โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษาอาหรับ

ดัชนี ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

567 ความสัมพันธ์: AGROVOCชะมดชากีราชาลอมชาวยิวชาวอาหรับชาวอิรักชาวอียิปต์ชาวโวลอฟชาวเคิร์ดชาอีร์บาเลนเซียบิลาดี บิลาดี บิลาดีบีอินสปอตส์บทสดุดีชนเบอร์เบอร์ช่องแคบยิบรอลตาร์ฟร้องซ์ เว็งแก็ตฟัฎลุลลอหฺฟัตฮียะฮ์ ฆอลีฟิดาอีฟิตน่าฟุตบอลทีมชาติบาห์เรนฟุตบอลทีมชาติเลบานอนฟูซูลิฟเตหปุระสีกรีพยางค์พรรคการเริ่มต้นชาติปาเลสไตน์พรรคประชาชนปาเลสไตน์พระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์พระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์พระเจ้าอมานุลเลาะห์พระเจ้าเนบูคัดเนสซาร์ที่ 2พันธมิตรสากลอัสซีเรียพายุหมุนเขตร้อนพาราไดซ์ นาว อุดมการณ์ปลิดโลกพิสุทธินิยมทางภาษาพินาโคแกรมพุนต์แลนด์พีชคณิตฎ๊อดกฎชัทแธมเฮ้าส์กฎบัตรสหประชาชาติกระดาษกลุ่มภาษาอิหร่านกลุ่มภาษาจีนกลุ่มภาษาคอเคเซียนกลุ่มภาษาเตอร์กิกกลุ่มภาษาเซมิติกกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง...กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือกลุ่มภาษาเซมิติกใต้กล้วยกองพลอาบู อาลี มุสตาฟากองทัพปลดปล่อยแห่งชาติกะอ์บะฮ์กันดั้มคิวริออสการพักรบการมัดอิสอัคการีม เอล อาห์มาดีการถอดเสียงการถอดเป็นอักษรโรมันการทับศัพท์ภาษาอาหรับการทับศัพท์ภาษาฮินดีการตั้งชื่อดาวฤกษ์การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980การแผลงเป็นอาหรับการเตรียมกาแฟกาเซลล์กำมะถันแดงกิ้งก่ามอนิเตอร์กูเกิล แปลภาษาญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนญิฮาดญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์ฝ้ายภาษาชวาภาษาชะกะไตภาษาชูวัชภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติภาษาฟินิเชียภาษาพัชโตภาษากัจฉิภาษากุมซารีภาษากงกณีภาษามราฐีภาษามลายูภาษามลายูปัตตานีภาษามอลตาภาษามองโกเลียภาษามัลดีฟส์ภาษามัวไบต์ภาษามาลายาลัมภาษามาซันดารานีภาษายูการิติกภาษายูฮูรีภาษาลาดิโนภาษาลิซานิด โนซานภาษาสวาฮีลีภาษาสินธีภาษาสิเลฏีภาษาสูญแล้วภาษาสเปนภาษาอราเมอิกยิวบาบิโลเนียภาษาอราเมอิกใหม่ยิวบาร์ซานีภาษาอราเมอิกใหม่ตะวันตกภาษาอาระเบียเหนือโบราณภาษาอาหรับบาห์เรนภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ภาษาอาหรับมาโรไนต์ภาษาอาหรับยิวอิรักภาษาอาหรับยิวตริโปลีภาษาอาหรับยิวตูนิเซียภาษาอาหรับยิวแบกแดดภาษาอาหรับยิวโมร็อกโกภาษาอาหรับยิวเยเมนภาษาอาหรับอิรักภาษาอาหรับอ่าวภาษาอาหรับฮิญาซีภาษาอาหรับจอร์แดนภาษาอาหรับคลาสสิกภาษาอาหรับคูเซสถานภาษาอาหรับซิรวานภาษาอาหรับปาเลสไตน์ภาษาอาหรับนัจญ์ดีภาษาอาหรับโอมานภาษาอาหรับโดฟารีภาษาอาหรับเมโสโปเตเมียเหนือภาษาอาหรับเยเมนภาษาอาหรับเลบานอนภาษาอาหรับเลอวานต์ภาษาอาหรับเอเชียกลางภาษาอาเซอร์ไบจานภาษาอินโดนีเซียภาษาอุซเบกภาษาอูรดูภาษาอีโลกาโนภาษาอีโดไมต์ภาษาอโมไรต์ภาษาฮาไซติกภาษาฮินดูสตานีภาษาฮินดีภาษาฮีบรูภาษาฮีบรูมิซราฮีภาษาฮีบรูมิซนะห์ภาษาฮีบรูเซฟาร์ดีภาษาจิตตะกองภาษาทมิฬภาษาทักขินีภาษาทามูดิกภาษาทาจิกภาษาขาริโพลีภาษาดุงกานภาษาคุชราตภาษาตากาล็อกภาษาตุรกีภาษาตุรกีออตโตมันภาษาตงเซียงภาษาซาไฟติกภาษาซีรีแอกภาษาประธานไร้รูปภาษาปัญจาบภาษาแกนภาษาแอกแคดภาษาแอราเมอิกภาษาโรฮีนจาภาษาโอริยาภาษาโดกรีภาษาโซมาลีภาษาเบงกาลีภาษาเชเชนภาษาเมห์รีภาษาเสาราษฏร์ภาษาเคิร์ดภาษาเติร์กเมนภาษาเซบัวโนภาษาเปอร์เซียมรสุมมหกรรมกีฬามหภาษามะลิมะขามมัสกัตมัสยิดมัสยิดยามิอา นครหลวงเวียงจันทน์มารวน แฟลายนีมาเฮอร์ เซนมุมทิศมุสลิมมุสตาฟาร์มุฮัมมัด อับดุฮ์มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์มีนูตามอลชานียามดยอบยศทหารอียิปต์-ตุรกียอก โซธอทยาบะนีย์อัสซะฮะรายิบรอลตาร์ยีราฟ (สกุล)ย้อดรหัสมรณะรอยัลจอร์แดเนียนรับบีรัฐบาลกลางโซมาเลียรัฐบาลกลางเปลี่ยนผ่านรัฐบาลเปลี่ยนผ่านแห่งชาติรัฐยะโฮร์รัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลามรัฐสุลต่านรูมรัฐสุลต่านอาเจะฮ์รัฐสุลต่านซูลูรัฐสุลต่านนัจญด์รัฐทรูเชียลรัฐปาเลสไตน์รัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีนรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์รัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบารัฐเคดีฟอียิปต์รัสเซียทูเดย์ราชบัลลังก์กัสติยาราชรัฐแอนติออกราชอาณาจักรกัสติยาราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์เยเมนราชอาณาจักรลิเบียราชอาณาจักรอิรักราชอาณาจักรอียิปต์ราชอาณาจักรฮิญาซราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์ราชอาณาจักรแนบาเทียรายชื่อภาษารายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)รายชื่อธงในประเทศอัฟกานิสถานรายชื่อตำราที่สำคัญของนิกายชีอะฮ์รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยรายาห์รุไบยาตร็อก (เทพปกรณัม)ละหมาดลาบานูนลายอาหรับลิสบอนลิเกลุบนา ฮุสเซนวายาลัลอูมาวาลละฮ์ซะมานยาซิลาฮีวิกฤตการณ์ตัวประกันซิดนีย์ พ.ศ. 2557วิกิพีเดียภาษาอาหรับวิกิพีเดียภาษาอาหรับอียิปต์วงศ์เหี้ยศิลปะโรมาเนสก์ศีลอดสกาย นิวส์ อาระเบียสกุลขมิ้นสกุลขี้เหล็กสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกาสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2 แห่งจอร์แดนสหพันธรัฐอาระเบียใต้สหพันธรัฐอาหรับสหพันธรัฐอาหรับเอมิเรตส์ใต้สหพันธรัฐประชาธิปไตยซีเรียเหนือสหพันธ์สาธารณรัฐอาหรับสหภาพประชาธิปไตยปาเลสไตน์สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์สหสาธารณรัฐอาหรับสหประชาชาติสหประชาชาติจำลองสะอ์ดีสาธารณรัฐอาหรับเยเมนสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวีสาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลีสาธารณรัฐโซมาลีสำนักข่าวโอมานสุลต่านสุหนัตสู้ไม่รู้จักตายสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)สงครามอิรัก–อิหร่านสนธิสัญญาจันทราสนธิสัญญาเฟซหมาจิ้งจอกเฟนเนกหลักการตั้งชื่อทางดาราศาสตร์หลักสูตรหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภาหอสมุดดิจิทัลแห่งโลกหุยอภิธานศัพท์ศาสนาอิสลามอย่าแหย่โซฮานอะบู นุวาสอะห์มัด ฮะซัน มะห์ญูบอับดุลละห์ บิน อับดุลกาดีร์อักษรกรีกอักษรวาดาอัดอักษรสำหรับภาษาฟูลาอักษรสิเลฏินาครีอักษรอยามีอักษรอาร์วีอักษรอาหรับอักษรอาหรับสำหรับภาษาเบลารุสอักษรอิสเกอิมลาอักษรทามูดิกอักษรทานะอักษรคอปติกอักษรซีรีแอกอักษรแอกแคดอักษรโซราเบอักษรเบรลล์ภาษาอาหรับอักษรเสี่ยวเอ้อร์อักษรเปโกนอัลกุรอานอัลญะมะอะหฺ อัลอิสลามียะหฺ (อียิปต์)อัลลอหุ อักบัร (เพลงชาติ)อัลอันดะลุสอัลคามีอาอัลซะลามอัลมะละกีอัลอูร์โดนีอัศราเอลอัสคารีอัดนัน บาราคัทอัซซิซตานีย์อายะตุลลอหฺอายินอารบิกอาร์แร็กอาลัมบราอาหรับอาหรับ (แก้ความกำกวม)อาณาจักรมเยาะอูอาณานิคมเอเดนอาดุลฟุราตอยนีวาตานอาซานอาเรบีตซาอิบาดะหฺอิมาม (ชีอะฮ์)อิรักในอาณัติอิสละมียามิศร์อิตาเลียนลิเบียอูรักลาโว้ยอีมาน (นางแบบ)อีมน์เชรีเฟียงอียิปต์แอร์องค์กรนักข่าวไร้พรมแดนองค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติองค์การความร่วมมืออิสลามองค์การตำรวจอาชญากรรมระหว่างประเทศอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบอนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปรายอเล็กซานเดอร์ (ชื่อ)ฮะรอมฮัรกัต ญิฮาด อิสลามฮาเร็มฮิซบุลลอฮ์ (แก้ความกำกวม)ฮุมาตอัลฮิมาฮุซัยนียะหฺผู้รับใช้พระเป็นเจ้าจักรพรรดิชะฮันคีร์จักรวรรดิพาลไมรีนจังหวัดยะลาจันนี อินฟันตีโนจามาฮิริยาจุดจอมฟ้าจุดจอมดินจีเมลธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศธงชาติบาห์เรนธงชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ธงชาติอัฟกานิสถานธงชาติอิรักธงชาติเยเมนธงชาติเลบานอนธงขาวทวีปแอฟริกาทอเลมีทอเลมี (ชื่อ)ทะเลทรายสะฮาราทัชมาฮาลท่าอากาศยานนานาชาติบาห์เรนท่าอากาศยานนานาชาติดูไบท่าอากาศยานนานาชาติไคโรขบวนการบาห์เรนเสรีขบวนการอมัลขบวนการแห่งชาติแอลจีเรียดาราศาสตร์ดาวฤกษ์ดิวโอลิงโกดิอินโนเซนส์ออฟมุสลิมดินาร์อิรักดินแดนในภาวะทรัสตีโซมาเลียดิเกร์ ฮูลูดูไบความตกลงปารีสความตลกขบขันคอฟคออ์คอตะมุนนะบียีนคาฟคาราคุริ ชาช่ามารุคาลิฟา ซีเซคำขวัญประจำชาติคิงอับดุลลอห์สปอร์ตซิตีคิงคริมสันค็อบซ์ฆอยน์งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 86งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 90ตระกูลภาษาดราวิเดียนตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติกตราแผ่นดินของบรูไนตราแผ่นดินของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ตราแผ่นดินของอัฟกานิสถานตราแผ่นดินของอาเซอร์ไบจานตราแผ่นดินของคูเวตตราแผ่นดินของซีเรียตราแผ่นดินของแอลจีเรียตราแผ่นดินของเยเมนตรีโกณมิติตัวไม่เชื่อมความกว้างศูนย์ตันซีมฉนวนกาซาซออ์ซะฮิบ ชีฮับซักคิวบัสซัดดัม ฮุสเซนซาอิสซาดีซาเฮลซีตี นูร์ฮาลีซาซีซีทีวี-อาหรับปฏิทินฮิจเราะห์ประชากรศาสตร์อิหร่านประวัติศาสตร์บาห์เรนประวัติศาสนาพุทธประเทศบาห์เรนประเทศชาดประเทศฟิลิปปินส์ประเทศกาตาร์ประเทศมอริเตเนียประเทศลิเบียประเทศสเปนประเทศอิรักประเทศอิสราเอลประเทศอิหร่านประเทศอียิปต์ประเทศจอร์แดนประเทศจิบูตีประเทศคอโมโรสประเทศคูเวตประเทศตูนิเซียประเทศซาอุดีอาระเบียประเทศซูดานประเทศซีเรียประเทศแอลจีเรียประเทศโมร็อกโกประเทศโอมานประเทศโซมาเลียประเทศเยเมนประเทศเลบานอนประเทศเอริเทรียปลาสินสมุทรหางเส้นปลาจ่าเอกปลาปักเป้าฟาฮากาปอเนาะปัญจตันตระปากีสถานเชื้อสายไทยปาเลสไตน์ในอาณัติปิแอร์ โอมิดดียาร์ป้อมริบาตนกปรอดนกเลขานุการนรกนารีมาน ศอดิกนาถยา แดงบุหงานาซลี ศ็อบรีนาซัมนาซีม ฮาเหม็ดนูรุดดีน เนย์เบ็ตนูนนีโครโนมิคอนน้ำอมฤตแบกแดดแชคิล โอนีลแกมมา ซีฟิอัสแกรนด์ดัชเชสมาเรีย วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซียแมลคัม เอ็กซ์แม่น้ำกัวดัลกิบีร์แม่น้ำจอร์แดนแอฟริกาเหนือของอิตาลีแอลเจียร์แอดแดกซ์แทนิสแคว้นของประเทศซาอุดีอารเบียแคท สตีเวนส์แป้นพิมพ์ภาษาอาหรับแนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์แนวร่วมประชาธิปไตยเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์แนวร่วมปลดปล่อยอาหรับแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติบาห์เรนโฟมัลฮอตโฟร์แชร์โฟโต้สเกปโรงเรียนอิสลามศรีอยุธยามูลนิธิโรงเรียนอนุบาลโลกอาหรับโอมาร์ คัยยามโฮเซ ซูไลมังโทมัส ยังโต๊ะครูโซมาลีแลนด์ไบตฺ อัล-มัลไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนลไฟฟ้าไส้กรอกแอฟริกาไอยคุปต์ไฮน์ริช เฮิรตซ์ไทยในอียิปต์เบิร์ดแลนด์ แดนมหัศจรรย์เพ (ตัวอักษร)เพลงชาติมัลดีฟส์เพลงชาติคูเวตเพลงชาติเยเมนเกเลนเมาตินีเมธี อรุณเม็มเยรูซาเลมเยื่อเพียเราะซูลเสือดาวอาระเบียเสียงกัก ลิ้นไก่ ไม่ก้องเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้องเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้องเหตุระเบิดในสตอกโฮล์ม พ.ศ. 2553เอมิเรตเอมิเรตญะบัลชัมมัรเอมิเรตส์แอร์ไลน์เอมิเรตนัจญด์และฮะซาอ์เอร์ซูรุมเอลี โคเฮนเอสวอยซ์เอสเอ็มเอฟเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เจิ้งเหอเจ้าชายมูลัย รอชิดเจ้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์เจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาลเจ้าหญิงซาร์วาธ อัล ฮัสซันเจ้าหญิงนูร์ ปาห์ลาวีเจ้าหญิงเฟริยาลแห่งอียิปต์เจ้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์เทียนกิ่งขาวเด่นเก้าแสน เก้าวิชิตเครื่องหมายการออกเสียงอักษรอาหรับเคาน์ตีอิเดสซาเคาน์ตีตริโปลีCh (ทวิอักษร)Complex Text LayoutISO 639-2ISO 639-3Kh (ทวิอักษร)S-L-MSIL ขยายดัชนี (517 มากกว่า) »

AGROVOC

AGROVOC ได้ถูกพัฒนาขึ้นในปี 1980 โดยเป็นอรรถาภิธานศัพท์พหุภาษาแบบมีโครงสร้าง ในด้านการเกษตร วนศาสตร์ การประมง อาหาร โภชนาการ และสาขาที่เกี่ยวข้อง (เช่น สิ่งแวดล้อม) อรรถาภิธานนี้เป็นคำศัพท์มาตรฐานที่กำหนดคำดรรชนีให้ถูกต้องตรงกัน ทั้งนี้เพื่อช่วยให้การสืบค้นสารสนเทศมีประสิทธิภาพ และยังช่วยขยายผลการสืบค้นสารสนเทศให้มีความครอบคลุมและกว้างขวางยิ่งขึ้น ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา AGROVOC เป็นเครื่องมือที่ให้องค์กรต่างๆ ใส่องค์ความรู้ และพัฒนาออนโทโลยี เพื่อให้มีความสามารถในการสืบค้นได้ แต่ในปัจจุบัน AGROVOC ได้ถูกพัฒนาขึ้นเป็นแม่ข่ายทางมโนทัศน์ (Concept Server) ซึ่งเปรียบเสมือนอรรถาภิธานคำศัพท์ (Term-based hesaurus) AGROVOC ได้ถูกใช้งานโดยกลุ่มคนทั่วโลก เช่นนักวิจัย บรรณารักษ์ ผู้จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และบุคคลอื่นๆ เพื่อใช้ในการทำดรรชนี การค้นคืน และการจัดการข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันในด้านสารสนเทศทางการเกษตร สิ่งสำคัญก็คือการทำให้การอธิบายเชิงความหมายมีมาตรฐาน ทั้งนี้เพื่อทำให้ระบบต่างๆ สามารถทำงานประสานกันได้ และเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลให้กว้างขึ้น อรรถาภิธานศัพท์เกษตร AGROVOC ประกอบด้วยคำศัพท์ใน 6 ภาษาหลัก คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ภาษาอาหรับ ภาษาจีน ภาษารัสเซีย และได้ถูกแปลเป็นภาษาอื่น ๆ อีก ได้แก่ ภาษาเช็ก ภาษาเปอร์เซีย ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี ภาษาฮังการี ภาษาอิตาลี ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเกาหลี ภาษาลาว ภาษาโปแลนด์ ภาษาโปรตุเกส ภาษาสโลวัก และภาษาไทย สำหรับคำศัพท์ในภาษามลายู ภาษามอลโดวา ภาษาเตลูกู ภาษาตุรกี และภาษายูเครน อยู่ในระหว่างดำเนินการ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและAGROVOC · ดูเพิ่มเติม »

ชะมด

ัตว์จำพวกชะมดและอีเห็นหลายชนิด (จากซ้ายไปขวา คือ สกุล ''Paradoxurus'', ''Genetta'', ''Paguma'' และ ''Arctictis'') ชะมด หรือ เห็นอ้ม ในภาษาอีสาน (civet) เป็นชื่อสามัญที่ใช้เรียกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับสัตว์กินเนื้อจำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์ Viverridae (ในอดีตเคยจัดให้พังพอนอยู่ในวงศ์นี้ด้วย) โดยคำว่า "ชะมด" ในภาษาไทย สันนิษฐานว่ามาจากคำในภาษาอาหรับว่า "อัซซะบาด" (الزباد) ชะมดมีรูปร่างโดยรวม คือ ใบหน้าแหลม รูปร่างเพรียว ตัวมีสีเทาหรือนํ้าตาล มีลายจุดสีดำตามยาวทั่วตัว หางและขนหางยาวมีลายเป็นปล้อง สามารถยืดหดเล็บได้เหมือนแมว มักออกหากินในเวลากลางคืน เป็นสัตว์ที่กินอาหารได้หลากหลายทั้งพืชและสัตว์ เป็นสัตว์ที่ปรับตัวให้เข้ากับสภาพภูมิประเทศได้หลากหลาย โดยสามารถอาศัยอยู่ในชายป่าใกล้ชุมชนหรือแหล่งเกษตรกรรมของมนุษย์ได้เป็นอย่างดี รวมถึงพื้นที่ชุ่มน้ำคล้ายนากด้วยในบางชนิดVeron, G., Gaubert, P., Franklin, N., Jennings, A. P. and Grassman Jr., L. I. (2006).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและชะมด · ดูเพิ่มเติม »

ชากีรา

กีรา อีซาเบล เมบารัก รีโปล (Shakira Isabel Mebarak Ripoll, 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520 —) หรือเป็นที่รู้จักว่า ชากีรา เป็นนักร้องชาวโคลอมเบี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและชากีรา · ดูเพิ่มเติม »

ชาลอม

"ชาลอม" ในภาษาฮีบรู ชาลอม (ฮีบรู: שָׁלוֹם, ฮีบรูเซฟาร์ติก/ฮีบรูอิสราเอล: Shalom; ฮีบรูอาซเกนาซี/ยิดดิช: Sholem, Shoilem, Shulem) เป็นคำภาษาฮีบรูที่หมายถึง สันติภาพ ความสมบูรณ์ และสวัสดิภาพ และสามารถใช้เป็นสำนวนในความหมายทั้งสวัสดีและลาก่อน คำนี้สามารถหมายถึงสันติภาพระหว่างสิ่งที่มีอยู่จริงสองอย่าง (โดยเฉพาะระหว่างมนุษย์กับพระเจ้าหรือระหว่างสองประเทศ) หรือความเป็นอยู่ที่ดี สวัสดิภาพหรือความปลอดภัยของปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มของปัจเจกบุคคล คำคำนี้ยังพบในรูปแบบอื่นๆอีก โดยมีความหมายเช่นเดียวกับ salaam ในภาษาอาหรับ sliem ในภาษามอลตา Shlama (ܫܠܡܐ) ในภาษาซีเรียค และภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย และ sälam ในภาษากลุ่มเซมิติกในเอธิโอเปีย คำเหล่านี้มีที่มาจากรากศัพท์ S-L-M ในภาษาเซมิติกดั้งเดิม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและชาลอม · ดูเพิ่มเติม »

ชาวยิว

ว (ภาษาฮิบรู: יהודים) หรือที่เรียกว่า ชาวยิว (Jewish people) เป็นชนชาติและกลุ่มศาสนพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีเชื้อสายมาจากวงศ์วานอิสราเอลหรือชนเผ่าฮีบรูในแผ่นดินตะวันออกใกล้ยุคโบราณ ซึ่งคัมภีร์ฮีบรูได้ระบุว่า ชาวยิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงเลือกสรรที่จะอุปถัมป์ค้ำชูไว้เหนือชาติอื่นๆ ด้วยความเชื่อว่ายิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงค้ำชูและมีศาสนายูดาห์เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวนี้เอง ทำให้แม้ชาวยิวจะกระจัดกระจายไปในหลายดินแดน แต่ก็ยังคงความเป็นกลุ่มก้อนและมีการสืบทอดความเป็นยิวจากรุ่นสู่รุ่นอย่างไม่มีเสื่อมถอย ปัจจุบันบุคคลเชื้อสายยิวทั่วทั้งโลกมีอยู่ราว 14.4 ถึง 17.5 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอลและสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและชาวยิว · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอาหรับ

วอาหรับ (عرب) เป็นกลุ่มชนเซมิติกที่พูดภาษาอาหรับโดยมีประชากรอาศัยในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้และแอฟริกาเหนือ ซึ่งกลุ่มชาวอาหรับประกอบด้วยชาวเลบานอน, ชาวซีเรีย, ชาวเอมิเรตส์, ชาวกาตาร์, ชาวซาอุดี, ชาวบาห์เรน, ชาวคูเวต, ชาวอิรัก, ชาวโอมาน, ชาวจอร์แดน, ชาวปาเลสไตน์, ชาวเยเมน, ชาวซูดาน, ชาวแอลจีเรีย, ชาวโมร็อกโก, ชาวตูนีเซีย, ชาวลิเบีย และชาวอียิปต.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและชาวอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอิรัก

วอิรัก (Iraqi people) คือประชาชนที่เกิดในประเทศอิรัก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและชาวอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอียิปต์

วอียิปต์ (Egyptians) เป็นผู้อยู่อาศัยหรือประชากรของประเทศอียิปต์ โดยชาวอียิปต์โบราณเป็นคนละกลุ่มชาติพันธ์กับชาวอียิปต์ในปัจจุบันที่พูดภาษาอาหรั.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและชาวอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวโวลอฟ

วโวลอฟ (Wolof people) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่พบในเซเนกัล, แกมเบีย และมอริเตเนี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและชาวโวลอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวเคิร์ด

วเคิร์ด (کورد Kurd คูร์ด, Kurdish people) เป็นชนในกลุ่มชนอิหร่านที่เป็นกลุ่มภาษาชาติพันธุ์ (ethnolinguistic) ที่ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณที่เป็นเคอร์ดิสถาน ที่รวมทั้งบางส่วนบริเวณที่ใกล้เคียงกันที่รวมทั้งอิหร่าน อิรัก, ซีเรีย และ ตุรกี นอกจากนั้นก็ยังมีกลุ่มชนเคิร์ดขนาดใหญ่พอสมควรทางตะวันตกของตุรกี และในเลบานอน, อาร์มีเนีย, อาเซอร์ไบจาน และเมื่อไม่นานมานี้ในประเทศในยุโรป และ สหรัฐอเมริกา (ดูชาวเคิร์ดพลัดถิ่น) ชาวเคิร์ดพูดภาษาเคิร์ดซึ่งเป็นภาษาในภาษากลุ่มอิหร่าน เมือง Piranshahr เป็นเมืองหลวงของอำเภอ Mukerian.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและชาวเคิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ชาอีร์

อีร์ (syair) เป็นรูปแบบวรรณกรรมที่แพร่หลายตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 21 ปรับรูปแบบมาจากร้อยกรองภาษาอาหรับ-เปอร์เซีย จะยาวกี่บทก็ได้ แต่ละบทประกอบไปด้วยคำพื้นฐาน 4 คำ สัมผัสแบบกลอนหัวเดียว บทชาอีร์ที่เก่าที่สุดพบบนเสาหินหลุมฝังศพของพระราชาในอาเจะฮ์ เกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย เขียนด้วยอักษรโบราณในสุมาตรา ที่ได้รับอิทธิพลมาจากอินเดีย เป็นภาษามลายูโบราณที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรั.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและชาอีร์ · ดูเพิ่มเติม »

บาเลนเซีย

ลาว่าการเมือง บาเลนเซีย (Valencia) มีชื่อทางการและชื่อท้องถิ่นว่า วาเล็นซิอา (บาเลนเซีย: València) เป็นเมืองหลวงของแคว้นบาเลนเซียและจังหวัดบาเลนเซีย เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของประเทศสเปนและเป็นย่านอุตสาหกรรมใหญ่ริมชายฝั่งโกสตาเดลอาซาอาร์ (Costa del Azahar) ในปี พ.ศ. 2549 เฉพาะเมืองนี้มีจำนวนประชากรคือ 807,396 คน ส่วนประชากรในเขตมหานคร (เขตเมืองรวมกับเมืองบริวาร) มีจำนวน 1,807,396 คน เมืองบาเลนเซียมีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน มีฤดูร้อนที่แห้งอบอุ่นและอากาศหนาวที่ไม่รุนแรง มีสโมสรฟุตบอลที่มีชื่อเสียงคือ สโมสรฟุตบอลบาเลนเซี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและบาเลนเซีย · ดูเพิ่มเติม »

บิลาดี บิลาดี บิลาดี

ลาดี บิลาดี บิลาดี (بلادي بــلادي بلادي) เป็นเพลงชาติของประเทศอียิปต์ ที่ใช้ขับร้องในปัจจุบัน บทร้องประพันธ์โดย มูฮัมมัด ยูนุส อัลกอดี (محمد يونس القاضي) และ เรียบเรียงทำนองโดย ซัยยิด ดัรวีช (سيد درويش) ซึ่งความจริงนั้นคือ บทร้องของเพลงนี้มาจากสุนทรพจน์ที่มีชื่อเสียงที่สุดของ มุสตาฟา คาเมล ประกาศใช้อย่างเป็ทางการเมื่อ พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและบิลาดี บิลาดี บิลาดี · ดูเพิ่มเติม »

บีอินสปอตส์

ีอิน สปอตส์ (beIN Sports) เป็นเครือข่ายช่องรายการกีฬาทางโทรทัศน์ ซึ่งมีอยู่ในหลายประเทศทั่วโลก โดยเป็นธุรกิจหนึ่งของกลุ่มเครือข่ายสื่ออัลญะซีเราะฮ์แห่งรัฐกาตาร์ สำหรับบริการภายในประเทศไทย สามารถรับชมช่องบีอินสปอตส์ 1-6 ผ่านการบอกรับเป็นสมาชิกของทรูวิชันส์ ในเวอร์ชันภาษาไทย โดยต้องสมัครแพ็กเกจเสริมดูบอล ทรู ซูเปอร์ ซอคเกอร์เพื่อรับชมช่องดังกล่าว และผ่านทางแอพ beIN Sports Connect โดยการสมัครสมาชิกเพื่อรับชมช่องในแอพลิเคชั่นดังกล่าว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและบีอินสปอตส์ · ดูเพิ่มเติม »

บทสดุดี

ทสดุดี (Panegyric) คือ สุนทรพจน์อย่างเป็นทางการ หรือต่อมาหมายถึงบทเขียนที่ใช้ในการกล่าวสรรเสริญบุคคลหรือปรัชญาความคิด และเป็นงานที่เป็นที่ทำการศึกษากันมากที่ไม่ใช่บทยกย่อง (eulogy) และมิใช่งานเขียนที่มีจุดประสงค์ในการวิพากษ์ “Panegyric” มาจากภาษากรีก “πανηγυρικός” ที่แปลว่า “สุนทรพจน์ที่เหมาะกับที่ประชุมใหญ่” (ศาสนชุมนุมของกรีก (Panegyris)) ในเอเธนส์สุนทรพจน์ดังกล่าวมักจะกล่าวเนื่องในโอกาสที่มีเทศกาลหรือการกีฬาระดับชาติ โดยมีวัตถุประสงค์ในการปลุกเร้าใจพลเมืองให้เห็นดีเห็นงามไปกับการกระทำอันเป็นวีรบุรุษของบรรพบุรุษ บทสดุดีที่มีชื่อเสียงที่สุดก็ได้แก่บทสดุดี “Olympiacus” โดย จอร์จิอัส, “Olympiacus” โดย ลิเซียส และ “Panegyricus” และ “Panathenaicus” โดยอิโซคราทีส แต่ไม่ได้กล่าวจริง การกล่าวสดุดีเนื่องในโอกาสงานศพเช่นสุนทรพจน์ที่เขียนโดยนักประวัติศาสตร์ชาวกรีกธูซิดิดีสที่กล่าวโดยเพรีคลีสก็อยู่ในประเภทที่เรียกว่า “บทสดุดี” ในสมัยโรมันโบราณบทสดุดีจำกัดใช้ในการสรรเสริญผู้ยังมีชีวิตอยู่เท่านั้น และใช้ “บทสรรเสริญผู้ตาย” (funeral oration) สำหรับผู้เสียชีวิตไปแล้วเท่านั้น ตัวอย่างของบทสดุดีที่มีชื่อเสียงในภาษาลาตินก็ได้แก่บทสดุดีที่กล่าวโดยพลินิผู้เยาว์ในวุฒิสภาโรมันเนื่องในโอกาสที่ได้รับตำแหน่งเป็นกงสุล ที่มีเนื้อหาบางส่วนพาดพิงไปถึงบทยกย่องจักรพรรดิทราจัน เมื่อมาถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 3 และระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 4 ในสมัยของจักรพรรดิไดโอคลีเชียนก็เกิดมีประเพณีการสรรเสริญคุณสมบัติของความเป็นมหาวีรบุรุษของพระจักรพรรดิที่กำลังทรงราชย์อยู่ในงานเทศกาลทางวรรณกรรม ในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและบทสดุดี · ดูเพิ่มเติม »

ชนเบอร์เบอร์

นเบอร์เบอร์ (Berber people) เป็นกลุ่มชาติพันธ์ของแอฟริกาเหนือทางตะวันตกของลุ่มแม่น้ำไนล์ ผู้ที่ตั้งถิ่นฐานกระจัดกระจายอยู่ในบริเวณตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกไปจนถึงโอเอซิสซิวา (Siwa oasis) ในอียิปต์ และจากบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนไปจนถึงแม่น้ำไนเจอร์ ในประวัติศาสตร์ชนเบอร์เบอร์พูดภาษากลุ่มเบอร์เบอร์ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก ในปัจจุบันชนเบอร์เบอร์บางกลุ่มพูดภาษาอาหรับ ชนเบอร์เบอร์ที่พูดภาษากลุ่มเบอร์เบอร์ในบริเวณที่ว่านี้มีด้วยกันราว 30 ถึง 40 ล้านคนที่ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นอยู่ในบริเวณแอลจีเรียและโมร็อกโก และเบาบางลงไปทางตะวันออกไปทางมาเกรบ (Maghreb) และเลยไปจากนั้น บริเวณของชนเบอร์เบอร์ ชนเบอร์เบอร์เรียกตนเองด้วยชื่อต่าง ๆ ที่รวมทั้ง “Imazighen” (เอกพจน์ “Amazigh”) ที่อาจจะแปลว่า “ชนอิสระ” ตามความเห็นของนักการทูตและนักประพันธ์ชาวอาหรับเลโอ อาฟริคานัส “Amazigh” แปลว่า “คนอิสระ” แต่ความเห็นนี้ก็ยังเป็นที่โต้แย้งกันเพราะไม่มีรากของความหมายของ “M-Z-Gh” ที่แปลว่า “อิสระ” ในภาษากลุ่มเบอร์เบอร์สมัยใหม่ นอกจากนั้นก็ยังมีคำภาษา Tuareg “amajegh” ที่แปลว่า “ศักดิ์ศรี” (noble) คำเรียกนี้ใช้กันทั่วไปในโมร็อกโก แต่ในบริเวณอื่นในท้องถิ่นก็มีคำอื่นที่เฉพาะเจาะจงลงไปอีกเช่น “Kabyle” หรือ “Chaoui” ที่มักจะใช้กันมากกว่า ในประวัติศาสตร์ชนเบอร์เบอร์ก็รู้จักกันในชื่อต่างๆ เช่นในลิเบียโบราณโดยชาวกรีกโบราณ ว่า “นูมิเดียน” และ “มอเนเทเนีย” โดยโรมัน และ “มัวร์” โดยชายยุโรปในยุคกลาง ภาษาอังกฤษสมัยปัจจุบันอาจจะแผลงมาจากภาษาอิตาลีหรืออาหรับแต่รากที่ลึกไปกว่านั้นไม่เป็นที่ทราบ ชาวเบอร์เบอร์ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันก็ได้แก่นักประพันธ์ชาวโรมันอพูเลียส (Apuleius), จักรพรรดิโรมันเซ็พติมิอัส เซเวอรัส และ นักบุญออกัสตินแห่งฮิปโป ชาวเบอร์เบอร์ที่มีชื่อเสียงในปัจจุบันคือดารานักฟุตบอลซีเนอดีน ซีดาน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและชนเบอร์เบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ช่องแคบยิบรอลตาร์

องแคบยิบรอลตาร์ มองจากอวกาศ ช่องแคบยิบรอลตาร์ (Strait of Gibraltar; Estrecho de Gibraltar; مضيق جبل طارق) เป็นช่องแคบที่เชื่อมต่อมหาสมุทรแอตแลนติกกับทะเลอัลโบรัน (ส่วนหนึ่งของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน) และแยกประเทศสเปนออกจากประเทศโมร็อกโก ชื่อช่องแคบนี้มาจากชื่อดินแดนยิบรอลตาร์ (Gibraltar) ซึ่งมีต้นกำเนิดอีกทีมาจากคำอาหรับว่า ญะบัลฏอริก (جبل طارق) หมายถึง "ภูเขาของฏอริก" ฏอริกในที่นี้คือนายพลเบอร์เบอร์ชื่อ ฏอริก อิบน์ ซิยาด (طارق بن زياد) ผู้นำการพิชิตฮิสปาเนียของอิสลามในปี ค.ศ. 711 ช่องแคบนี้ยังเป็นที่รู้จักในชื่อ "สตร็อก" (Strog: Strait of Gibraltar) ซึ่งมักใช้กันในวงทหารเรือ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและช่องแคบยิบรอลตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟร้องซ์ เว็งแก็ต

France 24 (อ่านว่า ฟร้องซ์ เว็งแก็ต ในภาษาฝรั่งเศส และใช้เรียกชื่อสถานีในทุกภาษาที่ออกอากาศ) เป็นสำนักข่าวและสถานีโทรทัศน์ข่าวของประเทศฝรั่งเศส ออกอากาศเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ซึ่งออกอากาศหลัง รัสเซียทูเดย์ 2 ปี และ อัลจาซีราอินเตอร์เนชั่นแนลภาษาอังกฤษ 1 ปีกว่าๆ ปัจจุบันออกอากาศ 3 ภาษาได้แก่ ฝรั่งเศส อังกฤษ และ อารบิก (ภาษาอารบิกออกอากาศวันละ 4 ชั่วโมง (ภายหลังขยายเป็น 24 ชั่วโมง) ส่วน อังกฤษ และฝรั่งเศส ออกอากาศ 24 ชั่วโมง) ในอนาคตจะมีฟร้องซ์เว็งแกตภาคภาษาสเปน ในปี พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและฟร้องซ์ เว็งแก็ต · ดูเพิ่มเติม »

ฟัฎลุลลอหฺ

ฟัฎลุลลอหฺ อายะตุลลอหฺ มุฮัมมัด ฮุเซน ฟัฎลุลลอหฺ (محمد حسين فضل الله‎; 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 — 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2553) ในเมืองนะญัฟ ประเทศอิรัก ตระกูลของท่านสืบเชื้อสายมาจากนบีมุฮัมมัด บิดาของท่านได้อพยพไปอาศัยอยู่ในเมืองนี้ เพื่อศึกษาหาความรู้ศาสนา ในสถาบันการศึกษาต่างๆ จนได้กลายเป็นผู้รู้ท่านหนึ่ง อันเป็นที่ยอมรับกันในสมัยนั้น อายะตุลลอหฺ ฟัฎลุลลอหฺ จึงได้รับการเลี้ยงดูจากบิดาอย่างดีและเติบโตในครอบครัวที่มีเกียรติ มีนิสัยใจคอเป็นที่รักมักใคร่ของคนข้างเคียง ตั้งแต่ยังเยาว์วัย มุฮัมมัด ฮุเซน ฟัฎลุลลอหฺ ได้ศึกษาหาความรู้ ความอัจฉริยะของท่านได้ปรากฏขึ้นตั้งแต่ท่านได้เริ่มอ่านตำราไวยากรณ์ อัลอัจญ์รูมียะห์ และตำราไวยากรณ์กอฏรุ อันนะดา ตั้งแต่ยังอายุเก้าขวบ ถึงแม้ท่านจะมุ่งหน้าศึกษาทางวิชาการศาสนาในสำนักการศึกษาแบบเฮาซะห์ แต่หนังสือที่ท่านชอบอ่านก็คือหนังสือวารสารทั่วไป โดยเฉพาะที่พิมพ์ในอิยิปต์ และชอบติดตามข่าวและเหตุการณ์โลก แต่สิ่งที่ท่านทำเป็นประจำตั้งแต่อายุสิบขวบก็คือการแต่งบทกวี อาจารย์ท่านแรกของท่านก็คือบิดาที่รักของท่านเอง คือท่านซัยยิด อับดุลร่ออูฟ ฟัฎลุลลอหฺ ท่านได้ศึกษาวิทยาการศาสนาตั้งแต่ต้น จนถึงอุดมศึกษาที่เรียกว่า สุฏูฮฺ ต่อมาก็ศึกษาวิชาไวยากรณ์ภาษาอาหรับ ภาษาศาสตร์ ตรรกศาสตร์ รากฐานนิติศาสตร์ และนิติศาสตร์อิสลาม ต่อมาได้ไปศึกษากับอาจารย์ชาวอิหร่านชื่อ เชค มุจญ์ตะบา อัลนักรอนี หลังจากนั้นจึงศึกษาศาสนาระดับอุดมศึกษาชั้นสูง ซึ่งเป็นการศึกษาระดับสูงสุดที่เรียกว่า บะฮัษ อัลคอริจญ์ ซึ่งมีเหล่าอายะตุลลอหฺ และบรรดามุจตะฮิจ เป็นอาจารย์ หนึ่งในอาจารย์ของท่านก็คือ อายะตุลลอหฺ อัลคูอีย์ ผู้ลือนาม อายะตุลลอหฺ มุฮฺซิน อัลฮะกีม อายะตุลลอหฺ มุฮัมมัด อัชชะหัรวัรดีย์ อายะตุลลอหฺฮุเซน อัลฮิลลีย์ นอกจากนี้ ท่านยังได้ศึกษาวิชาปรัชญา จากตำรา อัลอัซฟาร อัลอัรบะอะหฺ ของท่านมุลลา ศอดรอ อัชชีรอซีย์ โดยมีท่านศอดรอ อัลบาดิกูบีย์ เป็นอาจารย์ ในช่วงที่ท่านยังศึกษาอยู่นั้น ท่านได้มีส่วนร่วมในการจัดการตีพิมพ์วารสาร อัลอัฎวาอ์ ที่ตีพิมพ์ในนะญัฟ หลังจากที่ท่านจบการศึกษาในปี พ.ศ. 2495 ท่านได้กลับไปเยี่ยมประเทศเลบานอน หนังสือพิมพ์เลบานอนได้เริ่มรู้จักท่าน เมื่อท่านได้กล่าวบทกวีไว้อาลัยที่แหวกแนวในพิธีอัรบะอีน รำลึกสี่สิบวันหลังการเสียชีวิตของอายะตุลลอหฺ มุฮัมมัด มุฮฺซิน อัลอะมีน ต่อมาในปี พ.ศ. 2509 ท่านได้รับเชิญให้เดินทางกลับไปอาศัยอยู่ในเลบานอน เพื่อเป็นอาจารย์สอนประชาชนในเบรูตตะวันออก ตั้งแต่นั้นมา ท่านก็ได้กลายเป็นหนึ่งในผู้นำทางจิตใจของชาวเลบานอน และประชาชนประเทศใกล้เคียง ท่านได้อุทิศชีวิตเพื่อฟื้นฟูสังคม โดยเน้นเรื่องการศึกษาเป็นหลัก ตั้งแต่นั้นมา ท่านก็ได้เปิดโรงเรียนและสถาบันการศึกษา 22 ที่ ในท้องถิ่นต่างๆ และยังมีสถานีวิทยุเพื่อการเผยแผ่ศาสนาอีกด้วย นอกจากนี้ ท่านยังได้ใช้เวลาที่เหลือประพันธ์หนังสือรวมแล้วประมาณ 50 เล่ม หนึ่งในจำนวนนั้นเป็นหนังสืออรรถาธิบายอัลกุรอานซึ่งมีความหนาถึง 24 เล่ม ท่านเป็นหนึ่งในผู้นำไม่กี่คนที่เน้นการศึกษาแบบทันสมัย สนับสนุนความสามัคคีระหว่างมุสลิมทุกมัซฮับ จึงไม่น่าแปลกใจ หากเราได้เห็นผู้ที่เข้ามาศึกษากับท่านนั้น ไม่ได้นับถือมัซฮับของท่าน ท่านเป็นผู้ก่อตั้งขบวนการอิสลามในอิรัก พร้อมกับอายะตุลลอหฺ บากิร อัศศอดัร ในช่วงต้นของคริสต์ทศวรรษ 1970 ท่านได้ร่วมในการปฏิวัติอิหร่าน ท่านได้เป็นหนึ่งในผู้นำการขบวนการอิสลามในเลบานอน เพื่อต่อต้านการรุกรานของอิสราเอล ผลที่ตามมาก็คือ ขบวนการซีไอเอได้พยายามลอบสังหาร (ยอมรับโดยวิลเลี่ยม เคซีย์ ประธาน ซีไอเอ) โดยการบรรจุระเบิดในรถ แล้วนำมาจอดใกล้บ้านท่าน ทำให้มีผู้คนเสียชีวิต 80 คน และบาดเจ็บสาหัสอีกประมาณ 200 คน แต่ท่านรอดพ้นจากระเบิดนี้อย่างหวุดหวิด เพราะท่านกลับมาถึงบ้านช้าเพียงไม่กี่นาที นอกจากนี้ท่านยังถูกหน่วยจารกรรมของประเทศอาหรับลอบทำร้ายอีก 3 ครั้ง แต่ท่านก็รอดพ้นไปทุกครั้ง ครั้งที่สามนั้นเป็นขีปนาวุธที่ตกลงมาในห้องนอนของท่านก่อนละหมาดซุบฮิ ส่วนหน่วยจารกรรมอิสราเอลก็ได้เข้าทำร้ายท่านในมัสยิดบิรุลอับดิ แต่ท่านก็รอดไปได้อย่างเหลือเชื่อ และอีกหลายครั้งที่อิสราเอลส่งขีปนาวุธลงมาบนบ้านของท่าน จนกระทั่งบุตรของท่านคนหนึ่งในบ้านถูกขีปนาวุธนี้ อายะตุลลอหฺ มุฮัมมัด ฮุเซน ฟัฎลุลลอหฺ ผู้อาจหาญเสี่ยงภัย เดินทางไปมาระหว่างซีเรียและเลบานอน ทุก ๆ สัปดาห์ ท่านได้เดินทางไปประเทศต่าง ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส อินเดีย อิหร่าน อัลจีเรีย และอื่น ๆ เพื่อพบปะและเผยแผ่ศาสนาอิสลาม ท่านมีประสบการณ์กว้างขวาง ทุกคำพูดและทุกวาจาของท่านมีค่า ใครที่ได้เข้าไปพบเห็นท่านจะรู้สึกรักและชอบท่านทันที นั้นก็เพราะความสุภาพอ่อนโยนของท่าน ผู้คนที่เข้ามาเรียนกับท่าน มาพบปะท่าน มาถามปัญหาศาสนา ต่าง ๆ นานา วันละ 14 - 15 ชั่วโมง ทำให้ท่านไม่ค่อยมีเวลาสำหรับส่วนตัวเลย ผู้คนต่างสงสัยว่าท่านยังมีเวลาที่ไหนไปอ่านหนังสือพิมพ์จนทันกับเหตุการณ์โลก ดวงตาที่อ่อนเพลียทำให้เรารู้ได้ว่า บุคคลคนนี้นอนน้อย แต่ท่านก็เป็นอย่างนี้มานานแล้ว อายะตุลลอหฺ มุฮัมมัด ฮุเซน ฟัฎลุลลอหฺ เป็นมัรญิอฺที่มีชื่อท่านหนึ่ง รองจาก ท่านอายะตุลลอหฺ ซีซตานีย์ อายะตุลลอหฺ อัชชีรอซีย์ และ อายะตุลลอหฺ คอเมเนอี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและฟัฎลุลลอหฺ · ดูเพิ่มเติม »

ฟัตฮียะฮ์ ฆอลี

้าหญิงฟัตฮียะห์แห่งอียิปต์ (อาหรับ: فتحية غالي‎) หรือ ฟัตฮียะห์ กาลี (Fathia Ghali) ประสูติเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1930 ณ กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ โดยเป็นพระราชธิดาองค์ในพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีนาซลีแห่งอียิปต์ พระองค์ถือเป็นพระขนิษฐาองค์เล็กในพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและฟัตฮียะฮ์ ฆอลี · ดูเพิ่มเติม »

ฟิดาอี

ลงชาติของชาวปาเลสไตน์มีชื่อว่า "ฟิดาอี" (فِدَائِي‎) ซึ่งเป็นเพลงที่สภาแห่งชาติปาเลสไตน์ประกาศรับรองเป็นเพลงชาติเมื่อปี พ.ศ. 2539 เพื่อให้สอดคล้องตามคำประกาศเอกราชของชาวปาเลสไตน์ พ.ศ. 2531 มาตรา 31 ประพันธ์เนื้อร้องโดย ซาอิด อัล มูซายิน (Said Al Muzayin) (หรือที่รู้จักกันในชื่อ ฟาตา อัล ทอว์รา - Fata Al Thawra) ทำนองโดยอาลี อิสมาเอล (Ali Ismael) นักดนตรีชาวอียิปต์ เพลงนี้เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ "เพลงสรรเสริญการปฏิวัติปาเลสไตน์" ("Anthem of the Palestinian revolution") ก่อนหน้านี้นับตั้งแต่ พ.ศ. 2479 เป็นต้นมา ได้ถือกันว่าเพลงมอว์ตินี (مَوْطِنِي, Mawtini; แปลว่า "ถิ่นเกิดของข้า") เป็นเพลงประจำชนกลุ่มน้อยชาวปาเลสไตน์อย่างไม่เป็นทางการ ซึ่งเพลงนี้ประพันธ์เนื้อร้องโดยอิบราฮิม ทอว์กาน (Ibrahim Towqan) ทำนองโดยมุฮัมมัด ฟลาอีเฟล (Mohammad Flaifel).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและฟิดาอี · ดูเพิ่มเติม »

ฟิตน่า

Fitna เป็นภาพยนตร์โดยเคร์ต วิลเดร์ส นักการเมืองชาวดัตช์ มีเนื้อหาเกี่ยวกับผู้นับถือศาสนาอิสลามและคำสอนในอัลกุรอาน เผยแพร่ครั้งแรกวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2551 ในอินเทอร์เน็ต ชื่อของภาพยนตร์มาจากคำในภาษาอาหรับ วิลเดร์สเผยแพร่ภาพยนตร์นี้ครั้งแรกในเว็บไซต์วิดีโอ Liveleak เมื่อเวลา 7 นาฬิกาของวันที่ 27 มีนาคม ตามเวลาท้องถิ่นของประเทศเนเธอร์แลนด์ อย่างไรก็ตาม Liveleak ถอดวิดีโอนี้ออกจากเว็บไซต์ในเวลาต่อมา ให้เหตุผลว่าเพื่อปกป้องพนักงานขององค์กรจากคำขู่ ภาพยนตร์นี้แสดงบางบท (ซูเราะหฺ) จากอัลกุรอาน ประกอบกับข่าวหนังสือพิมพ์และคลิปสื่อต่างๆ ปัจจุบันกูเกิลได้มีการนำมาวิดีโอจาก Liveleak โฮสต์ไว้ให้ผู้เข้าชมได้ที่เว็บกูเกิลวิดีโอ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและฟิตน่า · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติบาห์เรน

ฟุตบอลทีมชาติบาห์เรน (อาหรับ: منتخب البحرين لكرة القدم) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจาก ราชอาณาจักรบาห์เรน อยู่ภายใต้การควบคุมของ สมาคมฟุตบอลบาห์เรน ทีมชาติบาห์เรนก่อตั้งในปี พ.ศ. 2494 และเข้าร่วมฟีฟ่าในปี 2509 ทีมบาห์เรนยังไม่เคยเข้าร่วมฟุตบอลโลก แต่ในระดับเอเชียแล้ว ทีมชาติบาห์เรนได้อันดับ 4 ใน เอเชียนคัพ 2004 และในปีนั้นทีมบาห์เรนได้รับรางวัลทีมที่มีการพัฒนามากที่สุดจากฟีฟ่า ในปี 2547.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและฟุตบอลทีมชาติบาห์เรน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเลบานอน

ฟุตบอลทีมชาติเลบานอน (อาหรับ: المنتخب اللبناني لكرة القدم; ฝรั่งเศส: Équipe du Liban de football) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศเลบานอน มีฉายาคือ "ต้นซีดาร์" อยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลเลบานอน (LFA) ซึ่งเป็นสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) และสหพันธ์ฟุตบอลเอเชียตะวันตก (WAFF) อันดับโลกฟีฟ่าที่สูงที่สุดคืออันดับที่ 85 ในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและฟุตบอลทีมชาติเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

ฟูซูลิ

ฟูซูลิ (فضولی, Fuzûlî หรือ Fuduli หรือ Muhammad bin Suleyman) (ราว ค.ศ. 1483 - (ค.ศ. 1556) ฟูซูลิเป็นนามแฝงของกวี นักเขียน และนักคิดคนสำคัญชาวอาเซอร์ไบจานตุรกีที่มีนามจริงว่า มุฮัมมัด อิบุน สุลัยมาน (محمد بن سليمان) ฟูซูลิถือกันว่าเป็นกวีคนสำคัญของกวีนิพนธ์ออตโตมันของวรรณคดีอาเซอร์ไบจาน ผู้เขียนโคลงดิวาน (Diwan) สามภาษาที่รวมทั้งภาษาอาเซอร์ไบจานเตอร์กิก ภาษาเปอร์เซีย และ ภาษาอาหรับ แม้ว่าฟูซูลิจะเขียนงานตุรกีเป็นภาษาอาเซอร์ไบจานแต่ก็เป็นผู้ที่มีความรู้ดีในภาษาออตโตมันตุรกี และการเขียนแบบวรรณกรรมตุรกีฌาฆาไตย นอกจากจะมีความรู้ทางด้านการเขียนแล้วก็ยังเป็นผู้มีความรู้อย่างกว้างขวางในด้านคณิตศาสตร์ และ ดาราศาสตร์อีกด้วย in Encyclopaedia Iranica.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและฟูซูลิ · ดูเพิ่มเติม »

ฟเตหปุระสีกรี

ฟเตหปุระสีกรี (Fatehpur Sikri) เป็นเมืองตั้งอยู่ในเขตอำเภออัคระ รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและฟเตหปุระสีกรี · ดูเพิ่มเติม »

พยางค์

งค์ หมายถึงหน่วยหนึ่งขององค์ประกอบในลำดับของเสียงที่ใช้สื่อสารด้วยคำพูด พยางค์โดยทั่วไปเกิดขึ้นจากแกนพยางค์ (syllable nucleus) ซึ่งมักจะเป็นเสียงสระ และอาจมีเสียงขึ้นต้นและเสียงลงท้ายเป็นเสียงพยัญชนะในพยางค์ พยางค์ถูกจัดว่าเป็นส่วนประกอบของคำในการศึกษาระบบเสียงในภาษา (phonology) ซึ่งมีอิทธิพลต่อจังหวะในภาษา ฉันทลักษณ์ ลักษณะคำประพันธ์ รูปแบบการเน้นเสียง เป็นต้น คำหนึ่งคำอาจอบขึ้นจากพยางค์เพียงพยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้ การเขียนสัญลักษณ์แทนพยางค์เริ่มมีขึ้นเมื่อไม่กี่ร้อยปีก่อนที่จะมีการใช้ตัวอักษรขึ้นเป็นครั้งแรก สัญลักษณ์แทนพยางค์ในสมัยนั้นถูกบันทึกลงบนแผ่นจารึกเมื่อประมาณ 2,800 ปีก่อนคริสตกาลโดยชาวสุเมเรียน สิ่งนี้เป็นตัวผลักดันให้อักษรภาพที่เขียนกันมาแต่เดิมถูกเปลี่ยนเป็นการเขียนแทนพยางค์ ซึ่งเป็นก้าวหนึ่งที่สำคัญในประวัติศาสตร์ของระบบการเขียน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและพยางค์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคการเริ่มต้นชาติปาเลสไตน์

รรคการเริ่มต้นชาติปาเลสไตน์ (Palestinian National Initiative;ภาษาอาหรับ: المبادرة الوطنية الفلسطنية al-Mubadara al-Wataniyya al-Filistiniyya) เป็นพรรคการเมืองในปาเลสไตน์ นำโดย ดร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและพรรคการเริ่มต้นชาติปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชนปาเลสไตน์

รรคประชาชนปาเลสไตน์ (Palestinian People's Party; ภาษาอาหรับ: حزب الشعب الفلسطيني Hizb al-Sha'b al-Filastini) ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและพรรคประชาชนปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์

ระเจ้าฟารูกที่ 1 แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فاروق الأول Fārūq al-Awwal) (11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1920-18 มีนาคม ค.ศ. 1965) กษัตริย์แห่งอียิปต์และซูดาน และองค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ แห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี โดยพระองค์ครองราชย์ต่อจากพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ พระราชบิดา ส่วนพระขนิษฐาของพระองค์ เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ ได้อภิเษกสมรสกับพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี เป็นราชินีแห่งอิหร่าน ก่อนเกิดการปฏิวัติอียิปต์ ค.ศ. 1952 ได้ทำการถอดพระองค์ออกจากราชสมบัติ แล้วยกพระราชโอรสของพระองค์เป็นกษัตริย์องค์ต่อมาพระนามว่า พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ แต่ปกครองได้เพียงปีเดียวรัฐบาลก็ได้ทำการล้มล้างราชวงศ์ เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบสาธารณรั.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์

ระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فؤاد الأول‎) (26 มีนาคม ค.ศ. 1868-28 เมษายน ค.ศ. 1936) สุลต่านและกษัตริย์อียิปต์และซูดาน, องค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ พระองค์เป็นกษัตริย์องค์ที่เก้าแห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี โดยพระองค์ครองราชย์เป็นสุลต่านแห่งอียิปต์และซูดานเมื่อ ค.ศ. 1917 โดยครองราชย์ต่อจากพระเชษฐาของพระองค์ คือ สุลต่านฮุสเซน คามิล โดยพระองค์ตั้งตนเป็นกษัตริย์พระองค์แรกของอียิปต์ หลังจากพ้นจากการปกครองของสหราชอาณาจักร เมื่อ ค.ศ. 1922.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและพระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอมานุลเลาะห์

อมานุลลอหฺ ข่าน แห่งราชวงศ์ดุรรานี พระเจ้าอมานุลเลาะห์กับมุสตาฟา เคมาล อตาเติร์ก ใน อังการา เมื่อ พ.ศ. 2471 พระเจ้าอมานุลเลาะห์ หรืออมานุลลอหฺ ข่าน (Amanullah; ภาษาพาซตู, ภาษาเปอร์เซีย, ภาษาอูรดู, ภาษาอาหรับ: أمان الله خان) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอัฟกานิสถาน ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและพระเจ้าอมานุลเลาะห์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเนบูคัดเนสซาร์ที่ 2

นบูคัดเนสซาร์ที่ 2 (נְבוּכַדְנֶצַּר; กรีกโบราณ: Ναβουχοδονόσωρ; อารบิก: نِبُوخَذنِصَّر) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งจักรวรรดิบาบิโลนใหม่ ระหว่างปี 605 ถึง 562 ก่อนคริสตกาล บาบิโลนในยุคของพระองค์เป็นอาณาจักรที่เรืองอำนาจมาก โดยมีอาณาเขตตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปจนถึงทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย กองทัพของพระองค์มีชัยเหนืออียิปต์ ตลอดจนเข้าทำลายกรุงเยรูซาเลมและกวาดต้อนชาวอิสราเอลไปยังบาบิโลน สิ่งก่อสร้างมหึมาของโลกยุคโบราณหลายแห่งถูกสร้างขึ้นในยุคของพระองค์ อาทิ สวนลอยบาบิโลน ตามบันทึกที่ปรากฏในหนังสือดาเนียลและคัมภีร์ไบเบิลระบุว่า วันหนึ่ง ขณะที่พระองค์ทอดพระเนตรกรุงบาบิโลนจากบนดาดฟ้าของวัง พระองค์ก็ตรัสว่า "ดู​เมือง​ที่​เรา​สร้าง​สิ สวย​งาม​อะไร​อย่าง​นี้ เรา​คือ​ผู้​ยิ่ง​ใหญ่!" ทันใดนั้นก็มีเสียงดังขึ้นว่า "เนบูคัดเนสซาร์! เจ้า​ไม่​ได้​ปกครอง​อาณาจักร​นี้​แล้ว" พระเจ้าได้ริบรอนอำนาจและสติปัญญาของเนบูคัดเนสซาร์ เนบูคัดเนสซาร์ทำ​ตัว​เหมือน​สัตว์​และ​ถูกเนรเทศจาก​วัง​ไป​อยู่​กับ​สัตว์​ใน​ป่า ผม​ของ​เนบูคัดเนสซาร์​ยาว​เหมือน​ขน​นก​อินทรีและ​เล็บ​ของ​เขา​ยาว​เหมือน​กรง​เล็บ​ของ​นก เมื่อครบเวลาเจ็ดกาล (มักถูตีความเป็นเจ็ดปี) เนบูคัดเนสซาร์​ก็​กลับ​มา​เป็น​ปกติ พระเจ้าให้เขากลับมาครองบัลลังก์บาบิโลนอีกครั้ง (เชื่อว่าเรื่องนี้มาจากความแค้นของชาวยิวที่ถูกพระองค์ทำลายอาณาจักรยูดาร์และลดขั้นให้เป็นทาส) คำว่า "เนบูคัดเนสซาร์" นั้นเป็นภาษาแอกแคด มีความหมายว่า "ขอองค์เนโบโปรดพิทักษ์ซึ่งโอรสแรกแห่งข้า" ซึ่งเนโบนั้นคือเทพแห่งปัญญาผู้เป็นบุตรของเทพมาร์ดุกในศาสนาบาบิโลนเทวนิยม บางครั้งพระองค์ก็เป็นที่รู้จักในชื่อ บาคัตนาซาร์ ซึ่งมีความหมายว่า "ผู้มีชัยเหนือโชคชะตา".

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและพระเจ้าเนบูคัดเนสซาร์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

พันธมิตรสากลอัสซีเรีย

ันธมิตรสากลอัสซีเรีย (Assyrian Universal Alliance; ภาษาอาหรับ: الاتحاد الأشوري العالمي; ภาษาเปอร์เซีย: اتحادیه جهانی آشوریها; ภาษาซีเรียค: ܚܘܝܕܐ ܬܒ̣ܝܠܝܐ ܐܬܘܪܝܐ) เป็นพรรคการเมืองของชนกลุ่มน้อยอัสซีเรียในอิรัก เป็นพันธมิตรที่เกิดจากการรวมตัวขององค์กรต่างๆที่เกี่ยวข้องกับอัสซีเรียทั่วโลก เลขาธิการทั่วไปคือ Emanuel Kamber จัดตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและพันธมิตรสากลอัสซีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

พายุหมุนเขตร้อน

รนแบนด์โดยรอบ, และลักษณะของพายุหมุนเขตร้อน ที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนจากอวกาศ พายุหมุนเขตร้อน คือ ระบบพายุที่พัฒนามาจากศูนย์กลางของหย่อมความกดอากาศต่ำ, ลมแรง และการจัดเกลียวของพายุฝนฟ้าคะนอง ทั้งนี้ขึ้นกับสถานที่และความรุนแรง ซึ่งเกิดขึ้นบริเวณเขตร้อนของโลก ซึ่งมีชื่อเรียกต่างๆ กัน เช่น พายุเฮอร์ริเคน, พายุโซนร้อน, พายุไซโคลน, พายุดีเปรสชันเขตร้อน และพายุไซโคลนอย่างง่าย โดยทั่วไปรูปแบบพายุหมุนเขตร้อนจะมีขนาดใหญ่ขึ้นกับความสัมพันธ์กับน้ำอุ่น โดยพายุจะได้รับพลังงานผ่านการระเหยของน้ำบริเวณพื้นผิวมหาสมุทร ซึ่งในที่สุดน้ำเหล่านั้นจะควบแน่นอีกครั้งและเข้าไปอยู่ในกลุ่มเมฆและฝน เมื่ออากาศชื้นและความเย็นอิ่มตัว ซึ่งแหล่งพลังงานนี้จะแตกต่างกับพายุหมุนละติจูดกลาง ตัวอย่างเช่น นอร์อิสเทิร์น และพายุลมยุโรป ซึ่งได้รับพลังพลักดันหลักจากความแตกต่างของอุณหภูมิในแนวนอน โดยลมหมุนวนรอบอย่างรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อนนั้นเป็นผลมาจากการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม ซึ่งเกิดจากสภาวะการหมุนรอบตัวเองของโลก ขณะที่อากาศไหลเข้ามาสู่แกนกลางของการหมุน ผลที่ตามมา คือ พายุมักไม่ค่อยเกิดขึ้นภายใน 5° จากศูนย์สูตร พายุหมุนเขตร้อนโดยทั่วไปเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ที่ 100 - 4,000 กิโลเมตร คำว่า พายุหมุน (หรือไซโคลน) หมายถึง พายุหมุนตามธรรมชาติ ซึ่งลมจะพัดหมุนทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ และจะพัดหมุนตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้ ซึ่งทิศทางตรงข้ามการของการไหลเวียนลม เป็นผลมาจากคอริโอลิส ส่วนคำว่า เขตร้อน หมายถึง แหล่งกำเนิดของพายุทางภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นรูปแบบพิเศษของทะเลในเขตร้อน นอกจากลมแรงและฝนตก พายุหมุนเขตร้อนมีความสามารถในการสร้างคลื่นสูง และก่อให้เกิดความเสียหายจากน้ำขึ้นจากพายุ และทอร์นาโด ซึ่งมักจะลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงที่พายุอยู่บนแผ่นดิน เนื่องจากถูกตัดขาดจากแหล่งพลังงานหลักของมัน จากเหตุผลนี้ ทำให้บริเวณชายฝั่งทะเล มักมีความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายจากพายุหมุนเขตร้อนมากกว่า เมื่อเทียบกับในแผ่นดิน อย่างไรก็ตามในแผ่นดินเองก็เกิดความเสียหายได้จากน้ำท่วมบนแผ่นดิน จากฝนตกหนัก และน้ำขึ้นจากพายุสามารถก่อให้เกิดน้ำท่วมบนแผ่นดินได้กว้างถึง 40 กิโลเมตร จากชายฝั่งทะเล แม้ว่าพายุหมุนเขตร้อนจะส่งผลกระทบต่อประชากรมนุษย์มหาศาล แต่พายุยังสามารถช่วยบรรเทาภาวะภัยแล้งได้ พวกมันยังพาพลังงานความร้อนออกไปจากเขตร้อน ข้ามผ่านไปยังละติจูดในเขตอบอุ่น ซึ่งอาจมีบทบาทสำคัญในการปรับเปลี่ยนสภาวะภูมิอากาศในระดับภูมิภาคและระดับโลก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

พาราไดซ์ นาว อุดมการณ์ปลิดโลก

อุดมการณ์ปลิดโลก (อาหรับ:الجنّة الآن) ภาพยนตร์เรื่องนี้เริ่มออกฉายในปี ค.ศ. 2005 กำกับโดย Hany Abu-Assad.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและพาราไดซ์ นาว อุดมการณ์ปลิดโลก · ดูเพิ่มเติม »

พิสุทธินิยมทางภาษา

หน้าแรกของพจนานุกรมภาษาฝรั่งเศสฉบับที่ 6 ของบัณฑิตยสถานฝรั่งเศส (Académie française) ตีพิมพ์เมื่อปีค.ศ. 1835 วัตถุประสงค์หลักของบัณฑิตยสถานนี้ คือ การทำให้ภาษาฝรั่งเศสบริสุทธิ์ พิสุทธินิยมทางภาษา หรือ ความพิถีพิถันในภาษา (linguistic purism, linguistic protectionism) เป็นคตินิยมที่มีจุดมุ่งหมายจะทำให้ภาษาใดภาษาหนึ่ง "บริสุทธิ์" หรือ "สะอาด" ที่สุด โดยนิยาม “ภาษาบริสุทธิ์” หรือ “ภาษาสะอาด” ว่าเป็นภาษาที่ปราศจากคุณสมบัติทางภาษาจากภาษาต่างชาติ ในคตินิยมนี้ จึงมีการอนุรักษ์ภาษาโดยการขจัดสิ่ง ที่เห็นว่ามาจากภาษาต่างชาติ ซึ่งสามารถอยู่ในทุกระดับของระบบภาษา เช่น ไวยากรณ์ การออกเสียง หรือ คำศัพท์ เป็นต้น แต่ส่วนใหญ่วัตถุประสงค์หลักในการกำจัด มักจะเป็นคำศัพท์ พิสุทธินิยมทางภาษา มักมีความเกี่ยวข้องกับชาตินิยม ซึ่งมักเกิดขึ้นควบคู่กับการสถาปนารัฐชาต.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและพิสุทธินิยมทางภาษา · ดูเพิ่มเติม »

พินาโคแกรม

นาโคแกรม (Pinacogram) คือ การนำคำหรือกลุ่มคำมาเรียงกันให้เกิดภาพ อย่างเช่น ชื่อของบุคคล นำมาเรียงกันเป็นภาพของบุคคลนั้น ๆ หรือหลักคำสอนของพระพุทธศาสนานำมาจัดรูปแบบออกมาให้สามารถเห็นเป็นรูปพระพุทธรูปได้ โดยส่วนมากภาษาอาหรับมีการสร้างสรรค์ผลงานชิ้นนี้มาก่อนแล้ว พินาโคแกรมมาจากภาษาละติน pinacogram.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและพินาโคแกรม · ดูเพิ่มเติม »

พุนต์แลนด์

นต์แลนด์ (Puntland) หรือ รัฐพุนต์แลนด์แห่งโซมาเลีย (Puntland State of Somalia) เป็นดินแดนปกครองตนเองภายใต้ประเทศโซมาเลีย โดยไม่ได้มีเป้าหมายเพื่อเป็นเอกราช แต่เพื่อต้องการปฏิรูประบบบริหารให้เกิดความชอบธรรม พุนต์แลนด์มีพื้นที่ติดกับแหลมแอฟริกา มีพรมแดนทางทิศตะวันตกติดกับโซมาลีแลนด์ ทิศใต้ติดกับโซมาเลีย มีพื้นที่ทางทิศเหนืออ่าวเอเดน ทิศตะวันออกติดกับมหาสมุทรอินเดีย และทิศตะวันตกติดกับประเทศเอธิโอเปี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและพุนต์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

พีชคณิต

ีชคณิต (คิดค้นโดย มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์) เป็นสาขาหนึ่งในสามสาขาหลักในทางคณิตศาสตร์ ร่วมกับเรขาคณิต และ การวิเคราะห์ (analysis) พีชคณิตเป็นการศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง ความสัมพันธ์ และจำนวน พีชคณิตพื้นฐานจะเริ่มมีสอนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา โดยศึกษาเกี่ยวกับการบวกลบคูณและหาร ยกกำลัง และการถอดราก พีชคณิตยังคงรวมไปถึงการศึกษาสัญลักษณ์ ตัวแปร และเซ็ต คำว่า "พีชคณิต" เป็นคำศัพท์ภาษาสันสกฤต พบครั้งแรกในตำราคณิตศาสตร์ชื่อสิทธานตะ ศิโรมณิ ของนักคณิตศาสตร์อินเดียชื่อ ภาสกร หรือ ภาสกราจารย์ ส่วนในภาษาอังกฤษ อัลจีบรา (algebra) มาจากภาษาอาหรับคำว่า الجبر (al-jabr) แปลว่า การรวมกันใหม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและพีชคณิต · ดูเพิ่มเติม »

ฎ๊อด

ฎ๊อด (ﺽ‎) เป็นอักษร 1 ใน 6 ตัว ของอักษรอาหรับที่เพิ่มจากอักษร 22 ตัวของอักษรฟินิเชีย ใช้แทนเสียงก้อง เน้น เกิดจากปุ่มเหงือก (emphatic voiced alveolar plosive; สัทอักษรสากล) เป็นเสียงที่เป็นเอกลักษณ์ของภาษาอาหรับ หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและฎ๊อด · ดูเพิ่มเติม »

กฎชัทแธมเฮ้าส์

ัทแธมเฮ้าส์ กฎชัทแธมเฮ้าส์ คือ ระบบการจัดโต้วาทีและการอภิปรายแบบคณะเกี่ยวกับประเด็นที่เป็นที่ถกเถียง ชื่อของกฎถูกตั้งตามสำนักงานใหญ่ของสถาบันกิจการต่างประเทศของสหราชอาณาจักร ซึ่งตั้งอยู่ที่ชัทแธมเฮ้าส์ เมืองลอนดอนตั้งแต่เดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกฎชัทแธมเฮ้าส์ · ดูเพิ่มเติม »

กฎบัตรสหประชาชาติ

กฎบัตรสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)คือ ข้อตกลงที่บรรดาประเทศผู้ก่อตั้งและร่วมเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติได้ให้สัตยาบันเข้าผูกพัน โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และหลักการ ตลอดจนกระบวนการดำเนินงานและบริหารงานต่างๆ ขององค์การสหประชาชาติ ถือเป็นกฎหมายระหว่างประเทศและเป็นตราสารก่อตั้งที่สถาปนาองค์การให้เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ ด้วยเหตุนี้ องค์การสหประชาชาติจึงก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) ซึ่งเป็นวันที่ประเทศจีน ประเทศฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา และประเทศอื่นๆ ได้มีการให้สัตยาบันต่อกฎบัตรสหประชาชาติ โดยทุกประเทศที่เป็นสมาชิกสหประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามกฎบัตรสหประชาชาติอย่างเคร่งครัด ยกเว้นเพียงแต่นครรัฐวาติกันที่เป็นประเทศผู้สังเกตการณ์ซึ่งเป็นข้อยกเว้น.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกฎบัตรสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

กระดาษ

กระดาษ กระดาษ เป็นวัสดุที่ผลิตขึ้นมาสำหรับการจดบันทึก มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เชื่อกันว่ามีการใช้กระดาษครั้งแรกๆ โดยชาวอียิปต์และชาวจีนโบราณ แต่กระดาษในยุคแรกๆ ล้วนผลิตขึ้นเพื่อการจดบันทึกด้วยกันทั้งสิ้น จึงกล่าวได้ว่าระบบการเขียนคือแรงผลักดันให้เกิดการผลิตกระดาษขึ้นในโลก ปัจจุบันกระดาษไม่ได้มีประโยชน์ในการใช้จดบันทึกตัวหนังสือ หรือข้อความ เท่านั้น ยังใช้ประโยชน์อื่นๆ ได้มากมาย เช่น กระดาษชำระ กระดาษห่อของขวัญ กระดาษลูกฟูกสำหรับทำกล่อง เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกระดาษ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอิหร่าน

การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ของผุ้พูดกลุ่มภาษาอิหร่าน กลุ่มภาษาอิหร่านเป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านที่อยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาอเวสตะถือเป็นภาษาที่เก่าที่สุดของกลุ่มนี้ที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 150 - 200 ล้านคน ภาษาที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาเปอร์เซีย (ประมาณ 70 ล้านคน) ภาษาพาซตู (ประมาณ 40 ล้านคน) ภาษาเคิร์ด (35 ล้านคน) และภาษาบาโลชิ (ประมาณ 7 ล้านคน).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกลุ่มภาษาอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาจีน

ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกลุ่มภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาคอเคเซียน

กลุ่มภาษาคอเคเซียน (Caucasian languages)เป็นกลุ่มภาษาใหญ่ที่มีผู้พูดมากกว่า 10 ล้านคนในบริเวณเทือกเขาคอเคซัสของยุโรปตะวันออกและเอเชียตะวันตกซึ่งอยู่ระหว่างทะเลดำกับทะเลสาบแคสเปียน นักภาษาศาสตร์จัดแบ่งภาษาในบริเวณนี้ออกเป็นหลายตระกูล ภาษาบางกลุ่มไม่พบผู้พูดนอกบริเวณเทือกเขาคอเคซัสจึงเรียกว่ากลุ่มภาษาคอเคซั.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกลุ่มภาษาคอเคเซียน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเตอร์กิก

กลุ่มภาษาเตอร์กิกเป็นกลุ่มของภาษาที่แพร่กระจายจากยุโรปตะวันออก ผ่านทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปถึงไซบีเรียและจีนตะวันตก และจัดเป็นส่วนหนึ่งของสมมติฐานตระกูลภาษาอัลไตอิก กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 180 ล้านคน ถ้ารวมผู้ที่พูดเป็นภาษาที่สองด้วยมีราว 200 ล้านคน ส่วนใหญ่เป็นผู้พูดภาษาตุรกี ซึ่งคิดเป็น 40%ของผู้พูดกลุ่มภาษานี้ทั้งหม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกลุ่มภาษาเตอร์กิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติก

หมายของอมาร์นา เขียนด้วย ภาษาอัคคาเดีย กลุ่มภาษาเซมิติก (Semitic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่มีผู้พูดมากกว่า 300 ล้านคนในปริเวณแอฟริกาเหนือ ตะวันออกกลางและจะงอยของแอฟริกา เป็นสาขาย่อยในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก และเป็นสาขาเดียวของตระกูลนี้ที่มีผู้พูดในทวีปเอเชีย กลุ่มภาษาเซมิติกที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาอาหรับ (ภาษาแม่ 325 ล้านคน) รองลงมาคือภาษาอัมฮารา (27 ล้านคน) ภาษาตึกรึญญา (6.9 ล้านคน) และภาษาฮีบรู (5 ล้านคน) กลุ่มภาษาเซมิติกเป็นกลุ่มภาษาแรกๆ ที่มีระบบการเขียน ภาษาอัคคาเดียเริ่มเขียนตั้งแต่ราว 2,000 ปีก่อนพุทธศักราช นอกจากนั้นยังมีอักษรโบราณที่ใช้เขียนกลุ่มภาษาเซมิติกมากมาย เช่น อักษรฟินิเชีย อักษรอาหรับ อักษรแอราเมอิก อักษรซีรีแอก อักษรอาระเบียใต้ และอักษรเอธิโอปิก มีภาษามอลตาเท่านั้นที่เป็นกลุ่มภาษานี้แต่เขียนด้วยอักษรโรมัน ชื่อของกลุ่มภาษานี้มาจาก เซม บุตรชายของโนอาห์ ในไบเบิล.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกลุ่มภาษาเซมิติก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติกกลาง

กลุ่มภาษาเซมิติกกลาง เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติก ประกอบด้วยภาษาอาหรับและกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ (รวม ภาษาคานาอันไนต์ ภาษาฮีบรู ภาษาอราเมอิก และภาษายูการิติก)ในบางครั้ง ในกลุ่มนี้ ยังแบ่งเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกกลางใต้ (รวมภาษาอาหรับและภาษาฮีบรู) กับภาษาอราเมอิก การแบ่งแยกระหว่างภาษาอาหรับกับกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือคือการสร้างรูปพหูพจน์ ภาษาอาหรับสร้างโดยการแทรกสระ ส่วนกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือสร้างด้วยปัจจัย เช่น.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก (West Semitic languages) เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติกที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางและได้รับการสนับสนุนจาก Robert Hetzron และ John Huehnergard ผู้เชี่ยวชาญด้านกลุ่มภาษาเซมิติก ซึ่งแบ่งกลุ่มภาษาเซมิติกออกเป็นสองกลุ่มคือกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันออกและตะวันตก กลุ่มตะวันออกประกอบด้วยภาษาเอ็บลาไอต์ และภาษาอัคคาเดีย ส่วนกลุ่มตะวันตกเป็นกลุ่มใหญ่ของกลุ่มภาษาเซมิติก ประกอบด้วยกลุ่มย่อยได้แก่ กลุ่มเอธิโฮปิก กลุ่มอาระเบียใต้ ภาษาอาหรับ และกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ (ภาษายูการิติก ภาษาฮีบรู ภาษาอราเมอิก) กลุ่มภาษาเอธิโอปิกและอาระเบียใต้ มีลักษณะใกล้เคียงกันมาก บางครั้งรวมกันเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ การจัดตำแหน่งของภาษาอาหรับภายในกลุ่มเซมิติกยังสับสน บางครั้งจัดให้อยู่ในกลุ่มเซมิติกใต้ บางครั้งรวมกับกลุ่มตะวันตกเฉียงเหนือเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง หมวดหมู่:กลุ่มภาษาเซมิติก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ (Northwest Semitic languages) เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก มีผู้พูดประมาณ 8 ล้านคนในปัจจุบัน แบ่งได้เป็น 3 สาขา คือ ภาษายูการิติก (ตายแล้ว) ภาษาคานาอันไนต์ (รวมภาษาฮีบรู) และภาษาอราเมอิก บางครั้งรวมกลุ่มภาษานี้เข้ากับภาษาอาหรับแล้วจัดเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง ภาษายูการิติกที่ตายแล้วเป็นหลักฐานรุ่นแรกสุดของกลุ่มภาษานี้ ภาษายูการิติกไม่มีเสียง /dˤ/ (ḍ) แต่แทนที่ด้วยเสียง /sˤ/ (ṣ) (ลักษณะเดียวกับที่ปรากฏในภาษาอัคคาเดีย) เสียงนี้กลายเป็นเสียง /ʕ/ ในภาษาอราเมอิก (ในภาษาอราเมอิกโบราณ เสียงนี้เขียนด้วยอักษรกอฟ) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าภาษายูการิติกไม่ได้เป็นภาษาต้นแบบของกลุ่มนี้ ตัวอย่างการเปลี่ยนเสียงนี้พบได้ในคำว่า “โลก”: ภาษายูการิติก /ʔarsˤ/ (’arṣ), ภาษาฮีบรู /ʔɛrɛsˤ/ (’ereṣ) และภาษาอราเมอิก /ʔarʕaː/ (’ar‘ā’) ภาษายูการิติกต่างจากภาษาในกลุ่มเดียวกันตรงที่ว่ายังคงมีคำที่ขึ้นต้นด้วย /w/ ในขณะที่ภาษาที่เหลือแทนที่ด้วย /y/ แหล่งที่เป็นต้นกำเนิดของภาษานี้ได้แก่บริเวณที่ในปัจจุบันเป็นประเทศอิสราเอล ซีเรีย จอร์แดน เลบานอนและคาบสมุทรไซนาย การเลื่อนเสียงสระจาก /aː/ เป็น /oː/ เป็นการแยกภาษาคานาอันไนต์ออกจากภาษายูการิติก ตัวอย่างการเปลี่ยนเสียง ได้แก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติกใต้

กลุ่มภาษาเซมิติกใต้ (South Semitic) เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติก นอกเหนือจากกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันออก (เช่นภาษาอัคคาเดีย) และกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก (เช่น ภาษาอาหรับ ภาษาอราเมอิก ภาษาฮีบรู) กลุ่มภาษาเซมิติกใต้แบ่งได้อีกเป็นสองสาขาหลัก คือกลุ่มภาษาอาระเบียใต้ที่ใช้พูดทางชายฝั่งตอนใต้ของคาบสมุทรอาระเบีย และกลุ่มภาษาเอธิโอปิกที่พบตามฝั่งทะเลแดงด้านจะงอยของทวีปแอฟริกา โดยเฉพาะในเอธิโอเปียและเอริเทรียในปัจจุบัน ภาษาหลักในเอริเทรียเช่น ภาษาทีกรินยา ภาษาติเกร เป็นกลุ่มภาษาเอธิโอปิกเหนือ ในขณะที่ภาษาอัมฮาราที่เป็นภาษาหลักในเอธิโอเปียเป็นกลุ่มภาษาเอธิโอปิกใต้ บ้านเกิดของกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ส่วนใหญ่เชื่อว่าอยู่ทางตอนเหนือของของเอธิโอเปียและเอริเทรีย หรือทางตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาระเบีย หลักฐานทางประวัติศาสตร์ของกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ สาขาเอธิโอปิกในแอฟริกา เชื่อว่าเกิดจากการอพยพของผู้พูดภาษาอาระเบียใต้จากเยเมนเมื่อไม่กี่พันปีที่ผ่านมา บางกลุ่มเชื่อว่า การอพยพนี้เป็นการอพยพกลับของกลุ่มผู้พูดตระกูลภาษาแอฟโฟร-เอเชียติกที่มีต้นกำเนิดในแอฟริกา และอพยพเข้าสู่ตะวันออกกลางและคาบสมุทอาระเบีย โดยกลุ่มของผู้พูดภาษาเซมิติกดั้งเดิม แต่นักภาษาศาสตร์บางคน เช่น A. Murtonen (1967) เชื่อว่ากลุ่มภาษานี้มีต้นกำเนิดในเอธิโอเปีย หมวดหมู่:กลุ่มภาษาเซมิติก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ · ดูเพิ่มเติม »

กล้วย

กล้วย เป็นพรรณไม้ล้มลุกในสกุล Musa มีหลายชนิดในสกุล บางชนิดก็ออกหน่อแต่ว่าบางชนิดก็ไม่ออกหน่อ ใบแบนยาวใหญ่ ก้านใบตอนล่างเป็นกาบยาวหุ้มห่อซ้อนกันเป็นลำต้น ออกดอกที่ปลายลำต้นเป็น ปลี และมักยาวเป็นงวง มีลูกเป็นหวี ๆ รวมเรียกว่า เครือ พืชบางชนิดมีลำต้นคล้ายปาล์ม ออกใบเรียงกันเป็นแถวทำนองพัดคลี่ คล้ายใบกล้วย เช่น กล้วยพัด (Ravenala madagascariensis) ทว่าความจริงแล้วเป็นพืชในสกุลอื่น ที่มิใช่ทั้งปาล์มและกล้ว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกล้วย · ดูเพิ่มเติม »

กองพลอาบู อาลี มุสตาฟา

กองพลอาบู อาลี มุสตาฟา (Abu Ali Mustapha Brigades; ภาษาอาหรับ: katā'ib abu ‘ali mustafā) เป็นส่วนหนึ่งของแนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ ในเขตปกครองปาเลสไตน์ในเวสต์แบงก์ ฉนวนกาซา และเยรูซาเล็มตะวันออก กองพลนี้ตั้งชื่อตามอาบู อาลี มุสตาฟา ผู้นำแนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ที่ถูกอิสราเอลลอบสังหารเมื่อเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกองพลอาบู อาลี มุสตาฟา · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพปลดปล่อยแห่งชาติ

200px กองทัพปลดปล่อยแห่งชาติ (ภาษาอาหรับ: جيش التحرير الوطني الجزائري) (ภาษาฝรั่งเศส: Armée de Libération Nationale) เป็นส่วนหนึ่งของแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติในสงครามเอกราชของแอลจีเรีย หลังจากแอลจีเรียได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกองทัพปลดปล่อยแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

กะอ์บะฮ์

กะอ์บะฮ์ กะอ์บะฮ์ หรือ กะอ์บะห์ เป็นคำภาษาอาหรับ แปลว่า ลูกบาศก์ กะอ์บะฮ์ตั้งอยู่ในใจกลางมัสยิดฮะรอม ในนครมักกะฮ์ เป็น กิบลัต (ชุมทิศ, จุดหมายในการผินหน้าไป) ของมุสลิมยามนมาซ และเป็นสถานที่ฏอวาฟ (เวียนรอบ) ในการประกอบพิธีอุมเราะฮ์และฮัจญ์ มีคำบันทึกบอกเล่าว่า อาคารหลังนี้ถูกสร้างขึ้นมาโดยนบีอาดัมมนุษย์คนแรกเพื่อใช้เป็นสถานที่เคารพสักการะอัลลอฮ์ในโลก แต่หลังจากนั้นก็พังทลายลงเมื่อเกิดเหตุการณ์ อุทกภัยครั้งยิ่งใหญ่ จนน้ำท่วมโลกในสมัยศาสดานูฮฺ คัมภีร์อัลกุรอาน (2:127 และ 22:26-27) ระบุว่า กะอ์บะฮ์ได้ถูกสร้างขึ้นโดยนบีอิบรอฮีมและอิสมาอีล บุตรชายของท่านตามคำบัญชาของอัลลอฮ์ทั้งนี้เพื่อใช้เป็นสถานที่ในการเคารพสักการะพระองค์ หลังจากนั้นอัลลอฮ์ก็ได้บัญชานบีอิบรอฮีมให้เรียกร้องเชิญชวนผู้คนให้มาเคารพสักการะพระองค์ ณ ที่บ้านหลังนี้ นับตั้งแต่นั้นมา ผู้คนที่ศรัทธาในอัลลอฮ์ตามคำเชิญชวนของนบีอิบรอฮีมจากทั่วสารทิศก็ได้ทยอยกันเดินทางมาสักการะอัลลอฮ์ต่อเนื่องกันมาโดยมิได้ขาด เนื่องจากกะอ์บะฮ์เป็นบ้านแห่งแรกที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นสถานที่สำหรับการเคารพสักการะอัลลอฮ์ ดังนั้น กะอ์บะฮ์จึงได้รับการขนามว่า บัยตุลลอฮฺ บ้านแห่งอัลลอฮ์ หลังจากนบีอิบรอฮีมและอิสมาอีลเสียชีวิต ผู้คนในแผ่นดินอารเบียได้ละทิ้งคำสอนของท่านทั้งสอง และได้นำเอาเทวรูปต่าง ๆ มาเคารพสักการะแทนอัลลอฮ์ หรือไม่ก็ตั้งเทวรูปขึ้นเป็นพระเจ้าควบคู่ไปกับอัลลอฮ์ จนกระทั่งมีเทวรูปรอบกะอ์บะฮ์เป็นจำนวนมากมายถึงสามร้อยกว่ารูป ตั้งเรียงรายทั้งในและนอกกะอ์บะฮ์ แต่หลังจากที่นบีมุฮัมมัดได้เข้ายึดนครมักกะฮ์แล้ว ท่านก็ได้สั่งให้ทำลายเทวรูปทั้งหมดที่อยู่ข้างในและรอบกะอบะฮฺ ตั้งแต่นั้นมาแผ่นดินฮะรอมก็เป็นเขตปลอดเทวรูป ไม่มีการเคารพสักการะสิ่งอื่นใดนอกจากอัลลอฮ์แต่เพียงพระองค์เดียวเท่านั้น ในตอนที่ท่านมุฮัมมัดยังไม่ได้เป็นศาสดา ชาวนครมักกะฮ์ได้ร่วมแรงร่วมใจพากันซ่อมแซมกะอ์บะฮ์ที่สึกหรอเนื่องจากอุทกภัย แต่เนื่องจากทุนในการบูรณะอันเป็นทรัพย์สินที่บริสุทธิ์ที่เรี่ยไรมามีไม่เพียงพอ ชาวนครมักกะฮ์จึงสามารถซ่อมแซมได้ไม่เหมือนกับอาคารดั้งเดิม ปล่อยให้ส่วนที่เรียกว่า ฮิญรุ อิสมาอีล (ห้องและที่ฝังศพของท่านนบีอิสมาอีล) ว่างอยู่ เพียงแต่เอาหินก่อขึ้นเป็นกำแพงกั้นไว้ ในเวลาต่อมาท่านนบีมุฮัมมัดได้กล่าวว่า หากมิเพราะ ยุคญาหิลียะฮฺเพิ่งผ่านไปได้ไม่นาน ฉันก็คงจะต่อเติมกะอ์บะฮ์ให้เป็นเช่นแบบเดิม ในสมัยที่อับดุลลอฮฺ อิบนุซซุเบร หลานตาคอลีฟะฮฺ อะบูบักรฺ แข็งเมืองต่อ อับดุลมะลิก บินมัรวาน คอลีฟะฮฺ (กษัตริย์) ซีเรีย ตั้งตนเป็นเจ้าเมืองปกครองเมืองมักกะฮ์ งานชิ้นหนึ่งที่ท่านทำก็คือการบูรณะต่อเติมผนังกะอ์บะฮ์ออกไปสองด้านจนถึงกำแพง ฮิจญ์รุ อิสมาอีล ให้อาคารกะอ์บะฮ์เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ทว่าเมื่ออับดุลลอฮฺแพ้ศึกและถูกสังหาร พวกทหารซีเรียก็เผาและถล่มทำลายกะอ์บะฮ์ที่อับดุลลอฮฺทำไว้ แล้วให้สร้างขึ้นมาใหม่เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเหมือนเดิมอีกครั้ง กะอฺบะหที่มีอยู่ในวันนี้ เป็นอาคารที่ถูกสร้างขึ้นด้วยหินธรรมชาติ ตัวอาคารเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมมีความกว้างยาวด้านละประมาณ 40 ฟุต และสูงประมาณ 50 ฟุต ผนังทั้งสี่ไม่มีหน้าต่าง มีแต่เพียงประตูด้านเดียว ข้างในว่างเปล่า ตรงมุมด้านหนึ่งของตัวอาคารเป็นที่ตั้งของ หินดำ (อัลฮะญัร อัลอัสวัด) ซึ่งในอดีตเป็นพลอยสีดำเม็ดใหญ่ แต่ต่อมาที่ได้แตกออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย แต่ก็ยังตั้งอยู่ที่มุมข้างประตู ปกปิดด้วยแก้วและครอบทับด้วยเงิน ประตูของกะอ์บะฮ์ที่เปลี่ยนเมื่อเวลา 20 ปีมานี้ ทำด้วยทองคำบริสุทธิ์ มุมที่ติดตั้งพลอยสีดำนี้ใช้เป็นจุดเริ่มต้นและจุดครบรอบของการเวียนรอบกะอ์บะฮ์ซึ่งเป็นการปฏิบัติที่จำเป็นอย่างหนึ่งของการประกอบพิธีอุมเราะฮฺและฮัจญ์ ตั้งแต่อดีตจนกระทั่งถึงปัจจุบัน รัฐบาลผู้ปกครองมหานครมักกะฮ์จะมีหน้าที่เป็นผู้ดูแลกะอ์บะฮ์และจัดเตรียมความสะดวกให้แก่ผู้ที่มาทำฮัจญ์ สิ่งที่ต้องทำทุกปีคือการเปลี่ยนมุ้งกะอ์บะฮ์ ในซาอุดีอาระเบียจะมีโรงงานทอมุ้งนี้โดยเฉพาะ โดยจะมีช่างผู้มีฝีมือจากต่างประเทศมาทำมุ้งนี้โดยเฉพาะ มุ้งกะอ์บะฮ์นี้ทอด้วยด้ายไหมสีดำ แล้วประดับด้วยการปักดิ้นทองเป็นตัวอักษรภาษาอาหรับวิจิตรงดงาม ตัวอักษรที่เขียนคือโองการจากอัลกุรอานและพระนามของอัลลอฮ์ เมื่อถึงเทศกาลฮัจญ์จะมีการเปลี่ยนมุ้งใหม่และยกขอบมุ้งขึ้นจนจนเห็นฝาผนังทั้งสี่ด้าน เนื่องจากมุ้งนี้มีสีดำ จึงทำให้คนเข้าใจว่าหินดำคือตัวกะอ์บะฮ์ แต่ความจริงแล้วหินดำคือพลอยสีดำที่ประดิษฐานอยู่ที่มุมกะอ์บะฮ์ต่างหาก อีกอย่างกะอ์บะฮ์เป็นชุมทิศ เวลานมาซจะมีการหันไปทางกะอ์บะฮ์นี้ จึงทำให้คนส่วนใหญ่เข้าใจว่ากะอ์บะฮ์คือหินดำศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวมุสลิมเคารพบูชา ซึ่งความจริงแล้ว กะอ์บะฮ์เป็นเพียงจุดศูนย์รวมและจุดศูนย์กลางในการประกอบศาสนกิจของมุสลิมทั่วโลกเท่านั้น.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกะอ์บะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

กันดั้มคิวริออส

GN-003 กันดั้มคิวริออส(ガンダムキュリオス;Gundam Kyrios) เป็นโมบิลสูทซึ่งมีบทบาทสำคัญในการ์ตูนญี่ปุ่น อะนิเมะ โมบิลสูทกันดั้มดับเบิลโอ ออกแบบโดยทาคายูกิ ยานาเซ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกันดั้มคิวริออส · ดูเพิ่มเติม »

การพักรบ

การพักรบ (truce) หรือการหยุดยิง (ceasefire) ได้แก่การพักการรบพุ่งซึ่งกันในการณรงค์สงครามหรือในเหตุการณ์ขัดแย้งอื่นใดอันมีการใช้อาวุธ ทั้งนี้ การพักรบต้องเป็นไปโดยความเห็นชอบของทุกฝ่ายที่ตกลงจะพักรบ การพักรบอาจกระทำได้โดยการประกาศหรือทำเป็นหนังสือสัญญาอย่างเป็นทางการก็ได้ หรือกระทำโดยประการอื่นใดอันไม่เป็นทางการแต่เป็นที่รับรู้โดยทั่วไปก็ได้.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและการพักรบ · ดูเพิ่มเติม »

การมัดอิสอัค

ียน “เอบราฮัมสังเวยไอแซ็ค” โดยแรมบรังด์ ค.ศ. 1635 เอบราฮัมสังเวยไอแซ็ค (ภาษาอังกฤษ: Sacrifice of Isaac หรือ Binding of Isaac) ในพระธรรมปฐมกาล เป็นเรื่องจากคัมภีร์ฮิบรูเมื่อพระเจ้าสั่งให้เอบราฮัมสังเวยไอแซ็คลูกชายบนภูเขาโมไรยาห์ (Mount Moriah) ในศาสนาอิสลามมุสลิมเชื่อว่าพระเจ้าสั่งให้เอบราฮัมสังเวยอิชมาเอลลูกชายคนโตแทนที่ไอแซ็คที่สนับสนุนในข้อเขียนของมุฮัมมัด แต่ลูกคนใดมิได้บ่งในคัมภีร์อัลกุรอาน เหตุการณ์นี้ตรงกับวันแรกของเดือนแรก (Tishrei) ของปฏิทินยิว และระหว่างวันที่ 10 ถึง 13 ของเดือนสิบสอง (Dhu al-Hijjah) ในปฏิทินมุสลิมในวันฉลองการสังเวย -- “Eid al-Adha” คำบรรยายเรียกว่า “Akedah” (עקדה) หรือ “Akedat Yitzchak” (עקידת יצחק) ในภาษาฮิบรูและ “Dhabih” (ذبح) ในภาษาอาหรับ การสังเวยเรียกว่า “Olah” ในภาษาฮิบรู—เพราะความสำคัญของการสังเวยโดยเฉพาะในสมัยก่อนคริสตกาล ตามคำบรรยายเมื่อพระเจ้าสั่งเช่นนั้น เอบราฮัมก็ตั้งใจที่จะเชื่อฟังพระเจ้าโดยไม่มีคำถาม หลังจากไอแซ็คถูกมัดที่แท่นบูชาพร้อมที่จะถูกสังเวย เทวดาก็ยั้งเอบราฮัมในนาทีสุดท้าย ในขณะเดียวเอบราฮัมพบแกะที่ติดอยู่ในพุ่มไม้ใกล้ๆ เอบราฮัมจึงสังเวยแกะแทนที่ เรามักจะนึกภาพว่าไอแซ็คยังเป็นเด็กเมื่อเหตุการณ์เกิดขึ้นแต่ความคิดนี้เป็นความคิดสมัยใหม่ เพราะหลักฐานในอดีตต่างกล่าวว่าไอแซ็คเป็นผู้ใหญ่แล้ว ตามบันทึกของนักประวัติศาสตร์ยิวโจซีฟัส ไอแซ็คอายุยี่สิบห้าปีเมื่อเหตุการณ์เกิดขึ้น คัมภีร์ทัลมุด (Talmud) กล่าวว่าไอแซ็คอายุ 37 ปี ซึ่งอาจจะคำนวณจากตำนานไบเบิลอีกเรื่องหนึ่งที่กล่าวถึงการเสียชีวิตของซาราห์เมื่ออายุ 127 ปี และซาราห์อายุ 90 เมื่อไอแซ็คเกิด ไม่ว่าจะอย่างไรไอแซ็คก็เป็นผู้ใหญ่แล้วเมื่อเหตุการณ์เกิดขึ้น โตพอที่จะหยุดยั้งเหตุการณ์ได้ถ้าต้องการที่จะทำเช่นนั้น พระธรรมปฐมกาล 22:14 กล่าวว่าเหตุการณ์เกิดขึ้นที่ “ภูเขาของพระเจ้า”: ใน 2 พงศาวดาร 3:1; เพลงสดุดี; อิสไซยาห์ และ และแซ็คคาริอาห์ แต่คัมภีร์ไบเบิลกล่าวว่าเกิดขึ้นที่เท็มเพิลเมานท์ (Temple Mount) ในกรุงเยรุซาเล็ม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและการมัดอิสอัค · ดูเพิ่มเติม »

การีม เอล อาห์มาดี

การีม เอล อาห์มาดี อาร์รูซี (อาหรับ: كريم الأحمدي) เกิดเมื่อวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 1985 ที่เมือง เอนสเกเด ประเทศเนเธอร์แลนด์ เป็นนักฟุตบอล ชาวโมร็อกโก เล่นในตำแหน่งกองกลางตัวรับ ให้กับสโมสร ไฟเยอโนร์ด ในพรีเมียร์ดัตช์ ฮอลล์แลน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและการีม เอล อาห์มาดี · ดูเพิ่มเติม »

การถอดเสียง

การถอดเสียง หรือ การทับศัพท์แบบถ่ายเสียง (Transcription) เป็นระบบในการเขียนเสียงพูดของมนุษย์จากภาษาหนึ่ง เป็นเป็นระบบตัวอักษรในอีกภาษาหนึ่งตามกฎที่วางไว้ เพื่อให้คงเสียงของภาษาต้นฉบับ การถอดเสียงนี้จะแตกต่างกับการทับศัพท์แบบถอดอักษร ซึ่งเปลี่ยนระบบตัวอักษรจากภาษาหนึ่งไปเป็นอีกภาษาหนึ่ง เพื่อให้คงรูปของตัวอักษรมากที่สุดที่เป็นไปได้ เช่นการถอดอักษรซีริลลิกเป็นอักษรละตินสำหรับภาษารัสเซีย (เช่นชื่อ "เลนิน" ในอักษรซีริลลิก Ленин และอักษรละติน Lenin) แม้กระนั้น การถอดเสียงและการถอดอักษรบางครั้งจะถูกใช้ผสมกันซึ่งพบได้ทั่วไปสำหรับการเขียนชื่อที่มาจากภาษาอื่น มาตรฐานที่ใช้ในการทับศัพท์ได้แก่ สัทอักษรสากล และ แซมปา ตารางด้านล่าง แสดงตัวอย่างของการทับศัพท์ โดยมี การทับศัพท์แบบถอดอักษร และสัทอักษรสากลกำกั.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและการถอดเสียง · ดูเพิ่มเติม »

การถอดเป็นอักษรโรมัน

ษาต่าง ๆ สามารถถอดเป็นอักษรโรมันโดยวิธีการต่าง ๆ ที่ไม่เหมือนกันก็ได้ เช่นภาษาจีนกลางที่แสดงอยู่นี้ ในทางภาษาศาสตร์ การถอดเป็นอักษรโรมัน (Romanisation) คือการถอดคำพูดหรือคำเขียนที่ใช้ระบบการเขียนต่าง ๆ เป็นอักษรโรมัน (ละติน) โดยสำหรับคำเขียนใช้การทับศัพท์ สำหรับคำพูดใช้การถอดเสียง ซึ่งสามารถแบ่งเป็นสองประเภทย่อยได้อีก คือการถอดเสียงตามหน่วยเสียง (phoneme) และ การถอดเสียงให้สอดคล้องกับการออกเสียง (phonetic).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและการถอดเป็นอักษรโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาอาหรับ

การทับศัพท์ภาษาอาหรับ ที่ใช้ในปัจจุบันมีสองแบบ คือ แบบราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งมีประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีให้ใช้เป็นบรรทัดฐานเมื่อวันที่ 7 มีนาคม..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและการทับศัพท์ภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาฮินดี

การทับศัพท์ภาษาฮินดีนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและการทับศัพท์ภาษาฮินดี · ดูเพิ่มเติม »

การตั้งชื่อดาวฤกษ์

การตั้งชื่อดาวฤกษ์ (และวัตถุท้องฟ้าอื่นๆ) ดำเนินการโดยสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล ชื่อดาวฤกษ์จำนวนมากที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันนี้สืบทอดมาแต่อดีตก่อนจะมีการก่อตั้งสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล แต่ยังมีชื่ออื่นๆ โดยเฉพาะชื่อของดาวแปรแสง (รวมทั้งโนวาและซูเปอร์โนวา) ซึ่งได้รับการตั้งชื่อเพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา อย่างไรก็ดี ดาวฤกษ์ส่วนใหญ่แล้วไม่มีชื่อเรียก แต่จะเรียกขานกันด้วยหมายเลขรหัสแคตาล็อก บทความนี้จะกล่าวถงกระบวนการที่ใช้ในการตั้งชื่อดาวฤกษ์โดยสังเขป.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและการตั้งชื่อดาวฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ What's Another Year ขับร้องโดย Johnny Logan ตัวแทนจากไอร์แลน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980 · ดูเพิ่มเติม »

การแผลงเป็นอาหรับ

การแผลงเป็นอาหรับ (Arabization, تعريب ทาอะรีบ) คือการทำให้ประชากรที่เดิมทีไม่ใช่ชาวอาหรับ กลายเป็นประชากรที่พูดภาษาอาหรับ และมีวัฒนธรรมแบบชาวอาหรับ โดยในอดีต การแผลงเป็นอาหรับมักเกิดขึ้นหลักจากการที่ชาวอาหรับ ซึ่งอดีตอาศัยในอยู่บริเวณอาระเบีย (บริเวณประเทศซาอุดีอาระเบียและเยเมนปัจจุบัน) ได้พิชิตดินแดนต่าง ๆ ในช่วงการเผยแพร่ของศาสนาอิสลามในศตวรรษที่ 7 ดินแดนเหล่านี้ได้แก่ แอฟริกาเหนือ (เช่น อียิปต์ มอร็อกโค อัลจีเรีย ตูนิเซีย) อิรัก จอร์แดน ซีเรีย เลบานอน เป็นต้น โดยประชากรในดินแดนเหล่านี้ ไม่ได้พูดภาษาอาหรับหรือถือวัฒนธรรมอาหรับมาก่อน อาทิ ก่อนการพิชิตดินแดนโดยชาวอาหรับ ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่พูดภาษาคอปต์ ส่วนประชากรซีเรียส่วนใหญ่พูดภาษาอราเมอิก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและการแผลงเป็นอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

การเตรียมกาแฟ

หม้อไอบริก การชงกาแฟมีหลากหลายวิธี ซึ่งสามารถแบ่งเป็นประเภทตามการให้น้ำกับกากกาแฟ ได้สี่ประเภทหลักๆ ดังนี้.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและการเตรียมกาแฟ · ดูเพิ่มเติม »

กาเซลล์

กาเซลล์ (Gazelle) เป็นสัตว์กีบคู่ขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Eudorcas อยู่ในวงศ์ Antilopinae ในวงศ์ใหญ่ Bovidae ลักษณะโดยรวมของกาเซลล์ คือ มีความสูงที่ไหล่ราว 70-100 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 20-35 กิโลกรัม มีลักษณะปราดเปรียวว่องไว เวลาเดินหรืออยู่เฉย ๆ หางจะปัดตลอดเวลา ลำตัวสีน้ำตาลแดง มีแถบดำใหญ่พาดขวางลำตัว ท้องสีขาว อาศัยอยู่เป็นฝูง พบกระจายพันธุ์ทั้งในทวีปแอฟริกาและเอเชีย คำว่า "กาเซลล์" นั้นมาจากภาษาอาหรับคำว่า غزال‎ (ġazāl).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกาเซลล์ · ดูเพิ่มเติม »

กำมะถันแดง

กำมะถันแดง สุพรรณถันแดง มาดแดง หรือหรดาลแดงหรือในภาษาอังกฤษเรียกเรียลการ์ (Realgar), α-As4S4 เป็นสารประกอบในกลุ่มอาร์เซนิกซัลไฟด์ ปรากฏในรูปผลึก เป็นเม็ดละเอียด หรือเป็นผง มักจะเกิดร่วมกับออร์พิเมนต์ (As2S3) มีส้ส้มแดง ละลายที่ 320 °C ชื่อของสารนี้มาจากจากภาษาอาหรับ rahj al-ġār (رهج الغار, "powder of the mine"), ผ่านทาง ภาษากาตาลา และ ภาษาละตินยุคกลาง ในตำรายาไทยใช้เป็นยาแก้ลมป่วง กามโรค ในตำรายาจีน ใช้แก้พิษ ขับพยาธิ แก้ลมชัก ในทางอุตสาหกรรมใช้ทำสีและใช้ในอุตสาหกรรมฟอกหนัง หากร่างกายได้รับมากจะเป็นพิษทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกำมะถันแดง · ดูเพิ่มเติม »

กิ้งก่ามอนิเตอร์

กิ้งก่ามอนิเตอร์ (Monitor lizard) เป็นสกุลของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับกิ้งก่าและงู (Squamata) สกุลหนึ่ง ในวงศ์เหี้ย (Varanidae) ในวงศ์ย่อย Varaninae โดยใช้ชื่อสกุลว่า Varanus (/วา-รา-นัส/) ซึ่งคำ ๆ นี้มีที่มาจากภาษาอาหรับคำว่า "วารัล" (ورل) ซึ่งแปลงเป็นภาษาอังกฤษได้หมายถึง "เหี้ย" หรือ "ตะกวด" จัดเป็นเพียงสกุลเดียวในวงศ์นี้ที่ยังสืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากสกุลอื่น ๆ ได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว โดยกำเนิดมาตั้งแต่ยุคครีเตเชียสมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสัตว์เลื้อยคลานยุคก่อนประวัติศาสตร์ขนาดใหญ่อย่างโมซาซอร์และงู มีลักษณะโดยรวมคือ กระดูกพอเทอรีกอยด์ไม่มีฟัน มีกระดูกอยู่ในถุงอัณฑะ และมีตาที่สาม มีขนาดความยาวแตกต่างหลากหลายกันไป ตั้งแต่มีความยาวเพียง 12 เซนติเมตร คือ ตะกวดหางสั้น (V. brevicauda) ที่พบในพื้นที่ทะเลทรายของประเทศออสเตรเลีย และใหญ่ที่สุด คือ มังกรโคโมโด (V. komodoensis) ที่พบได้เฉพาะหมู่เกาะโคโมโด ในประเทศอินโดนีเซียเท่านั้น ที่มีความยาวได้ถึง 3.1 เมตร และจัดเป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุดของวงศ์นี้และอันดับกิ้งก่าและงู โดยชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ เมกะลาเนีย (V. priscus) ที่มีความยาวถึง 6 เมตร แต่ได้สูญพันธุ์ไปแล้ว ปัจจุบันพบได้เป็นซากดึกดำบรรพ์ที่ออสเตรเลีย มีส่วนหัวเรียวยาว คอยาว ลำตัวยาวและหางเรียวยาว ส่วนใหญ่อาศัยบนพื้นดิน แต่มีบางชนิดมีพฤติกรรมที่อาศัยอยู่บนต้นไม้มากกว่า หลายชนิดดำรงชีวิตแบบสะเทินน้ำสะเทินบกและมีหางแบนข้างมากสำหรับใช้ในการว่ายน้ำ ส่วนมากเป็นสัตว์หากินในเวลากลางวัน เป็นสัตว์กินเนื้อที่ล่าเหยื่อด้วยฟันที่ยาวโค้งแหลมคมและมีขากรรไกรแข็งแรง กินอาหารได้หลากหลายทั้งสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังและสัตว์มีกระดูกสันหลัง รวมถึงซากสัตว์ด้วย โดยในทางชีววิทยาจัดเป็นสัตว์ที่มีความสำคัญเนื่องเป็นผู้สิ่งปฏิกูล กำจัดซากสิ่งแวดล้อม ทุกชนิดสืบพันธุ์ด้วยการวางไข่ พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ทั้งซับสะฮารา, จีน, เอเชีย และคาบสมุทรอินโดออสเตรเลียนไปจนถึงออสเตรเลี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกิ้งก่ามอนิเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กูเกิล แปลภาษา

กูเกิลแปลภาษา (Google Translate) เป็นบริการแปลภาษาหลายภาษาด้วยเครื่องจักรโดยไม่คิดค่าบริการของบริษัทกูเกิล กูเกิลแปลภาษามีลักษณะไม่เหมือนกับบริการแปลอื่น ๆ เช่น Babel Fish, AOL, ยาฮู! ที่ใช้ SYSTRAN ขณะที่กูเกิลใช้ซอฟต์แวร์การแปลของตนเอง แต่อย่างไรก็ตามคู่แข่งทางการค้าเจ้าใหญ่อย่างบริษัท ไมโครซอฟท์ ได้มีผลิตภัณฑ์ที่ใกล้เคียงกันมากมาลงแข่งขันด้วย ซึ่งมีชื่อว่า Bing Translator.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและกูเกิล แปลภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอน

ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอน (جبران خليل جبران) หรือ คาห์ลีล จิบราน (Kahlil Gibran,; 6 มกราคม พ.ศ. 2426 – 10 เมษายน พ.ศ. 2474) เป็นกวี, นักเขียน และศิลปินชาวเลบานอน มีผลงานที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ ปรัชญาชีวิต (The Prophet) ซึ่งเป็นตัวอย่างของงานเขียนแนวสร้างแรงบันดาลใจ (inspirational fiction) เขาเป็นกวีที่มีผลงานขายดีตลอดกาลเป็นอันดับ 3 รองจากเชกสเปียร์และเล่าจื๊อ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและญิบรอน เคาะลีล ญิบรอน · ดูเพิ่มเติม »

ญิฮาด

ญิฮาด (جهاد, Jihad) มาจากคำกริยา ญะฮะดะ ในภาษาอาหรับหมายถึง การดิ้นรนต่อสู้หรือความพยายาม ในทางศาสนาหมายถึง ความพยายามที่จะเพิ่มศรัทธาในพระเจ้ารวมทั้งการทำความดี การเผยแพร่ศาสนา ผู้ทำการญิฮาดเรียกว่ามุญาฮิด พหูพจน์เรียกว่ามุญาฮิดีน ในทางศาสนาอิสลามแล้ว คำนี้ไม่ได้หมายถึงสงครามศักดิ์สิทธิ์ดังที่ผู้มิใช่มุสลิมเข้าใจ และเป็นศัพท์ทางศาสนาคำหนึ่งที่ถูกเข้าใจผิดบ่อยครั้ง คำว่าญิฮาดนี้มีปรากฏทั้งในอัลกุรอ่านและหะดิษต่าง.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและญิฮาด · ดูเพิ่มเติม »

ญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์

ญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์ (Islamic Jihad Movement in Palestine หรือ Palestinian Islamic Jihad Movement;ภาษาอาหรับ حركة الجهاد الإسلامي في فلسطين, - Harakat al-Jihād al-Islāmi fi Filastīn) เป็นกองกำลังทางทหารของชาวปาเลสไตน์ที่ถูกจัดให้เป็นกลุ่มก่อการร้ายโดยสหรัฐ สหภาพยุโรป อังกฤษ ญี่ปุ่น แคนาดา ออสเตรเลียและอิสราเอลพัฒนามาจากนักรบปาเลสไตน์ในฉนวนกาซา ผู้นำกลุ่มคือ ราห์มาดาน ชาลลอห์ จุดมุ่งหมายต้องการสร้างรัฐปาเลสไตน์ที่เป็นรัฐอิสลามและทำลายล้างอิสราเอลด้วยญิฮาด ต่อต้านรัฐบาลอาหรับทุกประเทศที่ให้ความร่วมมือกับตะวันตก แต่แนวคิดของกลุ่มนี้ไม่ได้รับการยอมรับจากกลุ่มประเทศอาหรับสายกลาง กองพลอัล-กุดส์ของญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์อ้างความรับผิดชอบต่อการโจมตีทางทหารหลายครั้งรวมทั้งระเบิดพลีชีพ ญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์มีขนาดเล็กกว่ากลุ่มฮามาสและไม่มีเครือข่ายทางสังคมดังที่กลุ่มฮามาสมี กลุ่มนี้ก่อตั้งในฉนวนกาซาเมื่อราว..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ฝ้าย

การเก็บเกี่ยวฝ้ายในรัฐโอคลาโฮมา สหรัฐอเมริกา เมื่อราว พ.ศ. 2433 ฝ้าย เป็นพันธุ์ไม้สกุลกอสไซเพียมในวงศ์ชบา เป็นไม้ขนาดเล็ก ถิ่นเดิมอยู่ในแถบทวีปอเมริกาใต้ ต่อมามีการนำไปปลูกในทวีปแอฟริกา เอเชีย และที่ที่อยู่ในโซนร้อนทั่ว ๆ ไป ฝ้ายเป็นพืชที่ให้เส้นใยโดยเส้นใยของฝ้ายเกือบทั้งหมดเป็นเซลลูโลส คำว่า Cotton ซึ่งหมายถึงฝ้ายในภาษาอังกฤษมาจากคำภาษาอาหรับว่า (al) qutn قُطْن เปลือกหุ้มเมล็ดฝ้ายมีเพกทินซึ่งประกอบด้วยกรดกาแลกทูโรนิกและเมทิลเอสเทอร์เป็นองค์ประกอบ สามารถใช้เป็นตัวดูดซับตะกั่วในน้ำเสียได้ โดยถ้าล้างด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์ก่อนใช้จะดูดซับได้มากขึ้น.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและฝ้าย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชวา

ษาชวา คือภาษาพูด ของผู้ที่อาศัยอยู่บนตอนกลางและตะวันออกของเกาะชวาในประเทศอินโดนีเซีย เป็นภาษาแม่ของมากกว่า 75,500,000 คน ภาษาชวาอยู่ในภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน จึงสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซียและภาษามลายู ผู้พูดภาษาชวา พูดภาษาอินโดนีเซียด้วย สำหรับวัตถุประสงค์ทางการและธุรกิจ และเพื่อสื่อสารกับชาวอินโดนีเซียอื่น ๆ มีชุมชนผู้พูดภาษาชวาขนาดใหญ่ในประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะรัฐเซอลาโงร์และยะโฮร์ (คีร์ โตโย รัฐมนตรีของเซอลาโงร์ เป็นชนพื้นเมืองของชวา) อย่างไรก็ดี ภาษาชวาไม่สามารถเข้าใจกันกับภาษามลายูได้.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาชวา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชะกะไต

ษาชะกะไต (ภาษาชะกะไต: جغتای; ภาษาตุรกี: Çağatayca; ภาษาอุยกูร์: چاغاتاي Chaghatay; ภาษาอุซเบก: ﭼىﻐﺎتوي Chig'atoy) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ตายแล้ว เคยใช้พูดในเอเชียกลางและบริเวณโคราซาน คำว่า “ชะกะไต” มีความเกี่ยวพันกับเขตของชะกะไตข่านทางตะวันตกของจักรวรรดิมองโกเลียที่อยู่ในความครอบครองของชะกะไตข่าน ลูกชายคนที่สองของเจงกีสข่าน ชาวตุรกีชะกะไตและชาวตาตาร์จำนวนมากที่เคยพูดภาษานี้เป็นลูกหลานที่สืบตระกูลมาจากชะกะไตข่าน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาชะกะไต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชูวัช

ษาชูวัช (ภาษาชูวัช: Чӑвашла, Čăvašla, สัทอักษร:; อาจสะกดเป็น Chăvash, Chuwash, Chovash, Chavash, Çuvaş หรือ Çuaş) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใช้พูดในบริเวณเทือกเขายูรัลทางตอนกลางของรัสเซีย เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐชูวัชในประเทศรัสเซีย มีผู้พูดราว 2 ล้านคน เขียนด้วยอักษรซีริลลิก ภาษาที่มีอิทธิพลต่อภาษาชูวัชได้แก่ ภาษาตาตาร์ ภาษากลุ่มฟินโน-อูกริก ภาษารัสเซีย ภาษามารี ภาษามองโกเลีย ภาษาอาหรับ และภาษาเปอร์เซีย แต่โบราณ ภาษาชูวัชเขียนด้วยอักษรออร์คอน เปลี่ยนเป็นอักษรอาหรับเมื่อเข้ารับอิสลาม เมื่อถูกยึดครองโดยมองโกเลีย ระบบการเขียนได้หายไป อักษรแบบใหม่ถูกประดิษฐ์ขึ้นโดย อีวาน ยาคอฟเลวิช ยาคอฟเลฟ ใน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาชูวัช · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ

international auxiliary language (มักย่อในภาษาอังกฤษเป็น IAL หรือ auxlang หรืออาจเรียกว่า interlanguage) คือภาษาที่ช่วยในการสื่อสารระหว่างคนจากหลากหลายประเทศ ที่ไม่ได้ใช่ภาษาแม่ร่วมกัน โดยมีหลายภาษาที่ถือว่าเข้าข่าย ในอดีตเช่น ภาษากรีก ภาษาละติน และในปัจจุบันเช่น ภาษาจีนมาตรฐาน ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย ภาษาสเปน ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ เป็นต้น แต่เนื่องจากภาษาเหล่านี้เกี่ยวข้องกับการเอาชนะทางวัฒนธรรม การเมือง และเศรษฐกิจของประเทศเจ้าของภาษา บางคนจึงต้องการให้มีภาษาประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นมาเป็นพิเศษเป็นทางออกของปัญหานี้ โดยภาษาประดิษฐ์ที่มักถูกกล่าวถึงคือ ภาษาเอสเปรันโต ภาษาอินเทอร์ลิงกวา และภาษาอิดอ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟินิเชีย

ษาฟินิเชีย เป็นภาษาที่มีจุดกำเนิดในชายฝั่งที่เรียก "Pūt" ในภาษาอียิปต์โบราณ "คานาอัน" ในภาษาฟินิเชีย ภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก และเรียก "ฟินิเชีย"ในภาษากรีกและภาษาละติน เป็นภาษากลุ่มเซมิติกสาขาคานาอัน ใกล้เคียงกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก บริเวณดังกล่าวปัจจุบันอยู่ในเลบานอนและซีเรีย และอิสราเอลทางตอนเหนือ เป็นที่รู้จักจากจารึกต่างๆในไบบลอสและหนังสือที่เขียนด้วยภาษาต่างๆ จารึกภาษาฟินิเชียเก่าสุดพบในไบบลอส อายุราว 457 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งพบทั้งใน เลบานอน ซีเรีย อิสราเอล ไซปรัส เกาะซิซิลี ตูนีเซีย โมร็อกโก แอลจีเรีย มอลตา และที่อื่นๆในคาบสมุทรไอบีเรีย การถอดความภาษาฟินิเชียใช้ความรู้ภาษาฮีบรูเป็นพื้นฐาน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาฟินิเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพัชโต

ษาพัชโต (Pashto, Pashtoe, Pushto, Pukhto; پښتو, pax̌tō) หรือ ภาษาปุกโต หรือเรียกในเชิงประวัติศาสตร์ว่า ภาษาอัฟกัน (Afghani; افغاني, afğānī) และ ภาษาปาทาน (Pathani) เป็นภาษาแม่ของชาวปาทาน (Pashtun) ซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศอัฟกานิสถานและแคว้นทางตะวันตกของประเทศปากีสถาน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาพัชโต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากัจฉิ

ษากัจฉิ เป็นภาษาตระกูลอินโด-อารยัน ใช้พูดในบริเวณกุตฉะ ของรัฐคุชราต มีผู้พูดราว 866,000 คน โดยเป็นภาษาที่ใช้พูดในหมู่ชาวมุสลิมในบริเวณดังกล่าว รวมทั้งชาวขวาชาห์ที่ใช้ในทางศาสน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษากัจฉิ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากุมซารี

ษากุมซารี ใช้พูดในเผ่าซิฮุห์ ซึ่งอาศัยอยู่ที่เขตกุมซาร์ ในคาบสมุทรมูซันดัม ประเทศโอมาน เป็นภาษากลุ่มอิหร่านภาษาเดียว ที่ใช้พูดในคาบสมุทรอาระเบีย ผู้พูดภาษานี้ เป็นลูกหลานของชาวประมง ที่เคยอยู่ในอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมาน พัฒนามาจากภาษาเปอร์เซียสมัยใหม่ ใกล้เคียงกับภาษามินาบีสำเนียงหนึ่ง ในบาโลชิสถานใต้ คำศัพท์และไวยากรณ์เป็นแบบภาษากลุ่มอินโด-อิหร่าน แม้จะมีคำจากภาษาอาหรับปนอยู่มากในชีวิตประจำวัน ผู้ใช้เป็นภาษาแม่มีราว 10,000 คน ในขณะที่สมาชิกของเผ่ามี 21,000 คน (พ.ศ. 2543) สมาชิกของเผ่ารุ่นใหม่ หันไปใช้ภาษาอาหรับแทน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษากุมซารี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากงกณี

ษากงกณี(อักษรเทวนาครี: कोंकणी; อักษรกันนาดา:ಕೊಂಕಣಿ; อักษรมาลายาลัม:കൊംകണീ; อักษรโรมัน: Konknni) เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน โดยมีคำศัพท์จากภาษาดราวิเดียนปนอยู่ด้วย ได้รับอิทธิพลจากภาษาอื่นหลายภาษา ทั้งภาษาโปรตุเกส ภาษากันนาดา ภาษามราฐี ภาษาเปอร์เซีย และภาษาอาหรับ มีผู้พูดประมาณ 7.6 ล้านคน http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษากงกณี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามราฐี

ษามราฐี (मराठी) เป็นภาษาหนึ่งในตระกูลอินเดีย-ยุโรป หรืออินโด-ยูโรเปียน (Indo-European) ที่พูดกันในประเทศอินเดีย และใช้เป็นประจำรัฐอย่างเป็นทางการของรัฐมหาราษฏระและรัฐใกล้เคียง โดยใช้อักษรที่เรียกว่า อักษรเทวนาครี นอกจากนี้ภาษามราฐียังเป็นหนึ่งใน 18 ภาษาประจำชาติอย่างเป็นทางการของอินเดียด้วย โดยมีผู้ใช้เกือบร้อยล้านคน เฉพาะในรัฐมหาราษฏระ มีผู้ใช้ภาษามราฐีราว 90 ล้านคน ทั้งยังนับเป็นภาษาหนึ่งที่มีประวัติยาวนาน จารึกภาษามราฐีที่เก่าที่สุด พบครั้งแรกในรัฐกรณาฏกะ เป็นจารึก ของอินเดีย สันนิษฐานจารึกไว้เมื่อประมาณ 1,300 ปีที่แล้ว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษามราฐี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายู

ษามลายู (Bahasa Melayu) เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีสถานะเป็นภาษาราชการในบรูไน, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย มีผู้พูดประมาณ 200–250 ล้านคน (ณ ปี พ.ศ. 2552) โดยเป็นภาษาแม่ของผู้คนตลอดสองฟากช่องแคบมะละกา ซึ่งได้แก่ ชายฝั่งคาบสมุทรมลายูของมาเลเซียและชายฝั่งตะวันออกของเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย และได้รับการยอมรับเป็นภาษาแม่ในชายฝั่งตะวันตกของซาราวะก์และกาลีมันตันตะวันตกในเกาะบอร์เนียว นอกจากนี้ยังใช้เป็นภาษาการค้าในภาคใต้ของฟิลิปปินส์ ซึ่งได้แก่ ตอนใต้ของคาบสมุทรซัมบวงกา, กลุ่มเกาะซูลู และเมืองบาตาราซาและบาลาบัก (ซึ่งมีชาวมุสลิมอาศัยอยู่เป็นส่วนใหญ่) ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะปาลาวัน ในฐานะที่เป็นภาษาประจำชาติ (Bahasa Kebangsaan หรือ Bahasa Nasional) ของรัฐเอกราชหลายรัฐ ภาษามลายูมาตรฐานมีชื่อทางการแตกต่างกันไป ในบรูไนและสิงคโปร์เรียกว่า "ภาษามลายู" (Bahasa Melayu) ในมาเลเซียเรียกว่า "ภาษามาเลเซีย" (Bahasa Malaysia) และในอินโดนีเซียเรียกว่า "ภาษาอินโดนีเซีย" (Bahasa Indonesia) อย่างไรก็ตาม ในหลายพื้นที่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะสุมาตราที่ซึ่งภาษามลายูเป็นภาษาพื้นเมือง ชาวอินโดนีเซียจะเรียกภาษานี้ว่า "ภาษามลายู" และมองว่าเป็นภาษาหนึ่งในบรรดาภาษาประจำภูมิภาคของตน ภาษามลายูมาตรฐาน (หรือที่เรียกว่าภาษามลายูราชสำนัก) เคยเป็นวิธภาษามาตรฐานในวรรณกรรมของรัฐสุลต่านมะละกาและยะโฮร์สมัยก่อนอาณานิคม ดังนั้น บางครั้งจึงเรียกว่าภาษานี้ว่าภาษามลายูมะละกา, ภาษามลายูยะโฮร์ หรือภาษามลายูเรียว (หรือชื่ออื่น ๆ ที่ใช้ชื่อเหล่านี้ประกอบกัน) เพื่อแยกให้แตกต่างกับภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาในกลุ่มภาษามลายู จากข้อมูลของเอ็ทนอล็อก (Ethnologue) วิธภาษามลายูต่าง ๆ ซึ่งในปัจจุบันมีรายชื่อเป็นภาษาแยกต่างหาก (รวมถึงวิธภาษาโอรังอัซลีในมาเลเซียตะวันตก) มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับภาษามลายูมาตรฐานมากจนอาจพิสูจน์ได้ว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีภาษามลายูการค้าและภาษาครีโอล (creole) จากภาษามลายูอีกจำนวนมากซึ่งมีพื้นฐานจากภาษากลางที่พัฒนามาจากภาษามลายูตามแบบแผนดั้งเดิม เช่นเดียวกับภาษามลายูมากัสซาร์ซึ่งปรากฏว่าเป็นภาษาผสม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษามลายู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายูปัตตานี

ษามลายูปัตตานี หรือ ภาษามลายูปาตานี (มลายูปัตตานี: บาซอ 'นายู 'ตานิง; Bahasa Melayu Patani, อักษรยาวี: بهاس ملاي ڤطاني) หรือนิยมเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า ภาษายาวี (อักษรยาวี: بهاس جاوي) เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียนที่พูดโดยชาวไทยเชื้อสายมลายูในจังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา รวมทั้งในอำเภอนาทวี อำเภอจะนะ อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย ทางทิศตะวันออกของจังหวัดสงขลา (ไม่รวมจังหวัดสตูล) ในประเทศไทยมีประชากรที่พูดภาษานี้มากกว่า 1 ล้านคน ภาษานี้ใกล้เคียงมากกับภาษามลายูถิ่นในรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ซึ่งเป็นภาษาถิ่นที่แตกต่างจากส่วนที่เหลือของประเทศมาเลเซีย บางครั้งก็มีการเรียกรวมเป็นภาษาเดียวกันว่า "ภาษามลายูกลันตัน-ปัตตานี".

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษามลายูปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามอลตา

ษามอลตา (Maltese; มอลตา: Malti) เป็นภาษาประจำชาติของประเทศมอลตา และเป็นภาษาราชการของประเทศนี้ร่วมกับภาษาอังกฤษ ภาษามอลตามีต้นกำเนิดจากภาษาซิคูโล-อาหรับ (ภาษาถิ่นของภาษาอาหรับที่มีวิวัฒนาการขึ้นในเกาะซิซิลี เกาะมอลตา และภาคใต้ของประเทศอิตาลี) แต่ก็มีคำยืมจากภาษาอิตาลี ภาษาซิซิลี และภาษาอังกฤษในสัดส่วนสูงเช่นกัน ปัจจุบันภาษามอลตายังเป็นภาษาในกลุ่มเซมิติกเพียงภาษาเดียวที่เป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรปและใช้อักษรละตินในภาษาเขียนมาตรฐาน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษามอลตา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามองโกเลีย

ษามองโกเลีย เป็นภาษาทางการของประเทศมองโกเลีย และเป็นภาษาหลักของชาวมองโกเลียส่วนใหญ่ ซึ่งคนพูดส่วนใหญ่จะพูดแบบคอลคา (Khalkha) นอกจากนี้ ภาษามองโกเลียก็พูดในพื้นที่รอบนอกในบางมณฑลของสาธารณรัฐประชาชนจีนและสหพันธรัฐรัสเซีย ภาษามองโกเลีย เป็นภาษารูปคำติดต่อคล้ายภาษาตุรกีหรือภาษาฟินน์ มีการเติมปัจจัยที่รากศัพท์ ภาษามองโกเลียมีเพียงสรรพนามบุรุษที่หนึ่งและสอง แต่ไม่มีบุรุษที่สาม แต่ใช้สรรพนามชี้เฉพาะ เช่น นี่ (en) นั่น (ter) นี่ทั้งหลาย (ed nar) และนั่นทั้งหลาย (ted nar) แทน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษามองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามัลดีฟส์

ษามัลดีฟส์ (Maldivian language) เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันและเป็นภาษาราชการของประเทศมัลดีฟส์ มีคนพูดประมาณ 300,000 คน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในมัลดีฟส์ รวมทั้งภาษามาห์ล (Mahl dialect) ที่ใช้ในลักษทวีป ซึ่งเป็นดินแดนสหภาพของอินเดีย เรียกชื่อต่างกันด้วยเหตุผลทางการเมือง ภาษาที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาของภาษามัลดีฟส์มีหลายภาษา โดยเฉพาะภาษาอาหรับ ที่เข้ามาพร้อมกับศาสนาอิสลาม รวมทั้ง ภาษาสิงหล ภาษามาลายาลัม ภาษาฮินดี ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเปอร์เซีย ภาษาโปรตุเกส และ ภาษาอังกฤษ คาดว่าภาษามัลดีฟส์และภาษาสิงหลสืบมาจากภาษาเดียวกัน ซึ่งได้สูญพันธุ์ไป เมื่อเกิดภาษาใหม่ 2 ภาษาในช่วงประมาณ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษามัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามัวไบต์

ภาษามัวไบต์ เป็นสำเนียงของภาษาฮีบรู-คานาอันไนต์ที่ตายแล้ว เคยใช้พูดในโมอาบ (ปัจจุบันอยู่ในจอร์แดน) ในช่วง 457 ปีก่อนพุทธศักราช หลักฐานจากจารึกแสดงให้เห็นว่าใกล้เคียงกับภาษาฮีบรูในไบเบิล ความแตกต่างที่พบมักเป็นส่วนเล็กๆ เช่น ใช้รูปพหูพจน์ -în มากกว่า -îm (เช่น mlkn "กษัตริย์" ซึ่งฮีบรูในไบเบิลใช้ məlākîm) ลงท้ายเพศหญิงด้วย -at แบบเดียวกับภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก ในขณะที่ภาษาฮีบรูไบเบิลใช้ to -āh (เช่น qryt "เมือง", ฮีบรูไบเบิล qiryāh) เป็นต้น หมวดหมู่:ภาษาโบราณในทวีปเอเชีย en:Moab#Moabite language.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษามัวไบต์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาลายาลัม

ษามาลายาลัมเป็นภาษาราชการของรัฐเกราลาทางภาคใต้ของอินเดีย มีผู้พูดประมาณ 36 ล้านคน และมีผู้พูดในเกาะลักษทวีปด้วย จัดอยู่ในภาษาตระกูลดราวิเดียน ใกล้เคียงกับภาษาทมิฬ เขียนด้วยอักษรมาลายาลัม ภาษามาลายาลัมจัดอยู่ในกลุ่มดราวิเดียนใต้ คาดว่ามีกำเนิดร่วมกับภาษาทมิฬเมื่อราว..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษามาลายาลัม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาซันดารานี

ษามาซันดารานี หรือภาษาตาบารี เป็นภาษากลุ่มอิหร่านสาขาตะวันตกเฉียงเหนือ มีผู้พูดในจังหวัดมาซันดารานี ประเทศอิหร่าน ไม่อาจเข้าใจกันได้กับภาษาเปอร์เซีย ภาษามาซันดารานีใกล้เคียงกับภาษาคิเลกิ โดยมีคำศัพท์ใกล้คียงกัน ภาษามาซันดารานีได้รับอิทธิพลจากภาษาอื่นเช่นภาษาอาหรับและภาษาตุรกีด้วย มีผู้พูดน้อยกว่า 3 ล้านคนใน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษามาซันดารานี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายูการิติก

ษายูการิติก เป็นภาษาที่พบหลักฐานในจารึกที่พบในบริเวณนครรัฐยูการิต ที่ขุดค้นพบในประเทศซีเรีย เป็นภาษาที่มีความสัมพันธ์กับภาษาฮีบรู และมีความเกี่ยวข้องกับศาสนายูดายและศาสนาโบราณอื่นๆในบริเวณนั้น เป็นภาษากลุ่มเซมิติก เขียนด้วยอักษรรูปลิ่มที่ต่างจากอักษรรูปลิ่มอื่นเพราะใช้แทนเสียงพยัญชนะ โดยมีพยัญชนะ 22 ตัว พบจารึกอักษรนี้ในช่วง 857 – 657 ปีก่อนพุทธศักราช นครรัฐยูการิตถูกทำลายเมื่อราว 637 – 627 ปีก่อนพุทธศักร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษายูการิติก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายูฮูรี

ษายูฮูรี(Juhuri) หรือภาษาตัตของชาวยิว (Judæo-Tat) หรือ ภาษายูวูรี (Juwuri; çuhuri / жугьури / ז'אוּהאוּראִ) เป็นรูปแบบหนึ่งของภาษาตัต และเป็นภาษาพื้นเมืองในบริเวณตะวันออกของเทือกเขาคอเคซัสโดยเฉพาะอาเซอร์ไบจานและดาเกสถาน รวมทั้งในอิสราเอล ภาษานี้ใกล้เคียงกับภาษาเปอร์เซีย อยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้ ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาที่ใกล้เคียงกันคือภาษาตัตของชาวมุสลิมในอาเซอร์ไบจาน คำว่ายูฮูรีและยูฮูโรแปลตรงตัวหมายถึงของยิว และชาวยิว ภาษายูฮูรีนี้มีลักษณะของกลุ่มภาษาเซมิติกปนอยู่มาก มีเสียง "ayin" (ע) ซึ่งภาษาในบริเวณนั้นไม่มีเสียงนี้.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษายูฮูรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาดิโน

ษาลาดิโน (Ladino) เป็นภาษากลุ่มโรมานซ์ ได้รับอิทธิพลจากภาษาสเปนมาก โดยเฉพาะภาษาสเปนโบราณ (คัสติลเลียน) ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาลาดิโนกับภาษาสเปน เทียบได้กับภาษายิดดิชกับภาษาเยอรมัน ผู้พูดส่วนใหญ่เป็นชาวยิวเซฟาร์ดิก ตัวอย่างเช่น ชาวยิวในเทสซาโลนิกี อิสตันบูล และอิสมีร์ โครงสร้างของภาษาใกล้เคียงกับภาษาสเปน โดยมีบางส่วนมาจากภาษาฮีบรู ภาษาโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศส ภาษาตุรกี ภาษากรีก และภาษาสลาฟใต้ ขึ้นกับว่าผู้พูดอาศัยอยู่ที่ใด ภาษาลาดิโนมีเสียงที่มาจากภาษาสเปนโบราณที่กลายเป็นเสียงจากเพดานอ่อน /x/ ในภาษาสเปนสมัยใหม่ ภาษาลาดิโนมีหน่วยเสียง /x/ ที่ได้จากภาษาฮีบรู ในบางบริเวณมีการสร้างคำที่มีลักษณะเฉพาะ เช่น muestro จาก nuestro (ของเรา) โครงสร้างทางไวยากรณ์ใกล้เคียงกับภาษาสเปน โดยมีการเพิ่มส่วนจากภาษาฮีบรู ภาษาโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศส ภาษาตุรกี ภาษากรีก และภาษากลุ่มสลาฟใต้ ขึ้นกับบริเวณที่ใช้พูด ภาษาลาดิโนเป็นภาษาที่ใกล้ตายเนื่องจากผู้พูดเป็นภาษาแม่มีอายุมากและไม่ถ่ายทอดภาษาให้รุ่นต่อไป ชุมชนชาวยิวเซฟาร์ดิกในประเทศต่างๆมีความพยายามฟื้นฟูภาษานี้โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับดนตรี สาเหตุที่ทำให้เป็นภาษาที่ใกล้ตายอีกอย่างหนึ่งคือการกลมกลืนไปกับภาษาสเปนสมัยใหม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาลาดิโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลิซานิด โนซาน

ษาลิซานิด โนซาน เป็นภาษาอราเมอิกใหม่ของชาวยิว เริ่มใช้พูดในทางใต้และทางตะวันออกของเคอร์ดิสถานในอิรัก อยู่ในบริเวณที่เรียกว่าอาร์บิล ผู้พูดส่วนใหญ่ปัจจุบันอยู่ในอิสราเอล คำว่าลิซานิก โนซานหมายถึง “ภาษาของพวกเราเอง” ชื่อเรียกอื่นๆของภาษานี้คือ ภาษาฮาลัวลา (หมายถึงภาษายิว) ภาษากาลิกาลู (หมายถึง “ของฉัน-ของคุณ” เรียกตามลักษณะเฉพาะของไวยากรณ์ และภาษาคูร์ดิต (หมายถึงภาษาเคิร์ด).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาลิซานิด โนซาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสวาฮีลี

ษาสวาฮีลี (หรือ คิสวาฮีลี) เป็นภาษากลุ่มแบนตูที่พูดอย่างกว้างขวางในแอฟริกาตะวันออก ภาษาสวาฮีลีเป็นภาษาแม่ของชาวสวาฮีลี ซึ่งอาศัยอยู่แถบชายฝั่งของแอฟริกาตะวันออกระหว่างประเทศโซมาเลียตอนใต้ ประเทศโมแซมบิกตอนเหนือ มีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 5 ล้านคนและคนพูดเป็นภาษาที่สองประมาณ 30-50 ล้านคน ภาษาสวาฮีลีได้กลายเป็นภาษาที่ใช้โดยทั่วไปในแอฟริกาตะวันออกและพื้นที่รอบ ๆ คำว่า Swahili มาจากรูปพหูพจน์ของคำภาษาอาหรับ sahel ساحل (เอกพจน์) คือ sawahil سواحل แปลว่า "ขอบเขต" และ "ชายฝั่ง" (ใช้เป็นคำวิเศษณ์ที่แปลว่า "คนที่อาศัยอยู่ชายฝั่ง" หรือ "ภาษาชายฝั่ง") นอกจากนี้ คำว่า sahel ใช้เรียกพื้นที่พรมแดนของทะเลทรายซาฮารา การเพิ่ม "i" ตรงท้ายน่าจะมาจาก nisba ของภาษาอาหรับ (ของชายฝั่ง سواحلي) บ้างก็ว่าเป็นเหตุผลทางสัทศาสตร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาสวาฮีลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสินธี

ษาสินธีเป็นภาษาของกลุ่มชนในเขตสินธ์ในเอเชียใต้ ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศปากีสถาน เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียน แม้ว่าจะเป็นภาษาของชาวอารยัน แต่มีอิทธิพลจากภาษาของดราวิเดียนด้วย ผู้พูดภาษาสินธีพบได้ทั่วโลก เนื่องจากการอพยพออกของประชากรเมื่อปากีสถานแยกตัวออกจากอินเดียเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาสินธี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสิเลฏี

ษาสิเลฏี (ชื่อในภาษาของตนเอง সিলটী Silôţi; ภาษาเบงกาลี সিলেটী Sileţi) เป็นภาษาที่ใช้พูดโดยชาวสิลเหตที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของบังกลาเทศ และทางใต้ของรัฐอัสสัม ใกล้เคียงกับภาษาเบงกาลีจนอาจจะถือเป็นสำเนียงได้ ชาวสิลเหตเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรกามรูปในสมัยโบราณ มีลักษณะของภาษาอัสสัม เช่น การคงอยู่ของเสียงเสียดแทรกมากกว่าภาษาในอินเดียตะวันออกอื่นๆ มีการเขียนด้วยอักษรเบงกาลีในปัจจุบัน ภาษาสิเลฏิเป็นภาษาที่เน้นเสียงท้ายคำ และมีคำยืมจากภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย ภาษาเบงกาลีและภาษาอัสสัม ผู้พูดภาษาสิเลฏิในบังกลาเทศจะได้รับอิทธิพลจากภาษาเบงกาลีสำเนียงมาตรฐานมาก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาสิเลฏี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสูญแล้ว

กคำนิยามจำนวนหนึ่ง ภาษาสูญแล้ว (extinct language) คือภาษาที่ปัจจุบันไม่มีผู้พูดแล้ว ในขณะที่ ภาษาตายแล้ว (dead language) คือภาษาที่ไม่มีผู้พูดในฐานะภาษาหลักแล้ว โดยปกติแล้วกระบวนการที่จะนำไปสู่การเป็นภาษาสูญนั้นจะเกิดขึ้นเมื่อภาษาหนึ่ง ๆ ได้ผ่านการตายของภาษาในระหว่างที่ถูกแทนที่ด้วยภาษาอื่น ตัวอย่างเช่น ภาษาคอปติกที่ถูกแทนที่ด้วยภาษาอาหรับ และภาษาชนพื้นเมืองอเมริกันจำนวนมากที่ถูกแทนที่ด้วยภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน หรือโปรตุเกส ในหลายกรณี ภาษาสูญแล้วยังถูกใช้เพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ กฎหมาย หรือศาสนาเช่น ภาษาสลาโวนิกคริสตจักรโบราณ อเวสตะ คอปติก ทิเบตโบราณ กีเอซ ลาติน บาลี สันสกฤต นั้นเป็นภาษาในภาษากลุ่มสูญแล้วจำนวนมากที่ถูกใช้ในฐานะภาษาทางศาสน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาสูญแล้ว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสเปน

ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอราเมอิกยิวบาบิโลเนีย

ษาอราเมอิกยิวบาบิโลเนีย เป็นภาษาอราเมอิกยุคกลางที่ใช้โดยนักเขียนชาวยิวระหว่างพุทธศตวรรษที่ 9-16 เป็นภาษาของทัลมุดในบาบิโลเนียและวรรณกรรมหลังยุคนั้น ภาษานี้ใกล้เคียงกับสำเนียงตะวันออกอื่นๆของภาษาอราเมอิก เช่น ภาษามันดาอิก และภาษาซีเรียคตะวันออกของนิกายอัสซีเรีย การออกเสียงเริ่มต้นยังไม่แน่นอน แต่ระบบการอ่านถูกจัดขึ้นโดยผู้พูดภาษาฮีบรูเยเมน ภาษาอราเมอิกในทัลมุดเป็นภาษาที่มีลักษณะพิเศษ และใช้เป็นภาษากฏหมายแบบเดียวกับภาษากฏหมายของฝรั่งเศส เมื่อภาษาอาหรับกลายเป็นภาษาในชีวิตประจำวัน ภาษาอราเมอิกสำเนียงนี้จึงกลายเป็นแหล่งของศัพท์เฉพาะเช่น tiyuvta และ teyku ซึ่งยังใช้ในการเขียนกฏหมายภาษาฮีบรู และมีอิทธิพลต่อภาษาฮีบรูสมัยใหม่ด้ว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิกยิวบาบิโลเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอราเมอิกใหม่ยิวบาร์ซานี

ษาอราเมอิกใหม่ยิวบาร์ซานี เป็นภาษาอราเมอิกของชาวยิวสมัยใหม่ เริ่มแรกใช้พูดในหมู่บ้านสามแห่งในเคอร์ดิสถานของอิรัก ชื่อเรียกในภาษาของตนคือ “ลิซานิด ญานัน” หมายถึง ภาษาของเร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิกใหม่ยิวบาร์ซานี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอราเมอิกใหม่ตะวันตก

ษาอราเมอิกใหม่ตะวันตก เป็นภาษาอราเมอิกใหม่ที่ใช้พูดในซีเรียตะวันตก เป็นสำเนียงของภาษาอราเมอิกตะวันตกสำเนียงเดียวที่เหลืออยู่ ส่วนภาษาอราเมอิกใหม่ที่เหลืออื่นๆอยู่ในกลุ่มตะวันออก คาดว่าภาษานี้อาจเป็นส่วนที่เหลืออยู่ของสำเนียงยุคกลางตะวันตกที่เคยใช้พูดในหุบเขาดอโรนเตสในพุทธศตวรรษที่ 15 ปัจจุบันใช้พูดในหมู่บ้านมาอัลโออูลา (ภาษาอาหรับ: معلولة‎) บาคอา (ภาษาอาหรับ: بخعة‎) และ จุบบาดิน (ภาษาอาหรับ: جبّعدين‎) ที่อยู่ทางเหนือของดามัสกัสไป 60 กม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิกใหม่ตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาระเบียเหนือโบราณ

รึกที่พบในจอร์แดน ภาษาอาระเบียเหนือโบราณ (Ancient North Arabian) เป็นภาษาที่เป็นที่รู้จักผ่านศิลาจารึกเป็นส่วนๆในประเทศอิรัก จอร์แดน ซีเรีย และซาอุดิอาระเบีย คาดว่ามีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 1 – 11 อักษรที่ใช้เขียนพัฒนามาจากอักษรอาระเบียใต้ และพบภาษาอาหรับยุคก่อนคลาสสิกปรากฏคู่กับภาษานี้ คาดว่ายังใช้เป็นภาษาพูดจนถึงพุทธศตวรรษที่ 6 สำเนียงของภาษาเหล่านี้ได้แก่ ภาษาซาไฟติก ภาษาเดดานิติก/ลิห์ยานิติก ภาษาทามูดิก ภาษาฮาไซติก ภาษาฮิสมาอิก ภาษาทายมานิติก ภาษาดูมานิติก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาระเบียเหนือโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับบาห์เรน

ษาอาหรับบาห์เรน (Bahrani Arabic หรือ Baharna Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในบริเวณบะห์รานีของบาห์เรน และบางส่วนของจังหวัดซาอุดิตะวันออกและในโอมาน ในบาห์เรน สำเนียงนี้เป็นสำเนียงพูดในเมืองหลวงมานามา และในหมู่บ้านบะห์รานี ส่วนอื่นๆจะพูดภาษาอาหรับอ่าวซึ่งใกล้เคียงกับภาษาที่ใช้พูดในคูเวตและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์มากกว่า ในซาอุดิอาระเบีย ศูนย์กลางของผู้พูดในสำเนียงอยู่ที่กาติฟและบริเวณใกล้เคียงและแตกต่างจากสำเนียงอัล-ฮาซาซึ่งเป็นสำเนียงส่วนใหญ่ของจังหวัดซาอุดิตะวันออก ความแตกต่างระหว่างภาษาอาหรับบาห์เรนและสำเนียงใกล้เคียง เกิดจากความแตกต่างทางประวัติศาสตร์ ส่วนใหญ่ของผู้พูดสำเนียงอื่นๆ ในบริเวณนี้เป็นผู้อพยพเข้ามาซึ่งมักจะเป็นชาวเบดูอินเผ่านัจญ์ดี ผู้คนเหล่านี้ปัจจุบันพูดภาษาอาหรับอ่าวที่ต่างจากภาษาอาหรับนัจญ์ดีและภาษาอาหรับของชาวเบดูอินและใกล้เคียงกับภาษาอาหรับบาห์เรนมากกว่า ในบาห์เรน ความแตกต่างหลักระหว่างผู้พูดภาษาอาหรับบาห์เรนและสำเนียงอื่นๆอยู่ที่รูปแบบของไวยากรณ์ และการเน้นหนัก ภาษาอาหรับบาห์เรนมีคำยืมจากภาษาอื่นๆจากภาษาฮินดี (เช่น bānka, sōmān) หรือภาษาอังกฤษ (เช่น lētar, wīl, tēm รวมทั้งภาษาเปอร์เซียด้วย ซึ่งเป็นผลจากการติดต่อค้าขายกับเปอร์เซียในอดีต.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับบาห์เรน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่

การแพร่กระจายของภาษาอาหรับในโลกอาหรับ. ภาษาราชการภาษาเดียว (เขียว); ภาษาราชการร่วม (ฟ้า) ภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ (Modern Standard Arabic; MSA; ภาษาอาหรับ: اللغة العربية الفصحى‎ al-luġatu l-ʿarabiyyatu l-fuṣḥā) หรือภาษาอาหรับมาตรฐานหรือภาษาเขียนของภาษาอาหรับ เป็นรูปแบบมาตรฐานของภาษาอาหรับที่ใช้สำหรับการเขียนและการพูดที่เป็นทางการ นักวิชาการตะวันตกได้แบ่งมาตรฐานภาษาอาหรับไว้เป็นสองแบบคือภาษาอาหรับคลาสสิก (Classical Arabic; CA; ภาษาอาหรับ: اللغة العربية التراثية) ซึ่งใช้ในอัลกุรอ่าน จักเป็นรูปแบบคลาสสิกของภาษาและภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ (Modern Standard Arabic; MSA; ภาษาอาหรับ: اللغة العربية المعيارية الحديثة) ซึ่งเป็นรูปแบบมาตรฐานที่ใช้ในปัจจุบัน ชาวอาหรับส่วนใหญ่จะถือว่าทั้งสองภาษานี้เป็นภาษาเดียวกัน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับมาโรไนต์

ษาอาหรับมาโรไนต์ในไซปรัส (Cypriot Maronite Arabic) หรือภาษาอาหรับไซปรัส ภาษามาโรไนต์ ภาษาซันนา ใช้พูดในมาโรไนต์ในไซปรัส ผู้พุโส่วนใหญ่มีอายุมากกว่า 30 ปี ผู้พูดภาษานี้อพยพมาจากเลบานอนเมื่อ 700 ปีที่ผ่านมา ได้รับอิทธิพลจากภาษากรีกทั้งทางด้านสัทวิทยาและคำศัพท.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับมาโรไนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับยิวอิรัก

ภาษาอาหรับยิวอิรัก (Judeo-Iraqi Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดโดยชาวยิวที่อยู่ในอิรัก 99% ของผู้พูดภาษานี้ปัจจุบันอยู่ในอิสราเอล และเป็นผู้สูงอายุ รูปแบบของภาษานี้ที่เป็นที่รู้จักดีคือภาษาอาหรับยิวแบกแดด ซึ่งมีความแตกต่างกันในโมซูลและที่อื่นๆ หมวดหมู่:ภาษาอาหรับ อาหรับยิวอิรัก อาหรับยิวอิรัก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับยิวอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับยิวตริโปลี

ภาษาอาหรับยิวตริโปลี (Judeo-Tripolitanian Arabic) หรือภาษาอาหรับตริโปลี-ลิเบียของชาวยิว ภาษายูดี เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่พูดโดยชาวยิวที่เคยอยู่ในลิเบีย ปัจจุบันส่วนใหญ่อยู่ในอิสราเอลและอิตาลี ส่วนใหญ่มีอายุมากกว่า 40 ปี ภาษานี้ต่างจากภาษาอาหรับลิเบีย ที่ได้รับอิทธิพลจากสำเนียงของชาวเบดูอินน้อยกว่า อาหรับยิวตริโปลี หมวดหมู่:ภาษาอาหรับ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับยิวตริโปลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับยิวตูนิเซีย

ภาษาอาหรับยิวตูนิเซีย (Judeo-Tunisian Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่พูดโดยชาวยิวที่เคยอยู่ในตูนิเซีย ปัจจุบัน ผู้พูดภาษานี้ราว 99% อยู่ในอิสราเอล ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุและคนรุ่นใหม่รู้ภาษานี้น้อยลง อาหรับยิวตูนิเซีย หมวดหมู่:ภาษาอาหรับ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับยิวตูนิเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับยิวแบกแดด

ษาอาหรับยิวแบกแดด (Baghdad Jewish Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่พูดโดยชาวยิวในแบกแดดและเมืองอื่นๆทางภาคใต้ของอิรัก ต่างจากสำเนียงของชาวยิวที่อยู่ทางภาคเหนือของอิรัก เช่น โมซูลและอานา สำเนียงแบกแดดและสำเนียงอิรักเหนือจัดเป็นสำเนียงย่อยของภาษาอาหรับอิรักของชาวยิว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับยิวแบกแดด · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับยิวโมร็อกโก

ษาอาหรับยิวโมร็อกโก (Judeo-Moroccan Arabic) เป็นสำเนียงภาษาอาหรับที่พูดโดยชาวยิวที่เคยอยู่ในโมร็อกโก ปัจจุบันผู้พูด 99% อยู่ในอิสราเอล ผู้ที่อยู่ในโมร็อกโกมักเป็นผู้สูงอ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับยิวโมร็อกโก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับยิวเยเมน

ภาษาอาหรับยิวเยเมน (Judeo-Yemeni Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดโดยชาวยิวที่อยู่ในเยเมน 98% ของผู้พูดปัจจุบันอยู่ในประเทศอิสราเอล ภาษานี้มีความแตกต่างจากภาษาอาหรับสำเนียงอื่นๆในเยเมนที่ใช้โดยคนกลุ่มอื่นที่ไม่ใช่ชาวยิว แบ่งย่อยได้อีกสามสำเนียงคือ ซานอา อาเดน และฮับบัน หมวดหมู่:ภาษาอาหรับ อาหรับยิวเยเมน อาหรับยิวเยเมน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับยิวเยเมน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับอิรัก

ษาอาหรับอิรัก (Iraqi Arabic) หรือภาษาอาหรับเมโสโปเตเมีย ภาษาอาหรับแบกแดด ภาษาอาหรับซีเรียเหนือ เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในที่ราบเมโสโปเตเมียในอิรัก ทางใต้ของแบกแดด และบริเวณใกล้เคียงในอิหร่านและซีเรียตะวันออก กลุ่มของสำเนียงรวมทั้งสำเนียงในอนาโตเลีย ติกริส และยูฟราเตส นอกจากนั้ยังมีสำเนียงของชาวยิวและชาวคริสต์ เช่นสำเนียงของชาวเบดูอิน สำเนียงนี้ต่างจากภาษาอาหรับเมโสโปเตเมียเหนือ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับอ่าว

ภาษาอาหรับอ่าว (Gulf Arabic) หรือภาษาคาลิญี ภาษากาตารี (Khaliji,al-lahjat al-khalijiya اللهجة الخليجية, Qatari) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดตามชายฝั่งอ่าวเปอร์เซีย โดยเฉพาะในคูเวต ซาอุดิอาระเบียตอนกลางและตะวันออก บาห์เรน กาตาร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และบางส่วนของโอมาน ลักษณะสำคัญที่ทำให้ต่างจากสำเนียงของชาวเบดูอินอื่นๆ คือมีคำยืมจากภาษาเปอร์เซียน้อย และการออกเสียง k เป็น ch ("kalb" หมา, อ่านเป็น "chalb"); และบางครั้งออกเสียง j เป็น y (jeeb "นำมา" (เพศชาย), อ่านเป็น "yeeb") อาหรับอ่าว อาหรับอ่าว อาหรับอ่าว อาหรับอ่าว อาหรับอ่าว อาหรับอ่าว หมวดหมู่:ภาษาอาหรับ หมวดหมู่:อ่าวเปอร์เซีย.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับอ่าว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับฮิญาซี

ษาอาหรับฮิญาซี (Hejazi Arabic หรือ Hijazi Arabic; حجازي) เป็นภาษาอาหรับที่ใช้พูดในบริเวณภาคตะวันตกของซาอุดิอาระเบีย โดยเฉพาะสำเนียงที่ใช้พูดในเฮยาซคือสำเนียงของชาวเบดูอิน และสำเนียงของประชาชนในเมือง สำเนียงในเมืองจะพูดในตัวเมือง เช่น เจดดะห์ เมกกะ และเมดินะ เป็นสำเนียงที่มีผู้เข้าใจแพร่หลายในคาบสมุทรอาระเบีย และมีความใกล้เคียงกับภาษาอาหรับสำเนียงที่พูดในซูดานภาคเหนือ สำเนียงในเมืองมีลักษณะอนุรักษ์น้อยกว่าสำเนียงเบดูอิน มีสระเสียงสั้นมากกว่าสำเนียงที่พูดในบริเวณใกล้เคียง ตำศัพท์มีคำยืมจากสำเนียงของชาวอียิปต์ ซีเรีย และเยเมน การที่เคยอยู่ภายใต้การปกครองของตุรกีมากว่า 500 ปี ทำให้ได้รับอิทธิพลจากภาษาตุรกีด้วย สำเนียงของชาวเบดูอินแต่ละเผ่าจะเข้าใจกันได้ สำเนียงของเผ่าทางตอนเหนือจะมีลักษณะใกล้เคียงกับสำเนียงในจอร์แดนและคาบสมุทรไซน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับฮิญาซี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับจอร์แดน

ษาอาหรับจอร์แดน (Jordanian Arabic) เป็นกลุ่มของสำเนียงย่อยของภาษาอาหรับเลอวานต์ ใช้พูดในราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน โดยมีโครงสร้างของภาษาเป็นแบบของกลุ่มภาษาเซมิติก แต่ได้อิทธิพลทางรากศัพท์จากภาษาอังกฤษ ภาษาตุรกี และภาษาฝรั่งเศส มีผู้พูดมากกว่า 6 ล้านคน และเป็นที่เข้าใจกันในบริเวณเลอวานต์ จัดเป็นภาษาที่ใช้พูดในชีวิตประจำวันในจอร์แดน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับคลาสสิก

อกสารจากอัลกุรอ่าน เป็นลายมือเขียนของภาษาอาหรับคลาสสิก ภาษาอาหรับคลาสสิก (Classical Arabic; CA) หรือภาษาอาหรับโกหร่าน (Koranic Arabic) เป็นรูปแบบของภาษาอาหรับที่ใช้ในวรรณคดีจากสมัยอุมัยยัดและอับบาสิด (ประมาณพุทธศตวรรษ 12 – 14) มีพื้นฐานมาจากสำเนียงในยุคกลางของเผ่าอาหรับ ภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ จะเป็นภาษาลูกหลานของภาษานี้ แม้ว่ารากศัพท์ และรูปแบบของภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่จะต่างจากภาษาอาหรับคลาสสิก แต่โครงสร้างประโยคยังไม่เปลี่ยนแปลง ในขณะที่สำเนียงที่ใช้พูดได้เปลี่ยนแปลงไปแล้ว ในโลกของชาวอาหรับ มีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยระหว่างภาษาอาหรับคลาสสิกและภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ และทั้งคู่ถูกเรียกว่าอัล-ฟุศฮาในภาษาอาหรับซึ่งหมายถึงภาษาพูดที่ชัดเจน เนื่องจากเป็นภาษาที่ใช้เขียนคัมภีร์อัลกุรอ่าน จึงถือเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ของมุสลิม และใช้ในพิธีทางศาสน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับคูเซสถาน

ภาษาอาหรับคูเซสถาน (Khuzestani Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในจังหวัดคูเซสถาน ประเทศอิหร่าน มีความใกล้เคียงกับภาษาอาหรับอิรักและมีคำยืมจากภาษาเปอร์เซียเป็นจำนวนมาก หมวดหมู่:ภาษาอาหรับ หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอิหร่าน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับคูเซสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับซิรวาน

ษาอาหรับซิรวาน (Shirvani Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่เคยใช้พูดในบริเวณที่เป็นตอนกลางและตะวันตกเฉียงเหนือของอาเซอร์ไบจานในปัจจุบัน (ในสมัยก่อนเรียกซิรวาน) และดาเกสถาน (ทางภาคใต้ของรัสเซีย) ภาษาอาหรับที่ใช้พูดในบริเวณนี้เป็นผลมาจากการแผ่ขยายของศาสนาอิสลามมาจากเทือกเขาคอเคซัสใต้เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 13 ซึ่งทำให้มีชาวอาหรับเข้ามาตั้งหลักแหล่งทั้งเป็นกองทหาร พ่อค้าจากซีเรีย และแบกแดดซึ่งใช้ภาษาอาหรับเป็นภาษาราชการ ต่อมาบทบาทของภาษาอาหรับได้ลดลงเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 18 หลังจากกาหลิบเลื่อมอำนาจลง และถูกแทนที่ด้วยภาษาเปอร์เซีย ภาษาตัต และภาษาอาเซอรี กลุ่มของชาวอาหรับ (ส่วนใหญ่มาจากเยเมน) อพยพต่อไปเข้าสู่ทางใต้ของดาเกสถาน หลักฐานสุดท้ายที่บ่งบอกถึงการเหลืออยู่ของภาษาอาหรับซิรวาน อยู่ในงานเขียนของนักประวัติศาสตร์ชาวอาเซอรี Abbasgulu Bakikhanov ที่กล่าวว่าชาวอาหรับซิรวานพูดภาษาอาหรับที่เป็นสำเนียงต่างออกไป เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับซิรวาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับปาเลสไตน์

ษาอาหรับปาเลสไตน์ (Palestinian Arabic) เป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาอาหรับเลอวานต์ พูดโดยชาวปาเลสไตน์ โดยสำเนียงของชาวปาเลสไตน์ในชนบทมีความแตกต่างกันมาก โดยเฉพาะการออกเสียง qaf เป็น kaf ซึ่งแตกต่างจากภาษาอาหรับสำเนียงอื่นๆ แต่สำเนียงของชาวปาเลสไตน์ใกล้เคียงกับภาษาอาหรับเลอวานต์ทางเหนือ เช่นภาษาอาหรับซีเรียและภาษาอาหรับเลบานอน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับนัจญ์ดี

ษาอาหรับนัจญ์ดี (Najdi Arabic; ภาษาอาหรับ: اللهجة النجدية) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในบริเวณทะเลทรายทางภาคกลางและภาคตะวันออกของซาอุดิอาระเบีย ยังรวมถึงสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในริยาด และชาวเบดูอินในจอร์แดน ซีเรียและอิรัก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับนัจญ์ดี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับโอมาน

ษาอาหรับโอมาน (Omani Arabic) หรือภาษาอาหรับฮาดารี เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในเทือกเขาฮาญัรในโอมานและตามแนวชายฝั่งใกล้เคียง เคยใช้พูดในเคนยาและแทนซาเนีย ซึ่งปัจจุบันถูกแทนที่ด้วยภาษาสวาฮีลี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับโอมาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับโดฟารี

ษาอาหรับโดฟารี (Dhofari Arabic) หรือภาษาอาหรับโซฟารี เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในซาลอลอหฺ โอมานและบริเวณชายฝั่งที่อยู่รอบๆที่เรียกโดฟาร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับโดฟารี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับเมโสโปเตเมียเหนือ

ษาอาหรับเมโสโปเตเมียเหนือ (North Mesopotamian Arabic หรือ Maslawi หมายถึง 'แห่งโมซุล') เป็นภาษาอาหรับที่พูดทางเหนือของเทือกเขาฮัมรินในอิรัก ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอิหร่าน ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี และทางภาคเหนือของซีเรีย (หรือทางเมดิเตอร์เรเนียตะวันออก และทางตะวันออกเฉียงใต้ของอนาโตเลีย) เช่นเดียวกับภาษาอาหรับอิรักและภาษาอาหรับซีเรีย ภาษานี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาอราเมอิกมาก นอกจากนั้น ยังมีลักษณะร่วมกับภาษาอาหรับไซปรัสมากเช่นกัน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับเมโสโปเตเมียเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับเยเมน

ษาอาหรับเยเมน (Yemeni Arabic) เป็นกลุ่มของสำเนียงภาษาอาหรับที่มีผู้พูดในเยเมน โดยแบ่งเป็นสำเนียงหลักๆได้หลากหลายโดยใช้คำศัพท์และหลักทางสัทวิทยาเป็นตัวแบ่งแยก กลุ่มหลักๆได้แก่ สำเนียงซันอานี สำเนียงตาอิซารี สำเนียงเอเดน สำเนียงติอามี และสำเนียงฮาดรามี โดยในบริเวณนี้มีภาษาเอกเทศคือภาษาเมห์รีและภาษาโซโกวตรีซึ่งไม่ใช่สำเนียงของภาษาอาหรับแต่พัฒนามาจากกลุ่มภาษาอาระเบียนใต้โบราณ เช่น ภาษาซาเบียน ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มภาษาเอธิโอปิก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับเยเมน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับเลบานอน

ษาอาหรับเลบานอน (Lebanese Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในเลบานอนและเป็นสำเนียงย่อยของภาษาอาหรับเลอวานต์ ชาวมาโรไนต์ในบริเวณนั้นถือว่าภาษาอาหรับเลบานอนเป็นภาษาเอกเท.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับเลอวานต์

ษาอาหรับเลอวานต์ (Levantine Arabic; ภาษาอาหรับ: شامي Shami) หรือภาษาอาหรับตะวันออก เป็นกลุ่มของภาษาอาหรับที่มีการพูดแพร่กระจายในฉนวนชายฝั่งยาว 100 กิโลเมตร ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก ซึ่งบริเวณนี้เรียกว่าเลอวานต์ ครอบคลุมบริเวณในซีเรีย อิสราเอล ปาเลสไตน์ จอร์แดนตะวันตกและเลบานอน ซึ่งเป็นฝั่งตะวันตกของดินแดนพระจันทร์เสี้ยวอันอุดม ภาษาอาหรับเลอวานต์แบ่งได้เป็น 6 สำเนียงย่อยคือ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับเลอวานต์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับเอเชียกลาง

ษาอาหรับเอเชียกลาง (Central Asian Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในอุซเบกิสถานและทาจิกิสถาน ปัจจุบันเป็นภาษาที่ใกล้ตายแล้ว เคยใช้พูดระหว่างชุมชนชาวอาหรับและเผ่าต่างๆในเอเชียกลาง ที่อยู่ในซามาร์คันด์ บูคารา กิซกวาดัรยา สุรคันดัรยา (ปัจจุบันอยู่ในอุซเบกิสถาน) และคัตลอน (ปัจจุบันอยู่ในทาจิกิสถาน) รวมไปถึงอัฟกานิสถาน การอพยพเข้าสู่เอเชียกลางของชาวอาหรับครั้งแรกเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 13 ซึ่งเป็นช่วงที่มีการแพร่ขยายของศาสนาอิสลามภาษาอาหรับกลายเป็นภาษาทั่วไปทางด้านวิทยาศาสตร์และวรรณคดีอย่างรวดเร็วด้วยอิทธิพลของศาสนาอิสลาม ชาวอาหรับในเอเชียกลางส่วนใหญ่จะแยกตัวอยู่อย่างโดดเดี่วและไม่แต่งงานข้ามเผ่า ทำให้ภาษาของพวกเขายังคงอยู่มาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 25 เมื่อราว..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับเอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาเซอร์ไบจาน

thumbnail ภาษาอาเซอรี หรือ ภาษาอาเซอร์ไบจาน เป็นภาษาราชการของประเทศอาเซอร์ไบจาน มีชื่อเรียกในภาษาของตนว่า Azərbaycan dili บางสำเนียงของภาษานี้ใช้พูดในอิหร่าน ซึ่งใช้เป็นภาษากลางระหว่างภาษาส่วนน้อยอื่นๆคือ ภาษาเคิร์ด ภาษาอาร์มีเนียและภาษาตาเลชิ มีผู้พูดภาษานี้ในสาธารณรัฐดาเกสถานในรัสเซีย จอร์เจียตะวันตกเฉียงใต้ อิหร่านภาคเหนือ และภาคตะวันออกของตุรกี เป็นภาษาในกลุ่มภาษาอัลไตอิก มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 23 – 30 ล้านคน โดยมีราว 16- 23 ล้านคนในอิหร่านและ 7 ล้านคนในอาเซอร์ไบจาน และ 800,000 ในที่อื่นๆ เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใกล้เคียงกับภาษาตุรกี ได้รับอิทธิพลจากภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับ ผู้พูดภาษานี้พอจะเข้าใจกันได้กับผู้พูดภาษากลุ่มเตอร์กิก สาขาโอคุซอื่นๆ เช่น ภาษาตุรกี ที่ใช้พูดในตุรกี ไซปรัสและแหลมบอลข่าน รวมทั้งภาษาเติร์กเมนด้ว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอินโดนีเซีย

ษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia; Indonesian language) เป็นภาษาทางการของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นภาษาที่น่าสังเกตในหลายด้าน เริ่มต้นด้วยการที่ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่พูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง และส่วนน้อยที่พูดเป็นภาษาแม่ในบางนัย ภาษานี้เป็นภาษาที่ค่อนข้างใหม่ เนื่องจากเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2488 และเป็นภาษาที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากเกิดคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น ๆ อยู่ตลอด ชื่อท้องถิ่นของภาษาอินโดนีเซียคือ บาฮาซาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia) และชื่อนี้ก็นำมาใช้ในภาษาอังกฤษในบางโอก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอุซเบก

ษาอุซเบก (อักษรละติน: O'zbek tili ออซเบก ติลี; อักษรซีริลลิก: Ўзбек) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่พูดโดยชาว อุซเบกในประเทศอุซเบกิสถานและพื้นที่อื่น ๆ ในเอเชียกลาง ภาษาที่ใกล้เคียงที่สุดในเชิงคำและไวยากรณ์คือภาษาอุยกูร์ ภาษาเปอร์เซียและภาษารัสเซียได้มีอิทธิพลสำคัญต่อภาษาอุซเบก ภาษาอุซเบกเป็นภาษาราชการของประเทศอุซเบกิสถาน และมีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 18.5 ล้านคน ภาษาอุซเบกก่อนปีพ.ศ. 2535 เขียนด้วยอักษรซีริลลิก แต่ในปัจจุบีนมีการใช้อักษรละตินเขียนในประเทศอุซเบกิสถาน ส่วนชาวจีนที่พูดภาษาอุซเบกใช้อักษรอาหรับเขียน อิทธิพลของศาสนาอิสลามรวมถึงภาษาอาหรับแสดงชัดเจนในภาษาอุซเบก รวมถึงอิทธิพลของภาษารัสเซียในช่วงที่ประเทศอุซเบกิสถานอยู่ภายใต้การยึดครองของจักรวรรดิรัสเซีย และ โซเวียต คำภาษาอาหรับส่วนใหญ่ผ่านเข้ามายังภาษาอุซเบกผ่านทางภาษาเปอร์เซีย ภาษาอุซเบกแบ่งเป็นภาษาย่อย ๆ จำนวนมาก ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมากระหว่างภูมิภาค อย่างไรก็ดี มีภาษาย่อยที่เข้าใจกันทั่วไป ซึ่งใช้ในสื่อมวลชนและในสิ่งตีพิมพ์ส่วนใหญ่ นักภาษาศาสตร์บางคนถือว่าภาษาที่พูดในประเทศอัฟกานิสถานตอนเหนือโดยชาวอุซเบกพื้นเมือง เป็นภาษาย่อยของภาษาอุซเบก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอูรดู

ษาอูรดู (اردو) เป็นภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ซึ่งพัฒนามาจากหลายภาษารวมกันคือ ภาษาเปอร์เซีย ตุรกี อาหรับ ฮินดี และ สันสกฤต นิยมใช้กันมากในช่วงสมัยรัฐสุลต่านเดลฮี และจักรวรรดิโมกุล (ค.ศ.๑๒๐๐ - ๑๘๐๐) ภาษาอูรดู อยู่ในอันดับที่ ๒๐ ของภาษาที่มีคนใช้เป็นภาษาแม่ และเป็นภาษาราชการของประเทศปากีสถาน นอกจากนี้ยังเป็นภาษาหนึ่งในภาษาราชการ ๒๓ ภาษา ของประเทศอินเดี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอูรดู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอีโลกาโน

ษาอีโลกาโนเป็นภาษาที่มีผู้พูดมากเป็นลำดับสามในฟิลิปปินส์ เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนซึ่งใกล้เคียงกับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮิติ ภาษาชาร์โมโร ภาษาเตตุมและภาษาไปวัน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอีโลกาโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอีโดไมต์

ษาอีโดไมต์เป็นภาษากลุ่มฮีบรู-คานาอันไนต์ที่ตายแล้ว เคยใช้พูดทางตะวันตกเฉียงใต้ในจอร์แดน เมื่อ 457 ปีก่อนพุทธศักราช ในช่วงแรกเขียนด้วยอักษรคานาอันไนต์ ต่อมาช่วง 57 ปีก่อนพุทธศักราชเปลี่ยนมาเขียนด้วยอักษรอราเมอิก และเริ่มมีคำยืมจากภาษาอาหรับ ในคัมภีร์ไบเบิล “อีดอม” เป็นชื่อหนึ่งของเอซาว ซึ่งเป็นลูกหลานของอีเบอร์ผ่านทางอับราฮัม ชาวอีโดไมต์ได้รับการยอมรับว่าเป็นชาวยิวเช่นเดียวกับชาวมัวไบต์และชาวอัมโมไนต์ ภาษาของพวกเขาจึงอาจเรียกว่าภาษาฮีบรูได้ด้ว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอีโดไมต์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอโมไรต์

ษาอโมไรต์ เป็นภาษาตระกูลเซมิติกที่พูดโดยเผ่าอโมไรต์ในประวัติศาสตร์ยุคต้นของตะวันออกกลาง เป็นที่รู้จักจากบันทึกของชาวอัคคาเดียระหว่างช่วงที่ชาวอโมไรต์เข้าปกครองบาบิโลเนีย (2,357 – 457 ก่อนพุทธศักราช) และพบในบันทึกของชาวอียิปต์ยุคต้น ชื่อสถานที่แห่งหนึ่งคือ "Snir" (שְׂנִיר) เป็นที่รู้จักจากคัมภีร์ไบเบิล ลักษณะทั่วไปของภาษานี้ได้แก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาอโมไรต์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮาไซติก

ษาฮาไซติก (Hasaitic) เป็นภาษาอาระเบียเหนือโบราณที่พบในจารึกในจังหวัดตะวันออกของซาอุดิอาระเบีย ที่ ทัช กวาติฟ รัส ตานูรา อับไกวก์ในบริเวณอัลฮาซาและที่อูรุก เขียนด้วยอักษรอาระเบียใต้ มีอายุราว 300 – 200 ปี ก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาฮาไซติก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮินดูสตานี

ภาษาฮินดูสตานี (เทวนาครี: हिन्दुस्तानी; อาหรับ: ہندوستانی) เป็นคำที่เกิดในสมัยที่อังกฤษครอบครองอินเดียและปากีสถาน โดยอังกฤษนำภาษาฮินดีกับภาษาอูรดูมารวมกันแล้วให้ชื่อว่าฮินดูสตานี เขียนได้ทั้งอักษรไกถี อักษรเทวนาครี และอักษรอาหรับ แต่คำศัพท์และไวยากรณ์ของสองภาษานั้นแตกต่างกันมาก เนื่องจากภาษาฮินดีได้รับอิทธิพลมาจากภาษาสันสกฤตและภาษาปรากฤต แต่ภาษาอูรดูได้รับอิทธิพลมาจากภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับ ในทางภาษาศาสตร์จึงไม่ถือว่าเป็นภาษาใหม่ ปัจจุบันยังคงแยกเป็นภาษาฮินดีซึ่งเป็นภาษาทางการของอินเดีย และภาษาอูรดูซึ่งเป็นภาษาทางการของปากีสถาน ฮินดูสตานี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาฮินดูสตานี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮินดี

ษาฮินดีเป็นภาษาที่พูด ส่วนใหญ่ในประเทศอินเดียเหนือและกลาง เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน อยู่ในกลุ่มย่อย อินโด-อิหร่าน มีวิวัฒนาการมาจากภาษาปรากฤต ในสาขาอินโด-อารยันกลาง ของยุคกลาง และมีวิวัฒนาการทางอ้อมจากภาษาสันสกฤต ภาษาฮินดีได้นำคำศัพท์ชั้นสูงส่วนใหญ่มาจากภาษาสันสกฤต นอกจากนี้ เนื่องจากอิทธิพลของชาวมุสลิมในอินเดียเหนือ ภาษาฮินดียังมีคำที่ยืมมาจากภาษาเปอร์เซีย ภาษาอาหรับ และ ภาษาตุรกี เป็นจำนวนมาก และในที่สุดได้ก่อให้เกิดภาษาอูรดูขึ้น สำหรับภาษา"ฮินดีมาตรฐาน" หรือ "ฮินดีแท้" นั้น มีใช้เฉพะการสื่อสารที่เป็นทางการ ขณะที่ภาษาซึ่งใช้ในชีวิตประจำวันในพื้นที่ส่วนใหญ่นั้น ถือว่าเป็นหนึ่งในภาษาถิ่นย่อย ของภาษาฮินดูสตานี ในแง่ความสัมพันธ์ทางภาษาศาสตร์นั้น ภาษาฮินดีและภาษาอูรดู ถือว่าเป็นภาษาเดียวกัน แตกต่างตรงที่ ภาษาฮินดีนั้นเขียนด้วยอักษรเทวนาครี (Devanāgarī) ขณะที่ภาษาอูรดูนั้น เขียนด้วยอักษรเปอร์เซียและอาหรั.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาฮินดี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรู

ษาฮีบรู (Modern Hebrew, อิฟริท) เป็นภาษาเซมิติก (Semitic) ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afro–Asiatic) เป็นภาษาที่เก่าแก่ โดยมีอายุมาอย่างน้อยตั้งแต่ 3,500 ปีที่แล้ว ในอดีต เคยเป็นภาษาตาย เหมือนดั่งภาษาบาลี สันสกฤต และละติน โดยใช้เป็นภาษาที่ใช้เพียงแต่ในวงจำกัด หนังสือต่างทางศาสนา และสถานที่ทางศาสนาเท่านั้น แต่ปัจจุบัน มีการกลับมาใช้เป็นภาษาพูดใหม่ และเป็นภาษาที่ชาวอิสราเอลใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน โดยภายในในอิสราเอล มีผู้พูดมากกว่า 4,380,000 คน ซึ่งเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอาหรับ นอกอิสราเอล ภาษาฮีบรูยังมีผู้พูดอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งโดยมากเป็นชุมชนชาวยิว ทะนัค (Tanakh) หรือพระคัมภีร์เก่า (The Old Testament) ของศาสนายิว เขียนไว้ด้วยภาษาฮีบรู ซึ่งถือว่าเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ (לשון הקודש Leshon ha-Kodesh: เลโชน ฮา-โกเดช) ของชาวยิวตั้งแต่สมัยโบราณ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ระบุว่าหลัง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นยุคที่จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ทำลายกรุงเยรูซาเลมและอพยพชาวยิวไปยังบาบิโลนและพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นไท ภาษาฮีบรูในแบบที่เขียนในพระคัมภีร์เก่า ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮีบรูใหม่และภาษาแอราเมอิกที่ใช้ในท้องถิ่นนั้น หลังจากพุทธศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันเข้ายึดครองกรุงเยรูซาเล็ม และอพยพชาวยิวออกไป ภาษาฮีบรูเริ่มใช้เป็นภาษาพูดน้อยลงแต่ยังคงเป็นภาษาทางศาสนาและภาษาในการเขียน หลังจากเยรูซาเล็มถูกชาวบาบิโลนทำลายครั้งแรก 586 ปีก่อนคริสตกาล ภาษาอย่างในพระคัมภีร์เก่าเริ่มถูกแทนที่ด้วยคำในลักษณะใหม่ หลังจากจำนวนประชากรของชาวยิวในบางส่วนของจูเดีย (Judea) ลดลง ภาษาฮีบรูเลิกใช้เป็นภาษาพูดราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 แต่ยังคงเป็นภาษาเขียนที่สำคัญต่อเนื่องมาตลอดหลายศตวรรษ นอกจากจะใช้ในศาสนาแล้ว งานเขียนสำหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ เช่น เขียนตำรา จดหมาย ปรัชญา การแพทย์ บทกวี บันทึกศาล ล้วนใช้ภาษาฮีบรู ซึ่งได้เข้ากับวงความรู้และคำเฉพาะใหม่ ๆ โดยคำยืมและคำประดิษฐ์ใหม่ ภาษาฮีบรูยังคงถูกรักษาไว้ในฐานะภาษาเขียนโดยชุมชนชาวยิวทั่วโลก จนกระทั่งมีการตั้งลัทธิไซออนนิสต์เพื่อฟื้นฟูชาติยิว สมาชิกไซออนนิสต์ส่งเสริมให้มีการแทนที่ภาษาพูดของชาวยิวในขณะนั้น เช่นภาษาอาหรับ ภาษาจูเดสโม (Judezmo, ภาษาลาดิโน Ladino ก็เรียก) ภาษายิดดิช ภาษารัสเซีย และภาษาอื่น ๆ ของชาวยิวที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ เป็นภาษาของศาสนายิวส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรู มีการสร้างคำใหม่โดยยืมจากภาษาฮีบรูในไบเบิลหรือจากภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก รวมทั้งภาษาในยุโรป เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาเยอรมัน ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาราชการของปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรูมิซราฮี

ภาษาฮีบรูมิซราฮี หรือภาษาฮีบรูตะวันออก ใช้อ้างถึงระบบการออกเสียงภาษาฮีบรูในคัมภีร์ไบเบิลที่ใช้ในทางศาสนาของชาวยิวมิซราฮีซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศอาหรับหรือทางตะวันออก และโดยมากจะพูดภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย ภาษาฮินดี ภาษาตุรกี หรือภาษาอื่นๆในตะวันออกกลางและเอเชีย คำนี้ใช้ครอบคลุมภาษาฮีบรูหลายสำเนียง แต่ไม่รวมชาวยิวเซฟาร์ดีที่อยู่ในตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ ชาวยิวเซฟาร์ดีนี้เป็นชาวยิวที่เคยอยู่ในสเปนแล้วถูกขับออกมา หมวดหมู่:ภาษาในตะวันออกกลาง หมวดหมู่:ภาษาของชาวยิว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาฮีบรูมิซราฮี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรูมิซนะห์

ษาฮีบรูมิซนะห์ (Mishnaic Hebrew language) หรือภาษาฮีบรูแรบไบรุ่นแรก (Early Rabbinic Hebrew language) เป็นลูกหลานโดยตรงของภาษาฮีบรูไบเบิลภาษาหนึ่ง ที่รักษาไว้โดยชาวกรุงในบาบิโลน และได้รับการบันทึกโดยชาวยิวที่เขียนมิซนะห์ สำเนียงนี้ไม่ได้ถูกใช้โดยชาวซามาริทันที่รักษาสำเนียงของตนในรูปภาษาฮีบรูซามาริทัน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาฮีบรูมิซนะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรูเซฟาร์ดี

ษาฮีบรูเซฟาร์ดี (Sephardi Hebrew)เป็นระบบการออกเสียงของภาษาฮีบรูไบเบิลที่มาจากการใช้งานของชาวยิวเซฟาร์ดี สัทวิทยาของภาษานี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาที่ติดต่อด้วยเช่น ภาษาลาดิโน ภาษาโปรตุเกส ภาษาเปอร์เซีย ภาษาดัตช์ ภาษาอาหรั.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาฮีบรูเซฟาร์ดี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจิตตะกอง

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาจิตตะกอง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทมิฬ

ษาทมิฬ (தமிழ்) เป็นหนึ่งใน ตระกูลภาษาดราวิเดียน เป็นหนึ่งในภาษาคลาสสิกของโลก วรรณกรรมภาษาทมิฬได้มีมาเป็นเวลา 2,500 ปีแล้ว และเป็นภาษาคลาสสิกภาษาแรกที่มีพัฒนาการเขียนแบบเฉพาะสำหรับบทกวี เสียง "l" ในคำว่า "Tamil" ออกเสียง "คล้าย" กับ "ร" กล่าวคือ ออกเสียงโดยให้ปลายลิ้นส่วนล่างติดกับเพดานปาก และมักจะเขียนเป็น "zh" ในอักษรโรมัน (ตรงกับเสียง j ในภาษาฝรั่งเศส ส่วนภาษาไทยไม่มีเสียงที่เทียบได้ตรง) เชื่อว่าอักษร 'ழ' ซึ่งพบใน 'தமிழ்' (ทมิฬ) มีการออกเสียงที่เป็นเอกลักษณ์ที่ไม่พบในภาษาอื่น ๆ ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ อักษรทมิฬ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาทมิฬ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทักขินี

ภาษาทักขินี (ภาษาฮินดี: दक्खिनी) หรือภาษาเทจจนี (ภาษาอูรดู: دکنی) เป็นภาษาถิ่นของภาษาอูรดู ใช้พูดในเขตเดคคัน ทางใต้ของอินเดีย มีศูนย์กลางที่เมืองไฮเดอราบัด รัฐอันธรประเทศ พัฒนาขึ้นจากภาษาในอินเดีย และภาษาเปอร์เซีย มีลักษณะที่ผสมผสานกัน ระหว่างภาษาสันสกฤต ภาษาฮินดี ภาษาอูรดู ภาษามราฐี ภาษาคุชราต ภาษากันนาดา ภาษาเตลุกุ ภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย และภาษาตุรกี เป็นภาษากลางของมุสลิมทางใต้ของอินเดีย ทักขินี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาทักขินี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทามูดิก

ษาทามูดิก (Thamudic; الثمودية) เป็นภาษาอาระเบียเหนือโบราณที่พบในจารึกยุคก่อนศาสนาอิสลามตลอดทะเลทรายอาระเบียและคาบสมุทรไซนาย ในช่วง..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาทามูดิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทาจิก

ษาทาจิก (Tajik Persian หรือ Tajik language หรือ Tajiki;Tadjik หรือ Tadzhik;,อักษรอาหรับเปอร์เซีย تاجیکی‎, tojikī โทจิกิ),тоҷикӣ) เป็นรูปแบบสมัยใหม่แบบหนึ่งของภาษาเปอร์เซีย ที่พูดในเอเชียกลาง เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ใน กลุ่มภาษาอิเรเนียน คนที่พูดภาษาทาจิกส่วนใหญ่อาศัยในประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน และตะวันตกของปากีสถาน แต่ผู้พูดภาษาทาจิกประมาณ 30,000 คน ใกล้ชายแดนประเทศทาจิกิสถานในประเทศจีน) เป็นภาษาราชการของประเทศทาจิกิสถาน ภาษาทาจิก ที่เป็นภาษาราชการของทาจิกิสถาน ต่างจากภาษาเปอร์เซียที่ใช้พูดในอิหร่านและอัฟกานิสถาน ซึ่งเป็นผลมาจากการแบ่งแยกดินแดนทางการเมือง การแบ่งแยกทางภูมิศาสตร์และการจัดมาตรฐานทางภาษา รวมทั้งอิทธิพลของภาษารัสเซียและภาษากลุ่มเตอร์กิกที่อยู่รอบๆ มาตรฐานของภาษานี้ยึดตามสำเนียงตะวันตกเฉียงเหนือของทาจิกิสถานซึ่งเป็นเมืองเก่าของซามาร์คันฑ์ และได้รับอิทธิพลจากภาษาอุซเบกด้วย ภาษาทาจิกมีหน่วยคำในคำศัพท์ การออกเสียงและไวยากรณ์ซึ่งไม่มีในภาษาเปอร์เซียที่พูดในที่อื่น ซึ่งน่าจะเป็นมาจากการที่ถูกแบ่งแยกโดยภูมิศาสตร์เขตเทือกเขาของเอเชียกลาง.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาทาจิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาขาริโพลี

ษาขาริโพลี หรือภาษาขาทิโพลี ภาษาขาทิ-โพลี หรือสำเนียงขารี (/ /; ภาษาฮินดี: खड़ी बोली; ภาษาอูรดู: كهڑى بولى, ตรงตัว "สำเนียงยืนพื้น")เป็นสำเนียงของภาษาฮินดีมีผู้พูดทางตะวันตกของรัฐอุตรประเทศและเดลฮีในประเทศอินเดีย สำเนียงนี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาอูรดูที่มีลักษณะทางภาษาศาสตร์ใกล้เคียงกับภาษาฮินดี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาขาริโพลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาดุงกาน

ษาดุงกาน (ดุงกาน: Хуэйзў йүян Xuejzw jyian, Дунганский Язык Dunganskij jazyk) เป็นภาษาตระกูลจีน-ทิเบต ใช้พูดโดยชาวดุงกานหรือชาวหุยในเอเชียกลาง.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาดุงกาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคุชราต

ษาคุชราต (ગુજરાતી คุชราตี) คือภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของตระกูลอินโด-ยุโรเปียน เป็นหนึ่งใน 22 ภาษาทางการ และ 14 ภาษาภูมิภาคของอินเดีย และเป็นหนึ่งในภาษาชนกลุ่มน้อยของปากีสถาน มีผู้พูดภาษาคุชราตประมาณ 46 ล้านคนทั่วโลก มากเป็นอันดับที่ 23 ของโลก โดยที่ 45.5 ล้านคนอาศัยอยู่ในอินเดีย 150,000 คนในยูกันดา 100,000 คนในปากีสถาน 250,000 คนในแทนซาเนีย และ 50,000 คนในเคนยา ภาษาคุชราต คือภาษาหลักของรัฐคุชราตในอินเดีย รวมถึงพื้นที่สหภาพที่ติดกันคือ ดามานและดีอู และ ดาดราและนครหเวลี และยังเป็นภาษาของชุมชนชาวคุชราตในเมืองมุมไบ (บอมเบย์เดิม) นอกจากนี้ยังปรากฏประชาการจำนวนหนึ่งที่พูดภาษาคุชราตได้ในอเมริกาเหนือ และสหราชอาณาจักร คุชราตเป็นภาษาแม่ของมหาตมะ คานธี "บิดาของอินเดีย" มูฮัมหมัด อาลี จินนาห์ "บิดาของปากีสถาน" และซาร์ดาร์ วัลลัภภัย ปาเทล "บุรุษเหล็กแห่งอินเดีย".

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาคุชราต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตากาล็อก

ษาตากาล็อก เป็นหนึ่งในภาษาหลักของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีความสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีตี ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็นภาษากลางภายในประเทศ มีผู้พูดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากกว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาตากาล็อก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกี

ษาตุรกี (Türkçe ตืร์กเช หรือ Türk dili ตืร์ก ดิลิ) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก เป็นภาษาที่มีผู้พูด 65 – 73 ล้านคนทั่วโลกซึ่งถือเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่มีผู้พูดมากที่สุด ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในตุรกี และมีกระจายอยู่ในไซปรัส บัลแกเรีย กรีซ และยุโรปตะวันออก และมีผู้พูดอีกหลายสิบล้านคนที่อพยพไปอยู่ในยุโรปตะวันตกโดยเฉพาะเยอรมัน ต้นกำเนิดของภาษาพบในเอเชียกลางซึ่งมีการเขียนครั้งแรกเมื่อประมาณ 1,200 ปีมาแล้ว ภาษาตุรกีออตโตมันได้แพร่ขยายไปทางตะวันตกซึ่งเป็นผลมาจากการขยายตัวของจักรวรรดิออตโตมัน พ.ศ. 2471 หลังการปฏิรูปของอตาเตริ์กซึ่งเป็นปีแรกๆของยุคสาธารณรัฐใหม่ มีการปรับปรุงภาษาโดยแทนที่อักษรอาหรับในยุคออตโตมันด้วยอักษรละตินที่เพิ่มเครื่องหมายการออกเสียง มีการตั้งสมาคมภาษาตุรกีเพื่อลดการใช้คำยืมจากภาษาเปอร์เซียกับภาษาอาหรับ หันมาใช้คำดั้งเดิมของภาษากลุ่มเตอร์กิกแทน ลักษณะเด่นของภาษาตุรกีคือมีการเปลี่ยนเสียงสระและการเชื่อมคำแบบรูปคำติดต่อ การเรียงคำโดยทั่วไปเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา ไม่มีการแบ่งเพศของคำนาม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกีออตโตมัน

ษาตุรกีออตโตมัน (ภาษาอังกฤษ: Ottoman Turkish; ภาษาตุรกี: Osmanlıca หรือ Osmanlı Türkçesi; ภาษาตุรกีออตโตมัน: لسان عثمانی‎ lisân-ı Osmânî) เป็นรูปแบบหนึ่งของภาษาตุรกีที่เคยเป็นภาษาในการปกครองและภาษาเขียนในจักรวรรดิออตโตมัน เป็นภาษาที่มีคำยืมจากภาษาอาหรับและภาษาเปอร์เซียมาก เขียนด้วยอักษรอาหรับ ภาษานี้ไม่เป็นที่เข้าใจในหมู่ชาวตุรกีที่มีการศึกษาต่ำ อย่างไรก็ตาม ภาษาตุรกีที่ใช้พูดในทุกวันนี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาตุรกีออตโตมันเช่นกัน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาตุรกีออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตงเซียง

ษาซานตา (Santa language) หรือภาษาตงเซียง (Dongxiang;ภาษาจีน: 东乡语) เป็นภาษากลุ่มมองโกลที่ใช้พูดโดยชาวตงเซียงในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของจีน ภาษาตงเซียงไม่มีการเปลี่ยนเสียงสระและไม่มีความต่างของความยาวเสียงสร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาตงเซียง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซาไฟติก

ษาซาไฟติก (Safaitic language; ภาษาอาหรับ: صفوية หรือ صفائية) เป็นชื่อของภาษาอาระเบียเหนือโบราณที่เขียนด้วยอักษรเซมิติกใต้ ซึ่งจารึกเหล่านี้เขียนโดยชาวเบดูอินและชาวเซมิ-นอมาดิกที่อยูในทะเลทรายซีโร-อาระเบีย อายุของจารึกเหล่านี้ยังไม่แน่ชัดแต่น่าจะอยู่ประมาณ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาซาไฟติก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซีรีแอก

อกสารภาษาซีรีแอกอายุราวพุทธศตวรรษที่ 16 ภาษาซีรีแอก (Syriac language; ซีรีแอก: ܣܘܪܝܝܐ Suryāyā) เป็นสำเนียงตะวันออกของภาษาแอราเมอิก ใช้พูดใกลุ่มชาวคริสต์ ที่อยู่ระหว่างจักรวรรดิโรมันและเปอร์เซีย ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 1 –12 ปัจจุบันยังคงใช้ในทางศาสนา โดยผู้พูดภาษาแอราเมอิกใหม่ในซีเรีย และใช้ในโบสถ์คริสต์ของชาวซีเรีย ในรัฐเกรละ ประเทศอินเดีย เป็นภาษาทางศาสนาในตะวันออกกลางในช่วงพุทธศตวรรษที่ 7 – 13 ความหมายอย่างกว้างหมายถึงภาษาแอราเมอิกตะวันออกทั้งหมดที่ใช้ในหมู่ชาวคริสต์ ความหมายอย่างจำเพาะเจาะจงหมายถึงภาษาคลาสสิกของอีเดสซา ซึ่งเป็นภาษาทางศาสนาของชาวซีรีแอกที่นับถือศาสนาคริสต์ และกลายเป็นสื่อในการเผยแพร่วัฒนธรรมและศาสนาคริสต์จากทางเหนือไปสู่มาลาบาร์ และจากทางตะวันออกไปถึงจีนเคยใช้เป็นภาษากลางระหว่างชาวอาหรับกับชาวเปอร์เซียก่อนจะถูกแทนที่ด้วยภาษาอาหรับเมื่อ พุทธศตวรรษที่ 13.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาซีรีแอก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาประธานไร้รูป

ภาษาประธานไร้รูป (ภาษาอังกฤษ: null/empty subject language) เป็นภาษาที่ยอมรับไวยากรณ์ของการมีอนุประโยคอิสระที่ไม่ปรากฏประธานในอนุประโยค อนุประโยคที่ไม่มีประธานโดยชัดแจ้ง กล่าวได้ว่าอนุประโยคนั้นมี ประธานไร้รูป ยกตัวอย่างเช่นในภาษาอิตาลี ประธาน "เธอ" ของประโยคที่สองสามารถทราบได้โดยนัยในภาษาอิตาลี ในทางตรงข้าม ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษจำเป็นต้องมีประธานในประโยค ภาษาประธานไร้รูปบางภาษาเป็นภาษาต่างตระกูลกัน เช่น ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส ภาษาฮินดี ภาษาอาหรับ ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น แม้จะต่างตระกูลกันแต่ก็ล้วนเป็นภาษาประธานไร้รูป หมวดหมู่:ภาษา.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาประธานไร้รูป · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาปัญจาบ

ษาปัญจาบ หรือ ปัญจาบี หรือ ปัญชาพี (อักษรคุรมุขี: ਪੰਜਾਬੀ Paṁjābī,อักษรชาห์มุขี: پنجابی Panjābī) เป็นภาษาของชาวปัญจาบ และภูมิภาคปัญจาบของประเทศอินเดีย และประเทศปากีสถาน ภาษาปัญจาบเป็นภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียน ในกลุ่มย่อยอินโด-อิเรเนียน เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียนภาษาเดียวที่เป็นภาษาวรรณยุกต์ ซึ่งวรรณยุกต์เกิดจากการออกเสียงพยัญชนะชุดต่าง ๆ ด้วยเสียงสูงต่ำที่ต่างกัน ในเรื่องของความซับซ้อนของรูปศัพท์ เป็นภาษาที่ใช้คำประกอบ (agglutinative language) และมักจะเรียงคำตามลำดับ 'ประธาน กรรม กิริยา' ชาวปัญจาบได้ถูกแบ่งระหว่างอินเดียและปากีสถานระหว่างการแบ่งอินเดียเมื่อพ.ศ. 2490 อย่างไรก็ดี ภาษาและวัฒนธรรมปัญจาบมักเป็นปัจจัยที่ทำให้ชาวปัญจาบอยู่รวมกันไม่ว่าจะสัญชาติหรือศาสนาใด มีชาวปัญจาบอพยพจำนวนมากในหลายประเทศเช่น สหรัฐ ออสเตรเลีย อังกฤษ แคนาดา ภาษาปัญจาบเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ของชาวสิกข์ที่ใช้เขียนวรรณกรรมทางศาสนา เป็นภาษาที่ใช้ในดนตรีภันคระที่แพร่หลายในเอเชียใต้.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาปัญจาบ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแกน

ภาษาแกน (อังกฤษ: pivot language) เป็นภาษาประดิษฐ์หรือภาษาธรรมชาติที่ใช้เป็นภาษาตัวกลางสำหรับการแปล การใช้ภาษาแกนช่วยลดความจำเป็นที่จะต้องมีผู้แปลสำหรับทุก ๆ คู่ภาษา ข้อด้อยของภาษาแกนก็คือ ในแต่ละขั้นของการแปลซ้ำนั้น อาจทำให้เกิดข้อผิดพลาดและความกำกวมใหม่ ๆ ภาษาอังกฤษ, ฝรั่งเศส, รัสเซีย, และอาหรับ มักจะถูกใช้เป็นภาษาแกน ยูเอ็นแอลเป็นภาษาประดิษฐ์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นภาษาแกนโดยเฉพาะ ภาษาเอสเปรันโตถูกใช้เป็นภาษาแกนในโครงการ Distributed Language Translation และใน หมวดหมู่:ภาษา หมวดหมู่:การแปล.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาแกน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแอกแคด

ษาแอกแคด (lišānum akkadītum; Akkadian language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติกใช้พูดในเมโสโปเตเมียโบราณ รวมทั้งชาวบาบิโลเนียและชาวอัสซีเรีย ชื่อของภาษานี้มาจากเมืองแอกแคดซึ่งเป็นศูนย์กลางของอารยธรรมเมโสโปเตเมี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาแอกแคด · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแอราเมอิก

ษาแอราเมอิก (Aramaic language) เป็นภาษาตระกูลเซมิติกที่มีความเป็นมายาวนานกว่า 3,000 ปืเป็นภาษากลางของบริเวณตะวันออกใกล้ในช่วง 157 ปีก่อนพุทธศักราชถึง..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาแอราเมอิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโรฮีนจา

ษาโรฮีนจา (โรฮีนจา: Ruáingga) เป็นภาษาที่พูดโดยชาวมุสลิมโรฮีนจา มีผู้พูดทั้งหมด 1,500,000 คน พบในพม่า 1,000,000 คน (พ.ศ. 2549) ในรัฐยะไข่ ประเทศพม่า พบในบังกลาเทศ 200,000 คน (พ.ศ. 2549) และอาจจะมีในมาเลเซีย ซาอุดีอาระเบีย และไทย จัดอยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน สาขาอินโด-อารยันตะวันออก สาขาย่อยเบงกาลี-อัสสัม ใกล้เคียงกับภาษาจิตตะกองในบังกลาเทศ มีคำยืมจากภาษาอูรดู ภาษาเบงกาลี ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอาหรับ ภาษาพม่า และภาษาอังกฤษมาก เดิมชาวโรฮีนจาอพยพจากบังกลาเทศเข้าไปอยู่ในพม่า และปัจจุบันมีผู้อพยพส่วนหนึ่งอพยพกลับไปสู่บังกลาเทศ แต่ถูกผลักดันให้กลับไปสู่พม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาโรฮีนจา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโอริยา

ภาษาโอริยา (Oriya, ଓଡ଼ିଆ oṛiā) เป็นภาษาที่ใช้ในรัฐโอริศาของอินเดีย และเนื่องจากมีการอพยพของแรงงาน รัฐคุชราต ก็มีคนพูดภาษาโอริยาพอสมควรด้วย (เมืองสุรัตเป็นเมืองที่มีคนพูดภาษาโอริยามากที่สุดเป็นอันดับ 2 ของอินเดีย) และเป็นภาษาราชการของอินเดียด้วย ภาษาโอริยาเป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียน สาขาอินโด-อารยัน และคาดว่าน่าจะพัฒนามาจากภาษาปรากฤตที่ใช้พูดในอินเดียเมื่อ 1,500 ปีก่อน มีลักษณะคล้ายกับภาษาเบงกาลี ภาษาไมถิลี และภาษาอัสสัม เป็นภาษาที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาอาหรับและภาษาเปอร์เซียน้อยที่สุดในบรรดาภาษาในอินเดียเหนือด้วยกัน แต่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาพุทธและศาสนาเชนมาก เขียนด้วยอักษรโอริยา อโอริยา.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาโอริยา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโดกรี

ษาโดกรีเป็นภาษาในจัมมูร์และแคชเมียร์ รวมทั้งในรัฐปัญจาบและรัฐหิมาจัลประเทศ มีผู้พูดราว 2.1 ล้านคน แต่ก่อนถือว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาปัญจาบ แต่ปัจจุบันได้รับการยอมรับว่าเป็นอีกภาษาหนึ่งในอดีตเขียนด้วยอักษรตกริ ซึ่งคล้ายกับอักษรสรทะที่ใช้เขียนภาษาแคชเมียร์ ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรเทวนาครีหรืออักษรอาหรับ-เปอร์เซียแบบนัสตาลิก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาโดกรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโซมาลี

ภาษาโซมาลี (Somali language) เป็นสมาชิกของแขนงคูชิติกตะวันออก ของภาษากลุ่มแอฟโร-เอเชียติก เป็นภาษาที่พูดในประเทศโซมาเลีย และพื้นที่ติดต่อของประเทศจิบูตี (ส่วนใหญ่) ประเทศเอธิโอเปีย และประเทศเคนยา เนื่องจากสงครามกลางเมืองและการอพยพ จึงมีคนพูดภาษาโซมาลีทั่วโลก คาดว่ามีคนพูดระหว่าง 15-25 ล้านคน โซมาลี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาโซมาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเบงกาลี

ษาเบงกาลี (বাংলা, บังคลา) เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรของประเทศบังคลาเทศ และรัฐเบงกอลตะวันตกในประเทศอินเดีย ที่ติดกับบังคลาเทศ นอกจากนี้ยังมีชุมชนของคนที่พูดภาษาเบงกอลที่ใหญ่พอควรในรัฐอัสสัม (อีกรัฐในอินเดีย ติดกับทั้งรัฐเบงกอลตะวันตกและประเทศบังคลาเทศ) และในประชากรที่อพยพไปทางตะวันตกและตะวันออกกลาง รูปแบบมาตรฐานของภาษานี้เรียกว่า cholit bhaashaa: จลิตภาษา เป็นภาษาย่อยที่พูดกันมากที่สุด มีแบบมาจาก "Calcutta Bengali" (ภาษาเบงกอลที่พูดในเมืองกัลกัตตา) ในประเทศบังกลาเทศ เขียนด้วยอักษรเบงกาลี ในภาษาอังกฤษ Bengali ใช้เรียกทั้งภาษาและคนที่พูดภาษานี้ ในภาษาเบงกาลีเองเรียกภาษาว่า Bangla: บังคลา (বাঙলা), ซึ่งเป็นคำที่เริ่มใช้มากขึ้นในภาษาอังกฤษ ส่วนในภาษาบังคลา ชาวเบงกอลเรียกว่า Bangali: บางกาลี (বাংলা) ถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมเนียมของชาวเบงกาลีเรียกว่า Bengal: เบงกอล ในภาษาอังกฤษ และ Bongo: บองโก Banga: บางกา หรือ Bangla: บังคลา ในภาษาเบงกาลี "Bangadesh: บางกาเทศ" และ "Bangladesh: บังคลาเทศ" เป็นคำที่ใช้เรียกภูมิภาคของชาวเบงกอลก่อนที่จะมีการแยกเป็นสองส่วน คือ เบงกอลตะวันตก (West Bengal หรือ Poshchim Bongo: ปอจิม บองโก หรือ ประจิมบังกา) ซึ่งได้กลายเป็นรัฐของอินเดีย และส่วนตะวันออก (เบงกอลตะวันออก: East Bengal หรือ Purbo Bongo: ปูร์โบ บองโก หรือ บูรพาบังกา) กลายเป็นประเทศบังคลาเทศ เนื่องจากมีผู้ใช้ภาษาเบงกาลีมากกว่า250ล้านคนทั่วโลก ชีค ฮาซินา วาเจด นายกรัฐมนตรีบังกลาเทศ เสนอเมื่อ เดือนกันยายน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาเบงกาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเชเชน

ษาเชเชน เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐเชเชน (เชชเนีย) ในรัสเซีย มีผู้พูดราว 1.2 ล้านคน คำศัพท์ส่วนมากเป็นคำยืมจากภาษารัสเซีย ภาษาตุรกี ภาษาคาลมึกซ์ ภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอลานิกหรือภาษาออสเซติกอยู่ในภาษากลุ่มคอเคซัส จัดอยู่ในภาษากลุ่มนัขร่วมกับภาษาอิงกุซและภาษาบัตส์ ทั้งหมดนี้อยู่ในภาษากลุ่มคอเคเซียนตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีเพียงภาษาอิงกุซและภาษาเชเชนที่เข้าใจกันได้.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาเชเชน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเมห์รี

ษาเมห์รี เป็นภาษากลุ่มเซมิติกใช้พูดโดยชนกลุ่มน้อยทางตะวันออกของเยเมนและทางตะวันตกของโอมาน และเป็นภาษาที่เคยใช้พูดในคาบสมุทรอาระเบียก่อนการแพร่กระจายของภาษาอาหรับที่มาพร้อมกับศาสนาอิสลาม เมื่อพุทธศตวรรษที่ 12 มีผู้พูดในคูเวตซึ่งเป็นกลุ่มผู้ใช้แรงงานที่อพยพเข้าไป เป็นภาษาที่ใกล้ตาย ไม่มีการใช้เป็นภาษาเขียน จัดอยู่ในภาษากลุ่มเซมิติกใต้สาขาอาระเบียใต้ มีความสัมพันธ์กับภาษาอัมฮาราในเอธิโอเปีย มีผู้พูดในเยเมน 70,643 คน ในโอมาน 50,763 คนและในคูเวต 14,358 คน เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาเมห์รี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเสาราษฏร์

ษาเสาราษฏร์ เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ใช้พูดทางใต้ของรัฐทมิฬ นาดู มีผู้พูดภาษานี้ราว 310,000 คน (2540).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาเสาราษฏร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเคิร์ด

ษาเคิร์ด (کوردی‎ คูร์ดี) มีผู้พูดราว 31 ล้านคน ในอิรัก (รวมทั้งในเขตปกครองตนเองของชาวเคิร์ด) อิหร่าน ตุรกี ซีเรีย เลบานอน จัดอยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือ ตระกูลอินโด-ยุโรป ภาษาที่ใกล้เคียงคือ ภาษาบาโลชิ ภาษาคิเลกิ และภาษาตาเลียส ภาษาเปอร์เซียที่อยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้จัดเป็นภาษาใกล้เคียงด้วยแต่มีความแตกต่างมากกว่า 3 ภาษาข้างต้น.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาเคิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเติร์กเมน

ษาเติร์กเมน (Turkmen, Туркмен, ISO 639-1: tk, ISO 639-2: tuk) คือชื่อภาษาราชการของประเทศเติร์กเมนิสถาน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาเติร์กเมน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเซบัวโน

ษาเซบู (Cebuano; Sebwano; เซบู: Sinugboanon) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดในฟิลิปปินส์ 18 ล้านคน ชื่อในภาษาอังกฤษมาจากชื่อเกาะเซบู รวมกับปัจจัยจากภาษาสเปน -ano หมายถึง ที่เกี่ยวกับเชื้อชาต.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาเซบัวโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปอร์เซีย

ษาเปอร์เซีย หรือ ฟาร์ซี (فارسی Farsi, ฟอร์ซี ชื่อท้องถิ่นใน ประเทศอิหร่าน และประเทศอัฟกานิสถาน), ทาจิก (Tajik, ภาษาย่อยในเอเชียกลาง) หรือ ดารี (Dari ชื่อท้องถิ่นในประเทศอัฟกานิสถาน) เป็นภาษาที่พูดใน ประเทศอิหร่าน ประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศบาห์เรน และประเทศอุซเบกิสถาน เป็นภาษาทางการใน 3 ประเทศแรกที่กล่าวไว้ คนที่พูดเป็นภาษาแม่มีอยู่ประมาณ 75 ล้านคน เป็นสมาชิกของภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เป็นชนิดประธาน กรรม กร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและภาษาเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

มรสุม

กลุ่มเมฆและฝนที่เกิดจากมรสุม ภาพแสดงกลุ่มเมฆมรสุม มรสุม เป็นการหมุนเวียนส่วนหนึ่งของลมที่พัดตามฤดูกาล คือ ลมประจำฤดู เป็นลมแน่ทิศและสม่ำเสมอ สาเหตุใหญ่ ๆ เกิดจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของพื้นดิน และพื้นน้ำในฤดูหนาวอุณหภูมิของพื้นดินเย็นกว่า อุณหภูมิของน้ำในมหาสมุทร อากาศเหนือพื้นน้ำจึงมีอุณหภูมิสูงกว่า และลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบน อากาศเหนือทวีปซึ่งเย็นกว่าไหลไปแทนที่ ทำให้เกิดเป็นลมพัดออกจากทวีป พอถึงฤดูร้อนอุณหภูมิของดินภาคพื้นทวีปร้อนกว่าน้ำในมหาสมุทร เป็นเหตุให้เกิดลมพัดในทิศทางตรงข้าม ลมมรสุมที่มีกำลังแรงจัดที่สุดได้แก่ ลมมรสุมที่เกิดในบริเวณภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย การเปลี่ยนแปลงฤดูกาลในชั้นบรรยากาศ และวัฎจักรของฝน เนื่องจากความไม่เท่ากันของการรับและคายความร้อนของพื้นดินและน้ำ โดยทั่วไปแล้วเป็นคำที่ใช้บรรยายช่วงฤดูกาลเปลี่ยนแปลงที่มีฝนตก ในระดับโลกสามารถที่จะจำแนกมรสุมได้เป็น มรสุมแอฟริกันตะวันตก และ มรสุมเอเชียออสเตรเลีย คำว่า “มรสุม” ถูกใช้เป็นครั้งแรกในภาษาอังกฤษ ในอินเดียของบริเตน (ปัจจุบันคือ อินเดีย บังกลาเทศ และ ปากีสถาน) เพื่อสื่อถึงลมประจำฤดูกาลที่พัดจากอ่าวเบงกอล และทะเลอาหรับนำพาฝนคะนองเข้าไปสู่บริเวณอินเดียของบริเตน คำว่า "มรสุม" หรือ monsoon ในภาษาอังกฤษ มาจากคำว่า موسم ในภาษาอารบิก แปลว่า ฤดูกาล.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและมรสุม · ดูเพิ่มเติม »

มหกรรมกีฬา

กรีซ ซึ่งถือว่าเป็นการแข่งขันมหกรรมกีฬาครั้งแรก มหกรรมกีฬา เป็นการแข่งขันระหว่างประเทศหรือรัฐที่มีกีฬาหลากหลายชนิดและมักจะจัดขึ้นในช่วงหลายวัน โดยกีฬาโอลิมปิกจัดเป็นการแข่งขันมหกรรมกีฬาครั้งแรกในโลก ในปัจจุบันมีหลากหลายภูมิภาคได้นำรูปแบบกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่มาใช้ในการแข่งขันของตนเอง โดยในแต่ละครั้งจะมี"เจ้าภาพ" โดยประเทศต่างๆได้ส่งนักกีฬาเข้าแข่งขัน รางวัลในการแข่งขันจะเป็นเหรียญทอง เหรียญเงินและเหรียญทองแดง ส่วนใหญ่มหกรรมกีฬาจะจัดขึ้นทุก 2 และ 4.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและมหกรรมกีฬา · ดูเพิ่มเติม »

มหภาษา

มาตรฐานสากล ISO 639-3 สำหรับกำหนดรหัสภาษา ได้มีการกำหนดรหัสส่วนหนึ่งเป็นประเภท มหภาษา (macrolanguage) ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มของภาษาเอกเทศอื่นภายในมาตรฐาน มหภาษานี้ครอบคลุมกรณีก้ำกึ่งระหว่างภาษาสองภาษาที่ต่างกันซึ่งอาจพิจารณาได้ว่า ภาษาหนึ่งเป็นภาษาถิ่นของอีกภาษาหนึ่ง หรือเป็นภาษาเดียวกัน หรือเป็นภาษาที่เกี่ยวข้องใกล้ชิดกันมาก นอกจากนี้ยังใช้เมื่อมีภาษาหลายภาษาที่บางครั้งนับว่าเป็นภาษาเดียวกัน แต่บางครั้งนับว่าต่างกันสำหรับเหตุผลทางด้านชาติพันธุ์หรือการเมืองเป็นต้น มากกว่าเหตุผลทางภาษาศาสตร์ มีรหัสภาษาจำนวน 56 รหัสในมาตรฐาน ISO 639-2 ที่ถือว่าเป็นมหภาษาในมาตรฐาน ISO 639-3 ประเภทมหภาษาเริ่มนำมาใช้ในเอทโนล็อก (Ethnologue) ตั้งแต่การพิมพ์ครั้งที่ 16 อย่างไรก็ตาม มหภาษาบางรหัสก็ไม่มีภาษาเอกเทศใดรวมอยู่เลยใน ISO 639-2 (ตามที่กำหนดโดย 639-3) ตัวอย่างเช่น ara (ภาษาอาหรับ) แต่ 639-3 ได้จำแนกภาษาแปรผันที่ต่างกันของภาษาอาหรับเป็นภาษาแยกในสถานการณ์เช่นนี้ ส่วนมหภาษาอื่นเช่น nor (ภาษานอร์เวย์) ก็มีภาษาสองภาษารวมอยู่ได้แก่ nno (ภาษานือนอสก์) และ nob (ภาษาบุ๊กมอล) ซึ่งได้กำหนดไว้แล้วใน 639-2 ทั้งหมดนี้หมายความว่า บางภาษาที่ได้พิจารณาว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาอื่นใน 639-2 จะนำไปใช้กับ 639-3 ในบริบทเฉพาะที่ได้พิจารณาว่าเป็นภาษาเอกเทศนั้นเอง สิ่งนี้เป็นความพยายามที่จะต่อกรกับภาษาแปรผันซึ่งอาจแบ่งแยกออกไปได้ในทางภาษาศาสตร์ แต่ผู้พูดภาษาเหล่านั้นปฏิบัติต่อภาษาประหนึ่งว่าเป็นเพียงภาษาเดียวกันในรูปแบบต่าง ๆ ISO 639-2 ก็มีรหัสสำหรับการรวมกลุ่มของหลาย ๆ ภาษา แต่ไม่เหมือนมหภาษา การรวมกลุ่มภาษาเหล่านี้ถูกตัดออกใน ISO 639-3 เพราะมันไม่ได้อ้างถึงภาษาเอกเทศใด ๆ รหัสเช่นนั้นส่วนมากได้กำหนดไว้ใน ISO 639-5 แทน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและมหภาษา · ดูเพิ่มเติม »

มะลิ

มะลิ เป็นไม้พุ่มหรือไม้เถาในวงศ์มะลิ มีประมาณ 200 ชนิด มีถิ่นกำเนิดในพื้นที่เขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในแถบทวีปยุโรป เอเชีย และแอฟริกา ลักษณะดอกและกลิ่นมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละชนิดหรือพัน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและมะลิ · ดูเพิ่มเติม »

มะขาม

วามหมายอื่น ดูที่ อำเภอมะขาม มะขาม เป็นไม้ มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกาแถบประเทศซูดาน ต่อมามีการนำเข้ามาในประเทศแถบเขตร้อนของเอเชียและประเทศแถบลาตินอเมริกา และในปัจจุบันมีมากในเม็กซิโก ชื่อมะขามในภาคต่าง ๆ เรียก มะขามไทย ภาคกลาง ขาม ภาคใต้ ตะลูบ โคราช ม่วงโคล้ง (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) อำเปียล เขมร จังหวัดสุรินทร์ ในภาษาอังกฤษใช้คำว่า tamarind ซึ่งมาจากภาษาอาหรับ:تمر هندي (tamr hindī) แปลว่า Indian date มะขามเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานและดอกไม้ประจำจังหวัดเพชรบูรณ์ มะขามในไทยมีสองชนิดคือมะขามเปรี้ยวและมะขามหวาน โดยมะขามหวานมีหลายพันธุ์เช่น พันธุ์น้ำผึ้ง อินทผลัม หมื่นจง สีทอง ในบางครั้งจะเรียกมะขามตามลักษณะของฝัก เช่น มะขามขี้แมว คือมะขามฝักกลม มะขามกระดาน คือมะขามฝักแบน มะขามข้อเดียวคือมะขามที่ฝักมีข้อเดียวออกกลมป้อม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและมะขาม · ดูเพิ่มเติม »

มัสกัต

มัสกัต (อาราบิก: مسقط) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศโอมาน มีประชากรอยู่ในเขตเมืองมัสกัด 1,090,797 คน เขตเมืองหลวงมีพื้นที่ครอบคลุมราว 1500 ตร.กม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและมัสกัต · ดูเพิ่มเติม »

มัสยิด

มืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น มัสยิด (مسجد มัสญิด) หรือ สุเหร่า (Surau) เป็นศาสนสถานของชาวมุสลิม คำว่า มัสญิด เป็นคำภาษาอาหรับแปลว่า สถานที่กราบ ชาวมุสลิมในแต่ละชุมชนจะสร้างมัสยิดขึ้นเพื่อเป็นสถานที่ปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา อันได้แก่การนมาซ และการวิงวอน การปลีกตนเพื่อบำเพ็ญตบะ หาความสันโดษ (อิอฺติกาฟ และ คอลวะหฺ) นอกจากนี้มัสยิดยังเป็นโรงเรียนสอนอัลกุรอาน และศาสนา สถานที่ชุมนุมพบปะ ประชุม เฉลิมฉลอง ทำบุญเลี้ยง สถานที่ทำพิธีสมรส และสถานที่พักพิงของผู้สัญจรผู้ไร้ที่พำนัก โดยที่จะต้องรักษามารยาทของมัสยิด เช่นการไม่คละเคล้าระหว่างเพศชายและหญิง การกระทำที่ขัดกับบทบัญญัติห้ามของอิสลาม (ฮะรอม) ทั้งมวล.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและมัสยิด · ดูเพิ่มเติม »

มัสยิดยามิอา นครหลวงเวียงจันทน์

มัสยิดยามิอา นครหลวงเวียงจันทน์ (ຢາມິອາ ມັສຢິດ ນະຄອນຫຼວງວຽງຈັນ) เป็นมัสยิดกลางของนครหลวงเวียงจันทน์ ประเทศลาว ถือเป็นมัสยิดหนึ่งในสองแห่งที่ตั้งอยู่ในเมืองหลวง สร้างขึ้นใน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและมัสยิดยามิอา นครหลวงเวียงจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

มารวน แฟลายนี

มารวน แฟลายนี-บากียูย (Marouane Fellaini-Bakkioui) เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและมารวน แฟลายนี · ดูเพิ่มเติม »

มาเฮอร์ เซน

มาเฮอร์ เซน (ماهر زين‎; เกิดเมื่อ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1981) เป็นนักร้องชาวสวีเดนแนวอาร์แอนด์บี, นักแต่งเพลง และนักดนตรีที่มาจากเลบานอน เขาได้มีอัลบั้มชื่อว่า แทงกิ้วอัลลอฮ์ จากค่ายอเวคเคนนิงเรคอร์ดสในปี 2009 และ ฟอร์กีฟมี เมื่อเมษายน ปี 2012 จากสังกัดเดียวกัน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและมาเฮอร์ เซน · ดูเพิ่มเติม »

มุมทิศ

มุมทิศ (สีน้ำเงิน) ที่ได้จากผู้สังเกต และดาวเหนือศีรษะ มุมทิศ ภาคทิศ หรือ แอซิมัท (azimuth) เป็นการวัดมุมในพิกัดทรงกลม เวกเตอร์จากผู้สังเกต (จุดกำเนิด) ไปยังจุดที่สนใจจะถูกฉายโดยตรง (ตั้งฉาก) ลงบนระนาบอ้างอิง มุมระหว่างเวกเตอร์จากการฉายและเวกเตอร์อ้างอิงบนระนาบอ้างอิงเรียกว่ามุมทิศ ตัวอย่างของมุมทิศคือการวัดตำแหน่งของดวงดาวบนท้องฟ้า ดาวเป็นจุดที่สนใจ ระนาบอ้างอิงคือขอบฟ้าหรือผิวน้ำ และอ้างอิงเวกเตอร์จากจุดทางทิศเหนือ มุมทิศคือมุมระหว่างจุดทิศเหนือและการฉายตั้งตรงของดาวลงสู่ขอบฟ้า โดยทั่วไปมุมทิศมีหน่วยเป็นองศา (°) แนวคิดของมุมทิศนำไปประยุกต์ใช้ได้หลากหลาย ทั้งในการเดินเรือ, การวัดตำแหน่งดาว, การทำแผนที่, การทำเหมือง และ การใช้ปืนใหญ่ คำว่า azimuth กลายมาจาก คำในภาษาอาหรับ: السمت as-simt แปลว่า ทิศทาง ซึ่งหมายถึงเส้นทางหรือทิศทางของบุคคลที่หันหน้าออกไป.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและมุมทิศ · ดูเพิ่มเติม »

มุสลิม

มุสลิม ผู้นับถือศาสนาอิสลาม หากเป็นบุรุษจะเรียกว่า มุสลิม หรือเป็นสตรีจะเรียกว่า มุสลิมะฮ์ หรือเรียกโดยรวมว่า อิสลามิกชน คำว่า "มุสลิม" เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอาหรับ مسلم แปลว่า ผู้ศิโรราบ ผู้ภักดี มนุษย์ทุกคนสามารถเป็นมุสลิมได้โดยการปฏิญาณตน มุสลิมนั้นไม่จำกัดเผ่าพันธุ์ อายุ เพศ และวรรณะ ผู้ที่เป็นมุสลิมจะต้องปฏิบัติตามศาสนวินัยต่าง ๆ ของอิสลาม (ทั้งวาญิบ และฮะรอม) ผู้ที่เป็นมุสลิมต้องปฏิบัติตามหลักศาสนกิจ 5 ประการดังนี้ คือ การกล่าวคำปฏิญานตนเข้ารับอิสลาม, การละหมาด 5 เวลาในแต่ละวัน, การถือศีลอดในเดือนรอมดอน, การบริจาคทาน (ซะกาต), และการทำฮัจญ์ ผู้ที่เป็นมุสลิมมีหลักความเชื่อหลัก 6 ประการ นั่นคือ เชื่อในพระเจ้าองค์เดียว (อัลลอฮ์), เชื่อในบรรดามลาอีกะฮ์, เชื่อในคัมภีร์ที่ถูกประทานมาจากพระเจ้า, เชื่อในบรรดาศาสนทูตต่างๆ, เชื่อในวันสิ้นโลก (วันกียามะฮ์), และเชื่อในกฎแห่งความดีความชั่ว (กอดอและกอดัร).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและมุสลิม · ดูเพิ่มเติม »

มุสตาฟาร์

วมุสตาฟาร์ มุสตาฟาร์ (Mustafar) เป็นดาวเคราะห์ภูเขาไฟจากเรื่องแต่งชุด สตาร์ วอร์ส อยู่ขอบนอกของกาแล็กซีอยู่ในความควบคุมของฝ่ายแบ่งแยก ใช้เป็นแหล่งพลังงานธรรมชาติและแร่ธาตุ มีหลุมหลบภัยที่ผู้นำหัวหน้าผู้สนับสนุนฝ่ายแบ่งแยกไปซ่อนตัวอยู่ ในตอนสุดท้ายดาร์ธ ซิเดียส ส่ง ดาร์ธ เวเดอร์ ศิษย์คนใหม่ของเขาไปกำจัดผู้นำฝ่ายแบ่งแยกสั่งหยุดการทำงานของกองทัพหุ่นยนต์ อันเป็นการยุติสงครามโคลนโดยสิ้นเชิง มุสตาฟาร์ และเป็นสถานที่ต่อสู้กันระหว่าง โอบี-วัน เคโนบี อัศวินเจได กับดาร์ธ เวเดอร์ ซิธลอร์ด อดีตศิษย์ของเขา มุสตาฟาร์เป็นดาวที่มีอายุน้อยมากและไม่แน่นอน มันถูกฉีกดึงด้วยแรงดึงดูดมหาศาลของดาวแก๊สยักษ์อย่างเจสทีแฟดและเลฟรานิเนื่องมาจากเมื่อก่อนนั้นมุสตาฟาร์อยู่ใกล้กับดาวทั้งสอง ชาวมุสตาฟาร์เรียนร่วมมือกับฝ่ายแบ่งแยกดินแดนโดยผู้นำชื่อ ดาร์ราคี ผู้นำมุสตาฟาร์ ชาวมุสตาฟาร์เรียนได้ทำงานให้กับการทำเหมืองที่ถูกสร้างขึ้นโดยฝ่ายแบ่งแยกดินแดน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและมุสตาฟาร์ · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด อับดุฮ์

มุฮัมหมัด อับดุฮ์ มุฮัมมัด อับดุฮ์ (Mohammed Abduh, محمد عبده) เป็นนักอิสลามนิยมชาวอียิปต์ เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและมุฮัมมัด อับดุฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์

อัลคอวาริซมีย์ บนแสตมป์ของสหภาพโซเวียต ในโอกาสระลึกถึงชาตกาลครบรอบ 1,200 ปี อะบู อับดัลลาหฺ มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์ (Abū ʿAbdallāh Muḥammad ibn Mūsā al-Khwārizmī) (ค.ศ. 780-ค.ศ. 850) เป็นนักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักโหราศาสตร์ นักภูมิศาสตร์ อีกทั้งยังเป็นนักเขียน และนักแปล.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและมุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์ · ดูเพิ่มเติม »

มีนูตามอลชานียา

ียงรายการ ''มีนูตามอลชานียา'' ทางวิทยุในปี 1965 มีนูตามอลชานียา (Минута молчания) เป็นรายการวิทยุและโทรทัศน์ของสหภาพโซเวียต ออกอากาศเวลา 18 นาฬิกา ทุกวันที่ 9 พฤษภาคมของทุกปี ซึ่งเป็นวันแห่งชัยชนะของสหภาพโซเวียตในมหาสงครามของผู้รักชาติ โดยออกอากาศครั้งแรกทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งสหภาพโซเวียต ในปี 1965 ซื่งเป็นปีครบรอบ 20 ปีในชัยชนะเหนือฟาสซิสต์เยอรมนีในมหาสงครามของผู้รักชาติ รายการนี้ยังเป็นที่รู้จักในชื่อ The Minute of Silence โดยเล่าเรืองร่าวเกี่ยวกับการต่อสู้ของทหารโซเวียตต่อทหารเยอรมนีนาซีผู้รุกรานสหภาพโซเวียต หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ช่องหนึ่งรัสเซีย และสถานีวิทยุและโทรทัศน์ทุกช่อง (รวมถึง ช่องรัสเซีย-1) ได้รวมกันออกอากาศรายการด้วยกัน ส่วนช่องรัสเซียทูเดย์ จะออกอากาศทั้ง ภาษาอังกฤษ, ภาษาสเปน และ ภาษาอารบิก สำหรับผู้ชมทั่วโลกตั้งแต่ปี 2002 โดยจะเรื่มออกอากาศในเวลา 18 นาฬิกา 55 นาที แต่รายการจะเริ่มต้นก่อนในเวลา 18 นาฬิกา 45 นาที ในช่วงเย็น.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและมีนูตามอลชานียา · ดูเพิ่มเติม »

มดยอบ

มดยอบ พืชที่ให้มดยอบ (''Commiphora myrrha'') มดยอบ เป็นยางไม้ที่ได้จากพืชในสกุล Commiphora ส่วนใหญ่จะเป็นชนิด Commiphora myrrha ซึ่งเป็นพืชมีหนาม สูงประมาณ 4 เมตร ขึ้นตามพื้นที่ที่มีหินปูน เป็นพืชท้องถิ่นในแถบคาบสมุทรอาหรับและแอฟริกา เมื่อลำต้นของพืชชนิดนี้มีรอยแตกหรือถูกกรีด พืชจะสร้างยางไม้ซึ่งเมื่อแห้งจะมีลักษณะแข็ง มีสีเหลืองไปจนถึงน้ำตาล มนุษย์รู้จักใช้มดยอบเป็นยาและเครื่องหอมมานานนับพันปีแล้ว ดังที่มีตัวอย่างในการนมัสการของโหราจารย์ เมื่อโหราจารย์ทั้งสามเดินทางมาสักการะพระเยซู และมอบของสามสิ่งคือ ทองคำ, กำยาน และมดยอ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและมดยอบ · ดูเพิ่มเติม »

ยศทหารอียิปต์-ตุรกี

ทหารอียิปต์-ตุรกี ประกาศใช้ในสมัยราชอาณาจักรอียิปต์ ตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและยศทหารอียิปต์-ตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ยอก โซธอท

อก โซธอท (Yog-Sothoth) เป็นหนึ่งในเอาเตอร์ก็อดในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลูของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ โดยชื่อของยอก โซธอทถูกกล่าวถึงครั้งแรกในนิยายเรื่อง The Case of Charles Dexter Ward (ประพันธ์ในปีพ.ศ. 2470 ได้รับการตีพิมพ์ในปีพ.ศ. 2484).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและยอก โซธอท · ดูเพิ่มเติม »

ยาบะนีย์อัสซะฮะรา

"Yā Banīy As-Saharā'" (يا بني الصحراء, "โอ บุตรแห่งซาฮารา") เป็นชื่อของเพลงชาติเวสเทิร์นสะฮาราอย่างเป็นทางการ เริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2522.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและยาบะนีย์อัสซะฮะรา · ดูเพิ่มเติม »

ยิบรอลตาร์

รอลตาร์ (Gibraltar) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ใกล้กับจุดใต้สุดของคาบสมุทรไอบีเรีย ในบริเวณช่องแคบยิบรอลตาร์ มีเนื้อที่โดยรวมประมาณ 6.5 ตารางกิโลเมตร ทางทิศเหนือมีพรมแดนติดต่อกับประเทศสเปน และมีประชากรประมาณ 32,000 คน สถานที่ที่มีชื่อเสียงของยิบรอลตาร์คือ โขดหินยิบรอลตาร์ (Rock of Gibraltar) ซึ่งเป็นสถานที่ที่มีความสำคัญทางธรณีวิทยาแห่งหนึ่งของโลก เดิมทียิบรอลตาร์เคยเป็นดินแดนหนึ่งของราชอาณาจักรสเปน จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและยิบรอลตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยีราฟ (สกุล)

thumb ยีราฟ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Giraffa) เป็นสกุลหนึ่งของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Giraffidae เป็นสัตว์เคี้ยวเอื้อง มีลักษณะเด่น คือ เป็นสัตว์ที่ตัวสูง ขายาว ลำคอยาว มีเขา 1 คู่ ตัวมีสีเหลืองและสีน้ำตาลเข้มเป็นลาย มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา ตัวผู้มีความสูง 4.8 ถึง 5.5 เมตร (16-18 ฟุต) และมีน้ำหนักถึง 900 กิโลกรัม (2,000 ปอนด์) ตัวเมียมีขนาดและความสูงน้อยกว่าเล็กน้อย จัดเป็นสัตว์บกที่มีความสูงที่สุดในโลก ยีราฟ มีเขาทั้งตัวผู้และตัวเมีย ไม่ผลัดเขา ที่เขามีขนปกคลุมอยู่ เขาของยีราฟเป็นสิ่งแสดงถึงความแตกต่างระหว่างเพศ เขาของยีราฟตัวผู้ด้านบนมีลักษณะตัดราบเรียบและมีความใหญ่อวบกว่า ขณะที่ของตัวเมียจะมีขนสีดำปกคลุมเห็นเป็นพุ่มชัดเจน มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมเป็นฝูงราว 15-20 ตัว หรือมากกว่านั้น ในทุ่งโล่งร่วมกับสัตว์กินพืชชนิดอื่น ๆ เช่น แอนทิโลป, ม้าลาย หรือนกกระจอกเทศ เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 3 ปีครึ่ง ตั้งท้องนาน 420-461 วัน ลูกยีราฟหย่านมเมื่ออายุได้ 10 เดือน เมื่อคลอดออกมาแล้วจะสามารถยืนและเดินได้ภายในเวลาไม่นานเหมือนสัตว์กีบคู่ทั่วไป และวิ่งได้ภายในเวลา 2-3 วัน ตัวเมียมีเต้านมทั้งหมด 4 เต้า ยีราฟจะเป็นสัดทุก ๆ 14 วัน แต่ละครั้งเป็นอยู่ราว 24 ชั่วโมง มีอายุขัยเฉลี่ย 20-30 ปี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและยีราฟ (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ย้อด

ย้อด (Yod อาจสะกดเป็น Yud หรือ Yodh) เป็นอักษรตัวที่สิบของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ เช่น อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู י‎, อักษรซีเรียค และอักษรอาหรับ ﻱ‎ (ยาอ์) แทนด้วยสัทอักษร อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก (Ι), อักษรละติน I, อักษรซีริลลิกสำหรับภาษายูเครนและภาษาเบลารุส І, (Ⲓ) และอักษรกอทิก eis (̹) เชื่อว่ามาจากอักษรภาพรูปมือ (จากภาษาอาหรับและภาษาฮีบรูสมัยใหม่, yad) หรืออาจจะมาจากอักษรไฮโรกลิฟรูปแขน หมวดหมู่:อักษรอาหรับ fa:ی ja:ي.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและย้อด · ดูเพิ่มเติม »

รหัสมรณะ

รหัสมรณะ ชื่อภาษาไทยของนวนิยายภาษาอังกฤษเรื่อง The Key to Rebecca เขียนโดย เคน ฟอลเลตต์ นักเขียนชาวอังกฤษ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรหัสมรณะ · ดูเพิ่มเติม »

รอยัลจอร์แดเนียน

รอยัล จอร์แดเนียน (อาหรับ: الملكية الأردنية) เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศจอร์แดน มีศูนย์กลางการบินอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติสมเด็จพระราชินีอาเลีย และรอยัล จอร์แดเนียนยังเป็นสมาชิกชองอาหรับแอร์ แคริเออร์ ออร์แกไนเซชั่น และพันธมิตรสายการบินวันเวิล.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรอยัลจอร์แดเนียน · ดูเพิ่มเติม »

รับบี

ราไบโมเช ไฟน์สไตน์ผู้นำคนสำคัญของศาสนายูดาห์ออร์ทอดอกซ์ของครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 รับบี (רב รับบี; Rabbi, แรบาย) เป็นภาษาฮิบรูแปลว่า “อาจารย์” เป็นคำที่ใช้ในศาสนายูดาห์ที่หมายถึงผู้สอนศาสนา คำว่า “rabbi” มีรากมาจากภาษาฮิบรูว่า “רַב” หรือ “rav” ที่ในคัมภีร์ฮีบรูหมายความว่า “ยิ่งใหญ่” หรือ “เป็นที่เคารพ” คำนี้มีรากมาจากรากภาษากลุ่มเซมิติก R-B-B เทียบเท่ากับภาษาอาหรับ “ربّ” หรือ “rabb” ที่แปลว่า “lord” (ที่โดยทั่วไปเป็นการเอ่ยถึงพระเจ้าทางโลกด้วย เพื่อเป็นการแสดงความนับถือบางครั้งรับบีผู้มีชื่อเสียงก็จะเรียกกันว่า “The Rav.” รับบีไม่ใช่งานอาชีพตามคัมภีร์โทราห์ ฉะนั้นจึงไม่มีการใช้ตำแหน่งที่เกี่ยวข้องเช่น “Rabban” “Ribbi” หรือ “Rab” เพื่อกล่าวถึงนักปราชญ์ในบาบิโลเนียหรือในอิสราเอล แม้แต่ศาสดาผู้มีความสำคัญในพระคัมภีร์ก็ยังไม่เรียกว่ารับบี แต่เรียกว่า “ฮักไก” ตำแหน่ง “รับบัน” หรือ “รับบี” เริ่มใช้กันเป็นครั้งแรกในคัมภีร์ฮีบรูในมิชนาห์ (ราว 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช) คำนี้ใช้เป็นครั้งแรกสำหรับรับบันกามาลิเอลผู้อาวุโส (Rabban Gamaliel the elder), ราบันซิเมอันลูกชาย และโยฮานัน เบน ซัคไค ซึ่งต่างก็เป็นประธานสภาซันเฮดริน คำนี้ในภาษากรีกพบในพระวรสารนักบุญมัทธิว พระวรสารนักบุญมาระโก และพระวรสารนักบุญยอห์นในพันธสัญญาใหม่เมื่อกล่าวถึงพระเยซู. การพัฒนาความคิดเกี่ยวกับรับบีเริ่มขึ้นในสมัยฟาริสีและทาลมุด เมื่อปรจารย์มาประชุมกันเพื่อร่างกฎเกี่ยวกับศาสนายูดาห์ทั้งทางภาษาเขียนและภาษาพูด ในคริสต์ศตวรรษที่ผ่านมา หน้าที่ของรับบีก็ยิ่งเพิ่มความมีอิทธิพลมากขึ้น ที่ทำให้เกิดคำใหม่ๆ เช่น “รับบีแท่นเทศน์” (pulpit rabbi) และในคริสต์ศตวรรษที่ 19 หน้าที่ของราไบก็รวมการเทศนา, การให้คำปรึกษา และ การเป็นผู้แทนชองประชาคมในโลกภายนอกก็เพิ่มความสำคัญขึ้นเป็นลำดับ ในนิกายต่างๆ ของศาสนายูดาห์ ข้อกำหนดเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ในการแต่งตั้งรับบีก็แตกต่างกันออกไป หรือกฎที่ใครควรจะเรียกว่าเป็นรับบี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรับบี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลกลางโซมาเลีย

รัฐบาลกลางโซมาเลีย (Dowladda Federaalka Soomaaliya, حكومة الصومال الاتحادية) เป็นรัฐบาลโซมาเลียที่นานาชาติรับรอง ก่อตั้งเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรัฐบาลกลางโซมาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลกลางเปลี่ยนผ่าน

รัฐบาลกลางเปลี่ยนผ่าน (TFG) (Dowladda Federaalka Kumeelgaarka, الحكومة الاتحادية الانتقالية) เป็นรัฐบาลของประเทศโซมาเลียที่นานาชาติรับรอง จนถึงวันที่ 20 สิงหาคม..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรัฐบาลกลางเปลี่ยนผ่าน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลเปลี่ยนผ่านแห่งชาติ

รัฐบาลเปลี่ยนผ่านแห่งชาติ เป็นรัฐบาลกลางของประเทศโซมาเลียที่นานาประเทศรับรองตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรัฐบาลเปลี่ยนผ่านแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐยะโฮร์

ร์ (Johor, อักษรยาวี: جوهور) เป็นรัฐหนึ่งของประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ระหว่างละติจูด 1°20" เหนือ และ 2°35" เหนือ เมืองหลวงของรัฐตั้งอยู่ที่เมืองโจโฮร์บะฮ์รู (Johor Bahru) ซึ่งเมื่อก่อนนี้ชื่อเมืองตันจุงปูเตอรี (Tanjung Puteri) เมืองหลวงเก่าคือเมืองยะโฮร์ลามา (Johor Lama) คำเฉลิมเมืองที่เป็นภาษาอาหรับคือ ดารุลตาอาซิม (Darul Ta'azim) ซึ่งแปลว่า ที่สถิตแห่งเกียรติยศ รัฐนี้เป็นส่วนหนึ่งในโครงการ SIJORI เพื่อเชื่อมโยงระบบสายส่งไฟฟ้าระหว่างอินโดนีเซีย มาเลเซีย และสิงคโปร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรัฐยะโฮร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลาม

รัฐสมาชิกขององค์การฯ แสดงด้วยสีเขียว รัฐสังเกตการณ์แสดงด้วยสีแดง และรัฐที่ถูกคัดค้านแสดงด้วยสีน้ำเงิน องค์การความร่วมมืออิสลามที่ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสุลต่านรูม

รัฐสุลต่านรูม (Sultanate of Rûm, سلاجقة الروم) เป็นรัฐสุลต่านเซลจุคตุรกี ที่ปกครองอาณาบริเวณส่วนใหญ่ของอานาโตเลียระหว่างปี ค.ศ. 1077 จนถึงปี ค.ศ. 1307 โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่อิซนิคและต่อมาคอนยา เนื่องจากอาณาจักรสุลต่านเป็นอาณาจักรที่มีการเคลื่อนย้ายอยู่เสมอฉะนั้นเมืองอื่นเช่นเคย์เซรีและซิวาสต่างก็ได้เป็นเมืองหลวงอยู่ระยะหนึ่ง ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดอาณาจักรสุลต่านแห่งรัมมีอาณาบริเวณครอบคลุมกลางตุรกีตั้งแต่เมืองท่าอันทาลยา-อลันยาบนฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปจนถึงไซนอพบนฝั่งทะเลดำ ทางตะวันออกอาณาจักรสุลต่านก็ผนวกรัฐต่างๆ ของตุรกีไปจนถึงทะเลสาบวาน ทางด้านตะวันตกสุดก็มีอาณาบริเวณไปจรดบริเวณเดนิซลิและบริเวณทะเลอีเจียน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรัฐสุลต่านรูม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสุลต่านอาเจะฮ์

รัฐสุลต่านอาเจะฮ์ (Sultanate of Aceh) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรอาเจะฮ์ดารุซซาลัม (Kingdom of Aceh Darussalam, ภาษาอาเจะฮ์: Keurajeuën Acèh Darussalam; อักษรยาวี: كاورجاون اچيه دارالسلام) เป็นรัฐที่มีสุลต่านเป็นผู้ปกครองอยู่ในบริเวณที่ปัจจุบันคือจังหวัดอาเจะฮ์ ประเทศอินโดนีเซีย ครองอำนาจในราวพุทธศตวรรษที่ 21 – 22 ก่อนจะเสื่อมอำนาจลง เมืองหลวงตั้งอยู่ที่กูตาราจา ปัจจุบันคือบันดาอาเจะฮ์ ในช่วงที่มีอำนาจ อาเจะฮ์พยายามเข้ายึดครองรัฐสุลต่านยะโฮร์ และมะละกาที่อยู่ภายใต้การปกครองของโปรตุเกส พยายามเข้าควบคุมช่องแคบมะละกา และพื้นที่ที่มีพริกไทยและดีบุกมาก อาเจะฮ์เป็นศูนย์กลางของนักปราชญ์อิสลามและการค้.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรัฐสุลต่านอาเจะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสุลต่านซูลู

รัฐสุลต่านซูลู หรือ รัฐสุลต่านซูลูดารุลอิสลาม (ยาวี: سلطنة سولو دار الإسلام) เป็นรัฐสุลต่านในประวัติศาสตร์ มีพื้นที่ครอบคลุมหมู่เกาะในทะเลซูลูทางตอนใต้ของประเทศฟิลิปปินส์ในปัจจุบัน รัฐสุลต่านซูลูก่อตั้งขึ้นในปีค.ศ. 1450 แต่นักประวัติศาสตร์มุสลิมหลายคนเชื่อว่าก่อตั้งก่อนหน้านั้น ในช่วงที่รัฐขยายอาณาเขตได้กว้างไกลที่สุด ได้มีอาณาเขตทางตะวันออกไปถึงคาบสมุทรทางตะวันตกของเกาะมินดาเนา ทางตะวันตกและทางใต้กินพื้นที่ไปถึงรัฐซาบะฮ์ในปัจจุบัน และทางเหนือมีพื้นที่ไปถึงเกาะปาลาวัน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรัฐสุลต่านซูลู · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสุลต่านนัจญด์

รัฐสุลต่านนัจญด์ (Sultanate of Nejd; سلطنة نجد) เป็นรัฐที่เกิดจากการรวมตัวของเอมิเรตนัจญด์และฮะซาอ์ ที่ปกครองโดยสุลต่านอิบน์ ซะอูด กับเอมิเรตญะบัลชัมมัร ต่อมาในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรัฐสุลต่านนัจญด์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐทรูเชียล

รัฐทรูเชียล (Trucial States; إمارات الساحل المتصالح) เป็นกลุ่มรัฐเชคทางตะวันออกเฉียงใต้ของอ่าวเปอร์เซีย ภายหลังรัฐเหล่านี้ได้ร่วมลงนามสงบศึกกับรัฐบาลบริเตน จึงถูกเรียกว่ารัฐทรูเชียลหรือรัฐสงบศึก และเข้าเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรัฐทรูเชียล · ดูเพิ่มเติม »

รัฐปาเลสไตน์

แผนการแบ่งดินแดนของสหประชาชาติ รัฐปาเลสไตน์ (دولة فلسطين‎ Dawlat Filasṭin) เป็นรัฐที่ประกาศเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 1988 โดยสภาแห่งชาติขององค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ที่พลัดถิ่นในกรุงแอลเจียร์ ซึ่งเห็นชอบคำประกาศอิสรภาพปาเลสไตน์ฝ่ายเดียว รัฐปาเลสไตน์อ้างสิทธิ์เหนือดินแดนปาเลสไตน์ ซึ่งนิยามตามพรมแดนเมื่อปี 1967: "I would like to inform you that, before delivering this statement, I, in my capacity as President of the State of Palestine and Chairman of the Executive Committee of the Palestine Liberation Organization, submitted to H.E. Ban Ki-moon, Secretary-General of the United Nations, an application for the admission of Palestine on the basis of the 4 June 1967 borders, with Al-Kuds Al-Sharif as its capital, as a full member of the United Nations." และกำหนดเยรูซาเล็มเป็นเมืองหลวง พื้นที่ที่พรรณนาว่าจะประกอบเป็นรัฐปาเลสไตน์นั้นถูกอิสรเอลยึดครองตั้งแต่ปี 1967 การประชุดสุดยอดสันนิบาตอาหรับปี 1974 กำหนดให้องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์เป็น "ผู้แทนชาวปาเลสไตน์โดยชอบด้วยกฎหมายแต่ผู้เดียว" และยืนยันอีกครั้งถึง "สิทธิของพวกเขาในการสถาปนารัฐที่มีเอกราชอย่างเร่งด่วน" องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ได้รับสถานะผู้สังเกตการณ์ในสหประชาชาติเป็น "องค์การมิใช่รัฐ" (non-state entity) ตั้งแต่วันที่ 22 พฤศจิกายน 1974 ซึ่งให้สิทธิพูดในสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติได้ แต่ไม่มีสิทธิออกเสียง หลังคำประกาศอิสรภาพ สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ "รับรอง" คำประกาศดังกล่าวอย่างเป็นทางการ และออกเสียงให้ใช้ชื่อ "ปาเลสไตน์" แทน "องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์" เมื่อเอ่ยถึงผู้สังเกตการณ์ถาวรปาเลสไตน์Hillier, 1998, (via Google Books).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรัฐปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน

รัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน (الخلافة الراشدية, Rashidun Caliphate) เป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์รัฐแรกในสี่รัฐเคาะลีฟะฮ์ ก่อตั้งขึ้นหลังจากการเสียชีวิตของมุฮัมมัดในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์

รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์(الخلافة العباسية: al-Khilāfah al-‘Abbāsīyyah) เป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์ราชวงศ์ที่สามของศาสนาอิสลาม ที่มีเมืองหลวงที่แบกแดดหลังจากที่โค่นราชวงศ์อุมัยยะฮ์ออกจากบริเวณต่าง ๆ ยกเว้นอัล-อันดะลุส (Al-Andalus) รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะห์ก่อตั้งโดยผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากอับบาส อิบน์ อับดุลมุฏฏอลิบ (العباس بن عبد المطلب‎ – Abbas ibn Abd al-Muttalib) ลุงคนเล็กของมุฮัมมัด โดยก่อตั้งขึ้นในฮาร์รานในปี ค.ศ. 750 และย้ายเมืองหลวงจากฮาร์รานไปแบกแดดในปี ค.ศ. 762 รัฐเคาะลีฟะฮ์นี้รุ่งเรืองอยู่ราวสองร้อยปีแต่ก็มาเสื่อมโทรมลงเมื่ออำนาจของตุรกีแข็งแกร่งขึ้น ภายใน 150 ปีทีแผ่ขยายอำนาจไปทั่วเปอร์เชีย รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะห์ก็สูญเสียอำนาจให้แก่จักรวรรดิมองโกล ในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์

รัฐอุมัยยะห์ (بنو أمية‎) เป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งแรกที่ถูกสถาปนาโดยมุอาวียะห์ อิบนุ อบี สุฟยาน (Muahwiya Ibn Abi Sufyan I, ค.ศ. 661 - ค.ศ. 680) หลังจากการถึงแก่อสัญกรรมของอะลีย์ บุตรเขยของมุฮัมหมัด ราชวงศ์นี้แผ่ขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวางในช่วงต้น อีกทั้งราชวงศ์ยังรักษาธรรมเนียมปฏิบัติของศาสนาอิสลามอย่างเคร่งครัด แต่พอถึงปลายยุคเคาะลีฟะฮ์กลับเสวยแต่น้ำจัณฑ์ ล่าสัตว์ ใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือยไม่ปฏิบัติตามหลักศาสนา จึงถูกลูกหลานของน้าของศาสนทูตมุฮัมหมัดโค่นล้มราชวงศ์ลงในสมัยมัรวานที่ 2 ในปี ค.ศ. 750 (พ.ศ. 1293) อุมัยยะห์เป็นหนึ่งในสี่รัฐเคาะลีฟะฮ์ของอิสลามที่ก่อตั้งหลังจากการเสียชีวิตของมุฮัมหมัด ศาสนทูตของศาสนาอิสลามที่ปกครองโดยราชวงศ์อุมัยยะห์ ที่ได้รับชื่อจาก Umayya ibn Abd Shams ผู้เป็นทวดของคอลีฟะฮ์อุมัยยะห์คนแรก แม้ว่าตระกูลอุมัยยะห์เดิมจะมาจากมักกะฮ์ แต่ดามัสกัสเป็นเมืองหลวงของรัฐ หลังจากอุมัยยะห์ถูกโค่นโดยรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะห์ก็ย้ายไปตั้งถิ่นฐานใหม่ที่อัล-อันดะลุส (Al-Andalus) และก่อตั้งเป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบา ภายหลังจากที่ท่านอะลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ เคาะลีฟะฮ์รอชิดีนคนที่ 4 เสียชีวิต ท่านหะสัน อิบนุ อะลี บุตรของท่านอาลีได้รับเลือกตั้งเป็นเคาะลีฟะฮ์คนต่อไป แต่ดำรงตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์ได้ไม่กี่เดือนก็ยอมสละตำแหน่งให้แก่ท่านมุอาวียะฮ์ อิบนุ อบี สุฟยาน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเป็นเอกภาพในรัฐอิสลาม พร้อมกับหลีกเลี่ยงความแตกแยกและการสูญเสียเลือดระหว่างชาวมุสลิมด้วยกันมากกว่านี้ มุอาวิยะฮ์เป็นเคาะลีฟะฮ์ท่านแรกในราชวงศ์อุมัยยะฮ์ ท่านสืบเชื้อสายจากตระกูลอุมัยยะห์ บุตรของอับดุซซัม ซึ่งเป็นที่มาของคำว่า "ราชวงศ์อุมัยยะฮ์" ในสมัยการปกครองของราชวงศ์อุมัยยะฮ์ ท่านมุอาวียะฮ์ได้เปลี่ยนรูปแบบการปกครองจากสาธารณรัฐเป็นราชอาณาจักร ท่านทำให้ตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์กลายเป็นตำแหน่งกษัตริย์โดยการสืบสันติวงศ์ ท่านได้ทรงแต่งตั้งยะซิด โอรสของท่านให้เป็นกษัตริย์ ต่อมาการแต่งตั้งแบบนี้ได้กลายเป็นตัวอย่างการแต่งตั้งเคาะลีฟะฮ์มาตลอดราชวงศ์อุมัยยะฮ์ ทั้งรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์และอื่น ๆ อีกด้วย ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าท่านเป็นผู้สร้างตำแหน่งกษัตริย์โดยการสืบสันติวงศ์ขึ้นในประวัติศาสตร์ของศาสนาอิสลาม การปกครองแบบประชาธิปไตยระหว่างเผ่าของเคาะลีฟะฮ์ท่านก่อน ๆ ก็หมดสิ้นไป กลายเป็นการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบา

รัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบา (خلافة قرطبة, Khilāfat Qurṭuba) ปกครองคาบสมุทรไอบีเรียและแอฟริกาเหนือจากเมืองกอร์โดบา ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคดีฟอียิปต์

รัฐเคดีฟอียิปต์ (Khedivate of Egypt; خديوية مصر; ออตโตมันเติร์ก: خدیویت مصر Hıdiviyet-i Mısır) เป็นรัฐบรรณาการของจักรวรรดิออตโตมัน ปกครองโดยราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี คำว่า "เคดีฟ" (khedive) ในภาษาตุรกีออตโตมัน หมายถึง "อุปราช" ใช้ครั้งแรกโดยมูฮัมหมัด อาลี ปาชา แต่ไม่ได้รับการยอมรับจนกระทั่งถึงปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรัฐเคดีฟอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

รัสเซียทูเดย์

รัสเซีย ทูเดย์ หรือเรียกว่า อาร์ที ออกอากาศทั่วโลกด้วยภาษาอังกฤษ ตลอด24ชั่วโมง ของรัสเซียด้วยสโลแกนที่ว่า first 24/7 English-language news channel มีการออกอากาศด้วยภาษาอาหรับและมีการออกอากาศด้วยภาษาสเปนในชื่อRT en Español (เดิมชื่อ Russia Hoy).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรัสเซียทูเดย์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชบัลลังก์กัสติยา

ราชบัลลังก์กัสติยา (Corona de Castilla) เป็นสหอาณาจักรที่มักจะกล่าวกันว่าเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและราชบัลลังก์กัสติยา · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐแอนติออก

ราชรัฐแอนติออก (Principality of Antioch) ที่มีอาณาบริเวณบางส่วนที่อยู่ในตุรกีและซีเรียปัจจุบันเป็นนครรัฐครูเสด ที่ก่อตั้งระหว่างสงครามครูเสดครั้งที่ 1 ที่รุ่งเรืองระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและราชรัฐแอนติออก · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรกัสติยา

ราชอาณาจักรกัสติยา (Reino de Castilla) เป็นราชอาณาจักรของยุคกลางของคาบสมุทรไอบีเรียที่เริ่มก่อตัวเป็นอิสระขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 โดยการเป็นอาณาจักรเคานต์แห่งกัสติยาที่เป็นอาณาจักรบริวาร (vassal) ของราชอาณาจักรเลออน ชื่อ "กัสติยา" มาจากคำที่ว่าแปลว่าปราสาท เพราะในบริเวณนั้นมีปราสาทอยู่หลายปราสาท กัสติยาเป็นราชอาณาจักรหนึ่งที่ต่อมาก่อตั้งขึ้นเป็นราชบัลลังก์กัสติยาและราชบัลลังก์สเปนในที.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและราชอาณาจักรกัสติยา · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์เยเมน

ราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์ (المملكة المتوكلية) หรือ ราชอาณาจักรเยเมน เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเยเมนในปัจจุบัน หลังจักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์เยเมน · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรลิเบีย

ราชอาณาจักรลิเบีย (المملكة الليبية) เดิมมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหราชอาณาจักรลิเบีย เป็นรัฐลิเบียสมัยใหม่ซึ่งได้รับการสถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม ค.ศ. 1951 และ สิ้นสุดลงด้วยการรัฐประหารล้มล้างระบอบราชาธิปไตยและเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบสาธารณรัฐเมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1969.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและราชอาณาจักรลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิรัก

ราชอาณาจักรอิรัก (المملكة العراقية; Kingdom of Iraq).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและราชอาณาจักรอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอียิปต์

ราชอาณาจักรอียิปต์ (المملكة المصرية) เป็นชื่อของรัฐอิยิปต์สมัยใหม่รัฐแรก ซึ่งดำรงอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1922 - ค.ศ. 1953 ราชอาณาจักรได้รับสถาปนาขึ้นในปี ค.ศ. 1922 เมื่อสหราชอาณาจักรตัดสินใจจะให้อียิปต์พ้นจากฐานะความเป็นรัฐในอารักขาของตนซึ่งเริ่มต้นมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1914 สุลต่านฟูอัดที่ 1 เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกของราชอาณาจักรแห่งนี้ ต่อมาพระเจ้าฟารุกที่ 1 จึงทรงสืบราชสมบัติต่อจากพระราชบิดาในปี ค.ศ. 1936 ก่อนหน้าสมัยราชอาณาจักร ประเทศอียิปต์ได้ถูกยึดครองและควบคุมโดยสหราชอาณาจักรนับตั้งแต่ ค.ศ. 1882 เมื่อมหาอำนาจยุโรปได้ส่งกองทัพเข้ามาสนับสนุนการปกครองระบอบเคดีฟเพื่อต่อต้านการลุกฮือของขบวนการชาตินิยม เหตุการณ์ดังกล่าวได้เป็นจุดเริ่มต้นให้สหราชอาณาจักรเข้าควบคุมอียิปต์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออตโตมันแต่เพียงในนาม ในปี ค.ศ. 1914 ผลจากการประกาศสงครามต่อจักรวรรดิออตโตมันได้ทำให้สหราชอาณาจักรต้องประกาศให้อียิปต์เป็นรัฐในอารักขาและถอดถอนเคดีฟออกจากตำแหน่ง พร้อมทั้งแต่งตั้งฮุสเซน กามิล พระญาติของเคดีฟ ขึ้นเป็นสุลต่านแห่งอียิปต์แทน อียิปต์ได้รับการสถาปนาและได้รับการยอมรับโดยสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 1922 โดยมีพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ ทรงเป็นปฐมกษัตริย์ และได้ต่อสู้ทางการเมืองกับพรรควาฟด์ (Wafd) อันเป็นพรรคการเมืองขนาดใหญ่แนวทางชาตินิยมที่ต่อต้านทั้งอิทธิพลของสหราชอาณาจักรและประเทศสหราชอาณาจักร ซึ่งพรรคดังกล่าวต้องการจะให้อียิปต์เข้าควบคุมคลองสุเอซโดยตรง นอกจากนั้นยังมีขบวนการทางการเมืองอื่นๆ ที่เคลื่อนไหวในยุคนี้ เช่น พรรคคอมมิวนิสต์อียิปต์ (ก่อตั้ง ค.ศ. 1925) และขบวนการภราดรภาพมุสลิม (Muslim Brotherhood - ก่อตั้ง ค.ศ. 1928) ซึ่งขบวนการหลังนี้เป็นขบวนการที่ทรงอำนาจทั้งทางการเมืองและศาสนา พระเจ้าฟูอัดที่ 1 เสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1936 ราชสมบัติจึงตกอยู่กับเจ้าชายฟารุกซึ่งขณะนั้นมีพระชนม์ได้ 16 พรรษา การรุกรานเอธิโอเปียโดยอิตาลีในระยะเวลาที่ใกล้เคียงกัน เป็นสัญญานเตือนให้พระองค์ต้องลงพระนามในสนธิสัญญาอังกฤษ-อียิปต์ เพื่อให้สหราชอาณาจักรถอนทหารออกไปจากอียิปต์ทั้งหมด โดยยกเว้นเพียงบริเวณคลองสุเอซ ซึ่งสหราชอาณาจักรได้ตกลงถอนทหารในปี ค.ศ. 1949 ราชอาณาจักรอียิปต์ประสบความยุ่งยากจากภาวะการฉ้อราษฎร์บังหลวงและการที่พลเมืองของตนเองมองว่าประเทศของตนเป็นเพียงหุ่นเชิดของสหราชอาณาจักร จากเหตุเหล่านี้ และซ้ำเติมด้วยสงครามอาหรับ-อิสราเอล ในปี ค.ศ. 1948 ได้นำไปสู่การปฏิวัติอียิปต์ในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและราชอาณาจักรอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮิญาซ

ราชอาณาจักรฮิญาซ (Kingdom of Hejaz; مملكة الحجاز, Mamlakat al-Ḥijāz) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคฮิญาซบนคาบสมุทรอาหรับ ได้รับเอกราชหลังจักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และปกครองโดยกษัตริย์แห่งราชวงศ์ฮัชไมต์ จนถึงปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและราชอาณาจักรฮิญาซ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์

ราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์ (Kingdom of Hejaz and Nejd; مملكة الحجاز ونجد) เป็นสหภาพทางการเมืองที่สถาปนาขึ้นหลังการพิชิตราชอาณาจักรฮิญาซ โดยรัฐสุลต่านนัจญด์ที่ปกครองโดยอิบน์ ซะอูด ในปี ค.ศ. 1927 มีการยกฐานะของรัฐสุลต่านนัจญด์ขึ้นมาเป็นราชอาณาจักร และ ค.ศ. 1932 อิบน์ ซะอูดทรงรวมสองอาณาจักรเข้าด้วยกันในชื่อ "ซาอุดีอาระเบีย" และพระองค์ทรงขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์องค์แรก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรแนบาเทีย

ราชอาณาจักรแนบาเทีย (Nabataean Kingdom; مملكة الأنباط) เป็นอาณาจักรของชาวแนบาเทีย สถาปนาเมื่อ 168 ปีก่อนคริสต์ศักราชโดยพระเจ้าอะรีทัสที่ 1 (Aretas I) ราชอาณาจักรแห่งนี้ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรไซนายและคาบสมุทรอาหรับ ทางเหนือติดกับดินแดนยูเดีย (Judea) ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดกับอาณาจักรอียิปต์ทอเลมี มีเมืองหลวงคือเมืองเปตรา (ปัจจุบันอยู่ในประเทศจอร์แดน) ซึ่งเป็นหนึ่งในเมืองศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญของภูมิภาค และอยู่ในเส้นทางเครื่องหอม (Incense Route) มีเมืองสำคัญเช่น บอสตรา (Bostra), มาดาอิน ซาเลห์ (Mada'in Saleh), นิตซานา (Nitzana) ชาวแนบาเทียเป็นชนเร่ร่อนที่อาศัยอยู่ในทะเลทรายเนเกฟและคาบสมุทรไซนายสมัยที่จักรวรรดิอะคีเมนิดปกครองเมื่อศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตกาล ต่อมาร่วมมือกับอาณาจักรแฮสมาเนียน (Hasmonean) เพื่อต่อสู้กับจักรวรรดิซิลิวซิด (Seleucid Empire) แต่หลังจากนั้นพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ แจนแนอัส (Alexander Jannaeus) แห่งแฮสมาเนียนได้โจมตีราชอาณาจักรแนบาเทียและบังคับให้ชาวแนบาเทียเปลี่ยนมานับถือศาสนายูดาห์ พระเจ้าโอบาดัสที่ 1 (Obodas I) จึงทำสงครามกับชาวแฮสมาเนียนและได้รับชัยชนะ ราชอาณาจักรแนบาเทียเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดในรัชสมัยของพระเจ้าอะรีทัสที่ 3 (Aretas III; ครองราชย์ 87–62 ปีก่อนคริสต์กาล) แต่พระองค์ต้องทำสงครามกับชาวโรมัน ภายหลังทั้งสองฝ่ายได้เจรจาตกลงกันโดยพระเจ้าอะรีทัสที่ 3 ยอมส่งเครื่องราชบรรณาการให้แก่โรมันTaylor, Jane; Petra; p.25-31; Aurum Press Ltd; London; 2005; ISBN 9957-451-04-9 ราชอาณาจักรแนบาเทียในช่วงปลายตกอยู่ใต้อิทธิพลของจักรวรรดิโรมันที่ยึดดินแดนรอบ ๆ ทั้งหมด ในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและราชอาณาจักรแนบาเทีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษา

รายชื่อภาษาต่าง ๆ ทั่วโลกเรียงตามลำดับตัวอักษร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1

ตารางนี้ประกอบด้วยรหัสทั้งหมดของ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)

รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (List of fields of doctoral studies) นี้จัดทำขึ้นโดย "ศูนย์วิจัยความเห็นแห่งชาติ" (Opinion Research Center หรือ NORC) ที่ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยชิคาโก สหรัฐอเมริกาจากการสำรวจปริญญาเอกที่มีผู้จบการศึกษารายปี โดยจัดทำให้กับมูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ และหน่วยงานของรัฐบาลกลางอีกหลายหน่วยงานในสหรัฐฯ ทั้งหมดนี้คือสายวิชาการศึกษาระดับปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยที่มุ่งสู่ปริญญาดุษฎีบัณฑิตปรัชญา (Doctor of Philosophy หรือ Ph.D.) และการศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต (Doctor of Education Ed.D 1หรือ D.Ed) ที่เปิดสอนในสหรัฐฯ ซึ่งในปีการศึกษา 2547-2548 พบว่าร้อยละ 90.3 ของปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยจำนวน 43,354 ปริญญาในสหรัฐฯ ปริญญาเป็น Ph.D. และร้อยละ 7.0 เป็น Ed.D. การศึกษาระดับปริญญาเอกสาขาวิชาชีพ (professional doctorates) เช่น แพทยศาสตร์ (Doctor of Medicine - M.D.) และปริญญาเอกด้านกฎหมาย (Juris Doctor - J.D.) ไม่นับรวมในรายชื่อนี้.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอัฟกานิสถาน

หน้านี้คือรายการธงที่มีการใช้ในประเทศอัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรายชื่อธงในประเทศอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตำราที่สำคัญของนิกายชีอะฮ์

รบัญตำราต่างๆที่สำคัญของนิกายชีอะฮ์ ตำราเหล่านี้มีเนื้อหาหลักเกี่ยวกับ หลักศรัทธา ประกอบด้วยหัวข้อสำคัญดังต่อไปนี้ การศรัทธาต่อความเอกะของพระผู้เป็นเจ้า,การศรัทธาต่อการเป็นศานทูตของศาสดามุฮัมหมัด,การเป็นอิมามตัวแทนท่านศาสดา(ศ)ของอิมามทั้งสิบสองท่าน,ความยุติธรรมของพระผู้เป็นเจ้าและการศรัทธาต่อวันสิ้นโลก. .

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรายชื่อตำราที่สำคัญของนิกายชีอะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

รายาห์

นชั้นรายา (râya) หรือ เระอาเย (ตุรกีออตโตมัน: رعايا) คือชนชั้นต่ำในสังคมออตโตมันที่ตรงกันข้ามกับ “ชนชั้นอัสเคเรี” (askeri) ซึ่งเป็นชนชั้นขุนนางผู้บริหาร คำว่า “รายา” แปลว่า “สมาชิกของฝูง” ที่รวมทั้งผู้นับถือศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และ ศาสนายูดายผู้ที่ต้องเสียภาษีเพื่อบำรุงรัฐและชนชั้นอาชีพสูงชองจักรวรรดิ แต่ในความหมายร่วมสมัยและความหมายใหม่มักจะหมายถึงผู้ที่ไม่ใช่มุสลิมโดยเฉพาะ บางครั้งคำนี้ก็จะแปลว่า “วัว” (cattle) แทนที่จะแปลว่า “ฝูง” หรือ “ข้าแผ่นดิน” (subjects) เพื่อเป็นการเน้นว่ารายาห์เป็นชนชั้นที่ต่ำกว่าชนชั้นอื่น แต่คำเดียวกันนี้ใช้โดยคริสเตียนอาหรับที่หมายถึงผู้ที่เป็นสมาชิกของวัด ในสมัยต้นจักรวรรดิออตโตมันรายาไม่มีสิทธิในการรับราชการเป็นทหารแต่เมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 รายาที่เป็นมุสลิมก็เริ่มมีสิทธิซึ่งทำให้เป็นที่ไม่พอใจของชนชั้นปกครอง.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรายาห์ · ดูเพิ่มเติม »

รุไบยาต

รุไบยาต (رباعی) เป็นคำในภาษาเปอร์เซีย ยืมมาจากภาษาอาหรับ "รุบาอียาต" หมายถึง บทกวี ชนิดหนึ่งซึ่งในหนึ่งบทมีสี่บาท รุไบยาตที่รู้จักกันดี คือ รุไบบาตของโอมาร์ คัยยาม หมวดหมู่:ภาษาเปอร์เซีย หมวดหมู่:ฉันทลักษณ์.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและรุไบยาต · ดูเพิ่มเติม »

ร็อก (เทพปกรณัม)

วาดในจินตนาการที่ร็อกทำลายเรือของซินแบด ร็อก (Roc; อาหรับ: رخ (ruḵḵ); เปอร์เซีย: رخ (ruḵ)) เป็นนกยักษ์ในตำนานของชาวอาหรับ เชื่อกันว่า ร็อกมีลำตัวสีขาว มีขนาดใหญ่โตมากและแข็งแรงถึงขนาดจับช้างทั้งตัว ขึ้นไปจับฉีกกินในอากาศได้ ไข่ของร็อกมีขนาดใหญ่ ที่มาที่ไปของความเชื่อเกี่ยวกับร็อกยังไม่มีที่ทราบแน่นอน แต่เชื่อว่าน่าจะมาจากจักรวรรดิเปอร์เซีย แต่มีบางข้อมูลกล่าวว่าร็อกนั้นมาจากนกที่อยู่ในจริง แต่ได้มีการปั้นเสริมเติมแต่งให้เกินจริง ซึ่งข้อสันนิษฐานที่ใกล้เคียงที่สุดคือนกในช่วงต้นของศตวรรษที่ 8 จากผลงานการประพันธ์ของนักเขียนชาวตะวันออกกลางคนหนึ่ง นอกจากนี้เคยมีรายงานว่ามีผู้พบเห็นนกที่อ้างกล่าวถึงนี้จริงในช่วงศตวรรษที่ 16 โดยนักท่องเที่ยวชาวอังกฤษที่ได้ไปแวะไปเที่ยวในละแวกเขตมหาสมุทรอินเดีย เรื่องราวของร็อก ปรากฏอยู่ในนิทานเรื่องต่าง ๆ ของตะวันออกกลาง เช่น พันหนึ่งราตรี ตอนอะลาดิน โดยร็อกนั้นเป็นทาสของจินนี่ในตะเกียงของอะลาดิน และในตอนซินแบด ที่ลูกเรือของซินแบดได้เจอไข่ของร็อก ทั้ง ๆ ที่ซินแบดห้ามไว้แล้วแต่บรรดาลูกเรือก็ยังทำลายไข่ของร็อก เมื่อแม่ร็อกกลับมาก็โกรธเกรี้ยว ทำลายเรือของซินแบดจนพินาศสิ้น ลูกเรือทุกคนจมน้ำตายหมด ยกเว้นซินแบดคนเดียวที่หนีรอดมาได้.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและร็อก (เทพปกรณัม) · ดูเพิ่มเติม »

ละหมาด

ละหมาด หรือ นมาซ คือการนมัสการพระเจ้า อันเป็นศาสนกิจอย่างหนึ่งในศาสนาอิสลาม เพื่อแสดงถึงความเคารพสักการะ ความขอบคุณ และความภักดีต่ออัลลอฮ์บรรจง บินกาซัน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและละหมาด · ดูเพิ่มเติม »

ลาบานูน

ลาบานูน (Labanoon) เป็นวงดนตรีสัญชาติไทยมุสลิมจาก อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย เกิดจากการเข้าร่วมประกวดในโครงการฮอตเวฟมิวสิกอวอร์ดส์ และผ่านเข้าไปในรอบ 10 วงสุดท้าย ธเนศ วรากุลนุเคราะห์ จากค่ายมิวสิกบักส์ หนึ่งในคณะกรรมการตัดสินจึงชักชวนพวกเขามาร่วมงาน ลาบานูนมีผลงานอัลบั้มเพลงทั้งหมด 7 อัลบั้ม ได้แก่ นมสด (2541), 191 (2542) คนตัวดำ (2545) Clear (2546) สยามเซ็นเตอร์ (2548) 24 ชั่วโมง (2549) และ Keep Rocking (2555) หลังจากพักงานดนตรี ในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและลาบานูน · ดูเพิ่มเติม »

ลายอาหรับ

“ลายอาหรับ” ที่อาลัมบรา ลายอาหรับ หรือ ลายอะราเบสก์ (Arabesque) คือลวดลายตกแต่งที่มีลักษณะเป็นลวดลายเรขาคณิต หรือลวดลายวิจิตรที่ทำซ้ำซ้อนเรียงกันเป็นแนวที่มักจะเลียนแบบพรรณไม้หรือสัตว์ “ลายอาหรับ” หรือ “Arabesques” ตามชื่อแล้วคือลักษณะลวดลายของศิลปะอิสลามที่พบในการตกแต่งผนังมัสยิด ลวดลายที่เป็นทรงเรขาคณิตเป็นลวดลายที่เลือกใช้จากพื้นฐานทัศนของอิสลามที่มีต่อโลก สำหรับชาวมุสลิมแล้วลวดลายทรงการตกแต่งดังว่าเป็นลวดลายที่ต่อเนื่องเลยไปจากโลกที่เราอยู่ หรือเป็นลวดลายที่เป็นสัญลักษณ์ของความไม่สิ้นสุด ฉะนั้นศิลปินอาหรับจึงสื่อความหมายของจิตวิญญาณโดยไม่ใช้ไอคอนเช่นที่ใช้ในศิลปะของคริสต์ศาสนา ถ้ามีลวดลายที่ผิดไปก็อาจจะเป็นการจงใจทำของศิลปินเพื่อที่จะแสดงถึงความถ่อมตัวของศิลปินผู้ที่มีความเชื่อว่าอัลลอฮ์เท่านั้นที่จะทรงเป็นผู้ที่สามารถสร้างความสมบูรณ์แบบได้ แต่สมมุติฐานนี้ก็ยังเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันอยู.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและลายอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ลิสบอน

ลิสบอน ลิสบอน (Lisbon) หรือ ลิชบัว (Lisboa) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศโปรตุเกส ตัวเมืองลิสบอนมีประชากร 564,657 คน ถ้ารวมเขตที่อยู่อาศัยโดยรอบด้วยจะมีประชากรประมาณ 2,760,723 คน (ข้อมูลปี 2005) ลิสบอนตั้งอยู่ทิศตะวันตกของประเทศ ริมชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกของคาบสมุทรไอบีเรีย การที่ลิสบอนตั้งอยู่ทางใต้ของทวีปยุโรปและติดกับมหาสมุทร จึงได้รับอิทธิพลจากกระแสน้ำกัลฟ์สตรีม ทำให้ลิสบอนเป็นเมืองหลวงที่มีภูมิอากาศอบอุ่นที่สุดในยุโรป.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและลิสบอน · ดูเพิ่มเติม »

ลิเก

การแสดงลิเก ลิเกนิยมแต่งตัวด้วยเครื่องประดับสวยงาม เลียนแบบเครื่องทรงกษัตริย์ จึงเรียกว่าลิเกทรงเครื่อง บางครั้งก็ลดเครื่องแต่งกายที่แพรวพราวลงไป ลิเก เกิดขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา หรือต้นกรุงรัตนโกสินทร์ คำว่า ลิเก เพี้ยนมาจากคำว่า ذکر (เษกรฺ) ในภาษาเปอร์เซีย ที่ยืมมาจากคำว่า ذِكْر (ษิกรฺ) ในภาษาอาหรับ อันหมายถึงการอ่านบทสรรเสริญเป็นการรำลึกถึงอัลลอหฺพระเจ้าในศาสนาอิสลาม พระครูศรีมหาโพธิคณารักษ์ก็ได้กล่าวถึงลิเกไว้ ว่า พวกมุสลิมนิกายชีอะห์ หรือเจ้าเซ็นจากเปอร์เซีย นำสวดลิเกที่เรียกว่า ดิเกร์ เข้า มาในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย กรมพระยาดำรงราชานุภาพก็ทรง บันทึกว่า ยี่เกนั้น เพี้ยนมาจาก จิเก มีบันทึกว่า พวกแขกเจ้าเซ็นได้สวดถวายตัวในการบำเพ็ญพระราชกุศล เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและลิเก · ดูเพิ่มเติม »

ลุบนา ฮุสเซน

ลุบนา อะห์เหม็ด อัล-ฮุสเซน (Lubna Ahmed al-Hussein) เป็นนักข่าวหญิงชาวซูดาน ที่ทำงานด้านสื่อสารมวลชนให้กับปฏิบัติการขององค์การสหประชาชาติในประเทศซูดาน เป็นที่รู้จักจากเขียนคอลัมน์ "Men Talk" วิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลซูดาน เรื่องสิทธิสตรีและการเลือกปฏิบัติไม่เท่าเทียมกันต่อเพศหญิง เมื่อเปรียบเทียบกับเพศชาย ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ฉบับภาษาอาหรับ อัล-ซาฮาฟา ชื่อของลุบนา ฮุสเซนถูกกล่าวถึงในระดับนานาชาติ หลังจากเธอถูกตำรวจซูดานจับกุมเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและลุบนา ฮุสเซน · ดูเพิ่มเติม »

วายาลัลอูมา

ลงชาติสาธารณรัฐอาหรับเยเมน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า วายาลัลอูมา(إرادة أمة) ในปัจจุบันเป็นผลงานการประพันธ์เนื้อร้องโดย อาเหม็ด อัล อามาลี เรียบเรียงทำนองโดย อาลี อัล อันซี ประกาศใช้เมื่อปี พ.ศ. 2521 ถึง พ.ศ. 2533 ก่อนหน้านี้เยเมนเหนือได้ใช้เพลงชาติฉบับก่อนหน้านี้ ในปี พ.ศ. 2510.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและวายาลัลอูมา · ดูเพิ่มเติม »

วาลละฮ์ซะมานยาซิลาฮี

วาลละฮ์ซะมานยาซิลาฮี (โอ้ อาวุธของข้า) เป็นเพลงชาติของสหสาธารณรัฐอาหรับ (สหพันธรัฐอียิปต์และซีเรีย) เมื่อ ค.ศ. 1960 ภายหลังการล่มสลายของสหสาธารณรัฐ ในปี ค.ศ. 1961 อียิปต์จึงนำเพลงชาติฉบับดังกล่าวใช้เป็นของตน จนกระทั่งสิ้นสุดสหสาธารณรัฐเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและวาลละฮ์ซะมานยาซิลาฮี · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์ตัวประกันซิดนีย์ พ.ศ. 2557

วันที่ 15–16 ธันวาคม 2557 มือปืนเดี่ยว มาน ฮารอน โมนิส (Man Haron Monis) จับลูกค้าและลูกจ้างคาเฟ่ช็อกโกแลตลินด์ 17 คนเป็นตัวประกัน ที่มาร์ตินเพลซในซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย หลังคุมเชิงนาน 16 ชั่วโมง เจ้าหน้าที่ตำรวจจากหน่วยปฏิบัติการยุทธวิธีบุกคาเฟ่เมื่อได้ยินเสียงปืนจากด้านใน ตัวประกันหนึ่งคนถูกมือปืนฆ่า ซึ่งต่อมาถูกตำรวจยิงเสียชีวิต ตัวประกันอีกคนหนึ่งตายด้วยอาการหัวใจล้มระหว่างนำส่งโรงพยาบาลMartin Place Siege 3:05pm 16 December 2014 "Victims of Sydney siege hailed as heroes after they die protecting hostages: Katrina Dawson, barrister and mother of three, was killed alongside Tori Johnson, Lindt manager who tried to wrestle gun from shooter's hands" By Josie Ensor, and Jonathan Pearlman in Sydney 11:36PM GMT 15 December 2014 ก่อนหน้านี้ มีผู้เห็นตัวประกันถือธงดำญิฮาดและหลักชะฮาดะฮฺของมุสลิมเป็นภาษาอารบิก Sydney Morning Herald.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและวิกฤตการณ์ตัวประกันซิดนีย์ พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาอาหรับ

วิกิพีเดียภาษาอาหรับ เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาอาหรับ เริ่มสร้างเมื่อกันยายน พ.ศ. 2544 ปัจจุบันวิกิพีเดียภาษาอาหรับมีบทความมากกว่า 353,098 บทความ (1 เมษายน 2558).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและวิกิพีเดียภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาอาหรับอียิปต์

ลโก้วิกิพีเดียภาษาอาหรับอียิปต์ วิกิพีเดียภาษาอาหรับอียิปต์ เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาอาหรับ ปัจจุบันวิกิพีเดียภาษาทาจิกมีบทความมากกว่า 14,000 บทความ (ตุลาคม 2558).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและวิกิพีเดียภาษาอาหรับอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์เหี้ย

วงศ์เหี้ย (Monitor lizard, Goanna) เป็นวงศ์ของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับ Squamata ใช้ชื่อวงศ์ว่า Varanidae (/วา-รา-นิ-ดี้/).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและวงศ์เหี้ย · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะโรมาเนสก์

วัดเซ็นต์ออสเตรมอยน์, อิซัว, ฝรั่งเศส ศิลปะโรมาเนสก์ (Romanesque art) หรือเรียกกันว่า ศิลปะนอร์มัน หมายถึงศิลปะที่เกิดขึ้นในยุโรป ราวคริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึงปลายคริสต์ศตวรรษ 12 ศิลปะแบบโรมาเนสก์พื้นฐานของศิลปะกอธิคซึ่งเริ่มมีบทบาทเมื่อประมาณคริสต์ศตวรรษ 13 การศึกษาเรื่องศิลปะยุคกลาง เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษ 19 ทำให้มีการจัดแบ่งศิลปะเป็นสมัยๆ คำว่า โรมาเนสก์ เป็นคำที่ใช้บรรยายศิลปะตะวันตกโดยเฉพาะ สถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นระหว่างคริสต์ศตวรรษ 11 ถึง 12 คำนี้ทั้งมีประโยชน์และทำให้มีความเข้าใจผิด คำนี้มาจากการที่ ช่างปั้นจากประเทศฝรั่งเศสทางไต้ไปจนถึงประเทศสเปนมีความรู้เรื่องอนุสาวรีย์แบบโรมัน แต่ศิลปะแบบโรมาเนสก์ไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกับความคิดของศิลปะแบบโรมัน นอกจากเป็นการฟื้นฟูวิธีการก่อสร้างแบบโรมัน เช่นเสาที่ใช้ในอาราม Saint-Guilhem-le-Désert หัวเสาที่วัดนี้แกะเป็นรูปใบอาแคนธัส (acanthus) ตกแต่งด้วยรอบปรุซึ่งจะพบตามอนุสาวรีย์แบบโรมัน อีกตัวอย่างหนึ่งคือเพดานวัดที่ Fuentidueña ประเทศสเปนเป็นแบบโค้งเหมือนถังไม้ (barrel vault) ซึ่งใช้กันทั่วไปในสิ่งก่อสร้างของโรมัน แม้จะเน้นความเกี่ยวข้องกับวิธีการก่อสร้างแบบโรมัน นักประวัติศาสตร์ศิลปะมืได้กล่าวถึงอิทธิพลอื่นๆที่มีต่อศิลปะแบบโรมาเนสก์ เช่นศิลปะทางตอนเหนือของทวีปยุโรป และ ศิลปะไบแซนไทน์ หรือการวิวัฒนาการของ ศิลปะโรมาเนสก์เอง.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและศิลปะโรมาเนสก์ · ดูเพิ่มเติม »

ศีลอด

ีลอด หรือภาษามลายูปัตตานีว่า ปอซอ หรือ ศิยาม ในภาษาอาหรับ หมายถึง การอดอาหารและเครื่องดื่ม และงดการร่วมประเวณี ตั้งแต่ยามรุ่งอรุณ จนกระทั่งถึงเวลาหลังตะวันตกดิน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและศีลอด · ดูเพิ่มเติม »

สกาย นิวส์ อาระเบีย

กาย นิวส์ อาระเบีย (อาหรับ:سكاي نيوز عربية) เป็นสถานีโทรทัศน์ข่าวภาคภาษาอาหรับที่ออกอากาศในภูมิภาคตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ สถานีนี้เป็นการร่วมทุนระหว่าง บริติช สกาย บรอดคาสติ้ง กับ Abu Dhabi Media Investment Corporation (ADMIC) ซึ่งมี มานซูร์ บิน ซาเยด อัล นาห์ยาน เป็นเจ้าของ เริ่มออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 สถานีมีสำนักงานอยู่ที่ twofour54 กรุงอาบูดาบี ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรต.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสกาย นิวส์ อาระเบีย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลขมิ้น

กุลขมิ้นหรือCurcuma เป็นสกุลของพืชมีดอก มีสมาชิกประมาณ 80 สปีชีส์ อยู่ในวงศ์ Zingiberaceae ซึ่งประกอบด้วยพืชที่สำคัญเช่น ขมิ้นชัน ขมิ้นอ้อย ชื่อสกุลนี้มาจากภาษาอาหรับ kurkum (كركم) หมายถึงขมิ้น.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสกุลขมิ้น · ดูเพิ่มเติม »

สกุลขี้เหล็ก

กุลขี้เหล็ก หรือ Senna (มาจาก ภาษาอาหรับ sanā) เป็นสกุลขนาดใหญ่ในวงศ์ Fabaceaeและวงศ์ย่อย Caesalpinioideae พืชในสกุลนี้เป็นพืชท้องถิ่นในเขตร้อน พบในเขตอบอุ่นไม่กี่ชนิด จำนวนสปีชีส์ประมาณ 260 - 350 สปีชีส์Randell, B. R. and B. A. Barlow.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสกุลขี้เหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

สภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ

ในลิเบีย สภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ (National Transitional Council; المجلس الوطني الانتقالي) เป็นองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดยกลุ่มผู้ก่อการกำเริบใน พ.ศ. 2554 ต่อต้านมูอัมมาร์ กัดดาฟี ประธานาธิบดีแห่งประเทศลิเบีย ตามประกาศการจัดตั้งอันมีขึ้นในเมืองเบงกาซีเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2554 ด้วยวัตถุประสงค์จะให้ปฏิบัติหน้าที่เป็น "โฉมหน้าทางการเมืองของคณะปฏิวัติ" เมื่อวันที่ 5 มีนาคม..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา

มาพันธ์ฟุตบอลแอฟริกา (Confederation of African Football) หรือ ซีเอเอฟ (CAF) เป็นองค์กรที่ควบคุมการแข่งขันฟุตบอลในทวีปแอฟริกา และเป็น 1 ใน 6 สมาคมที่จัดการแข่งขันฟุตบอลทั่วโลกของฟีฟ่า ซีเอเอฟก่อตั้งเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ที่ประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2 แห่งจอร์แดน

มเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2 บิน อัลฮุซัยน์ (الملك عبد الله الثاني بن الحسين, al-Malik ʿAbdullāh aṯ-ṯānī bin al-Ḥusayn, พระราชสมภพ 30 มกราคม พ.ศ. 2505) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกในสมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดนและเจ้าหญิงมูนา อัลฮุสเซน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2 แห่งจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐอาระเบียใต้

แผนที่แสดงตั้งสหพันธรัฐอาระเบียใต้และดินแดนในอารักขาอาระเบียใต้ สหพันธรัฐอาระเบียใต้ (Federation of South Arabia; ภาษาอาหรับ: اتحاد الجنوب العربي Ittihad Al-Janūb Al-‘Arabī) เป็นการรวมกลุ่มของรัฐที่อยู่ภายใต้การอารักขาของอังกฤษ ซึ่งต่อมาจะเป็นประเทศเยเมนใต้ ก่อตั้งเมื่อ 4 เมษายน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสหพันธรัฐอาระเบียใต้ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐอาหรับ

หพันธรัฐอาหรับแห่งอิรักและจอร์แดน (Arab Federation of Iraq and Jordan) หรือ สหพันธรัฐอาหรับ (Arab Federation) เป็นรัฐอายุสั้นซึ่งก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสหพันธรัฐอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐอาหรับเอมิเรตส์ใต้

หพันธรัฐอาหรับเอมิเรตส์ใต้ (Federation of Arab Emirates of the South; اتحاد إمارات الجنوب العربي) เป็นการรวมกลุ่มของรัฐภายในดินแดนอารักขาเอเดนของอังกฤษ ซึ่งต่อมาจะกลายเป็นประเทศเยเมนใต้ สหพันธรัฐของรัฐ 6 รัฐได้รวมเข้ากับอาณานิคมเอเดนเมื่อ 11 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสหพันธรัฐอาหรับเอมิเรตส์ใต้ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐประชาธิปไตยซีเรียเหนือ

อร์ดิสถานซีเรีย (Syrian Kurdistan) หรือเคอร์ดิสถานตะวันตก (Western Kurdistan) (Rojavayê Kurdistanê; کوردستان السورية, Kurdistan Al-Suriyah) มักเรียกเพียง โรยาวา (Rojava) (ตะวันตก ในภาษาเคิร์ด) เป็นดินแดนปกครองตนเองโดยพฤตินัยในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศซีเรีย เคอร์ดิสถานซีเรียเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่ภูมิศาสตร์ใหญ่กว่า เรียก เคอร์ดิสถาน ซึ่งรวมบางส่วนของภาคตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี (เคอร์ดิสถานตุรกี) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอิรัก (เคอร์ดิสถานอิรัก) ภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอิหร่าน (เคอร์ดิสถานอิหร่าน) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของซีเรีย (เคอร์ดิสถานซีเรีย) เป็นบริเวณที่มีชาวเคิร์ดอาศัยอยู่จำนวนมาก พื้นที่ปกคลุมทางตะวันตกเฉียงเหนือของซากรอส และทางตะวันออกของเทือกเขาเทารัส ตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสหพันธรัฐประชาธิปไตยซีเรียเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐอาหรับ

หพันธ์สาธารณรัฐอาหรับ (اتحاد الجمهوريات العربية Ittiħād Al-Jumhūriyyāt Al-`Arabiyya) เป็นความพยายามรวมลิเบีย อียิปต์และซีเรียของมูอัมมาร์ อัล-กัดดาฟี แม้จะได้รับการรับรองจาก การลงประชามติเกี่ยวกับสหพันธ์สาธารณรัฐอาหรั..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสหพันธ์สาธารณรัฐอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพประชาธิปไตยปาเลสไตน์

หภาพประชาธิปไตยปาเลสไตน์ (Palestine Democratic Union; ภาษาอาหรับ: Al-Ittihad al-Dimuqrati al-Filastini) เป็นพรรคการเมืองขนาดเล็กในปาเลสไตน์ มีกิจกรรมอยู่ในองค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์และตัวแทนชาติปาเลสไตน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสหภาพประชาธิปไตยปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

หรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (United Arab Emirates; الإمارات العربيّة المتّحدة) เป็นประเทศหนึ่งในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาหรับ ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ริมอ่าวเปอร์เซีย ประกอบด้วยรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirates) 7 รัฐ ได้แก่ อาบูดาบี อัจมาน ดูไบ ฟูไจราห์ ราสอัลไคมาห์ ชาร์จาห์ และอุมม์อัลไกไวน์ ในช่วงก่อนปี พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) กลุ่มรัฐดังกล่าวเป็นที่รู้จักกันในชื่อ รัฐสงบศึก (Trucial States) หรือ ทรูเชียลโอมาน (Trucial Oman) โดยอ้างอิงตามสัญญาสงบศึกในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ระหว่างอังกฤษกับเชคอาหรับบางพระองค์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์มีพรมแดนติดกับโอมาน ซาอุดีอาระเบีย และกาตาร์ เป็นประเทศหนึ่งที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรน้ำมัน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ · ดูเพิ่มเติม »

สหสาธารณรัฐอาหรับ

หสาธารณรัฐอาหรับ (United Arab Republic; UAR; الجمهورية العربية المتحدة) เป็นสหภาพทางการเมืองอายุสั้นระหว่าง อียิปต์ และ ซีเรีย การรวมตัวกันเริ่มต้นเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสหสาธารณรัฐอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สหประชาชาติจำลอง

การสัมนาสหประชาชาติจำลองในสตุตการ์ต ประเทศเยอรมนี สหประชาชาติจำลอง (Model United Nations; รู้จักอย่างไม่เป็นทางการในนามของ Model UN หรือ MUN) เป็นการจำลองทางการศึกษาของสหประชาชาติที่มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้ผู้เข้าร่วมเกี่ยวกับการเมือง การสื่อสารให้ได้ผล โลกาภิวัตร และการทูตในหลายๆ ด้าน ใน MUN นักเรียนสวมบทบาทเป็นนักการทูตของต่างประเทศ และเข้าร่วมการประชุมจำลองของหน่วยงานระหว่างภาครัฐ (IGO) ผู้เข้าร่วมค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับประเทศหนึ่ง และสวมบทบาทเป็นนักการทูต สำรวจประเด็นนานาชาติ โต้วาที ไตร่ตรอง ปรึกษา และพัฒนาการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับปัญหาระดับโลก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสหประชาชาติจำลอง · ดูเพิ่มเติม »

สะอ์ดี

อะบูมุฮัมหมัด มุชริฟุดดีน มุศเลี้ยะห์ บิน อับดิลลา บิน มุชัรริฟ เรียกสั้น ๆ กันว่า สะอ์ดี (ปี ฮ.ศ. 606-690) เป็นนักกวีและนักเขียนภาษาเปอร์เซียที่มีชื่อเสียงชาวอิหร่าน บรรดานักอักษรศาสตร์ให้ฉายานามท่านว่า ปรมาจารย์นักพูด กษัตรย์นักพูด ผู้อาวุโสที่สูงส่ง และเรียกขานทั่วไปกันว่า อาจารย์ ท่านศึกษาใน นิซอมียะฮ์แห่งเมืองแบกแดด ซึ่งถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางวิชาการของโลกอิสลามในยุคนั้น หลังจากนั้นท่านก็ได้เดินทางไปตามเมืองต่างๆ เช่นเมืองชาม และฮิญาซ ในฐานะนักบรรยายธรรม แล้วสะอ์ดีก็ได้เดินทางกลับมายังมาตุภูมิของท่านที่เมืองชีรอซและใช้ชีวิตอยู่ที่นั่นจนกระทั่ววาระสุดท้ายของชีวิต สุสานของท่านอยู่ที่เมืองชีรอซ ซึ่งถูกรู้จักกันว่า สะอ์ดียะฮ์ ท่านใช้ชีวิตอยู่ในยุคการปกครองของSalghurids ในเมืองชีรอซ ช่วงการบุกของมองโกลยังอิหร่านอันเป็นเหตุให้การปกครองต่างๆ ในยุคนั้นล่มสลายลง เช่น Khwarazmian dynasty และอับบาซี ทว่ามีเพียงดินแดนฟอร์ซ รอดพ้นจากการบุกของพวกมองโกล เพราะยุทธศาสตร์ของอะบูบักร์ บิน สะอด์ ผู้ปกครองที่เลืองชื่อแห่งSalghurids และอยู่ในศัตวรรษที่หกและเจ็ดซึ่งเป็นยุคการเจริญรุ่งเรืองของแนวทางซูฟีในอิหร่าน โดยเห็นได้จากอิทธิพลทางความคิดและวัฒนธรรมของยุคนี้ได้จากผลงานของสะอ์ดี นักค้นคว้าส่วนใหญ่เชื่อว่าสะอ์ดีได้รับอิทธิพลจากคำสอนของมัซฮับชาฟิอีและอัชอะรี จึงมีแนวคิดแบบนิยัตินิยม อีกด้านหนึ่งก็ท่านเป็นผู้ที่มีความรักต่อครอบครัวท่านศาสดา (ศ็อลฯ) อีกด้วย ก่อนหน้านั้นสะอ์ดี เป็นผู้ที่ยึดมั่นในจริยธรรมบนพื้นฐานของปรัชญาจริยะ เป็นนักฟื้นฟู ฉะนั้นท่านจึงไม่ใช่ผู้ที่ฝักไฝ่การเชื่ออย่างหลับหูหลับตาตามที่กล่าวอ้างกัน กลุ่มIranian modern and contemporary art ถือว่าผลงานของท่านไร้ศีลธรรม ไม่มีคุณค่า ย้อนแย้งและขาดความเป็นระบบ สะอ์ดีมีอิทธิพลต่อภาษาเปอร์เซียอย่างมาก ในลักษณะที่ว่าภาษาเปอร์เซียปัจจุบันมีความใกล้เคียงกับภาษาของสะอ์ดีอย่างน่าสนใจ ผลงานของท่านถูกนำมาใช้สอนในโรงเรียน และหอสมุดในฐานะตำราอ้างอิงการเรียนการสอนภาษาและไวยากรณ์ภาษาเปอร์เซียอยู่หลายยุคหลายสมัย คำพังเพยที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอิหร่านปัจจุบันก็ได้มาจากผลงานของท่าน แนวการเขียนของท่านแตกต่างไปจากนักเขียนร่วมสมัยหรือนักเขียนก่อนหน้าท่านโดยท่านจะใช้ภาษาที่ง่าย สั้นและได้ใจความ กระทั่งมีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วในยุคของท่าน ผลงานของสะอ์ดีเรียกกันว่าง่ายแต่ยาก มีทั้งเกล็ดความรู้ มุกขำขันที่ซ่อนอยู่หรือกล่าวไว้อย่างเปิดเผย ผลงานของท่านรวบรวมอยู่ในหนังสือ กุลลียอเตสะอ์ดี ซึ่งครอบคลุมทั้ง ฆุลิสตอนที่มีฉันทลักษณ์แบบนัษร์ หนังสือ บูสตอนที่มีฉันทลักษณ์แบบมัษนะวี และฆอซลียอต นอกจากนั้นท่านยังมีผลงานด้านร้อยกรองที่มีฉันทลักษณ์อื่นๆ อีก เช่น กอซีดะฮ์ ก็อฏอะฮ์ ตัรญีอ์บันด์ และบทเดี่ยวทั้งที่เป็นภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับ ส่วนมากฆอซลียอเตสะอ์ดีจะพูดถึงเรื่องของความรัก แม้ว่าท่านจะกล่าวถึงความรักในเชิงรหัสยะ (อิรฟาน) ก็ตาม ฆุลิสตอนและบูสตอน เป็นตำราจริยธรรม ซึ่งมีอิทธิต่อชาวอิหร่านและแม้แต่นักวิชาการตะวันตกเองก็ตาม เช่น วอลแตร์ และ โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ สะอ์ดี มีชื่อเสียงโด่งดังเป็นอย่างมากในยุคของท่าน ผลงานของท่านที่เป็นภาษาเปอร์เชียหรือที่แปลแล้วไปไกลถึงอินเดีย อานาโตเลีย และเอเชียกลาง ท่านเป็นนักกวีชาวอิหร่านคนแรกที่ผลงานของท่านถูกแปลเป็นภาษาต่างๆ แถบยุโรป นักกวีและนักเขียนชาวอิหร่านต่างก็ลอกเลียนแบบแนวของท่าน ฮาฟิซก็เป็นนักกวีท่านหนึ่งที่ได้รับอิทธิพลการเขียนบทกวีมาจากท่านสะอ์ดี นักเขียนยุคปัจจุบัน เช่น มุฮัมหมัด อาลี ญะมอลซอเดะฮ์ และอิบรอฮีม ฆุลิสตอน ก็ได้รับอิทธิพลมาจากท่านเช่นกัน ต่อมาผลงานของสะอ์ดีถูกถ่ายทอดออกเป็นคีตะ ซึ่งมีนักขับร้องที่มีชื่อเสียงหลายท่าน เช่น ทอจ อิศฟะฮอนี, มุฮัมหมัดริฎอ ชะญะริยอน และฆุลามฮุเซน บะนอน อิหร่านได้ให้วันที่ 1 เดือนอุรเดเบเฮชต์ วันแรกของการเขียนหนังสือฆุลิสตอน เป็นวันสะอ์ดี เพื่อเป็นการเทิดเกียรติท่าน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสะอ์ดี · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐอาหรับเยเมน

รณรัฐอาหรับเยเมน (Yemen Arab Republic; YAR; الجمهورية العربية اليمنية) หรือ เยเมนเหนือ หรือ เยเมน (ซานา) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเยเมนในปัจจุบัน สถาปนาขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสาธารณรัฐอาหรับเยเมน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี

รณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี (Sahrawi Arab Democratic Republic, SADR; الجمهورية العربية الصحراوية الديمقراطية; República Árabe Saharaui Democrática, RASD) เป็นรัฐบาลพลัดถิ่นจัดตั้งโดยแนวร่วมโปลีซารีโอเมื่อ 27 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี

รณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี (Jamhuuriyadda Dimuqraadiga Soomaaliya, الجمهورية الديمقراطية الصومالية al-Jumhūrīyah ad-Dīmuqrāṭīyah aṣ-Ṣūmālīyah, Repubblica Democratica Somala) เป็นชื่อรัฐคอมมิวนิสต์ ของอดีตประธานาธิบดีโซมาเลีย พลตรีโมฮัมเหม็ด ไซอัด บาร์รี ให้กับประเทศโซมาเลีย ในช่วงสมัยของตนหลังจากการรัฐประหารยึดอำนาจในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโซมาลี

รณรัฐโซมาลี (Jamhuuriyadda Soomaaliyeed, Repubblica Somala, جمهورية الصومال) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของประเทศโซมาเลีย หลังจากได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสาธารณรัฐโซมาลี · ดูเพิ่มเติม »

สำนักข่าวโอมาน

ำนักข่าวโอมาน หรือ ONA ก่อตั้งโดยคำสั่งของกษัตริย์ ในปี ค.ศ. 1997 และเป็นสำนักข่าวของรัฐบาลโอมาน ออกอากาศในภาษาอังกฤษและภาษาอาหรั.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสำนักข่าวโอมาน · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่าน

ลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมันกับขันทีอีกสองแบบ สุลต่าน หรือภาษาอาหรับเรียก สุลฏอน (Sultan, سلطان) เป็นชื่อตำแหน่งในหมู่ชนอิสลาม ซึ่งมีความหมายในทางประวัติศาสตร์มากมาย รากคำมาจากภาษาอาหรับซึ่งมีความหมายว่า "ความแข็งแกร่ง" "อำนาจ" หรือ "การปกครอง" มาจากคำนามกริยาว่า سلطة หมายถึง "อำนาจ" ต่อมาใช้เป็นชื่อตำแหน่งของผู้ปกครองประเทศมุสลิมซึ่งมีอำนาจปกครองอย่างเบ็ดเสร็จ (ไม่จำเป็นต้องเชื่อฟังผู้ปกครองอื่นใดที่เหนือกว่า) บางครั้งก็ใช้เรียกผู้ปกครองแว่นแคว้นที่มีอำนาจภายในระบอบการปกครอง ต่อมายังพัฒนาความหมายไปอีกมากมายในหลายบริบท ราชวงศ์หรือดินแดนที่ปกครองโดยสุลต่าน จะเรียกชื่อว่า รัฐสุลต่าน หรือ Sultanate (سلطنة).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสุลต่าน · ดูเพิ่มเติม »

สุหนัต

ีตาน (ختان; Khitan) คนไทยมักเรียกว่า สุหนัต (สุ-หนัด) หมายถึง พิธีการขริบหนังหุ้มปลายตามข้อกำหนดในศาสนายูดาห์และศาสนาอิสลาม คำว่า สุหนัต มาจากคำว่า "ซูนัต" ในภาษามลายู ซึ่งมาจากคำว่า "ซุนนะฮ์" ในภาษาอาหรับ ซึ่งหมายถึงแบบแผนการปฏิบัติของนบีมุฮัมมัด พิธีสุหนัตเกิดขึ้นครั้งแรกในศาสนายูดาห์ ซึ่งเริ่มทำพิธีนี้ครั้งแรกในสมัยของอับราฮัม การเรียกว่า "เข้าสุนัต" มาจากวลี "มาซุก ญาวี" หรือ "มะโซะยาวี" (แปลว่า เข้าญาวี) ในภาษามลายู หมายถึง เข้า (ศาสนาของ) คนญาวี (มลายูมุสลิม) ด้วยการขริบหนังที่ปลายอวัยวะเพศ การขริบหนังองคชาตเป็นประเพณีของชาวยิว ชาวมุสลิม และคริสต์ศาสนิกชนบางนิกาย เช่นเดียวกับเผ่าหลายเผ่าในแอฟริกา ผู้ที่นับถือศาสนาอื่นนิยมขริบเนื่องจากเหตุผลทาง.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสุหนัต · ดูเพิ่มเติม »

สู้ไม่รู้จักตาย

ู้ไม่รู้จักตาย (Taken) ภาพยนตร์แอ็คชั่นระทึกขวัญสัญชาติฝรั่งเศส อำนวยการสร้างโดย ลุค แบซง แสดงนำโดย เลียม นีสัน, แม็กกี เกรซ และ แฟมเก แจนเซน บทภาพยนตร์โดย ลุค แบซง และ โรเบิร์ต มาร์ก คาเมน และกำกับฯโดย ปิแอร์ โมเรล.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสู้ไม่รู้จักตาย · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

ันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สท. เป็นหน่วยงานของรัฐ ประเภทองค์การมหาชน จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีการจัดตั้งสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน)..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอิรัก–อิหร่าน

งครามอิรัก–อิหร่าน (Iran–Iraq War) เป็นความขัดแย้งระหว่างประเทศอิหร่านและประเทศอิรัก ซึ่งเริ่มตั้งแต่เดือนกันยายน 1980 ถึงสิงหาคม 1988 มีการประเมินว่าสงครามครั้งนี้สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจรวมกันกว่า 1.2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ (30.6 ล้านล้านบาท) สงครามอิรัก–อิหร่านเริ่มขึ้นเมื่ออิรักทำการรุกรานอิหร่านในวันที่ 22 กันยายน 1980 อันเนื่องมาจากข้อพิพาททางชายแดนที่ดำเนินมาอย่างยาวนาน หลังการปฏิวัติอิหร่านในปี 1979 รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี ได้ขึ้นเป็นผู้นำสูงสุดของอิหร่านและประกาศตนเป็นผู้นำอิสลามนิกายชีอะห์ ทำให้มุสลิมชีอะฮ์อันเป็นคนส่วนมากในอิรักขึ้นมาก่อจลาจลต่อต้านการปกครองของรัฐบาลนิกายซุนนี ขณะเดียวกัน อิรักก็มีความพยายามจะขึ้นมามีอิทธิพลครอบงำภูมิภาคอ่าวเปอร์เซียแทนที่อิหร่าน แม้ว่าอิรักจะใช้โอกาสที่อิหร่านกำลังวุ่นวายนี้เข้าโจมตีอิหร่านโดยไม่ประกาศก่อน แต่เข้ายึดครองยังได้ไม่มากก็ถูกโต้กลับอย่างรวดเร็ว อิหร่านสามารถชิงดินแดนที่สูญเสียไปทั้งหมดคืนมาได้ภายในเดือนมิถุนายน 1982 และตลอดหกปีจากนี้ อิหร่านก็กลายเป็นฝ่ายรุกไล่เข้าไปในดินแดนอิรัก แม้คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติได้ร้องให้มีการหยุดยิงนับสิบๆครั้ง แต่การสู้รบก็ดำเนินไปจนถึงวันที่ 20 สิงหาคม 1988 และสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการตามมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 598 ที่ทั้งสองฝ่ายยอมรับคำขอหยุดยิง ซึ่งภายหลังข้อสรุปนี้ กองทัพอิหร่านต้องใช้เวลาหลายสัปดาห์ในการถอนกำลังออกจากดินแดนอิรักโดยยึดเอาหลักเขตแดนก่อนสงคราม เชลยสงครามคนสุดท้ายของสงครามนี้ถูกส่งตัวกลับประเทศตนในปี 2003 สงครามครั้งนี้ทำให้มีผู้เสียชีวิตรวมกันกว่าหนึ่งล้านคนแต่กลับไม่มีฝ่ายใดได้หรือสูญเสียดินแดนเลย สงครามครั้งนี้ถูกนำไปเปรียบเทียบกับสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในแง่ของกลยุทธ ทั้งการใช้แท่นปืนกล, การโจมตีแบบคลื่นมนุษย์, การใช้อาวุธเคมีจำนวนมากโดยกองทัพอิรัก ประเทศอิสลามจำนวนมากอยู่ฝ่ายเดียวกับชาติตะวันตกในสงครามครั้งนี้ นั่นคือการสนับสนุนอิรักโดยการให้เงินกู้, ยุทโธปกรณ์ และภาพถ่ายดาวเทียมในช่วงที่อิรักโจมตีอิหร่าน ซึ่งในระหว่างสงคราม มีการวิจารณ์จากสื่อว่า "ประชาคมโลกต่างพากันเงียบกริบตอนอิรักใช้อาวุธอานุภาพทำลายล้างสูงต่ออิหร่านและชาวเคิร์ด" และกว่าคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติจะประกาศให้อิรักเป็นผู้ก่อสงครามก็จนกระทั่ง 11 ธันวาคม 1991 สิบสองปีให้หลังจากที่อิรักทำการรุกรานอิหร่าน และเป็นเวลาสิบหกเดือนหลังอิรักรุกรานคูเวต ซึ่งบานปลายเป็นสงครามอ่าว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสงครามอิรัก–อิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาจันทรา

วามตกลงว่าด้วยกิจกรรมของรัฐบนดวงจันทร์และเทห์ฟากฟ้าอื่น (Agreement Governing the Activities of States on the Moon and Other Celestial Bodies) หรือที่รู้จักกันในชื่อ "สนธิสัญญาจันทรา" (Moon Treaty) หรือ "ความตกลงจันทรา" (Moon Agreement) เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ซึ่งกำหนดให้บรรดาเทห์ฟากฟ้าและวัตถุที่โคจรรอบเทห์ฟากฟ้า เป็นพื้นที่ในเขตอำนาจของประชาคมโลก ส่งผลให้กิจกรรมทั้งปวงในพื้นที่ดังกล่าวต้องเป็นไปตามกฎหมายระหว่างประเทศ น่าเสียดายที่ความตกลงนี้ไม่ประสบผลสำเร็จดังคาดหมายกัน เนื่องเพราะไม่ได้รับความร่วมมือจากรัฐชาติที่ดำเนินหรือจะดำเนินการสำรวจอวกาศโดยมนุษย์ด้วยตนเองแม้แต่รัฐเดียว รัฐเหล่านี้ อาทิ สหรัฐอเมริกา สหพันธรัฐรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ปุ่น อินเดีย และ อิหร่าน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสนธิสัญญาจันทรา · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาเฟซ

สนธิสัญญาเฟซ (อารบิก: معاهدة فاس‎), เซ็นยินยอมให้เมื่อ 30 มีนาคม พ.ศ. 2455 โดย สุลต่านแอบเดลฮาฟิดยิน ยอมที่จะยกอำนาจสูงสุดของประเทศให้แก่ฝรั่งเศสทำให้มีสภาพเป็นรัฐอารักขาของ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและสนธิสัญญาเฟซ · ดูเพิ่มเติม »

หมาจิ้งจอกเฟนเนก

หมาจิ้งจอกเฟนเนก หรือ หมาจิ้งจอกทะเลทราย (Fennec fox, Desert fox) เป็นหมาจิ้งจอกชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Vulpes zerda อยู่ในวงศ์สุนัข (Canidae) หมาจิ้งจอกเฟนเนกเป็นหมาจิ้งจอกขนาดเล็ก ถือได้ว่าเป็นสัตว์ในวงศ์สุนัขที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก เนื่องจากขนาดเมื่อโตเต็มที่แล้ว มีน้ำหนักเฉลี่ยเพียง 1.75 กิโลกรัมสำหรับตัวผู้ และ 1.25 กิโลกรัมสำหรับตัวเมีย ซึ่งถือได้ว่าเล็กกว่าสุนัขบ้านเสียอีก นับได้ว่ามีขนาดน้ำหนักตัวใกล้เคียงกับชิวาวา ซึ่งเป็นสุนัขขนาดเล็ก และมีความยาวลำตัวประมาณ 24-40 เซนติเมตร มีความยาวหาง 8 นิ้ว มีขนสีน้ำตาลเหลืองตลอดทั้งตัว ดวงตาสีดำ มีจุดเด่นที่เห็นได้ชัดเจนคือ ใบหูที่ยาวมาก บางตัวอาจยาวได้ถึง 15 เซนติเมตร คล้ายกับหมาจิ้งจอกหูค้างคาว (Otocyon megalotis) ซึ่งถือได้ว่าเป็นหมาจิ้งจอกขนาดเล็กเช่นกัน แต่มีขนาดใหญ่กว่า หมาจิ้งจอกเฟนเนกมีถิ่นกระจายพันธุ์อยู่ทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกา โดยอาศัยอยู่ในทะเลทราย มีพฤติกรรมรวมกันเป็นฝูงขนาดเล็ก หากินในเวลากลางคืน โดยมีอาหารหลักคือ แมลงชนิดต่าง ๆ ด้วยการขุดคุ้ยจากการฟังเสียงจากใบหูที่มีขนาดใหญ่ นอกจากนั้นแล้วยังสามารถกินสัตว์ที่มีขนาดเล็ก, ไข่นก และผลไม้ได้อีกด้วย กระนั้นหมาจิ้งจอกเฟนเนกก็ยังตกเป็นเหยื่อของสัตว์กินเนื้อที่มีขนาดใหญ่กว่าได้อีกด้วย แต่ด้วยสภาพร่างกายที่เหมาะกับการอาศัยอยู่ในทะเลทราย ทำให้สามารถเอาตัวรอดได้ โดยขนที่อุ้งเท้าจะหนาสำหรับใช้เดินบนพื้นทรายที่ร้อนระอุได้ ขนสีน้ำตาลเหมือนสีของทรายของช่วยให้อำพรางตัวได้ในทะเลทราย นอกจากนี้แล้วยังหนาต่างจากสัตว์ที่อยู่ในทะเลทรายจำพวกอื่น ๆ โดยขนจะทำหน้าที่สะท้อนความร้อนจากแสงแดดในเวลากลางวันออกไป ส่วนตอนกลางคืนก็ทำหน้าที่สะสมความอบอุ่นไว้เพื่อต่อสู้กับความหนาวเย็น เนื่องจากเป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคึน ขยายพันธุ์ด้วยการตั้งท้องนานครั้งละ 2 เดือน เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 9 เดือน โดยจะตกลูกปี​ละ​ครั้ง ​เป็น​สัตว์​ที่​มี​คู่​ตัว​เดียว​ตลอด​ชีวิต ตัวผู้​จะ​ดุร้าย​และ​หวง​คู่ อีก​ทั้ง​ทำ​หน้าที่​คอย​หา​อาหาร​ให้​ตัวเมีย​ตลอด​เวลา​ช่วง​ที่​ตั้ง​ท้อง​และ​ให้​นม ตกลูกครั้งละ 2-4 ตัว คำว่า "เฟนเนก" นั้น มาจากภาษาอาหรับคำว่า "ثعلب" (fanak) หมายถึง "หมาจิ้งจอก" ส่วนชื่อชนิดทางวิทยาศาตร์คำว่า zerda มาจากภาษากรีกคำว่า xeros ซึ่งหมายถึง "ความแห้ง" อันหมายถึงสภาพของสถานที่อยู่อาศัยนั่นเอง ด้วยรูปลักษณ์ที่น่ารัก และมีขนาดเล็ก จึงทำให้หมาจิ้งจอกเฟนเนกกลายเป็นสัตว์เลี้ยงชนิดหนึ่งของมนุษย์ เช่นเดียวกับ สัตว์เลี้ยงเพื่อความเพลิดเพลินชนิดอื่น ๆ นอกจากนี้แล้ว ยังเป็นฉายาของทีมฟุตบอลทีมชาติแอลจีเรียอีกด้วย โดยเรียกเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า Les Fennecs หมายถึง "หมาจิ้งจอกทะเลทราย".

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและหมาจิ้งจอกเฟนเนก · ดูเพิ่มเติม »

หลักการตั้งชื่อทางดาราศาสตร์

ในยุคโบราณ มีการตั้งชื่อให้แก่ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาวที่สว่างพอจะมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าเพียงไม่กี่ร้อยดวงเท่านั้น ตลอดช่วงหลายร้อยปีหลังมานี้ จำนวนของวัตถุทางดาราศาสตร์ที่เรารู้จักเพิ่มขึ้นอย่างมากจากไม่กี่ร้อยดวงกลายเป็นจำนวนนับพันล้านดวง และยังมีการค้นพบเพิ่มเติมตลอดเวลาทุกปี นักดาราศาสตร์จึงจำเป็นต้องกำหนดระบบการตั้งชื่อเพื่อบ่งชี้ถึงวัตถุทางดาราศาสตร์เหล่านี้ ในเวลาเดียวกันก็ให้ชื่อแก่วัตถุซึ่งน่าสนใจที่สุดโดยสัมพันธ์กับคุณลักษณะของวัตถุเหล่านั้น สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล (IAU) คือหน่วยงานอย่างเป็นทางการซึ่งเป็นที่ยอมรับของนักดาราศาสตร์และนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก ว่าเป็นองค์กรทำหน้าที่กำหนดชื่อแก่วัตถุทางดาราศาสตร์ ซึ่งองค์กรได้สร้างระบบการกำหนดชื่อสำหรับวัตถุทางดาราศาสตร์ประเภทต่างๆ กันอยู่หลายร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและหลักการตั้งชื่อทางดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

หลักสูตร

หลักสูตร (curriculum (เอกพจน์) หรือ curricula (พหูพจน์)) เป็นคำที่เกิดขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 และเริ่มใช้คำนี้อย่างแพร่หลายในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยในตำราเรียนเล่มแรกที่เขียนอธิบายเกี่ยวกับหลักสูตรของจอห์น แฟรงคลิน บอบบิทในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและหลักสูตร · ดูเพิ่มเติม »

หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา

หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เป็นระบบการทับศัพท์ที่นิยมใช้มากที่สุดระบบหนึ่งในประเทศไทย โดยคณะกรรมการจัดทำหลักเกณฑ์การทับศัพท์และคณะกรรมการปรับปรุงหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่าง ๆ ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา (เดิมคือราชบัณฑิตยสถาน) เป็นผู้กำหนดและเสนอหลักเกณฑ์ต่อสำนักงานราชบัณฑิตยสภาเพื่อออกประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภาให้ใช้หลักเกณฑ์ จากนั้น สำนักงานราชบัณฑิตยสภาจะเป็นผู้เสนอหลักเกณฑ์ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีให้ใช้เป็นมาตรฐานเดียวกัน แล้วลงประกาศเผยแพร่ในราชกิจจานุเบกษาต่อไป.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

หอสมุดดิจิทัลแห่งโลก

หอสมุดดิจิทัลแห่งโลก (World Digital Library, WDL) เปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อ 21 เมษายน 2552 เป็นบริการห้องสมุดในอินเทอร์เน็ตที่รวบรวมทรัพยากรความรู้ที่เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมของหลายประเทศทั่วโลก เอกสารคุณค่าเหล่านี้ ได้แก่ หนังสือหายาก เอกสารต้นฉบับตัวเขียนและฉบับพิมพ์ แผนที่ รวมทั้งสื่อบันทึกเสียง ภาพยนตร์ รูปภาพ และภาพพิมพ์ ที่แปลงเป็นรูปดิจิทัลเพื่อให้บริการฟรีในอินเทอร์เน็ตที่ โครงการนี้เกิดจากความร่วมมือระหว่างยูเนสโกและ โดยตั้งความหวังไว้ว่าจะเป็นแหล่งรวมห้องสมุดสถาบันวัฒนธรรมจากทั่วโลก ปัจจุบันให้บริการสืบค้น 7 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย ภาษาสเปน ภาษาจีน ภาษาอารบิก และภาษาโปรตุเกส ซึ่งเป็นภาษาราชการของสหประชาชาติ เป้าหมายสำคัญที่ยูเนสโกและหอสมุดรัฐสภาอเมริกันย้ำ คือ การเติมเต็มช่องว่างดิจิทัลระหว่างประเทศต่าง ๆ เปิดโอกาสให้โลกรับรู้ รู้จักวัฒนธรรมของกันและกัน และเรียนรู้มากขึ้นเพื่อสร้างความเข้าใจและสันติภาพในโลก ซึ่งเทคโนโลยีสมัยใหม่โดยเฉพาะโครงการหอสมุดดิจิทัลสามารถเสนอความรู้ดิจิทัลและแบ่งปันกันอย่างเสรี หอสมุดแห่งชาติ 5 แห่ง ที่ร่วมริเริ่มกิจกรรมนี้ได้แก่ แล.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและหอสมุดดิจิทัลแห่งโลก · ดูเพิ่มเติม »

หุย

วหุย (จีน:回族;พินอิน:Huízú, อาหรับ:هوي) เป็นมุสลิมกลุ่มหนึ่งในประเทศจีน มีประชากร 9.82 ล้านคน มีประชากรเพียงหนึ่งในสามของประชากรทั้งหมดในเขตปกครองตนเองหุยหนิงเซี่ย ชาวหุยก็คือชาวจีนที่นับถือศาสนาอิสลาม ชาวหุยส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่บริเวณพื้นที่ทุรกันดารทางตอนใต้ของเขตปกครองตนเอง ถึงแม้ว่าชาวหุยจะเป็นมุสลิม นับถืออิสลาม แต่ในปัจจุบันการแยกความแตกต่างของชาวหุยกับชาวจีนฮั่นโดยใช้ศาสนาค่อนข้างจะยากอยู่ ชาวหุยที่เป็นผู้ชายจะสวมหมวกสีขาว ส่วนผู้หญิงชาวหุยบางคนในปัจจุบันยังคงใส่ม่านบังหน้า ชาวหุยหลายคนที่ไม่คิดว่าคำว่า "เมกกะ" มีความสำคัญแต่อย่างใด แต่ในประเทศไทยชาวจีนที่นับถืออิสลาม จะเรียกว่า "จีนฮ่อ" ในพม่าจะเรียกว่า "ปันทาย" (Panthay) และชาวจีนมุสลิมที่อยู่ในเอเชียกลางจะถูกเรียกว่า "ดันกัน" (Dungans;дунгане).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและหุย · ดูเพิ่มเติม »

อภิธานศัพท์ศาสนาอิสลาม

ำศัพท์เกี่ยวกับศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอภิธานศัพท์ศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

อย่าแหย่โซฮาน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอย่าแหย่โซฮาน · ดูเพิ่มเติม »

อะบู นุวาส

อะบู นุวาส อัลฮะซัน อิบน์ ฮานีอ์ อัลฮะกะมี (756–814) หรือที่รู้จักกันในชื่อ อะบู นุวาสGarzanti (ابونواس; ابونواس, Abu Novas) เป็นหนึ่งในกวีภาษาอาหรับที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของยุคคลาสสิก ซึ่งบางครั้งก็ผลิตผลงานเป็นภาษาเปอร์เซียด้วย เขาเกิดในเมืองอาห์วาซในเปอร์เซีย พ่อเป็นชาวอาหรับ ส่วนแม่เป็นชาวเปอร์เซีย เขากลายเป็นต้นแบบของกวีนิพนธ์อาหรับร่วมสมัยในทุกประเภท นอกจากนี้ อะบู นุวาสยังเข้าไปอยู่ในคติชาวบ้าน และมีการกล่าวถึงเขาหลายครั้งในหนังสือ อาหรับราตรี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอะบู นุวาส · ดูเพิ่มเติม »

อะห์มัด ฮะซัน มะห์ญูบ

อะห์มัด ฮะซัน มะห์ญูบ (อาหรับ: أحمد حسن محجوب; เกิด 5 มีนาคม ค.ศ. 1993) หรือ กูกา หรือ โกกา เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวอียิปต์ ปัจจุบันลงเล่นให้กับสปอร์ติกกลูบีดีบรากาและทีมชาติอียิปต์ในตำแหน่งกองหน้า ช่วงที่เล่นให้กับทีมชาติอายุไม่เกิน 20 ปี กูกาเคยเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2013 โดยเขาทำสองประตูในการพบกับอิรัก และอังกฤษ นอกจากนี้ยังจ่ายบอลสำเร็จในนัดที่พบกับชิลี ในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอะห์มัด ฮะซัน มะห์ญูบ · ดูเพิ่มเติม »

อับดุลละห์ บิน อับดุลกาดีร์

หน้าหนึ่งจาก ''ฮิกายัตอับดุลละห์'' (Hikayat Abdullah) ที่เขียนด้วยภาษามลายูอักษรยาวี จากห้องสมุดแห่งชาติสิงคโปร์ การตีพิมพ์ครั้งแรกซึ่งหาได้ยากนั้น เขียนระหว่าง พ.ศ. 2383 - 2386 ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2392 อับดุลละห์ บิน อับดุลกาดีร์ (Abdullah bin Abdul Kadir; عبد الله بن عبد القادر) หรือ มุนซี อับดุลละห์ (Munshi Abdullah) เป็นนักเขียนที่มีบทบาทมากในมาเลเซียและสิงคโปร์ ผลงานที่สำคัญคือ ฮิกายัตอับดุลละห์ ที่สะท้อนประวัติศาสตร์ของมะละกาและสิงคโปร์ และเป็นจุดเริ่มต้นของวรรณกรรมแบบใหม่ในมาเลเซีย เขาเสียชีวิตระหว่างเดินทางไปแสวงบุญที่เมกกะที่บริเวณใกล้ ๆ กับญิดดะฮ์ จักรวรรดิออตโตมัน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอับดุลละห์ บิน อับดุลกาดีร์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรกรีก

อักษรกรีก เป็นอักษรที่ใช้สำหรับเขียนภาษากรีก โดยมีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคคลาสสิก ประมาณ 357 ปีก่อนพุทธศักราช (ศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสต์ศักราช) และยังคงใช้สืบต่อเรื่อยมา นับเป็นอักษรที่เก่าแก่ที่สุดแบบหนึ่งที่ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ในสมัยกรีกโบราณนั้น อักษรกรีกยังใช้เขียนแทนจำนวนอีกด้วย ซึ่งในกรณีนี้จะเรียกว่าเลขกรีก ในทำนองเดียวกับเลขโรมัน ทุกวันนี้เราใช้อักษรกรีกเป็นสัญลักษณ์คณิตศาสตร์ เป็นชื่อดาวฤกษ์ เป็นชื่อกลุ่มภราดรและกลุ่มภคินี และใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ อีกมาก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอักษรกรีก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรวาดาอัด

text.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอักษรวาดาอัด · ดูเพิ่มเติม »

อักษรสำหรับภาษาฟูลา

อักษรสำหรับภาษาฟูลา เดิมภาษานี้เขียนด้วยอักษรอาหรับที่เรียกอักษรอยามี ก่อนจะเปลี่ยนมาเขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอักษรสำหรับภาษาฟูลา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรสิเลฏินาครี

อักษรสิเลฏินาครี ใกล้เคียงกับอักษรไกถีของรัฐพิหาร จุดกำเนิดยังไม่แน่ชัด เริ่มพบครั้งแรกเมื่อราว..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอักษรสิเลฏินาครี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอยามี

อักษรอยามี (Ajami: عجمي)หรืออยามิยะห์ (عجمية), เป็นชื่อของอักษรชนิดหนึ่งโดยมีรากศัพท์มาจากภาษาอาหรับหมายถึงต่างชาติ เป็นการนำอักษรอาหรับมาใช้เขียนภาษาในกลุ่มภาษาแอฟริกา โดยเฉพาะภาษาฮัวซาและภาษาสวาฮิลี ภาษากลุ่มแอฟริกามีระบบสัทวิทยาต่างจากภาษาอาหรับทำให้มีการปรับอักษรอาหรับเพื่อแสดงเสียงเหล่านั้น ด้วยระบบที่ต่างไปจากอักษรอาหรับที่ใช้ในกลุ่มที่ไม่ได้พูดภาษาอาหรับในตะวันออกกลาง ภาษาฮัวซาในแอฟริกาตะวันตกเป็นตัวอย่างของภาษาที่ใช้อักษรอยามี โดยเฉพาะในช่วงก่อนเป็นอาณานิคม เมื่อมีโรงเรียนสอนอัลกุรอ่านให้แก่เยาวชนมุสลิม และได้สอนอักษรอยามีด้วย เมื่อเจ้าอาณานิคมตะวันตกได้พัฒนาระบบการเขียนภาษาฮัวซาด้วยอักษระลตินหรือโบโก การใช้อักษรอยามีได้ลดลง และปัจจุบันใช้น้อยกว่าอักษรละติน แต่ยังใช้อยู่มากในงานทางด้านศาสนาอิสลาม การใช้อักษรอยามีกับภาษาอื่นในประเทศมุสลิมพบได้ทั่วไป.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอักษรอยามี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอาร์วี

อักษรอาร์วี (Arwi (لسان الأروي lisān-ul-arwī หรือ lisān al-arwi; lit. "the Arwi tongue"; அரபு-தமிழ் arabu-tamil หรือ Arabo-Tamil) เป็นการเขียนภาษาทมิฬด้วยอักษรอาหรับ ได้รับอิทธิพลจากภาษาอาหรับ ใช้โดยชนกลุ่มน้อยมุสลิมในรัฐทมิฬนาฑู และศรีลังกา ในมาดราซายังสอนอักษรอาร์วีในหลักสูตร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอักษรอาร์วี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอาหรับ

อักษรอาหรับ เป็นอักษรที่มีความสำคัญในศาสนาอิสลาม เพราะคัมภีร์อัลกุรอานเขียนด้วยอักษรนี้ อักษรนี้จึงมีใช้แพร่หลายในกลุ่มผู้นับถือศาสนาอิสลาม แม้แต่ภาษานอกกลุ่มเซมิติก เช่น ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอูรดู และภาษามลายูปัตตานี ตัวอักษรมีหลายแบบแต่รูปร่างของอักษรเหมือนกัน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอักษรอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอาหรับสำหรับภาษาเบลารุส

อักษรอาหรับสำหรับภาษาเบลารุส เป็นระบบการเขียนด้วยอาหรับที่พัฒนาขึ้นเมื่อราว พุทธศตวรรษที่ 20 -21 ประกอบด้วยอักษร 28 ตัวและอักษรเพิ่มเติมอีก 3 ตัว เพื่อแสดงหน่วยเสียงในภาษาเบลารุสที่ไม่มีใน ภาษาอาหรับ อักษรอาหรับนี้ใช้โดยชาวลิปกา ตาตาร์ หรือชาวตาตาร์เบลารุสที่ได้รับเชิญให้เข้ามาตั้งถิ่นฐานในเบลารุส ซึ่งในระหว่าง พุทธศตวรรษที่ 19 - 21 พวกเขาได้หยุดใช้ภาษาของตนเองและเริ่มใช้ ภาษาเบลารุสโบราณและเขัยนด้วยอักษรอาหรับ หนังสือที่เป็นวรรณคดีเรียก Kitab ("Кітаб"), ซึ่งมาจากภาษาอาหรับ หนังสือ มีหนังสือภาษาโปแลนด์บางส่วนเขียนด้วยอักษรอาหรับ ซึ่งมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 22 Ilya Yevlampiev, Karl Pentzlin and Nurlan Joomagueldinov, N4072 Revised Proposal to encode Arabic characters used for Bashkir, Belarusian, Crimean Tatar, and Tatar languages, ISO/IEC JTC1/SC2/WG2, 20 May 2011.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอักษรอาหรับสำหรับภาษาเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอิสเกอิมลา

Qazan'' – قازان เขียนด้วยอักษรยาญาอิมลาซึ่งคล้ายคลึงกับ Zilant ป้ายจารึกบนหลุมฝังศพของ Ğabdulla Tuqay ในปี 2554 ซึ่งจารึกชื่อด้วยภาษาตาตาร์เขียนด้วยอักษรอาหรับ ปกของหนังสือภาษาตาตาร์เบื้องต้นสำหรับชาวรัสเซียเขียนด้วยอักษรอาหรับเมื่อ พ.ศ. 2321 ''Dini kitaplar'' (''หนังสือทางศาสนา'') เขียนด้วยอักษรซีริลลิกและอิสเกอิมลา อิสเกอิมลานิยมใช้ในหมู่มุสลิมอย่างชัดเจน อีกตัวอย่างของการใช้อักษรอาหรับในภาษาตาตาร์ เหรียญโทรศัพท์ ใช้เมื่อราว พ.ศ. 2533 ในเครือข่ายโทรศัพท์กาซาน คำว่ากาซานเขียนด้วยภาษารัสเซีย (Казань) และภาษาตาตาร์ด้วยอิสเกอิมลา (قزان) อักษรอิสเกอิมลา (İske imlâ; "การเขียนแบบเก่า", ออกเสียง isˈke imˈlʲæ|) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรอาหรับที่ใช้เขียนภาษาตาตาร์โบราณและภาษาตาตาร์ก่อน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอักษรอิสเกอิมลา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรทามูดิก

อักษรทามูดิก (The Thamudic script)เป็นรูปแบบที่เปลี่ยนแปลงมาจากอักษรอาระเบียใต้ ส่วนใหญ่พบอักษรนี้บนจารึกตามหน้าผาหรือก้อนหินกลม มีอักษร 28 ตัว ปกติเขียนจากขวาไปซ้าย แต่บางครั้งพบที่เขียนจากซ้ายไปขวา จากบนลงล่าง.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอักษรทามูดิก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรทานะ

อักษรทานะ (ތާނަ) ใช้เขียนภาษามัลดีฟส์ เริ่มใช้ในเอกสารราชการของสาธารณรัฐมัลดีฟส์ตั้งแต่ พ.ศ. 2246 โดยใช้แทนอักษรเดิมคืออักษรดิเวส อกุร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอักษรทานะ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรคอปติก

ตัวอักษรคอปติกเขียนในแบบโบไฮริก อักษรคอปติก (Coptic alphabet) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรกรีก โดยเพิ่มอักษรพิเศษสำหรับเสียงที่ไม่มีในภาษากรีก รูปที่เพิ่มนำมาจากอักษรอียิปต์ที่ใช้กันอยู่ทั่วไป เริ่มปรากฏเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอักษรคอปติก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรซีรีแอก

หนังสือเขียนด้วยอักษรซีรีแอก อักษรซีรีแอก (Syriac script) เป็นอักษรที่ใช้ในวรรณคดีทางศาสนาของชาวคริสต์ในซีเรีย ราว..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอักษรซีรีแอก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรแอกแคด

อักษรแอกแคด (Akkadian scripts) หลังจากชาวซูเมอร์ประดิษฐ์อักษรรูปลิ่มขึ้นใช้ อักษรแบบนี้ได้แพร่หลายไปยังกลุ่มชนใกล้เคียงเมื่อประมาณ 1,957 ปีก่อนพุทธศักราช ชาวแอกแคดที่พูดภาษาตระกูลเซมิติก และอยู่ทางเหนือของซูเมอร์ได้นำอักษรรูปลิ่มไปใช้เขียนภาษาของตน การที่ชาวแอกแคดเข้ามามีอำนาจเหนือซูเมอร์เมื่อราว 1,757 ปี ก่อนพุทธศักราชและตั้งราชวงศ์แอกแคดน กำหนดให้ภาษาแอกแคดเป็นภาษาทางการในเมโสโปเตเมีย ทำให้ภาษาซูเมอร์ค่อย ๆ ลดความสำคัญลงจนกลายเป็นภาษาตาย ส่วนภาษาแอกแคดยังใช้ต่อมาอีก 2,000 ปี โดยพัฒนามาอยู่ในรูปแบบที่เรียกภาษาบาบิโลเนียและภาษาอัสซีเรี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอักษรแอกแคด · ดูเพิ่มเติม »

อักษรโซราเบ

อักษรโซราเบ (Sorabe หรือ Sora-be) เป็นอักษรอาหรับที่ใช้เขียนภาษามาลากาซีในช่วงประมาณพุทธศตวรรษที่ 20 คำว่าโซราเบนั้นแปลตรงตัวว่าการเขียนใหญ่ โดยมาจากภาษาอาหรับ "sura" (การเขียน) และภาษามาลากาซี "be" (ใหญ่) ระบบการเขียนนี้ถูกนำเข้ามาผ่านทางการค้ากับชาวอาหรับมุสลิมFerrand, Gabriel (1905) แต่นักวิชาการบางกลุ่มเห็นว่าอาจจะได้รับจากชาวชวามุสลิม เนื่องจากมีมีความคล้ายคลึงระหว่างอักษรโซราเบกับอักษรเปโกน ที่ใช้เขียนภาษาชวา อักษรนี้ที่เป็นลายมือเขียนราว 200 ชิ้นนั้นพบว่าไม่มีอันที่เขียนก่อนพุทธศตวรรษที่ 22.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอักษรโซราเบ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเบรลล์ภาษาอาหรับ

อักษรเบรลล์ภาษาอาหรับ (birēl ʻarabīyah / birayl&#x202F) เป็นตัวอักษรเบรลล์ของภาษาอาหรับ เริ่มใช้ตั้งแต่ปี คริสตศตวรรษ 1950.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอักษรเบรลล์ภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเสี่ยวเอ้อร์

นานุกรมภาษาจีน-ภาษาอาหรับ-เสี่ยวเอ้อร์ในช่วงแรกของสาธารณรัฐประชาชนจีน อักษรเสี่ยวเอ้อร์ หรือ เสี่ยวเอ้อร์จิง (Xiao'erjing or Xiao'erjin or Xiaor jin หรืออย่างย่อว่า Xiaojing), แปลตรงตัวคือการเขียนของเด็ก หรือการเขียนส่วนน้อย โดยการเขียนดั้งเดิมจะหมายถึงอักษรอาหรับต้นแบบ เป็นรูปแบบการเขียนภาษาจีนด้วยอักษรอาหรับ อักษรนี้ใช้เป็นบางโอกาสในกลุ่มของชนกลุ่มน้อยในจีนที่นับถือศาสนาอิสลาม (ส่วนใหญ่เป็นชาวหุย แต่ก็มีชาวต้งเซี่ยง และชาวซาลาร์) และเคยใช้ในลูกหลานของชาวดันกันในเอเชียกลาง สหภาพโซเวียต ได้บังคับให้ชาวดันกันใช้อักษรละตินแทนที่อักษรเสี่ยวเอ้อร์ และต่อมาเปลี่ยนเป็นอักษรซีริลลิกในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอักษรเสี่ยวเอ้อร์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเปโกน

อักษรเปโกน (Pegon) เป็นอักษรอาหรับที่ใช้เขียนภาษาชวาและภาษาซุนดา นอกเหนือจากการเขียนด้วยอักษรชวา และใช้มาก่อนที่จะเปลี่ยนเป็นอักษรโรมันในยุคอาณานิคม นิยมใช้เขียนงานทางศาสนาและกวีนิพนธ์ในพุทธศตวรรษที่ 20 คำว่าเปโกนมาจากภาษาชวา pégo หมายถึงเบี่ยงเบน เพราะเป็นการเขียนภาษาชวาด้วยอักษรอาหรับซึ่งไม่ได้เป็นอักษรพื้นเมืองของชาวชวา ความแตกต่างหลักระหว่างอักษรยาวีและอักษรเปโกนคืออักษรจะเขียนตามเสียงที่เปล่งออกมา เพราะในภาษาชวามีสระที่หลากหลายกว่าภาษามลายูทำให้จำเป็นต้องเขียนสระให้ชัดเจนเพื่อป้องกันความสับสน ถ้าอักษรเปโกนเขียนแบบไม่มีเครื่องหมายสระอย่างอักษรยาวีจะเรียก คุนดุล อักษรเปโกนมีเครื่องหมายสำหรับเสียงที่ไม่มีในภาษาอาหรับด้ว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอักษรเปโกน · ดูเพิ่มเติม »

อัลกุรอาน

อัลกุรอาน บ้างเรียก โกหร่าน (الْقُرآن) เป็นคัมภีร์ในศาสนาอิสลาม ชาวมุสลิมเชื่อว่าเป็นพระวจนะของอัลลอฮ์ที่ประทานผ่านทางเทวทูตญิบรีล มาสู่นบีมุฮัมมัด คำว่า กุรอาน มาจากรากศัพท์ในภาษาอาหรับแปลว่า การอ่าน หรือ อาขยาน อัลลอฮ์ได้ประทานคัมภีร์อัลกรุอานแก่นบีมุฮัมมัดซึ่งชาวมุสลิมถือว่าเป็นศาสนทูตคนสุดท้าย และคัมภีร์นี้ก็เป็นคัมภีร์สุดท้ายที่อัลลอฮ์ได้ส่งมาให้แก่มวลมนุษยชาติ หลังจากนี้แล้วจะไม่มีคัมภีร์ใด ๆ จากพระเป็นเจ้าอีก คัมภีร์กรุอานนี้ได้ประทานมาเพื่อยกเลิกคัมภีร์เก่า ๆ ที่เคยได้ทรงประทานมาในอดีตนั่นคือคัมภีร์เตารอต ที่เคยทรงประทานมาแก่นบีมูซา คัมภีร์ซะบูร ที่เคยทรงประทานมาแก่นบีดาวูด (ดาวิด) และคัมภีร์อินญีลที่เคยทรงประทานมาแก่นบีอีซา (พระเยซู) เป็นคัมภีร์ที่บริบูรณ์ไม่มีการเพี้ยนเปลี่ยนแปลง ภาษาของคัมภีร์อัลกุรอานนั้นคือภาษาอาหรับ ที่ยังใช้อยู่ในปัจจุบัน การศรัทธาในคัมภีร์อัลกุรอานทั้งเล่มเป็นหลักการหนึ่งที่มุสลิมทุกคนต้องศรัทธา นั่นก็หมายความว่าหากไม่ศรัทธาในอัลกุรอาน หรือศรัทธาเพียงบางส่วนก็จะเป็นมุสลิมไม่ได้ เช่นเดียวกับที่ต้องศรัทธาว่าคัมภีร์อัลกุรอานนี้มีความบริบูรณ์ภายใต้การพิทักษ์ของพระผู้เป็นเจ้า ด้วยเหตุนี้จึง ตั้งแต่วันที่ท่านศาสดาเสียชีวิตจนกระทั่งถึงปัจจุบัน โดยมีความเหมือนกันในทุกฉบับบนโลก และภาษาอาหรับในคัมภีร์จึงเป็นภาษาโบราณภาษาเดียว ที่มีใช้อย่างคงเดิมอยู่จนกระทั่งวันนี้ได้ และได้กลายเป็นภาษามาตรฐานของประเทศอาหรับทั้งหลาย เป็นภาษาวิชาการของอิสลาม และเป็นภาษาที่ใช้ในการปฏิบัติศาสนพิธีของมุสลิมทุกคนทั่วโลก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอัลกุรอาน · ดูเพิ่มเติม »

อัลญะมะอะหฺ อัลอิสลามียะหฺ (อียิปต์)

อัลญะมะอะหฺ อัลอิสลามียะหฺ (Al Gama a al Islamiyyah; ภาษาอาหรับ الجماعه الإسلاميه) เป็นกลุ่มนิยมอิสลามและกลุ่มติดอาวุธที่ใหญ่ที่สุดในอียิปต์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปลี่ยนการปกครองในประเทศอียิปต์ให้เป็นรัฐอิสลาม กิจกรรมของกลุ่มเริ่มปรากฏตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอัลญะมะอะหฺ อัลอิสลามียะหฺ (อียิปต์) · ดูเพิ่มเติม »

อัลลอหุ อักบัร (เพลงชาติ)

อัลลอหุ อักบัร (ภาษาอาหรับ: الله أكبر‎), Allahu Akbar; แปลว่า อัลลอหฺ (พระเจ้า) ทรงยิ่งใหญ่ที่สุด) เป็นชื่อเพลงชาติของประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย เพลงนี้เดิมเป็นเพลงปลุกใจเพลงหนึ่งของอียิปต์ ซึ่งเป็นที่นิยมทั่วไปในประเทศอียิปต์และซีเรียในช่วงสงครามคลองสุเอซ พ.ศ. 2499 ประพันธ์ทำนองโดย อับดุลลา ชามส์ เอล-ดิน (Abdalla Shams El-Din) เนื้อร้องโดย มาห์มุด เอล-เชอริฟ (Mahmoud El-Sherif) ประธานาธิบดีมูอัมมาร์ อัล-กัดดาฟี แห่งลิเบีย ได้ประกาศให้เพลงนี้เป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการของลิเบียเมื่อ 1 กันยายน พ.ศ. 2512 เพื่อแสดงจุดยืนที่มุ่งหวังจะเห็นโลกอาหรับมีความเป็นเอกภาพ เมื่อลิเบียตัดความสัมพันธ์กับอียิปต์ในปี พ.ศ. 2522 เพลง "อัลลอหุ อักบัร" ก็ยังคงใช้ในฐานะเพลงชาติลิเบียอยู่เช่นเดิม แต่ไม่มีการกล่าวถึงที่มาของเพลงซึ่งมาจากอียิปต์โดยรัฐบาลลิเบียอีกต่อไป.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอัลลอหุ อักบัร (เพลงชาติ) · ดูเพิ่มเติม »

อัลอันดะลุส

อัลอันดะลุส (الأندلس; Al-Andalus) เป็นชื่อภาษาอาหรับของบริเวณคาบสมุทรไอบีเรียและเซ็พติเมเนียที่ปกครองโดยอาหรับและชาวมุสลิมในแอฟริกาเหนือ (ที่เรียกโดยทั่วไปว่ามัวร์) ในช่วงเวลาต่าง ๆ กันระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอัลอันดะลุส · ดูเพิ่มเติม »

อัลคามีอา

อัลคามีอา เขียนโดยมันเซโบ เด อาเรบาโล ประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 16 (พุทธศตวรรษที่ 21)The passage is an invitation directed to the Spanish Moriscos or Crypto-Muslims so that they continue fulfilling the Islamic prescriptions in spite of the legal prohibitions and so that they disguise and they are protected showing public adhesion the Christian faith. เอกสารตัวเขียนของ ''Poema de Yuçuf'' ซึ่งเป็นบทกวีภาษาอารากอนที่เขียนด้วยอักษรอาหรับ อัลคามีอา (aljamía) หรือ อะญะมียะฮ์ (عَجَمِيَة, ʿajamiyah) เป็นเอกสารตัวเขียนที่ใช้อักษรอาหรับในการเขียนภาษากลุ่มโรมานซ์ เช่น ภาษาโมแซรับ ภาษาโปรตุเกส ภาษาสเปน ภาษาอารากอน หรือภาษาลาดิโน คำว่าอัลคามีอาเพี้ยนมาจากคำในภาษาอาหรับว่า ʿajamiyah ซึ่งในที่นี้หมายถึงภาษาต่างชาติ และโดยทั่วไปใช้เรียกกลุ่มชนที่ไม่มีบรรพบุรุษเป็นชาวอาหรับ ส่วนในทางภาษาศาสตร์ อัลคามีอาคือการนำอักษรอาหรับไปเขียนภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวันในบางพื้นที่ของอัลอันดะลุส ส่วนภาษาอาหรับเป็นภาษาที่ใช้ในทางวิทยาศาสตร์ วัฒนธรรมชั้นสูง และศาสนา ระบบการเขียนกลุ่มภาษาโรมานซ์ด้วยอักษรอาหรับพัฒนาขึ้นในราวคริสต์ศตวรรษที่ 15 (พุทธศตวรรษที่ 20) และพบมากในศตวรรษต่อมา ต่อมา ชาวโมริสโกได้เลิกใช้ภาษาอาหรับเป็นภาษาทางศาสนา และใช้ภาษาสเปนแทน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอัลคามีอา · ดูเพิ่มเติม »

อัลซะลามอัลมะละกีอัลอูร์โดนี

ลงชาติจอร์แดน มีชื่อว่า "อัลซะลามอัลมะละกีอัลอูร์โดนี" (السلام الملكي الأردني, ถอดเสียงด้วยอักษรโรมัน: Al-salam Al-malaki Al-urdoni) แปลว่า เพลงสรรเสริญพระบารมีจอร์แดน นอกจากจะใช้เป็นเพลงชาติแล้ว ยังใช้เป็นเพลงเกียรติยศสำหรับพระมหากษัตริย์แห่งจอร์แดนด้วย เพลงนี้เริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอัลซะลามอัลมะละกีอัลอูร์โดนี · ดูเพิ่มเติม »

อัศราเอล

อัศราเอล (עזראל Azrael) ในภาษาฮีบรู หรือ อัศราอีล (عزرائيل‎) ในภาษาอาหรับ เป็นทูตสวรรค์ในกลุ่มศาสนาอับราฮัม คัมภีร์ฮีบรูมักกล่าวถึงเขาในฐานะทูตสวรรค์แห่งความตาย ชื่อของเขามีความหมายว่า "พระเจ้าคืออนุเคราะห์แห่งเรา" หรือ "ผู้ช่วยเหลือจากพระเจ้า" ในศาลนาอิสลามเรียกอัศราเอลว่าเป็น มลาอิกะฮ์ อัลมอวติ์ (مَلَكُ المَوْتِ) หรือแปลตรงตัวว่า "ทูตสวรรค์แห่งความตาย" และมุสลิมยังถือว่าเขาเป็นอัครทูตสวรรค์องค์หนึ่งด้วย จากคัมภีร์ของทั้งสองศาสนา ทำให้พอจะอนุมานได้ว่าอัศราเอลเป็นทูตสวรรค์ที่อยู่ในสวรรค์ชั้นที่สามจากเจ็ดชั้น เขามีสี่พักตร์และปีกอีกสี่พันข้าง ร่างกายของเขานั้นเต็มไปด้วยดวงตาและลิ้นมากมายเท่ากับจำนวนผู้คนบนโลกมนุษย์ เขาคอยบันทึกและลบรายชื่อการเกิดและดับในโลกมนุษย์ในหนังสือขนาดยักษ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอัศราเอล · ดูเพิ่มเติม »

อัสคารี

ฝ่ายสัมพันธมิตรที่วอเตอร์คลูฟ (Waterkloof), พริทอเรีย, ประเทศแอฟริกาใต้ใน ค.ศ. 1943 อัสคารี (Askari) เป็นคำในภาษาอาหรับแปลว่า "ทหาร" (عسكري ‘askarī) โดยทั่วไปแล้วใช้อธิบายถึงกองทหารพื้นเมืองในแอฟริกาตะวันออก, แอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือ และแอฟริกากลาง ที่สังกัดกองทัพของอาณานิคมมหาอำนาจยุโรป ชื่อนี้ยังหมายถึงตำรวจ, ตำรวจภูธร และเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยอีกด้วย คำนี้ได้ถูกรับเข้าไปในภาษาแอมฮาริค (Amharic), บอสเนียน (Bosnian), อิตาลี, เปอร์เซีย, โปแลนด์, โซมาลี, สวาฮีลี, ตุรกี และ อูรดู ในช่วงระยะเวลาของจักรวรรดิอาณานิคมของยุโรปในทวีปแอฟริกา ทหารรับจ้างพื้นเมืองถูกว่าจ้างโดยกองทัพอาณานิคมของอิตาลี, อังกฤษ, โปรตุเกส, เยอรมัน และเบลเยี่ยม พวกเขามีบทบาทที่สำคัญในการพิชิตดินแดนอาณานิคมหลายพื้นที่ และภายหลังทำหน้าที่เป็นกองทหารรักษาการณ์ และกองกำลังรักษาความปลอดภัยในพื้นที่ ในระหว่างสงครามโลกทั้งสองครั้ง หน่วยอัสคารีได้ทำหน้าที่ภายนอกอาณานิคมของตนในส่วนต่างๆของทวีปแอฟริกา ตะวันออกกลาง และเอเชี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอัสคารี · ดูเพิ่มเติม »

อัดนัน บาราคัท

อัดนัน บารอกัต (بركات عدنان‎) เกิดเมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2525 เป็นนักฟุตบอลตำแหน่งกองกลางชาวโมร็อคโก-ดัตช์ ปัจจุบันได้ลงเล่นให้กับสโมสรเพื่อนตำรวจ ในไทยลีก ดิวิชัน 1 บารอกัตเป็นนักฟุตบอลที่ถนัดเท้าซ้าย มีจุดเด่นในการยิงฟรีคิกที่ยอดเยี่ยมและเต็มไปด้วยเทคนิค โดยเขาผ่านการเล่นฟุตบอลที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ในระดับเอเรอดีวีซีหรือลีกสูงสุดกับสโมสรเอ็นอาซี เบรดา และย้ายมาเล่นในระดับเอร์สเตอ ดีวีซี (Eerste Divisie) หรือลีกระดับรองให้กับสโมสรเอฟเซ ไอนด์โฮเฟิน,แคมบูร์ และเอฟเซ เดน บอช รวมถึงเคยเล่นฟุตบอลในพรีเมียร์ลีกของประเทศอาเซอร์ไบจานกับสโมสรเอฟเค บาคู ปี 2012 อัดนาน บารอกัต ย้ายมาเล่นฟุตบอลในประเทศไทยกับสโมสรเมืองทอง ยูไนเต็ด และสามารถคว้าแชมป์ไทยพรีเมียร์ลีกได้ 1 สมัย หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2525 หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่ หมวดหมู่:นักฟุตบอลชาวโมร็อกโก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอัดนัน บาราคัท · ดูเพิ่มเติม »

อัซซิซตานีย์

อายะตุลลอฮฺ อัลอุซมา ซัยยิด อะลีย์ ฮุซัยนีย์ อัซซิซตานีย์ (นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า "อายะตุลลอหฺ ซิซตานีย์" อาหรับ: السيد علي الحسيني السيستاني เปอร์เซีย: سید علی حسینی سیستانی) ผู้นำคนสำคัญที่สุดในโลกอิสลามชีอะหฺ เป็นมัรญิอฺตักลีดที่มีผู้ตามมากที่สุดในโลก และเริ่มเป็นที่รู้จักทั่วโลกหลังจากสหรัฐอเมริกาเข้ายึดครองอิรักในปี ค.ศ. 2003 ถือกำเนิดในปี ฮ.ศ. 1349 (ค.ศ. 1930) ในเมืองมัชฮัด ประเทศอิหร่าน ในครอบครัวของนักการศาสนาที่มีพื้นเพเดิมมาจากซิซตาน ในอิหร่าน ซึ่งสืบเชื้อสายจากนบีมุฮัมมัด หลังจากได้ศึกษาวิชาการศาสนาขั้นพื้นฐานจบเรียบร้อยแล้ว ได้ศึกษาวิชาปรัชญา และศาสนศาสตร์ต่อ และจบหลักสูตรการศึกษาในระดับสูงเกี่ยวกับกฎหมายอิสลาม (ฟิกหฺ) ที่เมืองมัชฮัด ประเทศอิหร่าน ซึ่งวิชาการส่วนมากท่านได้รับการถ่ายทอดจากท่านมิรฺซา มะหฺดีย์ อิศฟะฮานีย์ ในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอัซซิซตานีย์ · ดูเพิ่มเติม »

อายะตุลลอหฺ

อายะตุลลอหฺ การสะกดอื่น ๆ อายะตุลลอห์ อายะตุลลอฮฺ อายะตุลลอฮ์ อายาตุลลอห์ อายาตุลลาห์ เป็นตำแหน่งสูงสุดที่มอบให้แก่ผู้นำศาสนาอิสลามนิกาย(มัซฮับ)ชีอะหฺ เป็นคำภาษาอาหรับ آيةالله แปลว่า สัญลักษณ์แห่งอัลลอหฺ (อายะตุ สัญลักษณ์ และ อัลลอหฺ นามของพระเจ้า) บุคคลที่จะได้รับตำแหน่งนี้ต้องเป็น "อะอฺลัม อะอฺละมีน" คือ สุดยอดผู้รู้ของบรรดาสุดยอดผู้รู้ หรือปรมาจารย์ นั่นคือจะต้องผ่านการศึกษาจนกระทั่งบรรลุขั้นสูงสุด ในวิทยาการอัลกุรอาน ตัฟซีร ฮะดีษ ฟิกหฺ อุศูลุลฟิกหฺ ภาษาอาหรับ ตรรกวิทยา และอื่น ๆ จนบรรลุขั้น อิจญ์ติฮาด สามารถวินิจฉัยบทบัญญัติอิสลามได้ หลังจากนั้นจึงเป็นอาจารย์สอนนักศึกษาศาสนาอิสลามและเป็นผู้นำของบรรดาผู้บรรลุอิจญ์ติฮาด เมื่อเป็นที่ยอมรับของบรรดาผู้บรรลุอิจญ์ติฮาดแล้ว จึงได้รับตำแหน่งนี้.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอายะตุลลอหฺ · ดูเพิ่มเติม »

อายิน

อายิน (Ayin) เป็นอักษรตัวที่ 16 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ע‎ และอักษรอาหรับ ع (อัยน์)‎ เริ่มแรกใช้แทนเสียงก้อง เกิดจากคอหอยและเป็นเสียงเสียดแทรก มักแทนด้วยอักษรละติน ʿ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์จากอักษรกรีก spiritus asper ʽ, อายินใช้แทนเสียงที่ต่างจาก /อ/ ซึ่งแทนด้วยอะลิฟ ในภาษาโซมาเลียแสดงอัยนฺด้วยอักษร c, และนักอียิปต์วิทยานิยมแทนเสียงนี้ด้วย c อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Omicron (Ο), และอักษรละติน O, รวมทั้งในอักษรซีริลลิกด้วย อักษรเหล่านี้ใช้แสดงเสียงสระทั้งหมด อักษรนี้มาจากภาษาเซมิติกตะวันตก ʿen "ตา" (ในภาษาอาหรับสมัยใหม่แปลตรงตัวว่า "ตาในภาษาฮีบรู: ayin), และอักษรคานาอันไนต์ รูปตาที่อาจจะมาจากไฮโรกลิฟ (ỉr) หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอายิน · ดูเพิ่มเติม »

อารบิก

อารบิก อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอารบิก · ดูเพิ่มเติม »

อาร์แร็ก

อาร์แร็กจากศรีลังกา อาร์แร็ก (p) เป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ผลิตในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้จากการหมักน้ำตาลมะพร้าว, อ้อย, ธัญพืชหรือผลไม้ แล้วนำไปกลั่นจนได้รสชาติและสีตามที่ต้องการ อาร์แร็กมีรากศัพท์มาจากคำในภาษาอาหรับ عرق (arq) แปลว่า "เหงื่อ" เป็นรากศัพท์เดียวกับอะรัก สุราที่ผลิตในตะวันออกกลาง แต่ทั้งสองชนิดแตกต่างกัน นอกจากนี้ผู้เชี่ยวชาญบางคนยังเสนอว่าอาจมาจากผลหมาก (areca nut) ซึ่งเคยใช้ทำอาร์แร็ก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอาร์แร็ก · ดูเพิ่มเติม »

อาลัมบรา

อัลฮัมบรา (Alhambra; قصر الحمراء) คือพระราชวังและป้อมปราการตั้งอยู่ที่เมืองกรานาดาในแคว้นอันดาลูเซีย ทางภาคใต้ของประเทศสเปน สร้างขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1248-1354 โดยกษัตริย์มุสลิมชาวมัวร์ สุลต่านมุฮัมมัดที่ 1 อิบน์ นัสร์แห่งราชวงศ์นาสริด ซึ่งเป็นราชวงศ์ของชาวมุสลิมราชวงศ์สุดท้ายในสเปน คำว่า "อัลฮัมบรา" มาจากคำในภาษาอาหรับว่า "อัลฮัมรออฺ" (الحمراء) แปลว่า "(สิ่งที่มี) สีแดง" เนื่องจากตัวป้อมปราการนั้นก่อสร้างด้วยหิน ดิน และอิฐสีแดง ส่วนอาคารอื่น ๆ ซึ่งสร้างด้วยใช้ปูนขาวเป็นส่วนประกอบก็จะเห็นเป็นสีออกแดง ๆ เช่นกัน สถาปัตยกรรมของพระราชวังอัลฮััมบรามีความโดดเด่นด้วยลายแกะสลักอย่างละเอียดและประณีต ทั้งผนัง เสา เพดาน โค้งซุ้มประตูต่าง ๆ ล้วนแกะสลักอย่างละเอียด นับเป็นงานศิลป์ชั้นยอดของชาวมัวร์ในยุคนั้น แม้อาลัมบราจะมีที่ตั้งอยู่บนเนินเขาสูง แต่ก็มีระบบการจัดการเกี่ยวกับน้ำที่ดี มีการทำคูคลองส่งน้ำจากด้านล่างขึ้นมายังพระราชวังเพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภค ซึ่งเป็นการแสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาด้านการชลประทานของชาวมัวร์ได้เป็นอย่างดี ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 อัลฮัมบราถูกทอดทิ้งจนค่อย ๆ กลายสภาพเป็นที่พักของบรรดาคนจรจัดที่มาอาศัยอยู่กันอย่างระเกะระกะ และทรุดโทรมลงไปเรื่อย ๆ พระราชวังบางส่วนถูกทำลายเนื่องจากความไม่รู้ถึงคุณค่าของพระราชวังแห่งนี้ อย่างไรก็ดี หลังจากที่อัลฮัมบรา ได้กลายเป็นฉากหนึ่งในนวนิยายเรื่อง Tales of the Alhambra รัฐบาลสเปนก็ได้ให้ความสนใจในการบูรณปฏิสังขรณ์พระราชวังแห่งนี้ให้กลับมามีสภาพที่ดีอีกครั้ง และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกร่วมกับสถานที่ในบริเวณเดียวกันอีกสองแห่งในนามว่า "อัลฮัมบรา, เคเนราลีเฟ และอัลไบย์ซินแห่งกรานาดา".

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอาลัมบรา · ดูเพิ่มเติม »

อาหรับ

กลุ่มประเทศอาหรับ อาหรับ (عربي, ʿarabi พหูพจน์ العرب al-ʿarab, Arab) คือบุคคลกลุ่มบุคคลที่มีชาติพันธุ์ พูดภาษา หรือมีวัฒนธรรมที่เรียกว่า “อาหรับ”เป็นชนชาติหนึ่งที่อาศัยในบริเวณคาบสมุทรอาหรับที่เป็นทะเลทราย รวมทั้งชนชาติที่พูดภาษาอาหรับในเอเชียตะวันตก และแอฟริกาเหนือ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม คำว่าอาหรับในตระกูลภาษาเซมิติกแปลว่าทะเลทรายหรือผู้อาศัยอยู่ในทะเลทราย ส่วนใหญ่ดำรงชีพแบบเร่ร่อน จึงแปลคำว่าอาหรับว่าเร่ร่อนได้ด้วย ชาวอาหรับเป็นชาวเซมิติกเช่นเดียวกับชาวยิว จัดอยู่ในพวกคอเคเซอยด์ ในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเก่ากล่าวว่าอับราฮัมมีลูกชาย 2 คน คนโตชื่ออิสไมส์หรืออิสมาอีลเป็นต้นตระกูลของชาวอาหรับ คนที่ 2 ชื่อไอแซกเป็นต้นตระกูลของชาวยิว ก่อนที่มุฮัมมัดจะประกาศศาสนาอิสลามชาวอาหรับจะอยู่กันเป็นเผ่า จงรักภักดีต่อเผ่าของตนมาก วิถีชีวิตของชาวอาหรับมีสองแบบ คือแบบอยู่เป็นหมู่บ้าน มีอาชีพค้าขายและทำการเกษตร อีกกลุ่มหนึ่งใช้ชีวิตแบบเร่ร่อนเรียกว่าเบดูอิน อาศัยอยู่ในกระโจมเพื่อเคลื่อนย้ายได้สะดวก ชาวเบดูอินกับชาวอาหรับที่ตั้งถิ่นฐานมักดูถูกกัน ไม่ลงรอยกัน หลังจากมุฮัมมัดประกาศศาสนาอิสลาม จึงเกิดความสามัคคีในหมูชาวอาหรับ ผู้นับถือศาสนาอิสลามในยุคแรกๆมักถูกกลั่นแกล้งและปราบปรามจึงเกิดการทำญิฮาดหรือการต่อสู้เพื่อศาสนาขึ้น ปัจจุบันประเทศที่จัดว่าเป็นประเทศอาหรับเป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ ในปัจจุบันมีสมาชิก 21 ประเทศ ได้แก่ แอลจีเรีย จิบูตี บาห์เรน อิรัก จอร์แดน คูเวต เลบานอน ลิเบีย มอริตาเนีย โมร็อกโก โอมาน ปาเลสไตน์ กาตาร์ ซาอุดิอาระเบีย โซมาเลีย ซูดาน ซีเรีย ตูนีเซีย อียิปต์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และ เยเมน ในปัจจุบันยังมีความขัดแย้งในหมู่ชาวอาหรับอยู่ เช่น ปัญหาปาเลสไตน์ ความขัดแย้งทางศาสนา เช่น ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์ในเลบานอน ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่และชีอะห์ เป็นต้น ภาษาอาหรับเป็นภาษาที่เก่ากว่าวัฒนธรรมอาหรับที่เริ่มเผยแพร่ในตะวันออกกลางตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2 เมื่ออาหรับคริสเตียนเช่นกาสนาวิยะห์ ลักห์มิยะห์ และ Banu Judham เริ่มโยกย้ายเข้าไปตั้งถิ่นฐานในทะเลทรายซีเรียและในบริเวณลว้าน ภาษาอาหรับเพิ่มความสำคัญมากขึ้นพร้อมกับการรุ่งเรืองของศาสนาอิสลามในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ในการเป็นภาษาของอัลกุรอาน และวัฒนธรรมอาหรับก็เริ่มเผยแพร่ออกไปพร้อมกับการขยายดินแดนของอิสลาม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

อาหรับ (แก้ความกำกวม)

กลุ่มประเทศอาหรับ อาหรับ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอาหรับ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรมเยาะอู

อาณาจักรมเยาะอู (Kingdom of Mrauk-U) เป็นอาณาจักรที่มีเมืองหลวงที่เมืองมเยาะอู ใกล้กับชายฝั่งตะวันออกของอ่าวเบงกอล ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของบังกลาเทศและรัฐยะไข่ในประเทศพม่า ปกครองตนเองเป็นอิสระระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอาณาจักรมเยาะอู · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคมเอเดน

อาณานิคมเอเดน (Colony of Aden مستعمرة عدن) เป็นดินแดนอาณานิคมของสหราชอาณาจักร ตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอาณานิคมเอเดน · ดูเพิ่มเติม »

อาดุลฟุราตอยนีวาตาน

ลงชาติอิรัก ซึ่งเคยใช้ในสมัยพรรคบะอัธของประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน มีชื่อว่า "Ardulfurataini Watan" أرض الفراتين. แปลว่า ดินแดนแห่งสองสายน้ำ คำว่าสองสายน้ำนี้ หมายถึง แม่น้ำไทกริส และแม่น้ำยูเฟรติส ซึ่งเป็นแม่น้ำที่ไหลผ่านที่ราบลุ่มเมโสโปเตเมีย อันเป็นที่ตั้งของประเทศอิรักในปัจจุบัน ประพันธ์เนื้อร้องโดย ชาฟิค อัลกามาลี (Shafiq Alkamali) ทำนองโดย วาลิด จอร์จ โกลเมียห์ (Walid Georges Gholmieh) เดิมเพลงนี้ได้มีการประกาศใช้เป็นเพลงชาติเมื่อ พ.ศ. 2522 ต่อมาเมื่อประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน พ้นจากอำนาจในปี พ.ศ. 2546 แล้ว รัฐบาลอิรักชุดใหม่ก็ได้เลือกเอาเพลง เมาตินี มาใช้เป็นเพลงชาติแทน อย่างไรก็ตาม เพลงนี้ก็ยังคงใช้เป็นเพลงชาติอิรักกันอย่างกว้างขวางต่อไป แม้เพลงนี้จะไม่ได้รับการรับรองจากทางการอิรักก็ตาม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอาดุลฟุราตอยนีวาตาน · ดูเพิ่มเติม »

อาซาน

อาซาน (أَذَان adhān IPA: /ʔæðæːn/) คือการเรียกเพื่อละหมาดของอิสลาม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอาซาน · ดูเพิ่มเติม »

อาเรบีตซา

อาเรบีตซา (บอสเนีย: arebica) หรือ อาราบีตซา (arabica) เป็นอักษรอาหรับรูปแบบหนึ่งที่ใช้เขียนภาษาบอสเนีย เคยใช้เมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 15-19 (พุทธศตวรรษที่ 20-24) เป็นความพยายามของมุสลิมที่จะพัฒนาอักษรอาหรับมาใช้เขียนภาษาบอสเนียนอกเหนือจากอักษรละตินและอักษรซีริลลิกสำหรับภาษาเซอร์เบีย หนังสือที่พิมพ์ด้วยอักษรนี้ตีพิมพ์ครั้งสุดท้ายเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอาเรบีตซา · ดูเพิ่มเติม »

อิบาดะหฺ

อิบาดะหฺ คำทับศัพท์จากภาษาอาหรับ แปลว่า การบูชาสักการะ หมายถึงการบูชาสักการะต่ออัลลอหฺนายผู้เป็นใหญ่ที่สุด ด้วยการปฏิบัติตามคำสั่งใช้และละทิ้งคำสั่งห้าม เช่น นมาซ และถือศีลอด การไม่ลักขโมยและผิดประเวณี หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอิบาดะหฺ · ดูเพิ่มเติม »

อิมาม (ชีอะฮ์)

อิมาม เป็นคำภาษาอาหรับ แปลว่า ผู้นำ ซึ่งในทัศนะของชาวมุสลิมชีอะฮ์ หมายถึงบุคคลที่นบีมุฮัมมัดได้แต่งตั้งให้เป็นผู้นำหลังจากท่านเสียชีวิต บรรดาอิมามเหล่านี้จะเป็นผู้อธิบายความหมายของสาส์นอิสลามให้แก่ชนร่วมสมัย ยามใดที่พวกเขาเหล่านั้นไม่อยู่หรือเสียชีวิต ผู้ที่จะทำหน้าที่แทนก็คือบรรดาผู้ที่มีคุณวุฒิสูงสุด เรียกว่า มุจญ์ตะฮิด ซึ่งเป็นผู้มีความรู้เกี่ยวกับอัลกุรอานและหะดีษ อิมามสิบสองท่าน อิมามียะหฺ หรือ ญะอฺฟะรียะหฺ เป็นชื่อเรียกชาวชีอะฮ์ใช้เรียกอิมามสูงสุด ที่นบีมุฮัมมัดแต่งตั้งมา มี 12 คน ได้แก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอิมาม (ชีอะฮ์) · ดูเพิ่มเติม »

อิรักในอาณัติ

รัฐอารักขาเมโสโปเตเมีย มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรในอาณัติของสหราชอาณาจักร (الانتداب البريطاني على العراق) สถาปนาประเทศเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอิรักในอาณัติ · ดูเพิ่มเติม »

อิสละมียามิศร์

อิสละมียามิศร์ (اسلمي يا مصر, "จงปลอดภัยเถิด อียิปต์") เป็นเพลงชาติของอียิปต์ตั้งแต่ ค.ศ. 1923 ถึง ค.ศ. 1936 ประพันธ์บทร้องโดยนักกวีชาวอียิปต์ที่มีชื่อว่ามุศเฏาะฟา ศอดิก อัรรอฟิอี เรียบเรียงทำนองโดยเศาะฟัร อะลี ปัจจุบันใช้เป็นเพลงประจำโรงเรียนนายร้อยตำรวจอียิปต.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอิสละมียามิศร์ · ดูเพิ่มเติม »

อิตาเลียนลิเบีย

อิตาเลียนลิเบีย หรือ ลิเบียของอิตาลี (Italian Libya, Libia Italiana) เป็นอาณานิคมรวม (unified colony) ของดินแดนแอฟริกาเหนือของอิตาลี ก่อตั้งขึนในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอิตาเลียนลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

อูรักลาโว้ย

อูรังลาโว้ย (Orang Laut) เป็นชาวเลกลุ่มใหญ่ที่มีถิ่นฐานบนเกาะสิเหร่ และที่หาดราไวย์ บ้านสะปำ จังหวัดภูเก็ต จนถึงทางใต้ของเกาะพีพีดอน เกาะจำ เกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบี่, เกาะอาดัง เกาะหลีเป๊ะ เกาะราวี จังหวัดสตูล และบางส่วนอยู่ที่เกาะลิบง จังหวัดตรัง นอกจากนี้ยังอาศัยอยู่ทางฝั่งตะวันตกของประเทศมาเลเซีย ชาวเลกลุ่มอูรังลาโว้ยมีภาษาที่แตกต่างกับกลุ่มมอแกนและมอแกลน แม้จัดอยู่ในตระกูลออสโตรนีเชียน เช่นเดียวกัน พิธีกรรมสำคัญของอูรังลาโว้ยคือ การลอยเรือ "ปลาจั๊ก" เพื่อกำจัดเคราะห์ร้ายออกไปจากชุมชน ในปัจจุบัน ชาวเลกลุ่มอูรังลาโว้ยตั้งถิ่นฐานอย่างถาวร หันมาประกอบอาชีพประมงชายฝั่ง รับจ้างทำสวน และอาชีพอื่น ๆ ซึมซับวัฒนธรรมไทยมากขึ้น และเรียกขานตัวเองว่า ไทยใหม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอูรักลาโว้ย · ดูเพิ่มเติม »

อีมาน (นางแบบ)

อีมาน มุฮัมมัด อับดุลมะญีด (Iimaan Maxamed Cabdulmajiid, ايمان محمد عبد المجيد, เกิด: 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1955) หรือที่รู้จักกันในชื่อ อีมาน (มาจากภาษาอาหรับมีความหมายว่า "ศรัทธา") เป็น นางแบบ, นักแสดง และผู้ประกอบการชาวอเมริกันเชื้อสายโซมาเลีย เธอเป็นภรรยาคนปัจจุบันของเดวิด โบอี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอีมาน (นางแบบ) · ดูเพิ่มเติม »

อีมน์เชรีเฟียง

อีมน์เชรีเฟียง (Hymne Chérifien, แปลว่า "เพลงสรรเสริญชาริฟ") เป็นชื่อของเพลงชาติราชอาณาจักรโมร็อกโก ทำนองเพลงประพันธ์โดยเลโอ มอร์กอง (Léo Morgan) ซึ่งใช้มาตั้งแต่สมัยที่โมร็อกโกยังเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศส โดยมีเนื้อร้องต่างจากที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ภายหลังเมื่อได้รับเอกราชเมื่อ พ.ศ. 2499 แล้ว จึงได้ใช้เฉพาะทำนองเป็นเพลงชาติ ส่วนเนื้อร้องฉบับปัจจุบันนี้ประพันธ์โดยอาลี สควอลลี ฮุสไซนี (Ali Squalli Houssaini) เมื่อ พ.ศ. 2513 คำว่า "ชาริฟ" (شريف‎, sharif) ในภาษาอาหรับ เป็นชื่อของตำแหน่งประมุขเผ่า ทำหน้าปกป้องคุ้มครองชนเผ่าและทรัพย์สินของเผ่าพันธุ์ตน หากผู้อยู่ในตำแหน่งนี้เป็นสตรีจะเรียกว่า "ชารีฟาห์" (sharifah).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอีมน์เชรีเฟียง · ดูเพิ่มเติม »

อียิปต์แอร์

อียิปต์แอร์ (อาหรับ: مصر للطيران) เป็นสายการบินแห่งชาติ และเป็นรัฐวิสาหกิจของประเทศอียิปต์ ให้บริการในเส้นทางมากกว่า 75 จุดหมายปลายทาง โดยให้บริการหลักจากท่าอากาศยานนานาชาติไคโร ในกลุ่มประเทศตะวันออกกลาง, ยุโรป, เอเชีย และอเมริกา อียิปต์แอร์ ยังเป็นสมาชิกของอาหรับแอร์ แคริเออร์ ออร์แกไนเซชั่น (الإتحاد العربي للنقل الجوي) และกำลังเจรจาเข้าร่วมเป็นพันธมิตรสายการบินสตาร์อัลไลแอนซ์ โดยมีลุฟต์ฮันซาให้การสนับบสนุน นอกจากนี้อียิปต์แอร์ยังเป็นสายการบินขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของทวีปแอฟริกา เป็นรองจากแอฟริกันแอร์เว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอียิปต์แอร์ · ดูเพิ่มเติม »

องค์กรนักข่าวไร้พรมแดน

องค์กรนักข่าวไร้พรมแดน (ฝรั่งเศส: Reporters sans frontières, RSF; อังกฤษ: Reporters Without Borders, RWB) เป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไรเอกชนนานาชาติซึ่งสนับสนุนและปกป้องเสรีภาพสื่อและเสรีภาพข้อมูลข่าวสาร องค์กรมีฐานดำเนินงานอยู่ที่ปารีส และมีสถานะที่ปรึกษาในสหประชาชาติ ก่อตั้งโดย โรแบร์ เมนาร์ องค์กรนักข่าวไร้พรมแดนมีสองกิจกรรมหลัก อย่างแรกคือการมุ่งด้านการเซ็นเซอร์อินเทอร์เน็ตและสื่อใหม่ และอีกอย่างคือการจัดหาเครื่องมือ งบประมาน และความช่วยเหลือทางจิตใจแก่นักข่าวที่ถูกส่งไปในพื้นที่อันตราย, Reporters Without Borders, 16 April 2012, retrieved 21 March 2013 โดยมีพันธกิจดังนี้.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและองค์กรนักข่าวไร้พรมแดน · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์

องค์การบริหารปาเลสไตน์ (السلطة الوطنية الفلسطينية‎ As-Sulṭah Al-Waṭaniyyah Al-Filasṭīniyyah) เป็นองค์การปกครองที่ตั้งขึ้นเพื่อปกครองเวสต์แบงก์และฉนวนกาซา เป็นผลของข้อตกลงกรุงออสโลปี 2537 นับแต่สถาปนา ได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็น องค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ และในปี 2556 รัฐบาลฟาตาห์ที่นานาประเทศรับรองในเวสต์แบงก์เปลี่ยนชื่อตนเองเป็นรัฐปาเลสไตน์ หลังการเลือกตั้งในปี 2549 และความขัดแย้งที่เกิดขึ้นตามมาระหว่างพรรคฟาตาห์และฮามาส อำนาจขององค์การฯ จึงขยายไปถึงเพียงเวสต์แบงก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและองค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

งของยูเนสโก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การความร่วมมืออิสลาม

องค์การความร่วมมืออิสลาม เป็นองค์การระหว่างประเทศของชาติมุสลิม มีสมาชิกราว 57 ประเทศ ประชากรรวมกว่า 1.2 พันล้านคน ทั้งในตะวันออกกลาง แอฟริกา เอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียใต้ อเมริกาใต้ โดยใช้ภาษากลางคือภาษาอาหรับ ภาษาอังกฤษ และภาษาฝรั่งเศส โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อระดมสรรพกำลัง ปกป้องผลประโยชน์ของชาติสมาชิก รวมถึงการพูดเป็นเสียงเดียวกันในเรื่องสำคัญ ๆ ในเวทีสากล เริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ 25 กันยายน 2512 โดยมีการประชุมระดับผู้นำครั้งแรกที่กรุงราบัต ประเทศโมร็อกโก หลังมัสยิดศักดิ์สิทธิ์อันเลื่องลือ Al-Aqsa ที่กรุงเยรูซาเลม ประเทศอิสราเอล ปัจจุบัน นายกรัฐมนตรีของเซเนกัล ดำรงตำแหน่งในฐานะประธานหมุนเวียนที่ประชุมโอไอซี ดำรงตำแหน่ง 3 ปี โอไอซีมีบทบาทในประเทศไทยในกรณีพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ภายหลังการเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ โดยส่งตัวแทนมาสังเกตการณ์เก็บข้อมูลในพื้นที.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและองค์การความร่วมมืออิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

องค์การตำรวจอาชญากรรมระหว่างประเทศ

องค์การตำรวจอาชญากรรมระหว่างประเทศ (International Criminal Police Organization; ย่อ: INTERPOL) หรือเรียก ตำรวจสากล เป็นองค์การที่เกิดจากความพยายามร่วมมือกันในทางระหว่างประเทศเกี่ยวกับกิจการตำรวจ เพื่อสนับสนุนช่วยเหลือทุกองค์กรและหน่วยงานต่างๆ ที่มีภารกิจในการป้องกันหรือว่าปราบปรามอาชญากรรมระหว่างประเทศ ปัจจุบันสำนักงานใหญ่ของอินเตอร์โปล ตั้งอยู่ที่เมืองลียง ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและองค์การตำรวจอาชญากรรมระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ

มิได้ลงนาม Col-end อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of all Forms of Discrimination against Women หรือย่อว่า CEDAW) เป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศฉบับหนึ่งซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติมีมติเห็นชอบในปี 2522 และสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศพัฒนาแล้วประเทศเดียวที่ลงนามในอนุสัญญานี้แล้วแต่มิยอมให้สัตยาบัน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย

อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย เป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการห้ามใช้ มีไว้ครอบครอง ผลิต ขนย้าย และกักตุนซึ่งอาวุธยุทธภัณฑ์ประเภทระเบิดลูกปราย (cluster bomb หรือ cluster monition) โดยได้รับสัตยาบันจากประเทศหนึ่งร้อยสิบเก้าประเทศในการประชุมที่กรุงดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2551 และจะได้มีการให้ปฏิญญาอย่างเป็นทางการที่กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ ในเดือนธันวาคม ปีเดียวกัน ประเทศที่ให้สัตยาบันในการประชุมที่กรุงดับลินจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ทุกกรณี, การประชุมหารือทางการทูตเพื่อการกำหนดใช้อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย, 30 พฤษภาคม 2551.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ (ชื่อ)

อเล็กซานเดอร์ (Alexander) เป็นชื่อต้นของผู้ชาย มีที่มาจากคำในภาษาละติน "Alexander" ซึ่งเป็นการถอดคำมาจากภาษากรีกจากคำว่า "Αλέξανδρος".

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและอเล็กซานเดอร์ (ชื่อ) · ดูเพิ่มเติม »

ฮะรอม

รอม เป็นคำศัพท์นิติบัญญัติอิสลาม จากภาษาอาหรับ วิธีการสะกดอื่น ๆ มีเช่น หะรอม, ฮารอม ในภาษาพูดคำว่า ฮะรอม เพี้ยนเป็น ฮาหร่าม ฮะรอม คือกฎบัญญัติห้าม ที่มุกัลลัฟ (มุสลิมผู้อยู่ในศาสนนิติภาวะ) ทุกคนต้องละเว้น เช่น.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและฮะรอม · ดูเพิ่มเติม »

ฮัรกัต ญิฮาด อิสลาม

ัรกัต ญิฮาด อิสลาม (Harkat-ul-Jihad-Islami; ภาษาอาหรับ:حركة الجهاد الإسلامي‎) เป็นกลุ่มก่อการร้ายในประเทศบังกลาเทศ มีเขตอิทธิพลอยู่ทางภาคใต้ติดกับพรมแดนพม่า มีความเชื่อมโยงกับกลุมก่อการร้ายในไทย มาเลเซีย อุดมการณ์ของกลุ่มไม่ได้อยู่ที่การจัดตั้งรัฐอิสลาม แต่เป็นการต่อสู้เพื่อสงครามศักดิ์สิทธิ์ ต่อต้านและขับไล่คนต่างศาสนา แบบเดียวกับกลุ่มตาลีบันในอัฟกานิสถาน และได้รับแรงบันดาลใจจากการต่อสู้ในปากีสถานด้วย นอกจากนี้ ขบวนการนี้ยังเป็นผู้ร่วมก่อตั้งแนวร่วมอิสลามข้ามชาติ ที่นำโดย โอซามา บิน ลาเดน และเป็นผู้ฝึกอาวุธให้กับเยาวชนจากไทย พม่า มาเลเซียและอินโดนีเซียเพื่อต่อต้านรัฐบาลด้ว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและฮัรกัต ญิฮาด อิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

ฮาเร็ม

ฉากใน “ฮาเร็ม” โดย จิโอวานนิ อันโตนิโอ กวาร์ดิ (Giovanni Antonio Guardi) ฮาเร็ม (Harem) เป็นตุรกีที่มาจากอาหรับ “حرم” (ḥaram) ที่แปลว่า “สถานที่ต้องห้าม, สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ หรือที่ปลอดภัย” ที่เกี่ยวข้องกับคำว่า “حريم” (ḥarīm) ที่แปลว่า “สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่ห้ามเข้าสำหรับสมาชิกสตรีในครอบครัว” และคำว่า “حرام ” (ḥarām) ที่แปลว่า “ห้าม หรือ ศักดิ์สิทธิ์” ฮาเร็ม หมายถึงบริเวณสำหรับสตรีโดยเฉพาะสำหรับครอบครัวระบบพหุภริยา (polygyny) ที่เป็นบริเวณที่ต้องห้ามสำหรับบุรุษ คำว่าฮาเร็มมาจากตะวันออกใกล้และนำเข้ามาใช้ทางตะวันตกทางจักรวรรดิออตโตมัน การใช้คำนี้ในสมัยใหม่รวมถึงกลุ่มสตรีที่มีความสัมพันธ์กับบุรุษคนเดียวกัน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและฮาเร็ม · ดูเพิ่มเติม »

ฮิซบุลลอฮ์ (แก้ความกำกวม)

ซบุลลอฮ์ (ภาษาอาหรับ หมายถึงพรรคของพระเจ้า) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและฮิซบุลลอฮ์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ฮุมาตอัลฮิมา

มาตอัลฮิมา (حماة الحمى, Humat Al Hima) มีความหมายว่า "ผู้พิทักษ์แห่งมาตุภูมิ" เป็นชื่อของเพลงชาติตูนีเซียในปัจจุบันที่เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 โดยก่อนหน้านั้น เพลงนี้เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเพลงปฏิวัติที่นิยมขับร้องในการประชุมของพรรคเนโอเดสตูร์ ซึ่งเป็นพรรคการเมืองที่เคลื่อนไหวเพื่อการเรียกร้องเอกราชของตูนีเซียจากฝรั่งเศส เพลงนี้ประพันธ์ขึ้นในลักษณะบทกวีในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1930 โดยมุสตาฟา ซาดิก อัล ราฟิอี (Mustafa Sadiq Al-Rafi'i) กวีชาวซีเรียผู้เกิดในประเทศอียิปต์ ส่วนทำนองเพลงนั้น แหล่งข้อมูลบางแห่ง กล่าวว่าผลงานนี้เป็นงานประพันธ์ของโมฮัมเหม็ด อับเดลวาฮับ (Mohammed Abdelwahab) นักดนตรีชาวอียิปต์ แต่ผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรีของตูนีเซียกล่าวว่า ทำนองของเพลงนี้เป็นผลงานของอาห์เหม็ด เคียเรดดีน (Ahmed Kheireddine) และเรียบเรียงโดย ซาคาเรีย อาห์หมัด (Zakaria Ahmad) (ทั้งสองสองคนที่กล่าวถึงล้วนเป็นชาวอียิปต์).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและฮุมาตอัลฮิมา · ดูเพิ่มเติม »

ฮุซัยนียะหฺ

ซัยนียะหฺ, ฮุซัยนียะห์ จากภาษาอาหรับ แปลว่า บ้านเรือนแห่งฮุเซน หมายถึงสถานที่ ๆ ชาวมุสลิมชีอะหฺใช้ประกอบพิธีไว้อาลัยอิมามฮุเซน ในวันอาชูรออ์ หรือใช้เป็นสถานที่พบปะ และสอนธรรมะแห่งศาสนาอิสลาม ในภาษาเบงกาลีเรียกว่า อิมามบารา (ตำหนักอิมาม) ในอินเดียเหนือเรียกว่า อาชูรอคอนา (เรือนอาชูรออ์).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและฮุซัยนียะหฺ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า

ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า หรือ ผู้รับใช้ของพระเจ้า เป็นสมัญญานามที่ใช้กับศาสนิกชนบางคนในศาสนาเทวนิยม ใช้เพื่อแสดงว่าบุคคลนั้นศรัทธาอย่างแรงกล้า ในคริสตจักรโรมันคาทอลิกใช้คำนี้ในความหมายเฉพาะลงไปอีก คือหมายถึงบุคคลที่อยู่ในกระบวนการชั้นแรกก่อนการประกาศเป็นนักบุญ ส่วนนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ใช้คำนี้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ในนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ คำว่า "ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า" ใกล้เคียงกับคำว่า อับดุลลอฮ์ (عبد الله บ่าวของอัลลอฮ์) ในภาษาอาหรับ และ โอบาดีห์ ในภาษาฮีบรู.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและผู้รับใช้พระเป็นเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิชะฮันคีร์

นูรุดดีน สะลีม ชะฮันคีร์ (نورالدین سلیم جهانگیر, ราชสมภพ 20 กันยายน ค.ศ. 1569 - สวรรคต 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1627) พระปรมาภิไธย นูรุดดีน มาจากภาษาอาหรับที่มีความหมายว่า แสงแห่งศรัทธา ส่วนชะฮันคีร์ มาจากภาษาเปอร์เซียที่มีความหมายว่า ผู้พิชิตโลก สมเด็จพระจักรพรรดิชะฮันคีร์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่สามในสมเด็จพระจักรพรรดิอัคบาร์ กับพระนางโชธาพาอี ทรงครองราชย์สมบัติต่อจากพระชนกในปี ค.ศ. 1605 เมื่อมีพระชนมายุได้ 37 พรรษา ก่อนเสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์ทรงก่อการกบฏต่อพระบิดาหลายครั้ง แต่ก็ได้รับพระราชทานอภัยโทษดาวสยาม วชิรปัญโญ, พระมห.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและจักรพรรดิชะฮันคีร์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิพาลไมรีน

ักรวรรดิพาลไมรีน (Imperium Palmyrenum Palmyrene Empire) เป็นจักรวรรดิที่แยกตัวออกจากจักรวรรดิโรมันระหว่างวิกฤติการณ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 3 ที่ประกอบด้วยจังหวัดโรมัน ซีเรีย, ซีเรียปาเลสตินา, โรมัน และบริเวณส่วนใหญ่ของอานาโตเลีย โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่ พาลไมรา พาลไมรีนรุ่งเรืองระหว่างปี ค.ศ. 260 จนถึงปี ค.ศ. 273 จักรวรรดิพาลไมรีนมีพระราชินีเซโนเบียเป็นผู้ปกครองในนามของพระราชโอรสวาบาลลาธัส (Vaballathus).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและจักรวรรดิพาลไมรีน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดยะลา

ลา เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและจังหวัดยะลา · ดูเพิ่มเติม »

จันนี อินฟันตีโน

ันนี อินฟันตีโน (Gianni Infantino) เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและจันนี อินฟันตีโน · ดูเพิ่มเติม »

จามาฮิริยา

มาฮิริยา (جماهيرية; Jamahiriya) เป็นคำในภาษาอารบิกซึ่งมีความหมายโดยทั่วไปว่า "รัฐของปวงชน" คำดังกล่าวเป็นคำสร้างใหม่ ประดิษฐ์ขึ้นโดยมูอัมมาร์ กัดดาฟี ในเดอะกรีนบุ๊ก ซึ่งมีเจตนาที่จะใช้เป็นคำทั่วไปซึ่งสามารถใช้คำว่า "สาธารณรัฐประชาชน" แทนได้ และอธิบายถึงรูปแบบความเป็นรัฐของลิเบีย ในปรัชญาการเมืองอย่างเป็นทางการของลิเบีย ระบบนี้ถือว่าแตกต่างจากประเทศอื่นในโลก ถึงแม้ว่าจะเป็นลักษณะที่เป็นจริงของทฤษฎีสากลที่สาม ซึ่งเสนอโดยกัดดาฟีซึ่งใช้กับโลกที่สามทั้งหมดก็ตาม คำดังกล่าวใช้กับลิเบียเท่านั้นในทางปฏิบัติ ถึงแม้ว่ากัดดาฟีจะไม่ถือครองตำแหน่งทางการเมืองใด ๆ ก็ตาม เขาก็ได้รับการยกย่องว่าเป็น "ภราดาผู้นำและผู้ชี้ทางแห่งการปฏิวัติ" หรือ "ผู้ชี้นำการมหาปฏิวัติวันที่ 1 กันยายน แห่งมหาสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย" ในแถลงการณ์ของรัฐบาลหรือสื่อทางการ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและจามาฮิริยา · ดูเพิ่มเติม »

จุดจอมฟ้า

แสดงตำแหน่งของจุดจอมฟ้า ในทางดาราศาสตร์ จุดจอมฟ้า (zenith, سمت الرأس) คือจุดสูงสุดของท้องฟ้าที่อยู่ในแนวตั้งฉากกับพื้นโลก ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับจุดจอมดิน เฉพาะในเขตร้อนเท่านั้น ที่จะมีช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์อยู่ที่จุดจอมฟ้า คำว่าจุดจอมฟ้าในภาษาอังกฤษ ใช้คำว่า zenith ซึ่งนำมาจากภาษาอาหรับ คำว่า samt (แปลว่า "ทางเดิน").

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและจุดจอมฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

จุดจอมดิน

แสดงตำแหน่งของจุดจอมดิน ในทางดาราศาสตร์ จุดจอมดิน (nadir, ﻧـدﻳﺭ nadeer نظير nathir) คือจุดที่อยู่ตรงข้ามกับจุดจอมฟ้า ซึ่งอยู่ในทิศทางลงตั้งฉากกับพื้นโลก คำว่าจุดจอมดินในภาษาอังกฤษ ใช้คำว่า nadir ซึ่งนำมาจากภาษาอาหรับ คำว่า nadeer, nathir (แปลว่า "ตรงข้าม") และคำว่า nadir ในภาษาอาหรับและฮีบรูยังสามารถแปลว่า "หายาก" หรือ "หนึ่งเดียว" ได้ด้ว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและจุดจอมดิน · ดูเพิ่มเติม »

จีเมล

ีเมล (Gmail) เป็นบริการอีเมลฟรีของกูเกิลผ่านทางระบบเว็บเมล POP และ IMAP โดยในขณะที่โปรแกรมยังอยู่ในระยะพัฒนา (บีตา) จีเมลเปิดให้ผู้ที่ได้รับคำเชิญทดลองใช้เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2547 และให้บริการแก่บุคคลทั่วไปเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 หลังจากนั้นจึงออกจากระยะพัฒนาพร้อมกับบริการอื่น ๆ ของกูเกิล แอปส์เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ปัจจุบันจีเมลรับรองการใช้งาน 54 ภาษารวมถึงภาษาไทย จีเมลเป็นผู้บุกเบิกการใช้ AJAX ที่ใช้งานจาวาสคริปต์และการใช้งานผ่านทางคีย์บอร์ด ทำให้สะดวกต่อการใช้งาน ปัจจุบัน จีเมลเป็นบริการอีเมล์บนเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้มากที่สุดในโลก กล่าวคือมากกว่า 425 ล้านคน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและจีเมล · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ

รรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ (Rome Statute of the International Criminal Court) หรือเรียกโดยย่อว่า ธรรมนูญกรุงโรม (Rome Statute) เป็นสนธิสัญญาซึ่งมีเนื้อหาสาระเป็นการจัดตั้งและจัดเขตอำนาจศาลอาญาระหว่างประเทศ ธรรมนูญนี้ได้รับความเห็นชอบจากรัฐต่าง ๆ ณ การประชุมทางการทูตที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2541 และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2545 โดยในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติบาห์เรน

23px ธงชาติบาห์เรน สัดส่วน: 3:5 ธงชาติบาห์เรน (อาหรับ علم البحرين) มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งออกเป็นสองส่วนด้วยเส้นฟันปลา 5 ซี่ ตามแนวตั้ง โดยทางด้านต้นธงเป็นพื้นสีขาว ส่วนทางด้านปลายธงเป็นสีแดง ความหมายของสีแดง คือ เป็นสีของกลุ่มรัฐในแถบอ่าวเปอร์เซีย ส่วนสีขาวซึ่งต่อกับเส้นฟันปลาทางด้านต้นธงนั้น หมายถึงหลักปฏิบัติ 5 ประการของศาสนาอิสลาม ประเทศบาห์เรนใช้ธงชาติแบบแรกสุดเป็นธงสีแดงเกลี้ยง ต่อมาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 แถบสีขาวซึ่งแบ่งกับแถบสีแดงด้วยเส้นฟันปลาจึงเพิ่มเข้ามา เพื่อให้สามารถแยกแยะกับธงของประเทศข้างเคียงให้ชัดเจนขึ้น เดิมเส้นฟันปลานั้นเป็นเส้นฟันปลา 8 ซี่ ต่อมาจึงมีการลดจำนวนซี่ฟันปลาลงเหลือเพียง 5 ซี่ เมื่อ พ.ศ. 2545 โดยมีความหมายหลักปฏิบัติ 5 ประการของศาสนาอิสลาม ดังที่ปรากฏในปัจจุบัน ธงชาติบาห์เรนมีความคล้ายคลึงกับธงชาติกาตาร์ ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าและมีสีที่เข้มกว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและธงชาติบาห์เรน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

งชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (ภาษาอาหรับ: علم الإمارات العربية المتحدة) เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2514 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สีพันธมิตรอาหรับสี่สี ได้แก่ สีแดง สีเขียว สีขาว และ สีดำ โดยจัดให้มีแถบแนวตั้งสีแดงที่ด้านติดคันธง ความกว้างเป็น 1 ใน 5 ส่วนของด้านยาวธงทั้งหมด ส่วนที่เหลือแบ่งเป็นแถบสามสีตามแนวนอน อันได้แก่ สีเขียว สีขาว และสีดำ เรียงตามลำดับจากบนลงล่าง ความกว้างแต่ละแถบเท่ากัน สัญลักษณ์ในธงชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์มีความหมายดังนี้.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและธงชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอัฟกานิสถาน

งชาติสาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน แบบปัจจุบันนี้ ประกาศใช้ในสมัยรัฐบาลชุดถ่ายโอนอำนาจของรัฐอิสลามของอัฟกานิสถาน (พ.ศ. 2545 - พ.ศ. 2547) ลักษณะเป็นธงสามสี รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งตามแนวตั้ง เป็นสีดำ-แดง-เขียว กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน กลางธงมีรูปตราแผ่นดินของอัฟกานิสถาน ในลักษณะภาพลายเส้นสีขาว ลักษณะของธงชาติยุคนี้ คล้ายคลึงกับธงชาติในสมัยราชอาณาจักรอัฟกานิสถาน ช่วง พ.ศ. 2473 - พ.ศ. 2516 โดยมีความแตกต่างสำคัญที่มีการบรรจุภาพอักษรที่เรียกว่า ชะฮาดะฮ์ เป็นข้อความซึ่งแปลเป็นภาษาไทยได้ว่า "ข้าพเจ้านับถือว่า ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกเหนือจากอัลลอหฺ และศาสดามุฮัมมัดคือ​ศาสนทูตแห่งอัลลอหฺ" ที่ตอนบนของภาพตรา วันที่ประกาศใช้อย่างเป็นทางการคือวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2547 ในยุดก่อนสมัยการปกครองของกลุ่มตอลิบานและแนวร่วมอิสลามเพื่อการปลดปล่อยอัฟกานิสถาน ธงชาติในยุคนี้มีการใช้ภาพตราแผ่นดินแบบเดียวกับกับธงยุคปัจจุบัน แต่แถบสีนั้นเป็นแถบสีดำ-ขาว-เขียว เรืยงแถบสีธงตามแนวนอน ประเทศอัฟกานิสถาน ถือได้ว่าเป็นประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบธงชาติในสมัยต่างๆ ตลอดช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 มากครั้งที่สุด มากกว่าชาติอื่นใดในโลกนี้.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและธงชาติอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอิรัก

23x15px สัดส่วนธง 2:3 ธงชาติอิรัก (อาหรับ: علم العراق) มีการเปลี่ยนแปลงมาแล้วหลายครั้ง จากความผันผวนทางการเมืองในประเทศ นับตั้งแต่การก่อตั้งประเทศใน พ.ศ. 2464 เป็นต้นมา ธงชาติแบบที่เปลี่ยนแปลงครั้งล่าสุดนี้ ได้ดัดแปลงจากธงชาติอิรัก พ.ศ. 2457-2551 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีแดง-ขาว-ดำ แบ่งตามแนวนอน มีความกว้างแต่ละแถบเท่ากัน กลางแถบสีขาวมีอักษรคูฟิก เขียนเป็นข้อความภาษาอาหรับว่า "อัลลอหุ อักบัร" แปลว่า พระอัลเลาะห์เจ้าทรงเป็นผู้ยิ่งใหญ่ที่สุด ทั้งนี้ เป็นการแก้ไขเพิ่มเติมโดยยกเอารูปดาวห้าแฉกสีเขียว 3 ดวงออกจากธงเดิมไป ธงดังกล่าวนี้จะใช้เป็นธงชาติอิรักเป็นการชั่วคราว จนกว่าจะมีการรับรองแบบธงชาติใหม่ใน พ.ศ. 2552 ควรรู้ด้วยว่า ด้านคันธงของธงที่มีอักษรอาหรับจารึกอย่างธงนี้อยู่ทางด้านขวา ไม่ใช่ทางด้านซ้ายของผู้สังเกตอย่างธงปกติทั่วไป.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและธงชาติอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเยเมน

งชาติเยเมน (อาหรับ:علم اليمن) แบบปัจจุบันเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงแบ่งเป็นริ้ว 3 สี ความกว้างเท่ากันตามแนวนอน ได้แก่ สีแดง สีขาว และสีดำ ซึ่งเป็นสีกลุ่มชนอาหรับ (Pan-Arabic colors) ประกาศใช้เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 อันเป็นวันรวมชาติ สาธารณรัฐอาหรับเยเมน (เยเมนเหนือ) และ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเยเมน (เยเมนใต้) กลับเป็นประเทศเดียวกันอีกครั้ง.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและธงชาติเยเมน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเลบานอน

งชาติเลบานอน (علم لبنان) มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงภายในแบ่งเป็น 3 ส่วนตามแนวนอน เป็นสีแดง-ขาว-แดง ตามลำดับ โดยแถบสีขาวมีความกว้างเป็นสองเท่าของแถบสีแดง (สัดส่วนริ้วธง 1:2:1) ที่กลางธงในแถบสีขาวมีรูปต้นซีดาร์สีเขียว มีความกว้างเป็นหนึ่งในสามส่วนของด้านยาวของธง และความสูงของต้นซีดาร์นั้นจรดแถบสีแดงทั้งสองด้านพอดี ธงนี้ได้ออกแบบขึ้นที่บ้านของซาเอ็บ ซาลาม (Saeb Salam) สมาชิกรัฐสภาเลบานอน ที่เมืองมูไซเบฮ์ (Mousaitbeh) และได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแห่งเลบานอนให้ใช้เป็นธงชาติอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2486 โดยทั่วไปแล้วมักเกิดความเข้าใจผิดว่า สีของลำต้นต้นซีดาร์ในธงนี้ควรเป็นสีดำหรือสีน้ำตาล แต่ตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐเลบานอน หมวด 1 มาตรา 5 ได้ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า รูปต้นซีดาร์ต้องเป็นสีเขียวทั้งหมดเท่านั้น.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและธงชาติเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

ธงขาว

งขาวที่สร้างขึ้นอย่างง่ายๆ ธงขาว (white flag) เป็นคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ โดยทั่วไปเป็นที่เข้าใจว่าการยกธงขาวเป็นสัญลักษณ์ของการยอมแพ้ หรือการพักรบ หรือทั้งสองกรณี ในการสงคราม อย่างไรก็ดี ธงขาวยังมีความหมายอย่างอื่นอีกมากในประวัติศาสตร์และธรรมเนียมของแต่ละท้องถิ่น.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและธงขาว · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและทวีปแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ทอเลมี

ลาดิออส โตเลเมออส (Κλαύδιος Πτολεμαῖος) รู้จักในชื่อภาษาอังกฤษว่า ทอเลมี (Ptolemy) เป็นนักภูมิศาสตร์ นักดาราศาสตร์ และนักโหราศาสตร์ชาวกรีกโบราณ คาดว่ามีชีวิตและทำงานอยู่ในเมืองอเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปต์ ทอเลมีเป็นผู้แต่งตำราที่สำคัญหลายเล่ม ที่ถือว่าเป็นคัมภีร์ทางวิชาการ ในจำนวนนี้ มีสองเล่มที่ได้ใช้สืบต่อไปในวิทยาการของอาหรับและยุโรป เล่มแรกคือคัมภีร์ดาราศาสตร์ในชื่อว่า The Mathematical Compilation (Μαθηματική Σύνταξις ซึ่งภายหลังถูกเปลี่ยนชื่อเป็น The Greatest Compilation (Η Μεγάλη Σύνταξις ชาวอาหรับได้แปลหนังสือเล่มนี้ และให้ชื่อใหม่เป็นภาษาอารบิกว่า "al-majisti" ซึ่งภายหลังจากนั้นถูกแปลเป็นภาษาละตินว่า อัลมาเจสต์ (Almagest) อัลมาเจสต์เป็นหนังสือเกี่ยวกับเรื่องการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ ด้วยหลักการทางคณิตศาสตร์ว่า: โลกมีลักษณะเป็นทรงกลม เป็นศูนย์กลางของจักรวาล และหยุดนิ่งไม่มีการเคลื่อนไหว; โดยทฤษฎีนี้ได้รับการยอมรับยาวนานถึง 1,400 กว่าปี จนกระทั่งสมัยของ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส ตำราอีกเล่มหนึ่งคือ "ภูมิศาสตร์" ซึ่งเกี่ยวกับความรู้ด้านภูมิศาสตร์ในโลกยุคกรีก-โรมัน อย่างละเอี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและทอเลมี · ดูเพิ่มเติม »

ทอเลมี (ชื่อ)

ทอเลมี หรือ ทอเลเมียส (ภาษาอังกฤษ: Ptolemy หรือ Ptolemaeus) มาจากภาษากรีก Ptolemaios ซึ่งหมายความว่า “เช่นสงคราม” “เหมือนสงคราม” หรือ “เหมือนนักรบ” ชื่อ “ทอเลมี” หรือ “ทอเลเมียส” เป็นชื่อที่นิยมใช้กันมาก ผู้ที่ใช้ชื่อนี้ที่สำคัญที่สุดก็ได้แก่นักดาราศาสตร์ชาวกรีก-อียิปต์ คลอเดียส ทอเลเมอุส ที่รู้จักกันในนาม “ทอเลมี” และ ทอเลมีที่ 1 โซเตอร์นายทหารคนสนิทของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชผู้ก่อตั้งราชอาณาจักรทอเลมีและราชวงศ์ทอเลมีในอียิปต.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและทอเลมี (ชื่อ) · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลทรายสะฮารา

ทะเลทรายสะฮารา หรือ ซาฮารา หรือ สาฮารา (Sahara) เป็นทะเลทรายขนาดใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นบริเวณแห้งแล้งใหญ่สุดเป็นอันดับสามรองจากทวีปแอนตาร์กติกาและอาร์กติก มีเนื้อที่มากกว่า 9,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,500,000 ตารางไมล์ คำว่า สะฮารา ในภาษาอาหรับ (صحراء) หมายถึง ทะเลทราย อาณาเขตของทะเลทรายสะฮารา ด้านทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศเหนือคือเทือกเขาแอตลาสและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศตะวันออกจรดทะเลแดงและประเทศอียิปต์ ทิศใต้จรดประเทศซูดานและหุบเขาของแม่น้ำไนเจอร์ วิดีโอที่ถ่ายในมุมมองจากอวกาศ ของ ทะเลทรายสะฮารา และ แถวตะวันออกกลาง โดยสมาชิกนักบินอวกาศในการสำรวจที่ 29.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและทะเลทรายสะฮารา · ดูเพิ่มเติม »

ทัชมาฮาล

ทัชมาฮาล (ภาษาฮินดี: ताजमहल, ตาช มฮัล รากศัพท์เดิมมาจากภาษาอาหรับ ตาจญ์ (มงกุฎ) และ มะฮัล (สถาน) (ภาษาอาหรับ: تاج محل) เป็นอนุสรณ์สถาน ตั้งอยู่ในเมืองอัครา ประเทศอินเดีย นับเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคใหม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและทัชมาฮาล · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติบาห์เรน

ท่าอากาศยานนานาชาติบาห์เรน (อาหรับ: مطار البحرين الدولي) ตั้งอยู่ที่เกาะอัล มูฮาร์รัก ทางตอนเหนือสุดของมานามา ประเทศบาห์เรน เป็นท่าอากาศยานหลักของกัลฟ์แอร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและท่าอากาศยานนานาชาติบาห์เรน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ

ท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ (อาหรับ: مطار دبي الدولي) ตั้งอยู่ที่ดูไบ, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเอมิเรตส์แอร์ไลน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติไคโร

ท่าอากาศยานนานาชาติไคโร (อาหรับ: مطار القاهرة الدولي) ตั้งอยู่ที่กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 15 กิโลเมตร เป็นประตูสำคัญในการเข้าออกอียิปต์ และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของอียิปต์แอร์ ไคโรเป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากเป็นอันดับ 2 ของทวีปแอฟริกา เป็นรองจากท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบ ที่เมืองโจฮันเนสเบิร์ก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและท่าอากาศยานนานาชาติไคโร · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการบาห์เรนเสรี

วนการบาห์เรนเสรี (Bahrain Freedom Movement) หรือขบวนการบาห์เรนอิสลามเสรี (Bahrain Islamic Freedom Movement; ภาษาอาหรับ: حركة أحرار البحرين الإسلامية; Harakit Ahraar Al Bahrin Al Islamiyya) เป็นขบวนการทางศาสนาอิสลามที่มีฐานที่มั่นในมัสยิดทางเหนือ ของลอนดอน มีเว็บไซต์เป็นของตัวเองคือ มีบทบาทสำคัญในการจลาจลในบาห์เรนเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและขบวนการบาห์เรนเสรี · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการอมัล

งขบวนการอมัล ขบวนการอมัล (Amal movement; ภาษาอาหรับ: ตัวย่อของ أفواج المقاومة اللبنانية Afwâj al-Muqâwmat al-Lubnâniyya, หรือ حركة أمل; Harakat Amal) เป็นชื่อย่อของแนวป้องกันเลบานอน อมัลกลายเป็นกองทัพมุสลิมชีอะห์ที่สำคัญในสงครามกลางเมืองเลบานอน การเติบโตของอมัลเกิดจากความใกล้ชิดกับระบบสังคมอิสลามของอิหร่าน และผู้อพยพนิกายชีอะห์ 300,000 คนจากเลบานอนภาคใต้ ซึ่งอพยพมาเนื่องจากการถูกอิสราเอลโจมตีใน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและขบวนการอมัล · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการแห่งชาติแอลจีเรีย

ขบวนการแห่งชาติแอลจีเรีย (Algerian National Movement; ภาษาฝรั่งเศส: Mouvement National Algérien; ภาษาอาหรับ:الحركة الوطنية الجزائرية) เป็นองค์กรสังคมนิยมที่มีส่วนในการเรียกร้องเอกราชของแอลจีเรีย ก่อตั้งโดยทหารผ่านศึก มัสซาลี ฮาดี และเป็นคู่แข่งของแนวร่วมปลดปล่อยแอลจีเรียระหว่างสงครามเรียกร้องเอกราชของแอลจีเรีย ขบวนการนี้ได้รับการสนับสนุนส่วนใหญ่จากชาวแอลจีเรียที่อพยพไปอยู่ฝรั่งเศส กองทัพปลดปล่อยแห่งชาติซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแนวหน้าปลดปล่อยแอลจีเรียเข้าทำลายศักยภาพในการสู้รบแบบกองโจรของขบวนการแห่งชาติแอลจีเรียตั้งแต่ช่วงต้นของสงคราม ขบวนการแห่งชาติแอลจีเรียกับแนวหน้าปลดปล่อยแอลจีเรียต่อสู้กันเองในสงคราม café ทำให้มีผู้เสียชีวิตกว่าพันคน ในที่สุด แนวหน้าปลดปล่อยแอลจีเรียได้ครอบครองดินแดนตอนบนและควบคุมประเทศแอลจีเรียหลังได้รับเอกราช ส่วนขบวนการแห่งชาติแอลจีเรียลดฐานะลงเป็นแค่องค์กรทางการเมือง หมวดหมู่:ขบวนการทางการเมืองในประเทศแอลจีเรีย หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์แอลจีเรีย fr:Mouvement national algérien.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและขบวนการแห่งชาติแอลจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ดาราศาสตร์

ราจักรทางช้างเผือก ดาราศาสตร์ คือวิชาวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาวัตถุท้องฟ้า (อาทิ ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดาวหาง และดาราจักร) รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากนอกชั้นบรรยากาศของโลก โดยศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ลักษณะทางกายภาพ ทางเคมี ทางอุตุนิยมวิทยา และการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้า ตลอดจนถึงการกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพ ดาราศาสตร์เป็นหนึ่งในสาขาของวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด นักดาราศาสตร์ในวัฒนธรรมโบราณสังเกตการณ์ดวงดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน และวัตถุทางดาราศาสตร์หลายอย่างก็ได้ถูกค้นพบเรื่อยมาตามยุคสมัย อย่างไรก็ตาม กล้องโทรทรรศน์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่จำเป็นก่อนที่จะมีการพัฒนามาเป็นวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ตั้งแต่อดีตกาล ดาราศาสตร์ประกอบไปด้วยสาขาที่หลากหลายเช่น การวัดตำแหน่งดาว การเดินเรือดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ การสร้างปฏิทิน และรวมทั้งโหราศาสตร์ แต่ดาราศาสตร์ทุกวันนี้ถูกจัดว่ามีความหมายเหมือนกับฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ดาราศาสตร์ได้แบ่งออกเป็นสองสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์จะให้ความสำคัญไปที่การเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้ความรู้ทางกายภาพเบื้องต้นเป็นหลัก ส่วนดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีให้ความสำคัญไปที่การพัฒนาคอมพิวเตอร์หรือแบบจำลองเชิงวิเคราะห์ เพื่ออธิบายวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทั้งสองสาขานี้เป็นองค์ประกอบซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีใช้อธิบายผลจากการสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ใช้ในการรับรองผลจากทางทฤษฎี การค้นพบสิ่งต่าง ๆ ในเรื่องของดาราศาสตร์ที่เผยแพร่โดยนักดาราศาสตร์สมัครเล่นนั้นมีความสำคัญมาก และดาราศาสตร์ก็เป็นหนึ่งในวิทยาศาสตร์จำนวนน้อยสาขาที่นักดาราศาสตร์สมัครเล่นยังคงมีบทบาท โดยเฉพาะการค้นพบหรือการสังเกตการณ์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว ไม่ควรสับสนระหว่างดาราศาสตร์โบราณกับโหราศาสตร์ ซึ่งเป็นความเชื่อที่นำเอาเหตุการณ์และพฤติกรรมของมนุษย์ไปเกี่ยวโยงกับตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า แม้ว่าทั้งดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เกิดมาจากจุดร่วมเดียวกัน และมีส่วนหนึ่งของวิธีการศึกษาที่เหมือนกัน เช่นการบันทึกตำแหน่งดาว (ephemeris) แต่ทั้งสองอย่างก็แตกต่างกัน ในปี ค.ศ. 2009 นี้เป็นการครบรอบ 400 ปีของการพิสูจน์แนวคิดเรื่องดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล ของ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส อันเป็นการพลิกคติและโค่นความเชื่อเก่าแก่เรื่องโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลของอริสโตเติลที่มีมาเนิ่นนาน โดยการใช้กล้องโทรทรรศน์สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ของกาลิเลโอซึ่งช่วยยืนยันแนวคิดของโคเปอร์นิคัส องค์การสหประชาชาติจึงได้ประกาศให้ปีนี้เป็นปีดาราศาสตร์สากล มีเป้าหมายเพื่อให้สาธารณชนได้มีส่วนร่วมและทำความเข้าใจกับดาราศาสตร์มากยิ่งขึ้น.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวฤกษ์

นก่อตัวของดาวฤกษ์ในดาราจักรเมฆแมเจลแลนใหญ่ ภาพจาก NASA/ESA ดาวฤกษ์ คือวัตถุท้องฟ้าที่เป็นก้อนพลาสมาสว่างขนาดใหญ่ที่คงอยู่ได้ด้วยแรงโน้มถ่วง ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด คือ ดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานหลักของโลก เราสามารถมองเห็นดาวฤกษ์อื่น ๆ ได้บนท้องฟ้ายามราตรี หากไม่มีแสงจากดวงอาทิตย์บดบัง ในประวัติศาสตร์ ดาวฤกษ์ที่โดดเด่นที่สุดบนทรงกลมท้องฟ้าจะถูกจัดเข้าด้วยกันเป็นกลุ่มดาว และดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดจะได้รับการตั้งชื่อโดยเฉพาะ นักดาราศาสตร์ได้จัดทำบัญชีรายชื่อดาวฤกษ์เพิ่มเติมขึ้นมากมาย เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการตั้งชื่อดาวฤกษ์ ตลอดอายุขัยส่วนใหญ่ของดาวฤกษ์ มันจะเปล่งแสงได้เนื่องจากปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ฟิวชั่นที่แกนของดาว ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงานจากภายในของดาว จากนั้นจึงแผ่รังสีออกไปสู่อวกาศ ธาตุเคมีเกือบทั้งหมดซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและหนักกว่าฮีเลียมมีกำเนิดมาจากดาวฤกษ์ทั้งสิ้น โดยอาจเกิดจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของดาวฤกษ์ระหว่างที่ดาวยังมีชีวิตอยู่ หรือเกิดจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของซูเปอร์โนวาหลังจากที่ดาวฤกษ์เกิดการระเบิดหลังสิ้นอายุขัย นักดาราศาสตร์สามารถระบุขนาดของมวล อายุ ส่วนประกอบทางเคมี และคุณสมบัติของดาวฤกษ์อีกหลายประการได้จากการสังเกตสเปกตรัม ความสว่าง และการเคลื่อนที่ในอวกาศ มวลรวมของดาวฤกษ์เป็นตัวกำหนดหลักในลำดับวิวัฒนาการและชะตากรรมในบั้นปลายของดาว ส่วนคุณสมบัติอื่นของดาวฤกษ์ เช่น เส้นผ่านศูนย์กลาง การหมุน การเคลื่อนที่ และอุณหภูมิ ถูกกำหนดจากประวัติวิวัฒนาการของมัน แผนภาพคู่ลำดับระหว่างอุณหภูมิกับความสว่างของดาวฤกษ์จำนวนมาก ที่รู้จักกันในชื่อ ไดอะแกรมของแฮร์ทสชปรุง-รัสเซลล์ (H-R ไดอะแกรม) ช่วยทำให้สามารถระบุอายุและรูปแบบวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ได้ ดาวฤกษ์ถือกำเนิดขึ้นจากเมฆโมเลกุลที่ยุบตัวโดยมีไฮโดรเจนเป็นส่วนประกอบหลัก รวมไปถึงฮีเลียม และธาตุอื่นที่หนักกว่าอีกจำนวนหนึ่ง เมื่อแก่นของดาวฤกษ์มีความหนาแน่นมากเพียงพอ ไฮโดรเจนบางส่วนจะถูกเปลี่ยนเป็นฮีเลียมผ่านกระบวนการนิวเคลียร์ฟิวชั่นอย่างต่อเนื่อง ส่วนภายในที่เหลือของดาวฤกษ์จะนำพลังงานออกจากแก่นผ่านทางกระบวนการแผ่รังสีและการพาความร้อนประกอบกัน ความดันภายในของดาวฤกษ์ป้องกันมิให้มันยุบตัวต่อไปจากแรงโน้มถ่วงของมันเอง เมื่อเชื้อเพลิงไฮโดรเจนที่แก่นของดาวหมด ดาวฤกษ์ที่มีมวลอย่างน้อย 0.4 เท่าของดวงอาทิตย์ จะพองตัวออกจนกลายเป็นดาวยักษ์แดง ซึ่งในบางกรณี ดาวเหล่านี้จะหลอมธาตุที่หนักกว่าที่แก่นหรือในเปลือกรอบแก่นของดาว จากนั้น ดาวยักษ์แดงจะวิวัฒนาการไปสู่รูปแบบเสื่อม มีการรีไซเคิลบางส่วนของสสารไปสู่สสารระหว่างดาว สสารเหล่านี้จะก่อให้เกิดดาวฤกษ์รุ่นใหม่ซึ่งมีอัตราส่วนของธาตุหนักที่สูงกว่า ระบบดาวคู่และระบบดาวหลายดวงประกอบด้วยดาวฤกษ์สองดวงหรือมากกว่านั้นซึ่งยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงโน้มถ่วง และส่วนใหญ่มักจะโคจรรอบกันในวงโคจรที่เสถียร เมื่อดาวฤกษ์ในระบบดาวดังกล่าวสองดวงมีวงโคจรใกล้กันมากเกินไป ปฏิกิริยาแรงโน้มถ่วงระหว่างดาวฤกษ์อาจส่งผลกระทบใหญ่หลวงต่อวิวัฒนาการของพวกมันได้ ดาวฤกษ์สามารถรวมตัวกันเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในโครงสร้างขนาดใหญ่ที่ยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงโน้มถ่วง เช่น กระจุกดาว หรือ ดาราจักร ได้.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและดาวฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดิวโอลิงโก

วโอลิงโก (Duolingo) เป็นโปรแกรมเรียนภาษาฟรีที่ใช้ปัญหาเป็นการหาคำตอบเป็นหลัก การให้บริการของโปรแกรมนี้ถูกออกแบบมาให้ผู้ใช้ทำแบบฝึกหัดในแต่ละบทสำเร็จ ในขณะเดียวกันก็ช่วยแปลเว็บไซต์และเอกสารอื่น ๆ ไปด้วย ในวันที่ 13 ธันวาคม 2557 ดิวโอลิงโกได้ให้บริการการเรียนภาษาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาษาสเปน, ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาเยอรมัน, ภาษาโปรตุเกส, ภาษาอิตาลี, ภาษาดัตช์, ภาษาไอริช, ภาษาเดนมาร์ก และภาษาสวีเดนสำหรับผู้ใช้ที่พูดภาษาอังกฤษ และภาษาอังกฤษสำหรับผู้ใช้ภาษาสเปน, ฝรั่งเศส, เยอรมัน, โปรตุเกส, อิตาลี, กรีก, ดัตช์, รัสเซีย, โปแลนด์, ตุรกี, ฮังการี, โรมาเนีย, ญี่ปุ่น, ฮินดี, อินโดนีเซีย, เกาหลี และเช็ก และยังมีคู่ภาษาอื่น ๆ อีกมากมาย สามารถใช้ได้บนเว็บ, ไอโอเอส, แอนดรอยด์ และวินโดวส์โฟน 8.1 ดิวโอลิงโกได้เริ่มต้นทดสอบระบบครั้งแรกเฉพาะเจ้าหน้าที่ในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2555 และมียอดผู้ใช้ที่รอคอยมากกว่า 300,000 คน ในวันที่ 19 มิถุนายน 2556 ดิวโอลิงโกได้เปิดตัวสู่สาธารณะเป็นครั้งแรก ในปี 2557 แอปเปิลได้เลือกให้ดิวโอลิงโกเป็นแอปพลิเคชันประจำปี เป็นครั้งแรกที่รางวัลนี้ได้ถูกมอบแก่แอปพลิเคชันทางการศึกษา ดิวโอลิงโกชนะการประกวดแอปพลิเคชันใหม่ที่ดีที่สุดในงาน 2014 Crunchies, และเป็นแอปพลิเคชันทางการศึกษาที่มียอดดาวน์โหลดสูงที่สุดในกูเกิลเพลย์ ปี 2556 และ 2557 ในเดือนมกราคม 2557 ดิวโอลิงโกมียอดผู้ใช้งานรวม 60 ล้านคน ซึ่งมี 20 ล้านคนที่ยังคงใช้งานอยู.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและดิวโอลิงโก · ดูเพิ่มเติม »

ดิอินโนเซนส์ออฟมุสลิม

อินโนเซนส์ออฟมุสลิม เป็นภาพยนตร์อิสระ เกี่ยวกับศาสนาและการเมือง เข้าใจว่าเขียนและกำกับโดย นาคูลา เบสลีย์ นาคูลา (Nakoula Basseley Nakoula) โดยใช้ชื่อแฝงว่า "แซม บาซิล" (Sam Bacile) นอกจากนี้ ยังอ้างว่าเป็นนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ชาวอิสราเอล-ยิว มีรายงานภายหลังว่า เขาเป็นชาวอียิปต์โดยกำเนิด นับถือศาสนาคริสต์นิกายคอปติก และในอดีตเคยใช้สมนามมาแล้วหลายชื่อ เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและดิอินโนเซนส์ออฟมุสลิม · ดูเพิ่มเติม »

ดินาร์อิรัก

นาร์ (อารบิก: دينار, (สัญลักษณ์: د.ع; รหัส: IQD) เป็นสกุลเงินของประเทศอิรัก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและดินาร์อิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนในภาวะทรัสตีโซมาเลีย

นแดนในภาวะทรัสตีโซมาเลีย (หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ดินแดนในภาวะทรัสตีโซมาเลียภายใต้การบริหารของอิตาลี) เป็นดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในปัจจุบันคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ของประเทศโซมาเลีย ซึ่งได้รับการบริหารโดยอิตาลี ตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและดินแดนในภาวะทรัสตีโซมาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ดิเกร์ ฮูลู

กร์ ฮูลู (Dikir Hulu) เป็นการละเล่นพื้นบ้านของชาวไทยมุสลิมใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ดิเกร์มาจากภาษาอาหรับว่า ดิเกร์อาวัล หรือดิเกร์อาวา ซึ่งหมายถึงการสวดหรือการร้องเพลง คำว่าฮูลู เป็นภาษามลายู หมายถึง ยุคก่อนหรือจุดเริ่มต้นพัฒนามาจากพิธีกรรมประกอบดนตรีเพื่อรักษาผู้ป่วยที่เชื่อว่าเกิดจากการกระทำของภูตผี ตั้งแต่สมัยที่ผู้คนในบริเวณนี้ยังนับถือศาสนาพุทธนิกายมหายานหรือศาสนาฮินดู ซึ่งได้รับอิทธิพลจากชวา ภายหลังเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลามจึงได้นำการกล่าวสรรเสริญพระเจ้าในศาสนาอิสลามแทน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและดิเกร์ ฮูลู · ดูเพิ่มเติม »

ดูไบ

ูไบ (دبيّ, Dubayy; Dubai) เป็นนครใหญ่สุดของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีพื้นที่ประมาณ 4,000 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 2 ล้านคน เมืองดูไบถือได้ว่าเป็นเมืองท่าที่สำคัญแห่งหนึ่งบนโลก และมีอัตราการเจริญเติบโตของเมืองสูงมาก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและดูไบ · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลงปารีส

วามตกลงปารีส (Paris Agreement) เป็นความตกลงตามกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ยูเอ็นเอฟซีซีซี) เพื่อกำหนดมาตรการลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและความตกลงปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ความตลกขบขัน

การยิ้มอาจจะแสดงอารมณ์ขำ ดังที่เห็นในจิตรกรรมตัวละคร Falstaff ของวิลเลียม เชกสเปียร์ โดย Eduard von Grützner ความตลกขบขัน (humour, humor) เป็นประสบการณ์ทางการรู้คิดที่มักทำให้หัวเราะและสร้างความบันเทิงสนุกสนาน คำจากภาษาอังกฤษมาจากศัพท์ทางการแพทย์ของชาวกรีกโบราณ ซึ่งสอนว่า ความสมดุลของธาตุน้ำต่าง ๆ ในร่างกายที่เรียกในภาษาละติน ว่า humor (แปลว่า ของเหลวในร่างกาย) เป็นตัวควบคุมสุขภาพและอารมณ์ของมนุษย์ มนุษย์ทุกยุคสมัยและทุกวัฒนธรรมตอบสนองต่อเรื่องขบขัน มนุษย์โดยมากประสบความขำขัน คือรู้สึกบันเทิงใจ ยิ้ม หรือหัวเราะต่ออะไรที่ขำ ๆ และดังนั้น จึงเรียกได้ว่าเป็นคนมีอารมณ์ขำ (คือมี sense of humour) คนสมมุติที่ไม่มีอารมณ์ขำน่าจะพบเหตุการณ์ที่ทำให้ขำว่า อธิบายไม่ได้ แปลก หรือว่าไม่สมเหตุผล แม้ว่าปกติความขำขันจะขึ้นอยู่กับรสนิยมส่วนตัว ขอบเขตที่บุคคลพบว่าอะไรน่าขำจะขึ้นอยู่กับตัวแปรหลายอย่าง รวมทั้งอยู่ในภูมิประเทศไหน ในวัฒนธรรมอะไร อายุ ระดับการศึกษา ความเฉลียวฉลาด และพื้นเพหรือบริบท ยกตัวอย่างเช่น เด็กเล็ก ๆ อาจชอบเรื่องตลกที่มีการตีกัน (ภาษาอังกฤษเรียกว่า slapstick) ดังที่พบในการ์ตูน เช่นรายการ ทอมกับเจอร์รี่ ที่การกระทบกระทั่งทางกายทำให้เด็กเข้าใจได้ เทียบกับเรื่องตลกที่ซับซ้อนกว่า เช่น แบบที่ใช้การล้อเลียนเสียดสี (satire) ซึ่งจำเป็นต้องเข้าใจสถานะทางสังคมและดังนั้น ผู้ใหญ่จะชอบใจมากกว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและความตลกขบขัน · ดูเพิ่มเติม »

คอฟ

คอฟ (Qoph, Qop) เป็นอักษรตัวที่ 19 ของอักษรตะกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ק‎ และอักษรอาหรับ ق (ก๊อฟ)‎ ใช้แทนเสียงเน้นจากคอหอย เกิดที่เพดานอ่อน หรือจากลิ้นไก่ อักษรตัวนี้กลายเป็นอักษรละติน Q และอักษรกรีก มาจากอักษรภาพรูปลิงที่แสดงลำตัวและหาง (ในภาษาฮีบรู, Qoph, สะกดด้วยอักษรฮีบรูเป็น קוף, หมายถึง "ลิง" และ K'of ในภาษาอียิปต์โบราณหมายถึงลิงชนิดหนึ่ง) หรืออาจจะมาจากอักษรภาพรูปหัวและคอของคน (Qaph ในภาษาอาหรับหมายถึงลำคอ) หมวดหมู่:อักษรอาหรับ en:Qoph#Arabic qāf.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

คออ์

คออ์ (خ /x/) เป็นอักษร 1 ใน 6 ตัว ของอักษรอาหรับที่เพิ่มจากอักษร 22 ตัวของอักษรฟินิเชีย ใช้แทนเสียงไม่ก้อง เกิดจากเพดานอ่อน และเป็นเสียงในลำคอ (voiceless velar fricative; สัทอักษรสากล) ภาษากลุ่มเซมิติกทางใต้ แยกเสียง ح และ خ เช่นเดียวกับภาษาอาหรับ และมีอักษรแทนเสียงนี้ในอักษรเอธิโอเปีย (Ḫarm ኀ) และอักษรอาระเบียใต้ด้วย หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและคออ์ · ดูเพิ่มเติม »

คอตะมุนนะบียีน

อตะมุนนะบียีน, คอตะมุลอัมบิยา หรือ คอตะมุรเราะซูล คือหนึ่งในฉายานามของนบีมุฮัมมัด (ศ็อลฯ) ซึ่งถูกกล่าวไว้ในโองการที่ 40 ซูเราะฮ์อะห์ซาบ ว่า มุฮัมมัดมิได้เป็นบิดาผู้ใดในหมู่บุรุษของพวกเจ้า แต่เป็นศาสนทูตของอัลลอฮ์และคนสุดท้ายแห่งบรรดานบี คำว่า คอตัม ในภาษาอาหรับ แปลว่า การประทับตราด้วยแหวน, การปิดผนึก และคำนี้ก็หมายถึง "ท้ายสุดของบรรดานบี" ด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและคอตะมุนนะบียีน · ดูเพิ่มเติม »

คาฟ

คาฟ (Kaph, Kap, Kaf) เป็นอักษรตัวที่ 11 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู כ‎ และอักษรอาหรับ ك (ก๊าฟ كَافْ) การออกเสียงในสัทอักษรเป็น อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก (Κ), อักษรละติน K, และเป็นอักษรซีริลลิก (К) คาดว่าอักษรกาฟมาจากอักษรภาพรูปมือ (ทั้งในภาษาฮีบรูสมัยใหม่และภาษาอาหรับสมัยใหม่ kaph หมายถึงฝ่ามือ) หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและคาฟ · ดูเพิ่มเติม »

คาราคุริ ชาช่ามารุ

ราคุริ ชาช่ามารุเค็ง อะกะมะสึ; 2551, 31 ตุลาคม: 168-169 (1 เมษายน 2554 —) เป็นตัวละครจากมังงะแนวตลก/ผจญภัย/กึ่งเร้ากามารมณ์ เรื่อง คุณครูจอมเวท เนกิมะ! (Negima! Magister Negi Magi) ของ เค็ง อะกะมะสึ (Ken Akamatsu) ชาช่ามารุเป็นนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้องเอ เลขที่ 10 โรงเรียนมัธยมมาโฮระ ซึ่งมี เนกิ สปริงฟิลด์ (Negi Springfield) เด็กชายวัยสิบขวบที่เป็นผู้ใช้เวทมนตร์ เป็นครูประจำชั้นChachamaru Karakuri; n.d.: Online.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและคาราคุริ ชาช่ามารุ · ดูเพิ่มเติม »

คาลิฟา ซีเซ

ลิฟา ซีเซ (Kalifa Cissé; เกิดวันที่ 9 มกราคม ค.ศ. 1984 ที่เดรอ,จังหวัดเออเรลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส) เป็นนักฟุตบอลตำแหน่งกองกลางตัวรับ ชาวมาลี โดยคาลิฟา ซีเซ เคยเป็นนักฟุตบอลระดับเยาวชน ของสโมสรฟุตบอลตูลูส ในประเทศฝรั่งเศส และเริ่มต้นเล่นฟุตบอลระดับอาชีพที่ประเทศโปรตุเกสในระดับปรีไมรา ลีกาซึ่งเป็นลีกสูงสุดกับสโมสรฟุตบอล เอสตูริล ปรายา และสโมสร เบาวิสต้า จากนั้นเขาย้ายไปเล่นในพรีเมียร์ลีกกับสโมสรเร้ดดิ้ง ก่อนจะย้ายมาเล่นในระดับลีก แชมเปียนชิพกับสโมสรฟุตบอลบริสตอล ซิตี และดาร์บี้ เคาน์ตี้ ในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและคาลิฟา ซีเซ · ดูเพิ่มเติม »

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและคำขวัญประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คิงอับดุลลอห์สปอร์ตซิตี

งอับดุลลอห์สปอร์ตซิตี (อาหรับ: مدينة الملك عبدالله الرياضية) หรือ เดอะชายนิงเจเวล (อาหรับ: الجوهرة المشعة) หรือ เดอะเจเวล (อาหรับ: الجوهرة) เป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์ อยู่ห่างเมืองญิดดะฮ์ ไปทางทิศเหนือประมาณ 60 กิโลเมตร ชื่อสนามตั้งชื่อตาม สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอห์ พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบีย สนามกีฬาหลัก (สนามกีฬานานาชาติคิงอับดุลลอห์) ใช้จัดแข่งขันฟุตบอล มีความจุ 62,241 ที่นั่ง เป็นสนามที่มีความจุมากเป็นอันดับที่ 2 ของประเทศ รองจากสนามคิงฟาห์ด และเป็นสนามที่มีความจุมากเป็นอันดับที่ 10 ในโลกอาหรับ นอกจากนี้ยังมีสนามที่ใช้จัดแข่งขันกีฬาประเภทอื่น ๆ อีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและคิงอับดุลลอห์สปอร์ตซิตี · ดูเพิ่มเติม »

คิงคริมสัน

กมังงะของ Otomo Katsuhiro ในปี พ.ศ. 2522 หน้าปกอัลบั้มเปิดตัวที่มีชื่อเสียง ''In the Court of the Crimson King'' คิง คริมสัน (King Crimson) เป็นวงดนตรีร็อกจากอังกฤษ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2512 โดยมือกีตาร์ โรเบิร์ต ฟริปป์ และมือกลอง ไมเคิล ไจล์ส ชื่อวงตั้งขึ้นโดย ปีเตอร์ ซินฟิลด์ มีความหมายว่า Ba‘al Zebûb (ภาษาอาหรับ หมายความว่า 'Lord of Zebûb' หรือ 'เจ้าชายปิศาจ') ดนตรีของคิง คริมสัน จัดเป็นประเภท โปรเกรสซีฟร็อก ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากดนตรีหลายแนว ไม่ว่าจะเป็น แจ๊ส, คลาสสิก, ไซคีเดลิก, เฮฟวีเมทัล หรือ โฟล์ก ดนตรีของคิง คริมสัน เป็นต้นแบบของวงดนตรีร็อกรุ่นหลังหลายวง อาทิ เนอร์วานา, ไนน์ อินช์ เนล คิง คริมสัน เปิดตัวครั้งแรกในการแสดงสดเมื่อวันที่ 9 เมษายน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและคิงคริมสัน · ดูเพิ่มเติม »

ค็อบซ์

การอบค็อบซ์ในเตาทันดูร์ ค็อบซ์ หรือ คุบซ์ (khubz, khoubz หรือ khobz; خبز) เป็นคำในภาษาอาหรับหมายถึงขนมปัง แต่สำหรับผู้ไม่ได้พูดภาษาอาหรับจะหมายถึงเฉพาะขนมปังแบนที่นิยมรับประทานโดยทั่วไปในประเทศที่ใช้ภาษาอาหรับตั้งแต่คาบสมุทรอาหรับไปจนถึงโมร็อกโก ค็อบซ์จะอบในเตาพื้นบ้านที่เรียกทันดูร์ มีวิธีทำค็อบซ์กล่าวไว้ใน Ibn Sayyar al-Warraqเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 15 และ Kitab al-Tabikh ในอิรักจะทำค็อบซ์เป็นขนมปังแบนรูปกลม ในช่วงที่มีการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่ออิรัก ทำให้มีการทำค็อบซ์ด้วยเตาดินเหนียวเพิ่มขึ้น.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและค็อบซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฆอยน์

ฆอยน์ (ﻍ‎) เป็นอักษรอาหรับ 1 ใน 6 ตัวที่เพิ่มจากอักษรฟินิเชีย ใช้แทนเสียงก้อง เกิดจากเพดานอ่อน และเป็นเสียงเสียดแทรก เสียงนี้มีการแยกเป็นหน่วยเสียงต่างหากในภาษาอาหรับ ภาษายูการิติก และสำเนียงเก่าของภาษาคานาอันไนต์ ส่วนสำเนียงที่ใหม่กว่านี้และภาษาฮีบรูติเบอเรียนได้รวมเสียงนี้เข้ากับอัยนฺอย่างสมบูรณ์ อักษรอาระเบียใต้ยังคงมีสัญลักษณ์สำหรับเสียง ġ, บางครั้งใช้แทนเสียง ในคำยืมในภาษาอาหรับ เช่น คำ Ingliizi (إنغليزي) ที่หมายถึง อังกฤษ หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและฆอยน์ · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83 เป็นงานที่จะมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83 · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 86

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 86 เป็นงานที่จะมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 86 · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 90

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 90 เป็นงานประกาศมอบรางวัลที่จัดขึ้นโดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์สำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 90 · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาดราวิเดียน

การแพร่กระจายของตระกูลภาษาดราวิเดียน ตระกูลภาษาดราวิเดียนเป็นตระกูลของภาษาที่มีสมาชิก 73 ภาษา ส่วนใหญ่ใช้พูดทางภาคใต้ของอินเดียและทางตะวันออกเฉียงเหนือของศรีลังกา และบางบริเวณในปากีสถาน เนปาล บังกลาเทศ และภาคกลางและภาคตะวันออกของอินเดีย รวมทั้งบางส่วนของอัฟกานิสถานด้วย นอกจากนั้นยังมีผู้ที่อพยพไปยังมาเลเซียและสิงคโปร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและตระกูลภาษาดราวิเดียน · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก

แสดงการแพร่กระจายของภาษาตระกูลแอโฟรเอชีแอติกด้วยสีเหลือง ตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afroasiatic languages) เป็นตระกูลภาษาที่มีสมาชิก 375 ภาษาและมีผู้พูดมากกว่า 300 ล้านคน แพร่กระจายในตะวันออกกลาง แอฟริกาเหนือ แอฟริกาตะวันตก แอฟริกาตะวันออก แอฟริกากลางและแอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ (รวมผู้พูดภาษาอาหรับ 200 ล้านคน) ชื่อของภาษาตระกูลนี้ตั้งโดย Joseph Greenberg เพื่อใช้แทนชื่อเดิม ตระกูลภาษาฮามิโต-เซมิติก กลุ่มย่อยของภาษาตระกูลนี้ได้แก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของบรูไน

ตราแผ่นดินของบรูไน (معطف من الأسلحة بروناي.) ใช้เครื่องหมายอย่างเดียวกับที่ปรากฏในธงชาติบรูไน เริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2475 ประกอบด้วยสัญลักษณ์ 5 อย่าง คือ ราชธวัช (ธง) พระกลด (ร่ม) ปีกนก 4 ขน มือสองข้าง และซีกวงเดือนหรือพระจันทร์เสี้ยว ภายในวงเดือนซึ่งหงายขึ้นนั้น มีข้อความภาษาอาหรับจารึกไว้ ซึ่งแปลความได้ว่า "น้อมรับใช้ตามแนวทางของพระอัลเลาะห์เสมอ" ("Always in service with God's guidance") เบื้องล่างสุดมีแพรแถบจารึกชื่อประเทศไว้ว่า บรูไนดารุสซาลาม (بروناي دار السلام) แปลว่า นครแห่งสันติ สัญลักษณ์ต่างๆ มีความหมายดังนี้.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและตราแผ่นดินของบรูไน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

ตราแผ่นดินของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เริ่มใช้เมื่อ..2551 มีส่วนประกอบคือ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและตราแผ่นดินของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของอัฟกานิสถาน

ตราแผ่นดินของอัฟกานิสถาน เริ่มใช้เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและตราแผ่นดินของอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของอาเซอร์ไบจาน

ตราแผ่นดินของอาเซอร์ไบจาน ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 17 กันยายน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและตราแผ่นดินของอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของคูเวต

ตราแผ่นดินของคูเวต เริ่มใช้เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและตราแผ่นดินของคูเวต · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของซีเรีย

ตราแผ่นดินของซีเรีย (شعار سوريا.) เริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2523 มีส่วนประกอบคือ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและตราแผ่นดินของซีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของแอลจีเรีย

ตราแผ่นดินของแอลจีเรีย ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2519.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและตราแผ่นดินของแอลจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเยเมน

ตราแผ่นดินของเยเมน เริ่มใช้เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและตราแผ่นดินของเยเมน · ดูเพิ่มเติม »

ตรีโกณมิติ

ฟังก์ชันตรีโกณมิติทั้งหมดของมุม ''θ'' สามารถนำมาสร้างทางเรขาคณิตในวงกลมหนึ่งหน่วยที่มีศูนย์กลางที่จุด ''O'' ตรีโกณมิติ (จากภาษากรีก trigonon มุม 3 มุม และ metro การวัด) เป็นสาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์ที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความยาวและมุมของรูปสามเหลี่ยม ตรีโกณมิติเกิดขึ้นในสมัยเฮลเลนิสต์ ในศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสต์ศักราช ปัจจุบันได้มีการนำไปใช้ตั้งแต่ในวิชาเรขาคณิตไปจนถึงวิชาดาราศาสตร์ นักดาราศาสตร์ในศตวรรษที่ 3 ได้สังเกตว่าความยาวด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากและมุมระหว่างด้านมีความสัมพันธ์ที่คงที่ ถ้าทราบความยาวอย่างน้อยหนึ่งด้านและค่าของมุมหนึ่งมุม แล้วมุมและความยาวอื่น ๆ ที่เหลือก็สามารถคำนวณหาค่าได้ การคำนวณเหล่านี้ได้ถูกนิยามเป็นฟังก์ชันตรีโกณมิติ และในปัจจุบันได้แพร่หลายไปทั้งคณิตศาสตร์บริสุทธิ์และคณิตศาสตร์ประยุกต์ เช่น การแปลงฟูรีเย หรือสมการคลื่น หรือการใช้ฟังก์ชันตรีโกณมิติเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ที่เป็นคาบในสาขาวิชาฟิสิกส์ วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟ้า ดนตรีและสวนศาสตร์ ดาราศาสตร์ นิเวศวิทยา และชีววิทยา นอกจากนี้ ตรีโกณมิติยังเป็นพื้นฐานของการสำรวจ ตรีโกณมิติมีความเกี่ยวข้องมากที่สุดกับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากบนระนาบ (กล่าวคือ รูปสามเหลี่ยมสองมิติที่มีมุมหนึ่งมีขนาด 90 องศา) มีการประยุกต์ใช้กับรูปสามเหลี่ยมที่ไม่มีมุมฉากด้วย โดยการแบ่งรูปสามเหลี่ยมดังกล่าวเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากสองรูป ปัญหาส่วนมากสามารถแก้ได้โดยใช้การคำนวณบนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ดังนั้น การประยุกต์ส่วนใหญ่ก็จะเกี่ยวข้องกับรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ยกเว้นในตรีโกณมิติเชิงทรงกลม วิชาที่ศึกษารูปสามเหลี่ยมบนพื้นผิวทรงกลม ซึ่งมีความโค้งเป็นค่าคงที่บวก ในเรขาคณิตอิลลิปติก (elliptic geometry) อันเป็นพื้นฐานของวิชาดาราศาสตร์และการเดินเรือ) ส่วนตรีโกณมิติบนพื้นผิวที่มีความโค้งเป็นค่าลบเป็นส่วนหนึ่งของเรขาคณิตไฮเพอร์โบลิก วิชาตรีโกณมิติเบื้องต้นมักมีการสอนในโรงเรียน อาจเป็นหลักสูตรแยกหรือเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรความรู้พื้นฐานสำหรับแคลคูลั.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและตรีโกณมิติ · ดูเพิ่มเติม »

ตัวไม่เชื่อมความกว้างศูนย์

ตัวไม่เชื่อมความกว้างศูนย์ (ZWNJ ย่อมาจาก zero-width non-joiner) คืออักขระควบคุมที่ใชัในการเรียงพิมพ์ในคอมพิวเตอร์ ใช้เพื่อจัดการการเชื่อมต่อระหว่างอักษรตัวเขียนบางชนิด เช่นอักษรอาหรับหรืออักษรฮีบรู เมื่อใส่ตัวไม่เชื่อมความกว้างศูนย์ลงไประหว่างอักษรสองตัว จะเป็นการบังคับให้อักษรสองตัวนั้นไม่เชื่อมต่อกัน แต่ยังคงปรากฏอยู่ในตำแหน่งที่ติดกัน ซึ่งอาจจำเป็นต้องใช้ในบางโอกาส โดยเฉพาะภาษาเปอร์เซียซึ่งมีการเขียนต่างจากภาษาอาหรับเล็กน้อย ปกติแล้วตัวไม่เชื่อมความกว้างศูนย์จะไม่สามารถมองเห็นได้ แต่อาจสังเกตได้จากอักษรรูปแบบธรรมดาที่อยู่ติดกัน ตัวไม่เชื่อมอาจแทรกอยู่ระหว่างนั้น ตัวไม่เชื่อมความกว้างศูนย์มีรหัสยูนิโคด U+200C และมี HTML เอนทิตี เป็น #8204; #x200C; และ zwnj;.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและตัวไม่เชื่อมความกว้างศูนย์ · ดูเพิ่มเติม »

ตันซีม

ตันซีม (Tanzim, ภาษาอาหรับ: تنظيم, หมายถึงองค์กร) เป็นกลุ่มหนึ่งของขบวนการฟาตะหฺในปาเลสไตน์ มีลักษณะเป็นหน่วยป้องกันใหม่ของฟาตะหฺ สมาชิกมีแนวโน้มเป็นคนหนุ่มมากกว่าฟาตะหฺกลุ่มอื่นๆที่เติบโตหลังจากยุคของข้อตกลงออสโล ผู้นำกลุ่มคือ มาร์วาน บาร์คูตี สมาชิกส่วนใหญ่ของกลุ่มเข้าร่วมกับกองทัพของยัสเซอร์ อาราฟัต กลุ่มนี้มีมือระเบิดพลีชีพที่เป็นผู้หญิง เช่น อันดาลีฟ ตากัตกา หญิงชาวเบธเลเฮมวัย 20 ปี ที่เป็นมือระเบิดพลีชีพเมื่อ 12 เมษายน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและตันซีม · ดูเพิ่มเติม »

ฉนวนกาซา

ฉนวนกาซา (Gaza Strip; قطاع غزة; רצועת עזה‎) เป็นชื่อเรียกอาณาบริเวณแคบ ๆ ขนาด 360 ตร.กม. ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในตะวันออกกลาง โดยมีประชากรชาวปาเลสไตน์ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ประมาณ 1.7 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากผู้อพยพลี้ภัย โดยในการสำรวจเมื่อเดือนมีนาคม ปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและฉนวนกาซา · ดูเพิ่มเติม »

ซออ์

ซออ์ (ﻅ‎) เป็นอักษร 1 ใน 6 ตัว ของอักษรอาหรับ ที่เพิ่มจากอักษร 22 ตัวของอักษรฟินิเชีย ใช้แทนเสียงก้อง เกิดจากฟัน และเป็นเสียงในลำคอ (pharyngealized voiced dental fricative; สัทศาสตร์สากล) หรือ เสียงก้อง เกิดจากปุ่มเหงือก และเป็นเสียงในลำคอ (voiced alveolar fricative; สัทศาสตร์สากล) เสียงนี้เป็นเสียงเน้นหนักของ z คล้ายกับเสียงของ ﺫ‎ หรือ ﺯ‎ ในภาษาเปอร์เซีย ใช้กับคำยืมจากภาษาอาหรับเท่านั้น เสียงนี้ยังเป็นเสียงที่ใช้น้อยในภาษาอาหรับด้วย จากรากศัพท์ 2,967 คำที่รวบรวมโดย Wehr (1952) รากศัพท์ที่มีเสียงนี้มีเพียง 42 คำ คิดเป็นร้อยละ 1.4 หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและซออ์ · ดูเพิ่มเติม »

ซะฮิบ ชีฮับ

ซะฮิบ ชีฮับ (Sahib Shihab) นักแซกโซโฟนแจ๊สชาวอเมริกัน เคยมีผลงานร่วมกับทีโลเนียส มังค์ ดิซซี กิลเลซพี อาร์ต แบลคคี เบนนี กอลสัน ไมล์ส เดวิส และอาร์ต ฟาร์เมอร์ ในแนวฮาร์ดบ็อพ และเคยมีผลงานร่วมกับควินซี โจนส์ ซะฮิบ ชีฮับ เล่นแซกโซโฟนทั้งแบบอัลโต แบริโทน และโซปราโน ส่วนมากจะเล่นแบริโทนแซก ทั้งยังเป็นนักดนตรีแจ๊สคนแรกๆ ที่นำฟลุต มาเล่นกับดนตรีในแนวบ็อพ ซะฮิบ ชีฮับ เดิมมีชื่อว่า เอ็ดมอนด์ เกรกอรี (Edmond Gregory) เขาเป็นนักดนตรีอเมริกันคนแรกๆ ที่เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลามในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและซะฮิบ ชีฮับ · ดูเพิ่มเติม »

ซักคิวบัส

หัวเสารูปนางซักคิวบัส ซักคิวบัส ((เอกพจน์) หรือ succubi) เป็นชื่อปิศาจสตรีที่ปรากฏตัวในความฝันด้วยรูปมนุษย์สตรีเพื่อล่อลวงบุรุษให้สังวาสกับนาง ปิศาจที่เป็นชายและมีพฤติกรรมทำนองเดียวกันเรียก "อินคิวบัส" (incubus) ความเชื่อทางศาสนามีว่า ถ้าร่วมประเวณีกับนางซักคิวบัสบ่อยครั้ง อาจส่งผลให้สุขภาพย่ำแย่ และอาจถึงตายได้ ในนวนิยายสมัยปัจจุบัน นางซักคิวบัสอาจปรากฏมาในความฝันหรือไม่ก็ได้ และมักมีรูปโฉมโนมพรรณงดงามและยั่วยวน ต่างจากในสมัยโบราณที่แสดงรูปของนางซักคิวบัสไว้น่าเกลียดน่ากลัวอย่างปิศาจโดยแท้ ในโมร็อกโกและประเทศอื่นในแอฟริกาเหนือ มีปิศาจที่คล้ายคลึงกันเรียกว่า "อิสชากาดิชา" (Aisha Kandisha; อาหรับ: عيشة قنديشة‎, ʿĀʾisha Qandīsha) เป็นปิศาจผู้หญิงที่มีท่อนบนงดงามยั่วยวน แต่มีช่วงล่างที่เป็นแพะ และปีกด้านหลังเหมือนค้างคาว เชื่อว่าอาศัยอยู่ในที่รกร้างหรือกลางทะเลทราย เช่น เทือกเขาแอตลาส อิสชากาดิชา จะทำให้ผู้ชายหลงใหลเคลิบเคลิ้ม และท้ายสุดจะเป็นบ้าเสียสติ หรืออาจถึงตายได้ ทั้งนี้มีพยานเป็นชาวพื้นเมืองกลางทะเลทรายบอกว่า เคยเห็นอิสชากาดิชาในเวลากลางคืน เชื่อว่า หากได้ยินเสียงโซ่ลากพื้นหรือเสียงเหมือนอูฐเดินในเวลากลางคืน นั่นคือ อิสชาก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและซักคิวบัส · ดูเพิ่มเติม »

ซัดดัม ฮุสเซน

ซัดดัม ฮุสเซน (Saddam Hussein) หรือ ศ็อดดาม ฮุเซน อับดุลมะญีด อัลตีกรีตี (อาหรับ: صدام حسين عبد المجيد التكريتي; ละติน:Ṣaddām Ḥusayn ʿAbd al-Majīd al-Tikrītī; 28 เมษายน พ.ศ. 2480-30 ธันวาคม พ.ศ. 2549) เป็นอดีตประธานาธิบดีของอิรัก ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและซัดดัม ฮุสเซน · ดูเพิ่มเติม »

ซาอิส

305x305px ซาอิส (อาหรับ: صاالحجر; กรีกโบราณ: Σάϊς; คอปติก: ⲥⲁⲓ) หรือ ซา เอล ฮาการ์ เป็นเมืองของอียิปต์โบราณในแถบแม่น้ำไนล์ฝั่งตะวันตกบนดินดอนปากแม่น้ำไนล์Mish, Frederick C., Editor in Chief.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและซาอิส · ดูเพิ่มเติม »

ซาดี

ซาดี (Tsade) เป็นอักษรตัวที่ 18 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรูצ‎ และอักษรอาหรับ ص (ศอด صَادْ)‎ เสียงเริ่มแรกของอักษรนี้น่าจะเป็น แต่ต่อมาเสียงนี้ต่างออกไปในภาษาตระกูลเซมิติกสมัยใหม่ มีที่มาจากอักษรคานาอันไนต์สามตัว ภาษาอาหรับยังคงแยกหน่วยเสียงเหล่านั้นเป็นอักษรสามตัวคือ ṣād และ ṭāʼ ใช้แสดงเสียงต่างกันสามเสียง (ḍād, ẓāʼ) ในภาษาอราเมอิก เสียงใกล้เคียงของอักษรนี้ถูกแทนที่ด้วย ʻayin และ ṭēt ดังนั้น ในภาษาฮีบรู ereẓ ארץ (โลก) เป็น arʻāʼ ארעא ในภาษาอราเมอิก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและซาดี · ดูเพิ่มเติม »

ซาเฮล

ภาพแสดงบริเวณซาเฮล มีความยาวราว 1,000 กม. พาดระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับทะเลแดง ซาเฮล (Sahel) เป็นเขตรอยต่อ บริเวณกึ่งทะเลทราย บริเวณทะเลทรายสะฮารา แบ่งทวีปแอฟริกาเป็นเหนือและใต้ ตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกไปจนทะเลแดง ซาเฮลเป็นภาษาอาหรับ มีความหมายว่า ชายหาด พื้นที่ของซาเฮลครอบคลุมตั้งแต่ (ไล่จากตะวันตกสู่ตะวันออก) ประเทศเซเนกัล, ทางใต้ของประเทศมอริเตเนีย, ประเทศมาลี, ประเทศบูร์กินาฟาโซ, ทางตอนใต้ของประเทศแอลจีเรีย, ประเทศไนเจอร์, ทางตอนเหนือของประเทศไนจีเรีย, ประเทศชาด, ทางตอนเหนือของประเทศแคเมอรูน, ประเทศซูดาน และประเทศเอริเทรีย หมวดหมู่:ภูมิภาคในทวีปแอฟริกา.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและซาเฮล · ดูเพิ่มเติม »

ซีตี นูร์ฮาลีซา

ต๊ะ หรือดาตินซรี ซีตี นูร์ฮาลีซา บินตี ตารูดิน DIMP, JSM, SAP, PMP, AAP (Siti Nurhaliza binti Tarudin, سيتي نورهاليزا بنت تارودين; เกิด 11 มกราคม ค.ศ. 1979) เป็นนักร้องชาวมาเลเซีย ตั้งแต่เธอเป็นนักร้อง เธอได้รับรางวัลการแข่งขันประกวดร้องเพลงระดับนานาชาติหลายครั้ง เธอได้รับฉายาว่าเป็นเสียงแห่งเอเชีย หลังจากชนะตำแหน่งกรังปรีแชมเปียนจากเทศกาล Voice of Asia รายการประกวดร้องเพลงที่จัดขึ้นที่เมืองอัลมาตี ประเทศคาซัคสถาน โดยก่อนหน้านั้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและซีตี นูร์ฮาลีซา · ดูเพิ่มเติม »

ซีซีทีวี-อาหรับ

ซีจีทีเอ็น-อาหรับ (中国中央电视台阿拉伯语国际频道; الصين الوسطى قناة تلفزيونية عربية.; ชื่อย่อ CGTM-العربية) เป็นสถานีโทรทัศน์ซีซีทีวี ภาษาอาหรับ ออกอากาศแก่คนทั่วโลกที่รับรู้ภาษาอาหรับ ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2552สาเหตุที่ตั้งเพราะต้องการแย่งผู้ชมช่องรายการจากช่องขนาดใหญ่อย่างอัลญาซีร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและซีซีทีวี-อาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินฮิจเราะห์

ปฏิทินฮิจเราะห์ หรือ ปฏิทินอิสลาม หรือ ปฏิทินมุสลิม (อังกฤษ: Islamic calendar) เป็นระบบปฏิทินจันทรคติ ซึ่งประกอบด้วย 12 เดือนทางจันทรคติ ซึ่งในหนึ่งปีจะมี 354 หรือ 355 วัน ใช้กำหนดวันเหตุการณ์ในหลายประเทศมุสลิม (ควบคู่ไปกับปฏิทินเกรโกเรียน) และใช้โดยมุสลิมทั่วโลกเพื่อกำหนดวันที่เหมาะสมในการเฉลิมฉลองวันสำคัญและเทศกาลในศาสนาอิสลาม ปฏิทินฮิจเราะห์เริ่มนับเมื่อศาสดาแห่งอิสลาม นบีมุฮัมมัดอพยพจากมักกะฮ์ไปยังมะดีนะฮ์ หรือที่รู้จักกันว่า hijra, hijrah ในภาษาอังกฤษ ฮิจเราะห์ศักราชจะถูกระบุโดยใช้ตัวย่อ H หรือ AH อันเป็นตัวย่อของวลีภาษาละติน anno Hegirae (ในปีแห่งฮิจเราะห์) ปัจจุบันอยู่ในฮิจเราะห์ศักราช เนื่องจากปฏิทินฮิจเราะห์เป็นปฏิทินจันทรคติ จึงไม่เกิดขึ้นพร้อมกับฤดูกาล โดยในแต่ละปีมีวันคาดเคลื่อนไปจากปฏิทินเกรโกเรียนอยู่ 11 หรือ 12 วัน ทำให้ฤดูกาลจะกลับมาซ้ำเดิมทุก 33 ปีอิสลาม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและปฏิทินฮิจเราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ประชากรศาสตร์อิหร่าน

การเปลี่ยนแปลงจำนวนประชากรระหว่างปี 1260-1395 (ปีอิหร่าน) ชาวอิหร่าน คือผู้ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิหร่าน แถบเอเชียตะวันตก ข้อมูลตามการสำรวจสำมโนครัว เดือนออบอน ปี 1395  ประชากรประเทศอิหร่านมีประมาณ 79,9 ล้านคน ความหนาแน่นของประชากร 48,5 ต่อตารางกิโลเมตร ค่าเฉลี่ยการเจริญเติบโตของจำนวนประชากรแต่ละปี คิดเป็น 1,2 เปอร์เซ็น ‎(فارسی)‎. درگاه ملی آمار. بازبینی‌شده در تیر ۱۳۹۶.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประชากรศาสตร์อิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์บาห์เรน

ห์เรนเป็นรัฐที่มีความรุ่งเรืองมานาน โดยเป็นเมืองท่าและศูนย์กลางการค้าในอ่าวเปอร์เซีย มีชื่อเสียงทางด้านไข่มุก และการต่อเรือ บาหเรนเป็นดินแดนในอารักขาของอังกฤษตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประวัติศาสตร์บาห์เรน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาพุทธ

นาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่สำคัญคือเถรวาทและมหายาน นิกายมหายานได้แพร่หลายไปทั่วเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก เมื่อศาสนาพุทธในอินเดียเสื่อมลง พุทธศาสนามหายานในเอเชียกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เสื่อมตามไปด้วย ยังคงเหลือในจีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม ส่วนนิกายเถรวาทได้เฟื่องฟูขึ้นอีกครั้งในศรีลังกา และแพร่หลายไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พุทธศาสนาได้แพร่หลายไปยังโลกตะวันตกตั้งแต่ครั้งโบราณ แต่ชาวตะวันตกหันมาสนใจพุทธศาสนามากขึ้นในยุคจักรวรรดินิยมและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประวัติศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบาห์เรน

ห์เรน (Bahrain; البحرين) หรือชื่อทางการ ราชอาณาจักรบาห์เรน (Kingdom of Bahrain; مملكة البحرين) เป็นประเทศเกาะในอ่าวเปอร์เซีย โดยมีสะพานเชื่อมต่อกับซาอุดีอาระเบียที่อยู่ห่างจากเกาะประมาณ 28 กิโลเมตร คือ สะพานคิงฟะฮัด ซึ่งเปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค..1986 ส่วนสะพานมิตรภาพกาตาร์-บาห์เรน ที่กำลังอยู่ในระหว่างวางแผนงานนั้น จะเชื่อมต่อบาห์เรนเข้ากับกาตาร์ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และจะเป็นสะพานขึงที่ยาวที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศบาห์เรน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาด

(Tchad; تشاد, Tshād) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในแอฟริกากลาง มีอาณาเขตทางเหนือจดประเทศลิเบีย ทางตะวันออกจดประเทศซูดาน ทางใต้จดสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทางตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศแคเมอรูนและประเทศไนจีเรีย และทางตะวันตกจดประเทศไนเจอร์ เนื่องจากมีระยะไกลจากทะเลและมีภูมิอากาศเป็นแบบทะเลทรายเป็นส่วนใหญ่ ประเทศจึงได้ชื่อว่าเป็น "หัวใจตายของแอฟริกา" (dead heart of Africa) ทางเหนือมีทิวเขาทิเบสตี (Tibesti Mountains) ซึ่งเป็นเทือกเขาที่ใหญ่ที่สุดในทะเลทรายสะฮารา เดิมเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐเฟรนช์อิเควทอเรียลแอฟริกา (Federation of French Equatorial Africa) มีชื่อตามทะเลสาบชาด (Lake Chad).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศชาด · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกาตาร์

กาตาร์ (قطر‎) หรือชื่อทางการคือ รัฐกาตาร์ (دولة قطر) เป็นรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirate) ในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่บนคาบสมุทรขนาดเล็กที่แตกมาจากคาบสมุทรอาหรับ มีพรมแดนทางใต้ติดกับประเทศซาอุดีอาระเบีย และมีชายฝั่งริมอ่าวเปอร์เซี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศกาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอริเตเนีย

รณรัฐอิสลามมอริเตเนีย (Islamic Republic of Mauritania; الجمهورية الإسلامية الموريتانية; République Islamique de Mauritanie) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า มอริเตเนีย (Mauritania; موريتانيا; Mauritanie) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือ มีชายฝั่งบนมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตก มีอาณาเขตทางตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศเซเนกัล ทางตะวันออกและทางตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศมาลี ทางตะวันออกเฉียงเหนือจดประเทศแอลจีเรีย และมีพรมแดนทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับพื้นที่ยึดครองโดยประเทศโมร็อกโก คือเวสเทิร์นสะฮารา เมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศคือ นูแอกชอต (Nouakchott) ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ประเทศมอริเตเนียตั้งชื่อตามราชอาณาจักรมอเรเตเนีย (Mauretania) ของชาวเบอร์เบอร์ (Berber) ยุคเก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศมอริเตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิเบีย

ลิเบีย (ليبيا) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ มีชายฝั่งบนทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตั้งอยู่ระหว่างประเทศอียิปต์ไปทางตะวันออก ประเทศซูดานไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศชาดและประเทศไนเจอร์ไปทางใต้ และประเทศแอลจีเรียและตูนิเซียไปทางตะวันตก มีเมืองหลวงชื่อตริโปลี ประเทศลิเบียมีพื้นที่เกือบ 1,800,000 ตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ในทวีปแอฟริกา และประเทศที่ใหญ่ที่สุดในโลกอันดับที่ 17 เมืองหลวง กรุงตริโปลี มีชาวลิเบียอาศัยอยู่ 1.7 ล้านคน จากทั้งประเทศ 6.4 ล้านคน ตามข้อมูลเมื่อปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิรัก

ประเทศอิรัก (العراق; عێراق อังกฤษ: Iraq) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิรัก (جمهورية العراق; كؤماری عێراق) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีอาณาเขตทางทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทางทิศตะวันออกจดประเทศอิหร่าน ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศคูเวต ทางทิศใต้จดประเทศซาอุดีอาระเบีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศจอร์แดน และทางทิศตะวันตกจดประเทศซีเรีย กรุงแบกแดด ซึ่งเป็นเมืองหลวง ตั้งอยู่ในกลางประเทศ ราว 97% ของประชากรอิรัก 36 ล้านคนเป็นชาวมุสลิม ส่วนใหญ่มีเชื้อสายซุนนีย์ ชีอะฮ์และเคิร์ด ประเทศอิรักมีแนวชายฝั่งส่วนแคบวัดความยาวได้ 58 กิโลเมตรทางเหนือของอ่าวเปอร์เซีย และอาณาเขตของประเทศครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเมโสโปเตเมีย ปลายทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขาซากรอส และทะเลทรายซีเรียส่วนตะวันออก สองแม่น้ำหลัก แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ไหลลงใต้ผ่านใจกลางประเทศและไหลลงสู่ชัฏฏุลอะร็อบใกล้อ่าวเปอร์เซีย แม่น้ำเหล่านี้ทำให้ประเทศอิรักมีดินแดนอุดมสมบูรณ์มากมาย ภูมิภาคระหว่างแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีสมักเรยกว่า เมโสโปเตเมีย และคาดว่าเป็นบ่อเกิดของการเขียนและอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดของโลก พื้นที่นี้ยังเป็นที่ตั้งของอารยธรรมที่สืบทอดต่อกันมานับแต่ 6 สหัสวรรษก่อนคริสตกาล ในแต่ละช่วงของประวัติศาสตร์ อิรักเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิอัคคาเดีย ซูเมเรีย อัสซีเรีย และบาบิโลเนีย นอกจากนี้ยังเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมีเดีย อะคีเมนิด เฮลเลนนิสติก พาร์เธีย แซสซานิด โรมัน รอชิดีน อุมัยยะฮ์ อับบาซียะห์ มองโกล ซาฟาวิด อาฟชาริยะห์และออตโตมัน และเคยเป็นอาณาเขตในอาณัติสันนิบาตชาติภายใต้การควบคุมของอังกฤษ พรมแดนสมัยใหม่ของประเทศอิรักส่วนใหญ่ปักใน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิสราเอล

ประเทศอิสราเอล (Israel; יִשְׂרָאֵל; إِسْرَائِيل) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐอิสราเอล (State of Israel; מְדִינַת יִשְׂרָאֵל; دَوْلَة إِسْرَائِيل) เป็นประเทศในตะวันออกกลางบนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและชายฝั่งเหนือของทะเลแดง มีเขตแดนทางบกติดต่อกับประเทศเลบานอนทางทิศเหนือ ประเทศซีเรียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศจอร์แดนทางทิศตะวันออก ดินแดนเวสต์แบงก์และฉนวนกาซาของปาเลสไตน์ทางทิศตะวันออกและตะวันตกตามลำดับ และประเทศอียิปต์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประเทศอิสราเอลมีภูมิลักษณ์หลากหลายแม้มีพื้นที่ค่อนข้างเล็ก เทลอาวีฟเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีของประเทศ ส่วนที่ตั้งรัฐบาลและเมืองหลวงตามประกาศคือ เยรูซาเลม แม้อำนาจอธิปไตยของรัฐเหนือเยรูซาเลมยังไม่มีการรับรองในระดับนานาประเทศThe Jerusalem Law states that "Jerusalem, complete and united, is the capital of Israel" and the city serves as the seat of the government, home to the President's residence, government offices, supreme court, and parliament.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์

รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจอร์แดน

ราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน (Hashemite Kingdom of Jordan; المملكة الأردنية الهاشمية) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า จอร์แดน (Jordan; الأردن Al-Urdunn อัลอุรดุน) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีพรมแดนติดกับประเทศซีเรียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอิรักทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดต่อกับซาอุดีอาระเบียทางทิศตะวันออกและทิศใต้ รวมทั้งติดต่อกับอิสราเอลและดินแดนที่อิสราเอลครอบครองทางทิศตะวันตก จอร์แดนเป็นประเทศที่เกือบไม่มีทางออกสู่ทะเล มีชายฝั่งทะเลเดดซีร่วมกับอิสราเอลและดินแดนที่อิสราเอลครอบครอง มีชายฝั่งอ่าวอะกอบาร่วมกับอิสราเอล ซาอุดีอาระเบีย และอียิปต.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจิบูตี

ูตี (جيبوتي; Djibouti) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐจิบูตี (جمهورية جيبوتي; République de Djibouti) เป็นนครรัฐในแอฟริกาตะวันออกในภูมิภาคจะงอยแอฟริกา จิบูตีมีอาณาเขตทางเหนือจดประเทศเอริเทรีย ทางตะวันตกและใต้จดเอธิโอเปีย ทางตะวันออกเฉียงใต้จดโซมาเลีย อาณาเขตส่วนที่เหลือคือชายฝั่งทะเลแดงและอ่าวเอเดน ในอีกด้านของทะเลแดงคือคาบสมุทรอาหรับในส่วนของประเทศเยเมน ห่างจากฝั่งของจิบูตี 20 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศจิบูตี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคอโมโรส

อโมโรส (Comoros; جزر القمر‎; Comores) หรือชื่อทางการว่า สหภาพคอโมโรส (Union of the Comoros; คอโมโรส: Udzima wa Komori; الاتحاد القمري; Union des Comores) เป็นประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดีย ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตะวันออกของทวีปแอฟริกา บริเวณจุดเหนือสุดของช่องแคบโมซัมบิก ระหว่างทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศมาดากัสการ์และทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศโมซัมบิก ประเทศอื่นๆ ที่อยู่ใกล้กับคอโมโรสคือประเทศแทนซาเนียที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือและประเทศเซเชลส์ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีเมืองหลวงคือ โมโรนี บนเกาะกร็องด์กอมอร์ ภาษาราชการมี 3 ภาษาคือ อาหรับ คอโมโรส และฝรั่งเศส ศาสนาของประชากรส่วนใหญ่คือศาสนาอิสลาม ด้วยเนื้อที่เพียง 1,660 ตารางกิโลเมตร (640 ตารางไมล์) (ไม่รวมเกาะมายอตที่ยังมีปัญหากันอยู่) ทำให้คอโมโรสเป็นประเทศที่เล็กที่สุดเป็นอันดับ 3 ในทวีปแอฟริกา โดยมีประชากรทั้งหมดประมาณ 798,000 คน (ไม่รวมมายอต) ในฐานะที่เป็นประเทศที่เกิดขึ้นจากอารยธรรมที่แตกต่างกัน ทำให้หมู่เกาะนี้มีชื่อเสียงในด้านวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ที่หลากหลาย ผู้ตั้งรกรากบนเกาะนี้เป็นกลุ่มแรกๆ คือ กลุ่มคนที่พูดภาษาบันตู จากแอฟริกาตะวันออก พร้อมด้วยชาวอาหรับและการอพยพเข้ามาของชาวออสโตรนีเชียน หมู่เกาะคอโมโรสประกอบไปด้วย 3 เกาะใหญ่และหมู่เกาะเล็ก ๆ อีกมากมายซึ่งตั้งอยู่บนหมู่เกาะภูเขาไฟคอโมโรส เกาะที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปในชื่อฝรั่งเศสของพวกเขา ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือสุด คือ เกาะกร็องด์กอมอร์หรืออึงกาซีจา มอเอลีหรืออึมวาลี อ็องฌูอ็องหรืออึนซวานี นอกจากนี้ประเทศยังอ้างสิทธิเหนือเกาะอีกแห่งที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้สุดคือเกาะมายอตหรือมาโอเร ถึงแม้ว่าเกาะมายอตจะมีการประกาศอิสรภาพจากฝรั่งเศสแล้วตั้งแต่ปี 2517 แต่ก็ไม่เคยอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลคอโมโรสและยังคงถูกปกครองโดยฝรั่งเศสต่อไป (ในฐานะดินแดนโพ้นทะเลของฝรั่งเศส) ฝรั่งเศสได้คัดค้านมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติทียืนยันอธิปไตยของคอโมโรสเหนือเกาะนี้The first UN General Assembly Resolution regarding the matter, " (PDF)", United Nations General Assembly Resolution A/RES/31/4, (21 October 1976) states "the occupation by France of the Comorian island of Mayotte constitutes a flagrant encroachment on the national unity of the Comorian State, a Member of the United Nations," rejecting the French-administered referendums and condemning French presence in Mayotte.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศคอโมโรส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคูเวต

ูเวต (الكويت) หรือชื่อทางการคือ รัฐคูเวต (دولة الكويت) เป็นรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirate) ที่มีขนาดเล็กและอุดมไปด้วยทรัพยากรน้ำมัน ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ริมชายฝั่งอ่าวเปอร์เซีย มีพรมแดนทางใต้ติดกับประเทศซาอุดีอาระเบีย และพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศอิรัก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศคูเวต · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตูนิเซีย

ตูนิเซีย (Tunisia; تونس‎) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐตูนิเซีย (Tunisian Republic; الجمهورية التونسية) เป็นประเทศอาหรับมุสลิมที่ตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ บนชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นประเทศทางตะวันออกสุดและเล็กที่สุดของ 3 ประเทศบนเทือกเขาแอตลาส (Atlas mountains) มีอาณาเขตทางตะวันตกจรดประเทศแอลจีเรีย และทางใต้และตะวันตกจรดประเทศลิเบีย พื้นที่ร้อยละ 40 ของประเทศประกอบด้วยทะเลทรายสะฮารา ในขณะที่ส่วนที่เหลือส่วนใหญ่ประกอบด้วยพื้นที่อันอุดมสมบูรณ์ และชายฝั่งที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย ทั้งคู่มีบทบาทอย่างมากในสมัยโบราณ เริ่มต้นด้วยการก่อตั้งเมืองคาร์เทจ (Carthage) ที่มีชื่อของชาวฟีนีเชีย (Phoenicia) และในเวลาต่อมาได้กลายเป็นพื้นที่มณฑลแอฟริกา (Africa Province) เป็นพื้นที่อู่ข้าวอู่น้ำของอาณาจักรโรมัน สันนิษฐานว่า ชื่อ ตูนิส (Tunis) มาจากภาษาเบอร์เบอร์ (Berber) แปลว่าแหลมซึ่งสอดคล้องกับสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศ ที่เป็นแหลมยื้นเข้าไปในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน หรือ อีกความหมายหนึ่งนั้น แปลว่า "พักแรม".

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศตูนิเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซาอุดีอาระเบีย

ซาอุดีอาระเบีย (Saudi Arabia; السعودية) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย (المملكة العربية السعودية) เป็นรัฐอาหรับในเอเชียตะวันออกกลาง กินอาณาบริเวณกว้างขวางในคาบสมุทรอาหรับ มีพื้นที่ประมาณ 2,149,690 ตารางกิโลเมตร ประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นรัฐที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองในโลกอาหรับรองจากประเทศแอลจีเรีย ประเทศซาอุดีอาระเบียมีพรมแดนติดประเทศจอร์แดนและอิรักทางเหนือ ประเทศคูเวตทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศกาตาร์ บาห์เรนและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ทางตะวันออก ประเทศโอมานทางตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศเยเมนทางใต้ เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งติดทั้งทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย และภูมิประเทศส่วนใหญ่ประกอบด้วยทะเลทรายแห้งแล้ง อยู่อาศัยไม่ได้ หรือธรณีสัณฐานไม่อุดม พื้นที่ประเทศซาอุดีอาระเบียสมัยใหม่ประกอบด้วยสี่ภูมิภาคสำคัญ ได้แก่ ฮิญาซ นัจญด์ และบางส่วนของอาระเบียตะวันออกและอาระเบียใต้ ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบียก่อตั้งในปี 2475 โดย พระเจ้าอิบนุ ซะอูด (King Ibnu Saud) พระองค์ทรงรวบรวมสี่ภูมิภาคเข้าเป็นรัฐเดี่ยวผ่านชุดการพิชิตเริ่มตั้งแต่ปี 2445 ด้วยการยึดรียาด บ้านบรรพบุรุษแห่งราชวงศ์ซะอูดของพระองค์ นับแต่นั้น ประเทศเป็นสมบูรณาญาสิทธิราช เป็นเผด็จการสืบสายโลหิตที่ปกครองตามแบบอิสลาม ขบวนการศาสนาวะฮาบีย์ภายในนิกายซุนนีย์ถูกเรียกว่า "ลักษณะเด่นของวัฒนธรรมซาอุดีอาระเบีย" บ้างเรียกประเทศซาอุดีอาระเบียว่า "ดินแดนสองมัสยิดศักดิ์สิทธิ์" โดยหมายถึง อัลมัสยิดอัลฮาราม (Al-Masjid al-Haram) ในมักกะฮ์ และอัลมัสยิดอันนาบาวี (Al-Masjid al-Nabawi) ในมะดีนะฮ์ ซึ่งเป็นสองมัสยิดที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในศาสนาอิสลาม แห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย มีประชากร 28.7 ล้านคน สัญชาติซาอุดีอาระเบีย 20 ล้านคน และ 8.7 ล้านคนเป็นชาวต่างประเทศ มีการค้นพบปิโตรเลียมในปี 2481 และประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้ผลิตและส่งออกน้ำมันรายใหญ่ที่สุดของโลกแต่ต่อไปน้ำมันคงไร้ความหมาย โดยควบคุมน้ำมันสำรองใหญ่ที่สุดอันดับสองของโลก ราชอาณาจักรจัดอยู่ในเศรษฐกิจรายได้สูงของธนาคารโลกโดยมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูง และเป็นประเทศอาหรับประเทศเดียวที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20 ทว่า เศรษฐกิจซาอุดีอาระเบียมีความหลากหลายน้อยที่สุดในสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรเป็นอัตตาธิปไตยราชาธิปไตยและฟรีดอมเฮาส์จัดว่า "ไม่เสรี" ประเทศซาอุดีอาระเบียมีรายจ่ายทางทหารสูงสุดเป็นอันดับ 4 ของโลก และในปี 2553–2557 SIPRI พบว่าประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้นำเข้าอาวุธรายใหญ่ที่สุดอันดับ 2 ของโลก ประเทศซาอุดีอาระเบียถือว่าเป็นอำนาจภูมิภาคและปานกลาง นอกเหนือจากสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรยังเป็นสมาชิกขององค์การความร่วมมืออิสลามและโอเปคและนอกจากนี้ยังเริ่มมีการส่งเสริมการท่องเที่ยวทางทะเลอีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศซาอุดีอาระเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซูดาน

ซูดาน (Sudan; السودان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซูดาน (Republic of the Sudan; جمهورية السودان) เป็นประเทศที่ในอดีตมีพื้นที่มากที่สุดในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีป มีเมืองหลวงชื่อคาร์ทูม มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศอียิปต์ ทิศใต้ติดต่อกับเซาท์ซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลแดง ทิศตะวันออกติดกับเอริเทรียและเอธิโอเปีย ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับเคนยาและยูกันดา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับคองโกและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทิศตะวันตกติดกับประเทศชาด และทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับลิเบีย ชื่อของประเทศมาจากภาษาอาหรับว่า Bilad-al-Sudan ซึ่งแปลว่าดินแดนของคนผิวดำ ปัจจุบันซูดานกลายเป็นประเทศที่ขาดความมั่นคงตามดัชนีความเสี่ยงของการเป็นรัฐที่ล้มเหลว เพราะการปกครองแบบเผด็จการทหารและสงครามดาร์ฟูร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศซูดาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซีเรีย

ประเทศซีเรีย (Syria; سورية ซูริยา) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย (Syrian Arab Republic; الجمهورية العربية السورية) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีพรมแดนทิศตะวันตกจดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทิศตะวันออกจดประเทศอิรัก ทิศใต้จดประเทศจอร์แดน และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศอิสราเอล กรุงดามัสกัส เมืองหลวง เป็นนครที่มีผู้อยู่อาศัยต่อเนื่องที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ประเทศซีเรียเป็นที่ราบอุดมสมบูรณ์ ภูเขาสูงและทะเลทราย มีประชากรกลุ่มชาติพันธุ์และศาสนาหลากหลาย ส่วนมากเป็นชาวอาหรับ ซึ่งรวมอลาวียะห์ ดรูซ มุสลิมซุนนีย์และคริสต์ศาสนิกชน กลุ่มชาติพันธุ์อื่น ได้แก่ ชาวอาร์มีเนีย อัสซีเรีย เคิร์ดและเติร์ก ชาวอาหรับซุนนีย์เป็นกลุ่มประชากรใหญ่ที่สุดในประเทศซีเรีย ในภาษาอังกฤษ เดิมชื่อ "ซีเรีย" สมนัยกับเลแวนต์ (ภาษาอาหรับว่า al-Sham) ขณะที่รัฐสมัยใหม่ครอบคลุมที่ตั้งของราชอาณาจักรและจักรวรรดิโบราณหลายแห่ง รวมถึงอารยธรรมเอบลา (Ebla) ในสหัสวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล ในสมัยอิสลาม ดามัสกัสเป็นเมืองหลวงของรัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ และเมืองเอกในรัฐสุลต่านมัมลุกในอียิปต์ รัฐซีเรียสมัยใหม่สถาปนาขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งโดยเป็นอาณาเขตในอาณัติของฝรั่งเศส และเป็นรัฐอาหรับใหญ่ที่สุดที่กำเนิดขึ้นจากเลแวนต์อาหรับที่เดิมออตโตมันปกครอง ประเทศซีเรียได้รับเอกราชในเดือนเมษายน 2489 เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภา สมัยหลังได้รับเอกราชมีความวุ่นวาย และกลุ่มรัฐประหารและความพยายามรัฐประหารสะเทือนประเทศในสมัยปี 2492–2514 ระหว่างปี 2501 ถึง 2504 ประเทศซีเรียเข้าร่วมสหภาพช่วงสั้น ๆ กับอียิปต์ ซึ่งสิ้นสุดลงด้วยรัฐประหาร ประเทศซีเรียอยู่ภายใต้กฎหมายฉุกเฉินระหว่างปี 2506 ถึง 2554 ระงับการคุ้มครองพลเมืองส่วนใหญ่ของรัฐธรรมนูญอย่างชะงัด และระบบรัฐบาลถูกพิจารณาว่าไม่เป็นประชาธิปไตย บัชชาร อัลอะซัดเป็นประธานาธิบดีตั้งแต่ปี 2543 สืบทอดจากฮาเฟซ อัลอะซัด บิดา ซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2513 ถึง 2543 ประเทศซีเรียเป็นสมาชิกสหประชาชาติและขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ปัจจุบันถูกระงับสมาชิกภาพจากสันนิบาตอาหรับและองค์การความร่วมมืออิสลาม และระงับตนเองจากสหภาพเพื่อเมดิเตอร์เรเนียน นับแต่เดือนมีนาคม 2554 ประเทศซีเรียเกิดสงครามกลางเมืองในห้วงการก่อการกำเริบ (ถือว่าเป็นผลขยายของอาหรับสปริง) ต่ออะซัดและรัฐบาลพรรคบะอัธ กลุ่มต่อต้านตั้งรัฐบาลทางเลือกขึ้น คือ แนวร่วมแห่งชาติซีเรีย (Syrian National Coalition) ในเดือนมีนาคม 2555 ต่อมา ผู้แทนรัฐบาลนี้ได้รับเชิญให้แทนที่ประเทศซีเรียในสันนิบาตอาหรั.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศซีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแอลจีเรีย

แอลจีเรีย (Algeria; الجزائر) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย (People's Democratic Republic of Algeria; الجمهورية الجزائرية الديمقراطية الشّعبية) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ และเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับ 1ในทวีปแอฟริกา หลังจากประเทศซูดานใต้ แยกออกจากประเทศซูดานมีอาณาเขตทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศตูนิเซีย ทางตะวันออกจรดประเทศลิเบีย ทางตะวันออกเฉียงใต้จรดประเทศไนเจอร์ ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศมาลีและประเทศมอริเตเนีย และทางตะวันตกจรดประเทศโมร็อกโก รวมถึงหลายกิโลเมตรของพื้นที่ที่ยึดครองมาได้บางส่วน คือ เวสเทิร์นสะฮารา ประเทศแอลจีเรียมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ โดยรัฐธรรมนูญ ได้นิยามไว้ว่าแอลจีเรียเป็นประเทศ อิสลาม อาหรับ และอะมาซิก (เบอร์เบอร์) ชื่อประเทศแอลจีเรีย (Algeria) มาจากชื่อเมืองหลวงแอลเจียร์ ซึ่งมาจากคำภาษาอาหรับว่า อัลญะซาอิร (al-jazā’ir) ซึ่งแปลว่า "หมู่เกาะ" หมายถึงเกาะ 4 เกาะ ที่อยู่นอกชายฝั่งของเมือง ก่อนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแผ่นดินใหญ่เมื่อปี พ.ศ. 2068.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศแอลจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโมร็อกโก

มร็อกโก (ชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรโมร็อกโก, เป็นรัฐเดี่ยวและรัฐเอกราชที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคมาเกร็บในแอฟริกาเหนือ เป็นหนึ่งในถิ่นกำเนินชนเบอร์เบอร์ ในทางภูมิศาสตร์โมร็อกโกมีเทือกเขาหินขรุขระตรงกลาง มีทะเลทรายขนาดใหญ่และมีชายฝั่งยาวมาตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกจนถึงทะเลเมดิเตอเรเนียน โมร็อกโกมีพื้นที่ประมาณ 710,850 ตารางกิโลเมตรและประชากรกว่า 33.8 ล้านคน เมืองหลวงชื่อราบัตและมีเมืองใหญ่สุดชื่อกาซาบล็องกา นอกจากนี้ยังมีเมืองสำคัญอื่น ๆ อีกอาทิมาร์ราคิช แทงเจียร์ ซาเล่ห์ แฟ็ส แม็กแน็สและ วัจด้า ในทางประวัติศาสตร์โมร็อกโกเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคมีความเป็นอิสระและไม่ได้ถูกยุ่งเกียวหรือรุกรานโดยเพื่อนบ้านตั้งแต่สุลต่าน โมเลย์ อิดริส ที่ 1ก่อตั้งรัฐโมร็อกโกครั้งแรกใน พ.ศ. 1332 ประเทศถูกปกครองโดยระบบราชวงศ์และเจริญสุดขีดในช่วงราชวงศ์อัลโมราวิดและราชวงศ์อัลโลฮัดซึ่งครอบครองส่วนหนึ่งของคาบสมุทรไอบีเรียและแอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือ ราชวงศ์มารีนิดและราชวงศ์ซาดีได้ยืนหยัดต่อต้านการรุกร่านจากต่างประเทศ อีกทั้งโมร็อกโกเป็นประเทศในแอฟริกาเหนือประเทศเดียวที่เลี่ยงการยึดครองจากจักรวรรดิออตโตมันได้ ราชวงศ์อเลาอัวซึ่งปกครองประเทศอยู่ในปัจุบันนั้นขึ้นมามีอำนาจในโมร็อกโกตั้งแต่ พ.ศ. 2174 ใน พ.ศ. 2455 โมร็อกโกถูกแบ่งเป็นโมร็อกโกในอารักขาของฝรั่งเศส โมร็อกโกในอารักขาของสเปนกับเขตสากลในแทนเจียร์และกลับมาได้รับเอกราชใน พ.ศ. 2499 วัฒนธรรมชาวโมร็อกโกจะเป็นแบบผสมผสานตามอิทธิพลของเบอร์เบอร์ อาหรับ แอฟริกาตะวันตกและยุโรป โมร็อกโกอ้างว่าเวสเทิร์นสะฮาราซึ่งเป็นดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองซึ่งเคยเป็นสะฮาราของสเปนนั้นเป็นจังหวัดทางใต้ของโมร็อกโก หลังจากสเปนตกลงที่จะปลดปล่อยดินแดนนี้ให้โมร็อกโกและมอริเตเนียใน พ.ศ. 2518 ชาวซาห์ราวีได้ทำสงครามแบบกองโจร มอริเตเนียถอนตัวออกจากดินแดนที่มีสิทธิครอบครองใน พ.ศ. 2522 และสงครามอันยืดเยื้อก็ยุติจากการหยุดยิงใน พ.ศ. 2534 ปัจจุบันโมร็อกโกครอบครองดินแดนสองในสาม โมร็อกโกปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญกับรัฐสภาที่มาจากการเลือกตั้ง กษัตริย์โมร็อกโกมีอำนาจบริหารและอำนาจนิติบัญญัติอย่างมาก โดยเฉพาะการทหาร นโยบายต่างประเทศและศาสนา อำนาจบริหารออกใช้โดยรัฐบาล ขณะที่สภานิติบัญญัติเป็นของรัฐบาลและสภาผู้แทนราษฎรโมร็อกโกและราชมนตรีสภาทั้งสองสภา กษัตริย์สามารถออกพระราชกฤษฎีกาที่เรียกว่าดาฮีร์ซึ่งมีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย นอกจากนี้กษัตริย์สามารถยุบสภาหลังจากปรึกษานายกรัฐมนตรีและประธานศาลรัฐธรรมนูญ ชาวโมร็อกโกส่วนมากนับถือศาสนาอิสลามมีภาษาราชการคือภาษาอาหรับและภาษาเบอร์เบอร์ ภาษาเบอร์เบอร์เป็นภาษาหลักของโมร็อกโกก่อนที่อาหรับจะมามีบทบาทในคริสศ์ศตวรรษที่ 600 ภาษาอาหรับในโมร็อกโกเรียกว่า Darija โมร็อกโกเป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ สหภาพเมดิเตอร์เรเนียนและสหภาพแอฟริกา และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ห้าของแอฟริก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศโมร็อกโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโอมาน

อมาน (Oman; عُمان) หรือชื่อทางการว่า รัฐสุลต่านโอมาน (Sultanate of Oman; سلطنة عُمان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ บนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาหรับ มีพรมแดนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทางตะวันตกติดกับซาอุดีอาระเบีย และทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับเยเมน มีชายฝั่งบนทะเลอาหรับทางใต้และตะวันออก และอ่าวโอมานทางตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากนี้ก็ยังมีดินแดนส่วนแยกอยู่ในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์อีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศโอมาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโซมาเลีย

ซมาเลีย (Somalia; Soomaaliya; الصومال) หรือชื่อประเทศอย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐโซมาเลีย (Federal Republic of Somalia; Jamhuuriyadda Federaalka Soomaaliya; جمهورية الصومال الفدرالية) มีชื่อเดิมว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี และ สาธารณรัฐโซมาลี มีพื้นที่ติดกับแหลมแอฟริกา มีพรมแดนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับจีบูติ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับเคนยา มีพื้นที่ทางทิศเหนือติดกับประเทศเยเมนโดยมีอ่าวเอเดนเป็นพรมแดนทางทะเล ทิศตะวันออกติดกับมหาสมุทรอินเดีย และทิศตะวันตกติดกับประเทศเอธิโอเปี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศโซมาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยเมน

มน (Yemen; اليَمَن) หรือ สาธารณรัฐเยเมน (Republic of Yemen; الجمهورية اليمنية) ประกอบด้วยอดีตเยเมนเหนือและเยเมนใต้ เป็นประเทศในคาบสมุทรอาหรับในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ และเป็นส่วนหนึ่งของตะวันออกกลาง มีชายฝั่งจรดทะเลอาหรับและอ่าวเอเดนทางทิศใต้ จรดทะเลแดงทางทิศตะวันตก มีพรมแดนทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับโอมาน ส่วนพรมแดนด้านอื่น ๆ ติดกับซาอุดีอาระเบีย เยเมนมีอาณาเขตรวมถึงเกาะโซโกตราซึ่งอยู่ห่างไปทางใต้ประมาณ 350 กิโลเมตร นอกชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก หลังการสู้รบในกรุงซานาเมื่อเดือนกันยายน 2014 กลุ่มฮูษี (Houthis) ก็เข้ายึดเมืองหลวงได้สำเร็จ ประธานาธิบดีฮาดีถูกปลด ต่อมากลุ่มฮูษีได้แต่งตั้งมุฮัมมัด อะลี อัลฮูษี ขึ้นเป็นผู้นำคนใหม่ ในขณะที่ประธานาธิบดีฮาดีหลบหนีไปยังเอเดน และประกาศว่าตนยังคงเป็นประธานาธิบดีแห่งเยเมน พร้อมทั้งประกาศให้เอเดนเป็นเมืองหลวงใหม่ของประเทศ กลุ่มฮูษีและกองกำลังสนับสนุนอดีตประธานาธิบดีศอเลียะห์ตอบโต้ด้วยปฏิบัติการบุกเอเดน รัฐมนตรีกระทรวงกลาโหมของรัฐบาลฮาดีถูกจับตัวได้ในวันที่ 25 มีนาคม ในวันเดียวกัน ชาติอาหรับนำโดยซาอุดีอาระเบียเริ่มปฏิบัติการต่อต้านกลุ่มฮูษีทางอาก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศเยเมน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอน

ลบานอน (Lebanon; لُبْنَان) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐเลบานอน (Republic of Lebanon, Lebanese Republic; جمهورية لبنان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และถือเป็นหนึ่งใน 15 ดินแดนที่ประกอบเป็น "แหล่งกำเนิดแห่งมนุษยชาติ" (Cradle of Humanity) เลบานอนมีพรมแดนติดกับประเทศซีเรียและประเทศอิสราเอล พรมแดนที่ติดกับประเทศอิสราเอลได้รับการรับรองจากองค์การสหประชาชาติแล้ว แต่พื้นที่บางส่วน เรียกว่า "ชีบาฟาร์ม" (Shebaa farms) ตั้งอยู่ในที่ราบสูงโกลันยังคงครอบครองโดยอิสราเอล ซึ่งอ้างว่าเป็นพื้นที่ของซีเรีย กองทัพต่อต้านอ้างว่า "ชีบาฟาร์ม" เป็นพื้นที่ของเลบานอน และในบางโอกาสก็โจมตีที่มั่นของอิสราเอลภายในพื้นที่ดังกล่าว นอกจากนี้ ซีเรียบำรุงรักษากองทัพที่มีทหารประมาณ 14,000 นายในเลบานอน ชาวเลบานอนที่สนับสนุนเลบานอนอ้างว่าเป็นการอยู่อย่างถูกต้องเนืองจากรัฐบาลเลบานอนได้ขอไว้ ตอนเริ่มสงครามกลางเมืองเมื่อ พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) ผู้ที่ไม่เห็นด้วยอ้างว่า การอยู่ของซีเรียเป็นประหนึ่งการยึดครองโดยอำนาจต่างชาต.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอริเทรีย

อริเทรีย (Eritrea; ตึกรึญญา:; إرتريا) หรือชื่อทางการคือ รัฐเอริเทรีย (State of Eritrea; ตึกรึญญา:; دولة إرتريا) เป็นประเทศทางตอนเหนือของแอฟริกาตะวันออก มีชายฝั่งทะเลติดกับทะเลแดงเกือบหนึ่งพันกิโลเมตร ทิศเหนือและทิศตะวันออกติดทะเลแดง ทิศตะวันตกติดซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดจิบูตี ทิศใต้ติดเอธิโอเปีย มีเมืองหลวงชื่อแอสมาร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและประเทศเอริเทรีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสินสมุทรหางเส้น

ปลาสินสมุทรหางเส้น หรือ ปลาสินสมุทรโคราน หรือ ปลาสินสมุทรลายโค้ง หรือที่นิยมเรียกกันในวงการปลาสวยงามว่า โครานแองเจิล หรือ บลูโคราน (Koran angel, Sixbanded angel, Semicircle angel, Half-circle angel, Blue koran angel, Zebra angel) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pomacanthus semicirculatus อยู่ในวงศ์ปลาสินสมุทร (Pomacanthidae) มีลำตัวแบน ครีบหลังมี 2 ตอนเชื่อมต่อกัน โดยที่ครีบหลังยื่นยาวออกไปทางหาง ซึ่งจะเห็นได้ชัดเจนเมื่อปลามีอายุเพิ่มมากขึ้น ครีบหูบางใส ครีบอกยาวแหลม ส่วนปลายครีบทวารยื่นยาวออกไปเช่นเดียวกับครีบหลัง ครีบหางโค้งเป็นรูปพัด พื้นผิวลำตัวของตัวอายุน้อยมีสีเหลืองอมน้ำตาล มีเส้นคาดตามขวางในแนวโค้งสีขาวและสีน้ำเงินมากกว่า 12 เส้น ลายเหล่านี้จะค่อย ๆ จางหายไปหมดเมื่อเจริญเต็มวัย โดยจะมีพื้นสีเหลืองอมเขียว แต้มด้วยจุดสีดำและสีน้ำเงินทั่วลำตัว ขอบแก้มและขอบครีบต่าง ๆ เป็นเส้นสีน้ำเงิน ซึ่งลวดลายและสีสันของปลาสินสมุทรหางเส้นวัยอ่อนนั้นจะคล้ายกับปลาสินสมุทรวงฟ้า (P. annularis) มาก หากแต่ลูกปลาสินสมุทรวงฟ้านั้น มีลวดลายบนตัวเป็นไปในลักษณะค่อนข้างตรง และครีบหางเป็นสีขาวหรือใสไม่มีสี ขณะที่ครีบหางของลูกปลาสินสมุทรหางเส้นจะมีลาย โดยลูกปลาจะเริ่มเปลี่ยนสีสันและลวดลายไปเหมือนตัวเต็มวัยเมื่อมีขนาดประมาณ 7-8 นิ้ว มีความยาวเต็มที่ประมาณ 36-40 เซนติเมตร นับเป็นปลาอีกชนิดหนึ่งในวงศ์นี้ที่มีขนาดใหญ่ กระจายพันธุ์อยู่ตามเกาะแก่งและแนวปะการังใต้น้ำของมหาสมุทรอินเดีย และอินโด-แปซิฟิก ในน่านน้ำไทยพบได้ที่ทะเลอันดามัน แต่ไม่พบในฝั่งอ่าวไทย ลูกปลาวัยอ่อนจะกินสาหร่ายในแนวปะการังเป็นหลัก เมื่อเป็นปลาเต็มวัยจะกินฟองน้ำ, ปะการัง และสาหร่ายเป็นหลัก รวมทั้งสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอย่างอื่น อาทิ หนอนท่อ, กระดุมทะเล, ปะการังอ่อน และหอยสองฝา เป็นต้น เป็นปลาที่มีความสวยงามมากชนิดหนึ่ง นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยถือเป็นปลาสินสมุทรที่เลี้ยงง่ายมากชนิดหนึ่ง เป็นปลาที่กินอาหารได้ทั้งอาหารสดและอาหารสำเร็จรูป ประกอบกับมีราคาไม่แพง เหมาะสำหรับผู้เลี้ยงปลาทะเลมือใหม่ แต่ควรเลี้ยงในตู้ขนาดใหญ่ที่มีความจุน้ำไม่ต่ำกว่า 400 ลิตร เนื่องจากเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ และเป็นปลาที่มีนิสัยดุร้ายก้าวร้าวมาก โดยเฉพาะต่อปลาในสกุลเดียวกัน โดยปลาที่มีการซื้อขายกันในตลาดปลาสวยงามนั้น เป็นปลาที่ต้องจับรวบรวมจากทะเลทั้งนั้น.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและปลาสินสมุทรหางเส้น · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจ่าเอก

ำหรับปลาตะกรับอย่างอื่น ดูที่: ปลาตะกรับ ปลาจ่าเอก หรือ ปลาตะกรับทะเล หรือ ปลาสลิดหินบั้ง (Sergeant-major, Sergeant fishes) สกุลของปลาทะเลในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Abudefduf โดยชื่อมาจากภาษาอาหรับคำว่า "อาบู" (Abu) โดยแปลตรงตัวหมายถึง "พ่อ" แต่ไม่ได้เป็นความหมายในบริบทนี้ โดยชื่อในที่นี้หมายถึง "หนึ่งด้วย" และความหมายคำว่า "ด้าน" และมีพหูพจน์ในตอนท้ายคำว่า duf โดยรวมจึงมีความหมายว่า "ปลาหนึ่งตัวกับด้านที่โดดเด่น".

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและปลาจ่าเอก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าฟาฮากา

ปลาปักเป้าฟาฮากา (Fahaka pufferfish, the Nile puffer, Globe fish, Lineatus puffer; อาหรับ: فهقة) เป็นปลาปักเป้าชนิดหนึ่งที่อาศัยในน้ำจืด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tetraodon lineatus อยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) เป็นปลาปักเป้าที่มีรูปร่างอ้วนกลม ลำตัวยาว มีจุดเด่นคือ พื้นลำตัวสีเขียวเหลือบเหลืองมีลายพาดสีน้ำตาลขวางอยู่ตลอดทั้งลำตัว ซึ่งสีเหล่านี้สามารถปรับเปลี่ยนไปตามอารมณ์ปลาและสภาพแวดล้อม ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร จัดเป็นปลาปักเป้าที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองรองจาก ปลาปักเป้าเอ็มบู (T. mbu) ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน มีถิ่นกำเนิดในลุ่มแม่น้ำไนล์ ในทวีปแอฟริกาทางตอนเหนือและตะวันตก แต่ทว่าลักษณะนิสัยนั้นต่างจากปลาปักเป้าเอ็มบู เพราะว่ามีนิสัยดุร้ายก้าวร้าวกว่ามาก ในลูกปลานิสัยจะยังไม่ก้าวร้าวเท่าปลาโต แต่จะค่อย ๆ เพิ่มความก้าวร้าวขึ้นตามอายุ ดังนั้น การเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ปลาปักเป้าฟาฮากาจะไม่สามารถเลี้ยงรวมกับปลาอื่น ๆ ได้เลย แม้จะเป็นปลาชนิดเดียวกันก็ตาม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและปลาปักเป้าฟาฮากา · ดูเพิ่มเติม »

ปอเนาะ

ปอเนาะแห่งหนึ่งในจังหวัดนราธิวาส ที่พักนักศึกษาภายในปอเนาะแห่งหนึ่งในจังหวัดนราธิวาส ปอเนาะ (ภาษามลายูปัตตานี เพี้ยนจาก pondok "ปนโดะก์" ในภาษามลายูกลาง ยืมมาจากภาษาอาหรับ فندق "ฟุนดุก" แปลว่า โรงแรม) หมายถึงสำนักสอนศาสนาอิสลามที่มีหอพักนักเรียนอยู่ในบริเวณสำนัก ซึ่งโดยปกติจะเป็นกระท่อมเล็ก ๆ ทุก ๆ ตำบลในสามจังหวัดภาคใต้มีปอเนาะมากกว่าหนึ่งปอเน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและปอเนาะ · ดูเพิ่มเติม »

ปัญจตันตระ

หน้าจากหนังสือกาลิกา วา ดิมนา ภาคภาษาอาหรับอายุราว พ.ศ. 1753 แสดงรูปของราชาแห่งกากับที่ปรึกษา หน้าจากหนังสือ''Kelileh o Demneh'' อายุราว พ.ศ. 1972 จากเฮรัต ซึ่งเป็นปัญจตันตระที่แปลเป็นภาษาเปอร์เซีย โดยแปลมาจากฉบับภาษาอาหรับ ''Kalila wa Dimna'' อีกต่อหนึ่ง แสดงเรื่องตอนที่สุนัขจิ้งจอกชักนำสิงโตเข้าสู่สงคราม รูปสลักเกี่ยวกับปัญจตันตระที่วิหารเมนดุต ชวากลาง อินโดนีเซีย ปัญจตันตระ (Pancatantra; ภาษาสันสกฤต: पञ्चतन्त्र) เป็นนิทานโบราณของอินเดีย คาดว่ามีต้นกำเนิดที่แคชเมียร์เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและปัญจตันตระ · ดูเพิ่มเติม »

ปากีสถานเชื้อสายไทย

วปากีสถานเชื้อสายไทย นอกจากนักเรียนไทยที่เข้าไปศึกษาในประเทศปากีสถานราว 300 คนแล้ว ยังมีคนที่มีเชื้อสายไทยและมีถิ่นพำนักอาศัยอยู่ในประเทศปากีสถาน และพำนักอาศัยอย่างถาวร โดยเฉพาะที่เมืองบัตตากราม (بٹگرام) ในแคว้นไคเบอร์ปัคตูนควา (خیبر پښتونخوا) โดยเข้าไปตั้งถิ่นฐานนานหลายสิบปีมาแล้ว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและปากีสถานเชื้อสายไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปาเลสไตน์ในอาณัติ

ปาเลสไตน์ในอาณัติ (Mandatory Palestine; فلسطين; פָּלֶשְׂתִּינָה (א"י), where "EY" indicates "Eretz Yisrael") เป็นหน่วยภูมิรัฐศาสตร์ ภายใต้การดูแลของสหราชอาณาจักร ในส่วนที่เป็นเขต จักรวรรดิออตโตมัน และ ซีเรียตอนใต้ ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ระหว่าง พ.ศ. 2463 จนถึง พ.ศ. 2491.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและปาเลสไตน์ในอาณัติ · ดูเพิ่มเติม »

ปิแอร์ โอมิดดียาร์

ปิแอร์ โอมิดดียาร์ ปิแอร์ โอมิดดียาร์ (Pierre Omidyar, อาหรับ: پیر امیدی) เกิดเมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967) นักธุรกิจชาวอเมริกัน และนักสังคมสงเคราะห์ (philanthropist) ผู้ก่อตั้งธุรกิจออนไลน์อีเบย์ ธุรกิจออนไลน์ที่มีผู้ใช้มากที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและปิแอร์ โอมิดดียาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ป้อมริบาต

ริบาตที่โมนาสเตียร์ในตูนิเซีย ป้อมริบาต (Ribat, رباط) มาจากภาษาอาหรับว่า “رباط” ที่แปลว่า “ที่พัก” หมายถึงป้อมขนาดเล็กที่สร้างตามพรมแดนในช่วงปีแรกของการพิชิตแอฟริกาเหนือโดยอุมัยยะห์เพื่อเป็นที่พักของทหารอาสาสมัครที่เรียกว่า “murabitun” ป้อมเหล่านี้ต่อมากลายเป็นสถานที่สำหรับพิทักษ์เส้นทางการค้า และ ศูนย์กลางของประชาคมมุสลิมที่อยู่ห่างไกล ต่อมาป้อมริบาตก็กลายมาเป็นที่พักสำหรับนักเดินทางบนเส้นทางการค้า (สถานีคาราวาน) ที่พักหลบภัยสำหรับนักรหัสยิก (mystic) ในข้อหลังนี้อาจจะเป็นบ่อเกิดของลัทธิซูฟีย์ และโรงเรียนสอนศาสนาของซูฟีย์ที่แพร่ขยายไปทั่วทางตอนเหนือของแอฟริกาไปยังซาฮารา และ แอฟริกาตะวันตก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและป้อมริบาต · ดูเพิ่มเติม »

นกปรอด

นกปรอด เป็นวงศ์ของนกจับคอนขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง จัดอยู่ในกลุ่มนกร้องเพลง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Pycnonotidae เป็นนกขนาดเล็ก มีสีสันต่าง ๆ กันไปตามแต่ละชนิด และสกุล เป็นนกที่ร้องได้เพราะมาก กินผลไม้และแมลงเป็นอาหาร พบได้ในหลายภูมิประเทศ ตั้งแต่ภูเขาสูงจากระดับน้ำทะเลเป็นพัน ๆ เมตร จนถึงที่ราบลุ่ม หรือในชุมชนเมืองและตามสวนสาธารณะหรือสวนหลังบ้าน เหตุที่ได้ชื่อว่า "ปรอด" นั้นมาจากเสียงร้อง ที่มักเป็นเสียง "กรอด-กรอด" ซึ่งบางครั้งอาจเรียกเพี้ยนเป็น "นกกรอด", "นกกระหรอด" หรือ "นกกะหรอด" ก็ได้ ขณะในชื่อภาษาอังกฤษที่ว่า "ฺBulbul" นั้นมาจากคำว่า بلبل (bolbol) ในภาษาเปอร์เซีย และคำว่า بُلْبُل ในภาษาอาหรับ หมายถึง "นกไนติ้งเกล" ซึ่งทั่วโลกมี 137 ชนิด ใน 21 สกุล (ดูในตาราง ขณะที่บางสกุลอาจจะซ้ำซ้อนกับอีกสกุล) ในประเทศไทย พบอยู่ 36 ชนิด 8 สกุล ได้แก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและนกปรอด · ดูเพิ่มเติม »

นกเลขานุการ

ำหรับ Sagittarius ความหมายอื่น ดูที่: ราศีธนู และกลุ่มดาวคนยิงธนู นกเลขานุการ หรือ นกเลขานุการินี (Secretarybird, Secretary bird) นกล่าเหยื่อชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดและแพร่กระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกา จัดอยู่ในอันดับ Accipitriformes อันเป็นอันดับเดียวกับอินทรี, เหยี่ยว และแร้ง และจัดเป็นเพียงชนิดเดียวและสกุลเดียว ในวงศ์ Sagittariidae เท่านั้น นกเลขานุการเป็นนกขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีน้ำหนักประมาณ 4 กิโลกรัม และมีความสูงกว่า 1 เมตร (ประมาณ 1.2-1.3 เมตร) เมื่อสยายปีกกว้างได้ถึง 2 เมตร ซึ่งชื่อ "นกเลขานุการ" แปลตรงตัวมาจากภาษาอังกฤษ คือ "Secretary bird" ซึ่งชื่อนี้ได้ดัดแปลงมาจากภาษาอาหรับคำว่า "saqr-et-tair" ซึ่งมีความหมายว่า "นกนักล่า" และต่อมาได้เพี้ยนจนกลายเป็น "Secretary" อย่างในปัจจุบัน แต่บางข้อมูลก็ระบุว่ามาจากขนหลังหัวที่เป็นซี่ ๆ ชี้ตั้งขึ้นเห็นได้ชัดเจน ซึ่งเหมือนขนนกที่ชาวตะวันตกในศตวรรษก่อนใช้ทัดหูและใช้แทนปากกา นกเลขานุการ มีลักษณะทั่วไปคล้ายอินทรี แต่มีส่วนขาที่ยาวมาก เป็นนกที่วิ่งและหากินตามพื้นดิน โดยไม่ค่อยบิน มีพฤติกรรมมักหากินอยู่เป็นคู่ตามทุ่งหญ้าและพุ่มไม้ต่าง ๆ โดย อาหาร คือ แมลงขนาดใหญ่โดยเฉพาะอย่างยิ่งตั๊กแตน, หนูชนิดต่าง ๆ นกที่ทำรังบนพื้นดินรวมทั้งไข่นก และสัตว์เลื้อยคลาน และมีรายงานว่าสามารถล้มสัตว์ขนาดใหญ่ อย่างแอนทิโลปขนาดเล็กหรือที่เป็นลูกอ่อนได้ด้วย ทั้งนี้ นกเลขานุการจะสร้างรังขนาดใหญ่บนต้นไม้ พบแพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่ตอนใต้ของทะเลทรายสะฮาราลงไป ซึ่งปัจจุบันจะพบได้ตามเขตอนุรักษ์และอุทยานแห่งชาติต่าง.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและนกเลขานุการ · ดูเพิ่มเติม »

นรก

แสดงนรก วาดโดย Herrad von Landsberg นรก (สันสกฤต: นรก; บาลี: นิรย; อาหรับ: นารฺ, ญะฮีม, ญะฮันนัม, สะก็อร; อังกฤษ hell) หมายถึง ภพหนึ่งในคติของศาสนาต่าง ๆ เช่น อิสลาม, คริสต์, พุทธและยูดาห์ อันเป็นสถานที่ตอบแทนความชั่วของมนุษย์ที่ได้ทำไปเมื่อครั้งที่ยังมีชีวิตอยู่บนโลก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและนรก · ดูเพิ่มเติม »

นารีมาน ศอดิก

นารีมาน ศอดิก (อาหรับ:ناريمان صادق Nārīmān Sādiq, ประสูติ 31 ตุลาคม ค.ศ. 1933 —สวรรคต 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2005) เป็นธิดาของนายฮุสเซน ฟาห์มี ศอดิก เบย์ และนางอาซีลา คามิล โดยนารีมานเป็นพระมเหสีองค์ที่สองของพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและนารีมาน ศอดิก · ดูเพิ่มเติม »

นาถยา แดงบุหงา

นาถยา แดงบุหงา มีชื่อจริงว่า นาถยา เบ็ญจศิริวรรณ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตนักแสดงและนางแบบที่มีชื่อเสียง นอกจากจะเป็นดาราสาวที่ได้รับการยกย่องว่า ทั้งสวย ทั้งเก๋ และเก่ง แล้ว เธอคนนี้ยังได้ชื่อว่าเป็น “เจ้าแม่พรีเซ็นเตอร์” แห่งยุคอีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและนาถยา แดงบุหงา · ดูเพิ่มเติม »

นาซลี ศ็อบรี

มเด็จพระราชินีนาซลี (الملكة نازلي; พระราชสมภพ: 25 มิถุนายน พ.ศ. 2437 – สวรรคต: 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2521) มีพระนามแต่แรกประสูติว่า นาซลี ศ็อบรี (نزلي صبري / نازلى صبرى‎ Nāzlī Ṣabrī; Nazlı Sabri) และหลังเข้ารีตคริสตังพระองค์มีพระนามทางศาสนาว่า แมรี อีลิซาเบท (Mary Elizabeth) เป็นพระราชินีและพระชายาพระองค์ที่สองในพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและนาซลี ศ็อบรี · ดูเพิ่มเติม »

นาซัม

นาซัม (nazam) มาจากภาษาอาหรับแปลว่าบทกวี ในรัฐปะหังใช้คำนี้ในความหมายของเพลง โดยมากจึงเป็นการขับร้องบทกวีเพื่อความบันเทิงในโอกาสต่าง ๆ มีรูปแบบใกล้เคียงกับชาอีร์ มี 4 วรรค วรรคละ 4 คำ สัมผัสท้ายวรรคแบบกลอนหัวเดียว นิยมใช้เป็นเพลงกล่อมเด็กในรัฐเปรัก, เกอดะฮ์, เซอลาโงร์, เนอเกอรีเซิมบีลัน และมะละก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและนาซัม · ดูเพิ่มเติม »

นาซีม ฮาเหม็ด

นาซีม ฮาเหม็ด (อังกฤษ: Naseem Hamed; อาหรับ: نسيم حميد) อดีตนักมวยแชมป์โลกรุ่นเฟเธอร์เวทหลายสถาบัน ฮาเหม็ดเกิดเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1974 ที่เมืองเชฟฟิลด์ ประเทศอังกฤษ เป็นชาวอังกฤษเชื้อสายเยเมน และนับถือศาสนาอิสลาม เนื่องจากปู่และพ่อของฮาเหม็ดได้อพยพมาอยู่ที่อังกฤษตั้งแต่ฮาเหม็ดยังไม่เกิด ฮาเหม็ดเริ่มต้นการชกมวยตั้งแต่อายุได้เพียง 18 ปี ในรุ่นฟลายเวท เนื่องจากฐานะทางบ้านยากจนมาก จนกระทั่ง 3 ปีผ๋านไป ฮาเหม็ดก็ได้แชมป์โลกครั้งแรกในรุ่นเฟเธอร์เวท ขององค์กรมวยโลก (WBO) ด้วยการเอาชนะน็อก สตีฟ โรบินสัน ในยกที่ 8 จากนั้นชื่อเสียงของฮาเหม็ดก็ได้เพิ่มพูนขึ้น จากสไตล์การชกที่ไม่มีสไตล์ และท่าทีที่ยียวนคู่ชกอยู่ตลอดเวลา กระนั้นฮาเหม็ดก้นับได้ว่าเป็นนักมวยที่มีหมัดหนักมาก เพราะสามารถเอาชนะน็อกคู่ชกได้อย่างเด็ดขาดอยู่เสมอ ๆ ทั้ง ๆ ที่สไตล์การชกของฮาเหม็ดนั้นแทบไม่มีเค้าว่าจะเอาชนะคู่ชกด้วยการน็อกเอ้าท์ได้เลย ซึ่งทั้งหมดนี้ได้กลายเป็นจุดขายให้แก่ฮาเหม็ด ผ่านการโปรโมตของโปรโมเตอร์ชาวอังกฤษ แฟรงก์ วอร์เรน และทำให้ฮาเหม็ดกลายเป็นซูเปอร์สตาร์ในวงการมวยโลกในระยะเวลาไม่นาน นาซีม ฮาเหม็ด ได้ปะทะกับนักมวยฝีมือดีหลายต่อหลายคนในรุ่นเดียวกันและใกล้เคียง ซึ่งสามารถเอาชนะได้ทุกคน ไม่ว่าจะเป็น เวย์น แมคคัลลัฟ อดีตแชมป์โลกรุ่นแบนตั้มเวทของสภามวยโลก (WBC) ชาวไอร์แลนด์, มานูเอล เมดินา อดีตแชมป์โลก 2 สมัยใมนรุ่นเฟเธอร์เวทของสภามวยโลก ชาวเม็กซิกัน, เดเนี่ยล อลิเซีย นักมวยดาวรุ่งที่ไม่เคยแพ้ใครชาวเปอร์โตริโก, วิลเฟรโด วาสเควซ อดีตแชมป์โลกรุ่นแบนตั้มเวท, จูเนียร์เฟเธอร์เวท และเฟเธอร์เวท ของสมาคมมวยโลก (WBA) ชาวเปอร์โตริโก รวมทั้งการชกรวบแชมป์โลกในรุ่นเฟเธอร์เวทนี้ ด้วยการเอาชนะน็อกในยกที่ 8 ทอม "บูม บูม" จอห์นสัน นักมวยชาวอเมริกัน ซึ่งเป็นแชมป์ของสหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) และรวบแชมป์ของสภามวยโลกด้วยการเอาชนะคะแนน ซีซาร์ โซโต นักมวยชาวเม็กซิกันอีกราย ฮาเหม็ด แพ้ครั้งแรกและครั้งเดียวในชีวิตการชกมวยของตัวเอง ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2001 ให้แก่ มาร์โก อันโตนิโอ บาร์เรร่า นักมวยชาวเม็กซิกัน อดีตแชมป์โลกในรุ่นจูเนียร์เฟเธอร์เวท ขององค์กรมวยโลก โดยเป็นการแพ้คะแนนไปอย่างเอกฉันท์ โดยไม่มีใครคาดคิด ในการชกทั้ง 12 ยก ฮาเหม็ดไม่สามารถยียวนบาร์เรร่าให้เข้าทางของตนได้เหมือนนักมวยรายอื่น ๆ จึงไม่สามารถเข้าชกบาร์เรร่าได้อย่างถนัดถนี่ในสไตล์ของตนเอง หลังจากแพ้ครั้งแรกไปแล้ว ฮาเหม็ดก็ยังได้ขึ้นชกเคลื่อนไหวอีกครั้งเดียว และตัดสินใจแขวนนวมไปในที่สุด เมื่อปี ค.ศ. 2002 แต่ในปี ค.ศ. 2006 ฮาเหม็ดก็ปรากฏเป็นข่าวอีกครั้ง เมื่อถูกตำรวจจับเข้าห้องขังนานถึง 4 เดือนในข้อหาขับรถเร็วเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ นาซีม ฮาเหม็ด มีฉายาที่ตั้งให้กับตนเองว่า "Prince" อันหมายถึง "เจ้าชาย" มีชื่อเรียกสั้น ๆ ว่า "นาซ" (Naz) เป็นนักมวยที่มีสีสัน มีจุดขายมากมาย ทุกครั้งที่ขึ้นชกจะสวมกางเกงลายเสือดาวที่มีรูปทรงแปลกตา รองเท้าสีดำของอาดิดาส และจะกระโดดตีลังกาข้ามเชือกเมื่อขึ้นเวทีทุกครั้ง อีกทั้งก่อนชกและหลังชก หลังจากเอาชนะได้แล้วจะสวดมนต์ขอพรพระอัลเลาะห์ทุกครั้ง เมื่อครั้งมีชื่อเสียง ฮาเหม็ดยังถือได้ว่าเป็นต้นแบบให้กับนักมวยหลายคนเอาเป็นแบบอย่าง เช่น เคจิ ยามากูชิ นักมวยชาวญี่ปุ่นที่เคยเป็นแชมป์โลกรุ่นจูเนียร์ฟลายเวทของสมาคมมวยโลก เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและนาซีม ฮาเหม็ด · ดูเพิ่มเติม »

นูรุดดีน เนย์เบ็ต

นูรุดดีน เนย์เบ็ต (نور الدين نيبت; เกิด 10 กุมภาพันธ์ 1970 ที่เมืองกาซาบล็องกา) เป็นอดีตนักฟุตบอลในตำแหน่งกองหลังและเป็นอดีตกัปตันทีมชาติโมร็อกโก โดยเนย์เบ็ตมีชื่อเสียงโด่งดังเมื่อครั้งค้าแข้งให้กับสโมสรเดปอร์ติโบ ลากอรูญา ในลาลีกาสเปนและสโมสรท็อตแนม ฮ็อตสเปอร์ในพรีเมียร์ลีก นูรุดดีน เนย์เบ็ต เป็นผู้ครองสถิติลงสนามให้กับทีมชาติโมร็อกโกมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งที่ 115 นัด โดยเขาเคยเล่นในโอลิมปิก 1992 ที่ประเทศสเปน และผ่านการเล่นฟุตบอลโลก 2 สมัย ในฟุตบอลโลก 1994 ที่สหรัฐอเมริกาและฟุตบอลโลก 1998 ที่ฝรั่งเศส หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2513 หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่ หมวดหมู่:นักฟุตบอลชาวโมร็อกโก หมวดหมู่:ชาวโมร็อกโก หมวดหมู่:ผู้เล่นในลาลีกา หมวดหมู่:ผู้เล่นในพรีเมียร์ลีก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและนูรุดดีน เนย์เบ็ต · ดูเพิ่มเติม »

นูน

นูน (Nun) เป็นอักษรตัวที่ 14 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรูנ‎ และอักษรอาหรับ ﻥ‎ และเป็นอักษรตัวที่สามของอักษรทานะ (ނ)- มีชื่อว่านูนุ แทนด้วยสัทอักษร: อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก (Ν), อักษรอีทรัสคัน ̍, อักษรละติน N, และอักษรซีริลลิก Н คาดว่านุนมาจากอักษรภาพรูปงู (คำว่างูในภาษาฮีบรู, nachash เริ่มด้วยนุน และคำว่างูในภาษาอราเมอิกคือ nun) หรือปลาไหล แต่บางกลุ่มเชื่อว่ามาจากไฮโรกลิฟฟิกของอียิปต์รูปปลาในน้ำ (ในภาษาอาหรับ, nūn หมายถึงปลาหรือวาฬ).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและนูน · ดูเพิ่มเติม »

นีโครโนมิคอน

นีโครโนมิคอนจำลอง นีโครโนมิคอน (อักษรละติน: Necronomicon)เป็นตำราเวทย์สมมุติที่ปรากฏในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลูของเอช. พี. เลิฟคราฟท์และถูกหยิบยืมไปอ้างถึงโดยนักประพันธ์อื่นๆ โดยปรากฏครั้งแรกในเรื่องสั้น The Hound ซึ่งได้รับการตีพิมพ์ในปีพ.ศ. 2467 แต่หนึ่งปีก่อนหน้านั้น เลิฟคราฟท์ก็ได้อ้างคำพูดของตัวละคร อับดุล อัลฮาเซรด ซึ่งเป็นผู้แต่งนีโครโนมิคอนไว้แล้วในเรื่อง The Nameless City เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้นั้นมีเรื่องราวของเกรทโอลด์วันและพิธีกรรมที่ใช้อัญเชิญอยู่ด้วย นักประพันธ์คนอื่นๆ เช่นออกัสต์ เดอเลธและคลาก แอชตัน สมิทได้ยืมเอานีโครโนมิคอนไปอ้างถึงในงานเขียนของตนเอง โดยได้รับการสนับสนุนจากเลิฟคราฟท์ซึ่งคิดว่าการยกมาใช้ร่วมกันนี้จะทำให้บรรยากาศของเรื่องสมจริงยิ่งขึ้น ทำให้มีผู้อ่านจำนวนมากเข้าใจผิดว่าหนังสือเล่มนี้มีจริง มีการสั่งซื้อหรือขอนีโครโนมิคอนผ่านทางผู้ขายหนังสือและบรรณารักษ์เป็นจำนวนมาก บางครั้งก็มีการแกล้งใส่ชื่อนีโครโนมิคอนไว้ในรายการหนังสือหายาก และเคยมีนักศึกษาแอบใส่บัตรของนีโครโนมิคอนไว้ในบัตรห้องสมุดของมหาวิทยาลัยเยล หลังจากที่เลิฟคราฟท์เสียชีวิตไปแล้ว สำนักพิมพ์ต่างๆก็ได้ตีพิมพ์หนังสือโดยใช้ชื่อว่านีโครโนมิคอนเป็นจำนวนมาก หนังสือรวมงานศิลป์เล่มแรกของเอช อาร์ กีเกอร์ก็ใช้ชื่อว่านีโครโนมิคอน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและนีโครโนมิคอน · ดูเพิ่มเติม »

น้ำอมฤต

น้ำอมฤต /อะมะริด, หรือ อะมะรึด/ หรือ น้ำทิพย์ (elixir of life, elixir of immorality หรือ Dancing Water, อาหรับ: الإكسير, อัลอีกซีร์; เปอร์เซีย: آب حیات, อาบเอฮะยาต) เป็นยาน้ำหรือเครื่องดื่มซึ่งเชื่อกันว่าจะยังให้ผู้ดื่มเป็นอมตะหรือคงความเยาว์วัยแห่งรูปร่างไว้ชั่วกัลป์ บ้างก็ว่าสามารถชุบชีวิตหรือสร้างชีวิตใหม่ได้ เรียกว่าเป็นยาแก้สรรพโรคประเภทหนึ่ง และเคยเป็นที่ต้องการและควานไขว่หาอย่างบ้าคลั่งของลัทธิรสายนเวทอยู่พักใหญ่ น้ำอมฤตปรากฏในวรรณกรรมหลายเรื่องของทุกชนชาต.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและน้ำอมฤต · ดูเพิ่มเติม »

แบกแดด

แผนที่แสดงที่ตั้งแบกแดดในอิรัก แบกแดด ประเทศอิรัก แบกแดด (Baghdad, Bagdad; بغداد‎ บัฆดาด; بەغدا) เป็นเมืองหลวงของประเทศอิรัก มีประชากรในเขตนครประมาณ 7,000,000 คน เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในอิรักการประมาณการจำนวนประชากรทั้งหมดแต่ละชิ้นนั้นแตกต่างอย่างสำคัญ Encyclopædia Britannica ระบุจำนวนในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและแบกแดด · ดูเพิ่มเติม »

แชคิล โอนีล

แชคิล ราชอน โอนีล (Shaquille Rashaun O'Neal) (เกิด 6 มีนาคม พ.ศ. 2515 ในเมืองนีวอร์ค รัฐนิวเจอร์ซีย์) เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อว่า แชค (Shaq) เป็นนักกีฬาบาสเกตบอลเอ็นบีเอที่แข็งแกร่งที่สุดคนหนึ่ง โอนีลเริ่มเล่นให้กับออร์แลนโด แมจิก ต่อมาเซ็นสัญญากับลอสแอนเจลิส เลเกอรส์ ก่อนจะถูกเทรดย้ายไปไมอามี ฮีท, ฟีนิกส์ ซันส์ และ คลีฟแลนด์ คาวาเลียร์ ตามลำดับ มีชื่อเสียงเรื่องตัวใหญ่ด้วยความสูง 7 ฟุต 1 นิ้ว (2.16 ม.) หนัก 340 ปอนด์ (154 กก.) และใส่รองเท้าเบอร์ 22 (ของทางสหรัฐ) มีชื่อเล่นหลายชื่อ เช่น ดีเซล (Diesel) บิ๊กอริสโตเติล (Big Aristotle) ซูเปอร์แมน (Superman) และล่าสุดเมื่อได้รับปริญญาโทบริหารธุรกิจคือ ดอกเตอร์แชค (Doctor Shaq) ซึ่งส่วนใหญ่แชคเป็นคนตั้งเอง เขาเริ่มเล่นในเอ็นบีเอตั้งแต่อายุ 20 ปี และตลอดเวลาการเล่น 13 ปี สร้างผลงานที่เยี่ยมยอดและหลายคนถือว่าเขาเป็นเซ็นเตอร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งเท่าที่เคยมีมาทีเดียว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและแชคิล โอนีล · ดูเพิ่มเติม »

แกมมา ซีฟิอัส

แกมมาเซเฟย์ (Gamma Cephei; γ Cep / γ Cephei) หรือชื่อสามัญเรียกว่า Errai, Er Rai, หรือ Alrai เป็นระบบดาวคู่ในกลุ่มดาวซีฟิอัส ห่างจากโลกราว 45 ปีแสง มีความส่องสว่างปรากฏ 3.22 ส่วนที่มองเห็นได้ของระบบดาวนี้จัดอยู่ในสเปกตรัม K1III-IV คือดาวฤกษ์ยักษ์สีส้มที่เริ่มหลุดพ้นออกจากแถบลำดับหลัก เชื่อว่าปัจจุบันดาวนี้มีอายุ 6,600 ล้านปี (อ้างตามค่าความเป็นโลหะ) ดาวแกมมาเซเฟย์สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า อยู่ถัดจากดาวเหนือที่บริเวณขั้วโลกเหนือ มันจะเคลื่อนไปอยู่ใกล้กับขั้วโลกมากกว่าดาวเหนือภายในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและแกมมา ซีฟิอัส · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสมาเรีย วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซีย

แกรนด์ดัชเชสมาเรีย วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและแกรนด์ดัชเชสมาเรีย วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

แมลคัม เอ็กซ์

นที่ที่แมลคัมถูกยิงเสียชีวิต แมลคัม เอ็กซ์ (Malcolm X ออกเสียง /ˈmælkəm ˈɛks/) (19 พฤษภาคม ค.ศ. 1925 - 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1965) หรือ เอล-ฮัจญ์ มาลิก เอล-ชาบาซ (الحاجّ مالك الشباز, El-Hajj Malik El-Shabazz) เป็นนักพูด นักรณรงค์เพื่อสิทธิมนุษยชนของชาวมุสลิมและชาวอเมริกันผิวดำ แมลคัม เอ็กซ์ เกิดที่โอมาฮา เนแบรสกา เดิมชื่อ "แมลคัม ลิทเทิล" บิดาของเขาถูกฆาตกรรม และมารดาถูกส่งเข้าโรงพยาบาลเพื่อรักษาอาการทางประสาท มัลแคมจึงต้องใช้ชีวิตวัยเด็กในบ้านเลี้ยงดูเด็กกำพร้า ทำให้ขาดการเลี้ยงดู และก่ออาชญากรรมในบอสตันและนิวยอร์ก และต้องรับโทษในเรือนจำ ในปี 1945 ระหว่างถูกจองจำ แมลคัมได้ร่วมเป็นสมาชิกของขบวนการชาติแห่งอิสลาม และเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม หลังจากเขาได้รับทัณฑ์บนในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและแมลคัม เอ็กซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำกัวดัลกิบีร์

แม่น้ำกัวดัลกิบีร์ (Guadalquivir) เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดของแคว้นอันดาลูซิอา ทางภาคใต้ของประเทศสเปน ชื่อแม่น้ำมาจากภาษาอาหรับว่า "อัลวาดิลกะบีร" (al-wādi al-kabīr; الوادي الكبير) ซึ่งหมายถึง "แม่น้ำใหญ่" แม่น้ำสายนี้เคยมีชื่อเรียกว่า เบติส (Betis) หรือ ไบติส (Baetis) ตั้งแต่สมัยก่อนโรมันจนกระทั่งถึงสมัยอัลอันดะลุส (ช่วงที่ชาวมุสลิมปกครองสเปน) มณฑลในคาบสมุทรไอบีเรียของจักรวรรดิโรมันที่แม่น้ำสายนี้ไหลผ่านนั้นจึงมีชื่อว่า ฮิสปาเนียไบตีกา แม่น้ำกัวดัลกิบีร์ที่เมืองเซบียา แม่น้ำกัวดัลกิบีร์มีความยาว 657 กิโลเมตร มีพื้นที่ลุ่มน้ำมระมาณ 58,000 กิโลเมตร เริ่มต้นที่กัญญาดาเดลัสฟูเอนเตสในทิวเขากาซอร์ลา ผ่านเมืองกอร์โดบาและเมืองเซบิยา และสิ้นสุดที่หมู่บ้านทำประมงชื่อโบนันซา ในเมืองซันลูการ์เดบาร์ราเมดา โดยไหลลงสู่อ่าวกาดิซ (ส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแอตแลนติก) พื้นที่ต่ำและชื้นแฉะบริเวณปากน้ำนั้นมีชื่อเรียกว่า "ลัสมาริสมัส" (Las Marismas) มีพื้นที่ติดต่อกับอุทยานแห่งชาติดอญญานา (Doñana National Park) แม่น้ำกัวดัลกิบีร์เป็นหนึ่งในแม่น้ำขนาดใหญ่ไม่กี่สายของประเทศที่ใช้เดินเรือได้ ซึ่งปัจจุบันสามารถเดินเรือเข้าไปได้ถึงเมืองเซบียา แต่ในสมัยโรมันนั้น เรือสามารถแล่นลึกเข้าไปถึงเมืองกอร์โดบา กล่าวกันว่าเมืองโบราณเมืองหนึ่งในประวัติศาสตร์สเปนที่ชื่อตาร์เตสโซส (Tartessos) ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำสายนี้ แต่ก็ยังไม่พบร่องรอย ภาพ:río Guadalquivir Cordoba.jpg|แม่น้ำกัวดัลกิบีร์ เมืองกอร์โดบา ภาพ:Spain Andalusia Cordoba BW 2015-10-27 12-15-09.jpg|แม่น้ำกัวดัลกิบีร์และสะพานสมัยโรมัน ที่เมืองกอร์โดบา ภาพ:Sevilla2005July 040.jpg|แม่น้ำกัวดัลกิบีร์และสะพานกินโตเซนเตนารีโอ ("ศตวรรษที่ 5") เมืองเซบียา ภาพ:Cormoranes.jpg|นกกาน้ำในแม่น้ำกัวดัลกิบีร์ตอนใต้ (อุทยานแห่งชาติดอญญานา) กัวดัลกิบีร์.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและแม่น้ำกัวดัลกิบีร์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำจอร์แดน

แม่น้ำจอร์แดน (ฮิบรู: נהר הירדן Nehar haYarden, نهر الأردن Nahr al-Urdun) เป็นแม่น้ำในภูมิภาคเอเชียตะวันตก มีความยาวทั้งสิ้น 251 กิโลเมตร ไหลลงสู่ทะเลเดดซี ปัจจุบันถือเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างอิสราเอลกับจอร์แดน ในความเชื่อของชาวคริสเตียนเชื่อว่าพระเยซูได้รับเข้าพิธีล้างจากนักบุญยอห์น แบปติสต์ ที่แม่น้ำแห่งนี้ อีกทั้งชื่อของราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดนก็มาจากชื่อแม่น้ำสายนี้เช่นกัน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและแม่น้ำจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกาเหนือของอิตาลี

แอฟริกาเหนือของอิตาลี (Africa Settentrionale Italiana) เป็นพื้นที่ซึ่งรวมเอาอาณานิคมและดินแดนในความปกครองของราชอาณาจักรอิตาลีในทวีปแอฟริกาเหนือ ตั้งแต่ ค.ศ. 1912 จนถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยดินแดนสองส่วนหลักคือตริโปลิเตเนียและไซเรไนกาตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและแอฟริกาเหนือของอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

แอลเจียร์

แอลเจียร์ (Algiers; الجزائر al-Jazā’ir) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศแอลจีเรีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ในภูมิภาคมาเกร็บ (รองจากเมืองกาซาบล็องกา) จากข้อมูลประชากรในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและแอลเจียร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอดแดกซ์

แอดแดกซ์ หรือ แอนทิโลปขาว หรือ แอนทิโลปเขาเกลียว (addax, white antelope, screwhorn antelope) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เป็นแอนทิโลปชนิดหนึ่ง จำพวกแอนทิโลปปศุสัตว์ จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Addax โดยคำว่า "แอดแดกซ์" นั้นมาจากภาษาอาหรับแปลว่า "สัตว์ป่าเขาเบี้ยว" ขณะที่ชื่อชนิดทางวิทยาศาสตร์ nasomaculatus มาจากภาษาละตินแปลว่า "จมูกเป็นจุด" (nasus (หรืออุปสรรคว่า naso) หมายถึง "จมูก" และ macula หมายถึง "จุด" และหน่วยคำเติม atus) ขณะที่ชาวเบดูอินจะรู้จักแอดแดกซ์ดี โดยคำว่าแอดแดกซ์นั้นมาจากภาษาอาหรับเรียกว่า bakr (หรือ bagr) al wahsh หมายถึง วัว, ควาย หรือสัตว์กีบทั่วไป แอดแดกซ์มีความแตกต่างจากแอนทิโลปอื่น ๆ ที่มีฟันขนาดใหญ่รูปสี่เหลี่ยมและไร้ต่อมบนหน้า มีความสูงจากไหล่ 91–115 เซนติเมตร ความยาวลำตัว 120–130 เซนติเมตร ความยาวหาง 25–35 เซนติเมตร น้ำหนัก 60–125 กิโลกรัม ตัวเมียขนาดเล็กกว่าตัวผู้ มีขนสีน้ำตาลเทาในฤดูหนาว และเปลี่ยนเป็นสีขาวหรือสีซีดในฤดูร้อน มีขนสีน้ำตาลหรือดำรูปตัวเอ็กซ์บนจมูก ทั้งตัวผู้และตัวเมียมีเขาทั้งคู่ ลักษณะเขาบิดเป็นเกลียวยาว 55–85 เซนติเมตร และมีการขด 2–3 ครั้ง มีกีบเท้าขนาดใหญ่เพื่อเดินบนพื้นทราย ที่กีบเท้าทั้งหมดมีต่อมกลิ่นอยู่ แต่เป็นสัตว์ที่มีความเชื่องช้าจึงมักตกเป็นเหยื่อของสัตว์นักล่าอยู่เสมอ ๆ เช่น หมาล่าเนื้อแอฟริกา, ไฮยีนา, ชีตาห์, เสือดาว, คาราคัล, เซอวัล โดยเป็นสัตว์ที่ไม่ก้าวร้าวแม้จะถูกรบกวนก็ตาม พบกระจายพันธุ์ในแอฟริกาเหนือ โดยเป็นสัตว์พื้นเมืองของชาด, มอริเตเนีย และไนเจอร์ ปัจจุบันนี้สูญพันธุ์ไปแล้วที่แอลจีเรีย, อียิปต์, ลิเบีย, ซูดาน และสะฮาราตะวันตก และกำลังได้รับการฟื้นฟูที่โมร็อกโกและตูนิเซีย ปัจจุบันเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตเนื่องจากพบน้อยกว่า 500 ตัว ในแถบทะเลทรายสะฮารา เป็นสัตว์ที่มีความอดทนอย่างมากจากการขาดน้ำเนื่องจากรับน้ำจากอากาศและพืชจำพวกพุ่มไม้หรืออาเคเชียที่กินเข้าไป อีกทั้งยังมีกระเพาะที่มีความพิเศษที่เก็บน้ำไว้ใช้ในคราวจำเป็น และปัสสาวะก็มีความเข้มข้นเป็นพิเศษ เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืนโดยจะหลบนอนอยู่ตามร่มเงาของภูเขาทรายในเวลากลางวันและหลบพายุทะเลทราย แต่แอดแดกซ์เป็นสัตว์ที่มีอยู่จำนวนมากในสถานที่เลี้ยงหรือเขตอนุรักษ์ทางธรรมชาติในปัจจุบัน มีโครงการขยายพันธุ์ในหลายประเทศในหลายทวีป ทั้ง อิสราเอล, ญี่ปุ่น, อเมริกาเหนือ, ซูดาน, อียิปต์, ออสเตรเลี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและแอดแดกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แทนิส

แผนที่อียิปต์ล่าง left แทนิส (/ tænɪs /; คอปติก: ϫⲁⲛⲓ / ϫⲁⲁⲛⲉ;กรีกโบราณ: Τάνις;อียิปต์โบราณ: ḏˁn.t / ɟuʕnat / หรือ / c'uʕnat /;อาหรับ: صانالحجر Ṣān al-Ḥagar) เป็นเมืองโบราณในทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของลุ่มแม่น้ำไนล์ของอียิปต์ มันตั้งอยู่บนดอนปากแม่น้ำของแม่น้ำไนล.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและแทนิส · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นของประเทศซาอุดีอารเบีย

ประเทศซาอุดีอารเบียแบ่งเขตปกครองออกเป็น 13 แคว้น (manātiq idāriyya)  แต่ละแคว้นจะแบ่งการปกครองเป็นเขตผู้ว่าราชการ (muhafazat) และศูนย์กลางของแคว้นที่แตกต่างกัน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและแคว้นของประเทศซาอุดีอารเบีย · ดูเพิ่มเติม »

แคท สตีเวนส์

ูซุฟ อิสลาม หรือ ยูซุฟ (Yusuf Islam) นักร้อง นักดนตรี และนักแต่งเพลงชาวอังกฤษ เป็นที่รู้จักกันในชื่อ แคท สตีเวนส์ (Cat Stevens) มีชื่อจริงว่า สตีเวน ดีมีทรี จอร์จิโอ บิดามีเชื้อสายกรีก-ไซปรัส มารดามีเชื้อสายสวีเดน แคท สตีเวนส์มีชื่อเสียงในช่วงต้นทศวรรษ 1970 โดยอัลบั้ม Tea for the Tillerman (1970) และ Teaser and the Firecat (1971) ของเขาได้การรับรองแผ่นเสียงทองคำขาวจากสมาคมผู้ประกอบกิจการเพลงของสหรัฐอเมริกา และอัลบั้ม Catch Bull at Four (1972) ขึ้นถึงอันดับหนึ่งของนิตยสารบิลบอร์ดติดต่อกันสามสัปดาห์ ผลงานของเขาได้รับการบันทึกเป็นหนึ่งใน 500 อัลบั้มที่ดีที่สุดตลอดกาล โดยนิตยสารโรลลิงสโตน Nov 18, 2003 ผลงานเพลงที่มีชื่อเสียง เช่น "Morning Has Broken", "Moonshadow", "The First Cut Is the Deepest" และ "Peace Train" ในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและแคท สตีเวนส์ · ดูเพิ่มเติม »

แป้นพิมพ์ภาษาอาหรับ

แป้นพิมพ์ภาษาอาหรับ () เป็นรูปแบบแป้นพิมพ์ภาษาอาหรั.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและแป้นพิมพ์ภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์

แนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ (Popular Front for the Liberation of Palestine; ภาษาอาหรับ الجبهة الشعبية لتحرير فلسطين, al-Jabhah al-Sha`biyyah li-Tahrīr Filastīn) เป็นกลุ่มติดอาวุธและพรรคการเมืองนิยมลัทธิมากซ์ ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและแนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมประชาธิปไตยเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์

แนวร่วมประชาธิปไตยเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ (Democratic Front for the Liberation of Palestine; ภาษาอาหรับ: 'الجبهة الديموقراطية لتحرير فلسطين', ถอดอักษร Al-Jabha al-Dimuqratiya Li-Tahrir Filastin หรือ al-Jabha al-Dimuqratiyah; الجبهة الديموقراطية) เป็นองค์กรทางการเมืองและการทหารของปาเลสไตน์ ที่นิยมลัทธิมากซ์ เป็นองค์กรที่เป็นสมาชิกขององค์การปลดปล่อยปาเลสไตน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและแนวร่วมประชาธิปไตยเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมปลดปล่อยอาหรับ

แนวร่วมปลดปล่อยอาหรับ (ภาษาอังกฤษ:Arab Liberation Front; ภาษาอาหรับ: جبهة التحريرالعربية, jabha at-tahrir al-arabia) เป็นขบวนการทางการเมืองของชนกลุ่มน้อยชาวปาเลสไตน์ มีความใกล้ชิดกับพรรคบาธของซัดดัม ฮุสเซน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและแนวร่วมปลดปล่อยอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติบาห์เรน

แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติบาห์เรน (National Liberation Front - Bahrain; ภาษาอาหรับ: جبهة التحرير الوطني البحرانية) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ใต้ดินในบาห์เรน ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1954 โดยนักกิจกรรมชาวอิหร่าน ในช่วง ค.ศ. 1970 แนวร่วมเป็นพรรคการเมืองที่ถูกกดดันมากที่สุดในประเทศ ผู้นำและนักกิจกรรมคนสำคัญของพรรคต้องลี้ภัย จนกระทั่ง..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติบาห์เรน · ดูเพิ่มเติม »

โฟมัลฮอต

ฟมัลฮอต (Fomalhaut) หรือ อัลฟาปลาใต้ (α PsA / α Piscis Austrini) เป็นดาวฤกษ์สว่างที่สุดในกลุ่มดาวปลาใต้ และเป็นหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์สว่างที่สุดบนท้องฟ้า หากอยู่ในซีกโลกเหนือ จะสามารถมองเห็นดาวโฟมัลฮอตได้ทางเกือบขอบฟ้าด้านทิศใต้ในช่วงเย็นต้นฤดูหนาว ใกล้กับเส้นละติจูด 50˚เหนือ ดาวจะตกลับขอบฟ้าเมื่อดาวซิริอุสปรากฏขึ้น และจะไม่ปรากฏขึ้นอีกจนกว่าดาวปาริชาต (Antares) จะตกลับไป ชื่อ "โฟมัลฮอต" มีความหมายว่า "ปากวาฬ" มาจากคำภาษาอารบิกว่า فم الحوت fum al-ḥawt ดาวฤกษ์นี้จัดเป็นดาวฤกษ์ระดับ A ในแถบลำดับหลัก อยู่ห่างจากโลกประมาณ 25 ปีแสง ถือเป็นดาวฤกษ์แบบคล้ายเวกา ซึ่งแผ่รังสีอินฟราเรดออกมาจำนวนมาก บ่งชี้ว่าดาวนี้มีแผ่นจานฝุ่นล้อมรอบ ดาวโฟมัลฮอตเป็นดาวฤกษ์สำคัญดวงหนึ่งในการศึกษาดาวเคราะห์นอกระบบ เนื่องจากเป็นระบบดาวฤกษ์แห่งแรกที่มีดาวเคราะห์นอกระบบ โฟมัลฮอตบี ซึ่งถูกถ่ายภาพไว้ได้ในช่วงคลื่นที่ตามองเห็น ภาพนี้ตีพิมพ์ในวารสาร Science เมื่อเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและโฟมัลฮอต · ดูเพิ่มเติม »

โฟร์แชร์

4shared 4shared คือบริษัทผู้ให้ บริการเก็บรักษาและแบ่งปันไฟล์ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและโฟร์แชร์ · ดูเพิ่มเติม »

โฟโต้สเกป

ฟโต้สเกป (PhotoScape) เป็นโปรแกรมตัดต่อกราฟิกส์ พัฒนาโดย MOOII Tech,ประเทศเกาหลีใต้ แนวคิดพื้นฐานของโฟโต้สเกป คือ 'ง่ายและสนุก' เพื่อที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขภาพที่ถ่ายจากกล้องดิจิทัลของพวกเขาหรือแม้กระทั่งโทรศัพท์มือถือ โฟโต้สเกป มีผู้ใช้อินเตอร์เฟซง่ายที่ดำเนินการปรับปรุงภาพร่วมกันรวมทั้ง การปรับสี,ตัด,การปรับขนาด,การพิมพ์ และการภาพเคลื่อนไหวในไฟล์ GIF โฟโต้สเกป ทำงานได้เฉพาะในระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และไม่สามารถใช้ได้ในระบบ Mac หรือLinux ได้ ภาษาเริ่มต้นของมันเป็นภาษาอังกฤษและภาษาเกาหลี พร้อมด้วยแพ็กเกจภาษาเพิ่มเติมสามารถดาวน์โหลดได้.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและโฟโต้สเกป · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอิสลามศรีอยุธยามูลนิธิ

รงเรียนอิสลามศรีอยุธยามูลนิธิ (Islamsriayutthaya Foundation School.) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (หรือที่คนส่วนใหญ่เรียกว่า อ.ศ.อ.) เป็นโรงเรียนที่สอนศาสนาอิสลามควบคู่กับสามัญ เปิดสอนมากกว่า 70 ปี มีนักเรียนจากทั่วทุกภาคของประเทศไทย ได้รับการยอมรับจากสังคมมุสลิม สีประจำโรงเรียน เขียว - ขาว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและโรงเรียนอิสลามศรีอยุธยามูลนิธิ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอนุบาล

อนุบาล(ย่อมาจาก อ.; kindergarten, pre-elementary school) เป็นลำดับการศึกษา ขั้นแรก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและโรงเรียนอนุบาล · ดูเพิ่มเติม »

โลกอาหรับ

แผนที่โลกอาหรับ โดยอิงนิยามดินแดนมาตรฐานของโลกอาหรับซึ่งประกอบด้วยรัฐและดินแดนอันเป็นสมาชิกสันนิบาตอาหรับ โลกอาหรับ หมายถึง รัฐ ดินแดนและประชากรที่พูดภาษาอาหรับในแอฟริกาเหนือ เอเชียตะวันตกและที่อื่นใดFrishkopf: 61: "No universally accepted definition of 'the Arab world' exists, but it is generally assumed to include the twenty-two countries belonging to the Arab League that have a combined population of about 280 million (Seib 2005, 604).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและโลกอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

โอมาร์ คัยยาม

อมาร์ คัยยาม หลุมศพของโอมาร์ คัยยาม ในเมืองเนชาปูร ประเทศอิหร่าน โอมาร์ คัยยาม (18 พฤษภาคม ค.ศ. 1048 - 4 ธันวาคม ค.ศ. 1131; เปอร์เซีย عمر خیام) เกิดในเมืองเนชาปูร เมืองหลวงของเขตการปกครองคุรอซาน ในเปอร์เซีย (ประเทศอิหร่าน) โอมาร์ คัยยาม เป็นกวี นักปราชญ์ นักดาราศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ และแพทย์ชาวเปอร์เซียที่ได้รับอิทธิพลจากอะบู เรฮัน อัลบิรูนีและอวิเซนนา เขาเป็นผู้ประพันธ์รุไบยาตอันลือชื่อ โดยผลงานของเขาเป็นต้นแบบของผลงานของอัตตาร์แห่งเนชาปูร คัยยามมีชื่อในภาษาอาหรับว่า "ฆิยาษุดดีน อะบุลฟาติฮฺ อุมัร บิน อิบรอฮีม อัลคอยยาม" (غياث الدين ابو الفتح عمر بن ابراهيم خيام نيشابوري) คำว่า "คัยยาม" (خیام) เป็นคำยืมจากภาษาอาหรับ มีความหมายว่า "ผู้สร้างกระโจมพัก" มะลิกชาห์ ญะลาลุดดีน กษัตริย์ราชวงศ์สัลจูกได้มีรับสั่งให้คัยยามมาที่หอดูดาวแห่งใหม่ในเมืองเรย์ (Ray) ในราวปี 1074 เพื่อปฏิรูปแก้ไขปฏิทินสุริยคติที่ใช้ในอิหร่านเป็นเวลานาน คัยยามได้นำเสนอปฏิทินที่มีความถูกต้องแม่นยำและตั้งชื่อว่า อัตตารีค อัลญะลาลีย์ (เพื่อเป็นเกียรติแก่กษัตริย์ญะลาลุดดีน) ซึ่งมีความผิดพลาดเพียงวันเดียวในรอบ 3770 ปี และมีความถูกต้องเหนือกว่าปฏิทินเกรกอเรียนที่มีความผิดพลาด 1 วันใน 3330 ปี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและโอมาร์ คัยยาม · ดูเพิ่มเติม »

โฮเซ ซูไลมัง

ซ่ สุไลมาน โฮเซ่ สุไลมาน (José Sulaimán) อดีตประธานสภามวยโลก (WBC) ชาวเม็กซิกัน สุไลมานเกิดเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1931 ที่เมืองซิวดัดวิกโตเรีย รัฐตาเมาลีปัส ประเทศเม็กซิโก มีชื่อเต็มว่า โฮเซ่ สุไลมาน ชาง่อน (José Sulaimán Chagnón) มีเชื้อสายเลบานอน เนื่องจากบิดาเป็นชาวเลบานอนที่อพยพมาอยู่ที่เม็กซิโก ในปี ค.ศ. 1920 ในวัยเด็ก สุไลมานชื่นชอบการชกมวยสากลมาก รวมทั้งเป็นนักมวยเองด้วยในวัยรุ่น และได้คลุกคลีอยู่กับวงการมวยมาโดยตลอด จนกระทั่งได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสภามวยโลก และได้รับเลือกจากเสียงข้างมากให้เป็นประธานสภามวยโลกมาตั้งแต่วันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1975 และได้รับเลือกอีกหลายสมัยต่อเนื่องมายาวนานกว่า 30 ปี โฮเซ่ สุไลมาน ได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่ทำให้สถาบันสภามวยโลกได้รับการยอมรับและประสบความสำเร็จในแวดวงมวยสากลระดับโลก โดยติดต่อกับโปรโมเตอร์ที่มีชื่อเสียงต่าง ๆ อาทิ ดอน คิง, บ๊อบ อารัม นำนักมวยในสังกัดขึ้นชกในสังกัดสถาบันจนได้เป็นแชมป์โลกหลายคน อาทิ มูฮัมหมัด อาลี, ไมค์ ไทสัน, ซัลวาดอร์ ซันเชซ, อาเลกซิส อาร์กูเอโย, ฮูลิโอ ซีซาร์ ชาเวซ, ริคาร์โด โลเปซ เป็นต้น ซึ่งนักเหล่านี้เป็นนักมวยระดับชั้นแนวหน้าของแต่ละพิกัดและนับได้ว่าเป็นซูเปอร์สตาร์ของวงการมวยระดับโลก นอกจากนี้แล้ว สุไลมานยังเป็นบุคคลที่ริเริ่มแนวคิดใหม่ ๆ ให้แก่วงการมวยระดับโลก เช่น การให้มีการชิงแชมป์เฉพาะกาล ในกรณีที่แชมป์โลกตัวจริงไม่อาจชกเคลื่อนไหวได้, การให้มีสถาบันมวยสำหรับนักมวยหญิง, การชิงแชมป์เข็มขัดเงิน, การสนับสนุนมวยไทยในสถาบัน WBC และการให้เปิดเผยคะแนนเมื่อครบ 4 ยก เพื่อความโปร่งใสในการแข่งขัน เป็นต้น ชีวิตส่วนตัว นอกจากในแวดวงมวยสากลแล้ว โฮเซ่ สุไลมาน ยังมีธุรกิจเกี่ยวกับยารักษาโรคที่ประเทศเม็กซิโกอีกด้วย เป็นบุคคลที่สามารถใช้ภาษาสเปน, อังกฤษ, อาหรับ, ฝรั่งเศส, อิตาเลียน และโปรตุเกส ได้เป็นอย่างดี และได้รับการบรรจุชื่อลงในหอเกียรติยศของ WBC ในกลางปี ค.ศ. 2010 สำหรับประเทศไทยแล้ว โฮเซ่ สุไลมาน มีความสัมพันธ์เป็นอย่างดี โดยได้เคยเดินมายังประเทศไทยหลายครั้ง รวมทั้งได้เคยเข้าเฝ้าฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร เพื่อทูลเกล้าฯถวายเหรียญรางวัลเกียรติยศของสถาบัน ในฐานะที่ทรงสนับสนุนวงการมวยมาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเคยได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในฐานะบุคคลที่ประสบความสำเร็จในวงการกีฬา ซึ่งสุไลมานมีแนวความคิดที่จะผลิตหลักสูตรมวยไทยลงในหลักสูตรทางการศึกษาระดับปริญญาตรี เป็นศาสตร์การต่อสู้ป้องกันตัวในสถาบันอุดมศึกษาทั้งของไทยและในประเทศเม็กซิโก อีกด้วย โฮเซ่ สุไลมาน เสียชีวิตด้วยวัย 82 ปี ที่ศูนย์การแพทย์โรนัลด์ เรแกน ยูซีแอลเอ ในลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา ด้วยโรคหัวใจที่ป่วยมานาน เมื่อวันที่ 16 มกราคม..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและโฮเซ ซูไลมัง · ดูเพิ่มเติม »

โทมัส ยัง

ทมัส ยัง โทมัส ยัง (Thomas Young; 14 มิถุนายน พ.ศ. 2316 – 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2372) เป็นนักวิทยาศาสตร์และแพทย์ ชาวอังกฤษ มีความเฉลียวฉลาดถึงขนาดที่พูดได้กว่า 12 ภาษา เมื่ออายุได้ 14 ปี ผลงานที่เด่นที่สุดของเขาในด้านวัสดุศาสตร์ก็คือ มอดุลัสของยัง นอกจากนี้เขาได้ช่วยเขียนหนังสือสารานุกรม เอ็นไซโคลพีเดีย บริตเตนิกา (Encyclopedia Britannica) ในหลาย ๆ บทความ และยังศึกษาอักษรอียิปต์โบราณเช่นเดียวกับชอง-ฟรองซัว ชองโปลิยง นักภาษาศาสตร์ชาวฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและโทมัส ยัง · ดูเพิ่มเติม »

โต๊ะครู

โต๊ะครู หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า โต๊ะฆูรู (Tok Guru) ในภาษามลายู ตรงกับภาษาอาหรับว่า อูลามาอ ในประวัติศาสตร์มีโต๊ะครูที่มีความรู้มากมายหลายท่าน เช่น โต๊ะครูปอเนาะดาลอ โต๊ะครูอัลมัรฮูมมาฮมูด บินมูฮัมมัดอามีนผู้ก่อตั้งปอเนาะวะอซุฏดีน (รอตันบาตู นราธิวาส) หมวดหมู่:ศาสนาอิสลามในประเทศไทย.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและโต๊ะครู · ดูเพิ่มเติม »

โซมาลีแลนด์

ซมาลีแลนด์ (Jamhuuriyadda Soomaaliland; أرض الصومال‎, Arḍ aṣ-Ṣūmāl; Somaliland) เป็นดินแดนตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศโซมาเลียและติดกับประเทศจิบูตีและประเทศเอธิโอเปียในจะงอยแอฟริกา ประกาศเอกราชจากโซมาเลียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 แต่ยังไม่เป็นที่ยอมรับจากนานาชาต.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและโซมาลีแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไบตฺ อัล-มัล

ไบตฺ อัล-มัล (Bayt al-Mal) เป็นองค์กรที่ถูกควบคุมโดยฮิซบุลลอหฺ เน้นการให้บริการทางการเงิน ชื่อของขบวนการนี้ในภาษาอาหรับหมายถึงบ้านของเงิน กลุ่มนี้จัดตั้งขึ้นภายใต้การสนับสนุนของเลขาธิการทั่วไปของฮิซบุลลอหฺ ฮาซัน นารอลลอหฺ ทำหน้าที่เป็นธนาคาร ผู้ให้เครดิต และหน่วยสำหรับการลงทุนสำหรับฮิซบุลลอหฺ หัวหน้ากลุ่มคือฮุสไซน์ อัลชามี ขบวนการนี้มีสาขาในฮารัต ฮูไรก์เบรุตและที่อื่นๆในเลบานอน จัดตั้งบริษัทเพื่อการเงินและการลงทุนของยัสเซอร์เพื่อรักษาความลับในการถ่ายโอนเงินและการทำธุรกิจของฮิซบุลลอหฺ สหรัฐอเมริกาได้ประกาศให้ไบตฺ อัล-มัลเป็นสถาบันการเงินที่ผิดกฎหมาย ทำธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการก่อการร้าย สำนักงานใหญ่ของไบตฺ อัล-มัลอยู่ในทางใต้ของเบรุตซึ่งอยู่ภายใต้อิทธิพลของฮิซบุลลอหฺ หมวดหมู่:ขบวนการทางการเมืองในประเทศเลบานอน หมวดหมู่:ขบวนการก่อการร้าย.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและไบตฺ อัล-มัล · ดูเพิ่มเติม »

ไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนล

China Radio International (CRI), (ก่อนหน้านี้เรียกว่า Radio Beijing และชื่อแรกก่อตั้งคือ Radio Peking) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 3 ธันวาคม..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนล · ดูเพิ่มเติม »

ไฟฟ้า

ฟฟ้า (ήλεκτρον; electricity) เป็นชุดของปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ มีที่มาจากภาษากรีกซึ่งในสมัยนั้นหมายถึงผลจากสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเนื่องจากการปรากฏตัวและการไหลของประจุไฟฟ้า เช่นฟ้าผ่า, ไฟฟ้าสถิต, การเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า นอกจากนี้ ไฟฟ้ายังทำให้เกิดการผลิตและการรับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่นคลื่นวิทยุ พูดถึงไฟฟ้า ประจุจะผลิตสนามแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งจะกระทำกับประจุอื่น ๆ ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้เนื่องจากหลายชนิดของฟิสิกซ์ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ไส้กรอกแอฟริกา

้กรอกแอฟริกา เป็นพืชเพียงชนิดเดียวในสกุล Kigelia ในวงศ์ Bignoniaceae พบในเขตร้อนของแอฟริกาตั้งแต่เอริเทรียและชาด ไปจนถึงทางเหนือของแอฟริกาใต้ เซเนกัล และนามิเบี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและไส้กรอกแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ไอยคุปต์

ำหรับเทพที่เกี่ยวข้องกับอียิปต์โบราณ ดูที่ ตำนานเทพเจ้าแห่งไอยคุปต์ ไอยคุปต์ เป็นคำศัพท์ที่คนไทยใช้เรียก อียิปต์สมัยโบราณ มีความหมายรวมถึง ชนชาติ ภาษา และวัฒนธรรม กล่าวโดยย่อคือ ใช้ทั้งในฐานะของคำนามและคุณศัพท์ ส่วนอียิปต์หลังยุคฟาโรห์ นิยมใช้คำว่า "อียิปต์" ตามปกต.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและไอยคุปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮน์ริช เฮิรตซ์

น์ริช เฮิรตซ์ (Heinrich Hertz; 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2400 — 1 มกราคม พ.ศ. 2437) เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน และเป็นคนแรกที่พิสูจน์ถึงการมีอยู่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากทฤษฎีของแมกซ์เวลล์ ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าของแสง เฮิรตซ์พิสูจน์ทฤษฎีโดยการพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ส่งและรับคลื่นวิทยุโดยใช้การทดลอง นั่นให้เหตุผลถึงปรากฏการณ์แบบไร้สายอื่น ๆ ที่รู้จัก หน่วยวิทยาศาสตร์ของความถี่ รอบต่อวินาที ถูกตั้งชื่อเป็น เฮิรตซ์ เพื่อเป็นเกียรติแก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและไฮน์ริช เฮิรตซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยในอียิปต์

วไทยในประเทศอียิปต์ เป็นบุคคลที่มีเชื้อสายหรือสัญชาติไทยที่พำนักอยู่ประเทศอียิปต์ แบ่งเป็นบุคคลที่เข้ามาศึกษา, ผู้ใช้แรงงาน และผู้พำนักถาวรจากการสมรส ชาวไทยที่เข้ามาศึกษาส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม และเข้าศึกษาในสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงของประเทศอียิปต์ อย่างมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร (Al Azhar University) ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง และมีความเก่าแก่กว่ามหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดของสหราชอาณาจักรด้วย นอกจากนี้ยังมีมหาวิทยาลัยอเมริกัน (The American University in Cairo) และมหาวิทยาลัยไคโรที่มีชื่อเสียงในการศึกษาด้านตะวันออกกลางและอาหรับศึกษา แต่การสมัครเข้าไม่สะดวกนักเพราะสภาการศึกษาของอียิปต์ยังไม่รับรองวุฒิการศึกษาของสถาบันการศึกษาในไทย นอกจากนักศึกษาก็ยังมีชาวไทยที่เข้ามาประกอบอาชีพเช่น ร้านอาหารไทย โดยเฉพาะสปาและหมอนวดซึ่งมีชาวไทยทำมากกว่า 300-500 คน รองลงมาคือ ช่างทอง และช่างเพชร หรือบางส่วนได้สมรสกับชาวอียิปต์ ซึ่งมีหญิงไทยจำนวนมากสมรสกับชาวอียิปต์ในต่างเมืองโดยมิได้ติดต่อกับสังคมไทยในอียิปต์ตามหัวเมืองใหญ่เล.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและไทยในอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เบิร์ดแลนด์ แดนมหัศจรรย์

ร์ดแลนด์แดนมหัศจรรย์ (Bird: Flying With Byrd) เป็นการ์ตูนแอนิเมชั่น 3 มิติจาก ประเทศไทย ผลิตโดย บริษัท เชลล์ฮัทเอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด ซึ่งได้ประสบความสำเร็จจากการ์ตูน เชลล์ดอน ที่ได้ทำการออกอากาศไปกว่า 100 ประเทศทั่วโลก เบิร์ดแลนด์แดนมหัศจรรย์ เริ่มออกอากาศทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เริ่มตั้งแต่วันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2554 "เบิร์ดแลนด์แดนมหัศจรรย์" เป็นแอนิเมชั่นแฝงความรู้แก่ผู้ชมทุกวัยซึ่งได้รับความสนใจจากทั้งในและต่างประเทศและมีความเป็นไปได้ ถึงการจัดทำของที่ระลึกที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการติดต่อด้านลิขสิทธิ์เพื่อเผยแพร่ไปต่างประเทศในโอกาสต่อม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเบิร์ดแลนด์ แดนมหัศจรรย์ · ดูเพิ่มเติม »

เพ (ตัวอักษร)

เพ (Pe) เป็นอักษรตัวที่ 17 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู פ‎ และอักษรอาหรับ ف (ฟาอ์) ใช้แทนเสียงไม่ก้อง เกิดจากริมฝีปาก ไม่มีลม: IPA อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก Pi (Π), อักษรละติน P, และอักษรซีริลลิก Pe จุดกำเนิดมาจากอักษรภาพรูปปาก (ภาษาฮีบรู pe; ภาษาอาหรับ, fem) พเพ en:Pe (letter)#Arabic fāʼ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเพ (ตัวอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติมัลดีฟส์

ลงชาติสาธารณรัฐมัลดีฟส์ เรียกชื่อในภาษาท้องถิ่นว่า "กวามี ซาลาม" (ޤައުމީ ސަލާމް, อักษรโรมัน: Qaumee Salaam, แปลตามตัวว่า เพลงคารวะชาติ) ประพันธ์เนื้อร้องโดย มูฮัมหมัด จาเมเอล ดีดี (Muhammad Jameel Didi) เมื่อ พ.ศ. 2491 ทำนองประพันธ์ขึ้นในปี พ.ศ. 2515 โดย บัณฑิต วัณณกุวัตตาวาดูเก ดอน อมระเทวา (Pandit Wannakuwattawaduge Don Amaradeva) มาเอสโตรชาวศรีลังกา เนื้อหาของเพลงนี้ กล่าวถึงการประกาศด้วยความภาคภูมิของชาวมัลดีฟส์ต่อเอกภาพของชาติ ความศรัทธาต่อศาสนาอิสลามอันเป็นศาสนาประจำชาติ ชัยชนะจากการต่อสู้ในอดีต และแสดงความคารวะต่อบรรดาวีรบุรุษของชาติ ในตอนท้ายเพลงเป็นการกล่าวอวยพรต่อความเจริญรุ่งเรืองของชาติและเหล่าผู้นำที่คอยรับใช้มาตุภูม.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเพลงชาติมัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติคูเวต

อัลนาชีด อัลวาตานิ (ภาษาอาหรับ: النشيد الوطني‎, แปลว่า "เพลงชาติ") เป็นเพลงชาติประเทศคูเวต ประพันธ์โดย อาร์เหม็ด มิชารี อัลวาตวานิ และอิบราฮิม อัลซูลนา คำร้องและทำนองโดย อาเหม็ด อาลี จึงได้มีการจัดเนื้อเพลงใหม่ เพลงนี้ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521 อามิรี ซารุท ถูกนำไปใช้ก่อน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเพลงชาติคูเวต · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติเยเมน

ลงชาติสาธารณรัฐเยเมน (نشيد اليمن الوطني, Nashīd al-Yaman al-waṭanī) ในปัจจุบันเป็นผลงานการประพันธ์เนื้อร้องโดย อับดุลเลาะห์ "อัล-ฟัดฮูล" อับดุลวาฮับ โนมาน (Abdallah "al-Fadhool" Abdulwahab Noman) ทำนองโดย อายูบ ทาริช (Ayoob Tarish) เดิมเพลงนี้เคยใช้เป็นเพลงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเยเมน (เยเมนใต้) ต่อมาเมื่อมีการรวมชาติเยเมนทั้ง 2 แห่ง คือ สาธารณรัฐอาหรับเยเมน (เยเมนเหนือ) และ เยเมนใต้ ในปี พ.ศ. 2533 แล้ว จึงได้ประกาศใช้เพลงนี้เป็นเพลงชาติของประเทศเยเมนที่เป็นเอกภาพนับตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบัน เพลงนี้มีอีกชื่อหนึ่งซึ่งแปลได้ว่า "สาธารณรัฐอันเป็นหนึ่งเดียว".

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเพลงชาติเยเมน · ดูเพิ่มเติม »

เกเลน

วาดเกเลนในศตวรรษที่ 18 โดยเกออร์ก เพาล์ บัสช์ เกเลน (Galen; Γαληνός, Galēnos; Claudius Galenus; ค.ศ. 129 - ประมาณ ค.ศ. 200 หรือ 216) แห่งเพอร์กามอน เป็นแพทย์ชาวกรีกซึ่งมีอิทธิพลต่อวิทยาศาสตร์การแพทย์ของตะวันตกมาเป็นเวลานานกว่าพันปี ชื่อหน้า "Claudius" ซึ่งไม่ได้ระบุเอาไว้ในเอกสารภาษากรีก ปรากฏอยู่ในเอกสารในยุคฟื้นฟูศิลปวิท.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเกเลน · ดูเพิ่มเติม »

เมาตินี

ลงชาติอิรักในปัจจุบันมีชื่อว่า "เมาตินี" แปลว่า มาตุภูมิแห่งข้า เดิมเพลงนี้เป็นบทกวียอดนิยมที่ประพันธ์ขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2477 โดย อิบราฮิม ตูกัน (อาหรับ: إبراهيم طوقان, Ibrahim Touqan) ที่แคว้นปาเลสไตน์ ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นเนื้อเพลงชาติโดยพฤตินัยของประเทศปาเลสไตน์ อิรัก และ โมร็อกโก ส่วนทำนองนั้นประพันธ์โดย มุฮัมหมัด ฟูลิเอฟิล (อาหรับ: محمد فليفل, Muhammad Fuliefil) ซึ่งทำนองของเพลงนี้เป็นที่นิยมกันมากในโลกอาหรับเป็นเวลานานหลายปี ในปี พ.ศ. 2547 เพลงนี้ได้รับการรับรองให้ใช้เป็นเพลงชาติอิรักอีกครั้ง เพื่อใช้แทนเพลงเดิม คือ เพลง อาดุลฟุราตอยนีวาตาน อันเป็นเพลงชาติอิรักในสมัยที่ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน เรืองอำน.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเมาตินี · ดูเพิ่มเติม »

เมธี อรุณ

มธี อรุณ (เกิด: 15 กันยายน พ.ศ. 2523 ที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส; ชื่อเล่น: อัสวัน หรือ เมธี) เป็นนักร้องนำวง ลาบานูน ซึ่งปัจจุบันอยู่ภายใต้สังกัดค่าย จีนี่เรคอร์ดส ในเครือ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ก่อนหน้านั้นอยู่ค่าย มิวสิค บั๊ก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเมธี อรุณ · ดูเพิ่มเติม »

เม็ม

เม็ม (Mem บางครั้งสะกดเป็น Meem หรือ Mim) เป็นอักษรตัวที่ 13 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู מ‎ และอักษรอาหรับ ﻡ‎ สัทอักษรคือ: อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก Mu (Μ), อักษรอีทรัสคัน ̌, อักษรละติน M, และอักษรซีริลลิก М คาดว่ามีมมาจากอักษรไฮโรกลิฟของอียิปต์รูปน้ำ ที่ทำให้ง่ายขึ้นในอักษรฟินิเชีย และตั้งชื่อด้วยคำว่าน้ำ, mem (mayim ในภาษาฮีบรูสมัยใหม่และ, mye ในภาษาอาหรับ) มเม็ม ar:م fa:م ja:م ko:م ur:م wuu:م.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเม็ม · ดูเพิ่มเติม »

เยรูซาเลม

รูซาเลม (Jerusalem), เยรูชาลายิม (יְרוּשָׁלַיִם) หรือ อัลกุดส์ (القُدس) เป็นเมืองในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่บนที่ราบของภูเขายูดาห์ ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับทะเลเดดซี เยรูซาเลมเป็นเมืองที่พระยาห์เวห์ทรงเลือกสรรไว้ให้เป็นป้อมแห่งความเชื่อถึงพระเป็นเจ้าแต่เพียงองค์เดียว ประเทศอิสราเอลและรัฐปาเลสไตน์ต่างอ้างสิทธิเหนือเยรูซาเลมว่าเป็นเมืองหลวงของตน อย่างไรก็ตาม การกล่าวอ้างของทั้งสองฝ่ายไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ เยรูซาเลมถือเป็นหนึ่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยได้รับการกล่าวถึงในชื่อ "อูรูซาลิมา" ในแผ่นศิลาจารึกของเมโสโปเตเมีย ซึ่งมีความหมายว่า "นครแห่งชาลิม" อันเป็นนามของพระเจ้าในแผ่นดินคานาอันเมื่อราว 2,400 ปีก่อนคริสตกาล และเมื่อมาถึงยุคของวงศ์วานอิสราเอล การก่อร่างสร้างเมืองเยรูซาเลมอย่างจริงจังก็ได้เริ่มขึ้นในศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสตกาล (ยุคเหล็กช่วงปลาย) และในศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล เยรูซาเลมก็ได้เป็นศูนย์กลางการปกครองและทางศาสนาของอาณาจักรยูดาห์ ตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานของเยรูซาเลม นครแห่งนี้ได้ถูกทำลายไปอย่างน้อย 2 ครั้ง, ถูกปิดล้อม 23 ครั้ง, ถูกโจมตี 52 ครั้ง, ถูกยึดและเอาคืน 44 ครั้ง According to Eric H. Cline's tally in Jerusalem Besieged.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเยรูซาเลม · ดูเพิ่มเติม »

เยื่อเพีย

ื่อหุ้มสมองชั้นใน หรือ เยื่อเพีย (pia mater; มาจากภาษาละตินซึ่งแปลมาจากภาษาอาหรับอีกที แปลว่า "มารดาที่อ่อนโยน") เป็นชั้นเยื่อหุ้มสมองและไขสันหลังที่อยู่ในสุด เยื่อเพียมีลักษณะบาง คล้ายกับตาข่าย หุ้มอยู่บนผิวทั้งหมดของสมอง และคลุมแนบไปบนร่องของคอร์เท็กซ์ของสมอง และมีส่วนเชื่อมกับอีเพนไดมา (ependyma) ซึ่งบุรอบโพรงสมองเพื่อสร้างเป็นคอรอยด์ เพล็กซัส (choroid plexus) ซึ่งทำหน้าที่ในการผลิตน้ำหล่อสมองไขสันหลัง (cerebrospinal fluid) ในไขสันหลัง เยื่อเพียจะติดกับเยื่อดูรา (dura mater) โดยโครงสร้างที่เรียกว่า เดนติคูลาร์ ลิกาเมนท์ (denticular ligaments) ผ่านเยื่ออะแร็กนอยด์ (arachnoid membrane) เยื่อเพียเจริญมาจากเซลล์นิวรัล เครสท์ (neural crest).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเยื่อเพีย · ดูเพิ่มเติม »

เราะซูล

ราะซูลราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 452 (อาหรับ: رسول) แปลตามศัพท์ว่า "ผู้ถูกส่งมาเป็นสื่อ" ในศาสนาอิสลามใช้หมายถึงมนุษย์ผู้ที่ได้รับมอบหมายจากอัลลอฮ์ฺพระผู้เป็นเจ้าให้ทำหน้าที่เผยแพร่ศาสนาของพระองค์ให้แก่หมู่ชน ซึ่งมีจำนวนหลายร้อยคน อัลกุรอานได้ระบุนามของเราะซูลในอดีตเพียง 25 ท่านได้แก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเราะซูล · ดูเพิ่มเติม »

เสือดาวอาระเบีย

ือดาวอาระเบีย หรือ เสือดาวอาหรับ (Arabian leopard; อาหรับ: نمر) เสือใหญ่จำพวกเสือดาวชนิดหนึ่ง เสือดาวอาระเบีย เป็นเสือดาวชนิดย่อยชนิดหนึ่ง พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคตะวันออกกลางแถบคาบสมุทรอาระเบียจนถึงคาบสมุทรไซนาย เสือดาวอาระเบียจัดเป็นเสือดาวขนาดเล็ก มีขนาดเล็กกว่าเสือดาวที่พบในทวีปแอฟริกาและในทวีปเอเชีย โดยจัดเป็นเสือดาวชนิดที่มีขนาดเล็กที่สุด ตัวผู้ที่อาศัยอยู่ทางตอนเหนือของทะเลทรายจูดีนของอิสราเอล เมื่อโตเต็มที่มีน้ำหนักเพียง 30 กิโลกรัม และตัวเมียเพียง 23 กิโลกรัมเท่านั้น เสือดาวอาระเบีย เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ตามลำพังและโดดเดี่ยวในสภาพแวดล้อมที่เป็นหุบเขาหรือทะเลทรายแห้งแล้งของคาบสมุทรอาระเบีย โดยใช้ถ้ำหรือซอกหลีบหินต่าง ๆ เป็นที่อยู่อาศัย เสือดาวที่อาศัยอยู่ในเขตภูเขานูฟา จะกินน้ำโดยอาศัยจากหมอกที่จับตัวแน่นหนาจนกลายเป็นฝนตกลงมา ซึ่งก็ตกเพียงปีละไม่กี่ครั้งเท่านั้น และถือเป็นพื้นที่ ๆ ชุ่มชื้นที่สุดในภูมิภาคแถบนี้ เสือดาวอาระเบีย ถือเป็นสัตว์นักล่าที่อยู่บนสุดของห่วงโซ่อาหาร โดยอาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกันร่วมกับสัตว์นักล่าชนิดอื่น ๆ เช่น หมาป่าอาระเบีย, ไฮยีนาลายแถบ โดยจะล่าสัตว์ต่าง ๆ กินเป็นอาหาร เช่น ไฮแรกซ์, กระต่ายป่า, แกะหรือแพะภูเขา หรือปศุสัตว์ต่าง ๆ ของชนพื้นเมือง รวมถึงสัตว์ขนาดเล็กอย่างนก, กบ หรือแมลงด้วยKingdon, J. (1990) Arabian Mammals. A Natural History.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเสือดาวอาระเบีย · ดูเพิ่มเติม »

เสียงกัก ลิ้นไก่ ไม่ก้อง

เสียงกัก ลิ้นไก่ ไม่ก้อง เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่นภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย ภาษาคาซัค ภาษาอุซเบก ฯลฯ แต่ไม่มีเสียงนี้ในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ q ออกเสียงคล้าย แต่ดันโคนลิ้นแตะที่ลิ้นไก่แทนเพดานอ่อน การทับศัพท์เสียงนี้มักใช้ ก หมวดหมู่:เสียงพยัญชนะ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเสียงกัก ลิ้นไก่ ไม่ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้อง

ียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้อง (voiced velar fricative) เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา ยกเว้นภาษาไทย สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ ซึ่งเป็นรูปแปรหนึ่งของตัวอักษรกรีก γ (แกมมา) ที่ใช้เป็นพยัญชนะแทนเสียงนี้ในภาษากรีกสมัยใหม่ (เป็นสัทอักษรคนละตัวกับ ซึ่งแทนเสียงสระเออะ/เออของภาษาไทย) นอกจากนี้ บางครั้งมีการใช้สัญลักษณ์ แทนเสียงเปิด เพดานอ่อน (velar approximant) ซึ่งที่จริงหากเขียนโดยมีเครื่องหมายเสริมสัทอักษรกำกับอยู่ด้วยเป็น หรือ ก็จะถูกต้องกว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง

ียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง (voiceless velar fricative) เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่น ภาษาเยอรมัน, ภาษาสเปน, ภาษาโปรตุเกส, ภาษารัสเซีย, ภาษาจีนกลาง ฯลฯ แต่ไม่มีเสียงนี้ในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ /x/ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ x เสียงนี้เป็นเสียงหนึ่งในบรรดาเสียงพยัญชนะในภาษาอังกฤษเก่า และยังคงปรากฏในบางภาษาถิ่นของภาษาอังกฤษปัจจุบัน หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่างประเทศของราชบัณฑิตยสถานได้กำหนดให้เขียนทับศัพท์เสียง /x/ ในทุกภาษา (เท่าที่ได้กำหนดหลักเกณฑ์ไว้) ด้วย ค ยกเว้นภาษาอังกฤษให้ใช้ ก เมื่อเป็นตัวสะกด ส่วนภาษาจีนและภาษารัสเซียให้ใช้ ฮ อย่างไรก็ตาม ในการทับศัพท์ภาษารัสเซียนั้น ปัจจุบันนิยมใช้ ค แทนเสียงนี้ แม้แต่ในสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ที่มาจากราชบัณฑิตยสถานเอง ส่วนภาษาสเปน (ซึ่งพบเสียงนี้เป็นตัวสะกดท้ายพยางค์ไม่บ่อยนัก) บางคนนิยมทับศัพท์เสียงนี้ด้ว.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดในสตอกโฮล์ม พ.ศ. 2553

ตำรวจปิดถนนดร็อตนิงกาตันหลังจากเกิดระเบิดขึ้นที่หัวมุมถนนที่ติดกับถนนบรีกการ์กาตัน เหตุระเบิดในสตอกโฮล์ม..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเหตุระเบิดในสตอกโฮล์ม พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

เอมิเรต

อมิเรต หรือ อามิเรต (emirate หรือ amirate; อาหรับ: إمارة‎) คือดินแดนที่มีเอมีร์ (emir) ปกครอง อาจอยู่ในระดับรัฐชาติ เช่น สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์เป็นรัฐชาติประเภทสหพันธรัฐซึ่งประกอบด้วยเอมิเรตเจ็ดเอมิเรต แต่ละเอมิเรตมีเอมีร์ปกครองโดยสืบตำแหน่งทางตระกูล หรืออาจเป็นดินแดนในรัฐชาติ เช่น จังหวัด ก็ได้.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเอมิเรต · ดูเพิ่มเติม »

เอมิเรตญะบัลชัมมัร

อมิเรตญะบัลชัมมัร (Emirate of Jabal Shammar; إمارة جبل شمر) หรือ เอมิเรตฮาอิล หรือ เอมิเรตราชวงศ์เราะชีด เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคนัจญด์ในคาบสมุทรอาหรับ ดำรงอยู่ระหว่างกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึง..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเอมิเรตญะบัลชัมมัร · ดูเพิ่มเติม »

เอมิเรตส์แอร์ไลน์

แอร์บัส เอ 380 F-WWDD โดยใช้ลายเครื่องของเอมิเรตส์ ในงานดูไบแอร์โชว์ เมื่อพ.ศ. 2548 เอมิเรตส์แอร์ไลน์ (อาหรับ: طيران الإمارات) เป็นสายการบินของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ให้บริการไปยัง 87 จุดหมายปลายทางใน 59 ประเทศทั่วโลก และยังให้บริการขนส่งสินค้าภายใต้ชื่อเอมิเรตส์ สกายคาร์โก โดยให้บริการหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติดู.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเอมิเรตส์แอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เอมิเรตนัจญด์และฮะซาอ์

อมิเรตนัจญด์และฮะซาอ์ (Emirate of Nejd and Hasa; إمارة نجد والأحساء) หรือ รัฐซาอุดีที่สาม หรือ เอมิเรตริยาดMadawi Al-Rasheed.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเอมิเรตนัจญด์และฮะซาอ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอร์ซูรุม

อร์ซูรุม (Կարին Karin, หรือ Կարնո քաղաք, Karin City, Θεοδοσιούπολις, Erzurum, ชื่อเดิม: Νίκαια หรือ Nicaea) เป็นเมืองในภาคอานาโตเลียตะวันออกในประเทศตุรกี ชื่อ “Erzurum” มาจากคำว่า “Arz-u Rûm” ที่แปลตรงตัวว่า “ดินแดนของโรมัน” เพราะคำว่า “Rûm” เป็นคำภาษาอาหรับที่ออกเสียงแบบเปอร์เซียในการเรียกโรมัน สำหรับชาวอาหรับเมืองนี้เรียกว่า “คาลี-คาลา” (Kali-kala) มาจนกระทั่งเมืองถูกยึดคืนไปเป็นของจักรวรรดิไบแซนไทน์ในรัชสมัยของจักรพรรดิบาซิลที่ 2 เมื่อชาวอาหรับที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่นั่นถูกเนรเทศ เมืองนี้ก็เป็นที่รู้จักโดยโรมันและต่อมาไบแซนไทน์ว่า “ธีโอโดซิโอโพลิส” (Theodosiopolis) มาได้ชื่อปัจจุบันหลังจากที่เซลจุคเติร์กยึดเมืองคืนได้ในยุทธการแมนซิเคิร์ท (Battle of Manzikert) ในปี ค.ศ. 1071.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเอร์ซูรุม · ดูเพิ่มเติม »

เอลี โคเฮน

อลียาฮู เบน-ชาอูล โคเฮน (ฮีบรู: אֱלִיָּהוּ בֵּן שָׁאוּל כֹּהֵן‎‎,อาหรับ: إيلي كوهين‎‎‎; 26 ธันวาคม ค.ศ. 1924 - 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1965) หรือโดยทั่วไปรู้จักในชื่อ เอลี โคเฮน เป็นสายลับชาวอิสราเอล เขาเป็นที่รู้จักจากงานสืบราชการลับของเขาในซีเรียเมื่อปี..1961 - 1965 ซึ่งเขาพัฒนาความสัมพันธ์ทางการเมืองและทางการทหารกับซีเรียจนได้เป็นหัวหน้าที่ปรึกษาของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของซีเรีย ต่อมาเขาถูกเจ้าหน้าที่ข่าวกรองของซีเรียจับได้ว่าเขาเป็นสายลับและถูกประหารชีวิตโดยการแขวนคอในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเอลี โคเฮน · ดูเพิ่มเติม »

เอสวอยซ์

อสวอยซ์ (S Voice) เป็นซอฟต์แวร์ผู้ช่วยปัญญา (Intelligent personal assistant) และ ผู้นำร่องความรู้ (knowledge navigator) โดยถูกติดตั้งอยู่บนซัมซุง กาแลคซีเอส 3, ซัมซุง กาแลคซี โน้ต 2, ซัมซุง กาแลคซี โน้ต 10.1, ซัมซุง กาแลคซีเอส 3 มินิ, ซัมซุง กาแลคซีเอส 4, ซัมซุง กาแลคซี โน้ต 8.0, ซัมซุง กาแลคซี สเตลลาร์, ซัมซุง กาแลคซีเอส 2พลัส, ซัมซุง กาแลคซี แกรนด์, ซัมซุง กาแลคซี คาเมรา และ ซัมซุง กาแลคซี เอ็กซ์เพรส ซึ่งจะช่วยตอบคำถามจากผู้ใช้, ให้คำแนะนำต่างๆ รวมไปถึงการเข้าถึงเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต โดยซอฟต์แวร์นี้มีฐานข้อมูลบนวลิงโก (Vlingo).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเอสวอยซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอสเอ็มเอฟ

อสเอ็มเอฟ (SMF ย่อมาจาก Simple Machines Forum) เป็นโปรแกรมระบบกระดานสนทนาหรือที่นิยมเรียกกันว่าเว็บบอร์ดบนอินเทอร์เน็ตแบบโอเพนซอร์ส ทำงานด้วยภาษาพีเอชพี ควบคู่กับระบบฐานข้อมูล โดยรับรองการทำงานของฐานข้อมูลหลากหลายชนิด ได้แก่ MySQL, SQLite หรือ PostgreSQL ด้วยความที่ใช้ภาษาพีเอชพีในการพัฒนา รวมถึงการแพร่หลายของระบบฐานข้อมูล MySQL รวมถึงมีตัวช่วยการติดตั้งที่ง่าย (Wizard installer) มีรูปแบบของธีม (Themes) และส่วนเสริมฟังก์ชันการใช้งาน (Modifications) ให้เลือกใช้มากมาย ทำให้ SMF ได้รับความนิยมอย่างแพร่หล.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเอสเอ็มเอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เจิ้งเหอ

รูปวาดเจิ้งเหอในจินตนาการของศิลปินที่ไม่ทราบชื่อ เจิ้งเหอ (แต้จิ๋ว: แต้ฮั้ว) เป็นผู้บัญชาการทหารเรือจีนในยุคราชวงศ์หมิง (明; Ming) มีบันทึกว่าเจิ้งเหอเริ่มเดินทางรอบโลกตั้งแต่ปี ค.ศ. 1421 และเคยติดต่อกับอาณาจักรอยุธยาด้วย มีผู้เสนอทฤษฎีว่า เจิ้งเหอน่าจะค้นพบทวีปอเมริกาก่อนคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส โดยไม่มีหลักฐานใดๆมายืนยันได้ชัดเจนเลยว่าเจิ้งเหอเคยเดินทางผ่านแอฟริกาใต้ หรือ อเมริกา เจิ้งเหออาจเป็นแค่ทฤษฎีที่ชาวต่างชาติบางคนคิดขึ้นมาเพื่อสร้างชื่อเสียงให้กับตัวเองเท่านั้น.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเจิ้งเหอ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายมูลัย รอชิด

้าชายมูลัย รอชิด หรือ เจ้าชายมูลัย รอชิด บินอัลฮะซัน (الأمير مولاي رشيد بن الحسن‎‎; 20 มิถุนายน พ.ศ. 2513) เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีฮะซันที่ 2 กับเจ้าหญิงลัลลา ลาติฟะฮ์ และเป็นพระราชอนุชาในสมเด็จพระราชาธิบดีมุฮัมมัดที่ 6 แห่งโมร็อกโก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเจ้าชายมูลัย รอชิด · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์

้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فادية Fādiya, ประสูติ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1943-26 ธันวาคม ค.ศ. 2002) พระราชธิดาองค์เล็กในพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์ พระมเหสีพระองค์แรก.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเจ้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล

้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล เป็นบุตรของนาย แฮรี ซาเลม กับ นางราจิรา อารีบา ประสูติ ณ ประเทศเลบานอน ต่อมาได้เสกสมรสกับ เจ้าชายเฏาะลาล บิน มูฮัมหมัด พระโอรสใน เจ้าชายมูฮัมหมัด บิน เฏาะลาล รับพระราชทานพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล เจ้าหญิงแห่งฮัชไมต์จอร์แดน มีพระบุตร 3 พระอง.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงซาร์วาธ อัล ฮัสซัน

้าหญิงซาร์วาธ อัล ฮัสซัน พระชายาใน เจ้าชายฮัสซัน บิน เฏาะลาล.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเจ้าหญิงซาร์วาธ อัล ฮัสซัน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงนูร์ ปาห์ลาวี

้าหญิงนูร์ ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย:نور پهلوی) (ประสูติ 3 เมษายน ค.ศ. 1992-) เป็นพระธิดาในเจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน กับเจ้าหญิงยัสมิน ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารีแห่งอิหร่าน ซึ่งเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของประเทศอิหร่าน ต่อจากพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ผู้เป็นพระอัยกาของเจ้าหญิง.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเจ้าหญิงนูร์ ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเฟริยาลแห่งอียิปต์

้าหญิงเฟริยาลแห่งอียิปต์ (อาหรับ:الأميرة فريال Feriyāl, ประสูติ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1938 - สิ้นพระชนม์ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009 Deccan Chronicle. Retrieved on 29 November 2009.) พระราชธิดาพระองค์แรกในพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเจ้าหญิงเฟริยาลแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์

้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์ (อาหรับ: فوزية Fawziya, ประสูติ 7 เมษายน ค.ศ. 1940 - สิ้นพระชนม์ 27 มกราคม ค.ศ. 2005) พระราชธิดาพระองค์กลางของพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเจ้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์

้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ (فوزية بنت فؤاد الأول.; فوزیه فؤاد; ประสูติ: 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1921 — สิ้นพระชนม์: 2 กรกฎาคม ค.ศ. 2013) เจ้าหญิงแห่งอียิปต์และอดีตสมเด็จพระราชินีในโมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์อิหร่าน หลังจากการเสกสมรสอีกครั้งใน..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เทียนกิ่งขาว

ทียนกิ่งขาว หรือ เฮนนา (Henna) เป็นพืชในวงศ์ Lythraceae และเป็นพืชมีดอกชนิดเดียวในสกุล Lawsonia คำว่าเฮนนาในภาษาอังกฤษมาจาก ภาษาอาหรับ حِنَّاء (ALA-LC: ḥinnāʾ; ออกเสียง) หรือ حناหรือ เป็นไม้พุ่มเปลือกเรียบ สีน้ำตาล ใบเดี่ยว รูปรี ออกตรงข้ามกัน โคนใบรูปลิ่ม ดอกช่อออกตามปลายกิ่ง ดอกขาวเรียกเทียนกิ่งขาว ดอกแดงเรียกเทียนกิ่งแดง ผลกลมสีเขียวแก่แล้วสีน้ำตาล เปลือกต้น ผลและรากเมื่อรับประทานทำให้อาเจียน ท้องร่วง เป็นอัมพาตและแท้งบุตร กระจายพันธุ์ในแอฟริกาและเอเชียใต้ ใบสดของเทียนกิ่งต้มรวมกับเหง้าขมิ้นชันใช้รักษาเล็บขบ ผงใบแห้งใช้ย้อมผมให้เป็นสีแดงส้ม ใบมีสารลอว์โซน เป็นผลึกสีส้มแดงพืชชนิดนี้ใช้ทำสีย้อมที่เรียกเฮนนาเช่นกัน โดยใช้ทาผิวหนัง เส้นผม เล็บ ผ้าไหม ผ้าฝ้.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเทียนกิ่งขาว · ดูเพิ่มเติม »

เด่นเก้าแสน เก้าวิชิต

นเก้าแสน เก้าวิชิต (ชื่อจริง: สุเทพ หวังมุก; ชื่อเล่น: มะ) เป็นอดีตแชมป์โลกในรุ่นฟลายเวท ของสมาคมมวยโลก (WBA) นับเป็นนักมวยชาวไทยคนแรกที่มีโอกาสชิงแชมป์โลกถึง 3 ครั้งและประสบความสำเร็จ ซึ่งก่อนหน้านั้นมีนักมวยไทย 2 คนที่ได้ชิงแชมป์โลกถึง 3 ครั้ง แต่ไม่ประสบความสำเร็จ คือ จำเริญ ทรงกิตรัตน์ และ ถนอมศักดิ์ ศิษ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเด่นเก้าแสน เก้าวิชิต · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องหมายการออกเสียงอักษรอาหรับ

รื่องหมายการออกเสียง ในภาษาอาหรับเรียกว่า หะเราะกาต (حَرَكَاةْ แปลตรงตัว “ความเคลื่อนไหว”) เป็นเครื่องหมายที่ใช้แสดงเสียงสระในภาษาอาหรับ คำว่า"หะเราะกาต"ในที่นี้หมายถึงการเคลื่อนไหวในอากาศเมื่อมีการออกเสียงสระ ในภาษาฮีบรูคำว่าสระและความเคลื่อนไหวใช้คำเดียวกันเช่นกันคือ tnuá.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเครื่องหมายการออกเสียงอักษรอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

เคาน์ตีอิเดสซา

น์ตีอิเดสซา (County of Edessa) เป็นหนึ่งในนครรัฐครูเสด (crusader states) ของคริสต์ศตวรรษที่ 12 ที่มีอาณาบริเวณอยู่รอบตัวเมืองอิเดสซา เคาน์ตีอิเดสซาแตกต่างจากนครรัฐครูเสดอื่น ๆ ตรงที่ไม่มีส่วนใดที่ติดทะเลและไกลจากรัฐอื่น ๆ และไม่ใคร่มีความสัมพันธ์อันดีนักกับนครรัฐอันติโอคที่อยู่ติดกัน ครึ่งหนึ่งของเคาน์ตีรวมทั้งเมืองหลวงตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำยูเฟรทีสทีไกลไปทางตะวันออกจากรัฐอื่น ๆ ซึ่งทำให้เป็นจุดอ่อน ทางตะวันตกของแม่น้ำยูเฟรทีสควบคุมจากป้อมเทอร์เบสเซล (Turbessel).

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเคาน์ตีอิเดสซา · ดูเพิ่มเติม »

เคาน์ตีตริโปลี

อาณาจักรเคานต์แห่งตริโปลี (County of Tripoli) คือนครรัฐครูเสด (crusader states) แห่งสุดท้ายที่ก่อตั้งขึ้นในบริเวณเลแวนต์ (Levant) ที่ตั้งอยู่บริเวณที่ปัจจุบันคือทางตอนเหนือของเลบานอนที่ในปัจจุบันคือเมืองตริโปลี นักรบครูเสดยึดตริโปลีและสร้างอาณาจักรในปี..

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและเคาน์ตีตริโปลี · ดูเพิ่มเติม »

Ch (ทวิอักษร)

Ch Ch เป็นทวิอักษรที่พบได้ในหลาย ๆ ภาษา ในบางภาษาจะจัดใช้ ch เป็นอักษรเดี่ยว โดยในพจนานุกรมก็จะไม่ได้รวมอยู่ในหมวดเดียวกับอักษร c แต่จะแยกออกไปต่างหาก อักษร ch ใช้แทนเสียงที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและCh (ทวิอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

Complex Text Layout

CTL เป็นอักษรย่อ จาก Complex Text Layout (แปลตามตัว: การออกแบบข้อความซับซ้อน) ในทางคอมพิวเตอร์ ใช้เรียกกลุ่มภาษา ที่ต้องการขั้นตอนที่ซับซ้อนในการแสดงผล บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ หรือบนกระดาษพิมพ์ ตัวอย่างภาษาในกลุ่มนี้ ได้แก่ ภาษาอาหรับ ภาษาฮิบรู ภาษาฮินดี และ ภาษาไท.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและComplex Text Layout · ดูเพิ่มเติม »

ISO 639-2

ISO 639-2 เป็นส่วนที่สองของมาตรฐาน ISO 639 ที่จะใช้รหัสตัวอักษรภาษาอังกฤษแทนภาษาต่างๆ ซึ่งมาตรฐานชุดนี้ประกอบด้วย กลุ่มของตัวอักษร 3 ตัว แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกใช้แทนชื่อของภาษาที่ใช้ใน งานบรรณาณุกรม (bibliographic applications) และกลุ่มที่สองใช้ใน งานที่ต้องเกี่ยวกับบัญญัติศัพท์ (terminology applications) รหัสที่ใช้แทนภาษาของทั้งสองกลุ่มเหมือนกันยกเว้นเพียง 23 ภาษา จากภาษาทั้งหมดมากกว่า 450 ภาษา ทั้งนี้เนื่องจากเงื่อนไขในการสร้างรหัสนั้น การใช้รหัสแทนภาษามาตรฐานนี้เริ่มต้นมาจากการใช้งานที่เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด การให้บริการข้อมูลต่างๆ ตลอดจนงานพิมพ์ ที่ต้องใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล รหัสเหล่านี้ได้มีการใช้แพร่หลายในกลุ่มงานห้องสมุด และต่อมาได้มีการปรับนำมาใช้โดยกลุ่มของนักภาษาศาสตร์ และในกลุ่มงานที่ต้องการคำนิยามเฉพาะ ซึ่งมาตรฐานส่วนนี้ได้มีการพัฒนาขึ้นโดยมีพื้นฐานจากความต้องการใช้ภาษานั้นๆที่มีการใช้อย่างแพร่หลายอยู่ทั่วโลก แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ไม่รวมถึงโปรแกรมภาษาလိၵ်ႈတၢႆးလိၵ်ႈထ.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและISO 639-2 · ดูเพิ่มเติม »

ISO 639-3

มาตรฐาน ISO 639-3 เป็นมาตรฐานกำหนดรหัสของภาษามนุษย์ทั้งหมดเท่าที่ทราบว่ามี โดยใช้ตัวอักษรละตินสามตัวเป็นรหัสแทนแต่ละภาษา ภาษาที่รวมใน ISO 639-3 นี้ รวมถึงภาษาที่มีใช้อยู่ในปัจจุบัน ภาษาโบราณ ภาษาที่ไม่มีการใช้แล้ว ตลอดทั้งภาษาที่ประดิษฐ์ขึ้น รวมถึงภาษาหลักและภาษารอง ทั้งที่มีตัวอักษรเขียนและที่ไม่มี.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและISO 639-3 · ดูเพิ่มเติม »

Kh (ทวิอักษร)

Kh เป็นทวิอักษรที่พบได้ในภาษาบางภาษา เช่น ภาษาเวียดนาม และยังพบในระบบการถอดอักษรเป็นอักษรโรมันในหลาย ๆ ภาษา ซึ่งมักจะใช้แทนเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง (/x/) หรือเสียงกัก เพดานอ่อน ไม่ก้อง ธนิต (/kʰ/) ในหลาย ๆ ภาษาที่มีเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง จะใช้อักษร kh ในการเขียนแทนเสียงนี้ แต่ในบางภาษากลับใช้อักษรอื่นแทน เช่น ในภาษาสเปนจะใช้อักษร j ส่วนภาษาที่ไม่ได้ใช้อักษรโรมัน ก็มันจะใช้อักษร kh ในการถอดอักษรที่ใช้แทนเสียงนี้เป็นอักษรโรมัน เช่น ในภาษาที่ใช้อักษรซีริลลิก จะใช้ kh ในการถอดอักษร х ในภาษาอาหรับใช้ในการถอดอักษร خ ในภาษากลุ่มอินโด-อารยันหลายภาษา รวมทั้งภาษาต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ในระบบเสียงมีความแตกต่างระหว่างเสียงธนิตและสิถิล จะใช้อักษร kh ถอดอักษรที่ใช้แทนเสียงเสียงกัก เพดานอ่อน ไม่ก้อง ธนิต เพื่อให้แตกต่างจากเสียงสิถิล ซึ่งมักจะใช้ k ในการถอดเป็นอักษรโรมัน ในภาษาไทย จะใช้อักษร kh ถอดอักษร ข ค ฅ และ ฆ ซึ่งจะใช้ถอดเฉพาะเวลาอักษรดังกล่าวทำหน้าที่เป็นพยัญชนะต้นเท่านั้น เช่น เขต ถอดเป็น khet แต่ ภาค ถอดเป็น phak.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและKh (ทวิอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

S-L-M

S-L-M หรือ ซีน-ลาม-เม็ม (س ل م; שלם; ภาษาอราเมอิก: ܫܠܡܐ) เป็นรากศัพท์พยัญชนะสามตัวของคำในกลุ่มภาษาเซมิติก และคำเหล่านี้มีการใช้เป็นชื่อจำนวนมาก ตัวรากศัพท์เองนั้นหมายถึง "ทั้งหมด ปลอดภัย สัมผัส".

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและS-L-M · ดูเพิ่มเติม »

SIL

SIL International เป็นองค์กรทางวิทยาศาสตร์ที่ไม่หวังผลกำไร มีจุดประสงค์หลักคือ ศึกษา พัฒนา และบันทึกภาษาที่ไม่เป็นที่รู้จัก เพื่อขยายความรู้ด้านภาษาศาสตร์, ศึกษาภาษาต่าง ๆ บนโลก และช่วยพัฒนาภาษาของชนกลุ่มน้อย องค์กรนี้ให้บริการข้อมูลด้านภาษาผ่านทางเว็บไซต์ SIL ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาของยูเนสโก และสหประชาชาติ นอกจากนี้ยังได้รับฐานะเป็นองค์กรที่ไม่หวังผลกำไรในหลาย ๆ ประเท.

ใหม่!!: ภาษาอาหรับและSIL · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Arabic languageภาษาอารบิก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »