สารบัญ
63 ความสัมพันธ์: Anchoringชวาหะร์ลาล เนห์รูชาวอินเดียชิเงะรุ มิยะโมะโตะบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์พ.ศ. 2412พ.ศ. 2465พ.ศ. 2491พระพรมหัศจรรย์กัล เพนน์การสังหารหมู่ที่อมฤตสาร์ พ.ศ. 2462การดื้อแพ่งการเกณฑ์ทหารภาษาคุชราตภีมราว รามชี อามเพฑกรมาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์มูนวอคเกอร์ ดิ้นมหัศจรรย์รสนา โตสิตระกูลรัฐคุชราตรายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลรายชื่อธงในประเทศอินเดียรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพราเชนทระ ปรสาทริชาร์ด สตอลล์แมนลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1942)วัฒนธรรมวังสันติวินสตัน เชอร์ชิลสรวปัลลี ราธากฤษณันสัตยาเคราะห์เกลือสันนิบาตมุสลิมแห่งอินเดียสารคดีสุภาษ จันทระ โพสสุนีล ทัตต์สงครามโลกครั้งที่หนึ่งห้ามจอดควายอหิงสาอะเดย์อัณณา หชาเรอินทิรา คานธีอนาคาริก ธรรมปาละอ็องรี การ์ตีเย-แบรซงผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองจักรพรรดิศิวาจีทวารกานาถ โกฏณีสดิ อะเมซิ่งเรซเอเชีย 3ความสนใจต่อสิ่งภายนอก-ความสนใจต่อสิ่งภายในคองเกรสแห่งชาติอินเดียคานธี (ภาพยนตร์)... ขยายดัชนี (13 มากกว่า) »
Anchoring
ในสาขาจิตวิทยา คำภาษาอังกฤษว่า Anchoring (แปลว่า การตั้งหลัก) หรือ focalism หมายถึงความเอนเอียงทางประชานของมนุษย์ ความมีแนวโน้มที่จะอิงข้อมูลแรกที่ได้มากเกินไป (โดยเป็น anchor คือเป็นหลัก) เมื่อทำการตัดสินใจ ปรากฏการณ์นี้จะเกิดขึ้นเมื่อเราพิจารณาข้อมูลแรกที่ได้ในการประเมินค่าที่ไม่รู้ ซึ่งจะกลายเป็นหลักที่จะใช้ต่อ ๆ มา และเมื่อมีหลักตั้งขึ้นแล้ว การประเมินผลต่อ ๆ มาจะเป็นการปรับค่าใช้ข้อมูลที่เป็นหลักนั้น ดังนั้น จึงอาจเกิดความความเอนเอียงเพราะตีความข้อมูลต่อ ๆ มาเป็นค่าใกล้ ๆ หลักที่อาจจะไม่ได้เป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกัน โดยไม่สมเหตุผล ยกตัวอย่างเช่น ราคาที่เสนอเริ่มแรกในการซื้อขายรถมือสองจะกลายเป็นหลักที่ใช้ในการต่อราคาที่มีต่อ ๆ มา ดังนั้น ราคาตกลงซื้อที่น้อยกว่าราคาเสนอเบื้องต้นอาจจะดูเหมือนดีกว่าถึงแม้ว่าจริง ๆ แล้ว อาจจะเป็นราคาที่สูงกว่ามูลค่าของรถจริง.
ชวาหะร์ลาล เนห์รู
วาหะร์ลาล เนห์รู (जवाहरलाल नेहरू ชวาหรลาล เนหรู; Jawaharlal Nehru; 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1889 – 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1964) รัฐบุรุษของอินเดีย และนายกรัฐมนตรีคนแรก หลังได้รับเอกราชจากอังกฤษ ดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 17 ปี ตั้งแต..
ดู มหาตมา คานธีและชวาหะร์ลาล เนห์รู
ชาวอินเดีย
วอินเดีย (Indian people) เป็นประชากรของประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นประเทศที่มีพลเมืองหนาแน่นในเอเชียใต้หรือ 17.31% ของประชากรโลก.
ชิเงะรุ มิยะโมะโตะ
มิยะโมะโตะ ในงานนิทรรศการเกม e3 ชิเงะรุ มิยะโมะโตะ (เกิด 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495) เป็นนักออกแบบเกมชาวญี่ปุ่น ผู้บริหารของนินเทนโด เป็นผู้คิดค้นเกม มาริโอ ดองกีคอง ตำนานแห่งเซลดา และเกมอื่นของนินเทนโด และเป็นผู้ควบคุมการผลิตเกมหลายเกม รวมถึงล่าสุดนินเทนโด วี.
ดู มหาตมา คานธีและชิเงะรุ มิยะโมะโตะ
บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์
ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".
ดู มหาตมา คานธีและบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์
พ.ศ. 2412
ทธศักราช 2412 ตรงกั.
พ.ศ. 2465
ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2491
ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.
พระพรมหัศจรรย์
ทศนาบนภูเขา ภาพวาดของ Carl Heinrich Bloch พระพรมหัศจรรย์ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ มหาบุญลาภ (ศัพท์คาทอลิก) (Beatitudes) เป็นตอนต้นใน 10 บรรทัดแรกของคำเทศนาบนภูเขา ซึ่งมีชื่อเสียงมาก และเป็นหลักคำสอนที่บุรุษผู้ยิ่งใหญ่ในยุคหลังเช่น มหาตมา คานธี และ มาร์ติน ลูเทอร์ คิง จูเนียร์ ต่างให้ความนับถือเป็นอย่างสูง ความหมายของพระพรแต่ละประการนั้นมีผู้อธิบายขยายความไว้เป็นจำนวนมาก ซึ่งต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจในภาษาแอราเมอิกและภาษากรีกที่ใช้ในการบันทึกคำสอน และจากการรวบรวมสามารถสรุปความโดยสังเขปได้ดังนี้.
ดู มหาตมา คานธีและพระพรมหัศจรรย์
กัล เพนน์
กัล เพนน์ (Kal Penn, कल पेन) เกิดเมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2520 นักแสดงฮอลลีวูด มีชื่อจริงว่า กัลเพน สุเรศ โมที กัล เพนน์ ได้กล่าวว่าเรื่องราวของปู่ย่าตายายของเขาเดินขบวนกับ มหาตมา คานธี สำหรับอินเดียเป็นประเทศที่มีอิทธิพลสำคัญในความสนใจของเขาทางการเมือง ภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงของเขา คือ Harold & Kumar (คู่บ้าฮาป่วน) ในปี..
การสังหารหมู่ที่อมฤตสาร์ พ.ศ. 2462
อนุสรณ์ในสวนสาธารณะจัลเลียนวลาบาฆ การสังหารหมู่ที่อมฤตสาร์ (Amritsar massacre) เป็นเหตุการณ์สังหารหมู่ที่สะเทือนขวัญ ซึ่งเกิดขึ้นถึงสองครั้งที่เมืองนี้ ครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อ..
ดู มหาตมา คานธีและการสังหารหมู่ที่อมฤตสาร์ พ.ศ. 2462
การดื้อแพ่ง
การดื้อแพ่ง หรือ การขัดขืนอย่างสงบ (civil disobedience) หรือ "อารยะขัดขืน" เป็นรูปแบบการต่อต้านทางการเมืองอย่างสงบเพื่อกดดันให้รัฐบาลเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางการเมืองที่เป็นอยู่ ในอดีต มีการใช้แนวทางดื้อแพ่งในการเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้านอังกฤษในประเทศอินเดีย ในการต่อสู้กับการแบ่งแยกสีผิวในแอฟริกาใต้ ในการเคลื่อนไหวด้านสิทธิพลเมืองของอเมริกา และในยุโรป รวมถึงประเทศแถบสแกนดิเนเวียในการต่อต้านการยึดครองของนาซี แนวคิดนี้ริเริ่มโดยเฮนรี เดวิด ธอโร นักเขียนชาวอเมริกันในบทความชื่อดื้อแพ่ง ในชื่อเดิมว่า การต่อต้านรัฐบาลพลเมือง ซึ่งแนวคิดที่ผลักดันบทความนี้ก็คือการพึ่งตนเอง และการที่บุคคลจะมีจุดยืนที่ถูกต้องเมื่อพวกเขา "ลงจากหลังของคนอื่น" นั่นคือ การต่อสู้กับรัฐบาลนั้นประชาชนไม่จำเป็นต้องต่อสู้ทางกายภาพ แต่ประชาชนจะต้องไม่ให้การสนับสนุนรัฐบาลหรือให้รัฐบาลสนับสนุนตน (ถ้าไม่เห็นด้วยกับรัฐบาล) บทความนี้มีอิทธิพลอย่างมากต่อผู้ที่ยึดแนวทางดื้อแพ่งนี้ ในบทความนี้ทอโรอธิบายเหตุผลที่เขาไม่ยอมจ่ายภาษีเพื่อเป็นการประท้วงระบบทาสและสงครามเม็กซิกัน-อเมริกัน เพื่อที่จะแสดงออกถึงดื้อแพ่ง ผู้ขัดขืนอาจเลือกที่จะฝ่าฝืนกฎหมายใดเป็นการเฉพาะ เช่น กีดขวางทางสัญจรอย่างสงบ หรือเข้ายึดครองสถานที่อย่างผิดกฎหมาย ผู้ประท้วงกระทำการจลาจลอย่างสันติเหล่านี้ โดยคาดหวังว่าพวกตนจะถูกจับกุม หรือกระทั่งถูกทำร้ายร่างกายโดยเจ้าหน้าที.
การเกณฑ์ทหาร
ม่มีข้อมูล การเกณฑ์ (conscription) เป็นการรับสมัครบุคคลโดยบังคับในราชการบางอย่างของชาติ ซึ่งเป็นราชการทหารมากที่สุด การเกณฑ์มีมาแต่โบราณ และปัจจุบันยังคงอยู่ในบางประเทศโดยมีชื่อหลากหลาย ระบบการเกณฑ์ชายหนุ่มแทบทุกคน (near-universal) ทั่วประเทศสมัยใหม่มีมาแต่การปฏิวัติฝรั่งเศสในคริสต์ทศวรรษ 1790 ซึ่งการเกณฑ์ทหารได้กลายมาเป็นพื้นฐานของกองทัพขนาดใหญ่และทรงพลัง ภายหลังชาติยุโรปส่วนมากลอกระบบดังกล่าวในยามสงบ ฉะนั้นชายที่มีอายุตามกำหนดต้องรับราชการ 1–8 ปีในกองประจำการ แล้วจึงโอนไปกองเกิน การเกณฑ์ทหารเป็นที่ถกเถียงกันด้วยหลายเหตุผล รวมทั้งการคัดค้านการสู้รบโดยอ้างมโนธรรมบนเหตุผลด้านศาสนาหรือปรัชญา การคัดค้านทางการเมือง ตัวอย่างเช่น การรับราชการรัฐบาลหรือสงครามซึ่งไม่เป็นที่นิยม และการคัดค้านทางอุดมการณ์ ตัวอย่างเช่น เป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลที่รับรู้ บางครั้งผู้ถูกเกณฑ์ทหารอาจหลบเลี่ยงราชการโดยการออกนอกประเทศ ระบบการคัดเลือกบางระบบปรับให้เข้ากับทัศนคติเหล่านี้โดยการจัดราชการทางเลือกที่ไม่ใช่บทบาทปฏิบัติการรบหรือไม่ใช่ทหารอย่างสิ้นเชิง เช่น ซีวิลดีนสท์ (ราชการพลเรือน) ในประเทศออสเตรียและสวิสเซอร์แลนด์ ประเทศที่แยกออกจากสหภาพโซเวียตส่วนมากเกณฑ์ทหารไม่เพียงเข้ากองทัพเท่านั้น แต่รวมถึงองค์การกึ่งทหารซึ่งมีหน้าที่ในราชการเฉพาะในประเทศคล้ายตำรวจ (หน่วยทหารภายใน) หรือหน้าที่กู้ภัย (หน่วยป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน) ซึ่งทั้งหมดที่กล่าวมานี้ไม่ถือว่าเป็นทางเลือกของการเกณฑ์ทหาร ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 หลายประเทศไม่เกณฑ์ทหารอีกต่อไป แต่อาศัยทหารอาชีพที่มาจากอาสาสมัครที่ได้รับสมัครตามความต้องการกำลังพล อย่างไรก็ดี หลายรัฐที่ได้ยกเลิกการเกณฑ์ทหารไปแล้วยังสงวนอำนาจที่จะรื้อฟื้นการเกณฑ์ทหารในยามสงครามหรือเกิดวิกฤตการณ.
ดู มหาตมา คานธีและการเกณฑ์ทหาร
ภาษาคุชราต
ษาคุชราต (ગુજરાતી คุชราตี) คือภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของตระกูลอินโด-ยุโรเปียน เป็นหนึ่งใน 22 ภาษาทางการ และ 14 ภาษาภูมิภาคของอินเดีย และเป็นหนึ่งในภาษาชนกลุ่มน้อยของปากีสถาน มีผู้พูดภาษาคุชราตประมาณ 46 ล้านคนทั่วโลก มากเป็นอันดับที่ 23 ของโลก โดยที่ 45.5 ล้านคนอาศัยอยู่ในอินเดีย 150,000 คนในยูกันดา 100,000 คนในปากีสถาน 250,000 คนในแทนซาเนีย และ 50,000 คนในเคนยา ภาษาคุชราต คือภาษาหลักของรัฐคุชราตในอินเดีย รวมถึงพื้นที่สหภาพที่ติดกันคือ ดามานและดีอู และ ดาดราและนครหเวลี และยังเป็นภาษาของชุมชนชาวคุชราตในเมืองมุมไบ (บอมเบย์เดิม) นอกจากนี้ยังปรากฏประชาการจำนวนหนึ่งที่พูดภาษาคุชราตได้ในอเมริกาเหนือ และสหราชอาณาจักร คุชราตเป็นภาษาแม่ของมหาตมะ คานธี "บิดาของอินเดีย" มูฮัมหมัด อาลี จินนาห์ "บิดาของปากีสถาน" และซาร์ดาร์ วัลลัภภัย ปาเทล "บุรุษเหล็กแห่งอินเดีย".
ภีมราว รามชี อามเพฑกร
อกเตอร์ ภีมราว รามชี อามเพฑกร (भीमराव रामजी आंबेडकर) อดีตรัฐมนตรีกระทรวงแรงงานและกระทรวงยุติธรรมของอินเดีย และเป็นประธานร่างรัฐธรรมนูญของอินเดีย ท่านถูกยกย่องให้เป็น "บิดาแห่งรัฐธรรมนูญอินเดีย" อีกด้วย อามเพฑกร เป็นผู้อุปถัมภพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย และได้เดินร่วม ขบวนกับ มหาตมา คานธี และชวาหระลาล เนห์รู เพื่อเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษ ต่อมาเนห์รูได้เป็นนายกรัฐมนตรีและได้แต่งตั้งให้อามเพฑกร เป็นรัฐมนตรีกระทรวงแรงงานและกระทรวงยุติธรรม.
ดู มหาตมา คานธีและภีมราว รามชี อามเพฑกร
มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์
มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์ (Margaret Bourke-White; 14 มิถุนายน ค.ศ. 1904 – 27 สิงหาคม ค.ศ. 1971) เป็นช่างภาพหญิงชาวอเมริกันที่ถ่ายภาพแนวสารคดี (en:Photojournalism) ซึ่งเป็นที่รู้จักในฐานะช่างภาพชาวต่างชาติคนแรกที่ได้รับอนุญาตให้ถ่ายภาพโรงงานอุตสาหกรรมในสหภาพโซเวียต ทั้งยังเป็นช่างภาพและนักข่าวสงคราม (War photographer) คนแรกที่เป็นผู้หญิงที่ได้รับอนุญาตให้ทำงานในสมรภูมิรบ และนอกจากนี้ยังเป็นช่างภาพหญิงคนแรกของนิตยสารไลฟ์ (en:Life Magazine) ภาพถ่ายของมาร์กาเร็ตปรากฏบนปกนิตยสารดังกล่าวในฉบับปฐมฤกษ์ เธอเสียชีวิตด้วยโรคพาร์กินสันเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 1971 ณ รัฐคอนเนตทิคัต หลังจากเริ่มมีอาการของโรคดังกล่าวเมื่อ 8 ปีก่อนหน้านั้น มาร์กาเร็ต นับเป็นช่างภาพหญิงคนสำคัญคนหนึ่งของวงการถ่ายภาพของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในวงการภาพถ่ายสารคดีและภาพข่าว.
ดู มหาตมา คานธีและมาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์
มูนวอคเกอร์ ดิ้นมหัศจรรย์
มูนวอคเกอร์ ดิ้นมหัศจรรย์ (Moonwalker) เป็นภาพยนตร์กวีนิพนธ์อเมริกันที่นำแสดงโดย ไมเคิล แจ็กสัน มากกว่าหนึ่งเดียวที่มีการเล่าเรื่องอย่างต่อเนื่องภาพยนตร์เรื่องนี้คือชุดของภาพยนตร์สั้นเกี่ยวกับแจ็คสัน และหลายอย่างซึ่งเป็นรูปแบบความยาววิดีโอเพลงจากอัลบั้ม แบด ภาพยนตร์เรื่องนี้มีการตั้งชื่อตามเทคนิคการเต้นที่เรียกว่า มูนวอล์ค ซึ่งเป็นหนึ่งในเครื่องหมายการค้าของท่าเคลื่อนไหว ภาพยนตร์ Moonwalker ประสบความสำเร็จอย่างมาก โดยทำรายได้รวมถึง 67,000,000 ดอลลาร์สหรัฐทั่วโลก.
ดู มหาตมา คานธีและมูนวอคเกอร์ ดิ้นมหัศจรรย์
รสนา โตสิตระกูล
รสนา โตสิตระกูล นางสาวรสนา โตสิตระกูล (27 กันยายน พ.ศ. 2496 -) เป็นนักรณรงค์ด้านสุขภาพและสิทธิผู้บริโภค มีบทบาทสำคัญในการเปิดโปงขบวนการทุจริต กรณีการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ในกระทรวงสาธารณสุข เมื่อ พ.ศ.
ดู มหาตมา คานธีและรสนา โตสิตระกูล
รัฐคุชราต
รัฐคุชราต คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศติดกับประเทศปากีสถานและทะเลอาหรับ รัฐคุชราต เป็นแหล่งอุตสาหกรรมแหล่งแรกๆในอินเดีย จนได้ชื่อว่าแมนเชสเตอร์ตะวันออก เป็นบ้านเกิดของมหาตมะ คานธี เป็นรัฐที่ห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ประชากรมากกว่า 80% ไม่รับประทานเนื้อสัตว์ เมืองสุรัตเป็นศูนย์กลางการเจียระไนเพชรระดับโลก คุช หมวดหมู่:รัฐคุชราต หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ.
รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาล
ในหลายสังคมได้มีการห้ามหนังสือบางเล่ม รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลที่ปรากฏข้างล่างนี้เป็นเพียงบางส่วนของรายชื่อหนังสือทั้งหมดที่ถูกสั่งห้ามโดยรัฐบาลด้วยเหตุผลใดเหตุผลหนึ่ง การห้ามอาจจะเป็นการห้ามระดับชาติหรือระดับรองและบางครั้งอาจจะมีโทษทางกฎหมายถ้าละเมิด นอกจากการห้ามทางกฎหมายแล้วก็อาจจะเป็นการห้ามโดยสถาบันศาสนาโดยการห้ามไม่ให้ผู้นับถือศาสนาอ่านหนังสือที่ห้าม แต่โดยปราศจากโทษทางอาญา แต่บางครั้งการห้ามก็อาจจะได้รับการยกเลิกเมื่อมีการท้าทายกันในศาล และศาลมีคำสั่งให้ยกเลิกการห้ามเพราะเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องตามกฎหม.
ดู มหาตมา คานธีและรายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาล
รายชื่อธงในประเทศอินเดีย
งในหน้านี้ เป็นธงต่างๆ ที่มีการใช้และเคยใช้ในสาธารณรัฐอินเดี.
ดู มหาตมา คานธีและรายชื่อธงในประเทศอินเดีย
รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ
รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobels fredspris, Nobel Peace Prize) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..
ดู มหาตมา คานธีและรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ
ราเชนทระ ปรสาท
ร.
ดู มหาตมา คานธีและราเชนทระ ปรสาท
ริชาร์ด สตอลล์แมน
ริชาร์ด สตอลล์แทน ผู้พูดรับเชิญในงานวิกิเมเนีย ริชาร์ด แมธธิว สตอลล์แมน (Richard Matthew Stallman, RMS; เกิดเมื่อ 16 มีนาคม ค.ศ. 1953) เป็นผู้ก่อตั้ง โครงการกนู และ มูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี ซอฟต์แวร์เสรีที่เขาได้เป็นผู้เริ่มเขียนตั้งแต่สมัยแรก ๆ ได้แก่ GNU Emacs, GNU C Compiler และ GNU Debugger ซึ่งปัจจุบันนี้ก็ยังนิยมใช้กันอยู่แพร่หลาย เขาผู้ริเริ่มแนวคิด Copyleft และเป็นผู้ร่าง "สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู" GNU General Public License (GPL) ขึ้นมา และสัญญานี้ได้กลายเป็นบรรทัดฐานของสัญญาอนุญาตให้งานซอฟต์แวร์เสรีจำนวนมาก ริชาร์ด สตอลล์แมน เข้ารับการศึกษาจากเอ็มไอที แต่ได้ลาออกขณะที่ศึกษาและย้ายมาทำงานที่ เอ็มไอทีแล็บ โดยทำหน้าที่พัฒนาโปรแกรม ในระหว่างที่ทำงาน เขามีความคิดอุดมคติที่จะพัฒนาระบบปฏิบัติการในระบบที่ใกล้เคียงกับระบบยูนิกซ์ ให้ใช้งานได้เสรีสำหรับทุกคน โดยได้ร่วมโครงการกับแฮกเกอร์หลายคน ซึ่งในขณะที่พัฒนาเคอร์เนลและยังไม่สำเร็จนั้น ได้พบว่า ลีนุส ทอร์วัลส์ นักศึกษามหาวิทยาลัยชาวฟินแลนด์ได้พัฒนาเคอร์เนล ลินุกซ์เป็นผลสำเร็จขึ้นในเวลาหกเดือน สตอลล์แมนจึงได้ติดต่อกับลีนุส และรับอาสาทำหน้าที่จัดการระบบสัญญาอนุญาตเสรี GPL ให้กับทางระบบลินุกซ.
ดู มหาตมา คานธีและริชาร์ด สตอลล์แมน
ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)
รียงลำดับเหตุการณ์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 1 มกราคม จนถึง 31 ธันวาคม 1941 แผนที่ของเขตปฏิบัติการปฏิบัติการเข็มทิศ - ธันวาคม 1940 - กุมภาพันธ์ 1941 นายพลรอมเมลในแอฟรีกาเหนือ ประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี.
ดู มหาตมา คานธีและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)
ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1942)
รียงลำดับเหตุการณ์เกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1942.
ดู มหาตมา คานธีและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1942)
วัฒนธรรม
วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.
วังสันติ
วังสันติภาพ (27 เมษายน 2007) วังสันติภาพ หรือ เฟรเดิสปาไลส์ (Vredespaleis) เป็นหมู่อาคารอันตั้งอยู่ในเดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ได้ชื่อว่าเป็น "บัลลังก์แห่งกฎหมายระหว่างประเทศ" หรือ "ที่ประดิษฐานกฎหมายระหว่างประเทศ" (seat of international law) เพราะเป็นที่ตั้งกองบัญชาการของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ, ศาลอนุญาโตตุลาการถาวร, เนติบัณฑิตยสถานระหว่างประเทศแห่งเดอะเฮก และหอสมุดวังสันติภาพที่ล้ำค่า นอกจากเป็นที่ตั้งสถาบันดังกล่าวแล้ว ที่วังสันติภาพยังมักจัดเทศกาลพิเศษเกี่ยวกับนโยบายระหว่างประเทศและกฎหมายระหว่างประเทศด้ว.
วินสตัน เชอร์ชิล
ซอร์วินสตัน ลีโอนาร์ด สเปนเซอร์-เชอร์ชิล (Winston Leonard Spencer-Churchill) เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัย ระหว่างปี 1940 ถึง 1945 และปี 1951 ถึง 1955 ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้นำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคสงครามของศตวรรษที่ 20 นอกจากนี้ วินสตันยังเป็นทหารในกองทัพอังกฤษ, นักประวัติศาสตร์, นักเขียน, ตลอดจนศิลปิน เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาอักษรศาสตร์ และยังเป็นบุคคลแรกที่ได้เป็น พลเมืองเกียรติยศแห่งสหรัฐอเมริกา ผู้คนมักนิยมเรียกเขาด้วยชื่อ "วินสตัน" แทนที่จะเรียกด้วยนามสกุล วินสตันเกิดในตระกูลชนชั้นสูงที่สืบเชื้อสายมาจากดยุกแห่งมาร์ลบะระ สาขาหนึ่งของตระกูลสเปนเซอร์ บิดาของเขาคือ ลอร์ดรันดอล์ฟ เชอร์ชิล นักการเมืองผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีคลัง ส่วนมารดาของเขาคือ เจนนี จีโรม นักสังคมสงเคราะห์ชาวอเมริกัน ในขณะที่ยังเป็นทหารหนุ่ม เขาได้ปฏิบัติภารกิจในบริติชอินเดีย และซูดาน และในสงครามโบเออร์ครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นนักข่าวสงครามและเขียนหนังสือเกี่ยวกับปฏิบัติการของเขา เขาเป็นผู้มีบทบาททางการเมืองแถวหน้ามาตลอดห้าสิบปี ได้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีมากมาย ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเขาเป็นหัวหน้ากรรมการการค้า, รัฐมนตรีปิตุภูมิ, และรัฐมนตรียุติธรรม ระหว่างสงคราม เขายังคงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรียุติธรรม จนกระทั่งความพ่ายแพ้ของอังกฤษในการทัพกัลลิโพลี ทำให้เขาต้องออกจากคณะรัฐบาลและไปประจำการราชการทหารอยู่ที่แนวหน้าภาคตะวันตกในตำแหน่งผู้บัญชาการกองพันลูกเสือที่ 6 จนกระทั่งเขาได้กลับคืนคณะรัฐบาลในตำแหน่งรัฐมนตรียุทธภัณฑ์ รัฐมนตรีว่าการสงคราม และ รัฐมนตรีน่านฟ้า และในปี 1921-1922 เป็นรัฐมนตรีว่าการอาณานิคม และต่อมาในปี 1924-1929 เป็นรัฐมนตรีคลังหลวง โดยเขาได้กำหนดให้สกุลเงินปอนด์กลับไปอิงค่าทองคำเหมือนกับยุคก่อนสงคราม ซึ่งทำให้เกิดภาวะเงินฝืดแพร่ไปทั้งเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร ภายหลังห่างหายจากงานการเมืองไปในทศวรรษที่ 1930 วินสตันก็ได้กลับมาทำงานการเมืองอีกครั้งเมื่อนาซีเยอรมนีเริ่มที่จะสั่งสมกำลังทหารและดูจะเป็นภัยคุกคามต่ออังกฤษ และแล้วการอุบัติขึ้นอย่างฉับพลันของสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ทำให้เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรียุติธรรมอีกครั้ง และภายหลังการลาออกของนายกรัฐมนตรี เนวิล เชมเบอร์ลิน ในวันที่ 10 พฤษภาคม 1940 วินสตันก็กลายเป็นนายกรัฐมนตรี คำประกาศหนักแน่นของเขาที่จะไม่เป็นผู้ยอมแพ้ได้ช่วยกระตุ้นให้ชาวอังกฤษหันมาต่อต้านนาซีเยอรมนี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงต้นสงครามซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ยากเย็นเมื่อสหราชอาณาจักรและอาณานิคมอังกฤษเป็นเพียงฝ่ายเดียวที่ลุกขึ้นอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ วินสตันได้กล่าวสุนทรพจน์ของเขาผ่านวิทยุกระจายเสียงปลุกขวัญกำลังใจชาวอังกฤษ เขาเป็นผู้นำของอังกฤษไปจนกระทั่งสามารถมีชัยเหนือนาซีเยอรมนีได้ แต่ทว่าการได้รับชัยชนะมาต้องแลกกับการสูญเสียการเป็นอภิมหาอำนาจของโลกให้กับสหรัฐอเมริกาไป เหล่าประเทศอาณานิคมที่ยึดครองได้แก่ อินเดีย มาเลเซีย พม่า เป็นต้นต่างก็ได้เรียกร้องเอกราชจนจำใจต้องยอมเป็นเหตุทำให้จักรวรรดิอังกฤษล่มสลายและกลายเป็นเครือจักรภพแห่งชาติแทน ภายหลังพรรคอนุรักษนิยมพ่ายการเลือกตั้งในปี 1945 เขาก็ทำหน้าที่เป็นผู้นำฝ่ายค้านต่อรัฐบาลพรรคแรงงาน เขาได้ออกมาเตือนอย่างเปิดเผยถึงอิทธิพลของโซเวียตในยุโรปผ่านมาตรการ "ม่านเหล็ก" และยังส่งเสริมความเป็นหนึ่งเดียวของยุโรป ภายหลังชนะเลือกตั้งในปี 1951 วินสตันก็กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ในช่วงการดำรงตำแหน่งครั้งที่สองนี้ รัฐบาลของเขาเต็มไปด้วยข้อราชการต่างประเทศ ทั้งวิกฤตการณ์มาลายา, กบฎมาอูมาอูในเคนยา, สงครามเกาหลี ตลอดจนสนับสนุนการรัฐประหารในอิหร่าน ในปี 1953 เขาเริ่มเจ็บป่วยจากภาวะขาดเลือดในสมอง และลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 1955 แต่เขายังคงเป็นสมาชิกสภาสามัญชนไปจนถึงปี 1964 วินสตันถึงแก่อสัญกรรมด้วยวัย 90 ปีในปี 1965 โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระราชทานรัฐพิธีศพให้เป็นเกียรติ เขายังคงได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นหนึ่งในกลุ่มคนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติอังกฤษ ชื่อของเขาอยู่ในลำดับที่ 1 ของทำเนียบชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลจากการจัดอันดับในปี 2002.
ดู มหาตมา คานธีและวินสตัน เชอร์ชิล
สรวปัลลี ราธากฤษณัน
ร.
ดู มหาตมา คานธีและสรวปัลลี ราธากฤษณัน
สัตยาเคราะห์เกลือ
นธีระหว่างสัตยาเคราะห์เกลือ ซอลท์มาร์ช (Salt March, ท. การเดินขบวนเกลือ) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า สัตยาเคราะห์เกลือ (Salt Satyagraha) เริ่มต้นด้วย การเดินขบวนดันดี (Dandi March) เมื่อวันที่ 12 มีนาคม..
ดู มหาตมา คานธีและสัตยาเคราะห์เกลือ
สันนิบาตมุสลิมแห่งอินเดีย
ณะทำงานของสันนิบาตมุสลิมที่ลาฮอร์ สันนิบาตมุสลิมแห่งอินเดีย (All-India Muslim League; ภาษาอูรดู: آل انڈیا مسلم لیگ) เป็นองค์กรที่ตั้งขึ้นเมื่อ..
ดู มหาตมา คานธีและสันนิบาตมุสลิมแห่งอินเดีย
สารคดี
ำหรับนิตยสาร ดู สารคดี (นิตยสาร) สารคดี เป็นงานเขียนหรือวรรณกรรมร้อยแก้วในลักษณะตรงข้ามกับกับบันเทิงคดี (Fiction) ที่มุ่งให้สาระความรู้แก่ผู้อ่านเป็นเบื้องต้น มีความเพลิดเพลินเป็นเบื้องหลัง ที่มุ่งแสดงความรู้ ความคิด ความจริง ความกระจ่างแจ้ง และเหตุผลเป็นสำคัญ อาจจะเขียนเชิงอธิบาย เชิงวิจารณ์เชิงแนะนำสั่งสอน เป็นต้น.
สุภาษ จันทระ โพส
ษ จันทระ โพส สุภาษ จันทระ โพส (Subhash Chandra Bose; सुभाष चन्द्र बोस; 23 มกราคม ค.ศ. 1897 – 18 สิงหาคม ค.ศ. 1945) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ เนตาชี (Netaji; नेता जी; "ท่านผู้นำ") เป็นผู้นำกลุ่มอิสระชาวอินเดียที่ต้องการการปลดปล่อยประเทศอินเดียให้เป็นเอกราชจากการปกครองของอังกฤษในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2.
ดู มหาตมา คานธีและสุภาษ จันทระ โพส
สุนีล ทัตต์
นีล ทัตต์ (เทวนาครี: सुनील दत्त) เกิดเมื่อ วันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2473 ณ รัฐปัญจาบ เป็นสมาชิกของพรรคคองเกรสอินเดีย เป็น..
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..
ดู มหาตมา คานธีและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
ห้ามจอดควาย
ห้ามจอดควายเป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 10 ของวงคาราบาว จัดจำหน่ายครั้งแรกในเดือนมีนาคม..
อหิงสา
อหิงสา หรือ อหึงสา (अहिंसा) หมายถึง การไม่เบียดเบียน, การเว้นจากการทำร้าย คำว่า "อหิงสา" ยังหมายถึง การไม่ใช้ความรุนแรง และในศาสนาแบบอินเดียหลายศาสนา มโนทัศน์ดังกล่าวใช้กับสิ่งมีชีวิตทุกชนิดรวมทั้งสัตว์Bajpai, Shiva (2011).
อะเดย์
อะเดย์ (a day) เป็นนิตยสารเกี่ยวกับเรื่องทั่วไปในสังคมไทยทั้งในอดีตและปัจจุบัน เป็นนิตยสารที่เป็นต้นแบบนิตยสารทางเลือกของวัยรุ่น ถึงขั้นวงการนิตยสารไทยยกให้นิตยสารอะเดย์เป็นดั่งนิตยสาร 'ขวัญใจเด็กแนว' นิตยสารอะเดย์ ผลิตโดย บริษัท เดย์ โพเอ็ทส์ จำกัด (Day Poets Co.
อัณณา หชาเร
หชาเร ขณะอดอาหารประท้วงใกล้หอดูดาวจันทรามันตรา ใจกลางกรุงนิวเดลี กิสัน พาพุราว หชาเร (किसन बाबुराव हजारे; Kisan Bāburāv Hajārē; เกิด 15 มิถุนายน ค.ศ.
อินทิรา คานธี
อินทิรา ปริยทรศินี คานธี (इन्दिरा प्रियदर्शिनी गान्धी, Indira Priyadarsini Gandhi, 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2460 - 31 ตุลาคม พ.ศ. 2527) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีอินเดียที่ดำรงตำแหน่งถึง 3 วาระติดต่อกัน และเป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกในประเทศอินเดีย อินทิรา คานธี มีชื่อเดิมว่า อินทิรา ปรียทรศินี เนห์รู เป็นบุตรสาวของชวาหระลาล เนห์รู นายกรัฐมนตรีคนแรกของอินเดีย กับกมลา เนห์รู นางอินทิราสมรสกับผิโรช คานธี ซึ่งมีนามสกุลเดียวกับมหาตมา คานธี แต่ไม่ได้มีความสัมพันธ์เป็นเครือญาติกัน อินทิรามีบุตรชายสองคน คือ ราชีพ คานธีและสัญชัย คานธี โดยบุตรทั้งสองต่างดำเนินกิจกรรมทางการเมืองสืบต่อจากมารดา อินทิรา คานธีถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.
ดู มหาตมา คานธีและอินทิรา คานธี
อนาคาริก ธรรมปาละ
อนาคาริก ธรรมปาละ (Anagarika Dhammapala) (เกิด 17 กันยายน พ.ศ. 2407 มรณภาพ 29 เมษายน พ.ศ. 2476) เป็นบุคคลที่สำคัญที่สุดในการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย เป็นผู้ก่อตั้งสมาคมมหาโพธิ์ และเป็นผู้เรียกร้องเอาพุทธสถานในอินเดียกลับคืนมาเป็นของชาวพุทธ ท่านเกิดในครอบครัวผู้มั่งคั่ง บิดาชื่อว่า เดวิด เหววิตรเน เมื่อได้อ่านหนังสือเรื่องประทีปแห่งเอเชียของท่านเซอร์ เอดวินด์ อาโนลด์ ก็เกิดความซาบซึ้ง มีความคิดอยากอุทิศชีวิตถวายต่อพระพุทธองค์ในการฟื้นฟูพุทธศาสนาที่อินเดีย จึงออกเดินทางสู่อินเดีย เมื่อได้เห็นเจดีย์พุทธคยาที่ชำรุดทรุดโทรมถูกทอดทิ้ง และอยู่ในความครอบครองของพวกมหันต์ จึงเกิดความสังเวชใจ ที่ได้พบเห็นเช่นนั้น จึงทำการอธิษฐานต่อต้นพระศรีมหาโพธิ์ว่า จะถวายชีวิตเป็นพุทธบูชา เพื่อฟื้นฟูพุทธศาสนา ในอินเดียและนำพุทธคยากลับคืนมาเป็นสมบัติของชาวพุทธทั่วโลกให้ได้.
ดู มหาตมา คานธีและอนาคาริก ธรรมปาละ
อ็องรี การ์ตีเย-แบรซง
อ็องรี การ์ตีเย-แบรซง (Henri Cartier-Bresson) เป็นช่างถ่ายภาพชาวฝรั่งเศส ตอนเด็ก ๆ เขามีกล้องตัวเล็ก ๆ สำหรับถ่ายภาพเล่นแต่สิ่งที่เขาชื่นชอบมากกว่ากลับกลายเป็นการวาดรูป เขาเคยบอกไว้ครั้งหนึ่งว่าการวาดภาพเป็นความหลงใหลใฝ่ฝันของเขา เริ่มตั้งแต่ลุงของเขาได้พาไปเยี่ยมสตูดิโอวาดภาพในช่วงคริสต์มาส เมื่อได้ไปอยู่ ณ ที่นั้น เขารู้สึกราวกับว่าถูกดูดเข้าไปใน Canvas (ผ้าใบที่ใช้วาดภาพ) สิ่งที่สำคัญที่ทำให้อ็องรี การ์ติเยร์-แบรซง สนใจ "ภาพของเด็ก ๆ ผิวดำที่กำลังวิ่งเล่นอยู่กับคลื่นนั้นเป็นสิ่งที่ทำให้แทบไม่เชื่อว่านี่คือภาพที่ได้มาจากกล้อง มันราวกับชีวิตจริง ๆ " หลังจากนั้นเขาก็หันไปหยิบกล้องและภาพถ่ายอย่างจริงจัง วันหนึ่งในปี..
ดู มหาตมา คานธีและอ็องรี การ์ตีเย-แบรซง
ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง
"สามผู้ยิ่งใหญ่": โจเซฟ สตาลิน แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์และวินสตัน เชอร์ชิลล์ ในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบไปด้วยบุคคลสำคัญต่าง ๆ จากหลาย ๆ ประเทศ ทั้งนักการเมืองและนักการทหาร บรรดาบุคคลเหล่านี้ได้แก.
ดู มหาตมา คานธีและผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง
จักรพรรดิศิวาจี
ฉัตรปตี ศิวาจีราเช โภสเล (छत्रपती शिवाजीराजे भोसले; 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1630 – 3 เมษายน ค.ศ. 1680) เป็นจักรพรรดิองค์แรกแห่ง จักรวรรดิมราฐา ครองราชย์ตั้งแต่ 6 มิถุนายน..
ดู มหาตมา คานธีและจักรพรรดิศิวาจี
ทวารกานาถ โกฏณีส
thumb ทวารกานาถ โกฎณีส (จีน:柯棣华, พินอิน:Kē Dìhuá เคอ ตี้หัว, เทวนาครี:द्वारकानाथ कोटणीस ทวารกานาถ โกฎณีส, อังกฤษ:Dwarkanath Kotnis) หรือชื่อจริงคือ ทวารกานาถ ศำตาราม โกฎณีส (เทวนาครี:द्वारकानाथ शांताराम कोटणीस) เกิดเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ.
ดู มหาตมา คานธีและทวารกานาถ โกฏณีส
ดิ อะเมซิ่งเรซเอเชีย 3
อะเมซิ่ง เรซ เอเชีย 3 เป็นปีที่สามของรายการดิ อะเมซิ่ง เรซ เอเชีย ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้ทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขัน 10 ทีม ทีมละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก ทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 100,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา สำหรับความนิยมของรายการนี้ เนื่องจากฉายไปทั่วเอเชียจึงทำให้มีการประมาณกันว่ามีผู้ชมมากถึง 83 ล้านคนทั่วเอเชีย (มาจากจีน 40 ล้านคน) ทำให้มีแผนการที่จะผลิตออกมาเรื่อยๆ เช่นเดียวกับฉบับอเมริกา สำหรับในฤดูกาลนี้ออกอากาศในวันที่ 11 กันยายน พ.ศ.
ดู มหาตมา คานธีและดิ อะเมซิ่งเรซเอเชีย 3
ความสนใจต่อสิ่งภายนอก-ความสนใจต่อสิ่งภายใน
ลักษณะ ความสนใจต่อสิ่งภายนอก-ความสนใจต่อสิ่งภายใน หรือ ความสนใจภายนอก-ความสนใจภายใน (extraversion-introversion) เป็นมิติหลักอย่างหนึ่งของทฤษฎีบุคลิกภาพมนุษย์ ส่วนคำภาษาอังกฤษทั้งสองคำ คือ introversion และ extraversion เป็นคำที่จิตแพทย์ คาร์ล ยุง ได้สร้างความนิยม (translation H.G.
ดู มหาตมา คานธีและความสนใจต่อสิ่งภายนอก-ความสนใจต่อสิ่งภายใน
คองเกรสแห่งชาติอินเดีย
สัญลักษณ์ของพรรค คองเกรสแห่งชาติอินเดีย (भारतीय राष्ट्रीय कांग्रेस ภารตียราษฏรียกังเครส; Indian National Congress: INC) เป็นพรรคการเมืองพรรคแรกในอินเดีย สมาชิกของพรรคนี้ ได้แก่ มหาตมา คานธี, ชวาหะร์ลาล เนห์รู, อินทิรา คานธี, ราเชนทระ ปรสาท, ราชีพ คานธี, ราหุล คานธี, มันโมหัน สิงห์, ภีมราว รามชี อามเพฑกร, และ สุนีล ทัตต์ หมวดหมู่:พรรคการเมืองอินเดีย.
ดู มหาตมา คานธีและคองเกรสแห่งชาติอินเดีย
คานธี (ภาพยนตร์)
นธี เป็นภาพยนตร์ชีวประวัติ สร้างขึ้นจากเรื่องจริงของมหาตมา คานธี นักการเมืองชาวอินเดีย ผู้เคลื่อนไหวเพื่อปลดปล่อยอินเดีย จากการเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร และได้ชื่อว่าเป็นวีรบุรุษผู้ยิ่งใหญ่คนหนึ่งของอินเดีย ออกฉายในค.ศ.
ดู มหาตมา คานธีและคานธี (ภาพยนตร์)
ปัญจายตีราช
ปัญจายตีราช (पंचायती राज; panchayati raj) เป็นระบบการเมืองเอเชียใต้ ซึ่งส่วนใหญ่พบในอินเดีย ปากีสถาน และเนปาล "ปัญจายตี" มีความหมายตามตัวอักษรว่า ที่ประชุม (อยต) ซึ่งประกอบด้วยผู้อาวุโสที่มีสติปัญญาและได้รับความเคารพนับถือจำนวนห้าคน (ปญฺจ) ที่เลือกและได้รับการยอมรับโดยชุมชนหมู่บ้าน แต่เดิมแล้ว ที่ประชุมนี้มีหน้าที่ตัดสินข้อพิพาทระหว่างบุคคลกับหมู่บ้าน รัฐบาลอินเดียสมัยใหม่มีกลไกบริหารแบบกระจายอำนาจจำนวนมากไปถึงระดับหมู่บ้าน โดยให้อำนาจปัญจายตีหมู่บ้านที่ได้รับเลือกเข้ามา ปัญจายตีราชเป็นระบบการปกครองโดยมีปัญจายตีหมู่บ้านเป็นหน่วยพื้นฐานของการบริหาร แบ่งออกได้เป็นสามระดับ ได้แก่ หมู่บ้าน เขต (block) และอำเภอ คำว่า "ปัญจายตี" เป็นคำที่ค่อนข้างใหม่ เพิ่งจะถือกำเนิดขึ้นระหว่างการปกครองของอังกฤษ "ราช" ตามตัวอักษรหมายถึงการปกครองหรือรัฐบาล มหาตมา คานธีสนับสนุนปัญจายตี อันเป็นรูปแบบกระจายอำนาจของรัฐบาลซึ่งหมู่บ้านแต่ละแห่งรับผิดชอบต่อกิจการของตนเอง ดังที่เป็นรากฐานของระบบการเมืองอินเดีย ปัญจายตีได้รับการยอมรับโดยรัฐบาลรัฐในช่วงคริสต์ศตวรรษ 1950 และ 1960 เมื่อมีการผ่านกฎหมายสถาปนาปัญจายตีในหลายรัฐ นอกจากนี้ยังพบการสนับสนุนในรัฐธรรมนูญอินเดีย ด้วยการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญครั้งที่ 73 ในปี..
นาถูราม โคทเส
นาถูราม โคทเส นาถูราม โคทเส (नथूराम विनायक गोडसे, 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1910 - 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1949) เป็นชาวนครปูเน (Pune) ประเทศอินเดีย เป็นนักเคลื่อนไหวและนักหนังสือพิมพ์ชาวฮินดูทวา (Hindutva) ผู้เป็นมือลอบสังหารมหาตมา คานธี ร่วมกับผู้ร่วมก่อการอื่นอีกเจ็ดคน.
ดู มหาตมา คานธีและนาถูราม โคทเส
แอนสท์ ฟรีดริช ชูมาเคอร์
แอนสท์ ฟรีดริช "ฟริทซ์" ชูมาเคอร์ (Ernst Friedrich "Fritz" Schumacher; 19 สิงหาคม ค.ศ. 1911 – 4 กันยายน ค.ศ. 1977) เป็นผู้มีอิทธิพลระดับนานาชาติ ในการเป็นนักคิดทางสถิติและเศรษฐศาสตร์ในสหราชอาณาจักร เป็นที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจและเป็นหัวหน้าคณะกรรมการถ่านหินแห่งสหราชอาณาจักรBiography on the inner dustjacket of Small Is Beautiful ความคิดของเขากลายเป็นที่พูดถึงไปในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 และเขาเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดสำหรับบทวิจารณ์เศรษฐกิจตะวันตกและข้อเสนอเกี่ยวกับสำหรับเทคโนโลยีระดับมนุษย์ เทคโนโลยีการกระจายอำนาจ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม.
ดู มหาตมา คานธีและแอนสท์ ฟรีดริช ชูมาเคอร์
โกจเจรีล รามัน นารายณัน
โกจเจรีล รามัน นารายณัน (കോച്ചേരില് രാമന് നാരായണന്) เกิดเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2463 เป็นประธานาธิบดีคนที่ 13 ของอินเดีย เคยร่วมขบวนกับมหาตมะ คานธี ในการเรียกร้องเอกราชให้แก่อินเดีย หลังจากที่คานธีได้เสียชีวิตไปแล้ว เขาได้อธิบายเหตุการณ์เป็น "โศกนาฏกรรมที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตั้งแต่ประเทศอินเดียต้องเผชิญกับการลอบสังหาร มหาตมะ คานธี" นารายณันเป็นนักการทูตอาชีพ ก่อนที่จะดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี เขารับราชการในกระทรวงการต่างประเทศอินเดีย และเคยเป็นเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศไทย (วาระดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ.
ดู มหาตมา คานธีและโกจเจรีล รามัน นารายณัน
โวล์ฟ เมสซิ่ง
วล์ฟ เมสซิ่ง โวล์ฟ เมสซิ่ง (Wolf Messing) มีชื่อเต็มว่า โวล์ฟ เกรโกเรวิช เมสซิ่ง (Wolf Gregorevich Messing; וּוֹלףֿ מסינג; Wolf Grigorewicz Messing; Во́льф Григо́рьевич (Ге́ршикович) Ме́ссинг Vóľf Gérškovič (Grigór'evič) Méssing) เป็นบุคคลผู้มีพลังจิตที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของโลกในยุคสงครามโลกครั้งที่สอง โวล์ฟ เมสซิ่ง เกิดเมื่อวันที่ 10 กันยายน ค.ศ.
ดู มหาตมา คานธีและโวล์ฟ เมสซิ่ง
เบน คิงสลีย์
ซอร์ เบน คิงสลีย์, ซีบีอี (Sir Ben Kingsley, CBE) (ภาษาคุชราต:કૃષ્ણા પંડિત ભાનજી) นักแสดงชาวอังกฤษเชื้อสายอินเดีย เจ้าของรางวัลการแสดงทั้งรางวัลออสการ์ รางวัลบาฟตา รางวัลลูกโลกทองคำ และรางวัลของสมาคมนักแสดงอาชีพแห่งอเมริกา มีชื่อเสียงจากการรับบท มหาตมะ คานธี ในภาพยนตร์เรื่อง Ghandhi ในปี 1982 ของริชาร์ด แอทเทนบอโร และบท อิตซัก สเติร์น ในภาพยนตร์ Schindler’s List ปี 1993 ของสตีเวน สปีลเบิร์ก เบน คิงสลีย์ เดิมมีชื่อว่า "กฤษณะ บัณฑิต พานจิ" (Krishna Pandit Bhanji) เกิดในประเทศอังกฤษ บิดาเป็นแพทย์ชาวอังกฤษเชื้อสายอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดู ซึ่งเกิดที่ประเทศเคนยา และเติบโตที่แซนซิบาร์ ประเทศแทนซาเนีย ส่วนมารดาเป็นนางแบบและนักแสดงชาวอังกฤษเชื้อสายยิว-รัสเซีย เขาเปลี่ยนชื่อเป็น เบน คิงสลีย์ ตั้งแต่ประมาณปี 1977 เมื่อเริ่มอาชีพการแสดง เพื่อหลีกเลี่ยงการเหยียดผิวหากใช้ชื่อในภาษาต่างด้าว.
ดู มหาตมา คานธีและเบน คิงสลีย์
เอ. ซี. ภักติเวทานตะ สวามี ปรภุปาทะ
อภยะ จรณารวินทะ บัคธิเวดันธะ สวะมิ พระบุพาดะ (เบงกาลี:অভয চরণারবিন্দ ভক্তিবেদান্ত স্বামীপ্রভুপাদ, สันสกฤต:अभय चरणारविन्द भक्तिवेदान्त स्वामी प्रभुपादः,อภย จรณาวินท บัคธิเวดันทะ สวะมิ พระบุพาดะ) (1 กันยายน ค.ศ.
ดู มหาตมา คานธีและเอ. ซี. ภักติเวทานตะ สวามี ปรภุปาทะ
เฮนรี เดวิด ทอโร
นรี เดวิด ทอโร ในปี 1856 เฮนรี เดวิด ทอโร (Henry David Thoreau, 12 กรกฎาคม 2360 - 6 พฤษภาคม 2405) นักเขียนและนักวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เกิดที่เมืองคองคอร์ด รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ได้รับการศึกษาที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด เมื่อจบการศึกษาในปี..
ดู มหาตมา คานธีและเฮนรี เดวิด ทอโร
เนลสัน แมนเดลา
นลสัน โรลีลาลา แมนเดลา (คอซา: Nelson Rolihlahla Mandela) เกิดวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 ที่ดินแดนปกครองตนเองทรานสไก ประเทศแอฟริกาใต้ ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในช่วงปี..
ดู มหาตมา คานธีและเนลสัน แมนเดลา
12 มีนาคม
วันที่ 12 มีนาคม เป็นวันที่ 71 ของปี (วันที่ 72 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 294 วันในปีนั้น.
18 มีนาคม
วันที่ 18 มีนาคม เป็นวันที่ 77 ของปี (วันที่ 78 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 288 วันในปีนั้น.
2 ตุลาคม
วันที่ 2 ตุลาคม เป็นวันที่ 275 ของปี (วันที่ 276 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 90 วันในปีนั้น.
30 มกราคม
วันที่ 30 มกราคม เป็นวันที่ 30 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 335 วันในปีนั้น (336 วันในปีอธิกสุรทิน).
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Mahatma Gandhiमहात्मा गांधीมหาตมะคานธีมหาตมคานธีมหาตะมะคานธีคานธี