โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ราชวงศ์ถัง

ดัชนี ราชวงศ์ถัง

ราชวงศ์ถัง (พ.ศ. 1161-1450) ราชวงศ์นี้สร้างความเจริญรุ่งเรืองให้จีนอย่างมาก ทั้งด้านศิลปกรรม วัฒนธรรม และอีกหลาย ๆ ด้าน หลี่ยวนได้ตั้งตัวเองเป็น จักรพรรดิถังเกาจู่ หลังจากรวมแผ่นดินให้เป็นปึกแผ่นแล้ว ก็เกิดการแย่งชิงตำแหน่งรัชทายาทขึ้น ระหว่างโอรสหลี่เจี้ยนเฉิง หลี่ซื่อหมิน และหลี่หยวนจี๋ หลี่ซื่อหมินนั้น มีความดีความชอบมาก เนื่องจากรบชนะมาหลายครั้ง ต่อมา ถังเกาจู่ก็สละราชสมบัติ ตั้งตนเองเป็นไท่ช่างหวง ราชวงศ์ถังปกครองประเทศนานถึง 289 ปีตั้งแต..

233 ความสัมพันธ์: บะกุชาชาวจีนในเคนยาชาขาวชางลั่งถิงบูเช็กเทียนบูเช็คเทียน (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2557)ช่างกฺวัน หว่านเอ๋อร์ช่างกฺวัน อี๋พ.ศ. 1161พ.ศ. 1162พ.ศ. 1227พ.ศ. 1367พ.ศ. 1369พ.ศ. 1450พระกษิติครรภโพธิสัตว์พระสนมเซียวพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์พระนางชินด็อกแห่งชิลลาพระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาพระไภษัชยคุรุพระเจ้ามุนพระเจ้ามูพระเจ้ามูยอลแห่งซิลลาพระเจ้ามูแห่งบัลแฮพระเจ้ามูแห่งพัลแฮพระเจ้าสิงหนวัติพระเจ้าตริสองเดซันพระเจ้าโกพิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกรพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2008กฎหมายจีนดั้งเดิมกว่างโจวการสอบขุนนางการแปรรูปชาการเชิดมังกรการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์การเปลี่ยนผ่านจากสุยสู่ถังกู่ภาษาจีนกวางตุ้งภาษาจีนหมิ่นมหัศจรรย์กระบี่เจ้าพิภพมหากรุณาธารณีมังกรคู่สู้สิบทิศมาตราชั่งตวงวัดของญี่ปุ่นมณฑลฝูเจี้ยนมณฑลอันนัมยุทธการที่ผาแดงยุทธนาวีบักดั่ง (ค.ศ. 1288)ยุคอาณาจักรเหนือใต้ของเกาหลี...ยุคเฮอังราชลัญจกรจีนราชวงศ์ราชวงศ์สุยราชวงศ์หมิงราชวงศ์จิ้นราชวงศ์โจว (แก้ความกำกวม)ราชวงศ์เหลียวราชวงศ์เหลียงยุคหลังรายชื่อจักรวรรดิเรียงตามพื้นที่รายพระนามพระมหากษัตริย์ที่ได้รับสมัญญานามมหาราชรายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์สุยรายพระนามจักรพรรดินีจีนริสึเรียวลั่วหยางลิ้นจี่ล่อกวนตงวัดหนานผู่ถัววัดเส้าหลินศาสนาพุทธในประเทศจีนศาสนาพุทธในเอเชียกลางศึกลำน้ำเลือดสวนหนานเหลียนสวนจัวเจิ้งสามก๊กสำนักรินไซสือดิบผู้จ่องสุสานหลวงเจา (ราชวงศ์ถัง)สฺวี่ จิ้งจงสีในวัฒนธรรมจีนสี่ยอดพธูสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำประเทศไทยสงครามชิลลา-ถังสงครามแพ็กเจ–ถังสงครามโคกูรยอ-ถังหมื่นปีหมู่เกาะแพราเซลหยัน ลี่เปิ่นหยางกุ้ยเฟย์หลัว ปินหวังหลิวซื่อหลี กวั่งหลี่ ฉุนซฺวี่หลี่ ซิ่นหลี่ ไป๋หลี่ เสียน (เจ้าชายแห่งราชวงศ์ถัง)หลี่ เจี้ยนเฉิงหลี่ เค่อหลี่ เฉิงเฉียนหลี่มี่ (ราชวงศ์สุย)หลี่หยวนจี๋หลี่หงหลี่อี้ฟู่หลี่จิ้ง (ขุนศึก)หลี่จงหลี่ฉือจี้หลี่ซู่เจี๋ยหลี่ไท่หลี่เสฺวียนป้าหลี่เซี่ยวหวัง ปัวหวงอี้ (นักเขียน)หัวเหยียนหางโจวห้าราชวงศ์อารามเมฆขาวอาณาจักรพัลแฮอาณาจักรน่านเจ้าอาณาจักรแพ็กเจอาณาจักรแพ็กเจใหม่อู่ ซานซืออู๋ซีฮุ่ยเหนิงจอหงวนจักรพรรดิสุยหยางจักรพรรดิจาวจักรพรรดิจีนจักรพรรดิถังชางจักรพรรดิถังมู่จงจักรพรรดิถังยี่จงจักรพรรดิถังรุ่ยจงจักรพรรดิถังอู่จงจักรพรรดิถังจิงจงจักรพรรดิถังจงจงจักรพรรดิถังซวนจงจักรพรรดิถังซู่จงจักรพรรดิถังซีจงจักรพรรดิถังไอจักรพรรดิถังไท่จงจักรพรรดิถังไต้จงจักรพรรดิถังเกาจู่จักรพรรดิถังเกาจงจักรพรรดิถังเสฺวียนจงจักรพรรดิถังเสียนจงจักรพรรดิถังเต๋อจงจักรพรรดิซ่งไท่จู่จักรพรรดินีหวัง (จักรพรรดิถังเกาจง)จักรพรรดินีจางซุนจักรพรรดินีเว่ยจักรพรรดินีเหวย์จักรพรรดิไอจักรพรรดิไท่จงจักรพรรดิเกาจู่จักรพรรดิเกาจงจักรพรรดิเหลียวไท่จงจักรพรรดิเหวินจงจักรวรรดิจักรวรรดิจีนจักรวรรดิคุปตะจักรวรรดินิยมในเอเชียจาง เลี่ยง (ราชวงศ์ถัง)จาง เจี่ยนจือจิ้งฮุยจู เวินจี๋ (อาวุธ)จง ขุยจ่างซุน อู๋จี้ถุงทิวเขาอู่ตังขงจื๊อข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊กคันจิตราประทับพระราชลัญจกรของจักรพรรดิจีนตัวละครในวรรณกรรมมังกรคู่สู้สิบทิศตำนานเก็นจิตำแหน่งมเหสีแห่งราชวงศ์ถังของจีนตู้ ฝู่ตี่ละฉิ่นตี๋ เหรินเจี๋ยตี๋เหรินเจี๋ย ดาบทะลุคนไฟฉางอานซามูไรซิ ยิ่นกุ้ยซุมะซูโจวซีอานประมวลกฎหมายไทโฮประวัติศาสตร์อัฟกานิสถานประวัติศาสตร์โลกประวัติศาสตร์เวียดนามประวัติศาสตร์เอเชียกลางประวัติศาสนาพุทธประเทศเกาหลีใต้น้ำตาลแคะแตงโมแต้จิ๋ว (เมือง)แซ่แต้โว่หลงกังโจผีโป๊ยเซียน (เทพเจ้าจีน)โปเยโปโลเยไช่ หลุนไท่ช่างหฺวังไป๋ จวีอี้เพลงของหลี่ฮงชานเกา ฉางกงเกียวโต (นคร)เก็มปุกุเก้าอี้เลียงผาเล่าปี่เว่ยเจิงเศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่นเสือขาวเสี่ยวลิ้มยี่เหตุการณ์ประตูเสฺวียนอู่เอียน (สกุล)เฮอังเกียวเผย์ หยันเผาตำรา ฝังบัณฑิตเจิ้งโจวเจดีย์วัดฝอกงเจ้าหญิงผิงหยางเจ้าหญิงไท่ผิงเจ้าหญิงเกาหยางเจ้าหญิงเจ้าเติ้ง ลี่จวินเตียนฮู้หง่วนโส่ยเฉิน สื่ออ๋างเซี่ยอ๋าวเซ็มเบ16 ธันวาคม ขยายดัชนี (183 มากกว่า) »

บะกุ

วาดบะกุในสมัยญี่ปุ่นโบราณ บะกุ (แปลว่า "สมเสร็จ") เป็นปีศาจในความเชื่อของชาวญี่ปุ่น เป็นปีศาจที่คอยกินฝันร้ายของผู้คน เชื่อกันว่าบะกุนั้น มีรูปร่างคล้ายหมี และมีส่วนผสมของสัตว์หลายชนิด เช่น มีหน้าผากมีนอคล้ายแรด มีจมูกเป็นงวงคล้ายช้าง มีเท้าเหมือนเสือ มีหางเหมือนวัว ชาวญี่ปุ่นโบราณเชื่อว่า เมื่อมีฝันร้ายหรือลางร้าย ซึ่งสิ่งเหล่านี้เกิดจากการกระทำของปีศาจ เช่น จานชามเกิดบิ่นหรือแตกหักเองโดยไม่มีใครทำ กาต้มน้ำส่งเสียงดังเหมือนคนร้อง เสื้อผ้าปรากฏรอยเลือด หรือหูสุนัขที่ลู่ไปข้างหลัง เป็นต้น ให้ท่องคาถาว่า "บะกุ คุระเอะ" ซึ่งแปลว่า "บะกุ จงมากินฝันร้ายของข้า" 3 ครั้ง บะกุจะมากินฝันร้ายนั้นให้ และกลับจากร้ายเป็นดี ปีศาจทั้งหลายจะถูกสูบลงไปในพื้นดินลึก 3 ฟุต ความเชื่อเรื่องบะกุ สะท้อนออกมา ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น หมอนไม้ชนิดหนึ่งมีสลักเป็นตัวหนังสือที่มีความหมายถึง บะกุ เป็นต้น เชื่อว่าถ้านอนหนุนด้วยหมอนนี้แล้วจะไม่ฝันร้าย เชื่อกันว่า ความเชื่อเรื่องบะกุมีที่มาจากจีน ในช่วงยุคราชวงศ์ถัง มีการวางภาพวาดของบาคุไว้ที่หัวนอน เพื่อเป็นการปกป้องคุ้มครองยามหลับ นอกจากนี้ถ้าหากใช้ผ้าห่มที่ทำจากหนังของบะกุจะช่วยรักษาอาการเจ็บป่วย และรอดพ้นจากปีศาจร้ายทั้งหล.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและบะกุ · ดูเพิ่มเติม »

ชา

ใบชาเขียวในถ้วยชาจีน ชา เป็นผลผลิตทางเกษตรกรรมจากใบ ยอดอ่อน และก้านของต้นชา (Camellia sinensis) นำมาผ่านกรรมวิธีแปรรูปหลากหลาย "ชา" ยังหมายรวมถึงเครื่องดื่มกลิ่นหอมที่ทำจากพืชตากแห้งชนิดต่าง ๆ นำมาชงหรือต้มกับน้ำร้อน ชาเป็นเครื่องดื่มที่มีผู้บริโภคมากที่สุดเป็นอันดับสองของโลก รองจากน้ำ ชาทุกชนิดสามารถทำได้จากต้นชาต้นเดียวกัน แต่ผ่านกรรมวิธีแตกต่างกันออกไป.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและชา · ดูเพิ่มเติม »

ชาวจีนในเคนยา

วจีนในเคนยา เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่หลากหลายของประเทศเคนยา ซึ่งมีการติดต่อค้าขายและตั้งถิ่นฐานในชายฝั่งทะเลทางตะวันออกของเคนยาตั้งแต่ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 จนถึงในปัจจุบันก็ยังมีชาวจีนกลุ่มใหม่ได้อพยพมาจากสาธารณรัฐประชาชนจีนมาตั้งถิ่นฐานในเคนยา ในช่วงปี ค.ศ. 1990-2000 และได้มีการประมาณการว่ามีชาวจีนที่พำนักในเคนยาประมาณ 3,000-10,000 คน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและชาวจีนในเคนยา · ดูเพิ่มเติม »

ชาขาว

อดชาขาว ชาขาว เป็นชาชนิดหนึ่ง ผลิตจากตูมและยอดอ่อนของต้นชา แหล่งเพาะปลูกชาขาวที่มีชื่อเสียงอยู่ที่มณฑลฝูเจี้ยน ทางตอนใต้ของประเทศจีน กรรมวิธีผลิตชาขาวเริ่มจากการเลือกเก็บยอดอ่อนชาในช่วงฤดูใบไม้ผลิ จากนั้นนำยอดชาที่เก็บได้มาผ่านกระบวนการทำแห้งในระยะเวลาที่รวดเร็ว ด้วยวิธีธรรมชาติโดยอาศัย ลม แสงแดด หรือความร้อนซึ่งจะแตกต่างจากกรรมวิธีผลิตชาประเภทอื่น ๆ (ชาเขียว ชาดำ ชาแดง ชาอู่หลง) ที่ผ่านกระบวนการทำแห้งด้วยความร้อนหรือไอน้ำและผ่านกระบวนการหมักสำหรับชาบางประเภท ทำให้ปริมาณสารต่อต้านอนุมูลอิสระและคุณค่าทางโภชนาการของชาขาวยังคงไว้ได้มาก รวมทั้งกลิ่นและรสชาติของชาขาวที่ยังคงความสดชื่นและนุ่มนวล ชาขาวจึงเป็นเครื่องดื่มที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพสูง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและชาขาว · ดูเพิ่มเติม »

ชางลั่งถิง

งลั่งถิงหรือพลับพลาเกลียวคลื่น (อังกฤษ: Canglang Pavilion) มีชื่อที่แปลเป็นภาษาอังกฤษหลากหลายว่า the Great Wave Pavilion หรือ Surging Wave Pavilion หรือ Blue Wave Pavilion เป็นหนึ่งในสวนโบราณ เมืองซูโจวที่ได้รับการยกย่องโดยองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ให้เป็นมรดกโลกอีกแห่งหนึ่ง ชางลั่งถิงตั้งอยู่ที่เลขที่ 3 ถนนชางลั่งถิงในเมืองซูโจว มณฑลเจียงซู ประเทศจีน สวนแห่งนี้เป็นหนึ่งในสี่สวนที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในเมืองซูโจวและยังเป็นสวนที่มีอายุเก่าแก่มากที่สุดแห่งหนึ่ง เนื่องจากสามารถสืบค้นประวัติของสวนย้อนหลังได้ถึงสมัยราชวงศ์ซ่งเหนือ (Northern Song Dynasty) ในราวปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและชางลั่งถิง · ดูเพิ่มเติม »

บูเช็กเทียน

อู่ เจ๋อเทียน ตามสำเนียงกลาง หรือ บูเช็กเทียน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (พระราชสมภพ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 624ปีประสูตินี้ ได้มาจากการเอาพระชนม์กับปีสวรรคตที่ระบุไว้ใน นวพงศาวดารถัง (New Book of Tang) ฉบับ ค.ศ. 1045–1060 มาบวกลบกัน ผลลัพธ์ดังกล่าวนี้เป็นที่ยอมรับของนักประวัติศาสตร์สมัยใหม่ แต่ถ้าคำนวณตามที่ระบุไว้ใน พงศาวดารถัง (Book of Tang) ฉบับ ค.ศ. 941-945 จะได้ปีประสูติเป็น ค.ศ. 623; สวรรคต 16 ธันวาคม ค.ศ. 705)Paludan, 100 บางทีเรียก อู่ เจ้า หรือ อู่ โฮ่ว ในราชวงศ์ถังมักออกพระนามว่า พระนางสวรรค์ และในสมัยต่อมาว่า พระนางอู่ ทรงเป็นสตรีพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์จีนอันยาวนานกว่า 4,000 ปี ที่ได้เป็น "ฮ่องเต้" ในแผ่นดินของพระภัสดาและพระราชบุตรของพระนางระหว่างปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและบูเช็กเทียน · ดูเพิ่มเติม »

บูเช็คเทียน (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2557)

ูเช็คเทียน (จีน: 武媚娘傳奇) (The Empress Of China) เป็นละครโทรทัศน์ที่กล่าวถึงพระราชประวัติของพระนางบูเช็กเทียน นำแสดงโดย ฟ่าน ปิงปิง, จาง เฟิงอี้, หลี่ จื้อถิง, จาง จวินหนิง ออกอากาศทางช่อง 3 ในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 ถึง 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและบูเช็คเทียน (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2557) · ดูเพิ่มเติม »

ช่างกฺวัน หว่านเอ๋อร์

PAGENAME ช่างกฺวัน หว่านเอ๋อร์ (ราว ค.ศ. 664 – 21 กรกฎาคม ค.ศ. 710) เป็นสตรีชาวจีนสมัยราชวงศ์ถัง เมื่ออายุ 13 ปี ได้เป็นราชเลขาธิการของอู่ เจ๋อเทียน (武則天) มเหสีของจักรพรรดิถังเกาจง ครั้นอายุ 42 ปี ได้เป็นชายาของหลี่ เสี่ยน (李顯) โอรสของอู่ เจ๋อเทียน ผู้เสวยราชย์เป็นจักรพรรดิถังจงจง นางมีชื่อด้านกวี งานเขียน และการเมือง แต่ที่สุดถูกจับกุมเพราะมีส่วนแก่งแย่งในวังหลวง และถูกประหารชีวิตใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและช่างกฺวัน หว่านเอ๋อร์ · ดูเพิ่มเติม »

ช่างกฺวัน อี๋

งกฺวัน อี๋ (ค.ศ. 608 – 4 มกราคม ค.ศ. 665) ชื่อรองว่า โหยวเฉา (游韶) บรรดาศักดิ์ว่า ฉู่กง (楚公; Duke of Chu) เป็นข้าราชการจีนสมัยราชวงศ์ถัง เป็นอัครมหาเสนาบดีในรัชกาลจักรพรรดิถังเกาจง ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและช่างกฺวัน อี๋ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1161

ทธศักราช 1161 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพ.ศ. 1161 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1162

ทธศักราช 1162 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพ.ศ. 1162 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1227

ทธศักราช 1227 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพ.ศ. 1227 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1367

ทธศักราช 1367 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพ.ศ. 1367 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1369

ทธศักราช 1369 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพ.ศ. 1369 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1450

ทธศักราช 1450 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพ.ศ. 1450 · ดูเพิ่มเติม »

พระกษิติครรภโพธิสัตว์

ระกษิติครรภโพธิสัตว์ (อ่านว่า /พฺระ-กะ-สิ-ติ-คับ-พะ-โพ-ทิ-สัด/, क्षितिगर्भ;; กฺษิติครฺภ) เป็นพระโพธิสัตว์ ซึ่งเป็นที่นับถือในศาสนาพุทธนิกายมหายานในภูมิภาคเอเชียตะวันออก มักมีรูปลักษณ์เป็นพระภิกษุมหายาน นามของพระโพธิสัตว์องค์นี้อาจแปลได้ว่า "ขุมทรัพย์แห่งแผ่นดิน" ("Earth Treasury"), คลังแห่งแผ่นดิน ("Earth Store"), "บ่อเกิดแห่งแผ่นดิน"("Earth Matrix"), หรือ "ครรภ์แห่งแผ่นดิน" ("Earth Womb") พระกษิติครรภโพธิสัตว์ได้รับมอบหมายจากพระศากยมุนีพุทธเจ้าให้เป็นผู้แสดงธรรมโปรดสัตว์ในกามภูมิ 6 ในช่วงที่พระองค์ปรินิพพานไปแล้วและพระศรีอริยเมตไตรยยังไม่ได้ลงมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า พระกษิติครรภมีปณิธานสำคัญในการช่วยสัตวโลกทั้งหมดให้พ้นจากนรกภูมิ หากนรกยังไม่ว่างจากสัตว์นรกก็จะยังไม่ขอตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ด้วยเหตุดังกล่าว พระองค์จึงถือว่าเป็นพระโพธิสัตว์แห่งสัตว์ผู้ทุกข์ยากในอบายภูมิ มีนรกทั้งปวง เป็นต้น เช่นเดียวกับการเป็นผู้คุ้มครองเด็กทั้งหลาย และเทพอุปถัมภ์ของเด็กที่เสียชีวิตและทารกที่ตายจากการแท้งในวัฒนธรรมญี่ปุ่น รูปลักษณ์ของพระโพธิสัตว์องค์นี้ ปกติมักทำเป็นรูปพระภิกษุมหายาน มีรัศมีเปล่งรอบพระเศียรซึ่งปลงพระเกศาแล้ว หัตถ์หนึ่งทรงจับไม้เท้าซึ่งใช้เปิดประตูนรก อีกหัตถ์หนึ่งทรงถือแก้วจินดามณี (แก้วสารพัดนึก) เพื่อประทานแสงสว่างท่ามกลางความมืด สำหรับในประเทศไทยเอง มูลนิธิพุทธจักษุวิชชาลัย (佛眼禪林弘法基金會:地藏道場) พุทธมณฑลสาย 6 ได้สร้างวัดหรือธรรมสถาน เพื่ออุทิศแด่องค์พระกษิติครรภ์โพธิสัตว์โดยเฉพาะ โดยสร้างองค์พระกษิติครรภ์ ด้วยหินแกรนิตแกะสลักสูงรวมฐาน 13.99 เมตร และพระกษิติครรภ์ 6 ปาง ที่มีคติมาจากปุณฑริกสมาธิสูตร (蓮華三昩經) ที่ว่าพระกษิติครรภ์นิรมาณกายไปโปรดสัตว์ทั้ง 6 ภูมิ พร้อมพญายมราชทั้ง 10 ซึ่งในสูตรฝ่ายมหายานกล่าวว่า เป็นพระพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์องค์สำคัญ 10 พระองค์ นิรมาณกายมาโปรดสัตว์ และปฏิมากรรมหินแกะสลักนายนิรยบาล เป็นหินแกะสลักสูงใหญ่กว่าคนอีกรวมทั้งสิ้น 25 องค์โดยช่างฝีมือจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ตามคติของพุทธมหายานแบบจีน และเผยแพร่กษิติครรภโพธิสัตว์มูลปณิธานสูตร (地藏本願經) และ กษิติครรภ์โพธิสัตว์ทศจักรสูตร (地藏十輪經) ซึ่งเป็นพระสูตรสำคัญของพระกษิติครรภ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นกษิติครรภมณฑล ที่มีอยู่ไม่กี่แห่งในโลก.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพระกษิติครรภโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

พระสนมเซียว

ระสนมเซียว (Consort Xiao, ? – 1198) พระสนมเอกในตำแหน่ง ซูเฟย (Shufei) พระสนมเอกใน จักรพรรดิถังเกาจง (หลี่จื้อ) จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่ง ราชวงศ์ถัง พระองค์เป็นที่โปรดปรานขององค์จักรพรรดิมากโดยมีพระราชโอรส 1 พระองค์และพระราชธิดา 2 พระองค์ พระองค์มีพระประวัติน้อยมากแต่สันนิษฐานว่าได้เข้ามาถวายตัวเป็นบาทบริจาริกาตั้งแต่รัชสมัย จักรพรรดิถังไท่จง จักรพรรดิองค์ที่ 2 พระราชบิดาของจักรพรรดิเกาจงครั้งองค์จักรพรรดิเกาจงยังคงเป็นองค์ชายรัชทายาทโดยพระองค์มีพระประสูติกาลพระโอรสองค์แรกคือองค์ชาย หลี่ซู่เจี๋ย เมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพระสนมเซียว · ดูเพิ่มเติม »

พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์

ระอวโลกิเตศวร เป็นพระโพธิสัตว์องค์สำคัญของพระพุทธศาสนามหายาน ที่มีผู้เคารพศรัทธามากที่สุด และเป็นบุคลาธิษฐานแห่งมหากรุณาคุณของพระพุทธเจ้าทั้งปวง เรื่องราวของพระอวโลกิเตศวรปรากฏอยู่ทั่วไปในคัมภีร์สันสกฤตของมหายาน อาทิ ปรัชญาปารมิตาสูตร สัทธรรมปุณฑรีกสูตร และการัณฑวยูหสูตฺร.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

พระนางชินด็อกแห่งชิลลา

มเด็จพระราชินีชินด็อกแห่งซิลลา (ครองราชย์ ค.ศ. 647 - ค.ศ. 654) สมเด็จพระราชินีแห่งอาณาจักรซิลลา หนึ่งในสามก๊กแห่งเกาหลี กษัตริย์ลำดับที่ 28 แห่งอาณาจักรซิลลา และเป็นราชินีพระองค์ที่สองที่ปกครองของต่อจากสมเด็จพระราชินีชอนด็อกแห่งชิลลา ในรัชสมัยของพระราชินีชินด็อกแห่งซิลลา ชิลลาทำสงครามกับแพกเจ โดยได้รับการสนับสนุนจาก ราชวงศ์ถัง พระนางสามารถสร้างความเข้มแข็งให้ชิลลาและเพิ่มความในการป้องกันมากขึ้นและสร้างความความสัมพันธ์กับจีนให้มั่นคงยิ่งขึ้น ด้วยความพยายามของพระองค์จึงเป็นผู้ที่วางรากฐานสำหรับการรวมกันของทั้งสามอาณาจักร คืออาณาจักรชิลลา, อาณาจักรแพกเจและอาณาจักรโคกูรยอ.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพระนางชินด็อกแห่งชิลลา · ดูเพิ่มเติม »

พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลา

มเด็จพระราชินีช็อนด็อกแห่งชิลลา (Queen Seondok of Silla; 선덕여왕 善德女王; ? - ค.ศ. 647; ครองราชย์ ค.ศ. 632 – ค.ศ. 647) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถผู้ปกครองรัชกาลที่ 27 แห่งอาณาจักรชิลลา หนึ่งในสามอาณาจักรของเกาหลี (Three Kingdoms of Korea) รัชสมัยของพระองค์เป็นช่วยเวลาแห่งความรุ่งเรืองสมัยหนึ่งของอาณาจักรชิลล.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพระนางช็อนด็อกแห่งชิลลา · ดูเพิ่มเติม »

พระไภษัชยคุรุ

วัดโฮรีว พระไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาตถาคต เป็นพระพุทธเจ้าที่พบเฉพาะในนิกายมหายาน ไม่พบในฝ่ายเถรวาท พระนามของท่านหมายถึงพระตถาคตเจ้าผู้เป็นบรมครูแห่งยารักษาโรค ผู้มีรัศมีสีน้ำเงินดังไพฑูรย์ พระนามอื่นๆของท่านคือ พระไภษัชยคุรุตถาคต พระมหาแพทย์ราชาพุทธเจ้า พระมหาไภษัชยราชพุทธเจ้า เป็นที่นิยมนับถือในหมู่ชาวจีนและชาวทิเบต.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพระไภษัชยคุรุ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามุน

ระเจ้ามุนแห่งพัลแฮ (Mun of Balhae, ? – 793, ครองราชย์ 737 – 793) พระราชาลำดับที่ 3 และเป็นพระราชาที่ครองราชบัลลังก์ยาวนานที่สุดแห่ง อาณาจักรพัลแ.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพระเจ้ามุน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามู

ระเจ้ามู (Mu) (600 - 641, ? - 641) กษัตริย์องค์ที่ 30 แห่งอาณาจักรแพกเจหนึ่งในสามก๊กแห่งเกาหลี เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าวีด็อกและพระมเหสียอนกาโม.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพระเจ้ามู · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามูยอลแห่งซิลลา

ระเจ้ามูยอล (ครองราชย์ ค.ศ. 654 - ค.ศ. 661) กษัตริย์ลำดับที่ 29 แห่งอาณาจักรซิลลา หนึ่งในสามก๊กแห่งเกาหลี พระเจ้ามูยอล มีพระนามเดิมว่า คิม ชุน ชู เป็นพระโอรสของ องค์หญิงชอนมยอง พระธิดาองค์ใหญ่ในพระเจ้าจินพยองพระราชาลำดับที่ 26 กับ คิม ยอง ซู พระโอรสในพระเจ้าจินจีพระราชาลำดับที่ 25 ทำให้องค์ชายคิมชุนชูเป็นองค์ชายที่เป็นกระดูกบริสุทธิ์หรือ ซองโกล (Seonggol) พระเจ้ามูยอลขึ้นครองราชย์ต่อจาก พระนางชินด็อกแห่งชิลลา และได้อภิเษกกับมุนมยอง น้องสาวของคิม ยูชิน ที่ต่อมาได้เป็นแม่ทัพแห่งอาณาจักรซิลลาเป็นกำลังสำคัญที่ช่วยโอรสของพระองค์คือเจ้าชายคิม บย็อพมินรวบรวมทั้งสามก๊กก่อตั้งเป็นอาณาจักรและสถาปนาพระองค์เป็น พระเจ้ามุนมู พระเจ้ามูยอลมีความต้องการที่จะรวม 3 แคว้นให้เป็นหนึ่งเดียวก่อนพระองค์จะครองราชย์ได้กราบทูลองค์ราชินีชินด็อกเพื่อไปยัง ราชวงศ์ถัง เพื่อผูกความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ประเทศซึ่งขณะนั้นชิลลาต้องเผชิญกับการสู้รบกับแพคเจพระองค์ได้เข้าพบกับฮ่องเต้ถังไท่จงและได้ทำสัญญาเมื่อไรที่ชิลลาจะยกทัพไปยังแพคเจพระองค์จะส่งทหารจากถังไปช่วยชิลลาแต่ในขณะนั้นพระองค์ต้องเจอกับแรงกดดันจากเหล่าขุนนางแห่งชิลลาเนื่องจากไม่เห็นด้วยกับการที่ต้องพึ่งราชวงศ์ถังในการทำสงครามทั้งนี้รวมถึงแม่ทัพคิมยูชินซึ่งทั้งคู่จึงมีความสัมพันธ์ที่ไม่ค่อยดีในเวลานั้นอันผลจากในขณะนั้นพระองค์ยังเป็นเพียงแค่ขุนนางเท่านั้นทั้งยังเอาใจถังโดยการให้ราชสำนักชิลลาแต่งชุดขุนนางถังและที่สำคัญยังใช้ศักราชเป็นของถังทำให้เหล่าขุนนางคิดว่าคิมชุนชู (หรือพระเจ้ามูยอล) มีการทำสัญญาลับ ๆ เพื่อที่จะยกชิลลาให้ถังแต่ด้วยความที่องค์ราชินีชินด็อกเชื่อใจพระองค์ จึงร่วมกันผลักดันนโยบายของคิมชุนชู จนในปี..654 คิมอัลชอน ขุนนางผู้ใหญ่ที่เป็นเชื้อพระวงศ์ได้จัดการประชุมผู้นำเหล่าจินกอตอนแรกนั้นข้าราชบริพารได้แนะนำให้คิมอัลชอนขึ้นครองราชย์ต่อแต่เนื่องด้วยอัลชอลได้ร่วมมือกับทาง โคกูรยอ เพื่อร่วมกันกำจัดถังและคิมชุนชูทำให้แม่ทัพใหญ่อย่างคิมยูชินได้โต้แย้งไม่ยอมรับการเป็นผู้สำเร็จราชการแต่ด้วยอัลชอนสำนึกผิดต่อเหตุการณ์จึงปฏิเสธไปทำให้คิมชุนชูได้ขึ้นครองราชย์ต่อและได้เปลี่ยนพระนามเป็น พระเจ้ามูยอล เมื่อคิมชุนชูขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้ามูยอลได้ยกพระธิดาองค์ที่ 3 ของตนเองให้แต่งงานกับคิมยูชินที่อยู่ในวัย 59 ปีทั้งนี้เพื่อเป็นการสานสัมพันธไมตรีเนื่องจากขณะนั้นอำนาจทางการทหารส่วนมากอยู่ภายใต้อำนาจของคิมยูชิน ซึ่งพระองค์ได้สัญญากับคิมยูชินไว้ว่าหากเมื่อทำสงครามกับแพคเจสิ้นสุดลงแล้วและรวมถึงการรวม 3 อาณาจักรแล้วหากถังเข้าแทรกแซงทางการเมืองหรือเป็นปรปักษ์ต่อ 3 อาณาจักรคิมยูชินจะสามารถยกกองทัพโจมตีถังได้ทันทีด้วยเหตุนี้ทำให้คิมยูชิน เข้าใจในพระอง..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพระเจ้ามูยอลแห่งซิลลา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามูแห่งบัลแฮ

ักรพรรดิมูแห่งบัลแฮ ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่ง อาณาจักรบัลแฮ เป็นพระราชโอรสใน พระเจ้าโก หรือ แด โจยอง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพระเจ้ามูแห่งบัลแฮ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามูแห่งพัลแฮ

ักรพรรดิมูแห่งพัลแฮ ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่ง อาณาจักรพัลแฮ เป็นพระราชโอรสใน พระเจ้าโก หรือ แท โจยอง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพระเจ้ามูแห่งพัลแฮ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าสิงหนวัติ

ระเจ้าสิงหนวัติ ผู้ทรงสร้างเมืองนาคพันธุ์สิงหนวัตินคร หรือ โยนกนคร โดยอพยพผู้คนประมาณแสนครัวมาจากเมืองหนองแส ตรงสมัยราชวงศ์ถังในจีน ทรงเป็นโอรสพระเจ้าเทวกาล กษัตริย์เมืองหนองแส (ตาลีฟู) หลานพ่อขุนบรม พระเจ้าสิงหนวัติครองราชย์อยู่ได้ 52 ปี ก็สวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 1367.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพระเจ้าสิงหนวัติ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าตริสองเดซัน

ระเจ้าตริสองเดซัน (ภาษาทิเบต: ཁྲི་སྲོང་ལྡེ་བཙན, khri srong lde btsan;, ชื่อซงเต๋อซั่น) เป็นพระโอรสของพระเจ้ามีอาธอมซึ่งเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าซรอนซันกัมโป พระมารดาคือเจ้าหญิงจินเจินจากจีน ครองราชย์เมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพระเจ้าตริสองเดซัน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโก

ักรพรรดิแทโจยอง (ไม่ทราบแน่ชัด - ค.ศ.719) หรือที่รู้จักกันในนาม จักรพรรดิโก (ฮันกึล: 고왕, ฮันจา: 高王)เป็นผู้สถาปนาอาณาจักรพัลแฮ ทรงครองราชย์ระหว่างปี..699 ถึง 719 ชาติกำเนิดของพระองค์นั้นเป็นที่โต้แย้งกันมาก(ดูด้านล่าง) โดยนักวิชาการส่วนใหญ่ในเกาหลีเชื่อว่าพระองค์มีเชื้อสายโกคูรยอ แต่นักวิชาการส่วนใหญ่ในจีนกลับเชื่อว่าพระองค์มีบรรพบุรุษเป็นชาวมัลกัล(โมเฮ).

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพระเจ้าโก · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร

ัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร พิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร หรือ อุทยานมังกรสวรรค์ สร้างขึ้นตามความต้องการของ นายบรรหาร ศิลปอาชา ขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยได้เริ่มออกแบบและจัดสร้างพิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกรขึ้นภายในบริเวณศาลเจ้าพ่อหลักเมืองจังหวัดสุพรรณบุรี ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำสุพรรณบุรี ห่างจากฝั่งแม่น้ำไปตามถนนมาลัยแมน ตำบลรั้วใหญ่ อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ก่อตั้งขึ้นเพื่อนำเสนอเรื่องราวความเป็นมาของชาวจีนในประเทศไทย ตลอดจนประวัติศาสตร์และอารยธรรมจีน เพื่อเป็นอนุสรณ์สัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีน ครบ 20 ปีใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร · ดูเพิ่มเติม »

พิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

ีเปิดการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 2008 ณ สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง (สนามกีฬารังนก) กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน โดยเริ่มเมื่อเวลา 20.00 น. (8:00 PM) ตามเวลาท้องถิ่น หรือ 19.00 น. ตามเวลาประเทศไทย โดยมีจาง อี้โหมว ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวจีนที่มีผลงานที่มีชื่อเสียง เช่น Hero, House of Flying Daggers และCurse of the Golden Flower เป็นต้น และ จาง ฉีกัง รับหน้าที่กำกับการแสดง ซึ่งการแสดงทั้งหมดจะเน้นถึงอารยธรรมจีนโบราณ ผสมผสานกับความทันสมัยในโลกปัจจุบัน โดยใช้นักแสดงกว่า 15,000 คน พิธีเปิดการแข่งขันโอลิมปิกครั้งนี้ได้รับคำชื่นชมว่าเป็นพิธีเปิดโอลิมปิกที่ดีที่สุดเท่าที่มีการจัดการแข่งขัน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายจีนดั้งเดิม

กฎหมายจีนดั้งเดิม (traditional Chinese law) หมายถึง บรรดากฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับที่ใช้บังคับในประเทศจีนนับแต่โบราณกาลมาจนถึง พ.ศ. 2454 อันเป็นปีที่ราชวงศ์ชิงสิ้นสุดลง กฎหมายดั้งเดิมเหล่านี้มีความแตกต่างจากกฎหมายในระบบคอมมอนลอว์ (common law system) และระบบซีวิลลอว์ (civil law system) อันเป็นระบบกฎหมายสองระบบที่นิยมใช้และมีอิทธิพลมากที่สุดในโลกปัจจุบัน และกฎหมายจีนดั้งเดิมยิ่งต่างไปจากกฎหมายจีนปัจจุบันอย่างถึงที่สุด เนื่องจากกฎหมายจีนดั้งเดิมมีองค์ประกอบสำคัญคือความนิยมกฎหมายและความนิยมลัทธิขงจื้อซึ่งมีอิทธิพลต่อแบบแผนของสังคมและการปกครองของจีนในสมัยโบราณอย่างยิ่ง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและกฎหมายจีนดั้งเดิม · ดูเพิ่มเติม »

กว่างโจว

กว่างโจว กวางโจว หรือ กวางเจา (จีนตัวเต็ม: 廣州, จีนตัวย่อ: 广州 Guǎngzhōu หรือ Gwong2 zau1 ในภาษาจีนกวางตุ้ง) เป็นเมืองเอกของมณฑลกวางตุ้ง กว่างโจวเป็นเมืองใหญ่สุดทางภาคใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งเป็นมณฑลซึ่งเป็นที่ตั้งของเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้ง 3 แห่งของจีน คือ เซินเจิ้น จูไห่ และ ซัวเถา นอกจากนั้นเมืองกว่างโจวยังมีสำเนียงเฉพาะถิ่นที่ถือว่าเป็นมาตรฐานของ ฮ่องกง และมาเก๊า เรียกว่า สำเนียงกว่างโจวอีกด้วย เมืองกว่างโจวตั้งอยู่ปากแม่น้ำจูเจียง และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดทางตอนใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีความประวัติศาสตร์ ยาวนานกว่า 2,800 ปี เป็นจุดเริ่มของเส้นทางสายไหมทางทะเลในครั้งอดีต และยังเคยเป็นเมืองท่าเสรีแห่งแรกและแห่งเดียวที่เปิดต้อนรับชาวตะวันตกที่เข้ามาติดต่อค้าขาย กว่างโจวแม้จะเป็นศูนย์กลางในการปฏิรูปเศรษฐกิจจีน แต่กว่างโจวยังมีภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ที่ยาวนานในรูปสถานที่สำคัญต่าง ๆ ปัจจุบันกว่างโจวมีบทบาทเป็นเมืองในเขตเศรษฐกิจการค้าที่มีความเจริญรุ่งเรืองมากที่สุดในภาคใต้ของจีน และยังได้รับสถานะเป็นหนึ่งในสามเมืองท่าที่สำคัญที่สุดของจีน อีกทั้งยังเป็นเมืองที่มีผลผลิตโดยรวมมากที่สุดด้วย นอกจากนั้นยังมีการคมนาคมขนส่งที่สะดวก ทันสมัย มีระบบรถไฟใต้ดินครอบคลุมเมืองชั้นในทั้งหมด รวมทั้งด้านภูมิอากาศ อาหาร การดำรงชีวิต ตลอดจนความเป็นอยู่ก็มีความคล้ายคลึงกับประเทศไทย กว่างโจวมีภาพลักษณ์ค่อนข้างแตกต่างจากเมืองทางเหนือ ซึ่งบรรยากาศที่เต็มไปด้วย "ราชการและเป็นทางการ" แต่ในกว่างโจวจะรู้สึกและรับรู้ได้ถึง "การค้าและความวุ่นวาย" กว่างโจว เคยใช้เป็นสถานที่หลักที่ใช้จัดการแข่งขันกีฬา เอเชียนเกมส์ 2010 ที่จีนเป็นเจ้าภาพ เมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและกว่างโจว · ดูเพิ่มเติม »

การสอบขุนนาง

การสอบขุนนาง (imperial examination) เป็นระบบการสอบคัดเลือกข้าราชการพลเรือนในประเทศจีนสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อสอบบรรจุข้าราชการที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดสำหรับระบบราชการของรัฐ ในการสอบใช้ข้อสอบแบบวัตถุวิสัย (objective) เพื่อประเมินการได้รับความรู้และคุณธรรมของผู้เข้าสอบ ผู้สอบได้จะได้รับวุฒิ จิ้นชื่อ แปลว่า "บัณฑิตชั้นสูง" (advanced scholar) (ซึ่งอาจเทียบได้กับปริญญา ดุษฎีบัณฑิต หรือปริญญาเอกในระบบการศึกษาสมัยใหม่ ซึ่งถือเป็นชั้นสูงสุด) รวมถึงปริญญาชั้นอื่น ๆ แล้วจะได้รับการประเมินเพื่อบรรจุเข้าดำรงตำแหน่งต่าง ๆ โดยทั่วไปแล้วผู้ที่ได้รับวุฒิจิ้นซี่อในการสอบขุนนางนั้นจะได้รับการแต่งตั้งเป็นข้าราชการระดับสูงแห่งราชสำนัก ตำแหน่งที่ได้รับจะเรียงตามลำดับผลคะแนนที่สอบได้ ผู้ที่สอบได้คะแนนสูงกว่าจะได้รับตำแหน่งที่ดีกว่า นอกจากนั้นองค์จักรพรรดิหรือจักรพรรดินีจะทรงให้ความสนใจเป็นพิเศษกับผู้เข้าสอบที่ได้คะแนนสูงสุด ด้วยพื้นฐานจากปรัชญาลัทธิขงจื้อ การสอบขุนนางนี้โดยทฤษฎีแล้วมุ่งทดสอบและคัดเลือกบุคคลด้วยคุณธรรม จึงมีอิทธิพลต่อประเทศจีนทั้งในด้านสังคมและวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก ทั้งยังมีส่วนให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในการคานอำนาจในช่วงราชวงศ์ถัง ราชวงศ์โจวของพระนางบูเช็กเทียน (Wu Zetian) และราชวงศ์ซ่ง ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวยังส่งผลเป็นการหลอมรวมโครงสร้างทางสังคมไว้เป็นเวลานาน อนึ่ง มีหลายครั้งที่การสอบทำให้อภิชนบางกลุ่มถูกแทนที่ด้วยบุคคลจากชั้นรากหญ้า หลายดินแดนในทวีปเอเชีย เช่น ประเทศเวียดนาม ประเทศเกาหลี ประเทศญี่ปุ่น และรีวกีว (Ryūkyū) รับระบบการสอบนี้มาใช้เพื่อคัดเลือกบุคคลระดับหัวกะทิ เพื่อรักษาเป้าหมายทางอุดมคติและทรัพยากร กับทั้งเพื่อส่งเสริมวรรณกรรมและการเล่าเรียน เนื่องจากการจัดการสอบเป็นส่วนหนึ่งของระบบทะเบียนหลวง วันที่ได้รับการประสาทวุฒิจิ้นชื่อ จึงมักเป็นข้อมูลที่ชัดเจนส่วนหนึ่งที่ระบุไว้ในชีวประวัติบุคคลสำคัญสมัยราชวงศ์ถังและราชวงศ์ต่อ ๆ มา ในประวัติศาสตร์จีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและการสอบขุนนาง · ดูเพิ่มเติม »

การแปรรูปชา

Tea leaf processing methods for the six most common types of tea การแปรรูปชา คือ กรรมวิธีในการแปรรูปใบไม้จากต้นชา Camellia sinensis ให้กลายเป็นใบชาแห้ง เพื่อนำไปต้มเป็นน้ำชาต่อไป ชาสามารถแบ่งเป็นประเภทต่างๆตามกรรมวิธีการแปรรูป โดยทั่วไป การบ่มใบชาจะมีกระบวนการทำปฏิกิริยาเคมีของใบชากับออกซิเจน จากนั้น เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดลง ก็จะเป็นกระบวนการตากแห้ง รสชาเฉพาะตัวของชาจะถูกกำหนดโดยพันธุ์ของชาที่คัดมาเพาะปลูก, คุณภาพของใบชาที่เก็บเกี่ยวได้, และกรรมวิธีการแปรรูปและผลิตเป็นใบชาแห้ง หลังผ่านกระบวนการแปรรูปแล้ว ชาชนิดหนึ่งอาจถูกนำไปผสมกับชาชนิดอื่น หรือสารปรุงแต่งรสและกลิ่น เพื่อปรับเปลี่ยนรสชาติของชาในที.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและการแปรรูปชา · ดูเพิ่มเติม »

การเชิดมังกร

การเชิดมังกร (หวู่หลง) เป็นรูปแบบการเต้นรำที่สืบทอดมาและถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของวัฒนธรรมจีน เหมือนกับการเชิดสิงโต มักจะพบเห็นในการฉลองเทศกาลต่าง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและการเชิดมังกร · ดูเพิ่มเติม »

การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์

250px 250px การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ (royal intermarriage) คือการแต่งงานระหว่างสมาชิกของราชวงศ์ผู้ปกครองสองราชวงศ์ ซึ่งในอดีตถือเป็นยุทโธบายทางการทูตที่ใช้กันโดยทั่วไปเพื่อผลประโยชน์ของชาติ ในบางครั้งการเสกสมรสนี้เกิดขึ้นด้วยการบังคับใช้กระบวนการทางกฎหมายต่อบุคคลผู้สืบเชื้อสายราชวงศ์ และในหลาย ๆ ครั้งเกี่ยวข้องกับนโยบายทางการเมืองและ/หรือขนบธรรมเนียมของระบอบราชาธิปไตยเสียเป็นส่วนใหญ่ ในทวีปยุโรป การเสกสมรสในลักษณะนี้เป็นที่แพร่หลายอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงตั้งแต่สมัยกลางจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในขณะที่หลักฐานของการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ในส่วนอื่น ๆ ของโลก สามารถสืบค้นย้อนไปได้ไกลที่สุดถึงยุคสัมฤทธิ์ ซึ่งบ่อยครั้งที่พระมหากษัตริย์ในอดีตมักจะพยายามแผ่ขยายราชวงศ์ของพระองค์ออกไปทั้งในและนอกประเทศ ดังนั้นสายสัมพันธ์ทางเครือญาติซึ่งเกิดจากการเสกสมรสนี้ จึงเป็นปัจจัยที่ช่วยทั้งกระตุ้นและยับยั้งความขัดแย้งและการรุกรานระหว่างรัฐBucholz, p.228 ทั้งยังช่วยริเริ่ม ส่งเสริม และรับประกันสันติภาพระหว่างรัฐได้อีกด้วย นอกจากนี้สายสัมพันธ์ทางเครือญาติจากการเสกสมรสยังสามารถรักษามิตรไมตรีของสองราชวงศ์ ที่ต่างพยายามหลีกเลี่ยงภัยคุกคามจากการรุกรานและความขัดแย้งอันมีชนวนเหตุมาจากการยุยงของราชวงศ์ที่สาม พร้อมเสริมสร้างโอกาสที่จะผนวกรวมดินแดนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตนจากการอ้างสิทธิ์ทางกฎหมายเหนือราชบัลลังก์ หรือแม้กระทั่งการอ้างสิทธิ์เหนือส่วนหนึ่งของรัฐ เช่น อาณานิคม ผ่านการรับช่วงสืบทอดอำนาจการปกครองในกรณีที่รัฐนั้นเกิดปัญหาไร้รัชทายาทสืบทอดราชบัลลังก์ หรือในกรณีที่พระมหากษัตริย์องค์ก่อนหน้าไม่มีรัชทายาทเพศชายไว้สืบทอดราชสมบัติโดยปราศจากข้อกังขาได้ ในบางส่วนของทวีปยุโรป ราชวงศ์ต่าง ๆ ยังคงนิยมเสกสมรสระหว่างกันเป็นปกติ (สมาชิกราชวงศ์เสกสมรสกับตระกูลขุนนางต่าง ๆ ภายในรัฐ) ไปจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 16 และนับแต่นั้นเป็นต้นมา จึงเริ่มหันมานิยมการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ของรัฐอธิปไตยต่าง ๆ มากขึ้น แต่ในส่วนอื่น ๆ ของโลก การเสกสมรสเช่นนี้กลับได้รับความนิยมน้อยกว่ามากและเริ่มลดจำนวนลงตามกาลเวลาที่ผ่านไป หรือแปรเปลี่ยนไปตามขนบธรรมเนียมและนโยบายการต่างประเทศในขณะนั้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

การเปลี่ยนผ่านจากสุยสู่ถัง

แผนที่แสดงการจลาจลและกบฏครั้งสำคัญในช่วงปีสุดท้ายของราชวงศ์สุย การเปลี่ยนผ่านจากสุยสู่ถัง (Transition from Sui to Tang) หรือ การพิชิตสุยของถัง ยุคเปลี่ยนผ่านระหว่างช่วงสุดท้ายของ ราชวงศ์สุย ถึงช่วงเริ่มต้นของ ราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์จีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและการเปลี่ยนผ่านจากสุยสู่ถัง · ดูเพิ่มเติม »

กู่

กู่ หรือ จินฉาน ("หนอนไหมทอง") เป็นพิษซึ่งได้มาจากสัตว์พิษตามความเชื่อทางภาคใต้ของประเทศจีนโดยเฉพาะแถบหนานเยฺว่ ทำขึ้นโดยนำสัตว์พิษชนิดต่าง ๆ (เช่น ตะขาบ งู แมลงป่อง) ใส่ลงในภาชนะ แล้วปิดผนึก ปล่อยให้สัตว์เหล่านั้นบริโภคกันเอง ตัวสุดท้ายที่รอดมาเพียงหนึ่งเดียวเชื่อว่า มีพิษร้ายแรงที่สุด มักนำมาใช้ในกิจกรรมทางไสยศาสตร์ เช่น ฆ่าคน ทำร้ายคน หรือก่อโรคภัยไข้เจ็บ คติชนจีนยังเชื่อว่า วิญญาณของกู่สามารถกลายร่างเป็นสัตว์หลายชนิด เช่น หนอน บุ้ง ตะขาบ งู กบ สุนัข หรือสุกร.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและกู่ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนกวางตุ้ง

ษาจีนกวางตุ้ง (ชาวจีนเรียกว่า 粵 เยฺว่ Yuè หรือ ยฺหวืด Jyut6) เป็นหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บริเวณมณฑลแถบตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้แก่ มณฑลกวางตุ้ง เขตบริหารพิเศษฮ่องกง มาเก๊า และยังใช้มากในหมู่ของชาวจีนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับเหล่าชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลกที่อพยพไปจากมณฑลกวางตุ้งอีกด้วย โดยที่สำเนียงกวางเจาจัดเป็นสำเนียงกลางของภาษาจีนกวางตุ้ง มีผู้พูดทั่วโลกราวๆ 71 ล้านคน ซึ่งภาษากวางตุ้งจัดได้ว่าเป็นภาษาถิ่นอันดับหนึ่งของจีนที่คนพูดมากที่สุด และเป็นภาษาที่ใช้ทางการเป็นอันดับสอง รองลงมาจากภาษาจีนกลางที่เป็นภาษาราชการหลักของประเท.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและภาษาจีนกวางตุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนหมิ่น

แผนที่แสดงสำเนียงหลักของภาษาจีนหมิ่น ภาษาหมิ่น เป็นหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน พูดทางตะวันออกเฉียงใต้ ของมณฑลฝูเจี้ยน และผู้ที่อพยพไปมณฑลกวางตุ้ง หูหนาน และไต้หวัน แบ่งย่อยได้เป็น ภาษาหมิ่นเหนือ (Min Bei) ภาษาหมิ่นใต้หรือภาษาจีนฮกเกี้ยน(Min nan) และสำเนียงอื่นๆ เป็นภาษาหลักของชาวจีน ในฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซี.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและภาษาจีนหมิ่น · ดูเพิ่มเติม »

มหัศจรรย์กระบี่เจ้าพิภพ

มหัศจรรย์กระบี่เจ้าพิภพ (Legend Of Sword) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและมหัศจรรย์กระบี่เจ้าพิภพ · ดูเพิ่มเติม »

มหากรุณาธารณี

ระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ ปางสหัสภุชสหัสเนตร มหากรุณาธารณี เขียนด้วยอักษรสิทธัม มหากรุณาธารณี (महा करुणा धारनी, 大悲咒: ธารณีว่าด้วยความกรุณาอันยิ่งใหญ่) หรือ นิลกัณฐธารณี (नीलकण्ठ धारनी: ธารณีว่าด้วยพระผู้มีศอสีนิล) เป็นชื่อบทสวด (ธารณี) สำคัญในพระพุทธศาสนามหายาน เป็นธารณีประจำองค์พระอวโลกิเตศวร ปางสหัสภุชสหัสเนตร (พันหัตถ์พันเนตร) ในภาษาจีนเรียกธารณีนี้ว่า ไต่ปุ่ยจิ่ว ("ต้าเปยโจ้ว" ตามสำเนียงจีนกลาง) มีต้นกำเนิดจากพระสูตรมหายานภาษาสันสกฤตของอินเดีย พระภควธรรมเถระชาวอินเดียนำเข้าไปแปลในประเทศจีนสมัยราชวงศ์ถัง และมีฉบับแปลเป็นภาษาทิเบตด้วย มหากรุณาธารณีเป็นมนตร์อันเกิดจากความเมตตากรุณาอันยิ่งใหญ่ของพระอวโลกิเตศวร ที่มีต่อสรรพสัตว์ที่ตกทุกข์ในโลก ในคัมภีร์กล่าวว่าธารณีนี้มีชื่อต่าง ๆ กัน เช่น มหาไวปุลยสัมปุรณธารณี, อกิญจนมหากรุณาธารณี, อายุวัฒนธารณี, วิกรมอุตตรภูมิธารณี, มโนมัยอิศวรธารณี เป็นต้น อักษรหนึ่งตัวและประโยคหนึ่งในบทธารณีมนตร์นี้ ล้วนขยายเป็นอรรถธรรม อันจะนำเข้าถึงพระสัมมาสัมโพธิญาณ.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและมหากรุณาธารณี · ดูเพิ่มเติม »

มังกรคู่สู้สิบทิศ

มังกรคู่สู้สิบทิศ (大唐雙龍傳; Dragons of tang dynasty) วรรณกรรมจีนแต่งโดย หวงอี้ และถูกนำมาแปลและเรียบเรียงในไทยโดย น.นพรัตน์ จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์สยามอินเตอร์คอมิกส์ เป็นเรื่องราวของการก่อตั้งราชวงศ์ถัง ซึ่งมีปฐมฮ่องเต้คือ ถังเกาจู่ หรือชื่อเดิม หลี่หยวน ตัวเอกของเรื่องเป็นเด็กกำพร้าคู่หนึ่ง ในเมืองหยางโจว ชื่อ โค่วจง และ ฉีจื่อหลิง, ไต่เต้าจากเป็นอันธพาลในตลาด จนกระทั่งรวบรวมกำลังเข้าช่วงชิงแผ่นดิน ความยาว 21 เล่ม สำหรับฉบับที่พิมพ์ในเมืองไทยได้แบ่งเป็นสองภาค คือ ภาคแรก 10 เล่ม และภาคสมบูรณ์ 11 เล่ม.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและมังกรคู่สู้สิบทิศ · ดูเพิ่มเติม »

มาตราชั่งตวงวัดของญี่ปุ่น

ักกันโฮ เป็นชื่อเรียกมาตราชั่งตวงวัดตามประเพณีญี่ปุ่น ชื่อ "ชักกันโฮ" นี้มาจากการประสมระหว่างคำว่า ชะกุ (หน่วยวัดความยาว) และ คัง (หน่วยวัดมวล) มีต้นกำเนิดมาจากจีน สมัยราชวงศ์ซางในช่วงก่อนคริสต์ศักราชราว 13 ศตวรรษ และมีเสถียรภาพมากที่สุดในยุคราชวงศ์โจว และเริ่มแพร่หลายไปในญี่ปุ่น, โชซ็อน และชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งหน่วยการวัดของราชวงศ์ถังได้รับการนำมาใช้อย่างเป็นทางการในญี่ปุ่น ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและมาตราชั่งตวงวัดของญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลฝูเจี้ยน

มณฑลฝูเจี้ยน หรือ มณฑลฮกเกี้ยน (จีน: 福建省 Fujian) เป็นมณฑลชายฝั่งทะเลที่อยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของจีน อาณาเขตทางภาคเหนือติดกับมณฑลเจ้อเจียง ภาคใต้ติดกับมณฑลกวางตุ้ง ภาคตะวันออกติดกับช่องแคบไต้หวัน ชื่อฝูเจี้ยนมาจากอักษรนำหน้าชื่อเมืองสองเมืองรวมกันคือฝูโจวและเจี้ยนโอว ชื่อนี้ได้รับการตั้งในสมัยราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและมณฑลฝูเจี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลอันนัม

ีนในสมัยราชวงศ์ถัง มณฑลอันนัม (Annam) เป็นชื่อเรียกดินแดนของชาวเวียดที่แพร่ขยายออกมาจากบริเวณเดิมแถบลุ่มแม่น้ำแดงและแม่น้ำดำ ซึ่งเคยถูกปกครองในฐานะมณฑลหนึ่งของจีน ได้แก่ดินแดนที่ต่อมาจะถูกเรียกว่าตังเกี๋ย ชาวจีนเรียกบริเวณที่ชาวเวียดอาศัยอยู่ว่าอันหนันหมายถึงภาคใต้ที่ปราบสงบแล้ว แต่ชาวตะวันตกออกเสียงเป็นอันนัม จีนปกครองเวียดนามเป็นเวลาประมาณ 600 ปี ตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิ้นจนถึงสมัยราชวงศ์ถัง จนเวียดนามสามารถประกาศเอกราชจากจีนได้ประมาณ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและมณฑลอันนัม · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ผาแดง

แผนที่บริเวณศึก ยุทธการที่ผาแดง หรือ ศึกผาแดง (Battle of Red Cliffs) หรือ ศึกเซ็กเพ็ก หรือ ศึกเปี๊ยะเชียะ หรือ ศึกชื่อปี้ (Battle of Chìbì) เป็นสงครามที่มีความสำคัญที่สุดสงครามหนึ่งในยุคปลายราชวงศ์ฮั่นในรัชสมัยของพระเจ้าฮั่นเหี้ยนเต้ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของยุคสามก๊กในประเทศจีนในเวลาต่อมา ศึกผาแดงนี้เกิดขึ้นใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและยุทธการที่ผาแดง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนาวีบักดั่ง (ค.ศ. 1288)

ทธนาวีบักดั่ง ยุทธนาวีบักดั่ง (Battle of Bạch Đằng) เป็นสงครามเรือระหว่างมองโกลและไดเวียดหรือเวียดนามในปัจจุบัน ที่แสดงแสนยานุภาพของกองเรือเล็ก ๆ อย่างไดเวียด ว่าทำลายกองเรือที่ทรงอานุภาพของมองโกลลงได้.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและยุทธนาวีบักดั่ง (ค.ศ. 1288) · ดูเพิ่มเติม »

ยุคอาณาจักรเหนือใต้ของเกาหลี

มัยอาณาจักรเหนือใต้ เมื่อสิ้นสุดสมัย 3 อาณาจักรนั้น อาณาจักรชิลลาถือว่าเป็นผู้มีชัยเหนืออาณาจักรอื่นบนคาบสมุทรเกาหลีทั้งหมด ในทางประวัติศาสตร์ถือว่ายุคสมัยนี้ อาณาจักรชิลลาเป็นผู้รวบรวมแผ่นดินเกาหลีให้เป็นผืนเดียวกันได้เป็นครั้งแรกนับแต่ยุคสมัยดึกดำบรรพ์เป็นต้นมา จึงเรียกว่า ยุคชิลลารวมอาณาจักร ช่วงยุคสมัยนี้นับจากปีที่อาณาจักรโคกูรยอและอาณาจักรแพ็กเจล่มสลายลงไปใน พ.ศ. 1211 และสืบเนื่องไปจนถึง พ.ศ. 1478 แต่ที่จริงแล้ว อาณาจักรชิลลาไม่ได้ครอบครองดินแดนทั้งหมดไว้ ที่ครอบคลุมได้ทั้งหมดนั้นเพียงดินแดนทางตอนใต้เท่านั้น แม้แต่ดินแดนของโคกูรยอเดิม ชิลลาก็ได้มาเพียงบางส่วนเท่านั้น ไม่เพียงที่ต้องยกคาบสมุทรเหลียวตงให้กับจีน แต่ดินแดนทางเหนือจรดไปถึงแมนจูเรียตกอยู่ในการควบคุมของอาณาจักรเกิดใหม่อีกอาณาจักรหนึ่ง ชื่อว่า อาณาจักรพัลแฮ หรือเรียกว่า ป๋อไห่ ในชื่อเรียกตามภาษาจีน ในยุคสมัยนี้ นักประวัติศาสตร์บางท่านจึงจัดว่าเป็นยุคอาณาจักรเหนือใต้ของเกาหลี.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและยุคอาณาจักรเหนือใต้ของเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเฮอัง

อัง อยู่ในช่วง ค.ศ. 794 - ค.ศ. 1185 ในปลายศตวรรษที่ 8 มีการย้ายเมืองหลวงไปที่ เฮอังเกียว (平安京 Heian-kyou) หรือเมืองเคียวโตะในปัจจุบัน นับเป็นยุคทองของประเทศญี่ปุ่น ที่ทั้งศิลปะและวัฒนธรรมรุ่งเรืองถึงขีดสุด มีการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมต่างๆ ที่หยิบยืมมาจากประเทศจีนในสมัยราชวงศ์ถัง และลัทธิขงจื้อ จนกลายเป็นวัฒนธรรมแบบเฉพาะตัวของญี่ปุ่น เฮอัง (平安,Heian) แปลว่า ความสงบสันต.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและยุคเฮอัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชลัญจกรจีน

ราชลัญจกรจีน (Imperial Seal of China) หรือ ตราแผ่นดินตกทอด (Heirloom Seal of the Realm) เป็นตราประทับทำจากหยกเหอชื่อปี้ (和氏璧).

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและราชลัญจกรจีน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์

ราชวงศ์ (Dynasty) คือ ลำดับของผู้ปกครองจากตระกูลเดียวกันOxford English Dictionary, "dynasty, n." Oxford University Press (Oxford), 1897.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สุย

ราชวงศ์สุย (Sui Dynasty, ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618) (37 ปี) เป็นราชวงศ์ที่ทรงอำนาจทางการทหารแต่มีระยะเวลาการปกครองที่ค่อนข้างสั้น สถาปนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 581 ภายหลังจากยุคสามก๊ก โดยจักรพรรดิสุยเหวินตี้(หยางเจียน) อดีตแม่ทัพแห่งราชวงศ์โจวเหนือ โดยในรัชกาลของพระองค์ทรงสามารถรวบรวมแผ่นดินจีนให้เป็นปึกแผ่นอีกครั้ง แต่ราชวงศ์สุยมีอันต้องล่มสลายลงในปี ค.ศ. 617 ในรัชกาลจักรพรรดิสุยหยางตี้(หยางกว่าง) พระราชโอรสองค์รองของสุยเหวินตี้ ฮ่องเต้หยางเจียน ทรงดำเนินนโยบายอย่างแยบยล โดยการหล่อหลอมเอาวัฒนธรรมแต่ละแคว้นเข้าด้วยกัน เพื่อผสมผสานให้แต่ละแคว้นมีความเป็นปึกแผ่น หลังจากที่แตกสลายหลังสิ้นสุดราชวงศ์ฮั่น โดยมีการผสมผสานหลักการของศาสนาพุทธที่หยางเจียนนับถือ เข้ากับลัทธิขงจื๊อและลัทธิเต๋า แล้วนำมาพัฒนาเป็นการสร้างความมั่นคงให้แก่กฎหมายของราชวงศ์ โดยแม้ต่อมา ราชวงศ์ถังจะสถาปนาขึ้น ก็ยังรับเอาวัฒนธรรมการหล่อหลอมคำสอนศาสนามาใช้ต่อเนื่อง หลังจากนั้น ทรงดำเนินนโยบายให้ขุนนางในราชสำนักรวมไปถึงเชื้อพระวงศ์ได้แต่งงานกับชนเผ่าต่าง ๆ เพื่อเป็นการเจริญสัมพันธไมตรี เพราะโดยพื้นเพเดิมนั้น ทั้งหยางเจียนและพระมเหสี ก็ทรงเป็นตระกูลจีนแท้ผสมกับชนเผ่าเติร์กอยู่แล้ว หยางเจียนทรงดำเนินนโยบาย ขุดคลองต้ายุ่นเหอขนาดมหึมา ยาวกว่า 1,800 กิโลเมตร เชื่อมต่อกรุงปักกิ่ง ซึ่งอยู่ในจีนซีกเหนือ กับเมืองหางโจว ซึ่งเป็นจีนซีกใต้ เพื่อเป็นการเชื่อมแม่น้ำฮวงโหกับแม่น้ำแยงซีเกียง เพื่อผูกขาดเศรษฐกิจของจีนให้เป็นหนึ่งเดียว รวมไปถึง การสร้างยุ้งฉางกักตุนสินค้าขนาดใหญ่โต เพื่อรองรับสินค้าเกือบตลอดแนวคลอง มีการริเริ่มการสอบจอหงวน เป็นครั้งแรก ทั่วราชอาณาจักร เพื่อคัดเลือกผู้ที่มีความสามารถเข้ามารับราชการในตำแหน่งขุนนาง ทำให้แต่เดิม ที่ขุนนางจะมีเพียงแต่ชนชั้นสูงที่สืบทอดสกุลต่อกันมา ทำให้อาจจะมีแต่ตำแหน่งแต่ไร้ความสามารถ จึงได้ผู้ที่มีฝีมือและความรู้อย่างแท้จริง ซ้ำยังทำให้ประชาชนได้มีโอกาสมารับราชการในราชวัง นับว่าเป็นการลดการเหลื่อมล้ำทางสังคมอีกด้วย แต่ต่อมา เมื่อหยางกว่างขึ้นครองราชย์ ทรงประกาศสงครามกับชนเผ่าต่าง ๆ ทำให้ทรงขยายพื้นที่ทางด้านตะวันตกได้พอสมควร ซ้ำยังยกทัพไปบุกเกาหลีและแมนจู แต่ไม่ประสบความสำเร็จเพราะด้วยประสบกับความหนาวเหน็บ ซ้ำยังไม่มีการควบคุมทัพที่ดีพอ ทำให้พ่ายศึก ตามพงศาวดารกล่าวไว้ว่า ซึ่งสุยหยางตี้บัญชาให้ยกทัพขนาดมหึมานี้ ถึง 4 ครั้ง ทำให้ราชวงศ์สุย เสียหายอย่างหนัก ด้วยเหตุนี้ จึงการการก่อจลาจลทั่วทุกหัวระแหง ที่ใหญ่ ๆ มี 3 กลุ่ม อันได้แก่ กองกำลังหวากัง นำโดยใจ๋หยางและหลี่มี่ กองกำลังเจียงไหว นำโดยตู้ฝูเว่ย และกองกำลังเหอเป่ย นำโดยโต้วเจี้ยนเต๋อ รวมไปถึงการก่อกบฏในราชสำนักเองอีกด้วย สุดท้าย สุยหยางตี้ถูกลอบปลงพระชนม์โดยพระประยูรฐาติของพระองค์ นำโดยอวี้เหวินฮั่วจี๋ ราชวงศ์สุยถึงกาลอาวสาน เมื่อปีพ.ศ. 1161.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและราชวงศ์สุย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หมิง

ราชวงศ์หมิง หรือ ราชวงศ์เบ๋ง (ฮกเกี้ยน) หรือ ราชวงศ์เม้ง (แต้จิ๋ว) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิต้าหมิง เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิจีน ระหว่าง พ.ศ. 1911 (ค.ศ. 1368) ถึง พ.ศ. 2187 (ค.ศ. 1644) ดำรงอยู่เป็นเวลารวม 276 ปี โดยปกครองต่อจากราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล และพ่ายแพ้ให้กับราชวงศ์ชิงของชาวแมนจูในภายหลัง ราชวงศ์หมิงเป็นราชวงศ์ที่รุ่งเรืองในด้านวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก ในยุคนี้มีการสำรวจทางทะเลอย่างกว้างขวาง ราชวงศ์หมิงในตอนต้น (1368 - 1464) ถือเป็นอาณาจักรที่ก้าวหน้าที่สุดในโลก ณ ช่วงเวลานั้น ราชวงศ์หมิงถือเป็นหนึ่งในยุคที่ถูกจัดโดยนักวิชาการชาวตะวันตกว่ามีการปกครองที่เป็นระบบและสังคมที่มีเสถียรภาพในประวัติศาสตร์มนุษย์ชาติก่อนที่จะล่มสลาย ราชวงศ์หมิงถือเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองโดยชาวฮั่น ปฐมจักรพรรดิต้าหมิง จูหยวนจาง หรือ จักรพรรดิหงหวู่ หลังจากที่ได้ทรงประกาศปลดแอกชาวฮั่นจากภายใต้การปกครองของราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล ได้สถาปนาราชวงศ์หมิงขึ้น พระองค์ได้ทรงพยายามปฏิรูปการปกครองอาณาจักรเสียใหม่ ทรงพยายามสร้างระบบสังคมชุมชนชนบทแบบพึ่งพาตนเอง ปฏิรูประบบราชการ, กฎหมาย จักรพรรดิหงหวู่ได้สร้างระบบที่เป็นระเบียบที่ยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ที่จะสามารถรองรับและสนับสนุนการทหารของราชวงศ์หมิงอย่างยั่งยืน ทำให้ด้านการทหารในช่วงนั้นราชวงศ์หมิงประสบความสำเร็จมีกองทัพภาคพื้นดินเกินกว่า 1 ล้านคนและกองทัพเรือมีอู่ต่อเรือที่หนานจิงเป็นอู่ต่อเรือที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้น พระองค์ยังได้ทรงตระหนักถึงการลดทอนอำนาจของเหล่าขันทีในราชสำนักCrawford, Robert.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและราชวงศ์หมิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จิ้น

ราชวงศ์จิ้น (คริสต์ศักราช 265 – คริสต์ศักราช 420) เป็นราชวงศ์หนึ่งของจีน สถาปนาในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและราชวงศ์จิ้น · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โจว (แก้ความกำกวม)

ราชวงศ์โจว เป็นชื่อราชวงศ์โบราณของจีนหลายราชวงศ์ โดยมากจะหมายถึงราชวงศ์โจวก่อนคริสตกาล คือ.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและราชวงศ์โจว (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เหลียว

ราชวงศ์เหลียว (Liao Dynasty; ชี่ตัน: Mos Jælud; มองโกล: Ляо Улс/Lyao Uls) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิชี่ตัน (Khitan Empire; ชี่ตัน: Mos diau-d kitai huldʒi gur; มองโกล: Хятан (Khyatan) Гүрэн, Кидан (Kidan) Гүрэн) เป็นชื่อจักรวรรดิหนึ่งในเอเชียตะวันออก มีอำนาจในมองโกเลีย ภาคตะวันออกไกลบางส่วนของรัสเซีย เกาหลีเหนือ และภาคเหนือของจีนส่วนในตั้งแต่ปี 907 ถึง 1125 พระเจ้าไท่จู่ (Taizu) ข่านแห่งชาวชี่ตัน สถาปนาจักรวรรดินี้ขึ้นหลังจากราชวงศ์ถังของประเทศจีนล่มสลาย และไม่ช้าไม่นานหลังก่อตั้งขึ้น ราชวงศ์เหลียวก็เริ่มขยายดินแดน โดยพระเจ้าไท่จู่ทรงเอาชัยเหนือพวกพัลแฮ (Balhae) เป็นผลสำเร็จ พระเจ้าแผ่นดินองค์ถัด ๆ มายังทรงได้สิบหกมณฑลของจีนไว้โดยใช้วิธียุแยงให้รัฐที่สามส่งการก่อกวนเข้ามา แล้วราชวงศ์เหลียวจึงคอยตีกิน ทำให้ราชวงศ์ถังอวสานลง และราชวงศ์โครยอ (Goryeo) แห่งเกาหลี กับราชวงศ์ซ่ง (Song) แห่งจีน ตกเป็นเมืองออกของราชวงศ์เหลียวในที่สุด คำว่า "เหลียว" นี้ในภาษาจีนหมายความว่า ห่าง หรือไกล จุดเด่นของราชวงศ์เหลียว คือ ความตึงเครียดระหว่างจารีตประเพณีทางสังคมและการเมืองแบบชี่ตันกับแบบจีนซึ่งนำไปสู่วิกฤติการณ์ทางการสืบสันตติวงศ์ เพราะพระเจ้าแผ่นดินเหลียวฝักใฝ่คติบุตรหัวปีเป็นใหญ่ตามแบบจีน แต่ผู้ลากมากดีชาวชี่ตันส่วนใหญ่นิยมประเพณีที่ให้ผู้แข็งแกร่งที่สุดสืบเชื้อสาย ความแตกต่างกันระหว่างจารีตประเพณีชี่ตันและจีนนี้ยังเป็นเหตุให้พระเจ้าไท่จู่แห่งราชวงศ์เหลียวทรงตั้งการปกครองสองแบบขนานกัน ภาคเหนือซึ่งเป็นอาณาเขตชี่ตันให้ปกครองตามประเพณีชี่ตัน ภาคใต้ซึ่งประชากรส่วนใหญ่ไม่ใช่ชี่ตันให้ปกครองตามประเพณีจีน ความแตกต่างทางสังคมแบบชี่ตันกับแบบจีนยังได้แก่ บทบาทของบุคคลแต่ละเพศและยุทธวิธี ชาวชี่ตันเห็นว่า บุคคลเสมอภาคกันไม่ว่าเพศใด ขณะที่ประเพณีทางวัฒนธรรมจีนถือว่า สตรีต้องอยู่ในโอวาทบุรุษ ฉะนั้น หญิงชี่ตันจึงเล่าเรียนการรบ ทั้งยังจัดการทรัพย์สินครัวเรือน และดำรงตำแหน่งทางทหาร ทั้งยังไม่มีการคลุมถุงชน ตลอดจนสตรีไม่จำต้องครองความบริสุทธิ์ทางเพศไว้จนถึงการสมรสครั้งแรก กับมีสิทธิที่จะหย่าและสมรสใหม่ด้วย ในปี 1125 ชาวนฺหวี่เจิน (Jurchen) จากราชวงศ์จิน (Jin) ของพวกแมนจู จับกุมพระเจ้าเทียนจั้ว (Tianzuo) แห่งเหลียวไว้ได้ และทำลายราชวงศ์เหลียวลงสิ้น แต่ชาวชี่ตันที่ยังเหลืออยู่มีเยลฺวี่ ต้าฉือ (Yelü Dashi) เป็นผู้นำ พากันก่อตั้งราชวงศ์ใหม่เรียกว่า "เหลียวตะวันตก" (Western Liao) ปกครองกันอยู่ในเอเชียกลางบางส่วนเป็นเวลายาวนานเกือบหนึ่งศตวรรษ ก่อนจะถูกทัพพระเจ้าไท่จู่ (Taizu) แห่งราชวงศ์หยวนของพวกมองโกล เข้ายึดครอง แม้ความสำเร็จทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับราชวงศ์เหลียวจะสลักสำคัญ กับทั้งเครื่องปั้นและศิลปวัตถุอื่น ๆ ก็มีอยู่ในพิพิธภัณฑ์และสถานสะสมต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก แต่สภาพที่แท้จริงและขอบข่ายของอิทธิพลที่วัฒนธรรมเหลียวมีต่อพัฒนาการในระยะหลัง ๆ เช่น ด้านศิลปะการแสดงและการสังคีตนั้น ยังเป็นที่ถกเถียงกันอย่างยิ่ง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและราชวงศ์เหลียว · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เหลียงยุคหลัง

ราชวงศ์โฮ่วเหลียง (เหลียงยุคหลัง) (Later Liang Dynasty) (ค.ศ. 907 - 923) ถูกสถาปนาโดยจูเวินหรือจูเหวียนจง (ค.ศ.852-912) ผู้โค่นล้มราชวงศ์ถัง เดิมเหลียงไท่จู่ (จูเหวียนจง)เป็นหนึ่งในขุนพลของกองทัพกบฏหวงเฉา ต่อมาได้สวามิภักดิ์กับราชวงศ์ และร่วมมือกับหลี่เค่อยัง หัวหน้าเผ่าซาถัวปราบปรามกบฏจนหมดสิ้น และได้รับพระราชทานชื่อใหม่ว่า เหวียนจง แปลว่าผู้ซื่อสัตย์จงรักภักดี ต่อมาเขาเริ่มมีอิทธิพลในราชสำนักและในที่สุดเขาก็ปลดจักรพรรดิถังอัยตี้ จักรพรรดิองค์สุดท้ายลงจากราชบัลลังก์ ทำให้ราชวงศ์ถังสิ้นสุดลง และเขาก็ได้สถาปนาตนเอง ขึ้นเป็นจักรพรรดิองค์แรกแห่งราชวงศ์โฮ่วเหลียง พระนามว่าจักรพรรดิเหลียงไท่จู่ ราชวงศ์นี้เป็นราชวงศ์แรกในยุคที่เรียกว่า ยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร แต่ราชวงศ์นี้มีจักรพรรดิปกครองเพียง 2 พระองค์ หมวดหมู่:ราชวงศ์จีน หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและราชวงศ์เหลียงยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อจักรวรรดิเรียงตามพื้นที่

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและรายชื่อจักรวรรดิเรียงตามพื้นที่ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ที่ได้รับสมัญญานามมหาราช

มหาราช (The Great) เป็นชื่อต่อท้ายพระนามของกษัตริย์หรือผู้ปกครองที่ได้ทำภารกิจอย่างมากมายช่วยเหลือผู้คนทั้งด้านการรบ การแก้ไขปัญหาภายในประเทศ การรักษาเอกราชของประเทศ คงไว้ด้วยความยุติธรรมอันเป็นแบบอย่างที่ดี ในกลุ่มคนที่พูดภาษานั้น ๆ จึงได้รับการยกย่องว่าเป็น "มหาราช" เขียนไว้ที่ท้ายพระนาม.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและรายพระนามพระมหากษัตริย์ที่ได้รับสมัญญานามมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์สุย

ราชวงศ์สุย ปกครองจีนอยู่ระหว่างปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและรายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์สุย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดินีจีน

ในจักรวรรดิจีน จักรพรรดินี เป็นพระอิสริยยศของพระอัครมเหสีในจักรพรรดิจีน และ จักรพรรดินีพันปีหลวง เป็นพระอิสริยยศของพระราชชนนีในจักรพรรดิจีนพระองค์ปัจจุบันหรือพระองค์ก่อน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและรายพระนามจักรพรรดินีจีน · ดูเพิ่มเติม »

ริสึเรียว

ริสึเรียว ระบบกฎหมายของญี่ปุ่นที่มีรากฐานมาจากปรัชญาของ ลัทธิขงจื๊อ โดยในระหว่างปลาย ยุคอะซุกะ มาจนถึง ยุคนะระ และ ราชสำนักเคียวโตะ ได้รับระบบการเมืองจาก ราชวงศ์ถัง มาปรับใช้ หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและริสึเรียว · ดูเพิ่มเติม »

ลั่วหยาง

thumb ลั่วหยาง หรือสำเนียงฮกเกี้ยนว่า ลกเอี๋ยง เป็นเมืองหนึ่งในประเทศจีน ปัจจุบันตั้งอยู่ทางตะวันตกของมณฑลเหอหนาน เคยเป็นเมืองหลวงของหลายราชวงศ์เช่น ราชวงศ์โจวตะวันออก ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก และราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและลั่วหยาง · ดูเพิ่มเติม »

ลิ้นจี่

ลิ้นจี่ เป็นชื่อของผลไม้ประเภทผลเดี่ยวซึ่งมีลักษณะเปลือกสีแดงชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ SAPINDACEAE (ซึ่งก็คือวงศ์เดียวกับเงาะและลำไยนั้นเอง) ลิ้นจี่นั้นเป็นผลไม้ที่มีรสชาติอร่อยให้ผลผลิตคุ้มค่ากับการลงทุนจึงถือว่าเป็นผลไม้ทางเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทยที่สามารถนำผลผลิตที่ได้มาจำหน่ายในรูปของผลไม้สดและผลไม้แปรรูป ปัจจุบันนี้ลิ้นจี่ได้รับการพัฒนาสายพันธุ์ให้มีความหลากหลายขึ้นเรื่อยๆจากสายพันธุ์ดั้งเดิมที่มีอยู่แล้ว ลิ้นจี่ถูกกล่าวถึงในประวัติศาสตร์จีนในสมัยราชวงศ์ถัง โดยเป็นผลไม้โปรดของหยางกุ้ยเฟย พระสนมของจักรพรรดิถังเสวียนจง ทรงบัญชาให้ทหารม้านำลิ้นจี่จากแหล่งปลูกทางตอนใต้ของจีน เดินทางข้ามวันข้ามคืนมาถวายที่ฉางอาน เปลือกผลของลิ้นจี่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสร.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและลิ้นจี่ · ดูเพิ่มเติม »

ล่อกวนตง

หลัว กวั้นจง ตามสำเนียงกลาง หรือ ล่อกวนตง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นปราชญ์และนักประพันธ์ชาวจีน มีชีวิตอยู่ในช่วงศตวรรษที่ 14 (ค.ศ. 1330-ค.ศ. 1400) หรือยุคปลายของราชวงศ์หยวน ต่อถึงต้นราชวงศ์หมิง ล่อกวนตงเป็นผู้แต่งนิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก และได้ชื่อว่าเป็นผู้ปรับปรุงเรื่อง 108 ผู้กล้าหาญแห่งเขาเหลียงซาน ซึ่งนับเป็น 2 ใน 4 สุดยอดวรรณกรรมจีน (อีกสองเรื่องคือ ไซอิ๋ว และความฝันในหอแดง) ชีวประวัติของล่อกวนตงไม่ใคร่แน่ชัด แต่มีการยืนยันว่าเขามีชีวิตอยู่ในช่วงปลายราชวงศ์หยวนถึงต้นราชวงศ์หมิงจริง นักปราชญ์ผู้หนึ่งชื่อ เจียจงหมิง (賈仲明) บันทึกไว้ว่าเคยพบกับล่อกวนตงในราวปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและล่อกวนตง · ดูเพิ่มเติม »

วัดหนานผู่ถัว

วัดหนานผู่ถัว วัดหนานผู่ถัว(Nanputuo Temple) วัดเก่าแก่สมัยราชวงศ์ถัง ใหญ่มากในเมืองเซียะเหมิน นมัสการพระโพธิสัตว์ กวนอิมปางพันมือ เพื่อความเป็นสิริมงคล ซึ่งในทุก ๆ ปีชาวพุทธทั่วโลก จะหลั่งไหลกันมาสักการะอย่างไม่ขาดสาย หนานผู่ถัว.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและวัดหนานผู่ถัว · ดูเพิ่มเติม »

วัดเส้าหลิน

วัดเส้าหลินหรือสำนักเส้าหลิน (เส้าหลินซื่อ; แต้จิ๋ว: เสี้ยวลิ้มยี่; ฮกเกี้ยน: เชี้ยวหลิมซี; คำแปล: วัดป่าบนเขาเส้าซื่อ) เป็นวัดทางพระพุทธศาสนานิกายมหายานที่มีความเก่าแก่อายุมากกว่า 1,500 ปี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเทือกเขาซงซาน หนึ่งในจำนวนห้ายอดเขาอันศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของชาวจีน เป็นเทือกเขาที่มีชื่อเสียงมากที่สุดทั้งในด้านของประวัติศาสตร์และในแวดวงยุทธภพ ประกอบด้วยยอดเขาน้อยใหญ่จำนวน 72 ยอด แบ่งเป็นสองกลุ่มคือในกลุ่มของเขาไท่ซื่อ จำนวน 36 ยอด และกลุ่มของเขาเส้าซื่อ จำนวน 36 ยอด ในอำเภอเติงเฟิง เมืองเจิ้งโจว มณฑลเหอหนาน ประเทศจีน อยู่กึ่งกลางระหว่างเมืองเจิ้งโจวและเมืองลั่วหยาง บริเวณรอบ ๆ วัดเส้าหลินเป็นพื้นที่โล่งกว้าง ใช้สำหรับฝึกวิทยายุทธของหลวงจีน รายล้อมด้วยป่าเจดีย์หรือถ่าหลิน ซึ่งเป็นสุสานของอดีตเจ้าอาวาสและหลวงจีน ซึ่งมีมาตั้งแต่ในยุคสมัยของราชวงศ์ถัง วัดเส้าหลินมีชื่อเสียงโด่งดังมากที่สุดในประเทศจีนและในต่างประเทศ ได้รับการกล่าวขานในเรื่องของกระบวนท่าวิทยายุทธ เพลงหมัดมวย พลังลมปราณและกังฟูเส้าหลินเป็นอย่างมาก เป็นแหล่งวิชาการต่อสู้และศิลปะการป้องกันตัวที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของจีน ปรากฏชื่อในนิยายกำลังภายในหลายต่อหลายเรื่อง ซึ่งล้วนแต่กล่าวถึงวิชาเพลงหมัดมวย พลังลมปราณและกังฟูเส้าหลินอยู่เสมอ โดยเฉพาะนิยายกำลังภายในของกิมย้งเช่น มังกรหยก, จอมใจจอมยุทธ์, จิ้งจอกภูเขาหิมะ เป็นต้น ปัจจุบันมีหลวงจีนที่บวชเพื่อศึกษาธรรมะและกังฟูจำนวน 180 รูป มีหลวงจีน ซือ หย่งซิน ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน เป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งในประเทศจีน ที่ทางรัฐบาลจีนได้ร้องขอต่อองค์กรยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก และได้รับการพิจารณาให้เป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ร่วมกับโบราณสถานอีก 5 แห่ง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและวัดเส้าหลิน · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศจีน

นาพุทธได้เข้ามาในประเทศจีน ดังที่ปรากฏในหลักฐาน เมื่อประมาณ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและศาสนาพุทธในประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในเอเชียกลาง

อเชียกลาง เป็นสถานที่อันเป็นที่ตั้งของประเทศคีร์กีซสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศเติร์กเมนิสถาน และทางตอนใต้ของประเทศคาซัคสถาน นอกจากนี้ยังรวมไปถึงเขตปกครองตนเองทิเบต เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ของสาธารณรัฐประชาชนจีน บางส่วนของประเทศมองโกเลีย และไซบีเรียตอนใต้ด้วย ในดินแดนเอเชียกลางนี้เองที่เป็นแหล่งชุมนุมศิลปกรรมวัตถุที่เคารพบูชาในพุทธสาสนา โดยในอดีตได้เคยเป็นศูนย์กลาง และเส้นทางเผยแผ่พุทธศาสนามาหลายศตวรรษ โดยประเทศจีนเองก็ได้รับพุทธศาสนาจากอินเดียโดยผ่านมาจากเส้นทางนี้ นอกจากนี้เอเชียกลางยังเป็นศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญระหว่างจีน อินเดีย และประเทศต่างๆในแถบยุโรป จนเกิดตำนานเส้นทางสายไหม ฉะนั้นเอเชียกลางจึงเป็นศูนย์รวมของวัฒนธรรมอันหลากหลาย โดยมีพุทธสถาน และปูชนียสถานมากมายในอดีต เช่น วัดวาอาราม ถ้ำ สถูป ภาพจิตรกรรม ประติมากรรม คัมภีร์ และเอกสารจดหมายเหตุต่างๆ ที่เป็นภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาโขรฐี และภาษาจีน เป็นต้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและศาสนาพุทธในเอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ศึกลำน้ำเลือด

ึกลำน้ำเลือด (大運河; The Grand Canal) ซีรีส์จีนฟอร์มยักษ์จาก ทีวีบี ออกอากาศครั้งแรกเมื่อปี 2530 เพื่อฉลองครบรอบ 20 ปี ของทีวีบีนำแสดงโดยดาราชื่อดังอย่าง เหลียง เฉาเหว่ย หลิวชิงหวิน หวงเย่อหัว.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและศึกลำน้ำเลือด · ดูเพิ่มเติม »

สวนหนานเหลียน

ลาใจกลางสวนหนานเหลียน สวนหนานเหลียน สวนหนานเหลียน (ภาษาจีน:南蓮園池) คือ สวนจีนแห่งหนึ่งบนเนินเขาไดมอนด์ เขตเกาลูน ฮ่องกง สวนแห่งนี้มีพื้นที่ 3.5 เฮกตาร์ โดยได้รับการออกแบบบนเนินเขาในรูปแบบสวนของราชวงศ์ถัง ซึ่งประกอบด้วยโครงสร้างไม้ หิน ต้นไม้ และน้ำ สวนแห่งนี้คือโครงการร่วมกันสำนักชิลิน (Chi Lin Nunnery) และรัฐบาลฮ่องกง และเปิดสู่สาธารณชนเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและสวนหนานเหลียน · ดูเพิ่มเติม »

สวนจัวเจิ้ง

วนจัวเจิ้ง (Humble Administrator’s Garden) เป็นสวนที่มีชื่อเสียงมากแห่งหนึ่งในเมืองซูโจว และด้วยพื้นที่ขนาด 51,950 ตารางเมตร สวนจัวเจิ้งจึงเป็นสวนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในซูโจว ตั้งอยู่เลขที่ 178 ถนนตงเป่ย (东北街178号) ทางตะวันออกของเมือง และยังเป็น 1 ใน 4 ของสวนที่สำคัญที่สุดของประเทศจีน คำว่า "จัวเจิ้ง" หมายถึง สวนของขุนนางผู้ถ่อมตน สร้างขึ้นตามแบบสวนจีนที่ได้รับการยกย่องให้เป็นสวนที่มีความประณีตงดงามมากที่สุดในทางตอนใต้ของประเทศจีน และได้รับการบันทึกเป็นมรดกโลกโดยองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและสวนจัวเจิ้ง · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก

มก๊ก (Romance of the Three Kingdoms) เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง จัดเป็นวรรณกรรมเพชรน้ำเอกของโลก เป็นมรดกทางปัญญาของปราชญ์ชาวตะวันออกที่สุดยอด มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากกว่า 10 ภาษาการแปลสามก๊กในปัจจุบัน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

สำนักรินไซ

ำนักรินไซ เป็นหนึ่งในสามสำนักของศาสนาพุทธนิกายเซน ของญี่ปุ่น (อีกสองสำนักคือ สำนักโซโต และ สำนักโอบะกุ).

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและสำนักรินไซ · ดูเพิ่มเติม »

สือดิบผู้จ่อง

ือดิบผู้จ่อง(古壮字 gǔ Zhuàngzì หรือ 方块壮字 fāngkuài Zhuàngzì)เป็นตัวอักษรพื้นเมืองของชาวจ้วงซึ่งเรียกตนเองว่าผู้จ่อง วิวัฒนาการมาจากอักษรจีนแบบเดียวกับอักษรจื๋อโนมที่ใช้เขียนภาษาเวียดนาม โดยสือดิบหนึ่งตัวจะประกอบด้วยอักษรจีนสองตัว ตัวหนึ่งแทนเสียง อีกตัวหนึ่งแทนความหมาย เช่นคำว่า "นา" จะใช้อักษรจีนที่อ่านว่า "หน่า" ผสมกับตัวที่อ่านว่า "หลาย"ซึ่งหมายถึงนาในภาษาจีน มาสร้างเป็นตัวสือดิบอ่านเป็นภาษาจ้วงว่า "นา" เป็นต้น ต้นกำเนิดของอักษรสือดิบนั้นไม่มีหลักฐานแน่นอน นักวิชาการบางส่วนกล่าวว่ามีกำเนิดสมัยราชวงศ์ถัง บางส่วนกล่าวว่าเริ่มใช้ในสมัยราชวงศ์ซ้อง อย่างไรก็ตาม สือดิบไม่ได้มีสถานะเป็นอักษรราชการ เพราะชาวจ้วงอยู่ภายใต้การปกครองของจีน จึงใช้ภาษาจีนและอักษรจีนเป็นภาษาและอักษรราชการ ส่วนมากชาวจ้วงใช้สือดิบบันทึกเพลงและวรรณกรรมพื้นบ้าน เขียนจดหมายหรือใช้ในทางไสยศาสตร์ในแวดวงของหมอผีโดยใช้ปนกับอักษรจีน สือดิบจัดว่าเป็นอักษรที่ไม่ได้พัฒนามากนัก ปัจจุบันมีสือดิบเพียง 2,000 ตัวซึ่งถือว่าไม่เพียงพอต่อการใช้งานในฐานะอักษรภาพ นอกจากนั้น ภาษาจ้วงยังมีแตกต่างไปหลายสำเนียง แต่ละท้องถิ่น กำหนดสือดิบของตนขึ้นใช้โดยไม่มีสือดิบมาตรฐานสำหรับคนที่อยู่ต่างท้องที่กัน นอกจากนี้ การนำอักษรจีนมาใช้ปนกับสือดิบก็มีวิธีใช้ต่างกันไป บางครั้งนำมาใช้แทนเสียงโดยไม่คำนึงถึงความหมาย บางครั้งนำมาใช้โดยยึดความหมายแต่อ่านเป็นภาษาจ้วง ตัวอย่างเช่น อักษรจีนที่แปลว่า "ข้าพเจ้า" เมื่อนำมาใช้ในสือดิบจะใช้แต่ความหมาย โดยอ่านออกเสียงว่าเป็นภาษาจ้วงว่า "กู" เป็นต้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและสือดิบผู้จ่อง · ดูเพิ่มเติม »

สุสานหลวงเจา (ราชวงศ์ถัง)

สุสานหลวงเจาแห่งจักรพรรดิถังไท่จง สุสานหลวงเจา (Zhao Mausoleum) ที่ฝั่งพระศพของ จักรพรรดิถังไท่จง จักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่แห่ง ราชวงศ์ถัง ตั้งอยู่ที่ มณฑลส่านซี หมวดหมู่:ราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและสุสานหลวงเจา (ราชวงศ์ถัง) · ดูเพิ่มเติม »

สฺวี่ จิ้งจง

สฺวี่ จิ้งจง (ค.ศ. 592 – 20 กันยายน ค.ศ. 672) ชื่อรองว่า หยันสู (延族) เมื่อสิ้นชีวิตแล้วได้บรรดาศักดิ์ว่า เกาหยางกงกง (高陽恭公) เป็นข้าราชการชาวจีนในสมัยราชวงศ์ถัง ดำรงตำแหน่งอัครมหาเสนาบดีในรัชกาลของจักรพรรดิถังเกาจง (唐高宗) และมีอำนาจมากเพราะความสนิทชิดเชื้อกับอู่ เจ๋อเทียน (武則天) มเหสีของจักรพรรดิถังเกาจง หมวดหมู่:ขุนนางในสมัยราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและสฺวี่ จิ้งจง · ดูเพิ่มเติม »

สีในวัฒนธรรมจีน

Red paper lanterns for sale in เซี่ยงไฮ้, 2012. The color red symbolizes luck and is believed to ward away evil. สีในวัฒนธรรมจีน หมายถึง สีต่าง ๆ ที่มีความหมายทั้งในทางที่ดี (auspicious; 吉利) และไม่ดี (inauspicious; 不利) ตัวอักษรภาษาจีนของคำว่า สี คือ 顏色 หรือ เหยียนเซอะ (yánsè) ในสมัยจีนโบราณมักใช้ตัวอักษร 色 (sè) เพียงตัวเดียวเท่านั้น ซึ่งมีความหมายโดยตรงถึงสีบนใบหน้า (color in the face) หรือ อารมณ์ความรู้สึก (emotion) เพราะคำว่า 'เหยียน' หมายถึงพื้นที่ระหว่างคิ้ว 'เซอะ' หมายถึงลมปราณ ปราชญ์จีนโบราณกล่าวว่า เมื่อคนเราเกิดความรู้สึกต่าง ๆ ที่ใจ พลังงาน หรือ 'ชี่' จะไปแสดงออกที่หว่างคิ้ว กลายเป็นอารมณ์หรือสีหน้า เริ่มมีการใช้คำว่า หยานเซอะ (yánsè) ในความหมายของสีทุกสีในช่วงสมัยราชวงศ์ถัง อีกทั้งมีสำนวนจีนที่กล่าวว่า “wǔ (ห้า) yán liù (หก) sè” ใช้ในการอธิบายถึงความหลากหลายของสี จึงเป็นการใช้คำว่า 顏色 หรือ เหยียนเซอะ (สี) ในความหมายทั่วไป.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและสีในวัฒนธรรมจีน · ดูเพิ่มเติม »

สี่ยอดพธู

ี่ยอดพธู (Four Beauties) เป็นคำเรียกสตรีสี่คนที่ได้ชื่อว่างดงามที่สุดในประวัติศาสตร์จีนโบราณ โดยทั้งสี่คนนี้มีบทบาทสำคัญที่ทำให้สถานการณ์บ้านเมืองพลิกผันถึงขั้นล่มสลายของอาณาจักรหรือเป็นจุดเปลี่ยนของประวัติศาสตร์ คำโคลงจีนที่ใช้เรียกสตรีทั้งสี่นี้ได้แก่ "沉鱼落雁,闭月羞花" ถาวร สิกขโกศล แปลเป็นไทยว่า รายชื่อนามสตรีทั้งสี่ เรียงตามช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ดังนี้.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและสี่ยอดพธู · ดูเพิ่มเติม »

สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำประเทศไทย

นเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำประเทศไทย (中华人民共和国驻泰王国大使馆) ตั้งอยู่เลขที่ 57 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทร.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามชิลลา-ถัง

งครามชิลลา-ถัง สงครามครั้งแรกภายหลังที่อาณาจักรชิลลาสามารถรวมชาติให้เป็นหนึ่งเดียวได้สำเร็จเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและสงครามชิลลา-ถัง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามแพ็กเจ–ถัง

งครามแพ็กเจ–ถัง (Baekje–Tang War; 唐灭百济之战) เป็นสงครามระหว่างอาณาจักรแพ็กเจกับกองทัพผสมราชวงศ์ถัง/อาณาจักรชิลลา เกิดขึ้นระหว่าง..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและสงครามแพ็กเจ–ถัง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโคกูรยอ-ถัง

สงครามโคกูรยอ-ถัง (Goguryeo-Tang War) สงครามครั้งสำคัญครั้งสุดท้ายของ อาณาจักรโคกูรยอ เกิดขึ้นในช่วงปี 1188-1211 เป็นการสู้รบกันระหว่าง กองทัพอาณาจักรโคกูรยอ และกองทัพพันธมิตร ซิลลา และ ถัง ซึ่งสุดท้ายเป็นฝ่ายอาณาจักรโกคูรยอที่พ่ายแพ้ต่อกองทัพพันธมิตรทำให้ยุค สามก๊กแห่งเกาหลี สิ้นสุดลงและเป็นจุดเริ่มต้นของ สงครามซิลลา-ถัง ในเวลาต่อมา หมวดหมู่:อาณาจักรโคกูรยอ.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและสงครามโคกูรยอ-ถัง · ดูเพิ่มเติม »

หมื่นปี

PAGENAME ในภาษาเอเชียตะวันออกหลายภาษา คำว่า "หมื่นปี" ใช้อวยพรให้อายุยืน มีที่มาจากคำถวายพระพรฮ่องเต้ว่า "ทรงพระเจริญหมื่นปี หมื่นปี หมื่น ๆ ปี" ("May His Majesty live for ten thousand years, ten thousand years, ten thousand of ten thousand years").

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหมื่นปี · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะแพราเซล

thumb หมู่เกาะแพราเซล (Paracel Islands) หรือในภาษาจีนเรียกว่า หมู่เกาะซีซา (西沙群岛, Xisha Islands) หรือในภาษาเวียดนามเรียกว่า หมู่เกาะฮหว่างซา (Quần đảo Hoàng Sa) เป็นกลุ่มเกาะอยู่ในเขตมณฑลไห่หนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน และเป็นดินแดนพิพาทที่ถูกอ้างสิทธิโดยประเทศเวียดนามและไต้หวัน พื้นที่หมู่เกาะถูกครอบครองบางส่วนโดยจีนมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 7 ในสมัยราชวงศ์ถังและราชวงศ์ซ่ง และบางส่วนโดยเวียดนามมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 Tập San Sử Địa,, Geographical Digest, Vol 29., Saigon, 1974.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหมู่เกาะแพราเซล · ดูเพิ่มเติม »

หยัน ลี่เปิ่น

ภาพวาดของ หยันลี่เปิ่น หยันลี่เปิ่น (601 — 14 พฤศจิกายน 673) จิตรกรชาวจีนและขุนนางในช่วงต้น ราชวงศ์ถัง ผู้มีผลงานเด่นในการวาดภาพของจักรพรรดิตั้งแต่ ราชวงศ์ฮั่น ถึง ราชวงศ์สุย หมวดหมู่:ขุนนางจีน หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์สุย หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหยัน ลี่เปิ่น · ดูเพิ่มเติม »

หยางกุ้ยเฟย์

หยางกุ้ยเฟย์ หยางกุ้ยเฟย์ ตามสำเนียงกลาง หรือ เอียกุยฮุย ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (26 มิถุนายน ค.ศ. 719 – 15 กรกฎาคม ค.ศ. 756) ชื่อตัวว่า หยาง อฺวี้-หฺวัน และชื่อเมื่อบวชว่า ไท่เจิน (太真; "จริงยิ่ง") เป็นสนมเอกของจักรพรรดิเสฺวียนจงแห่งราชวงศ์ถัง และเป็นหนึ่งในสี่ยอดพธู ในปลายรัชกาลจักรพรรดิเสฺวียนจง แม่ทัพอาน ลู่ชาน (安祿山) ก่อกบฏ จักรพรรดิและข้าราชการหนีจากเมืองฉางอานไปเมืองเฉิงตู บรรดาทหารขอให้จักรพรรดิประหารสนมหยางเสีย เพราะเชื่อว่า หยาง กั๋วจง (楊國忠) ญาติของสนมหยาง เป็นตัวการกบฏ จักรพรรดิจึงสั่งให้ขันทีเกา ลี่ชื่อ (高力士) รัดคอสนมหยางจนสิ้นชีวิต.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหยางกุ้ยเฟย์ · ดูเพิ่มเติม »

หลัว ปินหวัง

หลัวปินหวัง (ค.ศ. 640 - 29 ธันวาคม ค.ศ. 684) เกิดที่เมืองอู่โจว มณฑลเจ้อเจียง เป็นหนึ่งในสี่กวีที่มีชื่อเสียงที่สุดในช่วงต้นราชวงศ์ถัง ซึ่งประกอบด้วย หลัวปินหวัง หวังปัว (王勃) หยางเจียง (杨炯) และ หลูจ้าวหลิน (卢照邻) หลัวปินหวังใช้ชีวิตอยู่ในราชสำนักของจักรพรรดิถังเกาจง แต่ถูกปลดและจำคุก เนื่องจากไปวิพากษ์วิจารณ์ฮองเฮาอู่เจ๋อเทียน ต่อมาเมื่อได้รับอิสรภาพ เขาก็ยังเขียนบทกวีที่มีเนื้อหาเสียดสีอู่เจ๋อเทียนอีกหลายครั้ง บทกวีที่มีชื่อเสียงของเขา คือบทที่มีชื่อว่า "Ode to the Goose" ที่เขียนเมื่อเขามีอายุเพียง 7 ปี.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลัว ปินหวัง · ดูเพิ่มเติม »

หลิวซื่อ

หลิวซื่อ (Liu Shi, ? – 659) ชื่อรอง จื่อเฉา (Zishao) อัครมหาเสนาบดีในช่วงต้น ราชวงศ์ถัง ระหว่างรัชสมัย จักรพรรดิถังเกาจง จักรพรรดิองค์ที่ 3 หลานสาวของเขาได้เป็นจักรพรรดินีพระองค์แรกในจักรพรรดิเกาจงคือ จักรพรรดินีหวัง ทำให้เขาได้รับตำแหน่งอัครมหาเสนาบดีต่อมาเมื่อจักรพรรดินีหวังและ พระสนมเซียว พระสนมเอกถูกกำจัดไปแล้วใน ค.ศ. 655 ทำให้หลิวซื่อถูกจับและถูกประหารตามพระราชโองการของจักรพรรดิเกาจงเมื่อ ค.ศ. 659 หมวดหมู่:ขุนนางจีน หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์สุย.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลิวซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

หลี กวั่ง

การขยายอาณาเขตของราชวงศ์ฮั่นซึ่งเส้นทางการขยายอาณาเขตของหลี่กวงอยู่เส้นสีแดง หลี่กวง (Li Guang; เสียชีวิต 119 ปีก่อนคริสตกาล) ขุนศึกในสมัย ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก ผู้ได้รับสมญานามจากพวก ซฺยงหนู ว่า แม่ทัพเหินหาว เขาฆ่าตัวตายไม่นานหลังจาก ยุทธการที่โม่เป่ย เมื่อ 119 ปีก่อนคริสตกาล หลี่กวงมาจากตระกูลหลี่แห่งหลงซีอันเป็นตระกูลที่เป็นสาขาย่อยของตระกูลหลี่โดยเขาเป็นทายาทของ เล่าจื๊อ นักปราชญ์คนสำคัญแห่ง ยุควสันตสารท ผู้แต่งหนังสือ เต้าเต๋อจิง และแม่ทัพแห่งรัฐฉิน หลี่ซิน และเป็นบรรพบุรุษของกษัตริย์แห่ง ราชวงศ์เหลียงตะวันตก และจักรพรรดิแห่ง ราชวงศ์ถัง นอกจากนี้เขายังเป็นปู่ของแม่ทัพ หลี่หลิง ที่แปรพักตร์ไปเข้ากับพวก ซฺยงหนู หมวดหมู่:ขุนนางจีน หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันตก.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลี กวั่ง · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ ฉุนซฺวี่

พระเจ้าจฺวังจงแห่งถังยุคหลัง (後唐莊宗; 2 ธันวาคม 885 – 15 มีนาคม 926) ชื่อตัวว่า หลี่ ฉุนซฺวี่ (李存朂, 李存勗 หรือ 李存勖) และชื่อรองว่า ย่าจึ (亞子) เป็นพระเจ้าแผ่นดินในราชวงศ์ถังยุคหลังสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร อยู่ในสมบัติตั้งแต่ปี 923 ถึงปี 926 หลี่ ฉุนซฺวี่ เป็นบุตรของหลี่ เค่อย่ง (李克用) แม่ทัพราชวงศ์ถัง ต่อมา จู เวิน (朱溫) แม่ทัพอีกคนแห่งราชวงศ์ถัง โค่นราชวงศ์ถังแล้วตั้งราชวงศ์เหลียงยุคหลังขึ้น หลี่ ฉุนซฺวี่ จึงรวมกำลังมารบกับราชวงศ์เหลียงยุคหลังเพื่อกู้ราชวงศ์ถัง เขาทำตั้งราชวงศ์ถังขึ้นอีกครั้งซึ่งประวัติศาสร์เรียก ราชวงศ์ถังยุคหลัง แล้วตั้งตัวเป็นกษัตริย์ถัง หลี่ ฉุนซฺวี่ ครองสมบัติได้สามปี กัว ฉงเชียน (郭從謙) ข้าราชการของเขา ก็ก่อกบฏในปี 926 และหลี่ ฉุนซฺวี่ ตายในระหว่างสู้กับกบฏ หลี่ ซื่อเยฺวี๋ยน (李嗣源) ลูกบุญธรรมของ หลี่ ฉุนซฺวี่ จึงขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ถูกปลงพระชนม์ หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลี่ ฉุนซฺวี่ · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ ซิ่น

หลี่ซิน (Li Xin) แม่ทัพแห่ง รัฐฉิน ในช่วง ยุครณรัฐ เขามีส่วนสำคัญในการช่วย ฉินฉื่อหฺวังตี้ หรือ ฉินอ๋องให้สามารถรวบรวมแผ่นดินทั้งหกเป็นปึกแผ่นนอกจากนี้เขายังเป็นบรรพบุรุษรุ่นที่ 5 ของแม่ทัพคนสำคัญในสมัย ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก เจ้าของสมญานาม แม่ทัพเหินหาว หลี กวั่ง และจักรพรรดิของ ราชวงศ์ถัง ทุกพระองค์.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลี่ ซิ่น · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ ไป๋

หลี่ ไป๋ (Li Bai) (ค.ศ. 701-762) เป็นกวีจีนที่ยิ่งใหญ่แห่งราชวงศ์ถัง ได้รับยกย่องเป็น กวีผู้ยิ่งใหญ่ หนึ่งในสองคนเท่าที่ปรากฏในประวัติศาสตร์งานประพันธ์ของจีน เคียงคู่กันกับชื่อของตู้ฝู่ บทกวีของหลี่ไป๋ได้รับอิทธิพลจากจินตภาพของเต๋า และการนิยมชมชอบการดื่มสุรา เช่นเดียวกับ ตู้ฝู่ เขาเป็นหนึ่งในแปดของ แปดอมตะไหสุรา (飲中八仙, Eight Immortals of the Wine Cup) ซึ่งปรากฏชื่ออยู่ในงานกวีของตู้ฝู่ หลี่ไป๋ได้ใช้เวลาส่วนใหญ่ในชีวิตไปกับการท่องเที่ยว ในกรณีของเขาเนื่องจากมีฐานะดีจึงสามารถท่องเที่ยวได้ ไม่ใช่เพราะว่าความยากจนจึงต้องท่องเที่ยวไปในที่ต่าง ๆ หลี่ไป๋เคยเล่าว่าครั้งหนึ่ง เขาได้ตกจากเรือลงไปในแม่น้ำแยงซี ขณะกำลังเมาและพยายามจะไขว่คว้าพระจันทร์ งานกวีนิพนธ์ของหลี่ไป๋ยังคงอยู่มาจนถึงปัจจุบันมากกว่า 1,100 ชิ้น มีการแปลบทกวีของเขาไปเป็นภาษาตะวันตกครั้งแรกในปี พ.ศ. 2405 โดย มาร์ควิส ดีเฮอร์วีย์ เดอ แซงต์เดนีส์ ในหนังสือ Poésies de l'Époque des Thang และต่อมาในปี พ.ศ. 2444 งานกวีนิพนธ์ของหลี่ไป๋ก็เป็นที่รู้จักกว้างขวางในแวดวงวรรณกรรมตะวันตก เมื่อสำนักพิมพ์ Herbert Allen Giles พิมพ์เผยแพร่ผลงานเรื่อง "ประวัติศาสตร์วรรณคดีจีน" (History of Chinese Literature).

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลี่ ไป๋ · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ เสียน (เจ้าชายแห่งราชวงศ์ถัง)

องค์ชายหลี่เสียน (Li Xian, ค.ศ. 653-684) โอรสองค์ที่ 6 ใน จักรพรรดิถังเกาจง และเป็นโอรสองค์ที่ 2 ในพระนาง บูเช็กเทียน ประสูติเมื่อ ค.ศ. 653 (พ.ศ. 1196) เมื่อหลี่หงพระเชษฐาซึ่งเป็นรัชทายาทได้สิ้นพระชนม์ลงในปี ค.ศ. 675 (พ.ศ. 1218) ขณะพระชนม์เพียง 23 พรรษาหลี่เสียนจึงขึ้นเป็นองค์รัชทายาทแทนดำรงตำแหน่งอยู่ได้ 8 ปีก็ถูกถอดในปี ค.ศ. 683 ก่อนถังเกาจงสวรรคตได้ไม่นานขณะพระชนม์ได้ 30 พรรษาโดยทรงถูกเนรเทศไป เสฉวน และสิ้นพระชนม์ที่นั้นในปีต่อมาขณะพระชนม์ได้ 31 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลี่ เสียน (เจ้าชายแห่งราชวงศ์ถัง) · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ เจี้ยนเฉิง

หลี่ เจี้ยนเฉิง (ค.ศ. 589 – 2 กรกฎาคม ค.ศ. 626) ได้รับการสถาปนาเป็น รัชทายาทอิ่น พระราชโอรสองค์ใหญ่และรัชทายาทใน จักรพรรดิถังเกาจู่ ปฐมจักรพรรดิแห่ง ราชวงศ์ถัง หลี่ เจี้ยนเฉิง ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลี่ เจี้ยนเฉิง · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ เค่อ

หลี่ เค่อ (เสียชีวิต 6 มีนาคม ค.ศ. 653) เมื่อเสียชีวิตแล้วได้ชื่อว่า องค์ชายยฺวี่หลิน และเป็นที่รู้จักในชื่อ องค์ชายอู๋ องค์ชายแห่ง ราชวงศ์ถัง เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 3 ใน จักรพรรดิถังไท่จง ที่ประสูติแต่ พระสนมหยาง พระราชธิดาใน จักรพรรดิสุยหยาง จักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่ง ราชวง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลี่ เค่อ · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ เฉิงเฉียน

หิงชานมินกงหวัง (618 – 4 มกราคม 645) พระนามเดิม หลี่ เฉิงเฉียน พระนามรอง เกา หมิง องค์รัชทายาทแห่ง ราชวงศ์ถัง โดยพระองค์เป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่และรัชทายาทในจักรพรรดิถังไท่จง แต่ถูกแทนที่โดยหลี่จื้อ (ในเวลาต่อมาคือ จักรพรรดิถังเกาจง) องค์ชายหลี่ เฉิงเฉียน ได้รับการสถาปนาเป็นรัชทายาทเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลี่ เฉิงเฉียน · ดูเพิ่มเติม »

หลี่มี่ (ราชวงศ์สุย)

หลี่มี่ (Li Mi, พ.ศ. 1125 – พ.ศ. 1162) ชื่อรอง เสฺวียนสุ่ย (Xuansui) ผู้นำกบฏซึ่งเคลื่อนตัวเพื่อล้มล้างการปกครองของ ราชวงศ์สุย เขาเป็นที่ปรึกษาให้กับนายพลของราชวงศ์สุย หยางเสฺวียนกัง ในการกบฏต่อ จักรพรรดิสุยหยาง เมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลี่มี่ (ราชวงศ์สุย) · ดูเพิ่มเติม »

หลี่หยวนจี๋

ฉีกงหวัง (603 – 7 กรกฎาคม 626) พระนามเดิม หลี่หยวนจี๋ องค์ชายแห่ง ราชวงศ์ถัง โดยเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 4 และองค์สุดท้ายใน จักรพรรดิถังเกาจู่ ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ถังที่ประสูติแต่ ท่านหญิงโต้ว องค์ชายหลี่หยวนจี๋ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลี่หยวนจี๋ · ดูเพิ่มเติม »

หลี่หง

องค์ชายหลี่หง (Li Hong) อดีตรัชทายาทในสมัยราชวงศ์ถัง องค์ชายหลี่หงประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลี่หง · ดูเพิ่มเติม »

หลี่อี้ฟู่

หลี่อี้ฟู่ (Li Yifu, 1157 – 1209) ขุนนางในช่วงต้น ราชวงศ์ถัง โดยเป็น อัครมหาเสนาบดี ในรัชสมัย จักรพรรดิถังเกาจง จากการสนับสนุนของ จักรพรรดินีอู่ หรือ บูเช็กเทียน จักรพรรดินีองค์ที่ 2 ในจักรพรรดิเกาจง แต่เพราะการทุจริตฉ้อราษฎร์บังหลวงทำให้หลี่อี้ฟู่ถูกปลดจากตำแหน่งเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลี่อี้ฟู่ · ดูเพิ่มเติม »

หลี่จิ้ง (ขุนศึก)

หลี่จิ้ง (Li Jing, 1114 – 2 กรกฎาคม 1192) ขุนศึกที่มีชีวิตอยู่ในช่วงต้น ราชวงศ์ถัง และทรงอิทธิพลถึงขีดสุดในรัชสมัย จักรพรรดิถังไท่จง หลี่จิ้งเกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลี่จิ้ง (ขุนศึก) · ดูเพิ่มเติม »

หลี่จง

องค์ชายหลี่จง (Li Zhong, 1186 – 6 มกราคม 1208) พระนามรองว่า เจิ้งเปิ่น (Zhengben) มีพระอิสริยยศเป็น เจ้าชายแห่งหยัน (Prince of Yan) รัชทายาทแห่ง ราชวงศ์ถัง โดยพระองค์เป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ใน จักรพรรดิถังเกาจง (หลี่จื้อ) ได้รับการสถาปนาเป็นรัชทายาทเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลี่จง · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ฉือจี้

หลี่ฉือจี้ (594 – 31 ธันวาคม 669) ชื่อรอง เหมากง เมื่อสิ้นชีวิตได้รับบรรดาศักดิ์เป็น อิงเจิ้งอู่กงหวัง แม่ทัพชาวจีนในช่วงต้น ราชวงศ์ถัง แต่เดิมเขามีนามสกุลว่า สฺวี ทำให้เขามีชื่อเดิมว่า สฺวีฉือจี้ ต่อมา จักรพรรดิถังเกาจู่ ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ถังได้พระราชทานแซ่ หลี่ อันเป็นนามราชสกุลของราชวงศ์ถังให้แก่สฺวีฉือจี้ทำให้เขาเปลี่ยนชื่อเป็นหลี่ฉือจี้แต่ในบางครั้งผู้คนก็เรียกเขาว่า สฺวีเหมากง (ชื่อที่นำสกุลเดิมกับชื่อรองมารวมกัน) ต่อมาในรัชสมัย จักรพรรดิถังเกาจง เขาเป็นที่รู้จักในนาม หลี่จี้ เพราะคำว่า ฉือ ไปพ้องกับคำว่า ซื่อ ที่อยู่ในคำว่า หลี่ซื่อหมิน อันเป็นพระนามเดิมของ จักรพรรดิถังไท่จง จึงต้องตัดคำว่าฉือออก แต่เดิมหลี่ฉือจี้เป็นแม่ทัพของ หลี่มี่ ผู้นำกบฏในช่วงปลาย ราชวงศ์สุย ต่อมาหลี่ฉือจี้ได้เกลี้ยกล่อมให้หลี่มี่ยอมแพ้ต่อกองทัพถังจักรพรรดิเกาจู่จึงพระราชทานแซ่หลี่อันเป็นนามราชสกุลให้แก่เขาจากนั้นหลี่ฉือจี้ก็เจริญก้าวหน้าในตำแหน่งราชการเรื่อยมา กระทั่งช่วงฤดูร้อน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลี่ฉือจี้ · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ซู่เจี๋ย

องค์ชายหลี่ซู่เจี๋ย (Li Sujie, 1189 – 24 มิถุนายน 1233) ได้รับการสถาปนาเป็น ซู่กง เจ้าชายแห่ง ราชวงศ์ถัง โดยพระองค์เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 4 ใน จักรพรรดิถังเกาจง แต่เป็นพระองค์เดียวใน พระสนมเซียว ต่อมาเมื่อพระสนมเซียวและ จักรพรรดินีหวัง ถูกปลดและสำเร็จโทษตามแผนของ จักรพรรดินีอู่ (หรือ บูเช็กเทียน) องค์ชายหลี่ซู่เจี๋ยก็ถูกจับตามองโดยจักรพรรดินีอู่กระทั่งพระองค์ถูกปลงพระชนม์เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลี่ซู่เจี๋ย · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ไท่

ผูกงหวัง พระนามเดิมหลี่ไท่ (李泰, 1161 – 15 ธันวาคม 1195) เป็นเจ้าชายในราชวงศ์ถัง เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 4 ในจักรพรรดิถังไท่จง ที่ประสูติแต่จักรพรรดินีจางซุน หลี่ไท่ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลี่ไท่ · ดูเพิ่มเติม »

หลี่เสฺวียนป้า

หลี่เสฺวียนป้า (599 – 614) พระนามรอง ต้าเต๋อ พระราชโอรสองค์ที่ 3 ใน จักรพรรดิถังเกาจู่ สิ้นพระชนม์เมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลี่เสฺวียนป้า · ดูเพิ่มเติม »

หลี่เซี่ยว

องค์ชายหลี่เซี่ยว (? – 664) ได้รับการสถาปนาเป็น สฺวีกงหวัง เมื่อสิ้นพระชนม์ได้รับการสถาปนาเป็น หยวนเต้ากงหวัง องค์ชายแห่ง ราชวงศ์ถัง พระราชโอรสองค์รองใน จักรพรรดิถังเกาจง ที่ประสูติแต่พระสนมเจิ้ง หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหลี่เซี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

หวัง ปัว

หวัง ปัว (ค.ศ. 649 - 676) เขาเป็นหนึ่งในสี่กวีผู้มีชื่อเสียงที่สุดในช่วงต้น ราชวงศ์ถัง ซึ่งอีก 3 คนประกอบด้วย หลัว ปินหวัง หยาง เจียง และ หลู จ้าวหลิน โดยหวังปัวนั้นเป็นเพื่อนสนิทกับหลัวปินหวัง หมวดหมู่:กวีชาวจีน หมวดหมู่:ราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหวัง ปัว · ดูเพิ่มเติม »

หวงอี้ (นักเขียน)

หวงอี้ (อักษรจีน: 黄易 พินอิน: Huáng Yì; พ.ศ. 2495 – 5 เมษายน พ.ศ. 2560) เป็นนามปากกาของนักเขียนนิยายกำลังภายใน ชื่อภาษาอังกฤษคือ Huang Yi (ในปกหลังของหนังสือที่จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์บุ๊คส์ ใช้คำว่า Wong Yi อันเป็นสำเนียงกวางตุ้ง) ชื่อ หวงอี้ เป็นจีนกลาง ส่วนจีนแต้จิ๋วเรียกว่า อึงเอี๊ยะ หวงอี้เป็นชาวฮ่องกง เริ่มเขียนนิยายกำลังภายในเมื่อ ค.ศ. 1987 โดยช่วงแรกเขียนควบคู่ไปกับนิยายวิทยาศาสตร์ ในภายหลังจึงเปลี่ยนมาเขียนกำลังภายในเพียงอย่างเดียว หวงอี้เสียชีวิตเมื่อวันที่ 5 เมษายน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหวงอี้ (นักเขียน) · ดูเพิ่มเติม »

หัวเหยียน

นิกายหัวเหยียน หรือฮวาเหยียน (華嚴宗) หรือนิกายวอตังสกะ เป็นหนึ่งในคณะนิกายของพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน ถือพุทธธรรมคำสั่งสอนในอวตังสกสูตร หรือพุทธาวตังสกมหาไวปุลยสูตร เป็นหลัก นิกายนี้ก่อตั้งขึ้นในช่วงปลายราชวงศ์สุย รุ่งเรืองถึงขีดสุดในสมัยราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหัวเหยียน · ดูเพิ่มเติม »

หางโจว

หางโจว ทิวทัศน์ในปัจจุบันของทะเลสาบซีหู เมืองหางโจว มณฑลเจ้อเจียง ซึ่งในอดีตคือเมืองหลินอันราชธานีของซ่งใต้ หางโจว (จีน: 杭州; Hangzhou) เป็นเมืองหลวงของมณฑลเจ้อเจียง สาธารณรัฐประชาชนจีน เมืองหางโจว ซึ่งเป็นเมืองเก่าแก่ 1 ใน 6 ของประเทศจีน ปัจจุบันหางโจว ถือเป็นเมืองที่อยู่ในเขตภาคตะวันออกที่ได้รับการพัฒนาอย่างสูงสุดแล้ว ดังนั้นหางโจวจึงเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีว่า เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ มีวัฒนธรรมที่ยาวนาน และเป็นเมืองที่มีทัศนียภาพที่สวยสดงดงามเมืองหนึ่งของประเทศจีน รวมทั้งมั่งคั่งไปด้วยเภสัชอุตสาหกรรม และสถาบันศิลปะมากมาย เมืองหางโจวถือว่าเมืองดิจิตอลไร้สายได้ครอบคลุมถึงทางหลวงและตรอกเล็กซอยน้อยต่างๆในเมือง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและหางโจว · ดูเพิ่มเติม »

ห้าราชวงศ์

ห้าราชวงศ์ (Five Dynasty) (ค.ศ.907-960) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองต่อจากราชวงศ์ถังมีทั้งหมด 5ราชวงศ์ได้แก่ราชวงศ์โฮ่วเหลียง(Later Liang Dynasty)(ค.ศ.907-926)ราชวงศ์โฮ่วถัง(ค.ศ.926-936) ราชวงศ์โฮ่วจิ้น(ค.ศ.936-947)ราชวงศ์โฮ่วฮั่น(ค.ศ.947-950)ราชวงศ์โฮ่วโจว(ค.ศ.951-960)ก่อนที่ซ่งไท่จู่ ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ซ่งจะรวบรวมแผ่นดินจนเป็นปึกแผ่นได้สำเร็จ หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและห้าราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

อารามเมฆขาว

White Cloud Temple อารามเมฆขาว (白云观 ไป๋หวินก่วน; Baiyunguan) เป็นอารามในลัทธิเต๋า ตั้งอยู่ที่กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นหนึ่งใน "สามหลักของศาลบรรพบุรุษ" เป็นสุดยอดของโรงเรียนที่สมบูรณ์แบบของลัทธิเต๋า ภายใต้ชื่อ "วัดแรกใต้เงาแห่งสวรรค์" แรกเริ่มเดิมทีสร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์ถัง หลังจากปักกิ่งถูกควบคุมโดยกองทัพมองโกลในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและอารามเมฆขาว · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรพัลแฮ

มื่ออาณาจักรโคกูรยอแตกใน พ.ศ. 1211 ในครั้งนั้นมีผู้คนกลุ่มต่าง ๆ เป็นจำนวนมากอพยพหลบหนีออกจากโคกูรยอไปอย่างกระจัดกระจายไปทุกทิศทุกทางไปอาศัยอยุ่อย่างกระจัดกระจายในที่ต่าง ๆ กระทั่งใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและอาณาจักรพัลแฮ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรน่านเจ้า

อาณาจักรต่างๆสมัยก่อนมองโกล น่านเจ้าอยู่บริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน อาณาจักรน่านเจ้า หรือเจ้าทางใต้ (南詔) หรือจีนเรียกว่า สานสานโกวะ ตั้งขึ้นประมาณ พ.ศ. 1192 โดยพระเจ้าสีนุโล แห่งเหม่งแซ ต่อมาพระเจ้าพีล่อโก๊ะได้รวบรวมเมืองต่างๆ ที่แยกกันตั้งอยู่เป็นอิสระ 6 แคว้นคือ เหม่งแซ (Mengshe;蒙舍) ม่งซุย (Mengsui;蒙嶲) ลางเซียง (Langqiong;浪穹) เต็งตัน (Dengtan;邆賧) ซีล่าง (Shilang;施浪) และ ยู่ซี (Yuexi;越析) เข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับเหม่งแซได้สำเร็จ ตั้งเป็นอาณาจักรใหม่ขึ้น เรียกว่า อาณาจักรน่านเจ้า ในยุคแรกๆนั้น น่านเจ้าก็มีสัมพันธ์กับรัฐรอบๆ ทั้งราชวงศ์ฝ่ายใต้ของจีน และแคว้นเล็กๆในสุวรรณภูมิ ในรัชกาลของจักรพรรดิถังเสวียนจง ราชสำนักถังพยายามขยายอำนาจลงใต้ และมีการส่งกองทัพมาพิชิตอาณาจักรน่านเจ้า 2 ครั้งใหญ่ๆ แต่กองทัพถังก็พ่ายแพ้ยับเยินกลับไป..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและอาณาจักรน่านเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรแพ็กเจ

อาณาจักรแพ็กเจ (เกาหลี:백제, ฮันจา: 百濟; 18 ปีก่อนค.ศ. - ค.ศ. 660) สถาปนาขึ้นโดยพระเจ้าอนจอพระราชโอรสองค์เล็กในจักรพรรดิดงเมียงยองในพุทธศตวรรษที่ 13 เมื่อจักรวรรดิโคกูรยอพยายามจะกลืนอำนาจของอาณาจักรพูยอ พระเจ้าอนจอได้นำกำลังคนกลุ่มหนึ่งแยกตัวออกมาจากจักรวรรดิโคกูรยอลงมาทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นเขตอิทธิพลอำนาจของอาณาจักรมาฮัน โดยข้ามแม่น้ำฮันมา เลือกชัยภูมิอยู่ใกล้ๆกับที่เป็นโซล เมืองหลวงของเกาหลีใต้ในปัจจุบัน เพื่อตั้งเมืองใหม่ชื่อ วิเรซอง แล้วสถาปนาเป็นอาณาจักรซิปเจหลังสิ้นรัชกาลของพระองค์มีกษัตริย์ปกครองต่อมาอีกหลายพระองค์ จนถึงกษัตริย์รัชกาลที่ 31 ซึ่งเป็นรัชกาลสุดท้ายคือพระเจ้าอึยจา ก็พ่ายแพ้แก่กองทัพพันธมิตรซึ่งประกอบด้วยกองทัพชิลลาและกองทัพถังของจีนในปี ค.ศ. 660 (พ.ศ. 1203) ทำให้อาณาจักรแพ็กเจที่ปกครองมานานถึง 678 ปีก็ถึงกาลอวสาน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและอาณาจักรแพ็กเจ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรแพ็กเจใหม่

ูแบ็กเจ หรือ อาณาจักรแพ็กเจใหม่ (ค.ศ. 892 – ค.ศ. 936) เป็นหนึ่งในสามอาณาจักรหลังของเกาหลี (อีกสองอาณาจักรได้แก่อาณาจักรโคกูรยอใหม่และอาณาจักรชิลลา โดยถูกก่อตั้งโดย คยอน ฮวอน ใน ค.ศ. 900 และล่มสลายลงไปอีกใน ค.ศ. 936 โดยกองทัพของวังกอนปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โครยอมาโจมตี มีเมืองหลวงอยู่ที่ช็อนจู (ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดช็อลลาเหนือ) โดยหนังสือซัมกุกยูซาและซัมกุกซากิกล่าวว่าเป็นอาณาจักรสืบต่อมาจากอาณาจักรแพ็ก.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและอาณาจักรแพ็กเจใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

อู่ ซานซือ

อู่ ซานซือ (ตาย 7 สิงหาคม ค.ศ. 707) ฐานันดรศักดิ์เมื่อตายแล้วว่า เหลียงเซฺวียนหวัง เป็นขุนนางจีนสมัยราชวงศ์ถัง สมัยราชวงศ์โจวที่อู่ เจ๋อเทียน (武則天) ผู้เป็นป้าของเขา สถาปนาขึ้น และสมัยราชวงศ์ถังที่รื้อฟื้นหลังยุบราชวงศ์โจว เมื่ออู่ เจ๋อเทียน ขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิราชวงศ์โจว ได้ตั้งเขาเป็นเจ้า ทั้งให้ดำรงตำแหน่งอัครมหาเสนาบดี เขาดำรงตำแหน่งนี้ต่อมาจนราชวงศ์ถังที่รื้อฟื้นใหม่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิถังจงจง (唐中宗) ผู้เป็นโอรสของอู่ เจ๋อเทียน และเป็นหลานของเขา เขาจึงมีอิทธิพลมากในสมัยอู่ เจ๋อเทียน และถังจงจง ถึงขนาดที่เขากล้าเป็นชู้กับจักรพรรดินีเหฺวย์ (韋皇后) มเหสีของถังจงจง ภายหลัง เขาถูกรัชทายาทหลี่ ฉงจฺวื้น (李重俊) โอรสของถังจงจง สังหารเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและอู่ ซานซือ · ดูเพิ่มเติม »

อู๋ซี

อู๋ซี (อังกฤษ: Wuxi) เป็นเมืองอุตสาหกรรมเก่าในมณฑลเจียงซู สาธารณรัฐประชาชนจีน บริเวณที่ลุ่มปากแม่น้ำแยงซี มีทะเลสาบไท่หูพาดผ่านแบ่งเมืองออกเป็นสองส่วน ทางทิศจะวันตกมีอาณาเขตติดกับฉางโจว และทางทิศตะวันออกติดกับซูโจว เนื่องจากเป็นเมืองที่ได้รับการพัฒนาเมื่อไม่นานมานี้ จึงถูกขนานนามว่า "เซี่ยงไฮ้น้อย" มีชื่อเสียงในฐานะที่เป็นหนึ่งในเมืองต้นกำเนิดอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจสมัยใหม่ของจีน และยังเป็นบ้านเกิดของนักธุรกิจที่มีชื่อเสียงหลายคนในสมัยศตวรรษที่ 20 ที่มีส่วนสร้างเมืองเซี่ยงไฮ้ให้เป็นเมืองเศรษฐกิจสมัยใหม่อีกด้ว.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและอู๋ซี · ดูเพิ่มเติม »

ฮุ่ยเหนิง

รีระที่ไม่เน่าเปื่อยของพระฮุ่ยเหนิง พระฮุ่ยเหนิง (慧能 หรือ 惠能) หรือ ท่านพุทธทาสภิกษุ ออกเสียงว่า "เว่ยหลาง" เป็นภิกษุที่มีชีวิตสมัยราชวงศ์ถัง เป็นสังฆปรินายกองค์ที่ 6 ในนิกายเซนนับจากพระโพธิธรรม หลังจากสืบทอดบาตรจีวรและธรรมจากพระสังฆปริณายกองค์ก่อน คือ หวางยั่น (ฮ่งยิ้ม) เป็นพระสังฆปริณายกแห่งนิกายเซนองค์ที่ 5 เจ้าอาวาสวัดตุงซั่น เว่ยหล่างมักถูกนำไปอ้างถึงในลัทธิอนุตตรธรรมว่าเป็นบรรพจารย์แห่งอนุตตรธรรมด้วย ลัทธินี้กล่าวว่ามีคำสอนเร้นลับเผยแพร่ได้เฉพาะผู้ได้รับอาณัติสวรรค์ โดยสืบต่อกันจากจิตถึงจิต เป็นการเฉพาะตัว รับช่วงต่อได้ทีละหนึ่งคนจากวิสุทธิอาจารย์ และจะเผยแพร่ต่อสาธารณชนทั่วไปไม่ได้ จนกระทั่งปัจจุบันจึงถึงยุคที่เผยแพร่ให้ประชาชนทั่วไปได้ศึกษา ซึ่งขัดกับหลักคำสอนของเว่ยหล่าง ในหมวดคำสอนครั้งสุดท้ายของท่าน ใจความว่า "สำหรับคำสอนของฉันทั้งหมด นับแต่ได้กล่าวเทศนาในวัดไทฟันตราบจนบัดนี้ จงคัดลอกเป็นเล่มแล้วแจกจ่ายกันไปก็ได้ แต่ให้ชื่อว่า สูตรอันประกาศบนมหาบัลลังก์แห่งธรรมรถ จงทะนุถนอม ไว้ให้ดี แล้วมอบต่อกันไปตามอนุชนแต่ละรุ่น เพื่อช่วยเหลือสัตว์ทั้งปวง บุคคลที่สั่งสอนตามคำสอนนี้ เป็นผู้ที่สั่งสอนตามธรรมแท้ พอแล้วสำหรับธรรม ส่วนการรับช่วงจีวรนั้น ถือว่าเป็นการสิ้นสุดกัน เพราะเหตุใดหรือ? เพราะว่าท่านทั้งหลายต่างก็ศรัทธาต่อคำสอนของฉันโดยพร้อมมูล ทั้งท่านก็ปราศจากความเคลือบแคลงสงสัยใดๆ แล้ว ท่านย่อมสามารถสืบต่อจุดประสงค์อันสูงยิ่งของสำนักเราให้ลุล่วงไปได้ นอกจากนั้นตามความหมายในโศลกของท่านโพธิธรรม พระสังฆปริณายกองค์แรกผู้ถ่ายทอดพระธรรมและบาตรจีวรท่านก็ไม่ประสงค์จะให้มอบแก่ใครต่อไปอีก โศลกนั้นคือ:- จุดประสงค์ในการมาดินแดนนี้ ก็เพื่อถ่ายทอดพระธรรม สำหรับปลดปล่อยสัตว์ที่ถูกครอบงำไว้ ด้วยความหลงผิด เมื่อมีกลีบครบห้ากลีบ ดอกไม้นั้นก็สมบูรณ์ หลังจากนั้นไป ผลจะปรากฏขึ้นเองตามธรรมชาติ" และเมื่อมีคำถามในเรื่องการถ่ายทอดธรรมอันเร้นลับที่ว่าไม่มีการเผยแพร่ต่อสาธารณชนตามที่อนุตรธรรมกล่าวอ้าง ก็ได้กล่าวถึงในที่ประชุมก่อนเว่ยหล่างมรณภาพเช่นกัน ใจความว่า ที่ประชุมถามว่า "ใครครับ พระคุณท่าน ที่ท่านได้ถ่ายทอดขุมกำเนิดแห่งดวงตาของธรรมแท้?" พระสังฆปริณายกตอบว่า "มนุษย์ในหลักธรรมย่อมได้รับ และบรรดาผู้ซึ่งหลุดพ้นแล้วจากความคิดเห็นอันเฉียบขาด ย่อมเข้าใจ" ซึ่งจะเห็นได้ว่าธรรมนั้นมิใช่สิ่งเร้นรับอันใดเลย ปัจจุบันประเทศไทยเอง ก็มีการจัดสร้างรูปเหมือนของของพระฮุ่ยเหนิง ที่สร้างตามรูปแบบสรีระที่ไม่เน่าเปื่อยของท่าน ซึ่งพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จทรงเททองหล่อรูปเหมือนของพระฮุ่ยเหนิง เพื่อประดิษฐานบนหอบูรพาจารย์ มูลนิธิพุทธจักษุวิชชาลัย ตำบลหอมเกร็ด อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เมื่อวันอาทิตย์ที่ 13 กันยายน 2558 ซึ่งถือเป็นการเผยแพร่อาจาริยคุณ ในประเทศไทย อย่างเป็นทางการ ต่อมาพระธรรมาจารย์หมิงเซิงมหาเถระ รองประธานสำนักพุทธศาสนาแห่งประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ประธานสำนักพุทธศาสนามณฑลกวางตุ้ง เจ้าอาวาสวัดกวางเซี้ยว เมืองกวางโจว ได้เมตตามอบรูปหล่อพระสังฆนายก "หุ่ยเหนิง" เนื้อทองเหลือง สูง 1.98 เมตร จากวัดกวงเซี้ยว ที่จัดสร้างเพียง 3 องค์ (วัดกวงเซี้ยว แห่งนี้เป็นวัดที่ท่านหุ้ยเหนิง ได้ปลงผมใต้ต้นโพธิ์ใหญ่ และได้นำเกศาบรรจุไว้ในสถูป 7 ชั้น ซึ่งปัจจุบันยังคงอยู่ และยังเป็นสถานที่พระอาจารย์โพธิธรรม(ตั๊กม้อ) ได้เคยพักอาศัยเมื่อ 2 พันกว่าปีก่อนด้วย) โดยรูปปฏิมานี้ ได้ปั้นและหล่อโดยช่างฝีมือ ชื่อ พ่านเคอ เป็น 1 ใน 4 ช่างปั้นที่มีชื่อเสียงที่สุดของจีน เพื่ออัญเชิญกลับสู่ประเทศไทย และประดิษฐานเป็นการถาวร เปิดให้สาธุชนได้เข้ากราบสักการะ ภายในหอบูรพาจารย์ มูลนิธิพุทธจักษุวิชชาลัย พุทธมณฑลสาย 6 ถือเป็นนิมิตหมายมงคล แห่งการเผยแผ่พระพุทธธรรมมหายาน สายฌาน(เซ็น) และบารมีธรรมแห่งพระบูรพาจารย์ จากต้นกำเนิดสู่ประเทศไท.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและฮุ่ยเหนิง · ดูเพิ่มเติม »

จอหงวน

อหงวน หรือสำเนียงกลางว่า จฺวั้ง-ยฺเหวียน สำเนียงแต้จิ๋วว่า จ๋วงง้วง และสำเนียงกวางตุ้งว่า จ่อง-ยฺวื่น เป็นตำแหน่งราชบัณฑิตซึ่งได้คะแนนอันดับหนึ่งในการสอบขุนนางของประเทศจีนสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในประเทศจีนปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกผู้ได้คะแนนอันดับที่หนึ่งในการสอบใด ๆ หรือในความหมายทั่วไปกว่านั้น ใช้สำหรับเรียกผู้เป็นหัวกะทิในสาขาวิชาหนึ่ง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจอหงวน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิสุยหยาง

มเด็จพระจักรพรรดิสุยหยางตี้ (楊廣, Emperor Sui-Yangdi) (ค.ศ. 600-618,1143-1161) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิสุยหยาง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจาว

ั่นจาวตี้ (Shao Di of Han) เป็นพระนามของจักรพรรดิจีนหลายพระองค์ แห่งราชวงศ์ฮั่น สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิจาว · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจีน

มเด็จพระเจ้ากรุงจีน หรือ จักรพรรดิจีน (หวงตี้; ฮกเกี้ยน:ฮ่องเต้; แต้จิ๋ว:อ้วงตี่) คือประมุขจักรวรรดิจีน โดยมีจิ๋นซีฮ่องเต้เป็นฮ่องเต้พระองค์แรก ก่อนสมัยราชวงศ์ฉิน ประเทศจีนได้ถูกแบ่งเป็นแว่นแคว้นต่าง ๆ มากมาย และแต่ละแคว้นจะมีผู้ปกครอง เรียกว่า อ๋อง (王; พินอิน:wáng) ซึ่งแปลว่า พระมหากษัตริย์ แต่ต่อมาหลังจากอ๋องแห่งแคว้นฉินได้รวบรวมแว่นแคว้นต่าง ๆ เป็นหนึ่งเดียวจึงสถาปนาแผ่นดินเป็นจักรวรรดิจีน และประกาศใช้เป็นพระนามคำนำหน้าว่าจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ คือฉินซือหวงตี้ หรือจิ๋นซีฮ่องเต้ ตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฉิน ฮ่องเต้ได้รับการเคารพในฐานะโอรสแห่งสวรรค์ คือเปรียบเสมือนได้รับอำนาจจากสวรรค์มาให้ปกครองประชาชน ตามหลักการ "สูงสุดโอรสสวรรค์ ล่างสุดนั้นประชาราษฎร" (最高的是天子,最低的是人民) การสืบทอดตำแหน่งฮ่องเต้มักอยู่ในรูปแบบจากบิดาไปยังบุตร โดยคำว่า ฮ่องเต้ หรือ หวงตี้ ถ้าแปลตรงตัวจะสามารถแปลได้ว่า "ผู้ปกครองที่ยิ่งใหญ่" (หวง 皇 - ผู้ทรงศักดิ์/Imperial, ตี้ 帝 - องค์อธิปัตย์/Sovereign) โดยนำมาจากพระนามฮ่องเต้องค์แรก คือ ฉินซือหวงตี้ (秦始皇帝) หลังจากนั้นตำแหน่งฮ่องเต้ก็ดำรงอยู่มานับพันปีซึ่งตั้งแต่ราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฮั่น ราชวงศ์จิ้น ราชวงศ์สุย ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หมิง โดยมาสิ้นสุดที่ราชวงศ์ชิง เนื่องจากบริหารบ้านเมืองล้มเหลว และยังถูกประเทศต่างชาติรุกราน เป็นเหตุให้ประเทศจีนเกิดการปฏิรูปการปกครองจากระบอบระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ ตำแหน่งฮ่องเต้จึงสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1912 ฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายของประเทศจีนคือ จักรพรรดิฮงเซี่ยนหรือหยวน ซื่อไข่ แต่ไม่ได้รับการยอมรับจากประชาชน โดยฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายที่ได้รับการยอมรับจากประชาชนคือ สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋แห่งราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังชาง

ักรพรรดิถังชาง (ค.ศ. 695 หรือ ค.ศ. 698 – 5 กันยายน ค.ศ. 714) จักรพรรดิองค์ที่7แห่งราชวงศ์ถังมีพระนามเดิมว่าหลี่ ฉงเม่า (李重茂) เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิถังจงจงเมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิถังชาง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังมู่จง

สมเด็จพระจักรพรรดิถังมู่จง (ค.ศ. 795-824) ทรงพระนามเดิมว่าหลี่เฮงเป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิถังเสียนจง ทรงครองราชย์ต่อจากพระราชบิดาในปี ค.ศ. 820 เป็นจักรพรรดิถังมู่จงจักรพรรดิองค์ที่ 12 แห่ง ราชวงศ์ถัง ขณะพระชนม์ได้ 25 พรรษาตลอดรัชกาลมีการทุจริตอย่างมาก ในราชสำนักทำให้เศรษฐกิจย่ำแย่ประชาชนเดือดร้อนแต่พระองค์ก็มิได้สนใจสวรรคตเมื่อ ค.ศ. 824 ขณะพระชนม์ได้เพียง 29 พรรษาและครองราชย์เพียง 4 ปี ในรัชกาลนี้เป็นจุดกำเนิดแห่งความตกต่ำของราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิถังมู่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังยี่จง

จักรพรรดิถังยี่จง (28 ธันวาคม 833 – 15 สิงหาคม 873) พระนามเดิม หลี่เหวิน ต่อมาเปลี่ยนพระนามเป็น หลี่ฉุย จักรพรรดิองค์ที่ 19 แห่ง ราชวงศ์ถัง (ครองราชย์: 13 กันยายน 859 – 15 สิงหาคม 873) ในรัชสมัยของพระองค์นับได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นแห่งความเสื่อมถอยของราชวงศ์ถังเพราะทั้งขึ้นภาษีระดับมหาโหดเอาแต่ลุ่มหลงสุรานารีหากการแสดงใดถูกพระทัยก็จะพระราชทานยศขุนนางให้และผลาญพระราชทรัพย์ที่พระราชบิดาเก็บสะสมรวมถึงเกิดโรคระบาดไปทั่วทำให้เกิดกบฏทั่วแผ่นดิน หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:จักรพรรดิจีน หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิถังยี่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังรุ่ยจง

มเด็จพระจักรพรรดิรุ่ยจง (ค.ศ. 662-716) จักรพรรดิองค์ที่ 5 แห่ง ราชวงศ์ถัง พระนามเดิมว่า หลี่ตั้น (李旦) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิถังรุ่ยจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังอู่จง

ระสาทิสลักษณ์ของจักรพรรดิวู่จง จักรพรรดิถังวู่จง (2 กรกฎาคม 814 – 22 เมษายน 846) พระนามเดิม หลี่ฉาน เปลี่ยนเป็น หลี่ยาน เมื่อก่อนจะสวรรคต จักรพรรดิองค์ที่ 17 แห่ง ราชวงศ์ถัง (ครองราชย์: 20 กุมภาพันธ์ 840 – 22 เมษายน 846).

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิถังอู่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังจิงจง

มเด็จพระจักรพรรดิถังจิงจง (ค.ศ. 809–826) จักรพรรดิองค์ที่ 13 แห่งราชวงศ์ถังครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิถังจิงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังจงจง

มเด็จพระจักรพรรดิถังจงจง (ค.ศ. 656–710) จักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่ง ราชวงศ์ถัง มีพระนามเดิมว่าหลี่เสี่ยน (李顯) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิถังจงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังซวนจง

จักรพรรดิถังซวนจง (ค.ศ. 810-859) ประสูติเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 810 ทรงพระนามเดิมว่า หลี่เฉิน เป็นพระราชโอรสใน จักรพรรดิถังเสียนจง ครองราชย์สืบต่อจาก จักรพรรดิถังหวู่จง พระราชนัดดาเมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 846 สวรรคตเมื่อวันที่ 7 กันยายน ค.ศ. 859 ขณะพระชนม์เพียง 49 พรรษา หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:พุทธศาสนิกชนชาวจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิถังซวนจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังซู่จง

มเด็จพระจักรพรรดิซู่จง (ค.ศ. 711-762) จักรพรรดิองค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ถัง มีพระนามเดิมว่าองค์ชายหลี่เฮิง (李亨) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิถังซู่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังซีจง

มเด็จพระจักรพรรดิถังซีจง (ค.ศ. 873-887, พ.ศ. 1416-1430) ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิถังซีจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังไอ

มเด็จพระจักรพรรดิถังไอตี้ (ค.ศ. 904-907, พ.ศ. 1447-1450) จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ถัง ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิถังไอ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังไท่จง

มเด็จพระจักรพรรดิถังไท่จง (1170-1186) พระนามเดิม หลี่ซื่อหมิน จักรพรรดิองค์ที่สองแห่งราชวงศ์ถังของประเทศจีน (ราว 1,600 ปี) ได้ยึดถือหลักคำสอนเรื่องนี้ของบรมครูขงจื่อในการ ปกครองประเทศจีน และทำให้ประเทศจีนในยุคที่พระองค์ทรงปกครองรุ่งเรืองที่สุดยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์ 5 เป็นประเทศมหาอำนาจของโลกในยุคสมัยของพระองค์ราชวงศ์ถังนั้นยิ่งใหญ่มากมายนั้นเลยก็ว่าได้ แม้ว่าพระองค์มีพระราชอำนาจสูงสุด สามารถตัดสินพระทัยสั่งการใด ๆ ก็ได้ พระองค์ก็ทรงมิได้ปฏิบัติเช่นนั้น พระองค์จะไต่ถามความเห็นของเหล่าเสนาบดี และที่ปรึกษาของพระองค์ก่อนที่จะตัดสินพระทัยเสมอ โดยเฉพาะที่ปรึกษาท่านหนึ่ง นาม เว่ยเจิง ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นที่ปรึกษาของพี่ชายพระองค์ที่เป็นรัชทายาท และได้แนะนำให้พี่ชายของพระองค์ วางแผนสังหารพระองค์ เนื่องจากที่ปรึกษาท่านนี้มองเห็นว่า พระองค์จะเป็นภัยก่อการขบถยึดราชบัลลังก์ของพี่ชาย เนื่องจากถังไท่จงเหนือชั้นกว่า จึงวางแผนซ้อนแผน แทนที่พระองค์จะถูกสังหาร พี่ชายของพระองค์กลับถูกปลิดพระชนม์ชีพแทน แต่ถังไท่จงรับสั่งมิให้ทหารของพระองค์ทำร้ายที่ปรึกษาผู้นั้น นอกจากไม่ทำร้ายแล้ว พระองค์ยังทรงแต่งตั้งเขาขึ้นเป็นประธานที่ปรึกษา เมื่อพระองค์ขึ้นครองราชย์สืบต่อจากพระราชบิดาอีก ด้วยเหตุผลก็คือ พระองค์ท่านจะได้มีที่ปรึกษาอย่างน้อยหนึ่งท่านที่คิดแตกต่าง หรือไม่เหมือนกับที่พระองค์คิด กล้าคัดค้านพระองค์อย่างตรงไปตรงมาโดยไม่เกรงกลัว หรือหวาดหวั่นต่อพระราชอำนาจ จักรพรรดิถังไท่จงได้รับการยกย่องจากนักประวัติศาสตร์ให้เป็นมหาจักรพรรดิของจีนเพราะพระองค์แตกต่างจากจักรพรรดิทั้งปวง กล่าวคือ ไม่ว่าเชื้อพระวงศ์ก็ดี หรือเสนาบดีก็ดี หรือที่ปรึกษาก็ดีไปแอบนินทา ให้ร้ายพระองค์ลับหลัง พระองค์ก็จะทรงลงพระอาญา เพราะถือว่า พระองค์ทรงให้โอกาสวิพากษ์วิจารณ์อย่างเปิดเผย และถูกต้องแล้วบุคคลเหล่านี้กลับไม่ทำ หรือไม่ใช้โอกาสดังกล่าว กลับมาแอบทำลับหลังพระองค์ จึงต้องถูกลงโทษให้เป็นเยี่ยงอย่าง ส่วนผู้ที่กล้าวิพากษ์วิจารณ์ หรือคัดค้านพระองค์ต่อหน้าพระพักตร์อย่างชนิดตรงไปตรงมา อย่างเช่น อดีตที่ปรึกษาของพระเชษฐาขององค์จักรพรรดิถังไท่จงก็ทรงปูนบำเหน็จรางวัลให้เพื่อให้บรรดาเหล่าขุนนาง หรือข้าราชบริพารมีความกล้าที่จะใช้โอกาสดังกล่าวคัดค้านพระองค์ด้วยเหตุด้วยผล ไม่ใช่ไปแอบทำข้างหลัง นอกจากนั้นพระองค์ก็ทรงปลอมเป็นสามัญชนไปกับประธานที่ปรึกษาออกตระเวนเยี่ยมประชาชนของพระองค์ และตรวจงานการปฏิบัติราชการของ เหล่าข้าราชบริพารเป็นประจำทุกปี เพื่อจะได้ทรงทราบว่า บรรดารายงานของข้าราชการที่ส่งไปให้พระองค์ทรงอ่านที่เมืองหลวงนั้นมีความถูกต้อง สอดคล้องกับความเป็นจริงมากเพียงใด ไม่ใช่ทรงอยู่แต่ในวังหลวงพึ่งพารายงานจากข้าราชการอย่างเดียว บางครั้ง หากพระองค์ประชวร พระองค์ก็จะทรงส่งประธานที่ปรึกษาของพระองค์ออกทำงานแทนพระองค์ จักรพรรดิถังไท่จงถือว่าประชาชนมีความสำคัญกว่าพระองค์ และพระราชวงศ์ เวลาพระองค์จะตัดสินพระทัยทำอะไร ก็มักจะมองไปที่ผลประโยชน์ของประชาชนก่อนเสมอ ก่อนที่จะขึ้นครองราชย์นั้น พระองค์มีพระนามว่า "หลี ซื่อ หมิน" ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิถังไท่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังไต้จง

มเด็จพระจักรพรรดิถังไต้จง (ค.ศ. 762-779, พ.ศ. 1305-1322) จักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ถัง มีพระนามเดิมว่าองค์รัชทายาทหลี่อวี่ (李豫) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิถังไต้จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังเกาจู่

มเด็จพระจักรพรรดิถังเกาจู่ มีพระนามเดิมว่า หลี่ยวน (李淵) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิถังเกาจู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังเกาจง

มเด็จพระจักรพรรดิเกาจง (ค.ศ. 649-683, พ.ศ. 1192-1226) จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์ถัง ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิถังเกาจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังเสฺวียนจง

thumb จักรพรรดิถังเสฺวียนจง (ค.ศ. 685–762) จักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์ถัง เป็นโอรสในจักรพรรดิถังรุ่ยจง มีพระนามเดิมว่า หลี่หลงจี ภายหลังรัชกาลของบูเช็กเทียน สภาพการเมืองภายในราชสำนักปั่นป่วนวุ่นวาย เนื่องจากถังจงจงอ่อนแอ อำนาจทั้งมวลตกอยู่ในมือของเหวยฮองเฮา(韦皇后)ที่คิดจะยิ่งใหญ่ได้เช่นเดียวกับบูเช็กเทียน เหวยฮองเฮาหาเหตุประหารรัชทายาท จากนั้นในปี 710 วางยาพิษสังหารถังจงจง โอรสองค์ที่สามของถังรุ่ยจง นามหลี่หลงจี(李隆基)ภายใต้การสนับสนุนขององค์หญิงไท่ผิง(太平公主)ชิงนำกำลังทหารบุกเข้าวังหลวงสังหารเหวยฮองเฮาและพวก ภายหลังเหตุการณ์องค์หญิงไท่ผิงหนุนถังรุ่ยจงขึ้นครองราชย์ แต่งตั้งหลี่หลงจีเป็นรัชทายาท แต่แล้วองค์หญิงไท่ผิงพยายามเข้ากุมอำนาจเบ็ดเสร็จ แต่เกิดขัดแย้งกับรัชทายาทหลี่หลงจี ปี 712 ถังรุ่ยจงสละราชย์ให้กับโอรส หลี่หลงจีเมื่อขึ้นครองราชย์ทรงพระนามว่า ถังเสวียนจง (唐玄宗) สิ่งแรกที่กระทำคือกวาดล้างขุมกำลังขององค์หญิงไท่ผิง นำพาสันติสุขกลับคืนมาอีกครั้ง ตลอด 32 ปีในรัชสมัย ทรงปฏิรูปการปกครองกวาดล้างขุนนางกังฉิน ทรงทำให้ฉางอานกลายเมืองศูนย์กลางของโลกในขณะนั้น ประชากรในเมืองฉางอานสูงกว่า1ล้านคน เป็นปลายทางของเส้นทางสายไหม และยังเป็นจุดหมายปลายทางของพวกพ่อค้าชาวตะวันตก ต้าถังในรัชสมัยของพระองค์เจริญรุ่งเรือง เต็มไปด้วยนักดนตรี นักประพันธ์ เจริญด้วยวรรณกรรม วรรณคดีมากมาย สังคมงสบสุข พระบารมีแผ่ขยายไปกว้างไกล ประวัติศาสตร์ยุคนี้ได้รับการขนานนามว่า "ปฐมศักราชแห่งความรุ่งโรจน์" นอกจากนี้ยังมีนักศึกษาต่างชาติพากันลั่งไหลเข้ามาเรียนรู้ในผ่นดินต้าถังนตลอดไม่ขาดสาย ฉางอานเมืองหลวงของต้าถังในขณะนั้น กลายเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของโลกมีความเจริญในทุกๆด้าน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิถังเสฺวียนจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังเสียนจง

มเด็จพระจักรพรรดิถังเสี้ยนจง (ค.ศ. 778 – 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 820) เป็นพระราชโอรสองค์โตในจักรพรรดิถังชุนจงและหวังไทเฮา มีพระนามเดิมว่า หลี่ชุน (李純) เมื่อพระราชบิดาสละราชสมบัติลงในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิถังเสียนจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังเต๋อจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิถังเต๋อจง (ค.ศ. 779-805) ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิถังเต๋อจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งไท่จู่

มเด็จพระจักรพรรดิซ่งไท่จู่ จ้าว ควงอิ้น ตามสำเนียงกลาง หรือ เตียคังเอี๋ยน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (พระบรมราชสมภพ 21 มีนาคม ค.ศ. 927 – เสด็จสวรรคต 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 976) หรือมักเรียกด้วยนามพระอารามประจำรัชกาลว่า ไท่จู่ ตามสำเนียงกลาง หรือ ไทโจ๊ว ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (Tàizǔ) เป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ซ่งในจักรวรรดิจีนโบราณ เสวยราชย์ตั้งแต..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิซ่งไท่จู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีหวัง (จักรพรรดิถังเกาจง)

จักรพรรดินีหวัง (王皇后_(唐高宗)Empress Wang (Gaozong), ?-ค.ศ.655)เป็นจักรพรรดินีในสมัยราชวงศ์ถังโดยทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีองค์แรกของจักรพรรดิถังเกาจงต่อมาถูกถอดและสิ้นพระชนม์ในปีค.ศ.655 หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:ตัวละครในบูเช็คเทียน จอมนางเหนือแผ่นดิน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดินีหวัง (จักรพรรดิถังเกาจง) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีจางซุน

ักรพรรดินีจางซุน (พระนามเดิมไม่ปรากฏ, 1144 – 28 กรกฎาคม 1179) ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น จักรพรรดิเหวินเต๋อชุนเฉิง (Empress Wendeshunsheng) เรียกแบบย่อ ๆ ว่า จักรพรรดินีเหวินเต๋อ (Empress Wende) จักรพรรดินีพระองค์แรกและพระองค์เดียวใน จักรพรรดิถังไท่จง จักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่ง ราชวงศ์ถัง และเป็นพระพันปีหลวงใน จักรพรรดิถังเกาจง จักรพรรดิองค์ที่ 3 พระองค์มีพระเชษฐาที่สำคัญคนหนึ่งคือ จ่างซุน อู๋จี้ ซึ่งเป็นกำลังสำคัญในการโค่น ราชวงศ์สุย สถาปนาราชวงศ์ถังและเชิญ หลี่หยวน ขึ้นเป็น จักรพรรดิถังเกาจู่ ร่วมกับองค์ชาย หลี่ซื่อหมิน พระโอรสองค์รองของจักรพรรดิเกาจู่ ภายหลัง เหตุการณ์ที่ประตูเสฺวียนอู่ เมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดินีจางซุน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเว่ย

ักรพรรดินีเว่ย อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดินีเว่ย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเหวย์

ักรพรรดินีเหวย์ ชื่อตัวไม่ทราบ เป็นฮองเฮา (皇后) แห่งราชวงศ์ถังของประเทศจีน เป็นมเหสีองค์ที่สองของจักรพรรดิถังจงจง (唐中宗) ซึ่งครองราชย์สองครั้ง เมื่อถังจงจงสิ้นพระชนม์โดยร่ำลือกันว่า เป็นผลมาจากการวางยาขอพระนางเหวย์ และองค์หญิงอันเล่อ (安樂公主) ผู้เป็นธิดา พระนางเหวย์ก็ยึดอำนาจการปกครองแผ่นดินและพยายามขึ้นเป็นกษัตริย์หญิงทำนองเดียวกับพระนางอู่ เจ๋อเทียน (武則天) ผู้เป็นแม่ผัว แต่ไม่สำเร็จ ในไม่ช้า องค์หญิงไท่ผิง (太平公主) น้องสาวของถังจงจง และหลี่ หลงจี (李隆基) หลานชายของถังจงจง รวมกำลังกันมาปราบปราม พระนางเหวย์ถูกทหารตัดศีรษะสิ้นพระชนม.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดินีเหวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิไอ

ักรพรรดิไอ (Ai Di) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิไอ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิไท่จง

ักรพรรดิไท่จง (Taizong) มีความหมายว่า "บรรพบุรุษผู้ยิ่งใหญ่" (Grand Clan Forefather) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิไท่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเกาจู่

ักรพรรดิเกาจู่ (Gaozu) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิเกาจู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเกาจง

ักรพรรดิเกาจง (Gaozong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิเกาจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเหลียวไท่จง

มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวไท่จง (เย่ว์ลู่เต๋อกวง) (902-947) เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ในจักรพรรดิเหลียวไท่จู่ โดยเป็นพระอนุชาในองค์ชายเย่ว์ลู่ทู่อี้ พระราชบิดาของจักรพรรดิเหลียวซื่อจง เมื่อเย่ว์ลู่ทู่อี้ พระเชษฐาซึ่งเป็นองค์รัชทายาท ถูกฮองเฮาสู้ลี่ว์พระมารดาและข้าราชสำนักบีบบังคับ ให้ลี้ภัยไปยังราชสำนักโฮ่วถัง และตั้ง เย่ว์ลู่เต๋อกวง พระราชโอรสองค์รองที่ทรงพระปรีชาสามารถด้านการทหาร ขึ้นเป็นองค์รัชทายาทแทน เมื่อจักรพรรดิเหลียวไท่จู่สวรรคตในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิเหลียวไท่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเหวินจง

ักรพรรดิเหวินจง สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรพรรดิเหวินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิ

ักรวรรดิ (อ่านว่า จัก-กฺระ-หฺวัด, อังกฤษ: empire) ถูกนิยามว่าหมายถึง "กลุ่มชาติรัฐหรือชาติพันธุ์ที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิหรืออธิปไตยของรัฐอื่นๆที่ทรงอิทธิพล โดยทั่วไปมีอาณาเขตกว้างใหญ่กว่าราชอาณาจักร" นักวิชาการได้ถกเถียงกันมานานเกี่ยวกับคำว่า “Empire” ในภาษาอังกฤษหรือ “จักรวรรดิ” ในภาษาไทย (จากคำภาษาละติน “imperium” ที่หมายถึงสายการบังคับบัญชาทางการทหารของรัฐบาลโรมันโบราณ) โดยทั่วไปมักนิยามให้เป็นรัฐที่มีอาณาจักรอื่นที่มีประชากรและวัฒนธรรมที่แตกต่างชัดเจนอยู่ภายใต้อิทธิพลอำนาจการปกครองหรืออยู่ในเครือจักรภพ เช่นประเทศในเครือจักรภพอังกฤษในปัจจุบัน นิยามอีกรูปแบบหนึ่งอาจเน้นปัจจัยทางเศรษฐกิจหรือการเมือง แต่โดยทั่วไปมักหมายถึงการครอบงำทางอำนาจการทหาร เช่นเดียวกับรัฐทั่วไป จักรวรรดิจะมีโครงสร้างทางการเมืองของตนเอง หรืออย่างน้อยก็โดยวิธีกดขี่บังคับให้อยู่ใต้อำนาจ จักรวรรดิบนแผ่นดินใหญ่ (เช่นจักรวรรดิมองโกล หรือจักรวรรดิอาคีเมนิดเปอร์เชีย – Achaemenid Persia) มักจะขยายไปตามอาณาเขตที่ประชิดต่อเนื่องกัน ส่วนจักรวรรดิทางทะเล (เช่น จักรวรรดิเอเธนีเนียน จักรวรรดิโปรตุเกสและจักรวรรดิอังกฤษ) อาจมีอาณาเขตกระจัดกระจายหลวมๆ แต่อยู่ในอำนาจการควบคุมทางกองทัพเรือเป็นต้น จักรวรรดิที่มีมาก่อนจักรวรรดิโรมันหลายร้อยปี ได้แก่จักรวรรดิอียิปต์ซึ่งได้ก่อตั้งจักรวรรดิเมื่อประมาณ 1000 ปีก่อน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรวรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิจีน

ักรวรรดิจีนก่อตั้งโดยราชวงศ์ฉินนำโดยฉินซื่อหวงตี้ซึ่งได้รวบรวมรัฐของจีนที่แตกออกเป็น 7 รัฐให้เป็นหนึ่งเดียวได้ ฉินซื่อหวงตี้บริหารประเทศโดยใช้ระบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางซึ่งจักรวรรดิจีนมีอายุยืนยาวมากประมาณ 2113ปี โดยเริ่มตั้งแต่ ราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฮั่น ราชวงศ์จิ้น ราชวงศ์สุย ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หมิง โดยมาสิ้นสุดที่ ราชวงศ์ชิง     เขตแดน'''ราชวงศ์ฉิน''' เขตแดนของ'''ราชวงศ์ฮั่น''' เขตแดนของ'''ราชวงศ์ถัง''' เขตแดน'''ราชวงศ์ซ่ง''' เขตแดน'''ราชวงศ์หยวน''' เขตแดนราชวงศ์หมิง เขตแดนราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรวรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิคุปตะ

ักรวรรดิคุปตะ (Gupta Empire) เป็นจักรวรรดิอินเดียโบราณที่รุ่งเรืองระหว่างปี ค.ศ. 280 จนกระทั่งปี ค.ศ. 550 จักรวรรดิ โดยมีอาณาบริเวณที่ครอบคลุมตางตอนเหนือและตอนกลางของอินเดียทั้งหมด และบังคลาเทศปัจจุบัน จักรวรรดิก่อตั้งขึ้นโดยพระเจ้าศรีคุปต์ โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่ปาฏลีบุตรที่ปัจจุบันคือปัฏนาทางตอนเหนือของรัฐพิหาร ความรุ่งเรืองของจักรวรรดิภายใต้การนำของพระมหากษัตริย์ราชวงศ์คุปตะทำให้มีความเจริญในด้านวิทยาศาสตร์และศิลปะ ในด้านความเจริญทางด้านวัฒนธรรมนักประวัติศาสตร์จัดราชวงศ์คุปตะในระดับเดียวกับราชวงศ์ฮั่น, ราชวงศ์ถัง และจักรวรรดิโรมัน สมัยจักรวรรดิคุปตะถือกันโดยนักวิชาการบางคนว่าเป็นยุคทองของอินเดียในด้านวิทยาศาสตร์, เทคโนโลยี, วิศวกรรม, ศิลปะ, วรรณคดี, ตรรกศาสตร์, คณิตศาสตร์, ดาราศาสตร์, ศาสนา และปรัชญ.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรวรรดิคุปตะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดินิยมในเอเชีย

ักรวรรดินิยมในเอเชียซึ่งนำเสนอในบทความนี้ว่าด้วยการเข้ามายังบริเวณที่เดิมเรียก หมู่เกาะอินเดียตะวันออก ของชาติยุโรปตะวันตก จักรวรรดินิยมในเอเชียเริ่มขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยการค้นเส้นทางการค้ากับประเทศจีนซึ่งนำไปสู่ยุคแห่งการสำรวจโดยตรง และนำการสงครามสมัยใหม่ตอนต้นมาสู่บริเวณซึ่งขณะนั้นเรียก ตะวันออกไกล เมื่อถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ยุคแห่งการเดินเรือขยายอิทธิพลของยุโรปตะวันตกและพัฒนาการค้าเครื่องเทศภายใต้ลัทธิอาณานิคมอย่างมาก มีจักรวรรดิอาณานิคมยุโรปตะวันตกและจักรวรรดินิยมในเอเชียตลอดหกศตวรรษแห่งลัทธิอาณานิคม จนสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการเมื่อติมอร์-เลสเต ซึ่งเป็นอาณานิคมสุดท้ายของจักรวรรดิโปรตุเกส ได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจักรวรรดินิยมในเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

จาง เลี่ยง (ราชวงศ์ถัง)

ง เลี่ยง (Zhang Liang) ขุนศึกคนสำคัญผู้ร่วมสถาปนาราชวงศ์ถัง ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจาง เลี่ยง (ราชวงศ์ถัง) · ดูเพิ่มเติม »

จาง เจี่ยนจือ

งเจี่ยนจือ (ค.ศ.625-706)เป็นขุนนางในสมัย ราชวงศ์ถัง และอู่โจวและเป็นแกนนำในการบีบให้ บูเช็กเทียน สละราชสมบัติโดยท่านรับราชการในรัชสมัยพระนางบูเช็กเทียนแห่งอู่โจวและ จักรพรรดิถังจงจง แห่งราชวงศ์ถังต่อมาท่านถูกพระญาติของถังจงจงคือ อู่ซานซือ ผู้เป็นพระนัดดาของจักรพรรดินีบูเช็กเทียนใส่ร้ายท่านจึงถูกเนรเทศและถึงแก่อสัญกรรมระหว่างถูกเนรเทศในปี..706 ขณะอายุได้ 81 ปี หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:ขุนนางจีน หมวดหมู่:ตัวละครในบูเช็คเทียน จอมนางเหนือแผ่นดิน หมวดหมู่:ขุนนางในสมัยราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจาง เจี่ยนจือ · ดูเพิ่มเติม »

จิ้งฮุย

้งฮุย (? – 706) ชื่อรอง จงเย่ ได้รับการแต่งตั้งเป็น ผิงหยางซู่หมินกง ขุนนางแห่ง ราชวงศ์ถัง และราชวงศ์อู่โจวโดยเป็นอัครมหาเสนาบดีในรัชสมัย จักรพรรดิถังจงจง ซึ่งจิ้งฮุยเป็นแกนนำสำคัญในการบังคับให้จักรพรรดินี บูเช็กเทียน สละราชบัลลังก์ร่วมกับ จาง เจี่ยนจือ จิ้งฮุยถูก อู่ ซานซือ หรือ เหลียงเซฺวียนหวัง พระราชนัดดาในจักรพรรดินีบูเช็กเทียนใส่ความจนถูกเนรเทศและถูกสังหารระหว่างเนรเทศเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจิ้งฮุย · ดูเพิ่มเติม »

จู เวิน

ปฐมกษัตริย์แห่งเหลียงยุคหลัง (後梁太祖; 852–912) ชื่อตัวว่า จู เฉฺวียนจง (朱全忠) ชื่อเมื่อเกิดว่า จู เวิน (朱溫) ชื่อรองว่า จูสาม (朱三) และชื่ออื่นว่า จู หฺวั่ง (朱晃) เป็นขุนศึกจีนในราชวงศ์ถังซึ่งโค่นราชวงศ์ถังในปี 907 ตั้งราชวงศ์เหลียงยุคหลัง แล้วขึ้นเป็นกษัตริย์องค์แรก เป็นอันเริ่มสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร จู เวิน สามารถยึดครองจีนภาคกลางไว้ได้เกือบทั้งหมด และพยายามรวมแผ่นดินภาคเหนือ แผ่นดินส่วนที่เหลือจึงอยู่ในความครอบครองของอีกสี่ราชวงศ์ที่ตั้งขึ้นในโอกาสเดียวกัน จู เวิน ถูกจู โหย่วกุย (朱友珪) ลูกชาย ฆ่าทิ้งในปี 912 เพื่อชิงบัลลังก์ จู โหย่วกุย ก็ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ถูกปลงพระชนม์ หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจู เวิน · ดูเพิ่มเติม »

จี๋ (อาวุธ)

ี๋ หรือ ทวนวงเดือน (Ji; 戟) เป็นอาวุธของจีนโบราณ จัดเป็นอาวุธยาวประเภททวนหรือหอกชนิดหนึ่ง มีอายุเก่าแก่ยาวนานกว่า 3,000 ปี นับตั้งแต่ยุคต้นราชวงศ์ซาง จนกระทั่งถึงสิ้นสุดราชวงศ์ชิง มีลักษณะปลายยาวแหลม ด้านข้างตีโลหะเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยวคล้ายง้าวเอาไว้ จึงใช้ทั้งแทงทั้งฟันได้ ในพงศาวดารจีน ขุนพลที่ใช้อาวุธนี้เด่น ๆ คือ ลิโป้ ในยุคสามก๊ก และซิ ยิ่นกุ้ย ในยุคราชวงศ์ถัง แบ่งออกได้เป็นสองประเภทใหญ่ ๆ คือ ทวนวงเดือนกรีดฟ้า (方天戟; พินอิน: fangtian ji) ที่มีพระจันทร์เสี้ยวทั้งสองข้าง และทวนวงเดือนมังกรเขียว (青龍戟; พินอิน: qinglong ji) ที่มีพระจันทร์เสี้ยวข้างเดียว.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจี๋ (อาวุธ) · ดูเพิ่มเติม »

จง ขุย

ภาพจง ขุย ก่อน ค.ศ. 1304 โดย กง ไข่ จง ขุย เป็นเทพกึ่งปีศาจในตำนานเทพของจีน เชื่อกันว่าจงเขว่ยเป็นผู้กำราบปิศาจร้าย และมักจะวาดภาพจงเขว่ยไว้ที่หน้าประตู เพื่อเป็นผู้ปกปักษ์คุ้มครองบ้าน ตามตำนานของจีน เล่าว่าจง ขุยเป็นชายหนุ่ม มีความรู้ดี แต่หน้าตาอัปลักษณ์ เขาเดินทางไปกับตู้ผิง (杜平) เพื่อนคนหนึ่งซึ่งเป็นคนบ้านเดียวกัน เพื่อเข้าสอบรับราชการเป็นบัณฑิต ที่เรียกว่า จอหงวน ในเมืองหลวง แม้ว่าจงจะสอบได้คะแนนสูงสุด แต่ฮ่องเต้ก็มิได้ประทานตำแหน่งจอหงวน ให้เพราะจง ขุยมีรูปร่างหน้าตาที่น่าเกลียดนั่นเอง เมื่อเป็นเช่นนี้ จงเขว่ยจึงโกรธและน้อยใจอย่างยิ่ง และฆ่าตัวตายที่บันไดพระราชวังนั่นเอง ส่วนตู้ผิงก็ช่วยทำศพเพื่อน ครั้นเมื่อตายไปแล้ว จง ขุยได้เป็นราชาแห่งปิศาจในนรก และจะกลับบ้านเกิดในช่วงปีใหม่ (นั่นคือ ตรุษจีน) นอกจากนี้ ยังได้ตอบแทนความมีน้ำใจของตู้ผิง โดยการมอบน้องสาวให้แต่งงาน เรื่องราวของจง ขุยนั้นเป็นที่รู้จักกันดีในนิทานพื้นบ้านของจีน ตั้งแต่สมัยจักรพรรดิถังเสฺวียนจง (唐玄宗) ในราชวงศ์ถัง (ค.ศ. 712 ถึง ค.ศ. 756) จากเอกสารในสมัยราชวงศ์ซ่ง ระบุว่า เมื่อจักรพรรดิเสวียนจงทรงพระประชวรหนัก ทรงพระสุบินเห็นปิศาจสองตน ตนเล็กขโมยถุงเงินไปจากพระสนม นามว่าหยางกุ้ยเฟย และขลุ่ยขององค์จักรพรรดิ ส่วนปิศาจคนใหญ่นั้น สวมหมวกขุนนาง มาจับปิศาจตนเล็ก และดึงลูกตาออกมากินเสีย จากนั้นปิศาจตนใหญ่ก็แนะนำตนว่าชื่อจงเขว่ย และบอกว่าตนได้สาบานที่จะกำจัดอาณาจักรแห่งความชั่วร้าย เมื่อจักรพรรดิตื่นบรรทม ก็ทรงหายจากอาการประชวร จากนั้นได้มีบัญชาให้นายช่างหลวง ชื่อ อู่ เต้าจื่อ (吴道子) วาดภาพจง ขุยให้เหล่าขุนนางดู และภาพดังกล่าวมีอิทธิพลอย่างมากต่อภาพวาดจง ขุยในสมัยต่อ ๆ มา “อู๋เต้าจื่อ” วาดภาพของจงขุยตามที่เห็นในพระสุบิน และทรงแจกจ่ายรูปของจงขุยให้แก่ประชาราษฏร์ติดที่หน้าประตูบ้าน เพื่อป้องกันสิ่งอัปมงคลและสิ่งชั่วร้ายนานาประการ ในตำนานยังกล่าวด้วยว่า จงขุยได้รับมอบหมายจากสวรรค์ให้มีทหารในสังกัดถึง 3 พันนาย เพื่อช่วยในการปราบปีศาจ ดังนั้น สำหรับชาวจีนแล้ว จงขุยคือเทพผู้สำคัญที่สุดในยามที่ชาวบ้านเกรงกลัวภูตผี และกลายมาเป็นสัญลักษณ์ของเทพเจ้าผู้พิทักษ์มนุษย์ให้พ้นจากภัยรังควานของภูตผีปีศาจสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน เชื่อกันว่า ใครที่กลัวจะถูกทำของใส่ หรือถูกคุณไสยเล่นเอา ต้องมีจงขุยคุ้มครองอยู่ในบ้าน หรือกรณีที่ต้องเข้าโรงพยาบาล หรือคนป่วยไปพักฟื้นที่ไหน สถานที่เหล่านั้นถือว่า มันสกปรก คือมีคนตายมาก ต้องมีผีอยู่ ให้เอาเทพปราบมารองค์นี้ไปด้วย แล้วจะปลอดภัยหายเป็นปกติกลับบ้านได้ หมวดหมู่:เทพเจ้าแห่งนรก หมวดหมู่:เทพเจ้าจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจง ขุย · ดูเพิ่มเติม »

จ่างซุน อู๋จี้

งซุน อู๋จี้ (? – 659) นามปากกาว่า ฟู่จี ตำแหน่งเมื่อสิ้นชีวิตเป็น เจ้ากงหวัง ขุนนางจีนคนสำคัญผู้ดำรงตำแหน่งอัครมหาเสนาบดีในช่วงต้น ราชวงศ์ถัง เป็นพระเชษฐา (พี่ชาย) ของ จักรพรรดินีจางซุน จักรพรรดินีใน จักรพรรดิถังไท่จง จักรพรรดิองค์ที่ 2 และพระมาตุลา (ลุง) ของ จักรพรรดิถังเกาจง จักรพรรดิองค์ที่ 3 ซึ่งจ่างซุน อู๋จี้ผู้นี้เป็นทั้งที่ปรึกษาและพระสหายของจักรพรรดิไท่จงตั้งแต่ก่อนสถาปนาราชวงศ์ถังครั้งยังเป็น หลี่ซื่อหมิน รวมถึงเมื่อสถาปนาราชวงศ์ถังแล้วและองค์ชายหลี่ซื่อหมินได้เป็นฉินอ๋องและเขาอาจจะเป็นพ่อสื่อให้กับจักรพรรดิไท่จงได้พบรักกับแม่นางจางซุนน้องสาวของเขา ในเหตุการณ์ที่เรียกว่า เหตุการณ์ที่ประตูเสฺวียนอู่ เมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและจ่างซุน อู๋จี้ · ดูเพิ่มเติม »

ถุง

งใส่ขยะ ถุงกระดาษ ถุง หรือ กระเป๋า หรือ ย่าม หรือ กระสอบ เป็นเครื่องมือทั่วไปในรูปภาชนะใส่ของชนิดยืดหยุ่นได้ การใช้ถุงย้อนกลับไปในสมัยประวัติศาสตร์ ถุงในยุคแรกเริ่มทำจากหนังสัตว์ ฝ้าย หรือใยพืชถักทอ พับตามขอบและมัดให้เป็นรูปร่างด้วยเส้นเชือกจากวัสดุเดียวกันFarid Chenoune, Carried Away: All About Bags (2005).

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและถุง · ดูเพิ่มเติม »

ทิวเขาอู่ตัง

ทิวเขาอู่ตัง หรือ บู๊ตึ๊ง ในภาษาจีนฮกเกี้ยน เป็นทิวเขาที่ตั้งอยู่ในมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน มีความสำคัญของลัทธิเต๋า ที่เล่าสืบมาว่า ปรมาจารย์เจินอู่ หรือเทพเจ้าเสวียนอู่ (玄武) ได้บำเพ็ญตบะบนยอดเขาแห่งนี้ สถานที่ที่เสมือนเป็นแดนสุขาวดี ได้ใช้วิชาทั้งบุ๋นและบู๊ต่อกรกับภิกษุหลายรูปของฝ่ายพุทธจนได้รับชัยชนะ สามารถยึดเขาแห่งนี้เป็นที่พำนักสืบมา ทิวเขาอู่ตังเป็นสถานที่ที่รวมสิ่งก่อสร้างตามแบบสถาปัตยกรรมจีนหลายยุคหลายสมัยเข้าด้วยกัน ตั้งแต่ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หยวน เรื่อยมากระทั่งราชวงศ์หมิง และราชวงศ์ชิง รวมกันนับได้กว่าพันปี.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและทิวเขาอู่ตัง · ดูเพิ่มเติม »

ขงจื๊อ

งจื๊อ (Confucius; ภาษาไทยมีเรียกกันหลายชื่อ เช่น ขงฟู่จื่อ ขงบรมครูจื่อ ข่งชิว) (ตามธรรมเนียม, 8 กันยายน 551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) หรือ วันที่ 27 เดือน 8 (八月廿七日) ตามปฏิทินทางจันทรคติของจีน ชื่อรอง จ้งหนี เป็นนักคิดและนักปรัชญาสังคมที่มีชื่อเสียงของจีน คำสอนของขงจื๊อนั้น ฝังรากอิทธิพลลึกลงไปในสังคมเอเชียตะวันออกมาเป็นเวลาถึง 20 ศตวรรษ หลักปรัชญาของขงจื๊อนั้นเน้นเกี่ยวกับศีลธรรมส่วนตัว และศีลธรรมในการปกครอง ความถูกต้องเหมาะสมของความสัมพันธ์ในสังคม และ ความยุติธรรมและบริสุทธิ์ใจ ก่อนสิ้นใจ ขงจื๊อได้ทิ้งท้ายข้อความไว้กับ ซื่อคง ไว้ว่า "ขุนเขาต้องพังทลาย ขื่อคานแข็งแรงปานใด สุดท้ายต้องพังลงมา เหมือนเช่น บัณฑิตที่สุดท้ายต้องร่วงโรย".

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและขงจื๊อ · ดูเพิ่มเติม »

ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊ก

วาดจากหนังสือสามก๊กในยุคราชวงศ์หมิง ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊ก แสดงรายการเนื้อเรื่องที่แต่งเสริมขึ้นในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เรียงตามลำดับเหตุการณ์ พร้อมอธิบายความแตกต่างระหว่างเนื้อเรื่องในวรรณกรรมและข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ วรรณกรรมเรื่องสามก๊กมีเนื้อหาที่อิงมาจากประวัติศาสตร์ปลายยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออกต่อยุคสามก๊ก ซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย จึงทำให้ผู้อ่านหลายคนเข้าใจผิดว่าเนื้อเรื่องที่ปรากฏในวรรณกรรมเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในยุคสามก๊ก แหล่งข้อมูลของประวัติศาสตร์ยุคสามก๊กที่เชื่อถือได้มากที่สุดคือจดหมายเหตุสามก๊ก (ซันกั๋วจื้อหรือสามก๊กจี่) ที่เขียนโดยตันซิ่ว และเพิ่มอรรถาธิบายโดยเผยซงจือ แหล่งข้อมูลอื่นๆที่ครอบคลุมประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊กได้แก่ โฮ่วฮั่นซู (จดหมายเหตุราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง) ของฟ่านเย่ และ จิ้นซู (จดหมายเหตุราชวงศ์จิ้น) ของฝางเสฺวียนหลิ่ง ด้วยความที่วรรณกรรมเรื่องสามก๊กเป็นนิยายอิงประวัติศาสตร์ เนื้อเรื่องหลายส่วนจึงเป็นเนื้อเรื่องที่แต่งเสริมขึ้น หรือนำมาจากนิทานพื้นบ้าน หรืออิงมาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในยุคอื่นๆของประวัติศาสตร์จีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

คันจิ

ันจิ เป็นอักษรจีนที่ใช้ในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นในปัจจุบัน จัดอยู่ในประเภทอักษรคำ (Logograms) ใช้ร่วมกับตัวอักษร อีก 4 ประเภท ได้แก่ ฮิรางานะ (ひらがな, 平仮名 Hiragana) คะตาคานะ (カタカナ, 片仮名 Katakana) โรมะจิ (ローマ字 Rōmaji) และตัวเลขอารบิก คำว่า "คันจิ" หากอ่านตามเสียงภาษาจีนกลางจะอ่านว่า "ฮั่นจื้อ" มีความหมายว่า ตัวอักษรของชาวฮั่น อันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศจีน คำว่าภาษาจีนในภาษาจีนเอง ก็เรียกว่า ภาษาฮั่น (ภาษาจีนกลาง: 漢語, hànyǔ) เช่นกัน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและคันจิ · ดูเพิ่มเติม »

ตราประทับพระราชลัญจกรของจักรพรรดิจีน

ตราประทับพระราชลัญจกรของจักรพรรดิจีน เป็นเครื่องที่แสดงถึงความมีอำนาจสูงที่สุดของแผ่นดินแผ่นดินจีนในประวัติศาสตร์ ตราประทับพระราชลัญจกรในจักรพรรดิเฉียนหลง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและตราประทับพระราชลัญจกรของจักรพรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

ตัวละครในวรรณกรรมมังกรคู่สู้สิบทิศ

ใช้การออกเสียงตามหนังสือการ์ตูน ของบริษัทสยามอินเตอร์คอมิก.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและตัวละครในวรรณกรรมมังกรคู่สู้สิบทิศ · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานเก็นจิ

มุราซากิ ชิคิบุ ตำนานเก็นจิ (源氏物語; Genji Monogatari) เป็นงานเขียนของ มุราซากิ ชิคิบุ นางข้าหลวงในราชสำนักญี่ปุ่นสมัยเฮอัน หรือ เฮอันเคียว ซึ่งมีชิวิตอยู่ราวต้นศตวรรษที่ 11 ว่ากันว่า นี่คือนวนิยายที่เก่าแก่ที่สุดเรื่องหนึ่งของโลก และมีการจัดกิจกรรมฉลองครบรอบ 1000 ปี ในปี 2008 ที่ประเทศญี่ปุ่น โดยมีหลักฐานสนับสนุนจากเนิ้อความใน มุราซากิ ชิคิบุ นิกกิ (Murasaki Shikibu Nikki บันทึกของมุราซากิ ชิคิบุ) ซึ่งเธอได้เขียนบันทึกนั้นในวันที่ 1 เดือนพฤศจิกายน.1008 ว่า ฟุจิวะระ โนะ คินโตะ (Fujiwara no Kinto) นักปราชญ์ราชบัณฑิตชั้นแนวหน้าในยุคนั้น ชื่นชมในงานเขียนของเธอเป็นอันมาก และบันทึกนี้ยืนยันกับเราให้ทราบว่า เธอเขียน บท วะกะมุราซากิ จบในเวลานั้นเอง (1 พฤศจิกายน ค ศ.1008) บางข้อมูลอ้างว่า มุราซากิ ชิคิบุ เริ่มเขียน ตำนานเก็นจิที่วัดอิชิยะมะเดระ ในคืนวันจันทร์เต็มดวงของวันที่ 15 เดือนสิงหาคม ปี.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและตำนานเก็นจิ · ดูเพิ่มเติม »

ตำแหน่งมเหสีแห่งราชวงศ์ถังของจีน

ตำแหน่งมเหสีแห่งราชวงศ์ถังของจีน (Imperial consorts of Tang China) ถูกจัดแบ่งออกเป็น 8 - 9 ขั้น (ไม่นับตำแหน่งสมเด็จพระจักรพรรดินี ซึ่งเป็นตำแหน่งของพระอัครมเหสี) ซึ่งจะถูกเรียกว่า "นางใน หรือเน่ยกวน" (อังกฤษ: inner officials; จีน: 內官; พินอิน: Nèi guān) ซึ่งเทียบได้กับคำว่า "ข้าราชการในราชสำนัก หรือเจ้าหน้าที่พระราชวัง หรือกงกวน" (อังกฤษ: palace officials; จีน: 宮官; พินอิน: Gōng guān) ในระบบข้าราชการ ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและตำแหน่งมเหสีแห่งราชวงศ์ถังของจีน · ดูเพิ่มเติม »

ตู้ ฝู่

ตู้ฝู่ ตู้ ฝู่ (ค.ศ. 712 — ค.ศ. 770) เป็นกวีเอกชื่อดังของจีน ในสมัยราชวงศ์ถังมีชื่อจริงว่า จื้อเหมย มีฉายาว่าเส้นหลิงได้รับการยอมรับว่าเป็นนักกวีที่สำคัญของจีนเช่นเดียวกับหลี่ไป๋ และได้รับสมญานามว่าปราชญ์แห่งกวีด้วย ตู้ฝู่นั้นเป็นหลานชายของตู้เสินเหยียน เขาเขียนบทกวีได้ตั้งแต่อายุยังน้อย จากบทกวีกว่า 1000 บทที่เขาแต่งไว้ ผลงานชิ้นเอกของเขา ได้แก่ เปย์เจิง ชิวซิ่ง และซันสื่อซันเปี๋ย เป็นต้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและตู้ ฝู่ · ดูเพิ่มเติม »

ตี่ละฉิ่น

ตี่ละฉิ่น (သီလရှင်,; "ผู้ทรงศีล" – มาจากคำบาลีว่า สีล) เป็นนักพรตหญิงในศาสนาพุทธนิกายเถรวาทในประเทศพม่า ลักษณะเดียวกับแม่ชีในประเทศไทย และทสสีลมาตาในประเทศศรีลังกา ทั้งนี้ตี่ละฉิ่นมักถูกเข้าใจผิดว่าเป็นภิกษุณีแต่ตี่ละฉิ่นจะมีลักษณะใกล้เคียงกับสามเณรีมากกว.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและตี่ละฉิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ตี๋ เหรินเจี๋ย

ตี๋ เหรินเจี๋ย ตามสำเนียงจีนกลาง หรือ เต๊ก ยิ่นเกี๊ยด ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ค.ศ. 630 — 15 สิงหาคม ค.ศ. 700) หรือชื่อรองว่า ไหวฺอิง เป็นอัครมหาเสนาบดีแห่งราชวงศ์ถัง ในรัชศกอู่ เจ๋อเทียน (บูเช็กเทียน) เป็นข้าราชการหนึ่งในหลาย ๆ คนซึ่งได้รับการสรรเสริญมากที่สุดในรัชศกดังกล่าว และเป็นที่สดุดีว่ามีบทบาทผลักดันให้อู่ เจ๋อเทียนเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบอันโหดร้ายเป็นระบอบอันเชิดชูคุณธรรม.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและตี๋ เหรินเจี๋ย · ดูเพิ่มเติม »

ตี๋เหรินเจี๋ย ดาบทะลุคนไฟ

ตี๋เหรินเจี๋ย ดาบทะลุคนไฟ (Detective Dee, Detective Dee and the Mystery of the Phantom Flame, จีนตัวเต็ม: 狄仁傑之通天帝國(臺:通天神探狄仁傑, จีนตัวย่อ: 狄仁杰之通天帝国) ภาพยนตร์กำลังภายในแนวสืบสวนสอบสวนสัญชาติฮ่องกง นำแสดงโดย หลิว เต๋อหัว, หลิว เจียหลิง, หลี่ ปิงปิง, เหลียง เจียฮุย, เติ้งเชา กำกับโดย ฉีเคอ.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและตี๋เหรินเจี๋ย ดาบทะลุคนไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ฉางอาน

ฉางอาน ตามสำเนียงกลาง หรือ เตียงฮัน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (Chang'an) เป็นเมืองหลวงเก่าของประเทศจีน โดยมีราชวงศ์ 13 ราชวงศ์ที่เลือกนครฉางอานเป็นเมืองหลวง ปัจจุบันคือเมืองซีอาน ซึ่งเปลี่ยนชื่อในสมัยราชวงศ์ชิง ชื่อ ฉางอาน มีความหมายว่า "ความสงบสุขชั่วนิรันดร์" (Perpetual Peace) สร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์สุย ในยุคนั้นเรียกว่าเมืองต้าซิง เมื่อถึงราชวงศ์ถังจึงเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองฉางอาน เมืองนี้ใช้ระยะเวลาในการสร้างเกือบ 100 ปี แต่ความใหญ่โตมโหฬารกลับปรากฏในตอนท้าย เมืองฉางอานในยุคนั้นเมื่อเทียบกับเมืองซีอานในอดีตแล้วยังนับว่าใหญ่กว่า 10 เท่า ถือว่าเป็นเมืองระดับนานาชาติเลยก็ว่าได้ พื้นที่ส่วนหนึ่งของฉางอาน ภายในเมืองฉางอานมีพระราชวังเป็นที่ประทับขององค์พระมหากษัตริย์และเป็นที่บริหารราชภารแผ่นดิน ทางทิศใต้ของเขตพระราชวังใช้เป็นที่ทำงานของขุนนางทั้งหลาย ถนนหนทางภายในตัวเมืองฉางอานและที่พักอาศัย ถูกออกแบบคล้ายกระดานหมายรุก เป็นระเบียบเรียบร้อย ถนนหลายสายภายในเมืองมีความกว้างกว่า 100 เมตร หนึ่งในนั้น ถนน "จูเชว่" ถือได้ว่าเป็นถนนที่กว้างมากที่สุด สิ่งเหล่านี้แสดงถึงความรุ่งเรืองของบ้านเมือง เมื่อเข้าสู่ราชวงศ์หมิงและชิงก็ได้นำเอาแบบอย่างการสร้างเมืองฉางอานไปใช้ในการสร้างเมืองปักกิ่ง เมืองฉางอานมีส่วนที่ใช้เป็นที่พักอาศัยและส่วนที่ใช้ทำมาค้าขาย แบ่งเป็นสัดส่วน ภายในส่วนที่ใช้ทำมาค้าขาย มีร้านค้ามากมาย เรียกร้านค้าเหล่านี้ว่า "ห้าง" อาทิ ห้างขายเนื้อ ห้างขายปลา ห้างขายยา ห้างผ้า ห้างเหล็ก ห้างเงินทอง ฯลฯ ว่ากันว่าแค่เพียงส่วนค้าขายทางตะวันออก ก็มีร้านค้ากว่า 200 แห่ง สิ่งของหายากจากทั่วทุกสารทิศ สามารถหาซื้อได้ในเมืองฉางอาน เมืองฉางอานยังเป็นเมืองศูนย์กลางทางวัฒนธรรม มีกิจกรรมความบันเทิงต่าง ๆ มากมาย อาทิ การร้องรำทำเพลง การแข่งขันชนไก่ ชักเย่อ โล้ชิงช้า ฯลฯ จิตกร นักอักษรศิลป์ กวีที่มีชื่อเสียงต่างก็พักอาศัยอยู่ในเมืองฉางอาน ผลงานของผู้คนเหล่านี้ทำให้เมืองฉางอานมีสีสันมากขึ้น เมืองฉางอานยังเป็นเมืองที่วัฒนธรรมตะวันตกและตะวันออกมาบรรจบกัน ในยุคนั้นประเทศต่าง ๆ กว่า 70 ประเทศ ได้มาเจริญสัมพันธไมตรีกับราชวงศ์ถัง เส้นทางสายไหมมีความเจริญสูงสุด ประเทศญี่ปุ่น สยาม และประเทศอื่น ๆ อีกมากมาย ต่างส่งคนมาศึกษาเล่าเรียน พ่อค้าจากเปอร์เซีย (อิหร่านปัจจุบัน) กับทาจิกส์ (ส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันออกกลาง) ต่างมุ่งหน้ามาทำการค้าขายที่เมืองฉางอาน ในเวลานั้นเมืองฉางอานมีประชากรถึง 1 ล้านคน รวมกับชาวต่างชาติที่ย้ายมาพำนักอีกว่าหมื่นคน เมืองฉางอานไม่เพียงแต่เป็นเมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม แต่ยังกลายเป็นเมืองระดับนานาชาติที่มีชื่อเสียงเมืองหนึ่งอีกด้ว.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและฉางอาน · ดูเพิ่มเติม »

ซามูไร

ซามูไรในชุดเกราะ ถ่ายในช่วงทศวรรษที่ 1860 โดย เฟรีเช บีอาโต ซามูไร แปลเป็นภาษาไทยว่าทหาร คำว่า ซามูไร มีต้นกำเนิดจากคำว่า ซะบุระอุ ซึ่งเป็นคำกริยาในภาษาญี่ปุ่นโบราณ ที่มีความหมายว่า รับใช้ ฉะนั้น ซามูไรก็คือคนรับใช้นั่นเอง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและซามูไร · ดูเพิ่มเติม »

ซิ ยิ่นกุ้ย

ซิ ยิ่นกุ้ย (อังกฤษ: Xue Rengui) เป็นบุคคลที่ตัวตนจริง ๆ ในพงศาวดารของจีน เป็นเรื่องราวของแม่ทัพที่มีพละกำลังมาก และไม่เคยแพ้ใคร และเป็นแม่ทัพที่งัก ฮุย วีรบุรุษอีกคนในวัฒนธรรมจีนรุ่นต่อมานับถืออีกด้วย แต่เรื่องราวของซิ ยิ่นกุ้ยมักถูกเล่าจนเป็นตำนานจนคล้ายเป็นเรื่องแต่งมากกว่าเรื่องจริง เรื่องราวของซิ ยิ่นกุ้ยไม่ทราบว่าใครเป็นผู้แต่ง แต่ได้มีการแต่งเนื้อเรื่องต่อมาในรุ่นลูกและรุ่นหลาน คือ ซิ ติงซาน (薛丁山, Xue Dingshan) และซิ กัง (薛剛, Xue Gang) ซิ ยิ่นกุ้ย เกิดที่มณฑลซานซี ในปี ค.ศ. 614 ตรงกับรัชสมัยฮ่องเต้สุย หยางตี้ แห่งราชวงศ์สุย โดยไม่ทราบประวัติก่อนหน้านี้ ทราบแต่เพียงว่าซิ ยิ่นกุ้ยและภรรยามี แซ่เล่า (柳) มีชื่อเดิมว่า ซิ หลี่ (Xue Li, 薛禮) และมาจากครอบครัวชาวนาที่ยากจน ก่อนจะสมัครเป็นทหารจนเติบโตในหน้าที่จนถึงเป็นแม่ทัพใหญ่ รับราชการถึง 2 รัชกาล ในรัชกาลฮ่องเต้ถัง ไท่จง และฮ่องเต้ถัง เกาจง เป็นแม่ทัพที่มีบทบาทสำคัญในยุคราชวงศ์ถังกับการทำสงครามกับอาณาจักรทางทิศตะวันออก ในปี ค.ศ. 640 (อาณาจักรโกคูรยอ) และอาณาจักรทางทิศตะวันตก ในปี ค.ศ. 670 (ทิเบตในปัจจุบัน) ก่อนที่จะเสียชีวิตในปี ค.ศ. 683.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและซิ ยิ่นกุ้ย · ดูเพิ่มเติม »

ซุมะ

หาด สุมะ ถ่ายจาก สวนริมชายหาด สุมะ - สู่สุมะ (須磨, Suma) "Suma" เป็นบทที่ 12 ของตำนานเก็นจิ ผลงานของ มุระซะกิ ชิคิบุ จากทั้งหมด 54 บท.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและซุมะ · ดูเพิ่มเติม »

ซูโจว

ซูโจว (จีนตัวเต็ม: 蘇州; จีนตัวย่อ: 苏州) เป็นเมืองสำคัญทางตะวันออกเฉียงใต้ของมณฑลเจียงซู ซึ่งอยู่ทางภาคตะวันออกของประเทศจีน อยู่ติดกับเขตการปกครองพิเศษเซี่ยงไฮ้ ตั้งอยู่บริเวณพื้นที่ตอนปลายของแม่น้ำแยงซี ริมฝั่งทะเลสาบไท่หรือไท่หู (อังกฤษ: Lake Tai or Tai Hu; จีนตัวย่อ: 太湖) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำแยงซี เป็นเขตการปกครองระดับจังหวัดที่มีประชากรอาศัยอยู่มากกว่า 4 ล้านคนในเขตเมือง และมีประชากรรวมกว่า 10 ล้านคนในพื้นที่เขตปกครองทั้งหมด เมืองซูโจวยังถือได้ว่าเป็นเมืองที่ร่ำรวยที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศจีน เป็นศูนย์กลางด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม ศูนย์กลางการค้า และการขนส่ง นอกจากนี้ซูโจวยังเป็นเมืองสำคัญด้านวัฒนธรรม การศึกษา ศิลปะ และการคมนาคม เมืองซูโจวเริ่มก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อ 514 ปี ก่อนคริสตกาล มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 2,500 ปี ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ในสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออก หรือเมื่อประมาณ 100 ปี ก่อนคริสตกาล เมืองซูโจวเป็นหนึ่งในสิบเมืองใหญ่ที่สุดในโลกเนื่องจากมีผู้คนอพยพเข้ามาอยู่จำนวนมาก และในศตวรรษที่ 10 สมัยราชวงศ์ซ่ง เมืองซูโจวเคยเป็นเมืองศูนย์กลางด้านพาณิชย์ที่สำคัญของประเทศ ต่อมาในสมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง จนถึงช่วงกบฏไท่ผิง (Taiping Rebellion) ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและซูโจว · ดูเพิ่มเติม »

ซีอาน

ซีอาน หอระฆังกลางเมืองซีอาน วิวซีอาน ซีอาน เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีนซีอาน เป็นเมืองแห่งประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของโลกเมืองหนึ่ง ความหมาย: ความสงบสุขทางตะวันตก) เป็นเมืองหลวงของมณฑลส่านซี ในประเทศจีน และเป็นหนึ่งในเมืองสำคัญในประวัติศาสตร์จีน ในอดีตซีอานได้เป็นเมืองหลวงของ 13 ราชวงศ์ รวมทั้ง โจว ชิน ฮั่น และ ถัง ซีอานยังเป็นเมืองปลายทางของเส้นทางสายไหม ซีอานมีประวัติอันยาวนานมากกว่า 3,100 ปี โดยชื่อเดิมว่า ฉางอาน (长安, 長安 พินอิน: Cháng'ān) ซึ่งมีความหมายว่า "ความสงบสุขชั่วนิรันดร์" ซีอานเป็นเป็นเมืองที่เจริญและใหญ่ที่สุดในส่วนตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีน และเป็น 1 ใน 10 เมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศจีน ภูมิอากาศของภูมิภาคนี้อบอุ่น มีฝนตกมาก มีปริมาณฝนเทียบได้ใกล้เคียงกับภูมิภาคด้านใต้ของประเทศจีนในปัจจุบัน ดังนั้น ประชากรที่นี่จึงค่อนข้างมาก ทางตะวันออกของ ซีอาน ห่างไปประมาณ 6 กิโลเมตร มีหมู่บ้านชื่อ ปั้น-ภอ-ฌุน ได้มีการค้นพบหมู่บ้านที่มีอายุกว่า 6 พันปี ซึ่งมีประชากรประมาณ 500 คน ฮ่องเต้ของราชวงศ์โจวตะวันตก ได้เคยสร้างเมืองหลวง 2 เมือง ทางตะวันตกของ ซีอาน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและซีอาน · ดูเพิ่มเติม »

ประมวลกฎหมายไทโฮ

ประมวลกฎหมายไทโฮ ประมวลกฎหมายโบราณของญี่ปุ่นที่ประกาศใช้เมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและประมวลกฎหมายไทโฮ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน

ริเวณที่เป็นประเทศอัฟกานิสถานในอดีตในยุคเปอร์เซียเรืองอำนาจ (559–330ก่อน ค.ศ.) '''พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช''' ผู้เข้ามายึดครองจักรวรรดิเปอร์เซียและนำอิทธิพลของกรีกเข้ามา ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน เป็นประวัติศาสตร์ของประเทศอัฟกานิสถาน ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณรอยต่อระหว่างเอเชียกลาง เอเชียตะวันตก และเอเชียใต้ ทำให้ในประวัติศาสตร์ของอัฟกานิสถานเกี่ยวข้องกับการอพยพของผุ้คนกลุ่มต่างๆ เข้ามาในบริเวณนี้ ชนกลุ่มใหญ่ในอัฟกานิสถานเป็นชนเชื้อสายอิหร่านที่พูดภาษากลุ่มอิหร่าน เช่น ภาษาพาซตู ภาษาดารีเปอร์เซีย อิทธิพลของชาวอาหรับที่เข้ามาพร้อมกับศาสนาอิสลามมีผลต่ออัฟกานิสถานยุคใหม่ นอกจากนั้น อัฟกานิสถานในยุคโบราณยังได้รับอิทธิพลจากกรีซ เอเชียกลาง ชาวปะกัน ชาวพุทธในอินเดีย และชาวฮินดู รวมทั้งผู้นับถือศาสนาโซโรแอสเตอร์ที่เข้ามาในบริเวณนี้ หลังจากสิ้นสุดยุคจักรวรรดิ อัฟกานิสถานปกครองด้วยระบอบกษัตริย์ตั้งแต..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์โลก

ประวัติศาสตร์โลกหรือประวัติศาสตร์มนุษยชาติเริ่มต้นที่ยุคหินเก่า ประวัติศาสตร์โลกไม่รวมประวัติศาสตร์ธรรมชาติที่ไม่ใช่มนุษย์และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยา ยกเว้นตราบเท่าที่โลกธรรมชาตินั้นกระทบต่อชีวิตมนุษย์เป็นอย่างมาก ประวัติศาสตร์โลกประกอบด้วยการศึกษาทางโบราณคดีและหลักฐานลายลักษณ์อักษรตั้งแต่สมัยโบราณ ประวัติศาสตร์โบราณที่มีบันทึกเริ่มต้นจากการประดิษฐ์การเขียน ทว่า รากเหง้าแห่งอารยธรรมมีมาแต่ก่อนการประดิษฐ์การเขียน สมัยก่อนประวัติศาสตร์เริ่มต้นในยุคหินเก่า ต่อด้วยยุคหินใหม่และการปฏิวัติเกษตรกรรม (ระหว่าง 8000 ถึง 5000 ปีก่อนคริสตกาล) ในพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ (Fertile Crescent) การปฏิวัติเกษตรกรรมเป็นเครื่องหมายการเปลี่ยนแปลงในประวัติศาสตร์มนุษย์ โดยมนุษย์เริ่มต้นทำการเกษตร คือ กสิกรรมและการเลี้ยงสัตว์อย่างเป็นระบบ เมื่อเกษตรกรรมก้าวหน้าขึ้น มนุษย์ส่วนมากเปลี่ยนจากวิถีชีวิตเร่ร่อนมาเป็นตั้งถิ่นฐานเป็นเกษตรกรในนิคมถาวร การเร่ร่อนยังมีอยู่ในบางที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ห่างไกลซึ่งมีพืชที่เพาะปลูกได้ไม่กี่ชนิด แต่ความมั่นคงสัมพัทธ์และผลิตภาพที่เพิ่มขึ้นจากกสิกรรมทำให้ชุมชนมนุษย์ขยายเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่า ซึ่งความก้าวหน้าในการขนส่งก็มีส่วนช่วย เมื่อกสิกรรมพัฒนา การเพาะปลูกธัญพืชมีความซับซ้อนขึ้นและทำให้มีการแบ่งงานกันทำเพื่อเก็บอาหารระหว่างฤดูเพาะปลูก จากนั้นการแบ่งงานทำให้เกิดชนชั้นสูงที่สุขสบายและพัฒนาการนคร สังคมมนุษย์ที่ซับซ้อนมากขึ้นทำให้ระบบการเขียนและการบัญชีมีความจำเป็น หลายนครพัฒนาบนตลิ่งทะเลสาบและแม่น้ำ ตั้งแต่ 3000 ปีก่อนคริสตกาล เกิดนิคมโดดเด่นและมีการพัฒนา เช่นในเมโสโปเตเมีย ริมตลิ่งแม่น้ำไนล์แห่งอียิปต์ และหุบแม่น้ำสินธุ อาจมีอารยธรรมคล้ายกันพัฒนาขึ้นตามแม่น้ำสำคัญในจีน แต่หลักฐานทางโบราณคดีของการสร้างเมืองอย่างกว้างขวางในที่นั้นชัดแจ้งน้อยกว่า ประวัติศาสตร์โลกเก่า (โดยเฉพาะอย่างยิ่งยุโรปและเมดิเตอร์เรเนียน) โดยทั่วไปแบ่งเป็นยุคโบราณ ถึง..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและประวัติศาสตร์โลก · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เวียดนาม

วียดนาม เรียกชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มีเนื้อที่ทั้งหมด 337,912 ตารางกิโลเมตร มีประชากรร่วม 89 ล้านคน (พ.ศ. 2554) เมืองหลวงคือ ฮานอย ประชากรส่วนใหญ่ของชาวเวียดนาม คือ ชาวเวียดนาม มีอยู่ประมาณร้อยละ 86 นอกจากนี้ยังมีชนกลุ่มน้อยอีก ได้แก่ โท้ ไต ม้ง เขมร และอื่นๆ ภาษาราชการ คือ ภาษาเวียดนาม ส่วนภาษาอื่นๆที่นิยมใช้ คือ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาของแต่ละชนชาติ ประวัติความเป็นมาของเวียดนามสามารถสืบย้อนกลับไปได้มากกว่า 4000 ปีก่อน การค้นพบทางโบราณคดีจากปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและประวัติศาสตร์เวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เอเชียกลาง

แผนที่เอเชียกลางแสดงเขตแดนตามคำนิยามที่ต่างกัน 3 แบบ ''Equus przewalskii'' หรือม้าป่ามองโกเลีย, หรือทาคี, อาจเป็นบรรพบุรุษของม้าบ้าน. ประวัติศาสตร์เอเชียกลาง คือ ประวัติศาสตร์ของดินแดนเอเชียกลาง ซึ่งเป็นบริเวณที่ทำการเกษตรได้ยากและอยู่ห่างไกลจากทะเล ทำให้ถูกตัดขาดจากเส้นทางการค้า เมืองใหญ่ๆจึงเกิดขึ้นน้อย ชนร่อนเร่ที่เชี่ยวชาญการขี่ม้าเป็นกลุ่มชนหลักในทุ่งหญ้าสเตปป์ และความสัมพันธ์ระหว่างชนร่อนเร่และกลุ่มชนอื่นๆในเอเชียกลางเต็มไปด้วยความขัดแย้ง ทักษะในการขี่ม้าของพวกเขาทำให้กลายเป็นนักรบที่มีประสิทธิภาพกลุ่มหนึ่งของโลก ผู้นำเผ่าจะเป็นผู้จัดการนำเผ่าย่อย ๆ มารวมกันเป็นกองทัพ ตัวอย่างของกลุ่มชนเหล่านี้ เช่น ชาวฮันที่เข้ารุกรานยุโรป กลุ่มชนเตอร์กิกที่อพยพเข้าสู่ทรานโซเซียนา(Transoxiana) พวกหูทั้ง 5 ชนกลุ่ม(Five Barbarians)ที่โจมตีจักรวรรดิฮั่น และชาวมองโกลที่มีอิทธิพลในเอเชียและยุโรป ความโดดเด่นของชนร่อนเร่สิ้นสุดลงในพุทธศตวรรษที่ 21 เมื่ออาวุธสมัยใหม่เข้ามามีบทบาทในสงคราม จักรวรรดิรัสเซีย ราชวงศ์หมิงของจีน และมหาอำนาจอื่นเข้าครอบครองเอเชียกลางทั้งหมดในพุทธศตวรรษที่ 24 หลังการปฏิวัติรัสเซี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและประวัติศาสตร์เอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาพุทธ

นาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่สำคัญคือเถรวาทและมหายาน นิกายมหายานได้แพร่หลายไปทั่วเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก เมื่อศาสนาพุทธในอินเดียเสื่อมลง พุทธศาสนามหายานในเอเชียกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เสื่อมตามไปด้วย ยังคงเหลือในจีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม ส่วนนิกายเถรวาทได้เฟื่องฟูขึ้นอีกครั้งในศรีลังกา และแพร่หลายไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พุทธศาสนาได้แพร่หลายไปยังโลกตะวันตกตั้งแต่ครั้งโบราณ แต่ชาวตะวันตกหันมาสนใจพุทธศาสนามากขึ้นในยุคจักรวรรดินิยมและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและประวัติศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำตาล

องน้ำตาลดิบ (ไม่ขัดและไม่ฟอกขาว) น้ำตาล เป็นชื่อเรียกทั่วไปของคาร์โบไฮเดรตชนิดละลายน้ำ โซ่สั้น และมีรสหวาน ส่วนใหญ่ใช้ประกอบอาหาร น้ำตาลเป็นคาร์โบไฮเดรตที่ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน มีน้ำตาลหลายชนิดเกิดมาจากที่มาหลายแหล่ง น้ำตาลอย่างง่ายเรียกว่าโมโนแซ็กคาไรด์และหมายรวมถึงกลูโคส (หรือ เด็กซ์โตรส) ฟรุกโตส และกาแลกโตส น้ำตาลโต๊ะหรือน้ำตาลเม็ดที่ใช้เป็นอาหารคือซูโครส เป็นไดแซ็กคาไรด์ชนิดหนึ่ง (ในร่างกาย ซูโครสจะรวมตัวกับน้ำแล้วกลายเป็นฟรุกโตสและกลูโคส) ไดแซ็กคาไรด์ชนิดอื่นยังรวมถึงมอลโตส และแลกโตสด้วย โซ่ของน้ำตาลที่ยาวกว่าเรียกว่า โอลิโกแซ็กคาไรด์ สสารอื่น ๆ ที่แตกต่างกันเชิงเคมีอาจมีรสหวาน แต่ไม่ได้จัดว่าเป็นน้ำตาล บางชนิดถูกใช้เป็นสารทดแทนน้ำตาลที่มีแคลอรีต่ำ เรียกว่าเป็น วัตถุให้ความหวานทดแทนน้ำตาล (artificial sweeteners) น้ำตาลพบได้ทั่วไปในเนื้อเยื่อของพืช แต่มีเพียงอ้อย และชูการ์บีตเท่านั้นที่พบน้ำตาลในปริมาณความเข้มข้นเพียงพอที่จะสกัดออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ อ้อยหมายรวมถึงหญ้ายักษ์หลายสายพันธุ์ในสกุล Saccharum ที่ปลูกกันในเขตร้อนอย่างเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่สมัยโบราณ การขยายการผลิตเกิดขึ้นในคริสศตวรรษที่ 18 พร้อมกับการสร้างไร่น้ำตาลในเวสต์อินดีส และอเมริกา เป็นครั้งแรกที่คนทั่วไปได้ใช้น้ำตาลเป็นสิ่งที่ให้ความหวานแทนน้ำผึ้ง ชูการ์บีต โตเป็นพืชมีรากในที่ที่มีอากาศเย็นกว่าและเป็นแหล่งที่มาส่วนใหญ่ของน้ำตาลในศตวรรษที่ 19 หลังจากมีวิธีสกัดน้ำตาลเกิดขึ้นหลายวิธี การผลิตและการค้าน้ำตาลเปลี่ยนแปลงไปตามวิถีชีวิตของมนุษย์ มีอิทธิพลต่อการก่อตั้งอาณานิคม การมีอยู่ของทาส การเปลี่ยนผ่านไปสู่สัญญาแรงงาน การย้ายถิ่นฐาน สงครามระหว่างชาติที่ครอบครองน้ำตาลในศตวรรษที่ 19 การรวมชนชาติและโครงสร้างทางการเมืองของโลกใหม่ โลกผลิตน้ำตาลประมาณ 168 ล้านตันในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

แคะ

แคะ หรือ ฮากกา (客家 คำว่า แคะ ในภาษาไทยถูกเรียกตามภาษาแต้จิ๋วว่า แขะแก ในภาษาจีนกลางเรียกว่า เค่อเจีย มีความหมายว่า ครอบครัวผู้มาเยือน ส่วนในภาษาจีนแคะเอง เรียกว่า ขักก๊า หรือ ฮากกา) คือ ชนกลุ่มจีนฮั่นกลุ่มหนึ่ง ซึ่งกล่าวกันว่ามีบรรพบุรุษที่มีต้นกำเนิดบริเวณมณฑลเหอหนานและซานซี ทางตอนเหนือของจีนเมื่อราว 2,700 ปีที่แล้ว บรรพบุรุษของชาวจีนแคะอพยพลงใต้ เนื่องจากความไม่สงบทางสังคม การลุกฮือ และการรุกรานจากผู้ยึดครองต่างชาติตั้งแต่ยุคราชวงศ์จิ้น (ค.ศ. 265-420) กระแสการอพยพครั้งต่อ ๆ มาเกิดขึ้นเมื่อยุคสิ้นราชวงศ์ถัง เมื่อประเทศจีนแตกออกเป็นส่วน ๆ และช่วงราชวงศ์ซ่ง ซึ่งเป็นช่วงที่ประชากรทางภาคเหนือลดลง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและแคะ · ดูเพิ่มเติม »

แตงโม

ใบแตงโม แตงโม เป็นผลไม้ที่มีน้ำประกอบอยู่เป็นจำนวนมาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก บักโม ภาคเหนือเรียก บะเต้า จังหวัดตรังเรียกแตงจีน ถิ่นกำเนิดอยู่ในทะเลทรายคาลาฮารีทวีปแอฟริกา ชาวอียิปต์เป็นชาติแรกที่ปลูกแตงโมไว้รับประทานเมื่อสี่พันปีมาแล้ว ชาวจีนเริ่มปลูกแตงโมที่ซินเกียงสมัยราชวงศ์ถัง และชาวมัวร์ได้นำแตงโมไปสู่ทวีปยุโรป แตงโมแพร่หลายเข้าสู่ทวีปอเมริกาพร้อมกับชาวแอฟริกาที่ถูกขายเป็นทาส แตงโมต้องการดินที่มีความชุ่มชื้นพอเหมาะ น้ำไม่ขัง มักปลูกกันในดินร่วนปนทราย ในประเทศไทยมีการปลูกแตงโมทั่วทุกภูมิภาค และปลูกได้ทุกฤดู แตงโมเป็นพืชในวงศ์เดียวกับแคนตาลูปและฟัก เป็นพืชล้มลุกเป็นเถา อายุสั้น เถาจะเลื้อยไปตามพื้นดิน มีขนอ่อนปกคลุม ผลมีทั้งทรงกลมและทรงกระบอก เปลือกแข็ง มีทั้งสีเขียวและสีเหลือง บางพันธุ์มีลวดลายบนเปลือก ในเนื้อมีเมล็ดสีดำแทรกอยู่ แตงโมที่นิยมปลูกโดยทั่วไปมี 3 พันธุ์คือปลาดุก.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและแตงโม · ดูเพิ่มเติม »

แต้จิ๋ว (เมือง)

แต้จิ๋ว (潮州) หรือ เฉาโจว (ตามภาษาจีนกลาง) เป็นเมืองซึ่งตั้งอยู่ติดกับซัวเท้าทางทิศใต้ (หรือที่คนไทยรู้จักในนามซัวเถา 汕頭市) จรดเมืองกิ๊กเอี๊ยทางตะวันตกเฉียงใต้ (หรือ เจียหยางในภาษาจีนกลาง) จรดเมืองเหมยโจวทางตะวันตกเฉียงเหนือ และจรดมณฑลฝูเจี้ยน (หรือมณฑลฮกเกี้ยนในภาษาไทย) ทางทิศตะวันออก และจรดทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และแต้จิ๋วก็เป็นภาษาจีนที่ใช้ในกลุ่มของคนจีนแต้จิ๋ว หรือสำเนียงแต้จิ๋ว.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและแต้จิ๋ว (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

แซ่แต้

แต้ ตามสำเนียงแต้จิ๋วและฮกเกี้ยน หรือ เจิ้ง ตามสำเนียงจีนกลาง เป็นแซ่หรือสกุลหนึ่งของชาวจีน และเป็นสกุลเดียวกับประเทศที่รับวัฒนธรรมจีนโดยออกเสียงตามสำเนียงของตน ในภาษาเวียดนามว่า จิ่ญ (Trịnh; จื๋อโนม: 鄭) ภาษาเกาหลีว่า ช็อง และภาษาญี่ปุ่นว่า เต ในประเทศจีน ได้มีการจัดอันดับแซ่ที่มีผู้ใช้มากที่สุด 100 อันดับ ผลสำรวจพบว่ามีผู้ใช้ แซ่เจิ้ง เป็นอันดับที่ 21 หรือคิดเป็นร้อยละ 10 ของประชากร โดยในยุคราชวงศ์ถัง คนในแซ่เจิ้งส่วนใหญ่มีฐานะดีและทรงอิทธิพล ในฮ่องกงและไต้หวัน นามสกุลดังกล่าวได้สะกดด้วยอักษรโรมันเป็น Cheng หรือ Tcheng ในฮ่องกงบ้างสะกดว่า Chang ในมาเลเซียสะกดว่า Cheang หรือ Teh ในสิงคโปร์สะกดว่า Tay และในอินโดนีเซียสะกดว่า The ส่วนในประเทศไทยสันนิษฐานว่ามีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อครั้งที่ชาวจีนที่ใช้แซ่เจิ้งหรือแซ่แต้ได้มาตั้งรกรากและมีครอบครัวในเมืองไทย โดยหนึ่งในนั้นคือ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ซึ่งพระราชสกุลเดิมคือแซ่แต้สืบแต่บิดา แต่ในปัจจุบันลูกหลานของผู้ใช้ แซ่แต้ ส่วนมากได้เปลี่ยนเป็นนามสกุลให้เป็นไทย แต่จะขึ้นต้นด้วย เต และ เตชะ ตัวอย่างนามสกุลที่มีในประเทศไทย เช่น เตชะไพบูลย์ เตชะรัตนประเสริฐ เตชะมนตรีกุล เตชะภาณุรักษ์ และอื่น ๆ ยังเป็นแซ่ที่มีคนใช้มากที่สุดเป็นอันดับ 8 ของประเทศไทย 25,922 คน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและแซ่แต้ · ดูเพิ่มเติม »

โว่หลงกัง

ทางเข้าวัดวู่โหฺว ที่โว่หลงกัง โว่หลงกัง ตามสำเนียงกลาง หรือ โงลังกั๋ง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นทัศนียเขตทางวัฒนธรรมใน เมืองหนันหยาง มณฑลเหอหนัน สาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อเสียงเป็นอันมากเนื่องจากจูเกอ เลี่ยง (ฮกเกี้ยนว่า จูกัดเหลียง) อัครมหาเสนาบดีแห่งรัฐฉู่ฮั่นในสมัยสามอาณาจักร เคยพำนักอยู่เกือบสิบปี.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและโว่หลงกัง · ดูเพิ่มเติม »

โจผี

ระเจ้าโจผี หรือ เฉาพี พระนามรอง จื่อหวน เป็นพระโอรสองค์รองในพระเจ้าโจโฉ ได้สืบต่อตำแหน่ง วุยอ๋อง และอำนาจต่อหลังจากโจโฉสิ้นพระชนม์ไปแล้ว ภายหลังจึงได้ล้มล้างราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ปราบดาภิเษกเป็นปฐมจักรพรรดิของราชวงศ์เว่ย (วุยก๊ก) ทรงพระนามว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเว่ยเหวินตี้ (- จักรพรรดิแห่งเว่ย) ในปี พ.ศ. 763 โจผีนั้นเป็นบุตรคนรอง แต่ก็ได้มีบทบาทในการสืบทอดอำนาจจากโจโฉ เนื่องจากบุตรชายคนโต คือ โจงั่ง ได้เสียชีวิตไปตั้งแต่ยังอายุน้อยในการติดตามโจโฉไปทำสงคราม ในนิยายสามก๊กได้ โจโฉได้กล่าวถึงโจผี ว่าเป็นคนมีปัญญา จิตใจหนักแน่น โอบอ้อมอารีย์ จึงสมควรจะเป็นสืบทอดอำนาจของตน โจผีเป็นผู้เชี่ยวชาญในการแต่งกลอน กาพย์กวี เช่นเดียวกับโจโฉผู้บิดา และยังได้เคยติดตามบิดาออกไปทำสงครามบ่อยครั้ง ตั้งแต่ยังเยาว์ โจผีมีภรรยาหลวง คือนางเอียนสี ซึ่งได้ตัวมาเมื่อครั้งที่โจโฉทำสงครามกัวต๋อกับตระกูลอ้วน นางเอียนสีนั้นเป็นสาวงามที่มีชื่อว่า เป็นหญิงงามแห่งแผ่นดินทางเหนือ และยังเป็นภรรยาม่ายของอ้วนฮี บุตรชายของอ้วนเสี้ยว คู่ศึกของโจโฉ จึงย่อมถือเป็นเชลยศึก แต่โจผีก็ได้รับนางมาตกแต่งเป็นภรรยาหลวง ในขณะนั้นโจผีอายุได้ 17 ปี ขณะที่นางเอียนสีอายุมากกว่า คือ 22 ปี ซึ่งภายหลังเมื่อโจผีได้ขึ้นครองราชย์ ก็ได้สถาปนานางเป็นฮองเฮา เนื่องจากการที่โจผีขึ้นครองราชย์ สถาปนาตนเองเป็นฮ่องเต้ จึงทำให้ซุนกวนและเล่าปี่ต้องสถาปนาตนเองเป็นฮ่องเต้ตามไปด้วย ก่อให้เกิดสภาพของสามก๊กอย่างแท้จริง พระเจ้าโจผีเมื่อได้ปราบดาภิเษกเป็นฮ่องเต้ในเบื้องแรกนั้นก็ได้ทรงดำริจะทำการกวาดล้างศัตรูทุกคน รวมไปถึงพระอนุชา คือ โจสิด ซึ่งมีสติปัญญา และฝีมือในเชิงการกวี เช่นเดียวกับพระองค์ และเคยเป็นคู่แข่งในการแต่งตั้งรัชทายาทของโจโฉด้วย แต่โจสิดสามารถเอาตัวรอดได้ โดยการแต่งโคลงมีใจความว่า ต้นถั่วเผาต้นถั่ว ในกระทะถั่วร้องไห้ กำเนิดจากรากเดียวกัน เหตุไฉนคิดทำลาย มีความหมายถึง การที่พี่น้องซึ่งมาจากจุดกำเนิดเดียวกัน กลับต้องมาสังหารเข่นฆ่ากัน ด้วยเหตุใด ทำให้พระเจ้าโจผีสะเทือนพระทัย และไม่อาจสังหารพระอนุชาได้ ซึ่งโคลงบทกวีที่โจสิดแต่งขึ้นเพื่อเอาชีวิตรอดนี้มีชื่อเสียงมาก พระเจ้าเว่ยเหวินตี้ โจผี เป็นฮ่องเต้ที่ครองราชย์ในระยะอันสั้นเพียง 7 ปี เท่านั้น ก็ทรงพระประชวร และเสด็จสวรรคต ในปี พ.ศ. 769 สิริรวมพระชนมายุได้ 39 พรรษ.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและโจผี · ดูเพิ่มเติม »

โป๊ยเซียน (เทพเจ้าจีน)

300px โป๊ยเซียน, ปาเซียน หรือ แปดเทพ (Eight Immortals หรือ Eight Genies) คือ เซียนแปดองค์ ตามความเชื่อในลัทธิเต๋าของจีน เป็นเทพเจ้าที่ชาวจีนนับถือมาช้านาน นับเป็นหนึ่งในบรรดาเซียนนับร้อย ๆ องค์ของจีน แต่เซียนทั้งแปดนี้ นับว่าเป็นที่รู้จักดีและได้นับการนับถืออย่างกว้างขวางมาก ในศาลเจ้าตามของหมู่บ้านชาวจีน มักจะมีแท่นบูชาที่ปูด้วยผ้ามีภาพวาดเซียนทั้งแปดรวมเป็นกลุ่ม บ้างก็เป็นภาพเซียนนั่งเรือกลับจากการไปงานประชุมท้อสวรรค์ (Conference of the Magical Peach) สมาชิกทั้ง 8 ในกลุ่มของโป๊ยเซียนนั้นแตกต่างกันไปตามยุคสมัย แต่ปัจจุบันนี้โป๊ยเซียนมีด้วยกันดังนี้ เซียนแต่ละองค์ในบรรดา 8 องค์นี้ มีประวัติที่มา และอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์แตกต่างกันไป ในปัจจุบันทั้งชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีน ยังนิยมนับถือบูชาโป๊ยเซียนอย่างสม่ำเสมอ หมวดหมู่:แปดเทพ.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและโป๊ยเซียน (เทพเจ้าจีน) · ดูเพิ่มเติม »

โปเยโปโลเย

หลียวไจจื้ออี้ ("เรื่องประหลาดจากห้องหนังสือ") เป็นที่รู้จักในประเทศไทยว่า โปเยโปโลเย หรือสำเนียงกลางว่า ปัวเหร่อปัวหลัวหมี่ ("ปรัชญาปารมิตา") เป็นนิยายของ ผู ซงหลิง (蒲松龄) แต่งขึ้นในสมัยราชวงศ์ชิงจากเรื่องเล่าของจีน ตอนที่นำมาทำเป็นภาพยนตร์ที่ทำให้โด่งดังในหลาย ๆ ประเทศได้แก่ตอนที่มีชื่อว่า "เนี่ย เสี่ยวเชี่ยน" มีเนื้อเรื่องย้อนไปสมัยราชวงศ์ถังเล่าถึงความรักต้องห้ามระหว่างมนุษย์ที่มีนามว่า หนิงไฉ่เฉิน และปีศาจที่มีนามว่า เสี่ยวเชี่ยน พร้อมกับเล่าถึงสงครามระหว่างปีศาจและมนุษย์ นิยายเรื่องนี้นำมาสร้างเป็นภาพยนตร์หลายครั้ง ได้แก.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและโปเยโปโลเย · ดูเพิ่มเติม »

ไช่ หลุน

หลุน (ราว ค.ศ. 50 ถึง ค.ศ. 121) หรือชื่อรองว่า จิ้งจ้ง (敬仲) เป็นขันทีชาวจีนซึ่งถือกันว่า คิดค้นกระดาษและวิธีผลิตกระดาษชนิดที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอันต่างจากกระดาษพาไพรัสของอียิปต์ แม้ในประเทศจีนมีกระดาษหลายรูปแบบมาตั้งแต่ 200 ปีก่อน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและไช่ หลุน · ดูเพิ่มเติม »

ไท่ช่างหฺวัง

ท่ช่างหฺวัง (แปลตรงตัวว่า พระเจ้าหลวง) เป็นสมัญญาของจักรพรรดิจีนที่สละราชสมบัต.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและไท่ช่างหฺวัง · ดูเพิ่มเติม »

ไป๋ จวีอี้

ภาพวาดของไป๋จวีอี้กวีสมัยราชวงศ์ถัง ไป๋จวีอี้ (จีน: 白居易; พินอิน: Bái Jūyì; Wade-Giles: Po Chü-i, 772–846) เขาเป็นกวีช่วงกลางราชวงศ์ถัง มีบทประพันธ์กว่า 2,800 บท เขาถึงแก่กรรมเมื่อ ค.ศ.846 (พ.ศ. 1389) ขณะอายุได้ 74 ปี หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:กวีชาวจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและไป๋ จวีอี้ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงของหลี่ฮงชาน

ลงของหลี่ฮงชาน เป็นเพลงชาติฉบับแรกอย่างไม่เป็นทางการของจักรวรรดิจีน บทร้องประพันธ์โดย หลี่ ฮงชาน เมื่อ ค.ศ. 1896 สมัยราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเพลงของหลี่ฮงชาน · ดูเพิ่มเติม »

เกา ฉางกง

รูปปั้นเกา ฉางกง ที่ศาลเจ้าอิสึกุชิมะ ประเทศญี่ปุ่น เกา ฉางกง (Gao Changgong; 高长恭; พินอิน: Gāo Chánggōng) หรือชื่อเดิมว่า เกา ซู (Gao Su; จีนตัวเต็ม:高肅; จีนตัวย่อ: 高肃; Gāo Sù) หรือ เกา เซี่ยวกวาน (高孝瓘; Gao Xiaoguan) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อของ หลานหลิงหวาง หรือ เจ้าชายแห่งหลานหลิง (蘭陵王; Prince of Lanling) เป็นบุคคลสำคัญที่ปรากฏในหน้าประวัติศาสตร์จีนในยุคราชวงศ์เหนือใต้ (ค.ศ.420–589) เกา ฉางกง เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเกา ฉางกง · ดูเพิ่มเติม »

เกียวโต (นคร)

แผนที่ ไดไดริ (แบบจำลอง) ของนครเฮอังเกียว เกียวโต, 1891 นักท่องเที่ยวที่วัดคิโยะมิซุ นครเกียวโต (ออกเสียง: เคียวโตะ) เป็นเมืองหลักของจังหวัดเกียวโต และเป็นอดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจัดว่าเป็นศูนย์กลางของเกาะฮนชู นอกจากนี้ นครเกียวโตยังเป็นหนึ่งในสมาชิกของ กลุ่มเมืองใหญ่ "เคฮันชิง" และนครเกียวโต ยังจัดว่าเป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 11 ของโลก ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเกียวโต (นคร) · ดูเพิ่มเติม »

เก็มปุกุ

เก็มปุกุ หรือ พิธีฉลองการเจริญวัย พิธีโบราณของญี่ปุ่นที่ถูกจัดขึ้นเพื่อแสดงถึงการเติบโตเป็นผู้ใหญ่ซึ่งพิธีนี้เป็นพิธีที่รับมาจากเมืองจีนในสมัย ราชวงศ์ถัง โดยต้องย้อนไปถึง ยุคนะระ (1253 – 1337) เมื่อการประกอบพิธีเก็มปุกุเสร็จสิ้นลงก็จะมีการมอบชื่อใหม่ให้กับผู้รับการประกอบพิธีซึ่งปัจจุบันพิธีเก็มปุกุแบบโบราณได้ถูกยกเลิกไปโดยได้มีการจัดงานที่เรียกว่า เซจิงชิกิ ขึ้นมาแทน หมวดหมู่:วัฒนธรรมญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเก็มปุกุ · ดูเพิ่มเติม »

เก้าอี้

ก้าอี้ คือที่นั่งประเภทหนึ่ง โดยมักจะเป็นที่นั่งสำหรับคนเดียว โดยในส่วนที่นั่งจะอยู่เหนือจากระดับพื้น มีขาเก้าอี้ 4 ขารองรับข้างใต้ ส่วนเก้าอี้ที่นั่งได้มากกว่า 1 คน อาจเรียกว่าโซฟา เก้าอี้ที่พบในประวัติศาสตร์เช่น เก้าอี้ของกรีก ที่คาดว่าน่าจะสร้างราว 600 ก่อนคริสต์ศักราช เป็นเก้าอี้สี่ขาตัวตรงและมีพนักพิงตั้งตรง ถัดมาเป็นเก้าอี้ในประเทศอังกฤษ ในสมัยราชวงศ์ถัง (ค.ศ. 618-907) ในปัจจุบัน วัสดุที่ใช้ทำเก้าอี้มีความหลากหลายมากขึ้น ไม่ว่าจะทำจาก เก้าอี้ไม้ เก้าอี้โลหะ เก้าอี้พลาสติก เริ่มมีการผลิตและใช้งานเป็นจำนวนมาก ใช้ทุกระดับชั้น มีการออกแบบดีไซน์เก้าอี้หลากลายมากมาย สำหรับคำว่า เก้าอี้ นั้น เป็นคำมาจากภาษาจีนแต้จิ๋ว ตรงกับภาษาจีนกลางว่า เกาอี่ (高椅 gāoyǐ) แปลตามอักษรได้ว่า "ที่นั่งสูง".

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเก้าอี้ · ดูเพิ่มเติม »

เลียงผา

ลียงผา หรือ เยียงผา หรือ โครำ (Serows; อีสาน: เยือง) เป็นสกุลของสัตว์กีบคู่สกุลหนึ่ง ในวงศ์ Bovidae วงศ์ย่อย Caprinae คือ วงศ์เดียวกับแพะและแกะ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Capricornis (/แคป/-ปริ-คอร์-นิส/).

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเลียงผา · ดูเพิ่มเติม »

เล่าปี่

หลิว เป้ย์ ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ เล่าปี่ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ค.ศ. 161 – 10 มิถุนายน ค.ศ. 223) ชื่อรองว่า เสวียนเต๋อ (玄德) เป็นขุนศึกสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออกผู้ก่อตั้งรัฐฉู่ฮั่น/จ๊กฮั่น (蜀漢) ในสมัยสามก๊กและได้เป็นผู้ปกครองคนแรกของรัฐดังกล่าว แม้จะเริ่มต้นด้วยความล้มเหลวเมื่อเทียบกับคู่แข่ง ทั้งยังปราศจากขุมกำลังและสถานะทางสังคมดังที่คู่แข่งมี แต่นานวันเข้า หลิว เป้ย์ ก็ได้การสนับสนุนจากกลุ่มผู้ภักดีต่อราชวงศ์ฮั่นซึ่งต่อต้านเฉา เชา/โจโฉ (曹操) ขุนศึกผู้สามารถควบคุมการปกครองส่วนกลางรวมถึงพระเจ้าฮั่นเสี่ยน/ฮั่นเหี้ยน (漢獻帝) จักรพรรดิหุ่นเชิด ไว้ได้ ครั้นแล้ว หลิว เป้ย์ ก็ขับเคลื่อนขบวนการประชาชนเพื่อรื้อฟื้นราชวงศ์ฮั่น จนก่อตั้งดินแดนของตนซึ่งกินอาณาเขตที่ปัจจุบันคือกุ้ยโจว ฉงชิ่ง ซื่อชวน หูหนาน และบางส่วนของกานซู่กับหูเป่ย์ ในทางวัฒนธรรมแล้ว สืบเนื่องความโด่งดังของนวนิยายสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 14 เรื่อง สามก๊ก หลิว เป้ย์ จึงได้รับการมองว่า เป็นผู้ปกครองที่โอบอ้อมอารี รักใคร่ปวงประชา และเลือกสรรคนดีเข้าปกครองบ้านเมือง เรื่องแต่งเหล่านี้เป็นไปเพื่อยกตัวอย่างเชิงสดุดีผู้ปกครองที่ยึดมั่นคุณธรรมแบบขงจื๊อ แต่ในทางประวัติศาสตร์แล้ว หลิว เป้ย์ ยึดถือเล่าจื๊อมากกว่า เฉกเช่นเดียวกับผู้ปกครองหลาย ๆ คนแห่งราชวงศ์ฮั่น ทั้งเขายังเป็นนักการเมืองที่ชาญฉลาด เป็นผู้นำที่ความสามารถฉายออกมาในแบบนักนิตินิยม ความนับถือขงจื๊อของหลิว เป้ย์ นั้นได้รับการแต่งเติมมากกว่าของคู่แข่งอย่างเฉา พี/โจผี (曹丕) กับซุน เฉวียน/ซุนกวน (孫權) ผู้ซึ่งบริหารบ้านเมืองอย่างนิตินิยมเต็มรูปแ.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเล่าปี่ · ดูเพิ่มเติม »

เว่ยเจิง

รูปปั้นของเว่ยเจิง เว่ยเจิง (1123 – 1186) ชื่อรอง เซฺวียนเฉิง เมื่อสิ้นชีวิตแล้วได้รับบรรดาศักดิ์เป็น เจิ้งเหวินเจินกง ขุนนาง รัฐบุรุษและนักประวัติศาสตร์คนสำคัญในช่วงต้น ราชวงศ์ถัง เว่ยเจิงเกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเว่ยเจิง · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่น

ตะขอเข็มขัด ตอกและสลักด้วยการออกแบบตามหลักของสัตว์และนกในตำนาน ราชวงศ์ฮั่น (ปี 206 ก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 220) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนในยุคโบราณ ปรากฏช่วงเวลาที่เศรษฐกิจรุ่งเรืองและถดถอยที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน แบ่งออกเป็น 3 ช่วงเวลา คือ ราชวงศ์ฮั่นเหนือ (ปี 206 ก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 9) ราชวงศ์ซิน (ปี ค.ศ. 9 – 23) และราชวงศ์ฮั่นตะวันออก (ปี ค.ศ. 25 – 220) ระบอบการปกครองของราชวงศ์ซินก่อตั้งโดยจักรพรรดิซินเกาจู่ (หวัง หมั่ง) เป็นระบอบการปกครองช่วงระหว่างภาวะสุญญากาศทางการเมืองคั่นกลางระหว่างการปกครองที่ยาวนานของราชวงศ์ฮั่น หลังจากที่การปกครองของจักรพรรดิซินเกาจู่ล่มสลายลง เมืองหลวงของราชวงศ์ฮั่นถูกย้ายไปทางทิศตะวันออกจากเมืองฉางอานไปยังเมืองลั่วหยาง ด้วยเหตุนี้นักประวัติศาสตร์จึงเรียกยุคก่อนและหลังว่าราชวงศ์ฮั่นตะวันตกและราชวงศ์ฮั่นตะวันออกตามลำดับ เศรษฐกิจสมัยราชวงศ์ฮั่นถูกกำหนดโดยการเติบโตของประชากรอย่างแพร่หลาย การกลายเป็นเมืองเพิ่มขึ้น การเติบโตอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนของอุตสาหกรรมและการค้า และการทดลองของรัฐบาลโดยแปลงสินทรัพย์ของเอกชนให้เป็นสินทรัพย์ของรัฐ ในยุคนี้ระดับของการทำเหรียญและการไหลเวียนของเหรียญเงินตราเติบโตอย่างมีนัยสำคัญ รูปแบบของพื้นฐานทางระบบการเงินที่มั่นคง เส้นทางสายไหมช่วยอำนวยความสะดวกในการสถาปนาการค้าและแลกเปลี่ยนเครื่องบรรณาการกับต่างประเทศทั่วทวีปยูเรเชีย หลายสิ่งนี้ไม่เคยเป็นที่รับรู้ของชาวจีนยุคโบราณมาก่อน เมืองหลวงของราชวงศ์ทั้งราชวงศ์ฮั่นตะวันตก (ฉางอาน) และราชวงศ์ฮั่นตะวันออก (ลั่วหยาง) ตั้งอยู่ท่ามกลางเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้นทั้งด้านประชากรและด้านพื้นที่ โรงงานของรัฐบาลผลิตเครื่องตกแต่งสำหรับพระราชวังของจักรพรรดิและผลิตสินค้าสำหรับสามัญชน รัฐบาลควบคุมการก่อสร้างถนนและสะพานหลายแห่งซึ่งอำนวยความสะดวกให้กับธุรกิจของรัฐบาลอย่างเป็นทางการและส่งเสริมการเจริญเติบโตทางการค้า ภายใต้การปกครองของราชวงศ์ฮั่น นักอุตสาหกรรม ผู้ค้าส่งและพ่อค้า จากพ่อค้าปลีกรายย่อยไปจนถึงนักธุรกิจที่มั่งคั่งสามารถมีส่วนร่วมในความหลากหลายของอุตสาหกรรมและการค้าที่หลากหลายทั้งภายในประเทศ ในแวดวงสาธารณะ และแม้แต่ทหาร ในช่วงต้นราชวงศ์ฮั่น ชาวนาที่อาศัยอยู่พื้นที่ชนบทพึ่งพาตัวเองเป็นส่วนใหญ่ แต่พวกเขาเริ่มพึ่งพาการแลกเปลี่ยนทางการค้าอย่างหนักกับเจ้าของที่ดินการเกษตรขนาดใหญ่ที่มั่งคั่ง ชาวนาชาวไร่จำนวนมากมีหนี้สินลดลงและถูกบังคับให้กลายเป็นแรงงานจ้างหรือไม่ก็เป็นผู้อยู่อาศัยที่ต้องจ่ายค่าเช่าให้กับชนชั้นเจ้าของที่ดิน รัฐบาลของราชวงศ์ฮั่นพยายามให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจกับชาวนาที่ยากจนอย่างต่อเนื่อง พวกชาวนาต้องแข่งขันกับขุนนาง เจ้าของที่ดินและผู้ประกอบการค้าที่ทรงอำนาจและอิทธิพล รัฐบาลพยายามจำกัดอำนาจของกลุ่มคนที่มั่งคั่งเหล่านี้โดยการเก็บภาษีและออกกฎระเบียบทางราชการอย่างหนัก ถึงแม้ว่ารัฐบาลของจักรพรรดิฮั่นอู่ (ปี 141 – 87 ก่อนคริสตกาล) ได้แปรรูปอุตสาหกรรมเหล็กและเกลือให้กลายเป็นกิจการของรัฐ อย่างไรก็ตาม การผูกขาดของรัฐบาลเหล่านี้ถูกยกเลิกในระหว่างยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก การแทรกแซงของรัฐบาลที่เพิ่มขึ้นในด้านเศรษฐกิจภาคเอกชนระหว่างปลายศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล ส่งผลให้ชนชั้นพ่อค้าเชิงพาณิชย์อ่อนแอลงอย่างหนัก การแทรกแซงของรัฐบาลช่วยให้เจ้าของที่ดินที่มั่งคั่งเพิ่มอำนาจพวกเขาและรับประกันความต่อเนื่องของเศรษฐกิจที่ครอบงำการเกษตร เจ้าของที่ดินที่มั่งคั่งครอบงำกิจกรรมด้านการค้าได้เป็นอย่างดี ปรับปรุงอำนาจการปกครองให้อยู่เหนือชาวนาที่อยู่ในชนบททั้งหมด ผู้ซึ่งรัฐบาลไว้วางใจเพราะรายได้จากการจัดเก็บภาษี กำลังทางทหารและแรงงานสาธารณะ โดยในปีคริสต์ทศวรรษที่ 180 วิกฤตทางเศรษฐกิจและการเมืองเป็นเหตุให้รัฐบาลของราชวงศ์ฮั่นกระจายอำนาจมากขึ้น ขณะที่เจ้าของที่ดินรายใหญ่มีอิสระและมีอำนาจในชุมชนของพวกเขามากขึ้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่น · ดูเพิ่มเติม »

เสือขาว

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับ เสือขาว (สัตว์ในปกรณัม) หากต้องการดูบทความเสือขาวที่เป็นสัตว์ ดูที่ เสือขาวเบงกอล ภาพวาดของเสือขาว เสือขาว (白虎 (びゃっこ); 백호; Bạch Hổ, 白虎) เป็นหนึ่งในสี่เทพศักดิ์สิทธิ์ประจำทิศตะวันตก และฤดูใบไม้ร่วง เป็นสัตว์วิเศษของจีน เป็นเทพแห่งสงครามและการต่อสู้ เป็นตัวแทนของอำนาจบารมีและความเคารพยำเกรง เป็นเจ้าแห่งสัตว์ป่า สัตว์สี่เท้า สัตว์นักล่าทั้งมวล ในสมัยโบราณเสือขาวถูกใช้เป็นชื่อของหน่วยกำลังรบ เป็นตราสัญลักษณ์ของกองทัพ เป็นสัญลักษณ์ให้โชค ในงานหัตถกรรมต่างๆ นิยมให้เสือขาวคู่กับมังกรเขียว.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเสือขาว · ดูเพิ่มเติม »

เสี่ยวลิ้มยี่

ี่ยวลิ้มยี่ (The Shaolin Temple, 少林寺, พินอิน: Shàolínsì) ภาพยนตร์กังฟูสัญชาติฮ่องกง นำแสดงโดย หลี่ เหลียนเจี๋ย กำกับโดย จาง ซิ่งเหยิน มีภาคต่อคือ เสี่ยวลิ้มยี่ 2.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเสี่ยวลิ้มยี่ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ประตูเสฺวียนอู่

หตุการณ์ประตูเสฺวียนอู่ เหตุการณ์ที่สำคัญครั้งหนึ่งใน ประวัติศาสตร์จีน โดยเกิดขึ้นในช่วงต้น ราชวงศ์ถัง เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเหตุการณ์ประตูเสฺวียนอู่ · ดูเพิ่มเติม »

เอียน (สกุล)

อียน (Zhen) เป็นนามสกุลคนจีน ที่เกิดขึ้นเป็นที่ 205 ในนามสกุล 100 ตระกูล ตัวอักษรจีน "เอียน" ถูกเขียนขึ้นในลักษณะเดียวกันสำหรับอักษรจีนตัวเต็ม และอักษรจีนตัวย่อ.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเอียน (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

เฮอังเกียว

''Heian-kyō'' เฮอังเคียว หรือ เฮอังเกียว คืออดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น สถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. 1337(ค.ศ. 794) โดยสมเด็จพระจักรพรรดิคังมุ ในจังหวัดเคียวโตะ หรือ เกียวโต ประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบัน มีฐานะเป็นเมืองหลวงของประเทศนานถึง 1074 ปี ก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นโตเกียว ในปี พ.ศ. 2411.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเฮอังเกียว · ดูเพิ่มเติม »

เผย์ หยัน

ผย์ หยัน (ตาย 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 684) ชื่อรองว่า จึหลง (子隆) เป็นขุนนางจีนสมัยราชวงศ์ถัง รับราชการเป็นอัครมหาเสนาบดีในรัชกาลถังเกาจง และในช่วงที่มเหสีอู่ เจ๋อเทียน สำเร็จราชการแทนโอรสถังจงจงและถังรุ่ยจง เขาเป็นที่ไว้วางพระทัยของถังเกาจงและอู่ เจ๋อเทียน แต่เมื่อเสนอให้อู่ เจ๋อเทียน คืนอำนาจให้แก่จักรพรรดิถังรุ่ยจง ก็ทำให้พระนางพิโรธยิ่งนัก ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเผย์ หยัน · ดูเพิ่มเติม »

เผาตำรา ฝังบัณฑิต

ผาตำรา ฝังบัณฑิต กล่าวถึงเหตุการณ์เผาตำราที่คาดว่าเกิดขึ้นเมื่อปี 213 ก่อนคริสตกาล และฝังนักคิดและปัญญาชนสำนักวิชาขงจื๊อทั้งเป็นจำนวน 460 คนเมื่อปี 210 ก่อนคริสตกาล โดย จิ๋นซีฮ่องเต้ จักรพรรดิพระองค์แรกแห่งราชวงศ์ฉินในยุคจีนโบราณ เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดความสูญเสียตำราและคัมภีร์ที่มีเนื้อหาหลักปรัชญาของขบวนการสำนักความคิดทั้งร้อยจำนวนมาก หลักปรัชญาทางการของรัฐบาล (“การยึดถือกฎ”) ยังคงอยู่รอดมาได้ นักคิดและปัญญาชนยุคปัจจุบันตั้งข้อสงสัยเกี่ยวกับรายละเอียดของเรื่องราวใน “บันทึกประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่” เป็นแหล่งข้อมูลหลักตั้งแต่ ซือหม่า เชียน เขียนบันทึกเอาไว้เมื่อศตวรรษที่ 1 หรือหลังจากเหตุการณ์ผ่านไปแล้ว 100 ปีและยังเป็นเจ้าหน้าที่ในราชสำนักแห่งราชวงศ์ฮั่น ซึ่งเป็นราชวงศ์ที่สืบต่อจากราชวงศ์ฉิน และคาดว่าในบันทึกอาจจะแสดงถึงข้อความอันเป็นปฏิปักษ์ต่อราชวงศ์ฉิน ในขณะที่เป็นที่ชัดเจนว่าจักรพรรดิจิ๋นซีทรงรวบรวมและทำลายงานเขียนจำนวนมากซึ่งพระองค์ทรงพิจารณาว่าเป็นภัยต่อราชบังลังก์ เอกสารแต่ละฉบับจะทำสำเนาไว้ 2 ฉบับถูกเก็บรักษาไว้ในห้องสมุดของจักรพรรดิซึ่งถูกทำลายจากศึกสงครามที่เกิดขึ้นภายหลังการล่มสลายของราชวงศ์ฉิน ปัจจุบันนี้เป็นที่เชื่อกันว่ามีนักคิดและปัญญาชนจำนวนมากถูกฆ่า แต่พวกเขาเหล่านี้ไม่ได้สังกัดในสำนักวิชาขงจื้อและไม่ได้ถูก “ฝังทั้งเป็น” ในบางกรณีเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนี้และสำนวนที่ว่า “เผาตำรา ฝังบัณฑิต” ได้กลายเป็นตำนานที่ยังคงอยู่รอดมาได้ในมรดกของขงจื้อ.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเผาตำรา ฝังบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

เจิ้งโจว

้งโจวจตุรัสหน้าสถานีทางรถไฟ เจิ้งโจว เป็นเมืองเอกของมณฑลเหอหนาน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเจิ้งโจว · ดูเพิ่มเติม »

เจดีย์วัดฝอกง

ีย์วัดฝอกง เจดีย์วัดฝอกง ตั้งอยู่ในอำเภอหยิง มณฑลซานซี ประเทศจีน เป็นเจดีย์ที่สร้างด้วยไม้ โดยสร้างแบบศิลปะจีน สร้างใน ค.ศ. 1056 ในสมัยราชวงศ์เหลียว โดยสร้างในสมัยจักรพรรดิเหลียวต้าวจง (เย่ว์ลี่หงจี่) ซึ่งได้รอดจากความเสียหายของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่หลายครั้ง ซึ่งมีชื่อเสียงในประเทศจีน จนได้รับขนานนามว่า มู่ต้า องค์เจดีย์มีความสูงประมาณ 4 เมตร (13 ฟุต) ยอดเจดีย์สูงประมาณ 10 เมตร (33 ฟุต) และมีความสูงรวมทั้งเจดีย์ประมาณ 67.31 เมตร (220.83 ฟุต) เป็นเจดีย์ไม้ืที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังอยู่ในประเทศจีน แม้ว่าจะเป็นเจดีย์ที่เก่าแก่ที่สุดที่ทำด้วยไม้ในประเทศจีน แต่เจดีย์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศจีนคือ เจดีย์ซ่งเย่ว์ ซึ่งเป็นเจดีย์ที่ทำจากอิฐ ซึ่งสร้างในช่วงกลางของสมัยราชวงศ์ถัง (ค.ศ. 618-ค.ศ. 907) มีระยะทางห่างจากเมืองต้าถง ทางตอนใต้ประมาณ 85 กิโลเมตร (53 ไมล์).

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเจดีย์วัดฝอกง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงผิงหยาง

เจ้าหญิงผิงหยาง (? – 14 มีนาคม 623) เป็นเจ้าหญิงพระราชธิดาในจักรพรรดิถังเกาจู่ ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ถังราชวงศ์ถัง พระองค์ได้มีส่วนช่วยพระบิดาให้สามารถขยายพระราชอำนาจและสามารถโค่นล้มราชวงศ์สุย ลงได้โดยจัดตั้งกองทหารหญิงที่พระองค์บังคับบัญชาด้วยพระองค์เองในการบุกยึดฉางอันเมืองหลวงของราชวงศ์สุย หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์สุย หมวดหมู่:เจ้าหญิงราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเจ้าหญิงผิงหยาง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงไท่ผิง

องค์หญิงไท่ผิง (ค.ศ. 665 - 2 สิงหาคม ค.ศ. 713) เป็นพระธิดาในจักรพรรดินีบูเช็กเทียนและจักรพรรดิถังเกาจงและเป็นพระขนิษฐาในจักรพรรดิถังจงจงและจักรพรรดิถังรุ่ยจงเมื่อพระราชมารดาสวรรคตในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเจ้าหญิงไท่ผิง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเกาหยาง

องค์หญิงเกาหยาง (Princess Gaoyang, 1170 – 6 มีนาคม 1196) เจ้าหญิงแห่ง ราชวงศ์ถัง โดยพระองค์เป็นพระราชธิดาองค์ที่ 17 ใน จักรพรรดิถังไท่จง ซึ่งองค์หญิงพระองค์นี้เป็นที่โปรดปรานของพระราชบิดา ต่อมาพระองค์ได้ก่อกบฏต่อ จักรพรรดิถังเกาจง ผู้เป็นพระเชษฐาแต่ก็พ่ายแพ้และถูกประทานยาพิษจนสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 6 มีนาคม..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเจ้าหญิงเกาหยาง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเจ้า

้าหญิงเจ้า (? – 7 พฤษภาคม 675) หลังสิ้นพระชนม์ได้รับการสถาปนาเป็น จักรพรรดินีกง ก่อนจะเปลี่ยนเป็น จักรพรรดินีเหอซื่อ เป็นเจ้าหญิงในราชวงศ์ถัง เป็นพระชายาพระองค์แรกในจักรพรรดิถังจงจง พระราชโอรสในจักรพรรดิถังเกาจง เมื่อครั้งยังดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าชาย กับเจ้าหญิงฉางเล่อ (? – 688) พระราชธิดาในจักรพรรดิถังเกาจู่ ผู้เป็นพระอัยยิกากับ เจ้ากุ้ย เจ้าหญิงเจ้าถูกจับขังคุกเนื่องจากพระมารดาคือเจ้าหญิงฉางเล่อไปวิพากษ์วิจารณ์จักรพรรดินีบูเช็กเทียน พระอัครมเหสีในจักรพรรดิเกาจงและเป็นพระมารดาของเจ้าชายหลี่เสี่ยน และบังคับให้อดพระกระยาหารจนสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเจ้าหญิงเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

เติ้ง ลี่จวิน

ติ้ง ลี่จวิน หรือ เทเรซา เติ้ง (テレサ・テン, 29 มกราคม พ.ศ. 2496 – 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) นักร้องเพลงจีนสากลชาวไต้หวันชื่อดังและมีอิทธิพลอย่างสูง เธอเกิดที่ เมืองเป่าจง มณฑลหยุนหลิน สาธารณรัฐจีน โดยบรรพบุรุษของเธอมาจากมณฑลเหอเป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน เสียงและเพลงของเธอเป็นที่จดจำทั่วทั้งเอเชียตะวันออกและในหมู่ชาวจีนทั้งในประเทศจีน ไต้หวัน และชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลก จนมีคำกล่าวว่า "มีชาวจีนอยู่ที่ไหน ก็จะได้ยินเพลงของเติ้ง ลี่จวินที่นั่น" นอกจากนี้ เพลงของเธอยังเป็นที่รู้จักในหมู่ชาวญี่ปุ่น ชาวเกาหลี ชาวไทย ชาวเวียดนาม ชาวมาเลเซีย และชาวอินโดนีเซียจำนวนมากเช่นกัน เติ้ง ลี่จวิน มีชื่อเสียงจากบทเพลงรัก และเพลงพื้นเมืองภาษาหมิ่นหนาน (ภาษาฮกเกี้ยน) เพลงที่โด่งดังจนรู้จักกันทั่วไปทั่วเอเชีย ได้แก่เพลง เถียนมี่มี่ (甜蜜蜜, tián mì mì แปลว่า หวานปานน้ำผึ้ง) และเพลง เยว่เหลียงไต้เปี่ยวหวอเตอซิน (月亮代表我的心, yuè liàng dài biǎo wǒ de xīn แปลว่า พระจันทร์แทนใจฉัน) เป็นต้น ไม่เพียงเพลงภาษาจีนกลางเท่านั้น เธอยังเคยมีผลงานเพลงภาษาไต้หวัน ภาษากวางตุ้ง ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอินโดนีเซีย และภาษาอังกฤษด้วย เติ้ง ลี่จวิน เสียชีวิตอย่างกะทันหันเนื่องจากโรคหอบหืด ขณะเดินทางมาพักผ่อนที่จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 ขณะอายุได้เพียง 42 ปี.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเติ้ง ลี่จวิน · ดูเพิ่มเติม »

เตียนฮู้หง่วนโส่ย

ตี่ยนฮู้หง่วนโส่ย (田都元帥) เป็นเทพเจ้าจีน โดยส่วนมากนับถือว่าเป็นเทพแห่งการศิลปะการแสดง โดยมีชีวิตอยู่จริงในสมัยราชวงศ์ถังในสมัยจักรพรรดิถังเสฺวียนจงและเป็นเทพเจ้าจีนที่รู้จักและนับถือมากในประเทศไทยโดยเฉพาะจังหวัดภูเก็ต.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเตียนฮู้หง่วนโส่ย · ดูเพิ่มเติม »

เฉิน สื่ออ๋าง

เฉินจื่ออ๋าง (ค.ศ.661-702)เป็นอาลักษณ์,ราชบัณฑิตและกวีที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในสมัยช่วงต้น ราชวงศ์ถัง ซึ่งตรงกับรัชสมัย จักรพรรดิถังเกาจง (ค.ศ.643-683) เขาเป็นสหายสนิทกับ หลัวปินหวัง และ หวังปัว ในการวางแผนสงครามและการไปเป็นทูตเฉินจื่ออ๋างได้ถูกถังเกาจงและพระนาง บูเช็กเทียน เรียกใช้ในการ วางแผนทุกครั้งเขาตายในคุกเมื่อ ค.ศ. 702(พ.ศ. 1245)ขณะอายุได้ 41 ปี หมวดหมู่:กวีชาวจีน หมวดหมู่:ราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเฉิน สื่ออ๋าง · ดูเพิ่มเติม »

เซี่ยอ๋าว

เซี่ยอ๋าวเป็นแพทย์หลวงในสมัยราชวงศ์ถังมาจากชนเผ่าแห่งหนึ่งท่านเป็นแพทย์ที่มีความสามารถโดยรักษาพระโรคให้กับจักรพรรดิถังเกาจงและองค์รัชทายาทหลี่เสียน (จักรพรรดิถังจงจง) จนหายเป็นปลิดทิ้งท่านมีบุตรสาว2คนคือเซี่ยเหยาเหว่ยและเซี่ยเหยาหวนโดยเฉพาะเหยาหวนในตอนแรกโกรธแค้นพระนางอู่เจ๋อเทียนที่ทรงสั่งประหาร คนดีๆอย่างซั่งกวนอี๋แต่เมื่อเห็นน้ำพระทัยของพระนางจึงกลับใจและเป็นนางกำนัลและนางข้าหลวงที่พระนางไว้วางพระทัยที่สุด เซี่ยอ๋าวถึงแก่กรรมเมื่อไรไม่ทราบ หมวดหมู่:แพทย์ชาวจีน หมวดหมู่:ราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเซี่ยอ๋าว · ดูเพิ่มเติม »

เซ็มเบ

ซ็มเบและสาหร่าย เซ็มเบ (煎餅) คือ ขนมข้าวกรอบแบบนึง ที่มีหลายรูปทรง ขนาด และรสชาติ โดยปกติแล้วจะเป็นรสเค็ม แต่รสหวานก็มีให้เห็น ส่วนใหญ่แล้วเซ็มเบจะรับประทานคู่กับชาเขียว เป็นขนมและจัดให้แขกที่มาเยี่ยมเยียนที่บ้าน  .

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและเซ็มเบ · ดูเพิ่มเติม »

16 ธันวาคม

วันที่ 16 ธันวาคม เป็นวันที่ 350 ของปี (วันที่ 351 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 15 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ถังและ16 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ต้าถัง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »