โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รัฐชัมมูและกัศมีร์

ดัชนี รัฐชัมมูและกัศมีร์

ตในรัฐชัมมูและกัศมีร์ แสดงถึงเขตการปกครองและบริเวณดินแดนพิพาท รัฐชัมมูและกัศมีร์ หรือ รัฐจัมมูและแคชเมียร์ คือรัฐเหนือสุดของประเทศอินเดีย ดินแดนส่วนมากตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัย นอกจากนั้นยังเป็นบริเวณพิพาทระหว่างอินเดีย ปากีสถาน และจีนด้ว.

88 ความสัมพันธ์: บัวหิมะชาวทิเบตพ.ศ. 2528พ.ศ. 2545พญากระรอกบินหูแดงพระไตรปิฎกภาษาบาลีพระเจ้ากนิษกะกลุ่มภาษาปาหารีกองทัพซินดาบัดขาลิสถานกองทัพแห่งโมฮัมเหม็ดการกบฏโรฮีนจาในพม่าตะวันตกกุมารีกู่กถาสริตสาครภาษาบัลติภาษาบูรุศซัสกีภาษาราชการของอินเดียภาษาลาดักภาษาอูรดูภาษาทิเบตภาษาแคชเมียร์ภาษาโดกรีภาษาเศรปาภิกษุณีในประเทศจีนมิโคยัน มิก-29มูฮัมมัด อิกบาลรัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลามรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อสนธิสัญญารายชื่อหอดูดาวรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดรายชื่อเขตการปกครองวาซวานศรีนครศาสนาพุทธศาสนาพุทธแบบทิเบตศาสนาพุทธในเอเชียกลางสังคายนาในศาสนาพุทธสงครามอินเดีย-ปากีสถาน ค.ศ. 1947หญ้าฝรั่นหมาไม้หงอนไก่ไทยอักษรเทวนาครีอักไสชินอัลกออิดะฮ์อีเห็นข้างลายองค์การความเป็นปึกแผ่นโรฮีนจาผางกงโฉผู้ลี้ภัยผ้าพัชมีนา...จักรพรรดิชะฮันคีร์จักรวรรดิซิกข์ธงรัฐชัมมูและกัศมีร์ทางด่วนในประเทศอินเดียที่ราบสูงทิเบตขบวนการมุญาฮิดีนกัษมีระตุลาคม พ.ศ. 2548ซาโมวาร์ประวัติศาสตร์ทิเบตประวัติศาสนาพุทธประเทศอินเดียประเทศปากีสถานปลาเวียนทองปัญจตันตระนกกระเรียนไทยนกต้อยตีวิดนาธาน โอร์มานแมวดาวแม่น้ำจนาพแม่น้ำเฌลัมแผ่นดินไหวในประเทศอัฟกานิสถาน พ.ศ. 2558แผ่นดินไหวในแคชเมียร์ พ.ศ. 2548แคว้นปัญจาบแนวร่วมกู้ชาติแห่งชัมมูและกัษมีระโกฐก้านพร้าวโมฮัมหมัด อัยยุบข่านโสม (ฮินดู)เส้นขนานที่ 35 องศาเหนือเส้นควบคุมแท้จริงเส้นเมริเดียนที่ 75 องศาตะวันออกเอเชียกลางเขตปกครองตนเองทิเบตเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ISO 3166-2:IN11 กันยายน23 มิถุนายน30 มีนาคม6 สิงหาคม ขยายดัชนี (38 มากกว่า) »

บัวหิมะ

ัวหิมะ (Snow lotus) เป็นชื่อสามัญของพืชในสกุล Saussurea อยู่ในวงศ์ Compositae เป็นพืชที่ขึ้นในที่สูง มีหิมะปกคลุม ในเอเชียกลาง และจีนเช่น ในทิเบต มณฑลยูนนาน เสฉวน ซินเจียงอุยกูร์ ในทางยาจีน มีฤทธิ์เป็นยาเย็น แก้ข้ออักเสบ แก้ไข้ บำรุงหัวใ.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และบัวหิมะ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวทิเบต

วทิเบต เป็นชนกลุ่มใหญ่ในเขตปกครองตนเองทิเบต ของสาธารณรัฐประชาชนจีน และถือชนชาติกลุ่มน้อย กลุ่มหนึ่งของประเทศจีน ซึ่งมีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์อย่าง ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และความเป็นอยู่เป็นของตนเอง แต่ความเป็นชุมชนเมืองและเศรษฐกิจของชาวจีนซึ่งเป็นชนกลุ่มใหญ่กำลังทำลายความเป็นทิเบตดั้งเดิม ดั่งชนกลุ่มน้อยในประเทศต่างๆทั่วโลก ชาวทิเบตสืบเชื้อสายจากชนเผ่าตูรัน และตังกุตในเอเชียกลาง ต่อมาได้อพยพมาจากทางตอนบนในเขตหุบเขาที่ราบลุ่มแม่น้ำยาร์ลุงซางโป และแต่งงานกับชนพื้นเมืองแถบนี้ แล้วออกลูกออกหลานเป็นชาวทิเบตในปัจจุบัน ชาวทิเบตเป็นชนเผ่าที่รักสงบ ในอดีตเคยเป็นพวกชาวเขาที่ไม่แตกต่างกับชาวเขาทั่วไป แต่พอได้รับพระพุทธศาสนาแบบวัชรยานจากพระปัทมสัมภวะ (คุรุรินโปเช่) ทำให้ทิเบตมีวัฒนธรรมที่โดดเด่น ชาวทิเบตส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธวัชรยาน นอกนั้นนับถือศาสนาอิสลามราว 2,000 คน และคริสตังทิเบตราว 600 คน.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และชาวทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พญากระรอกบินหูแดง

ญากระรอกบินหูแดง (Red giant flying squirrel) เป็นกระรอกบินขนาดใหญ่ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Petaurista petaurista มีรูปร่างและลักษณะคล้ายพญากระรอกบินหูดำ (P. elegans) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แตกต่างจากตรงที่มีปลายหางสีดำ ขนสีน้ำตาลแดงไม่มีลาย หัวและหางมีลายจาง ๆ มีขนสีน้ำตาลแดงจางและมีลายจุดสีขาวหนาแน่น โดยเฉพาะบริเวณหัว ขอบหูด้านหน้าเป็นสีขาวและมีรอยแต้มสีขาวบริเวณไหล่ หางสีน้ำตาลอ่อนหรือสีเทา ปลายหางสีดำ มีคอหอยสีขาว มีความยาวลำตัวและหัวประมาณ 52 เซนติเมตร ความยาวหาง 63 เซนติเมตร หากินในเวลากลางคืนเช่นเดียวกับกระรอกบินชนิดอื่น ๆ พบกระจายพันธุ์ในป่าดิบชื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์ ตั้งแต่อัฟกานิสถาน, ตอนเหนือของอินเดีย เช่น รัฐชัมมูและกัศมีร์ ไปตลอดจนแนวเทือกเขาหิมาลัยจนถึงเอเชียตะวันออก เช่น เกาะไต้หวัน ในประเทศไทยจะพบได้ในภาคใต้ตั้งแต่คอคอดกระลงไปจนถึงแหลมมลายู, สิงคโปร์ จนถึงเกาะบอร์เนียวและชวา นอกจากนี้แล้วยังพบได้ที่ศรีลังกาอีกด้วย กินอาหารจำพวกพืชและผลไม้ตลอดจนแมลง พญากระรอกบินหูแดงสามารถร่อนได้ไกลถึง 75 เมตร (250 ฟุต).

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และพญากระรอกบินหูแดง · ดูเพิ่มเติม »

พระไตรปิฎกภาษาบาลี

ปรากฏพระพุทธดำรัสในมหาปรินิพพานสูตรว่า "เมื่อทรงปรินิพานไปแล้ว พระธรรมวินัยที่ได้ทรงสั่งสอนไว้แล้ว จักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย"พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปรินิพพานสูตร. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. ออนไลน์. เข้าถึงได้จากhttp://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และพระไตรปิฎกภาษาบาลี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ากนิษกะ

ระเจ้ากนิษกะบนเหรียญทอง และอีกด้านเป็นรูปพระพุทธเจ้า พระเจ้ากนิษกะ หรือ พระเจ้ากนิษกะมหาราช (Kanishka, กุษาณะ: Κανηϸκι) เป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 แห่งอาณาจักรกุษาณะในเอเชียใต้ ในราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 ทรงมีชื่อเสียงจากความสำเร็จด้านการทหาร การปกครอง และฐานะผู้นำที่ยิ่งใหญ่ นอกจากนี้ยังทรงเป็นผู้กำหนดมหาศักราชขึ้นด้วย ที่สำคัญคือ ทรงเป็นองค์อัครราชูปถัมภ์ที่ยิ่งใหญ่ของพุทธศาสนานิกายมหายาน ซึ่งเปรียบได้กับพระเจ้าอโศกมหาราช ที่ทรงเป็นองค์อัครราชูปถัมภ์ของนิกายหินยาน ราชธานีของพระองค์คือเมืองเปศวรในประเทศปากีสถานปัจจุบัน พระเจ้ากนิษกะเป็นนัดดาของพระเจ้ากัทพิเสส ปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรกุษาณะ ได้ครองราชย์ในปี พ.ศ. 621 พระองค์มีความเลื่อมใสในพุทธศาสนามากจนได้รับขนานนามว่า "พระเจ้าอโศกองค์ที่ 2" และทรงแผ่อาณาจักรกว้างไกลครอบคลุม คันธาระ แคชเมียร์ สินธุ และมัธยประเทศ (ปัจจุบันอยู่ในเขตอิหร่าน อัฟกานิสถาน ปากีสถาน เติร์กเมนิสถาน และบางส่วนของอินเดีย) ในสมัยนี้พุทธศาสนามหายานแผ่ไปสู่เอเชียกลางและจีนอย่างรวดเร็ว วรรณคดีภาษาสันสกฤตได้เจริญรุ่งเรืองแทนภาษาบาลี พระภิกษุที่มีความรู้ในยุคนี้คือ ท่านปารศวะ ท่านอัศวโฆษ ท่านวสุมิตร เป็นต้น ในด้านการแกะสลักพุทธศิลป์คันธาระ ซึ่งเริ่มต้นในสมัยพระเจ้ามิลินท์ ก็มีความเจริญอย่างขีดสุดในสมัยพระองค์ พระองค์ทรงสร้างวัดวาอาราม เจดีย์วิหารอย่างมากมาย พระเฮี่ยนจังพระสงฆ์ชาวจีนผู้จาริกสู่อินเดียเมื่อราว พ.ศ. 1100 เมื่อจาริกถึงเมืองปุรุษปุระ เมืองหลวงของพระองค์จึงกล่าวว่าพระเจ้ากนิษกะ ทรงสร้างวิหารหลังหนึ่ง ทรงให้นามว่า "กนิษกะมหาวิหาร" แม้ว่าพระวิหารจะทรุดโทรมลงแล้ว แต่พระวิหารมีศิลปะที่งดงามยากที่จะหาที่ใดเหมือน และยังมีพระภิกษุอาศัยอยู่บ้าง ทั้งหมดเป็นพระนิกายหินยานหรือเถรวาท พระเจ้ากนิษกะครองราชย์อยู่ระหว่างปี..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และพระเจ้ากนิษกะ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาปาหารี

กลุ่มภาษาปาหารีเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มภาษาอินโดอารยันเหนือ เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันที่ใช้พูดในบริเวณที่ราบของเทือกเขาหิมาลัยจากเนปาลทางตะวันออก ไปจนถึงรัฐหิมาจัลประเทศทางตะวันตก ภาษาในกลุ่มนี้แบ่งย่อยเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มตะวันออกประกอบด้วยสำเนียงต่างๆของภาษาเนปาล เช่น โดขาลี กุรขาลี คาสกุรา กลุ่มกลาง ประกอบไปด้วยภาษาที่พูดในรัฐอุตรขัณฑ์และกลุ่มตะวันตกพูดในรัฐหิมาจัลประเทศ ในเนปาล ภาษาเนปาลเป็นภาษาแม่ของชนกลุ่มอินโด-อารยันส่วนใหญ่ที่อยู่ในหุบเขาทางเหนือของอินเดียจนถึงเขตสูงสุดที่สามารถปลูกข้าวได้ ภาษาแม่ของชนเผ่าในบริเวณภูเขาส่วนใหญ่เป็นกลุ่มภาษาทิเบต-พม่า ภาษาเนปาลมีความแตกต่างจากภาษาปาหารีกลางเพราะได้รับอิทธิพลทั้งทางไวยากรณ์และคำศัพท์จากภาษากลุ่มทิเบต-พม่า ผู้พูดภาษาปาหารีกลางและตะวันตกไม่มีความเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับภาษากลุ่มทิเบต-พม่า จึงรักษาเอกลักษณ์ของกลุ่มภาษาอินโด-อารยันได้ แม้ว่าชาวปาหารีจะได้พัฒนารูปแบบของตนเองและมีการใช้อย่างแพร่หลาย แต่บางครั้งก็จัดภาษาเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งของภาษาฮินดี ชื่อเรียกของภาษาเหล่านี้มีมาก เช่น เนปาลี (ภาษาของชาวเนปาล) กุรขาลี (ภาษาของชาวกุรข่า) ปัรภติยะ (ภาษาของชาวภูเขา) ภาษาปัลปาเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาเนปาล บางครั้งถูกแยกเป็นอีกภาษาหนึ่งต่างหาก มีผู้พูดภาษากลุ่มปาหารีจำนวนมากในหุบเขาทางเหนือของปากีสถาน ระหว่างแคชเมียร์และอัฟกานิสถาน ภาษาเหล่านี้ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากภาษาประจำชาติในบริเวณนั้นเช่น ภาษาอูรดูและภาษาปัญจาบ หมวดหมู่:ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หมวดหมู่:ภาษาในเอเชียใต้.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และกลุ่มภาษาปาหารี · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพซินดาบัดขาลิสถาน

กองทัพซินดาบัดขาลิสถาน (Khalistan Zindabad Force) เป็นกองกำลังชาวสิกข์ที่อยู่ในชัมมูในบริเวณที่มีชาวสิกข์อาศัยอยู่มาก เพื่อเรียกร้องการจัดตั้งรัฐอิสระของชุมชนชาวสิกข์ชื่อขาลิสถาน แยกจากรัฐปัญจาบในอินเดียรวมทั้งดินแดนบางส่วนของรัฐหรยณะและหิมาจัลประเทศด้วยการต่อสู้ด้วยอาวุธ ผู้นำกลุ่มคือรณชิต สิงห์ นีตา ซึ่งเป็นหนึ่งในรายชื่อบุคคลที่รัฐบาลอินเดียต้องการตัวมากที่สุดจำนวน 20 คน เชื่อว่าปัจจุบันอยู๋ในลาฮอร์ ศูนย์กลางของจังหวัดปัญจาบในปากีสถาน เขาเป็นชาวชัมมู และกองทัพนี้มีพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตของชาวสิกข์ในชัมมู ตั้งแต..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และกองทัพซินดาบัดขาลิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพแห่งโมฮัมเหม็ด

กองทัพแห่งโมฮัมเหม็ด (Army of Mohammed; Jaish-e- Mohammed;جيش محمد) เป็นขบวนการก่อการร้ายในประเทศปากีสถาน ก่อตั้งโดยมาสูด อัซฮาร์ ซึ่งถูกปล่อยตัวจากคุกในอินเดียเมื่อ..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และกองทัพแห่งโมฮัมเหม็ด · ดูเพิ่มเติม »

การกบฏโรฮีนจาในพม่าตะวันตก

การกบฏโรฮีนจาในพม่าตะวันตก เป็นความขัดแย้งกันด้วยอาวุธระหว่างรัฐพม่ากับชนกลุ่มน้อยมุสลิมโรฮีนจานับแต่ปี พ.ศ. 2490 ความมุ่งหมายทีแรกของพวกเขาในสมัยขบวนการมุญาฮีดีน (2467–2504) คือ การแยกภูมิภาคชายแดนมายู (Mayu) ในรัฐยะไข่ซึ่งมีประชากรโรฮีนจาอาศัยอยู่ออกจากพม่าตะวันตก แล้วผนวกเข้ากับปากีสถานตะวันออกซึ่งเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่เพิ่งตั้งใหม่ (ปัจจุบันคือประเทศบังกลาเทศ) ในคริสต์ทศวรรษ 1970 การก่อการกำเริบของชาวโรฮีนจาปรากฏอีกในช่วงสงครามปลดปล่อยบังกลาเทศในปี พ.ศ. 2514 และเมื่อไม่นานมานี้ระหว่างเหตุจลาจลในรัฐยะไข่ ความปรารถนาของกลุ่มติดอาวุธโรฮีนจาตามที่สื่อต่าง ๆ รายงานคือ การจัดตั้งส่วนเหนือของรัฐยะไข่เป็นรัฐเอกราชหรือรัฐปกครองตนเอง ชาวโรฮีนจามุสลิมอาศัยอยู่ในประเทศพม่าประมาณ 800,000 คน และประมาณ 80% ของจำนวนดังกล่าวอาศัยอยู่ในรัฐยะไข่ทางภาคตะวันตกของประเทศ ส่วนใหญ่ถูกรัฐบาลพม่าปฏิเสธความเป็นพลเมือง สหประชาชาติถือว่าโรฮีนจาเป็นชนกลุ่มน้อยที่ถูกข่มเหงที่สุดกลุ่มหนึ่งของโลก.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และการกบฏโรฮีนจาในพม่าตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

กุมารี

นี ศากยะ อดีตกุมารีของเมืองภัคตปุระ กุมารี (เนปาล: कुमारी; Kumari) คือเทพธิดาผู้มีชีวิตจริงของชาวเนปาล ที่เชื่อว่าเป็นปางหนึ่งของเทวีทาเลจู ซึ่งเป็นปางหนึ่งของเทวีทุรคา ศักติ (ชายา) ของพระศิวะ ซึ่งเป็นหนึ่งในตรีมูรติ (เทพผู้ยิ่งใหญ่ 3 องค์) ที่ดุร้ายเหมือนเทวีกาลี มาจุติเกิด มาจากการสรรหาจากเด็กหญิงจากวรรณะล่าง และเป็นที่เคารพของผู้นับถือศาสนาฮินดู จนกระทั่งเทวีทุรคามาออกจากร่าง ซึ่งจะนับเมื่อเด็กหญิงผู้นั้นมีประจำเดือน หรือได้รับบาดแผลจนมีเลือดออกจากร่างกายเป็นจำนวนมาก โดยความเชื่อเรื่องกุมารี เป็นการผสมผสมานกันระหว่างความเชื่อในศาสนาฮินดูและพุทธศาสนาแบบธิเบตหรือวัชรยานในท้องถิ่น มีความเชื่อกระจายทั่วไปในอนุทวีปอินเดีย เช่น อัสสัม, ทมิฬนาฑู, เบงกอล, แคชเมียร์ แต่ที่ได้รับความนิยมและเชื่อถือมากที่สุด คือ เนปาลหน้า 44-57, เทพเจ้าผู้มีลมหายใจแห่งเนปาล โดย อิซาเบลลา ทรี.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

กู่

กู่ หรือ จินฉาน ("หนอนไหมทอง") เป็นพิษซึ่งได้มาจากสัตว์พิษตามความเชื่อทางภาคใต้ของประเทศจีนโดยเฉพาะแถบหนานเยฺว่ ทำขึ้นโดยนำสัตว์พิษชนิดต่าง ๆ (เช่น ตะขาบ งู แมลงป่อง) ใส่ลงในภาชนะ แล้วปิดผนึก ปล่อยให้สัตว์เหล่านั้นบริโภคกันเอง ตัวสุดท้ายที่รอดมาเพียงหนึ่งเดียวเชื่อว่า มีพิษร้ายแรงที่สุด มักนำมาใช้ในกิจกรรมทางไสยศาสตร์ เช่น ฆ่าคน ทำร้ายคน หรือก่อโรคภัยไข้เจ็บ คติชนจีนยังเชื่อว่า วิญญาณของกู่สามารถกลายร่างเป็นสัตว์หลายชนิด เช่น หนอน บุ้ง ตะขาบ งู กบ สุนัข หรือสุกร.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และกู่ · ดูเพิ่มเติม »

กถาสริตสาคร

กถาสริตสาคร เป็นหนังสือรวบรวมนิทาน ตำนานต่างๆ ของอินเดีย แต่งโดยนักปราชญ์ชาวกัศมีร์ชื่อ โสมเทวะ เมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 11 นับเป็นหนังสือที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเล่มหนึ่งของอินเดีย คำว่า "กถาสริตสาคร" เป็นภาษาสันสกฤต หมายถึง "มหาสมุทรแห่งสายน้ำของเรื่องเล่าต่างๆ" กถาสริตสาคร มีเนื้อหา 18 เล่ม 124 บท มีบทร้อยกรองมากกว่า 21,000 บท ที่แต่งเสริมเนื้อหาในส่วนร้อยแก้ว นิทานเรื่องหลักนั้นเป็นการเล่าเรื่องผจญภัยของเจ้าชายนรวหนทัตตะ โอรสของพระเจ้าอุทยนะในตำนาน มีการแต่งนิทานจำนวนมากประกอบกับเนื้อเรื่องหลัก ทำให้กลายเป็นแหล่งรวมนิทานอินเดียที่ยาวที่สุด ตำนานกล่าวว่า กถาสริตสาครนั้น ส่วนใหญ่อิงจากงานเขียนเรื่อง พฤหัตกถา ของคุณธฺย ในภาษาไปศาจี จากตอนใต้ของอินเดีย แต่พฤหัตกถาฉบับกัษมิร์ที่โสมเทวะใช้เป็นแหล่งเนื้อหานั้น อาจแตกต่างไปจากฉบับของไปศาจี เพราะมีพฤหัตกถาหลงเหลืออยู่สองฉบับ ในกัศมีร์ (นอกเหนือจากพฤหัตกถาโศลกสังเคราะห์ ของพุทธสวามิน จากเนปาล) ลักษณะการเล่านิทานในกถาสริตสาครนั้น (หรือในเนื้อหาหลักของพฤหัตกถา) คล้ายกับการเล่าเรื่องปัญจตันตระ นั่นคือ เป็นเรื่องที่ผูกโยงมาจากท้องถิ่นต่างๆ มากมายในโลกนี้ ประวัติการแปลในภาษาไทย เสฐียรโกเศศ และ นาคะประทีป เคยร่วมกันแปลถ่ายทอดนิทานชุดนี้ออกเป็นภาษาไทย เมื่อ..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และกถาสริตสาคร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบัลติ

ษาบัลติ เป็นภาษาที่ใช้พูดในบัลติสถานทางเหนือของปากีสถานซึ่งเมื่อก่อน..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และภาษาบัลติ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบูรุศซัสกี

ษาบูรุศซัสกี (Burushaski ภาษาอูรดู: بروشسکی – burū́šaskī) เป็นภาษาโดดเดี่ยวที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกับภาษาใดๆในโลก มีผู้พูดราว 87,000 คน (พ.ศ. 2543) โดยชาวบุรุศโศในฮันซา นาคัร ยาซินและบางส่วนของหุบเขากิลกิตในภาคเหนือของปากีสถาน มีผู้พูดราว 300 คนในศรีนคร ประเทศอินเดีย ชื่ออื่นๆของภาษานี้คือ ภาษากันชุต ภาษาเวอร์ชิกวรร ภาษาบูรุศกี และภาษามิยาสกี ปัจจุบัน ภาษาบูรุศซัสกีมีคำยืมจากภาษาอูรดูมาก (รวมทั้งคำยืมจากภาษาอังกฤษและภาษาสันสกฤตที่รับผ่านภาษาอูรดู) และมาจากภาษาเพื่อนบ้านเช่นกลุ่มภาษาดาร์ดิก เช่น ภาษาโคชวาร์และภาษาซีนา และมีบางส่วนมาจากกลุ่มภาษาเตอร์กิก และจากภาษาบัลติ ภาษาวาคี ภาษาพาซตู แต่ก็มีคำศัพท์ดั้งเดิมอยู่เป็นจำนวนมาก กลุ่มภาษาดาร์ดิกเองก็มีการยิมคำไปจากภาษาบูรุศซัสกี ภาษานี้มีสำเนียงหลักๆ 3 สำเนียงแบ่งตามหุบเขาที่อาศัยอยู่คือ ฮันซา นคร และยาซิน สำเนียงยาซินได้รับอิทธิพลจากภาษาเพื่อนบ้านน้อยที่สุดและต่างจากอีกสองสำเนียงมาก แต่ทั้งสามสำเนียงยังเข้าใจกันได้.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และภาษาบูรุศซัสกี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาราชการของอินเดีย

ประเทศอินเดียมีภาษาพูดที่แตกต่างกันมากมาย ในกลุ่มคนต่าง ๆ กัน มีภาษาอย่างน้อย 30 ภาษา รวมถึงภาษาย่อยอีก 2,000 ภาษาด้ว.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และภาษาราชการของอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาดัก

ษาลาดัก (ภาษาทิเบต: ལ་དྭགས་སྐད་; La-dwags skad) หรือภาษาโภติหรือที่นักภาษาศาสตร์เรียกว่าภาษาทิเบตโบราณตะวันตก เป็นภาษาหลักของชาวลาดักในรัฐชัมมูและกัษมีระ และใช้พูดในบัลติสถาน ภาษาลาดักใกล้เคียงกับภาษาทิเบต ชาวลาดักเองก็มีวัฒนธรรมหลายอย่างใกล้ชิดกับชาวทิเบต รวมทั้งนับถือศาสนาพุทธแบบทิเบตด้วย อย่างไรก็ตาม ภาษาลาดักกับภาษาทิเบตกลางไม่สามารถเข้าใจกันได้ แม้ว่าจะมีการเขียนที่ถ่ายทอดมาจากภาษาทิเบตโบราณ มีผู้พูดภาษาลาดักในอินเดีย 200,000 คน และอาจจะมีอีกราว 12,000 คนในทิเบตที่อยู่ภายใต้การปกครองของจีน สำเนียงย่อยหลายสำเนียง ส่วนใหญ่ไม่มีวรรณยุกต์ ยกเว้นสำเนียงสโตตสกัตและสำเนียงลาดักบนที่มีวรรณยุกต์เหมือนภาษาทิเบตกลาง.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และภาษาลาดัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอูรดู

ษาอูรดู (اردو) เป็นภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ซึ่งพัฒนามาจากหลายภาษารวมกันคือ ภาษาเปอร์เซีย ตุรกี อาหรับ ฮินดี และ สันสกฤต นิยมใช้กันมากในช่วงสมัยรัฐสุลต่านเดลฮี และจักรวรรดิโมกุล (ค.ศ.๑๒๐๐ - ๑๘๐๐) ภาษาอูรดู อยู่ในอันดับที่ ๒๐ ของภาษาที่มีคนใช้เป็นภาษาแม่ และเป็นภาษาราชการของประเทศปากีสถาน นอกจากนี้ยังเป็นภาษาหนึ่งในภาษาราชการ ๒๓ ภาษา ของประเทศอินเดี.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และภาษาอูรดู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทิเบต

ษาทิเบตเป็นภาษาในตระกูลทิเบต-พม่า ภาษาทิเบตมีภาษาถิ่นหลายกลุ่มคือ ภาษากลาง อยู่ในเขตปกครองตนเองทิเบต เช่นที่ ลาซา สำเนียงคาม อยู่ในเขตแคว้นคาม สำเนียงอัมโด อยู่ในแคว้นอัมโด ภาษาถิ่นอื่น ๆ ได้แก่ภาษาของชนเชื้อสายทิเบตในเนปาล เช่นชาวเศรป.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และภาษาทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแคชเมียร์

ษาแคชเมียร์หรือภาษากัศมีร์เป็นภาษากลุ่มดาร์ดิก ใช้พูดในแคชเมียร์ จัดอยู่ในตระกูลอินโด-ยุเปียน สาขาอินโด-อารยัน เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม ในยุคแรกเขียนด้วยอักษรสรทะ แล้วเปลี่ยนเป็นอักษรอาหรับแบบเปอร์เซียภายหลัง วรรณกรรมภาษาแคชเมียร์มีมาก แต่ไม่ได้รับการสืบทอด ผู้พูดภาษานี้ก็ลดจำนวนลง ภาษานี้เพิ่งได้รับการยอมรับให้เป็นภาษาราชการและมีการสอนในโรงเรียนได้ไม่นาน นิตยสารและหนังสือพิมพ์ภาษาแคชเมียร์มีเพียงฉบับเดียว.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และภาษาแคชเมียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโดกรี

ษาโดกรีเป็นภาษาในจัมมูร์และแคชเมียร์ รวมทั้งในรัฐปัญจาบและรัฐหิมาจัลประเทศ มีผู้พูดราว 2.1 ล้านคน แต่ก่อนถือว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาปัญจาบ แต่ปัจจุบันได้รับการยอมรับว่าเป็นอีกภาษาหนึ่งในอดีตเขียนด้วยอักษรตกริ ซึ่งคล้ายกับอักษรสรทะที่ใช้เขียนภาษาแคชเมียร์ ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรเทวนาครีหรืออักษรอาหรับ-เปอร์เซียแบบนัสตาลิก.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และภาษาโดกรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเศรปา

ษาเศรปา หรือภาษาเศรปา ภาษาชาร์ปา ภาษาชาร์ปา โภเตีย ภาษาเซียเออร์บา ภาษาเซอร์วา เป็นภาษาที่ใช้พูดในบางส่วนของเนปาล โดยเฉพาะในชุมชนชาวเศรปา อยู่ในเนปาล 130,000 คน (2544) อยู่ในอินเดีย 20,000 คน (2540) และในทิเบต 800 คน (2537).

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และภาษาเศรปา · ดูเพิ่มเติม »

ภิกษุณีในประเทศจีน

ประวัติภิกษุณีสงฆ์ในประเทศจีน ปลายปีรัชกาลย่งเจีย(หย่งเกีย)แห่งราชวงศ์จิ้น(พ.ศ.850-855) หญิงจีนมีนามว่า จิ้งเจี่ยน ตัดสินใจปลงผม และขอรับศีล10 จากพระอุปัชฌาย์ พระชญาณเมรุ มีผู้หญิงจีนศรัทธาและเข้ารับการบรรพชาพร้อมเธอ24คน แล้วก่อตั้ง อารามจู๋หลินซื่อ(เต๊กลิ้มยี่)แปลว่า วัดป่าไผ่ ขึ้นที่ประตูทางทิศตะวันตกของเมืองหลวง เนื่องจากบรรดาสามเณรีเหล่านี้ไม่มีปวัตตินี เธอจึงศึกษาธรรมอยู่กับพระอาจารย์จิ้งเจี่ยน ซึ่งเป็นผู้มีความสามารถในการสั่งสอนอบรม พระอุปัชฌาย์นั้นคือ พระชญาณเมรุ สมณะจากแคว้นกาศมีระ(แคชเมียร์)ในดินแดนทางทิศตะวันตก ท่านเป็นอาจารย์ที่ปราดเปรื่องและมีเมตตาธรรม นอกจากนั้น ยังเป็นอาจารย์ฝ่ายวิปัสสนาและมีความรู้ดีในพระสูตรต่างๆในปลายปีรัชกาลย่งเจีย แห่งราชวงศ์จิ้น ท่านได้เดินทางมาประเทศจีน และยังชีพโดยการภิกขาจาร ท่านสั่งสอนธรรมและเผยแผ่คำสอนในพระพุทธศาสนา แต่ประชาชนในยุคนั้นยังไม่ค่อยศรัทธาในพระพุทธศาสนามากนัก จึงไม่ค่อยมีใครสนใจจะศึกษากับท่านอย่างจริงจัง ในปีแรกของปีรัชกาลเจี้ยนอู่(พ.ศ.860) ท่านจึงได้เดินทางกลับไปยังแคว้นกาศมีระ ต่อมาพระอาจารย์อีกรูปหนึ่งชื่อ พุทธจิงค์ เดินทางจากประเทศอินเดียมายังประเทศจีนอีกและได้สรรเสริญถึงคุณธรรมและความสามารถของพระชญาณเมรุ ทำให้ประชาชนชาวจีนพากันเสียใจ และเสียดายโอกาสในความโง่เขลาของตนที่ไม่ได้เล่าเรียนพระพุทธศาสนาจากพระอาจารย์ผู้มีความสามารถในขณะที่ท่านอยู่ในประเทศจีน ขณะเดียวกัน จิ้งเจี่ยน ก็อบรมสั่งสอนศิษย์อยู่ที่อารามแห่งเดิมนั้น เธอเป็นผู้มีท่วงทีงามสง่า คือการปฏิบัติในแนวทางสายกลางและเป็นผู้มีจริยาวัตรที่มั่นคงในธรรม เธอมีความสามารถในการเทศน์สอนจนสามารถเอาชนะใจผู้ฟังได้ดี ระหว่างปลายปีรัชกาลเสียนคัง ในราชวงศ์จิ้น(พ.ศ.878-885)พระสมณะเซิงเจี้ยน ได้รับคัมภีร์ต้นฉบับมหาสังฆิกภิกษุณีกรรม และ ภิกษุณีปราติโมกข์ มาจากอาณาจักรง้วยสี และได้แปล(จากภาษาสันสกฤต)เป็นภาษาจีน ในวันที่8 เดือน2 ปีที่1 ในปีรัชกาลเซิงผิง(พ.ศ.900-904)ในเมืองลั่วหยาง พระอาจารย์ชาวต่างประเทศคือ พระสมณะธรรมคุปต์ได้กำหนดเขตสีมา ศีลมณฑล เพื่อการบรรพชาอุปสมบทภิกษุณีขึ้น แต่พระอาจารย์จีนชื่อ สมณะซือเต้าฉาง โต้แย้ง โดยอ้างว่าการกระทำดังกล่าวไม่ถูกต้องตามพระวินัยบัญญัติดังปรากฏในวินัยสูตร ดังนั้น จึงได้ตระเตรียมเรือลอยกลางแม่น้ำซื่อ จิ้งเจี่ยน พร้อมผู้หญิงอีก3คนจึงขึ้นไปบนเรือนั้น และได้รับศีลภิกษุณีจากพระภิกษุ นับเป็นหญิงจีนคนแรกที่ได้รับการบรรพชาอุปสมบทเป็นภิกษุณีในประเทศจีน.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และภิกษุณีในประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

มิโคยัน มิก-29

มิก-29 (MiG-29, МиГ-29) เป็นเครื่องบินขับไล่รุ่นที่สี่ซึ่งถูกออกแบบโดยสหภาพโซเวียตสำหรับบทบาทครองความเป็นเจ้าอากาศ มันถูกสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และมิโคยัน มิก-29 · ดูเพิ่มเติม »

มูฮัมมัด อิกบาล

ซอร์มูฮัมมัด อิกบาล (Muhammad Iqbal) (9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1877 - 21 เมษายน ค.ศ. 1938) มักเรียกว่า อัลลามา อิกบาล เป็นกวีและนักปรัญชาเกิดในเซียลคอต ซึ่งขณะนั้นอยู่ในแคว้นปัญจาบ บริติชอินเดีย ซึ่งปัจจุบันอยู่ในปากีสถาน อิกบาล ผู้เขียนบทกวีในภาษาอุรดูและภาษาเปอร์เซีย ถูกมองว่าเป็นหนึ่งในบุคคลที่เป็นสัญลักษณ์ (icon) ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในสมัยใหม่ หลังศึกษาในอังกฤษและเยอรมนี อิกบาลได้ทำงานด้านกฎหมาย แต่ยังมุ่งสนใจงานเขียนผลงานเชิงวิชาการว่าด้วยการเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญาและศาสนาเป็นหลัก ผลงานที่ทำให้เขาเป็นที่รู้จักกันมากที่สุดเป็นงานด้านบทกวี อิกบาลเป็นผู้เสนอการฟื้นฟูอารยธรรมอิสลามทั่วโลกอย่างแข็งขัน แต่โดยเฉพาะยอ่างยิ่งในอินเดีย เขาเป็นหนึ่งในผู้นำที่โดดเด่นของสันนิบาติมุสลิมทั่วอินเดีย (All-India Muslim League) และสนับสนุนการสถาปนา "รัฐในทางตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดียสำหรับมุสลิมชาวอินเดีย" ในการปราศรัยประธานาธิบดีใน..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และมูฮัมมัด อิกบาล · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลาม

รัฐสมาชิกขององค์การฯ แสดงด้วยสีเขียว รัฐสังเกตการณ์แสดงด้วยสีแดง และรัฐที่ถูกคัดค้านแสดงด้วยสีน้ำเงิน องค์การความร่วมมืออิสลามที่ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และรัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อหอดูดาว

นี่คือ รายชื่อหอดูดาว เรียงลำดับตามตัวอักษร รวมถึงวันเปิดปฏิบัติการและตำแหน่งที่ตั้ง รายชื่อนี้อาจรวมถึงวันปฏิบัติการวันสุดท้ายสำหรับหอดูดาวที่ได้ปิดตัวลง โดยรายชื่อนี้จะเป็นหอดูดาวซึ่งใช้ศึกษาด้านดาราศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และรายชื่อหอดูดาว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด

นี่คือ รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งรวมถึงรัฐอธิปไตยและเขตการปกครอง เรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด โดยยึดตามมาตรฐานสากล ISO 3166-1 เพื่อจุดประสงค์ทางสถิติ เขตการปกครองจะถูกบรรจุในรายชื่อรวมกับรัฐอธิปไตยด้วย ตัวเลขที่ปรากฏจะแสดงขนาดพื้นที่ทั้งหมด รวมทั้งพื้นดินและพื้นที่น้ำภายในดินแดนนั้นด้วย (เช่น ทะเลสาบ เขื่อน และแม่น้ำ) ซึ่งบางส่วนอาจนับรวมไปถึงพื้นที่ของน้ำภาคพื้นสมุทร (น่านน้ำชายฝั่ง) แต่ไม่นับรวมน่านน้ำอาณาเขตและเขตเศรษฐกิจจำเพาะ สถิติดังกล่าวไม่นับรวมเขตการปกครองซึ่งไม่มีพลเมืองอาศัยอยู่ – รวมทั้งการอ้างสิทธิ์ของหลายประเทศเหนือพื้นที่ของทวีปแอนตาร์กติกา (14,400,000 กม.²) – และการรวมกลุ่มประเทศ เช่น สหภาพยุโรป (4,324,782 กม.²) ซึ่งมีอำนาจอธิปไตย แต่ไม่สามารถพิจารณาว่าเป็นรัฐอธิปไตยหรือเขตการปกครองได้ พื้นที่ทั้งหมดของโลกคิดเป็น 148,940,000 กม.² (คิดเป็น 29.1% ของพื้นผิวโลกทั้งหมด).

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตการปกครอง

รายชื่อเขตปกครองในระดับบนสุดของประเทศต่าง ๆ ที่มีการปกครองแบบสหพันธรัฐหรือรัฐรวม รวมทั้งเขตการปกครองในระดับบนสุดของเอกรัฐหรือรัฐเดี่ยวบางแห่ง.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และรายชื่อเขตการปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

วาซวาน

วัซซากำลังปรุงริสตา วาซวาน (Wazwan) เป็นชุดของอาหารที่มีชื่อเสียงในแคชเมียร์ ในอดีตเคยมีถึง 36 รายการ ส่วนใหญ่ปรุงด้วยเนื้อสัตว์ โดยเฉพาะเนื้อแกะ เป็นเมนูสำหรับงานเลี้ยงในโอกาสสำคัญต่างๆ เช่น งานแต่งงาน ขึ้นบ้านใหม่ งานสำคัญของทางราชการ ช่างที่ปรุงวาซวานจะมีชื่อเฉพาะว่าวัซซา (Waza) อาหารหลักในวาซวานได้แก่ อาหารเรียกน้ำย่อยคือคาบับหรือไส้กรอกย่าง ที่เป็นเนื้อทุบผสมเครื่องเทศ ปั้นเป็นไส้กรอกเสียบเหล็กแล้วย่างให้สุก มึธมาซ (เนื้อเคี่ยวเครื่องเทศ) มิธที (สมุนไพรกลิ่นหอม) ตาบักมาซ (ซี่โครงแกะทอดเนย) รายการต่อไปจะเป็นอาหารจำพวกแกงต่างๆ เช่น โรกันโจซ ริสตา ยักนี จนถึงกวซตาบาซึ่งเป็นแกงลูกชิ้นยักษ์ใส่โยเกิร์ตเป็นอาหารอย่างสุดท้าย การจัดเลี้ยงวาซวานจะให้แขกที่มาร่วมงานนั่งหันหน้าเข้าหากัน แบ่งเป็นกลุ่มๆละ 4 คน ระหว่างแถวปูผ้าขาว เพื่อให้แขกล้างมือเรียบร้อยแล้ว จะเริ่มเสริ์ฟอาหารจานแรกซึ่งจะเป็นข้าวกับคาบับ เมื่อแขกทุกคนได้อาหารพร้อมแล้ว เจ้าภาพจะกล่าวเชิญให้แขกรับประทานอาหาร จากนั้น ลูกมือของวัซซาจะทยอยเสริ์ฟอาหารอย่างอื่นจนถึงกวซตาบา จากนั้น เจ้าภาพจะทยอยเก็บจานและนำกาน้ำมาบริการให้แขกล้างมืออีกครั้งเป็นอันว่าเสร็จงาน.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และวาซวาน · ดูเพิ่มเติม »

ศรีนคร

รีนคร (แคชเมียร์: سری نگر; อูร์ดู: شرینگر; โดกรี: श्रीनगर; Srinagar) เป็นเมืองหลวงของรัฐทางเหนือสุดของอินเดีย รัฐชัมมูและกัศมีร์ ตั้งอยู่ในหุบเขาแคชเมียร์ บนฝั่งแม่น้ำเฌลัม สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 1,600 เมตร เป็นหนึ่งในเมืองใหญ่ที่สุดของอินเดียที่ไม่ได้นับถือศาสนาฮินดู โดยมีมุสลิม 97% เมืองมีประชากร 894,940 คน (ค.ศ. 2001) เมืองผลิตพรม ไหม เงิน เครื่องหนัง ภาชนะทองแดง มีการแกะสลักไม้ การท่องเที่ยว.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และศรีนคร · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธแบบทิเบต

ระพุทธศาสนาแบบทิเบตราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 587-8 (Tibetan Buddhism) คือพุทธศาสนาแบบหนึ่งซึ่งถือปฏิบัติในทิเบต และปัจจุบันได้แพร่หลายไปในหลายประเทศ ดินแดนทิเบตในอดีตมีความรุ่งเรืองทางพุทธศาสนามาก พุทธศาสนาแบบทิเบตมีเอกลักษณ์เฉพาะคือเป็นการผสมผสานระหว่างพุทธศาสนานิกายมหายานทั้งจากอินเดียและจีน ได้รับอิทธิพลจากพุทธศานานิกายตันตระของอินเดีย จนเกิดเป็นนิกายวัชรยานขึ้น ประชาชนใฝ่ธรรมะ เมื่อมีงานบุญ ประชาชนจะเดินทางไปแสวงบุญแม้จะไกลสักเพียงใด ซึ่งปัจจุบันก็มีให้เห็นอยู่มากมาย แต่เมื่อตกอยู่ในการปกครองของจีนวัดนับพันแห่งทั่วนครลาซา เหลือไม่ถึงหนึ่งร้อยแห่งในปัจจุบัน จนแทบไม่เหลือความเจริญรุ่งเรืองในอดีต.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และศาสนาพุทธแบบทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในเอเชียกลาง

อเชียกลาง เป็นสถานที่อันเป็นที่ตั้งของประเทศคีร์กีซสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศเติร์กเมนิสถาน และทางตอนใต้ของประเทศคาซัคสถาน นอกจากนี้ยังรวมไปถึงเขตปกครองตนเองทิเบต เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ของสาธารณรัฐประชาชนจีน บางส่วนของประเทศมองโกเลีย และไซบีเรียตอนใต้ด้วย ในดินแดนเอเชียกลางนี้เองที่เป็นแหล่งชุมนุมศิลปกรรมวัตถุที่เคารพบูชาในพุทธสาสนา โดยในอดีตได้เคยเป็นศูนย์กลาง และเส้นทางเผยแผ่พุทธศาสนามาหลายศตวรรษ โดยประเทศจีนเองก็ได้รับพุทธศาสนาจากอินเดียโดยผ่านมาจากเส้นทางนี้ นอกจากนี้เอเชียกลางยังเป็นศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญระหว่างจีน อินเดีย และประเทศต่างๆในแถบยุโรป จนเกิดตำนานเส้นทางสายไหม ฉะนั้นเอเชียกลางจึงเป็นศูนย์รวมของวัฒนธรรมอันหลากหลาย โดยมีพุทธสถาน และปูชนียสถานมากมายในอดีต เช่น วัดวาอาราม ถ้ำ สถูป ภาพจิตรกรรม ประติมากรรม คัมภีร์ และเอกสารจดหมายเหตุต่างๆ ที่เป็นภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาโขรฐี และภาษาจีน เป็นต้น.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และศาสนาพุทธในเอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

สังคายนาในศาสนาพุทธ

ในศาสนาพุทธ สังคายนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 487-8 (สํคายนา) คือการประชุมตรวจชำระสอบทานและจัดหมวดหมู่คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า วางลงเป็นแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกัน ตามศัพท์ "สังคายนา" หมายถึง สวดพร้อมกัน หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “สังคีติ” แปลว่า สวดพร้อมกัน มาจากคำว่า คายนา หรือ คีติ แปลว่า การสวด สํ แปลว่า พร้อมกัน คำนี้มีมูลเหตุมาจากวิธีการสังคายนาพระธรรมวินัย ที่เรียกว่าวิธีการร้อยกรองหรือรวบรวมพระธรรมวินัย หรือประมวลคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีวิธีการคือนำเอาคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าที่ทรงจำไว้มาแสดงในที่ประชุมพระสงฆ์ จากนั้นให้มีการซักถามกัน จนกระทั่งที่ประชุมลงมติว่าเป็นอย่างนั้นแน่นอน เมื่อได้มติร่วมกันแล้วในเรื่องใด ก็ให้สวดขึ้นพร้อมกัน การสวดพร้อมกันแสดงถึงการลงมติร่วมกันเป็นเอกฉันท์ และเป็นการทรงจำกันไว้เป็นแบบแผนต่อไป.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และสังคายนาในศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอินเดีย-ปากีสถาน ค.ศ. 1947

งครามอินเดีย-ปากีสถาน..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และสงครามอินเดีย-ปากีสถาน ค.ศ. 1947 · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าฝรั่น

หญ้าฝรั่น หรือ สรั่น บรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และหญ้าฝรั่น · ดูเพิ่มเติม »

หมาไม้

หมาไม้ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่งในอันดับสัตว์กินเนื้อ มีรูปร่างคล้ายพญากระรอกดำ (Ratufa bicolor) มีลักษณะเด่นคือ ตั้งแต่ใต้คอลงไปถึงหน้าอกมีสีเหลือง ส่วนหัวด้านบนมีสีดำ ขาสั้นเมื่อเทียบกับขนาดตัว ตัวผู้มีฟันเขี้ยวขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย หางยาวพอ ๆ กับความยาวลำตัว หมาไม้ชนิดย่อยที่อาศัยอยู่ทางภาคเหนือของทวีปเอเชียจะมีขนาดใหญ่กว่าชนิดที่อาศัยอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร มีความยาวลำตัวและหัว 45–60 เซนติเมตร ความยาวหาง 38–43 เซนติเมตร น้ำหนัก 2–3 กิโลกรัม หมาไม้เป็นสัตว์ที่มีกลิ่นตัวแรงมาก มีความคล่องแคล่วปราดเปรียวมาก สามารถหากินได้ทั้งบนต้นไม้และพื้นดิน กินอาหารได้หลากหลายประเภททั้งพืชและสัตว์ ทั้งสัตว์ฟันแทะ, แมลง, สัตว์เลื้อยคลาน, นก หรือ ไข่นก บางครั้งอาจเข้ามาหาอาหารที่นักท่องเที่ยวป่าทิ้งไว้ตามเต๊นท์ นอกจากนี้ยังสามารถกินผึ้งและน้ำผึ้งเหมือนหมีได้อีกด้วย มักหากินในเวลากลางวัน แต่บางครั้งอาจหากินในเวลากลางคืน มักจะหากินแต่เพียงลำพังหรือเป็นคู่ไม่มากกว่านั้น หมาไม้ตัวเมียจะตั้งท้องนาน 220–290 วัน ออกลูกครั้งละ 3–5 ตัว อายุขัยในสถานที่เลี้ยงประมาณ 14 ปี เป็นสัตว์ที่มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทางตะวันออกของอัฟกานิสถาน, ภาคเหนือของปากีสถาน, รัฐแคชเมียร์และรัฐอัสสัมของอินเดีย, ภาคเหนือของพม่า, ภาคใต้และภาคตะวันออกของจีน, ไต้หวัน, ไทย, ลาว, ตอนเหนือของกัมพูชา, ภาคเหนือและภาคกลางของเวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว สถานะของหมาไม้ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และหมาไม้ · ดูเพิ่มเติม »

หงอนไก่ไทย

หงอนไก่ไทย เป็นพืชล้มลุก ลำต้นตั้งตรง สีแดง ใบเดี่ยวสีแดง ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็ก ริ้วประดับติดทนนาน สีขาวหรือชมพู ผลแห้ง เมล็ดกลมแบน สีดำมันวาว.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และหงอนไก่ไทย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเทวนาครี

อักษรเทวนาครี (देवनागरी อ่านว่า เท-วะ-นา-คะ-รี; Devanagari) พัฒนามาจากอักษรพราหมีในราวคริสต์ศตวรรษที่ 11 ใช้เขียนภาษาฮินดี ภาษาสันสกฤต ภาษามราฐี ภาษาบาลี ภาษาสินธี ภาษาเนปาล และภาษาอื่นๆในประเทศอินเดีย อักษรเทวนาครีมีลักษณะการเขียนจากซ้ายไปขวา มีเส้นเล็กๆ อยู่เหนือตัวอักษร หากเขียนต่อกัน จะเป็นเส้นยาวคล้ายเส้นบรรทัด มีการแยกพยัญชนะ สระ และเครื่องหมายต่าง.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และอักษรเทวนาครี · ดูเพิ่มเติม »

อักไสชิน

แผนที่แสดงอาณาเขตของอักไสชิน (สีแดง) อักไสชิน (Aksaichin;; अक्साई चिन, อักสาอี จิน; ภาษาอูรดู: اکسائی چن; اقصای چین) เป็นที่ราบสูงกว้างใหญ่ในลาดัก รัฐชัมมูและกัษมีระ ตั้งอยู่ระหว่างเทือกเขาคุนหลุนของจีนกับเทือกเขาคาราโครัมทางเหนือของอินเดีย พื้นที่เป็นหินสีขาวขนาดใหญ่ ลาดชัน ขรุขระ แห้งแล้ง มีประชากรอยู่น้อยมาก เมื่อจีนยึดครองทิเบตมาอยู่ในการดูแลได้ใน..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และอักไสชิน · ดูเพิ่มเติม »

อัลกออิดะฮ์

อัลกออิดะฮ์ (القاعدة‎, al-Qā`ida "ฐาน") หรือ แอล-ไคดา (al-Qaeda) เป็นกลุ่มก่อการร้ายอิสลามสากล ก่อตั้งโดย อุซามะฮ์ บิน ลาดิน, อับดุลลาห์ อัซซัม (Abdullah Azzam) และนักรบอื่นอีกหลายคน บางช่วงระหว่างเดือนสิงหาคม 2531.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และอัลกออิดะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

อีเห็นข้างลาย

อีเห็นข้างลาย หรือ อีเห็นธรรมดา หรือ มูสังหอม ในภาษาใต้ (Asian palm civet) เป็นอีเห็นขนาดเล็ก สีขนตามลำตัวเป็นสีเทาเข้มจนเกือบดำ ยกเว้นบริเวณรอบจมูก หู ขา และปลายหางมีสีดำมีลายสีขาวพาดขวางบริเวณหน้าผาก หลังมีจุดเล็ก ๆ สีดำเรียงตัวเป็นแนวยาว 3 เส้น จากไหล่ถึงโคนหาง หางมีความยาวพอ ๆ กับลำตัว ขนปลายหางบางตัวอาจมีสีขาว มีต่อมน้ำมันและจะส่งกลิ่นออกมาเมื่อเวลาตกใจ ซึ่งต่อมน้ำมันนี้จะแตกต่างจากชะมดหรืออีเห็นชนิดอื่น ๆ ตัวเมียมีเต้านม 3 คู่ มีความยาวลำตัวและหัว 43–71 เซนติเมตร ความยาวหาง 40.6–66 เซนติเมตร น้ำหนัก 2–5 กิโลกรัม อีเห็นข้างลายมีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางมาก โดยพบตั้งแต่รัฐชัมมูและกัศมีร์ และภาคใต้ของอินเดีย, ศรีลังกา, เนปาล, รัฐสิกขิม, ภูฏาน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, สิงคโปร์, ฟิลิปปินส์, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, เกาะซูลาเวซี และหมู่เกาะซุนดาน้อย และมีชนิดย่อยมากถึง 30 ชนิด (ดูในตาราง) มีพฤติกรรมมักอาศัยและหากินตามลำพัง สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ตั้งแต่ ป่าดิบชื้น, ป่าดิบแล้ง ไปจนถึงชายป่าที่ใกล้กับพื้นที่เกษตรกรรมของมนุษย์ กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น สัตว์ขนาดเล็กจำพวกแมลง และน้ำหวานของเกสรดอกไม้ ออกหากินในเวลากลางคืน นอนหลับในเวลากลางวัน ใช้เวลาส่วนมากตามพื้นดินและจะใช้เวลาน้อยมากอยู่บนต้นไม้ ออกลูกครั้งละ 2–4 ตัว โดยจะเลี้ยงลูกอ่อนไว้ตามโพรงไม้หรือโพรงหิน อีเห็นข้างลายไม่ได้ถูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2546 ปัจจุบันทางสวนสัตว์เชียงใหม่ได้มีโครงการในการเพาะเลี้ยงอีเห็นข้างลาย เพื่อผลิต "กาแฟขี้ชะมด" ซึ่งเป็นกาแฟที่ได้จากมูลของอีเห็นข้างลาย มีราคาซื้อขายที่สูงมาก และในการเพาะเลี้ยงเพื่อใช้ประโยชน์ในการนี้ที่จังหวัดตรังโดยเอกชนด้วยหน้า 27, อะเมซซิง..."กาแฟขี้ชะมดตรัง" โดย มนตรี สังขาว.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และอีเห็นข้างลาย · ดูเพิ่มเติม »

องค์การความเป็นปึกแผ่นโรฮีนจา

องค์การความเป็นปึกแผ่นโรฮีนจา (Rohingya Solidarity Organisation, RSO; রোহিঙ্গা সলিডারিটি অর্গানাইজেশন) เป็นองค์กรทางทหารของชาวโรฮีนจา ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และองค์การความเป็นปึกแผ่นโรฮีนจา · ดูเพิ่มเติม »

ผางกงโฉ

ทะเลสาบผางกงโฉ (Pangong Tso) เป็นทะเลสาบปิดในเทือกเขาหิมาลัย อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 4,350 ม. (14,270 ฟุต) มีความยาว 134 กม.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และผางกงโฉ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ลี้ภัย

แผนที่แสดงต้นกำเนิดของผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาที่พักพิงใน ค.ศ. 2007 แผนที่แสดงประเทศปลายทางของผู้ลี้ภัย ค.ศ. 2007 ผู้ลี้ภัย (refugee) หมายถึงบุคคลที่อยู่นอกประเทศต้นกำเนิดหรือประเทศที่มีถิ่นฐานประจำ เพราะเขาผู้นั้นประสบกับภัยอันเกิดแต่การตามล่า การกดขี่ด้วยเหตุทาง เชื้อชาติ ศาสนา สัญชาติ ความเห็นทางการเมือง หรือ การเป็นสมาชิกของกลุ่มสังคมที่ถูกตามล่า บางครั้งอาจเรียกผู้ลี้ภัยว่า ผู้ขอที่ลี้ภัย (asylum seeker) จนกว่าจะได้รับการยอมรับสถานภาพของผู้ลี้ภัย เด็กและสตรีผู้ลี้ภัยเป็นผู้ลี้ภัยกลุ่มย่อยที่ได้รับความสนใจเป็นพิเศษ ระบบผู้ลี้ภัยจะทำงานได้ก็ต่อเมื่อประเทศเปิดพรมแดนให้ผู้คนหนีจากความความขัดแย้ง โดยเฉพาะประเทศพื้นบ้านใกล้กับต้นกำเนิดของความขัดแย้ง ระบบผู้ลี้ภัยนี้ได้ช่วยเหลือผู้คนมากมายแต่ก็ยังมีข้อบกพร่องอยู่ ในหลายกรณีการหนีไปอยู่ในค่ายผู้ลี้ภัยกระทำได้ยากยิ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และผู้ลี้ภัย · ดูเพิ่มเติม »

ผ้าพัชมีนา

ผ้าพัชมีนา ผ้าพัชมีนา (Pashmina) เป็นผ้าที่ทำจากขนแพะซึ่งมีชื่อว่า "พัชม์" (Pashm) หรือในภาษาลาตินเรียกว่า "คาปรา ไฮร์คัส" (Capra Hircus) แพะชนิดนี้อาศัยอยู่ในที่สูง เช่น เทือกเขาหิมาลัย และใต้เขตไซบีเรีย เช่น มองโกเลีย คาซัคสถาน ด้านในของประเทศอิหร่าน และอัฟกานิสถาน ด้ายที่ใช้ทอผ้าพัชมีนาเป็นด้ายที่ปั่นด้วยมือโดยใช้วิธีแบบดั้งเดิมที่ไม่ใช่วิธีที่ตามพัฒนามาจากวิธีแบบยุโรป ปัจจุบันนี้ผ้าพัชมีนาถูกใช้เป็นคำเรียกสำหรับผ้าคลุมไหล่ทั่วไปที่มีปมอยู่ที่ปลายผ้า หลายคนมักเข้าใจผิดว่าต้นกำเนิดของผ้าพัชมีนานั้นมาจากแคว้นแคชเมียร์หรือเนปาล ซึ่งเป็นความเชื่อที่ผิด เพียงแต่ถิ่นนั้นมีวิธีการทอผ้าแบบดั้งเดิมที่เหมือนกัน ผ้าที่ได้จึงมีลักษณะคล้ายกันกับผ้าพัชมีนา ส่วนการนำขนของแพะมาทอเป็นผ้านั้นก็ถูกต้องตามกฎหมาย เพราะแพะดังกล่าวไม่ใช่สัตว์ใกล้สูญพันธุ์แต่อย่างใด ผ้าพัชมีนาที่มีขายอยู่ตามท้องตลาดมีหลายรูปแบบ อาจมีการผสมเนื้อผ้าชนิดอื่นเข้าไปด้วย เช่นผ้าไหม หรือผ้าฝ้าย หรือ ผ้าชนิดอื่น ๆ ซึ่งถ้าต้องการซื้อควรเลือกซื้อจากร้านที่เชื่อถือได้ มิฉะนั้นอาจเป็นของปลอม หมวดหมู่:ศิลปะ หมวดหมู่:ผ้า อ่านเพิ่มเติม.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และผ้าพัชมีนา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิชะฮันคีร์

นูรุดดีน สะลีม ชะฮันคีร์ (نورالدین سلیم جهانگیر, ราชสมภพ 20 กันยายน ค.ศ. 1569 - สวรรคต 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1627) พระปรมาภิไธย นูรุดดีน มาจากภาษาอาหรับที่มีความหมายว่า แสงแห่งศรัทธา ส่วนชะฮันคีร์ มาจากภาษาเปอร์เซียที่มีความหมายว่า ผู้พิชิตโลก สมเด็จพระจักรพรรดิชะฮันคีร์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่สามในสมเด็จพระจักรพรรดิอัคบาร์ กับพระนางโชธาพาอี ทรงครองราชย์สมบัติต่อจากพระชนกในปี ค.ศ. 1605 เมื่อมีพระชนมายุได้ 37 พรรษา ก่อนเสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์ทรงก่อการกบฏต่อพระบิดาหลายครั้ง แต่ก็ได้รับพระราชทานอภัยโทษดาวสยาม วชิรปัญโญ, พระมห.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และจักรพรรดิชะฮันคีร์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิซิกข์

ักรวรรดิซิกข์ (Sikh Empire; امپراتوری سیک; سکھ سلطنت) เป็นจักรวรรดิที่ตั้งอยู่ในเอเชียใต้ รอบ ๆ ภูมิภาคปัญจาบ ดำรงอยู่ระหว่างปี..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และจักรวรรดิซิกข์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงรัฐชัมมูและกัศมีร์

งรัฐชัมมูและกัศมีร์ ธงรัฐชัมมูและกัศมีร์ เป็นธงที่มีพื้นฐานมาจากธงของการประชุมแห่งชาติชัมมูและกัศมีร์ เป็นธงพื้นสีแดง ประดับด้วยรูปคันไถ ด้านคันธงมีแถบแนวตั้ง 3 แถบ โดยคันไถแทนการเกษตรกรรม ส่วนแถบ 3 แถบแทนภูมิภาคทั้งสามของรัฐ คือ ชัมมู กัศมีร์ และลาดัค รัฐชัมมูและกัศมีร์เป็นรัฐเดียวของอินเดียที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ธงของรัฐร่วมกับธงชาติอินเดี.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และธงรัฐชัมมูและกัศมีร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทางด่วนในประเทศอินเดีย

abbr.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และทางด่วนในประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ที่ราบสูงทิเบต

ริเวณที่ราบสูงทิเบต ที่ราบสูงทิเบต (Tibetan Plateau) ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน และมีพื้นที่บางส่วนในลาดักแคว้นแคชเมียร์ เป็นที่ราบกว้างใหญ่ มีพื้นที่ประมาณ 1.3 ล้านตารางกิโลเมตร มีความสูงโดยเฉลี่ย 4,600 เมตร จากระดับน้ำทะเล จึงได้ชื่อว่าเป็นหลังคาโลก เขตที่ราบสูงทิเบตเป็นเขตที่ราบสูงที่มีภูเขาล้อมถึง 3 ด้าน คือทางทิศเหนือมีเทือกเขาคุนหลุนทิศใต้มีเทือกเขาหิมาลัย และทางทิศตะวันตกมีเทือกเขาคาราโครัม ที่ราบสูงทิเบตเป็นแหล่งต้นกำเนิดของแม่น้ำที่สำคัญหลายสายได้แก่ แม่น้ำเหลือง แม่น้ำแยงซี แม่น้ำสินธุ แม่น้ำสาละวิน แม่น้ำโขง แม่น้ำพรหมบุตร หมวดหมู่:ที่ราบสูง หมวดหมู่:ภูมิภาคในทวีปเอเชีย.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และที่ราบสูงทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการมุญาฮิดีนกัษมีระ

วนการมุญาฮิดีน (Movement of Holy Warriors; Harakat ul-Mujahidin; حرکت المجاہدین الاسلامی) เป็นขบวนการก่อการร้ายในกัษมีระ มีฐานที่มั่นในประเทศปากีสถาน นิยมความรุนแรง ผู้นำคนปัจจุบันคือ ฟารุก คาชมิรี คาห์ลิล ซึ่งมีความสัมพันธ์กับบิน ลาเดน.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และขบวนการมุญาฮิดีนกัษมีระ · ดูเพิ่มเติม »

ตุลาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และตุลาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

ซาโมวาร์

ซาโมวาร์ (samovar) ประดิษฐ์ขึ้นก่อนศตวรรษที่ 18 เพื่อใช้ต้มน้ำชาโดยเฉพาะ ให้ความร้อนด้วยถ่านหินหรือถ่าน ด้านล่างของกาจะมีก็อก ตรงกลางจะมีช่องว่างสำหรับใส่ถ่านเพื่อต้มน้ำให้เดือด ซึ่งส่วนใหญ่จะทำด้วยโลหะรูปร่างคล้ายแจกัน ประดับด้วยเงิน ทองแดง หรือเพชร ซาโมวาร์ มีใช้กันในหลายประเทศ นอกจากรัสเซียแล้ว ก็ยังนิยมใช้กันในประเทศที่ชนพื้นเมืองเป็นชาวสลาฟ ในอิหร่าน แคชเมียร์ และ ตุรกี หลายคนจึงโต้แย้งว่า ซาโมวาร์ อาจจะมีต้นกำเนิดมาจากประเทศเหล่านี้ก็ได้ แต่จากหลักฐานที่มีอยู่ และเป็นที่ชื่อถือ บอกว่ามันมาจากรัสเซีย แม้กระทั่งชื่อที่ใช้ในอิหร่าน ก็ยังเรียกว่า ซาโมวาร์ โดยคำๆนี้ในภาษารัสเซีย แปลได้ว่า " ต้มเอง " ซาโมวาร์ ในอิหร่าน มีหลักฐานว่าปรากฏขึ้นหลังศตวรรษที่ 18 แต่ในรัสเซีย มีหลักฐานว่าซาโมวาร์ปรากฏขึ้นในศตวรรษที่ 18 ซาโมวาร์ มีหลากหลายรูปทรง และขนาด (ตั้งแต่ 100 แกลลอน จนถึง 1 ลิตร) ตอนแรกทำจากโลหะ แต่ต่อมามีการใช้วัสดุอื่นมาทำด้วยเช่นกัน อย่างเช่นดินเผา แต่ส่วนประกอบที่สำคัญ น่าจะได้แก่ขา ที่ทำหน้าที่ กันไม่ให้ความร้อนจากซาโมวาร์ ไหลลงมาโดนพื้นที่มันตั้งอยู่ และก็อกที่ทำหน้าที่ปล่อยน้ำออกจากซาโมวาร์ ใน สมัยก่อน ระบบการทำให้น้ำในซาโมวาร์ร้อน ใช้เป็นระบบท่อโลหะกลวง ติดตั้งในแนวตั้งอยู่กลางซาโมวาร์ ส่วนเชื้อเพลิงก็อาจจะเป็นฟืนหรือถ่านที่ใส่ลงไปในท่อกลวงนี้ ในสมัยเก่า ระบบการเผาไหม้เชื้อเพลิงที่เชื่องช้ามากของซาโมวาร์ ถือว่าเป็นการประหยัดเชื้อเพลิงอย่างมาก แต่ถ้าจะเร่งไฟให้แรงขึ้นก็สามารถทำได้โดยง่าย ด้วยความช่วยเหลือของที่เป่าลม แต่ปัจจุบัน ซาโมวาร์ พัฒนามาเป็นระบบไฟฟ้ากันหมดแล้ว ระบบท่อกลวงดังกล่าวจึงหายไป บางรุ่นบางแบบ อาจจะมีฝาที่ด้านบนเป็นรูปถ้วย เพื่อใช้สำหรับอุ่นกาน้ำ.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และซาโมวาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ทิเบต

ทิเบต ตั้งอยู่ในใจกลางของทวีปเอเชียระหว่างประเทศจีนกับอินเดีย ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร ในบริเวณที่มีภูเขาและที่ราบสูงที่สุดในโลก มีอากาศแห้งและหนาวเย็น รวมทั้งที่ราบกลางหุบเขาริมแม่น้ำอันกว้างใหญ่หลายสาย อันเป็นที่พำนักพิงของชาวธิเบต ผู้ซึ่งมีวัฒนธรรมประเพณีเป็นของตนเอง มาเป็นเวลาช้านาน และมีชีวิตความเป็นอยู่แตกต่างจากผู้คนในประเทศเพื่อนบ้าน ชาวธิเบตได้มีการพัฒนาทางวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ในตนเอง ทั้งยังมีการพัฒนาด้านสติปัญญาและจิตใจ ได้แก่ การมีภาษาที่โดดเด่น มีวรรณกรรมอันยิ่งใหญ่ และมีผลงานศิลปะที่น่ามหัศจรรย์ นอกจากนี้ อารยธรรมของชาวธิเบต ซึ่งสืบเนื่องมาเป็นเวลาหลายพันปีนั้น ยังเป็นอารยธรรมที่สูงส่ง และมีคุณค่าสืบทอดต่อกันมา เป็นมรดกของมนุษยชาต.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และประวัติศาสตร์ทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาพุทธ

นาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่สำคัญคือเถรวาทและมหายาน นิกายมหายานได้แพร่หลายไปทั่วเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก เมื่อศาสนาพุทธในอินเดียเสื่อมลง พุทธศาสนามหายานในเอเชียกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เสื่อมตามไปด้วย ยังคงเหลือในจีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม ส่วนนิกายเถรวาทได้เฟื่องฟูขึ้นอีกครั้งในศรีลังกา และแพร่หลายไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พุทธศาสนาได้แพร่หลายไปยังโลกตะวันตกตั้งแต่ครั้งโบราณ แต่ชาวตะวันตกหันมาสนใจพุทธศาสนามากขึ้นในยุคจักรวรรดินิยมและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และประวัติศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปากีสถาน

ปากีสถาน (Pakistan; پاکستان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน (Islamic Republic of Pakistan; اسلامی جمہوریہ پاکستان) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเอเชียใต้ มีพรมแดนติดกับประเทศอินเดีย อิหร่าน อัฟกานิสถาน และ จีน และมีชายฝั่งติดกับทะเลอาหรับ มีประชากรกว่า 150 ล้านคน มากเป็นอันดับ 6 ของโลก และเป็นประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม ใหญ่เป็นอันดับ 2 และเป็นสมาชิกที่สำคัญของ โอไอซี และเป็นหนึ่งในไม่กี่ประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียร์ไว้ในครอบครอง คำว่า "ปากีสถาน" ซึ่งมีความหมายว่า "ดินแดนของชนบริสุทธิ์" ในภาษาอูรดูและภาษาเปอร์เซียนั้น มาจากการรวมชื่อดินแดนในประเทศนี้ ประกอบด้วยปัญจาบ (Punjab) อัฟกาเนีย (Afghania) แคชเมียร์หรือกัศมีร์ (Kashmir) สินธ์ (Sindh) และบาลูจิสถาน (BaluchisTAN).

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และประเทศปากีสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเวียนทอง

ปลาเวียนทอง, ปลาเวียนยักษ์, ปลาเวียนหิมาลัย หรือในชื่อพื้นเมืองของลุ่มแม่น้ำสาละวินเรียกว่า ปลาคม (Putitor mahseer, Himalayan mahseer, Golden mahseer.) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างคล้ายปลาที่อยู่ในสกุลปลาพลวง (Neolissochilus spp.) และปลาเวียน (Tor spp.) ชนิดอื่น เพียงแต่ขนาดเมื่อโตเต็มที่สามารถยาวได้ถึง 275 เซนติเมตร น้ำหนักถึง 54 กิโลกรัม ซึ่งนับว่าใหญ่ที่สุดสำหรับปลาในสกุลนี้ และนับว่าเป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งที่ใหญ่ติดอันดับโลก มีลายแถบสีน้ำเงินนอนขวางลำตัวหนึ่งคู่ เกล็ดตลอดทั้งลำตัวมีสีเหลืองหรือสีทอง ครีบและหางมีสีเหลืองเข้ม พบในอินเดียทางตอนเหนือและตอนใต้ ในตอนเหนือพบที่เชิงเทือกเขาหิมาลัยแถบรัฐปัญจาบ และในแม่น้ำพรหมบุตร, แคว้นแคชเมียร์ในปากีสถาน, อัฟกานิสถาน, ภูฏาน และพบในแม่น้ำสาละวินแถบชายแดนพม่าติดกับไทยด้วย แต่พบน้อยมาก มีรายงานการพบเพียงแค่ 3 ครั้งเท่านั้น ในรอบ 28 ปี.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และปลาเวียนทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปัญจตันตระ

หน้าจากหนังสือกาลิกา วา ดิมนา ภาคภาษาอาหรับอายุราว พ.ศ. 1753 แสดงรูปของราชาแห่งกากับที่ปรึกษา หน้าจากหนังสือ''Kelileh o Demneh'' อายุราว พ.ศ. 1972 จากเฮรัต ซึ่งเป็นปัญจตันตระที่แปลเป็นภาษาเปอร์เซีย โดยแปลมาจากฉบับภาษาอาหรับ ''Kalila wa Dimna'' อีกต่อหนึ่ง แสดงเรื่องตอนที่สุนัขจิ้งจอกชักนำสิงโตเข้าสู่สงคราม รูปสลักเกี่ยวกับปัญจตันตระที่วิหารเมนดุต ชวากลาง อินโดนีเซีย ปัญจตันตระ (Pancatantra; ภาษาสันสกฤต: पञ्चतन्त्र) เป็นนิทานโบราณของอินเดีย คาดว่ามีต้นกำเนิดที่แคชเมียร์เมื่อ..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และปัญจตันตระ · ดูเพิ่มเติม »

นกกระเรียนไทย

thumb thumb นกกระเรียนไทย หรือ นกกระเรียน (sarus crane) เป็นนกขนาดใหญ่ที่ไม่ใช่นกอพยพ พบในบางพื้นที่ของอนุทวีปอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศออสเตรเลีย เป็นนกบินได้ที่สูงที่สุดในโลก เมื่อยืนจะสูงถึง 1.8 เมตร สังเกตเห็นได้ง่าย ในพื้นที่ชุ่มน้ำเปิดโล่ง นกกระเรียนไทยแตกต่างจากนกกระเรียนอื่นในพื้นที่เพราะมีสีเทาทั้งตัวและมีสีแดงที่หัวและบริเวณคอด้านบน หากินในที่ลุ่มมีน้ำขังบริเวณน้ำตื้น กินราก หัว แมลง สัตว์น้ำ และสัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กเป็นอาหาร นกกระเรียนไทยเหมือนกับนกกระเรียนอื่นที่มักมีคู่ตัวเดียวตลอดชีวิต นกกระเรียนจะปกป้องอาณาเขตและเกี้ยวพาราสีโดยการกางปีก ส่งเสียงร้อง กระโดดซึ่งดูคล้ายกับการเต้นรำ ในประเทศอินเดียนกกระเรียนเป็นสัญลักษณ์ของความซื่อสัตย์ในชีวิตแต่งงาน เชื่อกันว่าเมื่อคู่ตาย นกอีกตัวจะเศร้าโศกจนตรอมใจตายตาม ฤดูผสมพันธุ์หลักอยู่ในฤดูฝน คู่นกจะสร้างรังเป็น "เกาะ" รูปวงกลมจากกก อ้อ และพงหญ้า มีเส้นผ่าศูนย์กลางเกือบสองเมตรและสูงเพียงพอที่จะอยู่เหนือจากน้ำรอบรัง นกกระเรียนไทยกำลังลดลงอย่างรวดเร็วในคริสต์ศตวรรษที่ผ่านมา คาดกันว่าประชากรมีเพียง 10 หรือน้อยกว่า (ประมาณร้อยละ 2.5) ของจำนวนที่มีอยู่ในคริสต์ทศวรรษ 1850 ประเทศอินเดียคือแหล่งที่มั่นของนกชนิดนี้ ที่ซึ่งนกเป็นที่เคารพและอาศัยอยู่ในพื้นที่การเกษตรใกล้กับมนุษย์ นกกระเรียนนั้นสูญหายไปจากพื้นที่การกระจายพันธุ์ในหลาย ๆ พื้นที่ในอดีต.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และนกกระเรียนไทย · ดูเพิ่มเติม »

นกต้อยตีวิด

นกต้อยตีวิด หรือ นกกระต้อยตีวิด หรือ นกกระแตแต้แว้ด หรือ นกแต้แว้ด (red-wattled lapwing) เป็นนกที่สีสวยน่าดู พบได้ตามพื้นที่โล่งเกือบทุกสภาพทั่วประเทศ อยู่ในวงศ์นกหัวโต (Charadriidae) วงศ์ย่อย Vanellinae หรือ Charadriinae มีเสียงร้องเตือนภัยแหลมดังที่ไม่เหมือนใครว่า "แตแต้แวด" หรือตามคนพูดภาษาอังกฤษว่า did he do it หรือ pity to do it ทำให้มีชื่อเรียกต่าง ๆ กันตามเสียงร้องทั้งภาษาไทยและภาษาอื่น ๆ เป็นนกที่มักจะเห็นเป็นคู่ ๆ หรือเป็นฝูงเล็ก ๆ ไม่ไกลจากแหล่งน้ำ แต่อาจจะอยู่รวมเป็นฝูงใหญ่ในฤดูหนาวที่ไม่ใช่ฤดูผสมพันธุ์ ในประเทศไทย เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 จึงห้ามล่า พยายามล่า ห้ามค้า ห้ามนำเข้าหรือส่งออก ห้ามครอบครอง ห้ามเพาะพันธุ์ ห้ามเก็บหรือทำอันตรายรัง การห้ามการครอบครองและการค้ามีผลไปถึงไข่และซาก.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และนกต้อยตีวิด · ดูเพิ่มเติม »

นาธาน โอร์มาน

นาธาน โอร์มาน หรือในบางครั้งอาจเขียนว่า นาธาน โอมานเป็นชื่อที่ใช้ในหนังสืออัตชีวประวัติเรื่อง ผมมันเด็กหลังเขา (หิมาลัย) (อักษรโรมัน: Nathan Oman) มีชื่อจริงว่า สุธัญ โอมานันท์ เคยใช้ชื่อจริงว่า นธัญ โอมานันท์ (ชื่อเกิด: ธัญญวัฒน์ หยุ่นตระกูล; เกิด: 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2518) เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย มีผลงานอัลบั้มเพลงกับค่ายอาร์เอส 2 ชุดคือ Nathan และ สิ่งที่เรียกว่าหัวใจ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2554 ศาลจังหวัดเลยได้ตัดสินให้นาธาน จำคุกเป็นเวลา 2 ปี แต่เจ้าตัวรับสารภาพ จึงลดโทษให้ครึ่งหนึ่ง เป็นจำคุก 1 ปี พร้อมทั้งให้ชดใช้เงินน้ามดทั้งหมด ต่อมาได้รับพระราชทานอภัยโทษ เนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเจริญพระชนมพรรษา 7 รอบ เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2553.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และนาธาน โอร์มาน · ดูเพิ่มเติม »

แมวดาว

แมวดาว (Leopard cat) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเสือขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเท่า ๆ กับแมวบ้าน แต่มีความคล่องแคล่วว่องไวกว่ามาก ขนตามลำตัวมีสีน้ำตาลอมเทา ลักษณะเด่นคือ ตามลำตัวมีจุดขนาดเล็กสีดำกระจายอยู่ทั่วไป ด้านข้างของหัวมีแถบสีน้ำตาลเข้ม 4—5 แถบ ขนบริเวณท้องมีสีขาวนวล แมวดาวตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย แมวดาวมีความยาวลำตัวและหัว 44.5—55 เซนติเมตร ความยาวหาง 23—29 เซนติเมตร น้ำหนัก 3—5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง พบตั้งแต่ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, รัสเซีย, อินเดีย, ปากีสถาน, เนปาล, ภาคใต้ของจีน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, สิงคโปร์ แมวดาว สามารถปรับตัวให้อยู่ในพื้นที่หลากหลายสภาพได้ บางครั้งอาจพบในป่าที่ใกล้กับพื้นที่ชุมชน ล่าสัตว์ขนาดเล็ก เช่น หนู, สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก เป็นอาหาร ออกหากินในเวลากลางคืน พักผ่อนในเวลากลางวัน สามารถปีนต้นไม้ได้คล่องแคล่ว และยังสามารถว่ายน้ำได้อีกด้วย ปกติอาศัยและหากินตามลำพัง ยกเว้นในช่วงผสมพันธุ์ ที่อาจพบเห็นอยู่ด้วยกัน 2 ตัว ใช้เวลาตั้งท้องประมาณ 65—72 วัน ออกลูกครั้งละ 2—4 ตัว จากการศึกษาในสถานที่เลี้ยงมีอายุยืนประมาณ 13 ปี นอกจากนี้แล้ว แมวดาวที่ผสมข้ามสายพันธุ์กับแมวบ้าน จะได้ลูกเป็นแมวพันทางสายพันธุ์ที่เรียกว่า แมวเบงกอล.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และแมวดาว · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำจนาพ

แผนที่แม่น้ำจนาพ แม่น้ำจนาพ (चंद्रभाग/अक्सिनी; ਚਨਾਬ; चनाब; چناب; Chenab) เป็นแม่น้ำสายหลักในประเทศอินเดียและปากีสถาน เป็นหนึ่งใน ปัญจนทีหรือแม่น้ำ 5 สายของภูมิภาคปัญจาบ มีต้นน้ำอยู่ในเทือกเขาหิมาลัยในรัฐหิมาจัลประเทศของอินเดีย ไหลไปทางตะวันตกเฉียงเหนือแล้วไปทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ ผ่านรัฐชัมมูและกัศมีร์และตอนกลางค่อนไปทางตะวันตกของแคว้นปัญจาบของประเทศปากีสถาน จากนั้นรวมกับแม่น้ำสตลุชเป็นแม่น้ำปัญจนัท.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และแม่น้ำจนาพ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเฌลัม

แผนที่แม่น้ำเฌลัม แม่น้ำเฌลัม (Jhelum River, Jehlam River; ਜੇਹਲਮ) เป็นแม่น้ำสายหลักในประเทศอินเดียและปากีสถาน เป็นหนึ่งในแม่น้ำใหญ่ทั้งห้าสาย (ปัญจนที) ของภูมิภาคปัญจาบและเป็นแม่น้ำสาขาของแม่น้ำสินธุ มีความยาวรวม 725 กิโลเมตร (450 ไมล์) แม่น้ำเฌลัมเป็นแม่น้ำที่อยู่ทางตะวันตกสุดของภูมิภาคปัญจาบ มีต้นน้ำอยู่ที่บ่อน้ำพุเวรีนาค ตีนเขาปีร์ปัญชัล (Pir Panjal) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐชัมมูและกัศมีร์ ไหลผ่านเมืองศรีนครและทะเลสาบวูลาร์ ก่อนจะไหลรวมกับแม่น้ำคุนฮาร์ในหุบเขาคากาน แม่น้ำสายนี้ไหลเข้าแคว้นปัญจาบในปากีสถานที่เขตเฌลัมและไหลผ่านที่ราบปัญจาบไปรวมกับแม่น้ำจนาพที่เขตฌังค์ (Jhang) ชื่อสันสกฤตของแม่น้ำเฌลัมคือ "วิตัสตา" (Vitasta) ซึ่งตามตำนานเป็นพระนามที่พระศิวะประทานให้พระปารวตีหลังลงมาจุติเป็นแม่น้ำเพื่อปัดเป่าสิ่งชั่วร้ายตามคำร้องขอของฤๅษีกัศยป ชื่อนี้ยังปรากฏในคัมภีร์ฤคเวทหลายครั้ง ในภาษากรีกโบราณเรียกแม่น้ำสายนี้ว่า "ฮือดัสเปส" หรือ "ไฮแดสพีส" (Hydaspes) โดยในเทพปกรณัมกรีกกล่าวว่า ไฮแดสพีสเป็นบุตรของธอมัส เทพเจ้าแห่งท้องทะเลกับอิเล็กตรา หนึ่งในกลุ่มไพลยาดีส มีพี่น้องคือไอริสและฮาร์พี แม่น้ำเฌลัมเป็นหนึ่งในจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญในประวัติศาสตร์ ในปีที่ 326 ก่อนคริสต์ศักราช พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชและกองทัพข้ามแม่น้ำแห่งนี้เพื่อทำศึกกับพระเจ้าโปรสในยุทธการที่แม่น้ำไฮแดสพีส (Battle of the Hydaspes) ในปี..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และแม่น้ำเฌลัม · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวในประเทศอัฟกานิสถาน พ.ศ. 2558

แผ่นดินไหวในประเทศอัฟกานิสถาน..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และแผ่นดินไหวในประเทศอัฟกานิสถาน พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวในแคชเมียร์ พ.ศ. 2548

แสดงจุดบรรจบของแผ่นเปลือกโลกยูเรเซียนกับอินเดียน บริเวณประเทศปากีสถาน แผ่นดินไหวที่แคชเมียร..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และแผ่นดินไหวในแคชเมียร์ พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นปัญจาบ

ปัญจาบ (Punjab; อูรดูและปัญจาบ: پنجاب, "แม่น้ำห้าสาย") เป็นแคว้นหนึ่งในสี่แคว้นของประเทศปากีสถาน มีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 รองจากแคว้นบาลูจิสถาน และมีจำนวนประชากรมากที่สุดของประเทศ โดยมีประชากรประมาณ 101,391,000 คน ณ ปี..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และแคว้นปัญจาบ · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมกู้ชาติแห่งชัมมูและกัษมีระ

แนวร่วมปลดปล่อยชัมมูและกัษมีระ (Jammu Kashmir Liberation Front) ก่อตั้งโดย อมานุลลอห์ ข่านและมักบูล ภัท เป็นองค์กรชาตินิยมของกัษมีระ ก่อตั้งที่เบอร์มิงแฮม ประเทศอังกฤษเมื่อ 29 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และแนวร่วมกู้ชาติแห่งชัมมูและกัษมีระ · ดูเพิ่มเติม »

โกฐก้านพร้าว

กฐก้านพร้าว อยู่ในวงศ์ Plantaginaceae เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี เหง้าอวบ เกาะเลื้อย ใบออกเป็นกระจุกใกล้เหง้า ก้านช่อดอกยาว ดอกย่อยสีฟ้าอ่อนจำนวนมาก มีขนหยาบแข็ง ผลแห้งแบบแคบซูล มีเมล็ดจำนวนมาก กระจายพันธุ์ในเขตเทือกเขาหิมาลัย ตั้งแต่ปากีสถาน จนกระทั่งรัฐอุตตรประเทศและแคชเมียร์ของอินเดีย จนถึงสิกขิมและเนปาล เหง้าของพืชชนิดนี้ตากแดดให้แห้ง ใช้ทำยา ลักษณะเป็นเหง้ายาว ทรงกระบอก เปลือกหนา ผิวมีรอยย่น สีน้ำตาลอมเทา ใช้แก้ไข้เรื้อรัง เสมหะเป็นพิษ ในอินเดียและศรีลังกาใช้เป็นยาขมเจริญอาหาร ใช้เป็นส่วนผสมในยาถ่ายหลายขนาน ในอินเดียบางแห่งใช้แก้พิษแมลงป่อง เป็นยาที่ใช้ในตำรับยาอายุรเวทของอินเดีย พืชชนิดนี้มีปลูกอยู่ทั่วไป แต่มีความต้องการให้อนุรักษ์ไว้ในป่าตามธรรมชาติด้ว.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และโกฐก้านพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

โมฮัมหมัด อัยยุบข่าน

มฮัมหมัด อัยยุบข่าน จอมพลโมฮัมหมัด อัยยุบข่าน (Mohammad Ayub Khan; محمد ایوب خان) เป็นผู้นำทางทหารและการเมืองในปากีสถาน เขาทำรัฐประหารยึดอำนาจรัฐในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และโมฮัมหมัด อัยยุบข่าน · ดูเพิ่มเติม »

โสม (ฮินดู)

ม (ออกเสียง โสม หรือ โสมะ) (ภาษาสันสกฤต) หรือ เหาม (ภาษาอเวสตะ) มีรากศัพท์จากภาษาโปรโตอินเดีย-อิหร่าน "*sauma-" หมายถึง เครื่องดื่มที่ใช้ในพิธีกรรมโบราณ นับว่ามีความสำคัญอย่างมากในวัฒนธรรมอินเดีย-อิหร่านยุคต้นๆ และภายหลังยังมีความสำคัญในวัฒนธรรมเปอร์เซียและวัฒนธรรมพระเวท มักจะกล่าวถึงเสมอในฤคเวทซึ่งมีบทสวดหลายบทบรรยายถึงคุณสมบัติของโสมว่า ช่วยชูกำลัง และทำให้มึนเมา ในคัมภีร์อะเวสตะของเปอร์เซียโบราณ มีบทสวดหนึ่งหมวด เรียกว่า ยัษฏ์ (Yasht) มีเนื้อหากล่าวว่าถึง เหามะ ทั้งหมวด (มี 24 บทด้วยกัน) นอกจากนี้ ตามคติของฮินดู "โสม" ยังหมายถึงเทพเจ้าแห่งดวงจันทร์ด้วย ในคัมภีร์พระเวท มีคำบรรยายถึงการเตรียมน้ำโสมเอาไว้ว่า ทำได้โดยการค้นน้ำจากลำต้นของไม้ชนิดหนึ่งที่ขึ้นบนภูเขา ซึ่งนักวิชาการในชั้นหลังสันนิษฐานเอาไว้ต่างๆ นานา บ้างก็ว่าเป็นเห็ดเมา พืชเสพย์ติดจำพวกกัญชา หรือป่านเหลือง (Ephedra) ทั้งในวัฒนธรรมพระเวท และวัฒนธรรมโซโรอัสเตอร์ คำว่าโสมนี้ หมายถึง ทั้งพืช เครื่องดื่ม และยังเป็นบุคลาธิษฐาน หมายถึงเทพเจ้า ซึ่งทั้ง 3 นี้ก่อให้เกิดนัยสำคัญทางศาสนาและปรัมปราคติขึ้น.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และโสม (ฮินดู) · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 35 องศาเหนือ

้นขนานที่ 35 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 35 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ในสหรัฐอเมริกา เส้นขนานนี้กำหนดเป็นเส้นแบ่งเขตทางใต้ของรัฐเทนเนสซี, และเส้นแบ่งเขตระหว่างรัฐนอร์ทแคโรไลนา และรัฐจอร์เจีย ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 14 ชั่วโมง 31 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 9 ชั่วโมง 48 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และเส้นขนานที่ 35 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นควบคุมแท้จริง

วนตะวันตกของเส้นควบคุมแท้จริง ซึ่งลากผ่านดินแดนที่ครอบครองโดยจีนและอินเดียในแถบเทือกเขาหิมาลัย เส้นดังกล่าวเน้นไปยังพรมแดนก่อนหน้าสงครามระหว่างทั้งสองประเทศในปี ค.ศ. 1962 เมื่อกองทัพอินเดียและจีนต่อสู้กันเพื่อยแย่งชิงเหนือดินแดนซึ่ง "ไม่มีแม้กระทั่งยอดหญ้าแทงพ้นดินขึ้นมา" โดยนายกรัฐมนตรีเนห์รูได้กำหนดเส้นดังกล่าว เส้นควบคุมแท้จริง (Line of Actual Control) เป็นพรมแดนที่มีประสิทธิผลระหว่างอินเดียกับจีน เส้นควบคุมแท้จริงมีความยาว 4,057 กิโลเมตรและตัดผ่านแคว้นสามแคว้นในรัฐอินเดียตอนเหนือ: ทางตะวันตก (ลาดัคห์ กัศมีร์) ตอนกลาง (รัฐอุตตราขัณฑ์ รัฐหิมาจัลประเทศ) และทางตะวันออก (รัฐสิกขิม รัฐอรุณาจัลประเทศ) นายกรัฐมนตรีจีน โจว เอินไหล ได้ใช้วลีดังกล่าวเป็นครั้งแรกในจดหมายถึงนายกรัฐมนตรีอินเดีย ชวาหระลาล เนห์รู ลงวันที่ 24 ตุลาคม..

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และเส้นควบคุมแท้จริง · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 75 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 75 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 75 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และเส้นเมริเดียนที่ 75 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียกลาง

แผนที่เอเชียกลางแสดงเขตแดนตามคำนิยามที่ต่างกัน 3 แบบ เอเชียกลาง(อังกฤษ: Central Asia หรือ Middle Asia รัสเซีย: Центральная Азия) เป็นพื้นที่กว้างใหญ่ในทวีปเอเชียที่ไม่มีทางออกทะเล มีคำนิยามที่ต่างกันออกไปสำหรับขอบเขตของดินแดนที่จัดอยู่ในภูมิภาคเป็นเอเชียกลาง และยังไม่มีคำนิยามใดที่เป็นที่ยอมรับโดยส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตามลักษณะโดยทั่วไปของดินแดนในภูมิภาคนี้คือ มีความเกี่ยวข้องทางประวัติศาสตร์กับกลุ่มชนร่อนเร่ (nomad) และ เส้นทางสายไหม ซึ่งทำให้ในอดีตนั้นดินแดนในภูมิภาคนี้เป็นเสมือนเส้นทางของ สินค้า คน รวมถึง แนวความคิด ระหว่างยุโรป ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และเอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองทิเบต

ตปกครองตนเองทิเบต (ทิเบต:བོད་- โบด์; ซีจ้าง) เป็นเขตปกครองตนเองของประเทศจีน มีเชื้อสายมาจากชาวอินเดีย ชาวทิเบต มีพระเป็นผู้นำของเขตปกครองพิเศษนี้ ชนพวกนี้นับถือศาสนาพุทธนิกายวัชรยาน คล้ายกับประเทศภูฏาน ทิเบตตั้งอยู่บนเทือกเขาหิมาลัย เป็นที่ราบสูงที่สูงที่สุดในโลก จนได้รับฉายาว่า หลังคาโลก ทิเบตมีอากาศที่หนาวเย็นมาก และมีความกดอากาศและอ๊อกซิเจนที่ต่ำ ฉะนั้นผู้ที่จะมาในทิเบตจะต้องปรับสภาพร่างกายก่อน และด้วยเหตุนี้ประชากรที่อาศัยอยู่ในทิเบตจึงน้อย พลเมืองชายของทิเบตกว่าครึ่งบวชเป็นพระ ก่อนจีนจะยึดครองทิเบต ทิเบตมีสามเณริกามากที่สุดในโลก ในทิเบตเคยมีคัมภีร์มากมาย พลเมืองนับถือศาสนาอย่างเคร่งครัด จนได้รับฉายาว่า "แดนแห่งพระธรรม" (land of dharma) ทิเบตมีเมืองหลวงชื่อ ลาซา (Lhasa).

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และเขตปกครองตนเองทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์

ตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ (شىنجاڭ ئۇيغۇر ئاپتونوم رايونى-; 新疆维吾尔自治区) เป็นเขตปกครองตนเองของจีนในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ เป็นเขตปกครองใหญ่ที่สุดของจีน เป็นเขตการปกครองชาติที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 8 ของโลก กินพื้นที่กว่า 1.6 ล้านตารางกิโลเมตรและเป็นเขตการปกครองที่มีประชากรมากที่สุดติดอันดับหนึ่งในสิบ มีดินแดนพิพาทอักไสชินที่จีนบริหารอยู่ ซินเจียงมีพรมแดนติดต่อกับประเทศรัสเซีย มองโกเลีย คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิซสถาน อัฟกานิสถาน ปากีสถานและอินเดีย นอกจากนี้ยังมีพรมแดนติดต่อกับทิเบต มีน้ำมันสำรองอุดมสมบูรณ์และเป็นภาคที่ผลิตแก๊สธรรมชาติใหญ่ที่สุดของจีน.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ · ดูเพิ่มเติม »

ISO 3166-2:IN

ISO 3166-2:LA เป็นรหัสมาตรฐาน ISO ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ ISO 3166-2 ใช้อธิบายถึงตำแหน่งส่วนการปกครองต่างๆ หรือเขตการปกครองอิสระในประเทศอินเดีย ซึ่งทั้งหมดจะแทนรายชื่อทั้ง 28 รัฐ และ 7 ดินแดนสหภาพ; หมายเหต.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และISO 3166-2:IN · ดูเพิ่มเติม »

11 กันยายน

วันที่ 11 กันยายน เป็นวันที่ 254 ของปี (วันที่ 255 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 111 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และ11 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

23 มิถุนายน

วันที่ 23 มิถุนายน เป็นวันที่ 174 ของปี (วันที่ 175 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 191 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และ23 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

30 มีนาคม

วันที่ 30 มีนาคม เป็นวันที่ 89 ของปี (วันที่ 90 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 276 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และ30 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 สิงหาคม

วันที่ 6 สิงหาคม เป็นวันที่ 218 ของปี (วันที่ 219 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 147 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รัฐชัมมูและกัศมีร์และ6 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Jammu and Kashmirกัศมีร์กัษมีระกัษมีร์รัฐชัมมูและกัษมีระรัฐชัมมูและกัษมีร์รัฐชัมมูและแคชเมียร์รัฐชัมมูแคชเมียร์รัฐจัมมูและแคชเมียร์รัฐแคชเมียร์ชัมมูและกัศมีร์ชัมมูและกัษมีระจัมมูร์และแคชเมียร์จัมมูและแคชเมียร์แคชเมียร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »