โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลิน

ดัชนี มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลิน

มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลิน (Humboldt-Universität zu Berlin) เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในกรุงเบอร์ลิน เดิมทีเรียกว่า มหาวิทยาลัยเบอร์ลิน ก่อตั้งในปี..

30 ความสัมพันธ์: ชาริเต้ฟริตซ์ ลอนดอนฟริตซ์ อัลเบิร์ต ลิปมันน์มหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลินมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์มักซ์ พลังค์มักซ์ เวเบอร์มาร์ติน ไฮน์ริช คลาพรอทวิลเฮล์ม ฟริควิลเฮล์ม วีนศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์เบอร์ลินหยุด แสงอุทัยออยเกน เบามันน์ออทโท ฟอน บิสมาร์คอัลเฟรด เวเกเนอร์จอห์น ฟอน นอยมันน์คาร์ล มากซ์คาร์ล เฟอร์ดินานด์ บรอนคูร์ท อัลเดอร์ซากีร์ ฮุสเซน (นักการเมือง)แวร์เนอร์ ไฮเซินแบร์กแอร์วิน ชเรอดิงเงอร์แฮร์มันน์ กึนเทอร์ กรัสส์มันน์ไฮน์ริช เฮิรตซ์เบอร์ลินเฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นเกออร์ก คันทอร์เอดูอาร์ด บุชเนอร์เอ็ดมุนด์ ฮุสเซิร์ลเจเนรัลพลันโอสท์

ชาริเต้

วิทยาเขต Charité Campus Mitte ในเขตเบอร์ลิน-มิทเทอ ชาริเต้ (Charité) เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป ตามที่อ้างในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและชาริเต้ · ดูเพิ่มเติม »

ฟริตซ์ ลอนดอน

ฟริตซ์ โวล์ฟกัง ลอนดอน (Fritz Wolfgang London; 7 มีนาคม ค.ศ. 1900 – 30 มีนาคม ค.ศ. 1954) เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองเบรสเลา (ปัจจุบันคือเมืองวรอตสวัฟ ประเทศโปแลนด์) เป็นบุตรของฟรันซ์ ลอนดอนและลุยส์ แฮมเบอร์เกอร์ มีน้องชายที่เป็นนักฟิสิกส์เช่นกันคือ ไฮนซ์ ลอนดอน เรียนระดับมหาวิทยาลัยที่เมืองบอนน์ แฟรงค์เฟิร์ตและมิวนิก ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและฟริตซ์ ลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

ฟริตซ์ อัลเบิร์ต ลิปมันน์

ฟริตซ์ อัลเบิร์ต ลิปมันน์ (Fritz Albert Lipmann; 12 มิถุนายน ค.ศ. 1899 – 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1986) เป็นนักชีวเคมีชาวเยอรมัน/อเมริกัน เกิดที่เมืองเคอนิกสแบร์ก (ปัจจุบันคือเมืองคาลินินกราด ประเทศรัสเซีย) ในครอบครัวชาวยิว เป็นบุตรของเลโอโปลด์และแกร์ทรูด (นามสกุลเดิม ลัคมันสกี) ลิปมันน์ ลิปมันน์เรียนวิชาแพทย์ที่มหาวิทยาลัยเคอนิกสแบร์ก มหาวิทยาลัยเบอร์ลินและมหาวิทยาลัยมิวนิก แล้วเรียนต่อด้านเคมีกับศาสตราจารย์ฮันส์ เมียร์ไวน์ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและฟริตซ์ อัลเบิร์ต ลิปมันน์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลิน

มหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลิน (FU Berlin; เยอรมัน: Freie Universität Berlin; อังกฤษ: The Free University of Berlin) เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ก่อตั้งใน ค.ศ. 1948 โดยนักศึกษาและอาจารย์ที่ถูกไล่ออก เพราะมุมมองทางการเมืองของพวกเขา จากมหาวิทยาลัยฮุมโบลด์ทแห่งเบอร์ลิน (ก่อนหน้านี้ชื่อ Friedrich-Wilhelms-Universität) ซึ่งในตอนนั้นควบคุมดูแลโดยผู้มีอำนาจในเขตดูแลของโซเวียต (เบอร์ลินตะวันออก) ใน ค.ศ. 1968 มหาวิทยาลัยเป็นศูนย์กลางของขบวนการนักศึกษาฝ่ายซ้าย พร้อม ๆ กับนักศึกษาในปารีส ลอนดอน และเบิร์กลี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและมหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (University of Cambridge)ใช้ชื่อทางการว่า นายกสภา อนุสาสก และคณาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (The Chancellor, Masters, and Scholars of the University of Cambridge) เป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดกลางค่อนข้างใหญ่ในสหราชอาณาจักร มีความเก่าแก่เป็นอันดับที่สองของสหราชอาณาจักร ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 1752 โดยมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งก่อนหน้านั้นคือ มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่เป็นอันดับที่สี่ของโลกและยังเปิดดำเนินการอยู่อีกด้วย มหาวิทยาลัยก่อกำเนิดจากคณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยซึ่งขัดแย้งกับชาวบ้านที่เมืองอ๊อกซฟอร์ด มหาวิทยาลัยเคมบริจด์และมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมักได้รับการจัดอันดับต้น ๆ ของการจัดอันดับโดยสำนักต่าง ๆ จนมีการเรียกรวมกันว่า อ๊อกซบริดจ์ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เป็นมหาวิทยาลัยที่มีผู้ได้รางวัลโนเบลสูงที่สุด ในบรรดามหาวิทยาลัยทั้งหลายในโลก กล่าวคือ 81 รางวัล นิสิตและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัย จะถูกจัดให้สังกัดแต่ละวิทยาลัยแบบคณะอาศัย (College)หมายถึง คณะที่เป็นที่อยู่ของนักศึกษาจากหลายสาขาวิชา นักศึกษาจะพักอาศัยกินอยู่และทบทวนวิชาเรียนในคณะอาศัย แต่การเรียนการทำวิจัยต้องทำในคณะวิชา จำนวนทั้งสิ้น 31 แห่ง โดยคละกันมาจากคณะวิชา (School) 6 คณะ โดยวิทยาลัยแต่ละแห่งอาศัยบริหารงานอย่างเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน ลักษณะการบริหารเช่นนี้มีให้เห็นในมหาวิทยาลัยเคนต์ และมหาวิทยาลัยเดอแรม อาคารต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยเป็นอาคารแทรกตัวตามร้านรวงในเมือง แทนที่จะเป็นกลุ่มอาคารในพื้นที่ของตนเองเช่นมหาวิทยาลัยยุคใหม่ อาคารเหล่านั้นบางหลังมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อย่างมาก มหาวิทยาลัยจัดให้มีสำนักพิมพ์เป็นของตนเอง ซึ่งถือเป็นสำนักพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของโลกที่สังกัดมหาวิทยาลัย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังมีห้องสมุดขนาดใหญ่อีกด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

มักซ์ พลังค์

มักซ์ คาร์ล แอนสท์ ลุดวิจ พลังค์ เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ผู้บุกเบิกการศึกษาทฤษฎีควอนตัม อันเป็นส่วนสำคัญในการศึกษาฟิสิกส์สมัยใหม่ แม้ในชีวิตตอนแรกของเขาจะดูราบรื่น โดยเขามีความสามารถทั้งทางดนตรีและฟิสิกส์ แต่เขากลับเดินไปในเส้นทางแห่งนักฟิสิกส์ทฤษฎี จนเขาได้ตั้งทฤษฎีทางฟิสิกส์ที่สำคัญต่อฟิสิกส์สมัยใหม่ นั่นคือ กฎการแผ่รังสีของวัตถุดำของพลังค์ รวมถึงค่าคงตัวของพลังค์ ซึ่งนับว่าขาดไม่ได้เลยสำหรับการศึกษากลศาสตร์ควอนตัม ทว่าบั้นปลายกลับเต็มไปด้วยความสิ้นหวังจากภัยสงคราม เขาต้องสูญเสียภรรยาคนแรก และบุตรที่เกิดกับภรรยาคนแรกไปทั้งหมด จนเหลือเพียงตัวเขา ภรรยาคนที่สอง และบุตรชายที่เกิดกับภรรยาคนที่สองเพียงคนเดียว ถึงกระนั้น พลังค์ก็ยังไม่ออกจากประเทศเยอรมนีอันเป็นบ้านเกิดของเขาไปยังดินแดนอื่น พลังค์ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ประจำปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและมักซ์ พลังค์ · ดูเพิ่มเติม »

มักซ์ เวเบอร์

ร์ล เอมิล มักซิมิเลียน "มักซ์" เวเบอร์ (Karl Emil Maximilian "Max" Weber) (21 เมษายน ค.ศ. 1864 – 14 มิถุนายน ค.ศ. 1920) เป็นนักเศรษฐศาสตร์การเมืองและนักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน ถือกันว่าเวเบอร์เป็นผู้ก่อตั้งวิชาสังคมวิทยาสมัยใหม่และรัฐประศาสนศาสตร์ งานชิ้นหลัก ๆ ของเขาเกี่ยวข้องกับสังคมวิทยาศาสนาและสังคมวิทยาการปกครอง นอกจากนี้เขายังมีงานเขียนอีกหลายชิ้นในสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ งานที่ผู้คนจดจำได้มากที่สุดของเวเบอร์คือ ความเรียงเรื่อง จริยธรรมโปรเตสแตนต์และจิตวิญญาณแห่งทุนนิยม ซึ่งเป็นงานชิ้นแรกของเขาในสาขาสังคมวิทยาศาสนา ในงานชิ้นดังกล่าว เวเบอร์เสนอว่าศาสนาเป็นหนึ่งในสาเหตุหลัก ๆ ที่นำไปสู่เส้นทางการพัฒนาทางวัฒนธรรมที่ต่างกันระหว่างโลกประจิม (the Occident) กับโลกบูรพา (the Orient) ในงานที่มีชื่อเสียงอีกชิ้นหนึ่งของเขาที่ชื่อการเมืองในฐานะวิชาชีพ (Politik als Beruf) เวเบอร์นิยามรัฐว่ารัฐคือหน่วยองค์ (entity) ซึ่งผูกขาดการใช้กำลังทางกายภาพที่ถูกกฎหมาย ซึ่งนิยามนี้ได้กลายเป็นจุดศูนย์กลางในการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ในเวลาต่อม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและมักซ์ เวเบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ติน ไฮน์ริช คลาพรอท

มาร์ติน ไฮน์ริช คลาพรอท (Martin Heinrich Klaproth; 1 ธันวาคม ค.ศ. 1743 – 1 มกราคม ค.ศ. 1817) เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองแวร์นิแกโรเดอร์ ชีวิตส่วนใหญ่ของเขาทำงานในร้านขายยาที่เมืองเควดลินแบร์ก ฮันโนเวอร์และดันซิก ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและมาร์ติน ไฮน์ริช คลาพรอท · ดูเพิ่มเติม »

วิลเฮล์ม ฟริค

วิลเฮล์ม ฟริค (12 มีนาคม 1877 - 16 ตุลาคม 1946) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมันที่โดดเด่นที่สุดของพรรคนาซีซึ่งทำหน้าที่เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแห่งไรซ์ในคณะรัฐมนตรีฮิตเลอร์ (1933-1943) และเป็นผู้สำเร็จราชการคนสุดท้ายของรัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและโมราเวี.หลังสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สอง,เขาได้ถูกตั้งข้อกล่าวหาว่ามีส่วนร่วมในการวางแผนและดำเนินการรุกราน,อาชญากรรมสงครามและอาชญากรรมต่อมนุษยชาติในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์กและถูกพบว่ามีความผิดจริงจึงถูกพิพากษาโทษประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ ด้วยอายุวัย 69 ปี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและวิลเฮล์ม ฟริค · ดูเพิ่มเติม »

วิลเฮล์ม วีน

วิลเฮล์ม คาร์ล แวร์เนอร์ ออทโท ฟริทซ์ ฟรานซ์ วีน (Wilhelm Carl Werner Otto Fritz Franz Wien (13 มกราคม พ.ศ. 2407 -- 30 สิงหาคม พ.ศ. 2471)เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ประจำปี พ.ศ. 2454 เขาเป็นผู้รวมทฤษฎีความร้อนและการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าเข้าด้วยกัน ได้เป็นกฎการกระจัดของวีน ซึ่งว่า ความยาวคลื่นของการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าแปรผกผันกับอุณหภูมิ วิลเฮล์มเป็นญาติกับมักซ์ วีน นักอิเล็กทรอนิกส์ผู้ประดิษฐ์วงจรบริดจ์ของวีน (Wien Bridge).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและวิลเฮล์ม วีน · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์เบอร์ลิน

ตราสัญลักษณ์ของศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์เบอร์ลิน อาคารศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์เบอร์ลิน ศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์เบอร์ลิน (Wissenschaftszentrum Berlin für Sozialforschung หรือย่อว่า WZB) เป็นสถาบันวิจัยที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติ ในด้านสังคมศาสตร์ เป็นสถาบันประเภทนี้ที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป ศูนย์วิจัยก่อตั้งใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์เบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

หยุด แสงอุทัย

ตราจารย์พิเศษ หยุด แสงอุทัย (8 เมษายน พ.ศ. 2451 — 30 ธันวาคม พ.ศ. 2522) อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาและอาจารย์คณะนิติศาสตร์ ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็นปรมาจารย์ทางสาขาวิชานิติศาสตร์ท่านหนึ่งของประเทศไทย ศาสตราจารย์พิเศษ หยุด แสงอุทัย (นามเดิม สายหยุด แสงอุทัย) หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและหยุด แสงอุทัย · ดูเพิ่มเติม »

ออยเกน เบามันน์

ตัวอย่างของปฏิกิริยาชอทเทน-เบามันน์ เบนซีลามีนทำปฏิกิริยากับแอซีทิลคลอไรด์ภายใต้สภาวะชอทเทน-เบามันน์ เพื่อสร้างเอ็น-เบนซิลแอซีทาไมด์ ออยเกน เบามันน์ (Eugen Baumann; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1846 – 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1896) เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน เป็นผู้สังเคราะห์พอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC) เป็นคนแรกในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและออยเกน เบามันน์ · ดูเพิ่มเติม »

ออทโท ฟอน บิสมาร์ค

ออทโท อีดวร์ท เลโอโพลด์ ฟอน บิสมาร์ค-เชินเฮาเซิน (Otto Eduard Leopold von Bismarck-Schönhausen) หรือที่นิยมเรียกว่า ออทโท ฟอน บิสมาร์ค เป็นรัฐบุรุษและนักการทูตแห่งราชอาณาจักรปรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน เขาเป็นผู้นำทางการเมืองที่ทรงอิทธิพลที่สุดในยุโรประหว่างทศวรรษ 1860 ถึง 1890 และดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกแห่งจักรวรรดิเยอรมันระหว่าง 1871 ถึง 1890 ในปี 1862 พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ทรงแต่งตั้งบิสมาร์คเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งปรัสเซีย ซึ่งเขาดำรงตำแหน่งนี้จนถึงปี 1890 เขานำพาปรัสเซียเข้าสู่สงครามสามครั้งอันได้แก่ สงครามชเลสวิจครั้งที่สอง, สงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย และสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย และได้รับชัยชนะในสงครามทั้งสาม หลังชนะในสงครามกับออสเตรีย บิสมาร์คได้ยุบสมาพันธรัฐเยอรมันทิ้ง และจัดตั้งสมาพันธรัฐเยอรมันเหนืออันมีปรัสเซียเป็นแกนนำขึ้นมาแทน ศูนย์อำนาจทางการเมืองของยุโรปภาคพื้นทวีปได้ย้ายจากกรุงเวียนนาของออสเตรียไปยังกรุงเบอร์ลินของปรัสเซีย และเมื่อปรัสเซียมีชัยชนะเหนือฝรั่งเศสแล้ว บิสมาร์คก็ได้สถาปนาสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือขึ้นเป็นจักรวรรดิเยอรมัน โดยทูลเชิญพระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 ขึ้นดำรงตำแหน่งจักรพรรดิเยอรมันพระองค์แรกในปี 1871 บิสมาร์คจึงกลายเป็นทั้งนายกรัฐมนตรีแห่งปรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ความสำเร็จในการรวมชาติเยอรมันในปี 1871 บิสมาร์คได้ใช้ทักษะทางการทูตของเขารักษาดุลอำนาจของเยอรมันในยุโรปไว้ บิสมาร์คได้อุทิศตนเองในการพยายามรักษาสันติภาพในบรรดามหาอำนาจเป็นเวลากว่าสองทศวรรษ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากที่เยอรมันผนวกแคว้นอัลซัค-ลอแรน (Alsace-Lorraine) มาจากฝรั่งเศส ได้จุดชนวนขบวนการชาตินิยมขึ้นในฝรั่งเศส การเรืองอำนาจของเยอรมันทำให้เกิดภาวะ "กลัวเยอรมัน" (Germanophobia) ขึ้นในฝรั่งเศส เป็นความครุกครุ่นก่อนปะทุเป็นสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นโยบาย realpolitik ของบิสมาร์คประกอบกับบารมีที่มากล้นของเขาทำให้บิสมาร์คได้รับสมญาว่า นายกฯเหล็ก ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ก้าวกระโดดของเยอรมันถือเป็นรากฐานของนโยบายเหล่านี้ บิสมาร์คเป็นคนไม่ชอบการล่าอาณานิคมแต่เขาก็จำยอมฝืนใจต้องสร้างจักรวรรดิอาณานิคมเยอรมันขึ้นจากเสียงเรียกร้องของบรรดาชนชั้นนำและมวลชนในจักรวรรดิ บิสมาร์คมีชั้นเชิงทางการทูตชนิดหาตัวจับได้ยาก เขาเล่นกลการเมืองด้วยการจัดการประชุม การเจรจา และการร่วมเป็นพันธมิตรที่สอดประสานกันอย่างซับซ้อนหลายครั้งเพื่อถ่วงดุลอำนาจในทวีปยุโรปให้เกิดสันติสุขตลอดช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 และ 1880 ได้สำเร็จ ไม่เพียงด้านการทูตและการต่างประเทศเท่านั้น บิสมาร์คยังเป็นปรมาจารย์ด้านการเมืองในประเทศ เขาริเริ่มรัฐสวัสดิการเป็นครั้งแรกในโลกสมัยใหม่ มีเป้าหมายเพื่อดึงการสนับสนุนของมวลชนจากชนชั้นแรงงาน ซึ่งมิเช่นนั้นแล้วมวลชนเหล่านี้อาจไปเข้าร่วมกับสังคมนิยมซึ่งเป็นศัตรูของเขาได้ ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 เขาเข้าเป็นพันธมิตรกับเสรีนิยม (ผู้นิยมอัตราภาษีศุลกากรระดับต่ำและต่อต้านคาทอลิก) และต่อสู้กับศาสนจักรคาทอลิกที่ซึ่งถูกขนานนามว่า คุลทูร์คัมพฟ์ (Kulturkampf; การต่อสู้ทางวัฒนธรรม) แต่พ่ายแพ้ โดยฝ่ายศาสนจักรตอบโต้ด้วยการจัดตั้งพรรคกลาง (Centre Party) อันทรงพลังและใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปของชายเพื่อให้ได้ที่นั่งในสภา ด้วยเหตุนี้บิสมาร์คจึงกลับลำ ล้มเลิกปฏิบัติการคุลทูร์คัมพฟ์ ตัดขาดกับฝ่ายเสรีนิยม กำหนดภาษีศุลกากรแบบคุ้มกัน และร่วมเป็นพันธมิตรทางการเมืองกับพรรคกลางเพื่อต่อกรกับฝ่ายสังคมนิยม บิสมาร์คเป็นผู้เลื่อมใสศรัทธาในนิกายลูเทอแรนอย่างมาก จึงจงรักภักดีต่อกษัตริย์ของตนผู้ซึ่งมีทัศนะขัดแย้งกับเขา แต่ท้ายที่สุดก็ทรงโอนอ่อนและสนับสนุนเขาจากคำแนะนำของพระมเหสีและพระรัชทายาท ในขณะนั้นสภาไรชส์ทาคมาจากเลือกตั้งแบบสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปของชายชาวเยอรมัน แต่ไรชส์ทาคไม่มีอำนาจควบคุมนโยบายของรัฐบาลมากนัก บิสมาร์คไม่เชื่อในระบอบประชาธิปไตยจึงปกครองผ่านระบบข้าราชการประจำที่แข็งแกร่งและได้รับการฝึกฝนมาดีในอุ้งมือของอภิชนยุงเคอร์เดิมซึ่งประกอบด้วยขุนนางเจ้าที่ดินในปรัสเซียตะวันออก ในรัชกาลพระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 เขาเป็นผู้ควบคุมกิจการในประเทศและต่างประเทศเสียเป็นส่วนใหญ่ จนเมื่อจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ถอดเขาจากตำแหน่งในปี 1890 เมื่อเขาอายุได้ 75 ปี บิสมาร์คผู้เป็นขุนนางศักดินา ยุงเคอร์ มีบุคคลิกเด่น ๆ คือหัวรั้น ปากกล้า และบางครั้งเอาแต่ใจ แต่ในขณะเดียวกันก็สุภาพ มีเสน่ห์ และมีไหวพริบด้วยเช่นกัน ในบางโอกาสเขาก็เป็นคนที่มีอารมณ์รุนแรง บิสมาร์ครักษาอำนาจของเขาด้วยการเล่นละครแสดงบทบาทอ่อนไหวพร้อมขู่ว่าจะลาออกจากตำแหน่งอยู่ซ้ำ ๆ ซึ่งมักจะทำให้พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 ทรงเกรงกลัว นอกจากนี้บิสมาร์คไม่เพียงแต่มีวิสัยทัศน์เกี่ยวกับกิจการภายในและต่างประเทศอันยาวไกลเท่านั้น แต่ยังมีทักษะที่สามารถเล่นกลทางการเมืองเพื่อแทรกแซงสถานการณ์อันซับซ้อนที่กำลังดำเนินไปในระยะสั้นได้ด้วย จนกลายเป็นผู้นำที่ถูกนักประวัติศาสตร์ขนานนามว่าเป็น "ฝ่ายอนุรักษนิยมสายปฏิวัติ" (revolutionary conservatism) สำหรับนักชาตินิยมเยอรมัน บิสมาร์คคือวีรบุรุษของพวกเขา มีการจัดสร้างอนุสาวรีย์ของบิสมาร์คหลายแห่งเพื่อเชิดชูเกียรติผู้ก่อตั้ง จักรวรรดิไรซ์ ยุคใหม่ นักประวัติศาสตร์หลายคนเองก็ชื่นชมเขาในฐานะผู้มีวิสัยทัศน์ไกล ผู้ซึ่งมีส่วนสำคัญในการรวมเยอรมนีให้เป็นหนึ่งเดียวและช่วยให้ยุโรปดำรงสันติภาพเอาไว้ได้ผ่านการทูตอันชาญฉลาดของ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและออทโท ฟอน บิสมาร์ค · ดูเพิ่มเติม »

อัลเฟรด เวเกเนอร์

อัลเฟรด โลธาร์ เวเกเนอร์หรืออัลเฟรด โลธาร์ เวเกแนร์ (Alfred Lothar Wegener, 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1880 - พฤศจิกายน ค.ศ. 1930) เป็นนักวิทยาศาสตร์ นักธรณีฟิสิกส์และนักอุตุนิยมวิทยาชาวเยอรมัน เขามีชื่อเสียงมากที่สุดจากทฤษฎีทวีปเลื่อนของเขา ซึ่งเสนอใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและอัลเฟรด เวเกเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ฟอน นอยมันน์

อห์น ฟอน นอยมันน์ ในช่วงปี ค.ศ. 1940 จอห์น ฟอน นอยมันน์ (John von Neumann, Neumann János, 28 ธ.ค. ค.ศ. 1903 - 8 ก.พ. ค.ศ. 1957) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี มีผลงานสำคัญในหลายสาขา ทั้ง ควอนตัมฟิสิกส์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ และ จะว่าไปแล้วก็ทุกๆ สาขาในวิชาคณิตศาสตร์ เลยก็ว่าได้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและจอห์น ฟอน นอยมันน์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล มากซ์

ร์ล ไฮน์ริช มากซ์ (Karl Heinrich Marx, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2361 — 14 มีนาคม พ.ศ. 2426) เป็นนักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักทฤษฎีการเมือง นักสังคมวิทยา นักหนังสือพิมพ์และนักสังคมนิยมปฏิวัติชาวเยอรมัน มากซ์เกิดในครอบครัวชนชั้นกลางในเทรียร์ เขาศึกษากฎหมายและปรัชญาแบบเฮเกิล เนื่องจากงานพิมพ์การเมืองของเขาทำให้เขาไร้สัญชาติและอาศัยลี้ภัยในกรุงลอนดอน ซึ่งเขายังพัฒนาความคิดของเขาต่อโดยร่วมมือกับนักคิดชาวเยอรมัน ฟรีดริช เองเงิลส์ และจัดพิมพ์งานเขียนของเขา เรื่องที่ขึ้นชื่อของเขา ได้แก่ จุลสารปี 2391, แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ และทุน จำนวนสามเล่ม ความคิดทางการเมืองและปรัชญาของเขามีอิทธิพลใหญ่หลวงต่อปัญญาชนรุ่นหลัง วิชาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและประวัติศาสตร์การเมือง ชื่อของเขาเป็นคำคุณศัพท์ นามและสำนักทฤษฎีสังคม ทฤษฎีของมากซ์เกี่ยวกับสังคม เศรษฐศาสตร์และการเมือง ที่เรียกรวมว่า ลัทธิมากซ์ ถือว่าสังคมมนุษย์พัฒนาผ่านการต่อสู้ระหว่างชนชั้น ในทุนนิยม การต่อสู้ระหว่างชนชั้นแสดงออกมาในรูปการต่อสู้ระหว่างชนชั้นปกครอง (เรียก ชนชั้นกระฎุมพี) ซึ่งควบคุมปัจจัยการผลิตและชนชั้นแรงงาน (เรียก ชนกรรมาชีพ) นำปัจจัยการผลิตดังกล่าวไปใช้โดยขายากำลังแรงงานของพวกตนเพื่อแลกกับค่าจ้าง มากซ์ใช้แนวเข้าสู่การศึกษาวิพากษ์ที่เรียก วัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์ ทำนายว่าทุนนิยมจะก่อเกิดความตึงเครียดภายในซึงจะนำไปสู่การทำลายตนเองเช่นเดียวกับระบบสังคมและเศรษฐกิจก่อนหน้านี้ และแทนท่ด้วยระบบใหม่ คือ สังคมนิยม; สำหรับมากซ์ การต่อต้านชนชั้นภายใต้ทุนนิยมซึ่งบางส่วนมีสาเหตุจากความไม่มั่นคงและสภาพที่มีแนวโน้มเกิดวิกฤติ จะลงเอยด้วยการพัฒนาความสำนึกเรื่องชั้นชนของชนชั้นแรงงาน และนำไปสู่การพิชิตอำนาจทางการเมืองและสุดท้ายการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ปราศจากชนชั้นอันประกอบด้วยการรวมกันเป็นสมาคมอิสระของผู้ผลิต มากซ์เรียกร้องให้นำความคิดดังกล่าวไปปฏิบัติอย่างแข็งขัน โดยแย้งว่าชนชั้นแรงงานควรเป็นผู้ลงมือปฏิวัติแบบจัดระเบียบเพื่อโค่นทุนนิยมและนำมาซึ่งการปลดปล่อยให้เป็นอิสระทางสังคมและเศรษฐกิจ มีผู้อธิบายว่ามากซ์เป็นบุคคลทรงอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์มนุษย์ และงานของเขาได้รับการสรรเสริญและวิพากษ์ งานของเขาในวิชาเศรษฐศาสตร์วางรากฐานสำหรับความเข้าใจในปัจจุบันของแรงงานและความสัมพันธ์กับทุน และความคิดทางเศษฐศาสตร์สมัยหลัง ปัญญาชน สหภาพแรงงาน ศิลปินและพรรคการเมืองจำนวนมากทั่วโลกได้รับอิทธิพลจากงานของมากซ์ มีหลายคนดัดแปลงหรือรับความคิดของเขามาใช้ มักออกชื่อมากซ์ว่าเป็นผู้สร้างสังคมศาสตร์สมัยใหม่คนสำคัญคนหนึ่ง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและคาร์ล มากซ์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล เฟอร์ดินานด์ บรอน

ร์ล เฟอร์ดินานด์ บรอน (Karl Ferdinand Braun) (6 มิถุนายน ค.ศ. 1850 - 20 เมษายน ค.ศ. 1918) เป็นนักประดิษฐ์และนักฟิสิกส์ชาวเยอรมันและได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและคาร์ล เฟอร์ดินานด์ บรอน · ดูเพิ่มเติม »

คูร์ท อัลเดอร์

ูร์ท อัลเดอร์ (Kurt Alder; 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1902 – 20 มิถุนายน ค.ศ. 1958) เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองเคอนิชส์ฮึทเทอ (ปัจจุบันคือเมืองคอชุฟในประเทศโปแลนด์) เรียนจบด้านเคมีจากมหาวิทยาลัยเบอร์ลินและเรียนต่อที่มหาวิทยาลัยคีล หลังเรียนจบ อัลเดอร์ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์และอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยคีล ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและคูร์ท อัลเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซากีร์ ฮุสเซน (นักการเมือง)

ร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและซากีร์ ฮุสเซน (นักการเมือง) · ดูเพิ่มเติม »

แวร์เนอร์ ไฮเซินแบร์ก

แวร์เนอร์ ไฮเซินแบร์ก (Werner Heisenberg; 5 ธันวาคม พ.ศ. 2444-1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวเยอรมันซึ่งเป็นหนึ่งในผู้วางหลักการพื้นฐานของกลศาสตร์ควอนตัม มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในฐานะผู้คิดค้นหลักความไม่แน่นอนของทฤษฎีควอนตัม นอกจากนี้ยังเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในสาขาวิชาฟิสิกส์นิวเคลียร์ ทฤษฎีสนามควอนตัม และฟิสิกส์อนุภาค ไฮเซินแบร์ก ร่วมกับมักซ์ บอร์น และ พาสควอล จอร์แดน ได้ร่วมกันวางหลักการของเมทริกซ์เพื่อใช้ในกลศาสตร์ควอนตัมในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและแวร์เนอร์ ไฮเซินแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์

แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ (Erwin Rudolf Josef Alexander Schrödinger; 12 สิงหาคม ค.ศ. 1887 - 4 มกราคม ค.ศ. 1961) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวออสเตรีย มีชื่อเสียงในฐานะผู้วางรากฐานกลศาสตร์ควอนตัม โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมการชเรอดิงเงอร์ ซึ่งทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและแอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มันน์ กึนเทอร์ กรัสส์มันน์

แฮร์มันน์ กึนเทอร์ กรัสส์มันน์ (Hermann Günther Graßmann) เป็นผู้รอบรู้ชาวเยอรมัน มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในฐานะนักภาษาศาสตร์ในยุคของเขา ปัจจุบันได้รับการยกย่องว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ เขายังเป็นนักฟิสิกส์ นักมนุษยวิทยาสมัยใหม่ นักวิชาการทั่วไป และนักหนังสือพิมพ์ แต่งานทางคณิตศาสตร์ของเขาไม่เป็นที่น่าสังเกตหรือน่าจดจำจนกระทั่งเขาอายุหก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและแฮร์มันน์ กึนเทอร์ กรัสส์มันน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮน์ริช เฮิรตซ์

น์ริช เฮิรตซ์ (Heinrich Hertz; 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2400 — 1 มกราคม พ.ศ. 2437) เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน และเป็นคนแรกที่พิสูจน์ถึงการมีอยู่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากทฤษฎีของแมกซ์เวลล์ ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าของแสง เฮิรตซ์พิสูจน์ทฤษฎีโดยการพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ส่งและรับคลื่นวิทยุโดยใช้การทดลอง นั่นให้เหตุผลถึงปรากฏการณ์แบบไร้สายอื่น ๆ ที่รู้จัก หน่วยวิทยาศาสตร์ของความถี่ รอบต่อวินาที ถูกตั้งชื่อเป็น เฮิรตซ์ เพื่อเป็นเกียรติแก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและไฮน์ริช เฮิรตซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์น

ยาค็อบ ลุดวิก เฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น-บาร์โธลดี (Jakob Ludwig Felix Mendelssohn-Bartholdy) เป็นที่รู้จักกันในชื่อ เฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น (3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1809 - 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1847) เป็นนักเปียโน คีตกวี และผู้อำนวยเพลงชาวเยอรมัน อยู่ในยุคโรแมนติกตอนต้น มีผลงานประพันธ์ทั้งซิมโฟนี คอนแชร์โต ออราทอริโอ และ1847 หมวดหมู่:คีตกวีชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นักดนตรีคลาสสิก หมวดหมู่:วาทยกร หมวดหมู่:นักเปียโน หมวดหมู่:คีตกวีและนักแต่งเพลงชาวยิว หมวดหมู่:คีตกวีอุปรากร หมวดหมู่:บุคคลจากฮัมบูร์ก หมวดหมู่:ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว โครงดนตรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและเฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์น · ดูเพิ่มเติม »

เกออร์ก คันทอร์

กออร์ก แฟร์ดินันด์ ลุดวิก ฟิลิพพ์ คันทอร์ (Georg Ferdinand Ludwig Philipp Cantor, 3 มีนาคม ค.ศ. 1845 เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก จักรวรรดิรัสเซีย – 6 มกราคม ค.ศ. 1918) เป็นนักคณิตศาสตร์ เกิดในประเทศรัสเซีย แต่ใช้ชีวิตอยู่ในเยอรมนี มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในนามของผู้บัญญัติทฤษฎีเซตยุคใหม่ โดยได้ขยายขอบเขตของทฤษฎีเซตให้ครอบคลุมแนวคิดของจำนวนเชิงอนันต์ (transfinite or infinite numbers) ทั้งจำนวนเชิงการนับและจำนวนเชิงอันดับที่ นอกจากนี้ คันทอร์ยังเป็นที่รู้จักจากผลงานในเรื่อง การแทนฟังก์ชันด้วยอนุกรมตรีโกณมิติ ที่เป็นเอกลักษณ์ (unique representation of functions by means of trigonometric series) ซึ่งเป็นภาคขยายของอนุกรมฟูรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและเกออร์ก คันทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอดูอาร์ด บุชเนอร์

อดูอาร์ด บุชเนอร์ (Eduard Buchner; 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1860 – 13 สิงหาคม ค.ศ. 1917) เป็นนักชีวเคมีชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองมิวนิก เป็นบุตรของแอนสท์และฟรีเดริเก (นามสกุลเดิม มาร์ติน) บุชเนอร์ มีพี่ชายที่ต่อมาเป็นนักวิทยาแบคทีเรียชื่อ ฮันส์ แอนสท์ เอากุสต์ บุชเนอร์ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและเอดูอาร์ด บุชเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดมุนด์ ฮุสเซิร์ล

อ็ดมุนด์ กุสทัฟ อัลเบร็คท์ ฮุสเซิร์ล (Edmund Gustav Albrecht Husserl) เป็นนักปรัชญาชาวเยอรมันเชื้อสายออสเตรีย เขาเป็นผู้ก่อตั้งสำนักปรากฏการณ์วิทยา ทฤษฎีปรากฏการณ์วิทยาที่ฮุสเซิร์ลคิดขึ้นมาถือว่าเป็นจุดเปลี่ยนอย่างยิ่งใหญ่ที่แยกออกจากปฏิฐานนิยม (positivism), ธรรมชาตินิยม (naturalism) และวัตถุนิยม (materialism) อย่างสิ้นเชิง ฮุสเซิร์ลเห็นว่าแทนที่มนุษย์จะอธิบายบรรดาเหตุการณ์ต่างๆที่อุบัติขึ้นในโลกแห่งชีวิตของเราโดยอาศัยกฎเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ทั่วไป มนุษย์ควรจะพยายามทำความเข้าใจโครงสร้างความหมายของโลกแห่งชีวิตว่ามันประกอบขึ้นได้อย่างไร โดยทฤษฎีปรากฎการวิทยาของฮุสเซิร์ลนี้ การค้นหาความจริงที่ปรากฏอยู่โดยไม่มีการคาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ผู้ศึกษาเป็นอิสระจากกรอบแนวคิดหรือทฤษฎี โดยให้บุคคลอธิบายเรื่องราวและประสบการณ์ต่างๆที่ตนเองประสบพบเจอโดยตัดอคติและตัดความเอนเอียงในเรื่องที่ศึกษา รวมทั้งขจัดความคิดเห็นของตนออกจากสิ่งที่ตนเองกําลังศึกษา (bracketing) เน้นที่จุดมุ่งหมาย (intentionality) และสาระสําคัญ (essences) ที่บุคคลนั้นรับรู้ม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและเอ็ดมุนด์ ฮุสเซิร์ล · ดูเพิ่มเติม »

เจเนรัลพลันโอสท์

นรัลพลันโอสท์ (Master Plan for the East), ย่อคำว่า GPO, เป็นแผนการของรัฐบาลนาซีเยอรมนีในการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์และขจัดชาติพันธุ์ในพื้นที่กว้างใหญ่,และเขตอาณานิคมของทวีปยุโรปกลางและตะวันออกโดยเยอรมัน มันได้ถูกรับรองในดินแดนที่ถูกยึดครองโดยเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง แผนการนี้ได้เป็นที่รับรู้เพียงบางส่วนในช่วงสงคราม,ได้ส่งผลทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมากมายมหาศาลทั้งทางตรงและทางอ้อม,แต่การลงมือแผนการทั้งหมดกลับไม่ได้ปฏิบัติตามในช่วงปฏิบัติการทางทหารที่สำคัญ, และถูกขัดขวางจากความพ่ายแพ้ของเยอรมนี แผนการนี้ได้ก่อให้เกิดการกดขี่ข่มเหง, ขับไล่เนรเทศ,และสังหารหมู่ต่อชนชาวสลาฟจำนวนมากในทวีปยุโรปรวมถึงการวางแผนการทำลายประเทศชาติของพวกเขา,แบบที่"เผ่าอารยัน"ของนาซีนั้นได้ดูราวกับเชื้อชาติด้อยกว่าตน โครงการแนวทางการปฏิบัตินี้ได้ขึ้นอยู่กับนโยบายเลเบนสเราม์ ซึ่งได้ออกแบบโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซีในการปฏิบัติตามอุดมการณ์ของลัทธิ Drang nach Osten (การขับไล่ไปทางตะวันออก) จากการขยายตัวของเยอรมัน ซึ่งเช่นนี้แล้ว,ได้มุ่งมั่นหมายที่จะเป็นส่วนหนึ่งของระเบียบใหม่ในทวีปยุโรป แผนการนำได้ดำเนินไป,มีเพียงสี่รุ่นที่เป็นที่รู้จักกัน,มันได้ถูกพัฒนาขึ้นเมื่อเวลาได้ผ่านพ้นไป,ภายหลังจากการบุกยึดครองโปแลนด์,ภาพออกแบบพิมพ์เขียวสำหรับแผนการเจเนรัลพลันโอสท์(GPO)ได้ถูกกล่าวถึงโดยสำนักผู้ตรวจการไรช์เพื่อความเป็นเอกภาพแห่งชนชาติเยอรมัน-RKFDV ในช่วงกลางของปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินและเจเนรัลพลันโอสท์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

HU BerlinHumboldt Universität zu BerlinHumboldt-Universität zu Berlinมหาวิทยาลัยฮัมโบล์ดทมหาวิทยาลัยฮุมโบลด์ทแห่งเบอร์ลินมหาวิทยาลัยฮุมโบล์ดทมหาวิทยาลัยฮุมโบล์ดทแห่งเบอร์ลินมหาวิทยาลัยฟรีดรีช-วิลเฮล์มมหาวิทยาลัยแห่งเบอร์ลินมหาวิทยาลัยเบอร์ลิน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »