โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษาเคิร์ด

ดัชนี ภาษาเคิร์ด

ษาเคิร์ด (کوردی‎ คูร์ดี) มีผู้พูดราว 31 ล้านคน ในอิรัก (รวมทั้งในเขตปกครองตนเองของชาวเคิร์ด) อิหร่าน ตุรกี ซีเรีย เลบานอน จัดอยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือ ตระกูลอินโด-ยุโรป ภาษาที่ใกล้เคียงคือ ภาษาบาโลชิ ภาษาคิเลกิ และภาษาตาเลียส ภาษาเปอร์เซียที่อยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้จัดเป็นภาษาใกล้เคียงด้วยแต่มีความแตกต่างมากกว่า 3 ภาษาข้างต้น.

52 ความสัมพันธ์: Îชาวอิรักชาวเคิร์ดกลุ่มภาษาอิหร่านกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านกูเกิล แปลภาษาภาษาบาลูจิภาษาฟรีเจียภาษายูฮูรีภาษาลากีภาษาลิซาน ดิดันภาษาลิซานิด โนซานภาษาลูรีภาษาอราเมอิกใหม่ยิวบาร์ซานีภาษาออสซีเชียภาษาอาหรับภาษาอาเซอร์ไบจานภาษาฮูลัวลาภาษาดารีโซโรอัสเตอร์ภาษาตูโรโยภาษาแอราเมอิกภาษาเมเดียภาษาเฮอร์เตวินภาษาเคิร์ดตอนกลางภาษาเคิร์ดใต้ภาษาเคิร์ดเหนือรัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลามรัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีนรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ราชอาณาจักรอิรักรายชื่อภาษารายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1รายชื่อตัวละครในกันดั้มดับเบิลโอวิกิพีเดียภาษาเคิร์ดสหพันธรัฐประชาธิปไตยซีเรียเหนือสหภาพรักชาติแห่งเคอร์ดิสถานอักษรอาหรับอักขรวิธีอาเซอร์ไบจาน (อิหร่าน)ฮิซบุลลอฮ์ชาวเคิร์ดฮิซบุลลอฮ์ปฏิวัติชาวเคิร์ดจังหวัดอาเซอร์ไบจานตะวันตกจังหวัดโฆรอซอนเหนือซิดิลลาประชากรศาสตร์อิหร่านประเทศอิรักประเทศอิหร่านปรารถนา ไฟสงครามและความอยู่รอด...เคอร์ดิสถานÇ ขยายดัชนี (2 มากกว่า) »

Î

ตัวอักษร Î (ตัวเล็ก: î) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน I ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน ได้ถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงเป็น.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและÎ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอิรัก

วอิรัก (Iraqi people) คือประชาชนที่เกิดในประเทศอิรัก.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและชาวอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ชาวเคิร์ด

วเคิร์ด (کورد Kurd คูร์ด, Kurdish people) เป็นชนในกลุ่มชนอิหร่านที่เป็นกลุ่มภาษาชาติพันธุ์ (ethnolinguistic) ที่ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณที่เป็นเคอร์ดิสถาน ที่รวมทั้งบางส่วนบริเวณที่ใกล้เคียงกันที่รวมทั้งอิหร่าน อิรัก, ซีเรีย และ ตุรกี นอกจากนั้นก็ยังมีกลุ่มชนเคิร์ดขนาดใหญ่พอสมควรทางตะวันตกของตุรกี และในเลบานอน, อาร์มีเนีย, อาเซอร์ไบจาน และเมื่อไม่นานมานี้ในประเทศในยุโรป และ สหรัฐอเมริกา (ดูชาวเคิร์ดพลัดถิ่น) ชาวเคิร์ดพูดภาษาเคิร์ดซึ่งเป็นภาษาในภาษากลุ่มอิหร่าน เมือง Piranshahr เป็นเมืองหลวงของอำเภอ Mukerian.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและชาวเคิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอิหร่าน

การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ของผุ้พูดกลุ่มภาษาอิหร่าน กลุ่มภาษาอิหร่านเป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านที่อยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาอเวสตะถือเป็นภาษาที่เก่าที่สุดของกลุ่มนี้ที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 150 - 200 ล้านคน ภาษาที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาเปอร์เซีย (ประมาณ 70 ล้านคน) ภาษาพาซตู (ประมาณ 40 ล้านคน) ภาษาเคิร์ด (35 ล้านคน) และภาษาบาโลชิ (ประมาณ 7 ล้านคน).

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและกลุ่มภาษาอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตก

กลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาอิหร่าน แบ่งได้อีกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ กลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือและกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน

กลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน หรืออินโด-อิราเนียนเป็นสาขาทางตะวันออกสุดของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนประกอยด้วย 3 กลุ่มย่อย คือ กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน กลุ่มภาษาอิราเนียน และกลุ่มภาษาดาร์ดิก มีการใช้คำว่า "อารยัน" ในการอ้างถีงกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านจากทฤษฎีส่วนใหญ่เกี่ยวกับการอพยพของชาวอารยัน คนที่พูดภาษาโปรโต-อินโด-อิราเนียนที่เรียกตัวเองว่าอารยัน ตั้งหลักแหล่งอยู่ทางใต้และตะวันออกของทะเลสาบแคสเปียนในอินเดียเหนือ ปากีสถาน อิหร่าน และอัฟกานิสถาน คาดว่าการแพร่กระจายเกี่ยวข้องกับการประดิษฐ์รถม้.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

กูเกิล แปลภาษา

กูเกิลแปลภาษา (Google Translate) เป็นบริการแปลภาษาหลายภาษาด้วยเครื่องจักรโดยไม่คิดค่าบริการของบริษัทกูเกิล กูเกิลแปลภาษามีลักษณะไม่เหมือนกับบริการแปลอื่น ๆ เช่น Babel Fish, AOL, ยาฮู! ที่ใช้ SYSTRAN ขณะที่กูเกิลใช้ซอฟต์แวร์การแปลของตนเอง แต่อย่างไรก็ตามคู่แข่งทางการค้าเจ้าใหญ่อย่างบริษัท ไมโครซอฟท์ ได้มีผลิตภัณฑ์ที่ใกล้เคียงกันมากมาลงแข่งขันด้วย ซึ่งมีชื่อว่า Bing Translator.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและกูเกิล แปลภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาลูจิ

ษาบาลูจิ (Balochi language) เป็นภาษาที่พูดทางตะวันตกเฉียงเหนือในอิหร่าน เป็นภาษาหลักของชาวบาลูจิในบาลูจิสถานซึ่งอยู่ในปากีสถานตะวันตก อิหร่านตะวันออก และอัฟกานิสถานตอนใต้ เป็นภาษาราชการ 1 ใน 9 ภาษาของปากีสถาน.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษาบาลูจิ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟรีเจีย

รึกภาษาฟริเจียในเมืองมิดัส ภาษาฟริเจีย เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียน ใช้พูดโดยชาวฟริเจีย ซึ่งอาจจะอพยพจากเทรซเข้าสู่เอเชียน้อยในช่วง 657 ปีก่อนพุทธศักราช ภาษาฟริเจียแบ่งเป็นสองกลุ่มคือ ภาษายุคเก่า (257 ปีก่อนพุทธศักราช) และภาษายุคใหม่ เริ่มใช้เมื่อราว..

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษาฟรีเจีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายูฮูรี

ษายูฮูรี(Juhuri) หรือภาษาตัตของชาวยิว (Judæo-Tat) หรือ ภาษายูวูรี (Juwuri; çuhuri / жугьури / ז'אוּהאוּראִ) เป็นรูปแบบหนึ่งของภาษาตัต และเป็นภาษาพื้นเมืองในบริเวณตะวันออกของเทือกเขาคอเคซัสโดยเฉพาะอาเซอร์ไบจานและดาเกสถาน รวมทั้งในอิสราเอล ภาษานี้ใกล้เคียงกับภาษาเปอร์เซีย อยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้ ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาที่ใกล้เคียงกันคือภาษาตัตของชาวมุสลิมในอาเซอร์ไบจาน คำว่ายูฮูรีและยูฮูโรแปลตรงตัวหมายถึงของยิว และชาวยิว ภาษายูฮูรีนี้มีลักษณะของกลุ่มภาษาเซมิติกปนอยู่มาก มีเสียง "ayin" (ע) ซึ่งภาษาในบริเวณนั้นไม่มีเสียงนี้.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษายูฮูรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลากี

ษาลากี (Laki) หรือภาษาเลกี (Leki) (له‌کی) เป็นภาษากลุ่มอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือ แม้ว่าจะจัดอยู่ในกลุ่มของสำเนียงใต้ของภาษาเคิร์ด ใน Ethnologue จัดให้ภาษานี้เป็นกลุ่มย่อยของภาษาเคิร์ด โดยอ้างว่า มีรากศัพท์ใกล้เคียงกับภาษาลูริช 78% และภาษาเปอร์เซีย 70% ใช้พูดในบริเวณซากรอสตอนกลางของอิหร่าน และบางส่วนของอิรัก ผู้พูดภาษานี้เรียกว่าชาวลาก.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษาลากี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลิซาน ดิดัน

ษาลิซาน ดิดัน (Lishan Didan) เป็นภาษาอราเมอิกใหม่ จุดเริ่มต้นของภาษาอยู่ในอาเซอร์ไบจานของอิหร่าน บริเวณทะเลสาบอูร์เมีย ปัจจุบันผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในอิสราเอล คำว่าลิซาน ดิดันหมายถึงภาษาของเรา นักสัทศาสตร์ได้ตั้งชื่ออื่นให้ภาษานี้เพื่อลดความสับสนว่าภาษาอราเมอิกใหม่อาเซอร์ไบจานอิหร่านของชาวยิวหรือภาษาลาโคลคี.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษาลิซาน ดิดัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลิซานิด โนซาน

ษาลิซานิด โนซาน เป็นภาษาอราเมอิกใหม่ของชาวยิว เริ่มใช้พูดในทางใต้และทางตะวันออกของเคอร์ดิสถานในอิรัก อยู่ในบริเวณที่เรียกว่าอาร์บิล ผู้พูดส่วนใหญ่ปัจจุบันอยู่ในอิสราเอล คำว่าลิซานิก โนซานหมายถึง “ภาษาของพวกเราเอง” ชื่อเรียกอื่นๆของภาษานี้คือ ภาษาฮาลัวลา (หมายถึงภาษายิว) ภาษากาลิกาลู (หมายถึง “ของฉัน-ของคุณ” เรียกตามลักษณะเฉพาะของไวยากรณ์ และภาษาคูร์ดิต (หมายถึงภาษาเคิร์ด).

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษาลิซานิด โนซาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลูรี

ภาษาลูรี (ภาษาเปอร์เซีย لُری, สัทอักษร: /loriː/, /luriː/) เป็นภาษากลุ่มอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้ ใช้พูดโดยชาวลูร์ซและชาวแบกเทรียในจังหวัดโลเรสถาน อีแลม ชาฮัร มาฮาลและแบกเทียรีโกกิลุเยห์และบูเยอร์ อะห์หมัด และบางส่วนของคุเซสถานและฮามาดาน ประเทศอิหร่าน เป็นลูกหลานของภาษาเปอร์เซียกลางและมีรากศัพท์ใกล้เคียงกับภาษาเปอร์เซีย ภาษาลูรีเป็นภาษาที่เชื่อมต่อระหว่างภาษาเปอร์เซียกับภาษาเคิร์ดสำเนียงต่างๆ ภาษาลูรีแบ่งเป็นสามสำเนียงคือสำเนียงโลริสถาน สำเนียงแบกเทรีย และสำเนียงโลรีใต้ แม้ว่าภาษาลูรีจะเป็นภาษาเอกเทศ แต่ก็มีความเห็นอย่างอื่นอีก และมีนักวิชาการจำนวนหนึ่งเสนอให้แบ่งภาษาลูรีเป็นหลายภาษา ทั้งนี้ มีลักษณะร่วมกันมากระหว่างภาษาเคิร์ดใต้กับสำเนียงแบกเทรีย บางครั้งจึงถือว่าสำเนียงแบกเทรียเป็นภาษาเชื่อมต่อระหว่างภาษาเคิร์ดกับภาษาเปอร์เซีย ลูรี.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษาลูรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอราเมอิกใหม่ยิวบาร์ซานี

ษาอราเมอิกใหม่ยิวบาร์ซานี เป็นภาษาอราเมอิกของชาวยิวสมัยใหม่ เริ่มแรกใช้พูดในหมู่บ้านสามแห่งในเคอร์ดิสถานของอิรัก ชื่อเรียกในภาษาของตนคือ “ลิซานิด ญานัน” หมายถึง ภาษาของเร.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษาอราเมอิกใหม่ยิวบาร์ซานี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาออสซีเชีย

หนังสือภาษาออสซีเชียตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2478 ใช้อักษรละติน กลุ่มชาติพันธ์แบ่งตามภาษาในเทือกเขาคอเคซัส ภาษาออสซีเชีย (Ossetic/Ossetian/Ossete language) เป็นภาษากลุ่มอิหร่านใช้พูดในแถบออสซีเชียแถบเทือกเขาคอเคซัส โดยนอร์ทออสซีเชียอยู่ในรัสเซีย ส่วนเซาท์ออสซีเชียอยู่ในจอร์เจีย มีผู้พูดภาษานี้ราว 500,000 คน ภาษานี้มี 35 หน่วยเสียง เป็นพยัญชนะ 26 เสียง สระเดี่ยว 7 เสียง สระประสม 2 เสียง เขียนด้วยอักษรซีริลลิก ในช่วง..

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษาออสซีเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาเซอร์ไบจาน

thumbnail ภาษาอาเซอรี หรือ ภาษาอาเซอร์ไบจาน เป็นภาษาราชการของประเทศอาเซอร์ไบจาน มีชื่อเรียกในภาษาของตนว่า Azərbaycan dili บางสำเนียงของภาษานี้ใช้พูดในอิหร่าน ซึ่งใช้เป็นภาษากลางระหว่างภาษาส่วนน้อยอื่นๆคือ ภาษาเคิร์ด ภาษาอาร์มีเนียและภาษาตาเลชิ มีผู้พูดภาษานี้ในสาธารณรัฐดาเกสถานในรัสเซีย จอร์เจียตะวันตกเฉียงใต้ อิหร่านภาคเหนือ และภาคตะวันออกของตุรกี เป็นภาษาในกลุ่มภาษาอัลไตอิก มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 23 – 30 ล้านคน โดยมีราว 16- 23 ล้านคนในอิหร่านและ 7 ล้านคนในอาเซอร์ไบจาน และ 800,000 ในที่อื่นๆ เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใกล้เคียงกับภาษาตุรกี ได้รับอิทธิพลจากภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับ ผู้พูดภาษานี้พอจะเข้าใจกันได้กับผู้พูดภาษากลุ่มเตอร์กิก สาขาโอคุซอื่นๆ เช่น ภาษาตุรกี ที่ใช้พูดในตุรกี ไซปรัสและแหลมบอลข่าน รวมทั้งภาษาเติร์กเมนด้ว.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษาอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮูลัวลา

ษาฮูลัวลา (Hulaulá) เป็นภาษาอราเมอิกของชาวยิวยุคใหม่ เริ่มแรกใช้พูดในเคอร์ดิสถานของอิหร่าน ปัจจุบันผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในอิสราเอล คำว่า Hulaulá หมายถึงความเป็นยิว บางครั้งผู้พูดภาษานี้เรียกภาษาของตนว่าลิซานา โนซาน หรือลิซานา อักนี ซึ่งหมายถึงภาษาของเรา บางครั้งเรียกภาษาฮูลัวลาว่าภาษากาลิกลู เพื่อให้แตกต่างจากสำเนียงอื่นๆของภาษาอราเมอิกโดยใช้ความแตกต่างของระบบบุพบทและปัจจัย บางครั้ง นักวิชาการเรียกภาษานี้ว่า ภาษาอราเมอิกใหม่ของชาวยิวในเคอร์ดิสถานเปอร์เซี.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษาฮูลัวลา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาดารีโซโรอัสเตอร์

ษาดารีโซโรอัสเตอร์ มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 2,000 - 3,000 คนในเมืองยัซด์และเกอร์มานในอิหร่าน เป็นภาษาที่ใช้ในบริเวณที่เคยเป็นเขตของผู้นับถือศาสนาโซโรอัสเตอร์ ผู้พูดภาษาดารีโซโรอัสเตอร์นิยมใช้ชื่อของภาษานี้ว่าดารี แต่ชาวมุสลิมอิหร่านเรียกภาษานี้ว่า ฆาบรี Farudi Toosarvandani 2005 p.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษาดารีโซโรอัสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตูโรโย

ษาตูโรโย เป็นภาษาซีเรียคใหม่หรือภาษาอราเมอิกใหม่ ใช้พูดในตุรกีตะวันออกและซีเรียตะวันออกเฉียงเหนือ โดยผู้นับถือศาสนาคริสต์นิกายซีเรียคออร์ธอดอกซ์ คำว่าตูโร (ṭuro), หมายถึงภูเขา ตูโรโย (Ṭuroyo) จึงหมายถึงสำเนียงภูเขาทงตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี ชื่อเก่าของภาษานี้คือซูรายต์ (Ṣurayt) ซึ่งอาจจะเกี่ยวข้องกับคำว่าซีเรียค ผู้พูดภาษานี้ใช้ภาษาซีเรียคคลาสสิกเป็นภาษาทางศาสนาและวรรณคดี และมีความพยายามที่จะนำกลับมาใช้เป็นภาษาพูด ไม่มีการใช้ภาษาตูโรโยเป็นภาษาเขียนแต่เขียนด้วยภาษาซีเรียคคลาสสิกแทน.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษาตูโรโย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแอราเมอิก

ษาแอราเมอิก (Aramaic language) เป็นภาษาตระกูลเซมิติกที่มีความเป็นมายาวนานกว่า 3,000 ปืเป็นภาษากลางของบริเวณตะวันออกใกล้ในช่วง 157 ปีก่อนพุทธศักราชถึง..

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษาแอราเมอิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเมเดีย

ษาเมเดีย เป็นภาษากลุ่มอิหร่านตะวันตก อยู่ในสาขาตะวันออกเฉียงเหนือเช่นเดียวกับภาษาพาร์เทียน ภาษาบาโลชิ ภาษาเคิร์ด และอื่นๆ เป็นภาษาของเผ่าเมเดีย ซึ่งมีการติดต่อกับชาวเปอร์เซียอย่างใกล้ชิด คำในภาษาเมเดียพบได้ทั่วไปในภาษาเปอร์เซียโบราณและภาษาของชาวอารยัน ตัวอย่างเช่น.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษาเมเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเฮอร์เตวิน

ษาเฮอร์เตวิน เป็นภาษาอราเมอิกใหม่สำเนียงตะวันออกใช้พูดในหลายหมู่บ้านในจังหวัดซิอิรห์ทางตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี ผู้พูดภาษานี้ส่วนใหญ่อพยพไปทางตะวันตก เหลือผู้พูดในตุรกีไม่มากนัก ผู้พูดภาษานี้เป็นชาวคริสต์นิกายคาทอลิกคัลเดีย บ้านเดิมของพวกเขาอยู่ในหมู่บ้านในเฮอร์เตวิน ใกล้เมืองเปอร์วารี ในจังหวัดซิอิรห์ซึ่งถือว่าอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือสุดของบริเวณที่มีผู้พูดภาษาอราเมอิกใหม่สำเนียงตะวันออก ก่อนจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ภาษาเฮอร์เตวินเป็นสำเนียงที่พัฒนาขึ้นต่างจากภาษาใกล้เคียงอื่นๆ โดยมีลักษณะร่วมกับภาษาตูโรโย ภาษาเฮอร์เตวินถูกจัดเป็นภาษาหนึ่งต่างหากโดย Otto Jastrow เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษาเฮอร์เตวิน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเคิร์ดตอนกลาง

ษาเคิร์ดตอนกลางหรือภาษาโซรานี (Sorani language ภาษาเคิร์ด: سۆرانی) เป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาเคิร์ดที่ใช้พูดในอิหร่านและอิรัก อยู่ในภาษากลุ่มอิหร่าน.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษาเคิร์ดตอนกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเคิร์ดใต้

ษาเคิร์ดใต้ (Southern Kurdish) เป็นสำเนียงหลักของภาษาเคิร์ดสำเนียงหนึ่งใช้พูดในทางใต้ของเคอร์ดิสถาน อิหร่านตะวันตกและอิรักตะวันออก ในอิหร่านมีผู้พูดในจังหวัดเกมันชาห์และจังหวัดอีแลม มีผู้พูดในอิหร่านราว 3 ล้านคนเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษาเคิร์ดใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเคิร์ดเหนือ

ษาเคิร์ดเหนือ หรือ ภาษากุรมันชี (Kurmanji, ภาษากุรมันชี: Bahdînî) เป็นสำเนียงของภาษาเคิร์ดที่มีผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในตุรกีและซีเรีย รวมทั้งประเทศในอดีตสหภาพโซเวียตและเลบานอน มีในอิรักและอิหร่านเป็นส่วนน้อ.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและภาษาเคิร์ดเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลาม

รัฐสมาชิกขององค์การฯ แสดงด้วยสีเขียว รัฐสังเกตการณ์แสดงด้วยสีแดง และรัฐที่ถูกคัดค้านแสดงด้วยสีน้ำเงิน องค์การความร่วมมืออิสลามที่ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและรัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน

รัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน (الخلافة الراشدية, Rashidun Caliphate) เป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์รัฐแรกในสี่รัฐเคาะลีฟะฮ์ ก่อตั้งขึ้นหลังจากการเสียชีวิตของมุฮัมมัดในปี..

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและรัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์

รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์(الخلافة العباسية: al-Khilāfah al-‘Abbāsīyyah) เป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์ราชวงศ์ที่สามของศาสนาอิสลาม ที่มีเมืองหลวงที่แบกแดดหลังจากที่โค่นราชวงศ์อุมัยยะฮ์ออกจากบริเวณต่าง ๆ ยกเว้นอัล-อันดะลุส (Al-Andalus) รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะห์ก่อตั้งโดยผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากอับบาส อิบน์ อับดุลมุฏฏอลิบ (العباس بن عبد المطلب‎ – Abbas ibn Abd al-Muttalib) ลุงคนเล็กของมุฮัมมัด โดยก่อตั้งขึ้นในฮาร์รานในปี ค.ศ. 750 และย้ายเมืองหลวงจากฮาร์รานไปแบกแดดในปี ค.ศ. 762 รัฐเคาะลีฟะฮ์นี้รุ่งเรืองอยู่ราวสองร้อยปีแต่ก็มาเสื่อมโทรมลงเมื่ออำนาจของตุรกีแข็งแกร่งขึ้น ภายใน 150 ปีทีแผ่ขยายอำนาจไปทั่วเปอร์เชีย รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะห์ก็สูญเสียอำนาจให้แก่จักรวรรดิมองโกล ในปี..

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิรัก

ราชอาณาจักรอิรัก (المملكة العراقية; Kingdom of Iraq).

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและราชอาณาจักรอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษา

รายชื่อภาษาต่าง ๆ ทั่วโลกเรียงตามลำดับตัวอักษร.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1

ตารางนี้ประกอบด้วยรหัสทั้งหมดของ.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและรายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในกันดั้มดับเบิลโอ

รายละเอียดของตัวละครจากภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกันดั้มดับเบิลโอผลงานของบริษัทซันไร.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและรายชื่อตัวละครในกันดั้มดับเบิลโอ · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาเคิร์ด

ลโก้วิกิพีเดียภาษาเคิร์ด วิกิพีเดียภาษาเคิร์ด เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาเคิร์ด ปัจจุบันวิกิพีเดียภาษาเคิร์ดมีบทความมากกว่า 10,000 บทความ (กันยายน 2550).

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและวิกิพีเดียภาษาเคิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐประชาธิปไตยซีเรียเหนือ

อร์ดิสถานซีเรีย (Syrian Kurdistan) หรือเคอร์ดิสถานตะวันตก (Western Kurdistan) (Rojavayê Kurdistanê; کوردستان السورية, Kurdistan Al-Suriyah) มักเรียกเพียง โรยาวา (Rojava) (ตะวันตก ในภาษาเคิร์ด) เป็นดินแดนปกครองตนเองโดยพฤตินัยในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศซีเรีย เคอร์ดิสถานซีเรียเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่ภูมิศาสตร์ใหญ่กว่า เรียก เคอร์ดิสถาน ซึ่งรวมบางส่วนของภาคตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี (เคอร์ดิสถานตุรกี) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอิรัก (เคอร์ดิสถานอิรัก) ภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอิหร่าน (เคอร์ดิสถานอิหร่าน) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของซีเรีย (เคอร์ดิสถานซีเรีย) เป็นบริเวณที่มีชาวเคิร์ดอาศัยอยู่จำนวนมาก พื้นที่ปกคลุมทางตะวันตกเฉียงเหนือของซากรอส และทางตะวันออกของเทือกเขาเทารัส ตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและสหพันธรัฐประชาธิปไตยซีเรียเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพรักชาติแห่งเคอร์ดิสถาน

หภาพรักชาติแห่งเคอร์ดิสถาน (Patriotic Union of Kurdistan; ภาษาเคิร์ด: Yekîtî Nîştimanî Kurdistan) ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและสหภาพรักชาติแห่งเคอร์ดิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอาหรับ

อักษรอาหรับ เป็นอักษรที่มีความสำคัญในศาสนาอิสลาม เพราะคัมภีร์อัลกุรอานเขียนด้วยอักษรนี้ อักษรนี้จึงมีใช้แพร่หลายในกลุ่มผู้นับถือศาสนาอิสลาม แม้แต่ภาษานอกกลุ่มเซมิติก เช่น ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอูรดู และภาษามลายูปัตตานี ตัวอักษรมีหลายแบบแต่รูปร่างของอักษรเหมือนกัน.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและอักษรอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

อักขรวิธี

อักขรวิธี หมายถึงวิธีการเขียนและการใช้ระบบการเขียนของภาษาหนึ่งๆ ให้ถูกต้อง (ซึ่งภาษาหนึ่งๆ อาจมีระบบการเขียนมากกว่าหนึ่งแบบก็ได้ เช่นภาษาเคิร์ด) อักขรวิธีเป็นสิ่งที่นิยามหรืออธิบายถึงกลุ่มของสัญลักษณ์ที่ใช้ (คืออักษรหรือเครื่องหมายเสริมอักษรเป็นต้น) และกฎเกณฑ์ที่ว่าจะเรียบเรียงสัญลักษณ์เหล่านั้นอย่างไร กฎเกณฑ์เหล่านั้นอาจมีเรื่องของเครื่องหมายวรรคตอน การสะกดคำ และการขึ้นต้นอักษรตัวใหญ่เข้ามาประกอบด้วย ซึ่งแตกต่างกันออกไปในแต่ละภาษา บุคคลทั่วไปมักเข้าใจว่าอักขรวิธีเป็นเรื่องของการสะกดคำเพียงอย่างเดียว ความจริงคือการสะกดคำเป็นส่วนหนึ่งของอักขรวิธีเท่านั้น.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและอักขรวิธี · ดูเพิ่มเติม »

อาเซอร์ไบจาน (อิหร่าน)

อาเซอร์ไบจาน หรือ อาเซอร์ไบจานอิหร่าน หรือ อาเซอร์ไบจานเปอร์เซีย (آذربایجان; Āzarbāijān; آذربایجان, เคิร์ด: ئازه‌ربایجان, Azerbaijan หรือ Azarbaijan หรือ Iranian Azerbaijan) คือภูมิภาคทางตะวันตกเฉียงเหนือของอิหร่าน หรือที่รู้จักกันในประวัติศาสตร์ว่า “อาโทรพาเทเน” (Atropatene) และ “อาเทอร์พาคาน” (Aturpatakan) บางครั้งบริเวณนี้ก็เรียกว่า “อาเซอร์ไบจานใต้” แต่ผู้เชี่ยวชาญและแหล่งข้อมูลบางแหล่งมีความเห็นว่าคำหลังนี้มีความหมายเป็นนัยยะถึงโอกาสในการผนวกดินแดน (irredentist).

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและอาเซอร์ไบจาน (อิหร่าน) · ดูเพิ่มเติม »

ฮิซบุลลอฮ์ชาวเคิร์ด

ซบุลลอฮ์ชาวเคิร์ด (Kurdish Hezbollah; เคิร์ด: Hizbullahî Kurdî) หรือ ฮิซบุลลอฮ์ชาวเติร์ก เป็นกองกำลังทหารอิสลามนิกายซุนนีของชาวเคิร์ดในตุรกี ก่อตั้งเมื่อราว..

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและฮิซบุลลอฮ์ชาวเคิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ฮิซบุลลอฮ์ปฏิวัติชาวเคิร์ด

ซบุลลอฮ์ปฏิวัติชาวเคิร์ด (Kurdish Revolutionary Hezbollah; เคิร์ด: Hizbullahi Kurdi Shorishger) เป็นสาขาของฮิซบุลลอฮ์ชาวเคิร์ดและเป็นสภาสูงสุดของการปฏิวัติอิสลามในอิรัก ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและฮิซบุลลอฮ์ปฏิวัติชาวเคิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอาเซอร์ไบจานตะวันตก

ังหวัดอาเซอร์ไบจานตะวันตก (استان آذربایجان غربی, Qərbi Azərbaycan ostanı, East Azerbaijan Province) เป็นหนึ่งใน 31 จังหวัดของประเทศอิหร่าน อยู่ในทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ ที่มีพรมแดนติดกับประเทศตุรกี, ประเทศอิรัก, สาธารณรัฐปกครองตนเองนาคีชีวัน, จังหวัดอาเซอร์ไบจานตะวันออก, จังหวัดซานจาน และจังหวัดคูเซสถาน จังหวัดเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาค 3 จังหวัดอาเซอร์ไบจานตะวันตกครอบคลุมพื้นที่ 39,487 ตารางกิโลเมตรหรือ 43,660 กิโลเมตร รวมทั้งทะเลสาบอูร์เมีย ในปี ค.ศ. 2012 จังหวัดมีประชากรประมาณ 3,000,000 (จากการประมาณ) เมืองหลักและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของจังหวัดคืออูร์เมี.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและจังหวัดอาเซอร์ไบจานตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโฆรอซอนเหนือ

ังหวัดโฆรอซอนเหนือ (استان خراسان شمالی) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอิหร่าน บอจนอร์ดเป็นศูนย์กลางของจังหวัด ในปี 2014 ถูกตั้งอยู่ใน ภูมิภาค 5 โฆรอซอนเหนือ เป็นหนึ่งในสามจังหวัดที่ถูกสร้างแบ่งออกจาก โฆรอซอน ในปี 2004.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและจังหวัดโฆรอซอนเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ซิดิลลา

ซิดิลลา (cedilla) หรือ เซดีย์ (cédille) เป็นสัญลักษณ์รูปร่างคล้ายตะขอ (¸) อยู่ใต้พยัญชนะของอักษรละตินบางตัว เพื่อแสดงเสียงที่ต่างไปจากรูปปกติ เช่น ç ในภาษาฝรั่งเศสจะออกเสียงคล้ายเสียง ซ แต่ c จะออกเสียงคล้ายเสียง ค เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและซิดิลลา · ดูเพิ่มเติม »

ประชากรศาสตร์อิหร่าน

การเปลี่ยนแปลงจำนวนประชากรระหว่างปี 1260-1395 (ปีอิหร่าน) ชาวอิหร่าน คือผู้ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิหร่าน แถบเอเชียตะวันตก ข้อมูลตามการสำรวจสำมโนครัว เดือนออบอน ปี 1395  ประชากรประเทศอิหร่านมีประมาณ 79,9 ล้านคน ความหนาแน่นของประชากร 48,5 ต่อตารางกิโลเมตร ค่าเฉลี่ยการเจริญเติบโตของจำนวนประชากรแต่ละปี คิดเป็น 1,2 เปอร์เซ็น ‎(فارسی)‎. درگاه ملی آمار. بازبینی‌شده در تیر ۱۳۹۶.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและประชากรศาสตร์อิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิรัก

ประเทศอิรัก (العراق; عێراق อังกฤษ: Iraq) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิรัก (جمهورية العراق; كؤماری عێراق) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีอาณาเขตทางทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทางทิศตะวันออกจดประเทศอิหร่าน ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศคูเวต ทางทิศใต้จดประเทศซาอุดีอาระเบีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศจอร์แดน และทางทิศตะวันตกจดประเทศซีเรีย กรุงแบกแดด ซึ่งเป็นเมืองหลวง ตั้งอยู่ในกลางประเทศ ราว 97% ของประชากรอิรัก 36 ล้านคนเป็นชาวมุสลิม ส่วนใหญ่มีเชื้อสายซุนนีย์ ชีอะฮ์และเคิร์ด ประเทศอิรักมีแนวชายฝั่งส่วนแคบวัดความยาวได้ 58 กิโลเมตรทางเหนือของอ่าวเปอร์เซีย และอาณาเขตของประเทศครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเมโสโปเตเมีย ปลายทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขาซากรอส และทะเลทรายซีเรียส่วนตะวันออก สองแม่น้ำหลัก แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ไหลลงใต้ผ่านใจกลางประเทศและไหลลงสู่ชัฏฏุลอะร็อบใกล้อ่าวเปอร์เซีย แม่น้ำเหล่านี้ทำให้ประเทศอิรักมีดินแดนอุดมสมบูรณ์มากมาย ภูมิภาคระหว่างแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีสมักเรยกว่า เมโสโปเตเมีย และคาดว่าเป็นบ่อเกิดของการเขียนและอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดของโลก พื้นที่นี้ยังเป็นที่ตั้งของอารยธรรมที่สืบทอดต่อกันมานับแต่ 6 สหัสวรรษก่อนคริสตกาล ในแต่ละช่วงของประวัติศาสตร์ อิรักเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิอัคคาเดีย ซูเมเรีย อัสซีเรีย และบาบิโลเนีย นอกจากนี้ยังเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมีเดีย อะคีเมนิด เฮลเลนนิสติก พาร์เธีย แซสซานิด โรมัน รอชิดีน อุมัยยะฮ์ อับบาซียะห์ มองโกล ซาฟาวิด อาฟชาริยะห์และออตโตมัน และเคยเป็นอาณาเขตในอาณัติสันนิบาตชาติภายใต้การควบคุมของอังกฤษ พรมแดนสมัยใหม่ของประเทศอิรักส่วนใหญ่ปักใน..

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและประเทศอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ปรารถนา ไฟสงครามและความอยู่รอด

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและปรารถนา ไฟสงครามและความอยู่รอด · ดูเพิ่มเติม »

เคอร์ดิสถาน

ื้นที่ที่เรียกว่าเคอร์ดิสถาน ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ในตุรกี อิหร่าน อิรักและซีเรีย เคอร์ดิสถาน (Kurdistan; "แผ่นดินของชาวเคิร์ด"; บางครั้งเขียนเป็นคูร์ดิสถาน Curdistan; ชื่อเดิมคือคอร์ดูน: CordueneA.D. Lee, The Role of Hostages in Roman Diplomacy with Sasanian Persia, Historia: Zeitschrift für Alte Geschichte, Vol. 40, No. 3 (1991), pp. 366–374 (see p.371)) เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ซึ่งมีชาวเคิร์ดอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก มีวัฒนธรรมแบบชาวเคิร์ด การใช้ภาษาเคิร์ด โดยทั่วไปคำว่าเคอร์ดิสถานมักอ้างถึงทางตะวันออกของตุรกี (เคอร์ดิสถานตุรกี) ภาคเหนือของอิรัก (เคอร์ดิสถานอิรัก) ภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอิหร่าน (เคอร์ดิสถานอิหร่าน) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของซีเรีย (เคอร์ดิสถานซีเรีย).

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและเคอร์ดิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

Ç

ตัวอักษร Ç (ตัวเล็ก: ç) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน C ที่มีซิดิลลา (cedilla) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดย (ช/ตช) Ç เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาตุรกี ภาษาเติร์กเมน ภาษาซาซากิ ภาษาแอลเบเนีย ภาษาตาตาร์ ภาษาเคิร์ด และ ภาษาอาเซอร์ไบจาน.

ใหม่!!: ภาษาเคิร์ดและÇ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »