายซีไรต์ดูที่ เวลา (นวนิยาย) นาฬิกาพก เครื่องมือที่ใช้ในการรักษาเวลา เวลา ในมุมมองหนึ่งกล่าวว่า เวลาเป็นองค์ประกอบพื้นฐานหนึ่งของจักรวาล ให้เหตุการณ์ต่าง ๆ ดำเนินอยู่ในนั้น ซึ่งเป็นแนวคิดของไอแซก นิวตัน อีกมุมมองหนึ่งกล่าวว่า เวลาเป็นสิ่งสมมุติเช่นเดียวกับพื้นที่ (สเปซ) และตัวเลข มีเหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นเป็นลำดับ แต่ไม่ได้หมายความว่าเวลากับเหตุการณ์เหล่านั้นจะรวมอยู่ด้วยกัน ซึ่งเป็นแนวคิดของอิมมานูเอล คานต์ และกอตฟรีด ไลบ์นิซ บางที มุมมองทั้งสองเกี่ยวกับเวลาก็ยังน่าสับสนอยู่ จึงมีการนิยามโดยการปฏิบัติ ความหมายของการดำเนินงาน หรือ(operational definition) ซึ่งมักใช้การเคลื่อนที่หรือการเปลี่ยนแปลงแบบเป็นคาบของวัตถุเป็นตัววัดเวลา เช่น ดิถี (ข้างขึ้นข้างแรม) ของดวงจันทร์ การแกว่งของลูกตุ้ม การขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ เวลา เป็นสาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ ปรัชญา และศิลปศาสตร์ แต่ละสาขาก็มีมุมมองต่าง ๆ กันไป เช่น ในวิชาเศรษฐศาสตร์ อาจมองว่า "เวลาเป็นเงินทอง" ("Time is money.") เป็นต้น.

ใหม่!!: วินาทีและเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่ง

ือโคร่ง หรือ เสือลายพาดกลอน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris ในวงศ์ Felidae จัดเป็นสัตว์ที่มีขนาดที่สุดในวงศ์นี้ และเป็นเสือชนิดที่ใหญ่ที่สุดด้ว.

ใหม่!!: วินาทีและเสือโคร่ง · ดูเพิ่มเติม »

เสียง

ซลล์รับรู้การได้ยิน; ม่วง: สเปกตรัมความถี่ ของการตอบสนองการได้ยิน; ส้ม: อิมพัลส์ประสาท) เสียง (Sound) เป็นคลื่นเชิงกลที่เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ เมื่อวัตถุสั่นสะเทือน ก็จะทำให้เกิดการอัดตัวและขยายตัวของคลื่นเสียง และถูกส่งผ่านตัวกลาง เช่น อากาศ ไปยังหู แต่เสียงสามารถเดินทางผ่านสสารในสถานะก๊าซ ของเหลว และของแข็งก็ได้ แต่ไม่สามารถเดินทางผ่านสุญญากาศได้ เมื่อการสั่นสะเทือนนั้นมาถึงหู มันจะถูกแปลงเป็นพัลส์ประสาท ซึ่งจะถูกส่งไปยังสมอง ทำให้เรารับรู้และจำแนกเสียงต่างๆ ได้.

ใหม่!!: วินาทีและเสียง · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลากราฟิกของบิกแบง

แผนภาพเส้นเวลาของบิกแบง แสดงลำดับการเกิดเหตุการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าน่าจะเป็นตามทฤษฎีบิกแบง นับแต่จุดเริ่มต้นของเวลาไปจนถึงยุคมืด (Dark Ages) แผนภาพนี้แสดงในอันดับลอการิทึม ซึ่งแสดงในหน่วย 10 \cdot \log_ วินาที แทนที่ วินาที ตัวอย่างเช่น 1 ไมโครวินาที เท่ากับ 10 \cdot \log_ 0.000 001.

ใหม่!!: วินาทีและเส้นเวลากราฟิกของบิกแบง · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของอนาคตไกล

ำหรับแผนภาพเส้นเวลาสเกลลอการิทึมของเหตุการณ์เหล่านี้ ดูที่.

ใหม่!!: วินาทีและเส้นเวลาของอนาคตไกล · ดูเพิ่มเติม »

เอสดีการ์ด

อสดีการ์ด ขนาด 512 เมกะไบต์ thumb เอสดีการ์ด (Secure Digital) เป็นการ์ดหน่วยความจำพัฒนาโดยสมาคมเอสดีการ์ดสำหรับใช้กับอุปกรณ์พกพา รุ่นมาตรฐานเปิดตัวในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: วินาทีและเอสดีการ์ด · ดูเพิ่มเติม »

เฮนรี (หน่วยวัด)

นรี (henry; ตัวย่อ H) เป็นหน่วยวัดความเหนี่ยวนำไฟฟ้าในระบบเอสไอ ตั้งชื่อตามโจเซฟ เฮนรี นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน.

ใหม่!!: วินาทีและเฮนรี (หน่วยวัด) · ดูเพิ่มเติม »

เดซิเมตร

มตร เป็นหน่วยวัดความยาว มีขนาดเท่ากับ 1 x 10-1 เมตร มักย่อว่า dm จากภาษาอังกฤษ decimetre.

ใหม่!!: วินาทีและเดซิเมตร · ดูเพิ่มเติม »

เควซาร์

วาดเควซาร์ส่องสว่างในจินตนาการของศิลปิน เควซาร์ หรือ เควเซอร์ (quasar; IPA: /ˈkweɪzɑr/) เป็นคำย่อของคำว่า Quasistellar Radio Sources หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แหล่งกำเนิดของคลื่นวิทยุคล้ายกับดวงดาว ถูกค้นพบเมื่อทศวรรษที่ 1960 ด้วยกล้องโทรทรรศน์วิทยุ เริ่มแรกเควซาร์ไม่มีหลักฐานระบุแน่นอนว่าคืออะไร แต่จากที่นักดาราศาสตร์ได้สำรวจและค้นพบ เควซาร์คือวัตถุที่มีแสงสว่างเจิดจ้าเป็นอย่างมาก อยู่ห่างไกลจากโลกด้วยระยะทาง 100,000,000 ปีแสง หรือมีระยะทางมากกว่า 9.46052841x1023 กิโลเมตร เคลื่อนที่ในอวกาศด้วยความเร็วสูงประมาณ 177,000 ไมล์ต่อวินาที ซึ่งเป็นความเร็วเกือบเท่ากับแสง เควซาร์อยู่ห่างไกลจากโลกเป็นอย่างมาก จึงมีความเป็นไปได้ว่าอาจจะเป็นวัตถุที่ก่อกำเนิดขึ้นในห้วงอวกาศ ในยุคของการเริ่มแรกแห่งยุคประวัติศาสตร์ของเอกภพ ซึ่งแสงเจิดจ้าที่ได้รับจากเควซาร์นี้ ได้เดินทางมาในห้วงอวกาศด้วยระยะเวลาหลายสิบล้านปี ซึ่งเป็นระยะเวลาที่ยาวนานมาก เควซาร์อาจจะเดินทางในห้วงอวกาศมายาวนานก่อนที่โลกจะถือกำเนิดขึ้น และจากการศึกษาล่าสุดของนักดาราศาสตร์ได้ระบุว่า เควซาร์คือวัตถุมวลขนาดใหญ่ที่มีลักษณะคล้ายกับดาวฤกษ์ คือมีแสงสว่างในตัวเอง แต่เควซาร์แตกต่างจากดาวฤกษ์ตรงที่มีแสงสว่างมากกว่าถึง 1,000 เท่า และไม่สามารถระบุตำแหน่งในห้วงอวกาศได้อย่างแน่นอน เควซาร์อาจจะมีขนาดใหญ่โตมโหฬารใกล้เคียงกับระบบสุริยะของโลกหรือใหญกว่าเป็นหลายร้อยเท่า และหมุนด้วยความเร็วราว 153,000 ไมล์/วินาที (250,000 กิโลเมตร/วินาที) เควซาร์ อาจจะเป็นแกนของดาราจักรใหม่ที่กำลังก่อตัวอยู่ หรืออาจจะเป็นศูนย์กลางของหลุมดำก็ได้.

ใหม่!!: วินาทีและเควซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

เคียวอิกุกันจิ

ียวอิกุกันจิ เป็นอักษรคันจิซึ่งกระทรวงศึกษาธิการของญี่ปุ่น กำหนดไว้ว่าเป็นอักษรคันจิที่จำเป็นต้องเรียนในชั้นประถมศึกษา มีทั้งหมด 1,006 ตัว.

ใหม่!!: วินาทีและเคียวอิกุกันจิ · ดูเพิ่มเติม »

ISO 8601

ISO 8601 คือมาตรฐานสำหรับการนำเสนอตามปฏิทินและเวลา ประกาศโดยองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO) มาตรฐานนี้มีหัวเรื่องว่า "องค์ประกอบข้อมูลและรูปแบบการแลกเปลี่ยน — รูปแบบการแลกเปลี่ยน — การนำเสนอวันที่และเวลา" คุณลักษณะสำคัญของการนำเสนอนี้คือ การจัดอันดับให้ส่วนที่มี ความสำคัญมากกว่าขึ้นก่อน นั่นคือเรียงจากหน่วยใหญ่ที่สุด (ปี) ไปยังหน่วยเล็กที่สุด (วินาที).

ใหม่!!: วินาทีและISO 8601 · ดูเพิ่มเติม »

One Million Dollar Paranormal Challenge

One Million Dollar Paranormal Challenge (รางวัลท้าทายเรื่องเหนือธรรมชาติล้านดอลลาร์สหรัฐ) เป็นโครงการของมูลนิธิการศึกษาเจมส์แรนดี้ (James Randi Educational Foundation ตัวย่อ JREF) ที่จะจ่ายเงินรางวัล on ดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 36,320,000 onต้นปี 2559) ให้กับใครก็ตามที่สามารถแสดงความสามารถเหนือธรรมชาติหรือปาฏิหาริย์ ภายใต้กฏการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ที่สามารถตกลงกันได้ โครงการรูปแบบเดียวกันเริ่มขึ้นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: วินาทีและOne Million Dollar Paranormal Challenge · ดูเพิ่มเติม »

PSR B1257+12

PSR B1257+12 หรือบางครั้งเรียกอย่างย่อว่า PSR 1257+12 เป็นพัลซาร์ดวงหนึ่ง อยู่ห่างจากโลกราว 980 ปีแสง ในกลุ่มดาวหญิงสาว ค้นพบโดยนักดาราศาสตร์ชาวโปแลนด์ อเล็กซานเดอร์ โวลส์ชาน เมื่อปี..

ใหม่!!: วินาทีและPSR B1257+12 · ดูเพิ่มเติม »

Thrash

Thrash ในความหมายเชิงวิทยาการคอมพิวเตอร์ หมายถึงปรากฏการณ์ที่คอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพการทำงานลดลง อันเนื่องมาจากการใช้เวลาในการสับเปลี่ยนกันใช้ทรัพยากรหลายครั้งมาก ปรากฏการณ์ที่มักจะพบบ่อยอาทิเช่น การสับเปลี่ยนหน้า (paging) ใน หน่วยความจำเสมือน ซึ่งใช้ หน่วยความจำจริง เต็มแล้ว ทำให้เกิด Page Fault หลายครั้งและต้องเสียเวลาในการสับเปลี่ยนหน้าในแต่ละครั้ง ส่งผลให้การทำงานของคอมพิวเตอร์ช้าลง.

ใหม่!!: วินาทีและThrash · ดูเพิ่มเติม »

1 E8 m

ำหรับการเปรียบเทียบอันดับของขนาด (อังกฤษ: orders of magnitude) หน้านี้เป็นเป็นรายชื่อความยาวตั้งแต่ 100 Mm (100,000 กม.) ถึง 1 Gm (1,000,000 กม.) (108 และ 109 ม.) ---- ความยาวน้อยกว่า 108 เมตร ----.

ใหม่!!: วินาทีและ1 E8 m · ดูเพิ่มเติม »

10 ไฮเจีย

10 ไฮเจีย (‘Υγιεία; Hygiea) เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงหนึ่งในแถบดาวเคราะห์น้อย มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางในแนวรีประมาณ 350 - 500 กิโลเมตร และมีมวลคิดเป็นประมาณ 2.9% ของมวลรวมทั้งหมดของดาวเคราะห์น้อยในแถบหลัก ถือเป็นดาวเคราะห์น้อยที่ใหญ่ที่สุดเป็นลำดับที่สี่ทั้งโดยปริมาตรและมวล รวมถึงเป็นดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ที่สุดสำหรับกลุ่มดาวเคราะห์น้อยมืด (คือ ดาวเคราะห์น้อยประเภท C) ซึ่งมีส่วนประกอบคาร์บอนอยู่บนพื้นผิวค่อนข้างมาก แม้ไฮเจียจะเป็นดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่มาก แต่ด้วยพื้นผิวที่ค่อนข้างมืดและยังอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มาก จึงปรากฏให้โลกเห็นเพียงริบหรี่ ดาวเคราะห์น้อยอื่นที่มีขนาดเล็กกว่าจึงถูกค้นพบก่อนที่ แอนนาเบล เดอ แกสปารีส จะค้นพบไฮเจียเมื่อวันที่ 12 เมษายน ค.ศ. 1849 ไฮเจียมีค่าความส่องสว่างปรากฏต่ำกว่าเวสต้าถึง 4 เท่า และต้องใช้กล้องโทรทรรศน์ขนาด 100 มม.

ใหม่!!: วินาทีและ10 ไฮเจีย · ดูเพิ่มเติม »

100 เฮกคาตี

100 เฮกคาตี (Hekate) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ100 เฮกคาตี · ดูเพิ่มเติม »

101 เฮเลนา

101 เฮเลนา (101 Helena) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ค้นพบโดยเจ.ซี.วัตสัน เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1868 (พ.ศ. 2411) ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ถูกตั้งชื่อตามเฮเลนแห่งทรอยในตำนานกรีก.

ใหม่!!: วินาทีและ101 เฮเลนา · ดูเพิ่มเติม »

102 มิเรียม

102 Miriam เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม มิเรียม พี่สาวของโมเสสในพระคัมภีร์เดิม.

ใหม่!!: วินาทีและ102 มิเรียม · ดูเพิ่มเติม »

103 เฮรา

103 เฮรา (103 Hera) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อยแถบหลัก ค้นพบโดยเจมส์ เครก วัตสัน เมื่อวันที่ 7 กันยายน ค.ศ. 1868 (พ.ศ. 2411) ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ถูกตั้งชื่อตามเทพีเฮราในตำนานกรีก พื้นผิวของดาวประกอบด้วยซิลิเกต.

ใหม่!!: วินาทีและ103 เฮรา · ดูเพิ่มเติม »

104 ไคลมีน

104 Klymene เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม ไคลมีน ในเทพเทพปกรณัมกรีก.

ใหม่!!: วินาทีและ104 ไคลมีน · ดูเพิ่มเติม »

105 อาร์ทิมิส

105 อาร์ทิมิส (105 Artemis) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตามอาร์ทิมิส เทพเจ้าแห่งการล่าสัตว์ เทพีแห่งดวงจันทร์ และเป็นเทพีแห่งความรักทางใจของกรีก.

ใหม่!!: วินาทีและ105 อาร์ทิมิส · ดูเพิ่มเติม »

106 ไดโอนี

106 ไดโอนี (106 Dione) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจากไดโอนี มารดาของแอโฟรไดที.

ใหม่!!: วินาทีและ106 ไดโอนี · ดูเพิ่มเติม »

107 คามิลลา

107 คามิลลา (Camilla) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ107 คามิลลา · ดูเพิ่มเติม »

108 เฮคิวบา

108 Hecuba เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจาก เฮคิวบา ภรรยาของไพรอัมจากสงครามเมืองทรอยในเทพนิยายกรีก.

ใหม่!!: วินาทีและ108 เฮคิวบา · ดูเพิ่มเติม »

109 ฟีลิชีตัส

109 Felicitas เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งขื่อมาจาก ฟีลิชีตัส เทพีแห่งความสำเร็จของโรมัน.

ใหม่!!: วินาทีและ109 ฟีลิชีตัส · ดูเพิ่มเติม »

110 ลิเดีย

110 ลิเดีย (110 Lydia) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ชนิด M-type spectrum ซึ่งอาจจะมีธาตุนิกเกิล-เหล็ก ตระกูลดาวเคราะห์น้อยลิเดีย (Lydia asteroid family) ได้ชื่อนี้หลังจากถูกค้นพบโดยอาลฟงส์ บอแรลี (Alphonse Borrelly) เมื่อ 19 เมษายน..

ใหม่!!: วินาทีและ110 ลิเดีย · ดูเพิ่มเติม »

111 อาที

111 อาที (111 Ate) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจาก อาที (Atë) เทพีแห่งความเสียหายและการทำลายในเทพนิยายกรีก.

ใหม่!!: วินาทีและ111 อาที · ดูเพิ่มเติม »

112 อิฟิจิไนอา

112 อิฟิจิไนอา (112 Iphigenia) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจากอิฟิจิไนอา (Iphigenia) เจ้าหญิงในเทพนิยายกรีก.

ใหม่!!: วินาทีและ112 อิฟิจิไนอา · ดูเพิ่มเติม »

113 แอมัลเทีย

113 แอมัลเทีย (113 Amalthea) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจากแอมัลเทีย จากตำนานเทพเจ้ากรีก.

ใหม่!!: วินาทีและ113 แอมัลเทีย · ดูเพิ่มเติม »

114 คัสแซนดรา

114 คัสแซนดรา (114 Kassandra) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจากคัสแซนดรา (Cassandra) ผู้หญิงทำนายม้าในนิทานของสงครามเมืองทรอ.

ใหม่!!: วินาทีและ114 คัสแซนดรา · ดูเพิ่มเติม »

115 ไทรา

115 Thyra เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจาก Thyra พระมเหสีของพระเจ้ากอร์ม เดอะ โอล.

ใหม่!!: วินาทีและ115 ไทรา · ดูเพิ่มเติม »

116 ซีโรนา

116 Sirona เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจาก Sirona เทพีแห่งการรักษาของเคลติก.

ใหม่!!: วินาทีและ116 ซีโรนา · ดูเพิ่มเติม »

117 โลเมีย

117 Lomia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจาก Lamia ปีศาจเพศหญิงจากเทพนิยายกรีก.

ใหม่!!: วินาทีและ117 โลเมีย · ดูเพิ่มเติม »

118 พีโธ

118 Peitho เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจาก Peithos จากเทพนิยายกรีก.

ใหม่!!: วินาทีและ118 พีโธ · ดูเพิ่มเติม »

119 แอลเธีย

119 Althaea เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม Althaea มารดาของ Meleager ในเทพนิยายกรีก.

ใหม่!!: วินาทีและ119 แอลเธีย · ดูเพิ่มเติม »

120 แลคิซิส

120 แลคิซิส (120 Lachesis) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตามแลคิซิส (Lachesis).

ใหม่!!: วินาทีและ120 แลคิซิส · ดูเพิ่มเติม »

121 เฮอร์ไมโอนี

121 เฮอร์ไมโอนี (Hermione) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ121 เฮอร์ไมโอนี · ดูเพิ่มเติม »

122 เกอร์ดา

122 Gerda เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม Gerðr ภรรยาของเทพเจ้า Freyr ในตำนานนอร.

ใหม่!!: วินาทีและ122 เกอร์ดา · ดูเพิ่มเติม »

123 บรุนฮิลด์

123 Brunhild เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม Brynhildr วาลคิรีในตำนานนอร.

ใหม่!!: วินาทีและ123 บรุนฮิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

124 แอลเคสต์

124 Alkeste เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม Alcestis เจ้าหญิงในเทพนิยายกรีก.

ใหม่!!: วินาทีและ124 แอลเคสต์ · ดูเพิ่มเติม »

125 ไลเบรอเทรกซ์

125 Liberatrix เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ125 ไลเบรอเทรกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

126 เวลเลดา

126 Velleda เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม Veleda นักบวชและผู้เผยพระวจนะของชนเผ่าดั้งเดิมของ Bructeri.

ใหม่!!: วินาทีและ126 เวลเลดา · ดูเพิ่มเติม »

127 โจแฮนนา

127 Johanna เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ127 โจแฮนนา · ดูเพิ่มเติม »

128 เนเมซิส

128 Nemesis เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม Nemesis เทพีแห่งการลงโทษในเทพนิยายกรีก.

ใหม่!!: วินาทีและ128 เนเมซิส · ดูเพิ่มเติม »

129 แอนทิโกนี

129 Antigone เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม Antigone เจ้าหญิงในเทพนิยายกรีก.

ใหม่!!: วินาทีและ129 แอนทิโกนี · ดูเพิ่มเติม »

130 อิเล็กตรา

130 อิเล็กตรา (Elektra) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ130 อิเล็กตรา · ดูเพิ่มเติม »

131 วาลา

131 Vala เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ถูกค้นพบโดย ซี. เอช. เอฟ ปีเตอร์ เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม..

ใหม่!!: วินาทีและ131 วาลา · ดูเพิ่มเติม »

132 อีทรา

132 อีทรา (132 Aethra) เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงหนึ่งในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตามอีทรา มารดาของทีซีอัส (Theseus) ในเทพนิยายกรีก.

ใหม่!!: วินาทีและ132 อีทรา · ดูเพิ่มเติม »

133 Cyrene

133 Cyrene เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม Cyrene นิมฟ์ในเทพนิยายกรีก.

ใหม่!!: วินาทีและ133 Cyrene · ดูเพิ่มเติม »

134 โซโฟรซีนี

134 Sophrosyne เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ134 โซโฟรซีนี · ดูเพิ่มเติม »

135 Hertha

135 Hertha เป็นดาวเคราะห์น้อยในกลุ่มดาวเคราะห์น้อยไนซาซึ่งอยู่ในบริเวณแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ135 Hertha · ดูเพิ่มเติม »

136 ออสเตรีย

136 ออสเตรีย (Austria) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ136 ออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

137 เมลีเบีย

137 Meliboea เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ137 เมลีเบีย · ดูเพิ่มเติม »

138 โทโลซา

138 โทโลซา (Tolosa, to-loe'-za;: Tolōsa)เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ138 โทโลซา · ดูเพิ่มเติม »

139 จูเอวา

139 จูเอวา (139 Juewa) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ139 จูเอวา · ดูเพิ่มเติม »

140 ชีวา

140 ชีวา (Siwa) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ140 ชีวา · ดูเพิ่มเติม »

141 ลูว์แมน

141 ลูว์แมน (141 Lumen) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ141 ลูว์แมน · ดูเพิ่มเติม »

142 Polana

142 Polana เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ142 Polana · ดูเพิ่มเติม »

143 Adria

143 Adria เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ143 Adria · ดูเพิ่มเติม »

144 Vibilia

144 Vibilia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ144 Vibilia · ดูเพิ่มเติม »

145 Adeona

145 Adeona เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ145 Adeona · ดูเพิ่มเติม »

146 Lucina

146 Lucina เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ146 Lucina · ดูเพิ่มเติม »

147 Protogeneia

147 Protogeneia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ147 Protogeneia · ดูเพิ่มเติม »

148 Gallia

148 Gallia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ148 Gallia · ดูเพิ่มเติม »

149 เมดูซา

149 เมดูซา (Medusa) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ149 เมดูซา · ดูเพิ่มเติม »

159 Aemilia

159 Aemilia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ159 Aemilia · ดูเพิ่มเติม »

160 Una

160 Una เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ160 Una · ดูเพิ่มเติม »

2 พัลลัส

2 พัลลัส (Παλλάς) เป็นหนึ่งในดาวเคราะห์น้อยที่ใหญ่ที่สุดในแถบหลัก เป็นดาวเคราะห์น้อยที่ได้รับการค้นพบเป็นดวงที่สอง โดยนักดาราศาสตร์ชาวเยอรมัน ชื่อ เฮนริค วิลเฮล์ม โอลเบอร์ส เมื่อวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 1802 ในตอนแรก ๆ นักดาราศาสตร์คิดว่าพัลลัสเป็นดาวเคราะห์ เช่นเดียวกับดาวเคราะห์น้อยที่ค้นพบในช่วงแรก ๆ ดวงอื่น คือ 1 ซีรีส 3 จูโน และ 4 เวสต้า จนกระทั่งเมื่อมีการค้นพบดาวเคราะห์น้อยเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จึงค่อยมีการจัดประเภทของดาวเหล่านี้เสียใหม.

ใหม่!!: วินาทีและ2 พัลลัส · ดูเพิ่มเติม »

201 พิเนโลพี

201 พิเนโลพี (201 Penelope) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ201 พิเนโลพี · ดูเพิ่มเติม »

202 ไครซีอิส

202 ไครซีอิส (202 Chryseïs) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ202 ไครซีอิส · ดูเพิ่มเติม »

203 ปอมเปจา

203 ปอมเปจา (Pompeja) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ203 ปอมเปจา · ดูเพิ่มเติม »

204 Kallisto

204 Kallisto เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ204 Kallisto · ดูเพิ่มเติม »

205 Martha

205 Martha เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ205 Martha · ดูเพิ่มเติม »

206 Hersilia

206 Hersilia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ206 Hersilia · ดูเพิ่มเติม »

207 Hedda

207 Hedda เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ207 Hedda · ดูเพิ่มเติม »

208 Lacrimosa

208 Lacrimosa เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ208 Lacrimosa · ดูเพิ่มเติม »

209 Dido

209 Dido เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ209 Dido · ดูเพิ่มเติม »

210 Isabella

210 Isabella เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ210 Isabella · ดูเพิ่มเติม »

211 อิซอลดา

211 อิซอลดา (211 Isolda) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ211 อิซอลดา · ดูเพิ่มเติม »

212 Medea

212 Medea เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ212 Medea · ดูเพิ่มเติม »

213 Lilaea

213 Lilaea เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ213 Lilaea · ดูเพิ่มเติม »

214 แอเชอรา

214 แอเชอรา (214 Aschera) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ214 แอเชอรา · ดูเพิ่มเติม »

215 อีโนนี

215 อีโนนี (215 Oenone) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ215 อีโนนี · ดูเพิ่มเติม »

216 คลีโอพัตรา

216 คลีโอพัตรา (Kleopatra) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ216 คลีโอพัตรา · ดูเพิ่มเติม »

217 Eudora

217 Eudora เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ217 Eudora · ดูเพิ่มเติม »

218 Bianca

218 Bianca เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ218 Bianca · ดูเพิ่มเติม »

219 Thusnelda

219 Thusnelda เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ219 Thusnelda · ดูเพิ่มเติม »

220 Stephania

220 Stephania เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ220 Stephania · ดูเพิ่มเติม »

221 Eos

221 Eos เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ221 Eos · ดูเพิ่มเติม »

222 Lucia

222 Lucia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ222 Lucia · ดูเพิ่มเติม »

223 Rosa

223 Rosa เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ223 Rosa · ดูเพิ่มเติม »

224 โอเชียนา

224 โอเชียนา (Oceana) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ224 โอเชียนา · ดูเพิ่มเติม »

225 Henrietta

225 Henrietta เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ225 Henrietta · ดูเพิ่มเติม »

226 Weringia

226 Weringia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ226 Weringia · ดูเพิ่มเติม »

227 Philosophia

227 Philosophia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ227 Philosophia · ดูเพิ่มเติม »

228 Agathe

228 Agathe เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ228 Agathe · ดูเพิ่มเติม »

229 Adelinda

229 Adelinda เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ229 Adelinda · ดูเพิ่มเติม »

230 Athamantis

230 Athamantis เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ230 Athamantis · ดูเพิ่มเติม »

231 วินโดโบนา

231 วินโดโบนา (231 Vindobona) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ231 วินโดโบนา · ดูเพิ่มเติม »

232 รัสเซีย

232 รัสเซีย (232 Russia) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ซึ่งค้นพบโดยโยฮันน์ พาลิซา เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2426 ที่เมืองเวียนนา ประเทศออสเตรีย แต่ตั้งชื่อตามประเทศรัสเซี.

ใหม่!!: วินาทีและ232 รัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

233 Asterope

233 Asterope เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ233 Asterope · ดูเพิ่มเติม »

234 Barbara

234 Barbara เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ234 Barbara · ดูเพิ่มเติม »

235 แคโรไลนา

235 แคโรไลนา (235 Carolina) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ค้นพบโดย โยฮันน์ พาลิซา เมื่อ 28 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วินาทีและ235 แคโรไลนา · ดูเพิ่มเติม »

236 โฮโนเรีย

236 โฮโนเรีย (236 Honoria) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ถูกค้นพบโดยนักดาราศาสตร์ชาวออสเตรีย โยฮันน์ ปาลีซา เมื่อวันที่ 26 เมษายน..

ใหม่!!: วินาทีและ236 โฮโนเรีย · ดูเพิ่มเติม »

237 โคเอเลสตีนา

237 โคเอเลสตีนา (237 Coelestina) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย มันถูกค้นพบโดยโยฮันน์ ปาลีซา เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: วินาทีและ237 โคเอเลสตีนา · ดูเพิ่มเติม »

238 ไฮเพเชีย

238 ไฮเพเชีย (238 Hypatia) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ238 ไฮเพเชีย · ดูเพิ่มเติม »

239 แอดรัสเทีย

239 แอดรัสเทีย (239 Adrastea) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ239 แอดรัสเทีย · ดูเพิ่มเติม »

24 สิงหาคม

วันที่ 24 สิงหาคม เป็นวันที่ 236 ของปี (วันที่ 237 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 129 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วินาทีและ24 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

240 Vanadis

240 Vanadis เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ240 Vanadis · ดูเพิ่มเติม »

241 Germania

241 Germania เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ241 Germania · ดูเพิ่มเติม »

242 Kriemhild

242 Kriemhild เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ242 Kriemhild · ดูเพิ่มเติม »

243 ไอด้า

243 ไอดา (Ida) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ค้นพบโดยโยฮันน์ พาลิซา เมื่อปี พ.ศ. 2427.

ใหม่!!: วินาทีและ243 ไอด้า · ดูเพิ่มเติม »

244 Sita

244 Sita เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ244 Sita · ดูเพิ่มเติม »

245 วีรา

245 วีรา (245 Vera) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ245 วีรา · ดูเพิ่มเติม »

246 Asporina

246 Asporina เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ246 Asporina · ดูเพิ่มเติม »

247 Eukrate

247 Eukrate เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ247 Eukrate · ดูเพิ่มเติม »

248 Lameia

248 Lameia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ248 Lameia · ดูเพิ่มเติม »

249 Ilse

249 Ilse เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ249 Ilse · ดูเพิ่มเติม »

250 Bettina

250 Bettina เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ250 Bettina · ดูเพิ่มเติม »

251 โซเฟีย

251 โซเฟีย เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ251 โซเฟีย · ดูเพิ่มเติม »

252 Clementina

252 Clementina เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ252 Clementina · ดูเพิ่มเติม »

253 มาทิลเด

253 มาทิลเด (253 Mathilde) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อยหลัก ค้นพบโดย โยฮันน์ พาลิซา ใน พ.ศ. 2428 ใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์จำนวนสี่ปี และโคจรรอบตัวเองด้วยอัตราที่ช้าผิดปกติ คือใช้เวลา 17.4 วัน ในการโคจรรอบตัวเองครบหนึ่งรอบ ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้จัดว่าเป็นดาวเคราะห์น้อยประเภท C ซึ่งพื้นผิวมีส่วนประกอบของคาร์บอนอยู่ปริมาณมาก ทำให้พื้นผิวของดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ทึบแสง โดยจะสะท้อนแสงเพียง 4% ของแสงที่ตกกระทบ เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2540 เนียร์ชูเมกเกอร์ได้สำรวจดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ ระหว่างทางที่จะเดินทางไปยังดาวเคราะห์น้อยอีรอส และได้ถ่ายภาพของดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ไว้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงหลุมอุกกาบาตจำนวนมากบนพื้นผิว ปัจจุบัน 253 มาทิลเด เป็นดาวเคราะห์น้อยประเภท C ดวงแรกที่มียานอวกาศไปสำรวจ และก่อนหน้าการเดินทางไปยัง 21 ลูเทเชีย ดาวเคราะห์น้อยมาทิลเดจะเป็นดาวเคราะห์น้อยดวงใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีการสำรวจในปัจจุบัน.

ใหม่!!: วินาทีและ253 มาทิลเด · ดูเพิ่มเติม »

254 Augusta

254 Augusta เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ค้นพบโดย โจฮานน์ พาลิซา เมื่อปี พ.ศ. 2429.

ใหม่!!: วินาทีและ254 Augusta · ดูเพิ่มเติม »

255 Oppavia

255 Oppavia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ255 Oppavia · ดูเพิ่มเติม »

256 แวลพัวร์กา

256 แวลพัวร์กา (256 Walpurga) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ใหม่!!: วินาทีและ256 แวลพัวร์กา · ดูเพิ่มเติม »

4 ต่อ 4 แฟมิลี่เกม

4 ต่อ 4 แฟมิลี่เกม (Family Feud Thailand.) หรือมักเรียกโดยย่อว่า 4 ต่อ 4 เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทเกมโชว์แนวทายปัญหา (ควิซโชว์) โดยมีรูปแบบรายการต้นฉบับมาจากรายการ "แฟมิลีฟิวด์" (Family Feud) ในประเทศสหรัฐอเมริกา ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 มกราคม..

ใหม่!!: วินาทีและ4 ต่อ 4 แฟมิลี่เกม · ดูเพิ่มเติม »

4 เวสตา

4 เวสต้า (Vesta) เป็นวัตถุขนาดใหญ่ที่มีมวลมากที่สุดเป็นลำดับสองในแถบดาวเคราะห์น้อย โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยประมาณ 530 กิโลเมตร (329 ไมล์) และมีมวลคิดเป็นประมาณ 9% ของมวลดาวเคราะห์น้อยในแถบหลักทั้งหมด ผู้ค้นพบเวสต้าคือนักดาราศาสตร์ชาวเยอรมันชื่อ เฮนริค วิลเฮล์ม โอลเบอร์ส ค้นพบเมื่อวันที่ 29 มีนาคม ค.ศ. 1807 และได้ตั้งชื่อตามเทพีผู้บริสุทธิ์ตามเทพปกรณัมโรมันซึ่งเป็นผู้ปกครองบ้านเรือนและเตาไฟ คือเทพีเวสต.

ใหม่!!: วินาทีและ4 เวสตา · ดูเพิ่มเติม »

434 ฮังกาเรีย

434 ฮังกาเรีย เป็นดาวเคราะห์น้อยที่อยู่ในแถบดาวเคราะห์น้อยหลัก จัดเป็นดาวเคราะห์น้อยประเภท E (คือมีค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนแสงสูง) ชื่อของดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ใช้เป็นชื่อตระกูลดาวเคราะห์น้อยฮังกาเรีย ซึ่งเป็นกลุ่มของดาวเคราะห์น้อยที่มีวงโคจรต่ำกว่าช่องว่างเคิร์กวูด 1:4 ห่างออกมาจากแกนกลางของแถบหลัก แมกซ์ วูล์ฟ แห่งมหาวิทยาลัยไฮเดลเบิร์ก เป็นผู้ค้นพบดาวเคราะห์น้อยดวงนี้เมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1898 ชื่อของดาวเคราะห์น้อยตั้งตามสถานที่จัดประชุมทางดาราศาสตร์ในปี..

ใหม่!!: วินาทีและ434 ฮังกาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

90482 ออร์กัส

90482 ออร์กัส (90482 Orcus; Orcus) ชื่อรหัสเดิมว่า 2004 DW เป็นวัตถุในแถบไคเปอร์ที่อาจจะเป็นดาวเคราะห์แคระ ค้นพบโดย ไมเคิล อี. บราวน์ แห่งสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย (แคลเทค), คาด ทรูจิลโล แห่งหอดูดาวเจมินี และ เดวิด เรบินโนวิทซ์ แห่งมหาวิทยาลัยเยล ภาพถ่ายวัตถุที่ทำให้เกิดการค้นพบ คือการถ่ายภาพเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2004 โดยมีภาพที่เก่าแก่กว่านั้นถ่ายไว้เมื่อ 8 พฤศจิกายน 1951 แต่เพิ่งมาทำความเข้าใจได้ในภายหลัง.

ใหม่!!: วินาทีและ90482 ออร์กัส · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

วินาที (หน่วยวัดเวลา)วินาฑี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »