โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ม้วนหนังสือเดดซี

ดัชนี ม้วนหนังสือเดดซี

้นส่วนของม้วนหนังสือในพิพิธภัณฑ์ในเมืองอัมมาน หุบผาที่พบม้วนหนังสือ ม้วนหนังสือเดดซี (Dead Sea Scrolls) เป็นหนังสือม้วนที่พบในถ้ำ 11 แห่ง ระหว่าง..

6 ความสัมพันธ์: ภาษาฮีบรูภาษาฮีบรูมิซนะห์ภาษาแอราเมอิกภาษาแอราเมอิกของชาวยิวสงครามบนสวรรค์อาคารแห่งหนังสือ

ภาษาฮีบรู

ษาฮีบรู (Modern Hebrew, อิฟริท) เป็นภาษาเซมิติก (Semitic) ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afro–Asiatic) เป็นภาษาที่เก่าแก่ โดยมีอายุมาอย่างน้อยตั้งแต่ 3,500 ปีที่แล้ว ในอดีต เคยเป็นภาษาตาย เหมือนดั่งภาษาบาลี สันสกฤต และละติน โดยใช้เป็นภาษาที่ใช้เพียงแต่ในวงจำกัด หนังสือต่างทางศาสนา และสถานที่ทางศาสนาเท่านั้น แต่ปัจจุบัน มีการกลับมาใช้เป็นภาษาพูดใหม่ และเป็นภาษาที่ชาวอิสราเอลใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน โดยภายในในอิสราเอล มีผู้พูดมากกว่า 4,380,000 คน ซึ่งเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอาหรับ นอกอิสราเอล ภาษาฮีบรูยังมีผู้พูดอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งโดยมากเป็นชุมชนชาวยิว ทะนัค (Tanakh) หรือพระคัมภีร์เก่า (The Old Testament) ของศาสนายิว เขียนไว้ด้วยภาษาฮีบรู ซึ่งถือว่าเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ (לשון הקודש Leshon ha-Kodesh: เลโชน ฮา-โกเดช) ของชาวยิวตั้งแต่สมัยโบราณ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ระบุว่าหลัง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นยุคที่จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ทำลายกรุงเยรูซาเลมและอพยพชาวยิวไปยังบาบิโลนและพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นไท ภาษาฮีบรูในแบบที่เขียนในพระคัมภีร์เก่า ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮีบรูใหม่และภาษาแอราเมอิกที่ใช้ในท้องถิ่นนั้น หลังจากพุทธศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันเข้ายึดครองกรุงเยรูซาเล็ม และอพยพชาวยิวออกไป ภาษาฮีบรูเริ่มใช้เป็นภาษาพูดน้อยลงแต่ยังคงเป็นภาษาทางศาสนาและภาษาในการเขียน หลังจากเยรูซาเล็มถูกชาวบาบิโลนทำลายครั้งแรก 586 ปีก่อนคริสตกาล ภาษาอย่างในพระคัมภีร์เก่าเริ่มถูกแทนที่ด้วยคำในลักษณะใหม่ หลังจากจำนวนประชากรของชาวยิวในบางส่วนของจูเดีย (Judea) ลดลง ภาษาฮีบรูเลิกใช้เป็นภาษาพูดราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 แต่ยังคงเป็นภาษาเขียนที่สำคัญต่อเนื่องมาตลอดหลายศตวรรษ นอกจากจะใช้ในศาสนาแล้ว งานเขียนสำหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ เช่น เขียนตำรา จดหมาย ปรัชญา การแพทย์ บทกวี บันทึกศาล ล้วนใช้ภาษาฮีบรู ซึ่งได้เข้ากับวงความรู้และคำเฉพาะใหม่ ๆ โดยคำยืมและคำประดิษฐ์ใหม่ ภาษาฮีบรูยังคงถูกรักษาไว้ในฐานะภาษาเขียนโดยชุมชนชาวยิวทั่วโลก จนกระทั่งมีการตั้งลัทธิไซออนนิสต์เพื่อฟื้นฟูชาติยิว สมาชิกไซออนนิสต์ส่งเสริมให้มีการแทนที่ภาษาพูดของชาวยิวในขณะนั้น เช่นภาษาอาหรับ ภาษาจูเดสโม (Judezmo, ภาษาลาดิโน Ladino ก็เรียก) ภาษายิดดิช ภาษารัสเซีย และภาษาอื่น ๆ ของชาวยิวที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ เป็นภาษาของศาสนายิวส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรู มีการสร้างคำใหม่โดยยืมจากภาษาฮีบรูในไบเบิลหรือจากภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก รวมทั้งภาษาในยุโรป เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาเยอรมัน ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาราชการของปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษตั้งแต..

ใหม่!!: ม้วนหนังสือเดดซีและภาษาฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรูมิซนะห์

ษาฮีบรูมิซนะห์ (Mishnaic Hebrew language) หรือภาษาฮีบรูแรบไบรุ่นแรก (Early Rabbinic Hebrew language) เป็นลูกหลานโดยตรงของภาษาฮีบรูไบเบิลภาษาหนึ่ง ที่รักษาไว้โดยชาวกรุงในบาบิโลน และได้รับการบันทึกโดยชาวยิวที่เขียนมิซนะห์ สำเนียงนี้ไม่ได้ถูกใช้โดยชาวซามาริทันที่รักษาสำเนียงของตนในรูปภาษาฮีบรูซามาริทัน.

ใหม่!!: ม้วนหนังสือเดดซีและภาษาฮีบรูมิซนะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแอราเมอิก

ษาแอราเมอิก (Aramaic language) เป็นภาษาตระกูลเซมิติกที่มีความเป็นมายาวนานกว่า 3,000 ปืเป็นภาษากลางของบริเวณตะวันออกใกล้ในช่วง 157 ปีก่อนพุทธศักราชถึง..

ใหม่!!: ม้วนหนังสือเดดซีและภาษาแอราเมอิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแอราเมอิกของชาวยิว

ษาแอราเมอิกของชาวยิว (Judæo-Aramaic) เป็นคำที่ใช้อธิบายภาษาแอราเมอิกและภาษาอราเมอิกใหม่ที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาฮีบรู.

ใหม่!!: ม้วนหนังสือเดดซีและภาษาแอราเมอิกของชาวยิว · ดูเพิ่มเติม »

สงครามบนสวรรค์

การตกของทูตสวรรค์ฝ่ายกบฎ ภาพเขียนราว ค.ศ. 1500 ในหนังสือวิวรณ์ได้ระบุถึง สงครามบนสวรรค์ ไว้ว่าเป็นสงครามระหว่างฝ่ายทูตสวรรค์ที่มีอัครทูตสวรรค์มีคาเอลเป็นผู้นำ กับฝ่ายกบฎซึ่งนำโดย "มังกร" (สื่อถึงมารหรือซาตาน) มังกรนี้พ่ายแพ้และถูกเขวี้ยงลงมายังโลกพร้อมด้วยสมุนของมัน สงครามบนสวรรค์ถูกนำไปเชื่อมโยงกับเรื่องเทวดาตกสวรรค์ซึ่งปรากฏอยู่ในคัมภีร์ฮีบรูและม้วนหนังสือเดดซี ซึ่งในหนังสือเดดซีได้บันทึกเกี่ยวกับสงครามนี้ในชื่อ สงครามระหว่างบุตรแห่งแสงกับบุตรแห่งความมืด (מגילת מלחמת בני אור בבני חושך) หมวดหมู่:เทพตกสวรรค์.

ใหม่!!: ม้วนหนังสือเดดซีและสงครามบนสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

อาคารแห่งหนังสือ

มุมมองของอาคารจากภายนอก ทางเข้าสู่อาคารแห่งหนังสือ โดมสีขาวกับกำแพงสีดำ อาคารแห่งหนังสือ (היכל הספר‎. Heikhal HaSefer), เป็นปีกหนึ่งของพิพิธภัณฑ์อิสราเอลที่ใกล้กับบริเวณเมืองเยรูซาเลมฝั่งตะวันตก สถานที่แห่งนี้ได้เก็บรักษาม้วนหนังสือแห่งทะเลสาบเดดซี ซึ่งได้ถูกค้นพบระหว่างปี..

ใหม่!!: ม้วนหนังสือเดดซีและอาคารแห่งหนังสือ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ม้วนหนังสือทะเลสาบเดดซีม้วนหนังสือแห่งทะเลสาบเดดซีม้วนคัมภีร์แห่งทะเลสาบเดดซี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »