โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภูเขาไฟ

ดัชนี ภูเขาไฟ

ูเขาไฟโบรโมและภูเขาไฟสิเมรุบนเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ภูเขาไฟ เป็นธรณีสัณฐานที่หินหนืดปะทุผ่านขึ้นมายังพื้นผิวของดาวเคราะห์ ภูเขาไฟมักเกิดขึ้นใกล้กับแนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก อย่างไรก็ตาม ยังมีภูเขาไฟที่เป็นข้อยกเว้น เรียกว่า จุดร้อนภูเขาไฟ (Volcanic Hotspot) วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับภูเขาไฟ เรียกว่า วิทยาภูเขาไฟ (vulcanology หรือ volcanology).

176 ความสัมพันธ์: บรอนโตเทอเรียมบอราบอราบันดุงฟลูออรีนฟวยร์เตเบนตูราพ.ศ. 2358พ.ศ. 2529พฤษภาคม พ.ศ. 2549พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำไคยูกังพื้นดินกลุ่มเกาะบิสมาร์กการก่อเทือกเขาการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่การอพยพฉุกเฉินการปะทุของภูเขาไฟปูเยอวย พ.ศ. 2554การปะทุแบบพลิเนียนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาคกีโตฝุ่นละอองภาพยนตร์ภัยพิบัติภูมิศาสตร์ไทยภูมิทัศน์วัฒนธรรมภูเขาฟูจิภูเขาอามางิภูเขาอารารัตภูเขาฮีโบค-ฮีโบคภูเขาในมิดเดิลเอิร์ธภูเขาโทะกะชิภูเขาโปปาภูเขาไฟกรากะตัวภูเขาไฟมายอนภูเขาไฟวิสุเวียสภูเขาไฟสตรอมโบลีภูเขาไฟฮาเลอาคาลาภูเขาไฟคีเลาเวอาภูเขาไฟตาอัลภูเขาไฟโกโตปักซีภูเขาไฟโอโคสเดลซาลาโดภูเขาไฟเมราปีภูเขาไฟเมานาโลอาภูเขาไฟเมานาเคอาภูเขาไฟเอตนาภูเขาไฟเอเรบัสภูเขาไฟเอเรอตาเลภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์ภูเขาไฟเปอเลมหาสมุทรพายุมหาสมุทรแปซิฟิกมะกอกโคกมัทมอนส์...ยอดเขาชิมโบราโซยอดเขากีลูเวยอดเขาฮะรุนะยอดเขาดามาวานด์ยอดเขาคิลิมันจาโรยอดเขาแคเมอรูนยอดเขาเอลบรุสยอดเขาเคนยายุทธการที่ฮัททินรอยเลื่อนระบบสุริยะรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศไอซ์แลนด์วัฏจักรกำมะถันวิวัฒนาการของมนุษย์วิทยาภูเขาไฟวงแหวนไฟวนอุทยานแห่งชาติพนมสวายวนอุทยานเขากระโดงสภาพแวดล้อมการสะสมของตะกอนหมู่เกาะบันดาหมู่เกาะกาลาปาโกสหมู่เกาะคะแนรีหมู่เกาะซุนดาน้อยหมู่เกาะโซไซเอตีหมู่เกาะเอโอเลียนหินภูเขาไฟหินหลอมเหลวหินหนืดหินอัคนีหุบอุกกาบาตบาร์ริงเกอร์หุ่นยนต์อัมเบรียล (ดาวบริวาร)อิซตักซีวัตล์อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งอุทยานแห่งชาติวีรูงกาอุทยานแห่งชาติอะโซะคุจูอุทยานแห่งชาติป่าหินอนุสาวรีย์สถานแห่งชาติหอเดวิลส์อนเซ็งอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 13ฮิวไมต์จังหวัดบุรีรัมย์จังหวัดมารินดูเคจังหวัดลัมปุงจังหวัดลำปางจังหวัดสุรินทร์จุดร้อนจูราสสิค เวิลด์ อาณาจักรล่มสลายธรณีพิบัติภัยธรณีวิทยาธาร์ซิสธงชาตินิการากัวถ้ำทรายดำทวีปแอนตาร์กติกาทะเลสาบปล่องภูเขาไฟทะเลสาบแทนกันยีกาทิวเขาพะโคดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟดาราศาสตร์ดาวอังคารดิอะเมซิ่งเรซ 16คลื่นสึนามิความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลกคิโย โมะงิตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลางตราแผ่นดินของคอสตาริกาตราแผ่นดินของนิการากัวตราแผ่นดินของเอลซัลวาดอร์ตุมเปิงซามูไรทรูปเปอร์ซิมซิตี 4ประเทศฟิลิปปินส์ประเทศวานูอาตูประเทศอิตาลีประเทศตองงาประเทศตุรกีประเทศไอซ์แลนด์ประเทศเซาตูเมและปรินซีปีปรากฏการณ์โลกร้อนปราสาทมาร์กัตปลาแก๊สเรือนกระจกแก๊งฉึกฉักไดโนเสาร์แอมโมเนียมคลอไรด์แอ่งภูเขาไฟรูปกระจาดแอ่งธรณีแผ่นยูเรเชียแผ่นดินไหวโลก (ดาวเคราะห์)โอลิมปัส (ภูเขาไฟ)โอลิวีนโอลีเฟอร์ คาห์นโอวะกุดะนิโตฟูอาโตเกียวดิสนีย์รีสอร์ตโตเกียวดิสนีย์ซีไฟป่าไกเซอร์ (ธรณีวิทยา)ไอโอ (ดาวบริวาร)ไฮโดรเจนซัลไฟด์เกรตริฟต์แวลลีย์เกาะภูเขาไฟเกาะรอสส์เกาะอีสเตอร์เกาะทะนากาเกาะต่ำเกาะซุมบาวาเกาะเวกเรอูนียงเสือดาวแอฟริกาเหตุการณ์การสูญพันธุ์ยุคครีเทเชียส–พาลีโอจีนเอยาฟยาตลาเยอคุตล์เอาชีวิตรอดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เจมินี่ เดฟเทรอสเถ้าภูเขาไฟเทือกเขาเทือกเขาวีรูงกาเทือกเขาอาฮักการ์เนินยอดป้าน12 เมษายน2012 วันสิ้นโลก21 สิงหาคม8 พฤษภาคม ขยายดัชนี (126 มากกว่า) »

บรอนโตเทอเรียม

รอนโตเทอเรียม (Brontotherium มีความหมายว่าสัตว์แห่งสายฟ้า) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกีบคี่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่สูญพันธุ์ไปแล้วสกุลหนึ่งในวงศ์ Brontotheriidae ซึ่งเป็นวงศ์ของสัตว์กินหญ้าที่คล้ายแรดและมีความเกี่ยวพันกับม้า สกุลนี้ได้รับการค้นพบในแถบทวีปอเมริกาเหนือในช่วงปลายของยุค Eocene ซากที่เหลือของบรอนโตเทอเรียมได้รับการค้นพบในบริเวณรัฐเซาท์ดาโคตาและเนวาดา ในอดีต ชนเผ่าซุกซึ่งเป็นชนเผ่าพื้นเมืองของอเมริกันได้ค้นพบบรอนโตเทอเรียมจากการมาของพายุฝน และเชื่อว่าเมื่อใดที่พวกมันวิ่งอยู่เหนือก้อนเมฆจะทำให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง และได้เรียกพวกมันว่าม้าแห่งสายฟ้า กระดูกที่ค้นพบโดยชนเผ่าซุกนั้นเป็นกระดูกของฝูงบรอนโตเทอเรียมที่ตายจากการระเบิดของภูเขาไฟในบริเวณเทือกเขาร็อกกีซึ่งยังมีพลังอยู่และปะทุตัวบ่อยในขณะนั้น ตาม Mihlbachler et al.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและบรอนโตเทอเรียม · ดูเพิ่มเติม »

บอราบอรา

right โบราโบร่า (Bora Bora); โบรา-โบร่า (Bora-Bora) หรือ ปอราปอรา (ตาฮีตี: Porapora) เป็นเกาะแห่งหนึ่งของหมู่เกาะโซไซเอตีในเฟรนช์โปลินีเซีย ดินแดนโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศสในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ลักษณะเป็นเกาะที่ปกคลุมไปด้วยป่าเขตร้อน มีซากภูเขาไฟหลายลูก พื้นทะเลนิ่งเพราะมีเทือกปะการังล้อมรอบเกาะ และมีหาดทรายที่สวยงาม.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและบอราบอรา · ดูเพิ่มเติม »

บันดุง

บันดุง (Bandung, ᮘᮔ᮪ᮓᮥᮀ) เป็นเมืองเอกของจังหวัดชวาตะวันตก ในประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 4 ของประเทศ อยู่สูงจากระดับน้ำทะเล 768 เมตร โดยปกติจึงมีสภาพอากาศเย็นกว่าเมืองอื่นๆ ส่วนใหญ่ของอินโดนีเซีย เมืองนี้อยู่ในเขตแม่น้ำ รายล้อมด้วยภูเขาไฟ มีลักษณะทางภูมิประเทศที่มีระบบป้องกันตัวโดยธรรมชาติเป็นอย่างดี อันเป็นเหตุผลหลักที่ครั้งหนึ่งได้มีการย้ายเมืองเอกจากปัตตาเวีย มายังบันดุง หมวดหมู่:เมืองในประเทศอินโดนีเซีย หมวดหมู่:จังหวัดชวาตะวันตก.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและบันดุง · ดูเพิ่มเติม »

ฟลูออรีน

ฟลูออรีน (Fluorine) (จากภาษาละติน Fluere แปลว่า "ไหล") เป็นธาตุเคมีที่เป็นพิษและทำปฏิกิริยาได้มากที่สุด มีสัญลักษณ์ F และเลขอะตอม 9 เป็นธาตุแฮโลเจนที่เป็นเบาที่สุดและมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีมากที่สุด มันปรากฎอยู่ในรูปของแก๊สสีเหลืองที่ภาวะอุณหภูมิและความดันมาตรฐาน ธาตุนี้ทำปฏิกิริยาได้เกือบทุกธาตุรวมทั้งแก๊สมีตระกูลบางตัว มีสมบัติเป็นอโลหะมากที่สุด (ถ้าไม่รวมแก๊สมีตระกูล).

ใหม่!!: ภูเขาไฟและฟลูออรีน · ดูเพิ่มเติม »

ฟวยร์เตเบนตูรา

ฟวยร์เตเบนตูรา (Fuerteventura) เป็นเกาะตั้งอยู่ประเทศสเปน หนึ่งในเกาะของหมู่เกาะคะแนรี ในจังหวัดลัสปัลมัส ในมหาสมุทรแอตแลนติก นอกชายฝั่งทวีปแอฟริกา ที่ละติจูด 28°20' เหนือ ลองจิจูด 14°00' ตะวันตก มีพื้นที่ 1,660 กม² เป็นเกาะใหญ่เป็นอันดับ 2 ในหมู่เกาะคะแนรี รองจากเกาะเตเนรีเฟ โดยยูเนสโกประกาศเป็นเขตสงวนชีวมณฑล เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและฟวยร์เตเบนตูรา · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2358

ทธศักราช 2358 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1815 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและพ.ศ. 2358 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและพฤษภาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำไคยูกัง

ูกัง (海遊館) เป็นพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของประเทศญี่ปุ่นและทวีปเอเชีย ตั้งอยู่ที่เท็มโปซังฮาเบอวิลเลจ (Tempozan Harbor Village) ในเมืองโอซากา มีทั้งหมด 8 ชั้น เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1990 ด้านหน้าทางเข้าพิพิธภัณฑ์มีโครงเหล็กดัดรูปปลาฉลามวาฬตัวใหญ่ ที่รายล้อมด้วยโลมาหลายตัวเป็นจุดเด่น ซึ่งไฮไลต์ภายในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ คือ.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำไคยูกัง · ดูเพิ่มเติม »

พื้นดิน

แผนที่แสดงเนื้อที่ของพื้นดินบนโลก โดยใช้เฉดสีเขียวและเหลือง พื้นดิน หรือ แผ่นดิน (Land หรือ dry land) คือ พื้นผิวที่เป็นของแข็งบนโลกซึ่งไม่ได้ครอบคลุมถึงพื้นน้ำ พื้นดินเป็นพื้นที่ประกอบกิจกรรมส่วนใหญ่ของมนุษย์ตลอดประวัติศาสตร์ซึ่งมีคุณูปการต่อการเกษตรกรรม ที่อยู่อาศัย และเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ สิ่งมีชีวิตบนพื้นดินบางชนิด เช่น พืชบกและสัตว์บก ได้พัฒนาจากสายพันธ์ดั้งเดิมซึ่งเคยอาศัยอยู่ในน้ำมาก่อน พื้นที่ซึ่งเป็นบริเวณที่พื้นดินติดกับพื้นน้ำจะถูกเรียกว่าพื้นที่ชายฝั่ง การแบ่งแยกระหว่างพื้นดินและพื้นน้ำเป็นแนวคิดพื้นฐานของมนุษย์ซึ่งแตกต่างออกไปตามเขตอำนาจในแต่ละท้องที่หรือปัจจัยอื่น ๆ เขตแดนทางทะเลเป็นตัวอย่างหนึ่งของการแบ่งแยกโดยใช้หลักทางการเมือง มีเขตแดนทางธรรมชาติหลายอย่างซึ่งช่วยในการกำหนดพื้นน้ำและพื้นดินได้อย่างชัดเจน ธรณีสัณฐานที่เป็นหินแข็งจะแบ่งแยกได้ง่ายกว่าเขตแดนที่เป็นบึงหรือแอ่งน้ำเมื่อไม่มีตำแหน่งที่ชัดเจนของบริเวณที่เป็นจุดสิ้นสุดของพื้นดินและจุดเริ่มต้นของพื้นน้ำ การแบ่งแยกอาจแตกต่างกันไปตามกระแสน้ำและสภาพอาก.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและพื้นดิน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มเกาะบิสมาร์ก

กลุ่มเกาะบิสมาร์ก (Bismarck Archipelago) เป็นกลุ่มเกาะรูปโค้งอยู่เหนือปลายด้านตะวันออกของเกาะนิวกินี ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก เป็นส่วนหนึ่งของประเทศปาปัวนิวกินี มีเนื้อที่ 49,700 ตร.กม.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและกลุ่มเกาะบิสมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

การก่อเทือกเขา

ูเขา การก่อเทือกเขา (Orogeny/Orogenesis) เป็นกระบวนการกำเนิดแนวเทือกเขาขนาดใหญ่ที่เป็นผลจากแรงดัน ในขณะเกิดการเปลี่ยนลักษณะโครงสร้างของแผ่นเปลือกโลก เช่น การเคลื่อนที่เข้าปะทะกันของแผ่นเปลือกโลก หรือ การมุดตัวของแผ่นเปลือกโลก ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้ได้ก่อให้เกิดความเค้น ขึ้นตามแนวรอยต่อระหว่างเปลือกโลกทั้งสอง ส่งผลให้เกิดมวลหินบริเวณนั้นถูกแปรสภาพและยกตัวสูงขึ้นเป็นแนวยาว เรียกว่า แดนเทือกเขา (orogenic belt) คำว่า “Orogeny” มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก คือ คำว่า oros แปลว่าภูเขา และ genesis ที่แปลว่าการเกิด หรือกำเน.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและการก่อเทือกเขา · ดูเพิ่มเติม »

การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่

ำลองเหตุการณ์ดาวเคราะห์น้อยพุ่งเข้าชนโลก เมื่อ 65 ล้านปีที่แล้ว การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ (mass extinction) เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เป็นข้อสันนิษฐานว่า เป็นสาเหตุให้สิ่งมีชีวิตบนโลกหลากชนิดหลายสายพันธุ์ต้องสูญพันธุ์ไปในเวลาพร้อมๆกันหรือไล่เลี่ยกัน เหตุการณ์การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ ไม่ได้เกิดขึ้นแค่เพียงครั้งเดียว ในช่วง ยุคครีเตเชียส (Cretaceous) ซึ่งเป็นยุคที่ไดโนเสาร์เป็นสิ่งมีชีวิตอันดับบนสุดของห่วงโซ่อาหารอย่างที่คนทั่วไปเข้าใจ หากแต่การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่เคยเกิดขึ้นมาแล้วหลายครั้ง การประเมินระยะเวลาการเกิดเหตุการณ์ ทำโดยการวินิจฉัยจากซากฟอสซิลจากทะเลเป็นส่วนใหญ่ เนื่องมาจากว่าสามารถ ค้นพบได้ง่ายกว่าฟอสซิลที่อยู่บนบก เหตุการณ์การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ที่เป็นที่สนใจและผู้คนทั่วไปรู้จักกันดีที่สุดคือ เหตุการณ์การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ในช่วงยุคครีเตเชียส (Cretaceous) เมื่อราว 65 ล้านปีที่แล้ว ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ไดโนเสาร์ขนาดใหญ่สูญพันธุ์ทั้งหมด เมื่อทำการศึกษาพบว่าตั้งแต่ 550 ล้านปีก่อนเป็นต้นมา ได้เกิดการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ขึ้นทั้งหมดประมาณ 5 ครั้ง ซึ่งทำให้สิ่งมีชีวิตสูญพันธุ์ไปราวๆ 50% ของทั้งหมด เนื่องจากระยะเวลาที่เกิดขึ้นนานมาก การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ก่อนหน้ายุคครีเตเชียสมักลำบากในการศึกษารายละเอียด เพราะหลักฐานซากฟอสซิลสำหรับตรวจสอบมีหลงเหลือน้อยมาก.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

การอพยพฉุกเฉิน

การอพยพฉุกเฉิน (Emergency evacuation) หมายถึง การเคลื่อนย้ายประชากรอย่างรวดเร็วและเร่งด่วน เนื่องจากเกิดภัยธรรมชาติหรือภัยอันตรายอย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น โดยสามารถมีขอบเขตได้ตั้งแต่การอพยพขนาดเล็ก เช่น อพยพผู้คนในอาคารที่ถูกเพลิงไหม้ ไปจนถึงการอพยพขนาดใหญ่ เช่น การอพยพเนื่องจากอุทกภั.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและการอพยพฉุกเฉิน · ดูเพิ่มเติม »

การปะทุของภูเขาไฟปูเยอวย พ.ศ. 2554

ทางอากาศของกลุ่มเมฆเถ้าที่ปรากฏในวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2554 การปะทุของภูเขาไฟปูเยอว..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและการปะทุของภูเขาไฟปูเยอวย พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การปะทุแบบพลิเนียน

แผนภาพการปะทุแบบพลิเนียน(1) เถ้าปะทุ(2) ปล่องหินหนืด(3) เถ้าตก(4) ชั้นทับถมของหินหลอมและเถ้า(5) ชั้นหิน(6) โพรงหินหนืด การปะทุแบบพลิเนียน (Plinian eruption) คือ รูปแบบการปะทุของภูเขาไฟที่มีต้นแบบจากการปะทุของภูเขาไฟวิสุเวียสเมื่อปี ค.ศ. 79 ซึ่งทำลายเมืองปอมเปอีและเฮอร์คิวเลเนียมของจักรวรรดิโรมัน คำว่าพลิเนียนถูกตั้งตามชื่อพลินีผู้เยาว์ ผู้บรรยายลักษณะการปะทุของภูเขาไฟวิสุเวียสไว้ในจดหมายฉบับหนึ่ง และผู้ซึ่งลุงของเขา พลินีผู้อาวุโส เสียชีวิตจากเหตุการณ์ครั้งนี้ การปะทุแบบพลิเนียนมีลักษณะเด่น ได้แก่ การเกิดลำก๊าซและเถ้าภูเขาไฟตั้งสูงขึ้นไปในบรรยากาศชั้นสตราโทสเฟียร์ ซึ่งเป็นบรรยากาศชั้นที่สองของโลก การขับหินพัมมิสออกจากปากปล่องในปริมาณมาก และการปะทุเป่าก๊าซออกมาอย่างต่อเนื่องและรุนแรง เมื่อเทียบระดับความรุนแรงตามดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟ (Volcanic Explosivity Index; VEI) การปะทุแบบพลิเนียนจะมีค่าดัชนีอยู่ระหว่าง 4-6 นอกจากนี้ยังมีการกำหนดการปะทุแบบ "ซับพลิเนียน" (sub-Plinian) มีระดับความรุนแรง 3 หรือ 4 และแบบ "อัลตราพลิเนียน" (ultra-Plinian) มีระดับความรุนแรง 6-8 การปะทุแบบสั้นอาจจบได้ภายในวันเดียว การปะทุแบบยาวอาจดำเนินตั้งแต่หลายวันจนถึงหลายเดือน ซึ่งการปะทุแบบยาวจะเริ่มต้นด้วยการก่อตัวของเมฆเถ้าภูเขาไฟและบางครั้งก็เกิดการไหลไพโรคลาสติก หินหนืด (แมกมา) อาจถูกพ่นออกมาจากโพรงหินหนืดใต้ภูเขาไฟจนหมด ทำให้ยอดภูเขาไฟยุบตัวลงเกิดเป็นแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด (caldera) ส่วนเถ้าละเอียดอาจตกลงมาทับถมกันเป็นบริเวณกว้าง และบ่อยครั้งที่การปะทุแบบพลิเนียนทำให้เกิดเสียงดังมาก เช่นจากการปะทุของภูเขาไฟกรากะตัวในอินโดนีเซียเมื่อปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและการปะทุแบบพลิเนียน · ดูเพิ่มเติม »

การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค

แผนที่แสดงแผ่นเปลือกโลก แผ่นเปลือกโลก การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค (plate tectonics; มาจากภาษากรีก: τέκτων, "tektōn" แปลว่า "ผู้สร้าง") เป็นทฤษฎีเชิงธรณีวิทยาที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่ออธิบายถึงหลักฐานจากการสังเกตการเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกขนาดใหญ่ โดยทฤษฎีนี้ได้พัฒนาต่อยอดจากทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีปเดิมที่ถูกเสนอขึ้นมาระหว่าง พ.ศ. 2443-2493 ทฤษฎีธรณีแปรสัณฐานนี้ได้รับการยอมรับเป็นที่แพร่หลายหลังจากการเสนอแนวคิดที่เกี่ยวกับการกระจายของพื้นทะเลในคริสต์ทศวรรษที่ 1960 (ช่วงต้น พ.ศ. 2500) โครงสร้างส่วนนอกของโลกนั้นแบ่งตามคุณสมบัติของชั้นหินต่อคลื่นไหวสะเทือนได้สองชั้น ชั้นที่อยู่นอกสุดคือชั้นธรณีภาคชั้นดินแข็ง (lithosphere) อันประกอบด้วยเปลือกโลกและเนื้อโลก (mantle) ชั้นบนซึ่งมีอุณหภูมิต่ำและแข็งเกร็ง ชั้นล่างลงไปคือชั้นฐานธรณีภาคชั้นดินอ่อน (asthenosphere) ซึ่งมีสถานะเป็นของแข็งแต่มีความยืดหยุ่นค่อนข้างต่ำและขาดความแข็งแรง อีกทั้งยังสามารถเคลื่อนที่ได้คล้ายของเหลวเมื่อพิจารณาในช่วงระยะเวลาเชิงธรณีวิทยา ชั้นแมนเทิลที่อยู่ลึกลงไปภายใต้ชั้นดินอ่อนนั้นจะมีความแข็งมากขึ้นอีกครั้ง กระนั้นความแข็งดังกล่าวไม่ได้มาจากการเย็นลงของอุณหภูมิ แต่เนื่องมาจากความดันที่มีอยู่สูง ธรณีภาคแบ่งเป็นแผ่นเปลือกโลกหลายแผ่นประกอบกัน ในกรณีของโลกสามารถแบ่งเป็นแผ่นขนาดใหญ่ได้เจ็ดแผ่น และแผ่นขนาดเล็กอีกจำนวนมาก แผ่นเปลือกโลกเหล่านี้เคลื่อนที่สัมพันธ์กับแผ่นเปลือกโลกอื่นๆ ขอบของเปลือกโลกสามารถแบ่งได้เป็นสามประเภทตามลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกสัมพัทธ์ของแผ่นเปลือกโลกสองแผ่นนั้น คือ ขอบเปลือกโลกที่มีการชนกันหรือบรรจบกัน, ขอบเปลือกโลกที่มีการแยกตัวออกจากกันหรือกระจายจากกัน และขอบเขตที่มีการแปลงสภาพ ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาต่างๆ ได้แก่แผ่นดินไหว, ภูเขาไฟปะทุ, การก่อตัวของภูเขา และการเกิดขึ้นของเหวสมุทรนั้นจะเกิดขึ้นพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของขอบเขตแผ่นดิน การเคลื่อนตัวด้านข้างของแผ่นดินนั้นมีอัตราเร็วอยู่ระหว่าง 0.66 ถึง 8.50 เซนติเมตรต่อปี.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค · ดูเพิ่มเติม »

กีโต

กีโต (Quito) หรือชื่อทางการคือ ซานฟรันซิสโกเดกีโต (San Francisco de Quito) เป็นเมืองหลวงของประเทศเอกวาดอร์ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้ ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ในแอ่งแม่น้ำกวายาบัมบาบนเนินเขาปีชินชา (15,728 ฟุต; 4,794 เมตร) ภูเขาไฟที่ยังทรงพลังในเทือกเขาแอนดีส ความสูงของเมืองที่ 9,300 ฟุต (2,850 เมตร) เหนือระดับน้ำทะเล (วัดจากปลาซาเดลาอินเดเปนเดนเซีย - Plaza de la Independencia) ทำให้กีโตเป็นเมืองหลวงที่ตั้งอยู่สูงที่สุดเป็นอันดับสองในโลก จากการสำรวจในปี พ.ศ. 2544 เมืองนี้มีประชากร 1,399,378 คน และมีพื้นที่ประมาณ 112 ตารางไมล์ (290 ตารางกิโลเมตร) Plaza de San Francisco, Quito เนื่องจากระดับความสูงและที่ตั้งของเมืองนี้ ทำให้ภูมิอากาศของเมืองมีลักษณะเย็น และค่อนข้างคงที่ตลอดทั้งปี โดยมีอุณหภูมิสูงสุด 67 องศาฟาเรนไฮต์ (20 องศาเซลเซียส) และลดต่ำลงที่ 49 องศาฟาเรนไฮต์ (10 องศาเซลเซียส) ในเวลากลางคืน เมืองนี้มีเพียงสองฤดูกาลเท่านั้นคือ ฤดูร้อน (ฤดูแห้ง) และฤดูหนาว (ฤดูฝน) กรุงกีโตเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสองของเอกวาดอร์ รองจากเมืองกวายากิล กรุงกีโตเป็นเมืองเก่าตั้งอยู่บนภูเขา คนที่นี่เป็นชาวสเปนกับชาวอินเดียนผสมกัน ใช้เงินสกุล USD.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและกีโต · ดูเพิ่มเติม »

ฝุ่นละออง

นีตรวจมลพิษทางอากาศ ที่เมือง เอมเด็น ประเทศเยอรมนี ฝุ่นละออง หรือ ละอองธุลี คือ ของแข็งขนาดเล็กที่ลอยอยู่ในอากาศหรือน้ำ ซึ่งเกิดจากธรรมชาติหรือมนุษย์โดยนับเป็นมลพิษทางอากาศและมลพิษทางน้ำประเภทหนึ่ง ฝุ่นละอองมีที่มาหลากหลายทั้งจากธรรมชาติ อาทิเช่น ภูเขาไฟ พายุทราย ไฟป่า ไอเกลือ หรือการกระทำของมนุษย์เช่น ไอของเสียจากรถยนต์ โรงงานไฟฟ้า โรงงานอุตสาหกรรม รวมไปถึง การเผาหญ้า และการเผาป่า ในประเทศกำลังพัฒนาฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นมักจะเกิดจากโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้าจากถ่านหิน ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศจำนวนมากส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์ ก่อให้เกิดปัญหาหลากหลายเช่น โรคทางเดินหายใจ โรคหัวใจ โรคปอด รวมไปถึงมะเร็งปอด ซึ่งสามารถป้องกันได้ด้วยพวกตัวกรองแบบต่างๆ เช่น หน้ากาก การกำจัดฝุ่นละอองนั้น ฝุ่นละอองที่มีขนาดใหญ่จะตกอยู่บนพื้นตามแรงโน้มถ่วงของโลก ขณะที่ฝุ่นขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร (PM10) จะลอยอยู่ในอากาศได้หลายสัปดาห์ และจะถูกกำจัดโดยฝนหรือหยาดน้ำฟ้าประเภทอื่น.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและฝุ่นละออง · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ภัยพิบัติ

2012'' ภาพยนตร์แนวภัยพิบัติซึ่งออกฉายในปี 2009 ภาพยนตร์ภัยพิบัติ หรือ ภาพยนตร์หายนะ (Disaster film) เป็นประเภทของภาพยนตร์ประเภทหนึ่ง มีเนื้อหาเกี่ยวภัยพิบัติหรืออุบัติการณ์ต่าง ๆ เช่น แผ่นดินไหว, อุบัติเหตุ, น้ำท่วม, ภูเขาไฟระเบิด, พายุ, ไฟไหม้ หรือแม้แต่การจู่โจมของสิ่งที่มีอยู่ในจินตนาการเช่น สัตว์ประหลาด หรือมนุษย์ต่างดาว ภาพยนตร์ในแนวภัยพิบัตินี้ มียุคที่ได้ชื่อว่าเป็นยุคทองในคริสต์ทศวรรษ 1970 เมื่อมีภาพยนตร์หลายเรื่องจากฮอลลีวู้ดได้ออกฉายและได้รับความนิยม ประสบความสำเร็จ เช่น Airport (1970) ที่มีชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ถึง 10 รางวัล จึงเป็นที่มาของอีกหลายเรื่อง เช่น The Poseidon Adventure (1972), Earthquake (1974) หรือ The Towering Inferno (1974) หรือแม้กระทั่งฉากการทำลายดาวทั้งดวงก็เกิดมาจากความหวาดกลัวอาวุธนิวเคลียร์ในยุคสงครามเย็นใน Star Wars (1977) ภาพยนตร์ภัยพิบัติกลับมาได้รับความนิยมอีกครั้งในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1990 เมื่อมีภาพยนตร์อีกหลายเรื่องในช่วงนี้ที่ได้รับความนิยมและประสบความสำเร็จ เช่น Twister (1996), Independence Day (1996), Titanic (1997), Hard Rain (1998), Godzilla (1998) และรวมถึงบางเรื่องที่มีเนื้อหาคล้ายคลึงกันและยังเข้าฉายในเวลาเดียวกัน เป็นเสมือนคู่แข่งกัน เช่น Dante's Peak (1997) กับ Volcano (1997) ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับภูเขาไฟระเบิดEbert, Roger (25 April 1997).

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภาพยนตร์ภัยพิบัติ · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์ไทย

แผนที่ประเทศไทย ประเทศไทยมีพื้นที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ใจกลางคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตำแหน่งที่ตั้งของประเทศได้มีอิทธิพลต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย ประเทศไทยยังเป็นเส้นทางทางบกเพียงทางเดียวจากทวีปเอเชียไปยังประเทศมาเลเซียและประเทศสิงคโปร.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูมิศาสตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิทัศน์วัฒนธรรม

มรดกโลก หุบเขาเดรสเดน อเลเบ เยอรมนีที่ยูเนสโกถือว่าเป็น "ตัวอย่างที่ดีเด่นของการใช้ที่ดินทีเป็นตัวอย่างการพัฒนาเมืองของยุโรปกลาง" เป็นเมืองที่มีประชากรมากถึงครึ่งล้านคน ภูมิทัศน์วัฒนธรรม (Cultural landscape) คือพื้นที่ที่ได้รับการนิยามไว้โดยกรรมาธิการมรดกโลกว่าเป็นพื้นที่เด่นทางภูมิศาสตร์ หรือทรัพย์สินที่ “...เป็นตัวแทนของธรรมชาติและผลงานของมนุษย์” ที่มีลักษณะเด่นเฉพาะ แนวคิดนี้เกิดจากการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาขึ้นในแวดวงของมรดกโลกนานาชาติ (ยูเนสโก) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของความพยายามระหว่างประเทศที่จะไกล่เกลี่ยปรองดอง “...คติ “ทวินิยมแห่งธรรมชาติและวัฒนธรรม” ที่โด่งดังแพร่หลายมากในโลกตะวันตก กรรมาธิการมรดกโลกได้บ่งชี้และรับรองประเภทของภูมิทัศน์วัฒนธรรมไว้ 3 ประเภท ได้แก่ (1) ภูมิทัศน์ที่เกิดจากการจงใจของมนุษย์ (2) ภูมิทัศน์ทั้งหมดที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ทั้งด้วยความจงใจทำ และไม่ได้จงใจทำ และ (3) ภูมิทัศน์ที่มีร่องรอยการปรุงแต่งโดยมนุย์น้อยที่ (แต่มีคุณค่าสูง) ภูมิทัศน์วัฒนธรรมที่คัดจาก “แนวทางปฏิบัติของกรรมาธิการ” มีดังนี้: (1) “ภูมิทัศน์ที่ได้รับการออกแบบและสรรค์สร้างอย่างจงในโดยมนุษย์” (2) “ภูมิทัศน์ที่มีวิวัฒนาการมาในเชิงอินทรีย์” (organically evolved) ซึ่งอาจเป็น “ภูมิทัศน์แผ่นดินร้าง” (หรือซากดึกดำบรรพ์) หรือ “ภูมิทัศน์ต่อเนื่อง” (continuing landscape) (3) “ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเชิงเชื่อมโยง” (associative cultural landscape) ที่อาจมีคุณค่าทาง “ศาสนา ศิลปะหรือที่เชื่อมโยงทางวัฒนธรรมกับองค์ประกอบทางธรรมชาติ”.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูมิทัศน์วัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาฟูจิ

ูเขาไฟฟูจิ (Fuji Mountain) เป็นภูเขาที่สูงที่สุดใน ประเทศญี่ปุ่น ราว 3,776 เมตร (12,388 ฟุต) ตั้งอยู่บริเวณ จังหวัดชิซุโอะกะ และ จังหวัดยะมะนะชิ ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของ โตเกียว พื้นที่โดยรอบ ประกอบด้วย ทะเลสาบฟูจิทั้งห้า อุทยานแห่งชาติฟุจิ-ฮะโกะเนะ-อิซุ และ น้ำตกชิระอิโตะ โดยในวันที่อากาศแจ่มใสสามารถมองเห็นจาก โตเกียว ได้ ในปัจจุบันภูเขาได้ถูกจัดโดยนักวิทยาศาสตร์อยู่ในลักษณะของภูเขาไฟที่มีโอกาสปะทุต่ำ ระเบิดครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2250 (ค.ศ. 1707) ยุคเอะโดะ ภูเขาไฟฟูจิ มีชื่อในภาษาญี่ปุ่นว่า "ฟูจิซัง" ซึ่งในหนังสือในสมัยก่อนเรียกว่า "ฟูจิยะมะ" เนื่องจากตัวอักษรคันจิตัวที่ 3 (山) สามารถอ่านได้ 2 แบบทั้ง "ยะมะ" และ "ซัง".

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาฟูจิ · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาอามางิ

ูเขาอามางิ เป็นแนวภูเขาไฟในบริเวณตอนกลางของคาบสมุทรอิสุ ในจังหวัดชิซุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นแนวแบ่งเขตระหว่างเมืองอิสุกับหมู่บ้านฮิงาชิ-อิสุ บางครั้งอาจเรียกว่าแนวเทือกเขาอามางิ ภูเขาอามางิมียอดเขาหลายยอด ยอดที่สูงที่สุดคือยอดบันซาบูโรดาเกะ ที่ความสูง 1,406 เมตร และยอดบันจิโรดะเกะ ที่ความสูง 1,300 เมตร จึงทำให้เป็นสถานที่ที่ได้รับความนิยมจากนักปีนเขา และติดอันดับใน 100 ภูเขาที่มีชื่อเสียงในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาอามางิ · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาอารารัต

right ภูเขาอารารัต (Mount Ararat) ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศตุรกีใก้ลกับพรมแดนประเทศอิหร่าน ลักษณะเป็นภูเขาไฟที่มียอดแหลมบนยอดปกคลุมไปด้วยหิมะ มีความสูง 5,137 เมตร เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในประเทศตุรกี หมวดหมู่:ภูเขาในประเทศตุรกี.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาอารารัต · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาฮีโบค-ฮีโบค

ูเขาฮีโบค-ฮีโบค หรือ ภูเขาไฟคาตาร์มัน.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาฮีโบค-ฮีโบค · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาในมิดเดิลเอิร์ธ

ในปกรณัมชุด เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ทั้งทวีปมิดเดิลเอิร์ธ และทวีปอามัน ตลอดจนถึงดินแดนอื่นๆ ทั่วพิภพอาร์ดา มีเทือกเขาใหญ่น้อยมากมาย ต่อไปนี้เป็นรายชื่อภูเขาหรือเทือกเขาที่สำคัญ.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาในมิดเดิลเอิร์ธ · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาโทะกะชิ

250px ภูเขาโทะกะชิ เป็นภูเขาไฟกรวยสลับชั้นที่ยังไม่ดับ ตั้งอยู่ในบริเวณอุทยานแห่งชาติไดเซะสึซัง จังหวัดฮกไกโด ประเทศญี่ปุ่น มีความสูง 2,077 เมตร เป็นภูเขาที่สูงที่สุดในกลุ่มภูเขาไฟโทะกะชิ และเป็นหนึ่งในร้อยภูเขาที่มีชื่อเสียงที่สุดในประเทศญี่ปุ่น มีเส้นทางปีนเขาขึ้นสู่ยอดเสาสี่เส้นทาง เบื้องล่างรายล้อมไปด้วยสถานพักแรมและบ่อน้ำพุร้อนธรรมชาต.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาโทะกะชิ · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาโปปา

ูเขาโปปา เป็นภูเขาไฟสูง 1,518 เมตร (4,981 ฟุต) จากระดับน้ำทะเล ตั้งอยู่ในเขตมัณฑะเลย์ ภาคกลางของพม่า ประมาณ ทางตะวันออกเฉียงใต้จากพุกาม บริเวณเทือกเขาพะโค ในสภาพอากาศที่ชัดเจนสามารถมองเห็นได้จากแม่น้ำอิระวดี จากระยะ ภูเขาโปปาเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในฐานะที่ตั้งของศาล นะ วัดและสถานที่เก็บโบราณวัตถุบนยอ.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาโปปา · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟกรากะตัว

ูเขาไฟกรากาตัวระหว่างการปะทุในปี ค.ศ. 2008 การเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่รอบเกาะกรากาตัว กรากาตัว (Krakatoa) หรือ กรากาเตา (Krakatau) เป็นชื่อภูเขาไฟที่ตั้งอยู่บนเกาะชื่อเดียวกัน การระเบิดครั้งใหญ่ของภูเขาไฟลูกนี้ก่อให้เกิดความหายนะครั้งใหญ่ในประเทศอินโดนีเซีย และเหตุการณ์นี้เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาไฟกรากะตัว · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟมายอน

250px ภูเขาไฟมายอน (Mayon Volcano) ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศฟิลิปปินส์ บนเกาะลูซอน อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติ ภูเขาไฟมายอนเป็นภูเขาไฟที่ยังไม่ดับ เคยเกิดระเบิดมาแล้ว 40 ครั้ง ในรอบ 400 ปีที่ผ่านมา รูปทรงภูเขาเป็นรูปสมมาตรที่สวยงาม มีความสูง 2,462 เมตร โดยครั้งล่าสุดเกิดระเบิดขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาไฟมายอน · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟวิสุเวียส

right ภูเขาไฟวิสุเวียส (Mount Vesuvius) ตั้งอยู่ใกล้กับเมืองเนเปิลส์ เหนืออ่าวเนเปิลส์ ประเทศอิตาลี เป็นภูเขาไฟที่ยังไม่ดับเพียงแห่งเดียวในแผ่นดินใหญ่ยุโรป มีความสูง 1,281 เมตร ปากปล่องมีเส้นรอบวง 1,400 เมตร ลึก 216 เมตร การระเบิดครั้งที่มีชื่อเสียงเกิดขึ้นในวันที่ 24 สิงหาคม ปี พ.ศ. 622 (ค.ศ. 79) เถ้าถ่านได้ทับถมเมืองปอมเปอีและเฮอร์คิวเลเนียมทั้งเมือง แต่การระเบิดครั้งล่าสุดเกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2487 (ค.ศ. 1944) วิสุเวียส วิสุเวียส วิสุเวียส หมวดหมู่:แคว้นคัมปาเนีย.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาไฟวิสุเวียส · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟสตรอมโบลี

ูเขาไฟสตรอมโบลี (Struògnuli, ภาษากรีกโบราณ: Στρογγύλη, Strongulē) เป็นเกาะขนาดเล็กในทะเลติร์เรเนียนนอกชายฝั่งทางเหนือของซิซิลี เป็นหนึ่งในสามของภูเขาไฟมีพลังในอิตาลี สตรอมโบลีเป็นหนึ่งในแปดเกาะของหมู่เกาะเอโอเลียนซึ่งเกาะภูเขาไฟรูปโค้งทางเหนือของซิซิลี ชื่อของสตอมโบลีมาจากภาษากรีกโบราณคำว่า Strongulē ที่ตั้งตามลักษณะลักษณะกลมพองของมัน เกาะแห่งนี้มีประชากรอาศัยอยู่ราว 500 คน ภูเขาไฟลูกนี้ปะทุค่อนข้างบ่อยและมีกิจกรรมทางภูเขาไฟกับปะทุเล็ก ๆ เป็นระยะ ๆ บ่อยครั้งสามารถสังเกตได้จากหลายจุดบนเกาะและจากทะเลโดยรอบ ทำให้ตั้งชื่อเล่นให้เกาะนี้ว่า "ประภาคารแห่งเมดิเตอร์เรเนียน" การปะทุหลักครั้งล่าสุดของสตอมโบลีปะทุในวันที่ 13 เมษายน..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาไฟสตรอมโบลี · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟฮาเลอาคาลา

right ภูเขาไฟฮาเลอาคาลา(Haleakala) คำว่าฮาเลคาลา มาจาภาษาโพลินีเซียน หมายความว่า "บ้านแห่งพระอาทิตย์" มีความสูงกว่า 3000 เมตร ตั้งอยู่บนเกาะเมาอีซึ่งเป็นเกาะใหญ่อันดับสองในหมู่เกาะฮาวาย บนยอดภูเขาไฟเป็นหุบเขาขนาดใหญ่และเป็นอุทยานแห่งชาติฮาเลอาคาลานับเป็นหุบภูเขาไฟที่สูงและใหญ่ที่สุดในโลก หุบภูเขาไฟมีเส้นรอบวงกว้างถึง 32 กิโลเมตร ซึ่งต่างจากภูเขาไฟอื่น เพราะว่าแต่ละด้านไม่เท่ากัน ทางด้านตะวันออกจะถูกกัดกร่อนมากกว่าจนเป็นหุบเขา ปากหุบเขากว้าง 11 กิโลเมตร มีเนื้อที่บนหุบเขากว่า 49 ตารางกิโลเมตร ประกอบไปด้วยป่า ทะเลทราย ทุ่งหญ้าปศุสัตว์ และทะเลสาบ ทางด้านตะวันตกและด้านใต้เป็นพื้นที่แห้งแล้ง พื้นผิวเป็นทรายหลากสี มีกองเถ้าสีแดงรวม 16 กอง ตั้งกระจายรอบๆ บางเถ้าสูงกว่า 306 เมตร ภูเขาไฟฮาเลอาคาลา ระเบิดครั้งสุดท้ายเมื่อปี.ศ 1790 อุณหภูมิเฉลี่ยบนยอดเขา 5-15 องศา อาการเย็นสบายตลอดปี.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาไฟฮาเลอาคาลา · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟคีเลาเวอา

ูเขาไฟคีเลาเวอา เป็นภูเขาไฟรูปโล่และเป็นภูเขาไฟมีพลังในเกาะฮาวาย เป็นหนึ่งในภูเขาไฟ 5 ลูกที่ประกอบกันเป็นเกาะฮาวาย (อีก 4 ลูกมีเมานาโลอา เมานาเคอา โคฮาลา ฮูอาลาไล) ตั้งอยู่แนวชานฝั่งทางตอนใต้ของเกาะมีอายุระหว่าง 300,000 ถึง 600,000 ปี ยอดของภูเขาไฟลูกนี้โผล่พ้นระดับน้ำทะเลเมื่อประมาณ 100,000 ปีก่อน คีเลาเวอาเป็นภูเขาไฟที่อายุน้อยที่สุดเป็นอันสองของจุดร้อนฮาวายและเป็นจุดปะทุของเทือกเขาใต้ทะเลฮาวาย–เอมเพอเรอะ ในอดีตภูเขาไฟลูกนี้ไม่มีความโดดเด่นด้านภูมิประเทศและกิจกรรมในอดีตต่าง ๆ ก็เกิดขึ้นพร้อมกับภูเขาไฟเมานาโลอาทำให้คิดคีเลาเวอาอาจเป็นแอ่งภูเขาไฟขนาดเล็กของภูเขาไฟที่ใหญ่กว่า โครงสร้างของคีเลาเวอานั้นมีขนาดใหญ่แอ่งภูเขาไฟบนยอดของมันเพิ่งเกิดขึ้นมาไม่นานและมีเขตเขาทรุด 2 แห่งที่ยังเคลื่อนไหวโดยที่หนึ่งแผ่ขยายเป็นระยะทาง 125 ก.ม.ทางตะวันออกส่วนอีกที่ 35 ก.ม.ทางตะวันตก ซึ่งทั้ง 2 แห่งนี้เกิดจากรอยเลื่อนที่ยังคงมีพลังความลึกของเขาทรุดจะลึกลงเฉลี่ย 2 ถึง 20 มม.ต่อปี คีเลาเวอามีการปะทุขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาไฟคีเลาเวอา · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟตาอัล

ูเขาไฟตาอัล ภูเขาไฟตาอัล (Taal Volcano) เป็นกลุ่มภูเขาไฟอยู่บนเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ มีลักษณะเป็นแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาดอยู่บนเกาะเล็ก ๆ กลางทะเลสาบตาอัล อยู่ทางตอนใต้ของเกาะลูซอน ในเขตจังหวัดบาตังกัส ห่างจากกรุงมะนิลา 50 กิโลเมตร เนื่องจากมีลักษณะเป็นแอ่งภูเขาไฟโผล่ขึ้นกลางทะเลสาบ บางครั้งจึงเรียกภูเขาไฟนี้ว่า "เกาะภูเขาไฟ" (Volcano Island) เนื่องจากภูเขาไฟนี้ยังมีการปะทุอย่างรุนแรงอยู่เสมอ และมีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก จึงถูกกำหนดเป็นสถานที่ห้ามประชาชนตั้งถิ่นฐาน การปะทุครั้งรุนแรงที่สุดเกิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาไฟตาอัล · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟโกโตปักซี

ูเขาไฟโกโตปักซี (Cotopaxi) ตั้งอยู่ในประเทศเอกวาดอร์ ห่างจากเมืองหลวงกีโตเพียง 48 กิโลเมตร บนเทือกเขาแอนดีส ภูเขาไฟโกโตปักซีเป็นภูเขาไฟที่ยังไม่ดับที่อยู่สูงที่สุดในโลก มีความสูงกว่า 5,896 เมตร ปากกรวยมีรูปร่างสมมาตรทุกด้านบนยอดเขามีหิมะปกคลุมตลอดปี ระเบิดครั้งสุดท้ายเมื่อปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาไฟโกโตปักซี · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟโอโคสเดลซาลาโด

right ภูเขาไฟโอโคสเดลซาลาโด (Ojos del Salado) ตั้งอยู่ในเทือกเขาแอนดีส ในเขตรอยต่อประเทศชิลีและอาร์เจนตินา เป็นภูเขาไฟที่สูงเป็นอันดับสองในเทือกเขาแอนดีส และเป็นภูเขาที่สูงที่สุดในประเทศชิลี มีความสูง 6,893 ตั้งอยู่ทางเหนือของยอดเขาอากอนกากวา 600 กิโลเมตร อโคโส เดล ซาลาโด อโคโส เดล ซาลาโด อโคโส เดล ซาลาโด อโคโส เดล ซาลาโด.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาไฟโอโคสเดลซาลาโด · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟเมราปี

มราปี ภูเขาเมราปี (Mount Merapi, ชวา: Gunung Merapi ความหมาย ภูเขาไฟ) เป็นภูเขาไฟในชวากลาง ประเทศอินโดนีเซีย สูง 2,914 ม. ชื่อ เมราปี มาจากคำสองคำคือ คำว่า "เมรุ" จากภาษาสันสกฤต หมายถึง "ภูเขา" คือภูเขากลางจักรวาลตามคติฮินดู กับคำว่า "อาปี" ที่แปลว่า "ไฟ" รวมกันมีความหมายว่า "ภูเขาไฟ" ภูเขาไฟเมราปิเป็นหนึ่งในจำนวนภูเขาไฟ 129 ลูกในอินโดนิเชียที่ยังคุกรุ่นอยู่ การระเบิดของมันเมื่อ พ.ศ. 2537 ได้คร่าชีวิตผู้คนไป 70 ราย ขณะที่การระเบิดใน พ.ศ. 2473 มีผู้เสียชีวิตถึง 1,300 ราย จากนั้นระเบิดเมื่อ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 เมื่อเวลา 5.40 น. ตามเวลาท้องถิ่น.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาไฟเมราปี · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟเมานาโลอา

ูเขาไฟเมานาโลอา (Mauna Loa) เป็นภูเขาไฟที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ในฮาวาย สหรัฐอเมริกา จัดเป็นภูเขาไฟมีพลัง เกิดการระเบิดทุกๆ 3 ปีครึ่ง การระเบิดครั้งล่าสุดเมื่อ พ.ศ. 2527 เมานาโลอาเป็นภาษาฮาวาย แปลว่า Long Mountain เป็นภูเขาไฟที่มีปริมาตรประมาณ 18,000 คิวบิกไมล์ (75,000 km³) เมื่อประกอบกับภูเขาไฟอีก 4 ลูกคือคีเลาเวอา เมานาเคอา โคฮาลา ฮูอาลาไลรวมเป็นเกาะฮาวาย ภูเขาไฟเมานาโลอามีเนื่อที่ประมาณ 5,180 ตารางกิโลเมตร อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติฮาวาย ภูเขาไฟเมานาโลอาจะระเบิดทุก ๆ 3 ปีครึ่ง ยอดเขาเมานาโลอามีความสูงวัดจากระดับน้ำทะเล 4,170 เมตร เป็นอันดับสองของเกาะฮาวายรองจากยอดเขาเมานาเคอาซึ่งสูงกว่าประมาณ 120 ฟุต (37 เมตร) แต่เมื่อวัดความสูงจากฐานส่วนที่จมอยู่ใต้ทะเลอีกประมาณ 5 กิโลเมตร จะเป็นภูเขาไฟที่ยังไม่ดับที่สูงที่สุดในโลกคือจะสูงกว่า 9 กิโลมตรและสูงกว่ายอดเขาเอเวอเรสต.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาไฟเมานาโลอา · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟเมานาเคอา

มานาเคอา เมื่อมองจาก โคฮาลา แผนที่ของเกาะฮาวาย กล้องโทรทรรศน์ Subaru, Keck I, II และกล้องอินฟราเรดของนาซา ภูเขาไฟเมานาเคอา (Mauna Kea) เป็นภูเขาไฟที่สงบแล้ว ตั้งอยู่ในรัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา เป็นภูเขาหนึ่งในห้าลูกที่ประกอบกันเป็นเกาะฮาวาย โดยภูเขาอีกสี่ลูก คือ ภูเขาไฟโคฮาลา ภูเขาไฟฮูอาลาไล ภูเขาไฟเมานาโลอา ภูเขาไฟคีเลาเวอา เมานาเคอามีความสูงวัดจากระดับน้ำทะเล 13,796 ฟุต หรือ 4,205 เมตร สูงที่สุดในเกาะฮาวาย โดยสูงกว่ายอดเขาเมานาโลอาประมาณ 120 ฟุต (37 เมตร) เมานาเคอามีความสูงวัดจากฐานส่วนที่จมอยู่ใต้มหาสมุทรแปซิฟิกอีกประมาณ 19,000 ฟุต (5,800 เมตร) เมื่อรวมกันแล้วเมานาเคอามีความสูงมากกว่า 33,000 ฟุต (10,000 เมตร) ซึ่งสูงที่สุดในโลก และสูงกว่ายอดเขาเอเวอเรสต์ เมานาเคอาเป็นภาษาฮาวาย แปลว่า ภูเขาสีขาว เนื่องจากมีหิมะปกคลุมยอดเขาตลอดทั้งปี บนยอดเขามีทัศนวิสัยที่ดี เหมาะสำหรับการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ โดยมีกล้องดูดาวอยู่บนยอดเขาถึง 13 กล้องจากหลายประเทศ รวมทั้งหอดูดาวเคก 1 และ 2 (W.M.Keck Observatory) และกล้องวิทยุโทรทรรศน์หนึ่งในสิบกล้อง ที่ประกอบกันเป็น Very Long Baseline Array (VLBA) ของหอดูดาววิทยุแห่งชาติ (National Radio Astronomy Observatory - NRAO) สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2549 เกิดแผ่นดินไหววัดความสั่นสะเทือนได้ 6.7 มาตราริกเตอร์ ทำให้เกิดความเสียหายต่อกล้องดูดาวจำนวนหนึ่งบนยอ.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาไฟเมานาเคอา · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟเอตนา

right ภูเขาไฟเอตนา (Etna) ตั้งอยู่บนเกาะซิซิลี ประเทศอิตาลี ห่างจากเมืองกาตาเนียเพียง 29 กิโลเมตร เป็นภูเขาไฟที่ยังไม่ดับที่สูงที่สุดในทวีปยุโรป มีความสูง 3,323 เมตร วัดฐานโดยรอบได้ 150 เมตร บนยอดมีหิมะปกคลุมปีละเก้าเดือน เอตนา เอตนา เอตนา หมวดหมู่:เกาะซิซิลี.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาไฟเอตนา · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟเอเรบัส

ูเขาไฟเอเรบัส (Mount Erebus) เป็นภูเขาไฟมีพลังที่อยู่ใต้สุดของโลกและเป็นสูงเป็นอันดับ 2 ในทวีปแอนตาร์กติการองจากภูเขาไฟซีย์เล ภูเขาลูกนี้เป็นภูเขาบนเกาะที่สูงเป็นอันดับ 6 ของโลก สูง 3,794 เมตรตั้งอยู่บนเกาะรอสส์ที่เป็นที่ตั้งของภูเขาดับสนิทอย่างภูเขาเทเรอะและภูเขาเบิรด์ ภูเขาลูกนี้เริ่มปะทุเมื่อประมาณ 1.3 ล้านปีที่แล้ว และภูเขาลูกนี้ยังเป็นที่ตั้งของที่สังเกตการณ์ที่ดูแลโดยสถาบันเหมืองแร่และเทคโนโลยีแห่งรัฐนิวเม็กซิโก.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาไฟเอเรบัส · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟเอเรอตาเล

ูเขาไฟเอเรอตาเล (ชื่อในภาษาอัมฮาริก) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อภาษาอังกฤษว่า ภูเขาไฟเออร์ตาเอล (ኤርታሌ, Erta Ale) บ้างก็อ่าน อิร์ตาเอล เป็นภูเขาไฟรูปโล่ชนิดบะซอลต์ ตั้งในที่ต่ำอาฟาเรอ (afar depression) ประเทศเอธิโอเปีย มีความสูง 613 เมตร ประกอบด้วยแอ่งลาวาจำนวน 2 แอ่งหรือ 1 แอ่งแล้วแต่ช่วงเวลา ปัจจุบันปะทุตลอดเวลานับแต่มีการบันทึก (พ.ศ. 2449) จนได้ชื่อว่า ประตูสู่นรก คล้ายกับชื่อของหลุมแก๊สดาร์วาซาในประเทศเติร์กเมนิสถาน การปะทุครั้งใหญ่ล่าสุดมีเมื่อวันที่ 25 กันยายน..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาไฟเอเรอตาเล · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์

ูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์ หรือ เมานต์เซนต์เฮเลนส์ (Mount St.) เป็นภูเขาไฟมีพลังประเภทกรวยสลับชั้น ตั้งอยู่ในสกามาเนียเคาน์ตี รัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกาในฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของแปซิฟิก ห่างจากเมืองซีแอตเทิลไปทางใต้ 154 กิโลเมตร และห่างจากเมืองพอร์ตแลนด์ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 80 กิโลเมตร ภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์ได้ชื่อจากนักการทูตชาวอังกฤษ ลอร์ดเซนต์เฮเลนส์ คู่หูของนักสำรวจ จอร์จ แวนคูเวอร์ ที่สำรวจพื้นที่ในบริเวณนั้นตั้งแต่ปลายคริสต์วรรษที่ 18 ภูเขาไฟลูกนี้ตั้งอยู่ในเทือกเขาคาสเคด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแนวภูเขาไฟคาสเคด ส่วนหนึ่งของวงแหวนแห่งไฟ ซึ่งมีภูเขาไฟมีพลังตั้งอยู่กว่า 160 ลูก ภูเขาไฟลูกนี้เป็นที่รู้จักกันดีจากการระเบิดและการพ่นเถ้าถ่านออกมา ภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์โด่งดังมากที่สุดจากการระเบิดครั้งรุนแรง ในวันที่ 18 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟเปอเล

ูเขาไฟเปอเล (Montagne Pelée, Mount Pelée) เป็นภูเขาไฟมีพลังบนปลายด้านทิศเหนือของ หมู่เกาะเวสต์อินดี ฝรั่งเศส ในทะเลแคริบเบียน มีลักษณะเป็นกรวยภูเขาไฟสลับชั้น ส่วนกรวยประกอบด้วยชั้นของเถ้าธุลีภูเขาไฟและลาวาที่แข็งตัว Mount Pelée เป็นที่รู้จักเนื่องเมื่อ พ.ศ. 2445 และผลจากการทำลายซึ่งถูกจัดให้เป็นภัยพิบัติจากภูเขาไฟที่รุนแรงที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีผู้ประสบภัยประมาณ 26,000-36,000 คน และทำให้เมือง Saint-Pierre ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดใน Martinique ถูกทำลาย รวมทั้งผู้ว่าการของเมืองได้เสียชีวิตในภัยพิบัติครั้งนั้นด้ว.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและภูเขาไฟเปอเล · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรพายุ

มหาสมุทรพายุ มหาสมุทรพายุ (Oceanus Procellarum; Ocean of Storms) คือแอ่งกว้างใหญ่บนดวงจันทร์ของโลก อยู่ทางขอบด้านตะวันตกของด้านใกล้ของดวงจันทร์ ที่จริงแล้ว ไม่ได้เป็น มหาสมุทร เพราะไม่ได้มีน้ำแต่อย่างใด แต่เป็นที่ราบขนาดพื้นที่ราว 4,000,000 ตาราง กม.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและมหาสมุทรพายุ · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแปซิฟิก

มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและมหาสมุทรแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

มะกอกโคก

มะกอกโคก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Shrebera swieteniodes) มีชื่อเรียกอื่นๆ เช่น โยนีปีศาจ หีผี มะกอกดอน สำโรง มะกักป่า มะกอกเผือก เป็นต้น มะกอกโคก เป็นไม้ยืนต้น ผลัดใบ สูงประมาณ 10 – 15 เมตร เป็นพืชถิ่นเดียว พบตามภูเขาไฟเก่า เช่นแถบเขากระโดง เขาอังคาร เขาพนมรุ้งซึ่งเคยเป็นภูเขาไฟที่ดับสนิทนานแล้ว ใบ ประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ปลายคี่ เรียงตรงข้าม ช่อใบยาว ใบย่อย 2 – 3 คู่ เรียงตรงข้ามรูปไข่ รูปใบหอก หรือรูปขอบขนาน แกมรูปรี ปลายแหลม โคนสอบเรียวปลายแคบไปตามก้าน ขอบเรียบ ด้านบนเกลี้ยงหรือมีขนประปราย ด้านล่างมีขนนุ่ม ดอก ดอกเล็กออกเป็นช่อกระจะที่ปลายกิ่ง ผลของมะกอกโคกเป็นรูปไข่กลับ เปลือกแข็ง แตกเป็นสองซีกเมื่อแห้ง เมล็ดมีปีก ผลที่แก่จัดจะแตกเป็น 2 ซีก มองเห็นเมล็ดข้างในได้ตามชื่อที่เรียกกัน หากนำไปกดบนดินทราย จะยิ่งดูแปลกคล้ายอวัยวะเพศหญิงมาก.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและมะกอกโคก · ดูเพิ่มเติม »

มัทมอนส์

มัทมอนส์ (Maat Mons) เป็นภูเขาไฟที่สูงที่สุดบนดาวศุกร์ และเป็นภูเขาที่สูงเป็นอันดับที่ 2 ของดาว รองจากแมกซ์เวลมอนทีส ตั้งอยู่ที่พิกัด ของดาวศุกร์ ภูเขาไฟลูกนี้มีความสูง 8 กิโลเมตรเหนือระดับเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยของดาวศุกร์ ชื่อของภูเขาไฟมีที่มาจากเทพีแห่งความจริงและความเที่ยงตรงของอียิปต์นามว่า มัท (Maat).

ใหม่!!: ภูเขาไฟและมัทมอนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขาชิมโบราโซ

อดเขาชิมโบราโซ บรรยากาศยามพระอาทิตย์ขึ้น ที่ยอดเขาชิมโบราโซ ชิมโบราโซ (Chimborazo) เป็นภูเขาไฟที่เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาแอนดีส ตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศเอกวาดอร์ อเมริกาใต้ ห่างจากกรุงกีโตไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 150 กิโลเมตร เป็นภูเขาไฟที่สงบแล้ว การระเบิดครั้งสุดท้ายเกิดเมื่อประมาณ ค.ศ. 640 ± 500 ปี ยอดเขาชิมโบราโซ มีความสูง 6,268.2 เมตร จากระดับน้ำทะเล ระดับความสูงนี้วัดด้วยระบบจีพีเอสในปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและยอดเขาชิมโบราโซ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขากีลูเว

อดเขากีลูเว (Giluwe) เป็นภูเขาที่สูงเป็นอันดับสองในปาปัวนิวกินี มีความสูง 4,368 เมตร รองจากยอดเขาวิลเฮม ซึ่งมีความสูง 4,509 เมตร ยอดเขากีลูเว เป็นภูเขาไฟตั้งอยู่ตอนกลางของเกาะนิวกินี มีสองยอด ยอดหนึ่งมีความสูง 4,368 เมตร และอีกยอดอยู่ห่างออกไป 1.2 กิโลเมตร มีความสูง 4,300 เมตร จัดเป็นภูเขาไฟที่สูงที่สุดในโอเชียเนี.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและยอดเขากีลูเว · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขาฮะรุนะ

อดเขาฮารุนะ (榛名山) เป็นภูเขาไฟที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกของเกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น มีความสูง 1,449 เมตร.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและยอดเขาฮะรุนะ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขาดามาวานด์

มาวานด์ ยอดเขาดามาวานด์ (เปอร์เซีย: دماوند; Damāvand) เป็นภูเขาไฟที่สูงที่สุดในทวีปเอเชีย และเป็นภูเขาที่สูงที่สุดในอิหร่านและตะวันออกกลาง มีความสูง 4,667 เมตร ตั้งอยู่ใกล้ชายฝั่งทางตอนใต้ของทะเลสาบแคสเปียน ห่างจากกรุงเตหะรานไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 66 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและยอดเขาดามาวานด์ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขาคิลิมันจาโร

thumb ยอดเขาคิลิมันจาโร (Mount Kilimanjaro) ชื่อภูเขามาจากภาษาสวาฮีลี หมายความว่า "ภูเขาที่ทอแสงแวววาว" ยอดเขาคิลิมันจาโรตั้งอยู่ในเขตประเทศแทนซาเนียใกล้พรมแดนประเทศเคนยา ลักษณะเป็นภูเขาไฟยอดเดี่ยวที่สูงที่สุดในโลก และเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในทวีปแอฟริกาอีกด้วย มีความสูงกว่า 5,895 เมตร ตรงบริเวณยอดเขามียอดเขาด้วยกัน 5 ยอด เรียงตามลำดับความสูง คือ.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและยอดเขาคิลิมันจาโร · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขาแคเมอรูน

อดเขาแคเมอรูน ยอดเขาแคเมอรูน (Mount Cameroon) ตั้งอยู่ในประเทศแคเมอรูน ใกล้กับอ่าวกีนี เป็นภูเขาไฟที่ขนาดใหญ่ลูกหนึ่งในทวีปแอฟริกา มีความสูง 4,095 เมตร.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและยอดเขาแคเมอรูน · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขาเอลบรุส

อดเขาเอลบรุส (Эльбрус) เป็นยอดเขาที่ตั้งอยู่บนเทือกเขาคอเคซัส ทางตะวันตกของประเทศรัสเซียใกล้กับชายแดนประเทศจอร์เจีย เป็นภูเขาไฟที่สงบมาแล้วประมาณ 2,000 ปี มียอดสูงสุดสองยอด ยอดทางทิศตะวันตก ชื่อเอลบรุส มีความสูง 5,642 เมตร อยู่ในเขตทวีปยุโรป ส่วนยอดทางทิศตะวันออก มีความสูงน้อยกว่าเล็กน้อย ที่ 5,621 เมตร อยู่ในเขตทวีปเอเชีย ยอดเขาเอลบรุส จัดเป็นภูเขา และภูเขาไฟที่สูงที่สุดในทวีปยุโรป และเป็นหนึ่งใน Seven Summits และ Volcanic Seven Summits.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและยอดเขาเอลบรุส · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขาเคนยา

right ยอดเขาเคนยา (Mount Kenya) ตั้งอยู่ในประเทศเคนยา ตรงกลางของประเทศ ในพิกัดต่ำกว่าเส้นศูนย์สูตรเพียงไม่ถึง 200 กิโลเมตร ลักษณะเป็นภูเขาไฟที่ระเบิดครั้งสุดท้ายเมื่อประมาณ 2-3 ล้านปีที่แล้ว ยอดเขาเคนยามีความสูงถึง 5,199 เมตร ทำให้บนยอดเขามีน้ำแข็งปกคลุมตลอดทั้งปีถึงแม้ว่าจะห่างจากเส้นศูนย์สูตรเพียงเล็กน้อยเท่านั้น นับเป็นยอดเขาที่มีความสูงเป็นอันดับสองของทวีปแอฟริการองจากยอดเขาคิลิมันจาโร ในประเทศแทนซาเนีย โดยยอดสูงสุดมีสองแห่ง คือ บาเตียน ที่มีความสูง 5,119 เมตร และเนเลียน สูง 5,188 เมตร ยอดเขาเคนยา เป็นส่วนหนึ่งของอุทยานแห่งชาติยอดเขาเคนยา ซึ่งองค์การยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นให้เป็นมรดกโลกเมื่อปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและยอดเขาเคนยา · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ฮัททิน

การยุทธ์ที่ฮัททิน (Battle of Hattin หรือที่รู้จักกันในชื่อ "The Horns of Hattin" เพราะภูเขาไฟที่ดับแล้วซึ่งอยู่ใกล้เคียงมีชื่อเดียวกัน) เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 3–4 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและยุทธการที่ฮัททิน · ดูเพิ่มเติม »

รอยเลื่อน

รอยเลื่อยในหินดินดานใกล้กับเมือง แอดิเลด ของออสเตรเลีย ในทางธรณีวิทยานั้น รอยเลื่อน (fault) หรือ แนวรอยเลื่อน (fault line) เป็นรอยแตกระนาบ (planar fracture) ในหิน ที่หินด้านหนึ่งของรอยแตกนั้นเคลื่อนที่ไปบนหินอีกด้านหนึ่ง รอยเลื่อนขนาดใหญ่ในชั้นเปลือกโลกเป็นผลมาจากการเคลื่อนที่ที่แตกต่างกันหรือเฉือนกันและเขตรอยเลื่อนมีพลัง (active fault zone) เป็นตำแหน่งที่ไม่แน่นอนของการเกิดแผ่นดินไหวทั้งหลาย แผ่นดินไหวเกิดจากการปล่อยพลังงานออกมาระหว่างการเลื่อนไถลอย่างรวดเร็วไปตามรอยเลื่อน รอยเลื่อนหนึ่งๆตามแนวตะเข็บรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกของการแปรสัณฐาน (tectonic) สองแผ่นเรียกว่ารอยเลื่อนแปรสภาพขนาดใหญ่ (transform fault) ด้วยปรกติแล้วรอยเลื่อนมักจะไม่เกิดขึ้นเป็นรอยเลื่อนเดี่ยวอย่างชัดเจน คำว่า “เขตรอยเลื่อน” (fault zone) จึงถูกนำมาใช้เมื่อกล่าวอ้างถึงเขตที่มีการเปลี่ยนลักษณะที่ซับซ้อนที่เกิดขึ้นร่วมกับระนาบรอยเลื่อน ด้านทั้งสองของรอยเลื่อนที่ไม่วางตัวอยู่ในแนวดิ่งเรียกว่า “ผนังเพดาน” (hanging wall) และ “ผนังพื้น” (foot wall) โดยนิยามนั้นหินเพดานอยู่ด้านบนของรอยเลื่อนขณะที่หินพื้นนั้นอยู่ด้านล่างของรอยเลื่อน นิยามศัพท์เหล่านี้มาจากการทำเหมือง กล่าวคือเมื่อชาวเหมืองทำงานบนมวลสินแร่รูปทรงเป็นแผ่นเมื่อเขายืนบนหินพื้นของเขาและมีหินเพดานแขวนอยู่เหนือเขานั่นเอง.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและรอยเลื่อน · ดูเพิ่มเติม »

ระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ (Solar System) ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่น ๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 166 ดวง ดาวเคราะห์แคระ 5 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ อีกนับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึง ดาวเคราะห์น้อย วัตถุในแถบไคเปอร์ ดาวหาง สะเก็ดดาว และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์ โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งย่านต่าง ๆ ของระบบสุริยะ นับจากดวงอาทิตย์ออกมาดังนี้คือ ดาวเคราะห์ชั้นในจำนวน 4 ดวง แถบดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอกจำนวน 4 ดวง และแถบไคเปอร์ซึ่งประกอบด้วยวัตถุที่เย็นจัดเป็นน้ำแข็ง พ้นจากแถบไคเปอร์ออกไปเป็นเขตแถบจานกระจาย ขอบเขตเฮลิโอพอส (เขตแดนตามทฤษฎีที่ซึ่งลมสุริยะสิ้นกำลังลงเนื่องจากมวลสารระหว่างดวงดาว) และพ้นไปจากนั้นคือย่านของเมฆออร์ต กระแสพลาสมาที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ (หรือลมสุริยะ) จะแผ่ตัวไปทั่วระบบสุริยะ สร้างโพรงขนาดใหญ่ขึ้นในสสารระหว่างดาวเรียกกันว่า เฮลิโอสเฟียร์ ซึ่งขยายออกไปจากใจกลางของแถบจานกระจาย ดาวเคราะห์ชั้นเอกทั้ง 8 ดวงในระบบสุริยะ เรียงลำดับจากใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดออกไป มีดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน นับถึงกลางปี ค.ศ. 2008 วัตถุขนาดย่อมกว่าดาวเคราะห์จำนวน 5 ดวง ได้รับการจัดระดับให้เป็นดาวเคราะห์แคระ ได้แก่ ซีรีสในแถบดาวเคราะห์น้อย กับวัตถุอีก 4 ดวงที่โคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในย่านพ้นดาวเนปจูน คือ ดาวพลูโต (ซึ่งเดิมเคยถูกจัดระดับไว้เป็นดาวเคราะห์) เฮาเมอา มาคีมาคี และ อีรีส มีดาวเคราะห์ 6 ดวงและดาวเคราะห์แคระ 3 ดวงที่มีดาวบริวารโคจรอยู่รอบ ๆ เราเรียกดาวบริวารเหล่านี้ว่า "ดวงจันทร์" ตามอย่างดวงจันทร์ของโลก นอกจากนี้ดาวเคราะห์ชั้นนอกยังมีวงแหวนดาวเคราะห์อยู่รอบตัวอันประกอบด้วยเศษฝุ่นและอนุภาคขนาดเล็ก สำหรับคำว่า ระบบดาวเคราะห์ ใช้เมื่อกล่าวถึงระบบดาวโดยทั่วไปที่มีวัตถุต่าง ๆ โคจรรอบดาวฤกษ์ คำว่า "ระบบสุริยะ" ควรใช้เฉพาะกับระบบดาวเคราะห์ที่มีโลกเป็นสมาชิก และไม่ควรเรียกว่า "ระบบสุริยจักรวาล" อย่างที่เรียกกันติดปาก เนื่องจากไม่เกี่ยวข้องกับคำว่า "จักรวาล" ตามนัยที่ใช้ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและระบบสุริยะ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด

ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศไอซ์แลนด์

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศไอซ์แลนด์ทั้งสิ้น 2 แหล่ง.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

วัฏจักรกำมะถัน

วัฏจักรกำมะถัน เป็นการหมุนเวียนของกำมะถันในโลก กำมะถันพบได้ในสภาพแวดล้อมหลายแห่ง พื้นผิวโลกเป็นแหล่งใหญ่ของกำมะถัน คิดเป็น 95% รองลงมาคือ ในแหล่งน้ำมีประมาณ 5%.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและวัฏจักรกำมะถัน · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการของมนุษย์

''Homo sapiens sapiens'' ชาวอาข่าในประเทศไทย วิวัฒนาการของมนุษย์ (Human evolution) เป็นกระบวนการวิวัฒนาการที่นำไปสู่การปรากฏขึ้นของ "มนุษย์ปัจจุบัน" (modern human มีนามตามอนุกรมวิธานว่า Homo sapiens หรือ Homo sapiens sapiens) ซึ่งแม้ว่าจริง ๆ แล้วจะเริ่มต้นตั้งแต่บรรพบุรุษแรกของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด แต่บทความนี้ครอบคลุมเพียงแค่ประวัติวิวัฒนาการของสัตว์อันดับวานร (primate) โดยเฉพาะของสกุล โฮโม (Homo) และการปรากฏขึ้นของมนุษย์สปีชีส์ Homo sapiens ที่จัดเป็นสัตว์วงศ์ลิงใหญ่เท่านั้น การศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการมนุษย์นั้นต้องอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์หลายสาขา รวมทั้งมานุษยวิทยาเชิงกายภาพ (หรือ มานุษยวิทยาเชิงชีวภาพ), วานรวิทยา, โบราณคดี, บรรพชีวินวิทยา, พฤติกรรมวิทยา, ภาษาศาสตร์, จิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการ (evolutionary psychology), คัพภวิทยา และพันธุศาสตร์ กระบวนการวิวัฒนาการเป็นความเปลี่ยนแปลงของลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตผ่านหลายชั่วยุคชีวิต เป็นกระบวนการที่ทำให้เกิดความหลายหลากกับสิ่งมีชีวิตในทุกระดับชั้น รวมทั้งระดับสปีชีส์ ระดับสิ่งมีชีวิตแต่ละชีวิต และแม้กระทั่งโครงสร้างระดับโมเลกุลเช่นดีเอ็นเอและโปรตีน สิ่งมีชีวิตทั้งหมดในโลกสืบสายมาจากบรรพบุรุษเดียวกันที่มีชีวิตประมาณ 3.8 พันล้านปีก่อน การเกิดสปีชีส์ใหม่ ๆ และการแยกสายพันธุ์ออกจากกันของสิ่งมีชีวิต สามารถอนุมานได้จากลักษณะสืบสายพันธุ์ทางสัณฐานและทางเคมีชีวภาพ หรือโดยลำดับดีเอ็นเอที่มีร่วมกัน คือ ลักษณะสืบสายพันธุ์และลำดับดีเอ็นเอที่มีกำเนิดเดียวกัน จะมีความคล้ายคลึงกันระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันเร็ว ๆ นี้มากกว่าระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันมานานแล้ว ดังนั้นความคล้ายคลึงกันและความแตกต่างกันจึงสามารถใช้สร้างแบบของต้นไม้สายพันธุ์สิ่งมีชีวิต ที่แสดงความสัมพันธ์เชิงญาติ โดยใช้สิ่งมีชีวิตที่ยังมีอยู่หรือใช้ซากดึกดำบรรพ์เป็นหลักฐานข้อมูล รูปแบบความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในโลกเปลี่ยนแปลงไปเพราะการเกิดขึ้นของสปีชีส์ใหม่ ๆ และการสูญพันธุ์ไปของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ งานวิจัยต่าง ๆ ทางพันธุศาสตร์แสดงว่า สัตว์อันดับวานรรวมทั้งมนุษย์แยกออกจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทอื่น ๆ เมื่อประมาณ โดยมีซากดึกดำบรรพ์ปรากฏเป็นครั้งแรกสุดเมื่อประมาณ ส่วนลิงวงศ์ชะนี (Hylobatidae) แยกสายพันธุ์ออกจากสายพันธุ์วงศ์ลิงใหญ่ (Hominidae) รวมทั้งมนุษย์ ซึ่งเป็นวงศ์หนึ่ง ๆ ของสัตว์อันดับวานรนั้น เมื่อ แล้วลิงวงศ์ Ponginae (ลิงอุรังอุตัง) ก็แยกออกจากสายพันธุ์เมื่อประมาณ จากนั้น การเดินด้วยสองเท้า (bipedalism) ซึ่งเป็นการปรับตัวพื้นฐานที่สุดของสัตว์เผ่า Hominini ซึ่งเป็นสายพันธุ์ของมนุษย์ที่ลิงชิมแปนซีได้แยกออกไปแล้ว ก็เริ่มปรากฏในสัตว์สองเท้าแรกสุดในสกุล Sahelanthropus หรือ Orrorin โดยมีสกุล Ardipithecus ซึ่งเป็นสัตว์สองเท้าที่มีหลักฐานชัดเจนกว่า ตามมาทีหลัง ส่วนลิงกอริลลาและลิงชิมแปนซีแยกออกจากสายพันธุ์ในช่วงเวลาใกล้ ๆ กัน คือลิงกอริลลาเมื่อ และลิงชิมแปนซีเมื่อ โดยอาจจะมี Sahelanthropus เป็นบรรพบุรุษสุดท้ายร่วมกันระหว่างชิมแปนซีและมนุษย์ สัตว์สองเท้ายุคเริ่มต้นเหล่านี้ในที่สุดก็วิวัฒนาการมาเป็นเผ่า hominini เผ่าย่อย Australopithecina (australopithecine ปกติรวมสกุล Australopithecus, Paranthropus, และในบางที่ Ardipithecus) ที่ และหลังจากนั้นจึงเป็นเผ่าย่อย Hominina ซึ่งรวมเอามนุษย์สกุล โฮโม เท่านั้น มนุษย์สกุลโฮโมที่มีหลักฐานยืนยันพวกแรกที่สุดเป็นสปีชีส์ Homo habilis ซึ่งเกิดขึ้นประมาณ โดยเชื่อกันว่า สืบสายพันธุ์มาจาก homonin ในสกุล Australopithecus เป็นสปีชีส์แรก ๆ ที่มีหลักฐานชัดเจนว่าใช้เครื่องมือหิน และการปรับตัวของสายพันธุ์มนุษย์อีกอย่างหนึ่งคือ การขยายขนาดของสมอง (encephalization) ก็ได้เริ่มขึ้นที่มนุษย์ยุคต้นนี้ ซึ่งมีขนาดสมองที่ประมาณ 610 ซม3 คือมีขนาดใหญ่กว่าของลิงชิมแปนซีเล็กน้อย (ระหว่าง 300-500 ซม3) มีนักวิทยาศาสตร์ที่เสนอว่า นี้อยู่ในช่วงเวลาที่ยีนมนุษย์ประเภท SRGAP2 มีจำนวนเป็นสองเท่าเทียบกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ ซึ่งทำให้เกิดการพัฒนาของสมองกลีบหน้าได้รวดเร็วกว่าในสัตว์อื่น ๆ ต่อมา มนุษย์สปีชีส์ Homo erectus/ergaster ก็เกิดขึ้นในช่วงประมาณ ที่มีปริมาตรกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าของลิงชิมแปนซีคือ 850 ซม3 การขยายขนาดของสมองเช่นนี้เทียบเท่ากับมีเซลล์ประสาทเพิ่มขึ้น 125,000 เซลล์ทุกชั่วยุคคน สปีชีส์นี้เชื่อว่าเป็นพวกแรก ๆ ที่สามารถควบคุมไฟ และใช้เครื่องมือหินที่มีเทคโนโลยีที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น เป็นมนุษย์สกุล Homo พวกแรกที่อพยพออกไปตั้งถิ่นฐานทั่วทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย และทวีปยุโรป อาจเริ่มตั้งแต่ ดังนั้น การวิวัฒนาการของสายพันธุ์มนุษย์ก่อนหน้านี้ล้วนเป็นไปในแอฟริกาเท่านั้น ส่วนกลุ่มมนุษย์โบราณที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า Archaic humans ก็เกิดวิวัฒนาการขึ้นต่อมาประมาณ 600,000 ปีก่อน สืบสายพันธุ์มาจาก H. erectus/ergaster เป็นกลุ่มมนุษย์ที่อาจเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ปัจจุบัน โดยเฉพาะคือมนุษย์โบราณ H. heidelbergensis/rhodesiensis หลังจากนั้น มนุษย์สปีชีส์ ''Homo sapiens'' ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน (anatomically modern human) ก็เกิดขึ้นโดยมีวิวัฒนาการมาจากมนุษย์โบราณในยุคหินกลาง (แอฟริกา) คือประมาณ 300,000 ปีก่อน ตามทฤษฎี "กำเนิดมนุษย์ปัจจุบันเร็ว ๆ นี้จากแอฟริกา" มนุษย์ปัจจุบันได้วิวัฒนาการในทวีปแอฟริกาแล้วจึงอพยพออกจากทวีปประมาณ 50,000-100,000 ปีก่อน (ต่างหากจากมนุษย์ในยุคก่อน ๆ) ไปตั้งถิ่นฐานแทนที่กลุ่มมนุษย์สปีชีส์ H. erectus, H. denisova, H. floresiensis และ H. neanderthalensis ในที่ต่าง ๆ ที่เป็นเชื้อสายของมนุษย์ที่อพยพออกมาจากทวีปแอฟริกาในยุคก่อน ๆ โดยอาจได้ผสมพันธุ์กับมนุษย์โบราณก่อน ๆ เหล่านั้น หลักฐานโดยดีเอ็นเอในปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและวิวัฒนาการของมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาภูเขาไฟ

วิทยาภูเขาไฟ (volcanology หรืออาจสะกดว่า vulcanology) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับภูเขาไฟ หินหลอมเหลว หินหนืด และเกี่ยวข้องกับการศึกษาปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา ธรณีฟิสิกส์ ธรณีเคมี คำว่า volcanology ในภาษาัอังกฤษมาจากคำในภาษาละติน คำว่า vulcan ซึ่งหมายถึงเทพเจ้าแห่งไฟของโรมัน นักวิทยาภูเขาไฟ คือบุคคลที่ศึกษาข้อมูลของภูเขาไฟ และเหตุการณ์การปะทุทั้งปัจจุบันและในอดีต นักวิทยาภูเขาไฟมักจะไปสำรวจภูเขาไฟอยู่บ่อยครั้ง โดยเฉพาะภูเขาไฟที่ยังไม่ดับเพื่อสังเกตการณ์ปะทุ เก็บสิ่งที่ปะทุออกมา รวมถึงเทบพรา (tephra) หรือ ชิ้นส่วนภูเขาไฟ เช่น ขี้เถ้าหรือหินภูเขาไฟ หินและตัวอย่างของหินหลอมเหลว นอกจากนี้ยังเน้นการศึกษาในเรื่องการพยากรณ์การระเบิดของภูเขาไฟ ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีผลแม่นยำนัก แต่เป็นการพยากรณ์การระเบิดเหมือนอย่างที่พยากรณ์แผ่นดินไหว เพื่อรักษาชีวิตให้ได้มากที่สุด หมวดหมู่:วิทยาศาสตร์โลก.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและวิทยาภูเขาไฟ · ดูเพิ่มเติม »

วงแหวนไฟ

แผนที่วงแหวนไฟ การปะทุของภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์ เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 วงแหวนไฟ (Ring of Fire) เป็นบริเวณในมหาสมุทรแปซิฟิกที่เกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดบ่อยครั้ง มีลักษณะเป็นเส้นเกือกม้า ความยาวรวมประมาณ 40,000 กิโลเมตร และวางตัวตามแนวร่องสมุทร แนวภูเขาไฟและบริเวณขอบแผ่นเปลือกโลก โดยมีภูเขาไฟที่ตั้งอยู่ภายในวงแหวนไฟทั้งหมด 452 ลูก และเป็นพื้นที่ที่มีภูเขาไฟคุกกรุ่นอยู่กว่าร้อยละ 75 ของภูเขาไฟคุกรุ่นทั้งโลก ซึ่งบางครั้งจะเรียกว่า circum-Pacific belt หรือ circum-Pacific seismic belt แผ่นดินไหวประมาณร้อยละ 90 ของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นทั่วโลกและกว่าร้อยละ 80 ของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ เกิดขึ้นในบริเวณวงแหวนไฟ นอกจากวงแหวนไฟ ยังมีแนวแผ่นดินไหวอีก 2 แห่ง ได้แก่ แนวเทือกเขาอัลไพน์ ซึ่งมีแนวต่อมาจากเกาะชวาสู่เกาะสุมาตรา ผ่านเทือกเขาหิมาลัย และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แนวแผ่นดินไหวแห่งนี้มีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นร้อยละ 17 ของทั้งโลก และอีกแห่งคือ แนวกลางมหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นร้อยละ 5-6 ของทั้งโลก วงแหวนไฟเป็นผลมาจากการเคลื่อนที่และการชนกันของแผ่นเปลือกโลก แบ่งเป็นส่วนวงแหวนทางตะวันออก มีผลมาจากแผ่นนัซกาและแผ่นโกโกส ที่มุดตัวลงใต้แผ่นอเมริกาใต้ ส่วนของแผ่นแปซิฟิกที่ติดกับแผ่นฮวนเดฟูกา ซึ่งมุดตัวลงแผ่นอเมริกาเหนือ ส่วนทางตอนเหนือที่ติดกับทางตะวันตกเฉียงเหนือของแผ่นแปซิฟิก มุดตัวลงใต้บริเวณหมู่เกาะอะลูเชียนจนถึงทางใต้ของประเทศญี่ปุ่น และส่วนใต้ของวงแหวนไฟเป็นส่วนที่มีความซับซ้อนของแผ่นเปลือกโลก มีแผ่นเปลือกโลกขนาดเล็กมากมายที่ติดกับแผ่นแปซิฟิก ซึ่งเริ่มตั้งแต่หมู่เกาะมาเรียนา ประเทศฟิลิปปินส์ เกาะบูเกนวิลล์ ประเทศตองกา และประเทศนิวซีแลนด์ แนววงแหวนไฟยังมีแนวต่อไปเป็นแนวแอลไพน์ ซึ่งเริ่มต้นจากเกาะชวา เกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย รอยเลื่อนที่มีชื่อเสียงที่ตั้งบนวงแหวนไฟนี้ ได้แก่ รอยเลื่อนแซนแอนเดรอัสในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีการเกิดแผ่นดินไหวขนาดเล็กอยู่เป็นประจำ รอยเลื่อนควีนชาร์ลอตต์ ทางชายฝั่งตะวันตกของหมู่เกาะควีนชาร์ลอตต์ รัฐบริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา ซึ่งทำให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ 3 ครั้ง ได้แก่ แผ่นดินไหวแมกนิจูด 7.0 เมื่อ..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและวงแหวนไฟ · ดูเพิ่มเติม »

วนอุทยานแห่งชาติพนมสวาย

วนอุทยานแห่งชาติพนมสวาย หรือเขาสวาย ตั้งอยู่ในพื้นที่ 2 ตำบลคือ ตำบลนาบัว ตำบลสวาย มีเนื้อที่ 1,975 ไร่ ตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเขาสวายท้องที่ตำบลนาบัว อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ "พนมสวาย" เป็นคำภาษาพื้นที่เมืองสุรินทร์ "พนม" แปลว่าภูเขา "สวาย" แปลว่า "มะม่วง" ในหมู่พนมสวายประกอบด้วภูเขา 3 ลูกติดต่อกันซึ่งมีมีชื่อพื้นเมืองเรียกแตกต่างกันไป ได้แก่ "พนมกรอล" แปลว่า "เขาคอก" มีความสูงประมาณ 150 เมตร "พนมเปร๊า แปลว่า "เขาชาย" มีความสูงประมาณ 220 เมตร "พนมสรัย" แปลว่า "เขาหญิง" มีความสูงประมาณ 210 เมตร รวมกันทั้ง 3 ลูก มีชื่อว่า เขาพนมสวาย ความจริงคือ พนมสวายคือ ภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว จึงมีลานหินกระจายทั่วไป เนื่องจากวนอุทยานพนมสวายได้สำรวจทั่วบริเวณวนอุทยานพบว่า มีต้นกล้วยไม้ป่าอยู่เป็นจำนวนมาก ทางวนอุทยานได้จัดต้นกล้วยไม้ป่า มาติดไว้ตามต้นไม้ต่างๆ ริมถนน ริมลานจอดรถบ้าง วนอุทยานพนมสวาย ถือว่าเป็นวนอุทยานเฉลิมพระเกียรติแห่งหนึ่งในประเทศไทย และเป็นสถานที่แสวงบุญของชาวไทยที่เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา เขตอุทยานพนมสวาย เขาพนมสวาย เป็นภูเขาที่โผล่ขึ้นมาโดดๆบนที่ราบทำนาของจังหวัดสุรินทร์ ห่างจากเทือกเขาพนมดงรักประมาณ 50 กิโลเมตร ห่างจากเขาพนมรุ้งประมาณ ๕๐ กิโลเมตร (สามารถมองเห็นพนมรุ้ง และเขากระโดงได้ที่ด้านหลังพระพุทธสุรินทร์มงคล จนเห็นเทือกเขาพนมดงรัก และ เขาพระวิหาร) และอยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดสุรินทร์ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ ๒๒ กิโลเมตร.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและวนอุทยานแห่งชาติพนมสวาย · ดูเพิ่มเติม »

วนอุทยานเขากระโดง

วนอุทยานเขากระโดง ตั้งอยู่ที่บ้านน้ำซับ ตำบลเสม็ด อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว มีปากปล่องทะลุเห็นได้ชัดเจน รอบบริเวณแวดล้อมด้วยป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์ป่าขนาดเล็ก โดยเฉพาะนกนานาชนิด บนเขากระโดงยังมีโบราณสถานสมัยขอม รอยพระพุทธบาทจำลอง และพระพุทธรูปขนาดใหญ่ เป็นที่เคารพสักการะของคนในท้องถิ่น นักท่องเที่ยวนิยมขึ้นไปชมทิวทัศน์ของตัวเมืองบุรีรัมย์ และไหว้พระเพื่อเป็นสิริมงคล ป่าเขากระโดงมีพื้นที่ 6,212 ไร่ กรมป่าไม้ได้ประกาศให้เป็นวนอุทยานเขากระโดงเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม (วันปิยะมหาราช) พ.ศ. 2521 ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของสำนักงานป่าไม้เขตนครราชสีม.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและวนอุทยานเขากระโดง · ดูเพิ่มเติม »

สภาพแวดล้อมการสะสมของตะกอน

แผนภาพสภาพแวดล้อมการสะสมของตะกอน ในทางธรณีวิทยาสภาพแวดล้อมการสะสมของตะกอนหรือสภาพแวดล้อมตะกอนเป็นการอธิบายถึงพื้นที่ ๆ มรการรวมตัวกันทางกายภาพ ทางเคมีหรือกระบวนการทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับการสะสมตัวของตะกอนและตะกอนที่เกิดการแข็งตัวกลายเป็นหิน ประเภทหินส่วนใหญ่จะแบ่งตามสภาพแวดล้อมเพราะแต่ละที่จะมีหินเฉพาะบางชนิดหรืออาจจะจัดประเภทหินที่คล้าย ๆ กันให้อยู่กลุ่มเดี่ยวกัน.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและสภาพแวดล้อมการสะสมของตะกอน · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะบันดา

หมู่เกาะบันดา (Kepulauan Banda, Banda Islands) เป็นกลุ่มเกาะภูเขาไฟสิบเกาะเล็กในทะเลบันดาที่ตั้งอยู่ราว 140 กิโลเมตรทางตอนใต้ของเกาะเซอรัมและราว 2000 กิโลเมตรทางของเกาะชวา และเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะโมลุกกะของอินโดนีเซีย เมืองหลักและศูนย์บริหารของหมู่เกาะอยู่ที่บันดาไนราที่ตั้งอยู่บนเกาะชื่อเดียวกัน หมู่เกาะบันดาผุดขึ้นจากมหาสมุทรที่ลึกราว 4–6 กิโลเมตรและมีเนื้อที่ราว 180 ตารางกิโลเมตร มีประชากรทั้งสิ้นราว 15,000 คน บันดาเป็นแหล่งผลิตผลิตผลจากต้นจันทน์เทศแหล่งเดียวในโลกมาจนกระทั่งกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 นอกจะมีชื่อเสียงในการเป็นแหล่งผลิตเครื่องเทศแล้วก็ยังเป็นที่นิยมของนักดำน้ำตื้นและนักดำนำลึกด้ว.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและหมู่เกาะบันดา · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะกาลาปาโกส

แผนที่โลกแสดงภาพหมู่เกาะกาลาปาโกส ห่างจากชายฝั่งอเมริกาใต้ไปทางตะวันตก อยู่ในบริเวณเส้นศูนย์สูตร หมู่เกาะกาลาปาโกส (Islas Galápagos; Galápagos Islands) เป็นหมู่เกาะกลางมหาสมุทรแปซิฟิก มีความน่าสนใจทั้งด้านธรณีวิทยา สัตววิทยา และนิเวศวิทยาเป็นอย่างยิ่ง เป็นส่วนหนึ่งของประเทศเอกวาดอร์ โดยมีชื่อภาษาสเปนอย่างเป็นทางการว่า กลุ่มเกาะโกลอน (Archipiélago de Colón; Islas de Colón) ตั้งอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร ห่างจากทวีปออกไปทางตะวันตก 1,000 กิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและหมู่เกาะกาลาปาโกส · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะคะแนรี

หมู่เกาะคะแนรี (Canary Islands), คะแนรีส์ (Canaries) หรือ กานาเรียส (Canarias) เป็นหมู่เกาะของราชอาณาจักรสเปน ประกอบด้วยเกาะภูเขาไฟ 7 เกาะในมหาสมุทรแอตแลนติก ตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา (โมร็อกโกและเวสเทิร์นสะฮารา) และมีฐานะเป็นแคว้นปกครองตนเองของสเปน.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและหมู่เกาะคะแนรี · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะซุนดาน้อย

แผนที่หมู่เกาะซุนดาน้อย ภาพถ่ายดาวเทียมของหมู่เกาะซุนดาน้อย เกาะบันตาในหมู่เกาะซุนดาน้อย หมู่เกาะซุนดาน้อย (Lesser Sunda Islands) หรือ นูซาเต็งการา (Nusa Tenggara) ("หมู่เกาะตะวันออกเฉียงใต้") เป็นหมู่เกาะที่อยู่ทางใต้ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอยู่ทางเหนือของออสเตรเลีย เมื่อรวมกับหมู่เกาะซุนดาใหญ่ทางตะวันตกจะเรียกหมู่เกาะซุนดา อยู่ตามแนวเส้นภูเขาไฟ.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและหมู่เกาะซุนดาน้อย · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะโซไซเอตี

หมู่เกาะโซไซเอตี (Society Islands) หรือ อีลเดอลาซอซีเยเต (Îles de la Société) เป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ทางตอนใต้ เป็นส่วนหนึ่งของเฟรนช์โปลินีเซีย มีเมืองหลวงคือ ปาเปเอเต หมู่เกาะประกอบด้วย 2 กลุ่ม คือ หมู่เกาะวินด์เวิร์ด (เกาะตาฮีตี เกาะโมโอเรอา และเกาะขนาดเล็กอีกหลายเกาะ) และหมู่เกาะลีเวิร์ด เป็นหมู่เกาะที่เกิดจากภูเขาไฟและมีพื้นที่เป็นภูเขา ผลิตเนื้อมะพร้าวตากแห้งและไข่มุก ในปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและหมู่เกาะโซไซเอตี · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเอโอเลียน

หมู่เกาะเอโอเลียน (Aeolian Islands; ซิซิลี: Ìsuli Eoli) เป็นกลุ่มเกาะ (archipelago) ภูเขาไฟในทะเลติร์เรเนียน (Tyrrhenian Sea) ทางตอนเหนือของซิซิลี ผู้ที่พำนักอาศัยอยู่บนเกาะเรียกว่า “เอโอเลียน” หมู่เกาะเอโอเลียนเป็นสถานที่ที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวเป็นอันมากในช่วงฤดูร้อน ในปีหนึ่งๆ หมู่เกาะเอโอเลียนมีนักท่องเที่ยวที่มาชมราว 200,000 คน เกาะที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มเกาะคือเกาะลีปารี ซึ่งบางครั้งก็ทำให้ผู้โฆษณามักจะเรียกกลุ่มเกาะนี้ว่า “หมู่เกาะลีปารี” “หมู่เกาะเอโอเลียน” ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกในปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและหมู่เกาะเอโอเลียน · ดูเพิ่มเติม »

หินภูเขาไฟ

หินภูเขาไฟ (Volcanic rock)หรือ หินอัคนีพุ (Extrusive rock) คือหินอัคนีที่เกิดจากการเย็นตัวและตกผลึกของหินหลอมเหลวที่ไหลขึ้นมาบนผิวโลก ที่เราเรียกกันว่า ลาวา (Lava) ที่ไหลขึ้นมาสู่บนผิวโลกหรือใกล้ผิวโลกจากระเบิดของภูเขาไฟ จึงทำให้ลักษณะการเกิดหินอัคนีภูเขาไฟมีลักษณะที่มีเนื้อหินที่ละเอียด เพราะอัตราการเย็นตัวและตกผลึกของหินหลอมเหลวเป็นไปอย่างรวดเร็ว มีผลทำให้หินอัคนีภูเขาไฟมีเนื้อหินหรือขนาดผลึกที่ละเอียด สังเกตผลึกหรือแร่ประกอบหินด้วยตาเปล่าได้ยาก เช่น หินบะซอลต์ หรือในบางครั้งก็เป็นเนื้อแก้วที่ไม่มีรูปผลึก เช่น หินออบซิเดียน และ หินพัมมิซ นอกจากนี้ยังมีหินอัคนีอีกชนิดหนึ่งที่เกิดจากการทับถมของเศษหินที่ได้จากการระเบิดของภูเขาไฟ เมื่อมีการเชื่อมประสานด้วยแร่ จะได้หินที่เรียกว่า หินอัคนีตะกอนภูเขาไฟ (Pyroclastic Rocks).

ใหม่!!: ภูเขาไฟและหินภูเขาไฟ · ดูเพิ่มเติม »

หินหลอมเหลว

หินหลอมเหลวหรือลาวาที่พุ่งจากพื้นโลกสูงนับ 10 เมตร หินหลอมเหลว หรือ ลาวา (อังกฤษ: lava) คือหินหนืด (magma) ที่เคลื่อนที่เข้าออกบนพื้นผิวโลก และหากหินหนืดเหล่านี้มีการเย็นตัวและตกผลึกบนผิวโลกหรือใกล้ผิวโลก เรียกว่า หินอัคนีภูเขาไฟ (extrusive rocks หรือ volcanic rocks).

ใหม่!!: ภูเขาไฟและหินหลอมเหลว · ดูเพิ่มเติม »

หินหนืด

หินหนืด หรือ หินแม็กมา (magma) เป็นสารเหลวที่อยู่ลึกลงไปภายใต้เปลือกโลก มีความหนืดหรือข้นมากกว่าปกติ เคลื่อนตัวได้ในวงจำกัด มีส่วนผสมของแข็ง ของเหลว หรือก๊าสรวมอยู่ด้วย มีอุณหภูมิที่สูงมาก เมื่อแทรกดันหรือพุ่งขึ้นจากผิวโลก จะเย็นตัวลงกลายเป็นหินแข็ง เรียกว่า หินอัคนี หินหนืดมีอุณหภูมิอยู่ในช่วง 650 - 1,200 องศาเซลเซียส ถูกอัดอยู่ภายใต้แรงดันสูง บางครั้งถูกดันขึ้นมาผ่านปล่องภูเขาไฟเป็นหินหลอมเหลว (lava) ผลลัพธ์จากการระเบิดของภูเขาไฟ มักจะได้ของเหลว ผลึก และก๊าส ที่ไม่เคยผุดขึ้นจากเปลือกโลกมาก่อน หินหนืดจะสะสมตัวอยู่ในช่องภายใต้เปลือกโลก โดยมีองค์ประกอบต่าง ๆ กันเล็กน้อยในพื้นที่ต่าง.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและหินหนืด · ดูเพิ่มเติม »

หินอัคนี

หินอัคนี (igneous; มาจากภาษาละติน ignis แปลว่า ไฟ) คือหนึ่งในหิน 3 ประเภทหลัก อีก 2 ประเภทได้แก่ หินตะกอน (sedimentary rock) และหินแปร (metamorphic rock) หินอัคนีเกิดจากการเย็นตัวและแข็งตัวของหินหนืด (magma) หรือหินหลอมเหลว (lava) หินอัคนีสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักได้แก่ หินอัคนีพุ (volcanic rock)และหินอัคนีแทรกซอน.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและหินอัคนี · ดูเพิ่มเติม »

หุบอุกกาบาตบาร์ริงเกอร์

right right หุบอุกกาบาตบาร์ริงเกอร์ (Barringer Crater) บาร์ริงเกอร์ เครเตอร์ หรือ (Meteor Crater) เมทีออร์ เครเตอร์ ตั้งอยู่ในรัฐแอริโซนา ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสหรัฐอเมริกา อยู่ระหว่างเมืองสโลว์กับเมืองแฟล็กสตาฟฟ์ หลุ่มอุกกาบาต เมทีออร์ เครเตอร์ หรือ บาร์ริงเกอร์ เครเตอร์ มีขนาด ความกว้าง 1250 เมตร ลึก 174 เมตร ถ้ามองจากพื้นราบทะเลทราย บริเวณรอบหลุมจะดูเหมือนเนินเตี้ยๆ จากการสำรวจโดย ซึ่งการค้นพบครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและหุบอุกกาบาตบาร์ริงเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

หุ่นยนต์

อาซีโม คือ android หุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ของบริษัทฮอนด้า ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะโครงสร้างและรูปร่างแตกต่างกันและคล้ายคลึงกับมนุษย์ หุ่นยนต์ในแต่ละประเภทจะมีหน้าที่การทำงานในด้านต่าง ๆ ตามการควบคุมโดยตรงของมนุษย์ การควบคุมระบบต่าง ๆ ในการสั่งงานระหว่างหุ่นยนต์และมนุษย์ สามารถทำได้โดยทางอ้อมและอัตโนมัติ โดยทั่วไปหุ่นยนต์ถูกสร้างขึ้นเพื่อสำหรับงานที่มีความยากลำบากเช่น งานสำรวจในพื้นที่บริเวณแคบหรืองานสำรวจดวงจันทร์ดาวเคราะห์ที่ไม่มีสิ่งมีชีวิต ปัจจุบันเทคโนโลยีของหุ่นยนต์เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เริ่มเข้ามามีบทบาทกับชีวิตของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านอุตสาหกรรมการผลิต แตกต่างจากเมื่อก่อนที่หุ่นยนต์มักถูกนำไปใช้ ในงานอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบันมีการนำหุ่นยนต์มาใช้งานมากขึ้น เช่น หุ่นยนต์ที่ใช้ในทางการแพทย์ หุ่นยนต์สำหรับงานสำรวจ หุ่นยนต์ที่ใช้งานในอวกาศ หรือแม้แต่หุ่นยนต์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นเครื่องเล่นของมนุษย์ จนกระทั่งในปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาให้หุ่นยนต์นั้นมีลักษณะที่คล้ายมนุษย์ เพื่อให้อาศัยอยู่ร่วมกันกับมนุษย์ ให้ได้ในชีวิตประจำวันได้ หุ่นยนต์ถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการใช้งาน คือ 1.หุ่นยนต์ชนิดที่ติดตั้งอยู่กับที่ (fixed robot) เป็นหุ่นยนต์ที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ไปไหนได้ด้วยตัวเอง มีลักษณะเป็นแขนกล สามารถขยับและเคลื่อนไหวได้เฉพาะแต่ละข้อต่อ ภายในตัวเองเท่านั้น มักนำไปใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม เช่นโรงงานประกอบรถยนต์ 2.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและหุ่นยนต์ · ดูเพิ่มเติม »

อัมเบรียล (ดาวบริวาร)

1986 อัมเบรียล (Umbriel) เป็นดาวบริวารลำดับที่ 16 นับตามระยะทางจากดาวยูเรนัส ถูกค้นพบเมื่อ วันที่ 24 ตุลาคม 1986โดย วิลเลียม ลาสเซลล์ อัมเบรียล ถูกค้นพบในเวลาเดียวกันกับแอเรียลและชื่อก็มีที่มาจากที่เดียวกัน คือ จากเรื่อง The Rape of the rock ของ อเล็กซานเดอร์ โป๊ป อัมเบรียลมีส่วนประกอบของน้ำแข็งที่อยู๋ในรูปของหินและอาจจะมีความแตกต่างเป็นหินหลักและน้ำแข็งปกคลุม อัมเบรียล เป็นดาวบริวารที่มืดที่สุดในดาวบริวารทั้งหมดของดาวยูเรนัสและดูเหมือนว่าอัมเบรียลจะมีเป็นรูปร่างโดยการชนกับอุกกาบาต แต่การเกิดของหุบเขาชี้ให้เห็นว่า มีกระบวนการ เอนโดจีนิก (endogenic) และ ดวงจันทร์นี้อาจจะประสบกับการเปลี่ยนพื้นผิวของดวงจันทร์ใหม่ (resurfacing) พื้นผิวของอัมเบรียล มีหลุมอุกกาบาตที่มีขนาด 210 กิโลเมตร หรือ 130 ไมล์ อัมเบรียลเป็นดาวบริวารที่มีหลุมอุกกาบาตมากเป็นอันดับ 2 รองจากโอเบอรอน อัมเบรียลมีปล่องภูเขาไฟที่มีลักษณะคล้ายวงแหวน ที่ขั้วของดาว ปล่องภูเขาไฟนี้มีชื่อว่า วุนดา (Wunda) ดาวบริวารนี้มีการเกิดที่เหมือนกับดาวบริวารดวงอื่นๆ โดยเกิดจากจานพอกพูนมวลที่ล้อมรอบดาวเคราะห์ทำให้เกิดดาวบริวารขึ้นมา ระบบของดาวยูเรนัส ถูกศึกษาอย่างใกล้ชิดเพียงครั้งเดียวโดยยานวอยเอจเจอร์ 2 ในเดือนมกราคม 1986 ซึ่งต้องใช้เวลาในการถ่ายภาพบนดาวบริวารดวงนี้ และจากภาพทำให้สามารถทำแผนที่ได้ 40% ของผิวดาว.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและอัมเบรียล (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

อิซตักซีวัตล์

อิซตักซีวัตล์ อิซตักซีวัตล์ (Iztaccíhuatl) หรือ อิชตักซีวัตล์ (Ixtaccíhuatl) เป็นภูเขาในประเทศเม็กซิโก เป็นภูเขาไฟดับสนิท มี 3 ยอด ไม่มีปล่อง สูง 5,230 ม. (17,160 ฟุต) เป็นภูเขาสูงอันดับ 3 ของเม็กซิโก รองจากภูเขาปีโกเดออรีซาบา ที่สูง 5,636 ม. (18,491 ฟุต) และโปโปกาเตเปตล์ ที่สูง 5,426 ม. (17,802 ฟุต) หมวดหมู่:ภูเขาในประเทศเม็กซิโก หมวดหมู่:ภูเขาไฟในประเทศเม็กซิโก.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและอิซตักซีวัตล์ · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง

ปราสาทพนมรุ้ง เมื่อมองจากทางขึ้นด้านหน้า ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง หรือ ปราสาทหินพนมรุ้ง เป็นหนึ่งในปราสาทหินในกลุ่มราชมรรคา ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 2 (บ้านดอนหนองแหน) ตำบลตาเป๊ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ห่างจากตัวเมืองบุรีรัมย์ลงมาทางทิศใต้ประมาณ 77 กิโลเมตร ประกอบไปด้วยโบราณสถานสำคัญ ซึ่งตั้งอยู่บนยอดภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว สูงประมาณ 200 เมตรจากพื้นราบ (ประมาณ 350 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง) คำว่า พนมรุ้ง นั้น มาจากภาษาเขมร คำว่า วนํรุง แปลว่า ภูเขาใหญ่ ปัจจุบัน ปราสาทหินพนมรุ้งกำลังอยู่ในเกณฑ์กำลังพิจารณาเป็นมรดกโลก เช่นเดียวกับ ปราสาทหินในกลุ่มราชมรรคา ปราสาทหินพนมรุ้งเป็นหนึ่งในปราสาทหินขอมของไทยที่มีชื่อเสียงมากที่สุด เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัดบุรีรัมย์ และถือเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญของจังหวัดบุรีรัมย์ รวมถึงเป็นภาพพื้นหลังตราสัญลักษณ์ของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ดอีกด้วย ตัวปราสาทหินพนมรุ้ง ความสวยงามของปราสาท.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติวีรูงกา

อุทยานแห่งชาติวีรูงกา (Virunga National Park; Parc National des Virunga) ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก มีเนื้อที่กว่า 8,090 ตารางกิโลเมตร จัดตั้งขึ้นเป็นอุทยานแห่งชาติขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและอุทยานแห่งชาติวีรูงกา · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติอะโซะคุจู

อุทยานแห่งชาติอะโซะคุจู เป็นอุทยานแห่งชาติในจังหวัดคุมะโมะโตะและจังหวัดโออิตะ นามของอุทยานแห่งชาติตั้งขึ้นตามชื่อภูเขาไฟอะโซะ ซึ่งเป็นภูเขาไฟมีพลังที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่น กับเทือกเขาคุจู เมื่อแรกก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและอุทยานแห่งชาติอะโซะคุจู · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติป่าหิน

right อุทยานแห่งชาติป่าหิน (Petrified Forest National Park) ตั้งอยู่ในรัฐแอริโซนา ประเทศสหรัฐอเมริกา เดิมเป็นอนุสรสถานแห่งชาติป่าหินเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม..1906 มีอาณาเขต 378 ตารางกิโลเมตร ภายหลังรวมเอาอาณาเขตทะเลทรายเพนเท็ด(painted)จึงมีอาณาเขต 800 ตารางกิโลเมตร และได้กลายมาเป็นอุทยานแห่งชาติป่าหินซึ่งเป็นป่าหินแห่งใหญ่ที่สุดในโลก ถูกค้นพบครั้งแรกโดยร้อยโทลอเรนโซ ซิตกรีฟส์ แห่งกองทัพบกสหรัฐฯ โดยบังเอิญ ในปี.ศ 1851 มีลักษณะเป็นเศษท่อนไม้ที่เนื้อไม้กลายเป็นหินควอตซ์จำนวนมาก ซึ่งดูมีลักษณะเหมือนต้นไม้จริงทุกประการ เพียงแต่กลายเป็นหินทั้งท่อน ซุงหินที่พบมีขนาดใหญ่และส่วนใหญ่อยู่ในสภาพแตกหัก พบมากบริเวณลองเลกส์(long Legs) นับตั้งแต่ก่อตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติป่าหิน มีผู้เข้าเยือนแล้วกว่า 600,000 คน.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและอุทยานแห่งชาติป่าหิน · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์สถานแห่งชาติหอเดวิลส์

right อนุสาวรีย์สถานแห่งชาติหอเดวิลส์ (Devils Tower National Monument) ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐไวโอมิง ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นอนุสาวรีย์สถานแห่งแรกของอเมริกาซึ่งตั้งขึ้นเมื่อ 24 สิงหาคม..2449 โดยประธานาธบดีธีโอดอร์ โรสเวลต์ หอเดวิลส์มีลักษณะเป็นภูเขาที่มีความสูง 263 เมตร ฐานมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 305 เมตร ผิวนอกเป็นรอยริ้วใหญ่ๆ มียอกป้านกว้างประมาณ 85 เมตร โดยรวมแล้วมีลักษณะเหมือนตอยักษ์ หอเดวิลส์เกิดจากภูเขาไฟที่ดันตัวขึ้นมา แล้วถูกกัดกร่อน.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและอนุสาวรีย์สถานแห่งชาติหอเดวิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

อนเซ็ง

อนเซ็งกลางแจ้ง อนเซ็งในร่ม อนเซ็ง เป็นคำภาษาญี่ปุ่น หมายถึง บ่อน้ำร้อน แต่ปรกติแล้วหมายถึงที่พักและสิ่งอำนวยความสะดวกรอบ ๆ บ่อน้ำร้อน เนื่องจากประเทศญี่ปุ่นมีภูเขาไฟจำนวนมาก จึงมีอนเซ็งจำนวนเป็นพันตลอดประเทศ ตามรูปแบบดั้งเดิมแล้ว อนเซ็งเป็นสถานที่อาบน้ำสาธารณะ และปัจจุบันมีบทบาทสำคัญในการท่องเที่ยวญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและอนเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 13

อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 13 (America's Next Top Model, Cycle 13) เป็นฤดูกาลที่ 13 ของอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ออกอากาศครั้งแรกที่สหรัฐอเมริกา ทางช่อง CW ในวันที่ 9 กันยายน..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

ฮิวไมต์

วไมต์ (Humite) เป็นแร่ซิลิเกตและแมกนีเซียมที่โปร่งใสคล้ายแก้วสีเหลืองน้ำตาล ซึ่งเป็นแร่ที่เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟ พบครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและฮิวไมต์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบุรีรัมย์

ังหวัดบุรีรัมย์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 5 รองจากกรุงเทพมหานคร จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดขอนแก่น และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 17 ของประเทศไท.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและจังหวัดบุรีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมารินดูเค

ังหวัดมารินดูเค (Marinduque) เป็นจังหวัดที่เป็นเกาะในเขตมีมาโรปา ประเทศฟิลิปปินส์ มีศูนย์กลางอยู่ที่เทศบาลโบอัค ตั้งอยู่ระหว่างอ่าวตายาบัสทางทิศเหนือ กับทะเลซีบูยันทางทิศใต้ และตั้งอยู่ใกล้กับคาบสมุทรบอนด็อกของจังหวัดเคโซนทางทิศตะวันออก เกาะมินโดโรทางทิศตะวันตก และเกาะจังหวัดโรมโบลนทางทิศใต้ พื้นที่บางส่วนของช่องแคบเกาะเวิร์ด ศูนย์กลางความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเลของโลก ก็อยู่ในน่านน้ำของจังหวัดนี้ ในปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและจังหวัดมารินดูเค · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลัมปุง

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและจังหวัดลัมปุง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำปาง

ังหวัดลำปาง (40px) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือตอนบน ตั้งอยู่ในแอ่งที่ราบล้อมรอบด้วยภูเขา มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อเรียกอย่างหลากหลายตั้งแต่ เขลางค์นคร, เวียงละกอน, นครลำปาง ฯลฯ ในภายหลังเป็นที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เมืองรถม้า ที่สัมพันธ์กับเอกลักษณ์ของลำปาง.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและจังหวัดลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุรินทร์

รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและจังหวัดสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดร้อน

การแสดงให้เห็นภาพตัดขวางของชั้นธรณีฐาน(สีเหลือง)เมื่อมีแมกม่าขึ้นมาจากชั้นเนื้อโลก จุดร้อน (Hotspot) ในทางธรณีวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของพื้นผิวโลกที่คาดว่าอยู่ห่างจากขอบเขตการแปรสัณฐานของเปลือกโลก และเป็นปรากฏการณ์ทางภูเขาไฟอย่างหนึ่งซึ่งเกิดเนื่องมาจาก Mantle plume.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและจุดร้อน · ดูเพิ่มเติม »

จูราสสิค เวิลด์ อาณาจักรล่มสลาย

ูราสสิค เวิลด์ อาณาจักรล่มสลาย (Jurassic World: Fallen Kingdom) เป็นภาพยนตร์บันเทิงคดีวิทยาศาสตร์แนวผจญภัยจากประเทศสหรัฐอเมริกา ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและจูราสสิค เวิลด์ อาณาจักรล่มสลาย · ดูเพิ่มเติม »

ธรณีพิบัติภัย

ประเทศชิลี ค.ศ. 2007 ธรณีพิบัติภัย (geohazard) หมายถึง ภัยธรรมชาติที่เกิดจากกระบวนการทางธรณีวิทยา เช่น แผ่นดินไหว สึนามิ หลุมยุบ ดินถล่ม หิมะถล่ม ภูเขาไฟระเบิด เป็นต้น ถือเป็นภัยธรรมชาติที่เกิดจากกระบวนการทางธรณีวิทยาที่เกิดขึ้นโดยฉับพลันและรุนแรง ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บ้านเรือน ชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่เกิดเหต.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและธรณีพิบัติภัย · ดูเพิ่มเติม »

ธรณีวิทยา

The Blue Marble: ภาพนี้เป็นภาพถ่ายของโลก เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1972 ที่ถ่ายโดยแฮร์ริสสัน ชมิตต์ (Harrison Schmitt) นักธรณีวิทยาคนแรกที่ร่วมเดินทางไปกับยานอวกาศอะพอลโล 17 (Apollo 17) ที่เดินทางไปยังดวงจันทร์ ธรณีวิทยา, ธรณีศาสตร์ (Geology จากγη- (''เก-'', โลก) และ λογος (''ลอกอส'', ถ้อยคำ หรือ เหตุผล).) เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับโลก สสารต่าง ๆ ที่เป็นส่วนประกอบของโลก เช่น แร่ หิน ดินและน้ำ รวมทั้งกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ ตั้งแต่กำเนิดโลกจนถึงปัจจุบัน เป็นการศึกษาทั้งในระดับโครงสร้าง ส่วนประกอบทางกายภาพ เคมี และชีววิทยา ทำให้รู้ถึงประวัติความเป็นมา และสภาวะแวดล้อมในอดีตจนถึงปัจจุบัน ศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ทั้งภายใน และภายนอกที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นผิว วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ตลอดจนรูปแบบ และวิธีการนำเอาทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนอีกด้วย นักธรณีวิทยาศึกษาพบว่าโลกมีอายุประมาณ 4,500 ล้านปี (4.5x109 ปี) และเห็นตรงกันว่าเปลือกโลกแยกออกเป็นหลายแผ่น เรียกว่าแผ่นเปลือกโลก แต่ละแผ่นเคลื่อนที่อยู่เหนือเนื้อโลกหรือแมนเทิลที่มีสภาวะกึ่งหลอมเหลว เรียกกระบวนการนี้ว่าการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก นอกจากนี้ นักธรณีวิทยายังทำหน้าที่ระบุตำแหน่งและจัดการกับทรัพยากรธรรมชาติ เช่น แหล่งหิน แหล่งแร่ แหล่งปิโตรเลียมเช่น น้ำมันและถ่านหิน รวมทั้งโลหะอย่างเหล็ก ทองแดง และยูเรเนียม วิชาธรณีวิทยา มีความเกี่ยวข้องกับหลากหลายสาขาวิชา เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ มีการบูรณการความรู้จากหลากหลายวิชา เพื่อวิเคราะห์หาคำตอบเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นบนโลก โดยสามารถแบ่งออกเป็นหลากหลายสาขาวิชา เช่น ธรณีวิทยากายภาพ (Physical Geology) ธรณีวิทยาโครงสร้าง (Structural Geology) ธรณีวิทยาแปรสัณฐาน (Geotectonics, Tectonics) ตะกอนวิทยา (Sedimentology) ธรณีสัณฐานวิทยา (Geomorphology) ธรณีเคมี (Geochemistry) ธรณีฟิสิกส์ (Geophysics) ธรณีอุทกวิทยา (Geohydrology) บรรพชีวินวิทยา (Paleontology) เป็นต้น '''การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก''' วิชาธรณีวิทยานอกโลก ศึกษาองค์ประกอบทางธรณีวิทยาของวัตถุในระบบสุริยะ อย่างไรก็ตาม ยังมีศัพท์เฉพาะอื่น ๆ ที่ใช้เรียกธรณีวิทยานอกโลก เช่น "ศศิวิทยา" (selenology) ศึกษาธรณีวิทยาบนดวงจันทร์, areology ศึกษาธรณีวิทยาบนดาวอังคาร เป็นต้น วิชาธรณีวิทยา สามารถตอบปัญหาต่างๆ มากมาย ที่เกี่ยวข้องกับ วิวัฒนาการของโลก ดาวเคราะห์ และ จักรวาล ธรณีพิบัติภัย ภูเขาไฟ แผ่นดินไหว รอยเลื่อน สึนามิ อุทกภัย น้ำท่วม น้ำหลาก การกัดเซาะ ดินถล่ม หลุมยุบ ภูเขา แม่น้ำ ทะเล มหาสมุทร ทะเลทราย ไดโนเสาร์ ซากดึกดำบรรพ์หรือบรรพชีวินหรือฟอสซิล บั้งไฟพญานาค ไม้กลายเป็นหิน ถ่านหิน น้ำมัน ปิโตรเลียม เชื้อเพลิง แหล่งแร่ เหล็กไหล อุลกมณี โลกศาสตร.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและธรณีวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ธาร์ซิส

ร์ซิส (Tharsis) เป็นชื่อเรียกของที่ราบสูงขนาดใหญ่ใกล้เส้นศูนย์สูตรในซีกดาวเคราะห์ฝั่งทิศตะวันตกของดาวอังคาร เป็นที่ตั้งของภูเขาไฟขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยจักรวาลของเรานามว่า โอลิมปัส และยังมีภูเขาไฟรูปโล่ อีก 3 ลูกทอดเรียงตัวกัน คือ อาร์เซีย, แอสคาเออุส และ พาโวนิส ชื่อธาร์ซิสมาจากการถอดเสียงแบบกรีก–ละติน จากคำว่าทาร์ชิชซึ่งปรากฎในคัมภีร์ฮีบรู.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและธาร์ซิส · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาตินิการากัว

งชาตินิการากัว มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน ภายในแบ่งเป็นแถบกว้างเท่ากัน 3 แถบ​ ​แถบกลางเป็นสีขาว กลางแถบมีภาพตราแผ่นดินของนิการากัว แถบบนและแถบล่างที่ขนาบอยู่เป็นสีฟ้า ธงนี้มีต้นแบบมาจากธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง โดยได้แรงบันดาลใจมาจากธงชาติอาร์เจนตินา และได้ประกาศใช้เป็นธงชาติอย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2451 และ นำกลับมาใช้อีกครั้งเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2514.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและธงชาตินิการากัว · ดูเพิ่มเติม »

ถ้ำ

้ำ Lechuguilla นิวเม็กซิโก สหรัฐอเมริกา ถ้ำ ถ้ำ คือโพรงที่ลึกเข้าไปในภูเขา หรือเป็นช่องที่เป็นโพรงลึกเข้าไปในพื้นดินหรือภูเขา มีขนาดใหญ่พอที่มนุษย์สามารถเข้าไปได้ เกิดขึ้นตามธรรมชาติ โดยทั่วไปถ้ำเกิดในหินปูนที่มีน้ำใต้ดินไหลผ่านกัดเซาะ ซึ่งมักพบตามภูเขาหินปูนหรือ ภูเขาชายฝั่งทะเล นอกจากนี้ยังมีถ้ำที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์อีกด้ว.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและถ้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ทรายดำ

thumb ทรายดำ (black sand) เป็นตะกอนเม็ดทรายสีดำที่พบสะสมตัวบริเวณชายหาด ที่มีการสะสมตัวของเม็ดทรายสีดำที่มีความทนทานต่อการผุพังสลายตัว และมีความหนาแน่นมากกว่าแร่ควอตซ์ เป็นชายหาดที่มีกำลังคลื่นมากเพียงพอที่จะพัดพาเอาวัตถุที่มีความหนาแน่นน้อยกว่าออกไป โดยที่วัตถุที่มีความหนาแน่มากกว่าจะถูกพัดพาออกไปได้ช้ากว่าหรือยังคงตกสะสมตัวอยู่กับที่ สะสมตัวจนเกิดเป็นชายหาดที่มีทรายสีดำสะสมตัวเป็นหลัก หาดทรายดำอาจเกิดจากการตกสะสมตะกอนที่แตกหักมาจากหินต้นกำเนิด แล้วถูกพัดพาไปสะสมตัวบริเวณชายหาด (placer deposit) หรืออาจเกิดจากการที่ลาวาร้อนไหลลงไปสัมผัสกับน้ำทะเลอย่างฉับพลัน จนทำให้เกิดการระเบิดอย่างรุนแรง (steam explosion หรือ littoral explosion) ทำให้เกิดเม็ดทรายและถูกพัดพาไปสะสมตัวเป็นหาดทรายสีดำ.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและทรายดำ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอนตาร์กติกา

วเทียมของทวีปแอนตาร์กติกา แอนตาร์กติกา (Antarctica) เป็นทวีปที่อยู่ใต้สุดของโลกตั้งอยู่ในภูมิภาคแอนตาร์กติกในซีกโลกใต้และเป็นที่ตั้งขั้วโลกใต้ทางภูมิศาสตร์ เกือบทั้งหมดอยู่ในวงกลมแอนตาร์กติกและล้อมลอบด้วยมหาสมุทรใต้ มีพื้นที่ประมาณ 14,000,000 ตารางกิโลเมตร เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 5 ของโลกใหญ่กว่าทวีปออสเตรเลียถึง 2 เท่า พื้นที่ 98% ของทวีปปกคลุมด้วยน้ำแข็งหนาเฉลี่ย 1.9 กิโลเมตร ซึ่งครอบคลุมพื้นที่เกือบจะถึงเหนือสุดของคาบสมุทรแอนตาร์กติก โดยค่าเฉลี่ยแล้วแอนตาร์กติกาเป็นทวีปที่หนาวที่สุด แห้งแล้งที่สุด ลมแรงที่สุดและมีความสูงโดยเฉลี่ยมากที่สุด แอนตาร์กติกาเป็นทะเลทรายที่มีหยาดน้ำฟ้าเฉลี่ย 200 มิลลิเมตรต่อปีตามแนวชายฝั่งและพื้นที่ภายใน แม้ว่าช่วงที่หนาวสุดของปีจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย −63 °C แต่อุณหภูมิอาจต่ำถึง −89.2 °C (และอาจถึง -94.7 ° C หากวัดจากอากาศ) บางสถานที่มีคนราว 1,000 ถึง 5,000 คนอาศัยในสถานีวิจัยที่กระจายอยู่ทั่วที้งทวีปตลอดทั้งปี สิ่งมีชีวิตในแอนตาร์กติกาจะเป็นพวกสาหร่าย แบคทีเรีย เห็ดรา พืช โพรทิสต์และสัตว์บางชนิดเช่นตัวเห็บ ตัวไร นีมาโทดา เพนกวิน สัตว์ตีนครีบและหมีน้ำส่วนพืชก็จะเป็นพวกทันดรา แม้ว่ามีตำนานเล่าขานเกี่ยวกับการมีอยู่ของดินแดนใต้ตั้งแต่ยุคโบราณ แอนตาร์กติกาถูกระบุว่าเป็นดินแดนสุดท้ายบนโลกในประวัติศาสตร์ที่ถูกค้นพบเพราะไม่มีใครเคยพบเลยจนกระทั่ง..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและทวีปแอนตาร์กติกา · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบปล่องภูเขาไฟ

ทะเลสาบปล่องภูเขาไฟ (Crater lake) เป็นทะเลสาบที่เกิดขึ้นภายในปล่องภูเขาไฟ อย่างเช่น Maar หรือแคลดีรา บางครั้งอาจเรียกว่า ทะเลสาบแคลดีรา แต่โดยทั่วไปแล้วมักจะไม่เรียกเช่นนั้น ทะเลสาบปล่องภูเขาไฟที่อยู่ในปล่องของภูเขาไฟมีพลังอาจเรียกในอีกชื่อหนึ่งว่า Volcanic lakes และน้ำในทะเลสาบลักษณะนี้มักจะมีสภาพเป็นกรด เต็มไปด้วยแก๊สภูเขาไฟ และมีสีเขียวเข้ม ขณะที่ทะเลสาบที่ตั้งอยู่ในปล่องภูเขาไฟสงบหรือภูเขาไฟดับสนิทมักจะมีน้ำที่ใส และจะยิ่งใสมากเป็นพิเศษถ้าไม่มีธารน้ำและตะกอนไหลเข้ามา ทะเลสาบปล่องภูเขาไฟเกิดขึ้นเมื่อหยาดน้ำฟ้าตกลงมาในแอ่ง ความลึกจะเพิ่มมากขึ้นจนกระทั่งเกิดสมดุลระหว่างอัตราของน้ำที่เข้ามาและอัตราของน้ำที่เสียไปซึ่งอาจเกิดจากการระเหย การซึมลงใต้ดิน และอาจรวมถึงการไหลออกบนผิวดินหากระดับน้ำในทะเลสาบสูงถึงจุดที่ต่ำที่สุดของขอบแอ่ง ซึ่งการไหลออกบนผิวดินนี้อาจกัดเซาะสิ่งทับถมที่กั้นทะเลสาบไว้ และถ้าสิ่งทับถมนี้ถูกกัดเซาะอย่างรวดเร็ว ก็จะทำให้เกิด Lake breakout ขึ้นได้ ตัวอย่างของทะเลสาบปล่องภูเขาไฟที่มีชื่อเสียงคือ Crater Lake ซึ่งมีชื่อเดียวกับศัพท์ทางธรณีวิทยา ตั้งอยู่ในแคลดีราของ Mount Mazama (ดังนั้นชื่อ "Crater Lake" จึงเป็นชื่อที่ตั้งขึ้นอย่างไม่ถูกต้อง) ในรัฐออริกอน สหรัฐอเมริกา จัดเป็นทะเลสาบที่ลึกที่สุดในสหรัฐอเมริกา โดยมีความลึก 594 เมตร น้ำใน Crater Lake มาจากฝนและหิมะเท่านั้น โดยไม่มีการไหลเข้าและออกที่ระดับผิวดิน ดังนั้นจึงเป็นทะเลสาบที่มีความใสมากที่สุดแห่งหนึ่งในโลก ภูเขาไฟที่สูงที่สุดในโลกคือ Ojos del Salado ซึ่งมีความสูง 6,893 เมตร มีทะเลสาบปล่องภูเขาไฟขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 100 เมตร อยู่ที่ระดับความสูง 6,390 เมตรทางด้านตะวันออกของภูเขาไฟ อาจถือได้ว่าเป็นทะเลสาบที่อยู่ที่ระดับความสูงมากที่สุดในโลก ทะเลสาบปล่องภูเขาไฟบางแห่งจะคงตัวอยู่เป็นพักๆเท่านั้นเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ผันแปร ขณะที่ทะเลสาบแคลดีราสามารถคงตัวอยู่ได้นานมาก ตัวอย่างเช่น ทะเลสาบโทบาที่เกิดขึ้นเมื่อหลังจากภูเขาไฟระเบิดเมื่อประมาณ 70,000 ปีก่อน และมีพื้นที่มากกว่า 1,000 ตารางกิโลเมตร ทะเลสาบปล่องภูเขาไฟหลายแห่งอาจมีความงดงามดั่งวาด แต่ก็มีอันตรายถึงแก่ชีวิตได้เช่นกัน ตัวอย่างเช่นแก๊สที่ปล่อยออกจาก Lake Nyos ทำให้มีผู้เสียชีวิตจากการขาดอากาศหายใจราว 800 คนเมื่อ..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและทะเลสาบปล่องภูเขาไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบแทนกันยีกา

ทะเลสาบแทนกันยีกา (Lake Tanganyika) เป็นทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ในเขตรอยต่อ 4 ประเทศด้วยกัน ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม), แทนซาเนีย, แซมเบีย และบุรุนดี เป็นแหล่งน้ำจืดที่สำคัญเป็นอันดับที่สองในแอฟริการองจากทะเลสาบวิกตอเรีย นอกจากนั้นยังเป็นทะเลสาบที่ใหญ่เป็นอันดับสองในทวีปแอฟริกาและลึกที่สุดในทวีปแอฟริกาอีกด้วย จุดที่มีความลึกที่สุดลึกกว่า 1,470 เมตร ทะเลสาบแทนกันยีกาเกิดจากการทรุดตัวของแผ่นเปลือกโลกและภูเขาไฟระเบิด เมื่อราว 20 ล้านปีมาแล้ว นับเป็นทะเลสาบแห่งหนึ่งที่มีอายุเก่าแก่ในทวีปแอฟริกา ซึ่งตั้งอยู่ในแนวเกรตริฟต์แวลลีย์ โดยคำว่า "แทนกันยีกา" นั้นมาจากภาษาสวาฮิลีสองคำ คือ "tangan" หมายถึง "เรือใบ" และ "nyika" หมายถึง "ป่า" หรือ "ไม่มีที่อยู่" โดยรวมอาจหมายความว่า "เรือใบที่แล่นในถิ่นทุรกันดาร" ก็ได้ ทะเลสาบแทนกันยีกา มีความยาวจัดจากเหนือจรดใต้ได้ถึง 673 กิโลเมตร แต่มีความกว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 50 กิโลเมตร มีพื้นที่โดยรวมประมาณ 3,2892 ตารางกิโลเมตร ความยาวรอบชายฝั่งวัดรวมกันได้ 1,828 กิโลเมตร และยังเป็นทะเลสาบน้ำจืดที่มีความลึกเป็นอันดับสองของโลกรองจากทะเลสาบไบคาล ในไซบีเรีย มีดินแดนติดกับคองโกราวร้อยละ 45 และติดกับแทนซาเนียร้อยละ 41 โดยประมาณ น้ำในทะเลสาบไหลสู่แม่น้ำคองโกในตอนกลางของทวีป และจะไหลไปลงทะเลที่ตอนแอฟริกาตะวันตกที่มหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลสาบแห่งนี้มีความโดดเด่นเรื่องของอุณหภูมิที่ค่อนข้างเสถียร เรื่องจากข้างล่างทะเลสาบยังคงมีภูเขาไฟ น้ำมีการเปลี่ยนแปลงในแนวตั้งน้อยมาก ในความลึกเกิน 300 เมตร ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำค่อนข้างน้อย จึงมักไม่ค่อยมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ อุณหภูมิโดยเฉลี่ยมีความเปลี่ยนแปลงต่างกันไม่เกิน 5 ฟาเรนไฮต์ โดยบริเวณผิวน้ำจะมีอุณหภูมิประมาณ 73-88 ฟาเรนไฮต์ ค่าความเป็นกรด-ด่างของน้ำอยู่ที่ประมาณ 7.5-9.3 (pH) ระบบนิเวศของทะเลสาบแทนกันยีกา แบ่งออกได้เป็นสองส่วนหลัก คือ ระบบชายฝั่งและพื้นที่นอกชายฝั่ง ซึ่งสามารถแบ่งระบบนิเวศตามสภาพแวดล้อมที่ต่างกันได้ ดังนี้.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและทะเลสาบแทนกันยีกา · ดูเพิ่มเติม »

ทิวเขาพะโค

ทิวเขาพะโค (ပဲခူးရိုးမ) เป็นช่วงของทิวเขาเตี้ย ๆ เนินเขาSeekins, Donald M. (2006) Historical dictionary of Burma (Myanmar) Scarecrow Press, Lanham, Maryland,, และพื้นที่สูง ระหว่างแม่น้ำอิรวดีกับแม่น้ำสะโตงในภาคกลางของพม่า แนวทิวเขาลากยาวจากภูเขาโปปาทางตอนเหนือ สู่เนินเขาสิงห์กุตระ (เชียงกุตระ) ทางตอนใต้ ทั้งแม่น้ำพะโคและแม่น้ำสะโตง ล้วนมีต้นกำเนิดจากทิว.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและทิวเขาพะโค · ดูเพิ่มเติม »

ดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟ

วามสัมพันธ์กันระหว่างดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟและปริมาณตกกระทบ ดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟ (Volcanic Explosivity Index หรือ VEI) เป็นมาตราสัมพัทธ์ของการระเบิดของภูเขาไฟ ถูกคิดค้นขึ้นโดยคริสโตเฟอร์ จี นิวฮอลล์แห่งหน่วยงานสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกาและสตีเฟน เซลฟ์ ที่มหาวิทยาลัยฮาวาย เมื่อปี 1982 ปริมาณของผลผลิต ความสูงของเมฆที่เกิดจากการปะทุ และการสังเกตการณ์เชิงคุณภาพ ใช้เพื่อกำหนดค่าของการระเบิด มาตรานี้เป็นมาตราปลายเปิดโดยมีขนาดของกิจกรรมภูเขาไฟที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ที่ 8 ซึ่งค่าเริ่มจาก 0 สำหรับภูเขาไฟที่ไม่ได้ระเบิด โดยนิยามว่าน้อยกว่า 10,000 ม.3 ของเทบพราที่พุ่งออกมา และ 8 จะนิยามถึงการระเบิดครั้งมหึมา ซึ่งสามารถพ่นเทบพราออกมาได้ 1.0 × 1012 ม.3 และมีเมฆสูงในแนวตั้งกว่า 20 กิโลเมตร มาตราส่วนนี้เป็นลอการิทึมกับแต่ละช่วงเวลาในมาตราที่แสดงถึงการเพิ่มขึ้นเป็นสิบเท่าในเกณฑ์การพุ่งที่สังเกตได้ ยกเว้น VEI 0, 1 และ 2.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ดาราศาสตร์

ราจักรทางช้างเผือก ดาราศาสตร์ คือวิชาวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาวัตถุท้องฟ้า (อาทิ ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดาวหาง และดาราจักร) รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากนอกชั้นบรรยากาศของโลก โดยศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ลักษณะทางกายภาพ ทางเคมี ทางอุตุนิยมวิทยา และการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้า ตลอดจนถึงการกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพ ดาราศาสตร์เป็นหนึ่งในสาขาของวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด นักดาราศาสตร์ในวัฒนธรรมโบราณสังเกตการณ์ดวงดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน และวัตถุทางดาราศาสตร์หลายอย่างก็ได้ถูกค้นพบเรื่อยมาตามยุคสมัย อย่างไรก็ตาม กล้องโทรทรรศน์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่จำเป็นก่อนที่จะมีการพัฒนามาเป็นวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ตั้งแต่อดีตกาล ดาราศาสตร์ประกอบไปด้วยสาขาที่หลากหลายเช่น การวัดตำแหน่งดาว การเดินเรือดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ การสร้างปฏิทิน และรวมทั้งโหราศาสตร์ แต่ดาราศาสตร์ทุกวันนี้ถูกจัดว่ามีความหมายเหมือนกับฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ดาราศาสตร์ได้แบ่งออกเป็นสองสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์จะให้ความสำคัญไปที่การเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้ความรู้ทางกายภาพเบื้องต้นเป็นหลัก ส่วนดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีให้ความสำคัญไปที่การพัฒนาคอมพิวเตอร์หรือแบบจำลองเชิงวิเคราะห์ เพื่ออธิบายวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทั้งสองสาขานี้เป็นองค์ประกอบซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีใช้อธิบายผลจากการสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ใช้ในการรับรองผลจากทางทฤษฎี การค้นพบสิ่งต่าง ๆ ในเรื่องของดาราศาสตร์ที่เผยแพร่โดยนักดาราศาสตร์สมัครเล่นนั้นมีความสำคัญมาก และดาราศาสตร์ก็เป็นหนึ่งในวิทยาศาสตร์จำนวนน้อยสาขาที่นักดาราศาสตร์สมัครเล่นยังคงมีบทบาท โดยเฉพาะการค้นพบหรือการสังเกตการณ์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว ไม่ควรสับสนระหว่างดาราศาสตร์โบราณกับโหราศาสตร์ ซึ่งเป็นความเชื่อที่นำเอาเหตุการณ์และพฤติกรรมของมนุษย์ไปเกี่ยวโยงกับตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า แม้ว่าทั้งดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เกิดมาจากจุดร่วมเดียวกัน และมีส่วนหนึ่งของวิธีการศึกษาที่เหมือนกัน เช่นการบันทึกตำแหน่งดาว (ephemeris) แต่ทั้งสองอย่างก็แตกต่างกัน ในปี ค.ศ. 2009 นี้เป็นการครบรอบ 400 ปีของการพิสูจน์แนวคิดเรื่องดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล ของ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส อันเป็นการพลิกคติและโค่นความเชื่อเก่าแก่เรื่องโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลของอริสโตเติลที่มีมาเนิ่นนาน โดยการใช้กล้องโทรทรรศน์สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ของกาลิเลโอซึ่งช่วยยืนยันแนวคิดของโคเปอร์นิคัส องค์การสหประชาชาติจึงได้ประกาศให้ปีนี้เป็นปีดาราศาสตร์สากล มีเป้าหมายเพื่อให้สาธารณชนได้มีส่วนร่วมและทำความเข้าใจกับดาราศาสตร์มากยิ่งขึ้น.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวอังคาร

วอังคาร (Mars) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สี่จากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์เล็กที่สุดอันดับที่สองในระบบสุริยะรองจากดาวพุธ ในภาษาอังกฤษได้ชื่อตามเทพเจ้าแห่งสงครามของโรมัน มักได้รับขนานนาม "ดาวแดง" เพราะมีออกไซด์ของเหล็กดาษดื่นบนพื้นผิวทำให้มีสีออกแดงเรื่อ ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์หินที่มีบรรยากาศเบาบาง มีลักษณะพื้นผิวคล้ายคลึงกับทั้งหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ และภูเขาไฟ หุบเขา ทะเลทราย ตลอดจนพิดน้ำแข็งขั้วดาวที่ปรากฏบนโลก คาบการหมุนรอบตัวเองและวัฏจักรฤดูกาลของดาวอังคารก็มีความคล้ายคลึงกับโลกซึ่งความเอียงก่อให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ ดาวอังคารเป็นที่ตั้งของโอลิมปัสมอนส์ ภูเขาไฟใหญ่ที่สุดบนดาวอังคารและสูงสุดอันดับสองในระบบสุริยะเท่าที่มีการค้นพบ และเป็นที่ตั้งของเวลส์มาริเนริส แคนยอนขนาดใหญ่อันดับต้น ๆ ในระบบสุริยะ แอ่งบอเรียลิสที่ราบเรียบในซีกเหนือของดาวปกคลุมกว่าร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมดและอาจเป็นลักษณะการถูกอุกกาบาตชนครั้งใหญ่ ดาวอังคารมีดาวบริวารสองดวง คือ โฟบอสและดีมอสซึ่งต่างก็มีขนาดเล็กและมีรูปร่างบิดเบี้ยว ทั้งคู่อาจเป็นดาวเคราะห์น้อยที่ถูกจับไว้ คล้ายกับทรอยของดาวอังคาร เช่น 5261 ยูเรกา ก่อนหน้าการบินผ่านดาวอังคารที่สำเร็จครั้งแรกของ มาริเนอร์ 4 เมื่อปี 1965 หลายคนคาดว่ามีน้ำในรูปของเหลวบนพื้นผิวดาวอังคาร แนวคิดนี้อาศัยผลต่างเป็นคาบที่สังเกตได้ของรอยมืดและรอยสว่าง โดยเฉพาะในละติจูดขั้วดาวซึ่งดูเป็นทะเลและทวีป บางคนแปลความรอยมืดริ้วลายขนานเป็นร่องทดน้ำสำหรับน้ำในรูปของเหลว ภายหลัง มีการอธิบายว่าภูมิประเทศเส้นตรงเหล่านั้นเป็นภาพลวงตา แม้ว่าหลักฐานทางธรณีวิทยาที่ภารกิจไร้คนบังคับรวบรวมชี้ว่า ครั้งหนึ่งดาวอังคารเคยมีน้ำปริมาณมากปกคลุมบนพื้นผิว ณ ช่วงใดช่วงหนึ่งในระยะต้น ๆ ของอายุ ในปี 2005 เรดาร์เผยว่ามีน้ำแข็งน้ำ (water ice) ปริมาณมากขั้วทั้งสองของดาว และที่ละติจูดกลาง ยานสำรวจภาคพื้นดาวอังคารสปิริต พบตัวอย่างสารประกอบเคมีที่มีโมเลกุลน้ำเมื่อเดือนมีนาคม 2007 ส่วนลงจอดฟีนิกซ์ พบตัวอย่างน้ำแข็งน้ำโดยตรงในดินส่วนตื้นของดาวอังคารเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2008 มียานอวกาศที่กำลังปฏิบัติงานอยู่เจ็ดลำ ห้าลำอยู่ในวงโคจร ได้แก่ 2001 มาร์สโอดิสซี มาร์สเอ็กซ์เพรส มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ เมเว็น และมาร์สออร์บิเตอร์มิชชัน และสองลำบนพื้นผิว ได้แก่ ยานสำรวจภาคพื้นดาวอังคารออปพอร์ทูนิตี และยานมาร์สไซแอนซ์แลบอราทอรีคิวริออซิตี การสังเกตโดย มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ เปิดเผยว่ามีความเป็นไปได้ที่จะมีน้ำไหลในช่วงเดือนที่ร้อนที่สุดบนดาวอังคาร ในปี 2013 ยานคิวริออซิตี ของนาซาค้นพบว่าดินของดาวอังคารมีน้ำเป็นองค์ประกอบระหว่างร้อยละ 1.5 ถึง 3 โดยมวล แม้ว่าน้ำนั้นจะติดอยู่กับสารประกอบอื่น ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงได้โดยอิสระ กำลังมีการสืบค้นเพื่อประเมินศักยภาพความสามารถอยู่อาศัยได้ในอดีตของดาวอังคาร ตลอดจนความเป็นไปได้ที่จะมีสิ่งมีชีวิตหลงเหลืออยู่ มีการสืบค้นบริเวณนั้นโดยส่วนลงจอด ''ไวกิง'' โรเวอร์ สปิริต และออปพอร์ทูนิตี ส่วนลงจอดฟีนิกซ์ และโรเวอร์ คิวริออซิตี มีการวางแผนภารกิจทางชีวดาราศาสตร์ไว้แล้ว ซึ่งรวม มาร์ส 2020 และเอ็กโซมาร์สโรเวอร์ ดาวอังคารสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจากโลกโดยง่ายซึ่งจะปรากฏให้เห็นเป็นสีออกแดง มีความส่องสว่างปรากฏได้ถึง −2.91 ซึ่งเป็นรองเพียงดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์ ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ กล้องโทรทรรศน์ภาคพื้นดินโดยทั่วไปมีขีดจำกัดการมองเห็นรายละเอียดของภูมิประเทศขนาดประมาณ 300 กิโลเมตรเมื่อโลกและดาวอังคารเข้าใกล้กันมากที่สุดอันเป็นผลจากบรรยากาศของโลก.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและดาวอังคาร · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 16

อะเมซิ่ง เรซ 16 (The Amazing Race 16) เป็นฤดูกาลที่ 16 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและดิอะเมซิ่งเรซ 16 · ดูเพิ่มเติม »

คลื่นสึนามิ

แสดงคลื่นสึนามิพัดขึ้นฝั่ง คลื่นสึนามิ เป็นกลุ่มคลื่นน้ำที่เกิดขึ้นจากการย้ายที่ของปริมาตรน้ำก้อนใหญ่ คือ มหาสมุทรหรือทะเลสาบขนาดใหญ่ แผ่นดินไหว การปะทุของภูเขาไฟและการระเบิดใต้น้ำอื่นๆ (รวมทั้งการจุดวัตถุระเบิดหรือวัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้ำ) ดินถล่ม ธารน้ำแข็งไถล อุกกาบาตตกและการรบกวนอื่น ไม่ว่าเหนือหรือใต้น้ำ ล้วนอาจก่อให้เกิดเป็นคลื่นสึนามิได้ทั้งสิ้น คลื่นสึนามิไม่เหมือนกับคลื่นทะเล(tidal wave)ตามปกติ เพราะมีความยาวคลื่นยาวกว่ามาก แทนที่จะเป็นคลื่นหัวแตก (breaking wave) ตามปกติ คลื่นสึนามิเริ่มแรกอาจดูเหมือนกับว่าคลื่นน้ำเพิ่มระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และด้วยเหตุนี้ คลื่นสึนามิจึงมักเรียกว่าเป็นคลื่นยักษ์ โดยทั่วไป คลื่นสึนามิประกอบด้วยกลุ่มคลื่นซึ่งมีคาบเป็นนาทีหรืออาจมากถึงชั่วโมง มากันเรียกว่าเป็น "คลื่นขบวน" (wave train) ความสูงของคลื่นหลายสิบเมตรนั้นอาจเกิดขึ้นได้จากเหตุการณ์ขนาดใหญ่ แม้ผลกระทบของคลื่นสึนามินั้นจะจำกัดอยู่แค่พื้นที่ชายฝั่ง แต่อำนาจทำลายล้างของมันสามารถมีได้ใหญ่หลวงและสามารถมีผลกระทบต่อทั้งแอ่งมหาสมุทร คลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 เป็นหนึ่งในภัยธรรมชาติครั้งที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ โดยมีผู้เสียชีวิตกว่า 230,000 คน ใน 14 ประเทศที่ติดกับมหาสมุทรอินเดีย ธูซิดดิดีส นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก เสนอเมื่อ 426 ปีก่อนคริสตกาล ว่า คลื่นสึนามิเกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวใต้ทะเลThucydides: แต่ความเข้าใจในธรรมชาติของคลื่นสึนามิยังมีเพียงเล็กน้อยกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 และยังมีอีกมากที่ยังไม่ทราบในปัจจุบัน ขณะที่แผ่นดินไหวที่รุนแรงน้อยกว่ามากกลับก่อให้เกิดคลื่น พยายามพยากรณ์เส้นทางของคลื่นสึนามิข้ามมหาสมุทรอย่างแม่นยำ และยังพยากรณ์ว่าคลื่นสึนามิจะมีปฏิสัมพันธ์กับชายฝั่งแห่งหนึ่ง ๆ อย่างไร.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและคลื่นสึนามิ · ดูเพิ่มเติม »

ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก

10.1126/science.1177265 ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก (global catastrophic risk) เป็นเหตุการณ์สมมุติในอนาคต ที่อาจทำความเสียหายต่อมนุษย์อย่างรุนแรงทั่วโลก เหตุการณ์บางอย่างอาจทำลาย หรือทำความเสียหายแก่ อารยธรรมที่มีในปัจจุบัน หรือเหตุการณ์ที่รุนแรงกว่านั้น อาจทำให้มวลมนุษย์สูญพันธุ์ ซึ่งเรียกได้ว่า เป็นความเสี่ยงต่อการอยู่รอดของมนุษย์ (existential risk) ภัยพิบัติตามธรรมชาติ เช่น การระเบิดของซูเปอร์ภูเขาไฟ และการวิ่งชนโลกของดาวเคราะห์น้อย จะเป็นความเสี่ยงในระดับนี้ถ้ารุนแรงเพียงพอ เหตุการณ์ที่มนุษย์เป็นเหตุ ก็อาจจะเป็นความเสี่ยงต่อการอยู่รอดของสัตว์ฉลาดต่าง ๆ ของโลก เช่น ปรากฏการณ์โลกร้อน สงครามนิวเคลียร์ หรือการก่อการร้ายชีวภาพ สถาบันอนาคตของมนุษยชาติ (Future of Humanity Institute) ที่เป็นส่วนของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เชื่อว่า การสูญพันธุ์ของมนุษย์ น่าจะมีเหตุมาจากมนุษย์เอง มากกว่าจากเหตุการณ์ทางธรรมชาติ แต่ว่า เป็นเรื่องยากลำบากที่จะศึกษาการสูญพันธุ์ของมนุษย์ เพราะไม่เคยมีเหตุการณ์นี้จริง ๆ แม้นี่จะไม่ได้หมายความว่า จะไม่เกิดขึ้นในอนาคต แต่ว่า การสร้างแบบจำลองของความเสี่ยงต่อความอยู่รอด เป็นเรื่องยาก โดยส่วนหนึ่งเพราะผู้ศึกษามีความเอนเอียงจากการอยู่รอด คือมีความคิดผิดพลาดที่พุ่งความสนใจไปในสิ่งที่อยู่รอด จนทำให้เหตุผลไม่ตรงกับความจริง.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก · ดูเพิ่มเติม »

คิโย โมะงิ

มะงิ เป็นนักแผ่นดินไหววิทยาที่โด่งดังในประเทศญี่ปุ่น ได้รับสมญาว่า "นักวิเคราะห์แผ่นดินไหวที่วิเคราะห์แผ่นดินไหวได้แม่นยำที่สุดมากของประเทศญี่ปุ่น" The Times, published 2007-07-19, accessed 2011-03-18 และเป็นอดีตประธานคณะกรรมการประสานงานโครงการแผ่นดินไหวญี่ปุ่น (CCEP) Nature, vol 448, 392-393,, published 2007-07-25, accessed 2011-03-18 คิโย โมะงิได้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถาบันการค้นหาแผ่นดินไหว มหาวิทยาลัยนครโตเกียว และผู้เชี่ยวชาญระดับพิเศษ มหาวิทยาลัยนิเฮ็น และเป็นศาสตราจารย์กิตติคุณที่มหาวิทยาลัยนครโตเกียว Kiyoo Mogi, Earth Planets Space, Vol.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและคิโย โมะงิ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง

ตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง, หรือที่รู้จักกันในชื่อ สหมณฑลแห่งอเมริกากลาง ได้รับการรับรองโดยรัฐสภาสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม ค.ศ. 1823 ภายหลังจากที่ได้แยกตัวประกาศอิสรภาพจากสเปน.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของคอสตาริกา

ตราแผ่นดินของคอสตาริกา (Escudo de Costa Rica) ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2391 (ค.ศ. 1848), แก้ไขเพิ่มเติม ครั้งที่1 เมื่อ พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) และ ครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964), การแก้ไขครั้งล่าสุดเมื่อ..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและตราแผ่นดินของคอสตาริกา · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของนิการากัว

ตราแผ่นดินของนิการากัว ประกาศใช้อย่างเป็นทางการครั้งแรก เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม ค.ศ. 1823 ดวงตราแผ่นดินนี้ มีต้นแบบมาจากตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง ในระยะเวลาต่อมาได้มีการแก้ไขแบบตราแผ่นดินอยู่หลายครั้ง โดยแบบตราปัจจุบันเริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อปี ค.ศ. 1971 (โดยแก้ไขแบบตราแผ่นดินครั้งล่าสุดในปี ค.ศ. 1999).

ใหม่!!: ภูเขาไฟและตราแผ่นดินของนิการากัว · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเอลซัลวาดอร์

ตราแผ่นดินของเอลซัลวาดอร์ ประกาศใช้อย่างเป็นทางการครั้งแรก เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม ค.ศ. 1823 ดวงตราแผ่นดินนี้ มีต้นแบบมาจากตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง ในระยะเวลาต่อมาได้มีการแก้ไขแบบตราแผ่นดินอยู่หลายครั้ง โดยแบบตราปัจจุบันเริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1912.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและตราแผ่นดินของเอลซัลวาดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ตุมเปิง

ตุมเปิง (tumpeng) เป็นอาหารประเภทข้าวที่จัดให้พูนสูงเป็นรูปกรวย โดยใช้กรวยจากใบไผ่หรือใบตองเป็นแม่พิมพ์ กินกับอาหารจานผักและเนื้อ นิยมใช้ในงานเฉลิมฉลอง ข้าวที่ใช้อาจเป็นข้าวนึ่ง ข้าวมัน (นาซีอูดุก) หรือข้าวสีเหลือง (นาซีอูดุกที่เติมขมิ้น).

ใหม่!!: ภูเขาไฟและตุมเปิง · ดูเพิ่มเติม »

ซามูไรทรูปเปอร์

ซามูไรทรูปเปอร์ (Ronin Warriors) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น แนวโชเน็น แต่งโดยยาทาเตะ ฮาจิเมะ ผลิตโดยบริษัทซันไรส์ ออกอากาศที่ประเทศญี่ปุ่น ทางสถานีนาโงยะ ทีวีและทีวีอาซาฮี ทุกวันเสาร์ เวลา 17.30-18.00 น. ตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2531 ถึง 4 มีนาคม พ.ศ. 2532 มีความยาวทั้งสิ้น 39 ตอน และต่อมาสร้างเป็นโอวีเออีก 3 ภาคด้วยกัน ในปี พ.ศ. 2532 ถึง พ.ศ. 2534.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและซามูไรทรูปเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซิมซิตี 4

ซิมซิตี 4 (SimCity 4) เป็นวิดีโอเกมแนววางแผน สร้างเมืองตัวที่ 4 ของเกมชุดซิมซิตี เริ่มวางจำหน่ายเมื่อ 10 มกราคม ค.ศ. 2003 สร้างโดย Maxis เขียนโดย Electronic Arts และมีภาคเสริมในภายใต้ชื่อ Simcity 4 Deluxe Edition และ Simcity 4 Rush Hour ซึ่งออกมาในเวลาต่อมา เพื่อพัฒนาปรับปรุงและเพิ่มเติมคุณสมบัติบางอย่างจากซิมซิตี 4 เดิม ในภาคนี้มีระบบกราฟิกที่ดีกว่าในภาคที่แล้ว และมีหลายอย่างที่เปลี่ยนแปลงเช่น ในภาคนี้เราสามารถปรับภูมิทัศน์ได้ตั้งแต่เริ่มต้น ส่วนหน้าจอหลักจะมีพื่นที่ที่แบ่งเป็นสัดส่วนเรียกว่าภูมิภาค สามารถนำชาวซิมเข้าไปในเมืองได้ มีภัยพิบัติทีเราสามารถกำหนดเองได้ และตัวเกมจะไม่สุ่มภัยพิบัติเกิดขึ้น ในภาคเสริม มีรูปแบบการคมนาคมใหม่ ขับยานพาหนะได้ ภัยพิบัติใหม.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและซิมซิตี 4 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศวานูอาตู

วานูอาตู (บิสลามา, อังกฤษ และVanuatu) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐวานูอาตู (บิสลามา: Ripablik blong Vanuatu; Republic of Vanuatu; République de Vanuatu) เป็นประเทศหมู่เกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศออสเตรเลีย 1,750 กม.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและประเทศวานูอาตู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองงา

ตองงา (อังกฤษและTonga) มีชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรตองงา (Kingdom of Tonga; Puleʻanga Fakatuʻi ʻo Tonga ปูเลอางา ฟากาตูอีโอโตงา) เป็นประเทศหมู่เกาะในภูมิภาคพอลินีเชีย ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างประเทศนิวซีแลนด์กับรัฐฮาวายของสหรัฐอเมริกา โดยทะเลอาณาเขตทางตะวันตกติดกับประเทศฟิจิ ส่วนทางตะวันออกติดกับหมู่เกาะคุก นีวเว และอเมริกันซามัว ในขณะที่ทางทิศเหนือติดกับหมู่เกาะวาลิสและฟูตูนา ประเทศซามัว และอเมริกันซามัว ชื่อประเทศในภาษาตองงาแปลว่าทิศใต้ นอกจากนี้ประเทศนี้ได้รับฉายาว่า หมู่เกาะมิตรภาพ จากกัปตันเจมส์ คุก ประเทศตองงาเป็นประเทศขนาดเล็กมีเนื้อที่เพียง 747 ตารางกิโลเมตร นับเป็นอันดับที่ 189 ของโลก หมู่เกาะตองงาประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่ประมาณ 169 เกาะ โดยมีเพียง 36 เกาะเท่านั้นที่มีผู้อยู่อาศัย เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะโตงาตาปู ซึ่งเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองคือนูกูอาโลฟา เกาะส่วนใหญ่ของตองงาเป็นเกาะที่เกิดจากการทับถมของปะการัง ประชากรของตองงามีทั้งสิ้น 103,036 คน นับเป็นอันดับที่ 192 ของโลก สันนิษฐานว่ามนุษย์เข้ามาอยู่อาศัยในตองงาครั้งแรกเมื่อ 826 ± 8 ปีก่อนคริสตกาล ตองงาเริ่มก่อตั้งอาณาจักรเป็นของตนเองในปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและประเทศตองงา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตุรกี

ประเทศตุรกี (Turkey; Türkiye ทือรคีเย) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐตุรกี (Republic of Turkey; Türkiye Cumhuriyeti) เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาในยูเรเซีย พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันตก โดยมีส่วนน้อยในอีสเทรซในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศตุรกีมีพรมแดนติดต่อกับ 8 ประเทศ ได้แก่ ประเทศซีเรียและอิรักทางใต้ ประเทศอิหร่าน อาร์มีเนียและดินแดนส่วนแยกนาคีชีวันของอาเซอร์ไบจานทางตะวันออก ประเทศจอร์เจียทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศบัลแกเรียทางตะวันตกเฉียงเหนือ และประเทศกรีซทางตะวันตก ทะเลดำอยู่ทางเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางใต้ และทะเลอีเจียนทางตะวันตก ช่องแคบบอสฟอรัส ทะเลมาร์มะราและดาร์ดะเนลส์ (รวมกันเป็นช่องแคบตุรกี) แบ่งเขตแดนระหว่างเทรซและอานาโตเลีย และยังแยกทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย ที่ตั้งของตุรกี ณ ทางแพร่งของยุโรปและเอเชียทำให้ตุรกีมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์อย่างยิ่ง ประเทศตุรกีมีผู้อยู่อาศัยมาตั้งแต่ยุคหินเก่า มีอารยธรรมอานาโตเลียโบราณต่าง ๆ เอโอเลีย โดเรียและกรีกไอโอเนีย เทรซ อาร์มีเนียและเปอร์เซีย หลังการพิชิตของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ดินแดนนี้ถูกทำให้เป็นกรีก เป็นกระบวนการซึ่งสืบต่อมาภายใต้จักรวรรดิโรมันและการเปลี่ยนผ่านสู่จักรวรรดิไบแซนไทน์ เติร์กเซลจุคเริ่มย้ายถิ่นเข้ามาในพื้นที่ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 เริ่มต้นกระบวนการทำให้เป็นเติร์ก ซึ่งเร่งขึ้นมากหลังเซลจุคชนะไบแซนไทน์ที่ยุทธการที่มันซิเคิร์ต..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและประเทศตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์

อซ์แลนด์ (Iceland; อิสตลันต์) เป็นประเทศนอร์ดิกในยุโรปเหนือ ตั้งอยู่บนเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ระหว่างกรีนแลนด์ นอร์เวย์ และสหราชอาณาจักร มีเมืองหลวงคือเรคยาวิก ไอซ์แลนด์มีประชากรประมาณสามแสนคน มีพื้นที่ประเทศรวม 102,775 ตารางกิโลเมตร เรียกข้อมูลวันที่ 2008-03-03 นับว่ามีประชากรเบาบาง จากดัชนีการพัฒนามนุษย์ ปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและประเทศไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซาตูเมและปรินซีปี

ซาตูเมและปรินซีปี (São Tomé e Príncipe) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเซาตูเมและปรินซีปี (República Democrática de São Tomé e Príncipe) เป็นประเทศหมู่เกาะเล็ก ๆ ในอ่าวกินี ประกอบด้วยเกาะสำคัญ 2 เกาะ คือ เกาะเซาตูเมและเกาะปรินซีปี ซึ่งอยู่ห่างกันประมาณ 140 กิโลเมตร และตั้งอยู่ห่างจากชายฝั่งกาบองไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 250 และ 225 กิโลเมตรตามลำดับ เกาะทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของแนวภูเขาไฟที่ดับแล้ว เกาะเซาตูเมซึ่งมีขนาดใหญ่กว่านั้น ตั้งอยู่เกือบตรงกับบริเวณที่เส้นศูนย์สูตรพาดผ่าน และตั้งชื่อตามนักบุญทอมัส (Saint Thomas) เนื่องจากนักสำรวจชาวโปรตุเกสได้ค้นพบเกาะนี้ในวันนักบุญทอมัส (St. Thomas's Day) พอดี.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและประเทศเซาตูเมและปรินซีปี · ดูเพิ่มเติม »

ปรากฏการณ์โลกร้อน

ผิดปรกติของอุณหภูมิเฉลี่ยที่ผิวโลกที่เพิ่มขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2403–2549 เทียบกับอุณหภูมิระหว่าง พ.ศ. 2504–2533 ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิผิวพื้นที่ผิดปกติที่เทียบกับอุณหภูมิเฉลี่ยระหว่างปี พ.ศ. 2542 ถึง พ.ศ. 2551 ปรากฏการณ์โลกร้อน หมายถึงการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศใกล้พื้นผิวโลกและน้ำในมหาสมุทรตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีการคาดการณ์ว่าอุณหภูมิเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา นับถึง พ.ศ. 2548 อากาศใกล้ผิวดินทั่วโลกโดยเฉลี่ยมีค่าสูงขึ้น 0.74 ± 0.18 องศาเซลเซียส ซึ่งคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) ของสหประชาชาติได้สรุปไว้ว่า “จากการสังเกตการณ์การเพิ่มอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2490) ค่อนข้างแน่ชัดว่าเกิดจากการเพิ่มความเข้มของแก๊สเรือนกระจกที่เกิดขึ้นโดยกิจกรรมของมนุษย์ที่เป็นผลในรูปของปรากฏการณ์เรือนกระจก” ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่าง เช่น ความผันแปรของการแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์และการระเบิดของภูเขาไฟ อาจส่งผลเพียงเล็กน้อยต่อการเพิ่มอุณหภูมิในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมจนถึง พ.ศ. 2490 และมีผลเพียงเล็กน้อยต่อการลดอุณหภูมิหลังจากปี 2490 เป็นต้นมา ข้อสรุปพื้นฐานดังกล่าวนี้ได้รับการรับรองโดยสมาคมและสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 30 แห่ง รวมทั้งราชสมาคมทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติที่สำคัญของประเทศอุตสาหกรรมต่าง ๆ แม้นักวิทยาศาสตร์บางคนจะมีความเห็นโต้แย้งกับข้อสรุปของ IPCC อยู่บ้าง แต่เสียงส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ที่ทำงานด้านการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศของโลกโดยตรงเห็นด้วยกับข้อสรุปนี้ แบบจำลองการคาดคะเนภูมิอากาศที่สรุปโดย IPCC บ่งชี้ว่าอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยที่ผิวโลกจะเพิ่มขึ้น 1.1 ถึง 6.4 องศาเซลเซียส ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 21 (พ.ศ. 2544–2643) ค่าตัวเลขดังกล่าวได้มาจากการจำลองสถานการณ์แบบต่าง ๆ ของการแผ่ขยายแก๊สเรือนกระจกในอนาคต รวมถึงการจำลองค่าความไวภูมิอากาศอีกหลากหลายรูปแบบ แม้การศึกษาเกือบทั้งหมดจะมุ่งไปที่ช่วงเวลาถึงเพียงปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและปรากฏการณ์โลกร้อน · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทมาร์กัต

ปราสาทมาร์กัต ('''Margat'''. หรือ Marqab, '''قلعة المرقب''' (Qalaat al-Marqab หรือ ปราสาทแห่งหอยาม).) เป็นซากปราสาทที่สร้างโดยทหารครูเสด ปัจจุบันตั้งอยู่ในประเทศซีเรีย ปราสาทมาร์กัตเป็นที่ตั้งมั่นสำคัญของอัศวินเซนต์จอห์น ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1062 ปราสาทมาร์กัตตั้งอยู่บนเนินสูงราว 500 เมตรจากระดับน้ำทะเลบนภูเขาไฟที่ดับแล้วริมถนนระหว่างทริโปลิและลาทาเคียราวสองกิโลเมตรจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนราว 6 กิโลเมตรจากทางใต้ของบันนิยาส เดิมคาดว่าเป็นป้อมโบราณแต่สิ่งก่อสร้างในทางการป้องกันทางการทหารเริ่มก่อสร้างเมื่อปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและปราสาทมาร์กัต · ดูเพิ่มเติม »

ปลา

ปลา (อังกฤษ: Fish) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำ เป็นสัตว์เลือดเย็น หายใจด้วยเหงือกและมีกระดูกสันหลัง สามารถเคลื่อนไหวไปมาด้วยครีบและกล้ามเนื้อของลำตัว บางชนิดมีเกล็ดปกคลุมทั่วตัว บางชนิดไม่มีเกล็ดแต่ปกคลุมด้วยเมือกลื่น ๆ หรือแผ่นกระดูก มีหัวใจสองห้องและมีขากรรไกร สัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำบางประเภท ถูกเรียกติดปากว่าปลาเช่นเดียวกันเช่น ปลาดาว, โลมา, วาฬและหมึก ซึ่งสัตว์ทั้งหมดนี้ก็มีแหล่งอาศัยอยู่ในน้ำด้วยกันทั้งสิ้น แต่ไม่ได้จัดอยู่ในจำพวกเดียวกันกับปลา ด้วยลักษณะทางกายวิภาคและสรีรวิทยาที่แตกต่างกันเช่น ปลาดาวเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังเช่นเดียวกับปลา มีโครงสร้างที่เป็นหินปูน โลมาและวาฬถูกจัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่สามารถหายใจได้ทางปอดไม่ใช่ทางเหงือก และปลาหมึกจัดเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง แต่ถูกจัดรวมอยู่กับสัตว์ประเภทเดียวกันกับหอ.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและปลา · ดูเพิ่มเติม »

แก๊สเรือนกระจก

ice core) ล่าง: ปริมาณสุทธิของคาร์บอนที่เพิ่มในบรรยากาศเปรียบเทียบกับคาร์บอนที่ปลดปล่อยจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (fossil fuel) แก๊สเรือนกระจก (greenhouse gas) หรือบางครั้งเรียกย่อๆว่า GHG คือแก๊สในบรรยากาศที่ดูดซับและปลดปล่อยรังสีภายในช่วงความถี่(คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า)อินฟราเรดร้อน (thermal infrared range) ทำให้เกิดการสูญเสียความร้อนบางส่วนออกสู่ห้วงอวกาศภายนอกและปลดปล่อยความร้อนกลับสู่พื้นผิวโลก ขบวนการนี้จึงเป็นสาเหตุพื้นฐานของปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse effect) แก๊สเรือนกระจกมีความจำเป็นและมีความสำคัญต่อการรักษาระดับอุณหภูมิของโลก หากปราศจากแก๊สเรือนกระจก โลกจะหนาวเย็นจนสิ่งมีชีวิตอยู่อาศัยไม่ได้ อุณหภูมิในโลกจะต่ำกว่าปัจจุบันที่ 14 °C (57 °F) ลงอีก 33 °C (59 °F) แต่การมีแก๊สเรือนกระจกมากเกินไปก็เป็นเหตุให้อุณหภูมิสูงขึ้นถึงระดับเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตดังที่เป็นอยู่กับบรรยากาศของดาวศุกร์ซึ่งมีบรรยากาศที่ประกอบด้วยคาร์บอนไดออกไซด์มากถึงร้อยละ 96.5 มีผลให้อุณหภูมิผิวพื้นร้อนมากถึง 467 °C (872 °F) คำว่า “แก๊สเรือนกระจก” บนโลกหมายถึงแก๊สต่างๆ เรียงตามลำดับความอุดมคือ ไอน้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์ โอโซน และ คลอโรฟลูโอโรคาร์บอน (Chlorofluorocarbon) แก๊สเรือนกระจกเกิดเองตามธรรมชาติและจากกระบวนการอุตสาหกรรมซึ่งปัจจุบันทำให้ระดับคาร์บอนไดออกไซด์มีในบรรยากาศ 380 ppmv และที่ปรากฏในแกนน้ำแข็งตัวอย่าง (ดูแผนภูมิ) จะเห็นว่าระดับของคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศปัจจุบันสูงกว่าระดับเมื่อก่อนยุคอุตสาหกรรมประมาณ 100 ppmv.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและแก๊สเรือนกระจก · ดูเพิ่มเติม »

แก๊งฉึกฉักไดโนเสาร์

แก๊งฉึกฉักไดโนเสาร์ (Dinosaur train) เป็นการ์ตูนสำหรับเด็กจากประเทศสหรัฐอเมริกา จัดทำโดย เคร็ก บาร์ทเล็ตต์ คนเดียวกันที่ผลิตเรื่อง เฮ้ อาร์โนล! ในเรื่องนี้ได้มีการเล่าเรื่องถึงที-เร็กซ์ที่ชื่อว่า บัดดี้ ที่เลี้ยงโดยครอบครัวเทอราโนดอน แล้วผจญภัยทุกยุคที่เขาอยากจะไป และเรียนรู้เกี่ยวกับไดโนเสาร์ และสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เรื่องนี้จัดจำหน่ายโดย The Jim Henson Company ร่วมกับ Media Development Authority, Sparky Animation, FableVision และ Snee-Oosh, Inc.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและแก๊งฉึกฉักไดโนเสาร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอมโมเนียมคลอไรด์

ณสมบัติ ทั่วไป Sample of ammonium chlorideแอมโมเนียมคลอไรด์ กายภาพ เคมีความร้อน (Thermochemistry) ความปลอดภัย (Safety) SI units were used where possible.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและแอมโมเนียมคลอไรด์ · ดูเพิ่มเติม »

แอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด

แอ่งภูเขาไฟรูปกระจาดถ่ายจากดาวเทียม แอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด (Caldera) เป็นแอ่งภูเขาไฟที่มีขอบแอ่งเอียงชันลาดลงสู่ก้นแอ่ง อาจมีหรือไม่มีกรวยภูเขาไฟขนาดต่างๆ โผล่อยู่ที่ก้นแอ่งก็ได้ แอ่งภูเขาไฟแบบนี้เกิดขึ้นจากการระเบิดอย่างรุนแรงและฉับพลันในส่วนลึกลงไปของภูเขาไฟ โดยมีพลังระเบิดมากพอที่จะผลักดันส่วนบนให้กระจัดกระจายออกไปรอบทิศทาง ทำให้ปริมาณหินมหาศาลเคลื่อนย้าย เกิดเป็นรอยรูปกระจาดขึ้น หลังจากนั้น การระเบิดย่อยๆ หรือการหลั่งไหลของลาวาขึ้นสู่ผิวพื้นก้นกระจาด ก็อาจทำให้เกิดกรวดภูเขาไฟย่อยๆ หรือใหญ่ๆ ขึ้นท่ามกลางแอ่งก้นกระจาดอีกต่อหนึ่ง ตัวอย่างภูมิประเทศแบบนี้เห็นได้ชัดที่ หมู่เกาะกรากะตัว ประเทศอินโดนีเซีย ภูเขาไฟตาอาล ใกล้เมืองมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ และที่ภูเขาไฟวิสุเวียส ในประเทศอิตาลี ในประเทศไทยนั้น มีตัวอย่างที่เข้าใจว่าเป็นแอ่งภูเขาไฟเล็กๆ แบบนี้ที่เขาหลวง อ.คีรีมาศ จ.สุโขทัย อันเป็นภูเขาไฟที่สงบแล้ว.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด · ดูเพิ่มเติม »

แอ่งธรณี

แอ่งธรณี หรือ แอ่งเปลือกโลก (geosyncline) หมายถึง แอ่งขนาดใหญ่ที่รองรับตะกอนจำนวนมากจนเป็นชั้นหนามากจนเกิดการจมตัวลงไปเรื่อย ๆ เป็นเวลายาวนาน ชั้นหินของภูเขาดังกล่าวมักมาจากทะเลและเป็นทะเลลึก จากหลักฐานดังกล่าวนี้ทำให้เชื่อว่าแอ่งธรณีจะแสดงลักษณะสำคัญของทะเลและจากการที่ชั้นตะกอนมีความหนามากกว่าความลึกของมหาสมุทร จึงเป็นเครื่องชี้วัดว่าแอ่งตะกอนมีการจมตัวเรื่อยๆ จริง ขณะที่ตะกอนมาตกสะสม แอ่งธรณีบางแอ่งประกอบด้วยแอ่งคู่ขนาน เช่นแอ่งธรณีของเทือกเขาแอบปาลาเชียน (Appalachians) ซึ่งแอ่งทั้งสองนี้เป็นแอ่งยาวขนานกันตั้งแต่เกาะนิวฟันแลนด์ (New foundland) ทางตะวันตกเฉียงใต้ไปจนถึงแอละแบมา (Alabama) แอ่งที่ติดกับแผ่นดินประกอบด้วยตะกอนจากทะเลตื้น ซึ่งจะประกอบด้วยตะกอนบกและตะกอนทะเล เช่น หินปูน หินทราย ถ่านหิน และชั้นตะกอนอื่นๆ ส่วนอีกแอ่งอยู่ไกลออกไปจากทวีป ประกอบด้วยตะกอนน้ำลึกซึ่งคล้ายกับตะกอนที่สะสมตัวอยู่บริเวณลาดทวีปและมีการปะทุของภูเขาไฟด้วย ชั้นหินดังกล่าวนี้สะสมตัวเป็นชั้นๆ โดยปราศจากแนวความไม่ต่อเนื่อง ในบริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกของอเมริกามีพื้นที่ที่ประกอบด้วยชั้นตะกอนหนาสองส่วนที่มีลักษณะคล้ายกันซึ่งเชื่อว่าเมื่อก่อนน่าจะเป็นแอ่งธรณีได้อย่างดี แอ่งที่ติดกับพื้นทวีปเป็นแอ่งธรณีน้ำตื้นที่ประกอบด้วยชั้นตะกอนที่สะสมตัวจนมีลักษณะคล้ายลิ่มจนเกิดไหล่ทวีปขึ้นและวางตัวอยู่เหนือทวีป ส่วนแอ่งธรณีอีกแอ่งประกอบด้วยชั้นตะกอนน้ำลึกซึ่งวางตัวอยู่บนลาดทวีปที่อยู่เหนือเปลือกสมุทรอีกที ตำแหน่งที่เปลือกทวีปและเปลือกสมุทรเชื่อมต่อกันจึงเป็นตำแหน่งใจกลางของแผ่นเปลือกโลก ส่วนที่เชื่อมต่อนี้แสดงว่าเป็นขอบทวีปสถิตย์ (passive continental margins) ซึ่งมักปรากฏอยู่ตอนกลางของแผ่นเปลือกโลกเกือบทุกแผ่น แอ่งเปลือกโลกหรือแอ่งธรณีนี้จัดว่าเป็นกระบวนการสำคัญให้เกิดภูเขาชนิดที่คดโค้งโก่งงอตัวอย่างเช่น การเกิดเทือกเขาแอบปาลาเชียน ซึ่งเป็นแนวเทือกเขาที่ยาวถึง2500กิโลเมตรทางฝั่งตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือและต่อเลยไปจนถึงไหล่ทวีป ในส่วนของตะกอนน้ำตื้นในแอ่งธรณีด้านตะวันตกประกอบด้วยรอยแตกระแหง (mud cracks) ริ้วคลื่น (ripple marks) และบรรพชีวินชนิดน้ำตื้นและบางแห่งจะพบวัสดุธรณีวิทยาที่เกิดบนบกเช่น ถ่านหิน ตะกอนเหล่านี้สะสมตัวอยู่บนหินฐานราก (basement rocks) ที่เป็นหินอัคนีและหินแปรชั้นสูง และจะมีการสะสมตัวของตะกอนที่เป็นชั้นหนาขึ้นไปทางด้านที่ติดกับทะเลคือจากตะวันตกไปตะวันออก ชั้นตะกอนส่วนใหญ่ในแอ่งธรณีด้านนี้ในปัจจุบันเกิดการคดโค้งโก่งงอเกือบจะทั้งหมด ถ้าหากเดินทางไปยังตอนกลางของเทือกเขาแอบปาลาเชียนจากตะวันตกของรัฐนิวยอร์กหรือรัฐเพนซิลเวเนีย เราจะพบได้ว่าชั้นตะกอนเดิมจะมีลักษณะราบเรียบไม่โค้งโก่งงอ (undisturbed strata) แต่พอเดินทางไปยังทิศตะวันตกเรื่อยๆจะพบว่าชั้นตะกอนเหล่านี้หนาขึ้นๆ และมีการโค้งโก่งงอมากขึ้นด้วย พอเดินทางมาถึงด้านตะวันออกของรัฐเพนซิลเวเนียในดินแดนที่เรียกว่า ดินแดนหุบและสันเขา (valley and ridge province) จะพบว่าชั้นหินเกิดการโค้งงอเป็นรูปกะทะหงายและคว่ำ (synclines&anticlines) กว้างๆ การที่ดินแดนแห่งนี้ใช้ชื่อแบบนี้เพราะส่วนที่เป็นหุบเขาประกอบด้วยชั้นหินที่ผุกร่อนได้ง่ายเช่น หินปูน หินโดโลไมต์ claystone แทรกสลับอยู่กับชั้นหินที่ทนต่อการผุกร่อนได้ดีซึ่งทำให้เกิดเป็นเทือกเขา แต่พอเดินไปถึงทางใต้ของรัฐเทนเนสซี (Tennessee) และรัฐคาโรไลนา (Carolina) ทั้งเหนือและใต้ลักษณะของเขาเปลี่ยนไปประกอบด้วยชั้นหินที่มีการเสียรูปมากมีทั้งที่คดโค้งและเลื่อนตัว ชั้นหินบางๆหลายชั้นถูกดันไปทางทิศตะวันตกเลื่อนตัวไปซ้อนทับอยู่บนชั้นหินที่ถูกเลื่อนดันอยู่ก่อนแล้ว เรียกลักษณะของผิวหรือชั้นของการเลื่อนตัวแบบนี้ว่า ผิวเลื่อนซ้อน (detachment surface) และเรียกแผ่นที่เลื่อนตัวไปซ้อนว่า ศิลาจาริก (decolement) รูปแบบของการแปรรูปในส่วนบนจะไม่เหมือนกับส่วนล่างชั้นหิน ตะกอนที่อยู่เหนือผิวเลื่อนซ้อนจะแตกหัก เคลื่อนตัวไปตามรอยเลื่อนและการวางตัวเหลื่อมกันเป็นขั้นคล้ายไพ่ ชั้นตะกอนส่วนล่างที่แก่กว่าเกิดการเสียรูปแบบโค้งงอมากกว่า เมื่อเดินทางต่อไปทางตะวันออกอีกไปยังดินแดนเดิมที่มีศิลาจาริกเหล่านั้นเลื่อนมาเป็นส่วนใจกลางของเทือกเขาแอบปาลาเชียน ซึ่งประกอบด้วยตะกอนน้ำลึกด้านตะวันออก ชั้นหินเกิดการแปรสภาพอย่างมาก ส่วนใหญ่การคดโค้งจะเป็นแบบแกนเอียงเท่า (isocline) และแบบพลิกตลบ (overturn) และพบรอยเลื่อนมากมายจนมาถึงบริเวณที่มีการแปรสภาพขึ้นไปอีก และพบเห็นหินแกรนิตแทรกดันตัวขึ้นมา หมวดหมู่:แผ่นเปลือกโลก หมวดหมู่:ธรณีประวัต.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและแอ่งธรณี · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นยูเรเชีย

แผ่นยูเรเชียแสดงในสีเขียว แผ่นยูเรเชีย (Euresian Plate) คือแผ่นเปลือกโลกที่รองรับพื้นที่เกือบทั้งหมดของทวีปยูเรเชียแต่ไม่ได้รองรับประเทศอินเดีย อนุภูมิภาคอาหรับและพื้นที่ทางตะวันออกของเทือกเขาเชอร์สกีทางตะวันออกของไซบีเรีย นอกจากนี้ยังมีส่วนที่รองรับมหาสมุทรแอตแลนติกทางตอนเหนือไปจนถึงเทือกเขากลางสมุทรแอตแลนติกและเทือกเขาการ์กเกิลทางตอนเหนือและมีพื้นที่ประมาณ 67,800,000 ตารางกิโลเมตร การปะทุของภูเขาไฟทั้งหมดในไอซ์แลนด์อย่างเช่นการปะทุของภูเขาไฟแอลเฟจในปี 1973 การปะทุของภูเขาไฟลาไคปี 1783 และการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553ล้วนเกิดจากการแยกตัวออกจากกันของแผ่นอเมริกาเหนือกับแผ่นยูเรเชีย ธรณีพลศาสตร์ของเอเชียกลางมักเป็นผลมาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างแผ่นยูเรเชียและแผ่นอินเดี.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและแผ่นยูเรเชีย · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหว

แผนที่โลกแสดงจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวระหว่างปี พ.ศ. 2506–2541 ทั้งสิ้น 358,214 จุด แผ่นดินไหว เป็นปรากฏการณ์สั่นสะเทือนหรือเขย่าของพื้นผิวโลก เพื่อปรับตัวให้อยู่ในสภาวะสมดุล ซึ่งแผ่นดินไหวสามารถก่อให้เกิดความเสียหายและภัยพิบัติต่อบ้านเมือง สิ่งมีชีวิต ส่วนสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวนั้นส่วนใหญ่เกิดจากธรรมชาติ โดยแผ่นดินไหวบางลักษณะสามารถเกิดจากการกระทำของมนุษย์ได้ แต่มีความรุนแรงน้อยกว่าที่เกิดขึ้นเองจากธรรมชาติ นักธรณีวิทยาประมาณกันว่าในวันหนึ่ง ๆ จะเกิดแผ่นดินไหวประมาณ 1,000 ครั้ง ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นแผ่นดินไหวที่มีการสั่นสะเทือนเพียงเบา ๆ เท่านั้น คนทั่วไปจะไม่รู้สึกถึงแรงสั่นสะเทือน แผ่นดินไหวเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก (แนวระหว่างรอยต่อธรณีภาค) ทำให้เกิดการเคลื่อนตัวของชั้นหินขนาดใหญ่เลื่อน เคลื่อนที่ หรือแตกหักและเกิดการโอนถ่ายพลังงานศักย์ ผ่านในชั้นหินที่อยู่ติดกัน พลังงานศักย์นี้อยู่ในรูปคลื่นไหวสะเทือน ศูนย์เกิดแผ่นดินไหวมักเกิดตามรอยเลื่อน อยู่ในระดับความลึกต่าง ๆ ของผิวโลก เท่าที่เคยวัดได้ลึกสุดอยู่ในชั้นแมนเทิล ส่วนจุดที่อยู่ในระดับสูงกว่า ณ ตำแหน่งผิวโลก เรียกว่า จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว โดยการศึกษาเรื่องแผ่นดินไหวและคลื่นสั่นสะเทือนที่ถูกส่งออกมา เรียกว่า วิทยาแผ่นดินไหว เมื่อจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่อยู่นอกชายฝั่ง อาจเกิดคลื่นสึนามิตามมาได้ นอกจากนี้ แผ่นดินไหวยังอาจก่อให้เกิดดินถล่ม และบางครั้งกิจกรรมภูเขาไฟตามมาได้ แผ่นดินไหววัดโดยใช้การสังเกตจากไซสโมมิเตอร์ (seismometer) มาตราขนาดโมเมนต์เป็นมาตราที่ใช้มากที่สุดซึ่งทั่วโลกรายงานแผ่นดินไหวที่มีขนาดมากกว่าประมาณ 5 สำหรับแผ่นดินไหวอีกจำนวนมากที่ขนาดเล็กกว่า 5 แมกนิจูด สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหวแต่ละประเทศจะวัดด้วยมาตราขนาดท้องถิ่นเป็นส่วนใหญ่ หรือเรียก มาตราริกเตอร์ สองมาตรานี้มีพิสัยความถูกต้องคล้ายกันในเชิงตัวเลข แผ่นดินไหวขนาด 3 หรือต่ำกว่าส่วนใหญ่แทบไม่รู้สึกหรือรู้สึกได้เบามาก ขณะที่แผ่นดินไหวตั้งแต่ขนาด 7 อาจก่อความเสียหายรุนแรงเป็นบริเวณกว้าง ขึ้นอยู่กับความลึก แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์มีขนาดมากกว่า 9 เล็กน้อย แม้จะไม่มีขีดจำกัดว่าขนาดจะมีได้ถึงเท่าใด แผ่นดินไหวใหญ่ล่าสุดที่มีขนาด 9.0 หรือมากกว่า คือ แผ่นดินไหวขนาด 9.0 ที่ประเทศญี่ปุ่นเมื่อปี 2554 และเป็นแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีการบันทึกในญี่ปุ่น ความรุนแรงของการสั่นสะเทือนวัดโดยมาตราเมร์กัลลีที่ถูกดัดแปลง หากตัวแปรอื่นคงที่ แผ่นดินไหวที่อยู่ตื้นกว่าจะสร้างความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างมากกว่าแผ่นดินไหวที่อยู่ลึกกว.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและแผ่นดินไหว · ดูเพิ่มเติม »

โลก (ดาวเคราะห์)

ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและโลก (ดาวเคราะห์) · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปัส (ภูเขาไฟ)

ูเขาไฟโอลิมปัส (Olympus Mons) เป็นภูเขาไฟรูปโล่ขนาดใหญ่บนดาวอังคาร จัดว่าเป็นภูเขาไฟที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยจักรวาลของเราด้วยความสูงกว่า 25 กิโลเมตร สูงกว่ายอดเขาเอเวอเรสต์ของโลกถึง 3 เท่า และยังเป็นภูเขาไฟขนาดใหญ่บนดาวอังคารที่มีอายุน้อยที่สุด นักดาราศาสตร์มีการค้นพบมันตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 และเรียกมันว่า นิกซ์โอลิมปิกา ซึ่งพวกเขาคิดว่ามันเป็นภูเขาธรรมดาเท่านั้น จนเมื่อยาน มาริเนอร์ 9 ถูกส่งไปโคจรรอบดาวอังคารในปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและโอลิมปัส (ภูเขาไฟ) · ดูเพิ่มเติม »

โอลิวีน

'''Descripyion:''''''Mineral:''' Forsterite: Mg2SiO4 Olivine: (Mg,Fe) 2SiO4 '''Location:''' Skardu, Nooristan, Pakistan. '''Scale:''' 2.5 x 2.7 cm. '''Description:''' olivine from San Carlos Indian Reservation, Arizona-3 '''Credit:''' R.Weller/Cochise College '''Crystal structure of olivine.''''''Description:''' The dominant slip system in olivine changes with temperature from the 110 plane in the 001 direction at low temperature to 010 plane in the 100 direction at high temperature. At intermediate temperature, there are a number of slip systems in the 001 direction. '''Description:''' การแบ่งแร่โอลิวีนตามองค์ประกอบทางเคมี '''Reference:''' C. Klein and C.S. Hurlbut, Jr., Manual of Mineralogy, copyright © 1985 John Wiley & Sons, Inc., reprinted with permission of John Wiley & Sons, Inc. โอลิวีน (Olivine) เป็นภาษาโบราณ หมายถึง สีเขียวมะกอก (Olive green) และยังหมายถึงว่า เป็น แร่ประกอบหิน แต่ในลักษณะที่เป็นรัตนชาติ เรียกว่า เพริดอต (Peridot) ส่วนคำว่า คริโซไลต์ (Chysolite) ก็หมายถึง โอลิวีน เช่นกัน แร่ในกลุ่มนี้ประกอบด้ว.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและโอลิวีน · ดูเพิ่มเติม »

โอลีเฟอร์ คาห์น

อลีเฟอร์ รอล์ฟ คาห์น (Oliver Rolf Kahn;; 15 มิถุนายน ค.ศ. 1969 —) เป็นอดีตผู้รักษาประตูฟุตบอลชาวเยอรมัน เขาเริ่มต้นระดับอาชีพร่วมกับทีมเยาวชนคาร์ลสรูเออ เอสทเซ ในปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและโอลีเฟอร์ คาห์น · ดูเพิ่มเติม »

โอวะกุดะนิ

เหมืองแร่กำมะถันในบริเวณหุบเขา ไข่ดำ (คุโระ ทะมะโงะ) โอวะกุดะนิ เป็นหุบเขาภูเขาไฟในบริเวณเมืองฮะโกะเนะ จังหวัดคะนะงะวะ ประเทศญี่ปุ่น ประกอบไปด้วยแร่กำมะถันและน้ำพุร้อนเป็นจำนวนมาก หุบเขาโอวะกุดะนิเป็นสถานที่นิยมสำหรับนักท่องเที่ยวในการชมทัศนียภาพภูเขาไฟฟูจิ และการต้มไข่ดำ ซึ่งต้มในน้ำพุร้อนที่ประกอบไปด้วยแร่กำมะถันเป็นจำนวนมาก ว่ากันว่าหากผู้ใดได้ทานไข่ดำที่นี่จะมีอายุยืน หมวดหมู่:จังหวัดคะนะงะวะ.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและโอวะกุดะนิ · ดูเพิ่มเติม »

โตฟูอา

ตโตฟูอา โตฟูอา (Tofua) เขตหนึ่งในประเทศตองงา มีประชากรประมาณ 50 คน เป็นเกาะหินภูเขาไฟ อยู่ในละติจูดที่ ตั้งอยู่ในเขตกลุ่มเกาะฮาอะไป จุดสูงสุดอยู่ที่ 515 เมตรจากระดับน้ำทะเล ภัยธรรมชาติที่สำคัญคือแผ่นดินไหว การปะทุของภูเขาไฟแล.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและโตฟูอา · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียวดิสนีย์รีสอร์ต

ตเกียวดิสนีย์รีสอร์ต (Tokyo Disney Resort) เป็นสวนสนุกและสถานพักตากอากาศที่อุระยะซุ จังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น เจ้าของและดำเนินการโดยบริษัทเดอะโอเรียนเต็ลแลนด์ ที่มีใบอนุญาตจากบริษัทเดอะวอลต์ดิสนีย์ เปิดบริการเมื่อวันที่ 15 เมษายน..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและโตเกียวดิสนีย์รีสอร์ต · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียวดิสนีย์ซี

ตเกียวดิสนีย์ซี (東京ディズニーシー, Tokyo Disney Sea) เป็นโครงการที่เกิดขึ้นครั้งแรกในส่วนต่อขยายของโตเกียวดิสนีย์แลนด์รีสอร์ต ตั้งอยู่ในเขตชิบะ ประเทศญี่ปุ่น เปิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2544 ในพื้นที่รวมที่เรียกว่าโตเกียวดิสนีย์รีสอร์ท มีแนวคิดหลักของพื้นที่เกี่ยวกับน้ำ เช่น เมืองเวนีส ลำธารน้ำ ทะเล เรือไททานิก ถ้ำใต้น้ำในปล่องภูเขาไฟ เมืองในป่าดิบชื้นแถบอเมริกากลาง เงือกและเมืองบาดาล เป็นต้น.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและโตเกียวดิสนีย์ซี · ดูเพิ่มเติม »

ไฟป่า

thumb ไฟป่า (wildfire, brush fire, bushfire, forest fire, desert fire, grass fire, hill fire, peat fire, vegetation fire, veldfire หรือ wildland fire) คือ เพลิงที่ไหม้อย่างเป็นอิสระในชนบทประเทศหรือถิ่นทุรกันดาร (wilderness area)Federal Fire and Aviation Operations Action Plan, 4.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและไฟป่า · ดูเพิ่มเติม »

ไกเซอร์ (ธรณีวิทยา)

กเซอร์ในไอซ์แลนด์ การปะทุของไกเซอร์ในรูปของไอน้ำ ทำให้สามารถมองเห็นรุ้งกินน้ำได้ ที่ Castle Geyser in Yellowstone National Park ไกเซอร์ (Geyser) คือลักษณะของน้ำพุร้อนปล่อยกระแสน้ำร่วมกับไอน้ำออกมาเป็นระยะๆ ไม่สม่ำเสมอ การเกิดของไกเซอร์ขึ้นอยู่กับลักษณะเฉพาะทางอุธกธรณีวิทยา ซึ่งสามารถพบได้เพียงไม่กี่แห่งในโลก จึงจัดได้ว่าเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมมชาติที่หาดูได้ยากชนิดหนึ่ง ไกเซอร์มักจะตั้งอยู่ใกล้กับบริเวณภูเขาไฟที่ยังสามารถระเบิดได้อยู่และได้รับผลจากแม็กมาในบริเวณใกล้เคียงอีกด้วย โดยทั่วไปแล้วที่ความลึกประมาณ 2.2 กิโลเมตร (6,600 ฟุต) จะเป็นบริเวณที่ผิวน้ำพบกับหินร้อน และด้วยเหตุนี้เองทำให้น้ำมีอุณหภูมิสูงขึ้น ภายใต้ความดันใต้พื้นผิวโลกจนทำให้เกิดปรากฏการณ์ไกเซอร์ที่ปลดปล่อยกระแสน้ำรุนแรง ร่วมกับไอน้ำออกมาได้.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและไกเซอร์ (ธรณีวิทยา) · ดูเพิ่มเติม »

ไอโอ (ดาวบริวาร)

อโอ ไอโอ (Io, Ἰώ) เป็นดาวบริวารของดาวพฤหัสบดี เป็นดวงที่อยู่ในสุดในกลุ่มดวงจันทร์ของกาลิเลโอที่ค้นพบโดยกาลิเลโอ กาลิเลอี เมื่อวันที่ 7 มกราคม..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและไอโอ (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรเจนซัลไฟด์

รเจนซัลไฟด์ (hydrogen sulfide หรือ hydrogen sulphide) หรือ ก๊าซไข่เน่า เป็นสารประกอบที่มีสูตรเคมีเป็น H2S ไม่มีสี, เป็นพิษ และเป็นแก๊สไวไฟ มีกลิ่นเน่าเหม็นคล้ายไข่เน่า บ่อยครั้งเป็นผลจากแบคทีเรียย่อยสลายซัลไฟต์ในสารอนินทรีย์ในสภาวะขาดออกซิเจน เช่นใน หนองน้ำและท่อระบายน้ำ (การย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน) นอกจากนั้นยังพบในแก๊สจากภูเขาไฟ ก๊าซธรรมชาติ และบ่อน้ำบางบ่อ กลิ่นของ H2S ไม่ใช่คุณสมบัติโดยทั่วไปของกำมะถัน ซึ่งในความจริงแล้วไม่มีกลิ่น.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและไฮโดรเจนซัลไฟด์ · ดูเพิ่มเติม »

เกรตริฟต์แวลลีย์

แนวหุบเขาทรุดถ่ายจากดาวเทียม เกรตริฟต์แวลลีย์ (Great Rift Valley) คือหุบเขารอยเลื่อนขนาดใหญ่ เป็นรอยแยกยาวต่อเนื่องขนาดยาวที่สุดในโลก ขนาดความกว้างประมาณ 30-100 กิโลเมตร เป็นหน้าผาดิ่งจากที่ราบสูงรอบ ๆ ลึกกว่า 450-800 เมตร พาดผ่าน 19 ประเทศ ตั้งแต่เหนือจรดใต้ เรียงกันได้ดังนี้ เริ่มต้นจากประเทศซีเรีย เลบานอน อิสราเอล จอร์แดน เวสต์แบงก์ (ปาเลสไตน์) ผ่านเข้าสู่ทะเลแดง เลียบชายฝั่งอียิปต์และซูดาน ก่อนจะเข้าสู่เอริเทรีย เอธิโอเปีย เคนยา ยูกันดา สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม) รวันดา บุรุนดี แทนซาเนีย แซมเบีย มาลาวี และสิ้นสุดในโมซัมบิก รวมความยาวที่พาดผ่านตั้งแต่เหนือจรดใต้ ประมาณ 6,750 กิโลเมตร คิดเป็นประมาณ 1 ใน 4 เท่าของเส้นรอบวงโลก (เส้นศูนย์สูตร) โดยที่ขอบด้านข้างของหุบเขาทรุดสูงมากกว่า 2,000 เมตร หุบเขาทรุดเกิดจากการที่แผนเปลือกโลก 2 แผ่นแยกออกจากกัน คือ แผ่นเปลือกโลกที่รองรับคาบสมุทรอาหรับและแอฟริกาตะวันออก กับแผ่นเปลือกโลกที่รอบรับทวีปแอฟริกาทั้งทวีป ซึ่งค่อย ๆ แยกตัวออกจากกันอย่างสม่ำเสมอทำให้เกิดแนวทรุดตัวเป็นแนวยาว เกิดที่ที่ราบทรุดตัวแม่น้ำ ร่องธารลึก และภายในยุคหน้าน้ำทะเลจะท่วมเข้ามาจนกระทั่งตัดทวีปแอฟริกาขาดออกจากกัน.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเกรตริฟต์แวลลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะภูเขาไฟ

มโอเรอาเป็นเกาะภูเขไฟ สตรอมโบลีเป็นหนึ่งในแปดของหมู่เกาะเอโอเลียนซึ่งเกาะภูเขาไฟรูปโค้งทางเหนือของซิซิลี ในทางธรณีวิทยา (รวมถึงในโบราณคดี) เกาะภูเขาไฟ (volcanic island) หรือเกาะสูง (high island) คือเกาะที่เกิดจากภูเขาไฟหรือจุดร้อน โดยคำว่าเกาะสูงนี้สามารถใช้แยกกลุ่มเกาะเหล่านี้ออกจากเกาะต่ำ (low island)ซึ่งเกิดจากการตกตะกอนหรือการยกตัวและทับทมของพืดหินปะการังเกาะเหล่านี้สามารถพบได้บริเวณที่มีภูเขาไฟใต้สมุทรหรือบริเวณที่มีจุดร้อน.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเกาะภูเขาไฟ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะรอสส์

กาะรอสส์ (Ross Island) เป็นที่เกิดจากภูเขาไฟ 4 ลูกในทะเลรอสส์ อ่าวแม็คเมอร์โดนอกชายฝั่งวิกตอเรียแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติก.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเกาะรอสส์ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะอีสเตอร์

กาะอีสเตอร์ (Easter Island); เกาะราปานูอี (ราปานูอี: Rapa Nui) หรือ เกาะปัสกวา (Isla de Pascua) ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ในการปกครองของประเทศชิลี ตัวเกาะห่างจากฝั่งประเทศชิลีไปทางทิศตะวันตกกว่า 3,600 กิโลเมตร เกาะที่ใกล้เกาะอีสเตอร์มากที่สุดอยู่ห่างฝั่งจากถึง 2,000 กิโลเมตร จึงได้ชื่อว่าเป็นสถานที่อันโดดเดี่ยวแห่งหนึ่งของโลก ลักษณะของเกาะมีขนาดเล็ก มีพื้นที่เพียง 160 ตารางกิโลเมตร มีความยาว 25 กิโลเมตร เกาะอีสเตอร.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเกาะอีสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะทะนากา

กาะทะนากา (Tanaga Island) เป็นเกาะในหมู่เกาะแอนดรีแอนอฟตะวันตก ส่วนหนึ่งด้านตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่เกาะอะลูเชียน ในรัฐอะแลสกา เกาะมีพื้นที่ 204 ตร.ไมล์ (530 ตร.กม.) เป็นเกาะที่มีพื้นที่อันดับ 33 ของสหรัฐอเมริกา บนเกาะมีภูเขาไฟที่ยังทรงพลังอยู่ มีน้ำตกใหญ่หลายแห่ง หมวดหมู่:เกาะในสหรัฐอเมริกา.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเกาะทะนากา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะต่ำ

นีวเว''เกาะต่ำ''ที่ยกตัวสูงขึ้นจากระดับน้ำทะเล ในทางธรณีวิทยา (รวมถึงในโบราณคดี) เกาะต่ำคือเกาะที่มีแหล่งกำเนิดมาจากปะการัง โดยอาจจะเกิดขึ้นเกิดจากการตกตะกอนหรือการยกตัวและทับทมของพืดหินปะการัง และคำว่าเกาะต่ำนี้เอาไวแยกกลุ่มเกาะเหล่านี้ออกจากเกาะสูงที่จะเกิดจากภูเขาไฟ.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเกาะต่ำ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะซุมบาวา

ซุมบาวา (Sumbawa) เป็นเกาะในประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ในหมู่เกาะซุนดาน้อย ทางตะวันออกของเกาะลมบกและตะวันตกของเกาะโฟลเร็ซ เกาะซุมบาวามีพื้นที่ 5,448 ตารางกิโลเมตร หรือ 5,965 ตารางไมล์ (ขนาดเป็น 3 เท่าของเกาะลมบก) มีประชากรราว 1.33 ล้านคน เกาะเต็มไปด้วยภูเขา ยอดสูงสุดเป็นภูเขาไฟชื่อ กูนุงตัมโบรา อยู่ที่ปลายสุดของคาบสมุทรทางตอนเหนือ มีดินอุดมสมบูรณ์สามารถปลูกพืชเมืองร้อนได้ดีหลายชนิด เดิมเกาะนี้เป็นเมืองประเทศราชของอาณาจักรมัชปาหิต ต่อมา แตกออกเป็นรัฐขนาดเล็กหลายแห่ง เริ่มติดต่อกับฮอลันดาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เมื่อ..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเกาะซุมบาวา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเวก

กาะเวก (Wake Island) เป็นอาณานิคมของสหรัฐอเมริกาในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ มีพื้นทีทั้งหมด 6.5 ตารางกิโลเมตร มีสภาพพื้นที่เป็นเกาะปะการัง ใต้น้ำมีภูเขาไฟอยู่ด้วยและมีแนวปะการังรอบเกาะ เกาะเวกมีเพียงแค่บุคคลในราชการทหารสหรัฐเท่านั้นที่อาศัยอยู่ เกาะเวกมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจทางด้านอาหาร มีระบบโทรศัพท์ดินแดนโพ้นทะเล (OTS) มีสถานีวิทยุแต่ไม่สถานีโทรทัศน์ เกาะเวกมีสนามบินอยู่หนึ่งแห่งบนเกาะเวกแต่ไม่มีท่าเรือ เกาะเวกต่างจากบรรดาดินแดนอาณานิคมของสหรัฐในแปซิฟิกเหนือบางดินแดนเนื่องจากมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ อีกทั้งยังเคยเป็นสมรภูมิในสงครามโลกครั้งที่ 2 อีกด้ว.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเกาะเวก · ดูเพิ่มเติม »

เรอูนียง

รอูนียง หรือ เรอูว์นียง (La Réunion) เป็นเกาะตั้งอยู่บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกของมาดากัสการ์ และห่างจากมอริเชียสไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 200 กิโลเมตร (130 ไมล์) ในระบบบริหาร เรอูนียงเป็นหนึ่งในจังหวัดโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส เหมือนกับจังหวัดโพ้นทะเลอื่น ๆ เรอูนียงก็เป็นหนึ่งใน 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส (ในฐานะแคว้นโพ้นทะเล) และเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโดยมีสถานะเท่ากับแคว้นอื่น ๆ ในภาคพื้นทวีปยุโรป เรอูนียงเป็นแคว้นที่อยู่ห่างไกลที่สุดในกลุ่มสหภาพยุโรปและใช้สกุลเงินยูโร ตามความจริง ตำแหน่งที่ตั้งของเรอูนียงในเขตเวลาทางด้านตะวันออกของทวีปยุโรป ทำให้เรอูนียงเป็นแคว้นแรกในโลกที่ใช้สกุลเงินยูโร และการใช้สกุลเงินยูโรเป็นครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อเวลา 00.01 นาฬิกา เมื่อนายกเทศมนตรีเมืองแซง-เดอนี เรอเน-ปอล วิกโตเรีย ซื้อลิ้นจี่ถุงหนึ่งในตล.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเรอูนียง · ดูเพิ่มเติม »

เสือดาวแอฟริกา

ือดาวแอฟริกา (African leopard) เป็นชนิดย่อยชนิดหนึ่งในบรรดา 8 ชนิดของเสือดาว จัดอยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae).

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเสือดาวแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์การสูญพันธุ์ยุคครีเทเชียส–พาลีโอจีน

ำลองเหตุการณ์อุกบาตพุ่งเข้าชนโลก ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของการสูญพันธุ์ครั้งนี้ เหตุการณ์การสูญพันธุ์ยุคครีเทเชียส-พาลิโอจีน เกิดขึ้นเมื่อราว 66 ล้านปีก่อน เป็นหนึ่งในการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ในประวัติศาสตร์โลก การสูญพันธุ์ครั้งนี้เกิดหลังเหตุการณ์การสูญพันธุ์ยุคไทรแอสสิก-จูแรสสิก ในช่วงปลายยุคครีเทเชียส ซึ่งกวาดล้างสิ่งมีชีวิตไปกว่า 70% หรือประมาณ 3 ใน 4 ของสายพันธุ์ทั้งหมดบนโลกรวมถึงพวกไดโนเสาร์ เทอโรซอร์ และสัตว์เลื้อยคลานใต้ทะเล สาเหตุการสูญพันธุ์ในครั้งนี้นั้นได้มีการสันนิษฐานว่าน่าจะมาจากอุกกาบาตที่พุ่งชนโลกบริเวณคาบสมุทรยูคาทาน ประเทศเม็กซิโก.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเหตุการณ์การสูญพันธุ์ยุคครีเทเชียส–พาลีโอจีน · ดูเพิ่มเติม »

เอยาฟยาตลาเยอคุตล์

อยาฟยาตลาเยอคุตล์ เอยาฟยาตลาเยอคุตล์ (Eyjafjallajökull) เป็นชื่อเรียกของธารน้ำแข็งขนาดเล็กแห่งหนึ่งทางตอนใต้ของประเทศไอซ์แลนด์ ธารน้ำแข็งแห่งนี้ตั้งอยู่ทิศเหนือของหมู่บ้านสโกอาร์และทางทิศตะวันตกของธารน้ำแข็งมีร์ตัลส์เยอคุตล์ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ชั้นน้ำแข็งของธารน้ำแข็งดังกล่าวได้ปกคลุมภูเขาไฟ (สูง 1,666 เมตรหรือ 5,466 ฟุต) ซึ่งได้ปะทุค่อนข้างบ่อยนับตั้งแต่ยุคน้ำแข็ง เมื่อเวลาที่มันนำหินไรโอไลต์ขึ้นมาสู่พื้นผิวโลก ในปี..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ · ดูเพิ่มเติม »

เอาชีวิตรอด

อาชีวิตรอด (살아남기; Survival) เป็นหนังสือการ์ตูนความรู้จากประเทศเกาหลีใต้ ที่แทรกเรื่องราวเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และวิธีการเอาตัวรอดในสถานการณ์ต่างๆที่อาจจะเกิดกับตัวเรา จัดพิมพ์ฉบับลิขสิทธิ์ภาษาไทยโดย สำนักพิมพ์นานมี.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเอาชีวิตรอด · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เจมินี่ เดฟเทรอส

มินี่ เดฟเทรอสเป็นตัวละครจากการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่องเซนต์เซย์ย่า ภาค The Lost Canvas จ้าวนรกฮาเดสโดยเป็นโกลด์เซนต์ประจำราศีเมถุนคนที่สองและเป็นน้องชายของเจมินี่ อัสปูรอสโดยที่ทั้งคู่เป็นผู้ดูแลปราสาทคนคู่ด้วยกันในแซงค์ทัวรี.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเจมินี่ เดฟเทรอส · ดูเพิ่มเติม »

เถ้าภูเขาไฟ

้าภูเขาไฟ (Volcanic ash) คือหินภูเขาไฟขนาดเล็กซึ่งถูกบดเป็นขนาดเล็กเนื่องจากการระเบิดของภูเขาไฟUnited States Geological Survey.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเถ้าภูเขาไฟ · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขา

เทือกเขาแอนดีส เทือกเขา หรือ ทิวเขา หมายถึงแนวทอดตัวของภูเขาที่ล้อมรอบด้วยพื้นที่ต่ำ หรือถูกแบ่งแยกออกจากภูเขาอื่นๆ ด้วยหุบเขาหรือแม่น้ำ ภูเขาแต่ละลูกที่อยู่ในเทือกเขาเดียวกันไม่จำเป็นต้องมีลักษณะทางธรณีวิทยาที่เหมือนกัน ซึ่งอาจเกิดจากการก่อเทือกเขา (orogeny) ที่แตกต่างกัน เช่น ภูเขาไฟ ภูเขายกตัวหรือภูเขายุบจม หรือมีชนิดของหินที่ไม่เหมือนกัน เทือกเขาแอนดีสเป็นเทือกเขาที่ยาวที่สุดในโลก เทือกเขาหิมาลัยเป็นเทือกเขาที่มียอดเขาที่สูงสุดในโลก คือยอดเขาเอเวอร์เรสต์และเทือกเขาอาร์กติกคอร์ดิลเลอรา (Arctic Cordillera) ก็เป็นเทือกเขาที่ตั้งอยู่ทิศเหนือมากที่สุดของโลก หมวดหมู่:ภูเขา.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเทือกเขา · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขาวีรูงกา

ทือกเขาวีรูงกา (Virunga Mountains) เป็นแนวภูเขาไฟในแอฟริกาตะวันออก ตามพรมแดนด้านเหนือของรวันดา สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก และยูกันดา เทือกเขานี้เป็นสาขาหนึ่งของอัลเปอร์ไทน์ริฟต์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเกรตริฟต์แวลลีย์ ตั้งอยู่ระหว่างทะเลสาบเอ็ดเวิร์ดและทะเลสาบกิวู คำว่า "วีรูงกา" เป็นคำในภาษาอังกฤษของคำว่า ibirunga ในภาษากินยาร์วันดา ซึ่งมีความหมายว่า "เทือกเขา" เทือกเขาวีรูงกาประกอบด้วยภูเขาไฟหลัก 8 ลูก ส่วนใหญ่เป็นภูเขาไฟที่สงบแล้ว ยกเว้นภูเขาไฟเอ็นยิรากอนโก (3,462 เมตร) และภูเขาไฟนัยยะมูรกิรา (3,063 เมตร) ทั้งสองอยู่ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก การปะทุครั้งล่าสุดเกิดขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเทือกเขาวีรูงกา · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขาอาฮักการ์

เทือกเขาอาฮักการ์ เทือกเขาอาฮักการ์ (Ahaggar Mountains) เทือกเขาอาฮักการ์ตั้งอยู่บริเวณภาคใต้ของประเทศแอลจีเรีย ใจกลางทะเลทรายซาฮารา ซึ่งห่างจากเมืองเอลจีเรียเมืองหลวงไปทางใต้กว่า 1500 กิโลเมตร เทือกเขาอาฮักการ์ตั้งอยู่บนที่ราบสูงทัสซิลีซึ่งมีความสูงเฉลี่ย 2000 เมตร เทือกเขามีลักษณะประกอบไปด้วยหินแปรอายุกว่า 2000 ล้านปี และเป็นส่วนหนึ่งของหินพื้นที่เก่าแก่ของทวีปแอฟริกา ซึ่งมีเขาบางยอดเป็นแก่นภูเขาไฟซึ่งเป็นส่วนที่เหลือจากการกัดกร่อน มียอดเขาตาฮัตเป็นจุดสูงสุดสูงกว่า 2,918 เมตร และเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในแอลจีเรีย อาฮักกา หมวดหมู่:ภูเขาในทวีปแอฟริกา.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเทือกเขาอาฮักการ์ · ดูเพิ่มเติม »

เนินยอดป้าน

ซโดนา, รัฐแอริโซนา เนินยอดป้าน (butte) หมายถึง เนินดิน ที่ขึ้นเดี่ยวๆ (มียอดเดียว) ด้านข้างของมันจะชันมาก และส่วนยอดของเนินจะค่อนข้างราบ แต่เล็กกว่าภูเขายอดราบหรือที่ราบสูง โดยมาตรฐาน ภูเขายอดราบจะมีพื้นที่ผิวบนยอดมากกว่า 1,000 ตร.ม. ในขณะที่เนินยอดป้านจะมีพื้นที่ผิวบนยอดน้อยกว่า 1,000 ตร.ม. แต่นักภูมิศาสตร์ใช้กฎจากการวัดหยาบ ๆ ว่าภูเขายอดราบ ความกว้างของยอดจะมากกว่าความสูง ส่วนเนินยอดป้าน ความสูงจะมากกว่าความกว้างของยอ.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและเนินยอดป้าน · ดูเพิ่มเติม »

12 เมษายน

วันที่ 12 เมษายน เป็นวันที่ 102 ของปี (วันที่ 103 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 263 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและ12 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

2012 วันสิ้นโลก

2012 วันสิ้นโลก (2012) เป็นภาพยนตร์อเมริกันแนวหายนะและวันสิ้นโลก อำนวยการสร้างโดยโรแลนด์ เอ็มเมอริค นำแสดงโดย จอห์น คูแซก อมานดา พีท แดนนี่ กลอเวอร์ ทันดี นิวตัน โอลิเวอร์ แพลท ชิเวเทล อีจีโอฟอร์ วู้ดดี้ ฮาร์เรลสัน ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกเผยแพร่โดยค่ายหนังโคลัมเบียพิกเจอส์ โดยที่การถ่ายทำภาพยนตร์เริ่มต้นในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: ภูเขาไฟและ2012 วันสิ้นโลก · ดูเพิ่มเติม »

21 สิงหาคม

วันที่ 21 สิงหาคม เป็นวันที่ 233 ของปี (วันที่ 234 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 132 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและ21 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 พฤษภาคม

วันที่ 8 พฤษภาคม เป็นวันที่ 128 ของปี (วันที่ 129 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 237 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ภูเขาไฟและ8 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Volcanic Hazardsภูเขาไฟมีพลัง🌋

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »