โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษารัสเซีย

ดัชนี ภาษารัสเซีย

ษารัสเซีย (русский язык) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกที่ใช้เป็นภาษาพูดอย่างกว้างขวางที่สุด ภาษารัสเซียจัดอยู่ในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับภาษาสันสกฤต ภาษากรีก และภาษาละติน รวมไปถึงภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก โรมานซ์ และเคลติก (หรือเซลติก) ยุคใหม่ ตัวอย่างของภาษาทั้งสามกลุ่มนี้ได้แก่ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาไอริชตามลำดับ ส่วนภาษาเขียนนั้นมีหลักฐานยืนยันปรากฏอยู่เริ่มจากคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในปัจจุบัน ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีการใช้นอกประเทศรัสเซียด้วย มีเอกสารทางวิทยาศาสตร์จำนวนหนึ่งตีพิมพ์เป็นภาษารัสเซีย รวมทั้งความรู้ในระดับมหาวิทยาลัยจำนวนหนึ่ง ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางการเมืองในยุคที่สหภาพโซเวียตเรืองอำนาจและยังเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งของสหประชาชาต.

346 ความสัมพันธ์: AGROVOCชาวยิวชาวยิวอัชเคนาซิชาวรัสเซียชาวอะลิวต์ชาวไอนุชโต? กเด? คอกดา?ฟิโอดอร์ ดอสโตเยฟสกีฟุตบอลทีมชาติอุซเบกิสถานพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์พจนานุกรมกฎหมายพีพีเอส-43พีซเมคเกอร์ หยุดนิวเคลียร์มหาภัยถล่มโลกกฎชัทแธมเฮ้าส์กฎบัตรสหประชาชาติกลุ่มภาษามอร์ดวินิกกลุ่มภาษาสลาวิกกลุ่มภาษาจีนกลุ่มภาษาคอเคเซียนกลุ่มภาษาเตอร์กิกกล้วยนากกอสต์ยาอิซบูดูเชโวการกการากุมการถอดเสียงการถอดเป็นอักษรโรมันการทับศัพท์การทับศัพท์ภาษารัสเซียการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกการ์เมนการโอนผ่านยุคหลังโซเวียตของยูเครนกาเลวาลากูเกิล แปลภาษาก็อตซิลล่า อสูรพันธุ์นิวเคลียร์ล้างโลกภาษาชูวัชภาษาบูโครีภาษาชูเลียมภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติภาษามอคชาภาษามองโกเลียภาษามารีภาษายักโนบีภาษายูฮูรีภาษายูเครนภาษาลักภาษาอราเมอิกใหม่โบห์ตันภาษาออสซีเชียภาษาอิดอภาษาอุยกูร์ภาษาอุซเบก...ภาษาฮีบรูภาษาทาจิกภาษาคัลมึคภาษาคากัสภาษาคีร์กีซภาษาตาตาร์ภาษาตูวันภาษานาไนภาษาแบชเคียร์ภาษาแกนภาษาโคมิภาษาโครยอ-มาร์ภาษาโปแลนด์ภาษาโนไกภาษาไซเทียภาษาเบงกาลีภาษาเชเชนภาษาเอเวนค์ภาษาเปอร์เซียมรดกของเลโอนิด เบรจเนฟมหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญมอลเดเวียมองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)มัษนาวีมังกรสลาวิคมารี กูว์รีมาทรอสกามิสรัสเซียมิสแกรนด์ยูเครนมืย เบลารูซืยยูริ อาร์บาชาค็อฟยูล บรีนเนอร์รัชเชียนอเมริการัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลามรัฐสหภาพรัสเซียและเบลารุสรัมสไตน์รัสเซีย (แก้ความกำกวม)รัสเซีย-1ราชรัฐฟินแลนด์รายชื่อภาษารายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1รายชื่อวันสำคัญของรัสเซียรายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)รายชื่อธงในประเทศอาเซอร์ไบจานรายชื่อธงในประเทศอุซเบกิสถานรายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์อาเซอร์ไบจานรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิกริมสกี-คอร์ซาคอฟ (ภาพยนตร์)รูเบิลรูเบิลรัสเซียรถไฟใต้ดินมินสค์ลูอีสแห่งเนเธอร์แลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนและนอร์เวย์ลี เซียนลุงล่าตุลาแดง (ภาพยนตร์)วลาดีมีร์ คลิทช์โกวลาดีมีร์-ซุซดัลวาซิลี โซโลมินวิกิพีเดียภาษารัสเซียวิลนีอุสวีทีวี4ศัตรูของประชาชนสฟาลบาร์สกุลฮาโลไซลอนสภายุโรปสภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจสมเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทรานส์คอเคซัสสหภาพโซเวียตสหประชาชาติสหประชาชาติจำลองสะดุดจูบ แดนเวอร์จิ้นสาธารณรัฐรัสเซียสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวียสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวียสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนียสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบกสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจียสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิกสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิชสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัคสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคีร์กีซสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนียสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมนสาธารณรัฐคัลมืยคียาสาธารณรัฐซาฮาสาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมียสาธารณรัฐประชาชนตูวาสาธารณรัฐนอฟโกรอดสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2สาธารณรัฐไครเมียสาธารณรัฐเชเชนสาธารณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 2สถานีโทรทัศน์ทาจิกิสถานสคาซานีเอโอเซมเลซีบีร์สกอยสงคราม ความหวัง บัลลังก์ เกียรติยศสงครามรัสเซีย-จอร์เจียสงครามฤดูหนาวสนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนีสนธิสัญญาจันทราสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ดสเปซนาซหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุลหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภาหอสมุดดิจิทัลแห่งโลกหน่วยคำเติมห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์อภินิหารเข็มทิศทองคำออคเตียบร์อับคาเซียอักษรซีริลลิกอักขรวิธีอัลมาส์อันนา คาเรนินาอันเดรย์ คอลโมโกรอฟอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์อาร์พีจี-29อาณาจักรซาร์รัสเซียอุดร ฐาปโนสถอีวานวาซีเลียวิชเมนยาเอตโปรเฟสซียูองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐานองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบอนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปรายอ็องรี มูโออเล็กซานเดอร์ (ชื่อ)ผ่านาทีวิกฤติกู้โลกจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซียจักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก)จักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซียจักรวรรดิรัสเซียจักรวรรดิเยอรมันจังคอยจูเลีย มุลล็อกจีเมลจดีเมนยาธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนียธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบกธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิกธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิชทรานส์นีสเตรียทะเลอารัลที-34ท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโวดราก้อน ลีดิวโอลิงโกดีเบลชทรอมเมิลคริส ฮันเตอร์ (ทหารบกชาวสหราชอาณาจักร)ความตกลงปารีสคองเกรสโปแลนด์คำปฏิญาณโอลิมปิกคิม จ็อง-อิลคูบันสกีเอคาซากีคีโนโปอีสค์งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 87งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 90ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนตูย์เลนีซาบีนา อัลตึนเบโควาซาราห์ ไบรท์แมนซาร์ยาซาเรฟนาซูสีไทเฮาซีรีซีจีทีเอ็น รุสสกีย์ปฏิบัติการบาร์บารอสซาประชากรศาสตร์กัมพูชาประเทศมอลโดวาประเทศรัสเซียประเทศอุซเบกิสถานประเทศคาซัคสถานประเทศคีร์กีซสถานประเทศเบลารุสปลาสเตอร์เจียนขาวปอลตาวาปัฟโลดาร์ปัสคอฟปาเดนีเอเบียร์ลีนาปิดตำนานบุรุษล้างโลกนูโปโกดิแกรนด์ดัชชีมอสโกแกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซียแมคโอเอสแมเดลิน อาลไบรต์แล้วดวงตะวันก็ฉายแสงแวมไพร์แอล. แอล. ซาเมนฮอฟแอสกีแองเตอร์นาซิอองนาลแองเตอร์นาซิอองนาลฉบับภาษาจีนแอโรฟลอตแอโรเพลนเจลลีโบรเนโนเซตส์โปติออมกินโฟร์สแควร์โฟร์แชร์โฟโต้สเกปโกซูดาร์สตเวนนายากรานิตซาโรมัน ปัฟลูย์เชนโคโรจดิออนนืยเอวะแอสแอสแอสเอร์โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์โจเซฟ สตาลินโทรทัศน์ในประเทศคีร์กีซสถานโดคูเมนต์ เอร์โดโมเดโดโวแอร์ไลน์โดเนตสค์โครงการสปุตนิกโซยุซโซโคลส (เพลงจอน แม็กลาฟลิน)โปลิตบูโรโปเลชูเดสโนโวรอสซียา (สมาพันธรัฐ)ไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนลไฟร์ฟอกซ์ (ภาพยนตร์)ไกเซอร์ไมค์ ลูและอ็อกไมโครซอฟท์ ซีเคียวริตี้ เอสเซนเชียลไลบรารี เจเนซิสไลน์ (โปรแกรมประยุกต์)ไอพอดชัฟเฟิลไอน์ แรนด์ไคล์ โบรลอฟสกีไซยาโนเจนมอดเพลงชาติสหภาพโซเวียตเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวียเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนียเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนียเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบกเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัคเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนียเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมนเพลงชาติสาธารณรัฐอาเซอร์ไบจานเพลงชาติสาธารณรัฐอุซเบกิสถานเพลงชาติสาธารณรัฐคาซัคสถานเพลงชาติสาธารณรัฐคีร์กีซเพลงสรรเสริญสาธารณรัฐอะดีเกยาเพลงของชาทลากเกาะซาฮาลินเรือนรก ศพคืนชีพเลนินว 1918 กอดูเวรียเมียเสือโคร่งไซบีเรียเสียงรัว ปุ่มเหงือกเสียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือกกับเพดานแข็ง ไม่ก้องเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้องเหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 60 ปีชัยในมหาสงครามผู้รักชาติ ค.ศ. 1941–1945"เหงียน มิญ เจิวเอสเอ็มเอฟเอเชียกลางเจ้าหญิงมาซาโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่นเทคก้าแมนเบลด IIเดอะ เดียร์ ฮันเตอร์เดดช็อตเครือรัฐเอกราชเครื่องบินขับไล่เซมนัดซัตมกโนเวนีย์เวสนืยเซวัสโตปอลเซาท์ออสซีเชียเซเบิลเนมูโระCh (ทวิอักษร)Kola Superdeep BoreholeNone but the lonely heartѤѲҐSILUsavich ซี้ป่วนก๊วนกระต่ายWindows-1251WWWJDICОЁАФЦЩЪЭИЖЗБВГЄІЕЅЙ.рф2001 จอมจักรวาล (ภาพยนตร์) ขยายดัชนี (296 มากกว่า) »

AGROVOC

AGROVOC ได้ถูกพัฒนาขึ้นในปี 1980 โดยเป็นอรรถาภิธานศัพท์พหุภาษาแบบมีโครงสร้าง ในด้านการเกษตร วนศาสตร์ การประมง อาหาร โภชนาการ และสาขาที่เกี่ยวข้อง (เช่น สิ่งแวดล้อม) อรรถาภิธานนี้เป็นคำศัพท์มาตรฐานที่กำหนดคำดรรชนีให้ถูกต้องตรงกัน ทั้งนี้เพื่อช่วยให้การสืบค้นสารสนเทศมีประสิทธิภาพ และยังช่วยขยายผลการสืบค้นสารสนเทศให้มีความครอบคลุมและกว้างขวางยิ่งขึ้น ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา AGROVOC เป็นเครื่องมือที่ให้องค์กรต่างๆ ใส่องค์ความรู้ และพัฒนาออนโทโลยี เพื่อให้มีความสามารถในการสืบค้นได้ แต่ในปัจจุบัน AGROVOC ได้ถูกพัฒนาขึ้นเป็นแม่ข่ายทางมโนทัศน์ (Concept Server) ซึ่งเปรียบเสมือนอรรถาภิธานคำศัพท์ (Term-based hesaurus) AGROVOC ได้ถูกใช้งานโดยกลุ่มคนทั่วโลก เช่นนักวิจัย บรรณารักษ์ ผู้จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และบุคคลอื่นๆ เพื่อใช้ในการทำดรรชนี การค้นคืน และการจัดการข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันในด้านสารสนเทศทางการเกษตร สิ่งสำคัญก็คือการทำให้การอธิบายเชิงความหมายมีมาตรฐาน ทั้งนี้เพื่อทำให้ระบบต่างๆ สามารถทำงานประสานกันได้ และเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลให้กว้างขึ้น อรรถาภิธานศัพท์เกษตร AGROVOC ประกอบด้วยคำศัพท์ใน 6 ภาษาหลัก คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ภาษาอาหรับ ภาษาจีน ภาษารัสเซีย และได้ถูกแปลเป็นภาษาอื่น ๆ อีก ได้แก่ ภาษาเช็ก ภาษาเปอร์เซีย ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี ภาษาฮังการี ภาษาอิตาลี ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเกาหลี ภาษาลาว ภาษาโปแลนด์ ภาษาโปรตุเกส ภาษาสโลวัก และภาษาไทย สำหรับคำศัพท์ในภาษามลายู ภาษามอลโดวา ภาษาเตลูกู ภาษาตุรกี และภาษายูเครน อยู่ในระหว่างดำเนินการ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและAGROVOC · ดูเพิ่มเติม »

ชาวยิว

ว (ภาษาฮิบรู: יהודים) หรือที่เรียกว่า ชาวยิว (Jewish people) เป็นชนชาติและกลุ่มศาสนพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีเชื้อสายมาจากวงศ์วานอิสราเอลหรือชนเผ่าฮีบรูในแผ่นดินตะวันออกใกล้ยุคโบราณ ซึ่งคัมภีร์ฮีบรูได้ระบุว่า ชาวยิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงเลือกสรรที่จะอุปถัมป์ค้ำชูไว้เหนือชาติอื่นๆ ด้วยความเชื่อว่ายิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงค้ำชูและมีศาสนายูดาห์เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวนี้เอง ทำให้แม้ชาวยิวจะกระจัดกระจายไปในหลายดินแดน แต่ก็ยังคงความเป็นกลุ่มก้อนและมีการสืบทอดความเป็นยิวจากรุ่นสู่รุ่นอย่างไม่มีเสื่อมถอย ปัจจุบันบุคคลเชื้อสายยิวทั่วทั้งโลกมีอยู่ราว 14.4 ถึง 17.5 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอลและสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและชาวยิว · ดูเพิ่มเติม »

ชาวยิวอัชเคนาซิ

วยิวอัชเคนาซิ หรือ ชาวยิวแห่งอัชเคนาซ (יְהוּדֵי אַשְׁכֲּנָז หรือ אַשְׁכֲּנָזִים, Ashkenazi Jews หรือ Ashkenazic Jews หรือ Ashkenazim) คือชาวยิวที่สืบเชื้อสายมาจากชาวยิวที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในลุ่มแม่น้ำไรน์แลนด์ทางตะวันตกของเยอรมนีและตอนเหนือของฝรั่งเศสในยุคกลาง คำว่า "Ashkenaz" เป็นชื่อภาษาฮิบรูสมัยกลางของภูมิภาคที่ในปัจจุบันครอบคลุมประเทศเยอรมนี และบริเวณที่มีชายแดนติดต่อที่พูดภาษาเยอรมัน นอกจากนั้นอัชเคนาซก็ยังเป็นประมุขจาเฟติคที่สืบเชื้อสายมาจากลูกหลานของโนอาห์ (Table of Nations) ฉะนั้น "อัชเคนาซิม" หรือ "อัชเคนาซิยิว" ก็คือ "ชาวยิวเยอรมัน" ต่อมาชาวยิวอัชเคนาซิก็อพยพไปทางตะวันออก ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณที่ไม่ได้พูดภาษาเยอรมันที่รวมทั้งฮังการี โปแลนด์ ลิทัวเนีย รัสเซีย ยุโรปตะวันออก และ ภูมิภาคอื่นๆ ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถึง 19 ภาษาที่นำติดตัวไปก็คือภาษายิดดิชซึ่งเป็นภาษาเยอรมันภาษายิว|ยิว ที่ตั้งแต่ยุคกลางมาเป็น "ภาษากลาง" ในหมู่ชาวยิวอัชเคนาซิ นอกจากนั้นก็มีบ้างที่พูดภาษายิว-ฝรั่งเศส หรือ ภาษาซาร์ฟาติค (Zarphatic) และ ภาษากลุ่มสลาฟ-ที่มีพื้นฐานมาจากภาษาคนานิค (ภาษายิว-เช็ก) ชาวยิวอัชเคนาซิวิวัฒนาการวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่ผสานเอาวัฒนธรรมของชนในท้องถิ่นที่ตั้งถิ่นฐานในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกเข้ามาด้วย แม้ว่าในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ชาวยิวอัชเคนาซิจะเป็นจำนวนเพียง 3 เปอร์เซ็นต์ของประชากรชาวยิวทั้งโลก แต่เมื่อมาถึงปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและชาวยิวอัชเคนาซิ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวรัสเซีย

วรัสเซีย (русские) เป็นกลุ่มคนเผ่าพันธุ์สลาฟ ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศรัสเซีย โดยประชากรส่วนใหญ่พูดภาษารัสเซี.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและชาวรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอะลิวต์

วอะลิวต์ (Aleut people) เป็นชนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่บนหมู่เกาะอะลูเชียน ของรัฐอะแลสกา สหรัฐอเมริกา และแคว้นคัมชัตคา ประเทศรัสเซี.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและชาวอะลิวต์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวไอนุ

วไอนุ บ้างเรียก ไอโนะ ในญี่ปุ่นจะเรียกชาวไอนุโดยไม่จำแนกกลุ่มว่า อุตะริ เป็นชนพื้นเมืองบนเกาะฮกไกโดในประเทศญี่ปุ่น นักค้นคว้าเชื่อว่าชาวไอนุมีเชื้อสายคอเคซอย หรือชาวผิวขาว ซึ่งเป็นคนละเชื้อสายกับชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่ ทฤษฏีที่ว่านี้มาจากรูปลักษณ์ของชาวไอนุที่เป็นแบบผสมระหว่างชาวยุโรปและชาวเอเซีย แต่หลังจากการทดสอบทางดีเอ็นเอแล้วพบว่า ชาวไอนุไม่มีเชื้อสายชาวคอเคซอย รายงานบางฉบับกล่าวว่าชาวไอนุอยู่ในประเทศญี่ปุ่นมานานกว่าชาวญี่ปุ่น และในตำนานของชาวไอนุนั้นก็ได้กล่าวว่า "ชาวไอนุอยู่ที่นี่หลายแสนปีก่อนที่บุตรแห่งพระอาทิตย์จะมา" มีหลายทฤษฏีกล่าวถึงต้นกำเนิดของชาวไอนุ หากแต่ความจริงในเรื่องนี้ยังคงคลุมเครืออยู่มาก ไม่สามารถบอกได้ว่าชาวไอนุมาจากไหน อยู่ที่ฮกไกโดตั้งแต่เมื่อไหร่ หรือสืบเชื้อสายมาจากใคร ปัจจุบันชาวไอนุเป็นหนึ่งในกลุ่มคนที่มีฐานะยากจนมากที่สุดในญี่ปุ่น โดยมีชาวไอนุเพียงร้อยละ 17 ที่จบการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย ในจำนวนนี้มีเพียงครึ่งหนึ่งที่จบจากมหาวิทยาลัยในระดับประเทศ และรัฐบาลญี่ปุ่นได้รับรองว่าชาวไอนุเป็นชนพื้นเมืองของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและชาวไอนุ · ดูเพิ่มเติม »

ชโต? กเด? คอกดา?

ต? กเด? คอกดา? (Что? Где? Когда?, ทับศัพท์ Chto? Gde? Kogda?) หรือชื่อในภาษาไทย "อะไร? ที่ไหน? เมื่อไร?" เป็นรายการเกมโชว์เชาว์ปัญญาที่เป็นที่รู้จักกันดีในประเทศรัสเซียและรัฐในอดีตสหภาพโซเวียต ตั้งแต่กลางปี 1970 ปัจจุบันรายการผลิดโดย TV Igra ทาง ช่องหนึ่งรัสเซี.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและชโต? กเด? คอกดา? · ดูเพิ่มเติม »

ฟิโอดอร์ ดอสโตเยฟสกี

ฟีโอดอร์ มิคาอิลโลวิช ดอสโตเยฟสกี (ภาษารัสเซีย Фёдор Миха́йлович Достое́вский) (11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1821 - 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1881) เป็นนักเขียนที่ถือกันว่าเป็นหนึ่งในนักเขียนรัสเซียที่ยิ่งใหญ่ที่สุด งานของเขายังมีอิทธิพลอย่างลึกซึ้งต่อมาถึงนวนิยายในคริสต์ศตวรรษที่ 20 งานของเขามักจะมีตัวละครที่อาศัยอยู่อย่างแร้นแค้น มีความคิดที่แตกต่างและสุดโต่ง และมักจะแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจอย่างน่าประหลาดของจิตวิทยามนุษย์ และการวิเคราะห์อย่างฉลาดหลักแหลม ของสภาพการเมือง สังคม และจิตวิญญาณ ของประเทศรัสเซียในช่วงเวลาของเขา นวนิยายของเขาที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ พี่น้องคารามาซอฟ และ อาชญากรรมกับการลงทัณฑ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและฟิโอดอร์ ดอสโตเยฟสกี · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอุซเบกิสถาน

ฟุตบอลทีมชาติอุซเบกิสถาน (อุซเบก: Oʻzbekiston milliy futbol terma jamoasi / Ўзбекистон миллий футбол терма жамоаси; รัสเซีย: Национальная сборная Узбекистана по футболу) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศอุซเบกิสถาน อยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลอุซเบกิสถาน สนามเหย้าของทีมชาติคือสนามกีฬาบุนยอดกอร์ในทาชเคนต์ หัวหน้าผู้ฝึกสอนคนปัจจุบัน Timur Kapadze ซึ่งอยู่ในช่วงรักษาการ อุซเบกิสถานไม่เคยผ่านรอบคัดเลือกของฟุตบอลโลก แต่ผ่านรอบคัดเลือกของเอเชียนคัพทุกครั้งนับตั้งแต่ก่อตั้งทีมชาติ ผลงานที่สำคัญ ได้แก่ อันดับที่สี่ในเอเชียนคัพ 2011 และชนะเลิศเอเชียนเกมส์ 1994 และยังได้เข้าชิงแอโฟร-เอเชียนคัพออฟเนชันส์ใน..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและฟุตบอลทีมชาติอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์

ระเจ้าฟารูกที่ 1 แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فاروق الأول Fārūq al-Awwal) (11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1920-18 มีนาคม ค.ศ. 1965) กษัตริย์แห่งอียิปต์และซูดาน และองค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ แห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี โดยพระองค์ครองราชย์ต่อจากพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ พระราชบิดา ส่วนพระขนิษฐาของพระองค์ เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ ได้อภิเษกสมรสกับพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี เป็นราชินีแห่งอิหร่าน ก่อนเกิดการปฏิวัติอียิปต์ ค.ศ. 1952 ได้ทำการถอดพระองค์ออกจากราชสมบัติ แล้วยกพระราชโอรสของพระองค์เป็นกษัตริย์องค์ต่อมาพระนามว่า พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ แต่ปกครองได้เพียงปีเดียวรัฐบาลก็ได้ทำการล้มล้างราชวงศ์ เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบสาธารณรั.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พจนานุกรมกฎหมาย

แถวพจนานุกรมกฎหมายฉบับภาษาอังกฤษและภาษารัสเซีย พจนานุกรมกฎหมาย (law dictionary) เป็นพจนานุกรมประเภทหนึ่งซึ่งจัดทำขึ้นเพื่อให้นิยามสำหรับบรรดาคำที่ใช้ในทางกฎหมาย พจนานุกรมมีหลายรูปแบบแล้วแต่เกณฑ์การจัด เช่น เกณฑ์ภาษา ได้แก่ พจนานุกรมแบบเอกภาษา (monolingual) และแบบทวิภาษา (bilingual) เป็นต้น, เกณฑ์ความครอบคลุม ได้แก่ พจนานุกรมแบบครอบจักรวาล (single-field dictionary) ซึ่งครอบคลุมสาขาทั้งหมดในทางกฎหมาย ขณะอันซึ่งครอบคลุมบางสาขาจะเรียก พจนานุกรมแบบสาขาย่อย (sub-field dictionary), และเกณฑ์การกำหนดศัพท์ ได้แก่ แบบขั้นสูง (maximizing dictionary) คือที่กำหนดศัพท์ครอบคลุมทุกสาขาของกฎหมาย และแบบขั้นต่ำ (minimizing dictionary) เป็นต้น แซนโดร นีลเซน (Sandro Nielsen) ว่าใน ค.ศ. 1994 (พ.ศ. 2537) ว่า พจนานุกรมกฎหมายสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้หลายแขนง ทั้งช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจในบทบัญญัติที่ตนต้องการทำความเข้าใจด้วย เรียกว่าเป็นประโยชน์ในทางสื่อสาร (communicative benefit) และช่วยให้ผู้อ่านได้รับสารประโยชน์และความรู้ทางกฎหมายตามแต่ความสนใจ เรียกว่าเป็นประโยชน์ในทางเรียนรู้ (cognitive benefit) ซึ่งประโยชน์เหล่านี้มักปรากฏในพจนานุกรมกฎหมายแบบเอกภาษามากกว่า ขณะที่แบบทวิภาษานั้นมักประกอบด้วยคำศัพท์หรือคำอธิบายศัพท์ในสองภาษา อันจะช่วยยังความรู้เกี่ยวกับกฎหมายในภาษาต่างประเทศได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะเกี่ยวกับกฎหมายของต่างประเทศ ตลอดจนช่วยในการแปลกฎหมายจากภาษาหนึ่งเป็นภาษาหนึ่งด้วย อนึ่ง ตำราศัพทวิทยาทางกฎหมาย (legal terminology textbook) จะต่างจากพจนานุกรมกฎหมายซึ่งมีการเรียงคำศัพท์และให้คำอธิบายศัพท์ตามลำดับอักษร ตรงที่ตำราศัพทวิทยาจะลำดับศัพท์ตามหมวดหมู่หรือหัวเรื่องเป็นต้น ซึ่งผู้สนใจในคำศัพท์กฎหมายในหมวดหมู่หนึ่ง ๆ มักเปิดตำราศัพทวิทยาทางกฎหมายมากกว่าพจนานุกรมกฎหมาย สำหรับพจนานุกรมกฎหมายฉบับแรกของประเทศไทย คือ พจนานุกรมกฎหมายของ ขุนสมาหารหิตะคดี (โป๊ โปรคุปต์) ซึ่งมีคำโฆษณาบนปกว่า "พจนานุกรมกฎหมายเล่มแรกของประเทศไทย บรรจุคำตั้งแต่โบราณกาลถึงปัจจุบันกาล สำหรับความสะดวกในผู้ใคร่ศึกษาและผู้ต้องการทราบ" อย่างไรก็ดี ที่ว่า "ปัจจุบันกาล" บนปกนั้นหมายถึงกาลที่พจนานุกรมพิมพ์ขึ้น คือ พ.ศ. 2474 เท่านั้น แม้ว่าจะได้รับการพิมพ์ซ้ำเป็นครั้งที่สองใน พ.ศ. 2549 แต่พจนานุกรมฉบับนี้ยังมิได้รับการปรับปรุงนับแต่บัดนั้นจนบัดนี้ อย่างไรก็ดี ยังมีพจนานุกรมกฎหมายอีกหลายเล่มในภาษาไทยที่มีการปรับปรุงเสมอ เช่น พจนานุกรมศัพท์กฎหมายไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฯลฯ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและพจนานุกรมกฎหมาย · ดูเพิ่มเติม »

พีพีเอส-43

ีพีเอส (รัสเซีย: ППС - "Пистолет-пулемёт Судаева" or "Pistolet-pulemyot Sudayeva", in English: "Sudayev's submachine-gun") เป็นตระกูลปืนกลของสหภาพโซเวียต ใช้กระสุนขนาด7.62×25mm Tokarev, ออกแบบโดย Alexei SudayevWoźniak, Ryszard (ed.): Encyklopedia najnowszej broni palnej—tom 3 M-P, page 272.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและพีพีเอส-43 · ดูเพิ่มเติม »

พีซเมคเกอร์ หยุดนิวเคลียร์มหาภัยถล่มโลก

ำหรับวงดนตรีสัญชาติไทย ดูที่ พีซเมคเกอร์ สำหรับความหมายอื่น ดูที่ ระเบิดนิวเคลียร์ พีซเมคเกอร์ หยุดนิวเคลียร์มหาภัยถล่มโลก (The Peacemaker) ภาพยนตร์โลดโผนสัญชาติอเมริกัน ในปี ค.ศ. 1997.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและพีซเมคเกอร์ หยุดนิวเคลียร์มหาภัยถล่มโลก · ดูเพิ่มเติม »

กฎชัทแธมเฮ้าส์

ัทแธมเฮ้าส์ กฎชัทแธมเฮ้าส์ คือ ระบบการจัดโต้วาทีและการอภิปรายแบบคณะเกี่ยวกับประเด็นที่เป็นที่ถกเถียง ชื่อของกฎถูกตั้งตามสำนักงานใหญ่ของสถาบันกิจการต่างประเทศของสหราชอาณาจักร ซึ่งตั้งอยู่ที่ชัทแธมเฮ้าส์ เมืองลอนดอนตั้งแต่เดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและกฎชัทแธมเฮ้าส์ · ดูเพิ่มเติม »

กฎบัตรสหประชาชาติ

กฎบัตรสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)คือ ข้อตกลงที่บรรดาประเทศผู้ก่อตั้งและร่วมเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติได้ให้สัตยาบันเข้าผูกพัน โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และหลักการ ตลอดจนกระบวนการดำเนินงานและบริหารงานต่างๆ ขององค์การสหประชาชาติ ถือเป็นกฎหมายระหว่างประเทศและเป็นตราสารก่อตั้งที่สถาปนาองค์การให้เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ ด้วยเหตุนี้ องค์การสหประชาชาติจึงก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) ซึ่งเป็นวันที่ประเทศจีน ประเทศฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา และประเทศอื่นๆ ได้มีการให้สัตยาบันต่อกฎบัตรสหประชาชาติ โดยทุกประเทศที่เป็นสมาชิกสหประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามกฎบัตรสหประชาชาติอย่างเคร่งครัด ยกเว้นเพียงแต่นครรัฐวาติกันที่เป็นประเทศผู้สังเกตการณ์ซึ่งเป็นข้อยกเว้น.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและกฎบัตรสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษามอร์ดวินิก

กลุ่มภาษามอร์ดวินิก (Mordvinic languages) เป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษายูราลิก ประกอบด้วยภาษาที่มีลักษณะใกล้เคียงกันคือภาษาเอิร์สยาและภาษามอคชา ทั้งสองภาษานี้เคยถูกจัดเป็นภาษาเดียวกันในชื่อภาษามอร์ดวิน", แต่ปัจจุบันยกระดับขึ้นเป็นกลุ่มของภาษา เพราะทั้งสองภาษานั้นมีความแตกต่างทางด้านสัทวิทยา รากศัพท์และไวยากรณ์ ผู้พูดภาษามอคชาและภาษาเอิร์สยาไม่สามารถเข้าใจกันได้ทั้งหมด และนิยมใช้ภาษารัสเซียในการสื่อสารระหว่างกลุ่ม ทั้งสองภาษานี้ต่างมีระบบการเขียนเป็นของตนเอง โดยระบบการเขียนของภาษาเอิร์สยาเริ่มเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและกลุ่มภาษามอร์ดวินิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาสลาวิก

ประเทศที่มกลุ่มภาษาสลาวิกใต้เป็นภาษาประจำชาติ กลุ่มภาษาสลาวิก เป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มภาษาบัลโต-สลาวิก ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน กลุ่มภาษาสลาวิกเป็นภาษาแม่ของชาวสลาฟ ซึ่งส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในยุโรปตะวันออกและคาบสมุทรบอลข่าน แก้ไข กลุ่มภาษาสลาวิก.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและกลุ่มภาษาสลาวิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาจีน

ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและกลุ่มภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาคอเคเซียน

กลุ่มภาษาคอเคเซียน (Caucasian languages)เป็นกลุ่มภาษาใหญ่ที่มีผู้พูดมากกว่า 10 ล้านคนในบริเวณเทือกเขาคอเคซัสของยุโรปตะวันออกและเอเชียตะวันตกซึ่งอยู่ระหว่างทะเลดำกับทะเลสาบแคสเปียน นักภาษาศาสตร์จัดแบ่งภาษาในบริเวณนี้ออกเป็นหลายตระกูล ภาษาบางกลุ่มไม่พบผู้พูดนอกบริเวณเทือกเขาคอเคซัสจึงเรียกว่ากลุ่มภาษาคอเคซั.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและกลุ่มภาษาคอเคเซียน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเตอร์กิก

กลุ่มภาษาเตอร์กิกเป็นกลุ่มของภาษาที่แพร่กระจายจากยุโรปตะวันออก ผ่านทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปถึงไซบีเรียและจีนตะวันตก และจัดเป็นส่วนหนึ่งของสมมติฐานตระกูลภาษาอัลไตอิก กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 180 ล้านคน ถ้ารวมผู้ที่พูดเป็นภาษาที่สองด้วยมีราว 200 ล้านคน ส่วนใหญ่เป็นผู้พูดภาษาตุรกี ซึ่งคิดเป็น 40%ของผู้พูดกลุ่มภาษานี้ทั้งหม.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและกลุ่มภาษาเตอร์กิก · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยนาก

กล้วยนาก (Red bananas) เป็นสายพันธุ์ของกล้วยที่เปลือกสีแดงคล้ำ ลูกเล็กกว่ากล้วยหอมเขียว เนื้อเมื่อสุกเป็นสีเหลืองครีมหรือสีเหลืองอมชมพู นิ่มและหวานกว่ากล้วยพันธุ์อื่นในกลุ่มคาเวนดิช แหล่งปลูกอยู่ในแอฟริกาตะวันออก เอเชีย อเมริกาใต้ และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นที่นิยมในอเมริกากลาง.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและกล้วยนาก · ดูเพิ่มเติม »

กอสต์ยาอิซบูดูเชโว

กอสต์ยาอิซบูดูเชโว (Гостья из будущего, Gostya iz budushchevo) เป็นมินิซีรีส์โทรทัศน์แนวไซไฟสำหรับเด็กจากสหภาพโซเวียต ผลิตโดยกอร์กีฟิล์มสตูดิโอ ออกอากาศครั้งแรกในปี 1985 โดยได้เค้าโครงจากนวนิยายเรื่อง ซโตเลตโตมูวเปริออด (Сто лет тому вперёд, Sto let tomu vperod) ของ Kir Bulychov มินิซีรีส์นำแสดงโดย Natalya Guseva ซึ่งรับบทเป็น Alisa Selezneva เด็กสาวจากโลกอนาคต ซึ่งได้เดินทางท่องเที่ยวโลกปัจจุบัน และ Aleksei Fomkin รับบทเป็น Kolya Gerasimov เด็กหนุ่มที่ใช้ชีวิตในปี 1984 และเดินทางท่องเที่ยวโลกอนาคตปี 2084 กอสต์ยาอิซบูดูเชโว ถือเป็นมินิซีรีส์ที่ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งใหญ่ในสหภาพโซเวียต และมีการออกอากาศซ้ำในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและกอสต์ยาอิซบูดูเชโว · ดูเพิ่มเติม »

การก

การก ของคำนามหรือสรรพนามจะแสดงหน้าที่ทางไวยากรณ์ของคำนั้น ๆ ในประโยค เช่น ประธาน กรรมตรง กรรมรอง สถานที่ ฯลฯ โดยทั่วไปแล้ว ภาษาที่ 'มีการก' จะหมายถึงภาษาที่มีการเปลี่ยนแปลงวิภัตติเพื่อแสดงการก เช่น ภาษาบาลี ภาษารัสเซีย เยอรมัน ละติน ฯลฯ แต่หลาย ๆ ภาษาก็ใช้วิธีการอื่นเพื่อแสดงการก เช่น การใช้บุพบท หรือการลำดับคำในประโยค เป็นต้น นอกจากคำนามและสรรพนามแล้ว คำนำหน้านามและคุณศัพท์ก็มักจะแสดงการกเช่นกัน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและการก · ดูเพิ่มเติม »

การากุม

ทะเลทรายการากุม ทะเลทรายการากุม (เติร์กเมน: Garagum, รัสเซีย: Каракумы, คาซัค: 'Қарақұм') ในภาษาเตอร์กิก ชื่อทะเลทรายมีความหมายว่า ทะเลทรายดำ เป็นทะเลทรายในเอเชียกลาง ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของทะเลอารัล มีเนื้อที่ประมาณ 350,000 กม² ครอบคลุมพื้นที่ 70% ของประเทศเติร์กเมนิสถาน มีประชากรอยู่อาศัยบางตา มีค่าเฉลี่ย 1 คนต่อพื้นที่ 6.5 กม² และมีฝนตกน้อย ค่าเฉลี่ย 70 ถึง 150 มม.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและการากุม · ดูเพิ่มเติม »

การถอดเสียง

การถอดเสียง หรือ การทับศัพท์แบบถ่ายเสียง (Transcription) เป็นระบบในการเขียนเสียงพูดของมนุษย์จากภาษาหนึ่ง เป็นเป็นระบบตัวอักษรในอีกภาษาหนึ่งตามกฎที่วางไว้ เพื่อให้คงเสียงของภาษาต้นฉบับ การถอดเสียงนี้จะแตกต่างกับการทับศัพท์แบบถอดอักษร ซึ่งเปลี่ยนระบบตัวอักษรจากภาษาหนึ่งไปเป็นอีกภาษาหนึ่ง เพื่อให้คงรูปของตัวอักษรมากที่สุดที่เป็นไปได้ เช่นการถอดอักษรซีริลลิกเป็นอักษรละตินสำหรับภาษารัสเซีย (เช่นชื่อ "เลนิน" ในอักษรซีริลลิก Ленин และอักษรละติน Lenin) แม้กระนั้น การถอดเสียงและการถอดอักษรบางครั้งจะถูกใช้ผสมกันซึ่งพบได้ทั่วไปสำหรับการเขียนชื่อที่มาจากภาษาอื่น มาตรฐานที่ใช้ในการทับศัพท์ได้แก่ สัทอักษรสากล และ แซมปา ตารางด้านล่าง แสดงตัวอย่างของการทับศัพท์ โดยมี การทับศัพท์แบบถอดอักษร และสัทอักษรสากลกำกั.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและการถอดเสียง · ดูเพิ่มเติม »

การถอดเป็นอักษรโรมัน

ษาต่าง ๆ สามารถถอดเป็นอักษรโรมันโดยวิธีการต่าง ๆ ที่ไม่เหมือนกันก็ได้ เช่นภาษาจีนกลางที่แสดงอยู่นี้ ในทางภาษาศาสตร์ การถอดเป็นอักษรโรมัน (Romanisation) คือการถอดคำพูดหรือคำเขียนที่ใช้ระบบการเขียนต่าง ๆ เป็นอักษรโรมัน (ละติน) โดยสำหรับคำเขียนใช้การทับศัพท์ สำหรับคำพูดใช้การถอดเสียง ซึ่งสามารถแบ่งเป็นสองประเภทย่อยได้อีก คือการถอดเสียงตามหน่วยเสียง (phoneme) และ การถอดเสียงให้สอดคล้องกับการออกเสียง (phonetic).

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและการถอดเป็นอักษรโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์

ตัวอย่างหนึ่งของการเปรียบเทียบอักษรเพื่อการทับศัพท์ จากอักษรซีริลลิกไปเป็นอักษรละติน การทับศัพท์ หรือ การปริวรรต คือ การถอดอักษร หรือแปลงข้อความจากระบบการเขียนหรือภาษาหนึ่งไปสู่อีกระบบหนึ่งอย่างมีหลักการ เพื่อให้สามารถเขียนคำในภาษาต่างประเทศด้วยภาษาและอักษรในภาษานั้น ๆ ได้สะดวก เช่น การทับศัพท์ภาษาอังกฤษซึ่งเขียนด้วยอักษรโรมัน มาเป็นอักษรไทยเพื่อใช้ในภาษาไทย หรือการทับศัพท์ภาษาไทย ไปเป็นอักษรโรมันเพื่อใช้ในภาษาอังกฤษ เป็นต้น ส่วนมากใช้กับวิสามานยนาม อาทิ ชื่อบุคคล สถานที่ หรือชื่อเฉพาะที่ไม่สามารถแปลความหมายเป็นภาษาอื่นได้โดยสะดวก.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและการทับศัพท์ · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษารัสเซีย

การเขียนคำทับศัพท์ภาษารัสเซีย เป็นการเขียนคำทับศัพท์ภาษารัสเซียนี้ เป็นหลักการทั่วไปที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน สำหรับศัพท์บางคำที่มีการอ่านออกเสียงผิดไปจากปรกติ ให้ถือการทับศัพท์ตามการออกเสียงของคำนั้น.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและการทับศัพท์ภาษารัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก

การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit ย่อว่า EAS) เป็นการประชุมสุดยอดของผู้นำประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก จำนวน 16 ประเทศ โดยมีกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นศูนย์กลาง.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

การ์เมน

การ์เมน (Carmen) เป็นอุปรากรภาษาฝรั่งเศสจำนวน 4 องก์ ที่แต่งโดยฌอร์ฌ บีแซ (1838-1875) ดัดแปลงจากนวนิยายในชื่อเดียวกันของพรอสแพร์ เมอริมี (1803-1870) ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากโคลงภาษารัสเซียชื่อ The Gypsies (1824) ของอะเล็กซานเดอร์ เซอร์เยวิช พุชกิน (1799-1837) ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1845 โดยแปลงจากภาษารัสเซียเป็นภาษาฝรั่งเศส อุปรากรเรื่องการ์เมนออกแสดงรอบปฐมทัศน์เมื่อวันที่ 3 มีนาคม ค.ศ. 1875 ที่โรงอุปรากรออเปรากอมิก (Opéra Comique) ปารีส ในระยะแรกถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักจนเกือบถูกถอดออกจากรอบการแสดง แม้จะมีการแจกจ่ายตั๋วเข้าชมการแสดงออกไปโดยผู้ชมไม่ต้องเสียเงิน ก็ยังไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควร จนกระทั่งฌอร์ฌ บีแซ เสียชีวิตอย่างกะทันหันด้วยอาการหัวใจวายเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน ค.ศ. 1875 ด้วยวัยเพียง 36 ปี ในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและการ์เมน · ดูเพิ่มเติม »

การโอนผ่านยุคหลังโซเวียตของยูเครน

การโอนผ่านยุคหลังโซเวียตของยูเครน เป็นยุคโอนผ่านระหว่าง การประกาศเอกราชของยูเครนจากสหภาพโซเวียตในปี 1991 จนถึงการประกาศใช้ รัฐธรรมนูญ ในปี 1996 โดยหลังจากที่รัฐธรรมนูญประกาศใช้ ประเทศมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการคือ "ยูเครน" แทนที่ "สาธารณรัฐยูเครน".

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและการโอนผ่านยุคหลังโซเวียตของยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

กาเลวาลา

กาเลวาลา (Kalevala, Kalewala) เป็นบทกวีมหากาพย์ ซึ่งนักปรัชญาชาวฟินแลนด์ เอเลียส เลินน์รูต เรียบเรียงขึ้นจากลำนำพื้นบ้านในภาษาฟินแลนด์และภาษาคาเรเลียในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 บทกวีนี้ได้รับยกย่องให้เป็นมหากาพย์แห่งประเทศฟินแลนด์ และเป็นงานวรรณกรรมชิ้นสำคัญที่สุดของประวัติศาสตร์ฟินแลนด์ มีส่วนสำคัญในการกระตุ้นจิตวิญญาณของพลเมือง ทำให้ฟินแลนด์สามารถแยกตัวเป็นเอกราชจากรัสเซียได้สำเร็จในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและกาเลวาลา · ดูเพิ่มเติม »

กูเกิล แปลภาษา

กูเกิลแปลภาษา (Google Translate) เป็นบริการแปลภาษาหลายภาษาด้วยเครื่องจักรโดยไม่คิดค่าบริการของบริษัทกูเกิล กูเกิลแปลภาษามีลักษณะไม่เหมือนกับบริการแปลอื่น ๆ เช่น Babel Fish, AOL, ยาฮู! ที่ใช้ SYSTRAN ขณะที่กูเกิลใช้ซอฟต์แวร์การแปลของตนเอง แต่อย่างไรก็ตามคู่แข่งทางการค้าเจ้าใหญ่อย่างบริษัท ไมโครซอฟท์ ได้มีผลิตภัณฑ์ที่ใกล้เคียงกันมากมาลงแข่งขันด้วย ซึ่งมีชื่อว่า Bing Translator.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและกูเกิล แปลภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ก็อตซิลล่า อสูรพันธุ์นิวเคลียร์ล้างโลก

ก็อตซิลล่า อสูรพันธุ์นิวเคลียร์ล้างโลก ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดเรื่อง Godzilla นำแสดงโดย แมทธิว บรอดเดอริค, ฌอง เรโน, เวอร์จิเนีย แมดเซ่น, แฮงค์ อซาเรีย, แฮร์รี่ เชียเรียร์ กำกับการแสดงโดย โรแลนด์ เอมเมอริช อำนวยการสร้างโดย โรแลนด์ เอมเมอริช และ ดีน เดฟลิน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและก็อตซิลล่า อสูรพันธุ์นิวเคลียร์ล้างโลก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชูวัช

ษาชูวัช (ภาษาชูวัช: Чӑвашла, Čăvašla, สัทอักษร:; อาจสะกดเป็น Chăvash, Chuwash, Chovash, Chavash, Çuvaş หรือ Çuaş) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใช้พูดในบริเวณเทือกเขายูรัลทางตอนกลางของรัสเซีย เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐชูวัชในประเทศรัสเซีย มีผู้พูดราว 2 ล้านคน เขียนด้วยอักษรซีริลลิก ภาษาที่มีอิทธิพลต่อภาษาชูวัชได้แก่ ภาษาตาตาร์ ภาษากลุ่มฟินโน-อูกริก ภาษารัสเซีย ภาษามารี ภาษามองโกเลีย ภาษาอาหรับ และภาษาเปอร์เซีย แต่โบราณ ภาษาชูวัชเขียนด้วยอักษรออร์คอน เปลี่ยนเป็นอักษรอาหรับเมื่อเข้ารับอิสลาม เมื่อถูกยึดครองโดยมองโกเลีย ระบบการเขียนได้หายไป อักษรแบบใหม่ถูกประดิษฐ์ขึ้นโดย อีวาน ยาคอฟเลวิช ยาคอฟเลฟ ใน..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาชูวัช · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบูโครี

ภาษาบูโครี เป็นภาษาตระกูลอินโด-อิหร่าน ชื่ออื่นของภาษานี้คือภาษาทาจิก-เปอร์เซียของชาวยิว เป็นภาษาของชาวยิวในบูคาราน ภาษาบูโครีได้รับอิทธิพลจากภาษาเปอร์เซียคลาสสิก โดยมีคำยืมจากภาษาฮีบรูเป็นจำนวนมาก รวมทั้งคำยืมจากภาษาในบริเวณข้างเคียงเช่น ภาษารัสเซียและภาษาอุซเบก เป็นภาษาที่ใช้สื่อสารกับชาวทาจิก ปัจจุบันมีชาวยิวที่พูดภาษานี้ 10,000 คนในอุซเบกิสถาน และมีอยู่ในอิสราเอลราว 50,000 คน เขียนด้วยอักษรฮีบรู สถานีวิทยุ Kol Israel (קול ישראל) กระจายเสียงด้วยภาษาบูโครี บูโครี บูโครี บูโครี.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาบูโครี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชูเลียม

ภาษาชูเลียม (ภาษารัสเซีย: Чулымский язык)เป็นภาษาที่พูดโดยชาวชูเลียมซึ่งเรียกตนเองว่า Ös ภาษานี้มีหลายสำเนียง แต่บางสำเนียงกลายเป็นภาษาตายไปแล้ว มีผู้พูดอยู่ในรัสเซีย บริเวณไซบีเรียกลาง ทางเหนือของเทือกเขาอัลไต บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำชูเลียม ผู้พูดทั้งหมดใช้ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่สอง ชูเลียม.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาชูเลียม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ

international auxiliary language (มักย่อในภาษาอังกฤษเป็น IAL หรือ auxlang หรืออาจเรียกว่า interlanguage) คือภาษาที่ช่วยในการสื่อสารระหว่างคนจากหลากหลายประเทศ ที่ไม่ได้ใช่ภาษาแม่ร่วมกัน โดยมีหลายภาษาที่ถือว่าเข้าข่าย ในอดีตเช่น ภาษากรีก ภาษาละติน และในปัจจุบันเช่น ภาษาจีนมาตรฐาน ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย ภาษาสเปน ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ เป็นต้น แต่เนื่องจากภาษาเหล่านี้เกี่ยวข้องกับการเอาชนะทางวัฒนธรรม การเมือง และเศรษฐกิจของประเทศเจ้าของภาษา บางคนจึงต้องการให้มีภาษาประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นมาเป็นพิเศษเป็นทางออกของปัญหานี้ โดยภาษาประดิษฐ์ที่มักถูกกล่าวถึงคือ ภาษาเอสเปรันโต ภาษาอินเทอร์ลิงกวา และภาษาอิดอ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามอคชา

ษามอคชา (ภาษามอคชา; mokshanj kälj) เป็นภาษาที่ใช้พูดทางตะวันตกของสาธารณรัฐมอร์โดเวียและบริเวณใกล้เคียง คือ แคว้นเปนซา แคว้นรีซาน แคว้นตัมบอฟ แคว้นซาราตอฟ แคว้นซามารา แคว้นโอเรนบุร์ก สาธารณรัฐตาตาร์สถาน สาธารณรัฐบัชคอร์โตสถาน ไซบีเรีย และภาคตะวันออกไกลของประเทศรัสเซีย และยังพบในประเทศอาร์มีเนียและสหรัฐอเมริกาด้วย มีผู้พูดราว 500,000 คน ภาษามอคชาเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาเออร์เซียและภาษารัสเซียในสาธารณรัฐมอร์โดเวีย จัดอยู่ในภาษากลุ่มฟินโน-ยูกริก สาขาฟินโน-วอลกาอิก มีความใกล้เคียงกับเออร์เซีย แต่มีความแตกต่างกันบ้างในด้านหน่วยเสียง คำศัพท์ และไวยากรณ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษามอคชา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามองโกเลีย

ษามองโกเลีย เป็นภาษาทางการของประเทศมองโกเลีย และเป็นภาษาหลักของชาวมองโกเลียส่วนใหญ่ ซึ่งคนพูดส่วนใหญ่จะพูดแบบคอลคา (Khalkha) นอกจากนี้ ภาษามองโกเลียก็พูดในพื้นที่รอบนอกในบางมณฑลของสาธารณรัฐประชาชนจีนและสหพันธรัฐรัสเซีย ภาษามองโกเลีย เป็นภาษารูปคำติดต่อคล้ายภาษาตุรกีหรือภาษาฟินน์ มีการเติมปัจจัยที่รากศัพท์ ภาษามองโกเลียมีเพียงสรรพนามบุรุษที่หนึ่งและสอง แต่ไม่มีบุรุษที่สาม แต่ใช้สรรพนามชี้เฉพาะ เช่น นี่ (en) นั่น (ter) นี่ทั้งหลาย (ed nar) และนั่นทั้งหลาย (ted nar) แทน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษามองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามารี

ษามารี (марий йылме) เป็นภาษากลุ่มฟินโน-อูกริก สาขาวอลกานิก มีผู้พูดราว 600,000 คนในประเทศรัสเซีย ส่วนใหญ่อยุ่ในสาธารณรัฐมารีอิเอล และบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำโวลกาซึ่งอยู่ทางตะวันออกของเทือกเขายูรัลและในตาตาร์สถาน อุดมูร์ต และเปียร์ม มีสำเนียงหลักสองสำเนียงคือ สำเนียงมารีตะวันตกหรือฮิลกับสำเนียงตะวันออกหรือเมียดาว มีความแตกต่างกันมากและสำเนียงตะวันออกใช้แพร่หลายกว่า เป็นภาษาราชการคู่กับภาษารัสเซียในสาธารณรัฐมารีอิเอล.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษามารี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายักโนบี

ษายักโนบี (ชื่ออื่นๆคือ Yaghnabi, Yagnobi หรือ Yagnabi. - yaγnobī́ zivók (ในภาษาทาจิกเขียนด้วยอักษรซีริลลิกเป็น яғнобӣ зивок), ภาษารัสเซีย ягнобский язык /jagnobskij jazyk/, ภาษาทาจิก забони яғнобӣ /zabon-i yaġnobî/, ภาษาเปอร์เซีย زبان یغنابى /zæbān-e yæġnābī/, ภาษาออสเซติก ягнобаг æвзаг /jagnobag ævzag/, ภาษาเยอรมัน Jaghnobisch, Czech jaghnóbština, ภาษาสโลวัก jagnóbčina, ภาษายูเครน ягнобська мова /jahnobs’ka mova/, ภาษาโปแลนด์ jagnobski język) เป็นภาษากลุ่มอิหร่านตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้พูดโดยชาวยักโนบีในหุบเขาทางเหนือของแม่น้ำยักนอบในเขตซาราฟซาน ประเทศทาจิกิสถาน จัดว่าเป็นลุกหลานของภาษาซอกเดี.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษายักโนบี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายูฮูรี

ษายูฮูรี(Juhuri) หรือภาษาตัตของชาวยิว (Judæo-Tat) หรือ ภาษายูวูรี (Juwuri; çuhuri / жугьури / ז'אוּהאוּראִ) เป็นรูปแบบหนึ่งของภาษาตัต และเป็นภาษาพื้นเมืองในบริเวณตะวันออกของเทือกเขาคอเคซัสโดยเฉพาะอาเซอร์ไบจานและดาเกสถาน รวมทั้งในอิสราเอล ภาษานี้ใกล้เคียงกับภาษาเปอร์เซีย อยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้ ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาที่ใกล้เคียงกันคือภาษาตัตของชาวมุสลิมในอาเซอร์ไบจาน คำว่ายูฮูรีและยูฮูโรแปลตรงตัวหมายถึงของยิว และชาวยิว ภาษายูฮูรีนี้มีลักษณะของกลุ่มภาษาเซมิติกปนอยู่มาก มีเสียง "ayin" (ע) ซึ่งภาษาในบริเวณนั้นไม่มีเสียงนี้.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษายูฮูรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายูเครน

ภาษายูเครน (украї́нська мо́ва, ukrayins'ka mova) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกตะวันออก เป็นภาษาทางการของยูเครน ระบบการเขียนใช้อักษรซีริลลิก และใช้คำร่วมกับภาษาของประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะภาษาเบลารุส ภาษาโปแลนด์, ภาษารัสเซีย และภาษาสโลวัก ซึ่งมีลักษณะคล้ายๆ กัน หมวดหมู่:ภาษาในประเทศยูเครน ยูเครน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษายูเครน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลัก

ษาลัก (лакку маз, lakku maz) เป็นภาษาที่พูดในสาธารณรัฐดาเกสตัน ที่อยู่ในประเทศรัสเซีย มีผู้พูดประมาณ 120,000 คน ก่อนปี พ.ศ. 2471 ภาษาลักใช้อักษรอาหรับในการเขียน ต่อมาได้เปลี่ยนมาใช้อักษรละตินเป็นเวลาประมาณ 10 ปี และหลังจาก พ.ศ. 2481 ได้ใช้อักษรซีริลลิกในการเขียน คำในภาษาลักจำนวนมากเป็นคำยืมมาจากภาษาตุรกี ภาษาเปอร์เซีย และภาษารัสเซี.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาลัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอราเมอิกใหม่โบห์ตัน

ษาอราเมอิกใหม่โบห์ตัน เป็นภาษาอราเมอิกหรือภาษาซีเรียคยุคใหม่ เริ่มแรกใช้พูดในที่ราบโบห์ตัน จังหวัดเซอร์นัก (Şırnak) ทางตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี แต่ปัจจุบันส่วนใหญ่ใช้พูดในจอร์เจีย ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 มีผู้พูดภาษานี้ 30,000 คน ในที่ราบโบห์ตัน ส่วนใหญ่เป็นชาวคริสต์นิกายอัสซีเรียที่ใช้สำเนียงเหนือของภาษาอราเมอิกใหม่คัลเดีย แต่มีลักษณะอนุรักษนิยมมากกว่าสำเนียงมาตรฐานอัลควอช ความสับสนอลหม่านในตุรกีตะวันออกหลังสงคราม ทำให้ชาวคริสต์ต้องอพยพออกไป ชาวคริสต์ในโบห์ตันอพยพไปอยู่ในจอร์เจียที่ห่างออกไป 530 กม.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาอราเมอิกใหม่โบห์ตัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาออสซีเชีย

หนังสือภาษาออสซีเชียตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2478 ใช้อักษรละติน กลุ่มชาติพันธ์แบ่งตามภาษาในเทือกเขาคอเคซัส ภาษาออสซีเชีย (Ossetic/Ossetian/Ossete language) เป็นภาษากลุ่มอิหร่านใช้พูดในแถบออสซีเชียแถบเทือกเขาคอเคซัส โดยนอร์ทออสซีเชียอยู่ในรัสเซีย ส่วนเซาท์ออสซีเชียอยู่ในจอร์เจีย มีผู้พูดภาษานี้ราว 500,000 คน ภาษานี้มี 35 หน่วยเสียง เป็นพยัญชนะ 26 เสียง สระเดี่ยว 7 เสียง สระประสม 2 เสียง เขียนด้วยอักษรซีริลลิก ในช่วง..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาออสซีเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอิดอ

ษาอิดอ (Ido) เป็นภาษาประดิษฐ์ สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นภาษาสากลในการช่วยสื่อสารระหว่างผู้คนเชื้อชาติต่าง ๆ โดยได้สร้างให้มีรูปแบบไวยากรณ์ที่ง่ายและเป็นไปตามกฎโดยไม่มีข้อยกเว้น ซึ่งแตกต่างจากภาษาอื่น ๆ และไม่ให้คล้ายกับภาษาธรรมชาติภาษาใดมากเกินไปเพื่อไม่ให้เกิดความได้เปรียบในการเรียนรู้ภาษาอิดอ ภาษาอิดอได้เริ่มมีการพัฒนาในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 ดัดแปลงมาจากภาษาเอสเปรันโต โดยมีการปรับปรุงข้อบกพร่องต่าง ๆ ของภาษาเอสเปรันโตให้ดีขึ้น และได้นำออกมาใช้งานใน พ.ศ. 2450 โดยองค์การภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ และได้รับการสนับสนุนจากผู้พูดภาษาเอสเปรันโตราว 20% ภาษาอิดอใช้อักษรละติน 26 ตัวเช่นเดียวกับภาษาอังกฤษ ให้สังเกตว่าตัวอักษร q จะต้องตามหลังด้วยตัวอักษร u เสมอ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาอิดอ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอุยกูร์

ษาอุยกูร์ เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก พูดโดยชาวอุยกูร์ในเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ประเทศจีน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาอุยกูร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอุซเบก

ษาอุซเบก (อักษรละติน: O'zbek tili ออซเบก ติลี; อักษรซีริลลิก: Ўзбек) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่พูดโดยชาว อุซเบกในประเทศอุซเบกิสถานและพื้นที่อื่น ๆ ในเอเชียกลาง ภาษาที่ใกล้เคียงที่สุดในเชิงคำและไวยากรณ์คือภาษาอุยกูร์ ภาษาเปอร์เซียและภาษารัสเซียได้มีอิทธิพลสำคัญต่อภาษาอุซเบก ภาษาอุซเบกเป็นภาษาราชการของประเทศอุซเบกิสถาน และมีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 18.5 ล้านคน ภาษาอุซเบกก่อนปีพ.ศ. 2535 เขียนด้วยอักษรซีริลลิก แต่ในปัจจุบีนมีการใช้อักษรละตินเขียนในประเทศอุซเบกิสถาน ส่วนชาวจีนที่พูดภาษาอุซเบกใช้อักษรอาหรับเขียน อิทธิพลของศาสนาอิสลามรวมถึงภาษาอาหรับแสดงชัดเจนในภาษาอุซเบก รวมถึงอิทธิพลของภาษารัสเซียในช่วงที่ประเทศอุซเบกิสถานอยู่ภายใต้การยึดครองของจักรวรรดิรัสเซีย และ โซเวียต คำภาษาอาหรับส่วนใหญ่ผ่านเข้ามายังภาษาอุซเบกผ่านทางภาษาเปอร์เซีย ภาษาอุซเบกแบ่งเป็นภาษาย่อย ๆ จำนวนมาก ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมากระหว่างภูมิภาค อย่างไรก็ดี มีภาษาย่อยที่เข้าใจกันทั่วไป ซึ่งใช้ในสื่อมวลชนและในสิ่งตีพิมพ์ส่วนใหญ่ นักภาษาศาสตร์บางคนถือว่าภาษาที่พูดในประเทศอัฟกานิสถานตอนเหนือโดยชาวอุซเบกพื้นเมือง เป็นภาษาย่อยของภาษาอุซเบก.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรู

ษาฮีบรู (Modern Hebrew, อิฟริท) เป็นภาษาเซมิติก (Semitic) ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afro–Asiatic) เป็นภาษาที่เก่าแก่ โดยมีอายุมาอย่างน้อยตั้งแต่ 3,500 ปีที่แล้ว ในอดีต เคยเป็นภาษาตาย เหมือนดั่งภาษาบาลี สันสกฤต และละติน โดยใช้เป็นภาษาที่ใช้เพียงแต่ในวงจำกัด หนังสือต่างทางศาสนา และสถานที่ทางศาสนาเท่านั้น แต่ปัจจุบัน มีการกลับมาใช้เป็นภาษาพูดใหม่ และเป็นภาษาที่ชาวอิสราเอลใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน โดยภายในในอิสราเอล มีผู้พูดมากกว่า 4,380,000 คน ซึ่งเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอาหรับ นอกอิสราเอล ภาษาฮีบรูยังมีผู้พูดอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งโดยมากเป็นชุมชนชาวยิว ทะนัค (Tanakh) หรือพระคัมภีร์เก่า (The Old Testament) ของศาสนายิว เขียนไว้ด้วยภาษาฮีบรู ซึ่งถือว่าเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ (לשון הקודש Leshon ha-Kodesh: เลโชน ฮา-โกเดช) ของชาวยิวตั้งแต่สมัยโบราณ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ระบุว่าหลัง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นยุคที่จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ทำลายกรุงเยรูซาเลมและอพยพชาวยิวไปยังบาบิโลนและพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นไท ภาษาฮีบรูในแบบที่เขียนในพระคัมภีร์เก่า ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮีบรูใหม่และภาษาแอราเมอิกที่ใช้ในท้องถิ่นนั้น หลังจากพุทธศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันเข้ายึดครองกรุงเยรูซาเล็ม และอพยพชาวยิวออกไป ภาษาฮีบรูเริ่มใช้เป็นภาษาพูดน้อยลงแต่ยังคงเป็นภาษาทางศาสนาและภาษาในการเขียน หลังจากเยรูซาเล็มถูกชาวบาบิโลนทำลายครั้งแรก 586 ปีก่อนคริสตกาล ภาษาอย่างในพระคัมภีร์เก่าเริ่มถูกแทนที่ด้วยคำในลักษณะใหม่ หลังจากจำนวนประชากรของชาวยิวในบางส่วนของจูเดีย (Judea) ลดลง ภาษาฮีบรูเลิกใช้เป็นภาษาพูดราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 แต่ยังคงเป็นภาษาเขียนที่สำคัญต่อเนื่องมาตลอดหลายศตวรรษ นอกจากจะใช้ในศาสนาแล้ว งานเขียนสำหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ เช่น เขียนตำรา จดหมาย ปรัชญา การแพทย์ บทกวี บันทึกศาล ล้วนใช้ภาษาฮีบรู ซึ่งได้เข้ากับวงความรู้และคำเฉพาะใหม่ ๆ โดยคำยืมและคำประดิษฐ์ใหม่ ภาษาฮีบรูยังคงถูกรักษาไว้ในฐานะภาษาเขียนโดยชุมชนชาวยิวทั่วโลก จนกระทั่งมีการตั้งลัทธิไซออนนิสต์เพื่อฟื้นฟูชาติยิว สมาชิกไซออนนิสต์ส่งเสริมให้มีการแทนที่ภาษาพูดของชาวยิวในขณะนั้น เช่นภาษาอาหรับ ภาษาจูเดสโม (Judezmo, ภาษาลาดิโน Ladino ก็เรียก) ภาษายิดดิช ภาษารัสเซีย และภาษาอื่น ๆ ของชาวยิวที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ เป็นภาษาของศาสนายิวส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรู มีการสร้างคำใหม่โดยยืมจากภาษาฮีบรูในไบเบิลหรือจากภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก รวมทั้งภาษาในยุโรป เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาเยอรมัน ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาราชการของปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทาจิก

ษาทาจิก (Tajik Persian หรือ Tajik language หรือ Tajiki;Tadjik หรือ Tadzhik;,อักษรอาหรับเปอร์เซีย تاجیکی‎, tojikī โทจิกิ),тоҷикӣ) เป็นรูปแบบสมัยใหม่แบบหนึ่งของภาษาเปอร์เซีย ที่พูดในเอเชียกลาง เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ใน กลุ่มภาษาอิเรเนียน คนที่พูดภาษาทาจิกส่วนใหญ่อาศัยในประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน และตะวันตกของปากีสถาน แต่ผู้พูดภาษาทาจิกประมาณ 30,000 คน ใกล้ชายแดนประเทศทาจิกิสถานในประเทศจีน) เป็นภาษาราชการของประเทศทาจิกิสถาน ภาษาทาจิก ที่เป็นภาษาราชการของทาจิกิสถาน ต่างจากภาษาเปอร์เซียที่ใช้พูดในอิหร่านและอัฟกานิสถาน ซึ่งเป็นผลมาจากการแบ่งแยกดินแดนทางการเมือง การแบ่งแยกทางภูมิศาสตร์และการจัดมาตรฐานทางภาษา รวมทั้งอิทธิพลของภาษารัสเซียและภาษากลุ่มเตอร์กิกที่อยู่รอบๆ มาตรฐานของภาษานี้ยึดตามสำเนียงตะวันตกเฉียงเหนือของทาจิกิสถานซึ่งเป็นเมืองเก่าของซามาร์คันฑ์ และได้รับอิทธิพลจากภาษาอุซเบกด้วย ภาษาทาจิกมีหน่วยคำในคำศัพท์ การออกเสียงและไวยากรณ์ซึ่งไม่มีในภาษาเปอร์เซียที่พูดในที่อื่น ซึ่งน่าจะเป็นมาจากการที่ถูกแบ่งแยกโดยภูมิศาสตร์เขตเทือกเขาของเอเชียกลาง.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาทาจิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคัลมึค

ษาคัลมึค (Kalmyk language; Хальмг келн) จัดอยู่ในกลุ่มย่อยโอยรัต-คัลมึค-ดาร์คัต ของภาษากลุ่มมองโกล มีลักษณะบางส่วนคล้ายกับภาษากลุ่มยูราลิกและภาษาอุยกูร์ จนอาจจัดให้อยู่ในตระกูลตระกูลภาษาอัลไตอิกหรือยูราล-ตระกูลภาษาอัลไตอิกได้ มีผู้พูด 500,000 คนในสาธารณรัฐคัลมืยคียา (ระหว่างวอลกาและแม่น้ำดอน) ของรัสเซีย ในภาคตะวันตกของจีน และภาคตะวันตกของมองโกเลีย วรรณคดีพื้นบ้านของภาษาคัลมึคย้อนหลังไปได้ถึงพุทธศตวรรษที่ 16 ภาษาคัลมึคเขียนด้วยอักษรอุยกูร์เมื่อพุทธศตวรรษที่ 16 ต่อมาใน..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาคัลมึค · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคากัส

ษาคาดัสเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกและเป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐคากัสเซียในรัสเซีย ที่อยู่ทางภาคกลางตอนใต้ของไซบีเรียใช้พูดโดยชาวคากัสที่ส่วนใหญ่อยู่ทางใต้ของสาธารณรัฐคากัส ไซบีเรีย หรือคากัสเซียในรัสเซีย มีชาวคากัสที่พูดภาษานี้ราว 60,168 คน ส่วนใหญ่พูดภาษารัสเซียได้ด้วย ภาษาคากัสแบ่งได้เป็นหลายสำเนียงตามเผ่าย่อยต่างๆ หลักฐานการศึกษาภาษาคากัสเริ่มเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 24 โดยนักภาษาศาสตร์ชาวฟินแลนด์ Matthias Castren ผู้ที่เดินทางไปในเอเชียตอนเหนือและตอนกลางระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาคากัส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคีร์กีซ

ษาคีร์กีซ (Kyrgyz Language; Кыргыз тили, Kyrgyz tili; قىرعىز تىلى) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภาษาราชการของประเทศคีร์กีซสถานคู่กับภาษารัสเซีย มีผู้พูด 7 ล้านคน ในคีร์กีซสถาน จีน อัฟกานิสถาน คาซัคสถาน ทาจิกิสถาน ตุรกี อุซเบกิสถาน ปากีสถานและรัสเซีย เขียนด้วยอักษรซีริลลิกดัดแปลงในคีร์กีซสถาน และอักษรอาหรับดัดแปลงในจีน เคยเขียนด้วยอักษรละตินในช่วง..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาคีร์กีซ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตาตาร์

ษาตาตาร์ เป็นภาษากลุ่มเติร์ก ตระกูลยูราล-อัลไตอิก พูดโดยชาวตาตาร์ จัดเป็นภาษารูปคำติดต่อ มีผู้พูดในบางส่วนของยุโรป รัสเซีย ไซบีเรีย จีน ตุรกี โปแลนด์ ยูเครน ฟินแลนด์ และเอเชียกลาง เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐตาตาร์สถาน เขียนด้วยอักษรซีริลลิกโดยมีอักษรเฉพาะที่ไม่ได้ใช่ในภาษากลุ่มสลาวิก.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาตาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตูวัน

ษาตูวัน (ภาษาตูวัน: тыва дыл tyva dyl), เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก มีผู้พูด 200,000 คนในสาธารณรัฐตูวา ในไซบีเรียกลางตอนใต้ มีคำยืมจากภาษามองโกเลียและภาษารัสเซียมาก มีชาวตูวันกลุ่มเล็กๆอยู่ในจีนและมองโกเลียด้ว.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาตูวัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษานาไน

ษานาไน (Nanai) เป็นภาษาที่ใช้พูดโดยชาวนาไนในไซบีเรีย และมีบางส่วนอยู่ในประเทศจีน มีผู้พูดทั้งหมดราว 5,772 คน จากชาวนาไนทั้งหมด 11,000 คน ผู้พูดภาษานี้โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่จะพูดภาษาจีนหรือภาษารัสเซียได้ด้วย และใช้เป็นภาษาสำหรับการติดต่อสื่อสาร.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษานาไน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแบชเคียร์

ษาแบชเคียร์ (Bashkir language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ในรัสเซียมากกว่า 1,047,000 คน เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาแบชเคียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแกน

ภาษาแกน (อังกฤษ: pivot language) เป็นภาษาประดิษฐ์หรือภาษาธรรมชาติที่ใช้เป็นภาษาตัวกลางสำหรับการแปล การใช้ภาษาแกนช่วยลดความจำเป็นที่จะต้องมีผู้แปลสำหรับทุก ๆ คู่ภาษา ข้อด้อยของภาษาแกนก็คือ ในแต่ละขั้นของการแปลซ้ำนั้น อาจทำให้เกิดข้อผิดพลาดและความกำกวมใหม่ ๆ ภาษาอังกฤษ, ฝรั่งเศส, รัสเซีย, และอาหรับ มักจะถูกใช้เป็นภาษาแกน ยูเอ็นแอลเป็นภาษาประดิษฐ์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นภาษาแกนโดยเฉพาะ ภาษาเอสเปรันโตถูกใช้เป็นภาษาแกนในโครงการ Distributed Language Translation และใน หมวดหมู่:ภาษา หมวดหมู่:การแปล.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาแกน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโคมิ

ษาโคมิ เป็นภาษาของชาวโคมิทางตะวันตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรปในสหพันธรัฐรัสเซีย จัดอยู่ในตระกูลฟินโน-ยูกริก สาขาฟินโน-เปอร์มิก ภาษาโคมิมีสำเนียงต่างๆมากมาย ที่เป็นที่รู้จักกันดีมีสองสำเนียงคือ สำเนียงโคมิ-ไซเรียน ซึ่งเป็นกลุ่มใหญ่ที่สุด ใช้เป็นภาษาเขียนในสาธารณรัฐโคมิ และสำเนียงโคมิ-ยัซวา ซึ่งมีผู้พูดน้อยกว่า อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเขตเปิร์มและทางใต้ของสาธารณรัฐโคมิ สำเนียง เปอร์มืกหรือโคมิ-เปอร์มืก ใช้พูดในเขตโคมิ-เปอร์มืกซึ่งใช้เป็นภาษาเขียนด้ว.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาโคมิ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโครยอ-มาร์

ษาโครยอ-มาร์ (ฮันกึล: 고려말; Корё маль; ภาษาเกาหลีมาตรฐาน: 중앙아시아 한국어, ความหมาย ภาษาเกาหลีเอเชียกลาง) เป็นภาษาถิ่นหนึ่งของภาษาเกาหลีที่ใช้พูดโดยชาวโครยอ-ซารัม กลุ่มชาติพันธุ์เกาหลีที่อาศัยอยู่ในพื้นที่อดีตสหภาพโซเวียต ซึ่งชาวเกาหลีกลุ่มนี้มีบรรพบุรุษอาศัยในเขตฮัมกยอง ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศเกาหลีเหนือ แต่ภาษานี้เข้าใจได้ยากเมื่อใช้พูดคุยกับภาษาเกาหลีมาตรฐาน ซึ่งอาจเป็นเพราะภาษาโครยอ-มาร์รับคำยืมจากภาษารัสเซีย และชาวโครยอ-ซารัมก็นิยมที่ใช้ภาษารัสเซียเป็นภาษาแม่ มากกว่าใช้ภาษาโครยอ-มาร์เอง.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาโครยอ-มาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโปแลนด์

ษาโปแลนด์ (język polski, polszczyzna) คือภาษาทางการของประเทศโปแลนด์ ภาษาโปแลนด์เป็นภาษาหลักของแขนงเลกิติกของภาษากลุ่มสลาวิกตะวันตก มีต้นกำเนิดมาจากพื้นที่ของโปแลนด์ ในปัจจุบันจากภาษาท้องถิ่นต่างๆ โดยเฉพาะที่พูดใน Greater Poland และ Lesser Poland ภาษาโปแลนด์เคยเป็นภาษากลาง (lingua franca) ในพื้นที่ต่างๆ ของยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก เนื่องจากอิทธิพลทางการเมือง วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ และการทหารของเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย ในปัจจุบันภาษาโปแลนด์ไม่ได้ใช้กันกว้างขวางเช่นนี้ เนื่องจากอิทธิพลของภาษารัสเซีย อย่างไรก็ดี ยังมีคนพูดหรือเข้าใจภาษาโปแลนด์ในพื้นที่ชายแดนทางตะวันตกของยูเครน เบลารุส และลิทัวเนีย เป็นภาษาที่สอง อักษรที่ใช้ในภาษาโปแลน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโนไก

ษาโนไก หรือภาษาตาตาร์ โนไก เป็นภาษาที่ใช้พูดทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัสเซีย แบ่งได้เป็นสำเนียงหลักสามสำเนียงคือ Qara-Nogay (โนไกเหนือหรือโนไกดำ), ใช้พูดในดาเกสถาน Nogai Proper, ใช้พูดใน Stavropol; และ Aqnogay (โนไกตะวันตกหรือโนไกขาว), ใช้พูดในบริเวณแม่น้ำกูบัน Qara-Nogay และNogai Proper มีลักษณะทางภาษาศาสตร์ใกล้เคียงกันแต่ Aqnogay มีลักษณะที่ต่างออกไป จัดอยู่ในภาษากลุ่มเคียปชัก-โนไก ของภาษากลุ่มเตอร์กิก สาขาเคียปชัก เช่นเดียวกับภาษาตาตาร์ ไครเมีย ภาษาการากัลปัก และภาษาคีร์กีซ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาโนไก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไซเทีย

ษาซามาร์เทียหรือภาษาไซเทีย เป็นสำเนียงของภาษากลุ่มอิหร่านตะวันออก ใช้พูดโดยชาวไซเทียหรือซามาร์เทียในรัสเซียภาคใต้ระหว่าง 257 ปีก่อนพุทธศักราชจนถึง..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาไซเทีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเบงกาลี

ษาเบงกาลี (বাংলা, บังคลา) เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรของประเทศบังคลาเทศ และรัฐเบงกอลตะวันตกในประเทศอินเดีย ที่ติดกับบังคลาเทศ นอกจากนี้ยังมีชุมชนของคนที่พูดภาษาเบงกอลที่ใหญ่พอควรในรัฐอัสสัม (อีกรัฐในอินเดีย ติดกับทั้งรัฐเบงกอลตะวันตกและประเทศบังคลาเทศ) และในประชากรที่อพยพไปทางตะวันตกและตะวันออกกลาง รูปแบบมาตรฐานของภาษานี้เรียกว่า cholit bhaashaa: จลิตภาษา เป็นภาษาย่อยที่พูดกันมากที่สุด มีแบบมาจาก "Calcutta Bengali" (ภาษาเบงกอลที่พูดในเมืองกัลกัตตา) ในประเทศบังกลาเทศ เขียนด้วยอักษรเบงกาลี ในภาษาอังกฤษ Bengali ใช้เรียกทั้งภาษาและคนที่พูดภาษานี้ ในภาษาเบงกาลีเองเรียกภาษาว่า Bangla: บังคลา (বাঙলা), ซึ่งเป็นคำที่เริ่มใช้มากขึ้นในภาษาอังกฤษ ส่วนในภาษาบังคลา ชาวเบงกอลเรียกว่า Bangali: บางกาลี (বাংলা) ถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมเนียมของชาวเบงกาลีเรียกว่า Bengal: เบงกอล ในภาษาอังกฤษ และ Bongo: บองโก Banga: บางกา หรือ Bangla: บังคลา ในภาษาเบงกาลี "Bangadesh: บางกาเทศ" และ "Bangladesh: บังคลาเทศ" เป็นคำที่ใช้เรียกภูมิภาคของชาวเบงกอลก่อนที่จะมีการแยกเป็นสองส่วน คือ เบงกอลตะวันตก (West Bengal หรือ Poshchim Bongo: ปอจิม บองโก หรือ ประจิมบังกา) ซึ่งได้กลายเป็นรัฐของอินเดีย และส่วนตะวันออก (เบงกอลตะวันออก: East Bengal หรือ Purbo Bongo: ปูร์โบ บองโก หรือ บูรพาบังกา) กลายเป็นประเทศบังคลาเทศ เนื่องจากมีผู้ใช้ภาษาเบงกาลีมากกว่า250ล้านคนทั่วโลก ชีค ฮาซินา วาเจด นายกรัฐมนตรีบังกลาเทศ เสนอเมื่อ เดือนกันยายน..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาเบงกาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเชเชน

ษาเชเชน เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐเชเชน (เชชเนีย) ในรัสเซีย มีผู้พูดราว 1.2 ล้านคน คำศัพท์ส่วนมากเป็นคำยืมจากภาษารัสเซีย ภาษาตุรกี ภาษาคาลมึกซ์ ภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอลานิกหรือภาษาออสเซติกอยู่ในภาษากลุ่มคอเคซัส จัดอยู่ในภาษากลุ่มนัขร่วมกับภาษาอิงกุซและภาษาบัตส์ ทั้งหมดนี้อยู่ในภาษากลุ่มคอเคเซียนตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีเพียงภาษาอิงกุซและภาษาเชเชนที่เข้าใจกันได้.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาเชเชน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเอเวนค์

ษาเอเวนค์ (Evenki language) เป็นกลุ่มของภาษาที่ใหญ่ที่สุดในภาษากลุ่มตุงกูซิกเหนือ เป็นกลุ่มที่รวมภาษาเอเวนและภาษาเนกีดัล ใช้พูดโดยชาวเอเวนค์ในรัสเซีย มองโกเลีย และจีน ใน..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาเอเวนค์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปอร์เซีย

ษาเปอร์เซีย หรือ ฟาร์ซี (فارسی Farsi, ฟอร์ซี ชื่อท้องถิ่นใน ประเทศอิหร่าน และประเทศอัฟกานิสถาน), ทาจิก (Tajik, ภาษาย่อยในเอเชียกลาง) หรือ ดารี (Dari ชื่อท้องถิ่นในประเทศอัฟกานิสถาน) เป็นภาษาที่พูดใน ประเทศอิหร่าน ประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศบาห์เรน และประเทศอุซเบกิสถาน เป็นภาษาทางการใน 3 ประเทศแรกที่กล่าวไว้ คนที่พูดเป็นภาษาแม่มีอยู่ประมาณ 75 ล้านคน เป็นสมาชิกของภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เป็นชนิดประธาน กรรม กร.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและภาษาเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

มรดกของเลโอนิด เบรจเนฟ

วามเข้าใจอย่างเต็มรูปแบบเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของสหภาพโซเวียตและสหพันธรัฐรัสเซีย อิทธิพลของเลโอนิด เบรจเนฟเป็นหนึ่งในสิ่งสำคัญในประวัติศาสตร์ เขาเป็นทั้งเลขาธิการคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์ (CPSU) และประมุขแห่งรัฐสหภาพโซเวียต เลโอนิด เบรจเนฟ เป็นเลขาธิการคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและมรดกของเลโอนิด เบรจเนฟ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ

ทางเข้ามหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ 2 มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ (សាកលវិទ្យាល័យភូមិន្ទភ្នំពេញ สากลวิทฺยาลัยภูมินฺทภฺนํเพญ; Royal University of Phnom Penh หรือ RUPP) เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดและใหญ่ที่สุด มหาวิทยาลัยมีจำนวนนักศึกษา ซึ่งมีอยู่ประมาณ 12,000 คน ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยตั้งอยู่ที่กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา และยังเป็นสมาชิกของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน นอกจากหลักสูตรระดับปริญญาที่ครอบคลุมในสาขาต่างๆ อาทิ เช่น วิทยาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ แล้วมหาวิทยาลัยยังมีหลักสูตรวิชาชีพ เปิดสอนในสาขา เทคโนโลยีสารสนเทศ อิเล็กทรอนิกส์ จิตวิทยา และการท่องเที่ยว นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ ยังมีหลักสูตรทางภาษาต่างประเทศที่มีชื่อเสียง เปิดสอนในสถาบันภาษาต่างประเทศ ของมหาวิทยาลัยอีกด้วย มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ มีเจ้าหน้าที่เต็มเวลาอยู่ 420 คน คณาจารย์ 294 คน ซึ่งมีวุฒิระดับปริญญาเอก 15 คน ปริญญาโท 132 คน เจ้าหน้าที่ทางด้านธุรการและซ่อมบำรุง 140 คน นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังเป็นจุดเชือมต่อกันระหว่างบุคลากรจากองค์การพัฒนาเอกชน (NGOs) ทั้งในและต่างประเทศ, ระหว่างมหาวิทยาลัยต่างๆ และ กระทรวงต่างๆ จึงทำให้ทางมหาวิทยาลัยมีบุคลากรแบบไม่เต็มเวลาจากองค์กรเหล่านี้อีกเป็นจำนวนมาก มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญมีค่าเล่าเรียนแต่ละหลักสูตรระดับปริญญาตรีอยู่ที 250 ถึง 450 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี แล้วแต่หลักสูตร.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและมหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ · ดูเพิ่มเติม »

มอลเดเวีย

มอลเดเวีย (Moldavia) หรือ มอลดอวา (Moldova) เป็นภูมิภาคทางภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์และอดีตราชรัฐในยุโรปตะวันออกที่อยู่ในบริเวณดินแดนระหว่างเทือกเขาอีสเทิร์นคาร์เพเทียนกับแม่น้ำนีสเตอร์ เดิมเป็นรัฐอิสระต่อมาเป็นรัฐที่ปกครองตนเองที่รุ่งเรืองระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 14 จนถึง..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและมอลเดเวีย · ดูเพิ่มเติม »

มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)

วมองโกล หรือ ชาวมองโกเลีย เป็นกลุ่มชนหนึ่งที่อาศัยอยู่ในประเทศมองโกเลีย และ เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ของประเทศจีน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและมองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

มัษนาวี

มัษนาวี เอกสารจาก พ.ศ. 2033 จากตุรกี มัษนาวี ลายมือเขียนภาษาเปอร์เซียที่ชิราซ พ.ศ. 2022 มัษนาวี เป็นงานชิ้นเอกของเมาลานา ญะลาลุดดิน มุฮัมมัด รูมี กวีเอกแห่งเปอร์เซีย ซึ่งใช้เวลาในการประพันธ์นานถึง 43 ปี ชาวอิหร่านได้ชื่นชมกวีนิพนธ์เรื่องนี้มากจนเรียกว่าอัลกุรอ่านในภาษาเปอร์เซีย เนื้อหาเป็นแก่คำสอนที่สำคัญในลัทธิซูฟี ประกอบด้วยหนังสือ 6 เล่มใหญ่ แต่ละเล่มจะมีเรื่องย่อยๆ ที่อธิบายถึงความหมายทางจิตวิญญาณที่เป็นความผูกพันระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า มีการแปลออกเป็นภาษาอื่นๆมากมายเช่น ภาษาอังกฤษ ภาษารัสเซีย ภาษาอูรดู.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและมัษนาวี · ดูเพิ่มเติม »

มังกรสลาวิค

เซนต์จอร์จกับมังกรในตราประจำกรุงมอสโก ในปุราณวิทยาของชาวสลาฟ คำว่า “zmey” (บัลแกเรีย และ รัสเซีย: змей, змеj) บางที่อาจเรียก zmiy (żmij) และ zmaj (เซอร์เบีย และ บอสเนีย: змај, สโลวีเนีย โครเอเชีย: zmaj) เป็นคำที่ใช้เรียก มังกร และในคำสลาวิคคำนี้อาจจะหมายถึงสัตว์ในวงค์ตระกูล "งู" ใน ประเทศโรมาเนีย คำว่ามังกรสลาวิค ได้มีการเรียกแบบลั้นว่า zmeu และในเรื่องปรัมปราของเบลารุสและโปแลนด์ รวมถึงเรื่องราวปรัมปราอื่น ๆ ของชาวสลาฟ มังกรจะถูกเรียกว่า smok (смок), tsmok (цмок) หมวดหมู่:มังกร หมวดหมู่:เรื่องปรัมปรารัสเซีย หมวดหมู่:เรื่องปรัมปราบัลแกเรีย หมวดหมู่:เรื่องปรัมปราสโลวีเนีย.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและมังกรสลาวิค · ดูเพิ่มเติม »

มารี กูว์รี

มารี สกวอดอฟสกา-กูว์รี (Marie Skłodowska-Curie) มีชื่อแต่แรกเกิดว่า มาเรีย ซาลอแมอา สกวอดอฟสกา (Marya Salomea Skłodowska;; 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2410 - 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2477) เป็นนักเคมีผู้ค้นพบรังสีเรเดียม ที่ใช้ยับยั้งการขยายตัวของมะเร็ง ซึ่งเป็นโรคร้ายที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่มีอัตราการตายของคนไข้เป็นอันดับหนึ่งมาทุกยุคสมัย ด้วยผลงานที่มีความสำคัญต่อมนุษยชาติเหล่านี้ ทำให้มารี กูว์รีได้รับรางวัลโนเบลถึง 2 ครั้งด้วยกัน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและมารี กูว์รี · ดูเพิ่มเติม »

มาทรอสกา

มาทรอสกามัลติมีเดียคอนเทนเนอร์ (Matroska Multimedia Container) เป็นการเข้ารหัสไฟล์ประเภท วิดีโอ โดยเป็นการเปลี่ยนแปลงไฟล์จาก แผ่นวิดีโอ มาเป็นไฟล์เดียว ชื่อภาษาอังกฤษ มาทรอสกา (Matroska) แผลงมาจาก มาตริออชคา (матрёшка) ในภาษารัสเซีย หมายถึงตุ๊กตาแม่ลูกดก.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและมาทรอสกา · ดูเพิ่มเติม »

มิสรัสเซีย

มิสรัสเซีย (Мисс Россия) เป็นการประกวดนางงามในประเทศรัสเซีย เริ่มจัดขึ้นตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและมิสรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์ยูเครน

'''Nadiya Karplyuk''' – มิสแกรนด์ยูเครน 2014 '''Anastasiia Lenna''' – มิสแกรนด์ยูเครน 2015 '''Marina Kushnir''' – มิสแกรนด์ยูเครน 2016 ซึ่งได้ตำแหน่งจากการประกวดควีนออฟยูเครน 2016 แต่ไม่ได้เข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 เนื่องจากมีการเปลี่ยนตัวผู้ดำรงตำแหน่ง '''Veronika Mykhailyshyn''' – ควีนออฟยูเครน 2016 ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง '''มิสแกรนด์ยูเครน 2016''' แทน '''Marina Kushnir''' มิสแกรนด์ยูเครน (Miss Grand Ukraine) เป็นตำแหน่งในการประกวดนางงามระดับประเทศของยูเครน ซึ่งจะต้องเป็นตัวแทนของประเทศเข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล โดยในปัจจุบัน ผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์ยูเครนจะมาจากการประกวด ควีนออฟยูเครน โดยการประกวดดังกล่าวใช้ระบบการคัดเลือกหาตัวแทนของแต่ละจังหวัด เพื่อเข้าร่วมการประกวดในระดับประเทศ โดยจะถือว่าผู้ที่ชนะการประกวด ควีนออฟยูเครน ในแต่ละปี เป็นผู้ดำรงตำแหน่ง มิสแกรนด์ยูเครน ผู้ถือลิขสิทธิ์การจัดหาผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์ยูเครนในปัจจุบัน คือ Natalia Kovaleva ผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์ยูเครนคนแรก คือ Nadiya Karplyuk จากจังหวัดโวลิน และได้เข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014 และสามารถผ่านเข้าสู่รอบ 20 คนสุดท้ายได้สำเร็จ ส่วนผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์ยูเครนคนปัจจุบัน คือ Snizhana Tanchuk จากจังหวัดลวีฟ ซึ่งได้รับตำแหน่งจากการประกวดควีนออฟยูเครน 2017 เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและมิสแกรนด์ยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

มืย เบลารูซืย

มืย เบลารูซืย (Мы, беларусы; Мы, белорусы, "เรา, ชาวเบลารุส") เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการของเพลงชาติเบลารุส และและเป็นวรรคแรกที่ปรากฏอยู่ในเพลงนี้ ชื่ออย่างเป็นทางการคือ เพลงชาติสาธารณรัฐเบลารุส (Дзяржаўны гімн Рэспублікі Беларусь; Государственный гимн Республики Беларусь) เดิมเพลงนี้ประพันธ์ขึ้นและเริ่มใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2498 ในฐานะเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตไบโลรัสเซีย ทำนองโดยเนียสต์เซียร์ ซาคาโลว์สกี (Niescier Sakałoŭski) เนื้อร้องโดยมีคัส คลิมโควิช (Mikhas Klimkovich) หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ทำนองของเพลงเดิมที่ซาคาโลว์สกีแต่งไว้นั้นยังคงใช้อยู่ แต่เนื้อร้องเดิมถูกยกเลิกไป และมีการใช้เนื้อร้องใหม่ ซึ่งประพันธ์โดยมีคัส คลิมโควิช และอูลัดซีมีร์ คารึซนืย (Uladzimir Karyzny) ตามคำสั่งของประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเบลารุส ลงวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 ซึ่งเนื้อร้องดังกล่าวนี้ มีเนื้อหาถึงความเป็นมิตรของชาวเบลารุส การยกย่องถึงการสู้รบเพื่อชาติในอดีต และความมุ่งหวังต่ออนาคตในวันหน้า ส่วนทำนองนั้นยังคงความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์ของเบลารุสไว้.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและมืย เบลารูซืย · ดูเพิ่มเติม »

ยูริ อาร์บาชาค็อฟ

ูริ อาร์บาชาค็อฟ (Yuri Arbachakov, รัสเซีย: Юрий Яковлевич Арбачаков) อดีตแชมป์โลกฟลายเวท WBC ชาวรัสเซีย เชื้อสายมองโกล เกิดเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2509 ที่เมืองเคเมโรโว ประเทศรัสเซีย โดยเป็นนักมวยสากลอาชีพชาวรัสเซียคนแรกที่ได้ครองตำแหน่งแชมป์โลก.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและยูริ อาร์บาชาค็อฟ · ดูเพิ่มเติม »

ยูล บรีนเนอร์

ูล บอริสโซวิช บรีนเนอร์ (11 กรกฎาคม ค.ศ. 1911 - 10 ตุลาคม ค.ศ. 1985) นักแสดงละครบรอดเวย์และภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดชาวรัสเซีย ที่มีชื่อเสียงในสหรัฐอเมริกา เป็นที่จดจำจากบทบาทการแสดงเป็นคิงมงกุฏ ในละครบรอดเวย์ และภาพยนตร์ ของริชาร์ด ร็อดเจอร์ส และออสการ์ แฮมเมอร์สไตน์ที่ 2 เรื่อง เดอะคิงแอนด์ไอ บทฟาโรห์รามเสสที่สอง ในภาพยนตร์ บัญญัติสิบประการ และบทคาวบอย ในภาพยนตร์ เจ็ดสิงห์แดนเสือ ยูล บรีนเนอร์ เกิดที่วลาดิวอสต็อก รัสเซีย มีชื่อจริงว่า Yuliy Borisovich Brynner (รัสเซีย: Юлий Бори́сович Бри́ннер) บิดาเป็นชาวสวิส มารดาเป็นชาวรัสเซีย หลังจากบิดามารดาแยกทางกัน ยูลและน้องสาวอยู่กับมารดา และย้ายไปอยู่ที่เมืองฮาร์บิน ประเทศจีน และย้ายไปอยู่ที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและยูล บรีนเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัชเชียนอเมริกา

รัชเชียนอเมริกา (Русская Америка, Russkaya Amerika) เป็นอาณานิคมของจักรวรรดิรัสเซีย ในอเมริการะหว่างปี 1733 ถึงปี 1867 อาณานิคมนี้ในปัจจุบันครอบคลุมดินแดนแคลิฟอร์เนีย,และอะแลสกาและสองท่าเรือในฮาวายของสหรัฐอเมริกาอาณานิคมนี้อยู่ในความดูเลของบริษัทรัชเชียนอเมริกาก่อนจะถูกขายให้สหรัฐอเมริกาในการซื้ออะแลสกาด้วยราคา7.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (หรือ $120 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ตามค่าเงินในปี 2013) ในปี 1867.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและรัชเชียนอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลาม

รัฐสมาชิกขององค์การฯ แสดงด้วยสีเขียว รัฐสังเกตการณ์แสดงด้วยสีแดง และรัฐที่ถูกคัดค้านแสดงด้วยสีน้ำเงิน องค์การความร่วมมืออิสลามที่ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและรัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสหภาพรัสเซียและเบลารุส

หภาพรัฐแห่งรัสเซียและเบลารุส (Союзное государство России и Беларуси;Саюзная дзяржава Расіі і Беларусі),หรือเรียกสั่นๆว่า สหภาพรัฐ (Союзное государство; Саюзная дзяржава) คือสหภาพการเมือง-สหภาพเศรษฐกิจร่วมกันระหว่างสหพันธรัฐรัสเซียและสาธารณรัฐเบลาร.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและรัฐสหภาพรัสเซียและเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

รัมสไตน์

รัมสไตน์ (Rammstein) เป็นวงดนตรีเยอรมันแนว นอยเอดอยท์เชแฮร์เตและ อินดัสเทรียลเมทัล ก่อตั้งวงที่ เบอร์ลินในปี 1994 ประกอบด้วยสมาชิก Till Lindemann (ร้องนำ), Richard Z. Kruspe (กีตาร์ลีด และร้องประสาน), Paul H. Landers (กีตาร์ริทึม, ร้องประสาน), Oliver "Ollie" Riedel (กีตาร์เบส), Christoph "Doom" Schneider (กลองและเพอร์คัชชันอีเลกทรอนิกส์) และ Christian "Flake" Lorenz (คีย์บอร์ด) พวกเขาได้รับการยอมรับว่าเป็นส่วนหนึ่งของแนว Neue Deutsche Härte ร่วมกับวงอย่าง Oomph!, Eisbrecher, และ Die Krupps แนวเพลงพวกเขายังได้รับขนานนามว่า Tanz-Metal (หรือ "แดนซ์เมทัล") เพลงส่วนใหญ่จะเป็น ภาษาเยอรมัน แต่ก็ร้องเป็นภาษาอื่นด้วยอย่าง ในภาษาอังกฤษ ("Amerika", "You Hate", "Angel"; เพลงเก่าของดีเพชเชโมด ที่ชื่อ "Stripped" และเพลงของเดอะราโมนส์ "Pet Sematary"), ภาษาสเปน ("Te quiero puta!"), ภาษารัสเซีย ("Moskau", "Lied von der unruhevollen Jugend"), และภาษาฝรั่งเสส ("Amour") นอกจากนี้วงยังมีชื่อเสียงในเรื่องของการแสดงบนเวที ที่นำพุไฟ มาใช้ในการแสดงสดอีกด้วย ปัจจุบัน รัมสไตน์มียอดจำหน่ายอัลบั้มรวมแล้วกว่า 35 ล้านชุดทั่วโลก นับเป็นวงสัญชาติเยอรมันที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด รองแต่เพียงวงสกอร์เปียนส์ หรือถ้านับไม่นับวงสกอร์เปียนส์ เพราะถือเป็นวงที่ร้องเพลงภาษาอังกฤษเป็นหลัก รัมสไตน์ก็จะเป็นวงที่ร้องเพลงเยอรมันที่ประสบความสำเร็จมากที.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและรัมสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

รัสเซีย (แก้ความกำกวม)

รัสเซีย (Russia) เป็นประเทศในทวีปยุโรปและเอเชีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย รัสเซีย ยังอาจหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและรัสเซีย (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

รัสเซีย-1

รัสเซีย-1 (รัสเซีย: Россия-1) เป็นสถานีโทรทัศน์ในการกำกับของรัฐบาลรัสเซียภายใต้บรรษัทกิจการวิทยุโทรทัศน์แห่งสหพันธรัฐรัสเซีย (รัสเซีย: Всероссийская государственная телевизионная и радиовещательная компания) หรือ VGTRK (รัสเซีย: ВГТРК) เริ่มออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2534 โดยสืบทอดคลื่นความถี่การออกอากาศจากสถานีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งสหภาพโซเวียต ช่องรายการรวมสหภาพช่อง 2 โดยแรกเริ่มออกอากาศในชื่อ Russian Television (รัสเซีย: Российское телевидение) ก่อนเปลี่ยนชื่อเป็น RTR (รัสเซีย: РТР) และ รัสเซีย (รัสเซีย: Россия) ตามลำดับ โดยชื่อปัจจุบันเริ่มใช้ในปี พ.ศ. 2553 รายการที่ออกอากาศ เน้นรายการข่าว (ภายใต้ตราสินค้ารายการข่าว "เวสติ" (รัสเซีย: Вести)) โดยมีข่าวภาคหลักออกอากาศในเวลา 20:00 น. นอกจากนี้ยังมีช่วงเวลารายการภูมิภาคในชื่อ "เมสโนสเวรียเมีย" (รัสเซีย: Местное время) รวมถึงรายการบันเทิงต่างๆอีกด้วย รัสเซีย-1 เริ่มออกอากาศคู่ขนานด้วยระบบโทรทัศน์ความละเอียดสูงผ่านโทรทัศน์ดาวเทียมในชื่อ รัสเซีย-1 เอชดี เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ซึ่งรายการทุกรายการของรัสเซีย-1 ซึ่งออกอากาศคู่ขนานกัน ยกเว้นโฆษณาคั่นรายการซึ่งจะแยกออกจากกัน ทั้งนี้ สำหรับรัสเซีย-1 ในระบบความคมชัดมาตรฐานยังคงออกอากาศในอัตราส่วน 4:3 และในวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2560 รัสเซีย-1 จะดำเนินการปรับอัตราส่วนจอในการออกอากาศเป็น 16:9.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและรัสเซีย-1 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐฟินแลนด์

ราชรัฐฟินแลนด์ (Suomen suuriruhtinaskunta, Storfurstendömet Finland, Великое княжество Финляндское) เป็นpredecessor state (รัฐก่อน) ของฟินแลนด์ยุคใหม่ ในช่วงระหว่างปี 1809 ถึงปี 1917 โดยอยู่ภายใต้การปกครองโดยจักรวรรดิรัสเซีย โดยที่ จักรพรรดิรัสเซีย เป็น แกรนด์ดยุกแห่งฟินแลนด์ซึ่งมีสถานะเทียบเท่าพระมหากษัตริย์แห่งฟินแลน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและราชรัฐฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษา

รายชื่อภาษาต่าง ๆ ทั่วโลกเรียงตามลำดับตัวอักษร.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1

ตารางนี้ประกอบด้วยรหัสทั้งหมดของ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและรายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวันสำคัญของรัสเซีย

รายชื่อวันสำคัญของรัสเซีย ชาวรัสเซียชื่นชอบวันหยุดเฉลิมฉลองมาก โดยชาวรัสเซียร่วมเฉลิมฉลองวันสำคัญอื่น ๆ ของชาวโลกเช่นกัน เช่น วันวาเลนไทน์ วันคริสต์มาส (ทั้งคาทอลิกและออร์ธอดอกซ์) วันเมษาหน้าโง่ วันฮาโลวีน ฯลฯ วันหยุดของรัสเซียหากตรงกับวันหยุดสุดสัปดาห์ก็จะมีการหยุดชดเชยเช่นเดียวกับในประเทศไทย ช่วงวันหยุดยาว เช่น เทศกาลปีใหม่ ชาวรัสเซียมักเดินทางไปต่างประเทศหรือต่างเมืองและพักผ่อน ส่วนวันหยุดอื่น ๆ คนส่วนใหญ่มักเดินทางไปดาช่า (dasha) หรือบ้านพักต่างอากาศนอกเมือง.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและรายชื่อวันสำคัญของรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)

รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (List of fields of doctoral studies) นี้จัดทำขึ้นโดย "ศูนย์วิจัยความเห็นแห่งชาติ" (Opinion Research Center หรือ NORC) ที่ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยชิคาโก สหรัฐอเมริกาจากการสำรวจปริญญาเอกที่มีผู้จบการศึกษารายปี โดยจัดทำให้กับมูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ และหน่วยงานของรัฐบาลกลางอีกหลายหน่วยงานในสหรัฐฯ ทั้งหมดนี้คือสายวิชาการศึกษาระดับปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยที่มุ่งสู่ปริญญาดุษฎีบัณฑิตปรัชญา (Doctor of Philosophy หรือ Ph.D.) และการศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต (Doctor of Education Ed.D 1หรือ D.Ed) ที่เปิดสอนในสหรัฐฯ ซึ่งในปีการศึกษา 2547-2548 พบว่าร้อยละ 90.3 ของปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยจำนวน 43,354 ปริญญาในสหรัฐฯ ปริญญาเป็น Ph.D. และร้อยละ 7.0 เป็น Ed.D. การศึกษาระดับปริญญาเอกสาขาวิชาชีพ (professional doctorates) เช่น แพทยศาสตร์ (Doctor of Medicine - M.D.) และปริญญาเอกด้านกฎหมาย (Juris Doctor - J.D.) ไม่นับรวมในรายชื่อนี้.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและรายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอาเซอร์ไบจาน

ตารางข้างล่างนี้แสดงภาพธงต่างๆที่ใช้ในประเทศอาเซอร์ไบจาน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและรายชื่อธงในประเทศอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอุซเบกิสถาน

ตารางข้างล่างนี้แสดงภาพธงต่างๆที่ใช้ในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและรายชื่อธงในประเทศอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์อาเซอร์ไบจาน

รื่องอิสริยาภรณ์อาเซอร์ไบจาน ได้รับการตราไว้ในกฎหมายรัฐบัญญัติ "เครื่องอิสริยาภรณ์แห่งสาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน." สืบทอดรูปแบบมาจากดวงตราเครื่องอิสริยาภรณ์สหภาพโซเวียต โดยประธานาธิบดีอาเซอร์ไบจาน ในฐานะประธานแห่งอิสริยาภรณ์ เป็นผู้มอบให้กับผู้กระทำคุณความดีให้แก่ประเทศชาติ เนื่องในวันสำคัญของชาติ มีดังนี้.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและรายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์อาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก

2012 ณ กรุงลอนดอน, ประเทศสหราชอาณาจักร 1972 ณ เมืองซัปโปะโระ 1956 ณ เมืองกอร์ตีนาดัมเปซโซ 1936 ณ เมืองการ์มิช-พาร์เทนเคียร์เชิน กีฬาโอลิมปิก ในปัจจุบันเป็นการแข่งขันหลากหลายประเภทกีฬาทั้งฤดูร้อน ฤดูหนาว รวมถึงเยาวชน โดยจะจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี สลับกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อน และโอลิมปิกฤดูหนาว ในระหว่างพิธีเปิดโอลิมปิก ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากลในสมัยนั้นๆจะกล่าวสุนทรพจน์ก่อนที่จะเชิญประธานในพิธีกล่าวเปิดอย่างเป็นทางการ ตามกฎบัตรโอลิมปิก ผู้ที่จะกล่าวเปิดกีฬาโอลิมปิกอย่างเป็นทางการจะต้องเป็นประมุขแห่งรัฐของประเทศเจ้.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ริมสกี-คอร์ซาคอฟ (ภาพยนตร์)

ริมสกี-คอร์ซาคอฟ (Римский-Корсаков) เป็นภาพยนตร์แนวอัตชีวประวัติจากสหภาพโซเวียตในปี 1953 กำกับโดย Gennadi Kazansky และ Grigori Roshal นำแสดงโดย Grigori Belov, Nikolai Cherkasov และ Aleksandr Borisov ภาพยนตร์เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับอัตชีวประวัติของนีไคไล ริมสกี-คอร์ซาคอฟ คีตกวีชาวรัสเซี.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและริมสกี-คอร์ซาคอฟ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

รูเบิล

เงินรูเบิล (рубль, รูบิ) เป็นสกุลเงินของประเทศ รัสเซีย, เบลารุส, อับฮาเซีย, โอเซตเตียใต้, ทรานนิสเตรียใต้ สกุลเงินนี้เคยใช้ในหลายประเทศที่อยู่ใต้อิทธิพลของรัสเซียและสหภาพโซเวียตหนึ่งรูเบิลสามารถแลกเป็นเงินได้ 100 โคเปกส์ (ภาษารัสเซีย: копейка, คาเปียก้า) และหนึ่งร้อย ฮีฟย์เยียยูเครน หมวดหมู่:สกุลเงิน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและรูเบิล · ดูเพิ่มเติม »

รูเบิลรัสเซีย

รูเบิล เป็นสกุลเงินตราของสหพันธรัฐรัสเซีย อับฮาเซีย และออสเซเตียใต้ รูเบิลเคยเป็นสกุลเงินตราของจักรวรรดิรัสเซียและสหภาพโซเวียตตามลำดับ หน่วยย่อยของรูเบิลคือโคเปค โดยที่หนึ่งรูเบิลมีมูลค่าเท่ากับหนึ่งร้อยโคเปค รหัส ISO 4217 ของสกุลเงินนี้คือ RUB โดยก่อนที่จะมีการปรับค่าเงินในปีค.ศ. 1998 รูเบิลเคยใช้รหัส RUR มาก่อน (หนึ่งรูเบิลใหม่เท่ากับหนึ่งพันรูเบิลเดิม) รูเบิลไม่มีสัญลักษณ์เหมือนเงินหลาย ๆ สกุล โดยจะนิยมเขียนแสดงตามป้ายราคาด้วยตัวย่อในภาษารัสเซียว่า руб (rub หรือ รุบ) แต่ก็มีการใช้สัญลักษณ์หรือตัวย่อแบบอื่น ๆ อยู่บ้าง เช่น РР (ย่อมาจาก 'รูเบิลรัสเซีย' ที่เขียนด้วยอักษรซีริลลิก) ₱ เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและรูเบิลรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินมินสค์

รถไฟใต้ดินมินสค์ (Мінскае метро, Минский метрополитен) เป็นระบบขนส่งมวลชนที่ให้บริการในกรุงมินสค์ ซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศเบลารุส เปิดให้บริการในปี ค.ศ. 1984 ประกอบด้วยเส้นทางจำนวน 2 สาย และสถานีรถไฟฟ้า 28 สถานี ระยะทางทั้งสิ้น.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและรถไฟใต้ดินมินสค์ · ดูเพิ่มเติม »

ลูอีสแห่งเนเธอร์แลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนและนอร์เวย์

ลูอีสแห่งเนเธอร์แลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนและนอร์เว.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและลูอีสแห่งเนเธอร์แลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนและนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ลี เซียนลุง

ลี เซียนลุง (จีนตัวย่อ: 李显龙; จีนตัวเต็ม: 李顯龍; พินอิน: Lǐ Xiǎnlóng, หลี่ เสี่ยนหลง) คือนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันและคนที่สามของประเทศสิงคโปร์ เขาเป็นบุตรชายคนโตของอดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวนยู และมีภรรยาเป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO) ของบริษัทเทมาเส็กโฮลดิ้งส์ ลี เซียนลุง ฉายแววความฉลาด มาตั้งแต่ ยังเล็ก โดยสามารถพูด ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู ภาษาจีนแมนดาริน ภาษารัสเซีย ได้ ในขณะที่มีอายุเพียง 10 ปี พอจบชั้นมัธยม ก็ได้รับทุนจาก รัฐบาล ไปเรียนที่ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ในสาขาคณิตศาสตร์ และจบปริญญาตรีด้วยเกียรตินิยมอันดับ 1 หลังจากนั้น ลี ก็ไปต่อโทที่ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา ในสาขารัฐประศาสนศาสตร์ ลี เซียนลุงนั้น มาจากการเลือกตั้ง จากประชาชน ตามระบอบประชาธิปไตย อย่างแท้จริง ในตอนสมัครเข้าเป็น..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและลี เซียนลุง · ดูเพิ่มเติม »

ล่าตุลาแดง (ภาพยนตร์)

ล่าตุลาแดง (The Hunt for Red October) เป็นภาพยนตร์ระทึกขวัญลำดับที่ 1 ในชุด แจ็ค ไรอัน กำกับโดยจอห์น แมคเทียร์แนน เขียนบทโดยแลร์รี เฟอร์กูสันและโดนัลด์ อี.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและล่าตุลาแดง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีมีร์ คลิทช์โก

วลาดีมีร์ คลิทช์โก (อังกฤษ: Wladimir Klitschko) นักมวยรุ่นเฮฟวี่เวทชาวยูเครน มีชื่อเต็มว่า วลาดีมีร์ โวโลดีมีโลวิช คลิทช์โก (Volodymyr Volodymyrovych Klychko, ยูเครน: Володимир Володимирович Кличко) เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1976 ที่เซมิปาลาตินส์ก, คาซัคสถาน สหภาพโซเวียต เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ วิตาลี คลิทช์โก วลาดิมียร์ผ่านการชกมวยสากลสมัครเล่นมาอย่างโชกโชนกว่าวิตาลี ผู้เป็นพี่ เคยคว้าแชมป์มวยระดับจูเนียร์ของทวีปยุโรป ในรุ่นเฮฟวี่เวท ในปี ค.ศ. 1993 และเคยประสบความสำเร็จสูงสุดด้วยการคว้าเหรียญทองในรุ่นซูเปอร์เฮฟวี่เวท ในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน ค.ศ. 1996 ที่แอตแลนตา สหรัฐอเมริกา หลังจากนั้นแล้ว วลาดิมียร์ก็หันมาชกมวยสากลอาชีพพร้อมกับ วิตาลี พี่ชาย ด้วยการเข้าอยู่ในสังกัด Universum Box-Promotion ที่ กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ของ ฟริตซ์ สดูเนค ซึ่งทั้งคู่เมื่อหันมาชกมวยสากลอาชีพแล้วก็ได้สร้างความฮือฮาเป็นอย่างมากต่อวงการมวยโลก ด้วยเป็นคู่พี่น้องผิวขาวในรุ่นเฮฟวี่เวท ที่หมัดหนัก รูปร่างสูงใหญ่ทั้งคู่ ซึ่งวลาดิมียร์มีส่วนสูง 6 ฟุต 7 นิ้ว (199 เซนติเมตร) ซึ่งวลาดิมียร์ก็ถือว่าประสบความสำเร็จก่อนวิตาลีพี่ชายเสียด้วยซ้ำ เมื่อสามารถคว้าแชมป์อินเตอร์เนชั่นแนลของสภามวยโลก (WBC) มาครองได้ก่อน ในปี ค.ศ. 1998 แต่แล้ววลาดิเมียร์ก็ต้องมาพบกับความพ่ายแพ้ครั้งแรกเมื่อเป็นฝ่ายแพ้น็อกต่อ รอสส์ พูริตตี นักมวยโนเนมชาวอเมริกัน ในปลายปีเดียวกัน ในยกที่ 11 หลังจากนั้นวลาดิเมียร์ก็ยังชกเคลื่อนไหวอีกหลายครั้ง รวมทั้งคว้าแชมป์ยุโรปและแชมอินเตอร์คอนติเนนตัล ของ สมาคมมวยโลก (WBA) มาครองได้อีก วลาดิมียร์ มาคว้าแชมป์โลกได้เป็นครั้งแรก เมื่อเป็นฝ่ายเอาชนะคะแนน คริส เบิร์ด นักมวยชาวอเมริกันใน ปี ค.ศ. 2000 ได้แชมป์โลกรุ่นเฮฟวี่เวทขององค์กรมวยโลก (WBO) วลาดิมียร์ป้องกันตำแหน่งไว้ได้ 5 ครั้ง ก่อนที่จะมาพ่ายแพ้อีกครั้งต่อ คอร์รี แซนเดอร์ส นักมวยชาวแอฟริกาใต้ ในปี ค.ศ. 2002 เมื่อเป็นฝ่ายแพ้น็อกเพียงแค่ยกที่ 2 จากนั้นก็ชกเคลื่อนไหวอีก 2 ครั้ง ก่อนที่จะพบกับความพ่ายแพ้ครั้งที่ 3 ต่อ ลามอน บริวสเตอร์ นักมวยชาวอเมริกัน ในยกที่ 5 เมื่อปี ค.ศ. 2003 ชิงแชมป์โลกกลับมาไม่สำเร็จ วลาดิมียร์ คลิทช์โก กลับมาเป็นแชมป์โลกได้อีกครั้งในปี ค.ศ. 2005 เมื่อเป็นฝ่ายชนะน็อก แซมมวล ปีเตอร์ นักมวยชาวไนจีเรีย ถึงรัฐนิวเจอร์ซีย์ สหรัฐอเมริกา ทำให้ได้แชมป์หลายสถาบัน ทั้ง NABF, IBF และ WBO จนถึงปัจจุบันนี้ วลาดิมียร์ยังไม่ได้พ่ายแพ้แก่ใครอีก นอกจากจะเป็นแชมป์ของ NABF, IBF, WBO, IBO แล้วยังเป็นแชมป์ของสถาบันเดอะ ริง อีกด้วย ชีวิตส่วนตัว ในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและวลาดีมีร์ คลิทช์โก · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีมีร์-ซุซดัล

การสักการะพระมารดาของพระเจ้า (Theotokos) ในฐานะผู้พิทักษ์วลาดีมีร์เริ่มขึ้นโดยเจ้าชายแอนดรูว์ ผู้ทรงอุทิศวัดหลายวัดให้แก่พระองค์ และติดตั้งพระรูปศักดิ์สิทธิ์สำหรับใช้สักการะที่เรียกว่าพระมารดาของพระเจ้าแห่งวลาดีมีร์ วลาดีมีร์-ซุซดัล (Владимиро-Суздальское княжество; Vladimir-Suzdal) หรือ วลาดีมีร์-ซุซดัลรุส (Владимирско-Суздальская Русь; Vladimir-Suzdal Rus) เป็นราชรัฐสืบต่อจากจักรวรรดิเคียฟรุส และเป็นราชรัฐรุสที่มีอำนาจมากที่สุดในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 12 และรุ่งเรืองต่อมาจนถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 วลาดีมีร์-ซุซดัลถือกันว่าเป็นแห่งของความเจริญของภาษารัสเซียและความเป็นชาตินิยม วลาดีมีร์-ซุซดัลเจริญขึ้นมาเป็นอาณาจักรแกรนด์ดยุคแห่งมอสโคว.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและวลาดีมีร์-ซุซดัล · ดูเพิ่มเติม »

วาซิลี โซโลมิน

วาสิลี อนาโตลเยวิช โซโลมิน (Vasily Anatolyevich Solomin; ภาษารัสเซีย: Василий Анатольевич Соломи) เกิดเมื่อ 5 มกราคม..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและวาซิลี โซโลมิน · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษารัสเซีย

วิกิพีเดียภาษารัสเซีย (Ру́сская Википе́дия) เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษารัสเซีย เริ่มสร้างเมื่อ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 ปัจจุบันวิกิพีเดียภาษารัสเซียมีบทความมากกว่า 1,200,000 บทความ (มกราคม 2559).

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและวิกิพีเดียภาษารัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

วิลนีอุส

อนุสาวรีย์ไม้กางเขน 3 อันในกรุงวิลนีอุส วิลนีอุส (Vilnius) (ภาษาเบลารุส Вільня, ภาษาโปแลนด์ ไฟล์:Ltspkr.png Wilno, ภาษารัสเซีย Вильнюс, อดีต Вильно, ภาษาเยอรมัน Wilna) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศลิทัวเนีย มีจำนวนประชากรมากกว่า 540,000 คน ในปี พ.ศ. 2546 นอกจากนี้ยังมีฐานะเป็นเมืองศูนย์กลางการบริหารของเทศบาลนครวิลนีอัส (Vilnius city municipality) และเทศบาลเขตวิลนีอัส (Vilnius district municipality) รวมทั้งเป็นที่ตั้งเทศมณฑลวิลนีอัสด้ว.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและวิลนีอุส · ดูเพิ่มเติม »

วีทีวี4

วีทีวี4 เป็นสถานีโทรทัศน์ประเทศเวียดนาม และดำเนินการโดยเครือข่ายโทรทัศน์ วีทีวี (VTV) ออกอากาศ 24 ชั่วโมงต่อวัน ออกอากาศรายการประเภทข่าวทั่วไประหว่างประเทศ รายการบันเทิง และรายการภาคภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส และ รัสเซีย หมวดหมู่:สถานีโทรทัศน์ในประเทศเวียดนาม.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและวีทีวี4 · ดูเพิ่มเติม »

ศัตรูของประชาชน

ัตรูของประชาชน (public enemy หรือ enemy of the people) เป็นคำที่ใช้เรียกคู่แข่งทางการเมืองหรือทางชนชั้น การใช้คำดังกล่าวเป็นความเสียหาย และแสดงให้เห็นโดยนัยว่าบุคคลกลุ่มนั้นเป็นศัตรูกับรูปแบบสังคมทั้งหมด คำดังกล่าวมีประวัติมาอย่างยาวนาน ซึ่งพบว่าได้มีการใช้ครั้งแรกในสมัยจักรวรรดิโรมัน ซึ่งสภาซีเนตได้ใช้เป็นข้ออ้างในการจับกุมจักรพรรดินีโร นับตั้งแต่นั้นมา มีบุคคลหลายกลุ่มที่ถูกตราหน้าว่าเป็นศัตรูของประชาชน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและศัตรูของประชาชน · ดูเพิ่มเติม »

สฟาลบาร์

แผนที่สฟาลบาร์ สฟาลบาร์ (Svalbard; Шпицбе́рген, Свальбард) เป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรอาร์กติก ตั้งอยู่ทางเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ระหว่างนอร์เวย์และขั้วโลกเหนือ ตั้งแต่ละติจูด 74 ถึง 81 องศาเหนือ สฟาลบาร์เป็นส่วนหนึ่งของประเทศนอร์เวย์ โดยเป็นส่วนที่อยู่เหนือที่สุดของประเทศ มีประชากรอาศัยอยู่บนสามเกาะคือ สปิตส์เบอร์เกน บีเยอร์เนอยา และโฮเปน แรกเริ่ม สฟาลบาร์ได้ถูกใช้เป็นฐานล่าวาฬในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 หลังจากนั้นหมู่เกาะดังกล่าวได้ถูกปล่อยร้าง การทำเหมืองถ่านหินเริ่มต้นขึ้นเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 และชุมชนถาวรหลายแห่งได้รับการจัดตั้งขึ้น สนธิสัญญาสฟาลบาร์ ใน..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสฟาลบาร์ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลฮาโลไซลอน

กุลฮาโลไซลอน หรือ Haloxylon เป็นสกุลของไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก อยู่ในวงศ์ Amaranthaceae พืชในสกุลนี้มีชื่อสามัญว่า saxaul มาจากภาษารัสเซียว่า саксаул (saksaul) ซึ่งมาจากภาษาคาซัค сексеуiл (seksewil) อีกต่อหนึ่ง.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสกุลฮาโลไซลอน · ดูเพิ่มเติม »

สภายุโรป

รป (Council of Europe, ตัวย่อ CoE, Conseil de l'Europe) เป็นองค์การระหว่างรัฐบาลส่วนภูมิภาค (regional intergovernmental organisation) ที่ตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสภายุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ

ื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ (Council for Mutual Economic Assistance) หรือ คอมิคอน (Comecon) เป็นองค์กรความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจของสหภาพโซเวียต ประเทศต่าง ๆ ในกลุ่มตะวันออก และรัฐคอมมิวนิสต์บางแห่งทั่วโลก มอสโกกังวลเรื่องแผนมาร์แชลล์ คอมิคอนมีขึ้นเพื่อป้องกันไม่ให้ประเทศในขอบเขตอิทธิพลของโซเวียตไปสู่อิทธิพลของอเมริกาและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คอมิคอนได้รับการตอบรับจากกลุ่มตะวันออก (Eastern Bloc) ถึงการก่อตัวในยุโรปตะวันตกขององค์การเพื่อการดำเนินงานทางเศรษฐกิจของยุโรป (OEEC)"Germany (East)", Library of Congress Country Study, การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรปในปี 1957 และองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1961.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์

มเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์ (សម្តេចព្រះនរោត្តម នរិន្រ្ទពង្ស, พ.ศ. 2497 - 2546) พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุกับสมเด็จพระราชินีนโรดม มุนีนาถ สีหนุโดยมีพระเชษฐาคือ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี กษัตริย์แห่งกัมพูชาองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสมเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทรานส์คอเคซัส

หพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทรานส์คอเคซัส (Закавказская Советская Федеративная Социалистическая Республика – ЗСФСР) เป็นสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียตตั้งแต่ในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทรานส์คอเคซัส · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สหประชาชาติจำลอง

การสัมนาสหประชาชาติจำลองในสตุตการ์ต ประเทศเยอรมนี สหประชาชาติจำลอง (Model United Nations; รู้จักอย่างไม่เป็นทางการในนามของ Model UN หรือ MUN) เป็นการจำลองทางการศึกษาของสหประชาชาติที่มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้ผู้เข้าร่วมเกี่ยวกับการเมือง การสื่อสารให้ได้ผล โลกาภิวัตร และการทูตในหลายๆ ด้าน ใน MUN นักเรียนสวมบทบาทเป็นนักการทูตของต่างประเทศ และเข้าร่วมการประชุมจำลองของหน่วยงานระหว่างภาครัฐ (IGO) ผู้เข้าร่วมค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับประเทศหนึ่ง และสวมบทบาทเป็นนักการทูต สำรวจประเด็นนานาชาติ โต้วาที ไตร่ตรอง ปรึกษา และพัฒนาการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับปัญหาระดับโลก.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสหประชาชาติจำลอง · ดูเพิ่มเติม »

สะดุดจูบ แดนเวอร์จิ้น

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสะดุดจูบ แดนเวอร์จิ้น · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐรัสเซีย

รณรัฐรัสเซีย (p) เป็นองค์การทางการเมืองอายุสั้นซึ่งในทางนิตินัยควบคุมดินแดนของอดีตจักรวรรดิรัสเซียหลังการสละราชสมบัติของจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 เมื่อวันที่ 15 มีนาคม..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวีย

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวีย (Moldavian Soviet Socialist Republic; มอลโดวา/Република Советикэ Сочиалистэ Молдовеняскэ; Молда́вская Сове́тская Социалисти́ческая Респу́блика) เป็นหนึ่งในสาธารณรัฐสิบห้าแห่งของสหภาพโซเวียต นับตั้งแต่การประกาศอำนาจอธิปไตยเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน ค.ศ. 1990 จนถึงการประกาศเอกราชเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม ค.ศ. 1991 สาธารณรัฐแห่งนี้มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลโดวา (Soviet Socialist Republic of Moldova) และเมื่อได้รับเอกราชอย่างเป็นทางการจึงเปลี่ยนชื่อเป็น สาธารณรัฐมอลโดวา สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวียได้รับการจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1940 โดยรวมพื้นที่บางส่วนของเบสซาเรเบีย (ภูมิภาคของโรมาเนียที่ถูกผนวกเข้ากับสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ปีเดียวกัน) เข้ากับสาธารณรัฐปกครองตนเองสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวีย (Moldavian Autonomous Soviet Socialist Republic) ซึ่งในขณะนั้นเป็นสาธารณรัฐปกครองตนเองแห่งหนึ่งในเขตสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน หมวดหมู่:สาธารณรัฐโซเวียต หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน (ชื่อย่อ: Ukrainian SSR) หรือ ยูเครน (Українська Радянська Соціалістична Республіка, Українська РСР; Украинская Советская Социалистическая Республика, Украинская ССР) หรือ โซเวียตยูเครน เป็นรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่มีประชาธิปไตย (ข้อ 68 รัฐธรรมนูญแห่งยูเครนปี 1978) และเป็นหนึ่งใน 15 สาธารณรัฐองค์ประกอบ (constituent republic) ของสหภาพโซเวียต ก่อตั้งขึ้นในปี 1922 (สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในปี 1919) และล่มสลายในปี 1991 แม้สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจะเป็นสมาชิกก่อตั้งองค์การสหประชาชาติที่เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ในทางปฏิบัติแล้ว ไม่มีสิทธิ์มีเสียงอะไรในกิจการต่างประเทศ ซึ่งถูกควบคุมอย่างเข้มงวดโดยทางการมอสโก ในการล่มสลายของสหภาพโซเวียตและเปเรสตรอยกา สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนถูกแปลงเป็นรัฐชาติสมัยใหม่ยูเครน แม้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับใหม่ของยูเครนได้รับการอนุมัติเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 1996.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย (Latvian Soviet Socialist Republic; Latvijas Padomju Sociālistiskā Republika; Латви́йская Сове́тская Социалисти́ческая Респу́блика) เป็นหนึ่งในสาธารณรัฐสิบห้าแห่งที่ประกอบกันเป็นสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวียถูกจัดตั้งเป็นรัฐหุ่นเชิดของสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย (Հայկական Սովետական Սոցիալիստական Հանրապետություն, Армя́нская Сове́тская Социалисти́ческая Респу́блика) เป็นสาธารณรัฐหนึ่งในจำนวนสิบห้าสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนียก่อตั้งขึ้นในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก (Uzbek Soviet Socialist Republic; Ўзбекистон Совет Социалистик Республикаси, O'zbekiston Sovet Sotsialistik Respublikasi; Узбе́кская Сове́тская Социалисти́ческая Респу́блика) เป็นหนึ่งในสาธารณรัฐสิบห้าแห่งที่ประกอบกันเป็นสหภาพโซเวียต ได้รับการจัดตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1924 และในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1991 ได้กลายเป็นรัฐเอกราชโดยเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น "สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน" หมวดหมู่:สาธารณรัฐโซเวียต หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์อุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจีย

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจีย คือหนึ่งในสาธารณรัฐที่ประกอบเป็นประเทศสหภาพโซเวียต ปัจจุบันคือประเทศจอร์เจีย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2464 (ค.ศ. 1921) ซึ่งต่อมาตั้งแต่วันที่ 12 มีนาคม..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก (Tajik SSR; Республикаи Советии Социалистии Тоҷикистон; Таджикская Советская Социалистическая Республика) เป็นรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่มีประชาธิปไตย และเป็นหนึ่งใน 15 สาธารณรัฐองค์ประกอบ (constituent republic) ของสหภาพโซเวียต ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในปี 1929 และล่มสลายในปี 1991โดยเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น "สาธารณรัฐทาจิกีสถาน" หมวดหมู่:สาธารณรัฐโซเวียต หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ทาจิกิสถาน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช (Karjalais-suomalainen sosialistinen neuvostotasavalta; Каре́ло-Фи́нская Сове́тская Социалисти́ческая Респу́блика) เป็นสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียตมาตั่งแต่ปี 1940 จนถูกผนวกกลับเข้าไปในสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียในปี 1956 และลดสถานะเป็นสาธารณรัฐปกครองตนเองสังคมนิยมโซเวียตคาเรลียาจนล่มสลายในปี 1991 และแทนที่โดยสาธารณรัฐคาเรลียาในปัจจุบัน หมวดหมู่:สาธารณรัฐโซเวียต หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค (คาซัคҚазақ Кеңестік Социалистік Республикасы, Qazaq Keñestik Socïalïstik Respwblïkası;รัสเซีย (Казахская Советская Социалистическая Республика - КССР, Kazakhskaya Sovetskaya Sotsialisticheskaya Respublika - KSSR) เป็นหนึ่งใน 15 สาธารณรัฐองค์ประกอบ (constituent republic) ของ สหภาพโซเวียต ก่อตั้งเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม ปี ค.ศ. 1920 เริ่มแรกถูกเรียกว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมปกครองตนเองคีร์กีซ (Kirghiz ASSR) และเป็นส่วนหนึ่งของ สหภาพโซเวียต ต่อมาวันที่ 15-19 เมษายน ปีค.ศ. 1925 ถูกเปลี่ยนชื่อใหม่ว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมปกครองตนเองโซเวียตคาซัค และในวันที่ 5 ธันวาคม ปี ค.ศ. 1936 ถูกยกระดับให้กลายเป็น สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค (Kazakh SSR) ในช่วงระหว่าง ปี ค.ศ. 1950 – 1960 พลเมืองโซเวียตถูกกระตุ้นให้ตั้งถิ่นฐานยังโครงการดินแดนบริสุทธิ์ฮรุชชอฟของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค การไหลหลั่งเข้ามาของผู้อพยพย้ายถิ่นเช่น รัสเซีย (อพยพเข้ามาเป็นส่วนใหญ่) ยูเครน เยอรมัน ยิว เบลารุส เกาหลี ทำให้เกิดการผสมผสานในหลายเชื้อชาติจนมีจำนวนของชาวต่างชาติมากกว่าชาวพื้นเมือง ซึ่งเป็นผลทำให้มีการใช้ภาษาคาซัคน้อยลงแต่ก็ถูกนำกลับมาใช้อีกตั้งแต่ถูกแยกตัวออกมาเป็นอิสระ วันที่ 10 ธันวาคม ปี ค.ศ. 1991 Kazakh SSR ถูกเรียกใหม่ว่า สาธารณรัฐคาซัคสถาน (Republic of Kazakhstan) และแยกตัวเป็นอิสระจาก สหภาพโซเวียต ในวันที่ 16 ธันวาคม ปีเดียวกัน ซึ่งคาซัคสถานเป็นสาธารณรัฐสุดท้ายที่แยกตัวออกมาก่อนที่จะเกิดการล่มสลายของ สหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคีร์กีซ

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคีร์กีซ (Kirghiz SSR; Кыргыз Советтик Социалисттик Республикасы; Киргизская Советская Социалистическая Республика),ป็นรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่มีประชาธิปไตย และเป็นหนึ่งใน 15 สาธารณรัฐองค์ประกอบ (constituent republic) ของสหภาพโซเวียต ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในปี 1936 และล่มสลายในปี 1991โดยเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น "สาธารณรัฐคีร์กีซสถาน" หมวดหมู่:สาธารณรัฐโซเวียต หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์คีร์กิซสถาน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคีร์กีซ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย (Byelorussian Soviet Socialist Republic; Белару́ская Саве́цкая Сацыялісты́чная Рэспу́бліка; Белору́сская Сове́тская Социалисти́ческая Респу́блика) เป็นหนึ่งในสาธารณรัฐสิบห้าแห่งที่ประกอบกันเป็นสหภาพโซเวียต หลังการประกาศเอกราชของสาธารณรัฐประชาชนเบลารุสเมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 1918 กลุ่มบอลเชวิคจากสหภาพโซเวียตได้เข้ายึดครองดินแดนเบลารุสและประกาศจัดตั้งสาธารณรัฐโซเวียตสังคมนิยมเบียโลรัสเซีย (Socialist Soviet Republic of Byelorussia) ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1919 ต่อมาสาธารณรัฐแห่งนี้ถูกยุบและแยกพื้นที่ไปรวมกับสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย-เบลารุส แต่ก็ได้รับการจัดตั้งขึ้นใหม่อีกครั้งในวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1920 โดยใช้ชื่อว่า "สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย" สาธารณรัฐสังคมนิยมเบียโลรัสเซียเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพโซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1922 ร่วมกับสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน, สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทรานส์คอเคเชีย และสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย เบียโลรัสเซียเป็นหนึ่งในสาธารณรัฐหลายแห่งในสหภาพโซเวียตที่ถูกเยอรมนีนาซียึดครองระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 นอกจากนี้ยังเป็นสมาชิกก่อตั้งองค์การสหประชาชาติในปี ค.ศ. 1945 ร่วมกับชาติอื่น ๆ รวมทั้งสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนและสหภาพโซเวียตอีกด้วย จุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียมาถึงในปี ค.ศ. 1991 เมื่อสาธารณรัฐแห่งนี้กลายเป็นรัฐเอกราชและเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น สาธารณรัฐเบลารุส เบียโลรัสเซีย หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปยุโรป หมวดหมู่:อดีตรัฐสมาชิกสหประชาชาติ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2462 หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2463.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย (Estonian Soviet Socialist Republic; Eesti Nõukogude Sotsialistlik Vabariik; Эсто́нская Сове́тская Социалисти́ческая Респу́блика) เป็นหนึ่งในสาธารณรัฐสิบห้าแห่งที่ประกอบกันเป็นสหภาพโซเวียตโดยได้รับการบริหารจากรัฐบาลกลางของสหภาพ ในขั้นแรก สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนียถูกจัดตั้งขึ้นในดินแดนของสาธารณรัฐเอสโตเนียเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน (เติร์กเมนТүркменистан Совет Социалистик Республикасы, Türkmenistan Sowet Sotsialistik Respublikasy;รัสเซียТуркменская Советская Социалистическая Республика, Turkmenskaya Sovetskaya Sotsialisticheskaya Respublika) หรือ โซเวียตเติร์กเมน เป็นรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่มีประชาธิปไตย และเป็นหนึ่งใน 15 สาธารณรัฐองค์ประกอบ (constituent republic) ของสหภาพโซเวียต ก่อตั้งขึ้นในปี 1922 (สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมนก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในปี 1921 และล่มสลายในปี 1991.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐคัลมืยคียา

รณรัฐคัลมืยคียา (Респу́блика Калмы́кия; คัลมึค: Хальмг Таңһч,, ISO 9) เป็นเขตการปกครองของสหพันธรัฐรัสเซีย เป็นรัฐเดียวในยุโรปที่ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และยังมีชื่อเสียงในด้านการหมากรุกสากล.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐคัลมืยคียา · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐซาฮา

250px สาธารณรัฐซาฮา (The Sakha (Yakutia) Republic; Респу́блика Саха́ (Яку́тия)) เป็นเขตการปกครองของสหพันธรัฐรัสเซีย กินพื้นที่ครึ่งหนึ่งของเขตสหพันธ์ตะวันออกไกล มีพื้นที่ 3,100,000 ตร.กม.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐซาฮา · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมีย

รเมีย (Crimea) หรือมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมีย (Крим, Автономна Республіка Крим; Крым, Автономная Республика Крым, Avtonomnaja Respublika Krym; Къырым, Къырым Мухтар Джумхуриети, Qırım, Qırım Muhtar Cumhuriyeti) เป็นสาธารณรัฐปกครองตนเอง ภายใต้สหพันธรัฐรัสเซีย ตั้งอยู่ทางชายฝั่งด้านเหนือของทะเลดำ ที่รวมถึงแหลมไครเมีย มีเมืองหลวงชื่อซิมเฟโรปอล (Simferopol) ตั้งอยู่กลางแหลม ไครเมียมีพื้นที่ 26,200 ตร.กม.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาชนตูวา

Location of the Tuvan People's Republic (modern boundaries). สาธารณรัฐประชาชนตูวา หรือ สาธารณรัฐประชาชนเตนนู ตูวา (ตูวาน: Tьva Arat Respuвlik, Тыва Арат Республик, Tywa Arat Respublik,; 1921–44) เป็นสาธารณรัฐเอกราชที่แยกตัวออกมาจาก Tuvan protectorate จากจักรวรรดิรัสเซียหรือเป็นที่รู้จักว่า Uryankhaisky Krai (Урянхайский край) ในช่วงที่ตูวาเป็นเอกราชในปี 1921 ถึง 1944 ตูวาได้เป็นรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐประชาชนมองโกเลียได้ควบคุมรัฐนี้ก่อนที่ตูวา จะเข้ารวมสหภาพโซเวียตในปี 1944 ปัจจุบันดินแดนในอดีตของเตนู ตูวากลายเป็นส่วนหนึ่งของ สาธารณรัฐตูวา ชึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐรัสเซี.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐประชาชนตูวา · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐนอฟโกรอด

รณรัฐนอฟโกรอด (Новгородская республика, Novgorod Republic) เป็นสาธารณรัฐใหญ่ในยุคกลางของรัสเซียที่มีอาณาบริเวณตั้งแต่ทะเลบอลติกไปจนถึงเทือกเขายูรัล สาธารณรัฐนอฟโกรอดมีความรุ่งเรืองระหว่างคริสต์ศักราชที่ 12 ถึง 15 โดยมีศูนย์กลางอยู่ในบริเวณนอฟโกรอด คำว่า “สาธารณรัฐศักดินา” (feudal republic) เป็นคำที่มักจะใช้เรียกโดยนักวิชาการในสมัยโซเวียต และโดยนักวิชาการมาร์กซิสต์เพื่อให้ตรงกับปรัชญาทางประวัติศาสตร์ของลัทธิที่ประกอบด้วยยุคทาส ยุคศักดินา ยุคทุนนิยม ยุคสังคมนิยม และยุคคอมมิวนิสต์ แต่นักวิชาการในปัจจุบันตั้งความสงสัยว่ารัสเซียจะเคยใช้ระบบศักดินาในความหมายเดียวกับที่ใช้ในตะวันตกในยุคกลางจริงหรือไม่ และคำว่า “สาธารณรัฐศักดินา” ก็ไม่เคยได้รับการใช้โดยชาวนอฟโกรอดเองแต่จะเรียกนครรัฐของตนเองว่า “อาณาจักรลอร์ดแห่งนอฟโกรอดเดอะเกรต” (His Majesty (หรือ Sovereign) Lord Novgorod the Great) (Государь Господин Великий Новгород) หรือ “ลอร์ดแห่งนอฟโกรอดเดอะเกรต” (Господин Великий Новгород) อาณาบริเวณทั้งหมด - ทั้งตัวเมืองและดินแดนที่ไกลออกไป - รู้จักกันว่าเป็น “ดินแดนนอฟโกรอด” (Novgorodian Land) นอฟโกรอดเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเคียฟรุสมาจนกระทั่งถึงราวปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐนอฟโกรอด · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2

รณรัฐโปแลนด์ที่ 2 หรือเครือจักรภพโปแลนด์ที่สองหรือโปแลนด์ระหว่างสงคราม หมายความถึงประเทศโปแลนด์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง (ค.ศ. 1918–1939) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐโปแลนด์หรือเครือจักรภพโปแลนด์ (Rzeczpospolita Polska) รัฐโปแลนด์ถูกสร้างใหม่ใน ค.ศ. 1918 เป็นผลสืบเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หลังความขัดแย้งในภูมิภาคหลายครั้ง เขตแดนของรัฐถูกชี้ชัดใน ค.ศ. 1922 ประเทศโปแลนด์มีเพื่อนบ้าน ได้แก่ เชโกสโลวาเกีย เยอรมนี นครเสรีดันซิก ลิทัวเนีย ลัตเวีย โรมาเนียและสหภาพโซเวียต มีทางเข้าทะเลบอลติกโดยทางชายฝั่งสั้น ๆ ที่อยู่ข้างนครกดือเนีย (Gdynia) ระหว่างเดือนมีนาคมและสงหาคม ค.ศ. 1939 โปแลนด์ยังมีเขตแดนร่วมกับรูธีเนียคาร์พาเธีย (Carpathian Ruthenia) ซึ่งขณะนั้นเป็นจังหวัดของฮังการี แม้มีแรงกดดันทั้งในและนอกประเทศ ประเทศยังคงอยู่จน ค.ศ. 1939 เมื่อโปแลนด์ถูกนาซีเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐสโลวักบุกครอง เป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป สาธารณรัฐที่สองมีพื้นที่ต่างจากรัฐโปแลนด์ปัจจุบันมาก โดยมีดินแดนทางทิศตะวันออกมากกว่าและทางทิศตะวันตกน้อยกว.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐไครเมีย

รณรัฐไครเมีย (Republic of Crimea; Респýблика Крым, Республіка Крим) (ตาตาร์ไครเมีย Къырым Джумхуриети) เป็นสาธารณรัฐที่ประกาศตนเป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซีย ถือครองดินแดนส่วนใหญ่ของคาบสมุทรไครเมียในทะเลดำ ทางใต้ของประเทศยูเครน อธิปไตยเหนือดินแดนดังกล่าวยังพิพาทกันระหว่างประเทศยูเครนกับรัสเซีย สาธารณรัฐไครเมียก่อตั้งขึ้นจากผลแห่งการลงประชามติไครเมีย พ.ศ. 2557 เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2557 โดยรัสเซียรับรองเอกราชของสาธารณรัฐไครเมียในวันเดียวกับที่ก่อตั้ง ในวันรุ่งขึ้น ประเทศดังกล่าวขอเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซีย และมีการลงนามร่างกฎหมายเพื่อเปิดทางให้ดำเนินการได้ ซึ่งการรวมไครเมียเข้ากับรัสเซียดังกล่าวไม่ได้รับการรับรองจากนานาชาติโดยทั่วไป การขอเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรัสเซียได้รับสิทธิแยกกัน โดยสิทธิหนึ่งแก่อดีตสาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมีย และอีกสิทธิหนึ่งแก่เซวัสโตปอล วันที่ 18 มีนาคม 2557 รัสเซียและไครเมียได้ลงนามสนธิสัญญาการเข้าร่วมของสาธารณรัฐไครเมียและเซวัสโตปอลในสหพันธรัฐรัสเซียหลังการปราศรัยต่อรัฐสภาของประธานาธิบดีปูติน ในช่วงเปลี่ยนผ่านซึ่งจะมีถึงวันที่ 1 มกราคม 2558 ทั้งสองฝ่ายจะระงับประเด็นการรวมเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของไครเมียและเซวัสโตปอล "ในระบบเศรษฐกิจ การเงิน สินเชื่อ และกฎหมายของสหพันธรัฐรัสเซีย" จนถึงวันที่ 18 มีนาคม 2557 มีเพียงสี่ประเทศเท่านั้นที่รับรองเอกราชของสาธารณรัฐไครเมีย โดยมีหนึ่งประเทศที่เป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ คือ รัสเซีย อับฮาเซีย นากอร์โน-คาราบัค และเซาท์ออสซีเชีย ก่อนหน้านี้ ในวันที่ 11 มีนาคม 2557 ทั้งสองเขตเคยอนุมัติมติร่วมแสดงเจตจำนงประกาศอิสรภาพ ตลอดจนมติแสดงเจตนารวมกับรัสเซีย รัฐบาลทั้งสองเรียกร้องให้มีการลงประชามติเพื่อจุดประสงค์นี้ แม้ว่าเสียงส่วนใหญ่ที่ไปออกเสียงลงคะแนนในการลงประชามตินี้ออกเสียงสนับสนุนเอกราชจากยูเครน แต่นานาชาติไม่รับรองความชอบธรรมและความเป็นธรรมของการออกเสียงดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เพราะการลงประชามตินี้เกิดขึ้นในสถานการณ์ที่รัสเซียกำลังยึดครองคาบสมุทรไครเมียอยู.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐไครเมีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเชเชน

นีย (Chechnya; Чечня́; Нохчийчоь) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเชเชน (Chechen Republic; Чече́нская Респу́блика; Нохчийн Республика) เป็นสาธารณรัฐหนึ่งของประเทศรัสเซีย เชชเนียตั้งอยู่ในคอเคซัสเหนือ ตั้งอยู่ส่วนใต้สุดของยุโรปตะวันออก และอยู่ในรัศมี 100 กิโลเมตรจากทะเลแคสเปียน เมืองหลวงของสาธารณรัฐคือกรอซนืย ตามสำมะโน..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐเชเชน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 2

รณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 2 (The Second East Turkestan Republic หรือ East Turkestan Republic; ETR) เป็นรัฐคอมมิวนิสต์อายุสั้นของชาวเติร์กที่สหภาพโซเวียต ให้การสนับสนุน ระหว่าง 12 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ทาจิกิสถาน

นีโทรทัศน์ทาจิกิสถาน (Televidenye Tajikistana) เป็นสถานีโทรทัศน์ของรัฐบาลในประเทศทาจิกิสถาน ส่งสัญญาณจากเมืองดูซานเบ้ ประเทศทาจิกิสถาน ออกอากาศด้วยภาษาทาจิก และภาษารัสเซีย ซึ่งจะออกอากาศทั่วเอเชียกลาง และยังสมารถรับชมผ่านดาวเทียมได้ที่ ABS1.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสถานีโทรทัศน์ทาจิกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

สคาซานีเอโอเซมเลซีบีร์สกอย

ซานีเอโอเซมเลซีบีร์สกอย เป็นภาพยนตร์แนวดนตรีของสหภาพโซเวียต เป็นภาพยนตร์ฟิล์มสีเรื่องที่สองของสหภาพโซเวียต (หลังจาก The Stone Flower) ภาพยนตร์กำกับโดย Ivan Pyryev ภาพยนตร์ผลิดที่ ไซบีเรีย หลัง สงครามโลกครั้งที่สอง หลังจากที่ภาพยนตร์ประสบความสำเร็จ ก็ได้มีการสร้างภาพยนตร์ดนตรีฟีล์มสีเรื่องที่สองเรื่อง, คูบันสกีเอคาซากี โดยใช้นักแสดงและผู้กำกับคนเดียวกัน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสคาซานีเอโอเซมเลซีบีร์สกอย · ดูเพิ่มเติม »

สงคราม ความหวัง บัลลังก์ เกียรติยศ

งคราม ความหวัง บัลลังก์ เกียรติยศ (The Pianist) เป็นภาพยนตร์ร่วมระหว่างประเทศฝรั่งเศส เยอรมัน อังกฤษ และโปแลนด์ ผลงานการกำกับโดย โรมัน โปลันสกี้ นำแสดงโดย เอเดรียน โบรดี ออกฉายครั้งแรก ในวันที่ 24 พฤษภาคม ปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสงคราม ความหวัง บัลลังก์ เกียรติยศ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามรัสเซีย-จอร์เจีย

งครามรัสเซีย-จอร์เจีย หรือสงครามเซาท์ออสซีเชีย (ในรัสเซียมีอีกชื่อหนึ่งว่า สงครามห้าวัน) เป็นความขัดแย้งด้วยอาวุธในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2551 ระหว่างจอร์เจียฝ่ายหนึ่ง กับรัสเซียและรัฐบาลผู้แบ่งแยกของเซาท์ออสซีเชียและอับฮาเซียอีกฝ่ายหนึ่ง สงครามเซาท์ออสซีเชียเมื่อ พ.ศ. 2534-2535 ระหว่างเชื้อชาติจอร์เจียกับออสเซเตียได้สิ้นสุดลงด้วยพื้นที่เกินกว่าครึ่งเล็กน้อยของเซาท์ออสซีเชียอยู่ภายใต้การควบคุมโดยพฤตินัยของรัฐบาลที่รัสเซียหนุนหลัง หากนานาชาติมิได้ให้การรับรองแต่อย่างใด ระหว่างคืนวันที่ 7 และ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2551 จอร์เจียเปิดฉากการรุกทางทหารขนานใหญ่ต่อเซาท์ออสซีเชีย ในความพยายามที่จะยึดพื้นที่คืน จอร์เจียอ้างว่า พฤติการณ์ดังกล่าวเป็นการสนองต่อเหตุโจมตีต่อผู้รักษาสันติภาพและหมู่บ้านของตนในเซาท์ออสซีเชีย และรัสเซียกำลังเคลื่อนหน่วยทหารที่มิใช่เพื่อการรักษาสันติภาพเข้ามาในพื้นที่ การโจมตีของจอร์เจียเป็นเหตุให้เกิดความสูญเสียในบรรดาผู้รักษาสันติภาพรัสเซีย ผู้ซึ่งต้านทานการโจมตีร่วมกับทหารอาสาสมัครออสเซเตีย จอร์เจียยึดซคินวาลีได้สำเร็จในไม่กี่ชั่วโมง รัสเซียสนองโดยการจัดวางกำลังกองทัพที่ 58 ของรัสเซีย และกำลังพลร่มรัสเซียในเซาท์ออสซีเชีย และเปิดฉากโจมตีทางอากาศต่อกำลังจอร์เจียในเซาท์ออสซีเชียและเป้าหมายทางทหารและการส่งกำลังบำรุงในดินแดนจอร์เจีย รัสเซียอ้างว่า พฤติการณ์ดังกล่าวเป็นการแทรกแซงทางมนุษยธรรมและการบังคับใช้สันติภาพที่จำเป็น กำลังรัสเซียและออสเซเตียสู้รบกับกำลังจอร์เจียทั่วเซาท์ออสซีเชียเป็นเวลาสี่วัน โดยมีการสู้รบหนักที่สุดในซคินวาลี วันที่ 9 สิงหาคม ทัพเรือของรัสเซียปิดล้อมชายฝั่งจอร์เจียบางส่วน และยกนาวิกโยธินขึ้นบกบนชายฝั่งอับฮาเซียRoy Allison,, in International Affairs, 84: 6 (2008) 1145–1171. Accessed 2009-09-02. 2009-09-05. ทัพเรือจอร์เจียพยายามจะขัดขวาง แต่พ่ายแพ้ในการปะทะกันทางทะเล กำลังรัสเซียและอับฮาเซียเปิดแนวรบที่สองโดยการโจมตีหุบโคโดรีที่จอร์เจียครองอยู่ กำลังจอร์เจียต้านทานได้เพียงเล็กน้อย และต่อมา กำลังรัสเซียได้ตีโฉบฉวยฐานทัพหลายแห่งในทางตะวันตกของจอร์เจีย หลังการสู้รบอย่างหนักในเซาท์ออสซีเชียเป็นเวลาห้าวัน กำลังจอร์เจียก็ร่นถอย ทำให้รัสเซียสามารถกรีธาเข้าสู่จอร์เจียส่วนที่ไม่พิพาทและยึดครองนครต่าง ๆ ของจอร์เจียได้จำนวนหนึ่ง สหภาพยุโรปที่มีฝรั่งเศสเป็นประธานเข้าไกล่เกลี่ยสถานการณ์ และคู่กรณีบรรลุความตกลงหยุดยิงขั้นต้นในวันที่ 12 สิงหาคม โดยจอร์เจียลงนามเมื่อวันที่ 15 สิงหาคมในกรุงทบิลิซี และรัสเซียลงนามเมื่อวันที่ 16 สิงหาคมในกรุงมอสโก หลายสัปดาห์ให้หลังการลงนามในความตกลงหยุดยิงดังกล่าว รัสเซียเริ่มถอนทหารส่วนมากออกจากจอร์เจียส่วนที่ไม่พิพาท รัสเซียได้สถาปนาเขตกันชนรอบอับฮาเซียและเซาท์ออสซีเชีย ตลอดจนตั้งจุดตรวจในดินแดนจอร์เจีย ท้ายที่สุด กำลังเหล่านี้ได้ถูกถอนออกจากจอร์เจียส่วนที่ไม่พิพาท อย่างไรก็ดี เจ้าหน้าที่ตะวันตกบางคนยืนยันว่า ทหารเหล่านี้ไม่ได้กลับไปประจำยังแนวที่ประจำอยู่เดิมก่อนหน้าที่จะเกิดความขัดแย้งขึ้นตามที่ระบุไว้ในแผนสันติภาพ กำลังรัสเซียยังประจำอยู่ในอับฮาเซียและเซาท์ออสซีเชียความตกลงสองฝ่ายกับรัฐบาลทั้งสองดินแดน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสงครามรัสเซีย-จอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามฤดูหนาว

ทหารสกีของฟินแลนด์ในสงครามฤดูหนาว ทิศทางการโจมตีของกองทัพแดงและการวางกำลังหลักของสองฝ่าย สงครามฤดูหนาว (อังกฤษ: Winter War, ฟินแลนด์: talvisota, สวีเดน: vinterkriget, รัสเซีย: Советско-финская война, และอาจรู้จักกันในชื่อ สงครามโซเวียต-ฟินแลนด์ หรือ สงครามรัสเซีย-ฟินแลนด์) เป็นสงครามระหว่างสหภาพโซเวียตกับประเทศฟินแลนด์ เกิดในช่วงต้น ๆ ของสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อฟินแลนด์ปฏิเสธไม่ยอมยกดินแดนบางส่วนและไม่ยอมให้โซเวียตสร้างฐานทัพเรือในดินแดนของตน การโจมตีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482 (ค.ศ. 1939) เมื่อทหารในกองทัพแดงราวหนึ่งล้านคนบุกเข้าจู่โจมตามแนวรบหลายจุดบริเวณพรมแดนระหว่างสหภาพโซเวียตกับฟินแลนด์ กองทัพฟินแลนด์บัญชาการโดยจอมพลมานเนอร์ไฮม์ สามารถต่อต้านการโจมตีได้อย่างมีประสิทธิภาพแม้ว่าจะมีกำลังพลน้อยกว่าฝ่ายโซเวียตมาก อย่างไรก็ตาม ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ทหารรัสเซียเข้าไปในฟินแลนด์ได้สำเร็จ หลังใช้ปืนใหญ่ระดมโจมตีแนวป้องกันตามคอคอดคาเรเลียซึ่งอยู่ทางทิศใต้ของฟินแลนด์รวมทั้งการโจมตีทางอากาศตามเมืองสำคัญต่างๆ สงครามสิ้นสุดลงในวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940) เมื่อมีการลงนามในสัญญาสันติภาพมอสโก โดยฟินแลนด์ยอมยกดินแดนบางส่วนให้โซเวียตและยอมให้โซเวียตก่อสร้างฐานทัพเรือบนคาบสมุทรฮังโก การรุกรานฟินแลนด์ในครั้งนี้ทำให้สหภาพโซเวียตถูกขับออกจากสันนิบาตชาติ เพราะละเมิดสนธิสัญญาที่จะไม่รุกรานฟินแลน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสงครามฤดูหนาว · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี

นธิสัญญาการในการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี หรือเรียกว่า สนธิสัญญาสองบวกสี่ (Zwei-plus-Vier-Vertrag) มีการเจรจาขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาจันทรา

วามตกลงว่าด้วยกิจกรรมของรัฐบนดวงจันทร์และเทห์ฟากฟ้าอื่น (Agreement Governing the Activities of States on the Moon and Other Celestial Bodies) หรือที่รู้จักกันในชื่อ "สนธิสัญญาจันทรา" (Moon Treaty) หรือ "ความตกลงจันทรา" (Moon Agreement) เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ซึ่งกำหนดให้บรรดาเทห์ฟากฟ้าและวัตถุที่โคจรรอบเทห์ฟากฟ้า เป็นพื้นที่ในเขตอำนาจของประชาคมโลก ส่งผลให้กิจกรรมทั้งปวงในพื้นที่ดังกล่าวต้องเป็นไปตามกฎหมายระหว่างประเทศ น่าเสียดายที่ความตกลงนี้ไม่ประสบผลสำเร็จดังคาดหมายกัน เนื่องเพราะไม่ได้รับความร่วมมือจากรัฐชาติที่ดำเนินหรือจะดำเนินการสำรวจอวกาศโดยมนุษย์ด้วยตนเองแม้แต่รัฐเดียว รัฐเหล่านี้ อาทิ สหรัฐอเมริกา สหพันธรัฐรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ปุ่น อินเดีย และ อิหร่าน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสนธิสัญญาจันทรา · ดูเพิ่มเติม »

สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด

นว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด (Snow White and the Seven Dwarfs) คือภาพยนตร์อเมริกาออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2480 มีโครงเรื่องจากนวนิยายเรื่อง สโนว์ไวต์ ผลงานการประพันธ์ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เป็นการผลิตในรูปแบบภาพยนตร์การ์ตูนเต็มรูปแบบครั้งแรกของวอลท์ดิสนีย์ และเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเรื่องแรกในประวัติศาสตร์ภาพยนตร์อเมริกา สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด ณ โรงละคร Carthay Circle ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 ต่อมาได้จัดจำหน่ายโดย RKO Radio Pictures เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 เรื่องราวของเรื่องปรับปรุงมาจากแผ่นป้ายเรียบเรียงฉาก ของ Ann Blank, Richard Creedon, Merrill De Maris, Otto Englander, Earl Hurd, Dick Rickard, Ted Sears และ Webb Smith จากนวนิยายเยอรมันเรื่อง สโนว์ไวต์ ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เดวิด แฮนด์เป็นผู้อำนวยการผลิต ส่วน William Cottrell, Wilfred Jackson, Larry Morey, Perce Pearce และ Ben Sharpsteen กำกับลำดับภาพ สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด เป็นหนึ่งใน 2 ภาพยนตร์การ์ตูนที่ติดอันดับภาพยนตร์อเมริกาที่ยิ่งใหญ่ที่สุด 100 เรื่อง จากสถาบันภาพยนตร์สหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด · ดูเพิ่มเติม »

สเปซนาซ

หน่วยสเปซนาซเตรียมตัวในภารกิจในอัฟกานิสถานปี 1988 สเปซนาซ (รัสเซีย: Спецназ) มาจากการสนธิคำในภาษารัสเซียสองคำ คือ สเปซซีอาลโนโว กับคำว่า นาซนาเชนียา หมายถึง หน่วยปฏิบัติการพิเศษหรือหน่วยรบพิเศษ ของรัฐในอดีตสหภาพโซเวียตและประเทศรัสเซีย สามารถจำแนกจากภารกิจหลักร่วมกับต้นสังกัดได้คร่าว ๆ ดังนี้ คือ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและสเปซนาซ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล

ันตรีหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ กับหม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา (บุตรีของเจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล)) ประสูติ ณ วังเดิมเชิงสะพานถ่าน (หรือเรียกโดยสามัญว่า วังสะพานถ่าน) กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นตลาดบำเพ็ญบุญในปัจจุบันนี้ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2439 เวลา 17.25 น. ได้รับพระราชทานนาม ไตรทิพเทพสุต จากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา

หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เป็นระบบการทับศัพท์ที่นิยมใช้มากที่สุดระบบหนึ่งในประเทศไทย โดยคณะกรรมการจัดทำหลักเกณฑ์การทับศัพท์และคณะกรรมการปรับปรุงหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่าง ๆ ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา (เดิมคือราชบัณฑิตยสถาน) เป็นผู้กำหนดและเสนอหลักเกณฑ์ต่อสำนักงานราชบัณฑิตยสภาเพื่อออกประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภาให้ใช้หลักเกณฑ์ จากนั้น สำนักงานราชบัณฑิตยสภาจะเป็นผู้เสนอหลักเกณฑ์ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีให้ใช้เป็นมาตรฐานเดียวกัน แล้วลงประกาศเผยแพร่ในราชกิจจานุเบกษาต่อไป.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

หอสมุดดิจิทัลแห่งโลก

หอสมุดดิจิทัลแห่งโลก (World Digital Library, WDL) เปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อ 21 เมษายน 2552 เป็นบริการห้องสมุดในอินเทอร์เน็ตที่รวบรวมทรัพยากรความรู้ที่เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมของหลายประเทศทั่วโลก เอกสารคุณค่าเหล่านี้ ได้แก่ หนังสือหายาก เอกสารต้นฉบับตัวเขียนและฉบับพิมพ์ แผนที่ รวมทั้งสื่อบันทึกเสียง ภาพยนตร์ รูปภาพ และภาพพิมพ์ ที่แปลงเป็นรูปดิจิทัลเพื่อให้บริการฟรีในอินเทอร์เน็ตที่ โครงการนี้เกิดจากความร่วมมือระหว่างยูเนสโกและ โดยตั้งความหวังไว้ว่าจะเป็นแหล่งรวมห้องสมุดสถาบันวัฒนธรรมจากทั่วโลก ปัจจุบันให้บริการสืบค้น 7 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย ภาษาสเปน ภาษาจีน ภาษาอารบิก และภาษาโปรตุเกส ซึ่งเป็นภาษาราชการของสหประชาชาติ เป้าหมายสำคัญที่ยูเนสโกและหอสมุดรัฐสภาอเมริกันย้ำ คือ การเติมเต็มช่องว่างดิจิทัลระหว่างประเทศต่าง ๆ เปิดโอกาสให้โลกรับรู้ รู้จักวัฒนธรรมของกันและกัน และเรียนรู้มากขึ้นเพื่อสร้างความเข้าใจและสันติภาพในโลก ซึ่งเทคโนโลยีสมัยใหม่โดยเฉพาะโครงการหอสมุดดิจิทัลสามารถเสนอความรู้ดิจิทัลและแบ่งปันกันอย่างเสรี หอสมุดแห่งชาติ 5 แห่ง ที่ร่วมริเริ่มกิจกรรมนี้ได้แก่ แล.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและหอสมุดดิจิทัลแห่งโลก · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยคำเติม

หน่วยคำเติม (affix) เป็นหน่วยคำชนิดหนึ่งที่ไม่สามารถใช้ในภาษาตามลำพังได้ แต่จะต้องใช้ร่วมกับหน่วยคำประเภทอื่นเสมอ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและหน่วยคำเติม · ดูเพิ่มเติม »

ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์

ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ (Dexter's Laboratory) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของสหรัฐอเมริกา ผลิตโดย Gendy Tatakovsky โดยค่าย Hanna-Barbera Cartoons ในปี 1996-1998 และเปลี่ยนมือมาเป็น Cartoon Network Studios ในปี 2001-2003 ฉายทั่วโลกผ่านทางช่อง Cartoon Network และทางยูบีซีช่อง 29 (ปัจจุบันทรูวิชั่นส์ ช่อง 44) สำหรับประเทศไทย ปัจจุบันออกอากาศที่ช่องบูมเมอแรง ช่อง 89 เรื่องราวของห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ เป็นเรื่องราวของเด็กซ์เตอร์ เด็กอัจฉริยะ ผู้ซึ่งมีสติปัญญาเหนือเด็กทั่วไป เขามีห้องทดลองลับอยู่ในห้องนอนของเขา โดยในแต่ละตอนเขามีหน้าที่ปกป้องห้องทดลองของเขาจากดีดี พี่สาวตัวร้าย และต้องไม่ให้พ่อกับแม่รู้เรื่องนี้อีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อภินิหารเข็มทิศทองคำ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและอภินิหารเข็มทิศทองคำ · ดูเพิ่มเติม »

ออคเตียบร์

ออคเตียบร์ หรืออีกชื่อคือ Oktyabr': Desyat' dney kotorye potryasli mir (Октябрь (Десять дней, которые потрясли мир)) เป็นภาพยนตร์เงียบอิงประวัติศาสตร์ของสหภาพโซเวียต โดย เซียร์เกย์ ไอเซนสไตน์ และ กรีโกรี อะเลคซันดรอฟ โดยสร้างเพื่อเป็นการฉลองครบรอบ 10 ปี การปฏิวัติเดือนตุลาคม โดยภาพยนตร์เช้าฉายในชื่อ October ในสหภาพโซเวียต และตัดต่อและเข้าฉายในต่างประเทศในชื่อ Ten Days That Shook The World โดยตั้งชื่อตามหนังสือที่เกี่ยวกับการปฏิวัติที่โดงดังของ John Reed.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและออคเตียบร์ · ดูเพิ่มเติม »

อับคาเซีย

อับฮาเซีย (Аҧсны, აფხაზეთი, Абха́зия) เป็นเขตการปกครองที่เกิดข้อโต้แย้งบนชายฝั่งตะวันออกของทะเลดำ ติดกับสหพันธรัฐรัสเซียทางเหนือ ติดกับบริเวณซาเมเกรโล-เซโม สวาเนตีของจอร์เจียทางตะวันออก เป็นที่ตั้งของสาธารณรัฐอับฮาเซีย ซึ่งเป็นสาธารณรัฐเอกราชโดยพฤตินัยแต่ไม่ได้รับการรับรองจากนานาชาติ อยู่ภายในแนวชายแดนของจอร์เจีย ซึ่งเป็นประเทศที่มีอยู่เพียงไม่กี่ประเทศเท่านั้นที่ให้การรับรอง ได้แก่ รัสเซีย เวเนซุเอลา นิการากัว นาอูรู โอเซเทียใต้ และทรานส์นิสเทรีย (สองประเทศหลังนี้ ประเทศส่วนใหญ่ก็ไม่ได้ให้การรับรองเช่นกัน) รัฐบาลจอร์เจียถือว่าอับฮาเซียอยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของตน โดยมีสถานะเป็นสาธารณรัฐปกครองตนเอง (აფხაზეთის ავტონომიური რესპუბლიკა, Аҧснытәи Автономтәи Республика) ซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมกันในประเทศอดีตสหภาพโซเวียต เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและอับคาเซีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรซีริลลิก

ประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิก อักษรซีริลลิก หรือ อักษรซิริลลิก (Cyrillic script) เป็นตัวอักษรที่ใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในกลุ่มภาษาสลาวิกนอกจากนี้ยังใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในอีกหลายประเทศ แต่ไม่มีอักษรซีริลลิกทุกตัวกับภาษาใด ขึ้นอยู่กับการเขียนในภาษานั้น ในกลุ่มประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิกด้วยกันเอง จะไม่เรียก ซีริล แต่จะออกเสียงว่า คีริล แทน เช่น ในภาษารัสเซียเรียกอักษรซีริลลิกว่า Кириллица คีริลลิซ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและอักษรซีริลลิก · ดูเพิ่มเติม »

อักขรวิธี

อักขรวิธี หมายถึงวิธีการเขียนและการใช้ระบบการเขียนของภาษาหนึ่งๆ ให้ถูกต้อง (ซึ่งภาษาหนึ่งๆ อาจมีระบบการเขียนมากกว่าหนึ่งแบบก็ได้ เช่นภาษาเคิร์ด) อักขรวิธีเป็นสิ่งที่นิยามหรืออธิบายถึงกลุ่มของสัญลักษณ์ที่ใช้ (คืออักษรหรือเครื่องหมายเสริมอักษรเป็นต้น) และกฎเกณฑ์ที่ว่าจะเรียบเรียงสัญลักษณ์เหล่านั้นอย่างไร กฎเกณฑ์เหล่านั้นอาจมีเรื่องของเครื่องหมายวรรคตอน การสะกดคำ และการขึ้นต้นอักษรตัวใหญ่เข้ามาประกอบด้วย ซึ่งแตกต่างกันออกไปในแต่ละภาษา บุคคลทั่วไปมักเข้าใจว่าอักขรวิธีเป็นเรื่องของการสะกดคำเพียงอย่างเดียว ความจริงคือการสะกดคำเป็นส่วนหนึ่งของอักขรวิธีเท่านั้น.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและอักขรวิธี · ดูเพิ่มเติม »

อัลมาส์

อัลมาส์ หรือ อัลมาตี (อังกฤษ: Almas; Almasty, Almasti; บัลแกเรีย: Алмас; เชเชน; Алмазы, ตุรกี: Albıs; มองโกล: Алмас; ภาษามองโกลแปลว่า "คนป่า") สิ่งมีชีวิตลึกลับขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ที่เชื่อว่ามีรูปร่างคล้ายมนุษย์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ พบตามเทือกเขาและป่าในภูมิภาคเอเชียกลาง รวมถึงไซบีเรีย มีลักษณะคล้าย เยติ ในเทือกเขาหิมาลัย และ บิ๊กฟุต ในทวีปอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและอัลมาส์ · ดูเพิ่มเติม »

อันนา คาเรนินา

อันนา คาเรนินา (Anna Karenina; Анна Каренина; บางครั้งเรียกว่า อันนา คาเรนิน หรือ Anna Karenin) เป็นนวนิยายแนวโศกนาฏกรรมโรแมนติก บทประพันธ์โดยเลโอ ตอลสตอย นักประพันธ์ชาวรัสเซีย ตีพิมพ์ครั้งแรกเป็นตอน ๆ นับจากปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและอันนา คาเรนินา · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรย์ คอลโมโกรอฟ

อันเดรย์ นิโคลาเยวิช คอลโมโกรอฟ อันเดรย์ นิโคลาเยวิช คอลโมโกรอฟ (รัสเซีย: Андре́й Никола́евич Колмого́ров; อังกฤษ: Andrey Nikolaevich Kolmogorov), เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1903 เสียชีวิต 20 ตุลาคม ค.ศ. 1987, เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวรัสเซีย ยักษ์ใหญ่ในวงการคณิตศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยมีผลงานโดดเด่นมากในงาน ทฤษฎีความน่าจะเป็นและทอพอโลยี.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและอันเดรย์ คอลโมโกรอฟ · ดูเพิ่มเติม »

อาชญากรรมกับการลงทัณฑ์

อาชญากรรมกับการลงทัณฑ์ นวนิยายโดยฟีโอดอร์ ดอสโตเยฟสกี เขียนขึ้นในปี..1866 ตีพิมพ์เป็นตอนๆครั้งแรกในนิตยสารเดอะ รัสเซียน แมสเซนเจอร์ เป็นระยะเวลา 12 เดือน จัดเป็นวรรณกรรมคลาสสิกชิ้นหนึ่งของโลก และเป็น 1 ใน 100 สุดยอดวรรณกรรมจากการโหวตของนักเขียนทั่วโลก มีการแปลและตีพิมพ์ในหลายประเทศ ตลอดจนมีการนำมาทำเป็นภาพยนตร์ และเขียนเป็นหนังสือการ์ตูนโดยอาซาโกะ ชิโอมิ นักวาดการ์ตูนชาวญี่ปุ่น ฟีโอดอร์ ดอสโตเยฟสกี เขียนเรื่องอาชญากรรมและการลงทัณฑ์ หลังจากที่เขาพ้นโทษจากการถูกส่งไปใช้แรงงานอย่างหนักที่ไซบีเรีย ในข้อหาเกี่ยวข้องกับกลุ่มเปตราเชฟต์สกี ที่พยายามโค่นล้มราชบัลลังก์พระเจ้าซาร์นีโคลัสที่ 1 แห่งรัสเซีย และต่อมางานเขียนชิ้นนี้ได้กลายเป็นหนึ่งในนวนิยายที่ดีที่สุดของเขานอกเหนือจากพี่น้องคารามาซอฟ เนื้อเรื่องกล่าวถึงความกดดันและสภาพที่ถูกบีบคั้นทางจิตใจของโรดิโอน โรมาโนวิช ราสโคลนิคอฟ นักศึกษาหนุ่มผู้ยากจนที่เช่าห้องอยู่ในกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก เขาก่อเหตุฆาตกรรมถึง 2 ศพ โดยฆาตกรรมครั้งแรกเป็นการฆ่าโดยไตร่ตรองและวางแผนไว้ล่วงหน้า โดยเขาฆาตกรรมหญิงสูงวัยที่เป็นเจ้าของโรงรับจำนำที่เขานำทรัพย์สินไปจำนำไว้ ด้วยการใช้ขวานสับ ส่วนฆาตกรรมครั้งหลัง เป็นการฆ่าปิดปากผู้ที่ผ่านมาเห็นเหตุการณ์เข้าโดยบังเอิญโดยที่เขาไม่ได้คาดคิดมาก่อน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์พีจี-29

หมวดหมู่:อาวุธต่อสู้รถถัง.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและอาร์พีจี-29 · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรซาร์รัสเซีย

อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย (Царство Русское หรือ Tsarstvo Russkoye, Tsardom of Russia) เป็นชื่อทางการ ของราชอาณาจักรรัสเซียที่เริ่มตั้งแต่การขึ้นเสวยราชย์ของซาร์อีวานที่ 4 แห่งรัสเซียในปี ค.ศ. 1547 และสิ้นสุดลงเมื่อซาร์ปีเตอร์ที่ 1 ทรงก่อตั้งจักรวรรดิรัสเซียในปี ค.ศ. 1721 คำว่า “Muscovite Tsardom” มักจะเป็นคำที่นักประวัติศาสตร์รัสเซียบางคนใช้ในการเรียกอาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย และถือว่าเป็นคำที่มีความหมายถึงอาณาจักรที่แท้จริง.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและอาณาจักรซาร์รัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

อุดร ฐาปโนสถ

อุดร ฐาปโนสถ หรือนามปากกา คนเดิม เป็นนักหนังสือพิมพ์ นักเขียน นักแปล และคอลัมนิสต์นิตยสาร มีชื่อเสียงจากคอลัมน์ "ริมสวน" ในนิตยสารลลนา ในยุคที่สุวรรณี สุคนธา เป็นบรรณาธิการ เราเลือกที่จะเกิดได้, สิงห์สนามหลวงสนทนา, เนชั่นสุดสัปดาห์, ปีที่ 18 ฉบับที่ 935, 30 เมษายน 2553 หน้า 52-53 อุดรเป็นนักแปลที่เชี่ยวชาญภาษารัสเซีย และมีผลงานเขียนคอลัมน์เกี่ยวกับสุขภาพ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศิลปากร ทำงานเป็นนักหนังสือพิมพ์ แล้วได้ย้ายไปทำงานอยู่ที่ประเทศรัสเซีย ทำงานที่สถานีวิทยุเสียงมอสโคว์ ภาคภาษาไทย สมรสกับ เจือจันทร์ ฐาปโนสถ นักแปล มีบุตรธิดา 9 คน และมีผลงานเขียนคอลัมน์เกี่ยวกับสุขภาพ อุดร ฐาปโนสถ เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและอุดร ฐาปโนสถ · ดูเพิ่มเติม »

อีวานวาซีเลียวิชเมนยาเอตโปรเฟสซียู

อีวานวาซีเลียวิชเมนยาเอตโปรเฟสซียู (Иван Васильевич меняет профессию, Ivan Vasilyevich menyayet professiyu) เป็นภาพยนตร์ตลก ไซไฟ ของสหภาพโซเวียตออกฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและอีวานวาซีเลียวิชเมนยาเอตโปรเฟสซียู · ดูเพิ่มเติม »

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

งของยูเนสโก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน

องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (The International Organization for Standardization: ISO) เป็นองค์การระหว่างประเทศที่กำหนดมาตรฐาน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน · ดูเพิ่มเติม »

องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้

องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ (Shanghai Cooperation Organisation, ย่อ: SCO) เป็นองค์การการเมือง เศรษฐกิจและการทหารในทวีปยูเรเชีย ก่อตั้งในปี 2544 ในเซี่ยงไฮ้ โดยผู้นำจีน คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน รัสเซีย ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน เดิมห้าประเทศ ยกเว้นอุซเบกิสถาน เป็นผู้ก่อตั้ง "เซี่ยงไฮ้ไฟฟ์" (Shanghai Five) ในปี 2539 แต่ต่อมาอุซเบกิสถานเข้าร่วมในปี 2544 จึงได้เปลี่ยนชื่อองค์การมาเป็นดังในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ

มิได้ลงนาม Col-end อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of all Forms of Discrimination against Women หรือย่อว่า CEDAW) เป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศฉบับหนึ่งซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติมีมติเห็นชอบในปี 2522 และสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศพัฒนาแล้วประเทศเดียวที่ลงนามในอนุสัญญานี้แล้วแต่มิยอมให้สัตยาบัน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย

อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย เป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการห้ามใช้ มีไว้ครอบครอง ผลิต ขนย้าย และกักตุนซึ่งอาวุธยุทธภัณฑ์ประเภทระเบิดลูกปราย (cluster bomb หรือ cluster monition) โดยได้รับสัตยาบันจากประเทศหนึ่งร้อยสิบเก้าประเทศในการประชุมที่กรุงดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2551 และจะได้มีการให้ปฏิญญาอย่างเป็นทางการที่กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ ในเดือนธันวาคม ปีเดียวกัน ประเทศที่ให้สัตยาบันในการประชุมที่กรุงดับลินจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ทุกกรณี, การประชุมหารือทางการทูตเพื่อการกำหนดใช้อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย, 30 พฤษภาคม 2551.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและอนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย · ดูเพิ่มเติม »

อ็องรี มูโอ

อ็องรี มูโอ (Henri Mouhot; 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1826 - 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1861) เป็นนักสำรวจและนักธรรมชาติวิทยาชาวฝรั่งเศส มีชื่อเสียงในช่วงกลางศตวรรษที่ 19 ในฐานะผู้ทำให้โลกตะวันตกรู้จักเมืองพระนคร จากหนังสือชื่อ Voyage dans les royaumes de Siam, de Cambodge, de Laos et autres parties centrales de l'Indochine (Travels in the Central Parts of Indo-China (Siam), Cambodia, and Laos During the Years 1858, 1859, and 1860; ตีพิมพ์ ค.ศ. 1863) มูโอเกิดที่มงเบลียาร์ ใกล้ชายแดนสวิตเซอร์แลนด์ ในวัยเด็กเขาใช้ชีวิตในรัสเซีย ใช้เวลากว่าสิบปีศึกษาและเป็นครูสอนภาษารัสเซีย จากนั้นได้เดินทางท่องเที่ยวในยุโรปและเอเชียพร้อมกับพี่ชาย และได้ศึกษาวิทยาการด้านการถ่ายภาพของหลุยส์ ดาแกร์ ในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและอ็องรี มูโอ · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ (ชื่อ)

อเล็กซานเดอร์ (Alexander) เป็นชื่อต้นของผู้ชาย มีที่มาจากคำในภาษาละติน "Alexander" ซึ่งเป็นการถอดคำมาจากภาษากรีกจากคำว่า "Αλέξανδρος".

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและอเล็กซานเดอร์ (ชื่อ) · ดูเพิ่มเติม »

ผ่านาทีวิกฤติกู้โลก

ผ่านาทีวิกฤติกู้โลก (Air Force One) เป็นภาพยนตร์โลดโผนเขย่าขวัญ เกี่ยวกับการจี้เครื่องบินโดยสารประธานาธิบดีสหรัฐ "Air Force One" โดย ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา (แสดงโดยแฮร์ริสัน ฟอร์ด) พยายามกอบกู้เครื่องบินกลับมาและรักษาชีวิตผู้โดยสารที่เป็นตัวประกันให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ กำกับภาพยนตร์โดยวูล์ฟกัง ปีเตอร์เซน ออกฉายในสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1997.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและผ่านาทีวิกฤติกู้โลก · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดิพอลล์ที่ 1 แห่งรัสเซีย (Па́вел I Петро́вич; Pavel Petrovich; Paul I of Russia) (พระราชสมภพ: 1 ตุลาคม (นับตามแบบเก่า: 20 กันยายน) พ.ศ. 2297 - 23 มีนาคม (นับตามแบบเก่า: 11 มีนาคม) พ.ศ. 2344) ทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิรัสเซีย ระหว่างปี พ.ศ. 2339 - พ.ศ. 2344 (5 ปี) สวรรคตโดยการถูกปลงพระชนม์ขณะครองราชย์ พระโอรสของพระองค์ จักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 จึงขึ้นสืบราชสมบัติต่อจากพระอง.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก)

ักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (Empress Maria Feodorovna of Russia) พระอิสริยยศเมื่อแรกประสูติคือ เจ้าหญิงดักมาร์แห่งเดนมาร์ก (พระนามรูปเต็ม มารี โซฟี เฟรเดริคเค ดักมาร์; 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2390 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2471) เป็นพระจักรพรรดินีมเหสีแห่งรัสเซีย เจ้าหญิงดักมาร์เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สองในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก และสมเด็จพระราชินีหลุยส์แห่งเฮสส์ - คาสเซิล หลังอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระเจ้าซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย จึงทรงได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีมเหสี หรือ ซาริน่าแห่งรัสเซีย ด้วยพระนามใหม่หลังจากการเข้ารีตในศาสนจักรออร์โธด็อกซ์รัสเซียว่า มารีเยีย ฟอโดรอฟนา (อักษรซีริลลิก: Mapия Фёдopoвна) พระราชโอรสพระองค์โตของพระองค์คือ สมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 2 แห่งรัสเซีย องค์พระประมุขรัสเซีย พระองค์สุดท้ายที่พระจักรพรรดินีทรงดำรงพระชนม์ชีพยืนยาวกว่าเป็นเวลาสิบปี.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและจักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดินีแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย (Catherine II of Russia) ซึ่งทรงได้รับการถวายพระราชสมัญญาว่า "แคทเธอรีนมหาราชินี" (หรือ Екатерина II Великая; Katharina die Große; 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2272 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2339) พระองค์ทรงเป็นจักรพรรดินีนาถที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดและครองราชย์ยาวนานที่สุดของรัสเซีย ทรงขึ้นครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2305 หลังจากการรัฐประหารและการปลงพระชนม์จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 พระราชสวามีของพระองค์เอง (ไม่นานหลังจากการสิ้นสุดของสงครามเจ็ดปี) จนกระทั่งเสด็จสวรรคต การปกครองของพระองค์เป็นการอธิบายถึงการเป็น ผู้ใช้อำนาจเด็ดขาดที่ทรงเรืองปัญญา (enlightened despot) ทั้งยังทรงฟื้นฟูจักรวรรดิรัสเซียให้แข็งแกร่งและมีอาณาเขตกว้างกว่าเดิมอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน จนรัสเซียกลายมาเป็นชาติมหาอำนาจที่สำคัญมากที่สุดชาติหนึ่งในยุโรป ในการเข้าถึงขุมอำนาจและปกครองจักรวรรดิของพระองค์ พระนางแคทเธอรีนมักจะทรงพึ่งพาอำนาจจากเหล่าขุนนางที่ทรงโปรดปราน และผู้ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเช่นกริกอรี ออโลฟ และกริกอรี โปเตมคิน หรือเหล่านายพลผู้มีอำนาจบารมีสูงเช่น ปิออตร์ รูเมียนเซฟ และอเล็กซานเดอร์ ซูโวโลฟ หรือแม้แต่พลเรือเอกเช่น ฟิโอดอร์ อูชาโคฟ พระนางปกครองรัสเซียในช่วงเวลาที่จักรวรรดิได้ทำการแผ่ขยายอาณาเขตของตนโดยทั้งการศึกสงครามและการทูต ทางทิศใต้, อาณาจักรข่านแห่งไครเมียร์ถูกบดขยี้และตามมาด้วยชัยชนะเหนือจักรวรรดิออตโตมันในสงครามรัสเซีย-ตุรกี ต่อมารัสเซียได้ทำการเข้ายึดครองดินแดนอันว่างเปล่าแห่งโนโวรอสซิยาตลอดจนชายฝั่งทะเลดำและทะเลอะซอฟ ทางทิศตะวันตก, เครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนียซึ่งถูกปกครองโดยอดีตคนรักของพระนาง พระเจ้าสตานิส์ลอว์ ออกุส โปเนียโทว์สกี ในที่สุดก็ถูกแบ่งแยกออกจากกันโดยรัสเซียได้ส่วนแบ่งของดินแดนมากที่สุด ทางทิศตะวันออก, รัสเซียเริ่มเข้ายึดครองอะแลสกาในรูปแบบของอาณานิคมจนนำไปสู่การก่อตั้งอเมริกาของรัสเซีย พระองค์ทรงทำการปฏิรูประบบราชการภายในของเขตกูเบอร์นิยา รวมไปถึงมีรับสั่งให้สถาปนาเมืองและหมู่บ้านขึ้นมากมาย และในฐานะที่ทรงเป็นผู้นิยมชมชอบพระราชกรณียกิจของจักรพรรดิปีเตอร์มหาราช พระองค์จึงได้ดำเนินพระราโชบายตามแนวทางของจักรพรรดิปีเตอร์มหาราชโดยการปฏิรูปรัสเซียให้เข้าสู่ความทันสมัยตามแบบฉบับชาติยุโรปตะวันตก อย่างไรก็ตามการเข้ารับราชการในกองทัพและระบบเศรษฐกิจของประเทศยังคงต้องพึ่งพาระบบทาสอยู่ต่อไป ในขณะที่ความต้องการใช้แรงงานของประเทศและของเหล่าผู้ครอบครองที่ดินเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้การใช้แรงงานทาสดำเนินไปถึงขั้นกดขี่แรงงานทาส และระบบทาสดังกล่าวก็เป็นหนึ่งในเหตุผลประการสำคัญของการก่อกบฏหลายต่อหลายครั้ง ดังเช่นกบฏปูกาเชฟที่มีกองทหารม้าและชาวนาจำนวนมากมายเข้าร่วมการกบฏ ตลอดระยะเวลาในการครองราชย์หรือ สมัยแคทเธอรีน ถูกพิจารณาว่าเป็นยุคทองของจักรวรรดิรัสเซียและของระบอบศักดินาในรัสเซีย แถลงการณ์ว่าด้วยเสรีภาพของขุนนางซึ่งเป็นที่โต้แย้งกันในรัชสมัยของจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 ก็ได้รับการยินยอมในช่วงรัชสมัยของพระนางแคทเธอรีน โดยแถลงการณ์ฉบับนี้ได้ให้อิสรภาพแก่บรรดาขุนนางไม่ต้องตกอยู่ภายใต้อำนาจของกองทัพหรือการรับราชการสนองคุณประเทศ ให้อิสรภาพในการครอบครองที่อยู่อาศัย เช่น แมนชันรูปแบบคลาสสิก โดยรูปแบบสถาปัตยกรรมดังกล่าวเป็นที่นิยมและได้รับการสนับสนุนโดยพระนางเจ้าแคทเธอรีนอย่างมาก ก่อให้เกิดตึกรามบ้านช่องอันหรูหราขึ้นจำนวนมาก ซึ่งตลอดช่วงการครองราชย์ของพระองค์ได้ทรงทำให้โฉมหน้าของประเทศเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง จึงกล่าวได้ว่ารัชสมัยของพระนางคือยุคเรืองปัญญาของรัสเซียก็ว่าได้.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิรัสเซีย

ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและจักรวรรดิรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเยอรมัน

ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จังคอย

ังคอย (ยูเครน และ รัสเซีย: Джанкой, Canköy; Dzhankoy, Djankoy, Dzhankoi) เป็นเมืองทางตอนเหนือของเขตไครเมีย ประเทศยูเครน ตั้งอยู่ห่างจากเมืองซิมเฟโรปอล 93 กม.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและจังคอย · ดูเพิ่มเติม »

จูเลีย มุลล็อก

ูเลีย มุลล็อก (Julia Mullock, 줄리아 멀록; 18 มีนาคม พ.ศ. 2471 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560) หรือชื่อภาษาเกาหลีว่า อี จู-อา เป็นหญิงชาวอเมริกันผู้เคยเป็นพระชายาของเจ้าชายกูแห่งเกาหลี ภายหลังได้หย่าร้างกัน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและจูเลีย มุลล็อก · ดูเพิ่มเติม »

จีเมล

ีเมล (Gmail) เป็นบริการอีเมลฟรีของกูเกิลผ่านทางระบบเว็บเมล POP และ IMAP โดยในขณะที่โปรแกรมยังอยู่ในระยะพัฒนา (บีตา) จีเมลเปิดให้ผู้ที่ได้รับคำเชิญทดลองใช้เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2547 และให้บริการแก่บุคคลทั่วไปเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 หลังจากนั้นจึงออกจากระยะพัฒนาพร้อมกับบริการอื่น ๆ ของกูเกิล แอปส์เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ปัจจุบันจีเมลรับรองการใช้งาน 54 ภาษารวมถึงภาษาไทย จีเมลเป็นผู้บุกเบิกการใช้ AJAX ที่ใช้งานจาวาสคริปต์และการใช้งานผ่านทางคีย์บอร์ด ทำให้สะดวกต่อการใช้งาน ปัจจุบัน จีเมลเป็นบริการอีเมล์บนเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้มากที่สุดในโลก กล่าวคือมากกว่า 425 ล้านคน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและจีเมล · ดูเพิ่มเติม »

จดีเมนยา

ีเมนยา (Zhdi menya) เป็นภาพยนตร์แนวชีวิตและสงครามของสหภาพโซเวียต กำกับโดย Boris Ivanov และ Aleksandr Stolper นำแสดงโดย Boris Blinov, Valentina Serova และ Lev Sverdlinโดยภาพยนตร์ถ่ายทำที่นครอัลมา-อะตา คาซัคโซเวียต เนื่องจากสตูดิโอภาพยนตร์มอสฟีล์มได้ย้ายสตูดิโอไปยังอัลมา-อะตาเพราะสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและจดีเมนยา · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ

รรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ (Rome Statute of the International Criminal Court) หรือเรียกโดยย่อว่า ธรรมนูญกรุงโรม (Rome Statute) เป็นสนธิสัญญาซึ่งมีเนื้อหาสาระเป็นการจัดตั้งและจัดเขตอำนาจศาลอาญาระหว่างประเทศ ธรรมนูญนี้ได้รับความเห็นชอบจากรัฐต่าง ๆ ณ การประชุมทางการทูตที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2541 และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2545 โดยในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน

23x15px ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน (พ.ศ. 2492–2534) ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน มีลักษณะคล้ายธงชาติสหภาพโซเวียต กล่าวคือ เป็นธงแดงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวสีทองและดาวแดงขอบทอง แต่ที่ตอนล่างของธงนั้นมีแถบสีฟ้า กว้าง 1 ใน 3 ของความกว้างธงทั้งหมด รูปค้อนเคียวและดาวแดงนั้นประดับไว้เฉพาะที่ธงด้านหน้าเท่านั้น ธงดังกล่าวมานี้ได้ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 นับเป็นธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนแบบสุดท้ายที่ใช้มาจนถึงการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี พ.ศ. 2534 หลังจากนั้นยูเครนจึงได้ประกาศเอกราชและเปลี่ยนธงชาติใหม่เป็นธงชาติยูเครนในปัจจุบัน ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนเริ่มปรากฏครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2462 ลักษณะเป็นธงสีแดง มีอักษรซีริลลิกย่อนามประเทศว่า УССР (เทียบเป็นอักษรโรมันคือ USSR โดยย่อมาจากชื่อประเทศในภาษารัสเซียว่า Ukrayinskaya Sotsialisticheskaya Sovetskaya Respublika) ธงลักษณะดังกล่าวได้ใช้สืบมาหลายปีโดยมีการแก้ไขรายละเอียดเล็กน้อยเกี่ยวกับแบบอักษรในปี พ.ศ. 2465 และ พ.ศ. 2470 ในเวลาถัดมาจึงได้มีการเพิ่มกรอบสี่เหลี่ยมสีทองล้อมอักษรย่อนามประเทศไว้ด้วย ในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย. ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่17 ธันวาคม, พ.ศ. 2495.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก เป็นธงชาติของอุซเบกิสถานในสมัยที่ยังอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต ประกาศใช้อย่างเป็นทางการโดยรัฐบาลสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก (Uzbek Soviet Socialist Republic) เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2495 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีแดง กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน กลางธงมีแถบสีฟ้าขอบสีขาวพาดผ่าน ที่มุมบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวไขว้และดาวแดงห้าแฉกขอบสีทอง อันเป็นสัญลักษณ์ของขบวนการคอมมิวนิสต์สากล ความหมายของสัญลักษณ์ในธง คือ สีแดง หมายถึงการต่อสู้เพื่อการปฏิวัติของชนชั้นกรรมาชีพ สีฟ้า หมายถึงผืนฟ้าในอุซเบกโซเวียต สีขาว หมายถึงฝ้าย อันเป็นทรัพยากรหลักของประเทศ ค้อนเคียว หมายถึงการร่วมมือกันระหว่างกรรมกรกับชาวนา ดาวแดง หมายถึง ชั้นกรรมาชี.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก มีลักษณะเป็นธงแดงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน กลางธงมีแถบใหญ่สีขาวและแถบเล็กสีเขียวพาดผ่านตามแนวนอน ที่มุมบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวไขว้และดาวแดงห้าแฉกขอบสีทอง อันเป็นสัญลักษณ์ของขบวนการคอมมิวนิสต์สากล ประกาศใช้เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2496 และได้ใช้มาจนถึงการล่มสลายของสหภาพโซเวียตใน พ.ศ. 2534 ประวัติความเป็นมาของธงชาติสาธารณรัฐโซเวียตธงนี้มีความเป็นมาที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงแบบธงมาหลายครั้ง โดยเริ่มแรกสุด สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิกเริ่มคิดธงชาติแบบแรกขึ้นในปี พ.ศ. 2468 แต่ได้ประกาศใช้จริงเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2472 ลักษณะเป็นธงพื้นสีแดงมีรูปตราแผ่นดินที่มุมธงด้านคันธง 2 ปีต่อมา ใน พ.ศ. 2474 ได้มีการเปลี่ยนแปลงธงใหม่ตามรัฐธรรมนูญที่ประกาศใช้ในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ของปีนั้น โดยเปลี่ยนมาใช้รูปอักษรย่อนามประเทศเป็นอักษรลาตินสีทอง ภาษาทาจิก ที่มุมบนด้านคันธง ความว่า ÇSS Toçikiston ต่อมาในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2478 อักษรย่อนามประเทศในภาษารัสเซีย เขียนด้วยอักษรซีรีลลิก จึงถูกเพิ่มเข้ามาในธง ในบริเวณตอนล่างของอักษรย่อเดิม ความว่า Таджикская ССР (Tadzhikskaya SSR) ปี พ.ศ. 2480 มีการเพิ่มรูปค้อนเคียวไว้เหนืออักษรย่อนามประเทศ และรูปอักษรมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย โดยคำย่อตอนบนซึ่งเป็นอักษรและภาษาละติน มีใจความว่า RSS Toçikiston ส่วนตอนล่างซึ่งเป็นอักษรซีริลลิกยังคงมีลักษณะเช่นเดิม แบบธงดังกล่าวนี้ได้ใช้ต่อมาจนถึงช่วงทศวรรษที่ 1940 (พุทธทศวรรษที่ 2483) จึงได้เปลี่ยนอักษรย่อนามประเทศในธงทั้งหมดให้เป็นอักษรซีรีลลิกแบบไม่มีเชิง โดยอักษรย่อแถวบนมีข้อความภาษาทาจิก ความว่า РСС Тоҷикистон (RSS Tojikiston) ส่วนตอนล่างเป็นภาษารัสเซีย ความว่า Таджикская ССР (Tadzhikskaya SSR) แบบธงนี้ได้ใช้ต่อมาจนกระทั่งมีการเปลี่ยนธงครั้งสุดท้ายใน พ.ศ. 2496.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช ที่ตั้งของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล - ฟินนิช ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช มีลักษณะเป็นธงแดงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวและดาวแดงอย่างธงชาติสหภาพโซเวียต ตอนล่างของธงเป็นแถบสีฟ้าและแถบสีเขียวพาดไปตามความยาวของธง เรียงลำดับจากบนลงล่าง แต่ละแถบกว้างประมาณ 1 ใน 5 ของส่วนกว้างของธง ธงดังกล่าวนี้เริ่มใช้เมื่อ ค.ศ. 1953 และเลิกใช้ในปี ค.ศ. 1956 จากการยุบเลิกสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิชโดยสหภาพโซเวียต เมื่อมีการยกฐานะสาธารณรัฐปกครองตนเองคาเรเลียขึ้นเป็นสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิชในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1940 ได้มีการออกแบบธงประจำดินแดนขึ้นใหม่ โดยมีลักษณะเป็นธงแดงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวและอักษรบอกนามประเทศ 2 แถว แถวบนเป็นอักษรละติน ภาษาฟินแลนด์ ใจความว่า Karjalais-Suomalainen SNT (ย่อจาก Karjalais-Suomalainen Sosialistinen Neuvostotasavalta) แถวล่างเป็นภาษารัสเซีย อักษรซีริลลิก ใจความว่า Карело-Финская ССР (ย่อจาก (Карело-Финская Советская Социалистическая Республика) รูปดังกล่าวทั้งหมดเป็นสีเหลืองทอง ในปี ค.ศ. 1947 ได้มีผู้ออกแบบธงสำหรับสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิชขึ้นใหม่ โดยมีลักษณะเป็นธงแดงรูปค้อนเคียวและดาวแดง ใต้รูปดังกล่าวมีอักษรย่อ 2 แถว เป็นใจความว่า K.-S.S.N.T. และ К.-Ф.С.С.Р. ตอนล่างของธงมีแถบสีฟ้าขนาดใหญ่และแถบสีเขียวขนาดเล็กพาดผ่านตามแนวนอน ในแถบสีฟ้านั้นมีรูปต้นไม้ขนาดเล็กสีดำ 20 ต้น วางเรียงรายไปตามแถบนั้น ธงดังกล่าวแม้จะไม่มีการใช้จริง แต่ก็มีการสันนิษฐานว่าธงนี้อาจมีอิทธิพลในการออกแบบธงชาติแบบสุดท้ายใน ค.ศ. 1953 ก็ได้ เนื่องจากลักษณะรูปแบบของธงนั้นคล้ายคลึงกันมาก.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช · ดูเพิ่มเติม »

ทรานส์นีสเตรีย

ทรานส์นีสเตรีย (Transnistria, Transdniestria) หรือ พรีดเนสโตรวี (Pridnestrovie) เป็นภูมิภาคแห่งหนึ่งของประเทศมอลโดวา ตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำนีสเตอร์กับชายแดนมอลโดวา (ด้านที่ติดกับประเทศยูเครน) ปัจจุบันบริเวณนี้ถูกปกครองโดย สาธารณรัฐมอลเดเวียพรีดเนสโตรวี (Pridnestrovian Moldavian Republic) ซึ่งมีอยู่เพียงสามประเทศเท่านั้นที่ให้การรับรองเอกราช ได้แก่ อับฮาเซีย, เซาท์ออสซีเชีย และสาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัค (สามประเทศนี้ ประเทศส่วนใหญ่ก็ไม่ได้ให้การรับรองเช่นกัน) รัฐบาลมอลโดวาถือว่าทรานส์นีสเตรียอยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยและยังคงเป็นส่วนหนึ่งของตน โดยมีสถานะเป็นสาธารณรัฐปกครองตนเองซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมกันในประเทศอดีตสหภาพโซเวียต แม้ว่ารัฐบาลมอลโดวาจะไม่มีอำนาจปกครองในดินแดนนี้แล้วก็ตาม.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและทรานส์นีสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลอารัล

ทะเลอารัล (ภาษาคาซัค: Арал Теңізі, Aral Tengizi; ภาษาอุซเบก: Orol dengizi; ภาษารัสเซีย: Аральскοе мοре; ภาษาทาจิก/ภาษาเปอร์เซีย: Daryocha-i Khorazm, Lake Khwarazm) เป็นทะเลปิดที่อยู่ในเอเชียกลาง อยู่ระหว่างประเทศคาซัคสถานกับสาธารณรัฐคาราคัลปัคสถานซึ่งเป็นดินแดนปกครองตนเองของประเทศอุซเบกิสถาน ปัจจุบันปริมาณน้ำในทะเลลดลงมากจนทะเลถูกแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ทะเลอารัลเหนือ ทะเลอารัลใต้ส่วนตะวันออกและทะเลอารัลใต้ส่วนตะวันตก ครั้งหนึ่งทะเลอารัลมีพื้นที่ 68,000 ตารางกิโลเมตร ตั้งแต่ประมาณปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและทะเลอารัล · ดูเพิ่มเติม »

ที-34

ที-34 (T-34) เป็นรถถังขนาดกลางของโซเวียต ที่ผลิตช่วง..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและที-34 · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว

ท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว (รัสเซีย: Международный Аэропорт Москва-Шереметьево) ตั้งอยู่ที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย เป็นหนึ่งในท่าอากาศสำคัญของกรุงมอสโก โดยมีจำนวนผู้ใช้บริการเป็นรองท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอโรฟลอต และการที่ท่าอากาศยานแห่งนี้เกิดปัญหาในหลายด้าน ทำให้สายการบินจำนวนมาก ได้ทยอยเปลี่ยนเที่ยวบินจากเชเรเมเตียโวไปยังโดโมเดโดโว จึงได้มีการปรับปรุงท่าอากาศยานแห่งนี้เป็นการใหญ่ เพื่อให้มีบริการที่ได้ระดับมาตรฐานสากล โดยคาดว่าการปรับปรุงทั้งหมดจะแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว · ดูเพิ่มเติม »

ดราก้อน ลี

ราก้อน ลี (드래건 리; Dragon Lee) หรือที่ชาวเกาหลีใต้รู้จักกันในชื่อ กอรยง (거룡) เกิดวันที่ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและดราก้อน ลี · ดูเพิ่มเติม »

ดิวโอลิงโก

วโอลิงโก (Duolingo) เป็นโปรแกรมเรียนภาษาฟรีที่ใช้ปัญหาเป็นการหาคำตอบเป็นหลัก การให้บริการของโปรแกรมนี้ถูกออกแบบมาให้ผู้ใช้ทำแบบฝึกหัดในแต่ละบทสำเร็จ ในขณะเดียวกันก็ช่วยแปลเว็บไซต์และเอกสารอื่น ๆ ไปด้วย ในวันที่ 13 ธันวาคม 2557 ดิวโอลิงโกได้ให้บริการการเรียนภาษาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาษาสเปน, ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาเยอรมัน, ภาษาโปรตุเกส, ภาษาอิตาลี, ภาษาดัตช์, ภาษาไอริช, ภาษาเดนมาร์ก และภาษาสวีเดนสำหรับผู้ใช้ที่พูดภาษาอังกฤษ และภาษาอังกฤษสำหรับผู้ใช้ภาษาสเปน, ฝรั่งเศส, เยอรมัน, โปรตุเกส, อิตาลี, กรีก, ดัตช์, รัสเซีย, โปแลนด์, ตุรกี, ฮังการี, โรมาเนีย, ญี่ปุ่น, ฮินดี, อินโดนีเซีย, เกาหลี และเช็ก และยังมีคู่ภาษาอื่น ๆ อีกมากมาย สามารถใช้ได้บนเว็บ, ไอโอเอส, แอนดรอยด์ และวินโดวส์โฟน 8.1 ดิวโอลิงโกได้เริ่มต้นทดสอบระบบครั้งแรกเฉพาะเจ้าหน้าที่ในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2555 และมียอดผู้ใช้ที่รอคอยมากกว่า 300,000 คน ในวันที่ 19 มิถุนายน 2556 ดิวโอลิงโกได้เปิดตัวสู่สาธารณะเป็นครั้งแรก ในปี 2557 แอปเปิลได้เลือกให้ดิวโอลิงโกเป็นแอปพลิเคชันประจำปี เป็นครั้งแรกที่รางวัลนี้ได้ถูกมอบแก่แอปพลิเคชันทางการศึกษา ดิวโอลิงโกชนะการประกวดแอปพลิเคชันใหม่ที่ดีที่สุดในงาน 2014 Crunchies, และเป็นแอปพลิเคชันทางการศึกษาที่มียอดดาวน์โหลดสูงที่สุดในกูเกิลเพลย์ ปี 2556 และ 2557 ในเดือนมกราคม 2557 ดิวโอลิงโกมียอดผู้ใช้งานรวม 60 ล้านคน ซึ่งมี 20 ล้านคนที่ยังคงใช้งานอยู.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและดิวโอลิงโก · ดูเพิ่มเติม »

ดีเบลชทรอมเมิล

ีเบลชทรอมเมิล (Die Blechtrommel; The Tin Drum) เป็นภาพยนตร์ภาษาเยอรมันที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและดีเบลชทรอมเมิล · ดูเพิ่มเติม »

คริส ฮันเตอร์ (ทหารบกชาวสหราชอาณาจักร)

ริส ฮันเตอร์, คิวจีเอ็ม (Chris Hunter, QGM) เป็นนามแฝงของนักเขียนชาวสหราชอาณาจักร, ผู้เชี่ยวชาญด้านการกำจัดระเบิด และอดีตข้าราชการแห่งกองทัพบกสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและคริส ฮันเตอร์ (ทหารบกชาวสหราชอาณาจักร) · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลงปารีส

วามตกลงปารีส (Paris Agreement) เป็นความตกลงตามกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ยูเอ็นเอฟซีซีซี) เพื่อกำหนดมาตรการลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและความตกลงปารีส · ดูเพิ่มเติม »

คองเกรสโปแลนด์

ราชอาณาจักรคองเกรสโปแลนด์, ค.ศ. 1815-1830 แผนที่คองเกรสดปแลนด์ (จักรวรรดิรัสเซีย) ค.ศ. 1902 ราชอาณาจักรโปแลนด์ (Królestwo Polskie; Королевство Польское, Царство Польское, Korolevstvo Polskoye, Tsarstvo Polskoye,, Carstwo Polskie, translation: อาณาจักรซาร์โปแลนด์) มีชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า คองเกรสโปแลนด์ (Królestwo Kongresowe หรือ รัสเซียโปแลนด์) สถาปนาเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและคองเกรสโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

คำปฏิญาณโอลิมปิก

การกล่าวคำปฏิญาณตนในพิธีเปิดกีฬาโอลิมปิก เป็นการปฏิญาณตนในพิธีเปิดโอลิมปิกโดยนักกีฬา, ผู้ตัดสิน, เจ้าหน้าที่จำนวนหนึ่งคน พร้อมกับผู้ฝึกสอนอีกจำนวนหนึ่งคนยืนอยู่ข้างตัว ผู้กล่าวคำปฏิญาณตนจะเป็นคนจากประเทศเจ้าภาพในปีนั้น ผู้กล่าวคำปฏิญาณตนจะปฏิญาณตนในนามของนักกีฬา, เจ้าหน้าที่ หรือผู้ฝึกสอนในพิธีเปิดโอลิมปิกทั้งหมดโดยจะมีผู้ช่วยถือธงโอลิมปิกอยู่ตรงหัวมุมเสมอ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและคำปฏิญาณโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

คิม จ็อง-อิล

ม จ็อง-อิล มีชื่อเมื่อแรกเกิดว่า ยูริ อีร์เซโนวิช คิม/Юрий Ирсенович Ким (ตามบันทึกโซเวียต) (16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1941/2 – 17 ธันวาคม ค.ศ. 2011) อดีตผู้นำสูงสุดของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) เขาเป็นเลขาธิการพรรคกรรมกรเกาหลี ซึ่งเป็นพรรครัฐบาลตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและคิม จ็อง-อิล · ดูเพิ่มเติม »

คูบันสกีเอคาซากี

ูบันสกีเอคาซากี เป็นภาพยนตร์ฟิล์มสีแนวดนตรีของสหภาพโซเวียต ภาพยนตร์กำกับโดย Ivan Pyryev.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและคูบันสกีเอคาซากี · ดูเพิ่มเติม »

คีโนโปอีสค์

ีโนโปอีสค์, คีโนโปอีสค์ดอตอาร์ยู (КиноПоиск, КиноПоиск.Ru,เป็นการนำคำว่า คีโน (Кино) ที่แปลว่าภาพยนตร์ และคำว่า โปอีสค์ (Поиск) ที่แปลว่าค้นหามารวมเข้าด้วยกัน) เป็นเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการภาพยนตร์ของรัสเซีย โดยเว็บไซต์มีข้อมูลเกี่ยวกับภาพยนตร์, ทีวีโชว์, นักแสดง, ผู้กำกับ, ผู้อำนวยการสร้าง, นักเขียนบท, นักแต่งเพลง, นักตัตต่อเป็นต้น โดยเป็นเว็บไซต์ที่เป็นที่นิยมของงสังคมออนไลน์ในรัสเซีย และหนึ่งในเว็บไซต์ภาพยนตร์ที่นิยมในRunet, โดยอยู่ในอันดับที่ 18 ของการจัดอันดับเว็บไซต์รัสเซียของ Alexa ในเดือนกรกฎาคม 2016.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและคีโนโปอีสค์ · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 87

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 87 เป็นงานมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 87 · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 90

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 90 เป็นงานประกาศมอบรางวัลที่จัดขึ้นโดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์สำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 90 · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หรือ ตระกูลภาษาอินเดีย-ยุโรป ประกอบด้วยภาษาและภาษาย่อยรวม 443 ภาษา (ตามการประมาณของ SIL) ที่พูดโดยคนประมาณ 3 พันล้านคน ซึ่งรวมถึงตระกูลภาษาหลัก ๆ ของยุโรป และเอเชียตะวันตก ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลใหญ่ ภาษาปัจจุบันที่อยู่ในตระกูลใหญ่นี้ มีเช่น ภาษาเบงกาลี ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี ภาษาโปรตุเกส ภาษารัสเซีย และ ภาษาสเปน (แต่ละภาษามีคนพูดมากกว่า 100 ล้านคน).

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน · ดูเพิ่มเติม »

ตูย์เลนี

ตูย์เลนี (Тюлений) เป็นเกาะที่ไม่มีคนอาศัยในทะเลแคสเปียน โดยเกาะนี้อยู่ห่างจากเมืองจวนพิลไปทางตะวันออก 47 ก.ม.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและตูย์เลนี · ดูเพิ่มเติม »

ซาบีนา อัลตึนเบโควา

ซาบีนา อัลตึนเบโควา (Сабина Алтынбекова; Sabina Altynbekova; 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 —) เป็นสมาชิกของวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติคาซัคสถาน โดยในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและซาบีนา อัลตึนเบโควา · ดูเพิ่มเติม »

ซาราห์ ไบรท์แมน

ซาราห์ ไบรท์แมน เป็นนักร้องเสียงโซปราโน นักแสดง นักแต่งเพลง และนักเต้นชาวอังกฤษ มีความสามารถในการร้องเพลงหลายภาษา ทั้งภาษาอังกฤษ สเปน ฝรั่งเศส ละติน เยอรมัน อิตาลี รัสเซีย ฮินดี และแมนดาริน เป็นนักร้องเสียงโซปราโนที่มียอดขายผลงานมากที่สุด ถึง 30 ล้านอัลบัม และ2 ล้านแผ่นดีวีดี ไบรท์แมนมีชื่อเสียงจากบทบาท "คริสทีน" จากละครเพลง เดอะแฟนธ่อมออฟดิโอเปร่า ฉบับปี 1984 ของแอนดรูว์ ลอยด์ เวบเบอร์ ที่เขาเขียนบทบาทนี้เป็นพิเศษสำหรับเธอ เวบเบอร์ถึงกับปฏิเสธไม่ยินยอมให้ละครเพลงเรื่องนี้ไปจัดแสดงที่โรงละครบรอดเวย์ หากไบร์ทแมนไม่ได้รับบทคริสทีน ไบร์ทแมนพบกับแอนดรูว์ ลอยด์ เวบเบอร์ในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและซาราห์ ไบรท์แมน · ดูเพิ่มเติม »

ซาร์ยา

องซาร์ยาในอวกาศ ซาร์ยา (Zarya ในภาษารัสเซียแปลว่า รุ่งอรุณ) เป็นส่วนประกอบแรกของสถานีอวกาศนานาชาติ (อังกฤษ: International Space Station; ISS).

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและซาร์ยา · ดูเพิ่มเติม »

ซาเรฟนา

ซาเรฟนา (อังกฤษ:Tsarevna; รัสเซีย: Царевна) เป็นพระอิสริยยศของพระราชธิดาในซาร์ แห่งรัสเซียในยุคก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 18 ตำแหน่งนี้หมายความรวมถึงพระราชธิดาในพระเจ้าซาร์ และพระชายาในซาเรวิชด้วย ซาเรฟนาหลายพระองค์มิได้เสกสมรส และใช้พระชนม์ชีพจนเจริญพระชันษา หรือแม้กระทั่งใช้ชีวิตในวัยชราในคอนแวนต์ หรือในพระราชวังเทอเรม หมู่พระราชวังเครมลินแห่งมอสโก เว้นแต่เพียงพระราชธิดาในซาร์อีวานที่ 5 แห่งรัสเซีย ซึ่งก็คือ ซาเรฟนาเยกาเจรีนา อีวานอฟนาแห่งรัสเซีย ได้เสกสมรสกับเจ้าชายคาร์ล เลโอโปลด์ ดยุกแห่งเมคเลินบวร์ค-ชเวรีน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและซาเรฟนา · ดูเพิ่มเติม »

ซูสีไทเฮา

ฉือสี่ไท่โฮ่ว ตามภาษาจีนมาตรฐาน หรือ ซูสีไทเฮา ตามภาษาจีนฮกเกี้ยน (29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1835 – 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1908) เป็นสตรีชาวแมนจูจากตระกูลเย่เฮ่อน่าลา (葉赫那拉氏) ดำรงตำแหน่งไท่โฮ่ว (พระราชชนนีพันปีหลวง) และสำเร็จราชการแทนจักรพรรดิจีนหลายพระองค์ในช่วงปลายราชวงศ์ชิง พระนางจึงควบคุมการปกครองจักรวรรดิจีนโดยพฤตินัยเป็นเวลา 47 ปีตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและซูสีไทเฮา · ดูเพิ่มเติม »

ซีรี

ซีรี (Siri) เป็นซอฟต์แวร์ผู้ช่วยอัจฉริยะ (intelligent software assistant) และผู้นำร่องความรู้ (knowledge navigator) ซึ่งทำหน้าที่เสมือนแอปพลิเคชันช่วยส่วนบุคคลสำหรับอุปกรณ์iOS แอปพลิเคชันนี้ใช้อินเตอร์เฟซผู้ใช้ภาษาธรรมชาติในการตอบคำถาม เสนอคำแนะนำ และดำเนินการปฏิบัติตามคำขอซึ่งได้รับมอบหมายไปยังชุดบริการเว็บ แอปเปิลอ้างว่าซอฟต์แวร์นี้ปรับให้เข้ากับความพึงใจส่วนตัวของผู้ใช้เมื่อเวลาผ่านไป และให้ผลเป็นของตัว เช่นเดียวกับการบรรลุภารกิจ เช่น การหาคำแนะนำร้านอาหารละแวกใกล้เคียง หรือถามทาง ซีรีเดิมเริ่มแรกเป็นแอปพลิเคชัน iOS ที่สามารถหาได้ใน App Store ซีรีตกเป็นกรรมสิทธิของบริษัทแอปเปิลเมื่อวันที่ 28 เมษายน..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและซีรี · ดูเพิ่มเติม »

ซีจีทีเอ็น รุสสกีย์

อัตลักษณ์ของซีจีทีเอ็น รุสสกีย์ (พ.ศ. 2552-2559) ซีจีทีเอ็น รุสสกีย์ (CGTN Russkiy) เป็นเป็นช่องรายการข่าวโทรทัศน์ภาคภาษารัสเซียของสถานีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งประเทศจีน ภายใต้เครือข่ายโทรทัศน์ภาคบริการโลกแห่งประเทศจีน หรือ China Global Television Network ออกอากาศครั้งแรกเมื่อ 10 กันยายน ค.ศ. 2009 นำเสนอรายการข่าวในรัสเซียและทั่วโลกรวมถึงรายการที่นำเสนอศิลปวัฒนธรรมและภาพลักษณ์ของประเทศจีน ในรูปแบบภาษารัสเซีย ซีซีทีวี รุสสกีย์ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น ซีจีทีเอ็น รุสสกีย์ พร้อมกับช่องโทรทัศน์ภาคภาษาต่างประเทศของซีซีทีวีทั้งหมด พร้อมกับการจัดตั้งเครือข่ายโทรทัศน์ภาคบริการโลกแห่งประเทศจีน หรือ China Global Television Network เพื่อแยกเอาช่องโทรทัศน์ภาคภาษาต่างประเทศของซีซีทีวีทั้งหมด มาขึ้นกับ CGTN เพื่อความคล่องตัวในการบริหารงาน โดยทั้งนี้ กราฟิก เพลงประกอบ ยังคงใช้ต่อเนื่องมาจากซีซีทีวีรุสสกีย์เดิม เพียงแต่กราฟิกมีการปรับสีจากเดิมสีแดงเป็นสีน้ำเงิน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและซีจีทีเอ็น รุสสกีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา (Unternehmen Barbarossa, Operation Barbarossa, รัสเซีย: Оперенация Барбарросса) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวียตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ชื่อปฏิบัติการบาร์บารอสซาถูกตั้งชื่อตามพระนามของจักรพรรดิฟรีดริช บาร์บารอสซา แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้นำสงครามครูเสดครั้งที่สาม ในช่วงคริสต์ศตวรรรษที่ 12 วัตถุประสงค์ของปฏิบัติการนี้ คือ การพิชิตสหภาพโซเวียตทางภาคพื้นยุโรปทั้งหมด ซึ่งถือเอาแนวที่ลากเส้นระหว่าง อัคอังเกลส์ก (Arkangelsk) ที่อยู่ทางตอนเหนือของรัสเซีย ลงไปจนถึงเมืองอัสตราคาน (Astrakhan) ที่อยู่ริมสามเหลี่ยมปากแม่น้ำวอลกา โดยแนวนี้ถูกเรียกว่าแนว AA ปฏิบัติการบาร์บารอสซาไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่ฮิตเลอร์คาดหวังไว้ ในทางยุทธวิธีแล้ว กองทัพเยอรมันก่อให้เกิดความเสียหายใหญ่หลวงต่อสหภาพโซเวียต โดยการยึดครองพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญของประเทศเอาไว้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานหลังจากปฏิบัติการบาร์บารอสซา กองทัพเยอรมันไม่อาจเป็นฝ่ายบุกในแนวรบด้านตะวันออกอีกต่อไป และหลังจากนั้น ก็ประสบความพ่ายแพ้มาตลอดMilitary-Topographic Directorate, maps No.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและปฏิบัติการบาร์บารอสซา · ดูเพิ่มเติม »

ประชากรศาสตร์กัมพูชา

รวมของประชากรในประเทศกัมพูชาในด้านความหนาแน่นของประชากร กลุ่มชาติพันธุ์ ระดับการศึกษา ภาพรวมด้านสาธารณสุข สถานะทางเศรษฐกิจ ศาสนา และอื่นๆ เป็นดังนี้.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและประชากรศาสตร์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอลโดวา

มอลโดวา (Moldova) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมอลโดวา (Republica Moldova) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปตะวันออก ตั้งอยู่ระหว่างประเทศโรมาเนียทางทิศตะวันตก และประเทศยูเครนทางทิศตะวันออก มีพรมแดนกับโรมาเนียตามแม่น้ำพรุต (Prut River) และแม่น้ำดานูบ (Danube River) ในอดีตพื้นที่ประเทศมอลโดวาอยู่ในอาณาบริเวณของราชรัฐมอลดาเวีย (Principality of Moldavia) ต่อมาถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิรัสเซียในปี พ.ศ. 2355 และได้รวมกับดินแดนโรมาเนียอื่น ๆ เป็นประเทศโรมาเนียในปี พ.ศ. 2461 หลังจากเปลี่ยนผู้มีอำนาจเหนือดินแดนนี้ไปมาในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 มอลโดวาก็ได้กลายเป็นดินแดนของสหภาพโซเวียตในชื่อสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลดาเวีย (Moldavian SSR) ระหว่างปี พ.ศ. 2488-2534 จนในที่สุดก็ได้ประกาศเอกราชเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2534.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและประเทศมอลโดวา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถาน

อุซเบกิสถาน (Uzbekistan; O'zbekiston) หรือชื่ออย่างเป็นทางการก็คือ สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน (Republic of Uzbekistan; O‘zbekiston Respublikasi) เป็นประเทศในทวีปเอเชียกลางที่ถูกล้อมรอบด้วยประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศอัฟกานิสถานในทวีปเอเชียใต้ ประเทศคาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลอารัล อุซเบกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและประเทศอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคาซัคสถาน

อัลมาตี คาซัคสถาน (Қазақстан,; Казахстан) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคาซัคสถาน (Қазақстан Республикасы; Республика Казахстан) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ครอบคลุมกว้างขวางในทวีปเอเชีย และเป็นสาธารณรัฐในอดีตสหภาพโซเวียต มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศในเอเชียกลาง ได้แก่ คีร์กีซถาน อุซเบกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน คาซัคสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต คาซัคสถานเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก อย่างไรก็ดี มีพื้นที่กึ่งทะเลทราย (steppe) อยู่มาก จึงมีประชากรเป็นอันดับที่ 57 มีประมาณ 6 คน/ตร.กม.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและประเทศคาซัคสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคีร์กีซสถาน

ก พิพิธภัณฑ์เลนิน ชายสวมหมวกแบบดั้งเดิม คีร์กีซสถาน (คีร์กีซและКыргызстан) หรือมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐคีร์กีซ (Кыргыз Республикасы; Кыргызская Республика) เป็นประเทศในเอเชียกลาง มีพรมแดนติดกับสาธารณรัฐประชาชนจีน คาซัคสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล เมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดมีชื่อว่าบิชเคก (เดิมเรียกว่า ฟรุนเซ) คีร์กีซสถานเดิมเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและประเทศคีร์กีซสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลารุส

ลารุส (Беларусь บฺแยลารูสฺย; Беларусь, Белоруссия) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเบลารุส (Рэспубліка Беларусь; Республика Беларусь) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกัยรัสเซีย ยูเครน โปแลนด์ ลิทัวเนีย และลัตเวีย เมืองหลวงของประเทศคือกรุงมินสก์ เมืองสำคัญของประเทศนี้ ได้แก่ เบรสต์ กรอดโน กอเมล และวีเซี.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและประเทศเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสเตอร์เจียนขาว

ปลาสเตอร์เจียนขาว (Beluga, European sturgeon, Giant sturgeon, Great sturgeon; Белуга-แปลว่า สีขาว) ปลาน้ำจืดและน้ำกร่อยขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Acipenseridae มีลักษณะลำตัวยาว ส่วนของหางเหมือนปลาฉลาม มีเกล็ดเป็นหนามแหลม ๆ เรียงเป็นแถวอยู่บนลำตัว ปลายปากเรียวแหลม ช่องปากอยู่ด้านล่างของลำตัวมีหนวดขนาดเล็กหลายเส้นรอบ ๆ ปากไว้รับสัมผัส ส่วนหลังมีสีดำอมเทา ส่วนท้องและขอบครีบต่าง ๆ มีสีขาว เมื่อยังเล็กส่วนท้องจะมีสีขาว ส่วนขอบของครีบมีสีขาว พื้นลำตัวมีสีเทาและหนามบนหลังมีสีขาว จึงเป็นที่มาของชื่อ ปลาสเตอร์เจียนขาว นับเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่มาก เมื่อโตเต็มที่ยาวได้ถึง 5 เมตร น้ำหนักถึง 900 กิโลกรัม และมีบันทึกว่าพบใหญ่ที่สุดถึง 9 เมตร นับเป็น 2 เท่าตัวของความยาวปลาฉลามขาว ด้วยซ้ำจึงจัดว่าเป็นปลาน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่มากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก ในธรรมชาติพบการแพร่กระจายในเขตหนาวของทวีปยุโรป เช่น ทะเลดำ, ทะเลสาบแคสเปียน และทะเลเอเดรียติก หากินอยู่ตามพื้นน้ำโดยใช้หนวดสัมผัส อาหารได้แก่ ปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ ใน..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและปลาสเตอร์เจียนขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปอลตาวา

ปอลตาวา (ยูเครน, รัสเซีย: Полта́ва) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่บนแม่น้ำ Vorskla River ในทางตอนกลางของ ประเทศยูเครนเมืองนี้ยังเป็นเมืองหลวง ของ แคว้นปอลตาวา ในปี 2015 ปอลตาวามีประชากรอยู่ 294,962 คน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและปอลตาวา · ดูเพิ่มเติม »

ปัฟโลดาร์

ปัฟโลดาร์ (คาซัคและรัสเซีย: Павлодар) เป็นเมืองทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศคาซัคสถาน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงอัสตานา 350 กม.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและปัฟโลดาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปัสคอฟ

ปัสคอฟ หรือ ปสอฟ (รัสเซีย: Псков, IPA: สะกดรัสเซียโบราณ "Плѣсковъ" Pleskov) เป็นเมืองและเป็นศูนย์กลางของการบริหารของมณฑลปัสคอฟตั้งอยู่ประมาณ 20 กิโลเมตร (12 ไมล์) จากชายแดนทางทิศตะวันออกของประเทศเอสโตเนีย บนแม่น้ำเวลิกายา มีประชากร 203,279 คน (ค.ศ. 2010) 202,780 (ค.ศ. 2002) 203,789 (ค.ศ. 1989).

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและปัสคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ปาเดนีเอเบียร์ลีนา

ปาเดนีเอเบียร์ลีนา (Падение Берлина) เป็นภาพยนตร์แนวสงครามของสหภาพโซเวียต และเป็นตัวอย่างของผลงานแนวสัจนิยมสังคมนิยม ปาเดนีเอเบียร์ลีนา มี 2 ภาค ออกฉายในวันที่ 21 มกราคม..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและปาเดนีเอเบียร์ลีนา · ดูเพิ่มเติม »

ปิดตำนานบุรุษล้างโลก

Der Untergang (Downfall, ดีวีดีในประเทศไทย ใช้ชื่อว่า ปิดตำนานบุรุษล้างโลก) เป็นภาพยนตร์เยอรมันที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและปิดตำนานบุรุษล้างโลก · ดูเพิ่มเติม »

นูโปโกดิ

นูโปโกดิ (p, "Well, Just You Wait!") เป็นซีรีส์แอนิเมชัน ของ สหภาพโซเวียต และ รัสเซีย ผลิตโดย โซยุซมุลต์ฟิล์ม ซีรีส์ออกอากาศครั้งแรกในปี 1969 โดยเป็นแอนิเมชันที่เป็นที่นิยมใน สหภาพโซเวียต และ ประเทศในกลุ่มตะวันออก ตอนสุดท้ายออกอากาศในปี 2006 โดยซีรีส์นี้เป็นแนวตลก และ ผจญภัย โดยเป็นเรื่องราวของ artistic Wolf (Волк), ซึ่งใช้ทุกวิธีในการจับและกินกระต่าย Hare (Заяц Zayats).

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและนูโปโกดิ · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชชีมอสโก

แกรนด์ดัชชีแห่งมอสโก (Великое Княжество Московское หรือ Velikoye Knyazhestvo Moskovskoye, Grand Duchy of Moscow) เป็นแกรนด์ดัชชีของรัสเซียในยุคกลางที่รุ่งเรืองระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและแกรนด์ดัชชีมอสโก · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย

แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย (Grand Duchess Anastasia Nikolaevna of Russia; Великая Княжна Анастасия Николаевна Романова, Velikaya Knyazhna Anastasiya Nikolayevna Romanova), หรือมักเรียกสั้น ๆ ตามสำเนียงรัสเซียว่า อะนัสตาซียา (Anastasia, เสียงอ่านภาษารัสเซีย: /ʌnʌˈstɑsyɪyə/) หรือตามสำเนียงอังกฤษว่า แอเนิสเตชา (Anastasia), (18 มิถุนายน (หรือ 5 มิถุนายน ตามปฏิทินเก่า) 1901 – 17 กรกฎาคม 1918), เป็นพระราชธิดาพระองค์สุดท้องของพระเจ้านีคาไลที่ 2 (Nicholas II) พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิรัสเซีย กับอเล็กซานดรา ไฟโยโดรัฟนา (Alexandra Feodorovna) พระอัครมเหสี อะนัสตาซียาและสมาชิกคนอื่น ๆ ในพระราชวงศ์ทรงถูกบอลเชวิก (Bolshevik) ปลงพระชนม์พร้อมกันที่ถูกปลงพระชนม์ในห้องใต้ดินของบ้านอิปาเตียฟ ย่านเยคาเตรินบุร์ก (Ekaterinburg) เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 1918 ทว่า ข้อเท็จจริงที่ว่า ฝ่ายคอมมิวนิสต์ค้นไม่พบที่ฝังพระศพของอะนัสตาซียานั้น ทำให้มีข่าวลือว่าพระองค์อาจทรงรอดพ้นมรณภัยและหลบหนีมาได้ เสียงลือเสียงเล่าอ้างนี้แพร่ทั่วไป และมิได้รับการพิสูจน์ จนกระทั่งเดือนมกราคม 2008 นักวิทยาศาสตร์ชาวรัสเซียว่า ได้พบซากศพตอตะโกสองร่าง เป็นร่างเด็กชายหนึ่ง และเด็กหญิงอีกหนึ่ง เมื่อเดือนสิงหาคม 2007 ในถิ่นแถวใกล้เคียงย่านยีเคอทีรินบูร์ก ครั้นวันที่ 30 เมษายน 2008 นักนีติวิทยาศาสตร์รัสเซียยืนยันว่า ร่างทั้งสองนั้นเป็นพระศพพระโอรส (อะเลกเซย์ นีโคลาเยวิช) และพระธิดาที่เคยค้นหากันไม่เจอ กระทั่งเดือนมีนาคม 2009 ไมเคิล คอเบิล (Michael Coble) อาจารย์ประจำศูนย์ปฏิบัติการพิสูจน์เอกลักษณ์ทางดีเอ็นเอแห่งกองทัพสหรัฐอเมริกา (US Armed Forces DNA Identification Laboratory) แถลงว่า ผลการทดสอบทางพันธุกรรมชั้นสุดท้ายพิสูจน์ว่า หนึ่งในร่างทั้งสองที่พบนั้นเป็นอะนัสตาซียา และเป็นอันยุติว่า ไม่มีผู้ใดรอดจากการถูกปลงพระชนม์ ทั้งนี้ ในระหว่างที่ยังไม่มีการพิสูจน์ยืนยันเช่นว่านั้น มีสตรีหลายนางอ้างตัวว่าเป็นอะนัสตาซียาผู้ทรงเร้นรอดมาได้ ในจำนวนผู้อ้างนี้ แอนนา แอนเดอร์สัน (Anna Anderson) มีชื่อเสียงมากกว่าใครเพื่อน อย่างไรก็ดี ผลการทดสอบทางพันธุกรรมเมื่อปี 1994 ปรากฏว่า ไม่มีสิ่งใดในร่างกายของแอนเดอร์สันเกี่ยวข้องทางพันธุกรรมกับราชวงศ์โรมานอฟ (House of Romanov) เลยMassie (1995), pp.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและแกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

แมคโอเอส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและแมคโอเอส · ดูเพิ่มเติม »

แมเดลิน อาลไบรต์

แมเดลิน ยานา คอร์เบล อาลไบรต์ (Madeleine Jana Korbel Albright) หรือชื่อเกิดคือ มารี ยานา กอร์เบ-ลอวา (Marie Jana Körbelová) เป็นนักการเมืองและนักการทูตชาวอเมริกัน เป็นสตรีคนแรกที่ได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา เธอถูกเสนอชื่อโดยประธานาธิบดี บิล คลินตัน ในวันที่ 5 ธันวาคม 1996 และได้รับการรับรองจากวุฒิสภาด้วยมติเอกฉันท์ 99–0 ต่อมาในปี 2012 เธอยังได้รับมอบเหรียญอิสรภาพประธานาธิบดีจากบารัก โอบามา และดำรงตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เธอยังสามารถพูดภาษาอังกฤษ, ฝรั่งเศส, รัสเซีย และ เช็ก ได้อย่างคล่องแคล่ว เธอเกิดในเขตสมีชอฟของกรุงปราก ประเทศเชโกสโลวาเกีย ในครอบครัวที่มีบิดาเป็นนักการทูต ในช่วงที่เธอเกิดออกมานั้น เป็นช่วงที่เชโกสโลวาเกียมีสถานะเป็นรัฐเอกราชสั้นๆราว 20 ปีหลังได้รับเอกราชจากจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ต่อมาเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติขึ้น นาซีเยอรมนีเข้ายึดครองเชโกสโลวาเกียและได้สั่งเนรเทศครอบครัวของเธอเนื่องจากบิดามีความสัมพันธ์กับผู้นำฝ่ายเสรีคนสำคัญของเชโกสโลวาเกีย ครอบครัวของเธออพยพไปยังลอนดอน สหราชอาณาจักร ในฐานะผู้ลี้ภัย และบิดาเข้าทำงานในรัฐบาลพลัดถิ่นแห่งเชโกสโลวาเกีย ภายหลังสงครามสิ้นสุด ครอบครัวของเธอก็ย้ายกลับไปยังปราก ต่อมาเมื่อบิดาของเธอได้เป็นทูตเชโกสโลวาเกียประจำยูโกสลาเวีย ครอบครัวของเธอก็ต้องย้ายไปยังกรุงเบลเกรด แต่เนื่องด้วยยูโกสลาเวียถูกปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ ทำให้บิดาของเธอเกรงว่าหากส่งเธอเข้าเรียนที่นั่นอาจจะถูกปลูกฝังความคิดแบบลัทธิมากซ์ ด้วยเหตุนี้บิดาจึงให้เธอเรียนกับพี่เลี้ยงและจึงส่งเธอไปเรียนในสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งที่นั่นเธอได้เริ่มเรียนภาษาฝรั่งเศส และเปลี่ยนชื่อตัวจาก มารี เป็น แมเดลิน ต่อมาเมื่อฝ่ายคอมมิวนิสต์ภายใต้การสนับสนุนของสหภาพโซเวียตได้ปกครองเชโกสโลวาเกีย ทำให้บิดาของเธอถูกปลด และได้ตำแหน่งใหม่ในสหประชาชาติโดยเป็นคณะผู้แทนสหประชาชาติประจำแคชเมียร์ โดยบิดาของเธอได้ตัดสินใจอพยพครอบครัวทั้งหมดไปยังสหรัฐอเมริกาผ่านทางอังกฤษ เพื่อที่จะได้พบเขาที่ในบางโอกาสเขาจะต้องเดินทางมายังสำนักงานใหญ่สหประชาชาติAlbright, 2003, p. 17.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและแมเดลิน อาลไบรต์ · ดูเพิ่มเติม »

แล้วดวงตะวันก็ฉายแสง

แล้วดวงตะวันก็ฉายแสง (The Sun Also Rises) เป็นนวนิยายเรื่องเอกเรื่องแรกของเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2504) ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม จัดพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2469 มีเนื้อหาเกี่ยวกับผู้อพยพชาวอเมริกันและชาวอังกฤษที่อาศัยอยู่ในทวีปยุโรป ในยุค ค.ศ. 1920 ชื่อเรื่องของหนังสือเล่มนี้ซึ่งตั้งโดยเฮมิงเวย์ตามคำแนะนำของสำนักพิมพ์ นำมาจากพระธรรมปัญญาจารย์ 1:5 ที่มีเนื้อความว่าThe sun also ariseth, and the sun goeth down, and hasteth to his place where he arose. คำแปลพระธรรมปัญญาจารย์ในวิกิซอร์ซ ให้คำแปลของเนื้อความดังกล่าวว่า "ดวงอาทิตย์ขึ้น และดวงอาทิตย์ตก แล้วรีบไปถึงที่ซึ่งขึ้นมานั้น"ซึ่งเป็นคัมภีร์ลำดับที่ 25นับตามลำดับคัมภีร์ในนิกายโรมันคาทอลิก หรือ 21นับตามลำดับคัมภีร์ในนิกายโปรเตสแตนต์ของพระคริสตธรรมคัมภีร์ โดยก่อนหน้านี้เฮมิงเวย์ตั้งชื่อให้กับนวนิยายเรื่องนี้ว่า เฟียสตา (Fiesta) ซึ่งชื่อดังกล่าวได้นำไปใช้ในการจัดพิมพ์ในฉบับสหราชอาณาจักร และฉบับภาษาเยอรมัน ภาษารัสเซีย ภาษาอิตาลี และภาษาสเปนของนวนิยายเรื่องนี้.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและแล้วดวงตะวันก็ฉายแสง · ดูเพิ่มเติม »

แวมไพร์

Nosferutu: A Symphony of Horror'' ที่ดัดแปลงมาจากนวนิยายเรื่อง เค้าท์แดร็กคูลา ภาพยนตร์เรื่องนี้ฉายในปี ค.ศ. 1922 แวมไพร์ (Vampire) ผีชนิดหนึ่งตามความเชื่อของชาวยุโรป ในยุคกลาง เชื่อว่าเป็นผีดิบ ที่มีรูปร่างหน้าตาเหมือนมนุษย์ทั่วไป แต่มีฟันแหลมคม ดื่มเลือดของมนุษย์ด้วยกันเป็นอาหารเพื่อหล่อเลี้ยง โดยที่แวมไพร์จะมีชีวิตเป็นอมตะ ไม่มีวันตาย จะปรากฏตัวได้แต่เฉพาะเวลากลางคืน เพราะกลางวันแพ้แสงแดด แวมไพร์จะหลบซ่อนอยู่ในโลงของตนหรือในหลุมในเวลากลางวัน สามารถแปลงร่างได้หลายแบบ เช่น ค้างคาว, นกฮูก, หมาป่า, หมาจิ้งจอก, กบ, คางคก, แมลงเม่า, งูพิษ เป็นต้น สามารถกำบังกายหายตัวได้ ไม่มีเงาเมื่อกระทบกับแสงหรือสะท้อนในกระจก มีแรงมากเหมือนผู้ชาย 20 คน รวมถึงสามารถบังคับสิ่งของให้เคลื่อนที่ด้วยอำนาจของตนได้ด้วย สิ่งที่จะกำราบแวมไพร์ได้คือ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนา เช่น ไม้กางเขน, น้ำมนตร์ หรือแม้กระทั่งสมุนไพรกลิ่นแรงบางชนิด เช่น กระเทียม วิธีฆ่าแวมไพร์มีมากมาย เช่น ตอกลิ่มให้ทะลุหัวใจ เผา หรือ ตัดหัวด้วยจอบของสัปเหร่อ บุคคลที่ตกเป็นเหยื่อของมัน จะกลายเป็นแวมไพร์ไปด้วย และกลายเป็นสาวกของแวมไพร์ตนที่ดูดเลือดตัวเอง ชาวยุโรปในยุคกลางนั้น หวาดกลัวแวมไพร์มาก ผู้ที่สงสัยว่าเป็นแวมไพร์ จะตกอยู่ในสถานะเดียวกับแม่มด หรือ มนุษย์หมาป่า คือ ถูกตัดสินลงโทษด้วยการเอาถึงชีวิต มีวิธีการป้องกันการรุกรานของแวมไพร์หลายวิธี เช่น บางหมู่บ้านจะโปรยเมล็ดข้าวไว้บนหลังคาบ้าน เพราะเชื่อว่าแวมไพร์จะง่วนกับการนับเมล็ดข้าวเป็นการถ่วงเวลาจนรุ่งเช้า หรือ โรยเศษขนมปังไว้ตั้งแต่สุสานให้แวมไพร์เดินเก็บเศษขนมนั้นวนเวียนไปมา หรือแม้แต่การวางไม้กางเขนหรือดอกกุหลาบที่มีหนามแหลมเพื่อเป็นการพันธนาการไว้ในโลง เรื่องราวของแวมไพร์ มีมากมาย ที่เป็นนิทานพื้นบ้านและวรรณกรรม โดยวรรณกรรมที่ว่าถึงแวมไพร์ที่เก่าแก่ที่สุด มีมาตั้งแต่สมัยโรมัน วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงที่สุดของแวมไพร์คือ เรื่องแดรกคูลา ของ บราม สโตกเกอร์ ที่โด่งดังจนมีการนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ ละคร ละครเวที หรือแม้แต่กระทั่งภาพยนตร์การ์ตูนมากมายตราบจนปัจจุบัน เช่น ภาพยนตร์เรื่อง Nosferatu: A Symphony of Horror ในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและแวมไพร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอล. แอล. ซาเมนฮอฟ

แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ, 2451 แอล.แอล.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและแอล. แอล. ซาเมนฮอฟ · ดูเพิ่มเติม »

แอสกี

ตัวอย่างอักขระแอสกี จากรหัส 32 ถึง 126 แอสกี้(ASCII) หรือ รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ (ASCII: American Standard Code for Information Interchange) เป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัว เช่น รหัส 65 (เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (A) พิมพ์ใหญ่ เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและแอสกี · ดูเพิ่มเติม »

แองเตอร์นาซิอองนาล

เออแฌน ปอตีเย (Eugène Pottier) ผู้ประพันธ์คำร้องของเพลงแล็งแตร์นาซียอนาล แองเตอร์นาซิอองนาล (L'Internationale; แล็งแตร์นาซียอนาล, The Internationale; ดิอินเตอร์แนชนาล, Die Internationale; "ดี อินเทอร์นาโชนาล") เป็นเพลงปลุกใจที่ใช้ในการต่อสู้ของชนชั้นกรรมาชีพ มีที่มาจากบทกวีต้นฉบับภาษาฝรั่งเศสของ เออแฌน ปอตีเย (Eugène Pottier) ในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและแองเตอร์นาซิอองนาล · ดูเพิ่มเติม »

แองเตอร์นาซิอองนาลฉบับภาษาจีน

ลงแองเตอร์นาซิอองนาล ในภาษาจีนมีชื่อว่า "กั๋วจี้เกอ" แปลตามตัวว่า เพลงสากล บทร้องฉบับแปลภาษาจีนมีฉบับแปลอยู่หลายฉบั.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและแองเตอร์นาซิอองนาลฉบับภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

แอโรฟลอต

แอโรฟลอต แอร์บัส A320-200 แอโรฟลอต (รัสเซีย: Аэрофло́т, อังกฤษ: Aeroflot) เป็นสายการบินแห่งชาติของรัสเซีย และเคยเป็นสายการบินแห่งชาติของสหภาพโซเวียตในอดีต ให้บริการเที่ยวบินทั้งภายในและภายนอกประเกศ 97 เมือง ใน 48 ประเทศ มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว กรุงมอสโคว.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและแอโรฟลอต · ดูเพิ่มเติม »

แอโรเพลนเจลลี

แอโรเพลนเจลลี เป็นยี่ห้อเยลลีในออสเตรเลียซึ่งคิดค้นโดยเบิร์ท แอปเปิลรอธ (Bert Appleroth) ในปี พ.ศ. 2548 บริษัทเทรเดอร์ส จำกัด ของแอปเปิลรอธที่เริ่มจากการประกอบธุรกิจหลังบ้าน และต่อมากลายเป็นหนึ่งในธุรกิจครอบครัวผู้ผลิตอาหารรายใหญ่รายหนึ่งของออสเตรเลีย ได้ขายธุรกิจให้กับแม็คคอมิค ฟูดส์ ออสเตรเลีย (McCormick Foods Australia) บริษัทในเครือแม็คคอมิคแอนด์คัมพานี (McCormick & Company) ของสหรัฐอเมริกา แอโรเพลนเจลลีเป็นผู้นำทางการตลาดในธุรกิจเยลลี่ของประเทศออสเตรเลีย โดยมียอดขายมากกว่า 18 ล้านห่อต่อปี มีรสแรสเบอร์รีเป็นรสชาติที่ขายดีที่สุด แอโรเพลนเจลลีได้ออกโฆษณาที่ประสบความสำเร็จ และมีเพลงโฆษณาที่ได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมชาวออสเตรเลีย เพลงโฆษณาดังกล่าวเป็นหนึ่งในเพลงโฆษณาที่ออกอากาศยาวนานที่สุดในออมเตรเลีย โดยเฉพาะในทศวรรษที่ 1940 ซึ่งมีการเล่นเพลงโฆษณาผ่านสื่อวิทยุมากกว่า 100 ครั้งต่อวัน เพลงโฆษณาดังกล่าวได้รับการบันทึกไว้ยังหอภาพยนตร์และเสียงของออสเตรเลีย ในหมวดหมู่เสียงแห่งออสเตรเลีย ในปี พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและแอโรเพลนเจลลี · ดูเพิ่มเติม »

โบรเนโนเซตส์โปติออมกิน

''โบรเนโนเซตส์โปติออมกิน'' โบรเนโนเซตส์โปติออมกิน (Бронено́сец «Потёмкин», Bronenosets Patyomkin) เป็นภาพยนตร์เงียบของสหภาพโซเวียต ที่ผลิตโดย บริษัทมอสฟิล์ม เผยแพร่ในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและโบรเนโนเซตส์โปติออมกิน · ดูเพิ่มเติม »

โฟร์สแควร์

ฟร์สแควร์ (Foursquare แต่ใช้ว่า foursquare) เป็นบริการเครือข่ายสังคมที่มีลักษณะคือการอ้างอิงสถานที่ โฟร์สแควร์สร้างโดย เดนนิส โครว์ลีย์ (ซึ่งเดิมเคยร่วมกับอเล็กซ์ เรเนิร์ตสร้าง Dodgeball บริการอ้างอิงสถานที่ที่ในปี 2000 ต่อมาถูกซื้อไปโดยกูเกิลในปี 2005 แล้วกลายมาเป็น Google Latitude ในปี 2009) และ นาวีน เซลวาดูราย บริษัทโฟร์สแควร์สำนักงานใหญ่อยู่ที่นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา การใช้งานโฟร์สแควร์สามารถเล่นได้ผ่านโทรศัพท์มือถือ (ผ่านทาง mobile web), สมาร์ตโฟน (ผ่านทาง foursquare app) และแอปพลิเคชันต่างๆ ที่สามารถเชื่อมต่อกับโฟร์สแควร์ได้ (เช่น Instagram, Path, Yotomo, GetGlue, Waze, FootFeed, HootSuite เป็นต้น) โดยเมื่อผู้เล่นเปิดตำแหน่งของตัวผู้เล่นจะทำการเรียกสถานที่ที่อยู่ใกล้เคียง ไม่ว่าโรงเรียน ร้านอาหาร โรงแรม โรงพยาบาล ฯลฯ ขึ้นมา และผู้เล่นจะทำการเลือก "เช็กอิน" สถานที่นั้นเพื่อแสดงให้เห็นว่าตนอยู่ที่นี่หรือได้มาที่นี่แล้ว ในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและโฟร์สแควร์ · ดูเพิ่มเติม »

โฟร์แชร์

4shared 4shared คือบริษัทผู้ให้ บริการเก็บรักษาและแบ่งปันไฟล์ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและโฟร์แชร์ · ดูเพิ่มเติม »

โฟโต้สเกป

ฟโต้สเกป (PhotoScape) เป็นโปรแกรมตัดต่อกราฟิกส์ พัฒนาโดย MOOII Tech,ประเทศเกาหลีใต้ แนวคิดพื้นฐานของโฟโต้สเกป คือ 'ง่ายและสนุก' เพื่อที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขภาพที่ถ่ายจากกล้องดิจิทัลของพวกเขาหรือแม้กระทั่งโทรศัพท์มือถือ โฟโต้สเกป มีผู้ใช้อินเตอร์เฟซง่ายที่ดำเนินการปรับปรุงภาพร่วมกันรวมทั้ง การปรับสี,ตัด,การปรับขนาด,การพิมพ์ และการภาพเคลื่อนไหวในไฟล์ GIF โฟโต้สเกป ทำงานได้เฉพาะในระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และไม่สามารถใช้ได้ในระบบ Mac หรือLinux ได้ ภาษาเริ่มต้นของมันเป็นภาษาอังกฤษและภาษาเกาหลี พร้อมด้วยแพ็กเกจภาษาเพิ่มเติมสามารถดาวน์โหลดได้.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและโฟโต้สเกป · ดูเพิ่มเติม »

โกซูดาร์สตเวนนายากรานิตซา

กซูดาร์สตเวนนายากรานิตซา (Государственная граница) เป็นภาพยนตร์โทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ของสหภาพโซเวียตซึ่งผลิตโดยสตูดิโอภาพยนตร์เบลารุสฟิล์ม มีเนื้อเรืองเกี่ยวกับวิวัฒนาการของกองกำลังพิทักษ์ชายแดนโซเวียต จากระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและโกซูดาร์สตเวนนายากรานิตซา · ดูเพิ่มเติม »

โรมัน ปัฟลูย์เชนโค

รมัน อะนาโตเลียวิช ปัฟลูย์เชนโค (Роман Анатольевич Павлюченко, Roman Anatolyevich Pavlyuchenko) เป็นนักฟุตบอลชาวรัสเซีย เกิดเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ปี ค.ศ. 1981 ที่เมืองมอสตอฟสกอย เริ่มเล่นฟุตบอลอาชีพกับสโมสรโรตอร์วอลโกกราด 3 ปีตั้งแต่ปี 2000 และทำผลงานได้ดีจนกระทั่งทีมสปาร์ตัคมอสโกดึงตัวได้ไปอยู่กับทีมสปาร์ตัคมอสโก แล้วก็สามารถทำผลงานได้ดีโดยลงเล่นให้กับทีม 147 นัดและยิงประตูรวม 77 ประตู ปัฟลูย์เชนโคติดทีมชาติรัสเซียในปี 2005 แต่ยังไม่สามารถลงเล่นเป็นตัวจริงได้เลยจนถึงช่วงฟุตบอลยูโร 2008 ในนัดแรกที่แพ้สเปนไป 4-1 เขาก็เป็นคนยิงให้กับรัสเซีย และในเกมที่ชนะสวีเดนไป 2-0 นั้นเขาก็ยิงประตูให้ทีมขึ้นนำก่อน 1-0 ก่อนที่อันเดรย์ อาร์ชาวิน จะมายิงประตูปิดท้ายให้ทีมผ่านเข้าสู่รอบ 8 ทีมสุดท้ายได้สำเร็จ ส่วนในรอบ 8 ทีมสุดท้ายนั้นในเกมที่รัสเซียชนะเนเธอร์แลนด์ 3-1 นั้นเขาก็เป็นคนที่ยิงให้กับทีมเป็นคนแรกให้รัสเซียนำ 1-0 ช่วยให้รัสเซียเข้ารอบรองชนะเลิศไปเจอกับทีมสเปน โดยทีมรัสเซียแพ้สเปนไป 3-0 ถึงแม้ว่าทีมรัสเซียจะตกรอบรองชิงชนะเลิศ แต่ครั้งนั้นทีมในสโมสรยักษ์ใหญ่ในยุโรปต่างก็ต้องการตัวปัฟลูย์เชนโคไปร่วมทีม ในที่สุดเขาก็ได้เข้าร่วมสโมสรฟุตบอลทอตนัมฮอตสเปอร์ การมาร่วมทีมของอังกฤษนั้นมีอุปสรรคมาก เนื่องจากปัฟลูย์เชนโคยังไม่สามารถปรับการเล่นฟุตบอลแบบอย่างอังกฤษได้ และที่สำคัญเขาพูดภาษาอังกฤษไม่คล่อง เวลาจะพูดก็จะพูดภาษาอังกฤษปนภาษารัสเซีย แต่พอเล่นไปนาน ๆ เขาก็สามารถปรับตัวได้และก็สามารถเล่นได้ดีขึ้น และสามารถยิงประตูทีมเพิ่มให้กับต้นสังกัดใหม่เรื่อย ๆ โดยแฟนบอลสเปอร์ยกให้เขาเป็นดีมีตาร์ เบร์บาตอฟ คนใหม่ของทีม.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและโรมัน ปัฟลูย์เชนโค · ดูเพิ่มเติม »

โรจดิออนนืยเอวะแอสแอสแอสเอร์

รจดิออนนืยเอวะแอสแอสแอสเอร์ (Рождённые в СССР) หรือชื่อในภาษาไทยคือ "เกิดในสหภาพโซเวียต" เป็นรายการสดที่นำเสนอพบปะกับบุคคลสำคัญต่างๆที่มีชื่อเสียง ไม่ว่าจะเป็นนักแสดง นักการเมือง นักกีฬา นักสื่อสารมวลชน เป็นต้น ออกอากาศทุกวันจันทร์-พฤหัสบดี เวลา 22.00-23.00น.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและโรจดิออนนืยเอวะแอสแอสแอสเอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

รงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย มีฐานะเป็นองค์การมหาชน ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2534 และเปลี่ยนสถานภาพเป็นองค์การมหาชนเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2543 เคยตั้งอยู่ที่วัดไร่ขิง ในปัจจุบันตั้งอยู่ ณ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เป็นโรงเรียนที่ตั้งขึ้นเพื่อสร้างนักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ และเป็นโรงเรียนที่มีเครือข่ายกับโรงเรียนวิทยาศาสตร์ชั้นนำในประเทศอื่น ๆ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์มีการใช้ระบบคัดเลือกนักเรียนเข้าเรียนเอง โดยปรกติมีอัตราการรับเข้าประมาณ 1.5% (240 คนจากนักเรียนที่สมัครแต่ละปีประมาณ 20,000 คน) โดยนักเรียนทุกคนได้รับทุนการศึกษาเต็มตลอดระยะเวลาที่เรียนอยู่ในโรงเรียน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

โจเซฟ สตาลิน

ซฟ สตาลิน (รัสเซีย: Иосиф Виссарионович Сталин Iosif Vissarionovich Stalin อิโอซิฟ วิซซาริโอโนวิช สตาลิน; อังกฤษ: Joseph Stalin) (1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1878 - 5 มีนาคม ค.ศ. 1953) เป็นผู้นำของสหภาพโซเวียต ตั้งแต่กลางทศวรรษที่ 1920 ถึง..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและโจเซฟ สตาลิน · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ในประเทศคีร์กีซสถาน

ทรทัศน์ในประเทศคีร์กีซสถาน ถือกำเนิดขึ้นเมือ พ.ศ. 2501 ในสมัย สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคีร์กีซ KTR ทำการออกอากาศรายการเป็นภาษารัสเซี.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและโทรทัศน์ในประเทศคีร์กีซสถาน · ดูเพิ่มเติม »

โดคูเมนต์ เอร์

ูเมนต์ เอร์ (Документ Р) เป็นมินิซีรีส์แนวระทึกขวัญการเมืองและระทึกขวัญกฎหมาย ของสหภาพโซเวียต ที่สร้างจากนวนิยายเรื่องเดียวกันของ เออร์วิง วอลลิซ มินิซีรีส์มีทั้งหมด 3 ตอน กำกับโดย Valeriy Kharchenko โดยออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งสหภาพโซเวียตในปี 1985 โดยมินิซีรีส์ถ่ายทำที่ มินสค์ และ ทาลลินน์ ในปี 1984 ส่วนเทปข่าวและรายการจากสหรัฐอเมริกา ได้มาจาก Gosteleradio มินิซีรีส์เล่าเรื่องราวในช่วง ศตวรรษที่ 21 โดยเกี่ยวกับ นักการเมือง และ บุคคลระดับสูงในสหรัฐอเมริกา นำโดยผู้อำนวยการเอฟบีไอ เตรียมที่จะลอบสังหารประธานาธิบดีสหรัฐเพื่อกำหนดสถานการณ์ฉุกเฉินและยึดอำนาจเป็นเผด็จการ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและโดคูเมนต์ เอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โดโมเดโดโวแอร์ไลน์

มเดโดโว แอร์ไลน์ (Домодедовские авиалинии) เป็นสายการบินสัญชาติรัสเซีย ให้บริการเที่ยวบินภายในประเทศ โดนเน้นไปยังฝั่งตะวันออกของรัสเซีย และประเทศในเครือจักรภพ และยังให้บริการเที่ยวบินเช่าเหมาลำไปยัง จีน, ไทย, มัลดีฟส์, มาเลเซีย, ยุโรป และสิงคโปร์ โดยมีท่าอากาศยานหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและโดโมเดโดโวแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

โดเนตสค์

นตสค์ (Donetsk) (ยูเครน: Донецьк, รัสเซีย: Доне́цк) เป็นเมืองในภาคตะวันออกของประเทศยูเครน มีพื้นที่ 358 ตารางกิโลเมตร ประชากร 1,100,700 คน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและโดเนตสค์ · ดูเพิ่มเติม »

โครงการสปุตนิก

แบบจำลอง ดาวเทียมสปุตนิก 1 โครงการสปุตนิก (ภาษารัสเซีย: Спутник, IPA) เป็นลำดับภารกิจการส่ง ยานอวกาศไร้คนขับคุม ดำเนินการโดยรัฐบาล สหภาพโซเวียต (ในขณะนั้น) ยานลำแรกคือ ดาวเทียมสปุตนิก 1 เป็นดาวเทียมดวงแรก และเป็นวัตถุมนุษย์สร้างเครื่องแรกของโลกที่ส่งขึ้นสู่วงโคจร เมื่อ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957).

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและโครงการสปุตนิก · ดูเพิ่มเติม »

โซยุซ

ซยุซ (ซีริลลิก: Союз, Soyuz) ในภาษารัสเซีย มีความหมายว่า สหภาพ (Union) มักใช้เป็นคำย่อสำหรับ สหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต หรือ สหภาพโซเวียต (Soyuz Sovetskikh Sotsialisticheskikh Respublik) และยังสามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและโซยุซ · ดูเพิ่มเติม »

โซโคลส (เพลงจอน แม็กลาฟลิน)

อนขณะร้องเพลง "โซโคลส" ในงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 80 "โซโคลส" (So Close) คือเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง มหัศจรรย์รักข้ามภพ (Enchanted) จากวอลต์ดิสนีย์ เพลงนี้เป็นผลงานการเรียบเรียงดนตรีของอลัน เม็นเคน และประพันธ์คำร้องขึ้นโดย Stephen Schwartz เพลงนี้ขับร้องโดยจอน แม็กลาฟลิน ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยเป็นเพลงหนึ่งในอัลบั้ม เอ็นแชนเต็ด อัลบั้มเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่องดังกล่าว เพลงนี้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลในงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 80 ในด้านเพลงดั้งเดิมยอดเยี่ยม พร้อมกับเพลง "แฮปปีเวิร์กกิงซอง" (Happy Working Song) และ "แดตส์ฮาวยูโนว" (That's How You Know) จากอัลบั้มเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่องนี้เช่นกัน เพลงนี้ได้รับการขับร้องใหม่ในภาษารัสเซีย ในชื่อว่า "Так Близко (Tak Blizko)" ขับร้องโดย Aleksandr Panaiotov.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและโซโคลส (เพลงจอน แม็กลาฟลิน) · ดูเพิ่มเติม »

โปลิตบูโร

โปลิตบูโร (รัสเซีย: Политбюро, Politburo) หมายถึงคณะกรรมการบริหารพรรคการเมือง มักใช้กับพรรคคอมมิวนิสต์ ในอดีตสหภาพโซเวียต โปลิตบูโรประกอบด้วยเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ (The General Secretary of the Communist Party of the Soviet Union) และบุคคลสำคัญรองลงมาเช่น ประธานาธิบดี และนายกรัฐมนตรี ซึ่งนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1917-1991 มีเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์มาแล้ว 7 คน คือ เลนิน สตาลิน ครุสชอฟ เบรสเนฟ อันโดรปอฟ เชอร์เนนโก และกอร์บาชอฟ หมวดหมู่:สหภาพโซเวียต หมวดหมู่:รัฐบาลสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและโปลิตบูโร · ดูเพิ่มเติม »

โปเลชูเดส

ปเลชูเดส (p, แปล: กงล้อแห่งโชคลาค) เป็นรายการโทรทัศน์ของประเทศรัสเซียที่ดัตแปลงมาจากรายการเกมโชว์ของสหรัฐ วีลออฟฟอร์จูน ผลิดโดยบริษัท VID และผู้ดำเนินรายการหลักคือ เลโอนิด ยาคุโบวิช ปัจจุบันรายการถูกจัดอันดับให้ชมได้ตั้งแต่อายุ 16 ปีขึ่นไป ประวัติของรายการ โปเลชูเดส เริ่มขึ้นเมื่อวลาดิสลาฟ ลิสต์เซฟ และ Anatoly Lysenko ได้เข้าพักในโรงแรมในกรุงปารีส แนวคิดในการสร้างรายการเกิดขึ้นในระหว่างการดูรายการโทรทัศน์อเมริกัน วีลออฟฟอร์จูน โดยชื่อรายการนั้นลิสต์เซฟได้มาจากนวนิยายเรื่อง The Golden Key, or the Adventures of Buratino ของ Aleksey Nikolayevich Tolstoy จากนั้นพวกเขาได้พบกับ Alexei Murmulyov บรรณาธิการเพลงใน Gosteleradio USSR บริษัท VID พยายามที่จะซื้อลิขสิทธิ์รายการ วีลออฟฟอร์จูน จากบริษัท King World Productions อย่างไรก็ตามบริษัทก็ไม่สามารถซื้อลิขสิทธิ์สำหรับรูปแบบรายการได้ ในท้ายที่สุดลิสต์เซฟ และ Murmulyov ตัดสินใจที่จะดัดแปลงรายการโดยเป็นการนำ วีลออฟฟอร์จูน และ The Price is Right รวมเข้าไว้ด้วยกันกันโดยไม่มีการมีส่วนร่วมใด ๆ ของผู้ถือลิขสิทธิ์ชาวอเมริกัน โปเลชูเดส ออกอากาศครั้งแรกทางช่องรายการที่ 1 สถานีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งสหภาพโซเวียต ในวันที่ 25 ตุลาคม 1990 โดยผู้ดำเนินรายการคนแรกคือ วลาดิสลาฟ ลิสต์เซฟ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและโปเลชูเดส · ดูเพิ่มเติม »

โนโวรอสซียา (สมาพันธรัฐ)

นโวรอสซียา หรือ นิวรัสเซีย (nəvɐˈrosʲɪjə; Новоросія, Novorosiya), หรือเรียกอีกแบบว่า สหภาพสาธารณรัฐประชาชน (sɐˈjus nɐˈrodnɨx rʲɪˈspublʲɪk; Союз народних республік, Soyuz Narodnykh Respublik, หรือรู้จักในชื่อ Lugandonia Лугандонія), เป็นสมาพันธรัฐร่วมระหว่าง สาธารณรัฐประชาชนโดเนตสค์ (DPR) และ สาธารณรัฐประชาชนลูฮันสค์ (LPR) ในภาคตะวันออกของยูเครน โดยมีชายแดนติดกันระหว่างประเทศรัสเซีย ยูเครน ได้ให้สมาพันธรัฐนี้เป็น พื้นที่ปฏิบัติการต่อต้านการก่อการร้าย ในปัจจุปันยังไม่มีรัฐต่างประเทศใดรับรองทั้งสองสาธารณรัฐของสมาพันธรัฐนี้เป็นประเทศเอกราช และ ยูเครน ให้สถานภาพสมาพันธรัฐนี้เป็นองค์กรก่อการร้าย โดยที่ โนโวรอสซียา ได้จัดตั้งขึ้นในวันที่ 22 พฤษภาคม 2014, และ 1 เดือนต่อมา spokesmen ได้ประกาศให้สาธารณรัฐเข้ารวมเป็นสมาพันธ์"สหภาพสาธารณรัฐประชาชน".

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและโนโวรอสซียา (สมาพันธรัฐ) · ดูเพิ่มเติม »

ไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนล

China Radio International (CRI), (ก่อนหน้านี้เรียกว่า Radio Beijing และชื่อแรกก่อตั้งคือ Radio Peking) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 3 ธันวาคม..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนล · ดูเพิ่มเติม »

ไฟร์ฟอกซ์ (ภาพยนตร์)

Firefox (ชื่อไทย: แผนจารกรรมมิก 31) เป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและไฟร์ฟอกซ์ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ไกเซอร์

วิลเฮล์มที่ 2 แห่งจักรวรรดิเยอรมัน ไกเซอร์ (Kaiser) คือพระอิสริยยศเยอรมันซึ่งเทียบได้กับจักรพรรดิ มีรากศัพท์มาจากคำว่าซีซาร์ของอาณาจักรโรมัน เช่นเดียวกับคำว่าซาร์ในภาษารัสเซีย ตำแหน่งนี้เป็นตำแหน่งที่สูงที่สุด คำว่าไกเซอร์เป็นคำทั่วไปที่ใช้เรียกจักรพรรดิในภาษาฮอลแลนด์ จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์เรียกตนเองว่า ไกเซอร์ เนื่องจากมองว่าอาณาจักรของตนนั้นสืบทอดมาจากจักรวรรดิโรมัน จึงได้ใช้ชื่อนี้เพื่อแสดงถึงต้นกำเนิดเก่าก่อน นอกจากนี้ พระเจ้าแผ่นดินแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีที่มาจากราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค ก็ใช้พระอิสริยยศว่า "ไกเซอร์" เช่นกัน ไกเซอร์แห่งจักรวรรดิออสเตรีย (ค.ศ. 1804–1918) ได้แก่.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและไกเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมค์ ลูและอ็อก

มค์ ลูและอ็อก (Mike, Lu & Og) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศสหรัฐอเมริกา ออกอากาศทางช่อง การ์ตูนเน็ตเวิร์กและบูมเมอแรง ฉายตอนแรกเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 จนถึงวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2544.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและไมค์ ลูและอ็อก · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครซอฟท์ ซีเคียวริตี้ เอสเซนเชียล

มโครซอฟท์ ซีเคียวริตี้ เอสเซนเชียล (Microsoft Security Essentials: MSE) เป็นโปรแกรมป้องกันไวรัส สำหรับระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ ซึ่งจะช่วยป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบต่างๆกันของมัลแวร์ อาทิ ไวรัสคอมพิวเตอร์, สปายแวร์, รูตคิต และ ม้าโทรจัน (คอมพิวเตอร์) โดยตัว MSE นี้ จะรันบน วินโดวส์เอกซ์พี เซอร์วิสแพ็ค 2, วินโดวส์วิสตา และ วินโดวส์ 7 เท่านั้น และจะไม่สามารถรันบน วินโดวส์ 8 ขึ้นไปได้ เพราะถูกแทนที่ด้วย Windows Defender.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและไมโครซอฟท์ ซีเคียวริตี้ เอสเซนเชียล · ดูเพิ่มเติม »

ไลบรารี เจเนซิส

ลบรารี เจเนซิส (Library Genesis) หรือ ลิบเจน (LibGen) คือโปรแกรมค้นหาสำหรับบทความทางวิทยาศาสตร์ และหนังสือ ซึ่งให้การเข้าถึงข้อมูลที่ปกติแล้วมีค่าใช้จ่าย โดยเว็ปไซต์ได้อัปโหลดข้อมูลจาก เว็บไซต์พอร์ทัล ไซแอนซ์ ไดเร็ค ของแอ็ลเซอเฟียร์ ในรูปแบบของ PDF ในปี 2558 เว็ปไซต์ได้เกี่ยวพันทางคดีความกับแอ็ลเซอเฟียร์ และถูกกล่าวหาว่าละเมิดลิขสิทธิ์การเข้าถึงบทความและหนังสือ ลิบเจนถูกรายงานว่าได้จดทะเบียนทั้งในประเทศรัซเซียและอัมสเตอร์ดัม สร้างความไม่ชัดเจนให้กับกฎหมายที่ควรถูกดำเนินการ และประเด็นที่จำเลยต้องปรากฏตัวในการฟังคำสั่งสารในสหรัฐอเมริกาหรือไม่ ลิบเจนนั้นถูกบล็อกโดยผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตบางกลุ่มในสหราชอาณาจักร แต่ทว่ามีการอ้างว่าการบล็อกผ่านดีเอ็นเอสนั้นส่งผลกระทบน้อยมากต่อการเข้าถึงเว็ปไซต์ ในปลายเดือนตุลาคม ปี 2558 ศาลประจำรัฐนิวยอร์กได้สั่งปิดเว็ปไซต์ลิบเจนและระงับโดเมนชื่อ libgen.org เป็นการชั่วคราว ทว่าเว็บไซต์ยังเข้าถึงได้ผ่านโดเมนสำรอง.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและไลบรารี เจเนซิส · ดูเพิ่มเติม »

ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์)

ลน์ (LINE) เป็นโปรแกรมเมสเซนเจอร์ ที่ญี่ปุ่นซื้อมาจาก Naver Corporation ของเกาหลีhttp://www.cnbc.com/2016/07/13/japanese-messaging-app-line-will-keep-close-ties-to-korean-internet-giant-naver.html ที่มีความสามารถใช้งานได้ทั้งโทรศัพท์มือถือที่มีระบบปฏิบัติการไอโอเอส, แอนดรอยด์, วินโดวส์โฟน ล่าสุดสามารถใช้งานได้บนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และแมคโอเอสได้แล้ว ด้วยความที่มีลูกเล่นมากมาย สามารถคุย ส่งรูป ส่งไอคอน ส่งสติกเกอร์ ตั้งค่าคุยกันเป็นกลุ่ม ฯลฯ ทำให้มีผู้ใช้งานโปรแกรมนี้เป็นจำนวนมาก ชาวไทยนิยมใช้เป็นอันดับสองรองจากญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและไลน์ (โปรแกรมประยุกต์) · ดูเพิ่มเติม »

ไอพอดชัฟเฟิล

อพอดชัฟเฟิล (iPod shuffle) เป็นเครื่องเล่นดนตรีแบบพกพาในสายการผลิตไอพอด ผลิตโดยบริษัทแอปเปิล โดยเปิดตัวในงาน Macworld ในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2548 และวางจำหน่ายในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ด้วยสโลแกนที่ว่า "Life is random" (ชีวิตคือการสุ่ม) ไอพอดชัฟเฟิลเป็นของที่ระลึกแก่ทีมงานที่ร่วมกันสร้างเรือวีนัส โดยไอพอดชัฟเฟิลนี้สลักชื่อเรือวีนัสที่หลังตัวเครื่องพร้อมกับการ์ดขอบคุณที่ระบุข้อความว่า "Thank you for your hard work and craftsmanship".

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและไอพอดชัฟเฟิล · ดูเพิ่มเติม »

ไอน์ แรนด์

ไอน์ แรนด์ (อังกฤษ: Ayn Rand; ชื่อเกิด อลิซา ซินอฟเยฟนา โรเซนบอม, รัสเซีย: Али́са Зино́вьевна Розенба́ум; 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1905-6 มีนาคม ค.ศ. 1982) เป็นนักประพันธ์นวนิยาย, นักปราชญ์, นักเขียนบทละครและนักเขียนบทภาพยนตร์ชาวรัสเซีย-อเมริกัน ผู้เป็นที่รู้จักจากนวนิยายที่ขายดีที่สุดของเธอสองเรื่องคือ เดอะฟาวน์เทนเฮด (The Fountainhead) และ แอตลาสชรัก (Atlas Shrugged) หมวดหมู่:นักเขียนชาวรัสเซีย.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและไอน์ แรนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไคล์ โบรลอฟสกี

ไคล์ โบรลอฟสกี ตัวละครการ์ตูนจากเรื่อง เซาท์พาร์ก ไคล์ โบรลอฟสกี (Kyle Broflovski) ตัวละครจากภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง เซาท์พาร์ก ไคล์มีประโยคที่พูดติดปากว่า "You Bastards!" (แปลประมาณว่า สารเลว) โดยมักพูดต่อจากสแตนที่พูดว่า"Oh My God! They Killed Kenny" (โอ้พระเจ้า!พวกเขาฆ่าเคนนี่!) หลังจากที่เคนนีถูกฆ่า แมตต์ สโตนผู้ให้เสียงและหนึ่งในผู้สร้างให้ความเห็นว่า ไคล์เป็นตัวละครที่แสดงลักษณะของตัวเองเมื่อขณะที่ยังเด็ก ไคล์เป็นเด็กชาวยิวคนเดียวในเนื้อเรื่อง สวมหมวกปิดหูสีเขียวพร้อมกับเสื้อแจ๊กเกตสีส้มตลอดเวลา ตลอดเรื่องทรงผมของไคล์เป็นส่วนหนึ่งของความลับของเรื่องเหมือนกับหน้าตาของเคนนี(ภายหลังเปิดเผยว่าไคล์มีผมอัฟโฟรสีแดง) ไคล์เป็นเพื่อนสนิทกับสแตน ซึ่งมักจะเป็นผู้นำของเพื่อนร่วมห้อง โดยไคล์มีนิสัยที่ค่อนข้างระวัง วางตัวดีและมักจะมีมารยาทและศีลธรรมสูงกว่าเพื่อนทั่วไป ซึ่งทำให้เป็นเป้าหมายของ เอริก คาร์ตแมน เพื่อนร่วมห้อง เด็กต่อต้านสังคมโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อต้านไคล์ ซึ่งทำให้ไคล์กับคาร์ตแมนทะเลาะกันบ่อยๆ แม่ของไคล์ ชีลา (Sheila) ประธานสมาคมผู้ปกครองของโรงเรียน มีนิสัยที่มักจะปกป้องลูกมากเกินไป ในตอนหนึ่งเป็นคนจุดชนวนสงครามระหว่าง สหรัฐอเมริกา และประเทศแคนาดาเนื่องจากไม่ต้องการให้ไคล์ดูรายการทอล์กโชว์ของแคนาดาที่ไม่สุภาพ พ่อของไคล์ เจอรัลด์ (Gerald) เป็นทนายความ และน้องบุญธรรมชาวแคนาดาชื่อ ไอก๊ (Ike) ที่มักจะโดนไคล์เตะหลายครั้ง ชื่อสกุลของไคล์ "โบรลอฟสกี" (Broflovski, Broslovski, Broflofski, Broflovski, และ Brovlofski) มีการสะกดเป็นภาษาอังกฤษหลายแบบ โดยสำนักงานทนายความของพ่อไคล์เขียนว่า Brovlofski และในตอนหมีแพนด้าใช้ชื่อ Broflofski การสะกดหลายแบบมาจากแปลมาจากอักษรซีริลลิกว่า Бровловский ซึ่งในภาษารัสเซียไม่มีความหมายและไม่มีใครใช้ชื่อสกุลนี้ หมวดหมู่:ตัวละครการ์ตูน หมวดหมู่:ชาวยิว.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและไคล์ โบรลอฟสกี · ดูเพิ่มเติม »

ไซยาโนเจนมอด

ซยาโนเจนมอด (CyanogenMod) เป็นระบบปฏิบัติการโอเพนซอร์ซสำหรับแทนที่เฟิร์มแวร์ดั้งเดิมของสมาร์ตโฟนและแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ พัฒนาจากระบบปฏิบัติการแอนดรอย์ โดยปรับแต่งให้มีความสามารถและฟังชั่นเพิ่มเติม ผู้ใช้จะได้รับการอัปเดต อิงจากเวอร์ชั่นทางการของแอนดรอ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและไซยาโนเจนมอด · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสหภาพโซเวียต

Slav’sya, Otechestvo nashe svobodnoye! (Славься, Отечество наше свободное!; Slav’sya, Otechestvo nashe svobodnoye!, แปล "Be glorious, our free Fatherland!"), หรือมีชื่อที่รู้จักอย่างเป็นทางการคือ "เพลงชาติสหภาพโซเวียต" (r) เป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตประกาศใช้อย่างเป็นทางการในวันที่ 15 มีนาคม 1944 ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง หลังการปฏิวัติสังคมนิยมในรัสเซียโดยพวกบอลเชวิคเมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ. 1917 (พ.ศ. 2460) ในปีต่อมา ได้มีการใช้เพลง L'Internationale (หรือในภาษาอังกฤษ The Internationale) ซึ่งเพลงประจำของการปฏิวัติสังคมนิยมสากลเป็นเพลงชาติรัสเซีย เนื้อร้องฉบับภาษารัสเซียเป็นผลงานแปลของ อาร์คาดี้ ยาคอฟเลวิช ก็อตส์ เมื่อปี ค.ศ. 1902 (พ.ศ. 2445) เพลงนี้ได้ใช้เป็นเพลงชาติสหภาพโซเวียตที่ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1922 (พ.ศ. 2465) และใช้ต่อมาจนถึงปี ค.ศ. 1944 (พ.ศ. 2487) จากนั้นมีการใช้เพลงชาติใหม่ ที่ประพันธ์ทำนองโดย อเล็กซานเดอร์ อเล็กซานดรอฟ และประพันธ์เนื้อร้องโดย เซอร์เกย์ มิคาลกอฟ และ จี.แอล. เรจิสตาน ก่อนที่เพลงนี้จะได้ใช้เป็นเพลงชาติสหภาพโซเวียต ทำนองของเพลงนี้เคยถูกใช้ในงานหลายชิ้นของอเล็กซานดรอฟ ครั้งแรกได้ใช้เป็นเพลงประจำพรรคบอลเชวิคใน ค.ศ. 1938 (พ.ศ. 2481) และเมื่อ องค์การคอมมิวนิสต์สากล หรือโคมินเทิร์นสลายตัวไปในปี ค.ศ. 1943 (พ.ศ. 2486) ผู้นำประเทศมองว่าเพลงชาติใหม่ของสหภาพโซเวียต สมควรเข้ามาแทนที่เพลง L'Internationale ซึ่งตามประวัติแล้วเกี่ยวข้องกับขบวนการคอมมิวนิสต์สากลมากกว่า โจเซฟ สตาลิน ผู้นำประเทศในยุคนั้นจึงตัดสินใจเลือกเอาทำนองที่อเล็กซานดรอฟประพันธ์ มาใช้เป็นทำนองเพลงชาติฉบับใหม่ ส่วนคำร้องที่ร่วมประพันธ์โดย มิคาลกอฟ และ แอล.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเพลงชาติสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน (Державний гімн Української Радянської Соціалістичної Республіки - Deržavný himn Ukrajinśkoji Radjanśkoji Socialistyčnoji Respubliky) เป็นเพลงชาติของประเทศยูเครนสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต (ในชื่อ "สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน").

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย ("Latvijas Padomju Sociālistiskās Republikas himna") เป็นเพลงชาติของลัตเวียสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย (Lietuvos Tarybų Socialistinės Respublikos himnas) เป็นเพลงชาติของลิทัวเนียสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย (Հայկական ՍՍՀ օրհներգ) เป็นเพลงชาติของอาร์มีเนียสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก (Ўзбекистон Совет Социалист Республикасининг давлат мадҳияси) เป็นเพลงชาติของอุซเบกิสถานสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค (Қазақ Советтiк Социалистік Республикасының мемлекеттік әнұраны, Qazaq Sovettik Socïalïstik Respwblïkasınıñ memlekettik änuranı) เป็นเพลงชาติของคาซัคสถานสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย (Eesti Nõukogude Sotsialistliku Vabariigi hümn) เป็นเพลงชาติของเอสโตเนีย สมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน (Гимн Туркменской ССР) เป็นเพลงชาติของเติร์กเมนิสถานสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน

ลงชาติสาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan Respublikasının Dövlət Himni) หรือในอีกชื่อหนึ่งคือ Azərbaycan marşı หรือ "มาร์ชอาเซอร์ไบจาน" เป็นเพลงชาติของอาร์เซอร์ไบจานซึ่งเริ่มใช้ตามประกาศว่าด้วยเพลงชาติในปี พ.ศ. 2535 ประพันธ์เนื้อร้องโดยกวีชื่อ อาห์เหม็ด ยาวาด (Ahmed Javad) ทำนองโดย อูเซเยียร์ ฮัจยีบียอบ (Uzeyir Hajibeyov) นักดนตรีชาวอาเซอร์ไบจาน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเพลงชาติสาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐอุซเบกิสถาน

ลงชาติสาธารณรัฐอุซเบกิสถาน (ГОСУДАРСТВЕННЫЙ ГИМН РЕСПУБЛИКИ УЗБЕКИСТАН O`zbekiston Respublikasining Davlat Madhiyasi) ที่ใช้ในปัจจุบันนี้เริ่มใช้เมื่อประเทศได้รับเอกราชจากสหภาพโซเวียตภายหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี พ.ศ. 2534 โดยนำทำนองเพลงนี้มาจากเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก ซึ่งประพันธ์โดย มูตาล บูร์ฮานอฟ (Mutal Burhanov) และใช้ในช่วงที่อุซเบกิสถานอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต แต่เนื้อร้องได้ประพันธ์ขึ้นใหม่โดยอับดุลลา อาริปอฟ (Abdulla Aripov).

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเพลงชาติสาธารณรัฐอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐคาซัคสถาน

ลงชาติสาธารณรัฐคาซัคสถาน (Қазақстан Республикасының Мемлекеттік Әнұраны, Qazaqstan Respuwblïkasınıñ Memlekettik Änuranı); Государственный гимн Республики Казахстан)คือชื่อของเพลงชาติของคาซัคสถาน ในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2535 ถึง พ.ศ. 2549 ภายหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี พ.ศ. 2534, จึงได้มีการแก้ไขเนื้อร้องเพลงชาติใหม่ โดยใช้ทำนองเดิมของเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค ประพันธ์เนื้อร้องใหม่โดย มูซาฟาร์ อาลิมบาเยฟ (Muzafar Alimbayev), การ์ได มาซาร์ลีเยฟ (Kadyr Myrzaliyev), ตุมมานไบ โมลดากาลิเยฟ (Tumanbai Moldagaliyev), และ ซาร์ดาร์ ดาริบาเยวา (Zhadyra Daribayeva.) ในวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2549 ได้มีการประกาศใช้เพลงชาติฉบับใหม่ที่มีชื่อว่า "เมนิงคาซัคสตานึม" (Менің Қазақстаным, Meniñ Qazaqstanım; แปลว่า คาซัคสถานของข้า) ซึ่งเนื้อเดิมของเพลงนี้ ประพันธ์ไว้ในปี พ.ศ. 2499 ภายหลังนายนูร์ซุลตัน นาซาร์บายิฟ (Nursultan Nazarbayev) ประธานาธิบดีแห่งคาซัคสถาน ได้แก้ไขเพิ่มเติมเนื้อร้องบางส่วน ก่อนที่จะมีการประกาศใช้เพลงนี้เป็นเพลงชาติฉบับดังกล่าว.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเพลงชาติสาธารณรัฐคาซัคสถาน · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐคีร์กีซ

ลงชาติสาธารณรัฐคีร์กีซ (Кыргыз Республикасынын Мамлекеттик Гимни, Государственный гимн Киргизской Республики) เป็นเพลงชาติของประเทศคีร์กีซสถานหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2535 ทำนองโดย นาซีร์ ดาฟเลซอฟ (Nasyr Davlesov) และคาลยี โอลโดบาซานอฟ (Kalyi Moldobasanov) เนื้อร้องโดย จามิล ซาดีคอฟ (Djamil Sadykov) และเอชมามเบท คูลูเอฟ (Eshmambet Kuluev).

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเพลงชาติสาธารณรัฐคีร์กีซ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงสรรเสริญสาธารณรัฐอะดีเกยา

ลงสรรเสริญสาธารณรัฐอะดีเกยา (อะดีเกยา: Адыге Республикэм и Гимн, Гимн Республики Адыгея) เป็นชื่อของเพลงชาติสาธารณรัฐอะดีเกยาแห่งสหพันธรัฐรัสเซีย ประพันธ์คำร้องโดยอิซฮาก ชูมาโฟวิช มาชบาช (Iskhak Shumafovich Mashbash) ทำนองโดย อูมาร์ คาซิโซวิช ทคาบิซิมอฟ (Umar Khatsitsovich Tkhabisimov) เพลงดังกล่าวนี้ได้ผ่านการรับรองโดยสภาสูงสุดแห่งสาธารณรัฐอะดีเกยาเมื่อวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1992 ซึ่งการผ่านมติดังกล่าวนับเป็นมติลำดับแรกๆ ของสาธารณรัฐที่มีขึ้นหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเพลงสรรเสริญสาธารณรัฐอะดีเกยา · ดูเพิ่มเติม »

เพลงของชาทลาก

ม อ๊อฟ เชชเนีย เป็นเพลงชาติสาธารณรัฐเชนเนียของสหพันธรัฐรัสเซีย ประพันธ์โดย โฮดชิ-อารเหม็ด กาดีโรฟ, ทำนองประพันธ์โดย อุมาณ์ เบกซุตานอฟ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเพลงของชาทลาก · ดูเพิ่มเติม »

เกาะซาฮาลิน

เกาะซาฮาลิน (ภาษารัสเซีย: Сахали́н) เป็นเกาะทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ระหว่างละติจูด 45° 50’ และ 54° 24' เหนือ โดยตั้งอยู่เหนือเกาะฮกไกโดของญี่ปุ่นเพียงเล็กน้อย เกาะซาฮาลินเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของรัสเซียและครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของแคว้นซาฮาลิน ในปี ค.ศ. 1905 เกาะซาฮาลินถูกแบ่งเป็นสองส่วน คือเหนือและใต้ โดยเกาะซาฮาลินใต้นั้นถูกยึดครองโดยจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งในปี ค.ศ. 1907 ญี่ปุ่นได้จัดตั้งจังหวัดคาราฟูโตะ ขึ้นบนเกาะซาฮาลินใต้ โดยมีเมืองเอกคือ โอโตมาริ ในปี ค.ศ. 1945 ภายหลังญี่ปุ่นพ่ายแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง เกาะซาฮาลินทั้งหมดจึงตกเป็นของสหภาพโซเวียต และเป็นของรัสเซียในปัจจุบัน เกาะซาฮาลินเป็นที่อยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ท้องถิ่นหลายกลุ่ม กลุ่มที่สำคัญและเป็นที่รู้จักทั่วไปคือชาวไอนุ ซึ่งปัจจุบันชาวไอนุส่วนใหญ่ได้ย้ายไปอยู่ในเกาะฮอกไกโด หลังจากที่ญี่ปุ่นต้องสูญเสียเกาะซาฮาลินให้กับโซเวียต ซาฮาลิน หมวดหมู่:เกาะในประเทศรัสเซีย หมวดหมู่:เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก หมวดหมู่:รัสเซียตะวันออกไกล หมวดหมู่:ซาฮาลินโอบลาสต์.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเกาะซาฮาลิน · ดูเพิ่มเติม »

เรือนรก ศพคืนชีพ

รือนรก ศพคืนชีพ (魍魎の揺りかご; MOURYO NO YURIKAGO) เป็นการ์ตูนช่องจากประเทศญี่ปุ่นที่เขียนโดยซัมเบะ เค จัดพิมพ์โดยสแควร์เอนิกซ์ครั้งแรกใน นิตยสารยังกันกัน ฉบับที่ 9 ขึ้นใน..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเรือนรก ศพคืนชีพ · ดูเพิ่มเติม »

เลนินว 1918 กอดู

ลนินวตืยเซียชาเดเวียตซอตโวเซมนาดตืยกอดู (Ленин в 1918 году, Lenin v 1918 godu) เป็นภาพยนตร์โฆษณาชวนเชื่อจากสหภาพโซเวียตในปี 1939 มีเนื้อหาเกี่ยวกับเบื้องหลังของสงครามกลางเมืองรัสเซีย หลังการปฏิวัติเดือนตุลาคม ภาพยนตร์กำกับโดยมีฮาอิล โรมม์ โดยที่ E. Aron และ I. Simkov ร่วมกำกับการแสดง และเขียนบทโดย Aleksei Kapler ร่วมกับ Taisiya Zlatogorova.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเลนินว 1918 กอดู · ดูเพิ่มเติม »

เวรียเมีย

วรียเมีย (Вре́мя แปลว่า "เวลา") หรือเรียกว่า Программа Время เป็นรายการข่าวของช่องหนึ่งรัสเซียและสถานีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งสหภาพโซเวียต (Центральное телевидение СССР, ЦТ СССР) รายการนี้ออกอากาศเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเวรียเมีย · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่งไซบีเรีย

ือโคร่งไซบีเรีย หรือ เสือโคร่งอามูร์ หรือ เสือโคร่งจีนเหนือ หรือ เสือโคร่งแมนจูเรีย (Siberian tiger จีนตัวเต็ม: 东北虎; จีนตัวย่อ: 東北虎; รัสเซีย: Амурский тигр; มองโกล: Сибирийн бар; เปอร์เซีย: ببر سیبری; เกาหลี: 시베리아호랑이) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเสือชนิดหนึ่ง เป็นสายพันธุ์ย่อยของเสือโคร่ง (P. tigris) เป็นสัตว์ในวงศ์ Felidae ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกที่ยังหลงเหลือเผ่าพันธุ์อยู่จนถึงปัจจุบัน เสือโคร่งไซบีเรีย สามารถโตเต็มที่ได้ถึงเกือบ 3 เมตร และหนักได้ถึงเกือบ 300 กิโลกรัม เป็นเสือโคร่งชนิดที่มีลำตัวที่ใหญ่กว่าเสือโคร่งชนิดอื่นอย่างเห็นได้ชัด ใบหน้าแผ่กว้าง กรามใหญ่ ลวดลายน้อย และพื้นลำตัวเป็นสีเหลืองออกขาวมากกว่าเสือโคร่งชนิดอื่น ๆ สันนิษฐานว่า คงเป็นเพราะการปรับตัวให้กลมกลืนกับสภาพแวดล้อมที่มีหิมะและความหนาวเย็นอยู่รอบตัว ในอดีต เสือโคร่งไซบีเรียเคยอาศัยอยู่ในพื้นที่กว้างขวางของทวีปเอเชีย แต่ในปัจจุบัน เสือโคร่งไซบีเรียมีแหล่งที่อยู่อาศัยเป็นป่าผืนเล็กที่อยู่ตอนเหนือของเมืองวลาดิวอสตอค ประเทศรัสเซีย ตามแนวชายฝั่งทะเลญี่ปุ่นทางตอนเหนือ และมีจำนวนเพียง 400 ตัว การทำเหมืองแร่และการทำไม้ในแถบไซบีเรียตะวันออกซึ่งเป็นถิ่นของเสือโคร่งไซบีเรีย ที่ประเทศจีน ในปี ค.ศ. 1990 มีการพบเห็นเสือโคร่งพันธุ์ไซบีเรียในเทือกเขาฉางไป๋ทางตะวันออกเฉียงเหนือของจีน ในประเทศเกาหลีเหนือ สันนิษฐานว่ายังมีเสือโคร่งไซบีเรียหลงเหลืออยู่บริเวณภูเขาเปกดู ซึ่งเป็นบริเวณพรมแดนที่ติดต่อเทือกเขาฉางไป๋ของจีน ปัจจุบัน เสือโคร่งไซบีเรีย พบอาศัยอยู่ในป่าไทก้าของไซบีเรีย คาดมีเหลืออยู่ในธรรมชาติราวกว่า 200 ตัว ส่วนในจีนคาดว่ามีประมาณ 14-17 ตัว โดยพบล่าสุดเมื่อปลายเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเสือโคร่งไซบีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

เสียงรัว ปุ่มเหงือก

เสียงรัว ปุ่มเหงือก เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่น ภาษาโปรตุเกส, ภาษารัสเซีย, ภาษาเขมร ฯลฯ เสียงนี้ในภาษาไทยจะสะกดด้วยตัวอักษร ร สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ r หมวดหมู่:เสียงพยัญชนะ หมวดหมู่:เสียงพยัญชนะในภาษาไทย.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเสียงรัว ปุ่มเหงือก · ดูเพิ่มเติม »

เสียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือกกับเพดานแข็ง ไม่ก้อง

ียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือกกับเพดานแข็ง ไม่ก้อง เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ /t͡ɕ/ (เดิมใช้ /ʨ/) และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ ts\ เสียงนี้ในภาษาไทยจะสะกดด้วยตัวอักษร จ เมื่อไม่พ่นลม และ ฉ ช ฌ เมื่อพ่นลม.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเสียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือกกับเพดานแข็ง ไม่ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง

ียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง (voiceless velar fricative) เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่น ภาษาเยอรมัน, ภาษาสเปน, ภาษาโปรตุเกส, ภาษารัสเซีย, ภาษาจีนกลาง ฯลฯ แต่ไม่มีเสียงนี้ในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ /x/ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ x เสียงนี้เป็นเสียงหนึ่งในบรรดาเสียงพยัญชนะในภาษาอังกฤษเก่า และยังคงปรากฏในบางภาษาถิ่นของภาษาอังกฤษปัจจุบัน หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่างประเทศของราชบัณฑิตยสถานได้กำหนดให้เขียนทับศัพท์เสียง /x/ ในทุกภาษา (เท่าที่ได้กำหนดหลักเกณฑ์ไว้) ด้วย ค ยกเว้นภาษาอังกฤษให้ใช้ ก เมื่อเป็นตัวสะกด ส่วนภาษาจีนและภาษารัสเซียให้ใช้ ฮ อย่างไรก็ตาม ในการทับศัพท์ภาษารัสเซียนั้น ปัจจุบันนิยมใช้ ค แทนเสียงนี้ แม้แต่ในสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ที่มาจากราชบัณฑิตยสถานเอง ส่วนภาษาสเปน (ซึ่งพบเสียงนี้เป็นตัวสะกดท้ายพยางค์ไม่บ่อยนัก) บางคนนิยมทับศัพท์เสียงนี้ด้ว.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 60 ปีชัยในมหาสงครามผู้รักชาติ ค.ศ. 1941–1945"

หรียญที่ระลึก "ครบรอบ 60 ปีชัยในมหาสงครามผู้รักชาต..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 60 ปีชัยในมหาสงครามผู้รักชาติ ค.ศ. 1941–1945" · ดูเพิ่มเติม »

เหงียน มิญ เจิว

หงียน มิญ เจิว (Nguyễn Minh Châu) เป็นนักเขียนชาวเวียดนามที่มีชื่อเสียงในช่วงหลังสงครามเวียดนาม เกิดเมื่อ 20 ตุลาคม..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเหงียน มิญ เจิว · ดูเพิ่มเติม »

เอสเอ็มเอฟ

อสเอ็มเอฟ (SMF ย่อมาจาก Simple Machines Forum) เป็นโปรแกรมระบบกระดานสนทนาหรือที่นิยมเรียกกันว่าเว็บบอร์ดบนอินเทอร์เน็ตแบบโอเพนซอร์ส ทำงานด้วยภาษาพีเอชพี ควบคู่กับระบบฐานข้อมูล โดยรับรองการทำงานของฐานข้อมูลหลากหลายชนิด ได้แก่ MySQL, SQLite หรือ PostgreSQL ด้วยความที่ใช้ภาษาพีเอชพีในการพัฒนา รวมถึงการแพร่หลายของระบบฐานข้อมูล MySQL รวมถึงมีตัวช่วยการติดตั้งที่ง่าย (Wizard installer) มีรูปแบบของธีม (Themes) และส่วนเสริมฟังก์ชันการใช้งาน (Modifications) ให้เลือกใช้มากมาย ทำให้ SMF ได้รับความนิยมอย่างแพร่หล.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเอสเอ็มเอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียกลาง

แผนที่เอเชียกลางแสดงเขตแดนตามคำนิยามที่ต่างกัน 3 แบบ เอเชียกลาง(อังกฤษ: Central Asia หรือ Middle Asia รัสเซีย: Центральная Азия) เป็นพื้นที่กว้างใหญ่ในทวีปเอเชียที่ไม่มีทางออกทะเล มีคำนิยามที่ต่างกันออกไปสำหรับขอบเขตของดินแดนที่จัดอยู่ในภูมิภาคเป็นเอเชียกลาง และยังไม่มีคำนิยามใดที่เป็นที่ยอมรับโดยส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตามลักษณะโดยทั่วไปของดินแดนในภูมิภาคนี้คือ มีความเกี่ยวข้องทางประวัติศาสตร์กับกลุ่มชนร่อนเร่ (nomad) และ เส้นทางสายไหม ซึ่งทำให้ในอดีตนั้นดินแดนในภูมิภาคนี้เป็นเสมือนเส้นทางของ สินค้า คน รวมถึง แนวความคิด ระหว่างยุโรป ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออก.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาซาโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น

้าหญิงมะซะโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น (ประสูติ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2506) พระชายาในเจ้าชายนะรุฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะและสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ โดยสมาชิกราชวงศ์ราชวงศ์ญี่ปุ่นหลังจากการอภิเษกสมร.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเจ้าหญิงมาซาโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

เทคก้าแมนเบลด II

ทคก้าแมนเบลด II เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น แนวแฟนตาซีวิทยาศาสตร์ ที่เป็นภาคต่อของเทคก้าแมนเบลด เนื้อเรื่องกล่าวถึงเหตุการณ์ในอีก 10 ปีต่อมา เขียนบทโดย ฮิโรยูกิ คาวาซากิ ออกแบบตัวละครโดย ฮิโรโตชิ ซาโนะ และกำกับโดย ฮิเดกิ โทโนคัตสึ ออกวางจำหน่ายในรูปแบบโอวีเอ เมื่อปี พ.ศ. 2537 - 2538 ความยาว 6 ตอน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเทคก้าแมนเบลด II · ดูเพิ่มเติม »

เดอะ เดียร์ ฮันเตอร์

อะ เดียร์ฮันเตอร์ (The Deer Hunter) เป็นภาพยนตร์อเมริกันที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเดอะ เดียร์ ฮันเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดดช็อต

็อต (Deadshot; ชื่อจริง ฟลอยด์ ลอว์ตัน (Floyd Lawton)) เป็นตัวละครของดีซีคอมิกส์ สร้างสรรค์โดยบ็อบ เคน, เดวิด เวิร์น รีดและลิว ชวาตซ์ ปรากฏตัวครั้งแรกในหนังสือการ์ตูน แบทแมน เล่มที่ 59 (มิถุนายน/กรกฎาคม 1950) มักจะปรากฏตัวในฐานะตัวร้าย เป็นศัตรูกับแบทแมน และบางครั้งเป็นตัวเอกปฏิลักษณ์ เดดช็อตมีความสามารถในการยิงปืนแม่น เป็นสมาชิกหลักของกลุ่มซุยไซด์สควอดและซีเคร็ตซิกส์ เดดช็อตอยู่ในอันดับที่ 43 ของ 100 อันดับสุดยอดตัวร้ายในหนังสือการ์ตูนตลอดกาลของไอจีเอ็น.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเดดช็อต · ดูเพิ่มเติม »

เครือรัฐเอกราช

รือรัฐเอกราช (Commonwealth of Independent States หรือ CIS Содружество Независимых Государств หรือ СНГ) เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ตั้งขึ้นหลังจากที่สหภาพโซเวียตล่มสลายลง โดยมีประเทศสมาชิกเป็นประเทศที่ประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียต (ยกเว้นกลุ่มประเทศบอลติก).

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเครือรัฐเอกราช · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องบินขับไล่

รื่องบินจู่โจมหนึ่งลำ (เอ-10) เครื่องบินขับไล่ เป็นอากาศยานทางทหารที่ถูกออกแบบมาเพื่อการต่อสู้ทางอากาศกับอากาศยานลำอื่นเป็นหลัก มันตรงกันข้ามกับเครื่องบินทิ้งระเบิดที่ถูกออกแบบมาเพื่อโจมตีภาคพื้นดินโดยการทิ้งระเบิดเป็นหลัก เครื่องบินขับไล่นั้นมีขนาดเล็ก รวดเร็ว และคล่องแคล่ว เครื่องบินขับไล่มากมายจะมีความสามารถรองในการโจมตีภาคพื้นดิน และบ้างก็มีสองบทบาทโดยเรียกว่าเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิด บางครั้งคำว่าเครื่องบินขับไล่ก็ถูกใช้ร่วมกับเครื่องบินโจมตีภาคพื้นดิน เครื่องบินขับไล่โดยหลักแล้วจะหมายถึงเครื่องบินติดอาวุธที่แย่งครองความเป็นจ้าวทางอากาศเหนือข้าศึกในสมรภูมิ ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สอง ความสำเร็จและความเหนือกว่าทางอากาศได้กลายมาเป็นปัจจัยสำคัญในชัยชนะของสงคราม โดยเฉพาะสงครามทั่วไประหว่างกองทัพปกติ (ไม่เหมือนกับสงครามกองโจร) การซื้อขาย การฝึก และการดูแลรักษากองบินเครื่องบินขับไล่จะแสดงถึงทุนที่มากมายของกองทัพนั้น.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเครื่องบินขับไล่ · ดูเพิ่มเติม »

เซมนัดซัตมกโนเวนีย์เวสนืย

ซมนัดซัตมกโนเวนีย์เวสนืย (Semnadtsat' mgnoveniy vesny) เป็นมินิซีรีสของสหภาพโซเวียตมีทั้งหมด 12 ตอน ออกอากาศทางโทรทัศน์ครั้งแรกในปี 1973 กำกับการแสดงโดย Tatyana Lioznova โดยมีเค้าโครงของนวนิยายเรื่องเดียวกันของ Yulian Semyonov เซมนัดซัตมกโนเวนีย์เวสนืย เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ Maxim Isaev สายลับโซเวียตที่ทำงานจารกรรมในนาซีเยอรมนีโดยใช้ชื่อ Max Otto von Stierlitz ซึ่งรับบทโดย Vyacheslav Tikhonov เซมนัดซัตมกโนเวนีย์เวสนืยกลายเป็นซีรีสที่เป็นที่นิยมในสหภาพโซเวียตนอกจากนี้เซมนัดซัตมกโนเวนีย์เวสนืยยังเป็นหนึ่งในซีรีสที่ยังเป็นที่นิยมในประวัติศาสตร์ละครซีรีสของรัสเซี.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเซมนัดซัตมกโนเวนีย์เวสนืย · ดูเพิ่มเติม »

เซวัสโตปอล

ซวัสโตปอล (Sevastopol, ยูเครนและรัสเซีย: Севасто́поль) เป็นหนึ่งในสองนครที่มีสถานภาพพิเศษในประเทศยูเครน (อีกนครหนึ่ง คือ เคียฟ เมืองหลวงของประเทศ) ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลดำของคาบสมุทรไครเมีย มีประชากร 342,541 คน (2544) ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์และสภาพการเดินเรือของท่าเรือเซวัสโตปอลทำให้นครดังกล่าวเป็นจุดนาวิกที่สำคัญทางยุทธศาสตร์ นอกจากนี้ยังเป็นรีสอร์ตริมทะเลและสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ ซึ่งส่วนใหญ่มาจากประเทศเครือจักรภพรัฐเอกราช นครยังเป็นที่ตั้งของกองเรือทะเลดำรัสเซีย ซึ่งเดิมเป็นของโซเวียต และปัจจุบันเป็นที่ตั้งของฐานทัพเรือยูเครนและรัสเซียเช่าฐานทัพเรือจากยูเครนไปถึงปี 2585 เซวัสโตปอลเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่กองทัพเรือยูเครนและกองเรือทะเลดำของรัสเซีย ความสำคัญด้านการค้าและการต่อเรือของท่าเซวัสโตปอลเติบโตขึ้นหลังสหภาพโซเวียตล่มสลาย แม้จะประสบความยากลำบากที่มาจากการควบคุมท่าเรือและสะพานเทียบเรือร่วมกันของทหาร เซวัสโตปอลยังเป็นศูนย์วิจัยชีววิทยาทางทะเลที่สำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มีการศึกษาและฝึกโลมาในนครนับแต่สงครามโลกครั้งที่สองยุติ เซวัสโตปอลเป็นหนึ่งในสถานที่ที่มีภูมิอากาศอบอุ่นที่สุดในประเทศยูเครน โดยฤดูหนาวไม่หนาว และฤดูร้อนอบอุ่นปานกลาง วันที่ 6 มีนาคม 2557 เซวัสโตปอลประกาศว่าตนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐรัสเซียฝ่ายเดียว.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเซวัสโตปอล · ดูเพิ่มเติม »

เซาท์ออสซีเชีย

เซาท์ออสซีเชีย (South Ossetia) เป็นรัฐที่ได้รับการรับรองบางส่วนในเซาท์คอเคซัส ตั้งอยู่ในดินแดนมณฑลปกครองตนเองเซาท์ออสซีเชียในอดีตสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจีย เซาท์ออสซีเชียประกาศเอกราชจากจอร์เจียในปี 2533 เรียกตนเองว่า สาธารณรัฐเซาท์ออสซีเชีย รัฐบาลจอร์เจียสนองโดยเลิกอัตตาณัติของเซาท์ออสซีเชียและพยายามสถาปนาการควบคุมเหนือดินแดนอีกครั้งด้วยกำลัง วิกฤตการณ์บานปลายเป็นสงครามเซาท์ออสซีเชียปี 2534–2535 หมวดหมู่:รัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์ หมวดหมู่:ประเทศจอร์เจีย หมวดหมู่:ประเทศในเอเชียตะวันตก.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเซาท์ออสซีเชีย · ดูเพิ่มเติม »

เซเบิล

ซเบิล (sable) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae).

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเซเบิล · ดูเพิ่มเติม »

เนมูโระ

นมูโระ (ไอนุ: ニムオロ นิมุโอโร) เป็นเมืองในประเทศญี่ปุ่น ในจังหวัดฮกไกโด จัดว่าเป็นเมืองเอกของกิ่งจังหวัดเนมูโระ และจัดว่าเป็นเมืองที่อยู่ทางตะวันออกที่สุด ของเกาะญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและเนมูโระ · ดูเพิ่มเติม »

Ch (ทวิอักษร)

Ch Ch เป็นทวิอักษรที่พบได้ในหลาย ๆ ภาษา ในบางภาษาจะจัดใช้ ch เป็นอักษรเดี่ยว โดยในพจนานุกรมก็จะไม่ได้รวมอยู่ในหมวดเดียวกับอักษร c แต่จะแยกออกไปต่างหาก อักษร ch ใช้แทนเสียงที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและCh (ทวิอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

Kola Superdeep Borehole

แสตมป์รูปหลุมเจาะ KSDB Kola Superdeep Borehole (KSDB) เป็นผลของโครงการการขุดเจาะทางวิทยาศาสตร์ของสหภาพโซเวียตในอดีต โครงการนี้ได้พยายามเจาะลงไปในเปลือกโลกให้ลึกที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ การเจาะเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1970 ที่ คาบสมุทร Kola โดยใช้เครื่องเจาะ Uralmash-4E และภายหลังได้เปลี่ยนเป็นเครื่องเจาะ Uralmash-15000 การเจาะได้แตกแขนงออกเป็นหลายช่องจากช่องกลาง แขนงที่มีความลึกที่สุดคือ SG-3 ได้เจาะเสร็จสิ้นเมื่อปีค.ศ. 1989 มีความลึก 12,262 เมตร (7.6 ไมล์) และได้กลายเป็นหลุมที่มีความลึกมากที่สุดที่ถูกสร้างขึ้นโดยมนุษ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและKola Superdeep Borehole · ดูเพิ่มเติม »

None but the lonely heart

None but the lonely heart โอปุสที่ 6 เพลงที่ 6 (Нет, только тот, кто знал, ''Net, tol'ko tot, kto znal''.) เป็นผลงานประพันธ์ดนตรีเพื่อขับร้องและบรรเลงด้วยเปียโน ผลงานของปีเตอร์ ไชคอฟสกีในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและNone but the lonely heart · ดูเพิ่มเติม »

Ѥ

Iotified E (Ѥ, ѥ) เป็นอักษรซีริลลิกยุคเก่าตัวหนึ่ง เป็นอักษรรวมระหว่าง І กับ Є ใช้แทนเสียงสระ // ปัจจุบันเลิกใช้อักษรนี้และเปลี่ยนไปใช้ Е ในภาษารัสเซีย ส่วนภาษายูเครนจะใช้ Є แทน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและѤ · ดูเพิ่มเติม »

Ѳ

Fita (Ѳ, ѳ) เป็นอักษรซีริลลิกยุคเก่าตัวหนึ่ง มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ทีตา อักษรนี้ใช้เขียนชื่อเฉพาะที่ทับศัพท์มาจากภาษากรีกเป็นหลัก และตั้งแต่ภาษารัสเซียออกเสียงตัวอักษรนี้เป็น // แทนที่จะเป็น // เหมือนภาษากรีก เช่น คำว่า Theodore ก็อ่านเป็น Fyodor จึงมีการใช้ Ef (Ф, ф) แทนอักษร Fita ใน พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) และสำหรับกลุ่มภาษาสลาวิกอื่นๆ ซึ่งออกเสียงอักษรนี้เป็น // ก็เปลี่ยนไปใช้ Te (Т, т) ด้วยเช่นกัน ยกตัวอย่างภาษาบัลแกเรียจะอ่านคำว่า Theodore เป็น Teodor หรือ Todor เป็นต้น อักษรนี้จึงไม่มีที่ใช้ไปโดยปริยาย อักษร Fita มีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 9 และอย่าสับสนกับอักษร Oe (Ө, ө) ที่มีลักษณะคล้ายกัน (มีใช้ในภาษาคาซัค ภาษาตูวา และภาษามองโกเลีย) และบางครั้งขีดตรงกลางก็ถูกเขียนให้เป็นหยัก เป็นคลื่น หรือขีดให้เกินวงกลมออกมา ดังที่ปรากฏในฟอนต์บางตัว เพื่อให้เกิดความแตกต่างกับอักษรดังกล่าว.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและѲ · ดูเพิ่มเติม »

Ґ

Ge (Ґ, ґ) บางครั้งก็เรียกว่า Ghe หรือ Ge with upturn (ในรหัสยูนิโคดใช้ชื่อว่า CYRILLIC CAPITAL/SMALL LETTER GHE WITH UPTURN) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้แทนเสียง // คล้ายกับเสียง g ของคำว่า go ในภาษาอังกฤษ ในภาษาเบลารุสและภาษายูเครนสมัยโบราณ บางครั้งมีการใช้อักษรละติน g และทวิอักษร КГ (kh) แทนเสียงของ g ในคำทับศัพท์จากภาษาละติน แต่ภายหลังการทำเช่นนี้รวมทั้งการใช้ทวิอักษร ได้เลือนหายไปจากอักขรวิธีของภาษาเบลารุส จนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 19 การใช้อักษร Ґ ได้ถูกนำมาพิจารณาใหม่และเพิ่มเข้าไปในภาษายูเครนและภาษารูซิน อักษร Ґ ของภาษายูเครนได้ถูกยกเลิกในการปฏิรูปอักขรวิธีของภาษารัสเซีย โดยสหภาพโซเวียต ใน พ.ศ. 2476 (ค.ศ. 1933) และถูกจัดให้เป็นอักษรเดียวกันกับ Г แต่อย่างไรก็ตาม อักษร Ґ ได้ถูกนำกลับมาใช้อีกครั้งหนึ่งโดยชาวพื้นเมืองของประเทศยูเครน ใน พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) ภายหลังการปฏิรูปกลาสนอสต์ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักภาษาศาสตร์ชาวเบลารุสบางท่าน โดยเฉพาะ เอียน สตานเคียวิช (Yan Stankyevich) ได้มีการเสนอแนะว่าควรจะนำการอักษรนี้มาแทนเสียงของ g อีกครั้ง อย่างน้อยก็เพื่อทับศัพท์คำใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน แต่คนส่วนใหญ่ไม่ยอมรับแนวความคิดนี้ แม้กระทั่งตัวอักษร Ґ ก็ไม่เคยได้ปรากฏรวมอยู่ในลำดับอักษรของภาษาเบลารุสเลย เนื่องจากเห็นว่าอักษรตัวนี้ไม่ได้ใช้มานานมากแล้ว.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและҐ · ดูเพิ่มเติม »

SIL

SIL International เป็นองค์กรทางวิทยาศาสตร์ที่ไม่หวังผลกำไร มีจุดประสงค์หลักคือ ศึกษา พัฒนา และบันทึกภาษาที่ไม่เป็นที่รู้จัก เพื่อขยายความรู้ด้านภาษาศาสตร์, ศึกษาภาษาต่าง ๆ บนโลก และช่วยพัฒนาภาษาของชนกลุ่มน้อย องค์กรนี้ให้บริการข้อมูลด้านภาษาผ่านทางเว็บไซต์ SIL ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาของยูเนสโก และสหประชาชาติ นอกจากนี้ยังได้รับฐานะเป็นองค์กรที่ไม่หวังผลกำไรในหลาย ๆ ประเท.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและSIL · ดูเพิ่มเติม »

Usavich ซี้ป่วนก๊วนกระต่าย

Usavich ซี้ป่วนก๊วนกระต่าย (Usavich) ชื่อเรื่องมาจากคำว่า อุซะงิ (うさぎ "กระต่าย") กับคำว่า Vich ที่ทำให้ดูเหมือนภาษารัสเซีย เป็นอะนิเมะสั้นของญี่ปุ่น ความยาวตอนละ 1 นาทีเศษ แต่เดิมสร้างขึ้นเพื่อบริการโทรศัพท์มือถือเอ็มทีวีญี่ปุ่น "Flux" และถูกสร้างขึ้นออกอากาศทางเอ็มทีวีญี่ปุ่น โดยมีซะโตะชิ โทะมิโอะกะและสตูดิโอกะนะบังกราฟิกส์ของเขาเป็นผู้สร้าง เนื้อเรื่องเป็นเรื่องเกี่ยวกับชีวิตของกระต่ายนักโทษสองตัว 2 ตัวกับการดำรงชีวิตในคุกโซเวียตช่วงฤดูกาลแรก และฤดูกาลต่อ ๆ มาจะเป็นเรื่องราวของการผจญภัยและหลบหนีตำรวจ มีทั้งหมด 5 ฤดูกาล.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและUsavich ซี้ป่วนก๊วนกระต่าย · ดูเพิ่มเติม »

Windows-1251

Windows-1251 คือการเข้ารหัสอักขระแบบ 8 บิตชนิดหนึ่ง ถูกออกแบบขึ้นเพื่อให้ครอบคลุมภาษาที่ใช้อักษรซีริลลิก อย่างเช่น ภาษารัสเซีย ภาษาบัลแกเรีย เป็นต้น แต่การเข้ารหัสอักขระนี้นิยมใช้เฉพาะภาษาเซอร์เบียและภาษาบัลแกเรีย การเข้ารหัสอักขระ Windows-1251 และ KOI8-R (หรือสำหรับภาษายูเครนคือ KOI8-U) มีการใช้งานมากกว่า ISO 8859-5 ซึ่งไม่ได้รับความนิยมอย่างจริงจัง ทางออกในอนาคตคือการใช้ยูนิโคดเข้ามาแทนที่ ในตารางข้างบนนี้ 20 คือเว้นวรรค A0 คือเว้นวรรคแบบไม่ตัดคำ และ AD คือยัติภังค์เผื่อเลือก.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและWindows-1251 · ดูเพิ่มเติม »

WWWJDIC

WWWJDIC เป็นพจนานุกรมภาษาญี่ปุ่นออนไลน์ ซึ่งมีพื้นฐานมาจากพจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ที่แปลและรวบรวมโดย จิม บรีน (Jim Breen) นักวิชาการชาวออสเตรเลีย แฟ้มพจนานุกรมหลักแปลจากภาษาญี่ปุ่นไปเป็นภาษาอังกฤษ และแปลจากภาษาอังกฤษไปเป็นภาษาญี่ปุ่น (EDICT) มีคำศัพท์ประมาณ 130,000 รายการ (และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ) มีพจนานุกรมการอ่านชื่อเฉพาะในภาษาญี่ปุ่น (ENAMDICT) กว่าแสนชื่อ และยังมีพจนานุกรมเฉพาะทางเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ นิติศาสตร์ คอมพิวเตอร์ วิศวกรรมศาสตร์ ฯลฯ ให้เลือกแปล นอกจากจะสามารถแปลเป็นภาษาอังกฤษแล้ว ยังสามารถแปลเป็นภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย ภาษาฮังการี และภาษาสวีเดนได้ด้วย WWWJDIC เป็นการใช้ประโยชน์จากรุ่นปรับแต่งของ แฟ้มข้อความสาธารณสมบัติ เป็นการรวบรวมประโยคต่างๆ ในภาษาญี่ปุ่นแล้วแปลจับคู่กับภาษาอังกฤษ ซึ่งมีจำนวนมากกว่า 160,000 คู่ในรุ่นปัจจุบัน ส่วนข้อมูลแฟ้มพจนานุกรมสามารถดาวน์โหลด แก้ไข และคัดลอกได้อย่างเสรี เนื่องจากอยู่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ ประเภท Attribution-ShareAlike รุ่น 3.0 การเข้าถึงนอกจากจะสามารถเปิดเว็บไซต์โดยตรงได้แล้ว ยังสามารถใช้กับกล่องค้นหาในไฟร์ฟอกซ์ และมีแถบเครื่องมือสืบค้นที่สามารถเชื่อมโยงมายังเว็บไซต์ เว็บไซต์หลักของ WWWJDIC ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยโมนาช (Monash University) ประเทศออสเตรเลีย ปัจจุบันมีไซต์เสมือนอีก 5 แห่งได้แก่ กลุ่มวิจัยและพัฒนาพจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ สหรัฐอเมริกา, ศูนย์วิจัยแห่งชาติ ประเทศแคนาดา, มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น, ประเทศสวีเดน, และที่สหภาพยุโรป.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและWWWJDIC · ดูเพิ่มเติม »

О

O หรือ On (О, о) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง ใช้แทนเสียงสระ // (โอ) หลังพยัญชนะเสียงหนัก หรือเสียง // (อะ) เมื่อมีการลดเสียงสระในภาษารัสเซีย อักษรนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก โอไมครอน มีชื่อเดิมคือ onǔ ซึ่งมีความหมายว่า "เขา" หรือ "สิ่งนั้น" ในภาษาเชิร์ชสลาโวนิกยุคเก่า แต่ไม่มีค่าของเลขซีริลลิก.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและО · ดูเพิ่มเติม »

Ё

Yo (Ё, ё) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก และเป็นอักษรตัวที่ 7 ของภาษารัสเซีย อักษรนี้ประดิษฐ์ขึ้นใน พ.ศ. 2340 (ค.ศ. 1797) โดยนักเขียนและนักประวัติศาสตร์ชาวรัสเซีย นิโคไล มิไฮโลวิช คารามซิน (Nikolai Mikhailovich Karamzin) เพื่อลดความสับสนระหว่างการใช้ Е กับ О สำหรับแทนเสียงสระ // ที่ตามหลังพยัญชนะซึ่งถูกอ่านโดยเลื่อนขึ้นไปทางเพดานแข็ง อักษรนี้ใช้ในภาษารัสเซียและภาษาเบลารุส และใช้น้อยครั้งในกลุ่มภาษาสลาวิกอื่นๆ โดยปกติแล้วอักษร Ё จะออกเสียงเป็น // (โย) แต่เมื่อตามหลังพยัญชนะเสียงเสียดแทรก ฐานปุ่มเหงือก ได้แก่ Ж, Ч, Ш, และ Щ จะออกเสียงเป็น // (โอ) ธรรมดา นอกจากนั้นพยางค์ที่มีอักษรนี้อยู่จะเป็นเสียงเน้นหนักเสมอ (stress) ลักษณะของ Yo นั้นสามารถระบุได้ว่าเอามาจาก Ye ซึ่งเหมือนอักษรละติน E เว้นแต่ด้านบนจะมีเครื่องหมายเสริมอักษรเป็นจุดสองจุดเรียกว่า umlaut หรือ diaeresis ซึ่งไม่มีที่ใช้ทั่วไปในอักษรอื่นของภาษารัสเซีย เครื่องหมายนี้ถูกใช้เพื่อให้เกิดความแตกต่างกับ Ye เท่านั้น อักษร Ё ได้นำไปใช้ในงานเขียนครั้งแรกเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 แต่ก็ไม่ได้ใช้ให้เป็นมาตรฐานจนถึง พ.ศ. 2483-2492 (ค.ศ. 1940-1949) และยังมีคำทับศัพท์มากมายที่ใช้ ЙО แทนอักษร Ё แม้ว่าหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง อักษร Yo ที่ใช้กันอย่างทั่วไปในงานพิมพ์ ก็ถูกเปลี่ยนไปใช้อักษร Ye เพื่อให้ตัวหนังสือกลมกลืนไปด้วยกัน และปริบทจะเป็นตัวบ่งบอกให้ผู้อ่านเองว่าควรจะออกเสียงอย่างไร แต่การใช้อักษรนี้ยังต้องจำเป็นต้องใช้ในการจัดทำพจนานุกรม หนังสือเรียน หรือตำราสำหรับชาวต่างประเทศ นักประพันธ์และนักวารสารศาสตร์บางท่าน อย่างเช่น อะเลคซันเดอร์ ซอลเจนิซืยน (Aleksandr Solzhenitsyn) หรือ ลีเตราตูร์นายากาเซตา (Literaturnaya Gazeta) ได้จัดพิมพ์หนังสือต่างๆ ด้วยอักษร Yo เสมอ และความเป็นจริงในการแทนอักษร Yo ด้วยอักษร Ye นั้น มักจะทำให้เกิดความสับสนให้กับผู้ที่ไม่ใช่ชาวรัสเซีย ซึ่งจะเกิดความยุ่งยากในการถ่ายทอดอักษรจากภาษารัสเซีย ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างหนึ่งคือนามสกุลของชาวรัสเซียที่มักจะลงท้ายด้วย -ев (-ev) และ -ёв (-ov) อย่างผู้นำสองท่านที่ชื่อว่า ฮรูชอฟ (Khrushchev) กับ กอร์บาชอฟ (Gorbachev) ซึ่งนามสกุลของท่านนั้นลงท้ายด้วย -ёв และควรจะถ่ายอักษรด้วย -ov สำหรับภาษาเบลารุส ชาวเบลารุสเห็นว่าการแทนอักษร Yo ด้วยอักษร Ye นั้นไม่เหมาะสม จึงยังคงใช้อักษรนี้เป็นปรกต.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและЁ · ดูเพิ่มเติม »

А

อา (А, а) เป็นอักษรตัวแรกในอักษรซีริลลิก มีพัฒนาการโดยตรงมาจากอักษรกรีก แอลฟา ในอักษรซีริลลิกยุคเก่า อักษรตัวนี้มีชื่อว่า azǔ และมีค่าของตัวเลขเท่ากับ 1 ในหลายๆ ภาษาที่ใช้อักษรซีริลลิก เช่น ภาษารัสเซีย ภาษาเซอร์เบีย ภาษามาซิโดเนีย และภาษาบัลแกเรีย อ่านอักษรนี้ว่า // (อา) บางครั้งอาจจะอ่านเป็น // (อา ปากกว้าง) หรือ // (เออ) ในภาษาอย่างเช่น ภาษาอิงกุช หรือ ภาษาเชอเชน ในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา อักษรนี้มีหลากหลายลักษณะ แต่ทุกวันนี้ถูกทำให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน จึงดูเหมือนอักษรละติน A (รวมทั้งรูปแบบตัวเอนด้วย).

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและА · ดูเพิ่มเติม »

Ф

Ef (Ф, ф) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง ใช้แทนเสียง // เหมือน f ในภาษาอังกฤษหรือ ฟ ในภาษาไทย อักษรนี้มีวิวัฒนาการโดยตรงมาจากอักษรกรีก ไฟ และใช้แทนอักษร Fita (Ѳ) ตั้งแต่ พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) ซึ่งเคยมีใช้ในภาษารัสเซีย อักษรตัวนี้สามารถถ่ายอักษรให้เป็น f ไม่ใช่ ph ถึงแม้ว่าอักษรละติน F จะมีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ไดแกมมา (Ϝ) ที่เลิกใช้ไปแล้วก็ตาม และไม่เกี่ยวข้องกับอักษรกรีก ไฟ แต่อย่างใด อักษร Ef มีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 500 และมีชื่อเดิมคือ fr̤̥tǔ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและФ · ดูเพิ่มเติม »

Ц

Tse (Ц, ц) คืออักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง มีลักษณะคล้ายอักษรละติน U ที่เป็นเหลี่ยมและมี "ติ่ง" ที่มุมล่างขวา ใช้แทนเสียง เหมือนในคำว่า cats ในภาษาอังกฤษ อักษร Tse เป็นอักษรตัวที่ 23 ในภาษารัสเซีย และถูกพิจารณาว่ามีพัฒนาการมาจากอักษรฮีบรู Tsadi ในลักษณะของอักษรท้ายคำ (ץ) และอักษรกลาโกลิต Tsi (รูปภาพ: 14px) อักษรนี้มีชื่อเดิมว่า ci หรือ tsi และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 900 อักษร Tse สามารถถ่ายอักษรได้เป็น ts แต่อย่างไรก็ดี ชื่อเฉพาะบางอย่างอาจถ่ายอักษรเป็น c, z, cz หรือ tz ก็มี สำหรับภาษารัสเซีย คำที่ใช้อักษรนี้ส่วนใหญ่เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น โดยเฉพาะคำในภาษาละตินที่มีอักษร C เช่น цирк (circus), центр (center) และภาษาเยอรมันที่มีอักษร Z เช่น плац (Platz), цинк (Zink) เป็นต้น ส่วนคำที่เป็นภาษารัสเซียแท้ก็พบได้น้อย อย่างเช่น царь (Tsar) และแทบจะไม่ปรากฏเลยในภาษาสลาวิกยุคเริ่มแรก ตามอักขรวิธีของภาษารัสเซีย อักษร Ц แทบจะไม่ถูกต่อท้ายด้วย Ы เว้นแต่จะเป็นจำนวนพหูพจน์ หรือคำคุณศัพท์บอกจำนวน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและЦ · ดูเพิ่มเติม »

Щ

Shcha หรือ Shta (Щ, щ) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง ใช้แทนเสียง // หรือ // ในภาษารัสเซีย, // หรือ // ในภาษายูเครน และ // ในภาษาบัลแกเรีย เริ่มแรกอักษรตัวนี้เป็นอักษรรวมระหว่าง Ш กับ Т ที่มี descender อยู่ตรงกลาง และมีพัฒนาการมาจากอักษรกลาโกลิต Shta (รูปภาพ: 14px) อักษรตัวนี้ค่อนข้างมีความยุ่งยากในการทับศัพท์ ในทางภาษาศาสตร์จะถ่ายอักษรเป็น šč ในภาษาอังกฤษจะเปลี่ยนเป็น shch และในภาษาเยอรมันจะเปลี่ยนเป็น schtsch ซึ่งต้องใช้มากถึง 7 ตัวเพื่อแปลงอักษรเพียงตัวเดียว.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและЩ · ดูเพิ่มเติม »

Ъ

ตัวอักษร (ตัวใหญ่: Ъ, ตัวเล็ก: ъ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรซีริลลิก.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและЪ · ดูเพิ่มเติม »

Э

E หรือ E Oborotnoye (Э, э) เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิก มีใช้ในภาษารัสเซียและภาษาในกลุ่มสลาวิกเป็นส่วนมาก ยกเว้นภาษายูเครน อักษรนี้ใช้แทนเสียงสระ // (เอ).

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและЭ · ดูเพิ่มเติม »

И

I หรือ Y (И, и) บางครั้งก็เรียกว่า Octal I เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ออกเสียงสระ // (อี) ในภาษารัสเซียและ // (อิ) ในภาษายูเครน แต่ไม่มีในภาษาเบลารุส อักษรนี้มีลักษณะคล้ายอักษรละติน N ตัวใหญ่ที่เขียนกลับข้าง อักษรนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก อีตา ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ iže และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 8 อักษร И เมื่อต้องการถ่ายอักษรจะใช้ I สำหรับภาษารัสเซีย และใช้ Y หรือ I สำหรับภาษายูเครน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและИ · ดูเพิ่มเติม »

Ж

Zhe (Ж, ж) เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิก ที่ใช้แทนเสียง เหมือนเสียง s ในคำว่า treasure ของภาษาอังกฤษ หรือ ż ในภาษาโปแลนด์ Zhe เป็นอักษรตัวที่ 7 ของภาษาบัลแกเรีย เป็นอักษรตัวที่ 8 ของภาษาเบลารุส ภาษามาซิโดเนีย ภาษารัสเซีย และภาษาเซอร์เบีย และเป็นอักษรตัวที่ 9 ของภาษายูเครน อักษรตัวนี้ยังใช้ในกลุ่มภาษาอื่นที่ไม่ใช่สลาวิกเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งออกเสียงเป็น หรือ ในอักษรซีริลลิกโบราณ Ж เป็นอักษรตัวที่ 7 มีชื่อเดิมคือ živěte แต่ไม่มีค่าของเลขซีริลลิก กบที่มีลักษณะ คล้ายอักษร Ж ปัจจุบันยังไม่ทราบว่าอักษรนี้มีพัฒนาการมาอย่างไร เนื่องจากไม่มีอักษรกรีก หรืออักษรละติน หรืออักษรในภาษาอื่นที่คล้ายกันเลย แม้ว่าจะมีอักษรกลาโกลิต Zhivete ในสมัยก่อนที่ใช้แทนเสียง และมีรูปร่างคล้ายกันก็ตาม (รูปภาพ: 14px) อย่างไรก็ตาม จุดกำเนิดของ Zhivete นั้นยังคลุมเครือเหมือนอักษรกลาโกลิตอื่นๆ ความเป็นไปได้อย่างหนึ่งคือ อักษร Zhe อาจประกอบด้วยอักษรฮีบรู Shin (ש) สองอันต่อกันโดยที่ส่วนล่างกลับหัว ซึ่งอักษรฮีบรูตัวนี้เป็นต้นกำเนิดของ Sha (Ш, ш) อยู่แล้ว อักษร Zhe บ่อยครั้งมักจะถูกถ่ายอักษรเป็น zh หรือ zx ซึ่งพบได้ยากกว่า เว้นแต่ภาษาเซอร์เบีย ภาษามาซิโดเนีย และระบบการถ่ายทอดอักษรบางระบบของภาษาบัลแกเรีย จะใช้ ž หรือ z แทน อักษร Zhe ยังเป็นอักษรตัวแรกสำหรับเยาวชนที่ต้องการศึกษากลุ่มภาษาสลาวิก เนื่องจากอักษรตัวนี้มีลักษณะคล้ายลูกอ๊อดของกบในช่วงเปลี่ยนรูปร่าง อีกทั้งในกลุ่มภาษาเหล่านี้ คำที่มีความหมายว่า กบ หรือ ลูกอ๊อด จะเขียนเป็น жаба (zhaba จาบา) อีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและЖ · ดูเพิ่มเติม »

З

Ze (З, з) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้แทนเสียง // เหมือนภาษาทั่วไปที่ใช้อักษรละติน z อักษรตัวนี้มักจะทำให้สับสนได้ง่ายกับเลขอารบิก 3 และอักษร E (Э, э) ของภาษารัสเซีย อักษร Ze มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ซีตา ชื่อดั้งเดิมของอักษรนี้คือ zemlja และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 7.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและЗ · ดูเพิ่มเติม »

Б

Be (Б, б) เป็นอักษรตัวที่ 2 ในอักษรซีริลลิก ออกเสียงเป็น // เหมือนกับ b ในภาษาอังกฤษหรือ บ ในภาษาไทย ในภาษารัสเซียบางครั้งอักษรตัวนี้อ่านเป็น // ที่ไร้เสียงที่ตำแหน่งสุดท้ายของคำหรือพยัญชนะที่ไม่ออกเสียง หรืออ่านเป็น // ที่หน้าเสียงสระซึ่งเลื่อนไปทางเพดานแข็งในช่องปาก ตัวอักษรนี้มีลักษณะคล้ายเลข 6 และไม่ควรจำสับสนกับ Ve (В, в) ที่ซึ่งมีรูปร่างเหมือนอักษรละติน B อักษรทั้งสองนี้ต่างก็มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก บีตา เหมือนกัน เมื่อตัวอักษรนี้ถูกเขียนด้วยลายมือ อักษร б ตัวเล็กจะดูคล้ายกับอักษรกรีก เดลตา ตัวเล็ก (δ) ชื่อเดิมของตัวอักษรนี้คือ bukū และไม่มีค่าทางตัวเลข เนื่องจากอักษร В ได้รับการนับเลขซีริลลิกจากอักษรกรีกไปแล้ว ดังนั้นอักษร Б จึงไม่มีค่าใ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและБ · ดูเพิ่มเติม »

В

Ve (В, в) เป็นอักษรตัวที่ 3 ในอักษรซีริลลิก อ่านได้เป็นเสียง // และมีรูปร่างเหมือนอักษรละติน B แต่ออกเสียงต่างกัน อักษรตัวนี้และ Б มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก บีตา ซึ่งมีการใช้แทนเสียง // ของภาษากรีกในเวลาใกล้เคียงกับสมัยที่อักษรซีริลลิกถูกสร้างขึ้น ชื่อเดิมของอักษรตัวนี้คือ vědě และมีค่าตัวเลขเท่ากับ 2 ในระบบเลขซีริลลิก ในภาษารัสเซีย อักษรตัวนี้ออกเสียงเหมือน // เหมือนภาษาอังกฤษ ยกเว้นเมื่ออักษรตัวนี้ปรากฏท้ายคำจะเป็น // ที่ไร้เสียง หรืออ่านเป็น // ก่อนเสียงสระซึ่งเลื่อนไปทางเพดานแข็ง ในการออกเสียงภาษายูเครนแบบมาตรฐาน (ซึ่งมีสำเนียงโพลทาวาเป็นฐาน) อักษร В จะออกเสียงเป็น // ในภาษาอังกฤษ (เหมือนมี ว สะกด) เมื่ออยู่ที่ท้ายคำ เช่น Владислав แปลงเป็นอักษรละตินจะได้ Vladyslaw อ่านว่า วลาดีสลาว แต่สำหรับชาวยูเครนกลุ่มหนึ่ง จะออกเสียงอักษรนี้เป็น // เสมอไม่ว่าจะปรากฏอยู่ที่ใด ในภาคตะวันออกของประเทศยูเครน อักษร В อาจจะถูกอ่านเป็น // ที่ไร้เสียงให้คล้ายกับภาษารัสเซีย ซึ่งไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ยกตัวอย่างคำว่า сказав ภาษายูเครนมาตรฐานจะอ่านว่า skazaw สคาซาว ในขณะที่ภาคตะวันออกจะอ่านว่า skazaf สคาซาฟ ในภาษาเบลารุส อักษร В จะออกเสียงเป็น // เท่านั้น แต่เมื่ออักษรตัวนี้ไปปรากฏอยู่ท้ายคำหรือหน้าพยัญชนะอีกตัวจะเปลี่ยนรูปเป็นอักษร Ў ซึ่งเป็นอักษรที่มีใช้ในภาษานี้เท่านั้นที่แทนเสียง // ตัวอย่าง คำศัพท์ мова (mova โมวา) ที่เป็นคำนาม เมื่อเปลี่ยนรูปไปเป็นคำคุณศัพท์จะกลายเป็น моўный (mownyy โมวนืยอี) และคำนามที่เป็นพหูพจน์จะกลายเป็น моў (mow โมว).

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและВ · ดูเพิ่มเติม »

Г

Ge หรือ He (Г, г) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ออกเสียงเป็น // หรือ // ในภาษาที่แตกต่างกัน อักษรนี้มีพัฒนาการโดยตรงมาจากอักษรกรีก แกมมา และ Г ทั้งตัวใหญ่และตัวเล็ก จะมีรูปร่างเหมือนแกมมาตัวใหญ่ ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ glagoli และมีค่าเท่ากับ 3 ในเลขซีริลลิก ในมาตรฐานของภาษาเซอร์เบีย ภาษาบัลแกเรีย และภาษามาซิโดเนีย อักษร Г จะออกเสียงเป็น // เหมือนกับ g ของคำว่า go ในภาษาอังกฤษ หรือ ก ในภาษาไทย ในภาษารัสเซียก็อ่านเป็น // เช่นกัน ยกเว้นเมื่อปรากฏท้ายคำจะเป็น // ที่ไร้เสียง (สะกดด้วย ก) หรือออกเสียงเป็น // ก่อนเสียงสระเพดานแข็ง มีอยู่น้อยคำที่อักษรนี้ปรากฏอยู่ตรงกลางแล้วออกเสียงเป็น // เช่น ураган urakan อูราคัน หมายถึง เฮอร์ริเคน ในภาษายูเครนและภาษาเบลารุส จะเรียกอักษรนี้ว่า He ใช้แทนเสียงเสียดแทรกในลำคอ // ไม่เหมือนเสียง h ของภาษาอังกฤษ สำหรับภาษายูเครนนั้น เสียง // นั้นหาที่ใช้ได้น้อย แต่เมื่อต้องการใช้จะเปลี่ยนรูปเขียนเป็น Ge with upturn (Ґ, ґ) แทน ส่วนภาษาเบลารุส แม้อักษร Г จะมีใช้บ่อย เพื่อแทนคำที่ยืมมาจากภาษาโปแลนด์และภาษารัสเซีย แต่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 การใช้เสียงนี้ในภาษาก็ได้หมดความสำคัญไป การเพิ่มตัวอักษร Г ลงในภาษาเบลารุสยังคงได้รับการยอมรับเฉพาะนักภาษาศาสตร์บางท่าน แต่ยังไม่ประกาศใช้อย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและГ · ดูเพิ่มเติม »

Є

Ye (Є, є) คืออักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้เฉพาะในภาษายูเครน เพื่อออกเสียงสระ // (เย) ให้เหมือนกับ Ye (Е, е) ในภาษาเบลารุสและภาษารัสเซีย อักษรนี้เป็นรูปดั้งเดิมที่คล้ายกับอักษร Ye ในสมัยโบราณ ไม่ควรสับสนระหว่างตัวอักษร Є กับเครื่องหมายสกุลเงินยูโร € ซึ่งมีสองขีดตรงกลาง.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและЄ · ดูเพิ่มเติม »

І

I (І, і) หรือบางครั้งก็เรียกว่า Decimal I หรือ Dotted I เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิก มีใช้เฉพาะในภาษาเบลารุส ภาษาคาซัก และภาษายูเครน ใช้แทนเสียงสระ // (อี) เหมือนอักษร И ของภาษารัสเซีย อักษรนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ไอโอตา ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ i และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 10 อักษร І เคยใช้เป็นอักษรในภาษารัสเซีย จนถึง พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) ได้เกิดการปฏิวัติอักขรวิธีโดยสหภาพโซเวียต อักษรนี้จึงถูกยกเลิกไป แต่ยังคงมีการใช้ในบางประเทศที่แยกตัวออกจากสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและІ · ดูเพิ่มเติม »

Е

Ye หรือ E (Е, е) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก มีรูปร่างลักษณะเหมือนอักษรละติน E มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก เอปไซลอน ชื่อเดิมของตัวอักษรนี้คือ estǐ และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 5 ในภาษาบัลแกเรีย ภาษามาซิโดเนีย ภาษาเซอร์เบีย และภาษายูเครน จะเรียกอักษรนี้ว่า "E" และใช้แทนเสียง // หรือ // (เอ หรือ แอ) ส่วนภาษาเบลารุสและภาษารัสเซีย จะเรียกตัวอักษรนี้ว่า "Ye" และใช้แทนเสียงสระที่เลื่อนขึ้นไปทางเพดานแข็ง โดยอ่านเป็น /, / หรือ /, / (เย หรือ แย) ให้ควบเสียงเข้ากับพยัญชนะที่อยู่ข้างหน้า แต่เสียงที่เปล่งออกมานั้นไม่ค่อยมีความแตกต่างจาก "E" มากนัก สำหรับภาษายูเครน เมื่อต้องการอ่านเสียงให้เป็น "Ye" จะเปลี่ยนไปใช้ Є แทน.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและЕ · ดูเพิ่มเติม »

Ѕ

Dze (Ѕ, ѕ) คืออักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้เฉพาะในภาษามาซิโดเนียและภาษาเชิร์ชสลาโวนิก มีลักษณะคล้ายอักษรละติน S และออกเสียงเป็น เหมือนในคำว่า kids ของภาษาอังกฤษ อักษรตัวนี้เป็นเสียงโฆษะคู่กับ Tse (Ц, ц) เนื่องจากอักษร Dze มีพัฒนาการมาจากอักษรกลาโกลิต Dzelo (รูปภาพ: 14px) อักษรนี้จึงมีชื่อเดิมเป็น dzělo ตามอักษรกลาโกลิต แต่ก่อนหน้านั้นยังมีความคลุมเครือเกี่ยวกับที่มา อักษรนี้ยังใช้แทนค่า 6 ในระบบเลขซีริลลิกอีกด้วย อักษรนี้เดิมเคยมีใช้ในภาษารัสเซีย แต่ถูกตัดออกหลังจากการปฏิรูปอักขรวิธีของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและЅ · ดูเพิ่มเติม »

Й

Short I (Й, й) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก อักษรตัวนี้ประดิษฐ์ขึ้นจากอักษร И และเครื่องหมายเสริมอักษร breve ใช้แทนเสียงพยัญชนะกึ่งสระ // เหมือน y ในคำว่า yellow ของภาษาอังกฤษหรือ ย ในภาษาไทย อักษร Short I เป็นอักษรตัวที่ 11 ในภาษารัสเซียเรียกว่า И краткое (I kratkoye อี ครัตโคเอีย), เป็นอักษรตัวที่ 10 ในภาษาบัลแกเรียเรียกว่า И кратко (I kratko อี ครัตโค), เป็นอักษรตัวที่ 14 ในภาษายูเครนเรียกว่า Йот (Yot ยอต) หรือ Ий (Yi อิย) และเป็นอักษรตัวที่ 11 ในภาษาเบลารุส แต่ถึงกระนั้นก็ไม่มีการใช้อักษร И ในภาษาเบลารุส อักษร Short I มักจะถูกถ่ายอักษรให้เป็น j หรือ y ส่วนมากจะใช้เป็นพยัญชนะสะกดตัวสุดท้ายของคำ อักษร Й (หรือในอีกแง่หนึ่งคือการเติม breve บนอักษร И) เริ่มมีการใช้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15–16 และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 ความแตกต่างระหว่าง И กับ Й เริ่มปรากฏในอักขรวิธีของภาษาเชิร์ชสลาโวนิก (ซึ่งใช้เป็นภาษารัสเซียเช่นกัน) แต่หลังจากเกิดการปฏิรูปอักขรวิธีในสหภาพโซเวียต โดย จักรพรรดิปอเตอร์ที่ 1 (Peter I) เครื่องหมายเสริมอักษรของภาษารัสเซียถูกตัดออกไปทั้งหมด แต่หลังจากที่พระองค์เสด็จสวรรคตใน พ.ศ. 2278 (ค.ศ. 1735) ไม่นาน การใช้อักษร И กับ Й ก็กลับมาอีก แต่ก็ยังไม่ถือว่า Й เป็นอักษร จนกระทั่งในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ประมาณทศวรรษที่ 30 จึงประกาศใช้อย่างเป็นทางการ ในภาษาเซอร์เบียและภาษามาซิโดเนีย จะใช้ Je (Ј, ј) แทนอักษร Short I.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและЙ · ดูเพิ่มเติม »

.рф

.рф (อ่านว่า ด็อต เอร เอฟ, รัสเซีย: Росси́йская Федера́ция, สหพันธรัฐรัสเซีย) เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศรัสเซีย เริ่มใช้ครั้งแรกใน พ.ศ. 2551 โดเมนนี้เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดชื่อแรกในโลกที่ใช้อักษรซีริลลิก และชื่อเว็บไซต์ที่ใช้โดเมนนี้จะเป็นอักษรซีริลลิกเท่านั้น.

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและ.рф · ดูเพิ่มเติม »

2001 จอมจักรวาล (ภาพยนตร์)

2001 จอมจักรวาล (2001: A Space Odyssey) เป็นภาพยนตร์ที่สร้างจากนิยายวิทยาศาสตร์ในชุด จอมจักรวาล ของ อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก เรื่อง 2001 จอมจักรวาล เกี่ยวกับการเดินทางไปยังดาวเสาร์ของมนุษย์ในปี ค.ศ. 2001 ออกฉายในปี ค.ศ. 1968 กำกับโดยสแตนลีย์ คูบริก แต่มีการเปลี่ยนแปลงเนื้อเรื่องเล็กน้อย จากดาวเสาร์ในฉบับนิยายเป็นดาวพฤหัสบดี ด้วยเหตุผลด้านเทคนิคที่ไม่สามารถสร้างฉากดาวเสาร์ขึ้นมาได้ บทภาพยนตร์เขียนคู่ไปกับฉบับนิยาย ได้รับการยกย่องอย่างสูงในฐานะแบบฉบับของภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัลออสการ์ สาขา Visual Effects ค.ศ. 1968 และยังเป็นหนึ่งในสิบภาพยนตร์ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล จากการสำรวจของ Sight & Sound ในปี..

ใหม่!!: ภาษารัสเซียและ2001 จอมจักรวาล (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Russian LanguageRussian language

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »