โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษากรีก

ดัชนี ภาษากรีก

ษากรีก ซึ่งคนที่พูดและเขียนภาษานี้เรียกว่า เฮลเลนิก หรือ เอลเลนิกา (Ελληνικά) เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เกิดในประเทศกรีซ และเคยเป็นภาษาพูดตามชายฝั่งของเอเชียไมเนอร์และทางใต้ของประเทศอิตาลีในยุคโบราณ มีการพูดภาษาถิ่นจำนวนหนึ่ง เช่น ไอโอนิก ดอริก และแอททิก การเรียนการสอนภาษากรีกในประเทศไทยยังไม่แพร่หลายนัก ปัจจุบันมีเพียง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, รูปแบบไฟล.doc /สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มกราคม..

719 ความสัมพันธ์: AcerosAllochiriaAnthracocerosArapaima leptosomaAstronotus crassipinnisชลศาสตร์ชวเลขชะเอมเทศบัญญัติ 10 ประการชาลอมชาวกรีกบานพับภาพชื่อธาตุที่เป็นระบบชีวิตอารามวาสีบทสดุดีช้างแอฟริกาฟล็อกซ์ฟอสฟอรัสฟาโรห์เมเนสพยาธิกำเนิดพระพรมหัศจรรย์พระวรสารนักบุญยอห์นพระสันตะปาปาพระเยซูพระเจ้าแอนทิโอคัสมหาราชพลูโทเนียมพอลิเมอร์พัตมอสพันธสัญญาใหม่พายุหมุนเขตร้อนพารัลแลกซ์พิสตาชีโอป่าพิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนพืชไม่มีท่อลำเลียงพีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอาพีตากระจงกระดูกสแคฟฟอยด์กระดูกทราพีซอยด์กระดูกทราพีเซียมกระซู่กรันต์ อัลเลนกรีกกรีซโบราณกลยุทธ์กลศาสตร์กลอสซอพเทอริสกลุ่มภาษาคอเคเซียนกลุ่มอาการมือแปลกปลอมกลุ่มเกาะ...กลไกแอนติคิเธียรากล้วยนากกล้ามเนื้อเดลทอยด์กอริลลากอลกัปตันอีโอกันดั้มดิวนาเมสกันดั้มคิวริออสกันดั้มโธรนกันดั้มเอกเซียกันดั้มเอเปี้ยนการบำบัดการพลัดถิ่นการรักษาโดยใช้สารก่อกระด้างการสตัฟฟ์สัตว์การถอดเป็นอักษรโรมันการถ่ายภาพการปกครองโดยชนชั้นกลางการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 2018การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาคการเกิดโดยไม่ผสมพันธุ์การเห็นด้วยตาเดียวกาลานุกรมต้นไม้กาลิเลโอ กาลิเลอีกิจการของอัครทูตกิ้งก่าคาเมเลี่ยนแจ็คสันกุมารเวชศาสตร์กูเกิล แปลภาษาก็อดเซฟเดอะควีนฐานธรณีภาคภาพยนตร์ลามกภาวะธำรงดุลภาวะไม่รู้ใบหน้าภาษาบัลติภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติภาษาฟรีเจียภาษาฟิลิสไตน์ภาษาฟินิเชียภาษากรีกคอยนีภาษามาลายาลัมภาษายิดดิชภาษารัสเซียภาษาลาดิโนภาษาลาซภาษาลิเดียภาษาสันสกฤตภาษาอราเมอิกพระเยซูภาษาอาร์มีเนียภาษาอาหรับมาโรไนต์ภาษาอาหรับเลบานอนภาษาอินโดนีเซียภาษาฮิตไทต์ภาษาฮีบรูมิซนะห์ภาษาฮีบรูไบเบิลภาษาของชาวยิวภาษาคาเรียภาษาตุรกีภาษาตุรกีออตโตมันภาษาซีรีแอกภาษาแบกเตรียภาษาแอราเมอิกของชาวยิวภาษาโทรจันภาษาไซเทียภาษาเคิร์ดเหนือภาษาเปอร์เซียของชาวยิวมรณสักขีในศาสนาคริสต์มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมานุษยรูปนิยมมิดเดิลเอิร์ธมินต์ (พืช)มินนีแอโพลิสมุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์มูฟส์ไลก์แจกเกอร์มีนวิทยาม้วนหนังสือเดดซีม้าน้ำยาปฏิชีวนะยิมนาสติกยุทธการที่เทอร์มอพิลียุโรปตะวันตกยูดาส อิสคาริโอทยูแคริโอตยูโทเปีย (หนังสือ)ยีราฟ (สกุล)รอยขูดขีดเขียนรอยประสานท้ายทอยระบบระบบการทรงตัวระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางรับบีรัฐสมาชิกสหภาพยุโรปรัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีนรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ราชรัฐแอนติออกราชอาณาจักรกรีซราชอาณาจักรไซปรัสรายชื่อภาษารายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1รายชื่อคาถาในแฮร์รี่ พอตเตอร์รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์รายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิกรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยรุ่งอรุณรูปสิบเหลี่ยมรูปสิบเอ็ดเหลี่ยมรูปหมื่นเหลี่ยมรูปหลายเหลี่ยมรูปเก้าเหลี่ยมรูปเคารพลาร์นากาลิมนาดลิงค์ (ภาษาศาสตร์)ลิงโคโลบัสลิเทียมลิเดียลูกาผู้นิพนธ์พระวรสารลูเชียนลีมาซอลวัจนปฏิบัติศาสตร์วันวาฬวาฬหลังค่อมวิกิพีเดียภาษากรีกวิลเลียม กิลเบิร์ตวิลเดอบีสต์วิลเดอบีสต์เคราขาววิวัฒนาการชาติพันธุ์วิวัฒนาการของมนุษย์วิวัฒนาการของคอเคลียวิทยาการระบาดวิทยามะเร็งวิทยาสัตว์ลึกลับวิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกวิตรูวิอุสวงศ์ยางนาวงศ์วานวิวัฒนาการวงศ์ทานตะวันวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้าวงศ์ปลากระโทงวงศ์ปลากระเบนหางสั้นวงศ์ปลากรายวงศ์ปลากะพงสลิดวงศ์ปลากะพงดำวงศ์ปลากดอเมริกันวงศ์ปลามังกรน้อยวงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างขวาวงศ์ปลาลิ้นเสือวงศ์ปลาวัวจมูกยาววงศ์ปลาวัวจมูกสั้นวงศ์ปลาสลิดหินวงศ์ปลาสอดวงศ์ปลาหมูกระโดงสูงวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจวงศ์ปลาดาบวงศ์ปลาดุกไฟฟ้าวงศ์ปลาตะพัดวงศ์ปลาตาเหลือกยาววงศ์ปลาฉลามปากเป็ดวงศ์ปลาปักเป้ากล่องวงศ์ปลาปากแตรวงศ์ปลาเสือพ่นน้ำศิลปะสกัดหินสกุลบาร์โบดีสสกุลช้างสารภีสกุลฟีนิกซ์สกุลกุหลาบ (กล้วยไม้)สกุลกูดต้นสกุลมะขามเทศสกุลยางนาสกุลรองเท้านารีสกุลหมากตอกสกุลหวาย (กล้วยไม้)สกุลหวายกุ้งน้ำพรายสกุลออรีเซียสสกุลผักบุ้งสกุลดีอานีม่าสกุลปลาวัวปิกัสโซสกุลปลาไบเคอร์สกุลแพนเทอราสกุลแรดสกุลแอสโตรไฟตัมสกุลโดรีอิคธีสสกุลโปตาโมไทรกอนสกุลเพชรหึงสกุลเสือลายเมฆสกุลเข็ม (กล้วยไม้)สกุลเดสโมพุนชัสสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียงสมัยคลาสสิกสมัยโฮโลซีนสมัยไพลสโตซีนสมัยไพลโอซีนสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จที่ 2 แห่งกรีซสมเด็จพระราชินีอันเนอ-มารีแห่งกรีซสมเด็จพระราชินีอเล็กซันดราแห่งยูโกสลาเวียสมเด็จพระเจ้าไทกราเนสมหาราชสรรพันตรเทวนิยมสรีรวิทยาระบบนิเวศสวนศาสตร์สหภาพยุโรปสะระแหน่สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกสัตว์ประหลาดสามเทพสุภาสารานุกรมสาธารณรัฐเวนิสสางห่า (สกุล)สิงโตสุสานแห่งฮาลิคาร์นัสเซิสสีซีเปียสีเงิน (มุทราศาสตร์)สคิลลาสตรีโกยสนร่มสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ดสไตลอยด์ โพรเซสสเตอเรเดียนสเตโกดอนหมาจิ้งจอกเฟนเนกหมึก (สัตว์)หมึกสายหม้อข้าวหม้อแกงลิงหยาดน้ำค้าง (สกุล)หลอดอาหารหลักสูตรหอยงวงช้างกระดาษหอหลังคาโดมหูชั้นในรูปหอยโข่งหนอนตัวแบนหนังสือปฐมกาลหน้า (เรขาคณิต)ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ห้องเก็บศพใต้โบสถ์อวาริสออริกซ์ออร์แกนออดอมิเตอร์ออโตทรอพอะพาไทต์อะตอมอะเล็กซานเดรียเอสคาเทอักษรฟินิเชียอักษรกรีกอักษรละตินอักษรลิเชียอักษรลิเดียอักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมันอักษรทิฟินาคอักษรคอปติกอักษรไลเนียร์บีอักษรไซปรัสอักษรเวเนติกอัลเลลูยาอัครมุขนายกอัตชีวประวัติอันดับกระต่ายอันดับย่อยเม่นอันดับด้วงอันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำอันดับปลาคางคกอันดับปลาฉลามฟันเลื่อยอันดับปลาไหลไฟฟ้าอาบัดโดนอาการอาการกลัวที่สูงอาการกลัวความลึกอาร์กติกอาร์โคซอร์อาดามันเทียมอานาโตเลียอิกัวนาบกอิมพาลาอิสตันบูลอิคะเริสอินฟันตากริสตีนา เฟเดรีกาแห่งสเปนอิเล็กโทรดอุลกมณีอุณหพลศาสตร์อุปมานิทัศน์อุปสรรค (ไวยากรณ์)อีลาสโมซอรัสอีนิกมาอีเลฟเทริออส เวนิเซลอสองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐานอ่าวไทยอ่างล้างบาปอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 17อเล็กซานเดอร์ (ชื่อ)อเล็กซานเดอร์มหาราชอเทวนิยมฮอโลคอสต์ฮิวริสติกในการประเมินและการตัดสินใจฮิปนอสฮิปโปแคมปัสฮิปโปแคมปัส (เทพปกรณัมกรีก)ฮิปโปโปเตมัสฮีเลียมฌีมโนเปดีจอกศักดิ์สิทธิ์จะงอยบ่าจักรพรรดิมิคาเอลที่ 8 พาลาโอโลกอสจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 2 พาลาโอโลกอสจักรพรรดิดิออเกลติอานุสจักรพรรดินีไอรีนแห่งเอเธนส์จักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรียจักรราศีจักรวรรดิละตินจักรวรรดิไบแซนไทน์จักรวรรดิไนเซียจันทน์จุลพยาธิวิทยาจีเมลธาร์ซิสธงชาติกรีซธงสองมือทรงหลายหน้าทฤษฎีการกำเนิดจักรวาลทวิอักษรทอพอโลยีทอรัส อัลเดบารันทองเหลืองทอเลมี (ชื่อ)ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทัดดอกไม้ทาลอสทาลัสซีเมียแบบบีตาทิแรโนดอนทูเบอรัส สเคลอโรซิสขอบฟ้าขันทีดัชชีเอเธนส์ดังเคิลออสเตียสดายน์ดาราศาสตร์ดาราจักรดาวหางดาวอังคารดาวเทียมไทยโชตดาวเคราะห์น้อยดิวโอลิงโกคริสต์มาสคริสเตียน ฟรีดริช เชินไบน์คลอรีนคลีโอพัตราความรักความเกลียดกลัวต่างชาติความเจ็บปวดคอมมอนบรัชเทลพอสซัมคอร์ปัส คาโลซัมคอนสแตนติโนเปิลคะราคะโอะริ อีดะคัลซีสคัสพาร์ เบาฮีนคาราคาทอลิกคำปฏิญาณโอลิมปิกคุยหลัทธิคณิตศาสตร์คซันโทสงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83งูหางกระดิ่งงูหางกระดิ่ง (สกุล)งูหางกระดิ่งแคระงูอนาคอนดางูปล้องฉนวนงูเหลือม (สกุล)ตรรกศาสตร์ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนตรีโกณมิติตับตัวคูณตัวเลข IUPACตัวเตี้ยแบบไม่สามารถรอดชีวิตได้ตาเหล่ตาเหล่ออกตุ๊กแกหางใบไม้ซัลซา (ซอส)ซาวลาซาอิสซาจิททาเรียส ไอโอลอสซีอาแซนทินปฏิทินดาวเคราะห์ประชานประภาคารฟาโรสแห่งอเล็กซานเดรียประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์อานาโตเลียประวัติศาสนาพุทธประวัติศาสนาคริสต์ประเทศกรีซประเทศอียิปต์ประเทศโปรตุเกสประเทศไซปรัสปรากฏการณ์บูบา/กิกีปลาพีค็อกแบสปลากระโทงดาบปลากระเบนหางปีกปลากะพงเขียวปลาการ์ปลามอลลี่ปลามาเบิลแคทฟิชปลาม่อนปลาราฟิโอดอนปลารีดฟิชปลาสอดหางดาบปลาสิงโตปลาหมอคิวปิโดปลาหมอเฮโรสปลาหมอเท็กซัส (สกุล)ปลาหมูกระโดงสูงปลาหัวงอนปลาหูช้างปลาออสการ์ (สกุล)ปลาจิ้งจกปลาที่มีครีบเป็นพู่ปลาท่องเที่ยวปลาดังปลาดุกปลาดุกทะเลลายปลาดุกไฟฟ้าปลาฉลามพยาบาลปลาฉนากจะงอยปากแคบปลาซักเกอร์ไฮฟินปลาซันฟิชปลาซันฟิชหูยาวปลาซาร์ดีนทะเลสาบปลาแอฟริกันไทเกอร์ปลาแซลมอนแปซิฟิกปลาใบไม้กายอานาปลาโนรีเทวรูปปลาไม่มีขากรรไกรปลาไหลกัลเปอร์ปลาเขือปัญจตันตระปูลมป้อมปืนนาวาโรนนกอัลบาทรอสคิ้วดำนกนางแอ่นแม่น้ำนกนางแอ่นแม่น้ำแอฟริกานกแก้วคาคาโปนกแสก (สกุล)นกเลิฟเบิร์ดนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธรนกเขียวก้านตองนอสตราเดมัสนักบินอวกาศนักบุญอันดรูว์นักบุญจอร์จนักเรียนนิรุกติศาสตร์นิวตรอนนิวต์หางใบพายนิวโรพิลนิทานคติสอนใจนีโครโนมิคอนน้ำตาลแบกแดดแบริออนแบไรต์แพริโดเลียแพร์ซโพลิส (หนังสือการ์ตูน)แพลงก์ตอนแพลงก์ตอนพืชแพนแกรมแกรไฟต์แกนประสาทนำออกแก้วกาญจนาแมลงสาบแมสติกแมงมุมน้ำแม่น้ำดานูบแม่น้ำไนล์แรดแรดชวาแรดขาวแร็กคูนแวนเจลิสแอล. แอล. ซาเมนฮอฟแอนทิโลปแอนดรอยด์แอนเดรียส เวซาเลียสแอแนกซิมินีสแอโรเพลนเจลลีแอโครเทียรีและดิเคเลียแฮโลเจนแถบดาวเคราะห์น้อยแทนิสแท็กซี่แคลดิสติกส์แคว้นกาลิเซียแคปพาโดเชียแคเธอรินแห่งอะเล็กซานเดรียแซฟไฟร์แซนโทฟิลล์โฟโต้สเกปโมโนทรีมโยฮันน์ เซบาสเตียน บาคโรมโรคกลัวที่ชุมชนโรคระบาดโรคระบาดทั่วโรคริดสีดวงทวารโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังโรคใคร่เด็กโรคโปลิโอโลก (ดาวเคราะห์)โสมโสตศอนาสิกวิทยาโหนกท้ายทอยโอริคัลคุมโอลิมเปีย (ประเทศกรีซ)โทมัส ยังโทรทัศน์โคอาลาโปรตอนไบรโอโลยีไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนลไพโรโซมไกอาไมโล (เครื่องดื่ม)ไมโครแรปเตอร์ไมเคิล ดูคาคิสไรโบโซมไอพอดชัฟเฟิลไอยคุปต์ไอออนไฮยีน่าไฮโดรโปนิกส์ไฮโดรเจนไฮเมเลีย (ดาวบริวาร)ไฮเปอร์ไดมอนด์ไผ่ตงไทม์สแควร์ไทร์ (ประเทศเลบานอน)ไทลาซีนไทแรนโนซอรัสไข้รากสาดใหญ่ไดโนเสาร์ไซเรนเฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซเพกาซัสเพลโตเพอริสโตมเพปไทด์เพนเทียมเกรฟแอกเซนต์เกเลนเภสัชเวทเมกะเมกะลาเนียเมทาเมแทบอลิซึมเม็ดเลือดแดงเยื่ออะแร็กนอยด์เรขาคณิตเลียงผาเวทมนตร์ใน คุณครูจอมเวท เนกิมะ!เสือชีตาห์เสือลายเมฆเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้องเส้นทแยงมุมเห็ดเผาะเอชทีซี วันเอมิล เคร็บส์เอรัสมุสเอริก ซาตีเอสเอ็มเอฟเออร์กเอนโทรปีเอนไซม์เอ็กโตเจเนซิสเอ็กโซเอ็นเฮราคลีโอโพลิสเฮอร์เมทิคาเฮนนิก แบรนด์เฮเทโรทรอพเจ็ดอาณาจักรเจ้าพระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน)เจ้าหญิงไอรีนแห่งเฮ็สเซินและไรน์เทมิสโตเทวนิยมเทศกาลเพนเทคอสต์เทอโรซอร์เขตอัครบิดรเดวส์เอกส์มาคีนาเดวิด ลิฟวิงสโตนเดอะ ทิน เรด ไลน์ ฝ่านรกยึดเส้นตายเครื่องรับคลื่นไหวสะเทือนเครื่องหมายเสริมสัทอักษรเคาน์ตีอิเดสซาเคาน์ตีตริโปลีเคแมนแคระกูว์วีเยเซฟาโลเนียเซรามิกเซลล์ประสาทเซตีเนียเปาโรติสเปาโลอัครทูตเปปไทด์เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์เนฟิลีนเนื้อเยื่อใต้หนังเนเฟชChironex fleckeriISO 3166-2:CYNational Coming Out DayNepenthes × trichocarpaNepenthes gymnamphoraNepenthes platychilaNepenthes stenophyllaNepenthes xiphioidesNeurotmesisѲPachydermataParashoreaPh (ทวิอักษร)Saccharomyces cerevisiae110111213141516171819220212223242526272829330313233343536373839456789 ขยายดัชนี (669 มากกว่า) »

Aceros

Aceros เป็นสกุลของนกเงือกขนาดใหญ่สกุลหนึ่ง พบในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ โดยในสกุลนี้บางชนิดอาจถูกจัดให้อยู่ในสกุล Rhyticeros โดยถือว่าเป็นสกุลเดียว รวมถึงนกเงือกคอแดง ที่เหลืออาจจะจัดให้อยู่ในสกุล Rhyticeros นอกจากนี้แล้วนกเงือกหัวหงอกก็จัดอยู่ในสกุลนี้ด้วย แต่ส่วนใหญ่ขณะนี้ถูกจัดให้อยู่ในสกุล Berenicornis แทน โดยที่คำว่า Aceros (/อาแกร็อส/) มาจากคำว่า "cera" หรือ "keras" ซึ่งเป็นภาษากรีก (κερος) แปลว่า "เขาสัตว์" และ A ที่เป็นอุปสรรค หมายถึง "ไม่" โดยรวมหมายถึง "ไม่มีเขา" อันหมายถึง นกเงือกในสกุลนี้ไม่มีโหนกแข็งอยู่บนหัวเหมือนนกเงือกสกุลอื่น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและAceros · ดูเพิ่มเติม »

Allochiria

Allochiria (จากภาษากรีกโดยแปลว่า อีกมือหนึ่ง, อีกข้างหนึ่ง) เป็นความผิดปกติของระบบประสาท ที่คนไข้ตอบสนองต่อสิ่งเร้าซึ่งปรากฏที่ร่างกายด้านหนึ่ง เหมือนกับอยู่ในด้านตรงกันข้าม ปกติเป็นการย้ายข้างแบบอสมมาตรของสิ่งเร้าจากด้านหนึ่งของร่างกาย (หรือแม้รอบ ๆ ตัวจากด้านนั้นทั้งหมด) ไปในด้านตรงกันข้าม ดังนั้น สัมผัสที่ข้างซ้ายของร่างกาย จะปรากฏเหมือนกับปรากฏที่ข้างขวา ซึ่งเรียกว่า somatosensory allochiria ถ้าเป็นการได้ยินหรือการเห็นที่เสียหาย เสียง (เช่นเสียงพูด) จะปรากฏต่อคนไข้ว่าได้ยินจากด้านตรงข้ามที่เกิดจริง ๆ และสิ่งที่เห็นก็เช่นเดียวกัน บ่อยครั้ง คนไข้อาจแสดงอาการของ allochiria เมื่อลอกวาดภาพ เป็นอาการที่บ่อยครั้งเกิดพร้อมกับภาวะละเลยกึ่งปริภูมิ (unilateral neglect) ซึ่งมีเหตุร่วมกัน คือความเสียหายต่อสมองกลีบข้างด้านขวา allochiria บ่อยครั้งจะสับสนกับ alloesthesia ซึ่งความจริงเป็น "allochiria เทียม" "allochiria แบบแท้" เป็นอาการของ dyschiria บวกกับภาวะละเลยกึ่งปริภูมิ ส่วน dyschiria ก็คือความผิดปกติในการกำหนดตำแหน่งความรู้สึก เนื่องจากอาการ dissociation ระดับต่าง ๆ เป็นความพิการที่ไม่สามารถบอกว่า กำลังสัมผัสด้านไหนของร่างกายจริง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและAllochiria · ดูเพิ่มเติม »

Anthracoceros

Anthracoceros เป็นสกุลของนกจำพวกนกเงือก จัดเป็นนกเงือกขนาดเล็ก พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ ประกอบด้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและAnthracoceros · ดูเพิ่มเติม »

Arapaima leptosoma

Arapaima leptosoma ปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae) หรือวงศ์ปลาอะราไพม่า (Arapaimidae) ชนิดหนึ่ง จัดเป็นปลาอะราไพม่าชนิดใหม่ ที่เพิ่งประกาศไปเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษากรีกและArapaima leptosoma · ดูเพิ่มเติม »

Astronotus crassipinnis

Astronotus crassipinnis เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) เป็นปลาที่ใกล้เคียงกับปลาออสการ์ (A. ocellatus) ซึ่งเป็นปลาหมอสีที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามมาอย่างยาวนาน ด้วยเป็นปลาที่อยู่ในสกุลเดียวกัน มีการกระจายพันธุ์ในแม่น้ำในทวีปอเมริกาใต้ เช่น แม่น้ำปารากวัย สเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์ นักมีนวิทยาชาวสวีเดนรายงานว่าพบในตอนบนของแม่น้ำแอมะซอน ในเขตประเทศเปรูด้วย มีลักษณะคล้ายกับปลาออสการ์ แต่มีสีพื้นลำตัวสีคล้ำกว่า และไม่มีจุดบนหลังเหมือนปลาออสการ์ มีลักษณะเด่น คือ มีแถบพาดยาวที่บริเวณหลังครีบอก และมีสีค่อนข้างสว่าง ซึ่งไม่พบในปลาออสการ์ หรือพบก็ไม่เป็นรูปร่างที่ชัดเจน นอกจากนี้แล้วยังแตกต่างกันที่จำนวนของเกล็ดและจำนวนของก้านครีบอ่อน ขนาดใหญ่ที่สุดวัดได้ 9.4 นิ้ว และอาจจะมีขนาดใกล้เคียงกับปลาออสการ์ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่นับว่าเป็นปลาชนิดที่หาได้ค่อนข้างยาก โดยที่ชื่อวิทยาศาสตร์คำว่า Crassipinnis มาจากภาษากรีกคำว่า fat fat และ Pinna หมายถึง "ปลา".

ใหม่!!: ภาษากรีกและAstronotus crassipinnis · ดูเพิ่มเติม »

ชลศาสตร์

อุปกรณ์ไฮดรอลิกในรูปแบบต่าง ๆ ชลศาสตร์ (hydraulics) เป็นวิชาที่ศึกษาการเปลี่ยนพลังงานการไหลเป็นพลังงานกล โดยผ่านกลไกสำคัญต่าง ๆ อันประกอบไปด้วยลูกสูบไฮดรอลิก กระบอกสูบไฮดรอลิก และมอเตอร์ไฮดรอลิก และใช้หลักการตามทฤษฎีของแบลซ ปัสกาล นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส ชลศาสตร์เป็นหัวข้อที่มีอยู่ในวิทยาศาสตร์ประยุกต์และวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติเชิงกลของของเหลว ชลศาสตร์โดยพื้นฐานแล้วคือรูปของเหลวของนิวแมติกส์ กลศาสตร์ของไหลนั้นเป็นรากฐานทางทฤษฎีสำหรับวิชาชลศาสตร์ซึ่งมุ่งเน้นไปทางด้านวิศวกรรมการใช้ประโยชน์จากคุณสมบัติของของเหลว ส่วนคำ hydraulics ในภาษาอังกฤษมีรากศัพท์จากคำในภาษากรีกว่า hydraulikos ซึ่งมาจากคำ hydor (แปลว่า น้ำ) ประสมกับคำ aulos (แปลว่า ท่อ).

ใหม่!!: ภาษากรีกและชลศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ชวเลข

ทสวดมนต์ Lord's prayer เขียนเป็นชวเลขด้วยระบบของเกร็กก์ และคนอื่นๆ ในศตวรรษที่ 19 ชวเลข (shorthand) หมายถึง วิธีการเขียนข้อความอย่างย่อด้วยสัญลักษณ์ เพื่อเพิ่มความเร็วในการเขียนหรือการจดบันทึก เมื่อเทียบกับการเขียนปกติธรรมดาในภาษาหนึ่งๆ ขั้นตอนของการเขียนให้เป็นชวเลขเรียกว่าการเขียนชวเลข stenography มาจากภาษากรีกว่า stenos.

ใหม่!!: ภาษากรีกและชวเลข · ดูเพิ่มเติม »

ชะเอมเทศ

''Glycyrrhiza glabra'' ชะเอมเทศ (มาจากภาษากรีกแปลว่า "รากหวาน") เป็นพรรณไม้ที่มีอายุนานหลายปี ลำต้นมีความยาวประมาณ 1-2 เมตร มีรากใหญ่แตกแขนงจำนวนมาก ใบเป็นใบประกอบลักษณะเป็นรูปขนนก ก้านใบย่อยสั้นมาก แผ่นใบรูปไข่ มีใบย่อยประมาณ 9-17 ใบ ส่วนก้านใบย่อยนั้นจะสั้นมาก ใบจะเป็นสีเขียวอมเหลือง ดอกจะออกเป็นช่อ กลีบดอกจะเป็นสีม่วงอ่อน ๆ และก้านดอกจะสั้นมาก ฝักจะมีลักษณะแบน และผิวข้างนอกจะเรียบ นุ่ม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและชะเอมเทศ · ดูเพิ่มเติม »

บัญญัติ 10 ประการ

ระบัญญัติ 10 ประการ หรือ บทบัญญัติ 10 ประการ (Ten Commandments; עשרת הדיברות; ܥܣܪܐ ܦܘܩܕܢܐ; Δέκα εντολές) คือรายการคำสอนและข้อปฏิบัติตามคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งเชื่อว่าพระยาห์เวห์ได้ประทานแก่วงศ์วานอิสราเอล ผ่านทางโมเสส ที่ภูเขาซีนาย บัญญัตินี้สลักไว้บนแผ่นหิน 2 แผ่น บัญญัติ 10 ประการใช้ในศาสนาคริสต์และศาสนายูดาห์ ในภาษายิดดิช ใช้คำว่า Aseret ha-Dvarîm עשרת הדברים ในภาษาฮีบรูและภาษาฮีบรูมิซนะห์ ใช้คำว่า Aseret ha-Dibrot עשרת הדברות ซึ่งทั้งสองคำหมายถึง บัญญัติ 10 ประการ และมีการใช้ในภาษากรีก ซึ่งแปลมาจากภาษาฮีบรูว่า δέκα λόγοι (dekalogoi) หมายถึง คำสิบคำ (the ten words) อีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและบัญญัติ 10 ประการ · ดูเพิ่มเติม »

ชาลอม

"ชาลอม" ในภาษาฮีบรู ชาลอม (ฮีบรู: שָׁלוֹם, ฮีบรูเซฟาร์ติก/ฮีบรูอิสราเอล: Shalom; ฮีบรูอาซเกนาซี/ยิดดิช: Sholem, Shoilem, Shulem) เป็นคำภาษาฮีบรูที่หมายถึง สันติภาพ ความสมบูรณ์ และสวัสดิภาพ และสามารถใช้เป็นสำนวนในความหมายทั้งสวัสดีและลาก่อน คำนี้สามารถหมายถึงสันติภาพระหว่างสิ่งที่มีอยู่จริงสองอย่าง (โดยเฉพาะระหว่างมนุษย์กับพระเจ้าหรือระหว่างสองประเทศ) หรือความเป็นอยู่ที่ดี สวัสดิภาพหรือความปลอดภัยของปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มของปัจเจกบุคคล คำคำนี้ยังพบในรูปแบบอื่นๆอีก โดยมีความหมายเช่นเดียวกับ salaam ในภาษาอาหรับ sliem ในภาษามอลตา Shlama (ܫܠܡܐ) ในภาษาซีเรียค และภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย และ sälam ในภาษากลุ่มเซมิติกในเอธิโอเปีย คำเหล่านี้มีที่มาจากรากศัพท์ S-L-M ในภาษาเซมิติกดั้งเดิม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและชาลอม · ดูเพิ่มเติม »

ชาวกรีก

วกรีก (Έλληνες) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีการกระจายที่กรีซ, ไซปรัส, อานาโตเลียตะวันตก, อิตาลีใต้ และอีกหลายภูม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและชาวกรีก · ดูเพิ่มเติม »

บานพับภาพ

แซนไทน์ คริสต์ศตวรรษที่ 10 บานพับภาพ (triptych หรือ polytych) คือจิตรกรรมที่วาดหรือแกะบนแผ่นไม้แบ่งเป็นบาน ๆ ซึ่งอาจจะเป็นสองบาน สามบาน หรือมากกว่านั้นก็ได้ ที่เชื่อมด้วยกันและพับได้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและบานพับภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ชื่อธาตุที่เป็นระบบ

ื่อธาตุที่เป็นระบบ (systematic element name) เป็นชื่อชั่วคราวสำหรับธาตุที่เพิ่งสังเคราะห์ได้หรือยังสังเคราะห์ไม่ได้ โดยสัญลักษณ์ธาตุได้จากชื่อที่เป็นระบบ เนื่องจากบางครั้งการตั้งชื่อธาตุนำไปสู่ปัญหาที่เกี่ยวพันกับทางการเมือง ทำให้สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (IUPAC) ต้องสร้างระเบียบในการตั้งชื่อและสัญลักษณ์ธาตุชั่วคราวที่เป็นกลาง โดยได้จากเลขอะตอมแต่ละตัวของธาตุนั้น ๆ โดยชื่อเลขแต่ละตัวอาจใช้รากศัพท์ภาษาละตินหรือภาษากรีกเพื่อหลีกเลี่ยงความใกล้เคียงกัน เช่น เลข 5 ใช้รากศัพท์ภาษากรีก "เพนท์" (pent) แทนรากศัพท์ภาษาละติน "ควินท์" (quint) เพื่อไม่ให้สับสนกับ "ควอด" (quad) ซึ่งหมายถึงเลข 4 และมีกฎในการลดทอนตัวอักษร 2 ข้อคือ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและชื่อธาตุที่เป็นระบบ · ดูเพิ่มเติม »

ชีวิตอารามวาสี

อารามเซนต์แคเธอริน เขาไซนายในอียิปต์ ก่อตั้งราวระหว่าง ค.ศ. 527 ถึง ค.ศ. 565 ชีวิตอารามวาสีสมชัย พิทยาพงษ์พร, บาทหลวง, พัฒนาการวิถีชีวิตจิตคริสตชน, นครปฐม: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม, 2551, หน้า 27 (monasticism) มาจากภาษากรีก “μοναχός” - “monachos” ที่มีรากมาจากคำว่า “monos” ที่แปลว่า “สันโดษ” หรือ “ผู้เดียว” หมายถึงวิถีชีวิตทางศาสนาที่นักบวชเน้นสละชีวิตทางโลกเพื่ออุทิศตนอย่างเต็มตัวในทางธรรม คำนี้ที่มาจากภาษากรีกโบราณและอาจเกี่ยวกับภิกษุซึ่งเป็นนักพรตในพุทธศาสนา ในคริสต์ศาสนา บุรุษที่ใช้ชีวิตอารามวาสีเรียกว่านักพรต ถ้าเป็นหญิงก็เรียกว่านักพรตหญิง นักพรตทั้งชายและหญิงจะเรียกโดยรวมว่าอารามิกชน (monastics) ศาสนาอื่นต่างก็มีชีวิตอารามวาสีเป็นของตนเองโดยเฉพาะในศาสนาพุทธ และรวมทั้งลัทธิเต๋า ศาสนาฮินดู และศาสนาเชน แต่รายละเอียดของแต่ละระบบของแต่ละศาสนาหรือแต่ละนิกายก็แตกต่างจากกันมาก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและชีวิตอารามวาสี · ดูเพิ่มเติม »

บทสดุดี

ทสดุดี (Panegyric) คือ สุนทรพจน์อย่างเป็นทางการ หรือต่อมาหมายถึงบทเขียนที่ใช้ในการกล่าวสรรเสริญบุคคลหรือปรัชญาความคิด และเป็นงานที่เป็นที่ทำการศึกษากันมากที่ไม่ใช่บทยกย่อง (eulogy) และมิใช่งานเขียนที่มีจุดประสงค์ในการวิพากษ์ “Panegyric” มาจากภาษากรีก “πανηγυρικός” ที่แปลว่า “สุนทรพจน์ที่เหมาะกับที่ประชุมใหญ่” (ศาสนชุมนุมของกรีก (Panegyris)) ในเอเธนส์สุนทรพจน์ดังกล่าวมักจะกล่าวเนื่องในโอกาสที่มีเทศกาลหรือการกีฬาระดับชาติ โดยมีวัตถุประสงค์ในการปลุกเร้าใจพลเมืองให้เห็นดีเห็นงามไปกับการกระทำอันเป็นวีรบุรุษของบรรพบุรุษ บทสดุดีที่มีชื่อเสียงที่สุดก็ได้แก่บทสดุดี “Olympiacus” โดย จอร์จิอัส, “Olympiacus” โดย ลิเซียส และ “Panegyricus” และ “Panathenaicus” โดยอิโซคราทีส แต่ไม่ได้กล่าวจริง การกล่าวสดุดีเนื่องในโอกาสงานศพเช่นสุนทรพจน์ที่เขียนโดยนักประวัติศาสตร์ชาวกรีกธูซิดิดีสที่กล่าวโดยเพรีคลีสก็อยู่ในประเภทที่เรียกว่า “บทสดุดี” ในสมัยโรมันโบราณบทสดุดีจำกัดใช้ในการสรรเสริญผู้ยังมีชีวิตอยู่เท่านั้น และใช้ “บทสรรเสริญผู้ตาย” (funeral oration) สำหรับผู้เสียชีวิตไปแล้วเท่านั้น ตัวอย่างของบทสดุดีที่มีชื่อเสียงในภาษาลาตินก็ได้แก่บทสดุดีที่กล่าวโดยพลินิผู้เยาว์ในวุฒิสภาโรมันเนื่องในโอกาสที่ได้รับตำแหน่งเป็นกงสุล ที่มีเนื้อหาบางส่วนพาดพิงไปถึงบทยกย่องจักรพรรดิทราจัน เมื่อมาถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 3 และระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 4 ในสมัยของจักรพรรดิไดโอคลีเชียนก็เกิดมีประเพณีการสรรเสริญคุณสมบัติของความเป็นมหาวีรบุรุษของพระจักรพรรดิที่กำลังทรงราชย์อยู่ในงานเทศกาลทางวรรณกรรม ในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและบทสดุดี · ดูเพิ่มเติม »

ช้างแอฟริกา

้างแอฟริกา หรือ ช้างแอฟริกัน (African elephant) เป็นช้างสกุลหนึ่ง ที่อาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกา จากหลักฐานฟอสซิลที่ค้นพบทำให้ทราบว่า ช้างแอฟริกาอาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกามาตั้งแต่ยุคไพลสโตซีน ช้างแอฟริกา จัดอยู่ในสกุล Loxodonta (/โล-โซ-ดอน-ตา/; เป็นภาษากรีกแปลว่า "ฟันเอียงข้าง") ซึ่งปัจจุบันหลงเหลือเพียง 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและช้างแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ฟล็อกซ์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภาษากรีกและฟล็อกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟอสฟอรัส

ฟอสฟอรัส (phosphorus) เป็นธาตุอโลหะ เลขอะตอม 15 สัญลักษณ์ P ฟอสฟอรัสอยู่ในกลุ่มไนโตรเจน มีวาเลนซ์ได้มาก ปรากฏในหลายอัลโลโทรป พบทั้งในหินฟอสเฟต และเซลล์สิ่งมีชีวิตทุกเซลล์ (ในสารประกอบในดีเอ็นเอ) เนื่องจากสามารถทำปฏิกิริยาได้สูง จึงไม่ปรากฏในรูปอิสระในธรรมชาติ คำว่า ฟอสฟอรัส มาจากภาษากรีกแปลว่า 'ส่องแสง' และ 'นำพา' เพราะฟอสฟอรัสเรืองแสงอ่อน ๆ เมื่อมีออกซิเจน หรือมาจากภาษาละติน แปลว่า 'ดาวประกายพรึก' ค้นพบประมาณปี 1669 โดยนักเล่นแร่แปรธาตุชาวเยอรมัน เฮนนิก แบรนด์ ในขณะที่ภาษาไทยในสมัยก่อน เรียก ฟอสฟอรัส ว่า 'ฝาสุภเรศ' ฟอสฟอรัสเป็นอโลหะอยู่ในหมู่ที่ VA หมู่เดียวกับธาตุไนโตรเจนในธรรมชาติไม่พบฟอสฟอรัสในรูปของธาตุอิสระ แต่จะพบในรูปของสารประกอบฟอสเฟตที่สำคัญได้แก่หินฟอสเฟต หรือแคลเซียมฟอสเฟต (Ca2(PO4)2) ฟลูออไรอะปาไทต์ (Ca5F (PO4)3) นอกจากนี้ยังพบฟอสฟอรัสในไข่แดง กระดูก ฟัน สมอง เส้นประสาทของคนและสัตว์ ฟอสฟอรัสสามารถเตรียมได้จากแคลเซียมฟอสเฟต โดยใช้แคลเซียมฟอสเฟตทำปฏิกิริยากับคาร์บอนในรูปถ่านโค๊ก และซิลิคอนไดออกไซด์ (SiO2) ในเตาไฟฟ้า ฟอสฟอรัสเป็นธาตุอาหารที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของรากพืช โดยธาตุฟอสฟอรัสจะช่วยให้รากของพืชแข็งแรง และแผ่กระจายได้รวดเร็วขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ลำต้นแข็งแรงตามไปด้วย ปกติแล้วธาตุฟอสฟอรัสจะมีอยู่ในดินมากพออยู่แล้ว เป็นธาตุที่ไม่ค่อยเคลื่อนที่ในดินหรือละลายน้ำได้ยากซึ่งจะทำให้พืชดูดเอาไปใช้ได้ยากด้วย แม้แต่ปุ๋ยที่ใส่ลงไปในดินโดยตรงก็ประมาณกันไว้ว่า 80-90 % ของธาตุฟอสฟอรัสทั้งหมดนั้นจะถูกดินยึดไว้โดยการทำปฏิกิริยากับแร่ธาตุต่าง ๆ ในดิน ดังนั้น ธาตุฟอสฟอรัสในดินมีกำเนิดมาจากการสลายตัวผุพังของแร่บางชนิดในดิน การสลายตัวของสารอินทรียวัตถุในดินก็จะสามารถปลดปล่อยฟอสฟอรัสออกมาเป็นประโยชน์ต่อพืชที่ปลูกได้เช่นเดียวกับไนโตรเจน ดังนั้น การใช้ปุ๋ยคอกนอกจากจะได้ธาตุไนโตรเจนแล้วก็ยังได้ฟอสฟอรัสอีกด้วย ธาตุฟอสฟอรัสในดินที่จะเป็นประโยชน์ต่อพืชได้ จะต้องอยู่ในรูปของอนุมูลของ สารประกอบที่เรียกว่า ฟอสเฟตไอออน (H2PO4- และ HPO4-) ซึ่งจะต้องละลายอยู่ในน้ำในดิน สารประกอบของฟอสฟอรัสในดินมีอยู่เป็นจำนวนมากแต่ส่วนใหญ่ละลายน้ำยาก ดังนั้นจึงมักจะมีปัญหาเสมอว่าดินถึงแม้จะมีฟอสฟอรัสมากก็จริงแต่พืชก็ยังขาดฟอสฟอรัส เพราะส่วนใหญ่อยู่ในรูปที่ละลายน้ำยากนั่นเอง นอกจากนั้นแร่ธาตุต่าง ๆ ในดินชอบที่จะทำปฏิกิริยากับอนุมูลฟอสเฟตที่ละลายน้ำได้ ดังนั้นปุ๋ยฟอสเฟตที่ละลายน้ำได้เมื่อใส่ลงไปในดินประมาณ 80-90% จะทำปฏิกิริยากับแร่ธาตุในดินกลายเป็นสารประกอบที่ละลายน้ำยากไม่อาจเป็นประโยชน์ต่อพืชได้ ดังนั้นการใส่ปุ๋ยฟอสเฟตจึงไม่ควรคลุกเคล้าให้เข้ากับดินเพราะยิ่งจะทำให้ปุ๋ยทำปฏิกิริยากับแร่ธาตุต่าง ๆ ในดินได้เร็วยิ่งขึ้น แต่ควรจะใส่แบบเป็นจุดหรือโรยเป็นแถบให้ลึกลงไปในดินในบริเวณรากของพืชปุ๋ย ฟอสเฟตนี้ถึงแม้จะอยู่ใกล้ชิดกับรากก็จะไม่เป็นอันตรายแก่รากแต่อย่างใด ปุ๋ยคอกจะช่วยป้องกันไม่ให้ปุ๋ยฟอสเฟตทำปฏิกิริยากับแร่ธาตุในดินและสูญเสีย ความเป็นประโยชน์ต่อพืชเร็วจนเกินไป พืชเมื่อขาดฟอสฟอรัสจะมีต้นแคระแกร็นใบมีสีเขียวคล้ำ ใบล่าง ๆ จะมีสีม่วงตามบริเวณขอบใบ รากของพืชชะงักการเจริญเติบโต พืชไม่ออกดอกและผล พืชที่ได้รับฟอสฟอรัสอย่างเพียงพอจะมีระบบรากที่แข็งแรงแพร่กระจายอยู่ในดิน อย่างกว้างขวาง สามารถดึงดูดน้ำและธาตุอาหารได้ดี การออกดอกออกผลจะเร็วขึ้น ฟอสฟอรัสช่วยในการสังเคราะห์ด้วยแสง สร้างแป้งและน้ำตาล เป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ที่สำคัญหลายชนิด ช่วยเสริมสร้างส่วนที่เป็นดอก การผสมเกสร ตลอดจนการติดเมล็ด สร้างระบบรากให้แข็งแรง ช่วยในการแตกกอ และช่วยให้ลำต้นแข็งแรงไม่ล้มง่าย ช่วยให้พืชดูดใช้ธาตุไนโตรเจนและโมลิบดีนัมได้ดีขึ้น ธาตุนี้มักพบในรูปที่พืชไม่สามารถดูดไปใช้ได้ เนื่องจากจะถูกตรึงอยู่ในดิน ส่วนใหญ่พืชจะแสดงอาการขาดธาตุนี้บ่อยครั้ง แม้ว่าในดินที่มีธาตุฟอสฟอรัสอยู่เป็นจำนวนมากก็ตามถ้าขาดธาตุฟอสฟอรัสราก พืชจะไม่เจริญ มีรากฝอยน้อย ต้นเตี้ย ใบและต้นมีสีเข้มและบางครั้งมีสีม่วงหรือแดงเกิดขึ้น พืชแก่ช้ากว่าปกติ เช่น การผลิดอก ออกผลช้า มีการแตกกอน้อย การติดเมล็ดน้อย หรือบางครั้งไม่ติดเมล็.

ใหม่!!: ภาษากรีกและฟอสฟอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์เมเนส

ฟาโรห์เมเนส (Pharaoh Menes) ทรงเป็นผู้รวบรวมประเทศอียิปต์ให้เป็นปรึกแผ่นและทรงเป็นฟาโรห์องค์ที่ 1 แห่งอียิปต.ฟาโรห์เมเนสทรงปกครองอียิปต์ในช่วงศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาลและมีพระนามแบบกรีก (Greek) คือมิน (Min), มินาออส (Mina ios),เมนาส (Menas) และ นาเมอร์ (Narmer) ยังมีพระนามอื่นๆอีก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและฟาโรห์เมเนส · ดูเพิ่มเติม »

พยาธิกำเนิด

พยาธิกำเนิด เป็นศัพท์ทางการแพทย์ หมายถึงขั้นตอนเหตุการณ์ที่นำไปสู่การเกิดโรค มีที่มาจากศัพท์ภาษากรีก pathos "โรค" และ genesis "กำเนิด" หมวดหมู่:พยาธิวิทยา หมวดหมู่:อภิธานศัพท์แพทย์.

ใหม่!!: ภาษากรีกและพยาธิกำเนิด · ดูเพิ่มเติม »

พระพรมหัศจรรย์

ทศนาบนภูเขา ภาพวาดของ Carl Heinrich Bloch พระพรมหัศจรรย์ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ มหาบุญลาภ (ศัพท์คาทอลิก) (Beatitudes) เป็นตอนต้นใน 10 บรรทัดแรกของคำเทศนาบนภูเขา ซึ่งมีชื่อเสียงมาก และเป็นหลักคำสอนที่บุรุษผู้ยิ่งใหญ่ในยุคหลังเช่น มหาตมา คานธี และ มาร์ติน ลูเทอร์ คิง จูเนียร์ ต่างให้ความนับถือเป็นอย่างสูง ความหมายของพระพรแต่ละประการนั้นมีผู้อธิบายขยายความไว้เป็นจำนวนมาก ซึ่งต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจในภาษาแอราเมอิกและภาษากรีกที่ใช้ในการบันทึกคำสอน และจากการรวบรวมสามารถสรุปความโดยสังเขปได้ดังนี้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและพระพรมหัศจรรย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรสารนักบุญยอห์น

ระวรสารนักบุญยอห์น (ศัพท์คาทอลิก) หรือ พระกิตติคุณยอห์น (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Gospel of John; ภาษากรีก: Κατά Ιωαννην, “Kata Iōannēn”) เป็นพระวรสารฉบับที่สี่ของ “พระวรสารในสารบบ ” (Canonical gospels) ซึ่งเป็นเอกสารหนึ่งในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ แต่มิได้ถูกนับเป็นพระวรสารสหทรรศน์สามฉบับซึ่งประกอบด้วยพระวรสารนักบุญมาระโก พระวรสารนักบุญลูกา และ พระวรสารนักบุญมัทธิว พระวรสารนักบุญยอห์น เป็นพระวรสารที่เขียนโดยยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร ชาวคริสต์เชื่อว่าเป็นท่านเดียวกับยอห์นอัครทูตซึ่งเป็น "สาวกที่พระองค์ทรงรัก" (john 13:23 One of his disciples, whom Jesus loved, was reclining at table close to Jesus) ผู้ซึ่งรู้วิถีชีวิตของชาวยิวเป็นอย่างดี และได้อ้างถึงขนบธรรมเนียมของชาวยิวอยู่หลายบทในพระวรสารเล่มนี้ ยอห์นเป็นอัครทูตแห่งความรัก ไม่มีใครบรรยายถึงพระลักษณะของพระเจ้าได้อย่างยอห์น เช่น "เพราะว่าพระเจ้าทรงรักโลก จนได้ทรงประทานพระบุตรองค์เดียวของพระองค์ เพื่อทุกคนที่วางใจในพระบุตรนั้นจะไม่พินาศ แต่มีชีวิตนิรันดร์" กับอีกหลายเหตุการณ์ที่ยอห์นบรรยายถึงพระเยซูได้อย่างจับใจ แสดงว่าเรื่องราวต่างๆถูกบันทึกจากความทรงจำที่ได้เห็นมากับตา พระวรสารเล่มนี้น่าจะถูกเขียนขึ้นประมาณปี..85 หรือหลังจากนั้นเล็กน้อย เช่นเดียวกับพระวรสารอีกสามฉบับที่เล่าเรื่องชีวิตของพระเยซูคริสต์ แต่บางเหตุการณ์มีการตีความอย่างละเอียด พระวรสารนักบุญยอห์นเป็นพระวรสารของ “ความเชื่อ” ที่เขียนขึ้นเพื่อจะยืนยันกับผู้อ่านว่าพระเยซูเป็น "พระเมสสิยาห์" และเป็น “พระบุตรพระเป็นเจ้า” ดังที่ปรากฏอยู่ในพระวรสารว่า "แต่การที่ได้บันทึกเหตุการณ์เหล่านี้ไว้ ก็เพื่อท่านทั้งหลายจะได้เชื่อว่า พระเยซูทรงเป็นพระคริสต์ พระบุตรพระเป็นเจ้า และเมื่อมีความเชื่อแล้ว ท่านก็จะมีชีวิตโดยพระนามของพระองค์" *คือการเข้าอาศัยอยู่ในพระเยซูคริสต์ รักษาชีวิตให้บริสุทธิ์ดั่งพระองค์ เชื่อและปฏิบัติตามคำสั่ง และคำสอนของพระองค์ ในแง่ของเทววิทยาศาสนาคริสต์แล้ว พระวรสารนักบุญยอห์นเป็นฉบับที่มีน้ำหนักที่สุดในทางคริสตวิทยา (Christology) ซึ่งบรรยายพระเยซูพระบุตรของพระเจ้าว่าเป็น “พระวจนะ” (Logos) (ภาษากรีกหมายความว่า “คำ” “เหตุผล” “ความเป็นเหตุเป็นผล” “ภาษา” หรือ “โอวาท”) ผู้เป็น “Arche” (ภาษากรีกหมายความว่า “ผู้เป็นตัวตนมาตั้งแต่ต้น” หรือ “เป็นสิ่งที่สุดของทุกอย่าง”), กล่าวถึงความเป็นผู้ที่มาช่วยมวลมนุษย์ และประกาศพระองค์ว่าเป็นพระเจ้า พระวรสารของยอห์นได้รับการทรงนำจากพระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิมเป็นอย่างมาก บทเริ่มต้นของพระวรสารนำผู้อ่านกลับไปสู่ช่วงก่อนกาลเวลา ซึ่งมีแต่พระเจ้าเท่านั้นที่ทรงเป็นอยู่ คล้ายกับบทเริ่มต้นในพระธรรมปฐมกาลที่พระเจ้าทรงสร้างโลก รวมทั้งการกล่าวถึงเทศกาลของชาวยิวอยู่บ่อยๆ "ใน​ปฐม​กาล​พระ​วาทะ​ดำรง​อยู่ และ​พระ​วาทะ​ทรง​สถิต​อยู่​กับ​พระ​เจ้า และ​พระ​วาทะ​ทรง​เป็น​พระ​เจ้า ใน​ปฐม​กาล​พระ​องค์​ทรง​ดำรง​อยู่​กับ​พระ​เจ้า​ ​พระ​เจ้า​ทรง​สร้าง​สิ่ง​ทั้ง​ปวง​ขึ้น​มา​โดย​พระ​วาทะ ใน​บรรดา​สิ่ง​ที่​เป็นมา​นั้น ไม่​มี​สัก​สิ่ง​เดียว​ที่​ได้​เป็นมา​นอกเหนือ​พระ​วาทะ​ ​พระ​องค์​ทรง​เป็น​แหล่ง​ชีวิต และ​ชีวิต​นั้น​เป็น​ความ​สว่าง​ของ​มนุษย์​ ความ​สว่าง​ส่อง​เข้า​มา​ใน​ความ​มืด และ​ความ​มืด​หา​ได้​ชนะ​ความ​สว่าง​ไม่" (john 1:1-5) พระวรสารฉบับนี้กล่าวถึงพระเยซูอย่างมีเนื้อหา มีคำสอนเป็นอันมากที่พระองค์ทรงสอนกับสาวก อีกทั้งยังได้บันทึกเหตุการณ์บางอย่างที่พระวรสารเล่มอื่นไม่ได้กล่าวถึงไว้ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงเวลาที่เรียกว่า "ห้องชั้นบน" เป็นช่วงเวลาของการร่วมรับประทานอาหารค่ำมื้อสุดท้าย พระเยซูคริสต์ตรัสเป็นส่วนตัวกับเหล่าสาวกของพระองค์ถึงเรื่องความรอด ประตูซึ่งนำไปสู่ความรอด พระบัญญัติแห่งพระเยซู ความรักที่พระองค์มีให้ต่อเหล่าสาวก การเปิดเผยถึงการทรยศของยูดาส อิสคาริโอท​ การสำแดงพระเจ้าและพระเยซูคริสต์ถึงความเป็นหนึ่งเดียว การเปิดเผยและทำนายการตายของพระองค์เอง และฟื้นขึ้นในวันที่สาม และความชื่นชมยินดี ยอห์นได้รับการทรงนำในการเขียนพระวรสารเล่มนี้ และพระวรสารเล่มนี้ได้บอกให้ทราบว่า พระเยซูทรงเป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้า เพราะว่าตั้งแต่ก่อนที่พระเยซูคริสต์จะเสด็จเข้ามาในโลก พระองค์ทรงดำรงอยู่กับพระเจ้า และยอห์นได้เน้นคุณลักษณะความเป็นมนุษย์ของพระเยซู เช่น พระองค์มีความรู้สึกเหมือนมนุษย์ มีการกันแสงด้วยความเศร้าเสียใจ ฯลฯ ยอห์นยังได้บันทึกพระวรสารเล่มนี้ เพื่อให้ผู้ใดที่เชื่อในพระเยซู แล้ว "ก็จะมีชีวิตโดยพระนามของพระองค์" *พระองค์โปรดประทานพระนามพระองค์ให้เหล่าผู้เชื่อ เพื่อเป็นสิทธิอำนาจในการอธิษฐาน และเกิดขึ้นจริงตามนั้นโดยพระนามของพระองค์ และยอห์นบอกเล่าถึงเหตุการณ์ล่วงหน้า เช่น "เราเป็นผู้เลี้ยงที่ดี ผู้เลี้ยงที่ดีนั้นย่อมสละชีวิตของตนเพื่อฝูงแกะ" ซึ่งนำมาสู่การสิ้นพระชนม์บนกางเขนของพระองค์ เพื่อไถ่บาปแก่คนที่เชื่อในพระองค์ทั้งสิ้น ให้ได้รับความรอดจากการถูกพิพากษา เป็นต้น พระวรสารนักบุญยอห์น ใช้ “ยอห์น” หรือ “ยน” ในการอ้างอิง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและพระวรสารนักบุญยอห์น · ดูเพิ่มเติม »

พระสันตะปาปา

หลุมฝังพระศพพระสันตะปาปาในมหาวิหารนักบุญเปโตร พระสันตะปาปา (Santo Papa; Pope) หมายถึง มุขนายกแห่งคริสตจักรกรุงโรม (Bishop of the Church of Rome) และผู้นำคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั่วโลก คริสตจักรนี้ถือว่าพระสันตะปาปาเป็นผู้สืบตำแหน่งจากนักบุญซีโมนเปโตรอัครทูตของพระเยซู สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสเป็นพระสันตะปาปาพระองค์ปัจจุบันตามการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาในวันที่ 13 มีนาคม..

ใหม่!!: ภาษากรีกและพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

พระเยซู

ระเยซู (Jesus) หรือ เยซูชาวนาซาเร็ธ (Jesus of Nazareth; 4-2 ปีก่อนคริสตกาล - ค.ศ. 30-33Sanders (1993).) เป็นชาวยิวผู้เป็นศาสดาของศาสนาคริสต์ คริสต์ศาสนิกชนเรียกพระองค์ว่า พระเยซูคริสต์ เพราะถือว่าพระองค์เป็นพระคริสต์ พระผู้ช่วยให้รอด เป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าพระบุตรซึ่งเป็นพระบุคคลหนึ่งในพระตรีเอกภาพ นอกจากนี้ในคัมภีร์ไบเบิลยังบันทึกว่าพระเยซูทรงแสดงปาฏิหาริย์ทรงรักษาคนตาบอดให้หายขาด รักษาคนพิการ โดยตรัสว่า บาปของเจ้าได้รับการให้อภัยแล้ว หลังพระเยซูสิ้นพระชนม์ ก็ได้ทรงฟื้นขึ้นจากความตายหลังสิ้นพระชนม์ได้เพียง 3 วัน และเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ ชาวมุสลิมก็ให้ความเคารพพระเยซูเช่นกัน แต่เชื่อต่างจากชาวคริสต์ โดยชาวมุสลิมเรียกพระเยซูว่านบีอีซา คัมภีร์อัลกุรอานระบุว่าพระเยซูไม่ใช่ทั้งพระเจ้าและพระบุตรของพระเจ้า แต่เป็นบ่าวคนหนึ่งของพระเจ้า และเป็นเราะซูลที่พระเจ้าส่งมาเป็นแบบอย่างทางศีลธรรมให้แก่ชาวอิสราเอลเช่นเดียวกับเราะซูลอื่น ๆ นอกจากนี้กุรอานยังอ้างว่าพระเยซูได้ทำนายถึงเราะซูลอีกท่านหนึ่งที่จะมาในอนาคตด้วยว่าชื่ออะหมัด คำว่า "เยซู" มาจากคำในภาษากรีกคือ "เยซุส" Ιησους ซึ่งมาจากการถ่ายอักษรชื่อ Yeshua ในภาษาแอราเมอิกหรือฮีบรูอีกทอดหนึ่ง คริสตชนอาหรับเรียกเยซูว่า "ยาซูอฺ" ตามภาษาซีรีแอก ส่วนชาวอาหรับมุสลิมเรียกว่า "อีซา" ตามอัลกุรอาน ความหมายคือ "ผู้ช่วยให้รอด" เป็นชื่อที่ใช้กันมากในหมู่ชาวยิวตั้งแต่สมัยโยชูวาเป็นต้นมา ภาษาละตินแผลงเป็นเยซูส ภาษาโปรตุเกสแผลงต่อเป็นเยซู ภาษาไทยทับศัพท์ภาษาโปรตุเกสมาจนทุกวันนี้ ส่วนคำว่า "คริสต์" เป็นสมญาซึ่งมาจากคำในภาษากรีกว่า "คริสตอส" Χριστός ซึ่งเป็นคำแปลของคำภาษาฮีบรู Messiah อันหมายถึง "ผู้ได้รับการเจิม" ชาวอาหรับเรียกว่า "มะซีฮฺ" ซึ่งหมายถึงการแต่งตั้งให้ทำหน้าที่สูงส่ง เช่น พระมหากษัตริย์ ปุโรหิต ผู้เผยพระวจนะ เป็นต้น เมื่อราชอาณาจักรยูดาห์เสียแก่บาบิโลน ก็สิ้นกษัตริย์ที่ได้รับการเจิม ต่อจากนั้นชาวยิวก็โหยหาพระเมสสิยาห์ที่จะมาสร้างอาณาจักรใหม่ของพระเจ้า "พระคริสต์" จึงเป็นชื่อตำแหน่ง ไม่ใช่ชื่อตัวบุคคล ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่านมักเรียกพระองค์ว่า "พระเยซู" และเพื่อให้แตกต่างจากคนอื่น ๆ ที่ชื่อเหมือนกัน ก็เรียกเป็น "พระเยซูชาวนาซาเรธ" หรือ "พระเยซูบุตรของโยเซฟ" แต่นักบุญเปาโลหรือเปาโลอัครทูตมักเรียกพระองค์ว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเยซูคริสต์" ที่เรียกว่า "พระคริสต์เยซู" ก็มี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและพระเยซู · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแอนทิโอคัสมหาราช

thumb พระเจ้าแอนทิโอคัสมหาราช (ภาษากรีก: Ἀντίoχoς Μέγας; Antiochus III the Great, 241 - 187 ปีก่อนคริสตกาล) กษัตริย์แห่งเซลูซิด เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเซลูคัสที่ 2 คัลลินิคัส เมื่อพระเจ้าเซลูคัสที่ 3 เซเรานัส พระเชษฐา ถูกปลงพระชนม์โดยทหารในกองทัพของพระองค์ พระราชอนุชาจึงขึ้นครองราชย์เป็น พระเจ้าแอนทิโอคัสมหาราช (223 - 187 ปีก่อนคริสตกาล) ขณะพระชนม์เพียง 18 พรรษาพระองค์ทรงสร้างทั้งความแข็งแกร่งและความมั่นคงให้กับอาณาจักรของพระองค์ตลอด 46 ปี ก่อนที่จะสวรรคตเมื่อ 187 ปีก่อน..

ใหม่!!: ภาษากรีกและพระเจ้าแอนทิโอคัสมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พลูโทเนียม

ลูโทเนียม (Plutonium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 94 และสัญลักษณ์ คือ Pu เป็นธาตุโลหะกัมมันตรังสี เป็นโลหะแอกทิไนด์สีขาวเงิน และจะมัวลงเมื่อสัมผัสอากาศซึ่งเกิดจากการรวมตัวกับออกซิเจน โดยปกติ พลูโทเนียมมี 6 ไอโซโทป และ 4 สถานะออกซิเดชัน สามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับคาร์บอน ฮาโลเจน ไนโตรเจน และซิลิกอน เมื่อสัมผัสอากาศชื้นจะสร้างสารประกอบออกไซด์และไฮไดรด์มากกว่า 70 % ของปริมาตรซึ่งจะแตกออกเป็นผงแป้งที่สามารถติดไฟได้เอง พลูโทเนียมมีพิษที่เกิดจากการแผ่รังสีที่จะสะสมที่ไขกระดูก นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติอื่น ๆ ที่ทำให้การจัดการพลูโทเนียมเป็นเรื่องที่อันตรายมาก ไอโซโทปที่สำคัญของพลูโทเนียม คือ พลูโทเนียม-239 ซึ่งมีครึ่งชีวิต 24,100 ปี พลูโทเนียม-239 และ 241 เป็นวัสดุฟิสไซล์ ซึ่งหมายความว่านิวเคลียสของอะตอมสามารถแตกตัว โดยการชนของนิวตรอนความร้อนเคลื่อนที่ช้า ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงาน รังสีแกมมา และนิวตรอนจำนวนมาก ด้วยเหตุนี้ จึงสามารถเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ได้ นำไปสู่การประยุกต์สร้างอาวุธนิวเคลียร์และเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ไอโซโทปที่เสถียรที่สุด คือ พลูโทเนียม-244 ซึ่งมีครึ่งชีวิตประมาณ 80 ล้านปี นานพอที่จะสามารถพบได้ในธรรมชาติ พลูโทเนียม-238 มีครึ่งชีวิต 88 ปี และปลดปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมา มันเป็นแหล่งความร้อนของเครื่องผลิตไฟฟ้าด้วยความร้อนจากไอโซโทปรังสี ซึ่งใช้ในการให้พลังงานในยานอวกาศ พลูโทเนียม-240 มีอัตราของการแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมด้วยตัวเองสูง เป็นการเพิ่มอัตรานิวตรอนพื้นฐานของตัวอย่างที่มีไอโซโทปนี้ประกอบอยู่ด้วย การมีอยู่ของ Pu-240 เป็นข้อจำกัดสมรรถภาพของพลูโทเนียมที่ใช้ในอาวุธหรือแหล่งพลังงานและเป็นตัวกำหนดเกรดของพลูโทเนียม: อาวุธ (19%) ธาตุลำดับที่ 94 สังเคราะห์ได้เป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและพลูโทเนียม · ดูเพิ่มเติม »

พอลิเมอร์

อลิเมอร์ (polymer) ความหมายของพอลิเมอร์นั้นก็มาจากรากศัพท์กรีกสำคัญ 2 คำ คือ Poly (จำนวนมาก) และ Meros (ส่วน หรือ หน่วย) พอลิเมอร์เป็นสารโมเลกุลขนาดใหญ่ (Macromolecule) พอลิเมอร์จะประกอบไปด้วยหน่วยซ้ำกัน (repeating unit) ของมอนอเมอร์ (Monomer) หลายๆหน่วยมาทำปฏิกิริยากัน มอนอเมอร์นี้จัดเป็นสารไมโครโมเลกุล (Micromolecule) ชนิดหนึ่ง พอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยหน่วยย่อยหรือมอนอเมอร์ชนิดเดียวกันทั้งหมด จัดเป็นโฮโมพอลิเมอร์ (Homopolymer) แต่ถ้ามีมอนอเมอร์ต่างกันตั้งแต่ 1 ชนิดขึ้นไป จัดเป็นโคพอลิเมอร์ (Copolymer) สารบางอย่างที่มีสมบัติอย่างพอลิเมอร์ เช่น สารพวกไขมันที่มีแต่ละหน่วยที่ไม่ซ้ำกันนั้นจะเป็นเพียงแค่สารแมคโครโมเลกุลเท่านั้น ไม่จเดยลิเมอร์ พอลิเมอร์มีทั้งที่เกิดเองในธรรมชาติ (Natural polymer) และพอลิเมอร์สังเคราะห์ (Synthetic polymer) ตัวอย่างของ โพลิเมอร์ธรรมชาติ ได้แก่ แป้ง เซลลูโลส โปรตีน กรดนิวคลีอิก และยางธรรมชาติ ส่วนพอลิเมอร์สังเคราะห์ เช่น พลาสติก เส้นใย โฟม และกาว พอลิเมอร์ทั้งสองชนิดนี้เข้ามามีบทบาทมากในชีวิตประจำวัน เราต้องใช้ประโยชน์จากพอลิเมอร์ และพอลิเมอร์แต่ละชนิดมีสมบัติต่างกัน จึงนำหน้าที่หรือนำไปใช้งานที่ต่างกันได้ พอลิเมอร์ที่เป็นที่นิยมใช้มากที่สุดคือพลาสติก ซึ่งเป็นคำที่ใช้อ้างถึงกลุ่มของวัสดุธรรมชาติและสังเคราะห์กลุ่มใหญ่ที่มีคุณสมบัติและการใช้งานต่างกัน พอลิเมอร์ธรรมชาติเช่นชแล็กและอำพันที่ใช้มาเป็นเวลากว่าศตวรรษ พอลิเมอร์ชีวภาพ เช่น โปรตีนและกรดนิวคลีอิกที่มีบทบาทสำคัญในกระบวนการทางชีวภาพ พอลิเมอร์ธรรมชาติอื่นๆ เช่นเซลลูโลสที่เป็นองค์ประกอบหลักของกระดาษและไม้ พอลิเมอร์สังเคราะห์ที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ บาเกไลต์, นีโอพรีน, ไนลอน, พีวีซี, พอลิสไตรีน, พอลิอคริโลไนไตรล์ และพีวีบี การศึกษาเกี่ยวกับพอลิเมอร์ได้แก่ เคมีพอลิเมอร์, ฟิสิกส์พอลิเมอร์และวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ พอลิเมอร์สังเคราะห์ในปัจจุบันมีการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมเกือบทุกชนิด พอลิเมอร์มีการใช้ในการยึดเกาะและการหล่อลื่นอย่างกว้างขวาง เช่นเดียวกับการใช้เป็นโครงสร้างตั้งแต่ของเด็กเล่นจนถึงยานอวกาศ มีการใช้เป็นยาทางชีวภาพในฐานะเป็นตัวขนส่งยาในสิ่งมีชีวิต พอลิเมอร์เช่น พอลิ เมทิล เมทาคริเลต ที่ใช้ในกระบวนการโฟโตเรซิสในอุตสาหกรรมกึ่งตัวนำ และสารไดอิเล็กทริกโปแทสเซียมต่ำสำหรับใช้ในคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง ปัจจุบันยังมีการพัฒนาพอลิเมอร์ที่ยืดหยุ่นได้สำหรับอิเล็กทรอนิก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและพอลิเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พัตมอส

กาะพัตมอส พัตมอส (กรีก, Πάτμος; Patmo; Patmos) เป็นเกาะเล็ก ๆ ของประเทศกรีซ ในทะเลอีเจียน หนึ่งในเกาะทางเหนือสุดของหมู่เกาะโดเดคะนีส มีประชากร 2,998 คน และมีพื้นที่ 34.05 ตร.กม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและพัตมอส · ดูเพิ่มเติม »

พันธสัญญาใหม่

ันธสัญญาใหม่ หรือ พระคริสตธรรมใหม่ (Καινή Διαθήκη; New Testament) เป็นภาคที่สองของคัมภีร์ไบเบิล จากทั้งหมด 2 ภาค ประกอบด้วยหนังสือภาษากรีกทั้งสิ้น 27 เล่ม ทุกเล่มเขียนโดยนักบุญ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นอัครทูตและนักบุญในช่วงเวลาเดียวกัน และทุกเล่มเขียนขึ้นหลังการตรึงพระเยซูที่กางเขน แม้ว่าพระเยซูจะไม่ได้ทรงเขียนด้วยพระองค์เอง แต่คริสต์ศาสนิกชนก็เชื่อว่าผู้เขียนได้เขียนขึ้นจากการดลใจและการทรงนำของพระเป็นเจ้าและพระเยซูผ่านทางพระวิญญาณบริสุทธิ์ ส่วนชาวมุสลิมแม้จะนับถือพระเยซูเป็นนบีอีซา แต่ก็ไม่ยอมรับคัมภีร์ไบเบิลในปัจจุบันว่าเป็นพระวจนะของพระเจ้า เพราะนักวิชาการอิสลามเห็นว่าคัมภีร์นี้ถูกตัดเสริมแต่งและสังคายนากันหลายครั้ง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและพันธสัญญาใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

พายุหมุนเขตร้อน

รนแบนด์โดยรอบ, และลักษณะของพายุหมุนเขตร้อน ที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนจากอวกาศ พายุหมุนเขตร้อน คือ ระบบพายุที่พัฒนามาจากศูนย์กลางของหย่อมความกดอากาศต่ำ, ลมแรง และการจัดเกลียวของพายุฝนฟ้าคะนอง ทั้งนี้ขึ้นกับสถานที่และความรุนแรง ซึ่งเกิดขึ้นบริเวณเขตร้อนของโลก ซึ่งมีชื่อเรียกต่างๆ กัน เช่น พายุเฮอร์ริเคน, พายุโซนร้อน, พายุไซโคลน, พายุดีเปรสชันเขตร้อน และพายุไซโคลนอย่างง่าย โดยทั่วไปรูปแบบพายุหมุนเขตร้อนจะมีขนาดใหญ่ขึ้นกับความสัมพันธ์กับน้ำอุ่น โดยพายุจะได้รับพลังงานผ่านการระเหยของน้ำบริเวณพื้นผิวมหาสมุทร ซึ่งในที่สุดน้ำเหล่านั้นจะควบแน่นอีกครั้งและเข้าไปอยู่ในกลุ่มเมฆและฝน เมื่ออากาศชื้นและความเย็นอิ่มตัว ซึ่งแหล่งพลังงานนี้จะแตกต่างกับพายุหมุนละติจูดกลาง ตัวอย่างเช่น นอร์อิสเทิร์น และพายุลมยุโรป ซึ่งได้รับพลังพลักดันหลักจากความแตกต่างของอุณหภูมิในแนวนอน โดยลมหมุนวนรอบอย่างรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อนนั้นเป็นผลมาจากการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม ซึ่งเกิดจากสภาวะการหมุนรอบตัวเองของโลก ขณะที่อากาศไหลเข้ามาสู่แกนกลางของการหมุน ผลที่ตามมา คือ พายุมักไม่ค่อยเกิดขึ้นภายใน 5° จากศูนย์สูตร พายุหมุนเขตร้อนโดยทั่วไปเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ที่ 100 - 4,000 กิโลเมตร คำว่า พายุหมุน (หรือไซโคลน) หมายถึง พายุหมุนตามธรรมชาติ ซึ่งลมจะพัดหมุนทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ และจะพัดหมุนตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้ ซึ่งทิศทางตรงข้ามการของการไหลเวียนลม เป็นผลมาจากคอริโอลิส ส่วนคำว่า เขตร้อน หมายถึง แหล่งกำเนิดของพายุทางภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นรูปแบบพิเศษของทะเลในเขตร้อน นอกจากลมแรงและฝนตก พายุหมุนเขตร้อนมีความสามารถในการสร้างคลื่นสูง และก่อให้เกิดความเสียหายจากน้ำขึ้นจากพายุ และทอร์นาโด ซึ่งมักจะลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงที่พายุอยู่บนแผ่นดิน เนื่องจากถูกตัดขาดจากแหล่งพลังงานหลักของมัน จากเหตุผลนี้ ทำให้บริเวณชายฝั่งทะเล มักมีความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายจากพายุหมุนเขตร้อนมากกว่า เมื่อเทียบกับในแผ่นดิน อย่างไรก็ตามในแผ่นดินเองก็เกิดความเสียหายได้จากน้ำท่วมบนแผ่นดิน จากฝนตกหนัก และน้ำขึ้นจากพายุสามารถก่อให้เกิดน้ำท่วมบนแผ่นดินได้กว้างถึง 40 กิโลเมตร จากชายฝั่งทะเล แม้ว่าพายุหมุนเขตร้อนจะส่งผลกระทบต่อประชากรมนุษย์มหาศาล แต่พายุยังสามารถช่วยบรรเทาภาวะภัยแล้งได้ พวกมันยังพาพลังงานความร้อนออกไปจากเขตร้อน ข้ามผ่านไปยังละติจูดในเขตอบอุ่น ซึ่งอาจมีบทบาทสำคัญในการปรับเปลี่ยนสภาวะภูมิอากาศในระดับภูมิภาคและระดับโลก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

พารัลแลกซ์

ำลองอย่างง่ายของการเกิดพารัลแลกซ์ของวัตถุกับฉากหลังที่อยู่ห่างออกไปเมื่อเปลี่ยนตำแหน่งของผู้สังเกต เมื่อมองจาก "มุมมอง A" วัตถุจะอยู่หน้าฉากหลังสีน้ำเงิน แต่เมื่อเปลี่ยนไปเป็น "มุมมอง B" วัตถุจะไปปรากฏอยู่ข้างหน้าฉากหลังสีแดงแทน ภาพเคลื่อนไหวแสดงตัวอย่างของพารัลแลกซ์ เมื่อผู้สังเกตเคลื่อนจากด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่ง วัตถุที่อยู่ไกลกว่าจะดูเหมือนเคลื่อนที่ช้ากว่าวัตถุที่อยู่ใกล้ๆ พารัลแลกซ์ (Parallax) คือลักษณะการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งปรากฏ หรือความแตกต่างของตำแหน่งของวัตถุเมื่อมองผ่านมุมมองที่แตกต่างกัน สามารถวัดได้จากมุมของความเอียงระหว่างเส้นสังเกตทั้งสองเส้น คำนี้มีที่มาจากภาษากรีก παράλλαξις (parallaxis) หมายถึง "การเปลี่ยนแปลง" วัตถุที่อยู่ใกล้ผู้สังเกตจะมีพารัลแลกซ์มากกว่าวัตถุที่อยู่ไกล พารัลแลกซ์จึงสามารถใช้ในการประเมินระยะห่างได้ด้วย ในทางดาราศาสตร์ พารัลแลกซ์เป็นกระบวนการทางตรงทางเดียวที่สามารถใช้ในการประเมินระยะห่างของวัตถุ (คือดาวฤกษ์) ที่อยู่พ้นออกไปจากระบบสุริยะได้ ดาวเทียมฮิปปาร์คอสได้ใช้เทคนิคนี้ในการสังเกตการณ์ดาวฤกษ์ใกล้เคียงแล้วกว่า 100,000 ดวง นี่เป็นวิธีพื้นฐานในการตรวจวัดวัตถุห่างไกลในทางดาราศาสตร์ด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า บันไดระยะห่างของจักรวาล ปรากฏการณ์พารัลแลกซ์ทำให้เกิดผลข้างเคียงต่อเครื่องมือสังเกตการณ์เชิงแสงหลายชนิด เช่น กล้องส่องทางไกล กล้องจุลทรรศน์ และกล้องแบบสะท้อนสองเลนส์ที่มองวัตถุจากมุมมองที่แตกต่างกันเล็กน้อย สัตว์หลายชนิดรวมถึงมนุษย์ มีตา 2 ตาที่เหลื่อมมุมสังเกตการณ์กันเล็กน้อย เพื่อให้สามารถใช้ปรากฏการณ์พารัลแลกซ์ในการประเมินความลึกของภาพได้ กระบวนการเช่นนี้เรียกชื่อว่า stereopsis.

ใหม่!!: ภาษากรีกและพารัลแลกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

พิสตาชีโอป่า

ตาชีโอป่า (mastic; μαστίχα) เป็นพืชไม่ผลัดใบ แยกต้นตัวผู้ตัวเมีย อยู่ในสกุลพิสตาชีโอ ปลูกเป็นพืชเศรษฐกิจเพื่อเก็บเรซินที่มีกลิ่นหอม ปลูกมากในเกาะไคออส ประเทศกรีก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและพิสตาชีโอป่า · ดูเพิ่มเติม »

พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน

การให้บัพติศมาแก่ Neophytes วาดโดยมาซัชโช เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 15 ปัจจุบันเก็บอยู่ที่ฟลอเรนซ์ พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน (ศัพท์ประชากรศาสตร์) พิธีบัพติศมาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 88 (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ ศีลล้างบาป (ศัพท์คาทอลิก) (Baptism มาจากภาษากรีก baptismos แปลว่า การล้าง) เป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาคริสต์ ทำขึ้นเพื่อรับ "ผู้ที่เพิ่งรับเชื่อ" เข้าเป็นสมาชิกใหม่ของคริสตจักร คัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ระบุว่ายอห์นผู้ให้บัพติศมาเริ่มประกอบพิธีนี้ให้สาวกของตน โดยให้ผู้รับจุ่มตัวลงในแม่น้ำลึก ถือเป็นสัญลักษณ์ของการกลับใจและรอคอยอาณาจักรสวรรค์ซึ่งกำลังจะมาถึง พระเยซูทรงรับบัพติศมาจากยอห์นในครั้งนั้นด้วย จากนั้นจึงเริ่มปฏิบัติพระภารกิจของพระองค์ ต่อมาในศาสนาคริสต์ยุคแรก ผู้ให้บัพติศมาจะให้ผู้รับเปลือยกายลงแช่ในแม่น้ำ ซึ่งมีทั้งแบบให้จุ่มทั้งตัว ยืน หรือคุกเข่าในน้ำ แล้ว "ผู้ให้บัพติศมา" จะตักน้ำรดลงบน "ผู้รับบัพติศมา" ในปัจจุบันบางคริสตจักรยังรักษาวิธีการแบบเดิม บางคริสตจักรก็ใช้วิธีเทน้ำรดลงบนหน้าผากของผู้รับสามครั้ง การเป็นมรณสักขีในศาสนาคริสต์ก็ถือว่าเป็นการรับบัพติศมาด้วย เรียกว่า "พิธีบัพติศมาด้วยเลือด" เชื่อว่ามรณสักขีนั้นได้รับความรอดแล้วแม้จะยังไม่ได้รับบัพติศมาด้วยน้ำก็ตาม คริสตจักรโรมันคาทอลิกปัจจุบันรับรอง "พิธีบัพติศมาแห่งความปรารถนา" ซึ่งหมายถึงความตั้งใจจะรับบัพติศมาแต่เสียชีวิตเสียก่อนเข้าพิธี ก็ถือว่าได้รับความรอดแล้ว คริสต์ศาสนิกชนบางนิกายประกอบพิธีบัพติศมาแก่ทารกด้วย เพราะเชื่อว่าบัพติศมาเป็นทางแห่งความรอด จนเมื่อฮุลดริช ซวิงลี นักเทววิทยาศาสนาคริสต์สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 16 กล่าวว่าพิธีนี้ไม่จำเป็น คริสตจักรแบปทิสต์จึงประกอบพิธีบัพติศมาแก่ผู้เชื่อเองเท่านั้น ทุกวันนี้คริสต์ศาสนิกชนหลายกลุ่ม โดยเฉพาะเควเกอร์และแซลเวชันอาร์มีถือว่าพิธีนี้ไม่จำเป็นและไม่ประกอบพิธีนี้เลย แต่กลุ่มที่ยังมีพิธีนี้อยู่ก็มีรูปแบบพิธีแตกต่างกันไป ส่วนมากรับบัพติศมา "ในพระนามของพระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์" (โปรเตสแตนต์) หรือ "เดชะพระนามพระบิดา พระบุตร และพระจิต" (คาทอลิก) โดยถือตามพระมหาบัญชาก่อนการเสด็จขึ้นสวรรค์ของพระเยซู.

ใหม่!!: ภาษากรีกและพิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน · ดูเพิ่มเติม »

พืชไม่มีท่อลำเลียง

ไบรโอไฟต์ คือพืชบกทั้งหมดที่ไม่มีท่อลำเลียง: มันมีเนื้อเยื่อที่ล้อมรอบเป็นท่อคล้ายกับระบบท่อลำเลียง แต่ไม่มีเนื่อเยื่อส่วนท่อลำเลียงที่จะส่งผ่านของเหลว ไม่มีดอกและการสร้างเมล็ด ขยายพันธุ์ด้วยสปอร์ คำว่า bryophyte มาจากภาษากรีก βρύον - bruon, "ต้นมอสส์, สีเขียวหอยนางรม".

ใหม่!!: ภาษากรีกและพืชไม่มีท่อลำเลียง · ดูเพิ่มเติม »

พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา

ประติมากรรมเศียรของพีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา (กรีก: Φίλιππος Β' ὁ Μακεδών-มีความหมายว่า- φίλος (phílos) "เพื่อน" + ἵππος (híppos) "ม้า") กษัตริย์แห่งราชอาณาจักรมาเกโดนีอา มีรัชสมัยอยู่ระหว่าง 359– 336 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นพระบิดาของอเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งมาเกโดนีอา หรือที่รู้จักดีในนาม อเล็กซานเดอร์มหาราช พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา มีพระเนตรที่ใช้การได้เพียงข้างเดียว เป็นกษัตริย์นักรบแห่งมาเกโดนีอา ที่ทำการรบเอาชนะนครรัฐต่าง ๆ ของกรีซโบราณได้หลายแห่ง ทั้ง ธีบส์, เอเธนส์ หรือสปาร์ตา เมื่อพระองค์ทำการยึดครองนครรัฐเอเธนส์ซึ่งเสมือนเป็นศูนย์กลางของกรีซโบราณได้แล้ว ทำให้ชาวกรีกในนครรัฐต่าง ๆ ต้องเปลี่ยนมุมมองที่มีต่อชาวมาเกโดนีอาใหม่ จากที่เคยมองว่าเป็นเพียงชนเผ่าที่เหมือนเป็นเผ่าป่าเถื่อน ไร้อารยธรรมทางเหนือของอาณาจักรเท่านั้น เมื่อพระองค์ไม่ได้ทำลายสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ หรือทำลายอารยธรรมของชาวเอเธนส์ หากแต่พระองค์ได้พยายามเรียนรู้และผสมรวมกันกับอารยธรรมของมาเกโดนีอา และพระองค์ยังได้ส่งเสริมนักวิชาการ นักปราชญ์ชาวเอเธนส์ต่าง ๆ ด้วยว่าจ้างให้ไปเผยแพร่ความรู้ยังมาเกโดนีอา และเป็นอาจารย์สอนวิทยาการต่าง ๆ ให้แก่ชาวมาเกโดนีอา เช่น อริสโตเติล ซึ่งอเล็กซานเดอร์ เมื่อครั้งยังเยาว์วัย ก็เป็นลูกศิษย์ของอริสโตเติลด้วยเช่นกัน ในการสงคราม พระองค์ได้ปรับปรุงยุทธวิธีการรบแบบใหม่ ทรงพัฒนากองทัพมาเกโดเนียโบราณขึ้นจนถึงจุดสมบูรณ์แบบ โดยใช้การผสมระหว่างกองทหารราบและกองทหารม้าเข้าไว้ด้วยกัน ใช้อาวุธแบบใหม่ คือ ทวนที่มีความยาวกว่า 5 เมตร โดยการใช้กองทหารตั้งแถวหน้ากระดานเดินบุกขึ้นหน้า และใช้ทวนยาวนี้พุ่งทะลุแทงข้าศึก ซึ่งรูปแบบการรบที่ใช้กันต่อมาอย่างยาวนานของกรีซโบราณ อีกทั้งยังประดิษฐ์หน้าไม้ที่มีอานุภาพยิงได้ระยะไกล และทะลวงเข้าถึงเกราะหรือโล่ของข้าศึกได้อีกด้วย พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา มีประสงค์ที่จะทำสงครามกับอาณาจักรเปอร์เซีย ที่เสมือนเป็นคู่สงครามกับชาวกรีกมาตลอด แต่ประสงค์ของพระองค์มิทันได้เริ่มขึ้น เมื่อพระองค์สิ้นพระชนม์ลงก่อนเมื่อเดือนตุลาคม 336 ปีก่อนคริสต์ศักราช ขณะที่มีพระชนมายุได้ 46 ปี จากการลอบสังหารด้วยมีดปักเข้าที่พระอุระของมือสังหารที่เดินตามหลังพระองค์ ขณะที่พระองค์อยู่ในงานเฉลิมฉลอง ซึ่งไม่มีใครทราบถึงสาเหตุของการลอบสังหารครั้งนี้ เพราะมือสังหารได้ถูกสังหารโดยทหารองครักษ์ลงก่อนที่จะไต่สวนใด ๆ ได้มีการสันนิษฐานต่าง ๆ เช่น อาจเป็นการว่าจ้างของกษัตริย์เปอร์เซียด้วยทองคำ เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและพีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา · ดูเพิ่มเติม »

พีตา

| name.

ใหม่!!: ภาษากรีกและพีตา · ดูเพิ่มเติม »

กระจง

กระจง หรือ ไก้ (Mouse-deer, Chevrotain) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเคี้ยวเอื้องขนาดเล็กสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Tragulus (/ทรา-กู-ลัส/) ในวงศ์ Tragulidae โดยคำว่า Tragulus มาจากคำว่า Tragos หมายถึง "แพะ" ในภาษากรีก ขณะที่ ulus ในภาษาละตินหมายถึง "เล็ก" มีน้ำหนักตัวประมาณ 0.7–8.0 กิโลกรัม (1.5–17.6 ปอนด์) มีความยาวประมาณ 40–75 เซนติเมตร (16–30 นิ้ว) จัดเป็นสัตว์กีบคู่ที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก แต่ชนิดที่เล็กที่สุดของกระจงก็ยังมีขนาดใหญ่กว่าแอนทีโลปในสกุล Neotragus ในทวีปแอฟริกาNowak, R. M. (eds) (1999).

ใหม่!!: ภาษากรีกและกระจง · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกสแคฟฟอยด์

กระดูกสแคฟฟอยด์ (Scaphoid bone) อยู่บริเวณข้อมือ พบอยู่ทางด้านนิ้วหัวแม่มือภายในอนาโตมิคัล สนัฟฟ์ บอกซ์ (anatomical snuff-box) ลักษณะคล้ายกับเรือ ในอดีตจึงเรียกกระดูกนี้ว่า navicular (ซึ่งปัจจุบัน navicular หมายถึงกระดูกรูปเรือที่อยู่ในกระดูกข้อเท้า) ขนาดและรูปร่างของกระดูกนี้คล้ายกับเม็ดมะม่วงหิมพานต์ กระดูกสแคฟฟอยด์เป็นกระดูกที่ใหญ่ที่สุดในกระดูกข้อมือแถวต้น (proximal row) อยู่ที่ด้านเรเดียส (ด้านนิ้วหัวแม่มือ) แกนยาวของกระดูกวิ่งจากบนลงล่าง ไปทางด้านข้างและด้านหน้า คำว่า สแคฟฟอยด์ (scaphoid) มาจากภาษากรีกว่า skaphe แปลว่า "เรือ" และ eidos แปลว่า "รูปร่าง".

ใหม่!!: ภาษากรีกและกระดูกสแคฟฟอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกทราพีซอยด์

กระดูกทราพีซอยด์ (Trapezoid bone; lesser multangular bone) เป็นกระดูกข้อมือชิ้นหนึ่งในสัตว์สี่เท้า (tetrapod) รวมทั้งมนุษย์ มีขนาดเล็กที่สุดในกระดูกข้อมือแถวปลาย มีลักษณะเด่นคือมีรูปร่างเหมือนลิ่ม โดยมีปลายด้านหลังกว้าง และพื้นผิวด้านฝ่ามือแคบ กระดูกนี้มีหน้าประกบเกิดเป็นข้อต่อ 4 หน้าซึ่งแต่ละหน้าแยกกันด้วยขอบแหลมคม รากศัพท์ของ ทราพีซอยด์ (trapezoid) มาจากภาษากรีก trapezion แปลว่า สี่เหลี่ยมไม่สม่ำเสมอ ซึ่งมาจาก tra- แปลว่า สี่ และ peza แปลว่า เท้าหรือขอบ หากแปลตามตัวอักษรอาจแปลได้ว่า โต๊ะขนาดเล็ก มาจาก trapeza หมายถึง โต๊ะ และ -oeides หมายถึง รูปร่าง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกระดูกทราพีซอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกทราพีเซียม

กระดูกทราพีเซียม (Trapezium bone; Greater multangular bone) เป็นกระดูกข้อมือ (carpus) ในแถวปลาย อยู่ภายในข้อมือ กระดูกทราพีเซียมมีลักษณะเด่นคือจะมีร่องลึกทางด้านฝ่ามือ กระดูกชิ้นนี้จะตั้งอยู่ที่ด้านเรเดียส (ด้านนิ้วหัวแม่มือ) ของข้อมือ ระหว่างกระดูกสแคฟฟอยด์ (scaphoid) และกระดูกฝ่ามือชิ้นที่ 1 (first metacarpal bone) รากศัพท์ของชื่อกระดูกมาจากภาษากรีก trapezion ซึ่งหมายความตามตัวอักษรว่า รูปสี่เหลี่ยมไม่สม่ำเสมอ (irregular quadrilateral) หรือมาจาก trapeza หมายถึง โต๊ะ หรือมาจาก tra- แปลว่า สี่ และ peza แปลว่า เท้า หรือ ขอ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกระดูกทราพีเซียม · ดูเพิ่มเติม »

กระซู่

กระซู่, แรดสุมาตรา หรือ แรดขน (Sumatran RhinocerosWilson, D. E., and Reeder, D. M. (eds), ed (2005).; ชื่อวิทยาศาสตร์: Dicerorhinus sumatrensis) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคี่จำพวกแรด กระซู่เป็นแรดที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก และเป็นแรดเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Dicerorhinus มีลักษณะเด่นคือมี นอ 2 นอ เหมือนแรดแอฟริกา โดยนอจะไม่ตั้งยาวขึ้นมาเหมือนแรดชวา นอหน้าใหญ่กว่านอหลัง โดยทั่วไปยาว 15-25 ซม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกระซู่ · ดูเพิ่มเติม »

กรันต์ อัลเลน

Charles Grant Blairfindie Allen ชาร์ลส์ กรันต์ แบลร์ฟินดี อัลเลน (Charles Grant Blairfindie Allen) (24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2390 - 25 ตุลาคม พ.ศ. 2422) เกิดในแคนาดา แต่ไปเรียนหนังสือในสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส และอังกฤษ เมื่ออายุ 25 ปี เขาไปเป็นอาจารย์สอนวิชาตรรกศาสตร์ (รวมทั้งปรัชญา จริยศาสตร์ ภาษาละตินและภาษากรีก) ในมหาวิทยาลัยในจาไมกาอยู่สองสามปี จากนั้นก็กลับยุโรป เขาแต่งงานใหม่ และใช้ชีวิตในแคว้นเคนต์ ประเทศอังกฤษ ส่วนในหน้าหนาวจะไปอยู่ในบ้านทางตอนใต้ของฝรั่งเศส นักเขียนยุควิกตอเรียซึ่งผลิตงานมากมายหลากหลายผู้นี้ เคยเขียนเพื่อเงินถ่ายเดียวไว้หลายเรื่อง (โดยมากเป็นนวนิยายสืบสวนและเขียนโดยใช้นามปากกา) รวมถึงหนังสือท่องเที่ยวอีกจำนวนหนึ่ง เพื่อตอบสนองความอยากเขียนความเรียงในประเด็นเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ และแสดงความเห็นเกี่ยวกับแนวคิดอเทวนิยม รวมทั้งสนับสนุนลัทธิเสรีนิยม ในทศวรรษ 1890 เขากลายเป็นที่รู้จักไปทั่วจากหนังสือ The woman who did เรื่องราวของหญิงหัวสมัยใหม่ผู้พึ่งตนเองได้ และมีลูกโดยไม่ได้แต่งงาน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกรันต์ อัลเลน · ดูเพิ่มเติม »

กรีก

กรีก (Greek) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกรีก · ดูเพิ่มเติม »

กรีซโบราณ

กรีซโบราณ (Ancient Greece) เป็นคำที่ใช้เรียกถึงบริเวณที่มีการพูดภาษากรีกในโลกยุคโบราณ ซึ่งไม่เพียงอ้างถึงพื้นที่คาบสมุทรของกรีซยุคปัจจุบันเท่านั้น แต่ยังกล่าวรวมถึงอารยธรรมกรีกโบราณซึ่งเป็นที่ตั้งรกรากถิ่นฐานโดยชาวกรีกในยุคโบราณอันได้แก่ ไซปรัส, บริเวณชายฝั่งของทะเลอีเจียนของตุรกี (หรือที่รู้จักในนามไอโอเนีย), ซิซิลีและทางใต้ของอิตาลี (หรือที่รู้จักในนามแมกนา เกรเชีย) และถิ่นฐานซึ่งกระจายออกไปของชาวกรีกตามชายฝั่งต่างๆซึ่งปัจจุบันเป็นประเทศ บัลแกเรีย ฝรั่งเศส ยูเครน โรมาเนีย ลิเบีย สเปน อัลแบเนีย และอียิปต.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกรีซโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

กลยุทธ์

กลยุทธ์ (strategy) หรือ ยุทธศาสตร์ เป็นศัพท์ที่มีกำเนิดในทางทหาร หมายถึง แผนการปฏิบัติซึ่งวางเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์จำเพาะ กลยุทธ์หรือยุทธศาสตร์ในทางทหารนั้นแตกต่างจากยุทธวิธี ซึ่งว่าด้วยการดำเนินการรบปะทะ (engagement) ขณะที่ยุทธศาสตร์นั้น ว่าด้วยวิธีการเชื่อมโยงการรบปะทะต่าง ๆ เข้าด้วยกัน คำถามที่ว่า "จะสู้รบอย่างไร" เป็นปัญหาทางยุทธวิธี แต่ข้อกำหนดและเงื่อนไขซึ่งมีการสู้รบกันและความเหมาะสมในการสู้รบกันนั้นเป็นปัญหาทางยุทธศาสตร์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสงคราม (warfare) สี่ระดับ ได้แก่ วัตถุประสงค์ทางการเมืองหรือยุทธศาสตร์หลัก, ยุทธศาสตร์, ปฏิบัติการและยุทธวิธี นักคิดคนหนึ่งนิยามยุทธศาสตร์ไว้ว่าเป็น "วิถีอย่างครอบคลุมในอันที่จะพยายามปฏิบัติเพื่อผลเบื้องปลายทางการเมือง รวมทั้งการข่มขู่หรือการใช้กำลังอย่างแท้จริง ในวิภาษวิธีแห่งเจตจำนง ซึ่งจำต้องมีอย่างน้อยสองฝ่ายในความขัดแย้งหนึ่ง ๆ ฝ่ายเหล่านี้มีปฏิสัมพันธ์กัน และดังนั้น ยุทธศาสตร์จะประสบความสำเร็จน้อยครั้งหากไม่แสดงความสามารถในการดัดแปลง"Beatrice Heuser, The Evolution of Strategy: Thinking War from Antiquity to the Present (Cambridge University Press, 2010), ISBN 978-0-521-19968-1, p.27f.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกลยุทธ์ · ดูเพิ่มเติม »

กลศาสตร์

Branches of mechanics กลศาสตร์ (กรีก: μηχανική) เป็นสาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยพฤติกรรมของวัตถุทางกายภาพเมื่อถูกแรงกระทำหรือเมื่อมีการกระจัด กลศาสตร์มีรากฐานมาจากอารยธรรมกรีซโบราณ งานเขียนของอาริสโตเติล และอาร์คิมิดีส นักวิทยาศาสตร์ในสมัยใหม่ตอนต้น เช่น โอมาร์ คัยยาม, กาลิเลโอ กาลิเลอี, โยฮันเนส เคปเลอร์, และโดยเฉพาะ ไอแซก นิวตัน เป็นผู้วางรากฐานกลศาสตร์ดั้งเดิม กลศาสตร์เป็นสาขาหนึ่งของฟิสิกส์ดั้งเดิมที่เกี่ยวข้องอนุภาคทั้งที่หยุดนิ่งและที่กำลังเคลื่อนที่ ด้วยความเร็วที่น้อยกว่าความเร็วแสง และเป็นสาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของวัตถุและแรงที่กระทำต่อวัต.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกลศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

กลอสซอพเทอริส

ฟอสซิลของจิมโนสเปอร์ม ''กลอสซอพเทอริส'' (สีเขียวเข้ม) พบในทวีปทางซีกโลกใต้ทั้งหมดซึ่งเป็นหลักฐานที่ชัดเจนว่าครั้งหนึ่งทวีปต่างๆเคยอยู่ติดกันเป็นมหาทวีปกอนด์วานา กลอสซอพเทอริส (กรีก glossa (γλώσσα) หมายถึง "ลิ้น" (เพราะว่าใบของมันมีรูปร่างคล้ายลิ้น) เป็นสกุลใหญ่และเป็นที่รู้จักกันดีว่าเป็นเฟิร์นเมล็ดอยู่ในอันดับกลอสซอพเทอริดาเลส (หรือในบางกรณีก็ถูกจัดให้อยู่ในอันดับอาร์เบอริเอเลส หรือดิคทายออพเทอริดิเอเลส).

ใหม่!!: ภาษากรีกและกลอสซอพเทอริส · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาคอเคเซียน

กลุ่มภาษาคอเคเซียน (Caucasian languages)เป็นกลุ่มภาษาใหญ่ที่มีผู้พูดมากกว่า 10 ล้านคนในบริเวณเทือกเขาคอเคซัสของยุโรปตะวันออกและเอเชียตะวันตกซึ่งอยู่ระหว่างทะเลดำกับทะเลสาบแคสเปียน นักภาษาศาสตร์จัดแบ่งภาษาในบริเวณนี้ออกเป็นหลายตระกูล ภาษาบางกลุ่มไม่พบผู้พูดนอกบริเวณเทือกเขาคอเคซัสจึงเรียกว่ากลุ่มภาษาคอเคซั.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกลุ่มภาษาคอเคเซียน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มอาการมือแปลกปลอม

กลุ่มอาการมือแปลกปลอม (alien hand syndrome, Dr Strangelove syndrome) หรือ กลุ่มอาการมือต่างดาว เป็นความผิดปกติทางประสาทที่มือของคนไข้เหมือนกับมีใจเป็นของตน เป็นกลุ่มอาการที่มีการรายงานมากที่สุดในกรณีที่คนไข้ได้รับการตัด corpus callosumcorpus callosum หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า colossal commissure เป็นกลุ่มใยประสาทที่กว้างและแบนใต้เปลือกสมองของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (มีรก) ประเภท eutheria อยู่ที่ ร่อง longitudinal fissure (ที่แบ่งสมองออกเป็น 2 ข้าง) เป็นโครงสร้างที่เชื่อมซีกสมองซ้ายขวาเข้าด้วยกัน และอำนวยให้เขตในสมองทั้งสองซีกสื่อสารกันได้ เป็นส่วน white matter (ส่วนในสมองที่โดยมากประกอบด้วยแอกซอน) ที่ใหญ่ที่สุดในสมองมีแอกซอนส่งเชื่อมซีกสมองถึง 200-250 ล้านแอกซอน ออก ซึ่งบางครั้งใช้เป็นวิธีบรรเทาอาการเกี่ยวกับโรคลมชัก (epilepsy) ชนิดรุนแรง แต่ก็เป็นกลุ่มอาการที่เกิดขึ้นด้วยในกรณีอื่น ๆ เช่นการผ่าตัดสมอง โรคหลอดเลือดสมอง การติดเชื้อ เนื้องอก หลอดเลือดโป่งพอง และโรคสมองเสื่อมบางชนิดเช่นโรคอัลไซเมอร์ และ Creutzfeldt-Jakob diseaseBellows, A. (2009).

ใหม่!!: ภาษากรีกและกลุ่มอาการมือแปลกปลอม · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มเกาะ

กลุ่มเกาะมะริด ในประเทศพม่า กลุ่มเกาะ (archipelago หรือ island group) เป็นหมู่เกาะที่โยงกันเป็นโซ่หรือเป็นกลุ่ม คำว่า archipelago มาจากภาษากรีก ἄρχι ("หลัก") และ πέλαγος ("ทะเล") ผ่านกลุ่มเกาะอิตาลี ในภาษาอิตาลี ซึ่งอาจเป็นไปได้ว่าหลักจากประเพณีความเก่าแก่ กลุ่มเกาะ (จากภาษากรีกสมัยกลาง ἀρχιπέλαγος) เป็นชื่อเฉพาะของทะเลอีเจียน และภายหลัง การใช้ได้เปลี่ยนเป็นหมายถึงหมู่เกาะอีเจียน (เพราะทะเลดังกล่าวมีชื่อเสียงกันว่ามีเกาะอยู่เป็นจำนวนมาก) ปัจจุบัน ใช้หมายถึงกลุ่มเกาะใด ๆ หรือ บางครั้ง ทะเลที่บรรจุเกาะกระจัดกระจายกันจำนวนมาก เช่น ทะเลอีเจียน กลุ่มเกาะอาจพบห่างไกลในแหล่งน้ำหรืออยู่ใกล้กับผืนดินขนาดใหญ่ก็ได้ ตัวอย่างเช่น สกอตแลนด์มีเกาะมากกว่า 700 เกาะล้อมแผ่นดินใหญ่ซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นกลุ่มเกาะ กลุ่มเกาะนี้มักมีภูเขาไฟ ก่อตัวขึ้นตามหมู่เกาะโค้งที่เกิดจากเขตมุดตัวของเปลือกโลกหรือจุดศูนย์รวมความร้อน แต่ยังอาจเกิดจากการกัดเซาะ การทับถมและความสูงของพื้นที่ดิน ประเทศสมัยใหม่ขนาดใหญ่ที่สุดห้าประเทศที่ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเกาะ ได้แก่ อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ นิวซีแลนด์และสหราชอาณาจักร รัฐกลุ่มเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในโลกตามพื้นที่ คือ อินโดนีเซีย กลุ่มเกาะที่มีเกาะมากที่สุดอยู่ในทะเล Archipelago ในฟินแลน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกลุ่มเกาะ · ดูเพิ่มเติม »

กลไกแอนติคิเธียรา

รื่องกลแอนติคิเธียรา (กรีก: O μηχανισμός των Αντικυθήρων, O mēchanismós tōn Antikythērōn) เป็นคอมพิวเตอร์แอนะลอกเชิงกลสมัยโบราณ (หลักการทำงานตรงกันข้ามกับคอมพิวเตอร์แบบดิจิทัล) มีการออกแบบเพื่อให้คำนวณตำแหน่งทางดาราศาสตร์ เครื่องกลดังกล่าวนี้ถูกค้นพบโดยบังเอิญในเรืออับปาง ห่างจากเกาะแอนติคิเธียรา (Αντικύθηρα, Antikythera) ของกรีซ ซึ่งอยู่ระหว่างคือเธรา (Κύθηρα) และเครเต (Κρήτη) ระบุอายุประมาณ 80 ปีก่อนคริสตกาล เครื่องกลแอนติคิเธียรา (ชิ้นส่วนหลัก).

ใหม่!!: ภาษากรีกและกลไกแอนติคิเธียรา · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยนาก

กล้วยนาก (Red bananas) เป็นสายพันธุ์ของกล้วยที่เปลือกสีแดงคล้ำ ลูกเล็กกว่ากล้วยหอมเขียว เนื้อเมื่อสุกเป็นสีเหลืองครีมหรือสีเหลืองอมชมพู นิ่มและหวานกว่ากล้วยพันธุ์อื่นในกลุ่มคาเวนดิช แหล่งปลูกอยู่ในแอฟริกาตะวันออก เอเชีย อเมริกาใต้ และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นที่นิยมในอเมริกากลาง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกล้วยนาก · ดูเพิ่มเติม »

กล้ามเนื้อเดลทอยด์

กล้ามเนื้อเดลทอยด์ (Deltoid muscle) ในกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ หมายถึงกล้ามเนื้อรูปสามเหลี่ยมที่เป็นส่วนสำคัญของกล้ามเนื้อในบริเวณไหล่ และเป็นกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของแขนที่มีข้อต่อไหล่เป็นจุดหมุน นอกจากนี้ยังนิยมใช้กล้ามเนื้อนี้ในการฉีดยาเข้าทางกล้ามเนื้อ (intramuscular injection) อีกด้วย ในตำรากายวิภาคศาสตร์บางเล่มอาจใช้คำว่า เดลทอยเดียส (deltoideus) ในการกล่าวถึงกล้ามเนื้อมัดนี้ อย่างไรก็ตาม ทั้งคำว่าเดลทอยด์และเดลทอยเดียส ต่างมาจากอักษรเดลตา (Delta) ในภาษากรีก ซึ่งเป็นอักษรรูปสามเหลี่ยม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกล้ามเนื้อเดลทอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

กอริลลา

ัวน้อย กอริลลาเพศเมียที่มีชื่อเสียงแห่งสวนสัตว์พาต้า กอริลลา (Gorilla) เป็นเอปที่อยู่ในเผ่า Gorillini และสกุล Gorilla ในวงศ์ Hominidae นับเป็นไพรเมตที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน กอริลลา จัดเป็นเอปจำพวกหนึ่งในบรรดาเอปทั้งหมดที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน และจัดเป็นเอปและไพรเมตที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีถิ่นกำเนิดอยู่ในตอนกลางของทวีปแอฟริกา ทั้งที่เป็นที่ราบต่ำ และเป็นภูเขาสูงแถบเทือกเขาวีรูงกาที่มีระดับความสูงจากน้ำทะเลถึง 2,200–4,300 เมตร (7,200–14,100 ฟุต) ในคองโก และรวันดา กอริลลา นับได้ว่าเป็นเอปที่มีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุดรองจากชิมแปนซีและโบโนโบ โดยมีดีเอ็นเอที่ใกล้เคียงกับมนุษย์ถึงร้อยละ 95–99.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกอริลลา · ดูเพิ่มเติม »

กอล

แผนที่ของ กอล ราว 100 ปีก่อนคริสตกาล แสดงให้เห็นตำแหน่งสัมพันธ์กับเผ่าเคลติก กอล (Gaul) เป็นชื่อเก่าแก่ในประวัติศาสตร์ ใช้ในยุคโรมันเพื่อเรียกขานดินแดนทางยุโรปตะวันตก ซึ่งปัจจุบันเทียบได้ประมาณบริเวณประเทศฝรั่งเศสและเบลเยี่ยม และอาจรวมไปถึงหุบเขาโพ ในสวิตเซอร์แลนด์ตะวันตก บางส่วนของเนเธอร์แลนด์และเยอรมนีทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไรน์ ในภาษาอังกฤษ คำว่า กอล อาจหมายถึงผู้คนที่อาศัยอยู่ในย่านนั้น (ภาษาฝรั่งเศสเรียก Gaulois) พลเมืองในอดีตสามารถพูดภาษากอล (Gaulish) ได้อย่างกว้างขวาง (เป็นภาษาที่พัฒนามาจากเคลติกยุคต้น) โดยแพร่หลายในดินแดนบริเตน ไอบีเรีย ไอร์แลนด์ ไปจนกระทั่งถึงอนาโทเลียกลางในยุคโรมัน คำในภาษาละตินของ กอล ยังคงมีใช้อยู่ในคำภาษากรีกยุคใหม่สำหรับใช้เรียกประเทศฝรั่งเศส คือ กัลเลีย (Gallia) กอลภายใต้การนำของ Brennus บุกยึดโรมันได้ในราวทศวรรษ 390 ก่อนคริสตกาล ในแดนอีเจี้ยน มีการอพยพครั้งใหญ่ของชาวกอลตะวันออก จากดินแดนเทรซ ทางตอนเหนือของกรีซ ในราวปี 281 ก่อนคริสตกาล ผู้นำของชาวกอลอีกคนหนึ่งซึ่งมีชื่อว่า Brennus เหมือนกัน เป็นผู้นำของกองทัพขนาดใหญ่ ได้หวนกลับจากการทำลายล้างวิหารอพอลโลในเมืองเดลฟีในกรีซในวินาทีสุดท้าย เล่ากันว่าเขาได้รับเตือนโดยเสียงฟ้าร้องและสายฟ้า ในเวลาเดียวกับที่ชาวเคลต์กำลังอพยพ นักรบกว่า 10,000 นาย พร้อมด้วยบรรดาผู้หญิง เด็ก และทาส ได้เดินทางผ่านดินแดนเทรซพอดี ชาวกอลสามกลุ่มใหญ่ได้เดินทางข้ามดินแดนเทรซไปยังเอเชียไมเนอร์ตามคำเชิญของ Nicomedes ที่ 1 กษัตริย์แห่ง Bithynia พระองค์ได้ส่งคำร้องขอความช่วยเหลือเพื่อสู้กับน้องชายของพระองค์เอง ในเวลาต่อมาชาวกอลก็ตั้งถิ่นฐานลงทางตะวันออกของ Phrygia และ Cappadocia ในแคว้นอนาโทเลียกลาง ดินแดนซึ่งปัจจุบันรู้จักกันในชื่อ กาลาเทีย (Galatia).

ใหม่!!: ภาษากรีกและกอล · ดูเพิ่มเติม »

กัปตันอีโอ

กัปตันอีโอ (Captain EO) เป็นภาพยนตร์สามมิติไซไฟ-แฟนตาซี ความยาว 17 นาที สำหรับฉายในสวนสนุกของดิสนีย์ในช่วงทศวรรษ 1980-1990 นำแสดงโดยไมเคิล แจ็กสัน กำกับโดยฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลา โดยมีจอร์จ ลูคัสเป็นผู้อำนวยการสร้างบริหารและเป็นผู้ชักชวนให้คอปโปลาเป็นผู้กำกับ ภาพยนตร์กล่าวถึงนักบินอวกาศชื่อ กัปตันอีโอ (EO มาจากภาษากรีก แปลว่า "รุ่งสาง" รับบทโดย ไมเคิล แจ็กสัน) พร้อมกับผู้ช่วยชื่อ ฮูตเตอร์ (เป็นมนุษย์ต่างดาว มีรูปร่างคล้ายกับช้างสองขา รับบทโดยโทนี ค็อกซ์) ปฏิบัติภารกิจขับยานอวกาศไปผจญภัยต่าง ๆ นานา และต้องต่อสู้เพื่อปลดปล่อยราชินีต่างดาวผู้ชั่วร้าย (รับบทโดย แองเจลิกา ฮุสตัน) ในภาพยนตร์มีการใช้เทคนิคพิเศษในโรง ทั้งควัน เลเซอร์ จนบางครั้งถือว่าภาพยนตร์เรื่องนี้เป็น "ภาพยนตร์สี่มิติ" เรื่องแรก ดนตรีประกอบภาพยนตร์ แต่งโดยเจมส์ ฮอร์เนอร์ มีเพลงที่ไมเคิล แจ็กสันร้องและเต้น 2 เพลง คือเพลง "We Are Here to Change the World" และ "Another Part of Me" ภาพยนตร์มีฉายจำกัดเพียง 4 โรง คือที่ เอปคอตเซ็นเตอร์ วอลต์ดิสนีย์เวิลด์รีสอร์ต ออร์แลนโด ฟลอริดา (ปี 1986-1994), ดิสนีย์แลนด์ แอนาไฮม์ แคลิฟอร์เนีย (ปี 1986-1997), โตเกียวดิสนีย์แลนด์ ญี่ปุ่น (ปี 1987-1996) และ ดิสนีย์แลนด์พาร์ก ปารีส ฝรั่งเศส (ปี 1992-1998) ใช้ทุนสร้างประมาณ 30 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เฉลี่ยนาทีละ 1.76 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับเป็นภาพยนตร์ที่มีต้นทุนการสร้างสูงที่สุดในประวัติศาสตร์ หลังการเสียชีวิตของไมเคิล แจ็กสัน ภาพยนตร์กัปตันอีโอ ได้รับความนิยมเผยแพร่กันทางอินเทอร์เน็ต จนมีเสียงเรียกร้องให้ดิสนีย์นำกลับมาแสดงอีกครั้ง โดยเข้าฉายที่ทูมอโรว์แลนด์ แอนาไฮม์ แคลิฟอร์เนีย ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ใช้ชื่อว่า "Captain EO-Tribute".

ใหม่!!: ภาษากรีกและกัปตันอีโอ · ดูเพิ่มเติม »

กันดั้มดิวนาเมส

GN-002 กันดั้มดิวนาเมส(ガンダムデュナメス;Gundam Dynames) เป็นโมบิลสูทซึ่งมีบทบาทสำคัญในการ์ตูนญี่ปุ่น อะนิเมะ โมบิลสูทกันดั้มดับเบิลโอ ออกแบบโดยทาคายูกิ ยานาเซ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกันดั้มดิวนาเมส · ดูเพิ่มเติม »

กันดั้มคิวริออส

GN-003 กันดั้มคิวริออส(ガンダムキュリオス;Gundam Kyrios) เป็นโมบิลสูทซึ่งมีบทบาทสำคัญในการ์ตูนญี่ปุ่น อะนิเมะ โมบิลสูทกันดั้มดับเบิลโอ ออกแบบโดยทาคายูกิ ยานาเซ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกันดั้มคิวริออส · ดูเพิ่มเติม »

กันดั้มโธรน

กันดั้มโธรน(ガンダムスローネ;Gundam Throne) เป็นกลุ่มของโมบิลสูทซึ่งมีบทบาทสำคัญในการ์ตูนญี่ปุ่น อะนิเมะ โมบิลสูทกันดั้มดับเบิลโอ ซึ่งกันดั้มโธรนทั้งหมดได้รับการออกแบบโดยนาโอฮิโระ วาชิโอะ ชื่อของกันดั้มโธรนแปลว่าบัลลังก์ ซึ่งหมายถึงเทวทูตคณะหนึ่งในศาสนาคริสต์ที่ทำหน้าที่แบกบัลลังก์ของพระเจ้า กันดั้มโธรนรุ่นแรกนั้นจะมีชื่อเป็นตัวเลขในภาษาเยอรมัน กันดั้มโธรนนั้นเป็นกันดั้มของ ทีมทรินิตี้ ซึ่งทำหน้าที่แยกจากปโทเลมิออสและปรากฏตัวครั้งแรกเพื่อช่วยเหลือปโทเลมิออสจากกับดักของมหาอำนาจสามฝ่าย บทบาทของทีมทรินิตี้ตามแผนการของอิโอเลียก็คือสร้างความปั่นป่วนเพื่อเร่งให้มหาอำนาจในโลกรวมตัวเป็นหนึ่งเดียว กันดั้มโธรนนั้นต่างจากกันดั้มรุ่นอื่นๆของเซอเลสเทียลบีอิงโดยใช้เตาปฏิกรณ์แบบ GNไดรฟ์เทา ซึ่งสามารถให้พลังงานได้จำกัด นอกจากนั้นGNบีมของ GNไดรฟ์เทายังเป็นพิษที่ทำให้เซลล์เสื่อมสภาพ บาดแผลที่เกิดจากบีมของกันดั้มโธรนจึงไม่สามารถหายได้ตามธรรมชาติ กันดั้มโธรนยังไม่สามารถใช้ระบบทรานแซมได้เหมือนกันดั้มของเซอเลสเทียลบีอิงอีกด้วย กันดั้มโธรนนั้นได้รับการพัฒนาโดยบริษัทอุตสาหกรรมลิเนียร์เทรนของลากูนา ฮาวีย์ หนึ่งในสมาชิกของเซอเลสเทียลบีอิง เมื่อเทียบกับกันดั้มรุ่นอื่นๆของเซอเลสเทียลบีอิงแล้ว กันดั้มโธรนจะมีโครงสร้างที่ผอมกว่า โครงสร้างพื้นฐานของกันดั้มโธรนนี้ต่อมาได้พัฒนาต่อไปเป็น GNX-509T โธรนวารานุส ซึ่งเป็นรุ่นต้นแบบของ GNX-603T จิงซ์ ที่ลากูนาได้มอบให้มหาอำนาจสามฝ่ายที่รวมกันเป็นสหประชาชาติเพื่อต่อสู้กับเซอเลสเทียลบีอิง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกันดั้มโธรน · ดูเพิ่มเติม »

กันดั้มเอกเซีย

GN-001 กันดั้มเอ็กเซีย (ガンダムエクシア;Gundam Exia) เป็นโมบิลสูทตัวเอกเครื่องแรกในการ์ตูนญี่ปุ่น อะนิเมะ โมบิลสูทกันดั้มดับเบิลโอ ออกแบบโดยคาเนทาเกะ เอบิคาวะ ชื่อของกันดั้มเอกเซีย มาจากคำว่า exousia ในภาษากรีกที่แปลว่า อำนาจบริหาร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกันดั้มเอกเซีย · ดูเพิ่มเติม »

กันดั้มเอเปี้ยน

OZ-13MS กันดั้มเอพพิอ้อน (Gundam Epyon) เป็นโมบิลสูทที่มีบทบาทสำคัญในการ์ตูนญี่ปุ่น อะนิเมะ บันทึกการยุทธ์บทใหม่ กันดั้มวิง ออกแบบโดยคุนิโอะ โอคาวาระ ชื่อ เอพพิอ้อน เป็นภาษากรีกแปลว่า ต่อไป.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกันดั้มเอเปี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

การบำบัด

การบำบัด (Therapy เป็นคำใน ภาษากรีก: θεραπεία) หรือ การรักษา คือความพยายาม แก้ไข (remediation) ปัญหาสุขภาพตาม การวินิจฉัย (diagnosis) วิธีการรักษาจากการแพทย์ตะวันตก การแพทย์ตะวันออกโดยเฉพาะจากจีน และการแพทย์ทางเลือก มีดังนี้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและการบำบัด · ดูเพิ่มเติม »

การพลัดถิ่น

ียนแสดงการอพยพของชาวไอริช ราว ค.ศ. 1868 การพลัดถิ่น (Diaspora) คำว่า “Diaspora” มาจากภาษากรีก “διασπορά” ที่แปลว่า “การหว่าน” เป็นคำที่หมายถึงการโยกย้ายของประชากรที่มีชาติพันธุ์เดียวกันเป็นกลุ่มใหญ่ ที่อาจจะเกิดจากการถูกบังคับให้ทำการโยกย้าย หรือ เลือกที่จะโยกย้ายถิ่นฐานโดยความตั้งใจของตนเองจากถิ่นฐานที่อยู่เดิมไปตั้งถิ่นฐานและเป็นพลเมืองในดินแดนใหม่ที่มักจะไกลจากถิ่นฐานที่ตั้งอยู่เดิม “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากวัฒนธรรมของผู้เร่ร่อน และใกล้เคียงกับการเป็นผู้ลี้ภัย (Refugee) มากกว่า แต่การลี้ภัยอาจจะเป็นการโยกย้ายไปตั้งถิ่นฐานอย่างถาวรในดินแดนใหม่หรือไม่ก็ได้ คำว่า “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากการลี้ภัยที่หมายถึงกลุ่มผู้ที่พลัดจากบ้านเกิดเมืองนอนที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนใหม่อย่างเป็นการถาวร คำนี้นิยมใช้กับการอพยพของชนกลุ่มใหญ่ที่อาจจะมีสาเหตุมาจากการบังคับให้โยกย้าย หรือจากปัญหาทางเศรษฐกิจที่ทำให้มีความจำเป็นต้องไปหาที่ตั้งถิ่นฐานใหม่ก็ได้ ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม การวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมของผู้พลัดถิ่นที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนอื่น ก็อาจจะแตกต่างไปจากการวิวัฒนาการของชนกลุ่มเดียวกันในบ้านเกิดเมืองนอนที่ทิ้งมา การรักษาวัฒนธรรม ประเพณี นอกจากนั้นปัจจัยต่างๆ ของแต่ละกลุ่มก็จะต่างระดับกันไป แต่แนวโน้มโดยทั่วไปแล้วความผูกพันทางวัฒนธรรมของกลุ่มผู้พลัดถิ่นมักจะดำเนินไปในรูปของการต่อต้านความเปลี่ยนแปลงของภาษาและในการรักษาประเพณีการปฏิบัติทางศาสนาเช่นที่เคยทำกันมาในประเทศบ้านเกิดอย่างเหนียวแน่นโดยเฉพาะในชั่วคนรุ่นแรก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและการพลัดถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

การรักษาโดยใช้สารก่อกระด้าง

การรักษาโดยใช้สารก่อกระด้าง (Sclerotherapy, จากคำภาษากรีกว่า skleros ซึ่งแปลว่า "แข็ง") เป็นวิธีการรักษาหลอดเลือดหรือสภาพวิรูปของหลอดเลือด (vascular malformation) หรือของหลอดน้ำเหลือง แพทย์จะฉีดยาเข้าไปในหลอดเลือดซึ่งทำหลอดให้หดลง ซึ่งใช้ในเด็กและเยาวชนที่มีสภาวะวิรูปของหลอดเลือดหรือหลอดน้ำเหลือง ในผู้ใหญ่ วิธีนี้บ่อยครั้งจะใช้รักษาภาวะหลอดเลือดพอง (Telangiectasia) หลอดเลือดดำขอดที่ยังเป็นน้อย ริดสีดวงทวาร และน้ำขังเฉพาะที่ (hydrocele) วิธีนี้เป็นวิธีหนึ่งในหลายวิธี (รวมการผ่าตัด การยิงเลเซอร์ และการยิงคลื่นวิทยุ) เพื่อรักษาภาวะหลอดเลือดพอง เพื่อรักษาหลอดเลือดดำขอดเป็นบางครั้ง และสภาวะวิรูปของหลอดเลือดดำ ในการรักษาโดยใช้สารก่อกระด้างนำทางโดยคลื่นเสียงความถี่สูง แพทย์จะใชัอัลตราซาวนด์เพื่อแสดงรูปของหลอดเลือดที่เป็นปัญหา แล้วจึงฉีดยาใส่ได้อย่างแม่นยำ การรักษาบ่อยครั้งจะทำนำโดยคลื่นเสียงความถี่สูงถ้าได้พบความผิดปกติของหลอดเลือดที่วินิจฉัยด้วย duplex ultrasound การรักษานำโดยคลื่นเสียงความถี่สูงบวกการใช้สารก่อกระด้างแบบ microfoam ได้พบว่า ได้ผลในการควบคุมการไหลกลับ (reflux) จาก sapheno-femoral junction และ sapheno-popliteal junction แต่ก็มีนักวิชาการบางท่านที่เชื่อว่า วิธีรักษานี้ไม่ควรกับหลอดเลือดดำที่สามารถมีการไหลกลับจาก greater saphenous junction หรือ lesser saphenous junction หรือที่มี axial reflux.

ใหม่!!: ภาษากรีกและการรักษาโดยใช้สารก่อกระด้าง · ดูเพิ่มเติม »

การสตัฟฟ์สัตว์

การสตัฟฟ์สัตว์ (Taxidermy: มาจากภาษากรีก แปลว่า การจัดการผิวหนัง etymonline.com) คือ ศิลปะของการเตรียมการ การยัด และการเก็บรักษาผิวหนังสัตว์อย่างถาวร หรือเทคนิคการทำให้ซากสัตว์คงสภาพเหมือนมีชีวิต โดยเฉพาะกับสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง เพื่อการจัดแสดงหรือการศึกษา การสตัฟฟ์สัตว์สามารถทำได้ในสายพันธุ์ของสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์ปีก สัตว์น้ำ สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก บุคคลผู้ที่ทำงานเกี่ยวกับการสตัฟฟ์สัตว์เรียกว่า เจ้าหน้าที่สตัฟฟ์สัตว์ (taxidermist) ซึ่งอาจจะได้รับการฝึกฝนอย่างเชี่ยวชาญสำหรับพิพิธภัณฑ์ หรือธุรกิจสำหรับนักล่าสัตว์และชาวประมง หรือในฐานะมือสมัครเล่น เช่น นักสะสม นักล่าสัตว์ และชาวประมงเอง เป็นต้น สำหรับการสตัฟฟ์สัตว์นั้น ผู้กระทำควรที่จะคุ้นเคยอย่างมากเกี่ยวกับหลักกายวิภาคศาสตร์ ประติมากรรม จิตรกรรม และการฟอกหนัง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและการสตัฟฟ์สัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

การถอดเป็นอักษรโรมัน

ษาต่าง ๆ สามารถถอดเป็นอักษรโรมันโดยวิธีการต่าง ๆ ที่ไม่เหมือนกันก็ได้ เช่นภาษาจีนกลางที่แสดงอยู่นี้ ในทางภาษาศาสตร์ การถอดเป็นอักษรโรมัน (Romanisation) คือการถอดคำพูดหรือคำเขียนที่ใช้ระบบการเขียนต่าง ๆ เป็นอักษรโรมัน (ละติน) โดยสำหรับคำเขียนใช้การทับศัพท์ สำหรับคำพูดใช้การถอดเสียง ซึ่งสามารถแบ่งเป็นสองประเภทย่อยได้อีก คือการถอดเสียงตามหน่วยเสียง (phoneme) และ การถอดเสียงให้สอดคล้องกับการออกเสียง (phonetic).

ใหม่!!: ภาษากรีกและการถอดเป็นอักษรโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

การถ่ายภาพ

กล้องถ่ายภาพ อุปกรณ์หลักในการถ่ายภาพ การถ่ายภาพ คือ การบันทึกเหตุการณ์ ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยการเก็บสภาพแสง ณ เวลานั้นไว้บนวัตถุไวแสง ผ่านอุปกรณ์รับแสงที่เรียกว่ากล้องถ่ายรูป หลังจากนั้น จะสามารถเปลี่ยนสภาพแสงเหล่านั้นกลับมาเป็นภาพได้อีกครั้งหนึ่ง ผ่านกระบวนการล้างอัดภาพ ในภาษาอังกฤษคำว่า การถ่ายภาพ คือ Photography (อ่านว่า โฟทอก' กระฟี) มาจากการผสมคำกรีกสองคำ คือ คำว่า φως - phos ซึ่งแปลว่า แสง กับคำว่า γραφις - graphis หรือ γραφη - graphê ซึ่งแปลว่า การเขียน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและการถ่ายภาพ · ดูเพิ่มเติม »

การปกครองโดยชนชั้นกลาง

การปกครองโดยชนชั้นกลาง (Polity มาจากภาษากรีกว่า Πολιτεία Politeía หรือ Πολίτευμα Políteuma) เป็นคำที่อริสโตเติลใช้เรียกรูปแบบของรัฐอันเป็นการรวมกันระหว่างระบอบอภิชนาธิปไตยและประชาธิปไตยเข้าด้วยกัน ทุกวันนี้ คำว่า polity ใช้เป็นคำทั่วไปที่ใช้เรียกองค์กรทางการเมืองของกลุ่ม ซึ่งอาจมีความหมายครอบคลุมไปถึงชนเผ่าหรือประชาคมด้วย แต่ในความหมายที่ใช้กันโดยทั่วไปนั้นหมายถึง รัฐบาล จักรวรรดิ บริษัทหรือสถาบันการศึกษ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและการปกครองโดยชนชั้นกลาง · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองไบรตัน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Waterloo ขับร้องโดย ABBA ตัวแทนจากสวีเดน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Save Your Kisses for Me ขับร้องโดย Brotherhood of Man ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ L'oiseau et l'enfant ขับร้องโดย Marie Myriam ตัวแทนจากฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ A-Ba-Ni-Bi ขับร้องโดย Izhar Cohen & the Alphabeta ตัวแทนจากอิสราเอล.

ใหม่!!: ภาษากรีกและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเยรูซาเลม ประเทศอิสราเอล จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Hallelujah ขับร้องโดย Gali Atari & Milk and Honey ตัวแทนจากอิสราเอล.

ใหม่!!: ภาษากรีกและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ What's Another Year ขับร้องโดย Johnny Logan ตัวแทนจากไอร์แลน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Making Your Mind Up ขับร้องโดย Bucks Fizz ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองฮาร์โรเกต ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Ein bißchen Frieden ขับร้องโดย Nicole ตัวแทนจากเยอรมนี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Si la vie est cadeau ขับร้องโดย Corinne Hermès ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 2018

การประกวดเพลงยูโรวิชั่น 2018 เป็นการประกวดครั้งที่ 63 ของรายการประกวดเพลงยูโรวิชั่น ซึ่งเป็นการจัดการแข่งขันครั้งแรกในฐานะเจ้าภาพของประเทศโปรตุเกส หลังจากที่ชนะเลิศการแข่งขันครั้งแรกเมื่อปีที่ผ่านมา (2017) ที่กรุงเคียฟ ประเทศยูเครน ด้วยเพลง "Amar Pelos Dois" ขับร้องโดย Salvador Sobral การแข่งขันจะจัดขึ้นที่ อัลทีส อารีนา ในกรุงลิสบอนของโปรตุเกส โดยมีรอบการแข่งขันสามรอบ แบ่งเป็นรอบรองชนะเลิศสองรอบ ในวันที่ 8 และ 10 พฤษภาคม และรอบชิงชนะเลิศในวันที่ 12 พฤษภาคม ในการถ่ายทอดสดการแข่งขันทั้งสามรอบ มีพิธีกรทั้งหมด 4 คน ได้แก่ Filomena Cautela, Sílvia Alberto, Daniela Ruah และ Catarina Furtado มีประเทศที่ส่งเพลงเข้าร่วมแข่งขันทั้งหมด 43 ประเทศ โดยที่รัสเซียได้กลับเข้าร่วมการแข่งขันอีกครั้ง หลังจากที่ถอนตัวไปเมื่อปีที่ผ่านมา และเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ปี 2011 ที่ไม่มีประเทศใด ถอนตัวหรือไม่มาร่วมการแข่งขัน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 2018 · ดูเพิ่มเติม »

การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค

แผนที่แสดงแผ่นเปลือกโลก แผ่นเปลือกโลก การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค (plate tectonics; มาจากภาษากรีก: τέκτων, "tektōn" แปลว่า "ผู้สร้าง") เป็นทฤษฎีเชิงธรณีวิทยาที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่ออธิบายถึงหลักฐานจากการสังเกตการเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกขนาดใหญ่ โดยทฤษฎีนี้ได้พัฒนาต่อยอดจากทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีปเดิมที่ถูกเสนอขึ้นมาระหว่าง พ.ศ. 2443-2493 ทฤษฎีธรณีแปรสัณฐานนี้ได้รับการยอมรับเป็นที่แพร่หลายหลังจากการเสนอแนวคิดที่เกี่ยวกับการกระจายของพื้นทะเลในคริสต์ทศวรรษที่ 1960 (ช่วงต้น พ.ศ. 2500) โครงสร้างส่วนนอกของโลกนั้นแบ่งตามคุณสมบัติของชั้นหินต่อคลื่นไหวสะเทือนได้สองชั้น ชั้นที่อยู่นอกสุดคือชั้นธรณีภาคชั้นดินแข็ง (lithosphere) อันประกอบด้วยเปลือกโลกและเนื้อโลก (mantle) ชั้นบนซึ่งมีอุณหภูมิต่ำและแข็งเกร็ง ชั้นล่างลงไปคือชั้นฐานธรณีภาคชั้นดินอ่อน (asthenosphere) ซึ่งมีสถานะเป็นของแข็งแต่มีความยืดหยุ่นค่อนข้างต่ำและขาดความแข็งแรง อีกทั้งยังสามารถเคลื่อนที่ได้คล้ายของเหลวเมื่อพิจารณาในช่วงระยะเวลาเชิงธรณีวิทยา ชั้นแมนเทิลที่อยู่ลึกลงไปภายใต้ชั้นดินอ่อนนั้นจะมีความแข็งมากขึ้นอีกครั้ง กระนั้นความแข็งดังกล่าวไม่ได้มาจากการเย็นลงของอุณหภูมิ แต่เนื่องมาจากความดันที่มีอยู่สูง ธรณีภาคแบ่งเป็นแผ่นเปลือกโลกหลายแผ่นประกอบกัน ในกรณีของโลกสามารถแบ่งเป็นแผ่นขนาดใหญ่ได้เจ็ดแผ่น และแผ่นขนาดเล็กอีกจำนวนมาก แผ่นเปลือกโลกเหล่านี้เคลื่อนที่สัมพันธ์กับแผ่นเปลือกโลกอื่นๆ ขอบของเปลือกโลกสามารถแบ่งได้เป็นสามประเภทตามลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกสัมพัทธ์ของแผ่นเปลือกโลกสองแผ่นนั้น คือ ขอบเปลือกโลกที่มีการชนกันหรือบรรจบกัน, ขอบเปลือกโลกที่มีการแยกตัวออกจากกันหรือกระจายจากกัน และขอบเขตที่มีการแปลงสภาพ ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาต่างๆ ได้แก่แผ่นดินไหว, ภูเขาไฟปะทุ, การก่อตัวของภูเขา และการเกิดขึ้นของเหวสมุทรนั้นจะเกิดขึ้นพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของขอบเขตแผ่นดิน การเคลื่อนตัวด้านข้างของแผ่นดินนั้นมีอัตราเร็วอยู่ระหว่าง 0.66 ถึง 8.50 เซนติเมตรต่อปี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค · ดูเพิ่มเติม »

การเกิดโดยไม่ผสมพันธุ์

C. tigris'' (ขวา) การเจริญเป็นตัวอ่อนโดยไม่ต้องผสมพันธุ์ (Parthenogenesis) เป็นการสืบพันธุ์ที่พบในพวกไรน้ำ พวกผึ้งหรือตัวต่อ เป็นต้น เป็นการกระบวนการสืบพันธุ์โดยเกิดการเจริญเติบโตของไข่ (Egg) หรือเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียจะเจริญไปเป็นตัวอ่อน หรือเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ โดยไม่ได้รับการผสมพันธุ์หรือเกิดการปฏิสนธิกับเซลล์สืบพันธุ์ของเพศผู้ คำนี้มาจากภาษากรีก παρθένος, parthenos, หมายถึง "พรหมจรรย์", และ γένεσις, genesis, หมายถึง "เกิด".

ใหม่!!: ภาษากรีกและการเกิดโดยไม่ผสมพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

การเห็นด้วยตาเดียว

การเห็นด้วยตาเดียว (Monocular vision) เป็นการมองเห็นที่ใช้ตาแต่ละข้างต่างคนต่างมอง การใช้ตาเช่นนี้ เทียบกับการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตา ขอบเขตภาพจะใหญ่ยิ่งขึ้น ในขณะที่การรับรู้ความใกล้ไกลจะจำกัด ตาของสัตว์ที่เห็นด้วยตาเดียวปกติจะอยู่ที่ด้านข้างของศีรษะ ทำให้สามารถเห็นภาพจากข้างทั้งสองพร้อม ๆ กัน คำภาษาอังกฤษว่า monocular มาจากคำภาษากรีกว่า mono ซึ่งแปลว่า หนึ่ง และคำภาษาละตินว่า oculus ซึ่งแปลว่า ต.

ใหม่!!: ภาษากรีกและการเห็นด้วยตาเดียว · ดูเพิ่มเติม »

กาลานุกรมต้นไม้

การเจาะตัวอย่างสำหรับการศึกษากาลานุกรมต้นไม้และการนับวงเติบโต กาลานุกรมต้นไม้ (dendrochronology มาจากภาษากรีกว่า δένδρον, dendron, "ต้นไม้"; χρόνος, khronos, "เวลา"; และ -λογία, -logia) หรือ tree-ring dating เป็นวิธีการวัดหาอายุทางวิทยาศาสตร์โดยการวิเคราะห์รูปแบบวงเติบโตของต้นไม้ เทคนิคนี้ได้รับการพัฒนาขึ้นมาครั้งแรกระหว่างช่วงครึ่งแรกของศตวรรษที่ 20 จากความคิดแรกเริ่มของ A. E. Douglass นักดาราศาสตร์ผู้ก่อตั้งห้องปฏิบัติการวิจัยวงเติบโตของต้นไม้ที่มหาวิทยาลัยแอริโซนา Douglass ได้ค้นหาความเข้าใจในรอบของจุดดับบนดวงอาทิตย์และให้เหตุผลเอาไว้ได้อย่างถูกต้องว่าการเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมของดวงอาทิตย์จะมีผลต่อรูปแบบภูมิอากาศบนโลกซึ่งได้ถูกบันทึกไว้ในรูปแบบของวงเติบโตของต้นไม้ (กล่าวคือ จุดดับบนดวงอาทิตย์ → ภูมิอากาศ → วงเติบโตของต้นไม้) เทคนิคทางกาลานุกรมต้นไม้นี้สามารถหาอายุของวงเติบโตต้นไม้จากไม้หลายชนิดเป็นปีปฏิทินได้อย่างแม่นยำของปีที่วงเติบโตเกิดขึ้น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกาลานุกรมต้นไม้ · ดูเพิ่มเติม »

กาลิเลโอ กาลิเลอี

กาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei; 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1564 - 8 มกราคม ค.ศ. 1642) เป็นชาวทัสกันหรือชาวอิตาลี ซึ่งมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ผลงานของกาลิเลโอมีมากมาย งานที่โดดเด่นเช่นการพัฒนาเทคนิคของกล้องโทรทรรศน์และผลสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ที่สำคัญจากกล้องโทรทรรศน์ที่พัฒนามากขึ้น งานของเขาช่วยสนับสนุนแนวคิดของโคเปอร์นิคัสอย่างชัดเจนที่สุด กาลิเลโอได้รับขนานนามว่าเป็น "บิดาแห่งดาราศาสตร์สมัยใหม่" "บิดาแห่งฟิสิกส์สมัยใหม่"Weidhorn, Manfred (2005).

ใหม่!!: ภาษากรีกและกาลิเลโอ กาลิเลอี · ดูเพิ่มเติม »

กิจการของอัครทูต

กิจการของอัครทูต (Acts of the Apostles) เป็นเอกสารฉบับที่ 5 ของคัมภีร์ไบเบิล ภาคพันธสัญญาใหม่ เรียกย่อว่า กิจการ (Acts) ชื่อมาจากภาษากรีก “Praxeis Apostolon” ใช้เป็นครั้งแรกโดยนักบุญอิเรเนียส (Irenaeus) เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 2 อาจมีนัยความหมายว่า “กิจการของพระจิต” หรือเป็น “กิจการของพระเยซู” ก็เป็นได้ เพราะ กิจการ เขียนขึ้นเพื่อบันทึกแนวทางปฏิบัติที่พระเยซูทรงสอน และทรงมีบทบาทหลัก แม้ว่าผู้เขียนจะไม่ได้บ่งบอกชื่อของตนเองไว้ แต่หลักฐานทั้งจากภายนอกและเนื้อหาในพระธรรมเอง เชื่อได้ว่าผู้เขียนน่าจะเป็น ลูกาผู้ประกาศข่าวประเสริฐ อย่างไรก็ตาม ผู้เชี่ยวชาญยังสรุปยืนยันไม่ได้ แต่มั่นใจว่าผู้ที่เขียนพระธรรม กิจการ และ พระวรสารนักบุญลูกา เป็นบุคคลเดียวกัน สังเกตได้จากบทเริ่มต้นของพระธรรมเล่มนี้ ซึ่งเป็นจดหมายเขียนถึงเธโอฟิลัส โดยอ้างถึงหนังสือเรื่องแรกที่ได้เขียนให้อ่านไปแล้วนั้น ตรงกันกับบทเริ่มต้นของพระวรสารนักบุญลูกา ดังนั้น พระธรรม กิจการ จึงเขียนขึ้นทีหลัง ซึ่งน่าจะอยู่ในช่วงปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและกิจการของอัครทูต · ดูเพิ่มเติม »

กิ้งก่าคาเมเลี่ยนแจ็คสัน

กิ้งก่าคาเมเลี่ยนแจ็คสัน หรือ กิ้งก่าคาเมเลี่ยนสามเขา (Jackson's chameleon, Three-horned chameleon) เป็นกิ้งก่าคาเมเลี่ยนชนิดหนึ่ง มีความยาวลำตัวจรดหางประมาณ 10 นิ้ว มีลักษณะเด่น คือ มีสันแข็งคล้ายเขา 3 เขาอยู่บริเวณด้านหน้าของส่วนหัว ยกเว้นในเพศเมียไม่มีเขา หรือมีแต่เฉพาะส่วนจมูกเท่านั้น ผิวหนังมีหยาบและขรุขระ และสีลำตัวมักเปลี่ยนได้ตามสภาพแวดล้อม ตามอุณหภูมิหรืออารมณ์ บางครั้งเพื่อพรางตัวจากผู้คุกคามหรือพรางตัวเพื่อเป็นผู้ล่าเสียเอง กิ้งก่าคาเมเลี่ยนแจ็คสัน มีถิ่นกระจายพันธุ์แถบเคนยา และแทนซาเนีย ในแอฟริกาตะวันออก สามารถพบได้ในระดับที่สูงมากกว่า 3,000 เมตร นับเป็นกิ้งก่าคาเมเลี่ยนที่พบได้ไม่ง่ายนักในธรรมชาติ และถูกนำเข้าไปในฮาวาย ในช่วงทศวรรษที่ 70 เพื่อเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง ซึ่งสามารถปรับตัวให้กับสภาพแวดล้อมสามารถแพร่ขยายพันธุ์เอง ได้รับการตั้งชื่อเพื่อเป็นการเกียรติแก่ เฟดเดอริก จอห์น แจ็คสัน นักปักษีวิทยาและนักสำรวจธรรมชาติชาวอังกฤษ โดย จอร์จ อัลเบิร์ต บุนเลเยอร์ นักสัตววิทยาชาวเบลเยี่ยม ในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและกิ้งก่าคาเมเลี่ยนแจ็คสัน · ดูเพิ่มเติม »

กุมารเวชศาสตร์

การตรวจร่างกายเด็ก กุมารเวชศาสตร์ เป็นสาขาวิชาหนึ่งของแพทยศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลทางการแพทย์แก่ทารก, เด็ก, และวัยรุ่น กล่าวคือตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุประมาณ 14-18 ปีขึ้นกับเกณฑ์ของแต่ละสถานที่และประเทศ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารเวชศาสตร์จะเรียกว่า กุมารแพทย์ (pediatrician) ซึ่งต้องสำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต และแพทย์ประจำบ้านด้านกุมารเวชศาสตร์ แล้วได้ผ่านการสอบเพื่อวุฒิบัตรและหนังสืออนุมัติเป็นผู้มีความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขากุมารเวชศาสตร์ ซึ่งในประเทศไทยออกให้โดยแพทยสภา คำว่า pediatrics มาจากรากศัพท์ในภาษากรีก παῖdh pais แปลว่าเด็ก และ ἰατρός iatros แปลว่าแพทย์หรือผู้รักษา เมื่อรวมกันจึงแปลว่า ผู้ที่รักษาเด็ก สำหรับในภาษาไทย "กุมาร" หมายถึง เด็กเล็ก ซึ่งมาจากภาษาบาลี หมายถึง "เด็กผู้ชาย" หรือ "บุตรชาย".

ใหม่!!: ภาษากรีกและกุมารเวชศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

กูเกิล แปลภาษา

กูเกิลแปลภาษา (Google Translate) เป็นบริการแปลภาษาหลายภาษาด้วยเครื่องจักรโดยไม่คิดค่าบริการของบริษัทกูเกิล กูเกิลแปลภาษามีลักษณะไม่เหมือนกับบริการแปลอื่น ๆ เช่น Babel Fish, AOL, ยาฮู! ที่ใช้ SYSTRAN ขณะที่กูเกิลใช้ซอฟต์แวร์การแปลของตนเอง แต่อย่างไรก็ตามคู่แข่งทางการค้าเจ้าใหญ่อย่างบริษัท ไมโครซอฟท์ ได้มีผลิตภัณฑ์ที่ใกล้เคียงกันมากมาลงแข่งขันด้วย ซึ่งมีชื่อว่า Bing Translator.

ใหม่!!: ภาษากรีกและกูเกิล แปลภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ก็อดเซฟเดอะควีน

ลงก็อดเซฟเดอะควีน หรือ ก็อดเซฟเดอะคิง เป็นเพลงปลุกใจ เพลงชาติ และเพลงสรรเสริญพระบารมีของสหราชอาณาจักร เพลงนี้ใช้เป็นหนึ่งในสองเพลงชาติของนิวซีแลนด์ เป็นเพลงสรรเสริญพระบารมีของประเทศแคนาดา ออสเตรเลีย และประเทศอื่น ๆ ในเครือจักรภพ ทั้งยังใช้เป็นเพลงคำนับสำหรับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์อังกฤษด้วย หากประมุขแห่งรัฐเป็นพระมหากษัตริย์ จะใช้ชื่อเพลงว่า ก็อดเซฟเดอะคิง แต่ถ้าพระราชินีทรงเป็นประมุขก็จะใช้ชื่อเพลงว่า ก็อดเซฟเดอะควีน ในภาษาไทยไม่นิยมแปลชื่อเพลงนี้ออกมาโดยตรง แต่มักเรียกทับศัพท์ว่า ก็อดเซฟเดอะคิง หรือ ก็อดเซฟเดอะควีน หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เพลงสรรเสริญพระบารมีอังกฤษ ตามลักษณะของเพลง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและก็อดเซฟเดอะควีน · ดูเพิ่มเติม »

ฐานธรณีภาค

นธรณีภาค (Asthenosphere; มีรากศัพท์จากภาษากรีก "asthenēs" แปลว่า "ไม่แข็งแรง" และ "sphere" แปลว่า "โลก") เป็นส่วนที่มีลักษณะยืดหยุ่นตั้งอยู่ในชั้นหินหนืดตอนบนของโลกและตั้งอยู่ใต้ชั้นธรณีภาค ฐานธรณีภาคมีขอบเขตที่ระดับความลึกระหว่าง 100 – 200 กิโลเมตรจากชั้นพื้นผิว แต่สามารถขยายตัวไปจนถึงระดับความลึก 400 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและฐานธรณีภาค · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ลามก

ในส่วนทางเข้าของร้านเช่า มักจะมีป้ายเตือนไม่ให้ผู้มีอายุต่ำกว่า 18 ปีเข้า ภาพยนตร์ลามก คือ ภาพยนตร์ที่มีเจตนาปลุกเร้าอารมณ์ทางเพศให้แก่ผู้ชม ซึ่งมักจะแสดงภาพโป๊เปลือยหรือการร่วมเพศ โดยสามารถแบ่งอย่างกว้างๆได้สองอย่างคือ ซอฟต์คอร์ กล่าวถึงภาพยนตร์ที่ไม่มีการร่วมเพศ และฮาร์ดคอร์ กล่าวถึงภาพยนตร์ที่มีการร่วมเพศ ชื่อของภาพยนตร์ลามกมีหลากหลายเช่นในภาษาปากเรียก หนังโป๊ หรือเรียก ภาพยนตร์เอวี (AV - adult video) หรือภาพยนตร์ผู้ใหญ่ ภาพยนตร์ลามกในช่วงแรกมักจะอยู่ในรูปแบบของวิดีโอที่เปิดชมกันในบ้าน และเฉพาะที่เช่นโรงภาพยนตร์ที่ฉายโดยเฉพาะ และต่อมาได้มีการเปลี่ยนรูปแบบลงในดีวีดีและบลูเรย์ รวมถึงเผยแพร่ในอินเทอร์เน็ต ภาพยนตร์ที่มีการเผยให้เห็นอวัยวะเพศหรือแสดงการร่วมเพศนั้น แม้ว่าจะ และ แต่ยังมีการลักลอบผลิตและจำหน่ายหรือแจกจ่ายอยู.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาพยนตร์ลามก · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะธำรงดุล

วะธำรงดุล (homeostasis) หรือ การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต คือคุณสมบัติของระบบเปิดโดยเฉพาะในสิ่งมีชีวิต ที่ทำการควบคุมสภาพภายในตนเองเพื่อรักษาสถานะเสถียรภาพสภาพอย่างคงที่ โดยการปรับสมดุลพลวัตหลายอย่างซึ่งมีกลไกการควบคุมที่มีความสัมพันธ์กันมากมาย แนวคิดนี้ถูกพูดถึงครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาวะธำรงดุล · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะไม่รู้ใบหน้า

ตรับรู้หน้าในรอยนูนรูปกระสวย ซึ่งเป็นเขตในสมองที่เสียหายให้ในภาวะบอดใบหน้า ภาวะไม่รู้ใบหน้า หรือ ภาวะเสียการระลึกรู้ใบหน้า (prosopagnosia, ภาษากรีก prosopon.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาวะไม่รู้ใบหน้า · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบัลติ

ษาบัลติ เป็นภาษาที่ใช้พูดในบัลติสถานทางเหนือของปากีสถานซึ่งเมื่อก่อน..

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาบัลติ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ

international auxiliary language (มักย่อในภาษาอังกฤษเป็น IAL หรือ auxlang หรืออาจเรียกว่า interlanguage) คือภาษาที่ช่วยในการสื่อสารระหว่างคนจากหลากหลายประเทศ ที่ไม่ได้ใช่ภาษาแม่ร่วมกัน โดยมีหลายภาษาที่ถือว่าเข้าข่าย ในอดีตเช่น ภาษากรีก ภาษาละติน และในปัจจุบันเช่น ภาษาจีนมาตรฐาน ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย ภาษาสเปน ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ เป็นต้น แต่เนื่องจากภาษาเหล่านี้เกี่ยวข้องกับการเอาชนะทางวัฒนธรรม การเมือง และเศรษฐกิจของประเทศเจ้าของภาษา บางคนจึงต้องการให้มีภาษาประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นมาเป็นพิเศษเป็นทางออกของปัญหานี้ โดยภาษาประดิษฐ์ที่มักถูกกล่าวถึงคือ ภาษาเอสเปรันโต ภาษาอินเทอร์ลิงกวา และภาษาอิดอ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟรีเจีย

รึกภาษาฟริเจียในเมืองมิดัส ภาษาฟริเจีย เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียน ใช้พูดโดยชาวฟริเจีย ซึ่งอาจจะอพยพจากเทรซเข้าสู่เอเชียน้อยในช่วง 657 ปีก่อนพุทธศักราช ภาษาฟริเจียแบ่งเป็นสองกลุ่มคือ ภาษายุคเก่า (257 ปีก่อนพุทธศักราช) และภาษายุคใหม่ เริ่มใช้เมื่อราว..

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาฟรีเจีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟิลิสไตน์

ษาฟิลิสไตน์ เป็นภาษาที่เคยใช้พูดในฟิลิสไตน์ ซึ่งอยู่ที่ ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของคานาอัน สำเนียงหนึ่งของภาษานี้ มีอ้างถึงในไบเบิลว่า “Ashdodit” มาจากชื่อเมืองแอชดอด (Ashdod) ข้อมูลที่แสดงความเกี่ยวข้อง กับภาษาอื่นมีน้อย บางทฤษฎีกล่าวว่าภาษานี้ พัฒนามาจากสำเนียงหนึ่ง ในภาษาคานาอันไนต์ หรืออาจเกี่ยวข้องกับภาษากรีกสำเนียงไมซีเนีย ไม่มีข้อมูลเพียงพอสำหรับการเชื่อมโยงภาษาในฟิลิสไตน์กับภาษาอื่นๆ มีความสัมพันธ์ที่เป็นไปได้กับตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน โดยเฉพาะภาษากรีกสำเนียงไมซีเนีย ซึ่งสนับสนุนทฤษฎีที่ว่าผู้อพยพเข้ามาในฟิลิสไตน์เป็นกลุ่มชนที่อาศัยตามชายทะเลมาก่อน หลักฐานจากจารึกสั้นๆในยุคเหล็ก แสดงให้เห็นว่าในบริเวณนั้นเมื่ออยู่ในยุคเหล็ก ใช้ภาษาและอักษรที่เป็นสาขาหนึ่งของภาษาคานาอันไนต์ ต่อมาจึงถูกแทนที่ด้วยภาษาทางการค้าที่แพร่มาจากบริเวณอื่นๆ จนกระทั่งสิ้นสุดยุคเหล็กเมื่อ 257 - 157 ปีก่อนพุทธศักราช ภาษาเขียนที่เป็นภาษาแรกในฟิลิสไตน์คือสำเนียงของภาษาคานาอันไนต์ที่เขียนด้วยอักษรอราเมอิกตะวันตกหรือที่เรียกว่าอักษรฟิลิสไตน์ใหม่ จนราว..

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาฟิลิสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟินิเชีย

ษาฟินิเชีย เป็นภาษาที่มีจุดกำเนิดในชายฝั่งที่เรียก "Pūt" ในภาษาอียิปต์โบราณ "คานาอัน" ในภาษาฟินิเชีย ภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก และเรียก "ฟินิเชีย"ในภาษากรีกและภาษาละติน เป็นภาษากลุ่มเซมิติกสาขาคานาอัน ใกล้เคียงกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก บริเวณดังกล่าวปัจจุบันอยู่ในเลบานอนและซีเรีย และอิสราเอลทางตอนเหนือ เป็นที่รู้จักจากจารึกต่างๆในไบบลอสและหนังสือที่เขียนด้วยภาษาต่างๆ จารึกภาษาฟินิเชียเก่าสุดพบในไบบลอส อายุราว 457 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งพบทั้งใน เลบานอน ซีเรีย อิสราเอล ไซปรัส เกาะซิซิลี ตูนีเซีย โมร็อกโก แอลจีเรีย มอลตา และที่อื่นๆในคาบสมุทรไอบีเรีย การถอดความภาษาฟินิเชียใช้ความรู้ภาษาฮีบรูเป็นพื้นฐาน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาฟินิเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากรีกคอยนี

ษากรีกคอยนี หรือ ภาษากรีกคอยเน (Koine Greek,, และในชื่อเรียกต่างๆกัน ได้แก่ สำเนียงอเล็กซานเดรีย, แอตติกพื้นบ้าน, ภาษาเฮลเลนิก หรือ ภาษากรีกไบเบิ้ล (โดยเฉพาะพระคริสต์ธรรมใหม่) เป็นรูปแบบของภาษากรีกมาตรฐาน หรือภาษากลาง (ทางวิชาการเรียกว่า ภาษาคอยเน่ หรือ koine language) ที่ใช้ทั้งในการพูดและเขียน ทั่วทั้งบริเวณเมดิเตอเรเนียน และบางส่วนของตะวันออกกลาง ในสมัยเฮลเลนิสติก และสมัยโรมันโบราณ จนถึงช่วงต้นของสมัยไบแซนไทน์ หรือช่วงปลายสมัยโบราณ (late antiquity) ภาษากรีกคอยนี เป็นวิวัฒนาการมาจากภาษากรีกโบราณ โดยเริ่มจากการแพร่กระจายของภาษากรีก ในสมัยของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ช่วงศตวรรษที่ 4 ก่อนค.ศ. ภาษากรีกคอยนีมีพื้นฐานหลักๆ มาจากภาษากรีกสำเนียงแอตติก และภาษากรีกไอโอนิก ซึ่งเป็นภาษาทางการศึกษาและวรรณคดีในโลกของกรีซโบราณ คำว่า คอยนี หรือ คอยเน่ (Koine) มาจากคำกรีกว่า ἡ κοινὴ διάλεκτος แปลว่า ภาษาสำเนียงกลาง โดยคำกรีก คอยแน (κοινή) หมายถึง "ที่ใช้ร่วมกัน" ในประเทศกรีซเรียกภาษานี้ว่า "ภาษาภูมิภาคเฮลเลนิสติก" (Ελληνιστική Κοινή) เมื่อภาษากรีกคอยนี กลายมาเป็นภาษาที่ใช้ในวงการวรรณกรรม เมื่อราวศตวรรษที่ 1 ก่อนค.ศ. จึงเกิดการแยกภาษาคอยนีที่เป็นภาษาพูด และที่เป็นภาษาเขียนออกจากกัน โดยถือว่าภาษาเขียนของ กรีกคอยนี เป็นภาษาวรรณกรรมหลังยุคคลาสสิก ส่วนภาษาพูดถือว่าเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ไมใช่ภาษาหนังสือ ฯ บางท่านก็เรียกภาษากรีกคอยนีว่าเป็น "ภาษาสำนวนอเล็กซานเดรีย" (Ἀλεξανδρέων διάλεκτος) ซึ่งถือเป็นสำเนียงสากลของภาษากรีกในสมัยนั้น ภาษากรีกคอยนีมีบทบาทในทางวรรณกรรมมาก โดยเป็นภาษาสื่อสารของยุคหลังคลาสสิก ที่นักวิชาการ และนักเขียนใช้อย่างแพร่หลาย รวมถึง พลูทาร์ก และโพลีบิอัส นอกจากนี้ กรีกคอยนียังเป็นภาษาของพระคริสต์ธรรมใหม่ และของเซปตัวจินท์ (Septuagint) หรือคัมภีร์พระคริสต์ธรรมเก่าภาษากรีกฉบับแปลศตวรรษที่ 3 นอกจากนี้งานเขียนทางเทววิทยาของเหล่าปิตาจารย์แห่งคริสตจักรในช่วงแรกๆ ก็เป็นภาษากรีกคอยนีเกือบทั้งหมด ปัจจุบันภาษานี้ยังใช้อยู่ในฐานะภาษาทางพิธีกรรมของศาสนจักรกรีกออร์โธด็อกซ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษากรีกคอยนี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาลายาลัม

ษามาลายาลัมเป็นภาษาราชการของรัฐเกราลาทางภาคใต้ของอินเดีย มีผู้พูดประมาณ 36 ล้านคน และมีผู้พูดในเกาะลักษทวีปด้วย จัดอยู่ในภาษาตระกูลดราวิเดียน ใกล้เคียงกับภาษาทมิฬ เขียนด้วยอักษรมาลายาลัม ภาษามาลายาลัมจัดอยู่ในกลุ่มดราวิเดียนใต้ คาดว่ามีกำเนิดร่วมกับภาษาทมิฬเมื่อราว..

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษามาลายาลัม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายิดดิช

ษายิดดิช (ภาษายิดดิช: ייִדיש, Yiddish,.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษายิดดิช · ดูเพิ่มเติม »

ภาษารัสเซีย

ษารัสเซีย (русский язык) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกที่ใช้เป็นภาษาพูดอย่างกว้างขวางที่สุด ภาษารัสเซียจัดอยู่ในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับภาษาสันสกฤต ภาษากรีก และภาษาละติน รวมไปถึงภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก โรมานซ์ และเคลติก (หรือเซลติก) ยุคใหม่ ตัวอย่างของภาษาทั้งสามกลุ่มนี้ได้แก่ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาไอริชตามลำดับ ส่วนภาษาเขียนนั้นมีหลักฐานยืนยันปรากฏอยู่เริ่มจากคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในปัจจุบัน ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีการใช้นอกประเทศรัสเซียด้วย มีเอกสารทางวิทยาศาสตร์จำนวนหนึ่งตีพิมพ์เป็นภาษารัสเซีย รวมทั้งความรู้ในระดับมหาวิทยาลัยจำนวนหนึ่ง ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางการเมืองในยุคที่สหภาพโซเวียตเรืองอำนาจและยังเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งของสหประชาชาต.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษารัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาดิโน

ษาลาดิโน (Ladino) เป็นภาษากลุ่มโรมานซ์ ได้รับอิทธิพลจากภาษาสเปนมาก โดยเฉพาะภาษาสเปนโบราณ (คัสติลเลียน) ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาลาดิโนกับภาษาสเปน เทียบได้กับภาษายิดดิชกับภาษาเยอรมัน ผู้พูดส่วนใหญ่เป็นชาวยิวเซฟาร์ดิก ตัวอย่างเช่น ชาวยิวในเทสซาโลนิกี อิสตันบูล และอิสมีร์ โครงสร้างของภาษาใกล้เคียงกับภาษาสเปน โดยมีบางส่วนมาจากภาษาฮีบรู ภาษาโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศส ภาษาตุรกี ภาษากรีก และภาษาสลาฟใต้ ขึ้นกับว่าผู้พูดอาศัยอยู่ที่ใด ภาษาลาดิโนมีเสียงที่มาจากภาษาสเปนโบราณที่กลายเป็นเสียงจากเพดานอ่อน /x/ ในภาษาสเปนสมัยใหม่ ภาษาลาดิโนมีหน่วยเสียง /x/ ที่ได้จากภาษาฮีบรู ในบางบริเวณมีการสร้างคำที่มีลักษณะเฉพาะ เช่น muestro จาก nuestro (ของเรา) โครงสร้างทางไวยากรณ์ใกล้เคียงกับภาษาสเปน โดยมีการเพิ่มส่วนจากภาษาฮีบรู ภาษาโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศส ภาษาตุรกี ภาษากรีก และภาษากลุ่มสลาฟใต้ ขึ้นกับบริเวณที่ใช้พูด ภาษาลาดิโนเป็นภาษาที่ใกล้ตายเนื่องจากผู้พูดเป็นภาษาแม่มีอายุมากและไม่ถ่ายทอดภาษาให้รุ่นต่อไป ชุมชนชาวยิวเซฟาร์ดิกในประเทศต่างๆมีความพยายามฟื้นฟูภาษานี้โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับดนตรี สาเหตุที่ทำให้เป็นภาษาที่ใกล้ตายอีกอย่างหนึ่งคือการกลมกลืนไปกับภาษาสเปนสมัยใหม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาลาดิโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาซ

ษาลาซ (lazuri, ภาษาลาซ:ლაზური or lazuri nena, ლაზური ნენა; ภาษาจอร์เจีย: ლაზური, lazuri, or ჭანური, chanuri) เป็นภาษาที่พูดโดยชาวลาซในบริเวณชายฝั่งทางตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลดำ มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 50,000 - 500,000 คนในตุรกี โดยเฉพาะในบริเวณรอยต่อกับจอร์เจีย และราว 30,000 คน ในจอร์เจี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาลาซ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลิเดีย

ษาลิเดีย เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียนเคยใช้พูดในรัฐลิเดียทางอานาโตเลียตะวันตก (ตุรกีปัจจุบัน) หลักฐานเกี่ยวกับภาษาลิเดียที่พบได้แก่ จารึกบนเหรียญทองแดงอายุราว 157 ปีก่อนพุทธศักราช และจารึกอายุราว..

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาลิเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสันสกฤต

ษาสันสกฤต เป็นภาษาที่รับอิทธิพลมาจากอินเดียและส่งผลมาถึงอาณาจักรในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (संस्कृता वाक्, สํสฺกฺฤตา วากฺ; Sanskrit) เป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน (หรืออินเดีย-ยุโรป) สาขาย่อยอินโด-อิเรเนียน (อินเดีย-อิหร่าน) และอยู่ในกลุ่มย่อยอินโด-อารยัน (อินเดีย-อารยะ) โดยมีระดับวิวัฒนาการในระดับใกล้เคียงกับภาษาละตินและภาษากรีก เป็นต้น โดยทั่วไปถือว่าเป็นภาษาที่ตายแล้ว ทว่ายังมีผู้ใช้ภาษาสันสกฤตอยู่บ้างในแวดวงที่จำกัดในประเทศอินเดีย เช่น หมู่บ้านมัททูร์ ในรัฐกรณาฏกะ โดยมีการคิดคำศัพท์ใหม่ๆ ขึ้นมาด้วย ในศาสนาฮินดูเชื่อว่า ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาสื่อที่เทพเจ้าใช้สื่อสารกับมวลมนุษย์ เพื่อถ่ายทอดความรู้แจ้งและปัญญาญาณแก่เหล่าฤๅษีทั้งหลายแต่ครั้งดึกดำบรร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาสันสกฤต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอราเมอิกพระเยซู

ษาอราเมอิกพระเยซู (Aramaic of Jesus)เป็นภาษาอราเมอิกที่นักวิชาการเชื่อว่าพระเยซูเคยใช้พูด ควบคู่ไปกับภาษาฮีบรูและภาษากรีก เมืองนาซาเร็ธและคาร์เปอร์เนียมที่พระเยซูเคยอยู่ เป็นชุมชนที่เคยพูดภาษาอราเมอิก ส่วนภาษากรีกเป็นภาษาที่ใช้พูดอย่างกว้างขวางในจักรวรรดิโรมันตะวันออก เป็นที่ทราบกันดีว่าพระเยซูทรงรู้ภาษาฮีบรูและอภิปรายเกี่ยวกับไบเบิลภาษาฮีบรูได้ ภาษาอราเมอิกเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกที่ใกล้เคียงกับภาษาฮีบรูที่เป็นภาษาในเขตเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกในช่วงเวลาระหว่างจักรวรรดิอัสซีเรียใหม่ บาบิโลเนียใหม่ และอาแคมินิดรวมทั้งช่วงเวลาหลังจากนั้น (179 ปีก่อนพุทธศักราช - พ.ศ. 213) หลังจากการรุกรานของกรีก..

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาอราเมอิกพระเยซู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาร์มีเนีย

ภาษาอาร์มีเนีย (Armenian language) เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ที่พูดในเทือกเขาคอเคซัส (โดยเฉพาะในประเทศอาร์มีเนีย) และใช้โดยชุมชนชาวอาร์มีเนียในต่างประเทศ เป็นแขนงย่อยของตัวเองในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน โดยที่ไม่มีภาษาที่ใกล้เคียงที่ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ในปัจจุบัน มีหลายคนเชื่อว่าภาษาอาร์มีเนียเป็นภาษาที่สัมพันธ์ใกล้เคียงกับภาษาฟรีเจียน (Phrygian) ที่สูญพันธุ์ จากภาษาที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน ภาษากรีกน่าจะมีความสัมพันธ์ที่ใกล้เคียงทีสุดกับภาษาอาร์มีเนีย ภาษาอาร์มีเนียมีคำยืมจากภาษาเปอร์เซีย ซึ่งเป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนด้วย อาร์มเนเอีย หมวดหมู่:ประเทศอาร์มีเนีย.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาอาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับมาโรไนต์

ษาอาหรับมาโรไนต์ในไซปรัส (Cypriot Maronite Arabic) หรือภาษาอาหรับไซปรัส ภาษามาโรไนต์ ภาษาซันนา ใช้พูดในมาโรไนต์ในไซปรัส ผู้พุโส่วนใหญ่มีอายุมากกว่า 30 ปี ผู้พูดภาษานี้อพยพมาจากเลบานอนเมื่อ 700 ปีที่ผ่านมา ได้รับอิทธิพลจากภาษากรีกทั้งทางด้านสัทวิทยาและคำศัพท.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาอาหรับมาโรไนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับเลบานอน

ษาอาหรับเลบานอน (Lebanese Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในเลบานอนและเป็นสำเนียงย่อยของภาษาอาหรับเลอวานต์ ชาวมาโรไนต์ในบริเวณนั้นถือว่าภาษาอาหรับเลบานอนเป็นภาษาเอกเท.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาอาหรับเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอินโดนีเซีย

ษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia; Indonesian language) เป็นภาษาทางการของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นภาษาที่น่าสังเกตในหลายด้าน เริ่มต้นด้วยการที่ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่พูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง และส่วนน้อยที่พูดเป็นภาษาแม่ในบางนัย ภาษานี้เป็นภาษาที่ค่อนข้างใหม่ เนื่องจากเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2488 และเป็นภาษาที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากเกิดคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น ๆ อยู่ตลอด ชื่อท้องถิ่นของภาษาอินโดนีเซียคือ บาฮาซาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia) และชื่อนี้ก็นำมาใช้ในภาษาอังกฤษในบางโอก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮิตไทต์

ษาฮิตไทต์ (Hittite language) จัดเป็นภาษาที่สำคัญที่สุดภาษาหนึ่งในบรรดาภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนหรืออินเดีย-ยุโรป ในอานาโตเลีย อยู่ในกลุ่มย่อยภาษาอินโด-ฮิตไทต์ จัดเป็นภาษาที่ตายแล้ว มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาลูเวีย ภาษาลิเดีย ภาษาไลเซีย และภาษาปาลา เคยใช้พูดโดยชาวฮิตไทต์ กลุ่มชนที่สร้างจักรวรรดิฮิตไทต์มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองฮัตตูซาสในอานาโตเลียภาคกลางตอนเหนือ (ตุรกีปัจจุบัน) ภาษานี้ใช้พูดในช่วง 1,057 – 557 ปีก่อนพุทธศักราช มีหลักฐานแสดงว่าภาษาฮิตไทต์และภาษาที่เกี่ยวข้องได้ใช้พูดต่อมาอีก 200 -300 ปีหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิฮิตไทต์ ภาษาฮิตไทต์จัดเป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียนรุ่นแรกๆ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่จัดให้เป็นภาษาที่สืบทอดมาจากภาษาอินโด-ยุโรเปียนดั้งเดิมและเป็นพี่น้องกับภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียนในสมัยโบราณ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาฮิตไทต์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรูมิซนะห์

ษาฮีบรูมิซนะห์ (Mishnaic Hebrew language) หรือภาษาฮีบรูแรบไบรุ่นแรก (Early Rabbinic Hebrew language) เป็นลูกหลานโดยตรงของภาษาฮีบรูไบเบิลภาษาหนึ่ง ที่รักษาไว้โดยชาวกรุงในบาบิโลน และได้รับการบันทึกโดยชาวยิวที่เขียนมิซนะห์ สำเนียงนี้ไม่ได้ถูกใช้โดยชาวซามาริทันที่รักษาสำเนียงของตนในรูปภาษาฮีบรูซามาริทัน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาฮีบรูมิซนะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรูไบเบิล

ษาฮีบรูไบเบิล (Biblical Hebrew)หรือภาษาฮีบรูคลาสสิก (Classical Hebrew) เป็นรูปแบบโบราณของภาษาฮีบรูที่ใช้เขียนคัมภีร์ไบเบิลและจารึกในอิสราเอล เชื่อว่าเป็นรูปแบบที่เคยใช้พูดในอิสราเอลสมัยโบราณ ไม่มีการใช้เป็นภาษาพูดในปัจจุบัน แต่ยังมีการศึกษาในฐานะภาษาทางศาสนาของชาวยิว ทฤษฎีของศาสนาคริสต์ นักภาษาศาสตร์และนักโบราณคดีของอิสราเอลเพื่อให้เข้าใจไบเบิลภาษาฮีบรูและปรัชญาของชาวเซมิติกมากขึ้น มีการสอนในโรงเรียนในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรูไบเบิลสามารถอ่านได้บ้างโดยผู้ที่เข้าใจภาษาฮีบรูสมัยใหม่ ซึ่งมีความแตกต่างกันบ้างในด้านคำศัพท์ ไวยากรณ์ และการออกเสียง แม้ว่ากฎของไวยากรณ์ของภาษาฮีบรูไบเบิลและภาษาฮีบรูสมัยใหม่มักจะต่างกัน แต่ภาษาฮีบรูไบเบิลบางครั้งมีใช้ในวรรณคดีภาษาฮีบรูสมัยใหม่ หน่วยในภาษาฮีบรูไบเบิลมักจะใช้ในบทสนทนาและสื่อในอิสราเอล.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาของชาวยิว

งานเขียนอายุราวพุทธศตวรรษที่ 21 ของ Elia Levita แสดงจากซ้ายไปขวา ภาษายิดดิช - ภาษาฮีบรู - ภาษาละติน - ภาษาเยอรมัน ภาษาของชาวยิว (Jewish languages) เป็นกลุ่มของภาษาและสำเนียงที่พัฒนาในชุมชนชาวยิวทั่วโลกทั้งในยุโรป เอเชียและแอฟริกาเหนือ พัฒนาการของภาษาเหล่านี้เกิดขึ้นโดยการเพิ่มศัพท์ภาษาฮีบรูเพื่อใช้อธิบายแนวคิดเฉพาะของชาวยิวเข้าสู่ภาษาท้องถิ่น ส่วนใหญ่เขียนด้วยอักษรฮีบรู การอยู่เป็นกลุ่มก้อนอย่างเป็นเอกเทศของชาวยิว ทำให้ภาษาเหล่านี้รักษาคำศัพท์และลักษณะดั้งเดิมของภาษาที่เป็นภาษาต้นกำเนิดได้ภาษาของชาวยิวที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษายิดดิช ซึ่งเคยมีผู้พูดมากที่สุดในอดีต ภาษาลาดิโนที่เป็นภาษาของชาวยิวเซฟาร์ดีมากว่า 5 ศตวรรษและภาษาอาหรับของชาวยิวที่ใช้พูดในบริเวณที่มีผู้พูดภาษาอาหรับมากว่าพันปี ภาษาฮีบรูเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนายูดาย และเคยใช้เป็นภาษาพูดมาก่อน จนราว..

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาของชาวยิว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาเรีย

ษาคาเรีย เป็นภาษาของชาวคาเรีย จัดอยู่ในภาษากลุ่มอนาโตเลีย ใกล้เคียงกับภาษาไลเดียมากกว่าภาษาไลเซีย หลักฐานที่เหลืออยู่ส่วนมากเป็นชื่อเฉพาะ เช่น Sangodos, Kaphenos, Truoles, Nastes, Nomion, Mausolos และจารึกขนาดสั้นๆ เขียนด้วยอักษรคาเรีย ภาษานี้ถอดความได้โดย John D. Ray การรับวัฒนธรรมกรีกของชาวคาเรียทำให้ภาษานี้กลายเป็นภาษาตายเมื่อ ประมาณ..

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาคาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกี

ษาตุรกี (Türkçe ตืร์กเช หรือ Türk dili ตืร์ก ดิลิ) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก เป็นภาษาที่มีผู้พูด 65 – 73 ล้านคนทั่วโลกซึ่งถือเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่มีผู้พูดมากที่สุด ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในตุรกี และมีกระจายอยู่ในไซปรัส บัลแกเรีย กรีซ และยุโรปตะวันออก และมีผู้พูดอีกหลายสิบล้านคนที่อพยพไปอยู่ในยุโรปตะวันตกโดยเฉพาะเยอรมัน ต้นกำเนิดของภาษาพบในเอเชียกลางซึ่งมีการเขียนครั้งแรกเมื่อประมาณ 1,200 ปีมาแล้ว ภาษาตุรกีออตโตมันได้แพร่ขยายไปทางตะวันตกซึ่งเป็นผลมาจากการขยายตัวของจักรวรรดิออตโตมัน พ.ศ. 2471 หลังการปฏิรูปของอตาเตริ์กซึ่งเป็นปีแรกๆของยุคสาธารณรัฐใหม่ มีการปรับปรุงภาษาโดยแทนที่อักษรอาหรับในยุคออตโตมันด้วยอักษรละตินที่เพิ่มเครื่องหมายการออกเสียง มีการตั้งสมาคมภาษาตุรกีเพื่อลดการใช้คำยืมจากภาษาเปอร์เซียกับภาษาอาหรับ หันมาใช้คำดั้งเดิมของภาษากลุ่มเตอร์กิกแทน ลักษณะเด่นของภาษาตุรกีคือมีการเปลี่ยนเสียงสระและการเชื่อมคำแบบรูปคำติดต่อ การเรียงคำโดยทั่วไปเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา ไม่มีการแบ่งเพศของคำนาม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกีออตโตมัน

ษาตุรกีออตโตมัน (ภาษาอังกฤษ: Ottoman Turkish; ภาษาตุรกี: Osmanlıca หรือ Osmanlı Türkçesi; ภาษาตุรกีออตโตมัน: لسان عثمانی‎ lisân-ı Osmânî) เป็นรูปแบบหนึ่งของภาษาตุรกีที่เคยเป็นภาษาในการปกครองและภาษาเขียนในจักรวรรดิออตโตมัน เป็นภาษาที่มีคำยืมจากภาษาอาหรับและภาษาเปอร์เซียมาก เขียนด้วยอักษรอาหรับ ภาษานี้ไม่เป็นที่เข้าใจในหมู่ชาวตุรกีที่มีการศึกษาต่ำ อย่างไรก็ตาม ภาษาตุรกีที่ใช้พูดในทุกวันนี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาตุรกีออตโตมันเช่นกัน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาตุรกีออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซีรีแอก

อกสารภาษาซีรีแอกอายุราวพุทธศตวรรษที่ 16 ภาษาซีรีแอก (Syriac language; ซีรีแอก: ܣܘܪܝܝܐ Suryāyā) เป็นสำเนียงตะวันออกของภาษาแอราเมอิก ใช้พูดใกลุ่มชาวคริสต์ ที่อยู่ระหว่างจักรวรรดิโรมันและเปอร์เซีย ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 1 –12 ปัจจุบันยังคงใช้ในทางศาสนา โดยผู้พูดภาษาแอราเมอิกใหม่ในซีเรีย และใช้ในโบสถ์คริสต์ของชาวซีเรีย ในรัฐเกรละ ประเทศอินเดีย เป็นภาษาทางศาสนาในตะวันออกกลางในช่วงพุทธศตวรรษที่ 7 – 13 ความหมายอย่างกว้างหมายถึงภาษาแอราเมอิกตะวันออกทั้งหมดที่ใช้ในหมู่ชาวคริสต์ ความหมายอย่างจำเพาะเจาะจงหมายถึงภาษาคลาสสิกของอีเดสซา ซึ่งเป็นภาษาทางศาสนาของชาวซีรีแอกที่นับถือศาสนาคริสต์ และกลายเป็นสื่อในการเผยแพร่วัฒนธรรมและศาสนาคริสต์จากทางเหนือไปสู่มาลาบาร์ และจากทางตะวันออกไปถึงจีนเคยใช้เป็นภาษากลางระหว่างชาวอาหรับกับชาวเปอร์เซียก่อนจะถูกแทนที่ด้วยภาษาอาหรับเมื่อ พุทธศตวรรษที่ 13.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาซีรีแอก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแบกเตรีย

ษาแบกเตรีย (Bactrian language) เป็นภาษากลุ่มอิหร่านกลางที่ตายแล้ว เคยใช้พูดในบริเวณแบกเตรียในเอเชียกลาง ซึ่งเคยเรียกว่าโตชาริสถานในอัฟกานิสถาน คาดว่าภาษานี้เป็นภาษาพูดของชาวแบกเตรียในยุคที่พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชยกทัพไปถึงเมื่อราว..

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาแบกเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแอราเมอิกของชาวยิว

ษาแอราเมอิกของชาวยิว (Judæo-Aramaic) เป็นคำที่ใช้อธิบายภาษาแอราเมอิกและภาษาอราเมอิกใหม่ที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาฮีบรู.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาแอราเมอิกของชาวยิว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโทรจัน

ษาโทรจัน เป็นภาษาโบราณใช้พูดในเมืองทรอย ซึ่งถูกทำลายลงเมื่อราว 657 ปีก่อนพุทธศักราช ในสงครามโทรจัน เป็นภาษาที่ไม่มีการบันทึกไว้เลย มีการพบตราประทับภาษาฮิตไตน์ในบริเวณกรุงทรอยเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาโทรจัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไซเทีย

ษาซามาร์เทียหรือภาษาไซเทีย เป็นสำเนียงของภาษากลุ่มอิหร่านตะวันออก ใช้พูดโดยชาวไซเทียหรือซามาร์เทียในรัสเซียภาคใต้ระหว่าง 257 ปีก่อนพุทธศักราชจนถึง..

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาไซเทีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเคิร์ดเหนือ

ษาเคิร์ดเหนือ หรือ ภาษากุรมันชี (Kurmanji, ภาษากุรมันชี: Bahdînî) เป็นสำเนียงของภาษาเคิร์ดที่มีผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในตุรกีและซีเรีย รวมทั้งประเทศในอดีตสหภาพโซเวียตและเลบานอน มีในอิรักและอิหร่านเป็นส่วนน้อ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาเคิร์ดเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปอร์เซียของชาวยิว

ษาเปอร์เซียของชาวยิว (Judæo-Persian)หรือ ภาษายีดี (Jidi; IPA: /ʤiːdiː/) เป็นภาษาเปอร์เซียที่พูดโดยชาวยิวที่อาศัยอยู่ในอิหร่าน และเอกสารภาษาเปอร์เซียของชาวยิวที่เขียนด้วยอักษรฮีบรู ถ้ามองในมุมกว้าง ภาษานี้จะรวมสำเนียงทั้งหมดของภาษาเปอร์เซียที่ใช้โดยชาวยิวในจักรวรรดิเปอร์เซีย ในมุมที่แคบลง ภาษานี้หมายถึงสำเนียงที่พูดในเตหะราน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและภาษาเปอร์เซียของชาวยิว · ดูเพิ่มเติม »

มรณสักขีในศาสนาคริสต์

การทรมานของนักบุญเอรัสมุส โดยเดียริค เบาท์ ราวปี ค.ศ. 1458 ในศาสนาคริสต์ มรณสักขี (martyr) หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนที่ถูกทรมานจนตายหรือถูกฆ่าหรือถูกลงโทษให้ประหารชีวิตเพราะความเชื่อ ในศาสนาคริสต์ยุคแรกมีผู้ถูกทรมานและฆ่าด้วยความทรมานต่างๆเช่นถูกขว้างด้วยก้อนหินให้ตาย ถูกตรึงกางเขน ถูกเผาทั้งเป็น และอื่น ๆ คำว่า “martyr” มาจากภาษากรีกที่แปลว่า “พยาน” การฆ่าเช่นนี้เป็นผลจากการพยายามกำจัดคริสต์ศาสนิกชนอย่างเป็นทางการ (การเบียดเบียนทางศาสนา) เช่นในสมัยจักรวรรดิโรมันก่อนที่คริสต์ศาสนาจะเป็นศาสนาที่ถูกต้องตามกฎหมาย คริสต์ศาสนิกชนคนแรกที่เป็นมรณสักขีคือนักบุญสเทเฟนที่บันทึกไว้ใน ถูกขว้างด้วยก้อนหินจนถึงแก่ชีวิตเพราะศรัทธาในพระเยซูว่าเป็นพระเมสสิยาห์ และยังคงมีคริสต์ศาสนิกชนอีกหลายคนที่ถูกฆ่านอกจากนักบุญสเทเฟน ตามที่นักบุญเปาโลอัครทูตกล่าวว่ามีการขู่จะฆ่าสาวกของพระเยซูในเวลานั้นหลายครั้ง ในคริสต์ศตวรรษต่อมาก็มีการเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนอย่างเป็นทางการอีกหลายครั้งเช่นในระหว่างการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ โดยถูกกล่าวหาว่าเป็นพวกนอกรีตหรือเป็น “พวกนิยมพระสันตะปาปา” (Papists).

ใหม่!!: ภาษากรีกและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด (University of Oxford หรือ Oxford University) หรือเรียกอย่างง่าย ๆ ว่า อ๊อกซฟอร์ด เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยซึ่งตั้งอยู่ในเมืองอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานประวัติการก่อตั้งที่แน่นอน แต่มีหลักฐานว่าได้เริ่มสอนมาตั้งแต่ ค.ศ. 1096 ถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนเป็นอันดับสอง อ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในปี ค.ศ. 1167 เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 2 ทรงห้ามมิให้นักศึกษาชาวอังกฤษไปศึกษาที่มหาวิทยาลัยปารีส ภายหลังจากการพิพาทระหว่างนักศึกษาและชาวเมืองอ๊อกซฟอร์ดในปี ค.ศ. 1206 นักวิชาการบางส่วนได้หนีไปทางตะวันออกเฉียงเหนือสู่เมืองเคมบริดจ์ ซึ่งพวกเขาได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ขึ้น ทั้งสอง"มหาวิทยาลัยโบราณ"มักจะถูกเรียกว่า"อ๊อกซบริดจ์" มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นจากความหลากหลายของสถ​​าบันการศึกษาต่าง ๆ รวมถึงวิทยาลัยร่วมทั้ง 38 แห่ง และหน่วยงานทางวิชาการซึ่งแบ่งออกเป็นสี่แผนก แต่ละวิทยาลัยมีระบบการจัดการอย่างอิสระในการควบคุมสมาชิกรวมทั้งมีระบบโครงสร้างภายในและกิจกรรมเป็นของตนเอง มีลักษณะเป็นเมืองมหาวิทยาลัยซึ่งมีอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกกระจายอยู่ทั่วใจกลางเมือง การศึกษาระดับปริญญาตรีส่วนใหญ่ที่อ๊อกซฟอร์ดเป็นการจัดการด้วยวิธีติวเตอร์ตลอดรายสัปดาห์ไปในแต่ละวิทยาลัยและฮอลล์ต่าง ๆ โดยได้รับการสนับสนุนจากชั้นเรียน การบรรยาย และการปฏิบัติการซึ่งจัดขึ้นโดยคณะและภาควิชาต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดยังดำเนินงานพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก รวมถึงสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในโลก และมีระบบห้องสมุดทางวิชาการที่ใหญ่ที่สุดในบริเตน อ๊อกซฟอร์ดมีศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก รวมถึงผู้ได้รับรางวัลโนเบล 28 คน นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร 27 คน ประมุขแห่งรัฐและผู้นำรัฐบาลหลายแห่งทั่วโลก อ๊อกซฟอร์ดเป็นแหล่งที่ตั้งของทุนการศึกษาโรดส์ซึ่งเป็นหนึ่งในทุนการศึกษานานาชาติที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีชื่อเสียงมากที่สุด ซึ่งได้นำนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยมานานกว่าศตวรรษ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มานุษยรูปนิยม

มานุษยรูปนิยม (Anthropomorphism) หรือ บุคคลวัต หรือ บุคลาธิษฐาน (personification) คือ การเอาลักษณะของมนุษย์ไปใช้กับสิ่งที่ไม่ใช่มนุษย์ เช่น สัตว์ สิ่งไม่มีชีวิต ปรากฏการณ์ องค์การ รวมถึงวิญญาณและเทวดา คำภาษาอังกฤษบัญญัติขึ้นช่วง..

ใหม่!!: ภาษากรีกและมานุษยรูปนิยม · ดูเพิ่มเติม »

มิดเดิลเอิร์ธ

แผนที่มิดเดิลเอิร์ธในช่วงยุคที่หนึ่ง แสดงแผ่นดินเบเลริอันด์ ซึ่งเป็นสถานที่เกิดเหตุการณ์ต่างๆ ที่บันทึกในซิลมาริลลิออน ทางด้านขวามือสุดของแผนที่เป็นที่ตั้งของ 'เทือกเขาสีน้ำเงิน' แผนที่มิดเดิลเอิร์ธในช่วงปลายของยุคที่สาม ซึ่งปรากฏอยู่ในหนังสือ ลอร์ดออฟเดอะริงส์ สังเกตจะเห็น 'เทือกเขาสีน้ำเงิน' อยู่ทางด้านซ้ายมือสุดของแผนที่ มิดเดิ้ลเอิร์ธ (Middle-earth) หรือ มัชฌิมโลก หมายถึงสถานที่ในนิยายของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน อันเป็นฉากหลังของเรื่องราวตำนานทั้งหลายในงานเขียนของโทลคีน ปกรณัมของโทลคีนมีเนื้อหาเกี่ยวกับการเข้าควบคุมและครอบครองโลก (ในตำนานเรียกว่า "อาร์ดา") ซึ่งมีทวีปหลักชื่อว่า "มิดเดิลเอิร์ธ" เป็นที่อยู่อาศัยของพวก 'มรรตัยชน' (คือมนุษย์ที่รู้ตาย) เป็นสถานที่ตรงข้ามกับ "อามัน" หรือ 'แดนอมตะ' อันเป็นถิ่นที่อยู่ของพวกวาลาร์ กับพวกเอลฟ์ คำนี้มีรากมาจากคำภาษาอังกฤษกลางว่า middel-erde ซึ่งพัฒนามาจากคำในภาษาอังกฤษเก่าว่า middangeard แก่นสำคัญของงานเขียนของโทลคีนคือเรื่องของการช่วงชิง ควบคุม และครอบครองอำนาจหรือของวิเศษ ทำให้เกิดสงครามขึ้นบนมิดเดิลเอิร์ธหลายครั้งหลายหน คือสงครามระหว่างเหล่าเทพวาลาร์ เอลฟ์ และพันธมิตรชาวมนุษย์ฝ่ายหนึ่ง กับเทพอสูรเมลคอร์กับบริวาร ได้แก่พวกออร์ค มังกร และมนุษย์ที่เป็นทาสอีกฝ่ายหนึ่ง ในตำนานยุคหลัง เมื่อเมลคอร์สิ้นอำนาจและถูกขับไล่ออกไปจากอาร์ดาแล้ว บทบาทการช่วงชิงนี้ก็ตกไปอยู่กับเซารอน สมุนเอกของเขา เหล่าเทพวาลาร์ได้ยุติบทบาทของตนลงหลังจากที่เมลคอร์สิ้นอำนาจ เพราะการสงครามระหว่างพวกพระองค์ครั้งนั้นได้ทำให้โลกพินาศเสียหายไปมาก อย่างไรก็ดีพวกพระองค์ก็ยังส่ง อิสตาริ หรือเหล่าพ่อมด เข้ามาให้ความช่วยเหลือในการต่อต้านอำนาจของเซารอน อิสตาริที่มีบทบาทมากคือ แกนดัล์ฟพ่อมดเทา และซารูมานพ่อมดขาว แกนดัล์ฟได้ทำงานบรรลุวัตถุประสงค์เป็นอย่างดี โดยได้ช่วยเหลือชาวมิดเดิลเอิร์ธอย่างถึงที่สุดเพื่อโค่นอำนาจเซารอนลงให้ได้ แต่ซารูมานกลับพ่ายแพ้ต่อความคิดฉ้อฉลแล้วตั้งตนขึ้นเป็นใหญ่ ช่วงชิงอำนาจบนมิดเดิลเอิร์ธแข่งกับเซารอนเสียเอง สำหรับพลเมืองชาวมิดเดิลเอิร์ธพวกอื่นๆ ได้แก่ คนแคระ เอนท์ และฮอบบิท อันเป็นเผ่าพันธุ์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุด ในการสร้างสรรค์งานของโทลคีน เขาได้จัดทำแผนที่ของมิดเดิลเอิร์ธขึ้นเป็นจำนวนมาก แสดงถึงดินแดนและสถานที่ต่างๆ ที่ตำนานของเขาเอ่ยถึง แผนที่บางส่วนได้รับการตีพิมพ์ในช่วงชีวิตของเขา แต่ก็ยังมีแผนที่อีกจำนวนมากที่ไม่ได้ตีพิมพ์เลยจนกระทั่งเขาเสียชีวิตไปแล้ว แผนที่ส่วนใหญ่จะปรากฏอยู่ในเรื่อง เดอะฮอบบิท เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ และ ซิลมาริลลิออน เหตุการณ์ส่วนใหญ่ในยุคที่หนึ่งเกิดขึ้นบนดินแดนที่เรียกชื่อว่า เบเลริอันด์ ดินแดนนี้ต่อมาได้จมลงสู่ทะเลหลังสงครามครั้งใหญ่ระหว่างเทพวาลาร์กับเมลคอร์ คงเหลือแต่เทือกเขาสีน้ำเงินที่ปรากฏอยู่ทางขวาสุดของแผนที่ เป็นจุดเชื่อมต่อเดียวกันกับเทือกเขาสีน้ำเงินที่อยู่ทางด้านซ้ายสุดของแผนที่ในเรื่องเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ดินแดนทางด้านตะวันออกของเทือกเขาสีน้ำเงินเป็นที่เกิดเหตุการณ์ต่างๆ ในยุคที่สองและสาม โทลคีนบอกว่ามิดเดิ้ลเอิร์ธนั้นคือโลกของเรา เพียงแต่เป็นช่วงเวลาในอดีต โดยประมาณว่าปลายยุคที่สามคือช่วงระยะประมาณ 6,000 ปีก่อนยุคของโทลคีน เขายังบรรยายเขตแดนที่ฮอบบิทอาศัยว่าอยู่ที่ "ตะวันตกเฉียงเหนือของโลกเก่า ทางตะวันออกของทะเลใหญ่",เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์, บทนำ, หน้า 2 ซึ่งอ้างอิงถึงอังกฤษและเขตตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปอย่างชัดเจน ประวัติศาสตร์มิดเดิลเอิร์ธของโทลคีน ถูกแบ่งออกเป็นหลายยุค เรื่องราวที่ปรากฏใน เดอะฮอบบิท และเรื่องราวใน ลอร์ดออฟเดอะริงส์ เกิดขึ้นในราวปลายยุคที่สาม และนำไปสู่ช่วงเริ่มต้นของยุคที่สี่ ในขณะที่เรื่องราวใน ซิลมาริลลิออน ซึ่งเป็นงานเขียนของโทลคีนเกี่ยวกับมิดเดิลเอิร์ธที่เก่าแก่ที่สุด เป็นเรื่องที่เกิดตั้งแต่ยุคสร้างโลกและยุคที่หนึ่งเป็นส่วนใหญ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและมิดเดิลเอิร์ธ · ดูเพิ่มเติม »

มินต์ (พืช)

มินต์ (Mint, มาจากภาษากรีกคำว่า míntha, หรือในอักษรไลเนียร์บี mi-ta) เป็นสกุลหนึ่งในวงศ์กะเพรา (หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าวงศ์มินต์) สปีชีส์ของมินต์นั้นได้รับการประเมินว่ามีประมาณ 13 ถึง 18 สปีชี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและมินต์ (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

มินนีแอโพลิส

มินนีแอโพลิส (Minneapolis) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐมินนิโซตาในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ในเคาน์ตีเฮนเนพิน ระหว่างแม่น้ำมิสซิสซิปปี และแม่น้ำมินนิโซตา เมืองมินนีแอโพลิสมีประชากร 372,811 (สัมมโน 2548) และตั้งอยู่ติดกับเมืองเซนต์พอล เมืองหลวงของรัฐมินิโซตา ซึ่งทั้งคู่มักจะถูกเรียกว่า "ทวินซิตี" (Twin Cities) หรือเมืองแฝด ชื่อเมือง มินนีแอโพลิส มาจากคำผสมของคำว่า Mni คำในภาษาดาโคตาที่หมายถึง "น้ำ" และคำว่า polis ในภาษากรีกที่หมายถึง "เมือง" ในอดีตเมืองมีชื่อเสียงในด้านอุตสาหกรรมแป้งโดยมีโรงโม่แป้งเป็นจำนวนมาก ซึ่งเป็นเมืองหลักในด้านธุรกิจของสหรัฐอเมริกาเช่นเดียวกับชิคาโกและซีแอทเทิล สวนสาธารณะในเมืองมีลักษณะเด่นพิเศษคือจะตั้งอยู่ไม่ห่างจากทุกบ้านในรัศมีครึ่งไมล์ (800 เมตร) มหาวิทยาลัยที่สำคัญในเมืองได้แก่ มหาวิทยาลัยมินนิโซตา ซึ่งมีนักศึกษากว่า 50,000 คน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและมินนีแอโพลิส · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์

อัลคอวาริซมีย์ บนแสตมป์ของสหภาพโซเวียต ในโอกาสระลึกถึงชาตกาลครบรอบ 1,200 ปี อะบู อับดัลลาหฺ มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์ (Abū ʿAbdallāh Muḥammad ibn Mūsā al-Khwārizmī) (ค.ศ. 780-ค.ศ. 850) เป็นนักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักโหราศาสตร์ นักภูมิศาสตร์ อีกทั้งยังเป็นนักเขียน และนักแปล.

ใหม่!!: ภาษากรีกและมุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์ · ดูเพิ่มเติม »

มูฟส์ไลก์แจกเกอร์

"มูฟส์ไลก์แจกเกอร์" (Moves like Jagger) เป็นเพลงวงดนตรีอเมริกัน มารูนไฟฟ์ ร้องร่วมกับนักร้องและนักแต่งเพลง คริสตินา อากีเลรา ออกจำหน่ายโดยเอแอนด์เอ็ม อ็อกโทน เรเคิดส์ เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: ภาษากรีกและมูฟส์ไลก์แจกเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มีนวิทยา

มีนวิทยา (Ichthyology) เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องที่เกี่ยวข้องกับปลา ลักษณะรูปร่างภายนอกของปลา ระบบภายในตัวปลา รวมถึงอนุกรมวิธานของปลา ออกเป็นกลุ่มหรือประเภท ปลาในที่นี้ประกอบด้วยปลากระดูกแข็ง ปลากระดูกอ่อน ได้แก่ ฉลามและกระเบน และปลาไม่มีขากรรไกร โดยไม่ครอบคลุมไปถึงสัตว์น้ำจำพวกอื่น เช่น หมึก, กบ, กุ้ง, ปู, วาฬ หรือโลมา ซึ่งไม่จัดว่าเป็นปลา การศึกษาทางด้านมีนวิทยามีความสัมพันธ์อย่างมากกับสาขาวิชาชีววิทยาทางทะเล ชลธีวิทยา และสมุทรศาสตร์ และเรียกนักวิทยาศาสตร์ที่เชี่ยวชาญและศึกษาศาสตร์ทางด้านนี้ว่า "นักมีนวิทยา" มีนวิทยา ถือได้ว่าเป็นแขนงย่อยของสัตววิทยา โดยคำว่า "Ichthyology" ที่ใช้เป็นชื่อภาษาอังกฤษนั้น มาจากภาษากรีกคำว่า "Ichthys" (ἰχθύς) แปลว่า ปลา, "logy" หรือ "logos" (λόγος) แปลว่า วิชา หรือ เรื่องราว, "มีน" มาจากภาษาบาลีสันสกฤต แปลว่า ปลา และ "วิทยา" มาจากภาษาสันสกฤต แปลว่า ความรู้ โดยบุคคลแรกที่ถือได้ว่าศึกษาศาสตร์มีนวิทยาเป็นคนแรกของโลก คือ อริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีกโบราณที่มีชื่อเสียง เพราะเป็นผู้ริเริ่มจำแนกสิ่งมีชีวิต บันทึกของอริสโตเติลได้กล่าวถึงโครงสร้าง อุปนิสัย การอพยพย้ายถิ่น ฤดูกาลสืบพันธุ์ และความรู้อื่น ๆ ที่น่าสนใจเกี่ยวกับปลามากชนิด แต่ความจริงมนุษย์รู้จักปลามานานกว่า 50,000 ปีแล้ว จากหลักฐานที่มนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ได้วาดภาพปลาไว้ที่ผนังถ้ำ เช่น รูปปลาบึกที่อุทยานแห่งชาติผาแต้ม เป็นต้น การศึกษาเกี่ยวกับปลาในระยะต่อมาโดยมากยังอ้างอิงผลงานของอริสโตเติล จะมีเพิ่มเติมก็เป็นเรื่องปลีกย่อย จนกระทั่งในศตวรรษที่ 18 การศึกษาเกี่ยวกับปลาตื่นตัวมากขึ้น มีการเขียนตำราวิชาทางวิชาการ ซึ่งใช้อ้างอิงมาจนถึงทุกวันนี้ มีการจำแนกหมวดหมู่ปลากระดูกอ่อน ปลากระดูกแข็ง ศึกษากายวิภาค สรีรวิทยา วิวัฒนาการของปลาจากซากดึกดำบรรพ์ มีนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาศาสตร์ด้านมีนวิทยาที่มีชื่อเสียงหลายคน อาทิ อัลเบิร์ต กึนเธอร์, จอร์จส์ คูเวียร์, อเล็กซานเดอร์ เอ็มมานูเอล อกาซซี, หลุยส์ อกาซซี (บุตรของอกาซซี) รวมถึง คาโรลัส ลินเนียส ผู้ให้กำเนิดหลักการอนุกรมวิธานที่ใช้มาถึงปัจจุบันด้วย สำหรับในประเทศไทย ศาสตร์แขนงนี้เริ่มต้นขึ้นเมื่อ ดร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและมีนวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ม้วนหนังสือเดดซี

้นส่วนของม้วนหนังสือในพิพิธภัณฑ์ในเมืองอัมมาน หุบผาที่พบม้วนหนังสือ ม้วนหนังสือเดดซี (Dead Sea Scrolls) เป็นหนังสือม้วนที่พบในถ้ำ 11 แห่ง ระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษากรีกและม้วนหนังสือเดดซี · ดูเพิ่มเติม »

ม้าน้ำ

ม้าน้ำ เป็นปลากระดูกแข็งที่อาศัยอยู่ในทะเลจำพวกหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Hippocampinae (ซึ่งมีอยู่ 2 สกุล คือหนึ่งสกุลนั้นคือ ปลาจิ้มฟันจระเข้สัน ที่อยู่ในสกุล Histiogamphelus มีรูปร่างคล้ายปลาจิ้มฟันจระเข้ผสมกับม้าน้ำ) ในวงศ์ Syngnathidae อันเป็นวงศ์เดียวกับปลาจิ้มฟันจระเข้และมังกรทะเล ในอันดับ Syngnathiformes.

ใหม่!!: ภาษากรีกและม้าน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ยาปฏิชีวนะ

การดื้อยาปฏิชีวนะในกลุ่มเพนิซิลลินอย่างรุนแรง ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics จากภาษากรีซโบราณ αντιβιοτικά, antiviotika) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Antibacterials) เป็นกลุ่มย่อยของยาอีกกลุ่มหนึ่งในกลุ่มยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs) ซึ่งเป็นยาที่ถูกใช้ในการรักษาและป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยอาจออกฤทธิ์ฆ่าหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสอง ยาปฏิชีวนะบางชนิดอาจมีคุณสมบัติเป็นมีคุณสมบัติเป็นสารต้านโพรโทซัวได้ เช่น เมโทรนิดาโซล ทั้งนี้ ยาปฏิชีวนะไม่มีฤทธิ์ในการต้านไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ เช่น ไข้หวัด หรือ ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น โดยยาที่มีฤทธิ์ต่อเชื้อไวรัสจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มยาต้านไวรัส ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยอีกกลุ่มหนึ่งของยาต้านจุลชีพ ในบางครั้ง คำว่า ยาปฏิชีวนะ (ซึ่งหมายถึง "การต่อต้านชีวิต") ถูกนำมาใช้เพื่อสื่อความถึงสารใดๆที่นำมาใช้เพื่อต้านจุลินทรีย์ ซึ่งมีความหมายเดียวกันกับคำว่า ยาต้านจุลชีพ บางแหล่งมีการใช้คำว่า ยาปฏิชีวนะ และ ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ในความหมายที่แยกจากกันไป โดยคำว่า ยา (สาร) ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย จะสื่อความถึง สบู่ และน้ำยาฆ่าเชื้อ ขณะที่คำว่า ยาปฏิชีวนะ จะหมายถึงยาที่ใช้ในทางการแพทย์เพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรีย การพัฒนายาปฏิชีวนะเริ่มต้นในช่วงศตวรรษที่ 20 พร้อมกับการพัฒนาเรื่องการให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคจากเชื้อจุลชีพต่างๆ การเกิดขึ้นของยาปฏิชีวนะนำมาซึ่งการกำจัดโรคติดเชื้อแบคทีเรียต่างๆ ออกไปหลายชนิด เช่น กรณีของวัณโรคที่ระบาดในประเทศกำลังพัฒนา อย่างไรก็ตาม ด้วยประสิทธิภาพที่ดีและการเข้าถึงยาที่ง่ายนำไปสู่การใช้ยาปฏิชีวนะในทางที่ผิด พร้อมๆกับการที่แบคทีเรียมีการพัฒนาจนกลายพันธุ์เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะ ปัญหาดังข้างต้นได้แพร่กระจายเป็นวงกว้าง จนเป็นปัญหาสำคัญของการสาธารณสุขในทุกประเทศทั่วโลก จนองค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ได้ประกาศให้ปัญหาการดื้อยาของเชื้อแบคทีเรียเป็น "ปัญหาสำคัญเร่งด่วนที่สุดที่เกิดขึ้นในทุกภูมิภาคทั่วโลกและทุกคนล้วนจะต้องได้รับผลกระทบจากปัญหานี้ ไม่ว่าวัยใด หรือประเทศใดก็ตาม".

ใหม่!!: ภาษากรีกและยาปฏิชีวนะ · ดูเพิ่มเติม »

ยิมนาสติก

Daniele Hypólito บนคานทรงตัว ยิมนาสติก เป็นกีฬาที่เกี่ยวกับการแสดง ความแข็งแรง ความสวยงาม ความคล่องแคล่ว และการทำงานประสานกันของร่างกาย เป็นกีฬาสากลประเภทหนึ่งที่จัดเข้าแข่งขันในกีฬาโอลิมปิก ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าเริ่มมาเมื่อใด แต่มาปรากฏก่อนคริสต์ศักราช 2,600 ปี ซึ่งเป็นระยะเวลาที่ชาวจีนได้มีการฝึกฝนท่ากายบริหารและคิดประดิษฐ์ท่ากายบริหารขึ้น แต่การเริ่มต้นยิมนาสติกอย่างแท้จริงน่าจะเริ่มสมัยเริ่มต้นของประวัติศาสตร์แห่งชาวกรีกและโรมัน โดยเฉพาะกรีกโบราณ คำว่ายิมนาสติก เป็นภาษากรีก มาจากคำว่า Gymnos แปลว่า Nude หรือแปลว่า Naked Art มีความหมายว่า "ศิลปะแห่งการเปลือยเปล่า" ในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและยิมนาสติก · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เทอร์มอพิลี

ทธการที่เทอร์มอพิลี (Battle of Thermopylae; Greek: Μάχη τῶν Θερμοπυλῶν, มาแค ตอน แธมอปูลอน) เกิดขึ้นในปี 480 ปีก่อนคริสตกาล พันธมิตรรัฐกรีกตั้งรับการรุกรานของจักรวรรดิเปอร์เซีย ณ ช่องเขาเทอร์มอพิลีในกรีซตอนกลาง กองทัพกรีกเสียเปรียบด้านจำนวนอย่างมหาศาล แต่ก็ยังสามารถยันกองทัพเปอร์เซียได้เป็นเวลาสามวัน ยุทธการดังกล่าวเป็นหนึ่งในการรบจนตัวตายที่โด่งดังที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ กองทัพกรีกขนาดเล็กนำโดยกษัตริย์ลีออนิดัสที่ 1 แห่งสปาร์ตา ได้เข้าปิดช่องเขาเล็ก ๆ ซึ่งขัดขวางกองทัพมหึมาของจักรวรรดิเปอร์เซีย ภายใต้การนำของจักรพรรดิเซอร์ซีสที่ 1 ไว้ หลังจากการรบสามวัน เฮโรโดตุสเชื่อว่ามีคนทรยศที่บอกเส้นทางให้กับกองทัพเปอร์เซียซึ่งนำไปสู่ด้านหลังของกองทัพสปาร์ต้า และในวันที่สาม กองทัพกรีกได้ถอนตัวออกไปราว 2,300 นาย หลังเที่ยงวันของวันที่สาม กองทัพเปอร์เซียสามารถเจาะผ่านแนวกรีกได้ แต่ก็ต้องประสบกับความสูญเสียอย่างมหาศาลเมื่อเทียบกับความสูญเสียของกองทัพกรีก การต้านทานอย่างบ้าระห่ำของกองทัพกรีกได้ซื้อเวลาอันหาค่ามิได้ในการเตรียมกองทัพเรือ ซึ่งอาจตัดสินผลแพ้ชนะของสงคราม The 1913 edition (same page numbers) สามารถดาวน์โหลดได้ที่ Google Books,.

ใหม่!!: ภาษากรีกและยุทธการที่เทอร์มอพิลี · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปตะวันตก

แผนที่ยุโรปตะวันตก ยุโรปตะวันตก ตั้งอยู่ติดกับทะเลเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และ มหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งทำให้ดินแดนยุโรปตะวันตกนี้ไม่ห่างจากทะเลมากนัก เป็นผลทำให้มีความชื้นในอากาศสูงและอุณหภูมิหน้าหนาวไม่เย็นจัดเหมือนยุโรปที่อยู่ในภาคพื้นทวีปยุโรปเหนือ ยุโรปตะวันตกมีพื้นที่ประมาณ 36,933,412 ตารางกิโลเมตร ภาษาในภูมิภาคนี้มีมากมายเช่น กลุ่มภาษาโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ฯลฯ กลุ่มภาษาเยอรมานิค เช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาอังกฤษ ภาษาสวีเดน ฯลฯ และ ภาษากรีก ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ทั้งนิกายโปรเตสแตนท์และโรมันคาทอลิก ความแตกต่างของประเทศในยุโรปตะวันตกกับยุโรปตะวันออกคือระบอบการปกครองและการเมืองช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศที่มักจะกล่าวถึงว่าเป็นประเทศในยุโรปตะวันตก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและยุโรปตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ยูดาส อิสคาริโอท

นักบุญยูดาส อิสคาริโอท (Judas Iscariot; יהודה איש־קריות Yəhûḏāh ʾΚ-qəriyyôṯ) เป็นหนึ่งในอัครทูตของพระเยซูผู้กล่าวว่ามีหน้าที่ถือ “ถุงเงิน” (ภาษากรีก: γλωσσόκομον) และเป็นผู้ที่รู้จักกันว่าเป็นผู้ทรยศต่อพระเยซูโดยการบอกทหารประจำพระวิหารว่าใครคือพระเยซูซึ่งเป็นผลให้พระเยซูถูกจั.

ใหม่!!: ภาษากรีกและยูดาส อิสคาริโอท · ดูเพิ่มเติม »

ยูแคริโอต

ูแคริโอต (eukaryote) คือ สิ่งมีชีวิตที่เซลล์มีนิวเคลียสและโครงสร้างอื่น (ออร์แกเนลล์) อยู่ภายในเยื่อหุ้มเซลล์ ยูแคริโอตเป็นหน่วยอนุกรมวิธาน ยูคาร์ยาหรือยูแคริโอตา อย่างเป็นทางการ เยื่อหุ้มนิวเคลียสเป็นโครงสร้างที่นิยามเซลล์ยูแคริโอตแยกจากเซลล์โปรแคริโอต โดยภายในเยื่อหุ้มนิวเคลียสมีสารพันธุกรรม การมีนิวเคลียสเป็นที่มาของชื่อยูแคริโอต ซึ่งมาจากภาษากรีก ευ (eu, "ดี") และ κάρυον (karyon, "ผลมีเมล็ดเดียว" หรือ "เมล็ด") เซลล์ยูแคริโอตส่วนใหญ่ยังมีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้มอื่นด้วย เช่น ไมโทคอนเดรียหรือกอลจิแอพพาราตัส นอกเหนือจากนี้ พืชและสาหร่ายยังมีคลอโรพลาสต์ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวหลายชนิดเป็นยูแคริโอต เช่น โปรโตซัว แต่สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ทุกชนิดเป็นยูแคริโอต ซึ่งได้แก่ สัตว์ พืชและเห็ดรา การแบ่งเซลล์ในยูแคริโอตแตกต่างจากสิ่งมีชีวิตที่ไม่มีนิวเคลียส (โปรแคริโอต) มีกระบวนการแบ่งตัวสองประเภท คือ ไมโทซิสและไมโอซิส ไมโทซิสเป็นการที่เซลล์หนึ่งแบ่งตัวได้เซลล์ที่มีพันธุกรรมเหมือนกันสองเซลล์ ในไมโอซิสซึ่งจำเป็นในการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เซลล์ดิพลอยด์หนึ่ง (ซึ่งมีโครโมโซมสองชุด ชุดหนึ่งมาจากพ่อ อีกชุดหนึ่งมาจากแม่) มีการจับคู่โครโมโซมจากพ่อแม่แต่ละคู่ใหม่ แล้วผ่านการแบ่งเซลล์อีกสองขั้นตอน จนได้เซลล์แฮพลอยด์สี่เซลล์ (เซลล์สืบพันธุ์) เซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์มีโครโมโซมชุดเดียว ซึ่งเป็นการผสมโครโมโซมจากพ่อแม่คู่เดียวกัน โดเมนยูแคริโอตาดูเหมือนมาจากชาติพันธุ์เดียว (monophyletic) จึงเป็นหนึ่งในสามโดเมนของสิ่งมีชีวิต อีกสองโดเมน ได้แก่ แบคทีเรียและอาร์เคีย เป็นโปรแคริโอตและไม่มีคุณสมบัติที่กล่าวมาข้างต้น ยูแคริโอตเป็นสิ่งมีชีวิตส่วนน้อยมาก อย่างไรก็ดี เนื่องจากยูแคริโอตมีขนาดใหญ่กว่ามาก มวลชีวภาพรวมทั่วโลกจึงประมาณว่าเท่ากับมวลชีวภาพของโปรแคริโอตWhitman, Coleman, and Wiebe,, Proc.

ใหม่!!: ภาษากรีกและยูแคริโอต · ดูเพิ่มเติม »

ยูโทเปีย (หนังสือ)

ูโทเปีย (Utopia) เป็นชื่อหนังสือของเซอร์ทอมัส มอร์ ในปี ค.ศ. 1516 ซึ่งเขียนเป็นภาษาละติน เป็นงานเขียนร้อยแก้วพรรณนาถึงสังคมบนเกาะในจินตนาการแห่งหนึ่ง เล่าเรื่องเกี่ยวกับศาสนา ความเชื่อ ลักษณะทางสังคมและการปกครองบนเกาะแห่งนั้น ชื่อของเกาะนำมาจากคำภาษากรีกว่า ou (οὐ), "ไม่" และ tópos (τόπος), "สถานที่" กับคำ suffix ว่า -ía (-ία) ได้เป็นคำว่า Outopía (Οὐτοπία; หรือในภาษาละตินว่า Ūtopia) มีความหมายว่า "ดินแดนที่ไม่มีจริง" น่าสังเกตว่า คำว่า ยูโทเปีย ในภาษาอังกฤษ ออกเสียงเหมือนกันทุกประการกับ Eutopia (Εὐτοπία) มีความหมายว่า "สถานที่ดี" ตัวของมอร์เองเคยเขียนไว้ในคำแนบของหนังสือเขาว่า Wherfore not Utopie, but rather rightely my name is Eutopie, a place of felicitie (ไม่ใช่คำว่า Utopie (ไม่มีจริง) ชื่อที่ถูกต้องของผมคือ Eutopie ดินแดนที่น่าชื่นชมยินดี) การตีความชื่อนี้ก็คือ ยูโทเปีย เป็นสังคมอันแสนสมบูรณ์แบบ แต่มันก็ไม่มีทางจะไปถึงได้ อย่างไรก็ดี ในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปแล้วว่า สังคมในงานเขียนของมอร์ไม่ใช่ "สังคมสมบูรณ์แบบ" ของเขา ทว่าเขาเพียงแต่สร้างภาพของสังคมที่ตรงกันข้ามกันระหว่างดินแดนในจินตนาการซึ่งมีแนวคิดการปกครองที่ไม่เหมือนใคร กับการเมืองอันยุ่งเหยิงวุ่นวายในยุคสมัยของเขา เพื่อเป็นโครงร่างสำหรับการวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับสภาพสังคมกันต่อไป.

ใหม่!!: ภาษากรีกและยูโทเปีย (หนังสือ) · ดูเพิ่มเติม »

ยีราฟ (สกุล)

thumb ยีราฟ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Giraffa) เป็นสกุลหนึ่งของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Giraffidae เป็นสัตว์เคี้ยวเอื้อง มีลักษณะเด่น คือ เป็นสัตว์ที่ตัวสูง ขายาว ลำคอยาว มีเขา 1 คู่ ตัวมีสีเหลืองและสีน้ำตาลเข้มเป็นลาย มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา ตัวผู้มีความสูง 4.8 ถึง 5.5 เมตร (16-18 ฟุต) และมีน้ำหนักถึง 900 กิโลกรัม (2,000 ปอนด์) ตัวเมียมีขนาดและความสูงน้อยกว่าเล็กน้อย จัดเป็นสัตว์บกที่มีความสูงที่สุดในโลก ยีราฟ มีเขาทั้งตัวผู้และตัวเมีย ไม่ผลัดเขา ที่เขามีขนปกคลุมอยู่ เขาของยีราฟเป็นสิ่งแสดงถึงความแตกต่างระหว่างเพศ เขาของยีราฟตัวผู้ด้านบนมีลักษณะตัดราบเรียบและมีความใหญ่อวบกว่า ขณะที่ของตัวเมียจะมีขนสีดำปกคลุมเห็นเป็นพุ่มชัดเจน มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมเป็นฝูงราว 15-20 ตัว หรือมากกว่านั้น ในทุ่งโล่งร่วมกับสัตว์กินพืชชนิดอื่น ๆ เช่น แอนทิโลป, ม้าลาย หรือนกกระจอกเทศ เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 3 ปีครึ่ง ตั้งท้องนาน 420-461 วัน ลูกยีราฟหย่านมเมื่ออายุได้ 10 เดือน เมื่อคลอดออกมาแล้วจะสามารถยืนและเดินได้ภายในเวลาไม่นานเหมือนสัตว์กีบคู่ทั่วไป และวิ่งได้ภายในเวลา 2-3 วัน ตัวเมียมีเต้านมทั้งหมด 4 เต้า ยีราฟจะเป็นสัดทุก ๆ 14 วัน แต่ละครั้งเป็นอยู่ราว 24 ชั่วโมง มีอายุขัยเฉลี่ย 20-30 ปี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและยีราฟ (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

รอยขูดขีดเขียน

การพ่นสีรอยขูดขีดเขียนบนกำแพง รอยขูดขีดเขียน เป็นภาพวาดที่เกิดจากการขีดเขียนไปบนผนัง คำ "graffiti" เป็นคำศัพท์ที่มาจากภาษากรีก grafito ซึ่งแปลว่าการเขียนภาพลงบนผนังหรือกำแพงในสมัยโบราณ โดยที่รู้จักกันทั่วไปจะมีลักษณะของการพ่น (bombing) เซ็นชื่อ หรือเป็นการเซ็นลายเซ็น โดยเริ่มต้นจากเมืองฟิลาเดลเฟียในรัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา จากนั้นจึงแพร่หลายในนิวยอร์กช่วงยุคคริสต์ทศวรรษที่ 60.

ใหม่!!: ภาษากรีกและรอยขูดขีดเขียน · ดูเพิ่มเติม »

รอยประสานท้ายทอย

รอยประสานท้ายทอย (lambdoid suture) เป็นข้อต่อชนิดเนื้อเส้นใยคั่น ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเส้นใยหนาที่แบ่งระหว่างกระดูกข้างขม่อม (parietal bone) และกระดูกขมับ (temporal bone) ออกจากกระดูกท้ายทอย (occipital bone) บนกะโหลกศีรษะ ชื่อของซูเจอร์นี้มาจากลักษณะของรอยประสานนี้มีรูปร่างเหมือนอักษรแลมบ์ดาของภาษากรีก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและรอยประสานท้ายทอย · ดูเพิ่มเติม »

ระบบ

ระบบ (play storeSystem, าติน systēma, ในภาษากรีก systēma,, ดูเพิ่มเติมได้จากบทความเกี่ยวกับ องค์ประกอบ หรือ "composition") ระบบ คือ ชุดของสิ่งที่มีปฏิสัมพันธ์ หรือ การพึ่งพาซึ่งกันและกัน ของสิ่งที่มีการดำรงอยู่ที่แตกต่างและ อย่างเป็นอิสระ ที่ได้ถูกควบรวมในรูปแบบบูรณาการทั้งหม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและระบบ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบการทรงตัว

ห้องหูชั้นใน (labyrinth of the inner ear) ของหูด้านขวา ประกอบด้วย '''คอเคลีย''' (cochlea) เป็นอวัยวะปลายประสาทของระบบการได้ยิน ส่วนอวัยวะรับความรู้สึกของระบบการทรงตัวรวมทั้ง '''หลอดกึ่งวงกลม''' (semicircular ducts) ซึ่งทำหน้าที่รับรู้การเคลื่อนไหวแบบหมุน (คือความเร่งเชิงมุม) '''saccule''' และ '''utricle''' ทำหน้าที่รับรู้ความเร่งเชิงเส้น คอเคลียและ vestibular system ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมโดยมาก ระบบการทรงตัว (vestibular system) เป็นระบบรับความรู้สึกที่ให้ข้อมูลสำคัญที่สุดเกี่ยวกับการกำหนดรู้การทรงตัว (equilibrioception หรือ sense of balance) และการรู้ทิศทางของร่างกายภายในปริภูมิ (spatial orientation) ระบบการทรงตัวพร้อมกับคอเคลียซึ่งเป็นส่วนของระบบการได้ยิน เป็นส่วนประกอบของห้องหูชั้นใน (labyrinth of the inner ear) สำหรับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมโดยมาก เพราะการเคลื่อนไหวร่างกายมีทั้งแบบหมุนและแบบเลื่อน ระบบการทรงตัวจึงมีส่วนประกอบสองอย่างเหมือนกัน คือ ระบบหลอดกึ่งวงกลม (semicircular canal) ซึ่งบอกการเคลื่อนไหวแบบหมุน และระบบ otoliths ซึ่งบอกความเร่งในแนวเส้น ระบบการทรงตัวโดยหลักจะส่งข้อมูลไปยังโครงสร้างประสาทที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของตา เช่นการเคลื่อนไหวแบบ vestibulo-ocular reflex ซึ่งจำเป็นในการเห็นที่ชัดเจน และไปยังกล้ามเนื้อที่ทำให้สามารถทรงตัวไว้ได้ ระบบการทรงตัวมีบทบาทในเรื่อง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและระบบการทรงตัว · ดูเพิ่มเติม »

ระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง

ระบบสุริยะซึ่งมีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง แนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง หรือ (เอกภพ)มีสุริยะเป็นแกน เป็นทฤษฎีที่ว่าดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะ ภาษาอังกฤษเรียกว่า Heliocentrism มีที่มาจากรากศัพท์ภาษากรีกว่า ήλιος Helios.

ใหม่!!: ภาษากรีกและระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง · ดูเพิ่มเติม »

รับบี

ราไบโมเช ไฟน์สไตน์ผู้นำคนสำคัญของศาสนายูดาห์ออร์ทอดอกซ์ของครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 รับบี (רב รับบี; Rabbi, แรบาย) เป็นภาษาฮิบรูแปลว่า “อาจารย์” เป็นคำที่ใช้ในศาสนายูดาห์ที่หมายถึงผู้สอนศาสนา คำว่า “rabbi” มีรากมาจากภาษาฮิบรูว่า “רַב” หรือ “rav” ที่ในคัมภีร์ฮีบรูหมายความว่า “ยิ่งใหญ่” หรือ “เป็นที่เคารพ” คำนี้มีรากมาจากรากภาษากลุ่มเซมิติก R-B-B เทียบเท่ากับภาษาอาหรับ “ربّ” หรือ “rabb” ที่แปลว่า “lord” (ที่โดยทั่วไปเป็นการเอ่ยถึงพระเจ้าทางโลกด้วย เพื่อเป็นการแสดงความนับถือบางครั้งรับบีผู้มีชื่อเสียงก็จะเรียกกันว่า “The Rav.” รับบีไม่ใช่งานอาชีพตามคัมภีร์โทราห์ ฉะนั้นจึงไม่มีการใช้ตำแหน่งที่เกี่ยวข้องเช่น “Rabban” “Ribbi” หรือ “Rab” เพื่อกล่าวถึงนักปราชญ์ในบาบิโลเนียหรือในอิสราเอล แม้แต่ศาสดาผู้มีความสำคัญในพระคัมภีร์ก็ยังไม่เรียกว่ารับบี แต่เรียกว่า “ฮักไก” ตำแหน่ง “รับบัน” หรือ “รับบี” เริ่มใช้กันเป็นครั้งแรกในคัมภีร์ฮีบรูในมิชนาห์ (ราว 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช) คำนี้ใช้เป็นครั้งแรกสำหรับรับบันกามาลิเอลผู้อาวุโส (Rabban Gamaliel the elder), ราบันซิเมอันลูกชาย และโยฮานัน เบน ซัคไค ซึ่งต่างก็เป็นประธานสภาซันเฮดริน คำนี้ในภาษากรีกพบในพระวรสารนักบุญมัทธิว พระวรสารนักบุญมาระโก และพระวรสารนักบุญยอห์นในพันธสัญญาใหม่เมื่อกล่าวถึงพระเยซู. การพัฒนาความคิดเกี่ยวกับรับบีเริ่มขึ้นในสมัยฟาริสีและทาลมุด เมื่อปรจารย์มาประชุมกันเพื่อร่างกฎเกี่ยวกับศาสนายูดาห์ทั้งทางภาษาเขียนและภาษาพูด ในคริสต์ศตวรรษที่ผ่านมา หน้าที่ของรับบีก็ยิ่งเพิ่มความมีอิทธิพลมากขึ้น ที่ทำให้เกิดคำใหม่ๆ เช่น “รับบีแท่นเทศน์” (pulpit rabbi) และในคริสต์ศตวรรษที่ 19 หน้าที่ของราไบก็รวมการเทศนา, การให้คำปรึกษา และ การเป็นผู้แทนชองประชาคมในโลกภายนอกก็เพิ่มความสำคัญขึ้นเป็นลำดับ ในนิกายต่างๆ ของศาสนายูดาห์ ข้อกำหนดเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ในการแต่งตั้งรับบีก็แตกต่างกันออกไป หรือกฎที่ใครควรจะเรียกว่าเป็นรับบี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและรับบี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป

รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป (Member State of the European Union) คือประเทศใดประเทศหนึ่งใน 28 ประเทศที่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ตั้งแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) เป็นต้นมา เดิมทีประเทศก่อตั้งมีเพียง 6 ประเทศ ซึ่งได้มีการขยายสมาชิกทั้งสิ้น 6 ครั้ง โดยที่ครั้งที่ใหญ่ที่สุดเกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 ที่มีรัฐสมาชิกเข้าร่วมกว่า 10 ประเทศ ปัจจุบันสหภาพยุโรปประกอบด้วยประเทศ 21 สาธารณรัฐ, 6 ราชอาณาจักร และ 1 ราชรัฐ การเพิ่มโรมาเนียและบัลแกเรียเข้าเป็นสมาชิกในปี พ.ศ. 2550 รวมทั้งโครเอเชียในปีพ.ศ. 2556 ทำให้ปัจจุบันสหภาพยุโรปมีรัฐสมาชิกทั้งสิ้น 28 ประเทศ การต่อรองและเจรจาให้ประเทศอื่นๆ เข้าเป็นสมาชิกยังคงดำเนินการอยู่เรื่อยๆ ขั้นตอนการขยายสหภาพยุโรปนี้บางครั้งเรียกว่าการรวมกลุ่มยุโรป ก่อนที่จะเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปได้นั้น ประเทศนั้นจะต้องผ่านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจและการเมืองที่รู้จักกันดีในชื่อ "เกณฑ์โคเปนเฮเกน" ซึ่งกำหนดไว้ว่าประเทศที่มีสิทธิเข้าเป็นสมาชิกจะต้องเป็นรัฏฐาธิปัตย์ ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย มีองค์กรที่ส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและเคารพต่อกฎหมาย ภายใต้สนธิสัญญาสหภาพยุโรป การขยายสหภาพยุโรปต้องขึ้นอยู่กับข้อตกลงของแต่ละรัฐสมาชิกและผ่านการรับรองจากสภายุโรปอีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน

รัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน (الخلافة الراشدية, Rashidun Caliphate) เป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์รัฐแรกในสี่รัฐเคาะลีฟะฮ์ ก่อตั้งขึ้นหลังจากการเสียชีวิตของมุฮัมมัดในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและรัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์

รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์(الخلافة العباسية: al-Khilāfah al-‘Abbāsīyyah) เป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์ราชวงศ์ที่สามของศาสนาอิสลาม ที่มีเมืองหลวงที่แบกแดดหลังจากที่โค่นราชวงศ์อุมัยยะฮ์ออกจากบริเวณต่าง ๆ ยกเว้นอัล-อันดะลุส (Al-Andalus) รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะห์ก่อตั้งโดยผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากอับบาส อิบน์ อับดุลมุฏฏอลิบ (العباس بن عبد المطلب‎ – Abbas ibn Abd al-Muttalib) ลุงคนเล็กของมุฮัมมัด โดยก่อตั้งขึ้นในฮาร์รานในปี ค.ศ. 750 และย้ายเมืองหลวงจากฮาร์รานไปแบกแดดในปี ค.ศ. 762 รัฐเคาะลีฟะฮ์นี้รุ่งเรืองอยู่ราวสองร้อยปีแต่ก็มาเสื่อมโทรมลงเมื่ออำนาจของตุรกีแข็งแกร่งขึ้น ภายใน 150 ปีทีแผ่ขยายอำนาจไปทั่วเปอร์เชีย รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะห์ก็สูญเสียอำนาจให้แก่จักรวรรดิมองโกล ในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์

รัฐอุมัยยะห์ (بنو أمية‎) เป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งแรกที่ถูกสถาปนาโดยมุอาวียะห์ อิบนุ อบี สุฟยาน (Muahwiya Ibn Abi Sufyan I, ค.ศ. 661 - ค.ศ. 680) หลังจากการถึงแก่อสัญกรรมของอะลีย์ บุตรเขยของมุฮัมหมัด ราชวงศ์นี้แผ่ขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวางในช่วงต้น อีกทั้งราชวงศ์ยังรักษาธรรมเนียมปฏิบัติของศาสนาอิสลามอย่างเคร่งครัด แต่พอถึงปลายยุคเคาะลีฟะฮ์กลับเสวยแต่น้ำจัณฑ์ ล่าสัตว์ ใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือยไม่ปฏิบัติตามหลักศาสนา จึงถูกลูกหลานของน้าของศาสนทูตมุฮัมหมัดโค่นล้มราชวงศ์ลงในสมัยมัรวานที่ 2 ในปี ค.ศ. 750 (พ.ศ. 1293) อุมัยยะห์เป็นหนึ่งในสี่รัฐเคาะลีฟะฮ์ของอิสลามที่ก่อตั้งหลังจากการเสียชีวิตของมุฮัมหมัด ศาสนทูตของศาสนาอิสลามที่ปกครองโดยราชวงศ์อุมัยยะห์ ที่ได้รับชื่อจาก Umayya ibn Abd Shams ผู้เป็นทวดของคอลีฟะฮ์อุมัยยะห์คนแรก แม้ว่าตระกูลอุมัยยะห์เดิมจะมาจากมักกะฮ์ แต่ดามัสกัสเป็นเมืองหลวงของรัฐ หลังจากอุมัยยะห์ถูกโค่นโดยรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะห์ก็ย้ายไปตั้งถิ่นฐานใหม่ที่อัล-อันดะลุส (Al-Andalus) และก่อตั้งเป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบา ภายหลังจากที่ท่านอะลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ เคาะลีฟะฮ์รอชิดีนคนที่ 4 เสียชีวิต ท่านหะสัน อิบนุ อะลี บุตรของท่านอาลีได้รับเลือกตั้งเป็นเคาะลีฟะฮ์คนต่อไป แต่ดำรงตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์ได้ไม่กี่เดือนก็ยอมสละตำแหน่งให้แก่ท่านมุอาวียะฮ์ อิบนุ อบี สุฟยาน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเป็นเอกภาพในรัฐอิสลาม พร้อมกับหลีกเลี่ยงความแตกแยกและการสูญเสียเลือดระหว่างชาวมุสลิมด้วยกันมากกว่านี้ มุอาวิยะฮ์เป็นเคาะลีฟะฮ์ท่านแรกในราชวงศ์อุมัยยะฮ์ ท่านสืบเชื้อสายจากตระกูลอุมัยยะห์ บุตรของอับดุซซัม ซึ่งเป็นที่มาของคำว่า "ราชวงศ์อุมัยยะฮ์" ในสมัยการปกครองของราชวงศ์อุมัยยะฮ์ ท่านมุอาวียะฮ์ได้เปลี่ยนรูปแบบการปกครองจากสาธารณรัฐเป็นราชอาณาจักร ท่านทำให้ตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์กลายเป็นตำแหน่งกษัตริย์โดยการสืบสันติวงศ์ ท่านได้ทรงแต่งตั้งยะซิด โอรสของท่านให้เป็นกษัตริย์ ต่อมาการแต่งตั้งแบบนี้ได้กลายเป็นตัวอย่างการแต่งตั้งเคาะลีฟะฮ์มาตลอดราชวงศ์อุมัยยะฮ์ ทั้งรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์และอื่น ๆ อีกด้วย ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าท่านเป็นผู้สร้างตำแหน่งกษัตริย์โดยการสืบสันติวงศ์ขึ้นในประวัติศาสตร์ของศาสนาอิสลาม การปกครองแบบประชาธิปไตยระหว่างเผ่าของเคาะลีฟะฮ์ท่านก่อน ๆ ก็หมดสิ้นไป กลายเป็นการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและรัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐแอนติออก

ราชรัฐแอนติออก (Principality of Antioch) ที่มีอาณาบริเวณบางส่วนที่อยู่ในตุรกีและซีเรียปัจจุบันเป็นนครรัฐครูเสด ที่ก่อตั้งระหว่างสงครามครูเสดครั้งที่ 1 ที่รุ่งเรืองระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษากรีกและราชรัฐแอนติออก · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรกรีซ

ราชอาณาจักรกรีซ (Βασίλειον τῆς Ἑλλάδος, Vasíleion tīs Elládos; Kingdom of Greece) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรเฮลเลนิก (Kingdom of Hellenic) สถาปนาขึ้นในปี ค.ศ. 1832 ในการประชุมกรุงลอนดอน โดยกลุ่มประเทศมหาอำนาจซึ่งได้แก่ สหราชอาณาจักร สาธารณรัฐฝรั่งเศส และจักรวรรดิรัสเซีย จนได้รับการรับรองจากนานาประเทศในโลกอันเป็นผลมาจากสนธิสัญญาคอนสแตนติโนเปิล ทำให้ราชอาณาจักรกรีซมีเอกราชเป็นของตนเองอย่างสมบูรณ์และมั่นคง ซึ่งไม่ต้องอยู่ภายใต้อำนาจของจักรวรรดิออตโตมันอีกต่อไป โดยเอกราชของกรีซนี้เป็นผลสำเร็จมาจากการเรียกร้องเอกราชโดยรัฐบาลพลัดถิ่นแห่งกรีซ และมาจากสงครามเรียกร้องเอกราชของกรีซ (โดยมีสหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และจักรวรรดิรัสเซียคอยให้การช่วยเหลือและสนับสนุน) ซึ่งในการปกครองของราชอาณาจักรนั่นมีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุขของประเทศมาตั้งแต่สถาปนาเอกราช จนในปี ค.ศ. 1924 พระราชวงศ์และสถาบันพระมหากษัตริย์ก็ถูกล้มล้าง จนได้สถาปนา สาธารณรัฐเฮลเลนิกที่ 2 ขึ้นมา แต่ในภายหลังก็ได้มีการฟื้นฟูพระราชวงศ์ขึ้นมาและได้สถาปนาสถาบันพระมหากษัตริย์กลับมาเป็นพระประมุขของประเทศดังเดิมอีกครั้ง จนในท้ายที่สุดในปี ค.ศ. 1974 พระราชวงศ์ก็ถูกล้มล้างอีกครั้งอันเป็นผลมาจากการปกครองแบบเผด็จการทหาร ภายใต้การนำโดยพรรคการเมืองทหารของกรีซ และได้ก่อตั้งสาธารณรัฐเฮลเลนิกที่ 3 มาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและราชอาณาจักรกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรไซปรัส

ราชอาณาจักรไซปรัส (Kingdom of Cyprus) เป็นอาณาจักรครูเสด (Crusader kingdom) ที่ตั้งอยู่บนเกาะไซปรัสที่รุ่งเรืองในสมัยกลางและปลายสมัยกลางระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษากรีกและราชอาณาจักรไซปรัส · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษา

รายชื่อภาษาต่าง ๆ ทั่วโลกเรียงตามลำดับตัวอักษร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1

ตารางนี้ประกอบด้วยรหัสทั้งหมดของ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและรายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคาถาในแฮร์รี่ พอตเตอร์

วทมนตร์คาถาในแฮร์รี่ พอตเตอร์ เกิดขึ้นในชุดวรรณกรรมโดยผู้ประพันธ์ เจ. เค. โรว์ลิง การกล่าวถึงหลักของ "เวทมนตร์คาถา" ในเรื่องนั้นประกอบด้วยท่าทางประกอบการใช้ไม้กายสิทธิ์ของตัวละคร ประกอบกับการร่ายเวทมนตร์โดยออกเสียงหรือในใจ ในหนังสือและชุดภาพยนตร์ที่เกี่ยวข้อง ชื่อของเวทมนตร์คาถาหรือการเปล่งเสียงส่วนใหญ่นำมาจากตันติภาษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภาษาละติน ชื่อเหล่านี้ไม่ได้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ในภาษาใด ๆ วลีที่ใช้ในการร่ายเวทมนตร์ส่วนใหญ่คล้ายกับคำภาษาละตินที่มีความหมายแต่ไม่ใช่คำภาษาละตินในตัวของมันเอง ในแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม ได้มีการเสนอแนวคิดการร่ายเวทมนตร์โดยไม่ต้องออกเสียง (คาถาไร้เสียง) ทำให้เวทมนตร์คาถาบางบทไม่มีการออกเสียง โดยก่อนหน้านั้น ทุกคาถาที่ร่ายออกมาโดยตัวละครสำคัญล้วนมีการท่องคาถาอย่างเหมาะสม แม้ผู้ใช้เวทมนตร์ผู้ใหญ่ระดับก้าวหน้าอาจใช้คาถาโดยไม่ต้องเปล่งเสียงออกมาในหนังสือเล่มก่อน ๆ ด้วยเหตุนี้ คำร่ายคาถาซึ่งใช้สำหรับเวทมนตร์บางบทที่พบในเจ้าชายเลือดผสมและเรื่องต่อเนื่อง เครื่องรางยมทูต จึงไม่มี เวทมนตร์คาถาที่อยู่ในรายการด้านล่างนี้เรียงตามคำร่ายคาถาในภาษาอังกฤษ โดยมีชื่อทั่วไปอยู่ในวงเล็บ คาถาบางบทไม่รู้คำร่ายคาถา และเพียงกล่าวถึงในข้อความเฉพาะชื่อไม่เป็นทางการ ซึ่งอาจเป็นเพราะปรากฏในเรื่องเฉพาะเมื่อร่ายแบบไม่เปล่งเสียงเท่านั้น หรือเพราะไม่เคยกล่าวถึงในหนังสือ เพียงแต่กล่าวถึงเท่านั้น เวทมนตร์คาถาส่วนใหญ่ที่ร่ายระหว่างตัวละครผู้ใหญ่ในหนังสือทั้งเจ็ดเล่มดูเหมือนจะไม่เปล่งเสียงออกมาเลย มีเพียงผลของคาถาเท่านั้นที่สามารถระบุได้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและรายชื่อคาถาในแฮร์รี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์

นี่คือ รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์ ตั้งแต่การสถาปนากรุงคอนสแตนติโนเปิลในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและรายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก

2012 ณ กรุงลอนดอน, ประเทศสหราชอาณาจักร 1972 ณ เมืองซัปโปะโระ 1956 ณ เมืองกอร์ตีนาดัมเปซโซ 1936 ณ เมืองการ์มิช-พาร์เทนเคียร์เชิน กีฬาโอลิมปิก ในปัจจุบันเป็นการแข่งขันหลากหลายประเภทกีฬาทั้งฤดูร้อน ฤดูหนาว รวมถึงเยาวชน โดยจะจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี สลับกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อน และโอลิมปิกฤดูหนาว ในระหว่างพิธีเปิดโอลิมปิก ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากลในสมัยนั้นๆจะกล่าวสุนทรพจน์ก่อนที่จะเชิญประธานในพิธีกล่าวเปิดอย่างเป็นทางการ ตามกฎบัตรโอลิมปิก ผู้ที่จะกล่าวเปิดกีฬาโอลิมปิกอย่างเป็นทางการจะต้องเป็นประมุขแห่งรัฐของประเทศเจ้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

รุ่งอรุณ

รุ่งอรุณ (Chinese trumpet vine) เป็นพันธุ์ไม้พื้นเมืองของประเทศจีนตอนใต้ อยู่ในวงศ์แคหางค่าง และอยู่ในสกุล Campsis เดิมรุ่งอรุณมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Bignonia grandiflora Thunb.

ใหม่!!: ภาษากรีกและรุ่งอรุณ · ดูเพิ่มเติม »

รูปสิบเหลี่ยม

ในทางเรขาคณิต รูปสิบเหลี่ยม (decagon) คือ รูปหลายเหลี่ยมที่มี 10 ด้าน และมี 10 มุม ในภาษาอังกฤษ คำว่า "decagon" มาจากคำศัพท์ภาษากรีก เอนเนอา + โกนอน δεχα, เก้า + γωνον, มุม) ส่วนคำว่า nonagon นั้น มาจากภาษาละติน โนนุส (deca "ที่เก้า" + gonon "มุม") รูปสิบเหลี่ยมปกติ หรือ รูปสิบเหลี่ยมด้านเท่า นั้นมีมุมภายในมุมละ 144° ส่วนพื้นที่ของรูปสิบเหลี่ยมด้านเท่า มีความยาวด้าน a เท่ากั.

ใหม่!!: ภาษากรีกและรูปสิบเหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รูปสิบเอ็ดเหลี่ยม

รูปสิบเอ็ดเหลี่ยมด้านเท่า ในทางเรขาคณิต รูปสิบเอ็ดเหลี่ยม (hendecagon) คือ รูปหลายเหลี่ยมที่มี 11 ด้าน และมี 11 มุม ในภาษาอังกฤษ คำว่า "hendecagon" มาจากคำศัพท์ภาษากรีก เฮนเดกา + โกนอน ήνδεχα, สิบ + γωνία, มุม) ส่วนคำว่า decagon นั้น รูปสิบเอ็ดเหลี่ยมปกติ หรือ รูปสิบเอ็ดเหลี่ยมด้านเท่า นั้นมีมุมภายในมุมละ 147.273° ส่วนพื้นที่ของรูปสิบเอ็ดเหลี่ยมด้านเท่า มีความยาวด้าน a เท่ากับ 11.

ใหม่!!: ภาษากรีกและรูปสิบเอ็ดเหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รูปหมื่นเหลี่ยม

รูปหมื่นเหลี่ยม หรือ มีเรียกอน (myriagon) ในทางเรขาคณิตหมายถึงรูปหลายเหลี่ยมที่มี 10,000 ด้าน ในรูปหมื่นเหลี่ยมปกติ มุมภายในแต่ละมุมจะมีขนาด 179.964 องศา คำว่า มีเรียกอน มาจากคำภาษากรีกว่า myriad ซึ่งแปลว่า 10,000.

ใหม่!!: ภาษากรีกและรูปหมื่นเหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รูปหลายเหลี่ยม

ในทางเรขาคณิต รูปหลายเหลี่ยม (อังกฤษ: polygon) ตามความหมายดั้งเดิม หมายถึงรูปร่างอย่างหนึ่งที่เป็นรูปปิดหรือรูปครบวงจรบนระนาบ ซึ่งประกอบขึ้นจากลำดับของส่วนของเส้นตรงที่มีจำนวนจำกัด ส่วนของเส้นตรงเหล่านั้นเรียกว่า ขอบ หรือ ด้าน และจุดที่ขอบสองข้างบรรจบกันเรียกว่า จุดยอด หรือ เหลี่ยม (corner) ภายในรูปหลายเหลี่ยมบางครั้งก็เรียกว่า เนื้อที่ (body) รูปหลายเหลี่ยมเป็นวัตถุในสองมิติ ซึ่งเป็นตัวอย่างหนึ่งของพอลิโทป (polytope) ที่อยู่ใน n มิติ ด้านสองด้านที่บรรจบกันเป็นเหลี่ยม เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการเกิดมุมที่ไม่เป็นมุมตรง (180°) ถ้าไม่เช่นนั้นแล้ว ส่วนของเส้นตรงทั้งสองจะถูกพิจารณาว่าเป็นด้านเดียวกัน ความคิดทางเรขาคณิตพื้นฐานได้ถูกดัดแปลงไปในหลากหลายทาง เพื่อที่จะทำให้เข้ากับจุดประสงค์เฉพาะ ตัวอย่างเช่นในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ คำว่า รูปหลายเหลี่ยม ถูกนำไปใช้และมีการเปลี่ยนแปลงความหมายไปโดยเล็กน้อย ซึ่งเกี่ยวข้องกับวิธีการบันทึกและจัดการรูปร่างภายในคอมพิวเตอร์มากขึ้น รูปหลายเหลี่ยม หลายชน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและรูปหลายเหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รูปเก้าเหลี่ยม

ในทางเรขาคณิต รูปเก้าเหลี่ยม (อังกฤษenneagon หรือ nonagon) คือ รูปหลายเหลี่ยมที่มี 9 ด้าน และมี 9 มุมจำนวน ในภาษาอังกฤษ คำว่า "enneagon" มาจากคำศัพท์ภาษากรีก เอนเนอา + โกนอน (εννεα, เก้า + γωνον, มุม) ส่วนคำว่า nonagon นั้น มาจากภาษาละติน โนนุส (nonus "ที่เก้า" + gonon "มุม") รูปเก้าเหลี่ยมปกติ หรือ รูปเก้าเหลี่ยมด้านเท่า นั้นมีมุมภายในมุมละ 140° ส่วนพื้นที่ของรูปเก้าเหลี่ยมด้านเท่า มีความยาวด้าน a เท่ากั.

ใหม่!!: ภาษากรีกและรูปเก้าเหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รูปเคารพ

“พระเยซู” โดยอันเดร รูเบลฟ (Andrei Rublev) ราวปี ค.ศ. 1410 รูปเคารพทำจากเซรามิคจากราวปีค.ศ. 900 จากเพรสลาฟ ประเทศบัลกาเรีย รูปเคารพ (ภาษาอังกฤษ: icon; ภาษากรีก: εἰκών, eikon) คือรูป, รูปเหมือน หรือสิ่งที่สร้างแทน ที่ทำขึ้นเพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์แทนสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในสมัยปัจจุบัน “รูปเคารพ” โดยเฉพาะในวัฒนธรรมสมัยนิยมโดยทั่วไปจะหมายถึงสัญลักษณ์เช่นชื่อ, หน้า, รูป หรือคนที่เป็นที่รู้จักที่มีชื่อเสียงที่มีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง การใช้สิ่งของหรือรูปเป็นสัญลักษณ์ของสิ่งที่มีความสำคัญเหนือกว่าไม่ว่าจะเป็นตามตัวอักษรหรือตามการตีความหมายมักจะใช้ในศาสนา, วัฒนธรรม, การเมือง, หรือทางเศรษฐกิจ ในประวัติศาสตร์ลัทธินิยมทางศาสนาหรือวัฒนธรรมทางศาสนารูปเคารพจะมีอิทธิพลมาจากรูปที่เป็นตัวเป็นตนไม่ว่าจะเป็นรูปสองหรือสามมิติ ความประสงค์ของรูปเคารพไม่ว่าจะเป็นเพื่อการสั่งสอนหรือเป็นแรงบันดาลใจ หรือวิธีใช้เช่นเพื่อการบูชาหรือเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือความสำคัญของการใช้รูปเคารพก็ขึ้นอยู่กับสถาบันที่ใช้และสมัยของการใช้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและรูปเคารพ · ดูเพิ่มเติม »

ลาร์นากา

ลาร์นากา (Λάρνακα, Lárnaka; Larnaka/İskelel ฟินิเชีย: כתיון, Kityon) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศไซปรัส รองจากนิโคเซีย และลีมาซอล ตั้งอยู่บนชายฝั่งทิศใต้ของประเทศ มีประชากร 143,367 คน (2011) เป็นเมืองท่าการค้าที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของเกาะ และมีรีสอร์ต มีสนามบินที่ใหญ่ที่สุดของเกาะ คือสนามบินนานาชาติลาร์นากา เมืองมีทิวทัศน์ชายทะเลที่งดงาม เป็นทิวต้นปาล์ม หมวดหมู่:เมืองในประเทศไซปรัส.

ใหม่!!: ภาษากรีกและลาร์นากา · ดูเพิ่มเติม »

ลิมนาด

ลิมนาด หรือ ไลเมนิด หรือ ลิมนาเดส (Limnad, Leimenid, Limnades; กรีก: Λιμνάδες, Λειμενίδες, Λιμνάδες) เป็นพรายน้ำจำพวกไนเอดประเภทหนึ่ง ลิมนาดเป็นไนเอดที่อาศัยอยู่ตามแหล่งน้ำจืด เช่น หนองน้ำ, แม่น้ำ หรือทะเลสาบ โดยเป็นผู้ให้กำเนิดเทพเจ้าแห่งทะเลสาบ ลิมนาด ถูกอ้างอิงถึงในวัฒนธรรมร่วมสมัย เช่น การ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง เซนต์เซย่า โดยลิมนาดเป็นหนึ่งในมารีนเนอร์ระดับขุนพลทำหน้าที่พิทักษ์เสาค้ำมหาสมุทรแอนตาร์กติก ชื่อ ลิมนาเดส คาสะ ในเรื่องกำหนดให้ลิมนาดเป็นพรายน้ำที่มีรูปร่างเหมือนซาลาแมนเดอร์ยักษ์ ฆ่าเหยื่อด้วยการแปลงร่างเป็นคนรักของเหยื่อ แล้วลวงให้ตามลงไปในน้ำจากนั้นจึงฆ่าทิ้ง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและลิมนาด · ดูเพิ่มเติม »

ลิงค์ (ภาษาศาสตร์)

ลิงค์ (อ่านว่า ลิง) หรือ เพศทางไวยากรณ์ เป็นคำศัพท์ที่ใช้ในการแบ่งประเภทคำนามในบางตระกูลภาษา โดยเฉพาะตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน เช่น ภาษากรีก ภาษาละติน ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต แม้ในภาษาสมัยใหม่ ก็ยังมีการใช้ลิงค์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี เป็นต้น ลิงค์โดยทั่วไปจะแบ่งเป็น 3 จำพวก คือ เพศชาย เพศหญิง และเพศกลาง ตำราไวยากรณ์ของไทย มักจะใช้ศัพท์บาลี หรือสันสกฤต ว่า ปุลลิงค์ (ปุงลิงค์), อิตถีลิงค์ (สตรีลิงค์) และนปุงสกลิงค์ ทั้งนี้ โดยทั่วไปแล้ว ลิงค์ ในทางไวยากรณ์ไม่ได้ผูกพันกับลักษณะทางเพศในเชิงชีววิทยาของสิ่งมีชีวิตแต่อย่างใด หมวดหมู่:ไวยากรณ์.

ใหม่!!: ภาษากรีกและลิงค์ (ภาษาศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ลิงโคโลบัส

ลิงโคโลบัส (pages, Colobi) เป็นไพรเมตจำพวกลิงโลกเก่าที่อยู่ในสกุล Colobus จัดเป็นลิงที่อยู่ในกลุ่มค่าง คำว่า "โคโลบัส" (Colobus) มาจากภาษากรีก คำว่า κολοβό (kolobos) ซึ่งแปลว่า "เชื่อมต่อ" เนื่องจากลิงสกุลนี้มีหัวแม่มือที่สั้นมากเหมือนนิ้วด้วนหรือไม่มีหัวแม่มือ มีความใกล้เคียงกับลิงโคโลบัสสีน้ำตาล ที่อยู่ในสกุล Piliocolobus ลิงโคโลบัส เป็นลิงที่กระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกา มีลักษณะเด่นคือ มีขนเพียง 2 สี คือ สีดำและขาวตลอดทั้งลำตัวและส่วนหาง บางชนิดมีขนและหางที่ยาวแลดูสวยงาม และเหมือนกับค่างสกุลอื่น ๆ คือ กินพืชเป็นอาหาร ซึ่งสามารถกินได้หลากหลายทั้ง ใบไม้, ดอกไม้, ผลไม้, กิ่งไม้, เมล็ดพืช ลิงโคโลบัสจะอาศัยอยู่กันเป็นฝูงประมาณ 9 ตัว ในป่าหลากหลายประเภททั้งป่าที่สมบูรณ์และป่าเสื่อมโทรม รวมถึงป่าทุ่งหญ้าและป่าริมแม่น้ำ และจะพบได้มากขึ้นในที่ ๆ ราบสูง มีระบบย่อยอาหารที่สามารถย่อยชิ้นส่วนต่าง ๆ ของพืชได้เป็นอย่างดีที่ลิงสกุลอื่นไม่สามารถทำได้ ภายในฝูงจะประกอบไปด้วยสมาชิกที่มีความหลากหลายทั้งลิงตัวเมีย และลูกลิง ลิงโคโลบัสเมื่อแรกเกิดจะมีขนสีขาว นอกจากนี้แล้วยังมีพฤติกรรมที่จะเลี้ยงลูกลิงตัวอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ลูกของตัวหรือสมาชิกในฝูงอีกด้วย ลิงโคโลบัส มีพฤติกรรมการกินอาหารที่ตะกละมูมมาม มักกินอาหารอย่างกระจัดกระจาย เป็นลิงที่ถูกล่าจากมนุษย์เพื่อเอาเนื้อบริโภคเป็นอาหาร กอรปกับป่าไม้ซึ่งเป็นสถานที่อยู่อาศัยอยู่ทำลาย อีกทั้งในธรรมชาติยังตกเป็นอาหารของชิมแปนซี ซึ่งเป็นไพรเมตเช่นเดียวกันล่ากินเป็นอาหารเพื่อความต้องการสารอาหารประเภทโปรตีนอีกด้วย Mutant Planet: African Rift Valley Lakes, "Mutant Planet".

ใหม่!!: ภาษากรีกและลิงโคโลบัส · ดูเพิ่มเติม »

ลิเทียม

ลิเทียม (Lithium) เป็นธาตุมีสัญลักษณ์ Li และเลขอะตอม 3 ในตารางธาตุ ตั้งอยู่ในกลุ่ม 1 ในกลุ่มโลหะอัลคาไล ลิเทียมบริสุทธิ์ เป็นโลหะที่อ่อนนุ่ม และมีสีขาวเงิน ซึ่งถูกออกซิไดส์เร็วในอากาศและน้ำ ลิเทียมเป็นธาตุของแข็ง ที่เบาที่สุด และใช้มากในโลหะผสมสำหรับการนำความร้อน ในถ่านไฟฉายและเป็นส่วนผสมในยาบางชนิดที่เรียกว่า "mood stabilizer".

ใหม่!!: ภาษากรีกและลิเทียม · ดูเพิ่มเติม »

ลิเดีย

อาณาจักรลิเดียในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล ซึ่งมีความเจริญรุ่งเรืองที่สุด ลิเดีย (Lydia; อัสซีเรีย: Luddu; กรีก: Λυδία) เป็นอาณาจักรโบราณ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของอานาโตเลีย (หรือ เอเชียไมเนอร์) มีเมืองหลวงชื่อ ซาร์ดิส ตั้งอยู่ระหว่างจังหวัดอิชมีร์และจังหวัดมานิสา ในประเทศตุรกีในปัจจุบัน อาณาจักรลิเดีย เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 12 ก่อนคริสตกาล ภายหลังการล่มสลายของจักรวรรดิฮิตไตต.

ใหม่!!: ภาษากรีกและลิเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ลูกาผู้นิพนธ์พระวรสาร

ลูกาผู้นิพนธ์พระวรสาร (Luke the Evangelist; לוקא; Loukas) เกิดที่แอนติออก ประเทศตุรกีปัจจุบัน เสียชีวิตประมาณปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและลูกาผู้นิพนธ์พระวรสาร · ดูเพิ่มเติม »

ลูเชียน

ลูเชียนแห่งซามอซาทา (Lucian of Samosata; Λουκιανὸς ὁ Σαμοσατεύς, Lucianus Samosatensis; ค.ศ. 125 – หลัง ค.ศ. 180) เป็นนักพูดชาวอัสซีเรีย และนักเขียนเรื่องเสียดสีซึ่งเขียนเป็นภาษากรีก มีชื่อเสียงจากความหลักแหลมในการเปรียบเปรยและเสียดสี ลูเชียนนับเป็นหนึ่งในนักเขียนนวนิยายยุคแรกๆ ของอารยธรรมตะวันตก ในเรื่อง A True Story เขาเขียนบทบรรยายร้อยแก้วเป็นการสนทนาในจินตนาการจากเรื่องเล่าแฟนตาซีของโฮเมอร์ ใน โอดิสซีย์ และเทพนิยายอื่นๆ ที่มีชื่อเสียงในยุคสมัยของเขา เขาเขียนเรื่องราว "ทันสมัย" เช่นการเดินทางไปดวงจันทร์และดาวศุกร์ ชีวิตจากต่างดาว และสงครามระหว่างดาว ตั้งแต่เมื่อพันปีก่อนยุคของจูลส์ เวิร์น และ เอช. จี. เวลส์ เสียอีก นิยายของเขานับได้ว่าเป็นนิยายวิทยาศาสตร์ยุคแรกๆ ของโลก แม้จะไม่ใช่เรื่องแรกที่สุดก็ตาม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและลูเชียน · ดูเพิ่มเติม »

ลีมาซอล

ลีมาซอล (Λεμεσός, Lemesós;, Limasol/Leymosun; Limassol, Lemesos) เป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของประเทศไซปรัส มีประชากร 235,056 คน (ค.ศ. 2011) เป็นเมืองใหญ่สุดด้านภูมิศาสตร์ และเป็นเทศบาลที่ใหญ่ที่สุดบนเกาะ ตั้งอยู่บนฝั่งอ่าวอะโครตีรี บนชายฝั่งทางทิศใต้ของเก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและลีมาซอล · ดูเพิ่มเติม »

วัจนปฏิบัติศาสตร์

วัจนปฏิบัติศาสตร์ (Pragmatics, จากภาษากรีก Pragma แปลว่า "สิ่งของ" หรือ "การกระทำ") เป็นทฤษฎีทางภาษาศาสตร์ที่ว่าด้วยการใช้ภาษาของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในสถานการณ์หรือบริบทต่าง ๆ กัน (ศึกษาว่าในสถานการณ์หนึ่ง ๆ ทำไมเราจึงพูดอย่างนั้นและไม่ใช่อย่างอื่น) รวมถึงศึกษาว่าการใช้ภาษาของมนุษย์นั้นมีจุดประสงค์อะไร หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์ หมวดหมู่:สัญศาสตร์.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวัจนปฏิบัติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วัน

วัน คือหน่วยของเวลาที่เท่ากับ 24 ชั่วโมง ถึงแม้หน่วยนี้จะไม่ใช่หน่วยเอสไอ แต่ก็มีการยอมรับเพื่อใช้ประกอบกับหน่วยเอสไออื่น ซึ่งหน่วยเวลาที่เป็นหน่วยเอสไอคือ วินาที คำว่า วัน มาจากภาษาไทยเดิม (ลาว: ວັນ วัน, ไทใหญ่:ဝၼ်း วั้น) คำว่า day ในภาษาอังกฤษมาจากคำในภาษาอังกฤษเก่า dæg ซึ่งสะกดคล้ายกับภาษาอื่น ๆ ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน ตัวอย่างเช่น dies ในภาษาละตินและ dive ในภาษาสันสกฤต ซึ่งกลายเป็น ทิวา ในภาษาไท.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวัน · ดูเพิ่มเติม »

วาฬ

การพ่นน้ำของวาฬเพชฌฆาต (''Orcinus orca'') ครีบหางของวาฬหลังค่อม ซึ่งวาฬแต่ละตัวและมีลักษณะของครีบและหางแตกต่างกันออก ใช้เป็นสิ่งสำคัญในการจำแนก ตัวอย่างเสียงร้องของวาฬ วาฬ หรือที่นิยมเรียกกันติดปากว่า "ปลาวาฬ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่อาศัยอยู่แต่เฉพาะในทะเลหรือมหาสมุทร เป็นสัตว์ที่มีรูปร่างคล้ายปลา คือ รูปร่างเพรียวยาว มีครีบและมีหางเหมือนปลา แต่หางของวาฬจะเป็นไปในลักษณะแนวนอน มิใช่แนวตั้งเหมือนปลา วาฬมิใช่ปลา แต่เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีสายรก ที่จัดอยู่ในอันดับวาฬและโลมา (Cetacea) บรรพบุรุษของวาฬ เป็นสัตว์กินเนื้อบนบกมี 4 ขา ในยุคพาลีโอจีน เมื่อประมาณ 65 ล้านปีก่อน มีชื่อว่า "มีโซนิก" จากนั้นก็วิวัฒนาการเริ่มใช้ชีวิตแบบสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำภายในเวลาเพียง 10 ล้านปีต่อมาในยุคอีโอซีน หรือเมื่อประมาณ 55 ล้านปีก่อน โดยจากสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำจากนั้นขาหลังก็ค่อยหดและเล็กลงจนต่อมาเมื่อประมาณ 24-26 ล้านปี ก่อนกระดูกและข้อต่อก็หดเล็กลงจนไม่มีโผล่ออกมาให้เห็น แต่ในปัจจุบันกระดูกส่วนของขาหลังก็ยังคงมีอยู่โดยเป็นอวัยวะภายในที่มีขนาดเล็ก และทำหน้าที่เพียงเป็นที่ยึดติดของอวัยวะสืบพันธุ์เท่านั้น วาฬ เป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ นับเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก แม้จะอาศัยอยู่แต่เฉพาะในทะเล มีรูปร่างคล้ายปลา แต่มิใช่ปลา ด้วยเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แม้จะไม่มีขนปกคลุมลำตัวเหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอันดับอื่น ๆ แต่วาฬจะรักษาความอบอุ่นในร่างกายด้วยไขมันในชั้นใต้ผิวหนัง วาฬ เป็นสัตว์ที่หายใจด้วยปอด เหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอันดับอื่น ๆ วาฬสามารถกลั้นหายใจใต้น้ำได้นานนับชั่วโมง (โดยเฉลี่ยประมาณ 20 นาที) ด้วยการเก็บออกซิเจนปริมาณมากไว้ในปอด เมื่อใช้ออกซิเจนหมด วาฬจะขึ้นมาหายใจบนผิวน้ำเพื่อปล่อยลมหายใจออก ซึ่งขณะที่ปล่อยลมหายใจออกนั้นจะมีไอน้ำและฝอยน้ำพ่นออกมาจากอวัยวะพิเศษที่อยู่ตรงส่วนหัวเป็นรูกลม ๆ เหมือนน้ำพุด้วย เพราะวาฬมีกล้ามเนื้อพิเศษปิดรูจมูกไว้แน่นเพื่อกันไม่ให้น้ำเข้าไปจมูกซึ่งเป็นอวัยวะที่ติดต่อกับปอดโดยตรง ส่วนปากนั้นไม่มีทางติดต่อกับปอดและจมูกเลย ทั้งนี้เพื่อจะกันไม่ให้น้ำเข้าสู่ปอดในขณะที่ดำน้ำ ในวาฬขนาดใหญ่อย่าง วาฬสีน้ำเงิน สามารถพ่นน้ำได้สูงถึง 9 เมตร วาฬ อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ลูกของวาฬจะกินนมจากเต้านมของแม่เหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั่วไป เต้านมของวาฬมี 1 คู่ อยู่ในร่องท้องของวาฬตัวเมีย ขณะที่กินนมลูกวาฬจะว่ายน้ำเคียงข้างไปพร้อมกับแม่ จึงจำเป็นต้องใช้เวลาให้น้อยที่สุด โดยเพียงแค่จ่อปากที่หัวนม แม่วาฬจะปล่อยน้ำนมเข้าปากลูก เป็นระยะเวลาสั้น ๆ เพียงแค่ไม่กี่วินาทีเท่านั้น เมื่อลูกวาฬคลอดออกมาใหม่ ๆ จะพุ่งตัวขึ้นผิวน้ำเพื่อหายใจทันที แม่วาฬจะช่วยดันลูกขึ้นสู่ผิวน้ำด้วยส่วนหัว และขณะที่แม่วาฬคลอดลูกนั้น วาฬตัวอื่น ๆ ในฝูง โดยเฉพาะวาฬตัวเมียจะช่วยกันปกป้องแม่และลูกวาฬมิให้ได้รับอันตราย ลูกวาฬเมื่อแรกเกิดจะมีลำตัวประมาณร้อยละ 40 ของแม่วาฬ และในบางชนิดจะมีขนติดตัวมาด้วยในช่วงแนวปากบนเมื่อแรกเกิด และจะหายไปเมื่อโตขึ้น วาฬ เป็นสัตว์ที่มีนัยน์ตาขนาดเล็ก จึงไม่ได้ใช้ประสาทการมองเห็นเท่าใดนัก อีกทั้งระบบประสาทการรับกลิ่นก็ไม่มีประสิทธิภาพที่ดีด้วย หากแต่วาฬจะใช้ระบบการรับฟังเสียงเป็นประสาทสัมผัสเป็นหลัก คล้ายกับระบบโซนาร์ หรือเอคโคโลเคชั่น ที่ส่งคลื่นเสียงไปกระทบกับวัตถุต่าง ๆ แล้วสะท้อนกลับมาสู่ประสาทหูของวาฬเพื่อคำนวณระยะทางและขนาดของวัตถุ นอกจากนี้แล้ววาฬยังใช้เสียงต่าง ๆ ในการติดต่อสื่อสารกันในฝูงและในกลุ่มเดียวกัน สามารถร้องได้ด้วยเสียงต่าง ๆ กันมากมาย มีการศึกษาจากนักวิชาการพบว่า วาฬหลังค่อมสามารถส่งเสียงต่าง ๆ ได้มากถึง 34 ประเภท เหมือนกับการร้องเพลง และก้องกังวาลไปไกลนับเป็นร้อย ๆ กิโลเมตร และอยู่ได้นานถึงชั่วโมง และในการศึกษาวาฬนั้น ผู้ศึกษาจะสังเกตจากครีบหางและรอยแผลต่าง ๆ บนลำตัวซึ่งจะแตกต่างกันออกไปเป็นลักษณะเฉพาะ วาฬ เป็นสัตว์ที่มนุษย์รู้จักและผูกพันมาตั้งแต่สมัยโบราณ ในอดีตเคยมีความเชื่อว่าวาฬเป็นปลา เช่น นักปราชญ์อย่างอริสโตเติล แต่ในปี ค.ศ. 1693 จอห์น เรย์ นักชีววิทยาชาวอังกฤษเป็นนักวิทยาศาสตร์คนแรกที่ตระหนักว่าวาฬเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มิใช่ปลา ด้วยมีการคลอดลูกเป็นตัว และมีระยะเวลาตั้งท้องนานกว่าปี เหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ทั่วไป วาฬเป็นสัตว์ที่มนุษย์นิยมล่าเพื่อนำเนื้อ, หนัง, บาลีน, ฟัน, กระดูก รวมทั้งน้ำมันและไขมันในชั้นผิวหนังในการอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ จนกระทั่งถึงในปี ค.ศ. 1966 ประชากรวาฬลดลงเหลือเพียง 12,000 ตัวเท่านั้น จึงมีกฎหมายและการอนุรักษ์วาฬขึ้นมาอย่างจริงจัง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวาฬ · ดูเพิ่มเติม »

วาฬหลังค่อม

วาฬหลังค่อม หรือ วาฬฮัมแบ็ก (Humpback whale) เป็นวาฬขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในประเภทวาฬบาลีน ในวงศ์วาฬอกร่อง (Balaenopteridae) และจัดเป็นวาฬเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Megaptera (มีที่มาจากภาษากรีกคำว่า μεγα-"mega" หมายถึง "ใหญ่" และ πτερα-"ptera" หมายถึง "ปีก").

ใหม่!!: ภาษากรีกและวาฬหลังค่อม · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษากรีก

ลโก้วิกิพีเดียภาษากรีก วิกิพีเดียภาษากรีก เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษากรีก เริ่มสร้างเมื่อ 1 ธันวาคม 2545 ปัจจุบันวิกิพีเดียภาษากรีกมีบทความมากกว่า 67,791 บทความ (ธันวาคม 2554).

ใหม่!!: ภาษากรีกและวิกิพีเดียภาษากรีก · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม กิลเบิร์ต

วิลเลียม กิลเบิร์ต วิลเลียม กิลเบิร์ต (William Gilbert) เกิดเมื่อ 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1544 โคลเชสเตอร์ ในอังกฤษ และถึงแก่กรรมเมื่อ 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1603 (อาจจะในลอนดอน) เป็นหมอหลวงประจำพระราชินี อะลิซาเบธที่ 1 และพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ทั้งยังเป็นนักดาราศาสตร์และนักค้นคว้าวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับแม่เหล็กและไฟฟ้า ที่สำคัญคือ เขาเป็นคนค้นคิดคำ "electricity" หรือ ไฟฟ้า นั่นเอง ผลงานชิ้นแรกของเขา คือ De Magnete, Magneticisque Corporibus, et de Magno Magnete Tellure (ว่าด้วยแม่เหล็ก และวัตถุสภาพแม่เหล็ก และว่าด้วยแม่เหล็กใหญ่ของโลก) ตีพิมพ์เมื่อ ค.ศ. 1600 ในงานชิ้นนี้ เขาได้บรรยายถึงการทดลองของเขามากมายด้วยลูกโลกจำลอง ที่เรียกว่า "เทอร์เรลลา" (terrella) จากการทดลองของเขา เขาสรุปได้ว่าโลกนั้น ก็คือตัวแม่เหล็กเอง และสรุปว่า นี่คือเหตุผลที่ทำให้เข็มทิศชี้ไปทางทิศเหนือ (ก่อนนี้บางคนเชื่อว่า เข็มทิศชี้ไปหาดาวเหนือ หรือเกาะแม่เหล็กขนาดใหญ่ทางขั้วโลกเหนือ ซึ่งเป็นตัวดึงดูดเข็มทิศ) ในหนังสือเล่มนี้ เขายังได้ศึกษาถึงไฟฟ้าสถิต โดยการใช้แท่งอำพัน (อำพัน เป็นยางไม้แข็ง สีเหลืองอมน้ำตาล ในภาษากรีกเรียกว่า เอเล็กตรอน (elektron) ด้วยเหตุนี้ กิลเบิร์ตจึงเรียกปรากฏการณ์ที่ตนค้นพบว่า "electric force" (แรงไฟฟ้า) สิ่งที่กิลเบิร์ตเรียกว่า สภาพแม่เหล็ก นั้น คือแรงที่มองไม่เห็น ที่นักปรัชญาธรรมชาติคนอื่นๆ จำนวนมาก เช่น โยฮันส์ เคปเลอร์ เคยเชื่อมั่น ว่าเป็นตัวควบคุมการเคลื่อนไหวต่างๆ ของสิ่งที่สังเกตเห็นได้ หน่วย "กิลเบิร์ต" อันเป็นหน่วยของ แรงเคลื่อนแม่เหล็ก (magnetomotive force) ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า magnetic potential นั้น ก็ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่วิเลียม กิลเบิร์ตนี่เอง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวิลเลียม กิลเบิร์ต · ดูเพิ่มเติม »

วิลเดอบีสต์

วิลเดอบีสต์ (wilderbeast, wildebeest) หรือ นู (gnu) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทหนึ่ง จำพวกแอนทีโลป ในวงศ์ Bovidae จัดอยู่ในสกุล Connochaetes.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวิลเดอบีสต์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเดอบีสต์เคราขาว

วิลเดอบีสต์เคราขาว หรือ วิลเดอบีสต์ธรรมดา หรือ วิลเดอบีสต์สีน้ำเงิน หรือ กนู (White-bearded wildebeest, Common wildebeest, Blue wildebeest, Gnu) เป็นสัตว์กีบคู่จำพวกแอนทีโลปชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ Alcelaphinae.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวิลเดอบีสต์เคราขาว · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการชาติพันธุ์

ในชีววิทยา วิวัฒนาการชาติพันธุ์ (phylogenetics จากคำกรีก φυλή, φῦλον - phylon, phylon.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวิวัฒนาการชาติพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการของมนุษย์

''Homo sapiens sapiens'' ชาวอาข่าในประเทศไทย วิวัฒนาการของมนุษย์ (Human evolution) เป็นกระบวนการวิวัฒนาการที่นำไปสู่การปรากฏขึ้นของ "มนุษย์ปัจจุบัน" (modern human มีนามตามอนุกรมวิธานว่า Homo sapiens หรือ Homo sapiens sapiens) ซึ่งแม้ว่าจริง ๆ แล้วจะเริ่มต้นตั้งแต่บรรพบุรุษแรกของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด แต่บทความนี้ครอบคลุมเพียงแค่ประวัติวิวัฒนาการของสัตว์อันดับวานร (primate) โดยเฉพาะของสกุล โฮโม (Homo) และการปรากฏขึ้นของมนุษย์สปีชีส์ Homo sapiens ที่จัดเป็นสัตว์วงศ์ลิงใหญ่เท่านั้น การศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการมนุษย์นั้นต้องอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์หลายสาขา รวมทั้งมานุษยวิทยาเชิงกายภาพ (หรือ มานุษยวิทยาเชิงชีวภาพ), วานรวิทยา, โบราณคดี, บรรพชีวินวิทยา, พฤติกรรมวิทยา, ภาษาศาสตร์, จิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการ (evolutionary psychology), คัพภวิทยา และพันธุศาสตร์ กระบวนการวิวัฒนาการเป็นความเปลี่ยนแปลงของลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตผ่านหลายชั่วยุคชีวิต เป็นกระบวนการที่ทำให้เกิดความหลายหลากกับสิ่งมีชีวิตในทุกระดับชั้น รวมทั้งระดับสปีชีส์ ระดับสิ่งมีชีวิตแต่ละชีวิต และแม้กระทั่งโครงสร้างระดับโมเลกุลเช่นดีเอ็นเอและโปรตีน สิ่งมีชีวิตทั้งหมดในโลกสืบสายมาจากบรรพบุรุษเดียวกันที่มีชีวิตประมาณ 3.8 พันล้านปีก่อน การเกิดสปีชีส์ใหม่ ๆ และการแยกสายพันธุ์ออกจากกันของสิ่งมีชีวิต สามารถอนุมานได้จากลักษณะสืบสายพันธุ์ทางสัณฐานและทางเคมีชีวภาพ หรือโดยลำดับดีเอ็นเอที่มีร่วมกัน คือ ลักษณะสืบสายพันธุ์และลำดับดีเอ็นเอที่มีกำเนิดเดียวกัน จะมีความคล้ายคลึงกันระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันเร็ว ๆ นี้มากกว่าระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันมานานแล้ว ดังนั้นความคล้ายคลึงกันและความแตกต่างกันจึงสามารถใช้สร้างแบบของต้นไม้สายพันธุ์สิ่งมีชีวิต ที่แสดงความสัมพันธ์เชิงญาติ โดยใช้สิ่งมีชีวิตที่ยังมีอยู่หรือใช้ซากดึกดำบรรพ์เป็นหลักฐานข้อมูล รูปแบบความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในโลกเปลี่ยนแปลงไปเพราะการเกิดขึ้นของสปีชีส์ใหม่ ๆ และการสูญพันธุ์ไปของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ งานวิจัยต่าง ๆ ทางพันธุศาสตร์แสดงว่า สัตว์อันดับวานรรวมทั้งมนุษย์แยกออกจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทอื่น ๆ เมื่อประมาณ โดยมีซากดึกดำบรรพ์ปรากฏเป็นครั้งแรกสุดเมื่อประมาณ ส่วนลิงวงศ์ชะนี (Hylobatidae) แยกสายพันธุ์ออกจากสายพันธุ์วงศ์ลิงใหญ่ (Hominidae) รวมทั้งมนุษย์ ซึ่งเป็นวงศ์หนึ่ง ๆ ของสัตว์อันดับวานรนั้น เมื่อ แล้วลิงวงศ์ Ponginae (ลิงอุรังอุตัง) ก็แยกออกจากสายพันธุ์เมื่อประมาณ จากนั้น การเดินด้วยสองเท้า (bipedalism) ซึ่งเป็นการปรับตัวพื้นฐานที่สุดของสัตว์เผ่า Hominini ซึ่งเป็นสายพันธุ์ของมนุษย์ที่ลิงชิมแปนซีได้แยกออกไปแล้ว ก็เริ่มปรากฏในสัตว์สองเท้าแรกสุดในสกุล Sahelanthropus หรือ Orrorin โดยมีสกุล Ardipithecus ซึ่งเป็นสัตว์สองเท้าที่มีหลักฐานชัดเจนกว่า ตามมาทีหลัง ส่วนลิงกอริลลาและลิงชิมแปนซีแยกออกจากสายพันธุ์ในช่วงเวลาใกล้ ๆ กัน คือลิงกอริลลาเมื่อ และลิงชิมแปนซีเมื่อ โดยอาจจะมี Sahelanthropus เป็นบรรพบุรุษสุดท้ายร่วมกันระหว่างชิมแปนซีและมนุษย์ สัตว์สองเท้ายุคเริ่มต้นเหล่านี้ในที่สุดก็วิวัฒนาการมาเป็นเผ่า hominini เผ่าย่อย Australopithecina (australopithecine ปกติรวมสกุล Australopithecus, Paranthropus, และในบางที่ Ardipithecus) ที่ และหลังจากนั้นจึงเป็นเผ่าย่อย Hominina ซึ่งรวมเอามนุษย์สกุล โฮโม เท่านั้น มนุษย์สกุลโฮโมที่มีหลักฐานยืนยันพวกแรกที่สุดเป็นสปีชีส์ Homo habilis ซึ่งเกิดขึ้นประมาณ โดยเชื่อกันว่า สืบสายพันธุ์มาจาก homonin ในสกุล Australopithecus เป็นสปีชีส์แรก ๆ ที่มีหลักฐานชัดเจนว่าใช้เครื่องมือหิน และการปรับตัวของสายพันธุ์มนุษย์อีกอย่างหนึ่งคือ การขยายขนาดของสมอง (encephalization) ก็ได้เริ่มขึ้นที่มนุษย์ยุคต้นนี้ ซึ่งมีขนาดสมองที่ประมาณ 610 ซม3 คือมีขนาดใหญ่กว่าของลิงชิมแปนซีเล็กน้อย (ระหว่าง 300-500 ซม3) มีนักวิทยาศาสตร์ที่เสนอว่า นี้อยู่ในช่วงเวลาที่ยีนมนุษย์ประเภท SRGAP2 มีจำนวนเป็นสองเท่าเทียบกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ ซึ่งทำให้เกิดการพัฒนาของสมองกลีบหน้าได้รวดเร็วกว่าในสัตว์อื่น ๆ ต่อมา มนุษย์สปีชีส์ Homo erectus/ergaster ก็เกิดขึ้นในช่วงประมาณ ที่มีปริมาตรกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าของลิงชิมแปนซีคือ 850 ซม3 การขยายขนาดของสมองเช่นนี้เทียบเท่ากับมีเซลล์ประสาทเพิ่มขึ้น 125,000 เซลล์ทุกชั่วยุคคน สปีชีส์นี้เชื่อว่าเป็นพวกแรก ๆ ที่สามารถควบคุมไฟ และใช้เครื่องมือหินที่มีเทคโนโลยีที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น เป็นมนุษย์สกุล Homo พวกแรกที่อพยพออกไปตั้งถิ่นฐานทั่วทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย และทวีปยุโรป อาจเริ่มตั้งแต่ ดังนั้น การวิวัฒนาการของสายพันธุ์มนุษย์ก่อนหน้านี้ล้วนเป็นไปในแอฟริกาเท่านั้น ส่วนกลุ่มมนุษย์โบราณที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า Archaic humans ก็เกิดวิวัฒนาการขึ้นต่อมาประมาณ 600,000 ปีก่อน สืบสายพันธุ์มาจาก H. erectus/ergaster เป็นกลุ่มมนุษย์ที่อาจเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ปัจจุบัน โดยเฉพาะคือมนุษย์โบราณ H. heidelbergensis/rhodesiensis หลังจากนั้น มนุษย์สปีชีส์ ''Homo sapiens'' ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน (anatomically modern human) ก็เกิดขึ้นโดยมีวิวัฒนาการมาจากมนุษย์โบราณในยุคหินกลาง (แอฟริกา) คือประมาณ 300,000 ปีก่อน ตามทฤษฎี "กำเนิดมนุษย์ปัจจุบันเร็ว ๆ นี้จากแอฟริกา" มนุษย์ปัจจุบันได้วิวัฒนาการในทวีปแอฟริกาแล้วจึงอพยพออกจากทวีปประมาณ 50,000-100,000 ปีก่อน (ต่างหากจากมนุษย์ในยุคก่อน ๆ) ไปตั้งถิ่นฐานแทนที่กลุ่มมนุษย์สปีชีส์ H. erectus, H. denisova, H. floresiensis และ H. neanderthalensis ในที่ต่าง ๆ ที่เป็นเชื้อสายของมนุษย์ที่อพยพออกมาจากทวีปแอฟริกาในยุคก่อน ๆ โดยอาจได้ผสมพันธุ์กับมนุษย์โบราณก่อน ๆ เหล่านั้น หลักฐานโดยดีเอ็นเอในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและวิวัฒนาการของมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการของคอเคลีย

ำว่า คอเคลีย มาจากคำภาษาละตินที่แปลว่า "หอยโข่ง/หอยทาก, เปลือก, หรือเกลียว" ซึ่งก็มาจากคำกรีก คือ kohlias ส่วนคำปัจจุบันที่หมายถึง หูชั้นในรูปหอยโข่ง พึ่งเริ่มใช้ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 คอเคลียของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจะมีอวัยวะของคอร์ติ ซึ่งมีเซลล์ขนที่แปลแรงสั่นที่วิ่งไปในน้ำที่ล้อมรอบ ให้เป็นกระแสไฟฟ้าที่ส่งไปยังสมองเพื่อประมวลเสียง ส่วนอวัยวะที่มีรูปเป็นหอยโข่งประมาณว่าเกิดในต้นยุคครีเทเชียสราว ๆ 120 ล้านปีก่อน นอกจากนั้นแล้ว เส้นประสาทที่วิ่งไปยังคอเคลียก็เกิดในยุคครีเทเชียสเหมือนกัน วิวัฒนาการของคอเคลียในมนุษย์เป็นเรื่องสำคัญทางวิทยาศาสตร์เพราะว่าดำรงเป็นหลักฐานได้ดีในซากดึกดำบรรพ์ ในศตวรรษที่ผ่านมา ทั้งนักวิทยาศาสตร์ นักชีววิทยาเชิงวิวัฒนาการ และนักบรรพชีวินวิทยา ได้พยายามพัฒนาเทคนิคใหม่ ๆ เพื่อข้ามอุปสรรคในการทำงานกับวัตถุโบราณที่บอบบาง ในอดีต นักวิทยาศาสตร์จำกัดมากในการตรวจดูตัวอย่างโดยไม่ทำให้เสียหาย แต่ในปัจจุบัน เทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น การถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ระดับไมโคร (micro-CT scanning) ช่วยให้สามารถแยกแยะซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์จากซากตกตะกอนอื่น ๆ และเทคโนโลยีรังสีเอกซ์ ก็ช่วยให้ตรวจสมรรถภาพการได้ยินของสัตว์ที่สูญพันธุ์ไปแล้วได้ และช่วยสร้างความรู้ใหม่ ๆ เกี่ยวกับทั้งบรรพบุรุษมนุษย์และสัตว์อื่น ๆ ที่อยู่ในช่วงเวลาเดียวกัน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวิวัฒนาการของคอเคลีย · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาการระบาด

วิทยาการระบาด เป็นการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพและความเจ็บป่วยของประชากร และเป็นพื้นฐานและตรรกะที่ทำให้เกิดแนวคิดความสนใจในสาธารณสุขและเวชศาสตร์ป้องกัน สาขาวิชานี้วิธีที่สำคัญพื้นฐานของงานวิจัยด้านสาธารณสุข และเกี่ยวข้องกับเวชศาสตร์อิงหลักฐาน (evidence-based medicine) ในการหาปัจจัยเสี่ยงของโรคและประเมินวิธีการรักษาที่เหมาะสมที่สุด งานของนักวิทยาการระบาดที่เกี่ยวข้องกับโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ มีขอบเขตตั้งแต่การสืบค้นการระบาดของโรค (outbreak investigation) ไปจนถึงการออกแบบการศึกษา การเก็บข้อมูล และการวิเคราะห์ รวมทั้งการพัฒนาแบบจำลองทางสถิติเพื่อทดสอบสมมติฐานและการเตรียมผลการวิจัยเพื่อเสนอผลการวิจัย นักวิทยาการระบาดอาจอาศัยระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์หลายอย่างเช่นชีววิทยาในการทำความเข้าใจการดำเนินโรค และระเบียบวิธีทางสังคมศาสตร๋ เช่นสังคมศาสตร์และปรัชญาเพื่อช่วยในการทำความเข้าใจปัจจัยเสี่ยงใกล้เคียงและไกล.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวิทยาการระบาด · ดูเพิ่มเติม »

วิทยามะเร็ง

วิทยามะเร็ง หรือ วิทยาเนื้องอก (Oncology) เป็นสาขาหนึ่งของวิชาแพทยศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับเนื้องอกหรือมะเร็ง และเพื่อให้เกิดความเข้าใจในการเจริญ, การวินิจฉัย, การรักษา และการป้องกันมะเร็ง รากศัพท์ของคำว่า oncology มาจากภาษากรีก onkos (ογκος) หมายถึงก้อนหรือเนื้องอก และ -ology ซึ่งหมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยามะเร็งนั้นจะเกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยในหลากหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นกายภาพบำบัด, จิตบำบัดหรือการให้คำปรึกษา, พันธุศาสตร์คลินิก ในทางกลับกันแพทย์นั้นต้องประสานงานกับพยาธิแพทย์เพื่อให้เข้าใจถึงธรรมชาติของเนื้องอกเพื่อช่วยในการรักษา วิทยามะเร็งเกี่ยวข้องกั.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวิทยามะเร็ง · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาสัตว์ลึกลับ

วิทยาสัตว์ลึกลับ หรือ วิทยาสัตว์ประหลาด (Cryptozoology; มาจากภาษากรีก κρυπτός, (kryptos), "ซ่อนเร้น" รวมกับคำว่า สัตววิทยา อันหมายถึง "การศึกษาสัตว์ที่ซ่อนเร้น") เป็นศาสตร์ชนิดหนึ่ง ที่ศึกษาเกี่ยวกับสัตว์ที่ยังไม่เป็นที่รู้จักกันในทางวิทยาศาสตร์ หรือสัตว์ประหลาด อาทิ บิ๊กฟุต, ชูปาคาบรา ศาสตร์แขนงนี้ได้ถูกบัญญัติขึ้นโดย แบร์นาร์ด อูเวลมงส์ นักชีววิทยาชาวเบลเยียม จนได้รับการยกย่องว่าเป็น "บิดาแห่งวิทยาสัตว์ลึกลับ" วิทยาสัตว์ลึกลับ ได้มีผู้ที่ศึกษาศาสตร์ทางด้านนี้อย่างจริงจัง มีนักวิทยาศาสตร์หลายคนที่มีชื่อเสียงทางด้านนี้ อาทิ คาร์ล ชูเกอร์ ชาวอังกฤษ, รอย แมคคัล และลอเรน โคลแมน ชาวอเมริกัน เป็นต้น จนมีการก่อตั้งขึ้นเป็น สมาคมวิทยาสัตว์ลึกลับนานาชาติ (International society of Cryptozoology, ตัวย่อ: ISC) ขึ้นในปี ค.ศ. 1982 มีสำนักงานใหญ่ที่เมืองทูซอน รัฐแอริโซนา สหรัฐอเมริกา โดยทุกปีสมาคมจัดการประชุมใหญ่เพื่อให้สมาชิกแลกเปลี่ยนความรู้และยังมีการจัดส่งคณะออกสำรวจค้นหาสัตว์ลึกลับจากทั่วโลกเป็นประจำ เช่น การทดสอบดีเอ็นเอของเยติ เป็นต้น อย่างไรก็ดี ได้มีการวิจารณ์ว่า วิทยาสัตว์ลึกลับเป็นศาสตร์ที่ไม่ได้รับการยอมรับจากนักวิทยาศาสตร์อย่างแท้จริง และไม่ยอมรับให้เป็นแขนงหนึ่งของสัตววิทยา โดยถือเป็นวิทยาศาสตร์เทียม ด้วยหลายอย่างมิได้ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ แต่สำหรับผู้ที่ศึกษาศาสตร์ทางด้านนี้กลับมีความเชื่อมั่น ด้วยมีการค้นพบสัตว์หลายชนิดที่โลกไม่รู้จักหรือคิดว่าสูญพันธุ์ไปแล้วหลายอย่าง เช่น ปลาซีลาแคนท์ ที่แอฟริกา, ซาวลา ที่เวียดนาม เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวิทยาสัตว์ลึกลับ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก

วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก (Herpetology) เป็นสัตววิทยาแขนงหนึ่ง ที่ศึกษาโดยเฉพาะกับสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก อาทิ เต่า, ตะพาบ, จระเข้, กิ้งก่า, จิ้งจก, ตุ๊กแก, งู, กบ, คางคก, ซาลาแมนเดอร์, ทัวทารา โดยคำว่า "Herpetology" มาจากภาษากรีก คำว่า ἑρπήτόν (herpeton) หมายถึง "สัตว์ที่น่าขยะแขยง" และ λογία (logia) หมายถึง "ความรู้ หรือ การศึกษา" ซึ่งผู้ที่มีความสนใจหรือศึกษาศาสตร์ด้านนี้โดยเฉพาะเรียกว่า นักวิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สำหรับ ผู้ที่จะเป็นนักวิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกได้นั้นต้องมีภูมิหลังการศึกษาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์อย่างดีเยี่ยม มีสถาบันการศึกษาเพียงไม่กี่แห่งเท่านั้นที่เปิดสอนศาสตร์แขนงนี้ สำหรับในประเทศไทยแล้ว การเปิดสอนศาสตร์แขนงนี้ในสถาบันการศึกษาโดยตรงยังไม่มี แต่จะอยู่ในภาควิชาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นต้นและมีผู้นิยมชมชอบและเชี่ยวชาญอยู่จำนวนไม่น้อย เช่น ผู้ที่นิยมการเลี้ยงสัตว์แปลก ๆ หรือ ผู้ที่ทำงานด้านนี้ในทางวิชาการ อาทิ น.อ.(พิเศษ) วิโรจน์ นุตพันธุ์, จารุจินต์ นภีตะภัฏ, ธัญญา จั่นอาจ, วีรยุทธ์ เลาหะจินดา เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก · ดูเพิ่มเติม »

วิตรูวิอุส

''วิทรูเวียนแมน'' เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี วิตรูวิอุส มีชื่อเต็มว่า มาร์กุส วิตรูวิอุส ป็อลลิโอ (Marcvs Vitrvvivs Pollio; เกิดในช่วง 80-70 ปีก่อนคริสต์ศักราช - 25 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เป็นนักเขียน สถาปนิก และวิศวกรแห่งอาณาจักรโรมัน เป็นบุคคลที่มีบันทึกเกี่ยวกับประวัติชีวิตส่วนตัวน้อยมาก สิ่งที่คนรุ่นหลังรู้จักเกี่ยวกับตัวเขาคือผ่านผลงานของเขา วิตรูวิอุสเกิดในสถานภาพราษฎรโรมันเต็มตัว ได้เข้ารับราชการทหารและประจำอยู่ในกองวิศวกรรมซึ่งมีหน้าที่สร้างเครื่องกลต่าง ๆ เพื่อใช้ในการทำสงคราม ต่อมาได้รับการว่าจ้างจากจักรพรรดิเอากุสตุสให้ทำงานกับราชสำนัก วันเวลาของการเสียชีวิตของวิตรูวิอุสนั้นนักประวัติศาสตร์ไม่สามารถหาหลักฐานที่ชัดเจนได้ แสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ว่า ในยุคสมัยที่เขาอยู่นั้น เขาไม่ได้เป็นคนสำคัญที่มีชื่อเสียงแต่อย่างใด นักประวัติศาสตร์เชื่อว่า วิตรูวิอุสเป็นผู้เขียนศาสตรนิพนธ์ชื่อ ว่าด้วยสถาปัตยกรรม (De architectvra) โดยเขียนเป็นภาษาละตินและภาษากรีก เป็นงานที่เขียนถวายให้กับจักรพรรดิเอากุสตุส และเป็นหนังสือเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมเพียงเล่มเดียวในยุคนั้นที่มีหลักฐานหลงเหลือมาจนถึงปัจจุบัน ข้อความเขียนโดยวิตรูวิอุสที่ได้รับการอ้างอิงมากที่สุดและยังคงใช้กันมาต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน คือ สถาปัตยกรรมต้องมีคุณลักษณะสามประการ ได้แก่ ความแข็งแรงมั่นคง (firmitas), การใช้ประโยชน์ได้ (vtilitas) และความงาม (venvstas) แนวคิดที่สำคัญอีกประการของวิตรูวิอุสนั้นคือ แนวคิดเกี่ยวกับการมองสถาปัตยกรรมเป็นการสร้างสรรค์เลียนแบบองค์ประกอบของธรรมชาติ เพราะมนุษย์ต้องใช้วัสดุจากธรรมชาติมาสร้างสถาปัตยกรรม ภาษาของสถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นต้องมีความสัมพันธ์กับลักษณะทางธรรมชาติของมนุษย์ ชาวกรีกได้นำหลักการนี้ไปเป็นพื้นฐานในการพัฒนาองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมคลาสสิก เช่น เสาแบบดอริก เสาแบบไอออนิก หรือเสาแบบคอรินเทียน ทุกสัดส่วนที่เกิดขึ้นนั้นมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่งานอันเป็นสุดยอดแห่งการสร้างสรรค์ของธรรมชาติ ได้แก่ร่างกายของมนุษย์นั่นเอง แนวคิดเกี่ยวกับร่างกายมนุษย์ดังกล่าวได้รับการนำไปถ่ายทอดเป็นภาพเขียนที่มีชื่อเสียงชื่อ "วิทรูเวียนแมน" หรือมนุษย์วิตรูวิอุส ซึ่งเขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวิตรูวิอุส · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ยางนา

วงศ์ยางนา หรือ วงศ์ไม้ยาง หรือDipterocarpaceae เป็นวงศ์ของไม้ยืนต้นมีสมาชิก 17 สกุลและประมาณ 500 สปีชีส์ ส่วนใหญ่เป็นพืชเขตร้อน ในป่าฝนเขตร้อนระดับล่าง ชื่อของวงศ์นี้มาจากสกุล Dipterocarpus ซึ่งมาจากภาษากรีก (di.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ยางนา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์วานวิวัฒนาการ

ในทางชีววิทยา วงศ์วานวิวัฒนาการ (Phylogenetics) (Greek: φυλή, φῦλον - phylé, phylon.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์วานวิวัฒนาการ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ทานตะวัน

วงศ์ทานตะวัน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Asteraceae หรือ Compositae) จัดเป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางStevens, P. F. (2001 onwards) Angiosperm Phylogeny Website.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ทานตะวัน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า

วงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (ชื่อวิทยาศาสตร์: Elapidae; Cobra, Sea snake, King cobra, Taipan, Mamba) เป็นวงศ์ของงูวงศ์หนึ่ง ที่มีพิษร้ายแรง สามารถทำให้มนุษย์หรือสัตว์ขนาดใหญ่ต่าง ๆ ตายได้เมื่อถูกพิษเข้าสู่กระแสเลือด ซึ่งคำว่า Elapidae ที่ใช้เป็นชื่อทางวิทยาศาสตร์นั้นมาจากภาษากรีกคำว่า "éllops" หมายถึง งูทะเล มีลักษณะโดยทั่วไป คือ กระดูกพรีแมคซิลลาไม่มีฟัน กระดูกแมคซิลลาเรียงตัวตามยาวและมีฟันเขี้ยวขนาดใหญ่เห็นได้ชัดเจนอยู่ทางด้านหน้า ช่องเปิดของตาอยู่ตรงรอยต่อระหว่างกระดูกฟรอนทัล-กระดูกพาไรทัล-กระดูกพาราสฟีนอยด์ ขากรรไกรล่างไม่มีกระดูกโคโรนอยด์และกระดูกเดนทารีมีฟัน ไม่มีกระดูกเชิงกราน ไม่มีปอดข้างซ้ายหรือมีแต่ก็เล็กมาก มีท่อนำไข่ทั้งสองข้างและเจริญเท่ากัน เป็นวงศ์ที่มีจำนวนสมาชิกมาก กระจายไปอยู่ทั่วโลก ยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา จึงแบ่งออกเป็นวงศ์ย่อย ๆ ได้อีก 3 วงศ์ และแบ่งเป็นสกุลทั้งหมด 61 สกุล และแบ่งเป็นชนิดประมาณ 325 ชนิด เป็นวงศ์ของงูที่มีพิษร้ายแรง สมาชิกในวงศ์นี้ที่เป็นที่รู้จักกันดี คือ งูเห่า (Naja kaouthia), งูจงอาง (Ophiophagus hannah) ซึ่งเป็นงูที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ โดยความยาวเต็มที่อาจยาวได้ถึง 5.5 เมตร รวมถึงงูทะเลด้วย ซึ่งถูกจัดให้อยู่ในวงศ์ย่อย Hydrophiinae ซึ่งเป็นหนึ่งในวงศ์ย่อยของวงศ์นี้เลยทีเดียว โดยลักษณะแต่ละอย่างของวงศ์ย่อยต่าง ๆ แบ่งออกได้เป็นดังนี้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากระโทง

ปลากระโทงร่มอินโด-แปซิฟิก วงศ์ปลากระโทง, วงศ์ปลากระโทงแทง หรือ วงศ์ปลาปากนก ปลากระดูกแข็งขนาดใหญ่จำพวกหนึ่งอาศัยอยู่ในทะเล อยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Istiophoridae โดยคำว่า Istiophoridae ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์นั้น มาจากภาษากรีกคำว่า "Ιστίων" (Istion) หมายถึง "ใบเรือ" รวมกับคำว่า "φέρειν" (pherein) หมายถึง "แบกไว้" ปลากระโทง เป็นปลาทะเลขนาดใหญ่ที่มีความปราดเปรียวและว่องไวมาก จัดเป็นปลาที่สามารถว่ายน้ำได้เร็วที่สุดในโลกด้วยมีกล้ามเนื้อที่ทรงพลัง และกระดูกหลังที่มีความยืดหยุ่นสูง สามารถพุ่งจากน้ำได้เร็ว 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง และในฤดูอพยพอาจทำความเร็วได้ 90 กิโลเมตร/ชั่วโมง มีลำตัวค่อนข้างกลม ปากกว้าง มีฟันแบบวิลลิฟอร์ม ครีบหลังและครีบก้นมีอย่างละ 2 ครีบ ไม่มีครีบฝอย ครีบท้องมีก้านครีบ 1-3 ก้าน มีสันที่คอดหาง ครีบหางเว้าลึก มีจุดเด่นคือปลายปากด้านบนมีกระดูกยื่นยาวแหลมออกมา ใช้ในการนำทาง ล่าเหยื่อ และป้องกันตัว ซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นสิ่งที่เหลืออยู่จากยุคก่อนประวัติศาสตร์ เพื่อป้องกันตัวจากบรรดาปลานักล่าต่าง ๆ ที่มีอยู่ดาษดื่นSuper Fish: fastest predator in the sea, สารคดีทางแอนิมอลพลาเน็ต.ทางทรูวิชั่นส์: เสาร์ที่ 15 มิถุนายน 2556 มีครีบกระโดงหลังมีสูงแหลม ในบางชนิด จะมีกระโดงสูงมากและครอบคลุมเกือบเต็มบริเวณหลัง ดูแลคล้ายใบเรือ มีสีและลวดลายข้างลำตัวแตกต่างออกไปตามแต่ชนิด ซึ่งจะเปลี่ยนไปตามสภาพอารมณ์ หากตกใจหรือเครียด สีจะซีด และใช้เป็นสิ่งที่แยกของปลาแต่ละตัว โดยมากแล้วมักจะอาศัยหากินอยู่บริเวณผิวน้ำ พบได้ในทะเลเขตอบอุ่นและเขตร้อนทั่วโลก ออกล่าเหยื่อเป็นปลาขนาดเล็กกว่า บางครั้งอาจอยู่รวมเป็นฝูงนับร้อยตัว มักล่าเหยื่อในเวลากลางวัน เนื่องจากเป็นปลาที่ล่าด้วยประสาทสัมผัสทางตาเป็นหลัก สามารถโดดพ้นน้ำได้สูงและมีความสง่างามมาก จึงนิยมตกเป็นเกมกีฬา ได้รับฉายาจากนักตกปลาว่าเป็น "ราชินีแห่งท้องทะล" โดยมักจะออกตกด้วยการล่องเรือไปกลางทะเลและตกด้วยอุปกรณ์ชนิดต่าง ๆ ซึ่งต้องใช้ด้วยกันเวลาหลายชั่วโมง ด้วยการให้ปลายื้อเบ็ดจนหมดแรงเอง โดยปลากระโทงชนิดที่ใหญ่ที่สุดคือ ปลากระโทงสีน้ำเงิน (Makaira nigricans) เป็นชนิดที่พบที่มหาสมุทรแอตแลนติก ที่สามารถโตเต็มที่ได้ถึง 5 เมตร หนักกว่า 636 กิโลกรัม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลากระโทง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากระเบนหางสั้น

วงศ์ปลากระเบนหางสั้น (Freshwater stingray, River stingray, Short-tail stingray) เป็นปลากระเบนวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Potamotrygonidae โดยคำว่า "Potamotrygon" เป็นภาษากรีก (Ποταμός; potamos) แปลว่า "แม่น้ำ" และภาษากรีกคำว่า "trygon" แปลว่า "ปลากระเบน" พบกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาใต้ มีรูปร่างกลมคล้ายจานข้าวหรือแผ่นซีดี หางมีขนาดสั้นเมื่อเทียบกับปลากระเบนในวงศ์อื่น ๆ พบทั้งหมด 4 สกุล ในหลายชนิด (ดูในเนื้อหาข้างล่าง) บางชนิดหางสั้นมากจนดูขัดกับขนาดลำตัว เช่น ชนิด Paratrygon aiereba มีขนาดแตกต่างออกไปตามชนิด ตั้งแต่มีขนาดไม่เกิน 2 ฟุต เช่น ชนิด Potamotrygon hystrix ไปจนถึงขนาดหนึ่งเมตร เช่น P. motoro มีสีสันด้านบนลำตัวและหางสวยงาม บางชนิดมีสีลำตัวเป็นสีดำ และมีลวดลายเป็นลายจุดสีขาว เช่น P. leopoldi หรือ P. henlei ในบางชนิดมีสีพื้นเป็นสีเหลือง และมีลวดลายสีดำทำให้แลดูคล้ายลายเสือ เช่น P. menchacai ทั้งนี้ลวดลายและสีสันแตกต่างออกไปตามแต่ละตัว ซึ่งในบางครั้งขึ้นอยู่กับถิ่นที่อยู่อาศัยด้วย ทำให้ในชนิดเดียวกัน ยังมีหลายสี หลายลวดลาย อีกด้วย สันนิษฐานว่าเป็นไปเพื่อใช้ในการพรางตัวกับให้กลมกลืนกับสภาพพื้นน้ำ บริเวณโคนหางมีเงี่ยงแข็งอยู่ 2 ชิ้น ใช้สำหรับป้องกันตัว ซึ่งเงี่ยงนี้มีพิษและมีฤทธิ์ในการทำลายเนื้อเยื่อของสิ่งที่ถูกแทง เคยมีมนุษย์เสียชีวิตมาแล้วจากการโดนเงี่ยงนี้แทงโดยไม่ระมัดระวังตัว เพราะเสียเลือดมาก โดยชาวพื้นเมืองในอเมริกาใต้เรียกว่า "Chucho de rio" แปลว่า "สุนัขทะเล" โดยปรกติหากินตามพื้นน้ำ ไม่ค่อยขึ้นมาหากินบนผิวน้ำนัก ในพื้นถิ่นถูกใช้เป็นอาหารและตกเป็นเกมกีฬา จากสีสันที่สวยงามและขนาดของลำตัวที่ไม่ใหญ่และหางที่ไม่ยาวเกินไปนัก จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งพบว่า ปลากระเบนในวงศ์นี้สามารถผสมพันธุ์และออกลูกได้ง่ายกว่าปลากระเบนในวงศ์อื่น สามารถผสมพันธุ์และออกลูกในตู้กระจกได้เลย โดยสามารถให้ลูกครั้งละ 4-5 ตัว ถึง 20 ตัว ขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของพ่อแม่ปลาและสายพันธุ์ จึงทำให้ได้รับความนิยมมาก ในบางครั้งมีการผสมข้ามสายพันธุ์เพื่อให้เกิดเป็นสายพันธุ์ใหม่ สีสันและลวดลายใหม่ ที่ไม่สามารถระบุชื่อทางวิทยาศาสตร์ได้ด้วย ซึ่งปลากระเบนในวงศ์นี้เป็นปลาน้ำจืดทั้งหมด แตกต่างไปจากปลากระเบนในวงศ์ปลากระเบนธง ที่พบในน้ำจืดหรือน้ำกร่อยเพียงบางชนิดเท่านั้น และด้วยความที่พบการแพร่กระจายพันธุ์เฉพาะแหล่งน้ำในทวีปอเมริกาใต้เท่านั้น จึงทำให้มีการสันนิษฐานเรื่องธรณีสัณฐานของโลกว่า ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ บริเวณที่เป็นทวีปอเมริกาใต้และแม่น้ำอเมซอนเคยเป็นทะเลมาก่อน ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา และปลากระเบนที่เป็นบรรพบุรุษของวงศ์นี้ก็ได้เข้ามาอยู่อาศัย และวิวัฒนาการจนสามารถอยู่ในน้ำจืดสนิทได้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลากระเบนหางสั้น · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากราย

วงศ์ปลากราย (Featherback fish, Knife fish) เป็นปลากระดูกแข็งน้ำจืดที่อยู่ในอันดับ Osteoglossiformes คือ ปลาที่มีกระดูกแข็งบริเวณส่วนหัวและลิ้น อันเป็นอันดับเดียวกับปลาในวงศ์ปลาตะพัดและปลาไหลผีอะบาอะบา ใช้ชื่อวงศ์ว่า Notopteridae (/โน-ท็อป-เทอ-ริ-เด-อา/; มาจากภาษากรีกคำว่า noton หมายถึง "หลัง" และ pteron หมายถึง "ครีบ") เป็นปลาน้ำจืด มีรูปร่างแบนด้านข้างมาก และเรียวไปทางด้านท้าย ครีบหลังเล็ก ครีบก้นและครีบหางยาวติดกัน จึงใช้ครีบก้นที่ยาวติดกันนี้โบกพริ้วในเวลาว่ายน้ำ ครีบท้องมีขนาดเล็กมาก ปากกว้าง เกล็ดเป็นแบบขอบบางเรียบ และมีขนาดเล็กละเอียด บางครั้งอาจจะขึ้นมาผิวน้ำเพื่อฮุบอากาศโดยไม่ต้องผ่านซี่กรองเหงือกเหมือนเช่นปลาทั่วไปอื่น ๆ เนื่องจากเป็นปลาที่มีอวัยวะพิเศษพัฒนามาจากถุงลมใช้ในการหายใจได้โดยตรง เป็นปลากินเนื้อที่ออกหากินในเวลากลางคืน มีจุดเด่นคือ ครีบก้นที่ต่อกับครีบหาง มีก้านครีบทั้งหมด 85-141 ก้าน เป็นครีบที่ปลาในวงศ์นี้ใช้ในการว่ายน้ำมากที่สุด ไม่ว่าจะเคลื่อนที่ไปทิศทางใด ส่วนที่อยู่เหนือครีบก้นขึ้นไปจะเป็นกล้ามเนื้อหนาทำหน้าที่เช่นเดียวกับครีบก้น ซึ่งส่วนของกล้ามเนื้อตรงนี้ มีชื่อเรียกกันในภาษาพูดว่า "เชิงปลากราย" จัดเป็นส่วนที่มีรสชาติอร่อยมาก พฤติกรรมเมื่อวางไข่ตัวผู้และตัวเมียช่วยกันดูแลไข่ ไข่เป็นก้อนสีขาวทึบ ติดเป็นกลุ่มกับวัสดุใต้น้ำเช่นตอไม้หรือเสาสะพาน เลี้ยงดูลูกจนโต พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปแอฟริกา, เอเชียใต้จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีทั้งสิ้น 4 สกุล 10 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลากราย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากะพงสลิด

ระวังสับสนกับ ปลาสลิดทะเล วงศ์ปลากะพงสลิด หรือ วงศ์ปลาหางเสือ (Drummer, Sea chub, Rudderfish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งทะเลวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Kyphosidae ซึ่งมาจากภาษากรีกคำว่า κυφος (kyphos) หมายถึง "โหนก" มีลักษณะโดยรวม คือ เป็นปลาขนาดกลาง ลำตัวป้อม แบนข้าง ครีบหางเว้าตื้น ส่วนหัวมน ปากมีขนาดเล็กคล้ายปลาสลิดทะเล ครีบหลังเชื่อมต่อเป็นครีบเดียว เป็นปลาทะเลทั้งหมด มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง มักหากินอยู่กลางน้ำ ถึงใกล้ผิวน้ำในแนวปะการัง, กองหินใต้น้ำ และวัสดุลอยน้ำต่าง ๆ หลายชนิดพบตามแนวปะทะคลื่น หรือ อ่าวที่มีคลื่นลมรุนแรง กินแพลงก์ตอนสัตว์และเศษอาหารบนผิวน้ำเป็นอาหาร ในแหล่งดำน้ำหลายแห่งมักพบปลาในวงศ์นี้กินขนมปังจากนักท่องเที่ยวเป็นอาหาร สามารถแบ่งออกได้เป็น 42 ชนิด จากทั้งหมด 15 สกุล ซึ่งยังสามารถแบ่งออกได้เป็นวงศ์ย่อยอีก 5 วงศ์ด้วยกัน คือ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลากะพงสลิด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากะพงดำ

วงศ์ปลากะพงดำ (Tripletail) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง ใช้ชื่อว่า Lobotidae ซึ่งคำว่า Lobotidae มาจากภาษากรีกคำว่า "Lobo" หมายถึง ก้านครีบ ลักษณะของปลาในวงศ์นี้ ลักษณะลำตัวแบนค่อนข้างลึก ความยาวหัวจะสั้นกว่าความลึกลำตัว ปากกว้างเฉียงขึ้น มุมปากจะอยู่แนวเดียวกับปุ่มกลางนัยน์ตา ครีบหลังจะเป็นก้านครีบเดี่ยวเป็นซี่ปลายแหลมประมาณ 11-13 ก้าน และก้านครีบแขนง 13-16 ก้าน ส่วนครีบหลัง ครีบก้น ครีบหางขนาดใกล้เคียงกันดูเหมือนจะมีครีบหาง 3 ครีบ อันเป็นที่มาของชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ มีลักษณะเด่นอีกประการ คือ มีสีลำตัวที่ดูเลอะเปรอะเปื้อนเพื่อใช้ในการอำพรางตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม โดยปลาในวงศ์นี้มักจะอยู่ลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ โดยใช้ส่วนหัวทิ่มลงกับพื้น และมักแอบอยู่ตามวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำ เช่น ซากเรือจม, กองหิน หรือ ขอนไม้ และขณะเป็นลูกปลาวัยอ่อนมักจะลอยตัวนิ่ง ๆ ดูเหมือนใบไม้อีกด้วย โดยมักพบตามปากแม่น้ำหรือป่าชายเลน แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด และมีเพียงสกุลเดียวเท่านั้น ได้แก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลากะพงดำ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากดอเมริกัน

วงศ์ปลากดอเมริกัน หรือ วงศ์ปลากดหลวง (Bullhead catfish, North American freshwater catfish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งน้ำจืด ในอันดับปลาหนัง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Ictaluridae (/อิค-ทา-ลู-ริ-ดี้/; มาจากภาษากรีก ιχθυς หมายถึง "ปลา" และ αιλουρος หมายถึง "แมว" หรือ"ปลาหนัง") มีหนวด 4 คู่ ผิวไม่มีเกล็ด ครีบอกมักจะมีก้านครีบแข็ง ครีบหลังมักจะมีก้านครีบอ่อน 6 ก้าน มีฟันในเพดานปาก ยกเว้นในสกุล Astephus ซึ่งสูญพันธุ์ไปแล้ว ก้านครีบแข็งมีพิษ พบทั้งหมด 7 สกุล (ดูในตาราง) 45 ชนิด เป็นปลาขนาดใหญ่ ชนิดที่ใหญ่ที่สุดคือ ปลากดอเมริกันสีน้ำเงิน (Ictalurus furcatus) มีบันทึกว่ามีน้ำหนักมากกว่า 50 กิโลกรัม (110 ปอนด์) ความยาวสูงสุดคือ 160 เซนติเมตร (5.2 ฟุต) ขณะที่ชนิดเล็กเมื่อโตเต็มที่ก็จะมีน้ำหนักประมาณครึ่งกิโลกรัม (1 ปอนด์) ในขณะที่บางชนิดไม่มีตา เป็นปลาที่กระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปอเมริกาเหนือจนถึงกัวเตมาลา Nelson, Joseph S. (2006).

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลากดอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลามังกรน้อย

วงศ์ปลามังกรน้อย (Dragonet, Scotter blenny, ชื่อวิทยาศาสตร์: Callionymidae) เป็นวงศ์ปลาทะเลขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง อยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) ซึ่งอยู่ในอันดับเดียวกัน แต่วงศ์ปลามังกรน้อยไม่จัดอยู่ในวงศ์ปลาบู่ แต่กลับมีความใกล้เคียงกับปลาในวงศ์ปลามังกรน้อยลาด (Draconettidae) มากกว่า โดยคำว่า "Callionymidae" ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์นั้นมาจากภาษากรีกคำว่า "Kallis" ซึ่งแปลว่า "สวย" และ "onyma" แปลว่า "ชื่อ" เป็นปลาขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ราว 10 เซนติเมตร โดยชนิดที่มีความยาวที่สุด 17 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในเขตร้อนและเขตอบอุ่นของอินโด-แปซิฟิก หากินโดยใช้ปากที่มีขนาดเล็กคุ้ยเขี่ยพื้นทรายหากินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร โดยจะหากินในเวลากลางคืนเริ่มตั้งแต่พลบค่ำ ตามแนวปะการังหรือกองหินใต้น้ำ มีรูปร่างโดยรวม คือ มีส่วนหัวขนาดโต ดวงตากลมมีขนาดใหญ่ มีครีบต่าง ๆ ขนาดใหญ่ โดยเฉพาะครีบหางและครีบท้อง ซึ่งแข็งแรงมาก มีพฤติกรรมใช้ครีบท้องนี้คืบคลานหาอาหารตามพื้นทรายมากกว่าจะว่ายน้ำ โดยมีครีบหางเป็นเครื่องบังคับทิศทาง มีเงี่ยงครีบหลัง 4 ก้าน มีก้านครีบอ่อน 6-11 ก้าน ก้านครีบก้น 4-10 ก้าน มีเส้นข้างลำตัว มีกระดูกเรเดียส 3 ชิ้น ตัวผู้และตัวเมียมีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด คือ ตัวผู้มีกระโดงครีบหลังชี้ยาวออกมาเห็นเป็นจุดเด่น ขณะที่ตัวเมียไม่มี โดยมากแล้วมีสีสันและลวดลายสดใสสวยงามมาก มีพฤติกรรมการวางไข่ โดยตัวผู้จะว่ายน้ำไปรอบ ๆ ตัวเมีย พร้อมเบ่งสีและครีบต่าง ๆ เพื่อเกี้ยวพา เมื่อตัวเมียปล่อยไข่ออกมาแล้ว ตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อเข้าผสมทันที ไข่จะลอยไปตามกระแสน้ำ ตัวอ่อนใช้ชีวิตเบื้องต้นเป็นเหมือนแพลงก์ตอน ในบางชนิดมีรายงานว่ามีพิษด้วย ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานแล้ว 18 สกุล (ดูในตาราง) ราว 130 ชนิด และเนื่องจากเป็นปลาสวยงาม จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามในตู้ปะการัง ซึ่งบางชนิดสามารถเพาะเลี้ยงในที่เลี้ยงได้แล้ว อาทิ ปลาแมนดาริน (Synchiropus splendidus), ปลาแมนดารินจุด (S. picturatus) เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลามังกรน้อย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างขวา

วงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างขวา หรือ วงศ์ปลาแฮลิบัต (Righteye flounder, Halibut, Dab) เป็นปลากระดูกแข็งในอันดับปลาซีกเดียว (Pleuronectiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Pleuronectidae ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในทะเล มีบางชนิดเท่านั้นที่อาศัยอยู่ในน้ำกร่อย และชนิดที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดจะหาได้ยากมาก แพร่กระจายในมหาสมุทรอาร์กติก, แอตแลนติก, อินเดีย และแปซิฟิก ตาทั้งสองข้างโดยปกติอยู่ด้านขวา ครีบไม่มีก้านครีบ ครีบหลังและครีบทวารยาวและต่อเนื่องกัน โดยที่ครีบหลังจะยาวเลยส่วนหัวไป ถุงลมที่ช่วยในการว่ายน้ำจะหายไปเมื่อปลาโตขึ้น เม็ดสีด้านที่หงายขึ้นจะสามารถปรับเปลี่ยนผิวหนังให้เข้ากับสภาพพื้นใต้น้ำได้ดี ปลาในวงศ์นี้จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในอันดับนี้ เป็นปลาที่มักพบอาศัยในน้ำลึก อาจจะพบได้ลึกถึง 2,000 เมตร (6,600 ฟุต) พบทั้งหมดประมาณ 101 ชนิด ใน 41 สกุล 8 วงศ์ย่อย (ดูในตาราง-ขณะที่บางข้อมูลจะแบ่งเพียงแค่ 5) โดยชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ ปลาแอตแลนติกแฮลิบัต (Hippoglossus hippoglossus) ที่ใหญ่ได้กว่าถึง 2-4.7 เมตร โดยคำว่า Pleuronectidae ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์นั้น มาจากภาษากรีก คำว่า πλευρά (pleura) หมายถึง "ด้านข้าง" และ νηκτόν (nekton) หมายถึง "ว่ายน้ำ".

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างขวา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาลิ้นเสือ

วงศ์ปลาลิ้นเสือ หรือ วงศ์ปลาลิ้นหมาฟันใหญ่ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Paralichthyidae) เป็นปลากระดูกแข็งในอันดับปลาซีกเดียว (Pleuronectiformes) พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแอตแลนติก, อินเดีย และแปซิฟิก ส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในทะเล ชนิดที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดหาได้ยากมาก ลำตัวด้านขวาจะราบไปกับพื้นน้ำ ตาทั้งสองข้างอยู่ด้านซ้ายของลำตัวบริเวณส่วนหัวเหมือนกับวงศ์ปลาลิ้นหมาตาข้างซ้าย (Bothidae) ลักษณะเด่น คือ ไม่มีก้านครีบบริเวณครีบอกและครีบเชิงกราน ฐานครีบเชิงกรานจะสั้นและเกือบจะสมมาตร โดยมากจะพบได้ในเขตอบอุ่นหรือเขตร้อน มีความสำคัญทางเศรษฐกิจและตกปลาในเชิงการกีฬา อาทิ ปลาแฮลิบัตญี่ปุ่น (Paralichthys olivaceus) ขณะที่ในน่านน้ำไทย มีหลายชนิด ชนิดที่พบได้บ่อยที่สุด คือ ปลาลิ้นเสือ (Pseudorhombus arsius) ปัจจุบัน มีการจำแนกไว้ทั้งหมด 14 สกุล (ดูในตาราง) 115 ชนิด โดยที่คำว่า Paralichthyidae ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์นั้น มาจากภาษากรีก paralia หมายถึง "ด้านข้างทะเล", coast บวกกับภาษากรีกคำว่า ichthys หมายถึง "ปลา".

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลาลิ้นเสือ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาวัวจมูกยาว

วงศ์ปลาวัวจมูกยาว หรือ วงศ์ปลาตะไบ (วงศ์: Monacanthidae, เกาหลี: 쥐치) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) วงศ์หนึ่ง มีรูปร่างโดยรวม คือ มีผิวหนังที่หยาบ มีเกล็ดเล็กละเอียดปกคลุมทั้งตัว ครีบหลังแบ่งเป็น 2 ตอน มีก้านครีบหลังก้านแรกเป็นแท่งกระดูกใหญ่ ซึ่งแหลมและแข็งแรงคล้ายเขาสัตว์ ซึ่งสามารถใช้ยกขึ้นเพื่อป้องกันตัวเองได้ ครีบหลังตอนที่ 2 เป็นครีบที่อ่อนนุ่ม ครีบท้องลดรูปไปโดยที่ก้านครีบก้านแรกเป็นเงี่ยงแข็ง ครีบก้นยาว ครีบหางกลมเป็นรูปพัด มีฟันในขากรรไกรด้านนอก 3 ชุด และด้านใน 2 ชุด มีจุดเด่น คือ ในบางสกุลมีจะงอยปากยื่นนยาวออกมาคล้ายท่อหรือหลอด ใช้สำหรับซอกซอนหาอาหารในแนวปะการัง และมีรูปร่างที่เรียวยาวอย่างเห็นได้ชัด โดยมากแล้วเป็นปลาที่มีขนาดเล็ก มีความยาวโดยเฉลี่ยเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 60 เซนติเมตร โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุดยาวได้ถึง 110 เซนติเมตร พบทั้งหมด 26 สกุล ราว 107 ชนิด กระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแอตแลนติก, แปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย เป็นปลาที่อาศัยอยู่ตามแนวปะการังหรือตามกอสาหร่ายที่มีกระแสน้ำไหลอ่อน ๆ ในระดับความลึกไม่เกิน 30 เมตร โดยหากินสัตว์น้ำที่ไม่มีกระดูกสันหลังเหมือนกับปลาในวงศ์อื่นในอันดับเดียวกัน โดยจะกินปะการังเขากวาง (Acropora spp.) เป็นอาหารหลัก หากินในเวลากลางวัน และนอนหลับในแนวปะการังในเวลากลางคืน มีการแพร่พันธุ์โดยการวางไข่ในแหล่งน้ำกร่อย มีตัวผู้เป็นผู้ดูแล เป็นปลาที่เป็นที่นิยมชื่นชอบถ่ายรูปของนักดำน้ำอีกจำพวกหนึ่ง ซึ่งไม่มีอุปนิสัยดุร้ายก้าวร้าวเหมือนปลาในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) และยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้ด้วย อีกทั้งในอาหารเกาหลี ยังสามารถทำเป็นอาหารรับประทานเล่นได้ด้วย โดยแปรรูปเป็นขนมอบแห้งเรียกว่า "จุยโป" (쥐포) และในอดีตมีการใช้หนังของปลาในวงศ์ปลาวัวจมูกยาวนี้ทำเรือไม้ด้วย โดยคำว่า Monacanthidae ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์ในทางวิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษากรีกคำว่า "Monos" หมายถึง เดี่ยว หรือ อันเดียว ผสมกับคำว่า "Akantha" หมายถึง หนาม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลาวัวจมูกยาว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาวัวจมูกสั้น

วงศ์ปลาวัวจมูกสั้น (วงศ์: Triacanthidae, Tripodfish, Hornfish) เป็นวงศ์ของปลาทะเลกระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง อยู่ในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) มีรูปร่างและลักษณะโดยรวมคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) หรือวงศ์ปลาวัวจมูกยาว (Monacanthidae) ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ต่างวงศ์กัน แต่อยู่ในอันดับเดียวกัน คือ มีผิวที่หยาบเหนียว หรือเป็นแผ่นกระดูกหนาเรียงติดต่อกัน มีฟันแหลมคมต่อกันเป็นแผ่น ใช้สำหรับแทะเล็มหาอาหารจำพวกครัสตาเชียนหรือหอยหรือสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ ตามแนวปะการังและพื้นทะเล มีก้านครีบหลังก้านแรกเป็นแท่งกระดูกใหญ่ ซึ่งแหลมและแข็งแรงคล้ายเขาสัตว์ ซึ่งสำหรับปลาในวงศ์ปลาวัวจมูกสั้นแล้ว จะมีเงี่ยง 2 เงี่ยงที่แหลมคมและแข็งแรงบริเวณส่วนหน้าอกยื่นออกมาแหลมยาวอย่างเห็นได้ชัดเจน ซึ่งสามารถใช้จับตั้งวางกับพื้นได้ อันเป็นที่มาของชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ ครีบหลังมีก้านครีบ 20-26 ก้าน ขณะที่ครีบก้นมีก้านครีบ 13-22 ก้าน มีส่วนหน้าและจะงอยปากที่สั้นทู่กว่าเมื่อเทียบกับปลาใน 2 วงศ์ข้างต้นอย่างเห็นได้ชัด มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 15-30 เซนติเมตร เป็นปลาที่มักพบในแนวปะการังและบริเวณใกล้ชายฝั่งหรือตามปากแม่น้ำ ในเขตร้อนหรือเขตอบอุ่นของอินโดแปซิฟิก ซึ่งในบางชนิดอาจปรับตัวให้เข้ากับน้ำกร่อยได้ด้วย ซึ่งคำว่า Triacanthidae ซึ่งใช้เป็นชื่อทางวิทยาศาสตร์มาจากภาษากรีก คำว่า "Tri" หมายถึง "สาม" ผสมกับคำว่า "Akantha" ซึ่งหมายถึง "หนาม".

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลาวัวจมูกสั้น · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาสลิดหิน

ระวังสับสนกับ ปลาสลิดทะเล วงศ์ปลาสลิดหิน (Damsel, Demoiselle) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งในอันดับปลากะพง (Perciformes) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pomacentridae เป็นปลาทะเลหรือน้ำกร่อยขนาดเล็ก โดยรวมแล้วมีขนาดประมาณ 4-8 เซนติเมตร มีความโดดเด่นตรงที่มีสีสันและลวดลายสดใสสวยงาม จึงเป็นที่นิยมของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์อยู่ตามแนวปะการัง นับเป็นปลาที่พบได้บ่อยและชุกชุมที่สุดในแนวปะการัง พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทะเลและมหาสมุทรเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก เป็นปลาที่อาศัยอยู่เป็นฝูง มีอุปนิสัยก้าวร้าวพอสมควร มักกัดทะเลาะวิวาทกันเองภายในฝูง กินอาหารจำพวก แพลงก์ตอน, สาหร่าย และสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ จัดเป็นปลาที่วงศ์ใหญ่ มีจำนวนสมาชิกในวงศ์ประมาณ 360 ชนิด ใน 29 สกุลหรือวงศ์ย่อย ซึ่งหนึ่งในนั้นเป็นปลาที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ ปลาการ์ตูน (Amphiprioninae) ที่มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 28 ชนิด โดยที่คำว่า Pomacentridae ที่เป็นภาษาละตินที่ใช้เป็นชื่อวงศ์ในทางวิทยาศาสตร์นั้น แปลงมาจากภาษากรีกคำว่า "poma" แปลว่า "ปก" หมายถึง "แผ่นปิดเหงือก" และ "kentron" แปลว่า "หนาม" ซึ่งหมายถึง "หนามที่บริเวณแผ่นปิดเหงือกอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของปลาในวงศ์นี้" ลักษณะทางชีววิทยา คือ ลำตัวสั้นปอมรูปไขรีแบนขาง เกล็ดเป็นแบบสาก เสนขางตัวขาดตอน ครีบหลังติดกันเปนครีบเดียว มี รูจมูกเพียงคูเดียว ครีบทองอยูในตำแหนงอก ไมมีฟนที่พาลาทีน ปลาในวงศ์ปลาสลิดหิน โดยมากแล้ว เป็นปลาที่ดูแลไข่จนกระทั่งฟักเป็นตัว โดยทั้งปลาตัวผู้และตัวเมียช่วยกันดูแล แต่ก็มีบางจำพวกอย่าง ปลาการ์ตูน ที่สามารถเปลี่ยนเพศได้ตามสถานการณ์ โดยปกติแล้วเป็นปลาทะเลและปลาน้ำกร่อย แต่ก็มีบางชนิดเท่านั้นที่พบอาศัยอยู่ในน้ำจืดด้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลาสลิดหิน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาสอด

วงศ์ปลาสอด (Molly) วงศ์ปลาน้ำจืดและน้ำกร่อยจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Poeciliidae อยู่ในอันดับปลาหัวตะกั่ว หรืออันดับปลาออกลูกเป็นตัว (Cyprinodontiformes) มีชื่อสามัญเรียกโดยรวมในภาษาอังกฤษว่า "มอลลี่" (Molly) และมีชื่อเรียกในภาษาไทยว่า "ปลาสอด" ซึ่งเข้าใจว่าคงเพี้ยนมาจากคำว่า "Sword" ที่หมายถึง "ดาบ" อันเป็นลักษณะของปลายหางของปลาในวงศ์นี้บางสกุลที่คล้ายกับวงดาบ มีถิ่นกำเนิดตั้งแต่สหรัฐอเมริกาภาคตะวันออก, อเมริกากลาง, จนถึงทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้ นอกจากนี้ยังพบในบางส่วนของทวีปแอฟริกาทางตอนใต้จนถึงเกาะมาดากัสการ์ด้วย เป็นปลาที่อาศัยอยู่รวมเป็นฝูง มีพฤติกรรมหากินอยู่ตามผิวน้ำ ตัวผู้กับตัวเมียมีลักษณะที่แตกต่างกันเห็นได้ชัดเจน โดยตัวผู้มีรูปร่างเล็กกว่า แต่มีสีสันและครีบต่าง ๆ ยาวกว่า ขณะที่ตัวเมียตัวโตกว่า ท้องอูมกว่า แต่ครีบและหางสั้นกุดกว่า รวมทั้งสีสันซีดกว่าในบางชนิดด้วย นอกจากนี้ลักษณะพิเศษอีกประการหนึ่งของปลาวงศ์นี้ คือ เป็นปลาที่ปฏิสนธิภายในตัว ออกลูกเป็นตัว โดยออกลูกได้ครั้งละ 2-300 ตัว เป็นที่รู้จักกันดีในแง่ของการเป็นปลาสวยงาม มีหลายชนิดในหลายสกุล เช่น ปลาหางนกยูง (Poecilia reticulata), ปลาเซลฟิน (P. latipinna), ปลาเอนด์เลอร์ (P. wingei), ปลาสอดหางดาบ (Xiphophorus hellerii) ปัจจุบันได้มีการพัฒนาสายพันธุ์ต่าง ๆ ให้มีความหลากหลายจากดั้งเดิมยิ่งขึ้นมากมาย โดยเริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1907 ที่เยอรมนี จนเกิดเป็นชนิดใหม่ขึ้นมา เช่น "เพลตี้" (Platy) หรือ ปลาเซลฟินที่ได้ครีบหลังสูงและใหญ่ขึ้นกว่าเดิมมาก จนดูคล้ายใบเรือจริง ๆ หรือ ปลาสอดมิดไนท์ที่พัฒนาจนทั้งตัวเป็นสีดำสนิท สำหรับในประเทศไทย ปลาในวงศ์นี้ ได้ถูกนำเข้ามาสู่ประเทศครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยเลี้ยงในอ่างบัวของผู้มีฐานะ จนถึงปัจจุบันได้กลายเป็นปลาสวยงามที่เป็นที่รู้จักกันดี ด้วยคุณสมบัติที่เลี้ยงง่าย เติบโตไว ขยายพันธุ์ง่าย และมีราคาถูก อีกทั้งยังมีประโยชน์คือสามารถกินแมลงขนาดเล็ก ๆ ทีมีวงจรชีวิตในน้ำได้ด้วย จึงใช้เป็นปลาที่จำกัดลูกน้ำยุงต่าง ๆ มีชื่อเรียกกันอีกชื่อหนึ่งว่า "ปลากินยุง" และยังนิยมเพาะเพื่อเป็นปลาเหยื่อสำหรับปลากินเนื้อขนาดใหญ่กว่าด้วย โดยคำว่า "Poeciliidae" ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์นั้นมาจากภาษากรีกคำว่า "ποικίλος" (poikilos) หมายถึง "มีสีสันที่แตกต่างหลากหลาย".

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลาสอด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาหมูกระโดงสูง

วงศ์ปลาหมูกระโดงสูง (Sucker, Chinese sucker, American sucker) เป็นวงศ์ของปลาน้ำจืดกระดูกแข็ง ในอันดับปลาตะเพียน (Cypriformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Catostomidae (มาจากภาษากรีก คำว่า "kata" หมายถึง "ล่าง" และ "stoma" หมายถึง "ปาก") มีลักษณะโดยรวมคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) หรือ วงศ์ปลาสร้อยน้ำผึ้ง (Gyrinocheilidae) ที่อยู่ในอันดับเดียวกัน มีลักษณะร่วม คือ มี ปากอยู่ด้านล่างของส่วนหัว ริมฝีปากหนา มีความแตกต่างไปจากปลาวงศ์อื่นในอันดับเดียวกัน คือ มีแถวฟันในคอหอยเพียงแถวเดียวเท่านั้น มีความยาวเต็มที่ประมาณ 60-90 เซนติเมตร แต่ส่วนใหญ่จะมีความยาวน้อยกว่านั้น เป็นปลาที่หากินตามพื้นท้องน้ำ โดยหากินอาหารจำพวก ตะไคร่น้ำหรือสัตว์น้ำขนาดเล็ก เช่น หนอนแดง, ไส้เดือนน้ำ, กุ้ง หรือ แมลงน้ำต่าง ๆ เป็นต้น พบกระจายพันธุ์ส่วนมากในทวีปอเมริกาเหนือ และพบบางส่วนในประเทศจีน แบ่งออกได้เป็น 13 สกุล 68 ชนิด มีหลายชนิด หลายสกุลที่สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลาหมูกระโดงสูง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ

วงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ หรือ วงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปลอม (False pipefish, Ghost pipefish, Tubemouth fish) เป็นวงศ์ของปลาทะเลกระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ (Syngnathiformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Solenostomidae (มาจากภาษากรีกคำว่า solen หมายถึง ท่อ, หลอด หรือช่องทาง กับ στομα (stoma) หมายถึง ปาก) มีรูปร่างโดยรวม คือ เหมือนกับปลาจิ้มฟันจระเข้ขนาดเล็ก คือมีลำตัวยาวเหมือนกิ่งไม้ ปากยาวเป็นท่อ แต่มีความแตกต่างกัน คือ มีครีบที่พัฒนาให้มีขนาดกว้างใหญ่เมื่อเทียบกับขนาดของลำตัว เป็นครีบที่โดดเด่นทั้งครีบข้างลำตัว, ครีบหลัง, ครีบหาง และยังมีครีบพิเศษ คือ ครีบใต้ท้องที่ม้าน้ำและปลาจิ้มฟันจระเข้ทั่วไปไม่มี ซึ่งครีบขนาดใหญ่นี้สามารถจะหุบเก็บแนบกับลำตัว หรือคลี่กางให้กว้างใหญ่ได้คล้ายกับพัด ที่เมื่อคลี่กางครีบสุดตัวแล้วจะแลดูสวยงาม นอกจากนี้แล้วยังมีลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น คือ ตลอดทั่วทั้งตัวมีติ่งเนื้อหรือสีสันที่กลมกลืนไปกับสภาพแวดล้อม สำหรับการพรางตัวได้เป็นอย่างดี Orr, J.W. & Pietsch, T.W. (1998).

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาดาบ

วามหมายอื่น: ปลาที่มีลักษณะคล้ายปลากระโทง ดูที่ ปลากระโทงดาบ วงศ์ปลาดาบ หรือ วงศ์ปลาดาบเงิน (Cutlassfish, Hairtail, Scabbardfish, Walla Walla; วงศ์: Trichiuridae) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Trichiuridae อยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) มีลำตัวเพรียวยาวเหมือนปลาไหล ด้านข้างแบนมาก ส่วนหัวแหลมลาดต่ำไปข้างหน้า ปากล่างยื่น มีฟันคมแข็งแรงเห็นได้ชัดเจน ลำตัวเรียวแหลมเป็นเส้นไปทางหาง แต่ไม่มีครีบหาง ครีบหลังยาวเกือบตลอดแนวสันหลังยกเว้นใกล้หัว ครีบก้นเป็นเพียงแถวของหนามแข็งขนาดเล็กโผล่จากสันท้องไม่มี ครีบท้อง หรือมีแต่เล็กมาก ไม่มีเกล็ด ผิวหนังมีสีเงินหรือสีเทา พบกระจายพันธุ์ในทะเลแถบชายฝั่ง และพบอาจได้บริเวณปากแม่น้ำ มีทั้งหมด 10 สกุล ประมาณ 40 ชนิด แบ่งออกได้เป็น 3 วงศ์ย่อย โดยชนิดที่พบได้บ่อย เช่น ปลาดาบเงินใหญ่ (Trichiurus lepturus) เป็นปลาเศรษฐกิจจำพวกหนึ่ง สามารถนำมาใช้บริโภคได้ทั้งบริโภคสดและแปรรูปเช่น ทำเป็นลูกชิ้นปลา, ปลาเค็ม, ปลาแห้ง เป็นต้น โดยคำว่า Trichiuridae นั้นมาจากภาษากรีกคำว่า thrix หมายถึง "เส้นผม" บวกกับคำว่า oura หมายถึง "หาง".

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลาดาบ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาดุกไฟฟ้า

วงศ์ปลาดุกไฟฟ้า (Electric catfish) วงศ์ปลาหนังน้ำจืดจำพวกหนึ่ง พบเฉพาะในทวีปแอฟริกาตอนเหนือและตะวันออกบริเวณแม่น้ำไนล์ มีทั้งหมด 2 สกุล พบทั้งหมด 25 ชนิด ใช้ชื่อวงศ์ว่า Malapteruridae ซึ่งมาจากภาษากรีกคำว่า "Mala" หมายถึง "นุ่มนิ่ม", "pteron" หมายถึง "ครีบ" และ "oura" หมายถึง "หาง" มีลำตัวมีรูปร่างกลมป้อม หัวหนา ตามีขนาดเล็ก มีครีบ 7 ครีบ แต่ไม่มีครีบหลัง มีเพียงครีบไขมัน ขนาดใหญ่ อยู่ด้านหลังใกล้โคนหาง ครีบอก 1 คู่ ไม่มีเงี่ยง ครีบท้อง 1 คู่มีขนาดเล็ก ครีบก้นอยู่ตรงข้ามกับครีบไขมัน หางมีขนาดใหญ่เป็นรูปพัด มีหนวด 3 คู่ รอบริมฝีปากมีหนังหนา มีอวัยวะสร้างไฟฟ้า 1 คู่โดยฝังอยู่ใต้ ผิวหนังที่หนาบริเวณลำตัวข้างละอันการปล่อยกระแสไฟฟ้าอยู่ภายใต้การควบคุมของระบบประสาท โดยปกติจะปล่อยกระแสไฟฟ้าเวลาหาอาหารหรือป้องกันตัวเท่านั้น ปลาที่มีขนาดใหญ่สามารถสร้างกระแสไฟฟ้าขนาด 1 แอมแปร์ และแรงคลื่นกว่า 100 โวลท์ได้ ซึ่งกระแสไฟฟ้าขนาดนี้ในน้ำสามารถ ทำอันตรายต่อศัตรู หรือแม้กระทั่งมนุษย์ได้ แต่แม้กระนั้นกระแสไฟฟ้าของปลาดุกไฟฟ้าเมื่อเทียบกับ ปลาไหลไฟฟ้า (Electrophorus electricus) ก็ยังจัดว่ามีกำลังอ่อนกว่ามาก เพราะปลาไหลไฟฟ้าขนาดใหญ่บางตัวสามารถสร้างไฟฟ้าที่มีแรงคลื่นสูงถึง 600 โวลท์ ซึ่ง เป็นอันตรายร้ายแรงต่อสัตว์ทุกชนิด สีตัวของปลาดุกไฟฟฟ้า ด้านหลังเป็นสีน้ำตาลลอมเทา ส่วนด้านท้องมีสีจางกว่า ตามตัว มีปละสีดำกระจายทั่วตัวจะมากหรือน้อยไม่แน่นอน ตามครีบมีสีอ่อน โคนครีบหางมีสีดำจางพาดลงมา โดยเฉพาะในตัวที่มีขนาดเล็ก ปลาดุกไฟฟ้าเป็นปลาที่รู้จักของมนุษย์มาตั้งแต่สมัยอียิปต์โบราณไม่ต่ำกว่า 6,000 ปี ทั้งนี้โดยมีหลักฐานจากภาพแกะสลักบนแผ่นดินที่พบในปิรามิดของอียิปต์ นิยมใช้เนื้อบริโภคในท้องถิ่น เป็นปลากินเนื้อ มักซุกซ่อนตัวอยู่นิ่ง ๆ ตามวัสดุใต้น้ำ เช่น โพรงไม้, สาหร่าย หาเหยื่อในเวลากลางคืนด้วยการสร้างกระแสไฟฟ้าเพื่อสลบเหยื่อ การขยายพันธุ์เชื่อกันว่าเป็นปลาที่ฟักไข่ในปาก ปลาดุกไฟฟ้า ชนิดที่ใหญ่ที่สุดโตเต็มได้ราว 1.22 เมตร คือ ชนิด ''Malapterurus microstoma'' ปัจจุบันนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งต้องเลี้ยงเดี่ยว ๆ เพียงตัวเดียวเนื่องจากเป็นปลาที่ก้าวร้าว ซ้ำยังสามารถปล่อยไฟฟ้าใส่ปลาชนิดอื่นได้อีก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลาดุกไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาตะพัด

วงศ์ปลาตะพัด (Bonytongues fish, Arowana) วงศ์ปลาวงศ์หนึ่งในอันดับ Osteoglossiformes มีลักษณะสำคัญที่วิวัฒนาการจากปลาในยุคโบราณคือ มีส่วนกระดูกที่หัวแข็ง หรือลิ้นแข็งเป็นกระดูก คำว่า Osteoglossidae (/ออส-ที-โอ-กลอส-ซิ-ดี้/) เป็นภาษากรีกหมายถึง "ลิ้นกระดูก" อธิบายลักษณะของปลาในกลุ่มนี้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลาตะพัด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาตาเหลือกยาว

วงศ์ปลาตาเหลือกยาว (Ladyfish, Tenpounder, Bigeyed herring, Tarpon, วงศ์: Elopidae) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็ง ในอันดับปลาตาเหลือก (Elopiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Elopidae เป็นปลาที่มีลักษณะคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาตาเหลือก (Megalopidae) ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในอันดับเดียวกัน กล่าวคือ มีรูปร่างเพรียวยาว ปลายหางแฉกเป็นสองแฉกเว้าลึก แบนข้าง เกล็ดมีสีเงินแวววาว ตามีความกลมโต ปากกว้าง ที่ใต้คางระหว่างกระดูกขากรรไกรล่างมีแผ่นกระดูกแข็ง 1 ชิ้น เหมือนกัน แต่มีลำยาวยาวกว่า และที่ก้านครีบหลังก้านสุดท้ายไม่มีเส้นครีบยื่นยาวออกมา เป็นปลาขนาดใหญ่ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 1 เมตร น้ำหนักเต็มที่ประมาณ 10 กิโลกรัม มีความปราดเปรียวว่องไว หากินโดยกินปลาขนาดเล็ก และสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในทะเลแถบเขตร้อนและเขตอบอุ่น และสามารถปรับตัวให้อาศัยอยู่ในน้ำจืดหรือน้ำกร่อยได้ มีทั้งหมด 1 สกุล 7 ชน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลาตาเหลือกยาว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาฉลามปากเป็ด

วงศ์ปลาฉลามปากเป็ด (Paddle fish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งน้ำจืดขนาดใหญ่วงศ์หนึ่ง ในชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Polyodontidae (มาจากภาษากรีกคำว่า "poly" หมายถึง "มาก" และ "odous" หมายถึง "ฟัน") ในอันดับปลาสเตอร์เจียน (Acipenseriformes) เป็นปลาขนาดใหญ่ ที่ถือกำเนิดมาตั้งแต่ยุคครีเตเชียสตอนปลายจนถึงปัจจุบัน มีลักษณะเด่น คือ จะงอยปากแบนยาวคล้ายปากของเป็ด หรือใบพายเรือ เป็นที่มาของชื่อสามัญ ปัจจุบัน เหลือเพียง 2 ชนิด ใน 2 สกุลเท่านั้น พบในสหรัฐอเมริกา และแม่น้ำแยงซีเกียง ในประเทศจีน ซึ่งเป็นปลาที่ใกล้สูญพันธุ์มากแล้วในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลาฉลามปากเป็ด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาปักเป้ากล่อง

วงศ์ปลาปักเป้ากล่อง หรือ วงศ์ปลาปักเป้าเหลี่ยม (วงศ์: Ostraciidae; Boxfish, Cofferfish, Trunkfish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งทะเลวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ostraciidae ในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) ลักษณะของปลาในวงศ์นี้ จะมีรูปทรงป้อมเป็นรูปสี่เหลี่ยม รูปทรงและการเคลื่อนไหวจะมีความคล่องแคล่วกว่าปลาปักเป้าในวงศ์อื่น และมักจะมีขนาดเล็ก มีสีสันลวดลายสวยงาม เกล็ดเป็นรูปทรงหกเหลี่ยมเรียงตัวต่อกัน อีกทั้งปลาในวงศ์นี้มีพิษที่ต่างออกไปจากปลาปักเป้าในวงศ์อื่น กล่าวคือ มีสารพิษชนิดออสทราซิท็อกซิน (Ostracitoxin) ที่ผลิตขึ้นมาจากต่อมที่ผิวหนัง และสามารถขับออกมาพร้อมกับเมือกที่หุ้มตัวอยู่ ซึ่งสามารถละลายในน้ำได้ ซึ่งพิษชนิดนี้จะเป็นพิษกับปลาด้วยกัน ทำให้ปลาอื่นที่อยู่บริเวณเดียวกันเมื่อได้รับสารพิษตายได้ ซึ่งจะขับออกมาเมื่อได้รับความเครียดหรือตื่นตกใจ อันเป็นกลไกลหนึ่งในการป้องกันตัว ปลาปักเป้ากล่อง มีการกระจายพันธุ์เฉพาะในทะเลเท่านั้น ตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติก, อินเดีย และแปซิฟิก พบทั้งหมด 33 ชนิด ใน 9 สกุล (ดูในตาราง) บางชนิดอาจมีระยางค์แหลม ๆ ยื่นออกมาเหนือบริเวณส่วนแลดูคล้ายเขาด้วย ในน่านน้ำไทยพบด้วยกัน 3 ชนิด อาทิ ปลาปักเป้ากล่องเหลืองลายจุดดำ (Ostracion cubicus) โดยคำว่า Ostraciidae นั้นมาจากภาษากรีกคำว่า "ostracum" หมายถึง "เปลือกหอย".

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลาปักเป้ากล่อง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาปากแตร

ำหรับปลาในวงศ์อื่น ดูที่ วงศ์ปลาสามรส วงศ์ปลาปากแตร (Cornetfish, Trumpetfish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งน้ำเค็มวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ (Syngnathiformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aulostomidae (มาจากภาษากรีกคำว่า "Aulos" หมายถึง "แตร" และ "stoma" หมายถึง "ปาก") ลักษณะสำคัญของปลาในวงศ์นี้ คือ ปากที่ยาวยื่นออกและโป่งออกบริเวณปลายปากเล็กน้อย คล้ายลักษณะของแตรหรือท่อ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ ปลายขากรรไกรล่างมีติ่งเนื้อคล้ายหนวด ครีบหลังมี 2 ตอนตอนหน้าเป็นก้านครีบแข็ง 8-12 ชิ้น เก็บอยู่ใช้สำหรับป้องกันตัวเอง ครีบหลังอันที่ 2 และครีบก้นอยู่ค่อนไปเกือบติดครีบหาง ครีบท้องอยู่กึ่งกลางลำตัว เป็นปลาที่ว่ายน้ำได้ช้า จึงมักแฝงตัวอยู่กับปลาอื่น ๆ เช่น ปลานกขุนทอง, ปลานกแก้วหรือปลาแพะ เพื่อหาโอกาสเข้าใกล้อาหาร ได้แก่ กุ้งและลูกปลา ปลาวัยอ่อนที่ป้องกันตัวเองไม่ได้ จะพรางตัวอยู่ตามแส้ทะเลหรือกัลปังหา มักพบพฤติกรรมนี้ในยามค่ำคืน วงศ์ปลาปากแตร มีเพียงสกุลเดียว คือ Aulostomus พบเพียง 3 ชนิดเท่านั้น พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลาปากแตร · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ

วงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ (Archer fishes) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งกลุ่มปลาที่มีก้านครีบ ในอันดับ Perciformes ใช้ชื่อวงศ์ว่า Toxotidae (/ท็อก-ออท-อิ-ดี้/; มาจากคำว่า "Toxots" เป็นภาษากรีกหมายถึง "นักยิงธนู").

ใหม่!!: ภาษากรีกและวงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะสกัดหิน

อุทยานแห่งชาติแคนยอนแลนด์ในยูทาห์ในสหรัฐอเมริกา งานสลักลายหินที่รู้จักกันว่า "Meerkatze" ที่เป็นภาพสิงโตต่อสู้กันที่ Wadi Methkandoushที่ลิเบีย ศิลปะสกัดหิน (Petroglyph หรือ Rock engravings) เป็นแผนภูมิรูปภาพ (pictogram) และ แผนภูมิโลโก (logogram) ที่สร้างโดยการสกัด, เซาะ, ถาก, แกะ หรือ ครูดหินจนเป็นภาพ นอกทวีปอเมริกาเหนือนักวิชาการมักจะใช้คำว่า "สลัก", "แกะ" หรือคำบรรยายอื่นในการบรรยายวิธีการสร้างภาพดังกล่าว ศิลปะสกัดหินพบทั่วไปในโลกและมักจะเกี่ยวข้อง (แต่ไม่เสมอไป) กับชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในภาษาอังกฤษคำว่า "Petroglyph" มาจากคำสองคำในภาษากรีก คำว่า "Petros" ที่แปลว่า "หิน" และ "glyphein" ที่แปลว่า "แกะสลัก" เดิมเป็นคำที่คิดขึ้นในภาษาฝรั่งเศสว่า "pétroglyphe" "ศิลปะสกัดหิน" ไม่ควรจะสับสนกับคำว่า "ศิลปะวาดบนหิน" ซึ่งเป็นภาพที่วาดบนหน้าหิน แต่ศิลปะทั้งสองแบบจัดอยู่ในกลุ่มศิลปะหิน (Rock art) หรือ ศิลปะวางหิน (Petroform) ซึ่งเป็นศิลปะของการวางก้อนหินให้เป็นลวดลายหรือทรงต่างๆ บนพื้น หรือศิลปะก่อหิน (Inukshuk) ซึ่งเป็นศิลปะที่เป็นเอกลักษณ์อีกอย่างหนึ่งที่พบเฉพาะในบริเวณอาร์กติก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและศิลปะสกัดหิน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลบาร์โบดีส

กุลบาร์โบดีส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Barbodes (/บาร์-โบ-ดีส/) ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เป็นปลาที่พบได้ในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คำว่า Barbodes มาจากภาษาละตินคำว่า barbus หมายถึง "หนวดปลา" และภาษากรีกคำว่า oides หมายถึง "เหมือนกับ" หรือ "คล้ายกับ" มีลักษณะสำคัญ คือ เมื่อยังเป็นลูกปลาวัยอ่อนจะมีแต้มกลมเรียงกันในแนวด้านข้างลำตัว 3-5 แต้ม ซึ่งรวมทั้งแต้มบริเวณคอดหาง และมีแต้มที่จุดเริ่มต้นของครีบหลัง ก้านครีบแข็งมีขอบเป็นซี่จักรแข็ง เกือบทุกชนิดมีหนวดบนขากรรไกรบนสองคู่ ยกเว้นในบางชนิด มีเกล็ดที่มีท่อในแนวเส้นข้างลำตัว 22-32 เกล็.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลบาร์โบดีส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลช้างสารภี

กุลช้างสารภี หรือ Acampe เป็นสกุลของกล้วยไม้ที่กระจายพันธุ์ระหว่างแอฟริกาจนถึงอินเดีย จีน มาเลเซีย อินโดนีเซีย นิวกินี และฟิลิปปินส์ ชื่อสกุล Acampe ได้มาจากภาษากรีก akampas, หมายถึง แข็งแรง หมายถึงดอกแข็ง ขนาดเล็ก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลช้างสารภี · ดูเพิ่มเติม »

สกุลฟีนิกซ์

กุลฟีนิกซ์ (Phoenix) เป็นสกุลหนึ่งในวงศ์ปาล์ม มีสมาชิก 14 สปีชีส์ เป็นพืชพื้นเมืองในหมู่เกาะคานารี และแอฟริกาจากเหนือจนถึงตอนกลาง ส่วนใต้สุดของยุโรป และในเอเชียจากตุรกีไปจนถึงจีนตอนใต้และมาเลเซีย แหล่งที่อยู่เป็นทั้งที่ลุ่มน้ำ ทะเลทราย และป่าชายเลน พืชในสกุลนี้ส่วนใหญ่เป็นพืชกึ่งทนแล้ง แต่พบบ่อยใกล้บริเวณที่มีระดับน้ำใต้ดินสูง แม่น้ำ หรือน้ำพุ เป็นสกุลที่มีความโดดเด่นในวงศ์ย่อย Coryphoideae โดยมีใบประกอบแบบขนนกแทนที่จะเป็นแบบฝ่ามือRiffle, Robert L. and Craft, Paul (2003) An Encyclopedia of Cultivated Palms.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลฟีนิกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกุหลาบ (กล้วยไม้)

กุลกุหลาบ (Aerides ตัวย่อทางการค้า Aer.) เป็นสกุลหนึ่งของพืชวงศ์กล้วยไม้ ตั้งขึ้นโดย Jado de Loureiro นักพฤกษศาสตร์ชาวโปรตุเกส เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลกุหลาบ (กล้วยไม้) · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกูดต้น

กุลกูดต้น (Cyathea) อยู่ในวงศ์เฟินต้น (Cyatheaceae) ลักษณะเป็นเฟินมีลำต้นขนาดใหญ่ ใบประกอบ 1-3 ชั้น เวียนหนาแน่นช่วงยอด ก้านใบสีน้ำตาลหรือดำ ส่วนมากมีเกล็ดและขน เส้นใบแตกเป็นง่าม ส่วนมากไม่เรียงจรดกัน กลุ่มอับสปอร์รูปกลมอยู่ด้านล่างใบ มีเยื่อคลุมรูปถ้วยบาง ๆ หรือไม่มี เซลล์ผนังหนาเบี้ยว สปอร์รูปพีระมิดสารานุกรมพืชในประเทศไทย (ฉบับย่อ), ราชันย์ ภู่มา และคณะ, หน้า 61,..

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลกูดต้น · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะขามเทศ

กุลมะขามเทศ หรือ Pithecellobium เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Fabaceae ชื่อสกุลนี้มาจาก ภาษากรีก πιθηκος (pithekos), หมายถึงลิง และ ελλοβιον (ellobion), หมายถึง ต่างหู ซึ่งหมายถึงรูปร่างของฝัก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลมะขามเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลยางนา

กุลยางนา หรือ Dipterocarpus เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ยางนา พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชื่อสกุลนี้มาจากภาษากรีก หมายถึง ผลที่มีสองปีก สกุลนี้เป็นสกุลของพืชที่มีความสำคัญในการนำเนื้อไม้ไปใช้ทางการค้า Dipterocarpus turbinatus ซึ่งเป็นสปีชีส์ที่พบในหมู่เกาะอันดามัน และมีความสำคัญในการนำไปผลิตไม้อั.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลยางนา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลรองเท้านารี

กุลรองเท้านารี (Paphiopedilum) เป็นพันธุ์ไม้ประเภทกล้วยไม้ ตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลรองเท้านารี · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหมากตอก

กุลหมากตอก หรือIguanura เป็นสกุลของพืชดอกแยกเพศไม่แยกต้นในวงศ์ปาล์ม พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใกล้เคียงกับสกุล Heterospathe ชื่อสกุลนี้มาจาก ภาษาสเปน หมายถึง จิ้งจก และภาษากรีก หมายถึงหางRiffle, Robert L. and Craft, Paul (2003) An Encyclopedia of Cultivated Palms.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลหมากตอก · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหวาย (กล้วยไม้)

กุลหวาย (Dendrobium; /เดน-โด-เบียม/) เป็นสกุลหนึ่งของพืชวงศ์กล้วยไม้ ตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลหวาย (กล้วยไม้) · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหวายกุ้งน้ำพราย

กุลหวายกุ้งน้ำพราย หรือPlectocomiopsis เป็นสกุลของพืชในวงศ์ปาล์มที่แยกต้นตัวผู้และต้นตัวเมีย พบในไทย มาเลเซีย เกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา จัดเป็นหวายชนิดปีนป่าย ใกล้เคียงกับหวายในสกุล Myrialepis Uhl, Natalie W. and Dransfield, John (1987) Genera Palmarum - A classification of palms based on the work of Harold E. Moore.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลหวายกุ้งน้ำพราย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลออรีเซียส

กุลออรีเซียส เป็นสกุลของปลาในวงศ์ปลาซิวข้าวสาร (Adrianichthyidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Oryzias (/ออ-รี-เซียส/) โดยมาจากภาษากรีกคำว่า ὄρυζα ซึ่งแปลว่า "ข้าว" อ้างอิงมาจากสถานที่ค้นพบครั้งแรก คือ นาข้าว มีลักษณะสำคัญ คือ ขากรรไกรไม่ยืดหด ฐานด้านบนของครีบอกอยู่ใกล้แนวสันหลังของลำตัว ครีบหลังอยู่ใกล้ครีบหาง ครีบก้นมีฐานยาว ครีบหางมีปลายกลมมน เป็นปลาที่เก็บไข่ไว้ใต้ครีบอก มีความยาวประมาณ 6-7 เซนติเมตร ขนาดเต็มที่ไม่เกิน 9 เซนติเมตร โดยพบในแหล่งน้ำที่มีพรรณไม้น้ำมากมาย โดยมากพบในอุณหภูมิประมาณ 28 เซนติเมตร บ่อยครั้งที่พบในแหล่งน้ำที่มีค่าแร่ธาตุคาร์บอเนต และมีค่าความเป็นกรดด่าง (pH) ประมาณ 7.5 และอาจพบได้ในน้ำกร่อยได้ด้วย มีการกระจายพันธุ์ที่ค่อนข้างกว้างตั้งแต่ประเทศอินเดียจนถึงญี่ปุ่น, เกาะสุลาเวสี, คาบสมุทรอินโดจีนจนถึงออสเตรเลีย ปัจจุบันพบแล้วประมาณ 32 ชนิด เป็นการพบได้ในประเทศไทย 6 ชนิด หน้า 26-27, สกุล Oryzias ปลาข้าวสาร โดย สุริศา ซอมาดี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลออรีเซียส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลผักบุ้ง

กุลผักบุ้ง (Ipomoea, มาจากคำภาษากรีก ipos แปลว่า หนอน และ homoios แปลว่า คล้าย) เป็นสกุลที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์ผักบุ้ง มีมากกว่า 500 ชนิด กระจายพันธุ์ในเขตร้อนและเขตอบอุ่น ชื่อสามัญของสกุลนี้คือ มอร์นิงกลอรี (morning glory) สกุลนี้มีลักษณะเป็นไม้เถาล้มลุกหรือไม้พุ่ม ใบเรียงเวียน เรียบหรือจักเป็นพู ดอกออกเป็นแบบช่อกระจุก ส่วนมากออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ ติดทน ดอกรูปแตรหรือรูประฆัง ปลายจักตื้น ๆ หรือเกือบเรียบ มีแถบกลางกลีบชัดเจน เกสรเพศผู้ 5 อัน ส่วนมากขนาดไม่เท่ากัน จุดติดก้านชูอับเรณูกับหลอดกลีบมีขนหรือต่อม อับเรณูไม่บิดเวียน เรณูเป็นหนามละเอียด จานฐานดอกรูปวงแหวน รังไข่มี 2-4 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยอดเกสรจัก 2 พู เป็นตุ่ม เกสรเพศผู้และเพศเมียส่วนมากไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบ ผลแห้งแตก ส่วนมากมี 4 หรือ 6 ซีก แต่ละซีกมีเมล็ดเดียว รูปสามเหลี่ยมหรือคล้ายครึ่งวงกลม พืชหลายชนิดในสกุลผักบุ้งนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ บางชนิดนิยมนำมารับประทาน เช่น มันเทศ (Ipomoea batatas) และผักบุ้ง (Ipomoea aquatica) ชาวพื้นเมืองในทวีปอเมริกาใช้พืชบางชนิดในสกุลนี้เป็นสมุนไพรพื้นบ้านและยาที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลผักบุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลดีอานีม่า

กุลดีอานีม่า เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ในวงศ์ปลาแพะ (Callichthyidae) ซึ่งเป็นปลากระดูกแข็งในอันดับปลาหนัง (Siluriformes) โดยใช้ชื่อสกุลว่า Dianema มีรูปร่างเรียวยาวเป็นทรงกระบอก ส่วนหัวแหลม ปากแบนเล็ก มีหนวดบนปากสองเส้นและข้างปากอีกสองเส้น และริมฝีปากอีก 4 เส้น ใช้ในการสัมผัสหาอาหาร ลำตัวมีผิวหนังที่พัฒนาเป็นเกราะแข็งใช้สำหรับป้องกันตัว ส่วนหัวมีจุดสีดำกระจัดกระจายไปทั่ว มีแถบสีดำในแนวนอนลากยาวตั้งแต่จมูกจรดแผ่นปิดเหงือก ดวงตาอยู่ตรงขนานกับปาก ปลาตัวผู้มีหนามแข็งเล็ก ๆ ที่ก้านครีบอก ปลาตัวเมียมีลักษณะอ้วนป้อมกว่าหากมองจากด้านบน ตัวเมียเมื่อไข่สุกท้องจะขยายใหญ่ วางไข่ได้ถึงครั้งละ 500 ฟอง โดยปลาตัวผู้จะเป็นผู้ดูแลไข่ที่วางในหลุมพื้นน้ำที่ขุดขึ้น เป็นปลาขนาดเล็ก มีขนาดประมาณ 10-12 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำที่มีกระแสน้ำไหลเอื่อย ๆ ไม่แรงเชี่ยว มีใบไม้หรือพืชน้ำทับถมกัน น้ำมีความเป็นกรดเล็กน้อย (pH ต่ำกว่า 7 ลงมาเล็กน้อย) ซึ่งมักเป็นแหล่งน้ำตื้น ๆ ไหลคดเคี้ยวในป่าดิบชื้น หากินเศษอาหารตามพื้นน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็ก แบ่งออกได้เป็น 2 ชน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลดีอานีม่า · ดูเพิ่มเติม »

สกุลปลาวัวปิกัสโซ

กุลปลาวัวปิกัสโซ (Picasso triggerfish) เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งน้ำเค็มสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) อันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) ใช้ชื่อสกุลว่า Rhinecanthus (มาจากภาษากรีก rhinos หมายถึง "จมูก" และ akantha หมายถึง "หนาม" หรือ"เงี่ยง") มีชื่อสามัญเรียกรวม ๆ กันว่า "ปลาวัวปิกัสโซ" ขณะที่ในภาษาฮาวายจะเรียกปลาวัวสกุลนี้ว่า Humuhumu (ฮูมูฮูมู) หมายถึง "ปลาวัวที่มีหน้าคล้ายหมู" อันเนื่องจากมีส่วนหน้าที่ยื่นยาวออกมาเหมือนหมู ปากมีขนาดเล็ก ฟันแหลมคม และตามลำตัวมีลวดลายและสีสันต่าง ๆ สวยงาม ทั้ง สีดำ, สีฟ้า, สีเหลือง บนพื้นลำตัวสีขาวหรือสีส้ม มีขนาดยาวเต็มที่ประมาณ 25-30 เซนติเมตร กระจายพันธุ์อยู่ในแนวปะการัง ของแถบอินโด-แปซิฟิก ตั้งแต่ฮาวาย จนถึงอินโดนีเซีย จัดเป็นปลาวัวที่ไม่ดุร้ายมากนักเมื่อเทียบกับสกุลอื่น ๆ ประกอบกับสีสันที่สวยงาม จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ก็สามารถกัดให้ได้รับบาดเจ็บเหมือนกัน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลปลาวัวปิกัสโซ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลปลาไบเคอร์

กุลปลาไบเคอร์ หรือ สกุลปลาบิเชียร์ (Bichir, Dinosaur eel) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดกระดูกแข็งสกุลหนึ่ง ในชื่อสกุลว่า Polypterus อยู่ในวงศ์ปลาไบเคอร์ (Polypteridae) จัดเป็นปลาที่มีวิวัฒนาการเป็นของตัวเอง ต่างจากปลากระดูกแข็งในวงศ์อื่น ๆ มีรูปร่างคลัยกับงูหรือกิ้งก่า ซึ่งเป็นสัตว์เลื้อยคลานมากกว่าจะเป็นปลา มีเกล็ดขนาดใหญ่เห็นได้ชัดเจนเป็นแบบกานอยด์ หรือเกล็ดแบบสาก และสามารถหายใจได้โดยผ่านถุงลมแทนที่จะใช้ซี่กรองเหงือกเหมือนปลาในวงศ์อื่น ๆ มีครีบทุกครีบที่แข็งแรงและเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ซึ่งใช้ในการเคลื่อนที่ใต้น้ำได้เป็นอย่างดี โดยมักจะหากินใต้น้ำ ในเวลากลางคืน กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในทวีปแอฟริกาทั้งแหล่งน้ำจืด และบริเวณที่เป็นน้ำกร่อย เช่น ปากแม่น้ำ ปลาไบเคอร์ ชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก คือ ปลาไบเคอร์ยักษ์ (Polypterus endlicheri congicus) ซึ่งเป็นชนิดย่อยของปลาไบเคอร์คองโก (P. endlicheri) ที่เมื่อโตเต็มที่แล้วจะมีขนาดความยาวได้ถึงเกือบ 90 เซนติเมตร ปลาไบเคอร์ทุกชนิดเป็นปลากินเนื้อเป็นอาหาร โดยจะกินอาหารได้แก่ สัตว์น้ำขนาดเล็ก เช่น ปลาต่าง ๆ เป็นอาหาร แต่ไม่ใช่เป็นปลาที่ดุร้ายก้าวร้าว จึงนิยมนำมาเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ตัวผู้จะมีครีบก้นที่ยาวแหลมกว่า และมีขนาดลำตัวที่ใหญ่กว่าปลาตัวเมียอย่างเห็นได้ชัด ปลาไบเคอร์ทุกชนิดออกลูกเป็นไข่ โดยในครั้งนึงจะออกประมาณ 300 ฟอง และตัวอ่อนจะออกจากไข่ภายในระยะเวลา 4 วัน นับจากแม่ปลาวาง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลปลาไบเคอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแพนเทอรา

กุลแพนเทอรา (Roaring cat) เป็นสกุลของวงศ์ Felidae (วงศ์แมว) ที่ประกอบไปด้วย เสือโคร่ง, สิงโต, เสือจากัวร์, และ เสือดาว สปีชีส์ของสกุลเป็นสมาชิกประมาณครึ่งหนึ่งของวงศ์ย่อย Pantherinae ใช้ชื่อสกุลว่า Panthera เสือในสกุลแพทเทอรา ทั้ง 4 ชนิดมีโครงสร้างทางกายวิภาคที่ช่วยให้พวกมันสามารถคำรามได้ เริ่มแรกมีสมมุติฐานว่าเกิดจากการกลายเป็นกระดูกที่ไม่สมบูรณ์ของกระดูกไฮออยด์ แต่การศึกษาครั้งใหม่แสดงว่าความสามารถในการคำรามมาจากลักษณะสัณฐานอื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกล่องเสียง เสือดาวหิมะ (Uncia uncia) บางครั้งถูกรวมอยู่ในสกุล Panthera แต่มันไม่สามารถคำรามได้ เพราะแม้ว่ามันมีขบวนการกลายเป็นกระดูกที่ไม่สมบูรณ์ของกระดูกไฮออยด์ แต่ขาดลักษณะพิเศษของกล่องเสียงไป.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลแพนเทอรา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแรด

กุลแรด เป็นสกุลหนึ่งในวงศ์แรด สมาชิกในสกุลมีนอเดียว ใช้ชื่อสกุลว่า Rhinoceros คำว่า "rhinoceros" มาจากภาษากรีก "rhino" แปลว่า "จมูก" และ "ceros" แปลว่า "เขา" สกุลนี้ประกอบไปด้วยแรด 2 ชนิดคือ แรดอินเดีย (Rhinoceros unicornis) และ แรดชวา (Rhinoceros sondaicus) ถึงแม้ว่าแรดทั้ง 2 ชนิดถูกคุกคามอย่างหนัก แต่แรดชวากลับเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ที่สุดในโลก เหลือประชากรเพียง 60 ตัวเท่านั้นในชวาและเวียดนาม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลแรด · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแอสโตรไฟตัม

กุลแอสโตรไฟตัม (Astrophytum) เป็นสกุลของกระบองเพชร มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ มีทั้งสิ้น 6 ชนิด ชื่อ Astrophytum มาจากภาษากรีก άστρον (astron) หมายความว่า "ดาว" และ φυτόν (phyton) หมายความว่า "พืช".

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลแอสโตรไฟตัม · ดูเพิ่มเติม »

สกุลโดรีอิคธีส

กุลโดรีอิคธีส (Freshwater pipefish) เป็นสกุลของปลาจิ้มฟันจระเข้สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Doryichthys (/โด-รี-อิค-ธีส/; มาจากภาษากรีกคำว่า Dory (δόρυ) หมายถึง "หอก" และ ichthys (Ιχθύς) หมายถึง "ปลา") ในวงศ์ Syngnathidae มีลักษณะโดยรวมของสกุลนี้คือ ขอบเกล็ดด้านนอกแยกออกจากกัน ส่วนเกล็ดด้านในติดกัน ครีบหางเล็กมาก ส่วนใหญ่จะมีก้านครีบแขนง 8 ก้าน พบทั้งหมด 5 ชนิด พบในประเทศไทยอย่างน้อย 2 ชนิด ซึ่งเป็นปลาน้ำจืดทั้งหมด พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียอาคเน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลโดรีอิคธีส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลโปตาโมไทรกอน

กุลโปตาโมไทรกอน เป็นปลากระเบนสกุลหนึ่งที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุดในวงศ์ปลากระเบนหางสั้น (Potamotrygonidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Potamotrygon (/โป-ตา-โม-ไทร-กอน/) โดยมาจากภาษากรีก (Ποταμός; potamos) แปลว่า "แม่น้ำ" และภาษากรีกคำว่า "trygon" แปลว่า "ปลากระเบน" พบกระจายพันธุ์ในพื้นที่แหล่งน้ำจืดของหลายประเทศในทวีปอเมริกาใต้ อาทิ บราซิล, เปรู, โคลอมเบีย, เวเนซุเอลา, อาร์เจนตินา, เอกวาดอร์, ปารากวัย มีลักษณะทั่วไปเหมือนปลากระเบนสกุลอื่นในวงศ์นี้ คือ ลำตัวเป็นทรงกลมคล้ายจานหรือแผ่นซีดี หางมีขนาดสั้นไม่ยาวเหมือนปลากระเบนในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) โคนหางมีเงี่ยงที่มีพิษอยู่ 2 ชิ้น และมีหนามแหลมบริเวณโคนหางไปจนถึงเงี่ยง ปลายหางมีแผ่นหนังบาง ๆ เป็นริ้ว ๆ อยู่ มีสีพื้นลำตัวและมีจุดหรือมีลวดลายหลากหลายมาก แตกต่างกันออกไปตามแต่ละชนิด มีความกว้างของลำตัวตั้งแต่ 1 ฟุต ไปจนถึง 1 เมตร หากินตามพื้นท้องน้ำ นาน ๆ ทีจึงจะว่ายขึ้นมาหากินบนผิวน้ำบ้าง ซึ่งอาหารหลักได้แก่ ครัสเตเซียนชนิดต่าง ๆ รวมทั้ง ปลาขนาดเล็กกว่า ปลากระเบนในสกุลนี้นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม เนื่องจากมีความสวยในสีสันและลวดลายซึ่งเป็นเอกลักษณะเฉพาะไม่เหมือนกับปลากระเบนประเภทอื่น อีกทั้งยังสามารถเพาะขยายพันธุ์ในสถานที่เลี้ยงได้อีกด้วย และสามารถผสมข้ามสายพันธุ์ก่อให้เกิดเป็นสายพันธุ์ใหม่ ๆ ได้อีกหลายชน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลโปตาโมไทรกอน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเพชรหึง

กุลเพชรหึง (Grammatophyllum) เป็นสกุลหนึ่งของกล้วยไม้ ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2368 มาจากรากศัพท์ภาษากรีก gramma หมายถึงระบุด้วยสัญลักษณ์ กับ phyllon หมายถึงใบ เป็นการระบุถึงเอกลักษณ์ที่เป็นจุดขนาดใหญ่บนกลีบเลี้ยงและกลีบดอก พบในประเทศไทยเพียงชนิดเดียวคือ เพชรหึง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลเพชรหึง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเสือลายเมฆ

กุลเสือลายเมฆ เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับสัตว์กินเนื้อจำพวกเสือขนาดใหญ่สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Neofelis จัดอยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) โดยคำว่า Neofelis นั้น มาจากภาษากรีกคำว่า νεο หมายถึง "ใหม่" และภาษาละตินคำว่า feles หมายถึง "แมว" รวมความแล้วหมายถึง "แมวใหม่" สกุลนี้ตั้งขึ้นโดย จอห์น เอ็ดเวิร์ด เกรย์ นักสัตววิทยาชาวอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1867 ลักษณะเด่นของเสือในสกุลนี้ คือ มีกะโหลกส่วนใบหน้าที่กว้าง หน้าผากมีขนาดใหญ่และจมูกยาว ขากรรไกรล่างและขากรรไกรบนมีฟันเขี้ยวที่คมและปลายขอบตัดขวาง ซึ่งกะโหลกลักษณะนี้คล้ายคลึงกับเสือเขี้ยวดาบที่สูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ นอกจากนี้แล้วเสือลายเมฆที่พบในภูมิภาคซุนดามีเขี้ยวบนยาวและมีเพดานปากที่แคบระหว่างเขี้ยวนั้น โดยรวมแล้ว เสือลายเมฆเป็นเสือขนาดใหญ่ที่มีรูปร่างเล็กกว่าเสือขนาดใหญ่ชนิดอื่น ๆ พบกระจายพันธุ์เฉพาะภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ไปจนถึงเกาะบอร์เนียว และพบได้ในพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ของจีน ลักษณะกะโหลกและฟันเขี้ยวของเสือลายเม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลเสือลายเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเข็ม (กล้วยไม้)

กุลเข็ม (Ascocentrum) เป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่งตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลเข็ม (กล้วยไม้) · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเดสโมพุนชัส

กุลเดสโมพุนชัส (Striped barb, Banded barb) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Desmopuntius (/เดส-โม-พุน-ชัส/) คำว่า Desmopuntius มาจากภาษากรีกคำว่า δεσμωτες (desmotes) แปลว่า "นักโทษ" หรือ "เชลย" และคำว่า Puntius ซึ่งเป็นชื่อสกุลเก่า มีความหมายถึง ลวดลายบนตัวปลาที่เหมือนชุดนักโทษ มีลักษณะเด่นทางกายภาค คือ ขอบด้านท้ายของก้านครีบแข็งที่ครีบหลังเป็นซี่จักร ริมฝีปากบาง มีหนวดสองคู่เห็นชัดเจน เกล็ดในแนวข้างลำตัวมีท่อเรียงกันสมบูรณ์ถึงฐานครีบหางจำนวนระหว่าง 25-27 เกล็.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสกุลเดสโมพุนชัส · ดูเพิ่มเติม »

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง

ในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Carolingian Renaissance) เกิดขึ้นเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 8 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 9 โดยมีจุดที่รุ่งเรืองที่สุดในรัชสมัยของจักรพรรดิชาร์เลอมาญและจักรพรรดิหลุยส์ผู้ศรัทธาพระราชโอรส ระหว่างช่วงเวลานี้ก็มีการศึกษาวรรณคดี, การเขียน, ศิลปะ, สถาปัตยกรรม, นิติศาสตร์, และหนังสือทางเทววิทยาศาสนาคริสต์กันอย่างแพร่หลาย นอกจากนั้นก็ยังเป็นสมัยของการวิวัฒนาการภาษาละตินสมัยกลาง และอักษรกาโรแล็งเฌียงกันขึ้น ซึ่งเป็นการสร้างภาษาและวิธีการเขียนที่เป็นสามัญที่สามารถนำมาใช้ในการสื่อสารไปได้เกือบทั่วทั้งยุโรป การใช้คำว่า “renaissance” หรือ “สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา” ในการบรรยายช่วงเวลานี้ก็เป็นประเด็นที่โต้แย้งกัน เพราะการเปลี่ยนแปลงส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นในยุคนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่จำกัดอยู่เฉพาะในกลุ่มนักบวชเท่านั้น และขาดการเคลื่อนไหวโยกย้ายอย่างกว้างขวางเช่นที่เกิดขึ้นในอิตาลีสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาต่อมาScott pg 30 แทนที่จะเป็นการรื้อฟื้นของขบวนการทางวัฒนธรรมใหม่ ยุคนี้เป็นเพียงการพยายามที่จะเลียนแบบวัฒนธรรมของจักรวรรดิโรมันก่อนหน้านั้น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง · ดูเพิ่มเติม »

สมัยคลาสสิก

มัยคลาสสิก (Classical antiquity หรือ classical era หรือ classical period) เป็นคำที่ใช้กว้างๆ สำหรับสมัยประวัติศาตร์วัฒนธรรมที่มีศูนย์กลางอยู่ในบริเวณเมดิเตอเรเนียนที่ประกอบด้วยการผสมผสานระหว่างกรีกโบราณและโรมันโบราณที่เรียกว่าโลกกรีก-โรมัน สมัยคลาสสิกเป็นสมัยที่วรรณคดีกรีกและลาตินมีความรุ่งเรือง สมัยคลาสสิกถือกันว่าเริ่มขึ้นเมื่อมีการบันทึกวรรณกรรมกรีกเป็นครั้งแรกที่เริ่มด้วยมหากาพย์ของโฮเมอร์ราวศตวรรษที่ 8 ถึง 7 ก่อนคริสต์ศตวรรษ และดำเนินต่อมาจนกระทั่งถึงสมัยการเผยแพร่ของคริสต์ศาสนา และ การล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 จนมาสิ้นสุดลงในปลายสมัยโบราณตอนปลาย ราว..

ใหม่!!: ภาษากรีกและสมัยคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

สมัยโฮโลซีน

อุณหภูมิเฉลี่ยของบรรยากาศโลกในสมัยโฮโลซีน โฮโลซีน (Holocene) เป็นสมัย (epoch) ทางธรณีวิทยา ที่เริ่มขึ้นหลังจากการสิ้นสุดของไพลสโตซีน (11,700 ปีก่อนปัจจุบัน ตามปีปฏิทิน) มาจนถึงปัจจุบัน สมัยโฮโลซีนเป็นส่วนหนึ่งของยุคควอเทอร์นารี โดยนับตั้งแต่ปลายยุคน้ำแข็งครั้งล่าสุด ชื่อโฮโลซีน มาจากรากศัพท์ภาษากรีก ὅλος (holos แปลว่า ทั้งหมด) และ καινός (kainos แปลว่า ใหม่) ซึ่งแปลว่า "ใหม่ทั้งหมด" ได้รับการบัญญัติโดยสภาธรณีวิทยาสากล ในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและสมัยโฮโลซีน · ดูเพิ่มเติม »

สมัยไพลสโตซีน

มัยไพลสโตซีน (Pleistocene เครื่องหมาย PS) เป็นธรณีกาลระหว่าง 2,588,000-11,700 ปีก่อนที่มียุคน้ำแข็งเกิดขึ้นซ้ำ ๆ กัน ชาลส์ ไลเอลล์ บัญญัติคำนี้ขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและสมัยไพลสโตซีน · ดูเพิ่มเติม »

สมัยไพลโอซีน

Diodora italica จากสมัยไพลโอซีนของไซปรัส สมัยไพลโอซีน (Pliocene หรือ Paleocene) เป็นสมัยหนึ่งของยุคนีโอจีนในธรณีกาลระหว่าง 5.333 ถึง 2.588See the 2009 version of the ICS geologic time scale: ล้านปีก่อนปัจจุบัน สมัยไพลโอซีนเป็นสมัยที่สองและสมัยใหม่ที่สุดของยุคนีโอจีนของมหายุคซีโนโซอิก สมัยไพลโอซีนต่อมาจากสมัยไมโอซีนและตามด้วยสมัยไพลสโตซีน ชื่อของสมัยตั้งโดยนักธรณีวิทยาชาลส์ ไลเอลล์ ที่มาจากคำในภาษากรีกว่า πλεῖον (pleion แปลว่า "มาก") และ καινός (kainos ที่แปลว่า "ใหม่") ที่แปลง่าย ๆ ว่า "สมัยที่ตามมาจากสมัยปัจจุบัน" ที่หมายถึงสมัยของสัตว์ทะเลมอลลัสกาของสมัยใหม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสมัยไพลโอซีน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จที่ 2 แห่งกรีซ

มเด็จพระราชาธิบดีจอร์จที่ 2 แห่งกรีซ (ภาษากรีก: Γεώργιος Β', Βασιλεύς των Ελλήνων) (19 กรกฎาคม พ.ศ. 2433 - 1 เมษายน พ.ศ. 2490) ทรงปกครองกรีซตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษากรีกและสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จที่ 2 แห่งกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีอันเนอ-มารีแห่งกรีซ

มเด็จพระราชินีอันเนอ-มารีแห่งกรีซ (กรีก: Άννα-Μαρία Βασίλισσα των Ελλήνων อันนา มาเรีย, พระราชสมภพ: 30 สิงหาคม พ.ศ. 2489-) พระนามเมื่อแรกประสูติ เจ้าหญิงอันเนอ-มารี ดักมาร์ อิงกริดแห่งเดนมาร์ก (เดนมาร์ก: Princess Anne-Marie Dagmar Ingrid of Denmark) พระอัครมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ ดำรงตำแหน่งสมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ (หรือ สมเด็จพระราชินีแห่งเฮลเลนส์) ในช่วง 6 มีนาคม ค.ศ. 1964 – 1 มิถุนายน ค.ศ. 1973 ภายหลังได้มีการลงประชามติล้มเลิกการปกครองระบอบกษัตริย์และเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบสาธารณรัฐในมาตราที่ 4, ข้อที่ 7 ของรัฐธรรมนูญแห่งรัฐระบุไว้ว่า "Titles of nobility or distinction are neither conferred upon nor recognized in Greek citizens พระอิสริยยศนำหน้าพระนามจะไม่ได้รับเกียรติอย่างเป็นทางการของประชาชนกรีซ" ดูเพิ่มได้ที.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสมเด็จพระราชินีอันเนอ-มารีแห่งกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีอเล็กซันดราแห่งยูโกสลาเวีย

้าหญิงอเล็กซานดราแห่งกรีซ สมเด็จพระราชินีแห่งยูโกสลาเวีย(ภาษากรีก:Αλεξάνδρα της Ελλάδος και της Δανίας, 25 มีนาคม พ.ศ. 2464 - 30 มกราคม พ.ศ. 2536) เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งยูโกสลาเวียและเป็นพระราชชนนีในผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์องค์ปัจจุบันคือมกุฎราชกุมารอเล็กซานเดอร์แห่งยูโกสลาเวี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสมเด็จพระราชินีอเล็กซันดราแห่งยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าไทกราเนสมหาราช

ระเจ้าไทกราเนสมหาราช (Tigranes the Great; Տիգրան Մեծ; ภาษากรีก: Τιγράνης ο Μέγας, 140 - 55 ปีก่อนคริสตกาล) กษัตริย์อาร์มีเนียแห่งราชวงศ์อาร์ตาเซียด โดยเป็นพระราชโอรสหรือพระราชนัดดา ในพระเจ้าไทกราเนสที่ 1 ประสูติเมื่อ 140 ปีก่อน..

ใหม่!!: ภาษากรีกและสมเด็จพระเจ้าไทกราเนสมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สรรพันตรเทวนิยม

รรพัชฌัตเทวนิยม (Panentheism) เป็นเทวนิยมรูปแบบหนึ่งที่เชื่อว่าพระเป็นเจ้าทรงสถิตแทรกซึมอยู่ทั่วโลก (ตลอดทั้งจักรวาล) มีลักษณะเป็นแนวคิดสายกลางระหว่างแนวคิดแบบเอกเทวนิยมด้ังเดิมที่มองว่าพระเป็นเจ้าทรงอยู่แยกขาดจากโลก กับแนวคิดสรรพเทวนิยมที่มองว่าพระเป็นเจ้ากับโลกเป็นสิ่งเดียวกัน สรรพัชฌัตเทวนิยมจึงเสนอว่าพระเป็นเจ้าทรงปรากฏพระองค์ในโลก (ไม่ได้แยกขาดจากกัน) แต่พระองค์ก็ไม่ใช่ภาวะเดียวกับโลก แนวคิดนี้ปรากฏในสาขาปรัชญาและเทววิทยามาหลายศตวรรษ แต่มาเฟื่องฟูมากในโลกตะวันตกเมื่อสองศตวรรษที่แล้ว เมื่อศาสนาคริสต์ต้องปรับตัวเข้ากับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ ศาสนาที่มีแนวคิดแบบสรรพัชฌัตเทวนิยม เช่น ศาสนาฮินดูสำนักวิศิษฏาไทฺวตะ เวทานตะ และลัทธิอนุตตรธรรม เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสรรพันตรเทวนิยม · ดูเพิ่มเติม »

สรีรวิทยาระบบนิเวศ

รีรวิทยาระบบนิเวศ (Ecophysiology; มาจากภาษากรีก οἶκος, oikos,"บ้าน"; φύσις, physis,"ธรรมชาติ กำเนิด" และ λογία, logia ความรู้) หรือ สรีรวิทยาสิ่งแวดล้อม เป็นหัวข้อทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพซึ่งจากการศึกษาการปรับตัวทางสรีรวิทยาของสิ่งมีชีวิตกับสภาวะของสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องกับสรีรวิทยาวิวัฒนาการและสรีรวิทยาเปรียบเที.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสรีรวิทยาระบบนิเวศ · ดูเพิ่มเติม »

สวนศาสตร์

วนศาสตร์ (อ่านว่า สะ-วะ-นะ-สาด) หรือ อะคูสติกส์ (อังกฤษ: acoustics) เป็นสาขาหนึ่งของ ฟิสิกส์ ว่าด้วยคุณสมบัติของ คลื่นเสียงเชิงกล เมื่อเคลื่อนที่ใน แก๊ส ของเหลว และของแข็ง นักวิทยาศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญในสาขานี้ เรียกว่า นักอะคูสติกส์ (Acoustician) คำว่า อะคูสติกนั้น มาจากภาษากรีกโบราณ ว่า “อะคูสติกคอส” หมายถึง “สามารถได้ยิน” ในปัจจุบัน อะคูสติกส์ เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง ควบคุม ส่ง รับ และผลกระทบของเสียง โดยเริ่มต้นด้วยการศึกษาการสั่นเชิงกล และการแผ่คลื่นจากการสั่นเหล่านี้ จนถึงการศึกษาคลื่นเชิงกล โดยยังมีการศึกษาค้นคว้าเรื่อยมา งานวิจัยด้านสวนศาสตร์ดำเนินไปหลายลักษณะ จากกระบวนการเชิงฟิสิกส์มูลฐาน ที่เกี่ยวข้องกับคลื่นและเสียง และอาจโยงไปถึงการประยุกต์ใช้กระบวนการเหล่านี้ในชีวิตสมัยใหม่ การศึกษาคลื่นเสียงยังนำไปสู่หลักการทางฟิสิกส์ที่อาจประยุกตใช้กับการศึกษาคลื่นทุกชนิดด้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสวนศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพยุโรป

หภาพยุโรป (European Union: EU) เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 28 ประเทศซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตร มีประชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อนย้ายบุคคล สินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า เกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต็มที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้สกุลเงินยูโร สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กร เรียก สถาบันของสหภาพยุโรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภายุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรปและศาลผู้สอบบัญชียุโรป สหภาพยุโรปกำเนิดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับโดยประเทศอินเนอร์ซิกส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพิ่มขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท์สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเมืองยุโรป การแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552 สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน 16.477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงมาก ตามข้อมูลของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรป ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผู้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผู้แทนในสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก จี7 และจี-20 เนื่องจากมีอิทธิพลทั่วโลก จึงมีการอธิบายสหภาพยุโรปเป็นอภิมหาอำนาจปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสหภาพยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สะระแหน่

ระแหน่ เป็นพืชในตระกูลมินต์ วงศ์กะเพรา มีแหล่งกำเนิดมาจากแถบยุโรปตอนใต้และแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เมื่อโตเต็มที่จะมีความสูงประมาณ 70 - 150 เซนติเมตร ส่วนใบจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับใบพืชในตระกูลมิ้นต์ มีกลิ่นหอมคล้ายใบมะนาว และทุก ๆ ปลายฤดูร้อนต้นสะระแหน่จะออกดอกสีขาว ๆ ที่เต็มไปด้วยน้ำหอมและน้ำหวานอยู่ภายใน นี้ดึงดูดใจให้ผึ้งมาดูดน้ำหวาน จากเหตุนี้ทำให้สะระแหน่อยู่ในสกุลเมลิสซา (Melissa: ภาษากรีก แปลว่าน้ำผึ้ง) และยังมีรสชาติคล้ายคลึงกับ ตะไคร้หอม, มะนาวและแอลกอฮอล.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสะระแหน่ · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก

ัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก หรือที่นิยมเรียกทั่วไปว่า สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ (Amphibians) เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่อยู่ในชั้น Amphibia อาศัยอยู่ได้ทั้งในน้ำและบนบก มีลักษณะเฉพาะ คือ ผิวหนังมีต่อมเมือกทำให้ผิวหนังชุ่มชื้นตลอดเวลา ผิวหนังเปียกลื่นอยู่เสมอ ไม่มีเกล็ดตัวไม่แห้งหรือไม่มีขน หายใจด้วยเหงือก, ปอด, ผิวหนัง หรือผิวในปากในคอ โดยชั้นผิวหนังนั้นมีลักษณะพิเศษสามารถแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้เนื่องจากมีโครงข่ายหลอดเลือดฝอยจำนวนมาก เพื่อใช้ในการหายใจ สืบพันธุ์โดยการผสมพันธุ์ภายนอกลำตัว สืบพันธุ์เมื่ออายุ 2–3 ปี ออกลูกเป็นไข่อยู่ในน้ำ ไม่มีเปลือก วางไข่เป็นกลุ่มในน้ำมีสารเป็นวุ้นหุ้ม ลูกอ่อนที่ออกจากไข่มีรูปร่างคล้ายปลาเรียกว่า "ลูกอ๊อด" อยู่ในน้ำหายใจด้วยเหงือก เมื่อเติบโตเต็มที่แล้วมีปอดหายใจ ขึ้นบกได้ แต่ต้องอยู่ใกล้น้ำ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกส่วนใหญ่จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างทั้งภายนอกและภายในอย่างสิ้นเชิง ไปตามวงจรชีวิต ตัวอ่อนอาศัยอยู่ในน้ำ หายใจด้วยเหงือก เมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนรูปร่างอาศัยอยู่บนบก หายใจด้วยปอดหรือผิวหนัง โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้งในช่วงระหว่างฤดูหนาวถึงฤดูร้อน ส่วนใหญ่จะขุดรูจำศีล เพื่อหนีความแห้งแล้ง มิให้ผิวหนังแห้ง ถ้าผิวหนังแห้งจะหายใจไม่ได้และตายในที่สุด เพราะก๊าชจากอากาศต้องละลายไปกับน้ำเมือกที่ผิวหนัง แล้วจึงแพร่เข้าสู่กระแสโลหิต ระยะนี้จะใช้อาหารที่สะสมไว้ในร่างกายอย่างช้า ๆ นิวต์และซาลามานเดอร์ก็เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำเหมือนกัน แต่แตกตางกันตรงที่นิวต์และซาลามานเดอร์จะยังคงหางของมันไว้ เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกถือเป็นสัตว์เลือดเย็นเช่นเดียวกับสัตว์พวกปลา หรือแมลง หรือสัตว์เลื้อยคลาน ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานสัตว์ในชั้นแล้วกว่า 6,500 ชน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์ประหลาด

รา หนึ่งในสัตว์ประหลาดของเทพปกรณัมกรีกที่มีชื่อเสียง สัตว์ประหลาด หรือ อสูรกาย (Monster, Cryptid) หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่ผิดแปลกจากสภาพแวดล้อมโดยทั่ว ๆ ไป หรือสัตว์ที่มนุษย์ไม่เป็นที่รู้จัก สัตว์ประหลาดถูกกล่าวถึงในตำนานหรือนิทานของชนชาติต่าง ๆ มาแต่อดีตแล้ว โดยคำว่า Monster ที่หมายถึง สัตว์ประหลาด หรือ อสูรกาย ในภาษาอังกฤษนั้นมาจากภาษาละตินคำว่า Monstrum ซึ่งหมายถึง การเกิดสิ่งผิดปกติทางชีววิทยามักจะที่ถูกนำมาเป็นสัญลักษณ์ว่าสิ่งที่ถูกต้องภายในเพื่อธรรมชาติ ความหมายของคำว่า Monster ไม่เหมือนกับปีศาจ ซึ่งหมายถึง ความชั่วร้าย โดยปกติแล้ว Monster หรือ สัตว์ประหลาด จะหมายถึงสิ่งที่น่ารังเกียจหรือผิดศีลธรรม หรือความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอย่างน่าเกลียด หรือความวิปริตทางธรรมชาติ นอกจากนี้แล้วยังนำมาใช้เปรียบเปรยกับผู้ที่มีลักษณะโลภโมโทสันหรือบุคคลที่แลดูน่ากลัวด้วย นอกจากนี้แล้ว สัตว์ประหลาดยังปรากฏตัวในสื่อวัฒนธรรมร่วมสมัยทั้งการ์ตูน ภาพยนตร์ และวิดีโอเกม โดยทั่วไปแล้ว สัตว์ประหลาดมักมีลักษณะน่ากลัวและดุร้าย แต่ในสื่อสารมวลชนยุคใหม่ก็มีสัตว์ประหลาดที่มีบทบาทในลักษณะของอสูรกายที่เป็นมิตรหรือถูกเข้าใจผิด เช่น คิงคอง หรือ อสูรกายของแฟรงเกนสไตน์ เป็นต้น ในภาพยนตร์มีเนื้อหาเกี่ยวกับสัตว์ประหลาดอยู่มากมาย อาทิ Godzilla ของฮอลลีวู้ดในปี ค.ศ. 1998 ที่ดัดแปลงมาจากตัวละครเอกคือ ก็อตซิลล่า ของญี่ปุ่น, The Mist ในปี ค.ศ. 2008 หรือแม้แต่ในภาพยนตร์ไทย เช่น มันมากับความมืด ในปี ค.ศ. 1971 จากการกำกับโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล, มาห์ ในปี ค.ศ. 1991 หรือ ปักษาวายุ ในปี ค.ศ. 2004 เป็นต้น ในวัฒนธรรมไทย ก็มีสัตว์ประหลาดอยู่มากมาย ตามคติจักรวาลวิทยาทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดูหรือพุทธศาสนา มีป่าหิมพานต์ซึ่งเป็นป่าศักดิ์สิทธิ์อยู่เชิงเขาไกรลาศ มีสัตว์ประหลาดมากมาย เรียกว่า สัตว์หิมพานต์ ซึ่งมักปรากฏภาพเป็นจิตรกรรมฝาผนังตามวัดต่าง ๆ ในเชิงวิชาการ มีศาสตร์แขนงหนึ่งของสัตววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับสัตว์ประหลาดโดยเฉพาะ เรียกว่า สัตว์ประหลาดวิทยา หรือ สัตว์ลึกลับวิทยา (Cryptozoology) ซึ่งคำว่า Cryptozoology มาจากภาษากรีกคำว่า Kρυπτός (Kryptos) หมายถึง "ซ่อนอยู่" ผสมกับ Zoology ก็คือ สัตววิทยา นั่นเอง โดยนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับศาสตร์ประเภทนี้ เรียกว่า นักสัตว์ประหลาดวิทยา นักสัตว์ประหลาดวิทยาที่มีชื่อเสียง ได้แก่ คาร์ล ชูเกอร์ ชาวอังกฤษ, เบอร์นาร์ด ฮูเวลมานส์ ชาวเบลเยียม ที่ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งศาสตร์แขนงนี้และเป็นผู้ตั้งศาสตร์แขนงนี้ด้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสัตว์ประหลาด · ดูเพิ่มเติม »

สามเทพสุภา

(จากซ้าย) ราดาแมนทีส, ไมนอส, ไออาคอส สามเทพสุภา (Three Judges of Hades World) คือ 3 ผู้พิพากษาความดีชั่วของผู้ที่เสียชีวิตลงตามเทพปกรณัมของกรีก ประกอบไปด้วย ราดาแมนทีส (Radamanthys) ไมนอส (Minos, ภาษากรีก Μίνως) และไออาคอส (Aiacos, Aeacus ภาษากรีกแปลว่า ค้ำจุนโลก) ราดาแมนทีสกับไมนอส เป็นพี่น้องกัน ทั้งคู่เป็นบุตรของซุสและยูโรปา ทั้งคู่เมื่อยังมีชีวิตอยู่เป็นกษัตริย์ เมื่อตายลงจึงได้เป็นผู้พิพากษาในยมโลก ส่วน ไออาคอส เป็นบุตรของซุสกับอีคิดน่า แต่เดิมก็เป็นกษัตริย์เช่นกัน เป็นกษัตริย์ที่ทรงความยุติธรรม เมื่อตายลงจึงได้เป็นผู้พิพากษาเช่นเดียวกับราดาแมนทีสและไมนอส โดยจะทำหน้าที่แตกต่างออกไป ราดาแมนทีส จะพิพากษาวิญญาณผู้ที่ตายจากภาคตะวันออก ไออาคอสจะพิพากษาวิญญาณชาวกรีกและเฝ้าประตูนรก ส่วนไมนอส จะเป็นผู้พิจารณาความดีชั่วเป็นเบื้องต้น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสามเทพสุภา · ดูเพิ่มเติม »

สารานุกรม

ษณาสารานุกรมบริเตนนิกา ฉบับ ค.ศ. 1913 สารานุกรม คือเรื่องคัดย่อที่ถูกเขียนขึ้นสำหรับการรวบรวมความรู้จากทุกสาขาวิชาหรือจากสาขาวิชาหนึ่งสารานุกรมแบ่งออกเป็นบทความหรือรายการที่มักเรียงตามตัวอักษรของชื่อบทความ และบางทีอาจแบ่งเป็นหมวดหมู่ตามแก่นเรื่อง แต่ละบทความในสารานุกรมมักยาวและละเอียดกว่าในพจนานุกรม กล่าวได้ว่าบทความในสารานุกรมเน้นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหัวข้อนั้น ๆ ต่างกับพจนานุกรมที่มักเน้นเกี่ยวกับข้อมูลทางภาษาศาสตร์เกี่ยวกับคำศัพท์ เช่น ความหมาย การอ่าน การใช้ และรูปแบบตามหลักไวยากรณ์Béjoint, Henri (2000).

ใหม่!!: ภาษากรีกและสารานุกรม · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเวนิส

รณรัฐอันสงบสุขเป็นที่สุดแห่งเวนิส หรือ สาธารณรัฐเวนิส (Republic of Venice หรือ Venetian Republic, Serenissima Repubblica di Venezia) เป็นรัฐที่เริ่มขึ้นในเมืองเวนิสที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี สาธารณรัฐเวนิสรุ่งเรืองอยู่กว่าหนึ่งพันปีตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 7 จนกระทั่งถึงปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและสาธารณรัฐเวนิส · ดูเพิ่มเติม »

สางห่า (สกุล)

งห่า หรือ จิ้งเหลนน้อยหางยาว เป็นสกุลของสัตว์เลื้อยคลานในวงศ์ Lacertidae หรือ สางห่า ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Takydromus ซึ่งมาจากภาษากรีกคำว่า ταχυδρόμος (takhudromos), "วิ่งเร็ว" และ ταχύς (takhus), "เร็ว" + δρόμος (dromos), "สนามแข่ง, แข่งขัน" มีลักษณะทั่วไปมีลำตัวเรียวยาวและเพรียวผอม มีลักษณะเด่น คือ มีส่วนหางที่มีความยาวมากกว่าความยาวลำตัวตั้งแต่ปลายจมูกจรดรูทวาร 2–5 เท่า สามารถปล่อยหางให้หลุดจากลำตัวได้เพื่อหลบหลีกศัตรูตามธรรมชาติ โดยตำแหน่งที่ปล่อยหางอยู่ทางด้านหน้าของก้านกระดูกทางด้านข้างของกระดูกสันหลังส่วนหางทุกปล้อง มีเล็บนิ้วตีนทุกเล็บยาวและงุ้มลงด้านล่าง เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางวัน โดยมักหากินตามพื้นดินหรือไม่ก็ไม้พุ่มหรือต้นไม้เตี้ย ๆ มีความรวดเร็วในการเคลื่อนไหวมาก จึงมักไม่พบเห็นตัวง่าย ๆ กระจายพันธุ์ในหลายประเทศของทวีปเอเชีย สำหรับในประเทศไทยพบเพียงชนิดเดียว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสางห่า (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

สิงโต

งโต (Lion) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อยู่ในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว สิงโตมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera leo มีขนาดลำตัวใหญ่ ขนาดไล่เลี่ยกับเสือโคร่งทั่วไป (P. tigris) ซึ่งเป็นสัตว์ในสกุล Panthera เหมือนกัน จัดเป็นสัตว์ในวงศ์ Felidae ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดรองมาจากเสือโคร่งไซบีเรีย (P. t. altaica) พื้นลำตัวสีน้ำตาล ไม่มีลาย ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่จะมีขนสร้อยคอยาว ขนปลายหางเป็นพู่ ชอบอยู่เป็นฝูงตามทุ่งโล่ง มีน้ำหนักประมาณ 250 กิโลกรัม (550 ปอนด์) ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่า มักทำหน้าที่ล่าเหยื่อ มีน้ำหนักประมาณ 180 กิโลกรัม (400 ปอนด์) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกาและประเทศอินเดีย ในป่าธรรมชาติ สิงโตมีอายุขัยประมาณ 10-14 ปี ส่วนสิงโตที่อยู่ในกรงเลี้ยงมีอายุยืนถึง 20 ปี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสิงโต · ดูเพิ่มเติม »

สุสานแห่งฮาลิคาร์นัสเซิส

นแห่งฮาลิคาร์นัสเซิส หรือ สุสานแห่งโมโซลูส (The Mausoleum at Halicarnassus, Tomb of Mausolus, กรีก: Μαυσωλεῖον τῆς Ἁλικαρνασσοῦ) เป็นสุสานขนาดใหญ่ของกษัตริย์โมโซลูสแห่งลิเชีย ในเอเชียไมเนอร์ จัดเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก เป็นเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคโบราณ สุสานแห่งฮาลิคาร์นัสเซิส ตั้งอยู่ที่ฮาลิคาร์นัสเซิส ประเทศตุรกี ในปัจจุบัน สร้างขึ้นโดยราชินี อาเตมีสเซีย หลังการสวรรคตของพระสวามี สร้างขึ้นระหว่าง 353-350 ปีก่อนคริสต์ศักราช สร้างขึ้นมาจากหินอ่อนในระหว่างปี ค.ศ. 156-190 ในรูปแบบสถาปัตยกรรมกรีกโบราณ มีบันทึกไว้ว่า มีขนาดสูงถึง 140 ฟุต ฐานโดยรอบยาวถึง 460 ฟุต บนยอดสุดเป็นพื้นเหลี่ยมเล็กกว่าฐานล่าง ได้ปั้นเป็นรูปราชรถและม้า 1 ชุด กำลังวิ่ง และมีกษัตริย์และพระมเหสีประทับยืนอยู่บนราชรถม้า ประกอบด้วยลวดลายสวยงามมาก สุสานแห่งฮาลิคาร์นัสเซิส พังทลายลงด้วยเหตุแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ในคริสต์ศตวรรษที่ 12-13 ปัจจุบันจึงเหลือแต่เพียงซากชิ้นส่วน และชิ้นส่วนบางอย่างถูกเก็บรักษาไว้ที่ บริติช มิวเซียม ในประเทศอังกฤษ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสุสานแห่งฮาลิคาร์นัสเซิส · ดูเพิ่มเติม »

สีซีเปีย

ซีเปีย คือ สีน้ำตาลเข้ม ได้จากถุงน้ำหมึกของปลาหมึกธรรมดา นอกจากนี้ยังเป็นชื่อของสีเทาอมน้ำตาลเข้ม สีซีเปียนิยมใช้โดยทั่วไปเป็นหมึกใช้เขียนในสมัยก่อน ช่วง 15 ปีหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ศาสตราจารย์ยาคอบ ไซเดลมันน์ (Jacob Seydelmann) แห่งเดรสเดน ได้พัฒนากระบวนการเพื่อสกัดและผลิตสีซีเปียที่มีความเข้มมากขึ้น สำหรับใช้ในงานวาดภาพสีน้ำ และสีน้ำมัน ในการถ่ายภาพ สีซีเปียยังเป็นที่นิยมไม่น้อย โดยได้สีจากอ่างย้อมสีทอง สีแดงที่ผสมอยู่ในสีซีเปียนั้นความจริงแล้วเป็นผลของการจางลงตามกาลเวลา ด้วยเหตุนี้สีซีเปียจึงมีนิยามที่คลุมเครือค่อนข้างมาก คำว่า "ซีเปีย" นั้น มาจากคำศัพท์ภาษากรีก หมายถึง "ปลาหมึก" ซีเปีย หมวดหมู่:รงควัตถุ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสีซีเปีย · ดูเพิ่มเติม »

สีเงิน (มุทราศาสตร์)

“Argent” สีเงินทางซ้าย หรือ ว่าง ตราของเมือง Santiago do Cacém ที่แสดงความแตกต่างระหว่างสีขาวและสีเงิน สีเงิน (Argent) เป็นภาษามุทราศาสตร์ที่บรรยายลักษณะของผิวตรา (Tincture) ที่เป็นสีเงินหรือบางครั้งก็เรียกว่าสีขาว ที่อยู่ในกลุ่มผิวตราสีอ่อนที่เรียกว่า “โลหะ” ถ้าเป็นการแกะพิมพ์ “เงิน” ก็จะเป็นบริเวณที่ทิ้งว่างไม่มีลวดลาย หรืออาจจะจารึกด้วยอักษรย่อ “ar.” ของคำว่า “Argent” คำว่า “Argent” มาจากภาษาลาติน ว่า “argentum” ที่มาจากภาษากรีก “Αργυρος” ที่แปลว่า “เงิน” หรือ “โลหะสีขาว” ในการสร้างตราอาร์มในสมัยโบราณบริเวณที่ระบุว่าเป็นสีเงินอาจจะทำด้วยแผ่นเงิน แต่เมื่อเวลาผ่านไปเงินที่ใช้ก็มีปฏิกิริยากับอากาศและเปลี่ยนเป็นสีที่คร่ำลง ฉะนั้นบางครั้งจึงเป็นการยากที่จะตีความหมายของตราในสมัยโบราณที่มีส่วนที่เป็นสีดำว่าเป็นสีดำ (sable) หรือเป็นสีเงิน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสีเงิน (มุทราศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สคิลลา

ลลาบนแจกันดินเผายุคกรีกโบราณ สคิลลา (Scylla; กรีก: Σκύλλα, Skylla) เป็นอสูรกายทะเลปรากฏในเทพปกรณัมกรีก เคียงคู่กับคาริบดิส อันเป็นที่มาของสุภาษิตตะวันตกที่ว่า "ระหว่างคาริบดิสและสคิลลา" สคิลลา มีท่อนบนเป็นหญิงสาวรูปร่างหน้าตาสวยงาม แต่ท่อนล่างเป็นสุนัขดุร้ายทั้งหมด 6 หัว เชื่อว่าสคิลลาและคาริบดิสอาศัยอยู่บริเวณโขดหินแถบช่องแคบเมสสินา ใกล้กับเกาะซิซิลี ในประเทศอิตาลี ในปัจจุบัน เดิมที สคิลลาเป็นนิมฟ์หรือพรายน้ำที่มีรูปร่างหน้าตาสวยงาม เป็นบุตรีของเพอร์ซิส เทพแห่งน้ำ กลอคัส ซึ่งเป็นเทพแห่งท้องทะเลอีกองค์หนึ่งตามปกรณัม เมื่อได้มาพบเห็นสคิลลาก็หลงรักและปรารถนาอยากได้ครอบครองนาง แต่สคิลลากลัวในรูปร่างอันประหลาดของกลอคัส จึงวิ่งหนีเมื่อกลอคัสปรากฏตัวขึ้นเหนือน้ำ กลอคัสจึงเล่าเรื่องทั้งหมดนี้ให้แก่นางแม่มด เซอร์ซี เพื่อหวังให้นางช่วย แต่เมื่อเซอร์ซีได้ฟังเรื่องทั้งหมดแล้ว นางกลับหลงรักกลอคัสแทน และได้เทยาพิษลงในน้ำในจุดที่สคิลลาลงเล่นน้ำบ่อย ๆ เมื่อสคิลลาลงเล่นน้ำร่างกายท่อนล่างเมื่อแตะน้ำจึงกลับกลายเป็นสุนัขดุร้าย 6 หัวแทน และถูกตรึงอยู่ ณ ที่นั้น ไม่สามารถขยับไปไหนได้ จึงกลายเป็นอสูรกายคอยดักเล่นงานลูกเรือตามเรือที่ผ่านไปมา โดยจับกินเป็นอาหาร อีกปกรณัมหนึ่ง เล่าว่า สคิลลาเป็นชายาลับ ๆ อีกองค์ของโพไซดอน มหาเทพแห่งท้องทะเล จึงทำให้แอมฟิไทรต์ชายาใหญ่ของโพไซดอนเกิดความหึงหวง จึงเอายาพิษมาโปรยใว้ที่จุดที่สคิลลาลงเล่นน้ำ จึงกลายเป็นอสูรกายไป และบางปกรณัมก็ว่า สคิลลาถูกปราบโดยเฮราคลีส จึงกลายเป็นโขดหินไป เรื่องราวของสคลิลาและคาริบดิสปรากฏในมหากาพย์โอดิสซีย์ โดย เรือของโอดิซูสต้องผ่านช่องแคบเมสสินาในระหว่างเดินทางกลับ หลังเสร็จสงครามกรุงทรอย โอดิสซูสจำต้องเลือกว่าจะเสี่ยงเอาเรือแล่นไปใกล้คาริบดิสและเรืออาจถูกน้ำวนของนาง ดูดจนอัปปางจมไปทั้งลำหรือนำเรือเข้าไปใกล้โขดหินสคิลลาและเสี่ยงต่อการถูกจู่โจม ซึ่งสุดท้าย โอดิสซูสก็เลือกนำเรือเข้าใกล้โขดหินสคิลลาและต้องเสียลูกเรือ 6 คนโดยถูกสุนัขทั้ง 6 หัวของสคิลลาฉกไปกินหัวละคน ในวัฒนธรรมร่วมสมัย สคิลลาได้ถูกอ้างอิงถึงในการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง เซนต์เซย่า โดยปรากฏเป็นมารีนเนอร์ระดับขุนพล ชื่อ สคิลลา อิโอ เป็นผู้พิทักษ์เสาค้ำมหาสมุทรแปซิฟิคใต้ โดยดัดแปลงให้สคิลลามีท่อนล่างเป็นสัตว์ป่าดุร้าย 6 ชนิดแทน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสคิลลา · ดูเพิ่มเติม »

สตรีโกย

ตรีโกย จากสารคดีชุด ''Lost Tapes'' สตรีโกย (Strigoi; striga; หมายถึง โพลเทอร์ไกสท์) เป็นผีหรือปิศาจตามความเชื่อของชาวโรมาเนียประเภทแวมไพร์อย่างหนึ่ง สตรีโกยไม่เหมือนแวมไพร์อย่างอื่นตรงที่จะไม่ดูดเลือดจากมนุษย์โดยตรง แต่จะดูดวิญญาณหรือพลังชีวิตจากเหยื่อแทน สตรีโกยจะมีหางเล็ก ๆ งอกออกมาเหมือนกระดูกก้นกบที่ยาวผิดปกติ และยังเชื่ออีกว่าสตรีโกยมีพลังเหนือธรรมชาติสามารถเคลื่อนย้ายผลผลิตของชาวนาหรือรีดนมจากแม่วัวให้หมดไปได้ เพื่อให้ชาวนาและครอบครัวอดตาย สตรีโกย เป็นความเชื่อเรื่องแวมไพร์แบบพื้นบ้านของโรมาเนีย ผู้ที่เป็นสตรีโกยยังอาจหมายถึงแม่มด หรือผู้ที่เล่นเวทมนตร์ไสยศาสตร์ คำว่า สตรีโกย มาจากรากศัพท์ภาษาโรมาเนียคำกริยาที่หมายถึง "กรีดร้อง" ที่มาจากภาษาละตินคำว่า strix หรือ striga ซึ่งรากศัพท์หมายถึงนกฮูกหรือประเภทของนกฮูก หรือหมายถึงปรสิตดูดเลือด เช่น Strigeidida ซึ่งเป็นคำเดียวกันที่พบได้ทั่วทั้งภาษาโรมานซ์ เช่นภาษาอิตาลี strega หรือภาษาเวนิส คำว่า strěga แปลว่า "แม่มด" ในภาษาฝรั่งเศส stryge หมายถึง นกผู้หญิงที่ดูดเลือดเด็ก ฌูล แวร์น นักเขียนนิยายชาวฝรั่งเศสได้ใช้คำว่า "stryges" ในบทที่ 2 ในนิยายของตนเรื่อง The Carpathian Castle ตีพิมพ์ในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและสตรีโกย · ดูเพิ่มเติม »

สนร่ม

นร่ม (ภาษาอังกฤษ: koyamaki หรือ Japanese umbrella-pine) เป็นสนที่เป็นไม้พื้นเมืองของญี่ปุ่น เป็นพืชชนิดเดียวในวงศ์ Sciadopityaceae และสกุล Sciadopitys จัดเป็นฟอสซิลมีชีวิตโดยไม่มีพืชที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด และพบเป็นฟอสซิลมาตั้งแต่เมื่อ 230 ล้านปีก่อน ชื่อของสกุลมาจาก ภาษากรีก sciado- หมายถึง "เงา" และ pitys, หมายถึง สน ชื่อสปีชีส์หมายถึง เป็นวงรอบ พืชชนิดนี้ถูกเลือกใช้เป็นตราประจำพระองค์ของเจ้าชายฮิซะฮิโตะแห่งอะกิชิโนะ รัชทายาทอันดับที่สามของญี่ปุ่น ''Sciadopitys verticillata'' จาก "Flore des serres et des jardins de l'Europe" สนร่มเป็นพืชไม่ผลัดใบ สูงได้ถึง 15–27 m มีกิ่งสีน้ำตาลมีกิ่งที่เปลี่ยนเป็นสีเขียวยาว 7–12 cm เรียงเป็นวงเรียกคลาโดด (cladodes) ทำหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสงแทนใบ โคนยาว 6–11 cm แก่เต็มที่ภายใน 18 เดือน เกล็ดจะเปิดเพื่อปล่อยเมล็ดออกมา สนร่มเป็นไม้ที่นิยมใช้แต่งสวน แต่โตช้า พืชชนิดนี้นำเข้าสู่ทวีปยุโรปครั้งแรกโดย John Gould Veitch ในเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ภาษากรีกและสนร่ม · ดูเพิ่มเติม »

สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด

นว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด (Snow White and the Seven Dwarfs) คือภาพยนตร์อเมริกาออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2480 มีโครงเรื่องจากนวนิยายเรื่อง สโนว์ไวต์ ผลงานการประพันธ์ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เป็นการผลิตในรูปแบบภาพยนตร์การ์ตูนเต็มรูปแบบครั้งแรกของวอลท์ดิสนีย์ และเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเรื่องแรกในประวัติศาสตร์ภาพยนตร์อเมริกา สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด ณ โรงละคร Carthay Circle ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 ต่อมาได้จัดจำหน่ายโดย RKO Radio Pictures เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 เรื่องราวของเรื่องปรับปรุงมาจากแผ่นป้ายเรียบเรียงฉาก ของ Ann Blank, Richard Creedon, Merrill De Maris, Otto Englander, Earl Hurd, Dick Rickard, Ted Sears และ Webb Smith จากนวนิยายเยอรมันเรื่อง สโนว์ไวต์ ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เดวิด แฮนด์เป็นผู้อำนวยการผลิต ส่วน William Cottrell, Wilfred Jackson, Larry Morey, Perce Pearce และ Ben Sharpsteen กำกับลำดับภาพ สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด เป็นหนึ่งใน 2 ภาพยนตร์การ์ตูนที่ติดอันดับภาพยนตร์อเมริกาที่ยิ่งใหญ่ที่สุด 100 เรื่อง จากสถาบันภาพยนตร์สหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด · ดูเพิ่มเติม »

สไตลอยด์ โพรเซส

ในทางกายวิภาคศาสตร์ สไตลอยด์ โพรเซส (อังกฤษ: styloid process; มาจากภาษากรีก stylos, "เสา") มักหมายถึงจุดเกาะของกล้ามเนื้อซึ่งมีลักษณะเรียวแหลมและยื่นออกมา พบในบริเวณต่างๆ ของกระดูกดังนี้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสไตลอยด์ โพรเซส · ดูเพิ่มเติม »

สเตอเรเดียน

มุมในทรงตันขนาด 1 สเตอเรเดียน สเตอเรเดียน คือหน่วยวัดมุมในวัตถุทรงตันชนิดหนึ่ง ใช้อธิบายขนาดของการวาดมุมแบบสองมิติ บนปริภูมิสามมิติ ในแนวความคิดเดียวกับการวัดมุมบนระนาบสองมิติของเรเดียน ชื่อของ สเตอเรเดียน มาจากภาษากรีก stereos แปลว่า ตัน สเตอเรเดียนยังเป็นหน่วยอนุพันธ์เอสไอ และใช้สัญลักษณ์ "sr" สเตอเรเดียนนั้นเป็นหน่วยที่ไร้มิติ เช่น 1 sr.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสเตอเรเดียน · ดูเพิ่มเติม »

สเตโกดอน

ตโกดอน (Stegodon) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกช้างที่สูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Stegodon (หมายถึง "รากฟัน" จากภาษากรีกคำว่า στέγειν อ่านว่า "stegein" หมายถึง "ครอบคลุม" และ ὀδούς อ่านว่า "odous" หมายถึง "ฟัน") เดิมทีสเตโกดอนถูกจัดให้อยู่ในวงศ์ Elephantidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับวงศ์ของช้างในยุคปัจจุบัน แต่ต่อมาได้ถูกแบ่งแยกออกมาเป็นวงศ์ของตัวเอง คือ Stegodontidae มีชีวิตอยู่ในยุคไมโอซีนตอนปลาย ถึงต้นยุคไพลสโตซีน ราว 1,800,000 ปีก่อน จัดว่าเป็นช้างรุ่นที่ 6 ในลำดับวิวัฒนาการของช้าง ซึ่งนับว่าว่าเก่าแก่กว่าช้างแมมมอธ ซึ่งถูกจัดอยู่ในรุ่นที่ 8 ที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีเสียอีก สเตโกดอน จัดว่าเป็นช้างโบราณ ที่เชื่อว่ามีสายสัมพันธ์กับช้างในสกุล Elephas หรือช้างเอเชียในยุคปัจจุบัน เป็นไปได้ว่าช้างเอเชียอาจสืบสายพันธุ์หรือวิวัฒนาการมาจากสเตโกดอน นอกจากนี้แล้วสเตโกดอนยังถือว่าเป็นช้างที่มีลักษณะร่วมกันของช้างเอเชียกับมาสโตดอน ซึ่งเป็นช้างโบราณอีกสกุลหนึ่งที่สูญพันธุ์ไปแล้วเช่นกัน สเตโกดอน มีรูปร่างที่สูงใหญ่ บางตัวหรือบางชนิดอาจสูงถึง 4 เมตร มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับช้างในยุคปัจจุบัน กะโหลกมีขนาดใหญ่ ขากรรไกรสั้น ไม่มีงาล่าง ฟันกรามประกอบด้วยสันฟันแนวขวาง 6–13 สัน มีลักษณะเด่น คือ มีงาหนึ่งคู่ที่ยาวงอกออกมาจากมุมปากทั้งสองข้าง มีลักษณะชิดติดกัน ซึ่งในบางชนิดมีความยาวได้ถึง 3.3 เมตร งวงไม่สามารถแทรกลงตรงกลางงาได้ ต้องพาดไปไว้ข้างใดข้างหนึ่ง ซากดึกดำบรรพ์ของสเตโกดอนถูกค้นพบในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยค้นพบที่ตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา และอำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล โดยที่จังหวัดสตูลนั้น ถูกค้นพบในถ้ำแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นถ้ำที่มีน้ำทะเลไหลผ่านพื้นถ้ำด้วยความยาวกว่า 4 กิโลเมตร เดิมชาวบ้านที่นี่เรียก "ถ้ำวังกล้วย" แต่ปัจจุบันได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "ถ้ำเลสเตโกดอน" จากองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดด้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและสเตโกดอน · ดูเพิ่มเติม »

หมาจิ้งจอกเฟนเนก

หมาจิ้งจอกเฟนเนก หรือ หมาจิ้งจอกทะเลทราย (Fennec fox, Desert fox) เป็นหมาจิ้งจอกชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Vulpes zerda อยู่ในวงศ์สุนัข (Canidae) หมาจิ้งจอกเฟนเนกเป็นหมาจิ้งจอกขนาดเล็ก ถือได้ว่าเป็นสัตว์ในวงศ์สุนัขที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก เนื่องจากขนาดเมื่อโตเต็มที่แล้ว มีน้ำหนักเฉลี่ยเพียง 1.75 กิโลกรัมสำหรับตัวผู้ และ 1.25 กิโลกรัมสำหรับตัวเมีย ซึ่งถือได้ว่าเล็กกว่าสุนัขบ้านเสียอีก นับได้ว่ามีขนาดน้ำหนักตัวใกล้เคียงกับชิวาวา ซึ่งเป็นสุนัขขนาดเล็ก และมีความยาวลำตัวประมาณ 24-40 เซนติเมตร มีความยาวหาง 8 นิ้ว มีขนสีน้ำตาลเหลืองตลอดทั้งตัว ดวงตาสีดำ มีจุดเด่นที่เห็นได้ชัดเจนคือ ใบหูที่ยาวมาก บางตัวอาจยาวได้ถึง 15 เซนติเมตร คล้ายกับหมาจิ้งจอกหูค้างคาว (Otocyon megalotis) ซึ่งถือได้ว่าเป็นหมาจิ้งจอกขนาดเล็กเช่นกัน แต่มีขนาดใหญ่กว่า หมาจิ้งจอกเฟนเนกมีถิ่นกระจายพันธุ์อยู่ทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกา โดยอาศัยอยู่ในทะเลทราย มีพฤติกรรมรวมกันเป็นฝูงขนาดเล็ก หากินในเวลากลางคืน โดยมีอาหารหลักคือ แมลงชนิดต่าง ๆ ด้วยการขุดคุ้ยจากการฟังเสียงจากใบหูที่มีขนาดใหญ่ นอกจากนั้นแล้วยังสามารถกินสัตว์ที่มีขนาดเล็ก, ไข่นก และผลไม้ได้อีกด้วย กระนั้นหมาจิ้งจอกเฟนเนกก็ยังตกเป็นเหยื่อของสัตว์กินเนื้อที่มีขนาดใหญ่กว่าได้อีกด้วย แต่ด้วยสภาพร่างกายที่เหมาะกับการอาศัยอยู่ในทะเลทราย ทำให้สามารถเอาตัวรอดได้ โดยขนที่อุ้งเท้าจะหนาสำหรับใช้เดินบนพื้นทรายที่ร้อนระอุได้ ขนสีน้ำตาลเหมือนสีของทรายของช่วยให้อำพรางตัวได้ในทะเลทราย นอกจากนี้แล้วยังหนาต่างจากสัตว์ที่อยู่ในทะเลทรายจำพวกอื่น ๆ โดยขนจะทำหน้าที่สะท้อนความร้อนจากแสงแดดในเวลากลางวันออกไป ส่วนตอนกลางคืนก็ทำหน้าที่สะสมความอบอุ่นไว้เพื่อต่อสู้กับความหนาวเย็น เนื่องจากเป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคึน ขยายพันธุ์ด้วยการตั้งท้องนานครั้งละ 2 เดือน เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 9 เดือน โดยจะตกลูกปี​ละ​ครั้ง ​เป็น​สัตว์​ที่​มี​คู่​ตัว​เดียว​ตลอด​ชีวิต ตัวผู้​จะ​ดุร้าย​และ​หวง​คู่ อีก​ทั้ง​ทำ​หน้าที่​คอย​หา​อาหาร​ให้​ตัวเมีย​ตลอด​เวลา​ช่วง​ที่​ตั้ง​ท้อง​และ​ให้​นม ตกลูกครั้งละ 2-4 ตัว คำว่า "เฟนเนก" นั้น มาจากภาษาอาหรับคำว่า "ثعلب" (fanak) หมายถึง "หมาจิ้งจอก" ส่วนชื่อชนิดทางวิทยาศาตร์คำว่า zerda มาจากภาษากรีกคำว่า xeros ซึ่งหมายถึง "ความแห้ง" อันหมายถึงสภาพของสถานที่อยู่อาศัยนั่นเอง ด้วยรูปลักษณ์ที่น่ารัก และมีขนาดเล็ก จึงทำให้หมาจิ้งจอกเฟนเนกกลายเป็นสัตว์เลี้ยงชนิดหนึ่งของมนุษย์ เช่นเดียวกับ สัตว์เลี้ยงเพื่อความเพลิดเพลินชนิดอื่น ๆ นอกจากนี้แล้ว ยังเป็นฉายาของทีมฟุตบอลทีมชาติแอลจีเรียอีกด้วย โดยเรียกเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า Les Fennecs หมายถึง "หมาจิ้งจอกทะเลทราย".

ใหม่!!: ภาษากรีกและหมาจิ้งจอกเฟนเนก · ดูเพิ่มเติม »

หมึก (สัตว์)

หมึก หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาหมึก เป็นสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลัง ที่มีขนาดใหญ่ เคลื่อนที่ได้รวดเร็ว และว่องไว มีหนวดรอบปาก 4-5 คู่ บนหนวดมีปุ่มดูดเรียงเป็นแถว มีหน้าที่จับเหยื่อป้อนเข้าปาก เป็นสัตว์ที่มีอยู่ในไฟลัมมอลลัสกา ชั้นเซฟาโลพอดซึ่งเป็นชั้นของสัตว์ที่มีลำตัวอ่อนนิ่ม ชั้นย่อย Coleoidea ต่างจากกลุ่มสัตว์ที่ใกล้เคียงกันคือ Nautiloidea ซึ่งมีเปลือกแข็งห่อหุ้มภายนอกร่างกาย แต่หมึกส่วนใหญ่กลับมีกระดูกหรือเปลือกอยู่ภายในเพื่อใช้ประโยชน์ในการเป็นทุ่นหรือพยุงร่างกาย ซึ่งเรียกว่า ลิ้นทะเล ยังมีบางชนิดที่ไม่มีกระดูก แต่มีกระดูกอ่อนทดแทนเพื่อใช้ในการพยุงโครงสร้างร่างกาย คำว่า Cephalopoda ซึ่งเป็นชื่อชั้นที่ใช้เรียกหมึก มาจากภาษากรีกแปลรวมกันว่า "สัตว์หัว-เท้า" (head-footed animals) เนื่องจากหมึกเป็นสัตว์ที่ไม่มีแขนขา เพียงแต่มีระยางค์ยื่นออกจากจากรอบ ๆ บริเวณปากเรียกว่า หนวด เท่านั้นเอง หมึกวิวัฒนาการมาจากมอลลัสกา ในปลายยุคแคมเบรียน หรือราว 500 ล้านปีก่อน แต่กระนั้นหมึกและหอยในยุคปัจจุบันนี้ ก็ยังมีระบบทางร่างกายหลายอย่างเหมือนกัน กล่าวคือ ระบบทางเดินอาหาร, ปาก, ฟัน และกล้ามเนื้อแบบแมนเทิล ปัจจุบัน ได้มีการค้นพบหมึกแล้วว่า 1,000 ชนิด ชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ หมึกมหึมา (Mesonychoteuthis hamiltoni) ซึ่งเป็นหมึกในอันดับหมึกกล้วย อาศัยอยู่ในห้วงน้ำลึกของมหาสมุทรแอตแลนติก อาจยาวได้ถึง 14 เมตร นับเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังที่ใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย และเล็กที่สุดมีขนาดไม่เกิน 1 เซนติเมตรด้วยซ้ำ เช่น หมึกในวงศ์ Idiosepiidae เป็นต้น หมึกมีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการใช้เป็นอาหารมาช้านาน ในแทบทุกวัฒนธรรม หมึกถือเป็นสัตว์ทะเลที่ใช้ปรุงเป็นอาหาร ซึ่งสามารถปรุงสุดได้ทั้งสดและตากแห้ง เช่น ในอาหารไทย เช่น หมึกผัดกะเพรา หรือ หมึกย่าง เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังใช้ทำเป็นอาหารสัตว์ โดยเฉพาะลิ้นทะเล ซึ่งมีแคลเซียมเป็นจำนวนมาก จึงนิยมให้นกหรือสัตว์ปีกกินเพื่อเพิ่มแคลเซียมในร่างกาย นอกจากนี้แล้ว หมึกยังมักถูกอ้างอิงถึงในวรรณกรรมประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะหมึกยักษ์หรือหมึกที่มีขนาดใหญ่ เช่น โจมตีใส่เรือดำน้ำนอติลุสของกัปตันนีโม ในนวนิยายวิทยาศาสตร์เรื่อง Twenty Thousand Leagues Under the Sea เป็นต้น สำหรับหมึกที่พบในน่านน้ำไทย ได้แก่ หมึกกระดองลายเสือ (Sepia pharaonis), หมึกกล้วย (Photololigo duvauceli), หมึกหอม (Sepioteuthis lessoniana), หมึกสายราชา (Octopus rex) เป็นต้น เลือดปลาหมึกมีสีน้ำเงิน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและหมึก (สัตว์) · ดูเพิ่มเติม »

หมึกสาย

รูปแสดงกายภาคของหมึกสาย หมึกสาย หรือ หมึกยักษ์ เป็นมอลลัสก์ประเภทหมึกอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Octopoda.

ใหม่!!: ภาษากรีกและหมึกสาย · ดูเพิ่มเติม »

หม้อข้าวหม้อแกงลิง

ทความนี้เป็นบทความสำหรับชื่อวงศ์ และสกุล หม้อข้าวหม้อแกงลิง (nepenthes; ชื่อสามัญ: tropical pitcher plants หรือ monkey cups) (nə'pεnθiːz / มาจากภาษากรีก: ne.

ใหม่!!: ภาษากรีกและหม้อข้าวหม้อแกงลิง · ดูเพิ่มเติม »

หยาดน้ำค้าง (สกุล)

หยาดน้ำค้าง (Sundew) เป็นพืชกินสัตว์สกุลใหญ่สกุลหนึ่ง ในวงศ์หญ้าน้ำค้าง มีประมาณ 194 ชนิด สามารถล่อ จับ และย่อยแมลงด้วยต่อมเมือกของมันที่ปกคลุมอยู่ที่ผิวใบ โดยเหยื่อที่จับได้จะใช้เป็นสารเสริมทดแทนสารอาหารที่ขาดไป พืชในสกุลหยาดน้ำค้างมีหลายรูปแบบและหลายขนาดต่างกันไปในแต่ละชนิด สามารถพบได้แทบทุกทวีปทั่วโลก ยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา ชื่อวิทยาศาสตร์ของหยาดน้ำค้าง คือ Drosera มาจากคำในภาษากรีก δρόσος: "drosos" แปลว่า "หยดน้ำ หรือ น้ำค้าง" รวมทั้งชื่อในภาษาอังกฤษ "sundew" กลายมาจาก ros solis ซึ่งเป็นภาษาละตินแปลว่า "น้ำตาพระอาทิตย์" โดยมีที่มาจากเมือกบนปลายหนวดแต่ละหนวดที่แวววาวคล้ายน้ำค้างยามเช้า ในประเทศไทยพบหยาดน้ำค้างอยู่ 3 ชนิดคือ จอกบ่วาย (Drosera burmannii Vahl), หญ้าน้ำค้าง (Drosera indica L.) และ หญ้าไฟตะกาด (Drosera peltata Sm.).

ใหม่!!: ภาษากรีกและหยาดน้ำค้าง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

หลอดอาหาร

หลอดอาหาร (อังกฤษ: oesophagus/esophagus/œsophagus; กรีก: οἰσοφάγος) เป็นอวัยวะของสัตว์มีกระดูกสันหลังที่เป็นท่อกลวงประกอบด้วยกล้ามเนื้อที่อาหารจะผ่านจากคอหอยไปยังกระเพาะอาหาร ในมนุษย์ หลอดอาหารต่อเนื่องกับส่วนกล่องเสียงของคอหอย (laryngeal part of the pharynx) ที่ระดับของกระดูกสันหลังส่วนคอชิ้นที่ 6.

ใหม่!!: ภาษากรีกและหลอดอาหาร · ดูเพิ่มเติม »

หลักสูตร

หลักสูตร (curriculum (เอกพจน์) หรือ curricula (พหูพจน์)) เป็นคำที่เกิดขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 และเริ่มใช้คำนี้อย่างแพร่หลายในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยในตำราเรียนเล่มแรกที่เขียนอธิบายเกี่ยวกับหลักสูตรของจอห์น แฟรงคลิน บอบบิทในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและหลักสูตร · ดูเพิ่มเติม »

หอยงวงช้างกระดาษ

หอยงวงช้างกระดาษ (Paper nautilus, Argonaut) เป็นมอลลัสคาประเภทหมึก จำพวกหมึกสายสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Argonauta แม้จะได้ชื่อว่าเป็นหอยงวงช้าง แต่ก็มิได้ถูกจัดให้อยู่ในจำพวกหอยงวงช้าง แต่ถูกจัดให้เป็นหมึก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและหอยงวงช้างกระดาษ · ดูเพิ่มเติม »

หอหลังคาโดม

หร่าอุคบา หรือ “the Great Mosque of Kairouan” ที่ตั้งอยู่ที่ตูนิเซีย หอหลังคาโดม (Cupola) ในทางสถาปัตยกรรมหมายถึงโครงสร้างขนาดเล็กที่มีลักษณะเหมือนโดมที่ตั้งอยู่ตอนบนของสิ่งก่อสร้าง ที่มักจะใช้สำหรับเป็นที่สังเกตการณ์หรือเป็นช่องระบายอากาศ ที่ตอนบนมักจะเป็นหลังคาหรือโดมที่ใหญ่กว่า “Cupola” มาจากภาษาอิตาลีที่แผลงมาจากภาษาละตินขั้นต่ำ “Cupula” (ภาษาละตินคลาสสิก “Cupella” ที่มาจากภาษากรีก “kypellon”) ที่แปลว่าถ้วยเล็ก (ภาษาละติน “Cupa”) ที่เป็นทรงของเพดานโค้งที่รูปร่างเหมือนถ้วยคว่ำ หอหลังคาโดมมักจะพบในสิ่งก่อสร้างที่มีขนาดเล็ก ที่อาจจะใช้เป็นหอระฆัง, หอโคม หรือ หอทัศนาเหนือหลังคาหลัก หรือในบางกรณีก็อาจจะใช้ตกแต่งประดับหอ, ยอดแหลม หรือ หอกลมยอดแหลม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและหอหลังคาโดม · ดูเพิ่มเติม »

หูชั้นในรูปหอยโข่ง

หูชั้นในรูปหอยโข่ง หรือ อวัยวะรูปหอยโข่ง หรือ คอเคลีย (cochlea,, จาก κοχλίας, kōhlias, แปลว่า หมุนเป็นวงก้นหอย หรือเปลือกหอยทาก) เป็นอวัยวะรับเสียงในหูชั้นใน เป็นช่องกลวงมีรูปร่างเป็นก้นหอยโข่งอยู่ในกระดูกห้องหูชั้นใน (bony labyrinth) โดยในมนุษย์จะหมุน 2.5 ครั้งรอบ ๆ แกนที่เรียกว่า modiolus และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 9 มม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและหูชั้นในรูปหอยโข่ง · ดูเพิ่มเติม »

หนอนตัวแบน

หนอนตัวแบน หรือ แพลทีเฮลมินธิส เป็นไฟลัมหนึ่งของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ลักษณะเด่นคือ เป็นไฟลัมแรกที่มีสมมาตรแบบซ้ายขวา ลำตัวแบนจากบนลงล่าง (dorso-ventrally) ลักษณะคล้ายริบบิ้น ผิวลำตัวอ่อนนิ่ม ยกเว้นพวกที่เป็นปรสิตจะมีคิวติเคิลหนา พบประมาณ 25000 ชนิด จัดอยู่ในสัตว์กลุ่มที่ไม่มีช่องว่างลำตัวที่แท้จริง (Accoelomate) กลุ่มใหญ่ที่สุด สามารถพบได้ทั้งในทะเล น้ำจืด บนบก ส่วนใหญ่ดำรงชีวิตแบบปรสิต (parasitic) บางวงศ์ดำรงชีวิตอิสระ (free living) ส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก และสั้น ยกเว้นพยาธิตัวตืด ขนาดและความยาวแตกต่างกันไปตามแต่ชนิด พบยาวที่สุดกว่า 20 เมตร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและหนอนตัวแบน · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือปฐมกาล

หนังสือปฐมกาล (Book of Genesis; בראשית; ܣܦܪܐ ܕܒܪܝܬܐ; Γένεση) มาจากภาษากรีกว่า “การเกิด” หรือ “ที่มา” เป็นหนังสือที่กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโลก มนุษย์ และอิสราเอล ซึ่งเป็นตัวแทนของชนชาติที่พระเจ้าได้เลือกไว้ (ซึ่งมีความนัยทางเทววิทยา) ชื่อ "ปฐมกาล" แปลมาจากคำแรกของคัมภีร์ฮีบรูคำว่า בראשית (B'reshit or Bərêšîth) แปลว่า "ในปฐมกาล..." (in the begining...).

ใหม่!!: ภาษากรีกและหนังสือปฐมกาล · ดูเพิ่มเติม »

หน้า (เรขาคณิต)

ทรงลูกบาศก์ มี 6 หน้า การปูพื้นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส (square tiling) ประกอบด้วยจำนวนหน้าเป็นอนันต์ ในทางเรขาคณิต หน้าของทรงหลายหน้า หมายถึงรูปหลายเหลี่ยมใดๆ ที่เป็นขอบเขตล้อมรอบทรงหลายหน้านั้น เช่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ล้อมรอบทรงลูกบาศก์ ก็คือหน้าของทรงลูกบาศก์ ซึ่งมีทั้งหมด 6 หน้า ในคำปัจจัย -hedron ของทรงหลายหน้า polyhedron มาจากคำในภาษากรีก hedra แปลว่า หน้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและหน้า (เรขาคณิต) · ดูเพิ่มเติม »

ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์

ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ (Dexter's Laboratory) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของสหรัฐอเมริกา ผลิตโดย Gendy Tatakovsky โดยค่าย Hanna-Barbera Cartoons ในปี 1996-1998 และเปลี่ยนมือมาเป็น Cartoon Network Studios ในปี 2001-2003 ฉายทั่วโลกผ่านทางช่อง Cartoon Network และทางยูบีซีช่อง 29 (ปัจจุบันทรูวิชั่นส์ ช่อง 44) สำหรับประเทศไทย ปัจจุบันออกอากาศที่ช่องบูมเมอแรง ช่อง 89 เรื่องราวของห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ เป็นเรื่องราวของเด็กซ์เตอร์ เด็กอัจฉริยะ ผู้ซึ่งมีสติปัญญาเหนือเด็กทั่วไป เขามีห้องทดลองลับอยู่ในห้องนอนของเขา โดยในแต่ละตอนเขามีหน้าที่ปกป้องห้องทดลองของเขาจากดีดี พี่สาวตัวร้าย และต้องไม่ให้พ่อกับแม่รู้เรื่องนี้อีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ห้องเก็บศพใต้โบสถ์

ห้องเก็บศพใต้โบสถ์ หรือ ห้องลับใต้ดิน ในภาษาอังกฤษเรียกว่า crypt เป็นคำมาจากภาษาละตินว่า crypta และภาษากรีกว่า κρύπτη หรือ kryptē ซึ่งมีความหมายว่า "ซ่อนอยู่" หรือ "ส่วนตัว" หมายถึงห้องใต้ดินที่ทำจากหินที่ใช้สำหรับบรรจุหีบศพ โลงหิน หรือเรลิก โดยปกติตามโบสถ์คริสต์หรือมหาวิหารมักจะมีห้องเก็บศพฝังอยู่ข้างใต้มุขโค้ง (apse) และต่อมาภายหลังมักสร้างอยู่ข้างใต้ของบริเวณกลางโบสถ์ (nave) หรือข้างใต้บริเวณแขนกางเขน (transept) และยังพบบางโบสถ์ที่สร้างแบบยกพื้นสูงเพื่อให้ห้องเก็บศพอยู่เหนือพื้นดิน เช่น โบสถ์นักบุญไมเคิล เมืองฮิลเดสไฮม์ ประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและห้องเก็บศพใต้โบสถ์ · ดูเพิ่มเติม »

อวาริส

right อวาริส (/ ævərɪs /; อียิปต์โบราณ: ḥw.twꜥr.t บางครั้งแปลว่า ฮัต-วาเรต กรีก: Αὔαρις, Auaris) เป็นเมืองหลวงของประเทศอียิปต์ภายใต้การปกครองของชาวฮิกซอส ตั้งอยู่ในปัจจุบันบอก เอล-ดับ'อา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของปากแม่น้ำไนล์ ในฐานะที่เป็นเส้นทางหลักของแม่น้ำไนล์อพยพไปทางทิศตะวันออกตำแหน่งที่ศูนย์กลางของอียิปต์ ทำให้มันเป็นเมืองหลวงการบริหารที่สำคัญของชาวฮิกซอส มันถูกครอบครองจากประมาณ 1783 ถึง 1550 ปีก่อนคริสตกาล หรือจากราชวงศ์สิบสามของอียิปต์ผ่านช่วงกลางที่สองจนกว่าชาวฮิกซอสจะถูกชับไล่โดยฟาโรห์อาโมสที่ 1 ฟาโรห์พระองค์แรกของราชวงศ์ที่สิบแปด ชื่อในภาษาอียิปต์โบราณเมื่อพันปีก่อนคริสต์ศักราชอาจออกเสียง ฮาอัต-วูรัต หมายความว่า 'บ้านใหญ่' และหมายถึงเมืองหลวงของเขตปกครอง ในปัจจุบันยังมีชื่อเมืองที่คล้ายกันคือ เมืองฮาวารา ซึ่งตั้งอยู่บริเวณเขตไฟยุม หรือชาวอเล็กซานเดรียเรียกชื่อเมืองนี้ว่า "อาไทน์รา".

ใหม่!!: ภาษากรีกและอวาริส · ดูเพิ่มเติม »

ออริกซ์

ออริกซ์ (oryx) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกีบคู่เคี้ยวเอื้อง จำพวกแอนทิโลปหรือกาเซลล์ พบกระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกาและคาบสมุทรอาหรับ มีลักษณะเด่น คือ เป็นแอนทิโลปขนาดใหญ่ และมีเขาที่บิดเป็นเกลียวยาวแหลม เห็นได้ชัดเจน มีใบหน้ารวมถึงลำตัวช่วงขาที่เป็นลายสีเส้นดำพาดผ่าน ขณะที่ตามลำตัวเป็นสีขาวหรือสีสว่าง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและออริกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ออร์แกน

ออร์แกน (Organ, กรีก: ὄργανον ออร์กานอน) เป็นเครื่องดนตรีสากล ออร์แกนมีประวัติในการประดิษฐ์ที่ยาวนานมาตั้งแต่สมัยโรมัน และมีความสำคัญควบคู่มากับศาสนาคริสต์เลยทีเดียว คำว่า Organ นั้น ก็มาจากภาษาละติน Organum ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้เรียกเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง ที่มีชื่อว่า Hydraulis ต้นกำเนิดเสียงของออร์แกนมาจากลม ซึ่งมีแหล่งกำเนิดหลายวิธีซึ่งในสมัยโบราณก็ต้องใช้แรงคนในการผลิตลม เมื่อลมถูกบังคับให้ไหลผ่านท่อที่มีขนาดต่างๆกันก็จะเกิดเสียงที่มีความถี่แตกต่างกัน ท่อที่ใช้ในการสร้างออร์แกนนั้น อาจจะเป็นไม้ หรือโลหะ ก็ได้ ซึ่งจะส่งผลให้มีเสียงที่แตกต่างกัน และออร์แกนหนึ่งเครื่อง สามารถทำเสียงต่าง ๆ ได้เท่า ๆ กับเครื่องดนตรีหลายชิ้นมารวมกัน ดังนั้น ออร์แกนจึงสามารถเล่นได้ทั้งแนวทำนอง และแนวเดินเบส โดยไม่ต้องพึ่งพาเครื่องดนตรีอื่นใด ดังนั้น ในสมัยก่อนนั้น ออร์แกนจึงถือเป็นเครื่องดนตรีที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดในบรรดาเครื่องดนตรีทั้งปวง ออร์แกนได้รับฉายาว่าเป็นราชาแห่งเครื่องดนตรีตะวันตก เนื่องจากมีความซับซ้อนในการประดิษฐ์ และขนาดที่ใหญ่ ออร์แกนที่ใหญ่ที่สุดในโลกอยู่ที่ แอตแลนติกซิตีคอนเวนชันฮอล ที่เมืองแอตแลนติกซิตี รัฐนิวเจอร์ซีย์ สหรัฐอเมริกา ซี่งมีจำนวนไปป์ถึง 33,000 ไปป์ หมวดหมู่:เครื่องลิ่มนิ้ว หมวดหมู่:เครื่องลม หมวดหมู่:ออร์แกน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและออร์แกน · ดูเพิ่มเติม »

ออดอมิเตอร์

ออดอมิเตอร์ หรือ ออดอกราฟ (odometer, odograph) คือเครื่องมือวัดชนิดหนึ่งที่ใช้บ่งบอกว่ายานพาหนะหนึ่งๆ เช่นจักรยานหรือรถยนต์ เดินทางไปเป็นระยะทางเท่าใด เครื่องมือนี้อาจเป็นอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ทางกล หรือส่วนประสมของทั้ง 2 แบบก็ได้ คำนี้มาจากคำในภาษากรีกว่า hodós หมายถึง หนทาง และ "métron" หมายถึง การวัด สำหรับประเทศที่ใช้มาตรวัดระบบอังกฤษ อาจเรียกเครื่องมือนี้ว่า ไมโลมิเตอร์ (mileometer, milometer).

ใหม่!!: ภาษากรีกและออดอมิเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ออโตทรอพ

สีเขียวจากต้นเฟิร์นบ่งบอกว่าต้นเฟิร์นมีคลอโรฟิลล์ ซึ่งเป็นตัวที่ใช้ในการสังเคราะห์แสง จึงทำให้มันเป็นออโตทรอพ ออโตทรอพ (Autotroph. หรือ อัตโภชนาการ เป็นคำสมาสภาษากรีกมาจากคำว่า autos ที่แปลว่าตัวเอง และ trophe ที่แปลว่าโภชนาการ) คือสิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารเองได้ โดยทำการผลิตอาหารขึ้นมาจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เป็นแหล่งคาร์บอน และแสงหรือสารอนินทรีย์อื่นๆ เป็นแหล่งพลังงาน สิ่งมีชีวิตประเภทออโตทรอพถูกจัดให้เป็นผู้ผลิตในห่วงโซ่อาหาร สิ่งมีชีวิตจำพวกพืชและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่ผลิตอาหารโดยการสังเคราะห์แสงถือว่าเป็นโฟโตทรอพ (phototroph) ส่วนแบคทีเรียที่นำการออกซิเดชันของสารอนินทรีย์ต่างๆ เช่นก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ หรือเหล็กโลหะมาเป็นแหล่งพลังงานเรียกว่า คีโมออโตทรอพ (chemoautotroph) สิ่งมีชีวิตจำพวกออโตทรอพถือเป็นส่วนสำคัญยิ่งในห่วงโซ่อาหารในทุกๆ ระบบนิเวศ โดยที่พวกมันจะรับพลังงานมาจากแสงอาทิตย์ (หรือแหล่งอนินทรีย์อื่นๆ) แล้วแปลงพลังงานเหล่านี้ให้กลางเป็นโมเลกุลที่มีโครงสร้างเป็นคาร์บอนหรือโมเลกุลอินทรีย์อื่นๆ เพื่อนำไปใช้ในการทำงานเชิงชีวภาพของสิ่งมีชีวิต เช่นการสร้างเซลล์ รวมถึงเป็นอาหารให้กับสิ่งมีชีวิตจำพวกเฮเทโรทรอพ ที่ผลิตอาหารเองไม่ได้เพื่อนำไปใช้ในการทำงานเชิงชีวภาพเช่นเดียวกัน ฉะนั้นเฮเทโรทรอพต่างๆ ได้แก่สัตว์กินพืช, ฟังไจหรือเห็ดรา เช่นเดียวกับแบคทีเรียส่วนใหญ่และโปรโตซัวจะพึ่งพาออโตทรอพเป็นอาหารที่จะให้พลังงานและวัตถุดิบที่จะนำไปใช้ในการผลิตโมเลกุลอินทรีย์ที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น โดยเฮเทโรทรอพทำการแปลงอาหารเป็นพลังงานโดยการแตกโมเลกุลอาหารให้เล็กลง สัตว์กินเนื้อก็พึ่งพาออโตทรอพเช่นเดียวกัน เนื่องจากพลังงานและคุณค่าโภชนาการในอาหารก็มาจากอาหารประเภทพืชที่เหยื่อของสัตว์กินเนื้อได้กินเข้าไป มีสิ่งมีชีวิตอยู่บางสายพันธุ์ที่อาศัยอินทรียสารเป็นแหล่งคาร์บอน แต่ก็สามารถอาศัยแสงหรืออนินทรียสารมาเป็นแหล่งพลังงานได้ด้วย แต่สิ่งมีชีวิตจำพวกนี้มักไม่ถูกจัดให้อยู่ในสิ่งมีชีวิตจำพวกออโตทรอพ แต่มักจะถูกจัดให้อยู่ในจำพวกเฮเทโรทรอพเสียมากกว่า โดยสิ่งมีชีวิตที่อาศัยคาร์บอนจากอินทรีย์สาร แต่อาศัยพลังงานจากแสง จัดอยู่ในพวกโฟโตเฮเทโรทรอพ (photoheterotroph) ส่วนสิ่งมีชีวิตที่อาศัยคาร์บอนมาจากอินทรีย์สาร แต่อาศัยพลังงานจากการออกซิเดชันของอนินทรีย์สาร จะถูกจัดอยู่ในพวกคีโมเฮเทโรทรอพ (chemoheterotroph) หมวดหมู่:ชีววิทยา หมวดหมู่:พฤกษศาสตร์.

ใหม่!!: ภาษากรีกและออโตทรอพ · ดูเพิ่มเติม »

อะพาไทต์

อะพาไทต์ (Apatite) (Ca5 (PO4) 3 (F,Cl,OH)) เป็นแร่ที่อยู่ในกลุ่มฟอสเฟต มีค่าความแข็งที่ 5 ตามสเกลของโมส์ (Moh's scale).

ใหม่!!: ภาษากรีกและอะพาไทต์ · ดูเพิ่มเติม »

อะตอม

อะตอม (άτομον; Atom) คือหน่วยพื้นฐานของสสาร ประกอบด้วยส่วนของนิวเคลียสที่หนาแน่นมากอยู่ตรงศูนย์กลาง ล้อมรอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนที่มีประจุลบ นิวเคลียสของอะตอมประกอบด้วยโปรตอนที่มีประจุบวกกับนิวตรอนซึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้า (ยกเว้นในกรณีของ ไฮโดรเจน-1 ซึ่งเป็นนิวไคลด์ชนิดเดียวที่เสถียรโดยไม่มีนิวตรอนเลย) อิเล็กตรอนของอะตอมถูกดึงดูดอยู่กับนิวเคลียสด้วยแรงแม่เหล็กไฟฟ้า ในทำนองเดียวกัน กลุ่มของอะตอมสามารถดึงดูดกันและกันก่อตัวเป็นโมเลกุลได้ อะตอมที่มีจำนวนโปรตอนและอิเล็กตรอนเท่ากันจะมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า มิฉะนั้นแล้วมันอาจมีประจุเป็นบวก (เพราะขาดอิเล็กตรอน) หรือลบ (เพราะมีอิเล็กตรอนเกิน) ซึ่งเรียกว่า ไอออน เราจัดประเภทของอะตอมด้วยจำนวนโปรตอนและนิวตรอนที่อยู่ในนิวเคลียส จำนวนโปรตอนเป็นตัวบ่งบอกชนิดของธาตุเคมี และจำนวนนิวตรอนบ่งบอกชนิดไอโซโทปของธาตุนั้น "อะตอม" มาจากภาษากรีกว่า ἄτομος/átomos, α-τεμνω ซึ่งหมายความว่า ไม่สามารถแบ่งได้อีกต่อไป หลักการของอะตอมในฐานะส่วนประกอบที่เล็กที่สุดของสสารที่ไม่สามารถแบ่งได้อีกต่อไปถูกเสนอขึ้นครั้งแรกโดยนักปรัชญาชาวอินเดียและนักปรัชญาชาวกรีก ซึ่งจะตรงกันข้ามกับปรัชญาอีกสายหนึ่งที่เชื่อว่าสสารสามารถแบ่งแยกได้ไปเรื่อยๆ โดยไม่มีสิ้นสุด (คล้ายกับปัญหา discrete หรือ continuum) ในคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 นักเคมีเริ่มวางแนวคิดทางกายภาพจากหลักการนี้โดยแสดงให้เห็นว่าวัตถุหนึ่งๆ ควรจะประกอบด้วยอนุภาคพื้นฐานที่ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีกต่อไป ระหว่างช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักฟิสิกส์ค้นพบส่วนประกอบย่อยของอะตอมและโครงสร้างภายในของอะตอม ซึ่งเป็นการแสดงว่า "อะตอม" ที่ค้นพบตั้งแต่แรกยังสามารถแบ่งแยกได้อีก และไม่ใช่ "อะตอม" ในความหมายที่ตั้งมาแต่แรก กลศาสตร์ควอนตัมเป็นทฤษฎีที่สามารถนำมาใช้สร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของอะตอมได้เป็นผลสำเร็จ ตามความเข้าใจในปัจจุบัน อะตอมเป็นวัตถุขนาดเล็กที่มีมวลน้อยมาก เราสามารถสังเกตการณ์อะตอมเดี่ยวๆ ได้โดยอาศัยเครื่องมือพิเศษ เช่น กล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราดในอุโมงค์ มวลประมาณ 99.9% ของอะตอมกระจุกรวมกันอยู่ในนิวเคลียสไอโซโทปส่วนมากมีนิวคลีออนมากกว่าอิเล็กตรอน ในกรณีของ ไฮโดรเจน-1 ซึ่งมีอิเล็กตรอนและนิวคลีออนเดี่ยวอย่างละ 1 ตัว มีโปรตอนอยู่ \begin\frac \approx 0.9995\end, หรือ 99.95% ของมวลอะตอมทั้งหมด โดยมีโปรตอนและนิวตรอนเป็นมวลที่เหลือประมาณเท่า ๆ กัน ธาตุแต่ละตัวจะมีอย่างน้อยหนึ่งไอโซโทปที่มีนิวเคลียสซึ่งไม่เสถียรและเกิดการเสื่อมสลายโดยการแผ่รังสี ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดการแปรนิวเคลียสที่ทำให้จำนวนโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียสเปลี่ยนแปลงไป อิเล็กตรอนที่โคจรรอบอะตอมจะมีระดับพลังงานที่เสถียรอยู่จำนวนหนึ่งในลักษณะของวงโคจรอะตอม และสามารถเปลี่ยนแปลงระดับไปมาระหว่างกันได้โดยการดูดซับหรือปลดปล่อยโฟตอนที่สอดคล้องกับระดับพลังงานที่ต่างกัน อิเล็กตรอนเหล่านี้เป็นตัวกำหนดคุณสมบัติทางเคมีของธาตุ และมีอิทธิพลอย่างมากต่อคุณสมบัติทางแม่เหล็กของอะตอม แนวคิดที่ว่าสสารประกอบด้วยหน่วยย่อยๆ ไม่ต่อเนื่องกันและไม่สามารถแบ่งออกเป็นชิ้นส่วนที่เล็กไปได้อีก เกิดขึ้นมานับเป็นพันปีแล้ว แนวคิดเหล่านี้มีรากฐานอยู่บนการให้เหตุผลทางปรัชญา นักปรัชญาได้เรียกการศึกษาด้านนี้ว่า ปรัชญาธรรมชาติ (Natural Philosophy) จนถึงยุคหลังจากเซอร์ ไอแซค นิวตัน จึงได้มีการบัญญัติศัพท์คำว่า 'วิทยาศาสตร์' (Science) เกิดขึ้น (นิวตันเรียกตัวเองว่าเป็น นักปรัชญาธรรมชาติ (natural philosopher)) ทดลองและการสังเกตการณ์ ธรรมชาติของอะตอม ของนักปรัชญาธรรมชาติ (นักวิทยาศาสตร์) ทำให้เกิดการค้นพบใหม่ ๆ มากมาย การอ้างอิงถึงแนวคิดอะตอมยุคแรก ๆ สืบย้อนไปได้ถึงยุคอินเดียโบราณในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล โดยปรากฏครั้งแรกในศาสนาเชน สำนักศึกษานยายะและไวเศษิกะได้พัฒนาทฤษฎีให้ละเอียดลึกซึ้งขึ้นว่าอะตอมประกอบกันกลายเป็นวัตถุที่ซับซ้อนกว่าได้อย่างไร ทางด้านตะวันตก การอ้างอิงถึงอะตอมเริ่มขึ้นหนึ่งศตวรรษหลังจากนั้นโดยลิวคิพพุส (Leucippus) ซึ่งต่อมาศิษย์ของเขาคือ ดีโมครีตุส ได้นำแนวคิดของเขามาจัดระเบียบให้ดียิ่งขึ้น ราว 450 ปีก่อนคริสตกาล ดีโมครีตุสกำหนดคำว่า átomos (ἄτομος) ขึ้น ซึ่งมีความหมายว่า "ตัดแยกไม่ได้" หรือ "ชิ้นส่วนของสสารที่เล็กที่สุดไม่อาจแบ่งแยกได้อีก" เมื่อแรกที่ จอห์น ดาลตัน ตั้งทฤษฎีเกี่ยวกับอะตอม นักวิทยาศาสตร์ในสมัยนั้นเข้าใจว่า 'อะตอม' ที่ค้นพบนั้นไม่สามารถแบ่งแยกได้อีกแล้ว ถึงแม้ต่อมาจะได้มีการค้นพบว่า 'อะตอม' ยังประกอบไปด้วย โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน แต่นักวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันก็ยังคงใช้คำเดิมที่ดีโมครีตุสบัญญัติเอาไว้ ลัทธินิยมคอร์พัสคิวลาร์ (Corpuscularianism) ที่เสนอโดยนักเล่นแร่แปรธาตุในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ซูโด-กีเบอร์ (Pseudo-Geber) หรือบางครั้งก็เรียกกันว่า พอลแห่งทารันโท แนวคิดนี้กล่าวว่าวัตถุทางกายภาพทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาคขนาดละเอียดเรียกว่า คอร์พัสเคิล (corpuscle) เป็นชั้นภายในและภายนอก แนวคิดนี้คล้ายคลึงกับทฤษฎีอะตอม ยกเว้นว่าอะตอมนั้นไม่ควรจะแบ่งต่อไปได้อีกแล้ว ขณะที่คอร์พัสเคิลนั้นยังสามารถแบ่งได้อีกในหลักการ ตัวอย่างตามวิธีนี้คือ เราสามารถแทรกปรอทเข้าไปในโลหะอื่นและเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายในของมันได้ แนวคิดนิยมคอร์พัสคิวลาร์อยู่ยั่งยืนยงเป็นทฤษฎีหลักตลอดเวลาหลายร้อยปีต่อมา ในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและอะตอม · ดูเพิ่มเติม »

อะเล็กซานเดรียเอสคาเท

อะเล็กซานเดรียเอสคาเท (Alexandria Eschate, Alexandria Eskhata; กรีก: Ἀλεξάνδρεια Ἐσχάτη; Alexandria Ultima; แปลว่า "อะเล็กซานเดรียที่อยู่ไกลที่สุด) เป็นเมืองโบราณ สถาปนาโดยอเล็กซานเดอร์มหาราช ในปีที่ 329 ก่อนคริสตกาล เพื่อใช้เป็นฐานทัพทางเหนือสุดของเอเชียกลาง อะเล็กซานเดรียเอสคาเทตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของหุบเขาเฟอร์กานา ริมฝั่งแม่น้ำจาซาร์เทส (ซีร์ดาร์ยา) ในเขตประเทศทาจิกิสถานปัจจุบัน พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชทรงบัญชาให้ก่อกำแพงป้องกันสูง 6 กิโลเมตร โดยใช้เวลายี่สิบวัน และทรงให้เหล่าทหารผ่านศึกที่บาดเจ็บอยู่ที่นี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอะเล็กซานเดรียเอสคาเท · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฟินิเชีย

ัญชนะและตัวเลขของอักษรฟินิเชีย อักษรฟินิเชีย พัฒนามาจากอักษรคานาอันไนต์ยุคแรกเริ่ม ซึ่งปรากฏครั้งแรกราว 1,800-1,700 ปีก่อนคริสต์ศักราช จารึกเก่าสุดมาจากเมืองโบราณไบบลอส อายุราว 1,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช มีอักษร 22 ตัว ไม่มีเครื่องหมายสระ ชื่อตัวอักษรเหมือนที่ใช้เรียกอักษรฮีบรู.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอักษรฟินิเชีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรกรีก

อักษรกรีก เป็นอักษรที่ใช้สำหรับเขียนภาษากรีก โดยมีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคคลาสสิก ประมาณ 357 ปีก่อนพุทธศักราช (ศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสต์ศักราช) และยังคงใช้สืบต่อเรื่อยมา นับเป็นอักษรที่เก่าแก่ที่สุดแบบหนึ่งที่ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ในสมัยกรีกโบราณนั้น อักษรกรีกยังใช้เขียนแทนจำนวนอีกด้วย ซึ่งในกรณีนี้จะเรียกว่าเลขกรีก ในทำนองเดียวกับเลขโรมัน ทุกวันนี้เราใช้อักษรกรีกเป็นสัญลักษณ์คณิตศาสตร์ เป็นชื่อดาวฤกษ์ เป็นชื่อกลุ่มภราดรและกลุ่มภคินี และใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ อีกมาก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอักษรกรีก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรละติน

อักษรละติน หรือ อักษรโรมัน เป็นระบบตัวเขียนแบบตัวอักษร สันนิษฐานว่าอักษรละตินมีที่มาจากอักษรคิวมี (Cumae alphabet) ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรกรีกอีกทอดหนึ่ง ที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก โดยเฉพาะประเทศในยุโรปและอเมริกา และประเทศในเอเชียที่นำอักษรละตินมาใช้ในภายหลังเช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเวียดนาม ประเทศมาเลเซีย ประเทศเติร์กเมนิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอาเซอร์ไบจาน ประเทศตุรกี และประเทศฟิลิปปินส์ รวมถึงการเขียนภาษาด้วยอักษรโรมัน (romanization) ในภาษาต่างๆ เช่น พินอิน (ภาษาจีน) หรือ โรมะจิ (ภาษาญี่ปุ่น).

ใหม่!!: ภาษากรีกและอักษรละติน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรลิเชีย

อักษรลิเชีย (Lycian) พัฒนามาจากอักษรกรีกรูปโค้ง มีอักษรที่ประดิษฐ์เองเพียงไม่กี่ตัวหรืออาจจะยืมมาจากอักษรอื่น พบจารึกอักษรนี้ราว 180 ชิ้นเมื่อราว..

ใหม่!!: ภาษากรีกและอักษรลิเชีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรลิเดีย

อักษรลิเดีย (Lydian) พัฒนามาจากตัวเขียนของอักษรกรีก อักษรส่วนใหญ่มาจากอักษรกรีก มีสิบตัวที่ประดิษฐ์ใหม่สำหรับเสียงเฉพาะในภาษาลิเดีย การออกเสียงของอักษรบางตัวยังไม่ จารึกอักษรลิเดียราว 100 ชิ้น พบในช่วง..

ใหม่!!: ภาษากรีกและอักษรลิเดีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมัน

ปฏิทินปี 1896 ในเทสซาโลนีกี ในสามบรรทัดแรกเป็นภาษาตุรกีออตโตมัน เขียนด้วยอักษรอาหรับ อักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมัน (ภาษาตุรกีออตโตมัน: الفبا elifbâ) เป็นรูปแบบของ อักษรอาหรับ ที่เพิ่มอักษรบางตัวจาก อักษรเปอร์เซีย ใช้เขียนภาษาตุรกีออตโตมัน ในสมัยจักรวรรดิออตโตมัน และในช่วงแรกๆของสาธารณรัฐตุรกี จนถึง..

ใหม่!!: ภาษากรีกและอักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรทิฟินาค

อักษรทิฟินาค (ⵜⵉⴼⵉⵏⴰⵖ, Tifinaɣ Tifinagh) พัฒนามาจากอักษรเบอร์เบอร์โบราณ คำว่า “ทิฟินาค” หมายถึงอักษรฟินิเชีย หรืออาจมาจากภาษากรีก “pínaks” หมายถึง การเขียนป้าย อักษรนี้ใช้ในการเขียนบันทึกส่วนตัว จดหมายและการประดับตกแต่ง ส่วนเอกสารในระดับสาธารณะใช้อักษรอาหรับ นักเรียนระดับประถมศึกษาในโมร็อกโกต้องเรียนภาษาทามาไซต์ด้วยอักษรชนิดนี้ตั้งแต่ เดือนกันยายน..

ใหม่!!: ภาษากรีกและอักษรทิฟินาค · ดูเพิ่มเติม »

อักษรคอปติก

ตัวอักษรคอปติกเขียนในแบบโบไฮริก อักษรคอปติก (Coptic alphabet) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรกรีก โดยเพิ่มอักษรพิเศษสำหรับเสียงที่ไม่มีในภาษากรีก รูปที่เพิ่มนำมาจากอักษรอียิปต์ที่ใช้กันอยู่ทั่วไป เริ่มปรากฏเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษากรีกและอักษรคอปติก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรไลเนียร์บี

อักษรไลเนียร์บีเป็นอักษรโบราณชนิดหนึ่งที่พบในประเทศกรีซและบริเวณใกล้เคียง มมีลักษณะใกล้เคียงกับอักษรไลเนียร์เอ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอักษรไลเนียร์บี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรไซปรัส

อักษรไซปรัส คาดว่าพัฒนามาจากอักษรไลเนียร์เอ ซึ่งยังไม่ทราบต้นกำเนิดที่แน่นอน ใช้ในช่วง 257 ปีก่อนพุทธศักราช -..

ใหม่!!: ภาษากรีกและอักษรไซปรัส · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเวเนติก

อักษรเวเนติกเป็นอักษรของชาวเวเนติกที่อาศัยอยู่ทางชายฝั่งตอนเหนือของทะเลเอเดรียนในยุคโลหะ ราว 457 ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงยุคจักรวรรดิโรมัน ภาษาละตินเรียกว่า “เวเนติ” ส่วนภาษากรีกเรียก “อีนิตอย” พบจารึกของชนกลุ่มนี้มากกว่า 200 ชิ้น อักษรนี้ใกล้เคียงกับอักษรอีทรัสคัน คาดว่าน่าจะมาจากอักษรกรีกและเป็นต้นแบบของอักษรฟูทาร์ก อักษรบางตัวมีหลายรูปแบบเพราะมาจากบริเวณที่ต่างกัน เสียง /f/ ใช้อักษรคู่ hvหรือ vh ซึ่งพบในอักษรอีทรัสคันและอักษรละตินรุ่นแรกๆด้วย เขียนจากขวาไปซ้ายแต่ก็เขียนจากซ้ายไปขวาได้เช่นเดียวกันโดยอักษรที่ใช้ในแต่ละทิศทางจะเป็นรูปในกระจกเงาซึ่งกันและกัน ในบางกรณี พบการเขียนในแนวสลับ ชาวเวเนติกถูกรวมเข้ากับจักรวรรดิโรมันและเลิกใช้อักษรเวเนติไปเมื่อราว..

ใหม่!!: ภาษากรีกและอักษรเวเนติก · ดูเพิ่มเติม »

อัลเลลูยา

อัลเลลูยา (คาทอลิก) อาเลลูยา (โปรเตสแตนต์) หรือ ฮาเลลูยา (โปรเตสแตนต์) มาจาก Alleluia ในภาษากรีกและภาษาละติน ซึ่งเป็นคำทับศัพท์มาจาก הַלְּלוּיָהּ ในภาษาฮีบรู มีความหมายว่า สรรเสริญ (הַלְּלוּ) พระยาห์เวห์ (יָהּ) ตรงกับภาษาละตินว่า "Alleluia" อัลเลลูยาเป็นวลีที่ใช้สรรเสริญพระเจ้าในศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ ใกล้เคียงกับคำว่า อัลฮัมดุลิลลาฮ์ (الحمد لله) ที่ใช้ในศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอัลเลลูยา · ดูเพิ่มเติม »

อัครมุขนายก

2553. อาร์ชบิชอป (Archbishop) หรืออัครมุขนายก ชาวไทยคาทอลิกเรียกว่าพระอัครสังฆราช เป็นตำแหน่งการปกครองระดับสูงในบางคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก ออร์ทอดอกซ์ แองกลิคัน ถือว่ามีสถานะเหนือกว่ามุขนายกกรมการศาสนา, รายงานการศาสนา ประจำปี ๒๕๔๓, กรมการศาสนา, 2543, หน้า 194-6 (bishop) การเป็นอัครมุขนายกหมายถึงการได้ปกครองอัครมุขมณฑล (archdiocese) ซึ่งเป็นมุขมณฑลที่มีความสำคัญเป็นกรณีพิเศษ หรือในกรณีของแองกลิคันคอมมิวเนียนจะหมายถึงกลุ่มมุขมณฑลที่รวมกันเป็นภาคคริสตจักร เช่น ภาคแคนเทอร์เบอรีที่ปกครองโดยอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี แต่ก็ไม่เป็นเช่นนั้นเสมอไป “อัครมุขนายก” มีฐานะเท่าเทียมกับมุขนายกในด้านการศาสนา แต่มีอภิสิทธิ์บางอย่างมากกว่า ฉะนั้นถ้าผู้ที่เป็นมุขนายกอยู่แล้วได้รับการแต่งตั้ง (appointment) เป็นอัครมุขนายกก็ไม่จำเป็นต้องรับการอภิเษก (consecration) อีก มีแต่พิธีเข้ารับตำแหน่ง (installation) แต่ถ้าผู้ที่ได้รับตำแหน่งไม่ได้เป็นมุขนายกมาก่อน ผู้นั้นก็ต้องเข้าพิธีอภิเษกเพื่อรับศีลอนุกรมเสียก่อนที่จะทำหน้าที่เป็นอัครมุขนายก คำว่า “Archbishop” มาจากภาษากรีกว่า “αρχι” ที่แปลว่า “ที่หนึ่ง” หรือ “หัวหน้า” และคำว่า “επισκοπος” ที่แปลว่า “ปกครองดูแล” “อัครมุขนายก” ปกครอง “อัครมุขมณฑล” หรือภาคคริสตจักร ถ้าเป็นในสมัยโบราณโดยเฉพาะในสมัยจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ อัครมุขนายกก็จะปกครอง “รัฐอัครมุขนายก” เช่น อาร์ชบิชอปแห่งไมนซ์ (Archbishop of Mainz) ผู้ปกครอง “ราชรัฐอัครมุขนายกไมนซ์” (Archbishopric of Mainz).

ใหม่!!: ภาษากรีกและอัครมุขนายก · ดูเพิ่มเติม »

อัตชีวประวัติ

หน้าปกอัตชีวประวัติของเบนจามิน แฟรงคลิน ฉบับแรกปี ค.ศ. 1793 อัตชีวประวัติ (autobiography) มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกสามคำ: “autos” แปลว่า “ตนเอง” และคำว่า “βίος” หรือ “bios” แปลว่า “ชีวิต” และคำว่า “γράφειν” หรือ “graphein” แปลว่า “เขียน” เป็นเรื่องราวของบุคคลโดยเขียนขึ้นโดยบุคคลคนนั้นเอง โดยเนื้อหา อาจเล่าถึงชีวิตส่วนตัวที่ไม่มีใครเคยรู้มาก่อน หรือ ไม่เคยถูกเผยแพร่ที่ไหนมาก่อน ชีวประวัติที่เขียนโดยเจ้าของชีวิต หรือในความหมายปัจจุบันหมายถึงประวัติที่ที่เขียนโดยเจ้าของชีวิตร่วมกับนักประพันธ์อาชีพในลักษณะบอกให้เขียน คำว่า “อัตชีวประวัติ” ใช้เป็นครั้งแรกโดย โรเบิร์ต ซัทธีย์ (Robert Southey) ในปี ค.ศ. 1809 ในวารสารแต่ลักษณะการเขียนแบบนี้มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ นักเขียนชีวประวัติมักจะเขียนประวัติจากเอกสารอ้างอิงต่าง ๆ และจากความคิดเห็นของตนเอง แต่นักเขียนอัตชีวประวัติเขียนจากความทรงจำของตนเอง ซึ่งใกล้เคียงกับบันทึกความทรงจำ (Memoir) ซึ่งบางครั้งแยกออกจากกันยาก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอัตชีวประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับกระต่าย

อันดับกระต่าย (Rabbit, Hare, Pika; ชื่อวิทยาศาสตร์: Lagomorpha-ออกเสียงว่า /ลา-โก-มอร์-ฟา/ มาจากภาษากรีกคำว่า "λαγος" หมายถึง กระต่ายป่า และ "μορφή" หมายถึง ลักษณะ, รูปร่าง) เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอันดับหนึ่ง มีลักษณะโดยรวมคล้ายกับสัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) เช่น หนู หรือกระรอก ด้วยว่ามีฟันในลักษณะฟันแทะเหมือนกัน ซึ่งเดิมเคยถูกรวมไว้อยู่ด้วนกัน แต่ว่าสัตว์ในอันดับนี้มีฟันแทะที่แตกต่างจากสัตว์ฟันแทะ คือมี ฟันตัดบนหรือฟันหน้า 2 คู่ (4 ซี่ คู่แรกอยู่ด้านหน้า คู่หลังจะซ่อนอยู่ข้าง ๆ ภายในกรามบน) ขณะที่ สัตว์ฟันแทะมี 1 คู่ (2 ซี่) เท่านั้น ทำให้การเคี้ยวของอาหารของสัตว์ทั้งสองอันนี้ไม่เหมือนกัน กล่าวคือ สัตว์ในอันดับกระต่ายจะใช้ฟันทั้ง 2 คู่นี้เคี้ยวสลับกัน จึงจะเห็นเมื่อเวลาเคี้ยวจะใช้กรามสลับข้างกันซ้าย-ขวา อีกทั้งพฤติกรรมการกินก็ต่างกันออกไป เนื่องจาก สัตว์ฟันแทะจะกินได้ทั้งพืชและสัตว์ แต่สัตว์ในอันดับกระต่ายจะกินได้เพียงพืชเท่านั้น และลักษณะเด่นอีกประการหนึ่ง ก็คือ ในตัวผู้ สัตว์ในอันดับกระต่ายจะมีถุงหุ้มอัณฑะอยู่หน้าอวัยวะเพศ แต่สัตว์ฟันแทะจะมีถุงหุ้มอัณฑะอยู่หลังอวัยวะเพศ และอวัยวะเพศของสัตว์ในอันดับกระต่าย จะไม่มีแท่งกระดูกอยู่ภายใน แต่ในสัตว์ฟันแทะจะมี ปัจจุบัน มีเพียง 2 วงศ์ เท่านั้น โดยสูญพันธุ์ไปแล้ว 1 วงศ์ (ดูในตาราง) กระจายพันธุ์ไปในทุกพื้นที่ของโลก แม้กระทั่งอาร์กติก ซึ่งสัตว์ในอันดับนี้ เป็นสัตว์ที่มนุษย์รู้จักเป็นอย่างดี ก็คือ กระต่าย ซึ่งนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงทั้งในแง่ของความเพลินเพลิน สวยงาม และบริโภคเป็นอาหาร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอันดับกระต่าย · ดูเพิ่มเติม »

อันดับย่อยเม่น

ม่น เป็นอันดับย่อยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hystricomorpha โดยคำว่า Hystricomorpha นั้นมาจากภาษาละตินคำว่า hystrix หมายถึง "เม่น" และภาษากรีกคำว่า morphē หมายถึง "ลักษณะ" โดยสัตว์ที่รู้จักกันเป็นอย่างดีของอันดับย่อยนี้ คือ เม่น ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดกลางค่อนข้างไปทางใหญ่ ที่มีจุดเด่น คือ ขนบนตัวที่เป็นหนามแหลม ใช้สำหรับป้องกันตัว กระจายพันธุ์ไปในเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วทั้งโลก คือ ทวีปเอเชีย, แอฟริกา, อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ซึ่งสามารถแบ่งออกได้อีกเป็น 2 วงศ์ เม่น เป็นสัตว์ที่มีความเชื่อว่าสามารถสะบัดขนเข้าใส่ศัตรูได้แต่ความจริงไม่ได้เป็นเช่นนั้น เมื่อเม่นพบศัตรูจะรีบหันหลังให้แล้ววิ่งหนีไปพร้อมทั้งสั่นขนให้เกิดเสียงดังกราว ๆ เป็นการเตือน ไม่ให้ศัตรูเข้าใกล้ แต่ถ้าศัตรูยังวิ่งไล่อยู่เม่นจะรีบหยุดทันที พร้อมทั้งพองขนให้ตั้งชัน และวิ่งถอยหลังเข้าหา ศัตรูที่วิ่งตามไม่สามารถจะหยุดได้ทันจึงถูกขนเม่นทิ่มตำ ขนเม่นจะหลุดจากตัวเม่นได้ง่ายมาก มักจะติดไปกับสัตว์ที่เข้ามาทำอันตรายเสมอและอาจทำให้ศัตรูตายได้ ในอดีต พรานป่าที่เข้าไปล่าสัตว์มักจะนำสุนัขไปด้วยเพื่อช่วยดมกลิ่นและค้นหาสัตว์ป่าถ้าพบเห็นเม่นมันจะวิ่งไล่ทันที เมื่อเม่นหยุดวิ่ง สุนัขจะวิ่งชนเม่นทันทีจึงมักได้รับบาดเจ็บและมีขนเม่นติดตามตัว เมื่อเจ้าของสุนัขพบเข้าจึงคิดว่าเม่นสะบัดขนเข้าใส่ ทำให้เกิดความเชื่อผิด ๆ ตามกันมา สำหรับในประเทศไทย พบเม่นได้ 2 ชนิด คือ เม่นใหญ่แผงคอยาว (Hystrix brachyura) และเม่นหางพวง (Atherurus macrourus) ซึ่งทั้งหมดจัดอยู่ใน วงศ์เม่นโลกเก่า (Hystricidae).

ใหม่!!: ภาษากรีกและอันดับย่อยเม่น · ดูเพิ่มเติม »

อันดับด้วง

้วง หรือ แมลงปีกแข็ง (Beetle) จัดเป็นแมลงในอันดับ Coleoptera ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นอันดับย่อยอีก 4 อันดับ (ดูในตาราง) จัดเป็นแมลงที่มีวงจรชีวิตสมบูรณ์ คือ เป็น ไข่, หนอน, ดักแด้ และตัวเต็มวัย ด้วง หรือ แมลงปีกแข็งนั้น นับเป็นแมลงที่มีจำนวนมากที่สุดในโลก กล่าวคือ มีประมาณร้อยละ 40 ของแมลงที่มีอยู่ทั้งหมด (ประมาณ 400,000 ชนิด) มีลักษณะเด่นโดยรวม คือ ในวัยเต็มตัวจะมีปีก 2 คู่ โดยปีกคู่หน้าเป็นปีกที่มีความแข็งเท่ากันหรือเกือบเท่ากันตลอดทั้งแผ่น เรียกว่า Elytra ซึ่งมาจากภาษากรีก (ἔλυτρον) ซึ่งหมายถึง แผ่น หรือ ปีก ส่วนปีกคู่หลังเป็นแผ่นปีกใหญ่ค่อนข้างโปร่งแสง เมื่อเวลาเกาะอยู่ปีกคู่หลังจะพับซ้อนกันอย่างมีระเบียบและซ่อนอยู่ภายใต้ปีกคู่หน้าอย่างมิดชิด และเมื่อต้องการบิน ปีกคู่หลังนี้จะกางออก โดยการเปิดกางออกของปีกคู่หน้าขึ้นก่อนที่จะเหยียดกางปีกคู่หลังนี้ออกมาบินอย่างรวดเร็ว เมื่อเวลาที่จะเกาะหรือคลาน จะหุบปีกโดยปีกคู่หน้าจะประกบกันสนิทเป็นเส้นตรงอยู่ตรงกลางลำตัว ปีกคู่หน้าจึงทำหน้าที่เสมือนเกราะป้องกันตัวและปีกคู่หลัง ในขณะที่บินปีกคู่หน้านี้จะไม่ช่วยในการบินแต่จะช่วยในการทรงตัว อย่างไรก็ตาม จะมีด้วงบางชนิดที่ปีกคู่หน้าเชื่อมติดกัน จึงไม่สามารถบินได้ และบางชนิดก็มีปีกคู่หน้าเล็กหรือสั้นกว่าลำตัวมากจนไม่สามารถปิดส่วนท้องได้สนิท.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอันดับด้วง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ

อันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ เป็นอันดับปลากระดูกแข็งอันดับหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Syngnathiformes ปลาในอันดับนี้มีรูปร่างประหลาดไปกว่าปลาในอันดับอื่น ๆ กล่าวคือ มีรูปร่างที่เรียวยาวเหมือนหลอดหรือกิ่งไม้ เป็นปลาขนาดเล็ก ในปากไม่มีฟัน ไม่มีขากรรไกร แต่จะมีลักษณะคล้ายท่อดูด ไว้สำหรับดูดอาหารจำพวก แพลงก์ตอนสัตว์ขนาดเล็กหรือสัตว์น้ำขนาดเล็กชนิดอื่น ๆ มีขนาดโดยเฉลี่ยเต็มที่ไม่เกิน 30 เซนติเมตร พบได้ทั้งในน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล ซึ่งคำว่า "Syngnathiformes" นั้นมาจากภาษากรีก แปลว่า "ติดกับขากรรไกร" โดยมาจากภาษากรีกโบราณ คำว่า συν แปลว่า ด้วยกัน กับ γνάθος แปลว่า ขากรรไกร และ "formes" มาจากภาษาลาตินที่หมายถึง "รูปแบบที่คล้ายคลึงกัน".

ใหม่!!: ภาษากรีกและอันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาคางคก

ปลาคางคก (อังกฤษ: Toadfishes, Frogfishes) เป็นปลาทะเลจำพวกปลากระดูกแข็งกลุ่มหนึ่ง ในอันดับ Batrachoidiformes และวงศ์ Batrachoididae ซึ่งมีเพียงวงศ์เดียวเท่านั้นที่อยู่ในอันดับนี้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอันดับปลาคางคก · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาฉลามฟันเลื่อย

ปลาฉลามฟันเลื่อย (Sawsharks, Sawfishes) เป็นอันดับของปลากระดูกอ่อนอันดับหนึ่ง ในชั้นย่อยปลาฉลาม ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pristiophoriformes มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับปลาฉนาก (Pristiformes) ซึ่งเป็นปลากระดูกอ่อนเช่นเดียวกัน หากแต่ถูกจัดให้อยู่ในชั้นย่อยปลากระเบน (Batoidea) คือ มีจุดเด่น มีอวัยวะที่ยื่นออกมาเป็นกระดูกแข็งจากส่วนหน้าที่มีลักษณะแบนราบแต่มีหนามแหลมอยู่ข้าง ๆ เป็นซี่ ๆ คล้ายฟันเลื่อยหรือกระบองแข็ง แต่ต่างจากปลาฉนากตรงที่มีหนวดยาวอยู่ 2 เส้นอยู่ด้วย และมีซี่กรองเหงือกอยู่หลังตาเหมือนปลาในชั้นย่อยปลาฉลาม มีครีบหลัง 2 ครีบ และครีบก้น แบ่งออกได้เป็น 2 สกุล คือ Pliotrema ซึ่งมีซี่กรองเหงือก 6 ช่อง กับ Pristiophorus มีซี่กรองเหงือก 5 ช่อง เหมือนเช่นปลาฉลามทั่วไป มีความเต็มที่ประมาณ 170 เซนติเมตร ปลาฉลามฟันเลื่อย พบกระจายพันธุ์อยู่ตามพื้นทะเล ในเขตของทะเลญี่ปุ่น, แอฟริกาใต้ จนถึงแอฟริกาใต้ มีพฤติกรรมความเป็นอยู่ทั่วไปคล้ายกับปลาฉนาก โดยหากินสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ ตามหน้าดินและปลาต่าง ๆ เป็นอาหาร ออกลูกเป็นตัว อยู่ในความลึกตั้งแต่ 40 เมตรจนถึงลึกกว่านั้น โดยคำว่า Pristis เป็นภาษากรีกแปลว่า "เลื่อย" รวมกับคำว่า pherein แปลว่า "เพื่อนำมา".

ใหม่!!: ภาษากรีกและอันดับปลาฉลามฟันเลื่อย · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาไหลไฟฟ้า

อันดับปลาไหลไฟฟ้า (South American knifefish, Electric eel) เป็นอันดับของปลากระดูกแข็ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gymnotiformes โดยที่คำว่า Gymnotiformes นั้นมาจากภาษากรีกคำว่า "Gymnos" (Γυμνος) หมายถึง "เปลือย" และภาษาละตินคำว่า "forma" หมายถึง "คม" ปลาที่อยู่ในอันดับนี้มีลำตัวเรียวยาวคล้ายปลาไหล มีจุดเด่นคือไม่มีครีบหลัง ขณะที่ชายครีบก้นจะยาวมาก และมีมากกว่า 140 ก้านครีบ ซึ่งครีบก้นนี้ จะเริ่มตั้งแต่ตำแหน่งของครีบอก ครีบก้นของปลาในอันดับนี้จะถูกใช้ในการเคลื่อนไหวไปข้างหน้า และถอยหลัง โดยการโบกพริ้วอย่างรวดเร็ว ช่องทวาร จะอยู่บริเวณใต้ปลาพอดี รวมทั้งมีอวัยวะในการสร้างกระแสไฟฟ้า เพื่อใช้ในการนำทางในน้ำที่ขุ่นมัว, การสื่อสาร และล่าเหยื่อ โดยจะรับรู้ถึงวัตถุต่าง ๆ ที่ผ่านเข้ามาได้ทางผิวหนัง โดยมากแล้วจะเป็นกระแสไฟฟ้าอ่อน ๆ เป็นปลาน้ำจืด กระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาใต้ แบ่งเป็นวงศ์ได้ทั้งหมด 6 วงศ์ 2 อันดับย่อย โดยปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และอาจถือได้ว่าเป็นที่รู้จักดีที่สุดของอันดับนี้ คือ ปลาไหลไฟฟ้า ที่ยาวเต็มที่ได้ถึง 8.2 ฟุต และปล่อยกระแสไฟฟ้าได้แรงถึง 800 โวลต์ นับว่าสูงสุดในอันดับนี้ด้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอันดับปลาไหลไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

อาบัดโดน

thumb คำว่า อาบัดโดน (אֲבַדּוֹן) ในภาษาฮีบรูนั้น เทียบได้กับคำว่า อปอลลิโยน (Ἀπολλύων) ในภาษากรีก ซึ่งได้รับการกล่าวถึงในคัมภีร์ไบเบิลในฐานะทูตสวรรค์และผู้ทำลายล้าง โดยในคัมภีร์ฮีบรูนั้น อาบัดโดน สื่อถึงก้นบึ้งแห่งบาดาล ซึ่งมักปรากฎคู่กับคำว่า เชโอล (שְׁאוֹל) ที่หมายถึงอาณาจักรแห่งความตาย ส่วนที่ปรากฎในหนังสือวิวรณ์ของภาคพันธสัญญาใหม่ ตอนเสียงแตรแห่งทูตสวรรค์ทั้งเจ็ด ทูตสวรรค์ผู้ถูกเรียกว่า อาบัดโดน ถูกระบุว่าเป็นพญาตั๊กแตนซึ่งรับบัญชาพระเจ้าในการเป่าแตรของทูตสวรรค์องค์ที่ห้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอาบัดโดน · ดูเพิ่มเติม »

อาการ

ในทางการแพทย์ อาการ มีความหมายสองอย่างที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพกายและสุขภาพใจดังนี้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอาการ · ดูเพิ่มเติม »

อาการกลัวที่สูง

อาการกลัวที่สูง (Acrophobia; มาจากรากศัพท์ภาษากรีก ἄκρος, "ยอด จุดสูงสุด") เป็นความกลัวต่อความสูงอย่างมาก อาการดังกล่าวอาจก่อให้เกิดอันตรายได้เพราะผู้ป่วยอาจเกิดอาการตื่นตระหนกเมื่ออยู่ในที่สูงจนไม่สามารถลงจากบริเวณนั้นได้อย่างปลอดภัย การกลัวความสูงมักจะใช้สับสนกับอาการรู้สึกหมุน (vertigo) หรือเวียนศีรษะ เพราะอาการดังกล่าวเป็นความรู้สึกเหมือนสถานที่นั้นหมุนซึ่งเกิดจากการมองลงมาจากที่สูง รวมทั้งมีสิ่งกระตุ้นอื่น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอาการกลัวที่สูง · ดูเพิ่มเติม »

อาการกลัวความลึก

อาการกลัวความลึก (Bathophobia; มาจากรากศัพท์ภาษากรีก "bathos" "ความลึก" และ "phobos," "ความกลัว") เป็นความกลัวอย่างไม่มีเหตุผลต่อความลึก อันได้แก่มหาสมุทร คูน้ำ ห้องโถงที่ดูแคบและยาว หุบเขา หรือชั้นใต้ดิน ผู้ป่วยอาจมีอาการของโรควิตกกังวลหรืออาการตื่นตระหนกได้เช่นเดียวกับโรคกลัวอื่น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอาการกลัวความลึก · ดูเพิ่มเติม »

อาร์กติก

้นสีแดงในภาพเป็นบริเวณของอาร์กติกที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยเท่าๆกัน อาร์กติก (Arctic) เป็นพื้นที่ในบริเวณขั้วโลกเหนือ ซึ่งบริเวณของอาร์กติกนี้ประกอบไปด้วยพื้นที่บางส่วนของประเทศต่าง ๆ เช่น แคนาดา, กรีนแลนด์ (ดินแดนของเดนมาร์ก), รัสเซีย, สหรัฐอเมริกา (อะแลสกา), ไอซ์แลนด์, นอร์เวย์, สวีเดน และฟินแลนด์ รวมถึงบริเวณของมหาสมุทรอาร์กติกด้วย บริเวณพื้นที่ส่วนใหญ่ของอาร์กติกจะเป็นพื้นที่กว้าง มหาสมุทรปกคลุมไปด้วยน้ำแข็ง พื้นที่รอบ ๆ ปราศจากพืชพันธุ์และผืนดินก็ปกคลุมไปด้วยน้ำแข็งเช่นเดียวกัน แต่กลับอุดมไปด้วยสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ทั้งที่อาศัยอยู่ในน้ำแข็ง, ปลา,สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, นก และรวมถึงมนุษย์ด้วย ตามธรรมชาติของบริเวณอาร์กติกจะเป็นที่ที่แตกต่างจากที่อื่นอย่างเห็นได้ชัด ผู้คนที่อาศัยอยู่ในอาร์กติกจะมีการปรับตัวและใช้ชีวิตอยู่ท่ามกลางความหนาวเหน็บและธรรมชาติอันโหดร้าย อาร์กติกจะมีความอ่อนไหวได้ง่ายมากจากการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนโลกของเรา เช่น อุณหภูมิบนโลกที่เปลี่ยนแปลงไป ความอ่อนไหวได้ง่ายนี้ทำให้อาร์กติกนี้ถูกมองเสมือนเป็นระบบเตือนภัยล่วงหน้าให้แก่โลกของเรา คำว่า อาร์กติก มากจากภาษากรีกโบราณ αρκτος ซึ่งมีความหมายว่า หมี และยังอ้างอิงไปถึงกลุ่มดาวหมีใหญ่และหมีเล็กที่อยู่ใกล้กับดาวเหนือด้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอาร์กติก · ดูเพิ่มเติม »

อาร์โคซอร์

อาร์โคซอร์ (อังกฤษ: Archosaur, มาจากภาษากรีกแปลว่า กิ้งก่าผู้ครองโลก) ได้แก่กลุ่มของสัตว์เลื้อยคลานจำพวกหนึ่งซึ่งมีกะโหลกแบบ diapsid (มีสองโพรงในแต่ละด้าน) ซึ่งในอดีตรวมไปถึงไดโนเสาร์ ส่วนสัตว์พวกอาร์โคซอร์ที่เหลืออยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ จระเข้ และ นก ยังเป็นที่ถกเถียงกันว่า อาร์โคซอร์ ถือกำเนิดขึ้นมาเมื่อไร พวกที่จัดให้สัตว์เลี้อยคลาย Archosaurus rossicus และ/หรือ Protorosaurus speneri ว่าเป็นอาร์โคซอร์เต็มตัว จะถือเอายุคเพอร์เมียนตอนปลายเป็นจุดเริ่มต้น ในขณะที่อีกกลุ่มจัดสัตว์เลื้อยคลานข้างตนเป็นพวก อาร์โคซอริฟอรมส์ (archosauriformes) และนับให้อาร์โคซอร์วิวัฒนาการต่อจาก archosauriformes อีกที ยึดเอายุคโอลีนีเคียน (Olenekian, ตรงกับยุคไทรแอสซิกตอนต้น) เป็นจุดกำเนิด อาร์โคซอร์เป็นสัตว์ที่ครองโลกในยุคไทรแอสซิก หมวดหมู่:สัตว์เลื้อยคลานยุคก่อนประวัติศาสตร์.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอาร์โคซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาดามันเทียม

อาดามันเทียม (อังกฤษ: Adamantium) มาจากคำว่า Adamant หรือ Adamantine ซึ่งมาจากภาษากรีก αδαμαςกับ หรือ αδαμάντινος ตามลำดับ โดยแปลว่าแกร่งเหมือนเพชร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอาดามันเทียม · ดูเพิ่มเติม »

อานาโตเลีย

อานาโตเลีย (อังกฤษ: (Anatolia), กรีก: ανατολή หมายถึง "อาทิตย์อุทัย" หรือ "ตะวันออก") นิยมเรียกในภาษาละตินว่า เอเชียน้อย อีกด้วย เป็นดินแดนทางตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ที่เชื่อมต่อระหว่างเอเชียกับยุโรป คาบสมุทรอานาโตเลียมีพื้นที่ประมาณ 757,000 ตร.กม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอานาโตเลีย · ดูเพิ่มเติม »

อิกัวนาบก

อิกัวนาบก (Land iguana) เป็นกิ้งก่าสกุลหนึ่ง ในวงศ์อิกัวนา (Iguanidae) จัดอยู่ในสกุล Conolophus (มาจากภาษากรีกสองคำ: conos (κώνος) หมายถึง "หนาม" และ lophos (λοφος) หมายถึง "หงอน" โดยมีความหมายถึง หนามบนสันหลัง) จัดเป็นสัตว์ถิ่นเดียวที่พบเฉพาะบนหมู่เกาะกาลาปาโกสเท่านั้น โดยถือว่าเป็นอิกัวนาอีกจำพวกหนึ่งที่มีความโดดเด่นของที่นี่นอกเหนือไปจากอิกัวนาทะเล ซึ่งอิกัวนาบกนั้นมีรูปร่างลักษณะ ตลอดจนพฤติกรรมที่แตกต่างไปจากอิกัวนาทะเลพอสมควร เนื่องจากเป็นสัตว์ที่หากินแต่เฉพาะบนบก กินพืชเป็นอาหาร โดยพืชที่นิยมกินเป็นพืชจำพวกกระบองเพชร โดยเฉพาะกระบองเพชรซันตาเฟ ซึ่งก็เป็นพืชถิ่นเดียวของหมู่เกาะกาลาปาโกสเช่นเดียวกัน ดังนั้นกระบองเพชรซันตาเฟจึงมีลักษณะลำต้นและกิ่งก้านที่สูงและยาว รวมถึงมีหนามแหลมเพื่อป้องกันตัวเองจากการกินของอิกัวนา ดังนั้น อิกัวนาบกเองก็มีวิวัฒนาการของตัวเอง โดยปรับตัวให้สามารถกินอาหารได้หลากหลายขึ้น เช่น เปลี่ยนมากินแมลงเล็ก ๆ เป็นอาหารด้วย อิกัวนาบก เป็นสัตว์ที่ไม่มีอุปนิสัยดุร้าย แม้จะมีรูปร่างหน้าตาที่น่ากลัวเหมือนกับอิกัวนาทะเล โดยพบกระจายพันธุ์ได้น้อยกว่าอิกัวนาทะเลพอสมควร โดยธรรมชาติเป็นสัตว์ที่ไม่ค่อยขยับเขยื้อนตัว เนื่องจากเป็นสัตว์กินพืช จึงจะขยับตัวหรือเคลื่อนไหวต่อเมื่อกินอาหารเท่านั้น เกาะที่สามารถพบอิกัวนาบกได้มากที่สุด คือ เกาะซันตาเฟ หรือเกาะบาร์ริงตัน และเกาะเซาท์พลาซา สามารถจำแนกได้เป็น 3 ชน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอิกัวนาบก · ดูเพิ่มเติม »

อิมพาลา

อิมพาลา (Impala) เป็นสัตว์กีบคู่มีเขาใหญ่เป็นเกลียว ซึ่งอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของทวีปแอฟริกา จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Aepycerotinae ในวงศ์ใหญ่ Bovidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับวัวหรือแพะ, แกะ จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์ย่อยนี้และสกุลนี้ คำว่า "อิมพาลา" มาจากภาษาซูลู ซึ่งเป็นชื่อสามัญที่ใช้เรียกสัตว์ชนิดนี้ ถูกบันทึกไว้ครั้งแรกเป็นลายลักษณ์อักษรในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและอิมพาลา · ดูเพิ่มเติม »

อิสตันบูล

อิสตันบูล (ตุรกี: İstanbul) เดิมชื่อ คอนสแตนติโนเปิล เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศตุรกี ตั้งอยู่บริเวณช่องแคบบอสฟอรัส ซึ่งทำให้อิสตันบูลเป็นเมืองสำคัญเพียงเมืองเดียวในโลก ที่ตั้งอยู่ใน 2 ทวีป คือ ทวีปยุโรป (ฝั่ง Thrace ของบอสฟอรัส) และทวีปเอเชีย (ฝั่งอานาโตเลีย) ข้อมูลปี 2007 จังหวัดอิสตันบูลมีประชากรประมาณ 11,372,613 คน ในอดีต อิสตันบูลเป็นเมืองสำคัญของชนเผ่าจำนวนมากในบริเวณนั้น จึงส่งผลให้อิสตันบูลมีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป เช่น ไบแซนไทน์, คอนสแตนติโนเปิล, สแตมโบล, อิสลามบูลเป็นต้น คำว่า อิสตันบูล มาจากภาษากรีก แปลว่า "ในเมือง" หรือ "ของเมือง".

ใหม่!!: ภาษากรีกและอิสตันบูล · ดูเพิ่มเติม »

อิคะเริส

ภาพวาดโบราณ อิคะเริสถูกอพอลโลแผดแสงอาทิตย์จนปีกขี้ผึ้งละลาย อิคะเริส หรือ ไอคะเริส (Icarus, /ɪkərəs/ หรือ /aɪkərəs/; ภาษากรีก Ἴκαρος, ภาษาลาติน Íkaros) อิคะเริสเป็นบุตรชายของเดลาลัส (Daedalus) 2 พ่อลูกคู่นี้ถูกจองจำไว้ในหอคอยบนเกาะครีต สถานที่เดียวกับมิโนทอร์ โดยกษัตริย์ไมนอส ทั้งคู่มองจากหน้าต่างออกไปเห็นทะเลสีฟ้าครามและฝูงนกนางนวลที่บินอย่างอิสระเป็นเวลานานทุกวัน จึงโหยหาอิสรภาพและต้องการออกไปจากที่คุมขังนี้ วันหนึ่ง อิคะเริสสามารถฆ่านกนางนวลตัวหนึ่งได้ และนำมาให้เดลาลัสดู เดลาลัสจึงเกิดความคิดที่จะหนีได้ โดยการถอนขนปีกนกออกและเย็บขึ้นมาใหม่ด้วยขี้ผึ้ง แล้วติดเข้าที่แขนของตน จากนั้นจึงได้ลองกระพือปีกและพบว่า มันสามารถทำให้ร่างของตนบินได้ อิคะเริสจึงเรียกร้องให้เดลารัสบิดาตนสร้างปีกแบบนี้ขึ้นมาใหม่อีกคู่ เดลารัสได้ย้ำเตือนอิคะเริสว่า ปีกใหม่นี้ไม่สามารถบินได้สูง เมื่อสร้างเสร็จแล้ว อิคะเริสดีใจจนลืมตัว ใช้ปีกขี้ผึ้งคู่นี้บินสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ อพอลโล สุริยเทพซึ่งเฝ้ามองอยู่ เห็นมนุษย์อย่างอิคะเริสบินสูงขึ้นเรื่อย ๆ จนเกือบถึงดวงอาทิตย์ อพอลโลพิโรธด้วยเห็นว่า เป็นการกระทำของมนุษย์ที่ท้าทายต่อเทพเจ้า จึงเร่งแสงของดวงอาทิตย์ให้ร้อนขึ้น ๆ จนกระทั่งปีกขี้ผึ้งของอิคะเริสละลาย และอิคะเริสก็ตกลงมาจมน้ำตาย หมวดหมู่:เสียชีวิตโดยอุบัติเหตุจากการตก หมวดหมู่:บุคคลในตำนานเทพปกรณัมกรีก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอิคะเริส · ดูเพิ่มเติม »

อินฟันตากริสตีนา เฟเดรีกาแห่งสเปน

อินฟันตากริสตีนา เฟเดรีกา บิกโตเรีย อันโตเนีย เด ลา ซันตีซีมา ตรีนีดัด เด บอร์บอน อี เกรเซีย (Cristina Federica Victoria Antonia de la Santísima Trinidad de Borbón y Grecia; ประสูติ: 13 มิถุนายน พ.ศ. 2508) หรือพระอิสริยยศเดิมว่า อินฟันตากริสตีนา ดัชเชสแห่งปัลมาเดมายอร์กา (Infanta Cristina, Duquesa de Palma de Mallorca) เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 กับสมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน ทั้งเป็นพระขนิษฐาในอินฟันตาเอเลนา ดัชเชสแห่งลูโก และพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลีเปที่ 6 อินฟันตากริสตีนา เสกสมรสกับอีญากี อูร์ดังการิน อี ลีบาร์ต เมื่อปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและอินฟันตากริสตีนา เฟเดรีกาแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

อิเล็กโทรด

อิเล็กโทรด/ลวดเชื่อมต่าง ๆ ที่ใช้ในการเชื่อมอาร์ค อิเล็กโทรด หรือ ขั้วเชื่อม หรือ ลวดเชื่อม หรือ ขั้วไฟฟ้า (Electrode) เป็นตัวนำไฟฟ้าเพื่อใช้แนบกับส่วนที่ไม่ใช่โลหะของวงจรไฟฟ้า (เช่น สารกึ่งตัวนำ อิเล็กโทรไลต์ สุญญากาศ หรืออากาศ) อิเล็กโทรดเป็นคำที่บัญญัติขึ้นโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ วิลเลียม ฮิวเอ็ลล์ ตามคำของไมเคิล ฟาราเดย์ ซึ่งมาจากคำภาษากรีกว่า elektron ซึ่งจริง ๆ แปลว่า อำพัน แต่นำมาอนุพัทธ์ใช้หมายถึงไฟฟ้า บวกกับคำว่า hodos ซึ่งแปลว่าทาง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอิเล็กโทรด · ดูเพิ่มเติม »

อุลกมณี

ตัวอย่างก้อนอุลกมณีที่พบบนพื้นผิวโลก อุลกมณี มีหลายชื่อที่เรียกหากัน อุกกามณี แก้วข้าว สะเก็ดดาว เหล็กไหลต่างดาว คดปลวก พลอยจันทรคราส หยดน้ำฟ้า(ตามรูปร่างที่ปรากฏ) สะเก็ดดาว หรืออุลกมณี ตรงกับคำว่า "tektite" ในภาษาอังกฤษ โดยมีรากศัพท์มาจากคำว่า Tektos ในภาษากรีก แปลว่า หลอมละลาย อุลกมณีที่พบจะมีเนื้อแก้ว ส่วนใหญ่สีดำทึบคล้ายนิล บางชิ้นมีเนื้อในสีน้ำตาลใส บางชิ้นก็มีเนื้อโปร่งแสงสีเขียว ผิวของอุลกมณีจะเป็นหลุมเล็ก ๆ โดยรอบ รูปลักษณ์สัณฐานของอุลกมณีไม่แน่นอน อาจเป็นก้อนกลม ยาวแบน แท่งกลมยาว คนไทยบางท่านเชื่อว่าสามารถแบ่งอุลกมณี เป็นชนิดต่างๆตามรูปร่าง เช่น ตัวผู้(รูปทรงเป็นแท่งคล้ายลึงค์) หรือตัวเมีย(รูปทรงกลม) มนุษย์เรารู้จักอุลกมณีมานานแล้ว โดยเชื่อกันว่าเป็นสะเก็ดดาวจากนอกโลก ที่ตกเข้ามายังพื้นผิวโลก แต่ปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์ได้ทำการศึกษาและทราบว่าแท้จริงแล้ว อุลกมณี หรือ tektite เป็นทรายที่เกิดบนโลกที่เกิดการหลอมละลายจากความร้อนจากการพุ่งชนของอุกกาบาต ขณะที่ทรายหลอมละลายจะกระเซ็นขึ้นไปบนท้องฟ้า แล้วเกิดการเย็นและแข็งตัวกลางอากาศ ก่อนจะตกกลับคืนสู่พื้นดิน จึงทำให้เกิดรูปร่างหลากหลายแบบ สีของ อุลกมณีจะมีความแตกต่างกันจากการเกิด ว่าเมื่อเกิด มีแร่ธาตุอะไรเข้าไปผสมอยู่ด้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอุลกมณี · ดูเพิ่มเติม »

อุณหพลศาสตร์

แผนภาพระบบอุณหพลศาสตร์ทั่วไป แสดงพลังงานขาเข้าจากแหล่งความร้อน (หม้อน้ำ) ทางด้านซ้าย และพลังงานขาออกไปยังฮีทซิงค์ (คอนเดนเซอร์) ทางด้านขวา ในกรณีนี้มีงานเกิดขึ้นจากการทำงานของกระบอกสูบ อุณหพลศาสตร์ (/อุน-หะ-พะ-ละ-สาด/ หรือ /อุน-หะ-พน-ละ-สาด/) หรือ เทอร์โมไดนามิกส์ (Thermodynamics; มาจากภาษากรีก thermos.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอุณหพลศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

อุปมานิทัศน์

''อุปมานิทัศน์ของดนตรี'' โดยฟีลิปปีโน ลิปปี “อุปมานิทัศน์ของดนตรี” เป็นหัวเรื่องที่นิยมกันในจิตรกรรมในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เช่นการที่ลิบปีใช้ในภาพเขียนภาพนี้ซึ่งใช้ตำนานกรีกเป็นสัญลักษณ์ อุปมานิทัศน์ (Allegory) มาจากภาษากรีก “αλλος” หรือ “allos” ที่แปลว่า “อื่น” และคำว่า “αγορευειν” หรือ “agoreuein” ที่แปลว่า “การพูดในที่สาธารณะ” ซึ่งหมายถึงศิลปะที่ใช้สัญลักษณ์แทนความหมายโดยตรงในภาษาเขียน อุปมานิทัศน์มิได้ใช้แต่ในงานวรรณกรรม แต่อาจจะใช้ทางจักษุศิลป์ซึ่งมักจะพบในจิตรกรรมหรือประติมากรรม หรือ การแสดงสัญลักษณ์ทางศิลปะอื่นๆ ความหมายทางภาษาศาสตร์จะกว้างกว่าที่ใช้กันโดยทั่วไป ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” จะมีน้ำหนักกว่ามากกว่าการใช้ “อุปลักษณ์” (metaphor) และเมื่อใช้ก็จะทำให้ผู้รับเกิดแรงบันดาลใจทางจินตนาการมากกว่า ขณะที่ “แนวเทียบ” (analogy) จะคำนึงถึงเหตุผลและตรรกศาสตร์มากกว่า เช่น “นิทานคติสอนใจ” (parable) จะเป็น “แนวเทียบ” ที่มีคำสอนทางจริยธรรมเพียงหัวข้อเดียว ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” มักจะเป็นสัญลักษณ์แทนความหมายของหัวข้อที่กว้างกว่าการใช้ “แนวเทียบ” ฉะนั้นในงาน “อุปมานิทัศน์” ชิ้นหนึ่งก็อาจจะมี “แนวเทียบ” หลายประเด็น จึงทำให้ตีความหมายกันไปได้หลายอย่าง ซึ่งบางครั้งก็อาจจะบิดเบือนไปจากความหมายที่ศิลปินตั้งใจเอาไว้ เช่นบางคนให้ความเห็นว่า “อุปมานิทัศน์” ของ “เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์” คือสงครามโลกเป็นต้น แต่วรรณกรรมชิ้นนี้เขียนก่อนที่สงครามโลกครั้งที่สอง จะเกิดขึ้น และถึงแม้ว่า เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ผู้ประพันธ์จะกล่าวไว้ในคำนำในฉบับพิมพ์อเมริกันว่า “(หนังสือเล่มนี้) ไม่ใช่อุปมานิทัศน์หรือหัวข้อ....กระผมไม่ชอบอุปมานิทัศน์ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใหน...”.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอุปมานิทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

อุปสรรค (ไวยากรณ์)

อุปสรรค หรือ หน่วยคำเติมหน้า (Prefix) คือหน่วยคำเติมชนิดหนึ่งที่ใช้สำหรับเติมหน้ารากศัพท์ เพื่อเพิ่มความหมาย เปลี่ยนความหมาย หรือเปลี่ยนหน้าที่ของคำ (เช่นเปลี่ยนคำกริยาเป็นคำนาม) มีใช้ในภาษาต่าง ๆ ในหลายตระกูล เช่น ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน (ภาษาบาลี สันสกฤต กรีก ละติน แม้กระทั่งภาษาอังกฤษ) ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก (ภาษามอญ เขมร) ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน (ภาษามลายู) เป็นต้น อุปสรรคจะไม่ปรากฏอยู่เดี่ยว ๆ ต้องเติมหน้าคำอื่น ในภาษาหนึ่ง ๆ มักจะมีอุปสรรคจำนวนจำกัด เช่น ในภาษาบาลีมีอุปสรรคเพียง 20 คำ อาทิ วิ, อุ, อา, นิ, ป, สํ, สุ, อต, อธิ, อนุ, อภิ, อุป ฯลฯ ในภาษาไทยไม่มีอุปสรรคแท้ แต่มักนำศัพท์ที่เติมอุปสรรคแล้วมาใช้ อย่างไรก็ตาม มีความนิยมสร้างคำโดยใช้อุปสรรคเติมหน้าศัพท์อื่นบ้างเช่นกัน ขณะที่ในบางภาษามีการยืมอุปสรรคของภาษาอื่นมาใช้เติมในคำศัพท์ของภาษาตัวเองอยู่บ้าง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอุปสรรค (ไวยากรณ์) · ดูเพิ่มเติม »

อีลาสโมซอรัส

อีลาสโมซอรัส ((จากภาษากรีก ελασμος elasmos 'แผ่นบาง' (หมายถึง แผ่นบาง ๆ ในกระดูกเชิงกราน) + σαυρος sauros 'กิ้งก่า') เป็นสัตว์เลื้อยคลานทะเลในสกุล Elasmosaurus ในตระกูลเพลสิโอซอร์ เป็นสัตว์ประเภทคอยาว โดยมีคอยาวกว่าครึ่งหนึ่งของลำตัวเสียอีกอาศัยอยู่ยุคครีเทเชียสตอนปลายเมื่อราว 80.5 ล้านปีก่อน ในสถานที่ ๆ ปัจจุบัน คือ ทวีปอเมริกาเหนือ โครงกระดูก อีลาสโมซอรัส มีลำตัวยาวประมาณ 10.3 เมตร (37 ฟุต) มีลักษณะเด่น คือ มีคอยาวถึง 5 เมตร (ประมาณ 16 ฟุต) ส่วนขาเป็นครีบ 4 ข้าง ความยาวของลำตัวมากกว่าครึ่งเป็นส่วนคอ ประกอบด้วยกระดูกมากกว่า 70 ชิ้น ซึ่งมีจำนวนกระดูกคอมากกว่าสัตว์ทุกชนิด ส่วนหัวค่อนข้างเล็ก และฟันคมกร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอีลาสโมซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

อีนิกมา

อีนิกมา (enigma) มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก αἴνιγμα มีความหมายว่า "puzzle" (ปริศนา) ชื่อนี้อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอีนิกมา · ดูเพิ่มเติม »

อีเลฟเทริออส เวนิเซลอส

อีเลฟเทริออส เวนิเซลอส (Eleftherios Venizelos; ชื่อเต็ม: อีเลฟเทรีออส คีรีอาคู เวนิเซลอส;Elefthérios Kyriákou Venizélos, กรีก: Ἐλευθέριος Κυριάκου Βενιζέλος; 23 สิงหาคม ค.ศ. 1864 - 18 มีนาคม ค.ศ. 1936) เป็นผู้นำชาวกรีกที่ประสบความสำเร็จในขบวนการปลดปล่อยชาติกรีกและเป็นรัฐบุรุษที่มีเสน่ห์ในช่วงยุคต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งเป็นที่จดจำจากการส่งเสริมนโยบายแนวเสรีนิยมประชาธิปไตยKitromilides, 2006, p. 178, Time, Feb.18,1924 เขาได้รับการเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งกรีซหลายสมัย โดยดำรงตำแหน่งระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษากรีกและอีเลฟเทริออส เวนิเซลอส · ดูเพิ่มเติม »

องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน

องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (The International Organization for Standardization: ISO) เป็นองค์การระหว่างประเทศที่กำหนดมาตรฐาน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวไทย

อ่าวไทย อ่าวไทย เป็นน่านน้ำที่อยู่ในทะเลจีนใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก ล้อมรอบด้วยประเทศไทย มาเลเซีย กัมพูชา และเวียดนาม อ่าวไทยไม่เพียงแต่มีความสำคัญในทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ แต่ยังมีความสำคัญในทางกฎหมายอาญาอย่างยิ่ง โดยถือเป็นอาณาเขตที่ศาลไทยมีอำนาจพิจารณาคดีเกี่ยวกับความผิดที่เกิดขึ้นในอาณาบริเวณอ่าวไทยตามที่กำหนดเขตไว้ในกฎหมายให้ถือเป็นราชอาณาจักรไทยด้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอ่าวไทย · ดูเพิ่มเติม »

อ่างล้างบาป

อ่างล้างบาปที่มหาวิหารวอมส์ ประเทศเยอรมนี อ่างล้างบาปสมัยกลาง จากเมือง Norrköping ประเทศสวีเดน อ่างล้างบาป (Baptismal font) คือภาชนะที่ใช้ทำพิธีบัพติศมาสำหรับเด็กและผู้ใหญ่ “พิธีบัพติศมา” ก็มีหลายแบบ -- พรมน้ำ รดน้ำ หรือจุ่มลงไปในน้ำทั้งตัว อย่างคำในภาษากรีกว่า βαπτιζω คำนี้แปลว่าดำลงไป แต่อ่างล้างบาปโดยทั่วไปจะเล็กเกินกว่าที่จะใช้วิธีนี้ได้นอกจากกับเด็กทารก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอ่างล้างบาป · ดูเพิ่มเติม »

อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 17

อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 17 เป็นฤดูกาลที่ 17 ของอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ได้จะออกอากาศครั้งแรกในสหรัฐอเมริกา วันที่ 14 กันยายน..

ใหม่!!: ภาษากรีกและอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ (ชื่อ)

อเล็กซานเดอร์ (Alexander) เป็นชื่อต้นของผู้ชาย มีที่มาจากคำในภาษาละติน "Alexander" ซึ่งเป็นการถอดคำมาจากภาษากรีกจากคำว่า "Αλέξανδρος".

ใหม่!!: ภาษากรีกและอเล็กซานเดอร์ (ชื่อ) · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์มหาราช

อเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งมาเกโดนีอา (356-323 ปีก่อนคริสตกาล) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า อเล็กซานเดอร์มหาราช (Alexander the Great, Μέγας Ἀλέξανδρος) เป็นกษัตริย์กรีกจากราชอาณาจักรมาเกโดนีอา ผู้สร้างชื่อเสียงมากที่สุดของราชวงศ์อาร์กีด เป็นผู้สร้างจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ยุคโบราณ เกิดที่เมืองเพลลา ตอนเหนือของมาเกโดนีอา เมื่อปีที่ 356 ก่อนคริสตกาล ได้รับการศึกษาตามแบบกรีกดั้งเดิมภายใต้การกำกับดูแลของอริสโตเติล นักปรัชญากรีกผู้มีชื่อเสียง สืบทอดราชบัลลังก์ต่อจาก พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา เมื่อปีที่ 336 ก่อนคริสตกาลหลังจากที่พระบิดาถูกลอบสังหาร สวรรคตในอีก 13 ปีต่อมาเมื่อพระชนมายุเพียง 32 พรรษา แม้ว่าราชบัลลังก์และจักรวรรดิของอเล็กซานเดอร์จะอยู่เพียงชั่วครู่ยาม แต่ผลกระทบจากการพิชิตดินแดนของพระองค์ส่งผลสืบเนื่องต่อมาเป็นเวลาหลายศตวรรษ อเล็กซานเดอร์ถือเป็นหนึ่งในบุรุษผู้มีชื่อเสียงมากที่สุดในโลกยุคโบราณ มีชื่อเสียงเลื่องลือในความสามารถทางการรบ ยุทธวิธี และการเผยแพร่อารยธรรมกรีกไปในดินแดนตะวันออก พระเจ้าพีลิปโปสทรงนำแว่นแคว้นกรีกโดยมากบนแผ่นดินใหญ่กรีซให้มาอยู่ภายใต้การปกครองของมาเกโดนีอา โดยใช้ทั้งกลวิธีทางการทูตและทางทหาร เมื่อพีลิปโปสสวรรคต อเล็กซานเดอร์จึงได้สืบทอดราชอาณาจักรที่เข้มแข็งและกองทัพที่เปี่ยมประสบการณ์ พระองค์เป็นที่ยอมรับในด้านการรบจากแว่นแคว้นกรีซ และได้เริ่มแผนการขยายอำนาจแผ่อาณาจักรตามที่บิดาเคยริเริ่มไว้ พระองค์ยกทัพรุกรานดินแดนเอเชียไมเนอร์ภายใต้การปกครองของอาณาจักรเปอร์เซีย และกระทำการรณยุทธ์อย่างต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเวลาร่วมสิบปี อเล็กซานเดอร์เอาชนะชาวเปอร์เซียครั้งแล้วครั้งเล่า นำทัพข้ามซีเรีย อียิปต์ เมโสโปเตเมีย เปอร์เซีย และแบคเทรีย ทรงโค่นล้มกษัตริย์พระเจ้าดาไรอัสที่ 3 แห่งเปอร์เซีย และพิชิตจักรวรรดิเปอร์เซียได้ทั้งหมด พระองค์ไล่ตามความปรารถนาที่ต้องการเห็น "จุดสิ้นสุดของโลกและมหาสมุทรใหญ่ที่เบื้องปลาย" จึงยกทัพบุกอินเดีย แต่ต่อมาถูกบีบให้ต้องถอยทัพกลับโดยบรรดาทหารที่กำเริบขึ้นเนื่องจากเบื่อหน่ายการสงคราม การสูญเสียเฮฟีสเทียนทำให้อเล็กซานเดอร์ตรอมใจจนสวรรคตที่เมืองบาบิโลน ในปี 323 ก่อนคริสตกาล ก่อนจะเริ่มแผนการรบต่อเนื่องในการรุกรานคาบสมุทรอาระเบีย ในปีถัดจากการสวรรคตของอเล็กซานเดอร์ เกิดสงครามกลางเมืองทั่วไปจนอาณาจักรของพระองค์แตกเป็นเสี่ยงๆ ทำให้เกิดเป็นรัฐใหญ่น้อยมากมายปกครองโดยบรรดาขุนนางชาวมาเกโดนีอา แม้ความเป็นผู้พิชิตของพระองค์จะโดดเด่นอย่างยิ่ง แต่มรดกของอเล็กซานเดอร์ที่ยืนยงต่อมากลับมิใช่ราชบัลลังก์ กลายเป็นการเผยแพร่วัฒนธรรมที่ติดตามมาจากการพิชิตดินแดนเหล่านั้น การก่อร่างสร้างเมืองอาณานิคมกรีกและวัฒนธรรมกรีกที่เผยแพร่ไปในแดนตะวันออกทำให้เกิดเป็นวัฒนธรรมเฮเลนนิสติก ซึ่งยังคงสืบทอดต่อมาในจักรวรรดิไบแซนไทน์กระทั่งกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 อเล็กซานเดอร์เป็นบุคคลในตำนานในฐานะวีรบุรุษผู้ตามอย่างอคิลลีส มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมปรัมปราทั้งของฝ่ายกรีกและที่ไม่ใช่กรีก เป็นหลักเกณฑ์มาตรฐานซึ่งบรรดานายพลทั้งหลายใช้เปรียบเทียบกับตนเองแม้จนถึงปัจจุบัน โรงเรียนการทหารทั่วโลกยังคงใช้ยุทธวิธีการรบของพระองค์เป็นแบบอย่างในการเรียนการสอน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและอเล็กซานเดอร์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

อเทวนิยม

หมายเปาโลถึงชาวเอเฟซัส (2:12) จากพาไพรัส 46ในศตวรรษที่ 3 ตอนต้น อเทวนิยม (atheism) คือ ทรรศนะที่ไม่เชื่อว่ามีพระเป็นเจ้า และเชื่อในกฎธรรมชาติ ตรงกันข้ามกับเทวนิยมEncyclopædia Britannica 2009 อเทวนิยมแตกต่างจากอไญยนิยม (agnosticism) ซึ่งเป็นมุมมองที่ว่ามนุษย์ไม่อาจพิสูจน์ได้ว่าพระเจ้ามีจริงหรือไม่ รวมถึงปรากฏการณ์ที่ไม่อาจรับรู้ได้ด้วยประสบการณ์ทางผัสสะ คำว่า atheism ในภาษาอังกฤษ มาจากภาษากรีก ἄθεος (atheos) อันมีความหมายว่า "ปราศจากเทพ" ถือเป็นคำหยาบที่ใช้เรียกผู้ปฏิเสธเทพที่สังคมบูชากัน หลังจากที่มีความคิดอย่างอิสระ (freethought) ความสงสัยทางวิทยาศาสตร์ (skeptical inquiry) และการวิจารณ์ศาสนา (criticism of religion) เพิ่มขึ้นแล้ว การใช้คำนี้ก็มีความหมายอย่างแคบลง บุคคลกลุ่มแรกที่เริ่มถือว่าตนเป็นผู้ที่ไม่เชื่อเรื่องพระเทพ โดยเรียกตนเองว่า "ผู้ถืออเทวนิยม" (atheist) นั้น ใช้ชีวิตอยู่ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 เนื่องจากเหตุที่ว่า ความหมายและความเข้าใจของอเทวนิยมนั้น มีความแตกต่างกัน ในปัจจุบันจึงทราบได้ยากว่าในโลกมีผู้ถืออเทวนิยมกี่คน อิงตามการคาดคะเนในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและอเทวนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ฮอโลคอสต์

"การเลือกสรร" ในค่ายกักกันเอาชวิทซ์ พฤษภาคม/มิถุนายน 1944; ผู้ที่ถูกส่งไปอยู่ทางขวา คือ ไปใช้แรงงานทาส ส่วนผู้ที่ถูกส่งไปทางซ้าย คือ ไปห้องรมแก๊ส จากภาพ เป็นชาวยิวฮังการีที่เพิ่งมาถึงค่าย ผู้ถ่าย คือ แอร์นสท์ ฮอฟมันน์หรือเบอร์นาร์ด วอลเตอร์แห่งหน่วยเอสเอส ฮอโลคอสต์, โฮโลคอสต์ (The Holocaust) หรือรู้จักในอีกชื่อว่า haShoah (ภาษาฮีบรู: השואה), Churben (ภาษายิดดิช: חורבן) เป็นพันธุฆาตชาวยิวในยุโรปประมาณ 6 ล้านคนระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง โครงการฆาตกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐโดยเยอรมนี นำโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ทั่วทั้งดินแดนที่เยอรมนียึดครอง จากชาวยิว 9 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในทวีปยุโรปก่อนฮอโลคอสต์ ประมาณสองในสามถูกสังหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กชาวยิวกว่า 1 ล้านคนถูกสังหารในฮอโลคอสต์ เช่นเดียวกับหญิงชาวยิวประมาณ 2 ล้านคน และชายชาวยิว 3 ล้านคน นักวิชาการบางส่วนเสนอว่า นิยามของฮอโลคอสต์ยังควรรวมถึงพันธุฆาตประชากรกลุ่มอื่นอีกหลายล้านคนของนาซี รวมทั้งชาวโรมานี นักคอมมิวนิสต์ เชลยศึกโซเวียต พลเรือนโปแลนด์และโซเวียต พวกรักเพศเดียวกัน ผู้ทุพพลภาพ พยานพระยะโฮวา และคู่แข่งทางการเมืองและศาสนาอื่น ๆ ไม่ว่ากลุ่มชาติพันธุ์เยอรมันหรือไม่ก็ตาม นิยามนี้เป็นนิยามที่สามัญที่สุดนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดจนถึงคริสต์ทศวรรษ 1960 หากใช้นิยามนี้ จำนวนเหยื่อฮอโลคอสต์ทั้งสิ้นอยู่ระหว่าง 11 ถึง 17 ล้านคน เฮนรี ฟีแลนเดอร์นิยามฮอโลคอสต์ว่า "การสังหารหมู่มนุษย์ เพราะพวกเขาเป็นสมาชิกของกลุ่มที่นิยามทางชีวภาพ" หมายความว่า "พวกนาซีใช้นโยบายการกำจัดที่คงเส้นคงวาและครอบคลุมเฉพาะกับมนุษย์สามกลุ่ม ผู้พิการ ชาวยิวและพวกยิปซี" การเบียดเบียนและพันธุฆาตมีการดำเนินแบ่งเป็นขั้น มีกฎหมายหลายฉบับที่ดึงชาวยิวออกจากประชาสังคม ที่เห็นชัดที่สุดคือ กฎหมายเนือร์นแบร์ก ซึ่งใช้บังคับในเยอรมนีหลายปีก่อนสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้น มีการสร้างค่ายกักกันซึ่งผู้ถูกกักกันถูกบังคับให้ใช้แรงงานทาสกระทั่งเสียชีวิตด้วยการหมดแรงหรือโรค ที่ใดที่เยอรมนียึดครองดินแดนใหม่ในยุโรปตะวันออก หน่วยเฉพาะที่เรียกว่า ไอน์ซัทซกรุพเพน จะฆาตกรรมยิวและคู่แข่งทางการเมืองในการยิงหมู่ ผู้ยึดครองกำหนดให้ชาวยิวและโรมานีถูกจำกัดอยู่ในเกตโตที่แออัดยัดเยียดก่อนถูกขนส่งโดยรถสินค้าไปยังค่ายมรณะ ที่ซึ่ง หากพวกเขารอดชีวิตจากการเดินทาง จะถูกสังหารไปโดยมากในห้องรมแก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและฮอโลคอสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิวริสติกในการประเมินและการตัดสินใจ

ในสาขาจิตวิทยา ฮิวริสติก (heuristic พหูพจน์ "ฮิวริสติกส์") เป็นกฎที่ง่าย ๆ และมีประสิทธิภาพ ที่เรามักจะใช้ในการประเมิน และการตัดสินใจ เป็นวิธีลัดทางความคิดโดยเพ่งความสนใจไปยังส่วนหนึ่งของปัญหาที่ซับซ้อนแล้วไม่ใส่ใจในส่วนอื่น กฎเหล่านี้ทำงานได้ดีในสถานการณ์โดยมาก แต่สามารถนำไปสู่ความผิดพลาดอย่างเป็นระบบ ซึ่งอาจเป็นความผิดพลาดโดยตรรกะ โดยความเป็นไปได้ หรือโดยความสมเหตุสมผล ความผิดพลาดเหล่านี้เป็นความเอนเอียงทางประชาน (cognitive bias) ซึ่งมีการค้นพบแล้วมากมายหลายแบบ เป็นความผิดพลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่นการประเมินราคาบ้านหรือการพิพากษาตัดสินคดี ฮิวริสติกปกติมักจะเป็นการตัดสินใจที่เป็นอัตโนมัติ เป็นการรู้เอง (intuitive) ที่ไม่ต้องอาศัยการคิด แต่อาจมีการใช้เป็นกลยุทธ์ทางความคิดอย่างจงใจได้ เมื่อต้องทำการตัดสินใจโดยมีข้อมูลที่จำกัด นักประชานศาสตร์ชาวอเมริกันเฮอร์เบิร์ต ไซมอนดั้งเดิมเป็นผู้เสนอว่า การตัดสินใจของมนุษย์ต้องอาศัยฮิวริสติก โดยใช้แนวความคิดจากวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 นักจิตวิทยาแดเนียล คาฮ์นะมัน และอะมอส ทเวอร์สกี้ แสดงฮิวริสติก 3 ประเภทที่เป็นฐานของการตัดสินใจโดยรู้เองที่ใช้อย่างกว้างขวาง งานวิจัยเหล่านี้ จุดชนวนโปรแกรมงานวิจัยเกี่ยวกับ ฮิวริสติกและความเอนเอียง (Heuristics and Biases) ซึ่งศึกษาการตัดสินใจในชีวิตจริงของมนุษย์ และศึกษาสถานการณ์ที่การตัดสินใจเหล่านี้ใช้ไม่ได้ คือไม่สมเหตุผล งานวิจัยในแนวนี้ได้คัดค้านไอเดียว่า มนุษย์เป็นสัตว์ที่กระทำตามเหตุผล และได้ให้ทฤษฎีเกี่ยวกับการประมวลสารสนเทศ (information processing) ที่สามารถอธิบายวิธีการที่มนุษย์ใช้ในการประเมินผลหรือการตัดสินใจ เป็นแนวงานวิจัยที่เริ่มมีความสนใจในระดับสากลในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและฮิวริสติกในการประเมินและการตัดสินใจ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิปนอส

รูปปั้นศีรษะฮิปนอส ฮิปนอส ในเซนต์เซย่า ฮิปนอส (Hypnos, กรีก: Ὕπνος แปลว่า "หลับ") เทพแห่งการหลับ ในตำนานเทพเจ้าของกรีก มีชื่อที่ชาวโรมันเรียกว่า ซัมนัส (Somnus) เป็นบุตรชายของนิกซ์ (Nyx) เทพีแห่งราตรี และ อีราบัส (Erabus) เทพแห่งความมืด เป็นพี่ชายฝาแฝดของทานาทอส (Thanatos) เทพแห่งความตาย โดยทั้งคู่อาศัยอยู่ยังขุมนรก เป็นเทพผู้ช่วยของฮาเดส (Hades) จ้าวแห่งนรก รูปลักษณ์ของทั้งฮิปนอสและทานาทอส มักเป็นรูปชายหนุ่มเปลือยกาย หน้าตาเหมือนกัน มีปีกสยายติดกับศีรษะข้างใดข้างหนึ่ง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและฮิปนอส · ดูเพิ่มเติม »

ฮิปโปแคมปัส

ปโปแคมปัส (hippocampus) เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของสมองของมนุษย์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่นๆ ฮิปโปแคมปัสเป็นส่วนหนึ่งของระบบลิมบิก (limbic system) ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการสร้างความทรงจำระยะยาวและการกำหนดทิศทางในที่ว่าง โครงสร้างนี้มีลักษณะเป็นคู่อยู่ด้านข้างซ้ายและขวาของสมองเหมือนกับซีรีบรัล คอร์เท็กซ์ ในมนุษย์และไพรเมตชนิดอื่นๆ ฮิปโปแคมปัสวางตัวในสมองกลีบขมับส่วนใกล้กลาง (medial temporal lobe) ของสมองภายใต้พื้นผิวเปลือกคอร์เท็กซ์ รูปร่างของฮิปโปแคมปัสมีลักษณะโค้งจนนักกายวิภาคศาสตร์ในยุคแรกเปรียบเทียบว่าเหมือนกับเขาของแกะ (Cornu Ammonis) หรือเหมือนม้าน้ำ ดังจะเห็นจากชื่อ ฮิปโปแคมปัส มาจากภาษากรีกของคำว่าม้าน้ำ (กรีก: ιππος, hippos.

ใหม่!!: ภาษากรีกและฮิปโปแคมปัส · ดูเพิ่มเติม »

ฮิปโปแคมปัส (เทพปกรณัมกรีก)

ปโปแคมปัส ฮิปโปแคมปัส (Hippocampus, Hippocampi; กรีก: ἵπποκαμπος) เป็นสัตว์ตามจินตนาการในเทพปกรณัมกรีก เป็นม้าทะเลที่มีท่อนบนเป็นม้า ท่อนล่างเป็นปลา มีเกล็ดและหางขดโค้งเหมือนหางเงือก ฮิปโปแคมปัสเป็นสัตว์เลี้ยงตัวโปรดของโพไซดอน เทพเจ้าแห่งมหาสมุทร ฮิปโปแคมปัสมีนิสัยกล้าหาญและจะเชื่องกับเจ้าของมาก นอกจากนี้ฮิปโปแคมปัสยังเป็นเทียมรถศึกของโพไซดอนอีกด้วย คำว่า "ฮิปโปแคมปัส" มาจากภาษากรีกคำว่า ἵππος (hippo) ที่แปลว่า "ม้า" และ κάμπος (campus) ที่แปลว่า "สัตว์ประหลาด" บ่อยครั้งในอังกฤษก็เรียกว่า "ม้าน้ำ" (Sea - horse) บางครั้งก็เรียกว่า "ไฮดริปปัส" มาจากภาษากรีกคือ Hydro ที่แปลว่า "น้ำ" ในทางวิทยาศาสตร์คำว่าฮิปโปแคมปัสหมายถึงส่วนหนึ่งของสมอง เนื่องจากสมองส่วนนั้นมีลักษณขดโค้งคล้ายหางของฮิปโปแคมปัส และยังใช้เป็นชื่อวิทยาศาสตร์ของปลาจำพวกม้าน้ำ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและฮิปโปแคมปัส (เทพปกรณัมกรีก) · ดูเพิ่มเติม »

ฮิปโปโปเตมัส

ปโปโปเตมัส หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า ฮิปโป (Hippopotamus; Hippo) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกินพืชชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กีบคู่ จัดอยู่ในวงศ์ฮิปโปโปเตมัส (Hippopotamidae) โดยเป็นสัตว์เพียง 1 ใน 2 ชนิดของวงศ์นี้ที่ยังสืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน (อีกชนิดนั้นคือ ฮิปโปโปเตมัสแคระ (Choeropsis liberiensis) ที่พบในป่าดิบชื้นของแอฟริกาตะวันตก) ชื่อ "ฮิปโปโปเตมัส" มาจากภาษากรีกคำว่า ἵππος (hippos) หมายถึง "ม้า" และ ποταμός (potamos) หมายถึง "แม่น้ำ" รวมแล้วหมายถึง "ม้าแม่น้ำ" หรือ "ม้าน้ำ" (ἱπποπόταμος) เนื่องจากมีส่วนหัวคล้ายม้ามาก โดยเฉพาะยามเมื่ออยู่ในน้ำ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและฮิปโปโปเตมัส · ดูเพิ่มเติม »

ฮีเลียม

ีเลียม (Helium) เป็นธาตุเคมีที่มีสัญลักษณ์ว่า He และมีเลขอะตอมเท่ากับ 2 ฮีเลียมเป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไม่เป็นพิษ เฉื่อย มีอะตอมเดี่ยวซึ่งถูกจัดให้อยู่ในหมู่แก๊สมีตระกูลบนตารางธาตุ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของฮีเลียม มีค่าต่ำสุดกว่าบรรดาธาตุทั้งหมดในตารางธาตุ และมันจะปรากฏในอยู่รูปของแก๊สเท่านั้น ยกเว้นในสภาวะที่เย็นยิ่งยว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและฮีเลียม · ดูเพิ่มเติม »

ฌีมโนเปดี

ีมโนเปดี (Gymnopédies) เป็นผลงานประพันธ์สำหรับเปียโนจำนวน 3 ชิ้นที่แต่งโดยเอริก ซาตี คีตกวีชาวฝรั่งเศส เผยแพร่ครั้งแรกในปารีสเมื่อปี ค.ศ. 1888 ผลงานทั้งสามชิ้นเขียนขึ้นในจังหวะ 3/4 โดยมีธีมและโครงสร้างดนตรีร่วมกัน คือเน้นบรรยากาศและสภาพสิ่งแวดล้อม เป็นต้นแบบของดนตรีแอมเบียนต์ในปัจจุบัน ชื่อ "ฌีมโนเปดี" มีที่มาจากศัพท์ภาษากรีก γυμνοπαιδία ("gumnopaidia") มาจากคำว่า γυμνός (gymnos - "naked") และ παίς (pais - "child") หรือ παίζω (paizo - "play") เป็นชื่อเทศกาลเต้นรำเปลือยกายของนักรบสปาร์ตา เมื่อราวศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสตกาล ในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและฌีมโนเปดี · ดูเพิ่มเติม »

จอกศักดิ์สิทธิ์

''How at the Castle of Corbin a Maiden Bare in the Sangreal and Foretold the Achievements of Galahad'': ภาพวาดโดย Arthur Rackham ค.ศ. 1917 จอกศักดิ์สิทธิ์ (Holy Grail) เป็นภาชนะซึ่งเป็นแกนเรื่องสำคัญในวรรณกรรมอาเธอร์ ตำนานหลายเรื่องพรรณนาว่า เป็นถ้วย ชาม หรือศิลา ซึ่งมีอำนาจเหนือธรรมชาติบันดาลให้เกิดความสุข ความเยาว์วัยชั่วนิรันดร์ หรือชีวิตอมตะ คำว่า "จอกศักดิ์สิทธิ์" ยังมักใช้เรียกสิ่งของหรือเป้าหมายที่ไขว่คว้าหากันเพราะเชื่อว่า มีความสำคัญยิ่งยวด การกล่าวถึง "จอก" วิเศษ แม้ไม่ปรากฏชัดว่า ศักดิ์สิทธิ์ด้วยหรือไม่นั้น ปรากฏครั้งแรกในนิยายวีรคติเรื่อง แปร์เซอวัลเลอกงต์ดูกราล (Perceval, le Conte du Graal; "แปร์เซอวาลตำนานจอก") ผลงานซึ่งเขียนไม่เสร็จของเครเตียง เดอ ทรัว (Chrétien de Troyes) ในราว..

ใหม่!!: ภาษากรีกและจอกศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จะงอยบ่า

ราคอยด์ โพรเซส (Coracoid process) หรือ จะงอยบ่า เป็นโครงสร้างคล้ายตะขอยื่นออกมาจากกระดูกสะบักชี้ไปทางด้านหน้า คำว่า โคราคอยด์ มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก แปลว่า ลักษณะคล้ายจะงอยปากนกกาเรเวน (Korax แปลว่า นกการาเวน).

ใหม่!!: ภาษากรีกและจะงอยบ่า · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมิคาเอลที่ 8 พาลาโอโลกอส

ักรพรรดิมิคาเอลที่ 8 พาลาโอโลกอส (Michael VIII Palaiologos, กรีก: Μιχαήλ Η΄ Παλαιολόγος, Mikhaēl VIII Palaiologos) (ค.ศ. 1223 – 11 ธันวาคม ค.ศ. 1282) มิคาเอลที่ 8 ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไนเซียร่วมกับจักรพรรดิจอห์นที่ 4 ลาสคาริสระหว่างปี ค.ศ. 1259 จนถึงปี ค.ศ. 1261 และทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ระหว่างปี ค.ศ. 1261 จนถึงวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1282 และทรงเป็นจักรพรรดิร่วมกับพระราชโอรสจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 2 พาลาโอโลกอสตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษากรีกและจักรพรรดิมิคาเอลที่ 8 พาลาโอโลกอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 2 พาลาโอโลกอส

| name.

ใหม่!!: ภาษากรีกและจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 2 พาลาโอโลกอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิดิออเกลติอานุส

ออเกลติอานุส (Gaius Aurelius Valerius Diocletianus; ภาษาอังกฤษ: Diocletian; ภาษากรีก: Διοκλής) (ราว 22 ธันวาคม ค.ศ. 244 - เสียชีวิต 3 ธันวาคม ค.ศ. 311) เมื่อแรกเกิดชื่อ “ไดโอคลีส” และรู้จักกันว่า “ดิออเกลติอานุส”เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมัน 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 284 ถึงวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 286 ด้วยพระองค์เอง และระหว่างวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 286 ถึงวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 305 ในฐานะออกัสตัสแห่งตะวันออก และร่วมกับแม็กซิเมียนในฐานะออกัสตัสแห่งตะวันตก ดิออเกลติอานุสเป็นจักรพรรดิที่เป็นผู้ยุติเหตุการณ์ที่นักประวัติศาสตร์เรียกว่า วิกฤติการณ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 3 ที่เกิดขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและจักรพรรดิดิออเกลติอานุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีไอรีนแห่งเอเธนส์

อรีนแห่งเอเธนส์ จักรพรรดินีแห่งไบแซนไทน์ หรือ ไอรีน เดอะเอเธนส์เนียน (กรีก:Εἰρήνη ἡ Ἀθηναία; ราวค.ศ. 712 - 9 สิงหาคม ค.ศ. 803) พระนามเดิมคือ ไอรีน ซารันตาเปชาอีนา (กรีก:Εἰρήνη Σαρανταπήχαινα) ทรงเป็นจักรพรรดินี พระประมุขแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษากรีกและจักรพรรดินีไอรีนแห่งเอเธนส์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย

มเด็จพระจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: เอลิซาเบธ อมาลี่ ยูจีนี่; Elisabeth Amalie Eugenie von Habsburg-Lorraine, ราชสกุลเดิม: Wittelsbach) ทรงเป็นดัชเชสแห่งบาวาเรีย และทรงเป็นจักรพรรดินีมเหสีแห่งออสเตรีย และสมเด็จพระราชินีแห่งฮังการี ตั้งแต่ทรงอภิเษกสมรสกีบสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ โจเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย เมื่อพระองค์ยังทรงพระเยาว์ พระองค์มีพระนามเล่นว่า ซีซี่ โดยพระราชวงศ์ ครอบครัวและพระสหายทรงเรียกพระองค์ตั้งแต่ทรงพระเยาว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรราศี

รื่องหมายจักรราศีของโหราศาสตร์สากลราวคริสต์ศตวรรษที่ 16 แกะจากแม่พิมพ์ไม้ ภาพสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 ในจอร์เจียเป็นรูปจักรราศีที่มีพระเยซูอยู่ตรงกลาง เครื่องหมายจักรราศีที่ใช้ในโหราศาสตร์สากลในปัจจุบัน จักรราศี (zodiac มาจากภาษากรีก ζῳδιακός หมายถึง "สัตว์") เป็นแถบสมมติบนท้องฟ้าที่มีขอบเขตประมาณ 8 องศา ค่อนไปทางเหนือและใต้ของแนวเส้นทางที่ดวงอาทิตย์ปรากฏเคลื่อนผ่าน (สุริยวิถี) ซึ่งครอบคลุมแนวเส้นทางปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ในระบบสุริยจักรวาลอีก 7 ดวง คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ส่วนดาวพลูโตนั้น ความเอียงของวงโคจรมีค่ามาก ดาวพลูโตจึงมีเส้นทางปรากฏห่างจากสุริยวิถี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและจักรราศี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิละติน

ักรวรรดิละติน หรือ จักรวรรดิละตินแห่งคอนสแตนติโนเปิล (Latin Empire หรือ Latin Empire of Constantinople, Imperium Romaniae (จักรวรรดิโรมาเนีย)) เป็นชื่อที่ใช้โดยนักประวัติศาสตร์ที่หมายถึงนครรัฐครูเสดที่ก่อตั้งโดยผู้นำต่างๆ ของสงครามครูเสดครั้งที่ 4 จากบริเวณที่ยึดได้จากจักรวรรดิไบแซนไทน์ จักรวรรดิละตินก่อตั้งขึ้นหลังการยึดเมืองคอนสแตนติโนเปิลใน..

ใหม่!!: ภาษากรีกและจักรวรรดิละติน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิไบแซนไทน์

ักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine Empire) หรือ จักรวรรดิไบแซนทิอุม (Βασιλεία των Ρωμαίων) เป็นจักรววรรดิที่สืบทอดโดยตรงจากจักรวรรดิโรมันในปลายสมัยโบราณ และยุคกลาง มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ในบริบทสมัยโบราณตอนปลาย จักรวรรดิยังถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จักรวรรดิโรมันตะวันออก ขณะที่ยังมีจักรวรรดิโรมันตะวันตกอยู่ ทั้งคำว่า "จักรวรรดิไบแซนไทน์" และ "จักรวรรดิโรมันตะวันออก" เป็นคำทางภูมิประวัติศาสตร์ที่สร้างขึ้นและใช้กันในหลายศตวรรษต่อมา ขณะที่พลเมืองยังเรียกจักรวรรดิของตนว่า "จักรวรรดิโรมัน" หรือ "โรมาเนีย" เรื่อยมากระทั่งล่มสลายไป ขณะที่จักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ส่วนตะวันออกยังดำเนินต่อมาอีกพันปีก่อนจะเสียแก่เติร์กออตโตมันใน..

ใหม่!!: ภาษากรีกและจักรวรรดิไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิไนเซีย

ักรวรรดิไนเซีย หรือ จักรวรรดิโรมันแห่งไนเซีย (Empire of Nicaea หรือ Roman Empire of Nicaea, Βασίλειον τῆς Νίκαιας) เป็นอาณาจักรที่ใหญ่ที่สุดในบรรดารัฐไบแซนไทน์กรีกที่ก่อตั้งโดยชนชั้นเจ้านายผู้ปกครองจักรวรรดิไบแซนไทน์ที่หนีมาหลังจากที่เสียคอนสแตนติโนเปิลไปในสงครามครูเสดครั้งที่ 4 จักรวรรดิไนเซียก่อตั้งโดยราชวงศ์ลาคาริสรุ่งเรืองระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและจักรวรรดิไนเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จันทน์

''Pterocarpus santalinus'' จันทน์ (Sandalwood) เป็นชื่อของไม้หอมหลายชนิด ชื่อมาจากภาษาสันสกฤต “candanam” ที่มาจากภาษากรีก “sandanon” ชื่อในภาษาต่าง ๆ ก็ได้แก่: ถ้ากล่าวถึงตามความหมายที่แท้จริงแล้วก็จะเป็นไม้ต้นที่มาจากสกุล Santalum ของวงศ์ย่านตีเมียที่ใช้เพราะเป็นไม้ที่มีน้ำมันหอม (essential oil) ไม้ชนิดนี้มีสีเหลือง หนัก และมีลายละเอียด (fine-grained) จันทน์เป็นไม้เห็นคุณค่าของกลิ่นหอมและคุณสมบัติว่าเป็นยามาเป็นเวลาหลายพันปี บางครั้งไม้ชนิดอื่นที่มีน้ำมันหอมแต่คนละตระกูลก็เรียกว่า “จันทน์” ด้วย จันทน์เป็นไม้ที่มีต้นกำเนิดจากอเมริกากลางและอเมริกาใต้และแคริบเบียน น้ำมันที่ได้จากจันทน์กลั่นที่ประเทศเฮต.

ใหม่!!: ภาษากรีกและจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุลพยาธิวิทยา

ลพยาธิวิท.

ใหม่!!: ภาษากรีกและจุลพยาธิวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

จีเมล

ีเมล (Gmail) เป็นบริการอีเมลฟรีของกูเกิลผ่านทางระบบเว็บเมล POP และ IMAP โดยในขณะที่โปรแกรมยังอยู่ในระยะพัฒนา (บีตา) จีเมลเปิดให้ผู้ที่ได้รับคำเชิญทดลองใช้เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2547 และให้บริการแก่บุคคลทั่วไปเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 หลังจากนั้นจึงออกจากระยะพัฒนาพร้อมกับบริการอื่น ๆ ของกูเกิล แอปส์เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ปัจจุบันจีเมลรับรองการใช้งาน 54 ภาษารวมถึงภาษาไทย จีเมลเป็นผู้บุกเบิกการใช้ AJAX ที่ใช้งานจาวาสคริปต์และการใช้งานผ่านทางคีย์บอร์ด ทำให้สะดวกต่อการใช้งาน ปัจจุบัน จีเมลเป็นบริการอีเมล์บนเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้มากที่สุดในโลก กล่าวคือมากกว่า 425 ล้านคน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและจีเมล · ดูเพิ่มเติม »

ธาร์ซิส

ร์ซิส (Tharsis) เป็นชื่อเรียกของที่ราบสูงขนาดใหญ่ใกล้เส้นศูนย์สูตรในซีกดาวเคราะห์ฝั่งทิศตะวันตกของดาวอังคาร เป็นที่ตั้งของภูเขาไฟขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยจักรวาลของเรานามว่า โอลิมปัส และยังมีภูเขาไฟรูปโล่ อีก 3 ลูกทอดเรียงตัวกัน คือ อาร์เซีย, แอสคาเออุส และ พาโวนิส ชื่อธาร์ซิสมาจากการถอดเสียงแบบกรีก–ละติน จากคำว่าทาร์ชิชซึ่งปรากฎในคัมภีร์ฮีบรู.

ใหม่!!: ภาษากรีกและธาร์ซิส · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติกรีซ

งชาติกรีซ (Σημαία της Ελλάδος, โดยทั่วไปนิยมเรียกว่า Γαλανόλευκη หรือ Κυανόλευκη แปลว่า "ธงน้ำเงิน-ขาว") เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นธงเป็นแถบริ้วสีน้ำเงินสลับขาวรวมทั้งหมด 9 แถบ ที่มุมธงบนด้านคันธงเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสีน้ำเงิน กว้างยาวเป็น 5 ใน 9 ส่วนของความกว้างธง ภายในมีรูปกางเขนสีขาวมีปลายจดขอบสีน้ำเงิน กางเขนดังกล่าวนี้หมายถึงศาสนาคริสต์นิกายกรีกออร์โธดอกซ์ซึ่งเป็นศาสนาประจำชาติ ส่วนแถบสีน้ำเงินสลับขาว 9 แถบนั้น โดยทั่วไปชาวกรีกหมายถึงพยางค์ 9 พยางค์ในประโยคภาษากรีกที่ว่า "Ελευθερία ή Θάνατος" (อ่านว่า "เอ-เลฟ-เท-ริ-อา-อิ-ทา-นา-ทอส" ("E-lef-the-ri-a i Tha-na-tos") แปลว่า เสรีภาพหรือความตาย) โดยแถบสีน้ำเงิน 5 แถบหมายถึง 5 พยางค์แรก ส่วนแถบสีขาว 4 แถบ หมายถึง 4 พยางค์สุดท้ายของประโยคดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ยังมีอีกทฤษฎีหนึ่งกล่าวว่า แถบทั้ง 9 แถบนี้หมายถึงเทพธิดามิวเซส (Muses) ผู้เป็นเทพแห่งศิลปวิทยาการต่างๆ ทั้ง 9 องค์ ในตำนานกรีกโบราณ สำหรับสัดส่วนธงอย่างเป็นทางการนั้นกว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน อนึ่ง สีน้ำเงินและสีขาวที่ใช้ในธงนี้มีการตีความความหมายต่างๆ อยู่มาก บ้างก็ว่าหมายถึงสีของท้องฟ้าและน้ำทะเลในประเทศนี้ บ้างก็ว่าเป็นสีของเครื่องแต่งกายชาวกรีกตามธรรมเนียมโบราณ ทั้งนี้ ระดับของสีน้ำเงินในธงชาตินี้มีการเปลี่ยนแปลงมาแล้วหลายครั้ง โดยแบบสีที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเริ่มใช้มาตั้งแต่ช่วงปลายคริสต์ทศวรรษที่ 1960 รูปแบบธงดังที่ปรากฏในปัจจุบันนี้ เป็นแบบธงที่ได้รับการรับรองจากที่ประชุมรัฐสภาแห่งชาติของกรีซครั้งแรก ณ เมืองเอปิเดารุส (The First National Assembly at Epidaurus) เมื่อวันที่ 13 มกราคม ค.ศ. 1822.

ใหม่!!: ภาษากรีกและธงชาติกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

ธงสองมือ

งสองมือ (จากภาษากรีก σῆμα, เซม่า, หมายถึงป้าย และ φέρω, เฟโล่, หมายถึงคนถือ; รวมกันเป็น คนถือป้าย) คือระบบการรับส่งโทรเลขชนิดหนึ่ง โดยการใช้สัญญาณธงที่มีด้ามไว้ถือ, แผ่นกลมเรืองแสง, ไม้พาย หรือการสวมถุงมือโบกไปมาในกรณีทีไม่มีธงแทนสัญลักษณ์ธงสองมือ ข้อมูลในการสื่อโดยธงสองมือจะขึ้นอยู่กับท่าทางของบุคคลที่สื่อสาร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและธงสองมือ · ดูเพิ่มเติม »

ทรงหลายหน้า

ทรงหลายหน้า (polyhedron, พหูพจน์: polyhedra) หมายถึง วัตถุทางเรขาคณิตที่ประกอบด้วยหน้าเรียบและขอบตรง ทรงหลายหน้าเป็นที่น่าหลงใหลของมนุษยชาติมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งได้ศึกษาอย่างเป็นกิจลักษณะโดยชาวกรีกโบราณ ต่อเนื่องมาจนถึงนักเรียน นักคณิตศาสตร์ และศิลปินทุกวันนี้ คำว่า polyhedron มาจากภาษากรีก πολυεδρον โดยที่ poly- มาจาก πολυς แปลว่า "มากมาย" และ -edron มาจาก εδρον แปลว่า "ฐาน, ที่นั่ง, หน้า".

ใหม่!!: ภาษากรีกและทรงหลายหน้า · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล

ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล (cosmogony; cosmogeny) หมายถึงทฤษฎีใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับที่มาของของตัวตนหรือต้นกำเนิดของจักรวาล หรือต้นตอของความเชื่อเกี่ยวกับความเป็นจริงในกำเนิดของจักรวาล คือ cosmogony มาจากภาษากรีก κοσμογονία หรือ κοσμογενία ที่กลายมาจาก κόσμος ที่แปลว่า cosmos ในบริบทเฉพาะทางวิทยาศาสตร์อวกาศและดาราศาสตร์ ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาลหมายถึงทฤษฎีว่าด้วยกำเนิดของระบบสุริยะและการศึกษาเกี่ยวกับระบบสุริยะ เช่น ทฤษฎีเนบิวลาสุริยะ เป็นต้น ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาลสามารถแยกแตกต่างออกจากวิชาจักรวาลวิทยา (Cosmology) ซึ่งเป็นการศึกษาเกี่ยวกับจักรวาลโดยรวมและเกี่ยวกับเรื่องราวตัวตนที่เป็นมาโดยตลอดของจักรวาลซึ่งโดยทางเทคนิคจะไม่แตะโดยตรงกับต้นตอแท้ ๆ ของจักรวาล อย่างไรก็ดี ก็ยังมีความคลุมเครือระหว่างระหว่างคำทั้งสองนี้อยู่บ้าง เช่น วิชาจักรวาลวิทยา ถกเถียงไปทางด้าน เทววิทยา ที่เกี่ยวข้องกับการมีตัวตนของพระเจ้ามากกว่าความคิดเกี่ยวกับจักรวาล ในเชิงปฏิบัติก็ยังคงมีความแตกต่างในความคิดทางวิทยาศาสตร์ระหว่าง "ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล" และ "จักรวาลวิทยา" จักรวาลวิทยากายภาพ เป็นวิทยาศาสตร์ที่พยายามอธิบายถึงการสังเกตการณ์ทั้งหมดที่อยู่ในข่ายของวิวัฒนาการและลักษณะของจักรวาลโดยรวม คำถามที่ว่าทำไมจักรวาลจึงมีพฤติกรรมเป็นไปดังพรรณาไว้โดยนักฟิสิกส์และนักจักรวาลวิทยาว่าเป็นวิชานอกวิทยาศาสตร์ (extra-scientific) แม้จะมีการการอนุมานหลาย ๆ ด้าน จากมุมมองที่รวมถึงการประมาณค่านอกช่วงในทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ที่จะไม่ทดสอบความคิดเชิงระบอบ เชิงปรัชญาหรือทางศาสนา ความพยายามที่จะสร้าง "ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล" เชิงธรรมชาตินิยมขึ้นอยู่กับข้อจำกัดที่แตกต่างกัน 2 ประการ ข้อแรกตั้งอยู่บนพื้นฐานของปรัชญาทางวิทยาศาสตร์และข้อจำกัดทางญาณวิทยาในวิทยาศาสตร์เอง โดยเฉพาะกับข้อห่วงใยที่การสอบสวนเชิงวิทยาศาสตร์จะตั้งคำถามว่า "ทำไม" จักรวาลจึงมีอยู่ได้ อีกข้อหนึ่งที่ค่อนมาทางปัญหาเชิงปฏิบัติคือ การไม่มีรูปจำลองทางกายภาพที่สามารถอธิบาย "ขณะแรกสุด" ของการเกิดจักรวาล ที่เรียกว่าพลังค์ไทม์ (Planck time) ได้เพราะการขาดทฤษฎีที่คงเส้นคงวา ว่าด้วยแรงโน้มถ่วงควอนตัม^~^.

ใหม่!!: ภาษากรีกและทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล · ดูเพิ่มเติม »

ทวิอักษร

ทวิอักษร (digraph, bigraph, digram) หมายถึงกลุ่มอักษรสองตัวที่เขียนขึ้นเพื่อแทนหน่วยเสียงเสียงเดียวที่แปลกออกไป หรือใช้แทนหน่วยเสียงอื่นที่ไม่ใช่ค่าปกติของอักษรสองตัวนั้นมาประกอบกันตามอักขรวิธี เมื่อภาษาใดภาษาหนึ่งไม่สามารถใช้อักษรตัวเดียวเพื่อแทนเสียงนั้นได้ แต่บางครั้งการรวมทวิอักษรก็มิได้ทำให้เสียงพิเศษไปจากเดิม ซึ่งอาจแสดงถึงธรรมเนียมในอดีตว่าคำศัพท์เหล่านั้นเคยออกเสียงแตกต่างกันมาก่อน หรือคงไว้เพื่อรูปศัพท์เดิมที่ยืมมาจากภาษาอื่น ในอักขรวิธีของบางภาษา อย่างเช่น ch ในภาษาเซอร์เบีย (เมื่อเขียนด้วยอักษรละติน) หรือภาษาเช็ก ทวิอักษรจะถูกจัดว่าเป็นอักษรตัวเดียวกัน นั่นหมายความว่าทวิอักษรนั้นจะเป็นอักษรตัวหนึ่งในลำดับอักษรของภาษา และไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ไม่ว่าจะเป็นการเรียงลำดับ การย่อ หรือการแบ่งคำ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและทวิอักษร · ดูเพิ่มเติม »

ทอพอโลยี

การเปลี่ยนรูปถ้วยกาแฟเป็นโดนัท ทอพอโลยี (Topology, มาจากภาษากรีก: topos, สถานที่ และ logos, การเรียน) เป็นสาขาหลักทางคณิตศาสตร์ ที่สนใจเกี่ยวกับ คุณสมบัติทางรูปร่างที่ไม่แปรเปลี่ยนภายใต้การดึง ยืด หด บีบ (โดยไม่มีการฉีก การเจาะ หรือ การเชื่อมติดใหม่) โดยเรียกคุณสมบัติเหล่านี้ว่าความไม่แปรผันทางทอพอโลยี ทอพอโลยีได้รับการศึกษาอย่างจริงจังในช่วงปี ค.ศ. 1925 - ค.ศ. 1975 นอกจากนี้ ทอพอโลยี ยังหมายความถึง วัตถุทางคณิตศาสตร์ประเภทหนึ่ง ซึ่งในความหมายนี้ ทอพอโลยี คือ ปริภูมิคณิตศาสตร์ หรือที่เรียกกันว่า ปริภูมิทอพอโลยี (topological space) โดยปริภูมิทอพอโลยี มีนิยามเป็น คอลเล็กชันของเซตเปิด ที่มี \varnothing, \varnothing^c เป็นสมาชิก และ มีคุณสมบัติปิดภายใต้การยูเนียนใด ๆ (ยูเนียนจำกัด, ยูเนียนอนันต์นับได้ และ ยูเนียนอนันต์นับไม่ได้) และการอินเตอร์เซกชันแบบจำกั นักทอพอโลยี มักโดนล้อเลียนว่า ไม่สามารถแยกความแตกต่างระหว่าง โดนัท หรือ วัตถุรูปห่วงยาง กับ แก้วกาแฟมีหูได้ (เพราะทั้งสองสิ่งเป็นวัตถุที่มีผิวเรียบ ต่อเนื่อง และมีรู 1 รูเหมือนกัน ซึ่งสมมูลกันในเชิงทอพอโลยี) ทอพอโลยีบางครั้งถูกเรียกว่า "เรขาคณิตแผ่นยาง" เนื่องจากในการศึกษานั้นจะไม่นับความแตกต่างระหว่างรูปร่างไม่ว่าจะเป็นวงกลมและสี่เหลี่ยม (เนื่องจากวงกลมที่ทำจากแผ่นยางสามารถดึงให้กลายเป็นรูปสี่เหลี่ยมได้) แต่จะแยกแยะความแตกต่างระหว่างวงกลมและรูปเลขแปด (เราไม่สามารถดึงรูปเลขแปดให้กลายเป็นวงกลมได้โดยไม่ฉีกมันออก).

ใหม่!!: ภาษากรีกและทอพอโลยี · ดูเพิ่มเติม »

ทอรัส อัลเดบารัน

ทอรัส อัลเดบารัน ตัวละครจากการ์ตูนเรื่องเซนต์เซย่า เป็นโกลด์เซนต์ประจำราศีพฤษภ ผู้ดูแลปราสาทวัวทอง 1 ใน 12 ปราสาทแห่งแซงค์ทัวรี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและทอรัส อัลเดบารัน · ดูเพิ่มเติม »

ทองเหลือง

ที่ทับกระดาษรูปลูกเต๋าทำด้วยทองเหลือง (ซ้าย) และตัวอย่างโลหะสังกะสีกับทองแดง (ขวา) ทองเหลือง (Brass) เป็นโลหะผสมที่มีทองแดงและสังกะสีเป็นส่วนประกอบหลัก ปริมาณของสังกะสีนั้นแปรเปลี่ยนไป ระหว่าง 5 - 45 เปอร์เซนต์ ทำให้ได้ทองเหลืองที่มีคุณสมบัติเฉพาะตัวที่แตกต่างกันไป ทองเหลืองแตกต่างจากสำริดตรงที่ สำริดมีส่วนประกอบของทองแดงและดีบุกเป็นหลัก แต่ทองเหลืองบางชนิดก็ถูกเรียกว่า "สำริด" ก็มี ทองเหลืองยังเคยเป็นโลหะที่เชื่อกันว่าแข็งแกร่งที่สุดในยุคสำริดและความเชื่อนี้ยังตกทอดมาถึงปัจจุบัน กลายเป็นโลหะในตำนานที่ชื่อว่าโอริคัลคุมซึ่งเป็นคำศัพท์ภาษาละตินที่มาจากภาษากรีก ορείχαλκος (ออเgxgcshsvxbhxvรอิฆัลคอส) ซึ่งแปลว่า "ทองเหลือง" ทองเหลืองนั้นมีสีเหลือง จึงมีลักษณะบางส่วนคล้ายทองคำ มีความต้านทานต่อการเกิดสนิมได้ดีพอสมควร จึงนิยมนำมาทำเป็นเครื่องประดับตกแต่งภายในบ้านเรือน มนุษย์รู้จักทองเหลืองมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ นานก่อนที่จะค้นพบธาตุสังกะสีด้วยซ้ำ การผลิตทองเหลืองนั้น อาศัยการหลอมละลายทองแดงกับแร่คาลาไมน์ ซึ่งเป็นสินแร่สังกะสีชนิดหนึ่ง ในกระบวนการนี้ สังกะสีจะถูกดูดออกมาจากคาลาไมน์ และผสมเข้ากับทองแดง สำหรับสังกะสีบริสุทธิ์นั้นไม่สามารถผลิตด้วยเทคนิคงานโลหะสมัยโบราณได้ ในปัจจุบันยังมีเครื่องทองเหลืองให้พบเห็นในหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น ขันทองเหลือง พานทองเหลือง แจกันทองเหลือง กระทะทองเหลือง และ เครื่องใช้ เครื่องตกแต่งทำด้วยทองเหลือง อีกมากมาย ในอุตสาหกรรมผลิตทองเหลืองทั่วๆไป จะแยกมาตรฐานออกไปสองกลุ่ม คือ ประเภทรีดเป็น แท่ง หรือเป็นแผ่น (Wrough copper alloys) กับอีกกลุ่มหนึ่งจะเป็นประเภทหล่อ (Cast copper) ซึ่งทั้งสองกลุ่มจะแยกชั้นคุณภาพ จะหารายละเอียดได้จากคู่มือ ASTM หรือ JIS ในการศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติเชิงกล มักจะกล่าวถึงชื่อทองเหลืองที่รู้จักและใช้งานกันอยู่เป็นประจำซึ่งมีอยู่ไม่มากนัก คือ ทองเหลืองที่ผสมสังกะสีไม่เกิน 5% มีชื่อเรียกทางการค้าว่า Gilding metal ใช้ทำเหรียญ ทองเหลืองที่ผสมสังกะสี 10% เรียก Commercial bronze หรือบรอนซ์ทางการค้า คุณสมบัติใช้ งานคล้ายคลึงกับ Gilding metal ทองแดงผสมสังกะสี 12.5% เรียก Jewerlry bronze หรือทองเหลืองทำเครื่องประดับ ทองแดงผสมสังกะสี 15% เรียก Red Brasses หรือทองเหลืองแดง ทองแดงผสมสังกะสี 30% เรียก Cartridge brass หมายถึงทองเหลืองที่ใช้ทำปลอกกระสุน ปืน ทำท่อที่ต้องอาศัยการอัดขึ้นรูป (Extrusion) ทองแดงผสมสังกะสี 35% เรียก Yellow brass หมายถึงทองเหลืองที่มีสีค่อนข้างเหลืองจัด คุณสมบัติและการใช้งานใกล้เคียงกับ Cartrige brass ทองแดงผสมสังกะสี 40% เรียก Munts Metal คำว่า Muntz เป็นชื่อทางการค้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและทองเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ทอเลมี (ชื่อ)

ทอเลมี หรือ ทอเลเมียส (ภาษาอังกฤษ: Ptolemy หรือ Ptolemaeus) มาจากภาษากรีก Ptolemaios ซึ่งหมายความว่า “เช่นสงคราม” “เหมือนสงคราม” หรือ “เหมือนนักรบ” ชื่อ “ทอเลมี” หรือ “ทอเลเมียส” เป็นชื่อที่นิยมใช้กันมาก ผู้ที่ใช้ชื่อนี้ที่สำคัญที่สุดก็ได้แก่นักดาราศาสตร์ชาวกรีก-อียิปต์ คลอเดียส ทอเลเมอุส ที่รู้จักกันในนาม “ทอเลมี” และ ทอเลมีที่ 1 โซเตอร์นายทหารคนสนิทของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชผู้ก่อตั้งราชอาณาจักรทอเลมีและราชวงศ์ทอเลมีในอียิปต.

ใหม่!!: ภาษากรีกและทอเลมี (ชื่อ) · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

วเทียมของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean Sea) เป็นทะเลระหว่างทวีป คั่นกลางทวีปยุโรปที่อยู่ทางเหนือ ทวีปแอฟริกาที่อยู่ทางใต้ และทวีปเอเชียที่อยู่ทางตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร คำในภาษาอังกฤษ Mediterranean มาจากภาษาละติน mediterraneus หมายถึง 'ภายในแผ่นดิน' (medius 'กลาง' terra 'แผ่นดิน, โลก') ในภาษากรีกใช้ว่า "mesogeios".

ใหม่!!: ภาษากรีกและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน · ดูเพิ่มเติม »

ทัดดอกไม้

ทัดดอกไม้ (Pterion) เป็นบริเวณของกะโหลกศีรษะที่บอบบางที่สุด อยู่ขอบหลังของข้อต่อสฟีโนพาไรทัลซูเจอร์ (sphenoparietal suture) ในระยะทารกบริเวณนี้จะเป็นแผ่นเนื้อเยื่อที่กระดูกยังไม่เจริญมาประสานกันเรียกว่า กระหม่อมสฟีนอยด์ หรือ กระหม่อมข้าง (sphenoidal fontanelle) และจะเกิดการสร้างกระดูกจนเป็นข้อต่อเมื่ออายุได้ 6-8 เดือนหลังคลอ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและทัดดอกไม้ · ดูเพิ่มเติม »

ทาลอส

ทาลอสมีปีก ปรากฏบนเหรียญตราบนเกาะครีต อายุ 300-270 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทาลอส (อังกฤษ: Talos, กรีก: Τάλως) เป็นยักษ์ที่สร้างมาจากทองแดงปรากฏในเทพปกรณัมกรีก ทาลอสเกิดจากการสร้างของเฮฟเฟสตุส หนึ่งใน 12 เทพแห่งโอลิมปัส ซึ่งเป็นเทพแห่งการตีเหล็กและไฟ หน้าที่ของทาลอสคือลาดตระเวนและปกป้องยูโรพาบนเกาะครีต ให้พ้นจากโจรสลัดและผู้คุกคามอื่น ๆ ทาลอสปรากฏในมหากาพย์อีเลียด ในเรื่อง เจสัน ซึ่งอาละวาดไล่ฆ่าเจสันและบรรดาลูกเรืออาร์โกที่มาขโมยสมบัติบนเกาะ ซึ่งในวัฒนธรรมสมัยนิยม ทาลอสปรากฏในภาพยนตร์เรื่อง Jason and the Argonauts ในปี ค.ศ. 1963 ด้วยเทคนิคสตอปโมชั่นจากการสร้างสรรค์ของ เรย์ แฮร์รีเฮาเซน และปรากฏในเกม Age of Mythology ด้วยการเป็นผู้ปกป้องเกาะเลมนอส อันเป็นบ้านเกิดของเฮฟเฟสต.

ใหม่!!: ภาษากรีกและทาลอส · ดูเพิ่มเติม »

ทาลัสซีเมียแบบบีตา

ทาลัสซีเมียแบบบีตา (Beta thalassemias, β thalassemias) เป็นกลุ่มโรคเลือดที่สืบทอดทางพันธุกรรม เป็นรูปแบบของทาลัสซีเมียที่มีเหตุจากการสังเคราะห์ห่วงลูกโซ่บีตาของเฮโมโกลบิน (HBB) ที่ผิดปกติ คือลดลงหรือไม่มีเลย ซึ่งอาจมีผลต่าง ๆ เริ่มต้นจากภาวะเลือดจางอย่างรุนแรง จนถึงบุคคลที่ไม่มีอาการเลย ความชุกของโรคทั่วโลกต่อปีอยู่ที่ 1 ใน 100,000 เป็นโรคที่มีเหตุจากการกลายพันธุ์ของยีน HBB บนโครโมโซมคู่ที่ 11 โดยสืบทางกรรมพันธุ์แบบผ่านลักษณะด้อยของออโตโซม (autosomal recessive) ความรุนแรงของโรคขึ้นอยู่กับลักษณะการกลายพันธุ์ แต่โดยทั่วไปแล้วความไม่สมดุลของห่วงลูกโซ่แอลฟาและบีตาจะทำให้เกิดการสลายของเม็ดเลือดแดง (hemolysis) และการสร้างเม็ดเลือดแดงที่ไม่มีประสิทธิภาพ คนที่มีกรรมพันธุ์แบบลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) จะไม่มีอาการ ไม่ต้องรักษา และจะมีการคาดหมายคงชีพที่อายุปกติ ผู้ที่มีโรคเต็มตัว (major) จะมีภาวะเลือดจางแบบเม็ดเลือดแดงสลาย ไม่โต และมีความผิดปกติทางกระดูกในวัยทารก เด็กที่มีโรคเต็มตัวจะต้องถ่ายเลือดตลอดชีวิต ผู้ที่มีโรคเต็มตัวมักจะเสียชีวิตเกี่ยวกับปัญหาทางหัวใจเนื่องจากภาวะเหล็กเกินโดยอายุ 30 ปี ผู้ที่มีโรคระดับปานกลาง (intermedia) มีอาการรุนแรงน้อยกว่าแต่อาจจะต้องถ่ายเลือดเป็นครั้งคราว บุคคลที่มีโรคควรจะปรึกษาแพทย์ก่อนมีบุตร/ก่อนแต่งงาน ความขัดข้องในการถอดรหัสยีน HBB มีผลเป็นการสังเคราะห์ห่วงลูกโซ่บีตาของโปรตีนโกลบินที่ลดลง ซึ่งมีผลเป็นการผลิตเฮโมโกลบินแบบ A (HbA) ที่ลดลง เมื่อเม็ดเลือดแดงมีโกลบินเอน้อยลง ก็ทำให้เกิดภาวะโลหิตจางแบบเม็ดเลือดแดงเล็ก (microcytic anemia) ดังนั้น ภาวะโลหิตจางแบบเม็ดเลือดแดงเล็กจะเป็นผลโดยที่สุดของการขาด HBB เพราะเหตุนี้ คนไข้อาจจำเป็นต้องได้การถ่ายเลือดเพื่อทดแทนการไม่ผลิตห่วงลูกโซ่บีตา แต่การถ่ายเลือดซ้ำ ๆ อาจนำไปสู่ภาวะเหล็กเกิน (iron overload) ซึ่งมีผลเป็นภาวะเหล็กเป็นพิษ (iron toxicity) และภาวะเหล็กเป็นพิษสามารถมีผลหลายอย่าง รวมทั้ง myocardial siderosis (ภาวะสะสมเหล็กในหัวใจ) และหัวใจวายซึ่งอาจทำให้ถึงชีวิต.

ใหม่!!: ภาษากรีกและทาลัสซีเมียแบบบีตา · ดูเพิ่มเติม »

ทิแรโนดอน

ทิแรโนดอน (อังกฤษ: Pteranodon, มาจากภาษากรีก πτερόν pteron "ปีก" และ ἀνόδων anodon ว่า "เขี้ยวกุด") เป็นสกุลหนึ่งของเทอโรซอร์ ซึ่งรวมถึงสัตว์เลื้อยคลานที่บินได้ที่รู้จักกันส่วนใหญ่ ขนาดของปีกยาวมากกว่า 6 เมตร (20 ฟุต).

ใหม่!!: ภาษากรีกและทิแรโนดอน · ดูเพิ่มเติม »

ทูเบอรัส สเคลอโรซิส

ทูเบอรัส สเคลอโรซิส (tuberous sclerosis, tuberous sclerosis complex (TSC)) เป็นโรคทางพันธุกรรมซึ่งพบน้อย ส่งผลต่อระบบร่างกายหลายระบบ ทำให้เกิดเนื้องอกในสมองและอวัยวะสำคัญอื่นๆ เช่น ไต หัวใจ ปอด และผิวหนัง ผู้ป่วยอาจมีอาการชัก ความบกพร่องทางสติปัญญา พัฒนาการล่าช้า มีปัญหาพฤติกรรม ผิวหนังผิดปกติ มีโรคปอด โรคไต เป็นต้น โรคนี้เกิดจากการกลายพันธุ์ของยีนใดยีนหนึ่งระหว่าง TSC1 และ TSC2 ซึ่งถอดรหัสออกมาเป็นโปรตีนฮามาร์ตินและทูเบอรินตามลำดับ โปรตีนเหล่านี้ประกอบกันเป็น tumor growth suppressor ซึ่งช่วยควบคุมการแบ่งตัวและการกำหนดประเภท (differentiation) ของเซลล์ ชื่อภาษาอังกฤษ "tuberous sclerosis" มาจากคำภาษาลาติน tuber (การบวม) และคำภาษากรีก skleros (แข็ง) มาจากพยาธิสภาพของโรคที่มีการตรวจพบบางส่วนของสมองของผู้ป่วยที่เสียชีวิต พบว่ามีบางส่วนแข็งตัวขึ้น เรียกส่วนเหล่านีว่า tuber ซึ่ง tuber เหล่านี้ ถูกบรรยายไว้ครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษากรีกและทูเบอรัส สเคลอโรซิส · ดูเพิ่มเติม »

ขอบฟ้า

อบฟ้า ยานอวกาศเอนดีวูร์ ค.ศ. 2002 ขอบฟ้า (horizon มาจากภาษากรีก orizein แปลว่า จำกัด) หมายถึงเส้นที่แบ่งระหว่างพื้นดิน (พื้นโลกหรือดาวอื่น) กับท้องฟ้า หรือเป็นเส้นที่เป็นจุดตัดระหว่างส่วนที่มองเห็นบนพื้นดินกับอีกด้านหนึ่งซึ่งมองไม่เห็น ในหลายจุดบนโลก ขอบฟ้าที่แท้จริง อาจถูกบดบังโดยต้นไม้ อาคาร ภูเขา ฯลฯ กลายเป็นเพียง ขอบฟ้าที่มองเห็น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและขอบฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ขันที

หลี่เสียน ค.ศ. 706 ขันที คือ ชายที่ถูกตอน บางประเทศทางเอเชียสมัยโบราณใช้สำหรับควบคุมฝ่ายใน ในภาษาจีนเรียกว่า ไท้เจี๋ยน หรือไท้ก๋ำ (ฮกเกี้ยน:太監,ไท้ก่ำ) ในภาษาละตินและอาหรับเรียกว่ายูนุก (Eunuch) โดยมีรากศัพท์มาจากภาษากรีกคำว่า ยูโนคอส (eunouchos) แปลว่าผู้ดูแลรักษาเตียง ส่วนชนชาติมอญเรียกขันทีว่า กมนุย (อ่านว่า ก็อมนอย) แปลว่า ขันทีที่ปราศจากความรู้สึกทาง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและขันที · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีเอเธนส์

อาณาจักรดยุกแห่งเอเธนส์ (Duchy of Athens) เป็นหนึ่งในอาณาจักรครูเสดที่ตั้งอยู่ในกรีซหลังจากการได้รับชัยชนะของจักรวรรดิไบแซนไทน์ระหว่างสงครามครูเสดครั้งที่ 4 ที่ครอบคลุมบริเวณอัตติคา และโบเธียและรุ่งเรืองต่อมาจนมาเสียแก่จักรวรรดิออตโตมันในคริสต์ศตวรรษที่ 15.

ใหม่!!: ภาษากรีกและดัชชีเอเธนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ดังเคิลออสเตียส

ังเคิลออสเตียส (Dunkleosteus) เป็นสกุลของปลาในยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่ปัจจุบันนี้สูญพันธุ์ไปแล้วสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Dunkleosteus (มาจาก "(เดวิด) Dunkle" + osteus (οστεος, ภาษากรีก: กระดูก); หมายถึง "กระดูกของดังเคิล" ซึ่งตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่ เดวิด ดังเคิล ภัณฑารักษ์แห่งพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาคลีฟแลนด์) ดังเคิลออสเตียส เป็นปลาทะเลขนาดใหญ่อาศัยอยู่ในปลายยุคดีโวเนียน (380-360 ล้านปีมาแล้ว) จัดเป็นปลาที่มีขากรรไกรที่เป็นปลานักล่ากินเนื้อขนาดใหญ่ที่เป็นเสมือนคู่แข่งตัวฉกาจของปลาฉลามในยุคต้นของการวิวัฒนาการเลยทีเดียว ดังเคิลออสเตียส ถือเป็นสกุลของปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่อยู่ในอันดับ Arthrodira รูปลักษณ์ภายนอกของปลาสกุลนี้แลดูดุดันน่ากลัวมาก ที่เห็นเด่นชัดสุดคงเป็นแผ่นขากรรไกรแข็งแรง ยืดหยุ่นได้ดี ไม่มีฟันแต่ที่ขอบปากมีลักษณะแหลมคล้ายเขี้ยวทั้งด้านบนและล่าง ทำให้เป็นเหมือนจะงอยปากไว้งับเหยื่อโดยไม่ต้องใช้ฟัน ในขณะที่มีลำตัวตัวยาว 3-9 เมตร และหนักได้ถึง 3.6-4 ตัน และมีโครงสร้างประกอบด้วยเกล็ดอย่างหนาและแข็งเสมือนชุดเกราะ มีทั้งหมด 7 ชนิด และเป็นชนิดที่เพิ่งได้รับการอนุกรมวิธานไปเมื่อปี ค.ศ. 2010 2 ชนิด (ดูในตาราง) ที่ผ่านมานักวิทยาศาสตร์พบฟอสซิลจำนวนมากของดังเคิลออสเตียสในทวีปอเมริกาเหนือ, โปแลนด์, เบลเยียม และโมร็อกโก แต่มักเป็นฟอสซิลส่วนหัว ทำให้ไม่เป็นที่ชัดเจนว่าท่อนล่างของลำตัวเป็นอย่างไร จากโครงสร้างเสมือนเกราะแข็งหนักของดังเคิลออสเตียสทำให้เชื่อว่าเป็นปลาที่ว่ายน้ำได้ไม่คล่องแคล่วว่องไวเหมือนปลาชนิดอื่น และชอบอาศัยอยู่ใกล้ชายฝั่งมากกว่า นักวิทยาศาสตร์ของพิพิธภัณฑ์ฟิล์ด มิวเซียม และมหาวิทยาลัยชิคาโก ศึกษาโครงสร้างขากรรไกรของดังเคิลออสเตียสแล้วมีความเห็นว่าต้องเป็นปลาที่มีพลังในการกัดมหาศาลเหนือกว่าปลาชนิดอื่นใด และเหนือกว่าปลาฉลามทั่วไป และแม้แต่ปลาฉลามขาว โดยมีแรงกดทับสูงถึง 8,000 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ซึ่งความร้ายกาจอันนี้จึงมักจะถูกนำไปเปรียบเทียบกับไดโนเสาร์กินเนื้อเช่น ไทรันโนซอรัส และจระเข้สมัยใหม่เสียมากกว่า นอกจากนี้ยังอ้าปากได้เร็วมากในอัตรา 1 ใน 50 ส่วนของวินาที ซึ่งทำให้มีพลังมหาศาลในการดูดเหยื่อเข้าไป ซึ่งลักษณะพิเศษเช่นนี้นี้ยังพบได้ในปลากระดูกแข็งสมัยใหม่ที่มีพัฒนาการก้าวหน้าโดยส่วนใหญ่ แต่ปลาในอันดับ Arthrodira นี้มีชีวิตอยู่บนโลกสั้นมาก กล่าวคือ อยู่ได้เพียงประมาณ 50 ล้านปีก็สูญพันธุ์ไปอย่างรวดเร็วในช่วงปลายยุคดีโวเนียน โดยปัจจุบันตามพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาต่าง ๆ ยังมีซากฟอสซิลดังเคิลออสเตียสเก็บแสดงอยู่ โดยที่ที่มีชื่อเสียงที่สุด คือ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาคลีฟแลนด์ในสหรัฐอเมริกา และพิพิธภัณฑ์ควีนส์แลนด์ในออสเตรเลี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและดังเคิลออสเตียส · ดูเพิ่มเติม »

ดายน์

น์ (Dyne; สัญลักษณ์ "dyn"; IPA) ในทางฟิสิกส์คือ หน่วยของแรง สำหรับใช้ในระบบการวัดแบบเซนติเมตร-กรัม-วินาที (CGS) ซึ่งเป็นระบบการวัดสำหรับมาตราเมตริก โดยกำหนดให้ 1 ดายน์มีค่าเท่ากับ 10 ไมโครนิวตัน (μN) หรือ 10−5 นิวตัน (.

ใหม่!!: ภาษากรีกและดายน์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาราศาสตร์

ราจักรทางช้างเผือก ดาราศาสตร์ คือวิชาวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาวัตถุท้องฟ้า (อาทิ ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดาวหาง และดาราจักร) รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากนอกชั้นบรรยากาศของโลก โดยศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ลักษณะทางกายภาพ ทางเคมี ทางอุตุนิยมวิทยา และการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้า ตลอดจนถึงการกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพ ดาราศาสตร์เป็นหนึ่งในสาขาของวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด นักดาราศาสตร์ในวัฒนธรรมโบราณสังเกตการณ์ดวงดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน และวัตถุทางดาราศาสตร์หลายอย่างก็ได้ถูกค้นพบเรื่อยมาตามยุคสมัย อย่างไรก็ตาม กล้องโทรทรรศน์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่จำเป็นก่อนที่จะมีการพัฒนามาเป็นวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ตั้งแต่อดีตกาล ดาราศาสตร์ประกอบไปด้วยสาขาที่หลากหลายเช่น การวัดตำแหน่งดาว การเดินเรือดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ การสร้างปฏิทิน และรวมทั้งโหราศาสตร์ แต่ดาราศาสตร์ทุกวันนี้ถูกจัดว่ามีความหมายเหมือนกับฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ดาราศาสตร์ได้แบ่งออกเป็นสองสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์จะให้ความสำคัญไปที่การเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้ความรู้ทางกายภาพเบื้องต้นเป็นหลัก ส่วนดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีให้ความสำคัญไปที่การพัฒนาคอมพิวเตอร์หรือแบบจำลองเชิงวิเคราะห์ เพื่ออธิบายวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทั้งสองสาขานี้เป็นองค์ประกอบซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีใช้อธิบายผลจากการสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ใช้ในการรับรองผลจากทางทฤษฎี การค้นพบสิ่งต่าง ๆ ในเรื่องของดาราศาสตร์ที่เผยแพร่โดยนักดาราศาสตร์สมัครเล่นนั้นมีความสำคัญมาก และดาราศาสตร์ก็เป็นหนึ่งในวิทยาศาสตร์จำนวนน้อยสาขาที่นักดาราศาสตร์สมัครเล่นยังคงมีบทบาท โดยเฉพาะการค้นพบหรือการสังเกตการณ์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว ไม่ควรสับสนระหว่างดาราศาสตร์โบราณกับโหราศาสตร์ ซึ่งเป็นความเชื่อที่นำเอาเหตุการณ์และพฤติกรรมของมนุษย์ไปเกี่ยวโยงกับตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า แม้ว่าทั้งดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เกิดมาจากจุดร่วมเดียวกัน และมีส่วนหนึ่งของวิธีการศึกษาที่เหมือนกัน เช่นการบันทึกตำแหน่งดาว (ephemeris) แต่ทั้งสองอย่างก็แตกต่างกัน ในปี ค.ศ. 2009 นี้เป็นการครบรอบ 400 ปีของการพิสูจน์แนวคิดเรื่องดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล ของ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส อันเป็นการพลิกคติและโค่นความเชื่อเก่าแก่เรื่องโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลของอริสโตเติลที่มีมาเนิ่นนาน โดยการใช้กล้องโทรทรรศน์สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ของกาลิเลโอซึ่งช่วยยืนยันแนวคิดของโคเปอร์นิคัส องค์การสหประชาชาติจึงได้ประกาศให้ปีนี้เป็นปีดาราศาสตร์สากล มีเป้าหมายเพื่อให้สาธารณชนได้มีส่วนร่วมและทำความเข้าใจกับดาราศาสตร์มากยิ่งขึ้น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาราจักร

ราจักร '''NGC 4414''' ซึ่งเป็นดาราจักรชนิดก้นหอย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 56,000 ปีแสง และอยู่ห่างจากโลกประมาณ 60 ล้านปีแสง ดาราจักร หรือ กาแล็กซี (galaxy) เป็นกลุ่มของดาวฤกษ์นับล้านดวง กับสสารระหว่างดาวอันประกอบด้วยแก๊ส ฝุ่น และสสารมืด รวมอยู่ด้วยกันด้วยแรงโน้มถ่วง คำนี้มีที่มาจากภาษากรีกว่า galaxias หมายถึง "น้ำนม" ซึ่งสื่อโดยตรงถึงดาราจักรทางช้างเผือก (Milky Way) ดาราจักรโดยทั่วไปมีขนาดน้อยใหญ่ต่างกัน นับแต่ดาราจักรแคระที่มีดาวฤกษ์ประมาณสิบล้านดวง ไปจนถึงดาราจักรขนาดยักษ์ที่มีดาวฤกษ์นับถึงล้านล้านดวง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและดาราจักร · ดูเพิ่มเติม »

ดาวหาง

ดาวหางเฮล-บอปป์ ดาวหางเวสต์ ดาวหาง คือ วัตถุชนิดหนึ่งในระบบสุริยะที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ มีส่วนที่ระเหิดเป็นแก๊สเมื่อเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดชั้นฝุ่นและแก๊สที่ฝ้ามัวล้อมรอบ และทอดเหยียดออกไปภายนอกจนดูเหมือนหาง ซึ่งเป็นปรากฏการณ์จากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ไปบนนิวเคลียสของดาวหาง นิวเคลียสหรือใจกลางดาวหางเป็น "ก้อนหิมะสกปรก" ประกอบด้วยน้ำแข็ง คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน แอมโมเนีย และมีฝุ่นกับหินแข็งปะปนอยู่ด้วยกัน มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ไม่กี่กิโลเมตรไปจนถึงหลายสิบกิโลเมตร คาบการโคจรของดาวหางมีความยาวนานแตกต่างกันได้หลายแบบ ตั้งแต่คาบโคจรเพียงไม่กี่ปี คาบโคจร 50-100 ปี จนถึงหลายร้อยหรือหลายพันปี เชื่อว่าดาวหางบางดวงเคยผ่านเข้ามาในใจกลางระบบสุริยะเพียงครั้งเดียว แล้วเหวี่ยงตัวเองออกไปสู่อวกาศระหว่างดาว ดาวหางที่มีคาบการโคจรสั้นนั้นเชื่อว่าแต่เดิมเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในแถบไคเปอร์ที่อยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ส่วนดาวหางที่มีคาบการโคจรยาวอาจมาจากแหล่งอื่น ๆ ที่ไกลจากดวงอาทิตย์ของเรามาก เช่นในกลุ่มเมฆออร์ตซึ่งประกอบด้วยเศษซากที่หลงเหลืออยู่จากการบีบอัดตัวของเนบิวลา ดาวหางเหล่านี้ได้รับแรงโน้มถ่วงรบกวนจากดาวเคราะห์รอบนอก (กรณีของวัตถุในแถบไคเปอร์) จากดวงดาวอื่นใกล้เคียง (กรณีของวัตถุในกลุ่มเมฆออร์ต) หรือจากการชนกัน ทำให้มันเคลื่อนเข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์น้อยมีกำเนิดจากกระบวนการที่ต่างไปจากนี้ อย่างไรก็ดี ดาวหางที่มีอายุเก่าแก่มากจนกระทั่งส่วนที่สามารถระเหิดเป็นแก๊สได้สูญสลายไปจนหมดก็อาจมีสภาพคล้ายคลึงกับดาวเคราะห์น้อยก็ได้ เชื่อว่าดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกหลายดวงเคยเป็นดาวหางมาก่อน นับถึงเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ภาษากรีกและดาวหาง · ดูเพิ่มเติม »

ดาวอังคาร

วอังคาร (Mars) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สี่จากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์เล็กที่สุดอันดับที่สองในระบบสุริยะรองจากดาวพุธ ในภาษาอังกฤษได้ชื่อตามเทพเจ้าแห่งสงครามของโรมัน มักได้รับขนานนาม "ดาวแดง" เพราะมีออกไซด์ของเหล็กดาษดื่นบนพื้นผิวทำให้มีสีออกแดงเรื่อ ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์หินที่มีบรรยากาศเบาบาง มีลักษณะพื้นผิวคล้ายคลึงกับทั้งหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ และภูเขาไฟ หุบเขา ทะเลทราย ตลอดจนพิดน้ำแข็งขั้วดาวที่ปรากฏบนโลก คาบการหมุนรอบตัวเองและวัฏจักรฤดูกาลของดาวอังคารก็มีความคล้ายคลึงกับโลกซึ่งความเอียงก่อให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ ดาวอังคารเป็นที่ตั้งของโอลิมปัสมอนส์ ภูเขาไฟใหญ่ที่สุดบนดาวอังคารและสูงสุดอันดับสองในระบบสุริยะเท่าที่มีการค้นพบ และเป็นที่ตั้งของเวลส์มาริเนริส แคนยอนขนาดใหญ่อันดับต้น ๆ ในระบบสุริยะ แอ่งบอเรียลิสที่ราบเรียบในซีกเหนือของดาวปกคลุมกว่าร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมดและอาจเป็นลักษณะการถูกอุกกาบาตชนครั้งใหญ่ ดาวอังคารมีดาวบริวารสองดวง คือ โฟบอสและดีมอสซึ่งต่างก็มีขนาดเล็กและมีรูปร่างบิดเบี้ยว ทั้งคู่อาจเป็นดาวเคราะห์น้อยที่ถูกจับไว้ คล้ายกับทรอยของดาวอังคาร เช่น 5261 ยูเรกา ก่อนหน้าการบินผ่านดาวอังคารที่สำเร็จครั้งแรกของ มาริเนอร์ 4 เมื่อปี 1965 หลายคนคาดว่ามีน้ำในรูปของเหลวบนพื้นผิวดาวอังคาร แนวคิดนี้อาศัยผลต่างเป็นคาบที่สังเกตได้ของรอยมืดและรอยสว่าง โดยเฉพาะในละติจูดขั้วดาวซึ่งดูเป็นทะเลและทวีป บางคนแปลความรอยมืดริ้วลายขนานเป็นร่องทดน้ำสำหรับน้ำในรูปของเหลว ภายหลัง มีการอธิบายว่าภูมิประเทศเส้นตรงเหล่านั้นเป็นภาพลวงตา แม้ว่าหลักฐานทางธรณีวิทยาที่ภารกิจไร้คนบังคับรวบรวมชี้ว่า ครั้งหนึ่งดาวอังคารเคยมีน้ำปริมาณมากปกคลุมบนพื้นผิว ณ ช่วงใดช่วงหนึ่งในระยะต้น ๆ ของอายุ ในปี 2005 เรดาร์เผยว่ามีน้ำแข็งน้ำ (water ice) ปริมาณมากขั้วทั้งสองของดาว และที่ละติจูดกลาง ยานสำรวจภาคพื้นดาวอังคารสปิริต พบตัวอย่างสารประกอบเคมีที่มีโมเลกุลน้ำเมื่อเดือนมีนาคม 2007 ส่วนลงจอดฟีนิกซ์ พบตัวอย่างน้ำแข็งน้ำโดยตรงในดินส่วนตื้นของดาวอังคารเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2008 มียานอวกาศที่กำลังปฏิบัติงานอยู่เจ็ดลำ ห้าลำอยู่ในวงโคจร ได้แก่ 2001 มาร์สโอดิสซี มาร์สเอ็กซ์เพรส มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ เมเว็น และมาร์สออร์บิเตอร์มิชชัน และสองลำบนพื้นผิว ได้แก่ ยานสำรวจภาคพื้นดาวอังคารออปพอร์ทูนิตี และยานมาร์สไซแอนซ์แลบอราทอรีคิวริออซิตี การสังเกตโดย มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ เปิดเผยว่ามีความเป็นไปได้ที่จะมีน้ำไหลในช่วงเดือนที่ร้อนที่สุดบนดาวอังคาร ในปี 2013 ยานคิวริออซิตี ของนาซาค้นพบว่าดินของดาวอังคารมีน้ำเป็นองค์ประกอบระหว่างร้อยละ 1.5 ถึง 3 โดยมวล แม้ว่าน้ำนั้นจะติดอยู่กับสารประกอบอื่น ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงได้โดยอิสระ กำลังมีการสืบค้นเพื่อประเมินศักยภาพความสามารถอยู่อาศัยได้ในอดีตของดาวอังคาร ตลอดจนความเป็นไปได้ที่จะมีสิ่งมีชีวิตหลงเหลืออยู่ มีการสืบค้นบริเวณนั้นโดยส่วนลงจอด ''ไวกิง'' โรเวอร์ สปิริต และออปพอร์ทูนิตี ส่วนลงจอดฟีนิกซ์ และโรเวอร์ คิวริออซิตี มีการวางแผนภารกิจทางชีวดาราศาสตร์ไว้แล้ว ซึ่งรวม มาร์ส 2020 และเอ็กโซมาร์สโรเวอร์ ดาวอังคารสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจากโลกโดยง่ายซึ่งจะปรากฏให้เห็นเป็นสีออกแดง มีความส่องสว่างปรากฏได้ถึง −2.91 ซึ่งเป็นรองเพียงดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์ ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ กล้องโทรทรรศน์ภาคพื้นดินโดยทั่วไปมีขีดจำกัดการมองเห็นรายละเอียดของภูมิประเทศขนาดประมาณ 300 กิโลเมตรเมื่อโลกและดาวอังคารเข้าใกล้กันมากที่สุดอันเป็นผลจากบรรยากาศของโลก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและดาวอังคาร · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเทียมไทยโชต

วเทียมธีออสดาวเทียมไทยโชต (Thaichote) หรือ ดาวเทียมธีออส (THEOS: Thailand Earth Observation Satellite) เป็นดาวเทียมสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) เพื่อใช้สำรวจทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย โดยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลฝรั่งเศส ดำเนินงานโดย สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (สทอภ. หรือ GISTDA) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับ บริษัท อี เอ ดี เอส แอสเตรียม (EADS Astrium) ประเทศฝรั่งเศส ด้วยงบประมาณ 6,000 ล้านบาท นับเป็นดาวเทียมสำรวจทรัพยากรดวงแรกของไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและดาวเทียมไทยโชต · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเคราะห์น้อย

วเคราะห์น้อย 253 แมธิลด์ เป็นดาวเคราะห์น้อยแบบ C-Type ดาวเคราะห์น้อย (Asteroid หรือบางครั้งเรียกว่า Minor Planet / Planetoid) คือวัตถุทางดาราศาสตร์ขนาดเล็กกว่าดาวเคราะห์ แต่ใหญ่กว่าสะเก็ดดาว (ซึ่งโดยปกติมักมีขนาดราว 10 เมตรหรือน้อยกว่า) และไม่ใช่ดาวหาง การแบ่งแยกประเภทเช่นนี้กำหนดจากภาพปรากฏเมื่อแรกค้นพบ กล่าวคือ ดาวหางจะต้องมีส่วนของโคม่าที่สังเกตเห็นได้ชัด และมีรายชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อของดาวหางเอง ดาวเคราะห์น้อยมีลักษณะปรากฏคล้ายดวงดาว (คำว่า asteroid มาจากคำภาษากรีกว่า αστεροειδής หรือ asteroeidēs ซึ่งหมายถึง "เหมือนดวงดาว" มาจากคำภาษากรีกโบราณว่า Aστήρ หรือ astēr ซึ่งแปลว่า ดวงดาว) และมีการกำหนดเรียกชื่ออย่างคร่าวๆ ตามชื่อปีที่ค้นพบ จากนั้นจึงมีการตั้งชื่อตามระบบ (เป็นหมายเลขเรียงตามลำดับ) และชื่อ ถ้ามีการพิสูจน์ถึงการมีอยู่และรอบการโคจรเรียบร้อยแล้ว สำหรับลักษณะทางกายภาพของดาวเคราะห์น้อยโดยส่วนใหญ่ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด ดาวเคราะห์น้อยดวงแรกที่มีการตั้งชื่อคือ ซีรีส ค้นพบในปี พ.ศ. 2344 โดย จูเซปเป ปิอาซซี ซึ่งในช่วงแรกคิดว่าได้ค้นพบดาวเคราะห์ดวงใหม่ และกำหนดประเภทให้มันว่าเป็นดาวเคราะห์แคระ ซีรีสนับเป็นดาวเคราะห์น้อยดวงใหญ่ที่สุดเท่าที่เป็นที่รู้จักกันในปัจจุบัน และจัดอยู่ในประเภทดาวเคราะห์แคระ ส่วนดาวเคราะห์น้อยดวงอื่นๆ จัดเป็นวัตถุในระบบสุริยะขนาดเล็ก เซอร์วิลเลียม เฮอร์เชล (พ.ศ. 2281 - 2365 ผู้ค้นพบดาวยูเรนัส เมื่อ พ.ศ. 2324) เป็นผู้ประดิษฐ์คำศัพท์ "asteroid" ให้แก่วัตถุอวกาศชุดแรก ๆ ที่ค้นพบในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งทั้งหมดมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี โดยส่วนใหญ่วงโคจรมักบิดเบี้ยวไม่เป็นวงรี แต่หลังจากนั้นมีการค้นพบดาวเคราะห์น้อยอยู่ระหว่างวงโคจรของดาวเคราะห์ต่างๆ นับตั้งแต่ดาวพุธไปจนถึงดาวเนปจูน และอีกหลายร้อยดวงอยู่พ้นจากดาวเนปจูนออกไป ดาวเคราะห์น้อยส่วนมากพบอยู่ในแถบดาวเคราะห์น้อย ซึ่งมีวงโคจรเป็นวงรีอยู่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี เชื่อว่าดาวเคราะห์น้อยส่วนใหญ่เป็นซากที่หลงเหลือในจานดาวเคราะห์ก่อนเกิด ซึ่งไม่สามารถรวมตัวกันเป็นดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ได้ระหว่างการก่อกำเนิดระบบสุริยะเนื่องจากแรงโน้มถ่วงรบกวนจากดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์น้อยบางดวงมีดาวบริวาร หรือโคจรระหว่างกันเองเป็นคู่ เรียกว่า ระบบดาวเคราะห์น้อยคู.

ใหม่!!: ภาษากรีกและดาวเคราะห์น้อย · ดูเพิ่มเติม »

ดิวโอลิงโก

วโอลิงโก (Duolingo) เป็นโปรแกรมเรียนภาษาฟรีที่ใช้ปัญหาเป็นการหาคำตอบเป็นหลัก การให้บริการของโปรแกรมนี้ถูกออกแบบมาให้ผู้ใช้ทำแบบฝึกหัดในแต่ละบทสำเร็จ ในขณะเดียวกันก็ช่วยแปลเว็บไซต์และเอกสารอื่น ๆ ไปด้วย ในวันที่ 13 ธันวาคม 2557 ดิวโอลิงโกได้ให้บริการการเรียนภาษาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาษาสเปน, ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาเยอรมัน, ภาษาโปรตุเกส, ภาษาอิตาลี, ภาษาดัตช์, ภาษาไอริช, ภาษาเดนมาร์ก และภาษาสวีเดนสำหรับผู้ใช้ที่พูดภาษาอังกฤษ และภาษาอังกฤษสำหรับผู้ใช้ภาษาสเปน, ฝรั่งเศส, เยอรมัน, โปรตุเกส, อิตาลี, กรีก, ดัตช์, รัสเซีย, โปแลนด์, ตุรกี, ฮังการี, โรมาเนีย, ญี่ปุ่น, ฮินดี, อินโดนีเซีย, เกาหลี และเช็ก และยังมีคู่ภาษาอื่น ๆ อีกมากมาย สามารถใช้ได้บนเว็บ, ไอโอเอส, แอนดรอยด์ และวินโดวส์โฟน 8.1 ดิวโอลิงโกได้เริ่มต้นทดสอบระบบครั้งแรกเฉพาะเจ้าหน้าที่ในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2555 และมียอดผู้ใช้ที่รอคอยมากกว่า 300,000 คน ในวันที่ 19 มิถุนายน 2556 ดิวโอลิงโกได้เปิดตัวสู่สาธารณะเป็นครั้งแรก ในปี 2557 แอปเปิลได้เลือกให้ดิวโอลิงโกเป็นแอปพลิเคชันประจำปี เป็นครั้งแรกที่รางวัลนี้ได้ถูกมอบแก่แอปพลิเคชันทางการศึกษา ดิวโอลิงโกชนะการประกวดแอปพลิเคชันใหม่ที่ดีที่สุดในงาน 2014 Crunchies, และเป็นแอปพลิเคชันทางการศึกษาที่มียอดดาวน์โหลดสูงที่สุดในกูเกิลเพลย์ ปี 2556 และ 2557 ในเดือนมกราคม 2557 ดิวโอลิงโกมียอดผู้ใช้งานรวม 60 ล้านคน ซึ่งมี 20 ล้านคนที่ยังคงใช้งานอยู.

ใหม่!!: ภาษากรีกและดิวโอลิงโก · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์มาส

ริสต์มาส (Christmas; Crīstesmæsse, หมายถึง "พิธีมิสซาของพระคริสต์") หรือ วันสมโภชพระสมภพ (Feast of the Nativity) จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีเพื่อเฉลิมฉลองการประสูติของพระเยซู, The Catholic Encyclopedia, 1913.

ใหม่!!: ภาษากรีกและคริสต์มาส · ดูเพิ่มเติม »

คริสเตียน ฟรีดริช เชินไบน์

ริสเตียน ฟรีดริช เชินไบน์ (Christian Friedrich Schönbein; 18 ตุลาคม ค.ศ. 1799 – 29 สิงหาคม ค.ศ. 1868) เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน/สวิส เกิดที่เมืองเม็ทซิงเงิน เมื่ออายุได้ 13 ปี เชินไบน์ช่วยงานที่บริษัทยาในเมืองเบอบลิงเงินและผ่านการสอบของศาสตราจารย์ด้านเคมีที่ทือบิงเงิน ต่อมาในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและคริสเตียน ฟรีดริช เชินไบน์ · ดูเพิ่มเติม »

คลอรีน

ลอรีน (Chlorine) (จากภาษากรีกว่า Chloros แปลว่าสี "เขียวอ่อน") เป็นธาตุเคมีที่มีเลขอะตอม 17 และสัญลักษณ์ Cl เป็นแฮโลเจน พบในตารางธาตุ ในกลุ่ม 17 เป็นส่วนของเกลือทะเลและสารประกอบอื่น ๆ ปรากฏมากในธรรมชาติ และจำเป็นต่อสิ่งมีชวิตส่วนใหญ่ รวมถึงมนุษย์ด้วย ในรูปของก๊าซ คลอรีนมีสีเขียวอมเหลือง มีน้ำหนักมากกว่าอากาศ 2.5 เท่า มีกลิ่นเหม็นอย่างรุนแรง และเป็นพิษอย่างร้ายแรง เป็นตัวออกซิไดซ์ ฟอกขาว และฆ่าเชื้อได้เป็นอย่างดี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและคลอรีน · ดูเพิ่มเติม »

คลีโอพัตรา

ลีโอพัตราที่ 7 ฟิโลพาเธอร์ (Κλεοπάτρα θεά φιλοπάτωρ; หรือรู้จักทั่วไปในนาม คลีโอพัตรา) (มกราคม ปีที่ 69 ก่อนคริสตกาล – 30 พฤศจิกายน ปีที่ 30 ก่อนคริสตกาล) เป็นพระราชินีแห่งอียิปต์โบราณและเชื้อพระวงศ์องค์สุดท้ายของราชวงศ์ทอเลมีแห่งมาซิโดเนีย ดังนั้นจึงเป็นผู้ปกครองอียิปต์ที่มีเชื้อสายกรีกคนสุดท้าย บิดาของพระนางคือทอเลมีที่ 12 ออเลติส และคาดว่าพระมารดาเป็นเชษฐภคินีของโอเลเตส ทรงพระนามว่า คลีโอพัตราที่ 5 ทรีฟาเอนา ชื่อ "คลีโอพัตรา" เป็นภาษากรีก แปลว่า "ความเจริญรุ่งเรืองของบิดา" พระนามเต็มของพระนางคือ "คลีโอพัตรา เธอา ฟิโลปาตอร์" ซึ่งหมายถึง "เทพีคลีโอพัตรา ผู้เป็นที่รักของบิดา" พระนางมีพระปรีชาสามารถมาก ทรงแตกฉานถึง 14 ภาษา เช่น ฮิบรู, ละติน, มาเซดอนโบราณ, เอธิโอเปียน, ซีเรีย, เปอร์เซีย, และ อียิปต์ ซึ่งแม้แต่ในราชวงศ์ น้อยคนนักที่จะแตกฉานภาษานี้ ปัจจุบัน คลีโอพัตราที่ 7 ฟิโลปาตอร์ นับว่าเป็นผู้ปกครองอียิปต์โบราณที่มีชื่อเสียงมากที่สุด นิยมเรียกพระนามสั้น ๆ ว่า คลีโอพัตรา ซึ่งทำให้ราชินีองค์ก่อน ๆ ที่ทรงพระนามคล้ายคลึงกัน ลบเลือนไปสิ้น ในความเป็นจริง พระนางไม่เคยปกครองอียิปต์เพียงลำพัง แต่ครองราชย์ร่วมกับพระบิดา, พระอนุชา, สวามีผู้เป็นอนุชาของพระองค์ หรือไม่ก็พระโอรส การครองราชย์ร่วมกันดังกล่าวมีผู้ร่วมบัลลังก์เป็นเพียงกษัตริย์ตามพระยศเท่านั้น อำนาจแท้จริงอยู่ในมือของคลีโอพัตราเองทั้งสิ้น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและคลีโอพัตรา · ดูเพิ่มเติม »

ความรัก

วาดตัวอย่างคู่รัก โรมิโอกับจูเลียต ความรัก (Love) เป็นความรู้สึก สภาพและเจตคติต่าง ๆ ซึ่งมีตั้งแต่ความชอบระหว่างบุคคลหมายถึงอารมณ์การดึงดูดและความผูกพัน (attachment) ส่วนบุคคลอย่างแรงกล้าOxford Illustrated American Dictionary (1998) + Merriam-Webster Collegiate Dictionary (2000) ในบริบททางปรัชญา ความรักเป็นคุณธรรมแสดงออกซึ่งความเมตตา ความเห็นอกเห็นใจ และความเสน่หาทั้งหมดของมนุษย์ ความรักเป็นแก่นของหลายศาสนา อย่างเช่นในวลี "พระเจ้าเป็นความรัก" ของศาสนาคริสต์ หรืออากาเปในพระวรสารในสารบบ ความรักยังอาจอธิบายได้ว่าเป็นพฤติกรรมต่อตนเองหรือผู้อื่นซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานความเห็นอกเห็นใจ หรือความเสน่หา คำว่ารักสามารถหมายความถึงความรู้สึก สภาพทางอารมณ์และเจตคติต่าง ๆ ซึ่งอาจมีตั้งแต่ความพอใจทั่วไปจนถึงความดึงดูดระหว่างบุคคลอย่างรุนแรง แต่โดยเจาะจงแล้ว ความรักสามารถหมายถึงความต้องการอย่างเสน่หาและความสัมพันธ์ทางเพศ ซึ่งเป็นความหมายของความรักแบบโรแมนติก ความรักที่มีเพศเข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นความหมายของอีรอส (คำภาษากรีกหมายถึงความรัก) ความใกล้ชิดทางอารมณ์ ซึ่งเป็นความหมายของความรักกับบุคคลในครอบครัว หรือรักบริสุทธิ์ที่นิยามมิตรภาพ หรือความรักแบบอุทิศตัวแบบในทางศาสนา (J. Mascaró, translator) ความหลากหลายของการใช้และความหมายของคำว่ารักนี้ ประกอบกับความรู้สึกอันซับซ้อนที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ทำให้เป็นการยากที่จะนิยามความรักให้แน่นอน แม้จะเทียบกับสภาพอารมณ์อื่น ๆ แล้วก็ตาม วิทยาศาสตร์นิยามว่าสิ่งที่เข้าใจได้ว่าเป็นความรักนั้นเป็นสภาพที่มาจากวิวัฒนาการของสัญชาตญาณการเอาตัวรอด โดยพื้นฐานแล้วเพื่อให้มนุษย์อยู่ร่วมกันเพื่อต่อต้านภัยคุกคามและเพื่อสนับสนุนความต่อเนื่องของสายพันธุ์ผ่านการสืบพันธุ์Helen Fisher.

ใหม่!!: ภาษากรีกและความรัก · ดูเพิ่มเติม »

ความเกลียดกลัวต่างชาติ

วามเกลียดกลัวต่างชาติ (Xenophobia) คือภาวะความชังและ/หรือความกลัวของผู้ที่มีชาติพันธุ์ที่ไม่รู้จักหรือแตกต่างจากตนเอง “Xenophobia” มาจากภาษากรีก “ξένος” (xenos) ที่แปลว่า “คนแปลกหน้า” หรือ “ชาวต่างประเทศ” และ “φόβος” (phobos) ที่แปลว่า “กลัว” ความเกลียดกลัวต่างชาติสามารถแสดงออกมาได้หลายวิธีซึ่งเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์และการรับรู้ของกลุ่มในที่มีต่อกลุ่มนอก ซึ่งรวมถึงความกลัวเสียอัตลักษณ์ ความสงสัยในกิจกรรม ความก้าวร้าวและความปรารถนาทำลายการมีอยู่เพื่อธำรงความบริสุทธิ์ที่คิดGuido Bolaffi.

ใหม่!!: ภาษากรีกและความเกลียดกลัวต่างชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ความเจ็บปวด

วามเจ็บปวด (Pain) เป็นความทุกข์ทางกายที่เกิดเพราะสิ่งเร้าที่รุนแรงหรืออันตราย แต่เพราะมันเป็นปรากฏการณ์ที่ซับซ้อน ที่เป็นอัตวิสัย การนิยามมันจึงเป็นเรื่องยาก องค์การมาตรฐานสากล International Association for the Study of Pain (IASP) ได้กำหนดนิยามที่ใช้อย่างกว้างขวางว่า "ความเจ็บปวดเป็นประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสและทางอารมณ์ ที่สัมพันธ์กับโอกาสหรือการเกิดขึ้นจริง ๆ ของความเสียหายในเนื้อเยื่อ หรือที่บอกโดยใช้คำซึ่งกล่าวถึงความเสียหายเช่นนั้น" Derived from ในการวินิจฉัยทางการแพทย์ ความเจ็บปวดพิจารณาว่าเป็นอาการของโรคที่เป็นเหตุ ความเจ็บปวดปกติจะจูงใจให้บุคคลถอยตัวออกจากสถานการณ์ที่ทำให้เสียหาย ให้ปกป้องรักษาอวัยวะที่บาดเจ็บเมื่อกำลังหาย และให้หลีกเลี่ยงประสบการณ์คล้าย ๆ กันในอนาคต ความเจ็บปวดโดยมากจะหายไปเองเมื่อหมดสิ่งเร้าอันตรายและเมื่อแผล/การบาดเจ็บหายดี แต่ก็อาจคงยืนต่อไปได้ ความเจ็บปวดบางอย่างสามารถเกิดแม้เมื่อไม่มีสิ่งเร้าอันตราย ไม่มีความเสียหาย และไม่มีโรค ในประเทศพัฒนาแล้ว ความเจ็บปวดเป็นเหตุสามัญที่สุดให้คนไข้หาหมอ มันเป็นอาการสามัญที่สุดในโรคต่าง ๆ และสามารถบั่นทอนคุณภาพและความเป็นอยู่ในชีวิตของคนไข้ ยาแก้ปวดธรรมดา ๆ ใช้ได้ในกรณี 20-70% ปัจจัยทางจิตอื่น ๆ รวมทั้งการได้ความช่วยเหลือจากสังคม การสะกดจิต ความตื่นเต้น หรือเครื่องล่อความสนใจต่าง ๆ มีอิทธิพลอย่างสำคัญต่อความทุกข์เนื่องจากความเจ็บปว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและความเจ็บปวด · ดูเพิ่มเติม »

คอมมอนบรัชเทลพอสซัม

อมมอนบรัชเทลพอสซัม (common brushtail possum, silver-gray brushtail possum; -มาจากภาษากรีกแปลว่า "ขนฟู" และภาษาละตินแปลว่า "จิ้งจอกน้อย" เดิมเคยใช้ชื่อสกุลว่า Phalangista) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง จัดว่าเป็นพอสซัมชนิดหนึ่ง มีขนาดลำตัวไล่เลี่ยกับแมวบ้าน มีใบหูชี้แหลมขนาดใหญ่ หน้าแหลม ฟันมีลักษณะคล้ายกับฟันแทะ 4 ซี่ แต่ไม่มีความแหลมคม ขนมีความหนา ฟู และอ่อนนุ่มมาก และมีความหลากหลายของสี ตั้งแต่ สีน้ำตาลทอง, สีน้ำตาล จนถึงสีเทา ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 1.2–4.5 กิโลกรัม ถือได้ว่าใหญ่กว่าตัวเมีย และมีสีเข้มกว่า ตัวเมียมีกระเป๋าหน้าท้องสำหรับเลี้ยงลูกอ่อน ขาหน้ามีนิ้วที่มีเล็บที่มีความแหลมคมมากใช้สำหรับป่ายปีนต้นไม้ ตลอดจนหยิบจับอาหารเข้าปาก ส่วนเท้าหลัง มีนิ้วโป้งที่ไม่มีเล็บ และแยกออกจากอุ้งเท้าไปอยู่อีกข้าง ส่วนหางมีขนฟูเป็นพวงเหมือนแปรง อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ และมีความแข็งแรงมาก ใช้ในการยึดเกาะต้นไม้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและคอมมอนบรัชเทลพอสซัม · ดูเพิ่มเติม »

คอร์ปัส คาโลซัม

ำภาษาละตินว่า Corpus callosum (แปลว่า ส่วนแข็ง) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า colossal commissure เป็นกลุ่มใยประสาทที่กว้างและแบนใต้เปลือกสมองของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีรก ประเภท eutheria อยู่ที่ร่อง longitudinal fissure (ที่แบ่งสมองออกเป็น 2 ข้าง) เป็นโครงสร้างที่เชื่อมซีกสมองซ้ายขวาเข้าด้วยกัน และอำนวยให้เขตในสมองทั้งสองซีกสื่อสารกันได้ เป็นส่วนเนื้อขาว (ส่วนในสมองที่โดยมากประกอบด้วยแอกซอน) ที่ใหญ่ที่สุดในสมองมีแอกซอนส่งเชื่อมซีกสมองถึง 200-250 ล้านแอกซอน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและคอร์ปัส คาโลซัม · ดูเพิ่มเติม »

คอนสแตนติโนเปิล

แผนที่คอนสแตนติโนเปิล คอนสแตนติโนเปิล (Constantinople, (กรีก: Κωνσταντινούπολις (Konstantinoúpolis) หรือ ἡ Πόλις (hē Pólis), ภาษาละติน: CONSTANTINOPOLIS, ภาษาออตโตมันตุรกี (ทางการ): قسطنطينيه Konstantiniyye) คอนสแตนติโนเปิลเป็นเมืองหลวง (กรีก: Βασιλεύουσα (Basileúousa)) ของจักรวรรดิโรมัน ระหว่างปี ค.ศ. 330 ถึง ค.ศ. 395; ของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ระหว่างปี ค.ศ. 395 ถึง ค.ศ. 1204 และระหว่างปี ค.ศ. 1261 ถึง ค.ศ. 1453; ของจักรวรรดิละติน ระหว่างปี ค.ศ. 1204 ถึง ค.ศ. 1261); และของจักรวรรดิออตโตมัน ระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและคอนสแตนติโนเปิล · ดูเพิ่มเติม »

คะรา

รา หรือชื่อทางการตลาดคือ สตูดิโอคะรา (Studio Khara) เป็นบริษัทผลิตอะนิเมะของญี่ปุ่นที่เป็นที่รู้จักจากผลงานเรื่อง รีบิวด์ออฟอีวานเกเลียน ก่อตั้งโดย ฮิเดะอะกิ อันโนะ เมื่อเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ภาษากรีกและคะรา · ดูเพิ่มเติม »

คะโอะริ อีดะ

อริ อีดะ (Kaori Iida) (เกิดวันเสาร์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2524) คือ นักร้องและนักแสดงหญิงชาวญี่ปุ่น ของสังกัดเฮลโล! โปรเจกต์ ที่รู้จักกันดีในฐานะสมาชิกรุ่นก่อตั้งของกลุ่มนักร้องหญิง "มอร์นิงมุซุเมะ" และอดีตสมาชิกกลุ่มนักร้องย่อย "ทัมโปโปะ" ปัจจุบัน เธอทำหน้าที่เป็นศิลปินเดี่ยวให้กับสังกัดเฮลโล! โปรเจกต์ แต่ต้องพักงานชั่วคราวเนื่องจากกำลังตั้งครร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและคะโอะริ อีดะ · ดูเพิ่มเติม »

คัลซีส

มืองคัลซีส คัลซีส หรือ คัลคิดา (กรีกสมัยใหม่: Χαλκίδα; Chalcis, Chalkida) เป็นเมืองบนเกาะยูบีอา ในจังหวัดยูบีอา ประเทศกรีซ ตั้งอยู่ริมช่องแคบเอวรีพอส เป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญตั้งแต่ประมาณ 700 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นส่วนหนึ่งของกรีซตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษากรีกและคัลซีส · ดูเพิ่มเติม »

คัสพาร์ เบาฮีน

ัสพาร์ เบาฮีน (Caspar Bauhin), กัสปาร์ โบแอ็ง (Gaspard Bauhin) หรือ กัสปารุส เบาฮีนุส (Casparus Bauhinus; 17 มกราคม ค.ศ. 1560 – 5 ธันวาคม ค.ศ. 1624) เป็นนักพฤกษศาสตร์ชาวสวิส เป็นบุตรของฌ็อง โบแอ็ง แพทย์ชาวฝรั่งเศสที่ย้ายมาอยู่ที่เมืองบาเซิลหลังเปลี่ยนมานับถือนิกายโปรเตสแตนต์ คัสพาร์มีพี่ชายที่เป็นนักพฤกษศาสตร์เหมือนกันคือโยฮันน์ เบาฮีน คัสพาร์เรียนวิชาแพทย์ที่เมืองปาโดวา, มงเปอลีเยและในเยอรมนี ก่อนจะกลับมาที่บาเซิลในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและคัสพาร์ เบาฮีน · ดูเพิ่มเติม »

คารา

รา (KARA) เป็นกลุ่มสาวนักร้องจากเกาหลีใต้ KARA มาจากคำว่า "Chara" ใน ภาษากรีก แปลว่าท่วงทำนองที่ไพเราะ หรือ Sweet Melody KARA เดบิวต์เมือปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและคารา · ดูเพิ่มเติม »

คาทอลิก

ทอลิก (Catholic มาจากภาษากรีกคำว่า καθολικός) แปลว่า สากล ทั่วไป เป็นรูปแบบหนึ่งในศาสนาคริสต์ ที่มีแนวศรัทธา เทววิทยา หลักความเชื่อ พิธีกรรม จริยศาสตร์ จิตวิญญาณ พฤติกรรม เป็นลักษณะเฉพาะของตน ตลอดจนประชากรในนิกายนั้น คำว่าคาทอลิก มีความหมายโดยสรุปได้ 3 อย่าง คือ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

คำปฏิญาณโอลิมปิก

การกล่าวคำปฏิญาณตนในพิธีเปิดกีฬาโอลิมปิก เป็นการปฏิญาณตนในพิธีเปิดโอลิมปิกโดยนักกีฬา, ผู้ตัดสิน, เจ้าหน้าที่จำนวนหนึ่งคน พร้อมกับผู้ฝึกสอนอีกจำนวนหนึ่งคนยืนอยู่ข้างตัว ผู้กล่าวคำปฏิญาณตนจะเป็นคนจากประเทศเจ้าภาพในปีนั้น ผู้กล่าวคำปฏิญาณตนจะปฏิญาณตนในนามของนักกีฬา, เจ้าหน้าที่ หรือผู้ฝึกสอนในพิธีเปิดโอลิมปิกทั้งหมดโดยจะมีผู้ช่วยถือธงโอลิมปิกอยู่ตรงหัวมุมเสมอ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและคำปฏิญาณโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

คุยหลัทธิ

หลัทธิ (Esotericism/Esoterism) หมายถึง แนวคิดหรือความรู้แบบหนึ่งที่ถูกสงวนไว้ให้รับรู้หรือเปิดเผยได้กับคนเฉพาะกลุ่ม โดยเฉพาะผู้ที่เป็นสมาชิกหรือผู้สนใจเป็นพิเศษ ขบวนการทางศาสนาที่มีแนวคิดแบบคุยหลัทธิ เช่น ลัทธิการเล่นแร่แปรธาตุ โหราศาสตร์ ไญยนิยม วัชรยาน ไสยศาสตร์ ลัทธิเซียนเทียนเต้า ลัทธิอนุตตรธรรม เจตนิยม เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและคุยหลัทธิ · ดูเพิ่มเติม »

คณิตศาสตร์

ยูคลิด (กำลังถือคาลิเปอร์) นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ในสมัย 300 ปีก่อนคริสตกาล ภาพวาดของราฟาเอลในชื่อ ''โรงเรียนแห่งเอเธนส์''No likeness or description of Euclid's physical appearance made during his lifetime survived antiquity. Therefore, Euclid's depiction in works of art depends on the artist's imagination (see ''Euclid''). คณิตศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มุ่งค้นคว้าเกี่ยวกับ โครงสร้างนามธรรมที่ถูกกำหนดขึ้นผ่านทางกลุ่มของสัจพจน์ซึ่งมีการให้เหตุผลที่แน่นอนโดยใช้ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ และสัญกรณ์คณิตศาสตร์ เรามักนิยามโดยทั่วไปว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบและโครงสร้าง, การเปลี่ยนแปลง และปริภูมิ กล่าวคร่าว ๆ ได้ว่าคณิตศาสตร์นั้นสนใจ "รูปร่างและจำนวน" เนื่องจากคณิตศาสตร์มิได้สร้างความรู้ผ่านกระบวนการทดลอง บางคนจึงไม่จัดว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาของวิทยาศาสตร์ ในอดีตผู้คนจะใช้สิ่งของแทนจำนวนที่จะนับยิ่งนานเข้าจำนวนประชากรยิ่งมีมากขึ้น ทำให้ผู้คนเริ่มคิดที่จะประดิษฐ์ตัวเลขขึ้นมาแทนการนับที่ใช้สิ่งของนับแทนจากนั้นก็มีการบวก ลบคูณ และหาร จากนั้นก็ก่อให้เกิดคณิตศาสตร์ คำว่า "คณิตศาสตร์" (คำอ่าน: คะ-นิด-ตะ-สาด) มาจากคำว่า คณิต (การนับ หรือ คำนวณ) และ ศาสตร์ (ความรู้ หรือ การศึกษา) ซึ่งรวมกันมีความหมายโดยทั่วไปว่า การศึกษาเกี่ยวกับการคำนวณ หรือ วิชาที่เกี่ยวกับการคำนวณ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและคณิตศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คซันโทส

ซันโทส (Ξάνθος; ลิเชีย: Arñna; Ksantos) เป็นเมืองของลิเชียโบราณที่ในปัจจุบันคือเมืองกือนึก (Kınık) ในจังหวัดอันตัลยา ประเทศตุรกี "คซันโทส" ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกในปี ค.ศ. 1988.

ใหม่!!: ภาษากรีกและคซันโทส · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83 เป็นงานที่จะมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83 · ดูเพิ่มเติม »

งูหางกระดิ่ง

งูหางกระดิ่ง (Rattlesnakes) เป็นชื่อสามัญของงูพิษจำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์งูแมวเซา (Viperidae) จัดอยู่ใน 2 สกุล คือ Crotalus และ Sistrurus ในวงศ์ย่อย Crotalinae (Crotalus มาจากภาษากรีก มีความหมายว่า "Castanet" ส่วนคำว่า Sistrurus นั้นเป็นภาษาละตินที่มีความหมายในภาษากรีกว่า "Tail rattler" และมีความหมายตามรากศัพท์เดิมว่า "เครื่องดนตรี") งูหางกระดิ่ง มีลักษณะเด่น คือ เกล็ดที่ปลายหางที่เป็นสารประกอบเคอราติน ที่เป็นอวัยวะที่สามารถทำให้เกิดเสียงได้ โดยเสียงนั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนถี่ ๆ ของปล้องเกล็ดเป็นข้อ ๆ ที่หาง ซึ่งปล้องเกล็ดนี้พัฒนามาจากเกล็ดหางส่วนปลายนั่นเอง ทุกครั้งที่มีการลอกคราบปล้องเกล็ดนี้ก็จะเพิ่มจำนวนขึ้นด้วย 1 ปล้องต่อการลอกคราบ 1 ครั้ง การลอกคราบนั้นอาจเกิดขึ้นหลายครั้งใน 1 ปี ทั้งนี้ขึ้นกับอาหารที่ได้รับและอัตราการเติบโต สำหรับลูกงูที่เกิดใหม่นั้นจะมีปล้องเกล็ดที่หาง 1 ปล้อง ซึ่งยังไม่สามารถสั่นให้เกิดเสียงได้ แต่เมื่อผ่านการลอกคราบครั้งแรกไปแล้วก็สามารถสั่นให้เกิดเสียงได้ การสั่นให้เกิดเสียงนั้นก็เพื่อเป็นการข่มขู่เมื่อพบศัตรูเข้ามาใกล้นั่นเองหน้า 410, วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก โดย วีรยุทธ์ เลาหะิจินดา (พ.ศ. 2552) ISBN 978-616-556-016-0 งูหางกระดิ่ง ปัจจุบันพบกว่า 30 ชนิด ทุกชนิดพบได้ในทวีปอเมริกาเหนือจนถึงอเมริกากลาง เช่น เม็กซิโก โดยมากจะอาศัยและหากินในที่ ๆ แห้งแล้ง เช่น ทะเลทราย และหากินบนพื้นดินมากกว่าจะขึ้นต้นไม้ ออกหากินในเวลากลางคืน โดยใช้การตรวจจับคลื่นความร้อนจากรังสีอินฟาเรดจากตัวเหยื่อด้วยอวัยวะรับคลื่นความร้อนที่เป็นแอ่งระหว่างช่องเปิดจมูกกับตา เป็นงูที่มีพิษร้ายแรงทำให้มนุษย์ที่ถูกกัดเสียชีวิตได้ สำหรับภูมิภาคอื่นที่ไม่มีงูหางกระดิ่ง แต่ก็มีงูบางชนิดในวงศ์เดีัยวกันนี้ ที่เกล็ดตามลำตัวสามารถเสียดสีทำให้เกิดเสียงดังได้เพื่อขู่ศัตรู เช่น งูพิษเกล็ดเลื่อย (Echis carinatus) ในประเทศอินเดีย เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและงูหางกระดิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

งูหางกระดิ่ง (สกุล)

งูหางกระดิ่ง (Rattlesnakes; Crótalo) เป็นสกุลของงูพิษที่อยู่ในวงศ์งูแมวเซา (Viperidae) และวงศ์ย่อยงูหางกระดิ่ง (Crotalinae) ใช้ชื่อสกุลว่า Crotalus (/โคร-ทา-ลัส/) โดยคำว่า Crotalus นั้นมาจากภาษากรีกคำว่า krotalon หมายถึง "สั่น" หรือ "Castanet" มีลักษณะเด่น คือ เมื่อลอกคาบแล้ว เกล็ดบางส่วนที่ปลายหางจะไม่ลอกหลุดหมดไป เกล็ดเหล่านี้จะมีลักษณะเป็นปล้อง ๆ เป็นสารประกอบเคอราติน เรียงตัวต่อเนื่องกันซึ่งเป็นส่วนซึ่งเมื่อสั่นเกล็ดส่วนนี้แล้วจะทำให้เกิดเสียงจากการปล้องแต่ละปล้องนั้นเสียดสีกระทบกัน เพื่อใช้เป็นสัญญาณเตือนและข่มขู่สัตว์ที่ใหญ่กว่าที่คุกคาม อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ นอกจากนี้แล้วยังมีหัวมีลักษณะแบน ดูคล้ายรูปสามเหลี่ยม รูม่านตาคล้ายรูม่านตาของแมว คือ เป็นรูปวงรีวางตัวในแนวตั้ง และจะมีความกว้างของหัวเป็นสองเท่าของลำคอ สามารถเห็นแอ่งรับรู้ความร้อนอินฟาเรดระหว่างตา และรูจมูกของแต่ละข้างของหัว ซึ่งเป็นบริเวณที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิแม้เพียงเล็กน้อยก็ตาม ทำให้งูสามารถรู้ตำแหน่งของเหยื่อได้แม้ในความมืด เนื่องจากเป็นงูที่หากินในเวลากลางคืน โดยกินเหยื่อเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก เช่น หนู, กระต่าย หรือแพรรีด็อก เป็นต้น และหากินตามพื้นดินมากกว่าขึ้นต้นไม้ เป็นงูที่ออกลูกเป็นไข่ แต่ไข่จะฟักในตัวแม่งู ลูกงูจะออกมาในช่วงฤดูใบไม้ร่วง ครั้งละ 5-12 ตัว ลูกงูที่ออกมามีความยาวประมาณ 6-8 นิ้ว (15-20 เซนติเมตร) ลูกงูจะมีปล้องเกล็ดที่หาง 1 ปล้อง สามารถผลิตพิษได้แต่จำนวนน้อย และพิษยังไม่รุนแรงมาก และจะโตเต็มวัยเมื่ออายุได้ 3 ปี สีของลำตัวต่างกันไปตามชนิด และระยะของการลอกคราบ โดยมีสีสันที่หลากหลายได้แก่ สีน้ำตาล, สีเหลือง, สีเทา, สีดำ, สีคล้ายกับฝุ่นชอล์ก และสีเขียวมะกอก เป็นต้น Kardong, K. V. and Bels, V. L. (1998).

ใหม่!!: ภาษากรีกและงูหางกระดิ่ง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

งูหางกระดิ่งแคระ

งูหางกระดิ่งแคระ หรือ งูหางกระดิ่งเล็ก (Pigmy rattlesnakes, MassasaugasWright AH, Wright AA. 1957. Handbook of Snakes. Comstock Publishing Associates. (7th printing, 1985). 1105 pp. ISBN 0-8014-0463-0.) เป็นสกุลของงูพิษในสกุล Sistrurus ในวงศ์งูหางกระดิ่ง (Viperidae) จัดเป็นงูหางกระดิ่งจำพวกหนึ่ง ที่ไม่ใช่สกุล Crotalus ที่มีขนาดใหญ่กว่า โดยคำว่า Sistrurus แปลว่า "หางกระดิ่ง" (Σείστρουρος, Seistrouros) ซึ่งเป็นภาษากรีกที่มีที่มาจากเครื่องดนตรีของอียิปต์โบราณที่ชื่อซิสทรัม งูหางกระดิ่งแคระ มีลักษณะคล้ายกับงูหางกระดิ่งทั่วไป คือ ส่วนของปลายหางเป็นปล้องของสารประกอบเคอราตินที่เรียงตัวต่อเนื่องกันซึ่งเป็นส่วนของคราบผิวหนังลำตัวที่ยังเหลืออยู่จากการลอกคราบแต่ละครั้ง เมื่อสั่นหางจะเกิดเสียงดังจากการกระทบกันของปล้องของคราบผิวหนังเพื่อใช้เป็นสัญญาณเตือนภัยแก่สัตว์อื่น แต่มีขนาดเล็กกว่า และมีการเรียงตัวของเกล็ดต่างกัน เกล็ดแผ่นใหญ่ที่ส่วนหัวมี 9 แผ่น (เหมือนกับสกุล Agkistrodon) ขณะที่งูหางกระดิ่งทั่วไป (รวมถึงงูสกุลอื่นในวงศ์เดียวกันเกือบทั้งหมด) หัวจะปกคลุมด้วยเกล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก พบกระจายพันธุ์ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของแคนาดา, ภาคตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา รวมถึงตอนเหนือและภาคกลางของเม็กซิโก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและงูหางกระดิ่งแคระ · ดูเพิ่มเติม »

งูอนาคอนดา

งูอนาคอนดา หรือ งูโบอาน้ำ (Anacondas, Water Boas) เป็นชื่อสามัญและสกุลของงูขนาดใหญ่ 4 ชนิดที่อยู่ในวงศ์ย่อย Boinae ในวงศ์ใหญ่ Boidae ใช้ชื่อสกุลว่า Eunectes อาศัยอยู่ในหนอง บึง และแม่น้ำในป่าดิบชื้นในทวีปอเมริกาใต้และเกาะตรินิแดด โดยที่คำว่า Eunectes มาจากภาษากรีกคำว่า Eυνήκτης หมายถึง "ว่ายน้ำได้ดี".

ใหม่!!: ภาษากรีกและงูอนาคอนดา · ดูเพิ่มเติม »

งูปล้องฉนวน

งูปล้องฉนวน (Wolf snakes) เป็นงูในสกุล Lycodon (/ไล-โค-ดอน/) จัดอยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหลัง (Colubrida) มีลักษณะโดยรวมเป็นงูลำตัวเรียว มีความยาวประมาณ 40-60 เซนติเมตร มักมีลายเป็นปล้องสีนํ้าตาลหรือดําสลับขาว ไม่มีพิษ โดยคำว่า Lycodon มาจากภาษากรีกคำว่า "λύκος" (lykos) หมายถึง "หมาป่า" และ "οδόν" (odon) หมายถึง "ฟัน" อันหมายถึง ลักษณะของฟันที่ขากรรไกรและฟันคู่หน้าล่าง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและงูปล้องฉนวน · ดูเพิ่มเติม »

งูเหลือม (สกุล)

งูเหลือม หรือ งูหลาม (Pythons) เป็นสกุลของงูไม่มีพิษในวงศ์งูเหลือม (Pythonidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Python (/ไพ-ธอน/) มีทั้งหมด 10 ชนิด (ดูในตาราง) แพร่กระจายพันธุ์ทั้งแต่ทวีปแอฟริกา, เอเชีย และออสเตรเลีย ในแอฟริกาพบได้ตั้งแต่ใต้ทะเลทรายซาฮาราลงไป จนถึงแอฟริกาตอนใต้ และพบในเกาะมาดากัสการ์ ในเอเชีย พบได้ตั้งแต่อนุทวีปอินเดีย, เอเชียอาคเนย์ทั้งที่เป็นแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะกลางทะเล และบางส่วนในเอเชียตะวันออก เช่น ภาคใต้ของจีน, ฮ่องกง และเกาะไหหลำ เป็นงูที่ใช้พละกำลังจากกล้ามเนื้อที่ลำตัวรัดเหยื่อจนกระดูกหักและขาดใจตาย ก่อนจะกลืนกินเข้าไปทั้งตัว ในบางครั้งที่เหยื่อมีขนาดใหญ่อาจใช้เวลาหลายชั่วโมง โดยเหยื่อที่กินส่วนมากจะเป็นสัตว์เลือดอุ่น ทั้งสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหรือสัตว์ปีก แพร่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ หาเหยื่อได้ทั้งบนดิน, ต้นไม้ และในน้ำ ซึ่งแตกต่างออกไปตามชนิด โดยคำว่า Python นั้น มาจากภาษากรีก คือคำว่า "πύθων/πύθωνας" มีที่มาจากเทพปกรณัมกรีก เมื่อมหาเทพซูสได้มีจิตปฏิพัทธ์ต่อ นางเลโต ทำให้ เทพีฮีรา มเหสีเอกเกิดความหึงหวงจึงกลั่นแกล้งด้วยการส่ง งูเหลือมที่เลี้ยงไว้ไปตามรังควาน นางจึงต้องอุ้มครรภ์หนีซอกซอนไปจนถึงเกาะดีลอส โปเซดอนมีความสงสารบันดาลให้เกาะผุดขึ้นในทะเล เพื่อให้นางได้ประสูติ เทพอพอลโล กับ เทพีอาร์เตมิส บนเกาะนั้น ทันทีที่ประสูติจากครรภ์มารดา เทพอพอลโล ก็จับงูเหลือมฆ่าทิ้งเสีย จึงได้รับการขนานนามว่า ไพธูส (Pytheus) ซึ่งแปลว่า “ผู้สังหารงูเหลือม”.

ใหม่!!: ภาษากรีกและงูเหลือม (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ตรรกศาสตร์

ตรรกศาสตร์ (logic - มีรากศัพท์จากภาษากรีกคือ λόγος, logos) โดยทั่วไปประกอบด้วยการศึกษารูปแบบของข้อโต้แย้งอย่างเป็นระบบ ข้อโต้แย้งที่สมเหตุสมผลคือข้อโต้แย้งที่มีความสัมพันธ์ของการสนับสนุนเชิงตรรกะที่เฉพาะเจาะจงระหว่างข้อสมมุติพื้นฐานของข้อโต้แย้งและข้อสรุป ตรรกศาสตร์เป็นการศึกษาเชิงปรัชญาว่าด้วยการให้เหตุผล โดยมักจะเป็นส่วนสำคัญของวิชาปรัชญา คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ รวมถึงภาษาศาสตร์ ตรรกศาสตร์เป็นการตรวจสอบข้อโต้แย้งที่สมเหตุสมผล (valid argument) หรือการให้เหตุผลแบบผิดๆ (fallacies) ตรรกศาสตร์ เป็นการศึกษาที่มีมานานโดยมนุษยชาติที่เจริญแล้ว เช่น กรีก จีน หรืออินเดีย และถูกยกขึ้นเป็นสาขาวิชาหนึ่งโดย อริสโตเติล.

ใหม่!!: ภาษากรีกและตรรกศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน

ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน เป็นตระกูลภาษาที่มีผู้พูดกระจายไปทั่วหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก มีจำนวนน้อยบนผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย อยู่ในระดับมาตรฐานเดียวกับตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียนและตระกูลภาษายูราลิกคือสามารถสืบหาภาษาดั้งเดิมของตระกูลได้ คำว่าออสโตรนีเซียนมาจากภาษาละติน austro (ลมใต้) รวมกับคำภาษากรีก nesos (เกาะ) ตระกูลภาษานี้ได้ชื่อนี้ เพราะส่วนมากใช้พูดในบริเวณหมู่เกาะ มีเพียงไม่กี่ภาษา เช่น ภาษามลายู และ ภาษาจามที่ใช้พูดบนผืนแผ่นดิน สมาชิกของตระกูลนี้มีถึง 1,268 ภาษา หรือประมาณ 1 ใน 5 ของภาษาที่รู้จักกันทั่วโลก การแพร่กระจายจากแหล่งกำเนิดของภาษาถือว่ากว้างไกล เริ่มตั้งแต่เกาะมาดากัสการ์ ไปจนถึงเกาะทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก ภาษาราปานูอี ภาษามาลากาซี และ ภาษาฮาวาย เป็นภาษาที่ใช้พูดตามรอบนอกของขอบเขตที่มีการใช้ภาษาตระกูลนี้ ภาษาตระกูลนี้มีสาขามากมาย ส่วนมากพบในไต้หวัน ภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซาในไต้หวันเป็นสาขาหลักของภาษาในตระกูลนี้ มีถึง 9 สาขา ภาษาที่ใช้พูดนอกเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดอยู่ในภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย ซึ่งบางครั้งเรรียกว่าภาษานอกเกาะฟอร์โมซ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก

ตการแพร่กระจายของภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มออสโตร-เอเชียติก (Austro-Asiatic languages) เป็นภาษากลุ่มใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และบางส่วนในอินเดียและบังกลาเทศ ชื่อนี้มาจากคำในภาษาละตินที่แปลว่า “ใต้” และชื่อทวีปเอเชียในภาษากรีก ดังนั้นชื่อของภาษาตระกูลนี้จึงหมายถึงเอเชียใต้ ในบรรดาภาษากลุ่มนี้ทั้งหมด ภาษาเวียดนาม ภาษาเขมร และภาษามอญเป็นภาษาที่มีบันทึกทางประวัติศาสตร์ยาวนาน และเฉพาะภาษาเวียดนาม กับภาษาเขมรเท่านั้นที่เป็นภาษาทางการ ภาษาที่เหลือมักเป็นภาษาที่พูดโดยชนกลุ่มน้อย ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกมีการแพร่กระจายตั้งแต่อินเดีย บังกลาเทศ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แยกจากกันด้วยบริเวณที่มีผู้พูดภาษาตระกูลอื่นอยู่ จึงเชื่อกันว่าภาษาตระกูลนี้เป็นภาษาดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอินเดียตะวันออก ส่วนภาษากลุ่มอื่นในบริเวณนี้ได้แก่ตระกูลอินโด-ยุโรเปียน ไท-กะได ดราวิเดียนและจีน-ทิเบตเป็นผลจากการอพยพเข้ามา มีตัวอย่างคำในภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าในเนปาลตะวันออก นักภาษาศาสตร์บางคนเชื่อว่า ภาษานี้เกี่ยวข้องกับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนและจัดเป็นตระกูลใหญ่ออสตริก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หรือ ตระกูลภาษาอินเดีย-ยุโรป ประกอบด้วยภาษาและภาษาย่อยรวม 443 ภาษา (ตามการประมาณของ SIL) ที่พูดโดยคนประมาณ 3 พันล้านคน ซึ่งรวมถึงตระกูลภาษาหลัก ๆ ของยุโรป และเอเชียตะวันตก ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลใหญ่ ภาษาปัจจุบันที่อยู่ในตระกูลใหญ่นี้ มีเช่น ภาษาเบงกาลี ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี ภาษาโปรตุเกส ภาษารัสเซีย และ ภาษาสเปน (แต่ละภาษามีคนพูดมากกว่า 100 ล้านคน).

ใหม่!!: ภาษากรีกและตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน · ดูเพิ่มเติม »

ตรีโกณมิติ

ฟังก์ชันตรีโกณมิติทั้งหมดของมุม ''θ'' สามารถนำมาสร้างทางเรขาคณิตในวงกลมหนึ่งหน่วยที่มีศูนย์กลางที่จุด ''O'' ตรีโกณมิติ (จากภาษากรีก trigonon มุม 3 มุม และ metro การวัด) เป็นสาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์ที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความยาวและมุมของรูปสามเหลี่ยม ตรีโกณมิติเกิดขึ้นในสมัยเฮลเลนิสต์ ในศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสต์ศักราช ปัจจุบันได้มีการนำไปใช้ตั้งแต่ในวิชาเรขาคณิตไปจนถึงวิชาดาราศาสตร์ นักดาราศาสตร์ในศตวรรษที่ 3 ได้สังเกตว่าความยาวด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากและมุมระหว่างด้านมีความสัมพันธ์ที่คงที่ ถ้าทราบความยาวอย่างน้อยหนึ่งด้านและค่าของมุมหนึ่งมุม แล้วมุมและความยาวอื่น ๆ ที่เหลือก็สามารถคำนวณหาค่าได้ การคำนวณเหล่านี้ได้ถูกนิยามเป็นฟังก์ชันตรีโกณมิติ และในปัจจุบันได้แพร่หลายไปทั้งคณิตศาสตร์บริสุทธิ์และคณิตศาสตร์ประยุกต์ เช่น การแปลงฟูรีเย หรือสมการคลื่น หรือการใช้ฟังก์ชันตรีโกณมิติเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ที่เป็นคาบในสาขาวิชาฟิสิกส์ วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟ้า ดนตรีและสวนศาสตร์ ดาราศาสตร์ นิเวศวิทยา และชีววิทยา นอกจากนี้ ตรีโกณมิติยังเป็นพื้นฐานของการสำรวจ ตรีโกณมิติมีความเกี่ยวข้องมากที่สุดกับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากบนระนาบ (กล่าวคือ รูปสามเหลี่ยมสองมิติที่มีมุมหนึ่งมีขนาด 90 องศา) มีการประยุกต์ใช้กับรูปสามเหลี่ยมที่ไม่มีมุมฉากด้วย โดยการแบ่งรูปสามเหลี่ยมดังกล่าวเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากสองรูป ปัญหาส่วนมากสามารถแก้ได้โดยใช้การคำนวณบนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ดังนั้น การประยุกต์ส่วนใหญ่ก็จะเกี่ยวข้องกับรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ยกเว้นในตรีโกณมิติเชิงทรงกลม วิชาที่ศึกษารูปสามเหลี่ยมบนพื้นผิวทรงกลม ซึ่งมีความโค้งเป็นค่าคงที่บวก ในเรขาคณิตอิลลิปติก (elliptic geometry) อันเป็นพื้นฐานของวิชาดาราศาสตร์และการเดินเรือ) ส่วนตรีโกณมิติบนพื้นผิวที่มีความโค้งเป็นค่าลบเป็นส่วนหนึ่งของเรขาคณิตไฮเพอร์โบลิก วิชาตรีโกณมิติเบื้องต้นมักมีการสอนในโรงเรียน อาจเป็นหลักสูตรแยกหรือเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรความรู้พื้นฐานสำหรับแคลคูลั.

ใหม่!!: ภาษากรีกและตรีโกณมิติ · ดูเพิ่มเติม »

ตับ

ตับ (liver) เป็นอวัยวะสำคัญที่พบในสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์บางชนิด ในร่างกายมนุษย์ อยู่ในช่องท้องซีกขวาด้านบนใต้กระบังลม มีหน้าที่หลายอย่างรวมทั้งการกำจัดพิษในเมแทบอไลท์ (metabolites) (สารที่ได้จากขบวนการเมแทบอลิซึม) การสังเคราะห์โปรตีน และการผลิตสารชีวเคมีต่างๆที่จำเป็นในกระบวนการย่อยอาหาร ถ้าตับล้มเหลว หน้าที่ของตับไม่สามารถทดแทนได้ในระยะยาว โดยที่เทคนิคการฟอกตับ (liver dialysis) อาจช่วยได้ในระยะสั้น ตับยังจัดเป็นต่อมที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในร่างกาย ในศัพท์ทางการแพทย์ คำที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับตับจะขึ้นต้นด้วยคำว่า hepato- หรือ hepatic ซึ่งมาจากคำในภาษากรีก hepar ซึ่งหมายถึงตับ มีหน้าที่สำคัญในขบวนการเมแทบอลิซึมหลายประการในร่างกาย เช่นการควบคุมปริมาณไกลโคเจนสะสม การสลายเซลล์เม็ดเลือดแดง การสังเคราะห์พลาสมาโปรตีน การผลิตฮอร์โมน และการกำจัดพิษ ตับยังเป็นต่อมช่วยย่อยอาหารโดยผลิตน้ำดีซึ่งเป็นสารประกอบอัลคาไลน์ช่วยย่อยอาหารผลิตโดยขบวนการผสมกับไขมัน (emulsification of lipids) ถุงนํ้าดีจะใช้เป็นที่เก็บน้ำดีนี้ ถุงน้ำดีมีลักษณะเป็นถุงอยู่ใต้ตับ ก่อนอาหารถุงน้ำดีจะป่องมีขนาดเท่าผลลูกแพร์เล็กเต็มไปด้วยน้ำดี หลังอาหาร น้ำดีจะถูกนำไปใช้หมด ถุงน้ำดีจะแฟบ เนื้อเยื่อของตับมีความเป็นพิเศษอย่างมาก ส่วนใหญ่ประกอบด้วย hepatocytes ที่ควบคุมปฏิกิริยาชีวเคมีปริมาณสูง รวมทั้งการสังเคราะห์และการแตกตัวของโมเลกุลที่ซับซ้อนขนาดเล็กที่จำเป็นอย่างมากในการทำงานเพื่อการดำรงชีวิตปกติ หน้าที่การทำงานทั้งหมดอาจแตกต่างกันไป แต่ในตำราประมาณว่ามีจำนวนประมาณ 500 อย่าง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและตับ · ดูเพิ่มเติม »

ตัวคูณตัวเลข IUPAC

ตัวคูณของ IUPAC (IUPAC numerical multiplier) เป็นส่วนหนึ่งของระบบการเรียกชื่อสารเคมีของ IUPAC ซึ่งทำหน้าที่บอกให้เราทราบถึงจำนวนของอะตอมหรือหมู่ฟังก์ชันที่ต่ออยู่กับจุดใดจุดหนึ่งในโมเลกุล โดยที่ตัวคูณได้ดัดแปลงจากจำนวนนับทั้งในภาษาละตินและภาษากรีก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและตัวคูณตัวเลข IUPAC · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเตี้ยแบบไม่สามารถรอดชีวิตได้

ตัวเตี้ยแบบไม่สามารถรอดชีวิตได้ (thanatophoric short stature, thanatophoric dwarfism) หรือ โรคกระดูกเจริญผิดเพี้ยนแบบไม่สามารถรอดชีวิตได้ (thanatophoric dysplasia) เป็นโรคกระดูกเจริญผิดปกติ (skeletal dysplasia) ที่รุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตในระยะแรกเกิดที่พบบ่อยที่สุด คำว่า thanatophoric มาจากคำภาษากรีก thanatophorus แปลว่า "นำความตายมาให้" มีลักษณะเฉพาะได้แก่ มีศีรษะใหญ่ผิดปกติ (macrocephaly) อกเล็กรูปร่างคล้ายระฆัง (narrow bell-shaped thorax) ความยาวช่วงลำตัวปกติ และมีแขนขาสั้นมาก โรคนี้แบ่งเป็น 2 ชนิด ตามลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วย ได้แก่ ชนิดที่ 1 (thanatophoric dysplasia type I, TD1) และชนิดที่ 2 (TD2) ชนิดย่อยเหล่านี้แบ่งโดยดูกระดูกยาวว่ามีลักษณะโค้งหรือตรง โดย TD1 ซึ่งพบบ่อยกว่า มีลักษณะเฉพาะคือกะโหลกศีรษะมีลักษณะค่อนข้างปกติ กระดูกยาวมีลักษณะโค้งคล้ายหูโทรศัพท์ ลักษณะเช่นนี้พบบ่อยที่สุดที่กระดูกต้นขา ในขณะที่ TD2 มีลักษณะเฉพาะคือกะโหลกศีรษะมีลักษณะคล้ายใบโคลเวอร์ (cloverleaf-shaped skull) และกระดูกต้นขามีลักษณะตรง อย่างไรก็ดีอาจพบมีลักษณะทางคลินิกที่ทับซ้อนกันระหว่างชนิดย่อยเหล่านี้ได้ TD1 และ TD2 เกิดจากการกลายพันธุ์ที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมลักษณะเด่น (autosomal dominant) ของยีน FGFR3 (fibroblast growth factor receptor 3) ซึ่งอยู่บนโครโมโซมคู่ที่ 4 ตำแหน่ง 4p16.3 โดยการกลายพันธุ์ชนิดนี้มีเพเนแทรนซ์ 100% จนถึงปัจจุบันพบว่าผู้ป่วย TD ทั้งหมดเกิดจากการกลายพันธุ์ที่เกิดขึ้นใหม่ (de novo mutation) ของ FGFR3 อย่างไรก็ดี การเกิดโรคนี้จากการมีภาวะโมเซอิกของเซลล์สืบพันธุ์ ก็ยังเป็นที่เชื่อกันว่าสามารถเป็นไปได้ในทางทฤษฎี แม้จะยังไม่มีรายงานกรณีผู้ป่วยเช่นนี้ก็ตาม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและตัวเตี้ยแบบไม่สามารถรอดชีวิตได้ · ดูเพิ่มเติม »

ตาเหล่

ตาเหล่ หรือ ตาเข (isbn) เป็นภาวะที่ตาทั้งสองไม่มองตรงที่เดียวกันพร้อม ๆ กันเมื่อกำลังจ้องดูวัตถุอะไรอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยตาข้างหนึ่งจะเบนไปในทางใดทางหนึ่งอย่างไม่คล้องจองกับตาอีกข้างหนึ่ง/หรือกับสิ่งที่มอง และตาทั้งสองอาจสลับเล็งมองที่วัตถุ และอาจเกิดเป็นบางครั้งบางคราวหรือเป็นตลอด ถ้ามีอาการเป็นช่วงเวลานานในวัยเด็ก ก็อาจทำให้ตามัวหรือเสียการรู้ใกล้ไกล แต่ถ้าเริ่มในวัยผู้ใหญ่ ก็มักจะทำให้เห็นภาพซ้อนมากกว่า อาการอาจมีเหตุจากการทำงานผิดปกติของกล้ามเนื้อตา สายตายาว ปัญหาในสมอง การบาดเจ็บ หรือการติดเชื้อ ปัจจัยเสี่ยงรวมทั้งการคลอดก่อนกำหนด อัมพาตสมองใหญ่ และประวัติการเป็นโรคในครอบครัว มีแบบต่าง ๆ รวมทั้ง เหล่เข้า (esotropia) ที่ตาเบนเข้าหากัน เหล่ออก (exotropia) ที่ตาเบนออกจากกัน และเหล่ขึ้น (hypertropia) ที่ตาสูงต่ำไม่เท่ากัน อาจเป็นแบบเหล่ทุกที่ที่มอง (comitant คือตาเหล่กลอกคู่) หรืออาจเหล่ไม่เท่ากันแล้วแต่มองที่ไหน (incomitant) การวินิจฉัยอาจทำโดยสังเกตว่าแสงสะท้อนที่ตาไม่ตรงกับกลางรูม่านตา มีภาวะอีกอย่างที่ทำให้เกิดอาการคล้าย ๆ กัน คือ โรคเส้นประสาทสมอง (cranial nerve disease) การรักษาจะขึ้นอยู่กับรูปแบบและเหตุ ซึ่งอาจรวมการใช้แว่นตาและการผ่าตัด มีบางกรณีที่มีผลดีถ้าผ่าตัดตั้งแต่ต้น ๆ เป็นโรคที่เกิดในเด็กประมาณ 2% คำภาษาอังกฤษมาจากคำกรีกว่า strabismós ซึ่งแปลว่า "เหล่ตา".

ใหม่!!: ภาษากรีกและตาเหล่ · ดูเพิ่มเติม »

ตาเหล่ออก

ตาเหล่ออก (Exotropia) เป็นรูปแบบหนึ่งของอาการตาเหล่ที่ตาเบนออกด้านข้าง โดยเป็นอาการตรงข้ามกับตาเหล่เข้า (esotropia) คนที่ตาเหล่ออกมักจะเห็นภาพซ้อน (diplopia) ตาเหล่ออกเป็นบางครั้งบางคราวมักจะเป็นเรื่องสามัญ โดยอาการ Sensory exotropia (ตาเหล่ออกเหตุระบบรับความรู้สึก) จะเกิดเพราะสายตาไม่ดี ส่วนอาการตาเหล่เข้าในวัยทารก (Infantile exotropia, congenital exotropia) จะเห็นได้ตั้งแต่ปีแรกของชีวิต และมีคนไข้จำนวนน้อยกว่าอาการอีกแบบที่เรียกว่า essential exotropia ซึ่งปกติจะปรากฏอย่างชัดเจนหลายปีต่อมา สมรรถภาพของสมองในการเห็นวัตถุเป็น 3 มิติ จะขึ้นอยู่กับแนวตาที่ถูกต้อง เมื่อตาทั้งสองอยู่ในแนวที่ถูกต้องและมองไปทีเป้าหมายเดียวกัน สมองซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวกับการเห็นจะรวมภาพจากทั้งสองตาเป็นภาพเดียวกัน เมื่อตาข้างหนึ่งเหล่เข้า เหล่ออก เหล่ขึ้น หรือเหล่ลง สมองอาจเห็นเป็นสองภาพ ซึ่งทำให้ไม่สามารถรู้ใกล้ไกลและเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตา คำภาษาอังกฤษมาจากคำภาษากรีก exo ซึ่งแปลว่า "ออกข้างนอก" และ trope ซึ่งแปลว่า "การหัน".

ใหม่!!: ภาษากรีกและตาเหล่ออก · ดูเพิ่มเติม »

ตุ๊กแกหางใบไม้

ตุ๊กแกหางใบไม้ หรือ ตุ๊กแกหางแบน (Leaf-tail gecko, Leaf-tailed gecko, Flat-tailed gecko) เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกตุ๊กแก ที่อยู่ในสกุล Uroplatus โดยที่คำว่า Uroplatus เป็นภาษาละตินมาจากภาษากรีก 2 คำ คือ "ourá" (οὐρά) หมายถึง "หาง" และ "platys" (πλατύς) หมายถึง "แบน" ตุ๊กแกหางใบไม้ เป็นตุ๊กแกที่มีลักษณะเด่น คือ มีร่างกายที่บิดงอและแบนราบ ทำให้มีลักษณะกลมกลืนไปกับสิ่งแวดล้อมได้อย่างดีเยี่ยม โดยเฉพาะส่วนหางที่แบนราบและมีลักษณะคล้ายกับใบไม้มาก จึงเป็นสัตว์ที่สามารถแฝงตัวตามธรรมชาติได้เป็นอย่างดี เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืน มีดวงตากลมโตจึงสามารถมองเห็นในเวลากลางคืนได้เป็นอย่างดี โดยที่ไม่มีเปลือกตา ตุ๊กแกหางใบไม้มีความสามารถในการมองในที่มืดดีกว่ามนุษย์ถึง 350 เท่า และสามารถเห็นสีต่าง ๆ ได้แม้ในแสงจันทร์สลัว ๆ กินแมลงต่าง ๆ รวมถึงสัตว์ไม่มีกระดูกชนิดต่าง ๆ เป็นอาหารเหมือนตุ๊กแกทั่วไป ที่ฝ่าตีนและนิ้วมีปุ่มสุญญากาศใช้ยึดเกาะติดกับผนังได้เป็นอย่างดี โดยพฤติกรรมมักจะอยู่นิ่ง ๆ ทำตัวกลมกลืนไปกับต้นไม้หรือใบไม้ มีขนาดตั้งแต่ 30 เซนติเมตร รวมทั้งส่วนหาง จนถึง 10 เซนติเมตร ซึ่งเป็นขนาดเล็กสุด ตัวเมียวางไข่ครั้งละ 2-4 ฟอง จัดเป็นสัตว์เฉพาะถิ่น ที่พบได้บนเกาะมาดากัสการ์ที่เดียวเท่านั้น อาศัยอยู่ในป่าทั่วไปทั้งป่าดิบ หรือป่าเสื่อมโทรม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและตุ๊กแกหางใบไม้ · ดูเพิ่มเติม »

ซัลซา (ซอส)

ซัลซา เป็นอาหารประเภทซอสชนิดหนึ่งในอาหารยุโรปและลาตินอเมริกา คำว่าซัลซาเองนั้นหมายถึงซอสในภาษาสเปน ภาษาอิตาลี ภาษากรีก และภาษาตุรกี (salça) ส่วนในภาษาอังกฤษ ซัลซาหมายถึงซอสชนิดหนึ่งในอาหารเม็กซิโก (salsas picantes) ซึ่งใช้เป็นเครื่องจิ้ม ลักษณะของซัลซาเป็นซอสที่ทำจากผักและผลไม้หั่นเป็นชิ้น เช้น มะเขือเทศ แตงกวา มะม่วง ใส่พริก หอมแดง ถั่ว ข้าวโพด และเครื่องเทศอื่น ๆ คลุกกับน้ำมันมะกอกและน้ำส้มสายชู กินกับอาหารทะเล รสชาติมีตั้งแต่ปานกลางจนถึงเผ็.

ใหม่!!: ภาษากรีกและซัลซา (ซอส) · ดูเพิ่มเติม »

ซาวลา

ซาวลา หรือ วัวหวูกว่าง (sao la; Vu Quang ox; ลาว: ເສົາຫຼາ, ເສົາຫລາ) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่ชนิดใหม่ที่เพิ่งค้นพบในปี ค.ศ. 1992 มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pseudoryx nghetinhensis มีรูปร่างคล้ายแพะผสมกับเลียงผา จัดอยู่ในวงศ์เดียวกับวัว (Bovidae) จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Pseudoryx โดยที่ชื่อนี้ (รวมถึงชื่อวิทยาศาสตร์ทั้งหมด) มาจากภาษากรีกแปลว่า "ออริกซ์ปลอมแห่งเหงะติ๋ง" เนื่องจากมีเขาที่ดูคล้ายออริกซ์ แอนทิโลปเขาตรงที่พบในทวีปแอฟริกา โดย "ซาวลา" ซึ่งเป็นชื่อสามัญในภาษาเวียดนาม มาจากภาษาไต แปลว่า "เขาบิดเกลียว" อีกทั้งยังแฝงความหมายว่า "ล้ำค่าดุจเดือนและดาว" และยังได้สมญาว่าเป็น "ยูนิคอร์นแห่งเอเชีย".

ใหม่!!: ภาษากรีกและซาวลา · ดูเพิ่มเติม »

ซาอิส

305x305px ซาอิส (อาหรับ: صاالحجر; กรีกโบราณ: Σάϊς; คอปติก: ⲥⲁⲓ) หรือ ซา เอล ฮาการ์ เป็นเมืองของอียิปต์โบราณในแถบแม่น้ำไนล์ฝั่งตะวันตกบนดินดอนปากแม่น้ำไนล์Mish, Frederick C., Editor in Chief.

ใหม่!!: ภาษากรีกและซาอิส · ดูเพิ่มเติม »

ซาจิททาเรียส ไอโอลอส

อโอลอสขณะปล่อยท่าไม้ตาย อะตอมมิค ธันเดอร์โบลต์ ซาจิททาเรียส ไอโอลอส ตัวละครจากการ์ตูนเรื่องเซนต์เซย่า เป็นโกลด์เซนต์ประจำราศีธนู ผู้ดูแลปราสาทมนุษย์ม้า 1 ใน 12 ปราสาทแห่งแซงค์ทัวรี่ และเป็นพี่ชายของ เลโอ ไอโอเรีย โกลด์เซนต์ประจำราศีสิงห.

ใหม่!!: ภาษากรีกและซาจิททาเรียส ไอโอลอส · ดูเพิ่มเติม »

ซีอาแซนทิน

ซีอาแซนทิน (zeaxanthin) เป็นสารกลุ่มแคโรทีนอยด์และแซนโทฟิลล์ที่พบในธรรมชาติ พบมากที่ใบพืชโดยทำหน้าที่ปรับพลังงานแสงและเป็นสารระงับพลังงานส่วนเกินจากการสังเคราะห์ด้วยแสง (non-photochemical quenching) สัตว์รับซีอาแซนทินจากการรับประทานพืช คำว่า "zeaxanthin" มาจากชื่อวิทยาศาสตร์ของข้าวโพด (Zea mays) และคำในภาษากรีก ξανθός (xanthos) ที่แปลว่าเหลือง ซีอาแซนทินมีสูตรเคมีคือ C40H56O2 เช่นเดียวกับลูทีน แต่ต่างกันตรงตำแหน่งพันธะคู่ของวงแหวนสุดท้าย ทำให้ลูทีนมีตำแหน่งไครัล 3 ตำแหน่ง ในขณะที่ซีอาแซนทินมี 2 ตำแหน่ง ซีอาแซนทินและลูทีนเป็นสารแคโรทีนอยด์สองชนิดที่พบมากในจอตา โดยซีอาแซนทินพบมากที่ส่วน macula ส่วนลูทีนพบมากที่ขอบจอตา ซีอาแซนทินช่วยกรองแสงและเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดโอกาสการเกิดจอตาเสื่อมและต้อกระจก แหล่งที่พบซีอาแซนทินมากคือสาหร่าย Spirulina จึงนิยมนำมาผลิตเป็นอาหารเสริม นอกจากนี้ยังพบในไข่ ปวยเล้ง ผักกาดหอม บรอกโคลี กีวีฟรุต หญ้าฝรั่นและเก๋ากี่ เมื่อใช้ซีอาแซนทินเป็นวัตถุเจือปนอาหาร จะมีเลขอีคือ E161h.

ใหม่!!: ภาษากรีกและซีอาแซนทิน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินดาวเคราะห์

ปฏิทินดาวเคราะห์ (ephemeris; มาจากคำภาษากรีกว่า ἐφήμερος ephemeros หมายถึง "ประจำวัน") คือตารางแสดงตำแหน่งของวัตถุทางดาราศาสตร์ที่ปรากฏบนท้องฟ้าในช่วงเวลาหนึ่งๆ มีการนำไปใช้ที่แตกต่างกันสำหรับการศึกษาดาราศาสตร์และโหราศาสตร์ นับเป็นผลงานชิ้นต้นๆ ชิ้นหนึ่งของการใช้คอมพิวเตอร์คำนวณข้อมูลทางกลศาสตร์ ข้อมูลสำหรับนักดาราศาสตร์จะเป็นตำแหน่งดาวที่แสดงบนระบบพิกัดขั้วโลกทรงกลม ประกอบด้วยค่าไรต์แอสเซนชั่นและเดคลิเนชั่น ส่วนตารางสำหรับนักโหราศาสตร์จะเป็นค่าลองจิจูดกับเส้นทางของจักรราศี อาจมีการแสดงค่าเดคลิเนชั่นประกอบด้วย ตำแหน่ง Astrological position อาจกำหนดเป็นเที่ยงวันหรือเที่ยงคืนก็ได้ ปฏิทินในทางดาราศาสตร์อาจมีข้อมูลเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่สำคัญหรือน่าสนใจสำหรับทั้งนักดาราศาสตร์และโหราศาสตร์ เช่น การเกิดคราส การเกิดปรากฏการณ์ดาวเคราะห์เคลื่อนที่ถอยหลัง ดาวเคราะห์เคลื่อนบังกัน เวลาอายัน ดิถีของดวงจันทร์ เป็นต้น นอกเหนือจากปรากฏการณ์ของดาวเคราะห์และดวงจันทร์แล้วในบางครั้งยังรวมถึงไครอนและวัตถุท้องฟ้าขนาดเล็กอื่นๆ ด้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปฏิทินดาวเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ประชาน

ประชาน หรือ ปริชาน หรือ การรับรู้ (Cognition) เป็น "การกระทำหรือกระบวนการทางใจเพื่อให้ได้ความรู้ความเข้าใจผ่านความคิด ประสบการณ์ และประสาทสัมผัส" ซึ่งรวมกระบวนการต่าง ๆ รวมทั้ง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและประชาน · ดูเพิ่มเติม »

ประภาคารฟาโรสแห่งอเล็กซานเดรีย

วาดในจินตนาการของประภาคารฟาโรสแห่งอเล็กซานเดรีย ประภาคารฟาโรสแห่งอเล็กซานเดรีย หรือ ประภาคารแห่งอเล็กซานเดรีย (Pharos of Alexandria, Lighthouse of Alexandria, คำว่าฟาโรสในภาษากรีก (Φάρος) แปลว่าประภาคาร) เป็นประภาคารโบราณซึ่งจัดให้เป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก ตั้งอยู่บนเกาะฟาโรส เมืองอเล็กซานเดรีย ริมฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน สร้างประมาณ 270 ปีก่อนคริสต์ศักราช ในรัชสมัยพระเจ้าปโตเลมีที่ 1 โดยสถาปนิกชื่อ โซสเตรโตส ตัวประคาภารมีความสูงเท่าใดไม่แน่ชัด แต่อยู่ในระหว่าง 200-600 ฟุต (ขนาดพอ ๆ กับ เทพีเสรีภาพ) สร้างด้วยหินอ่อนแกะสลัก มีตะเกียงขนาดใหญ่บนยอด นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าในเวลากลางวันจะปล่อยควัน ในเวลากลางคืนจะเป็นแสงไฟสว่างที่เห็นได้จากระยะไกล ซึ่งยังไม่ทราบว่าใช้วิธีใดในการจุดไฟและส่องแสง บ้างก็สันนิษฐานว่าใช้กระจกในการส่องแสง บ้างก็เชื่อว่า สามารถส่องแสงได้ถึง 4 ทาง แต่บางส่วนก็เชื่อว่า ส่องแสงได้เพียงแค่ 2 ทางเท่านั้น ประภาคารฟาโรสแห่งอเล็กซานเดรีย มีอายุอยู่ได้ยาวนานถึง 1,600 ปี จนกระทั่งในประมาณศตวรรษที่ 13-14 เกิดแผ่นดินไหวทำให้ประภาคารพังลงมา ในปี ค.ศ. 1994 นักโบราณคดีได้ดำน้ำสำรวจบริเวณปากอ่าวอเล็กซานเดรีย พบหลักฐานของสิ่งที่เชื่อว่าเป็นซากชิ้นส่วนของประภาคารฟาโรสแห่งอเล็กซานเดรีย ซึ่งบางส่วนเป็นหินที่หนักถึง 70 ตันและเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคโบราณ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและประภาคารฟาโรสแห่งอเล็กซานเดรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์ (history; รากศัพท์ภาษากรีก ἱστορία หมายถึง "การสอบถามหาความรู้ที่ได้มาโดยการสอบสวน") เป็นการค้นพบ ค้นหา รวบรวม จัดระเบียบและนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีตประวัติศาสตร์ยังอาจหมายถึงช่วงเวลาหลังมีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้น นักวิชาการผู้เขียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เรียกนักประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์เป็นสาขาการวิจัยซึ่งใช้การบรรยายเพื่อพิจารณาและวิเคราะห์ลำดับของเหตุการณ์ และบางครั้งพยายามสอบสวนรูปแบบของเหตุและผลซึ่งมีอิทธิพลต่อเหตุการณ์อย่างยุติธรรม นักประวัติศาสตร์ถกเถียงกันเรื่องธรรมชาติของประวัติศาสตร์และประโยชน์ของมัน ซึ่งรวมทั้งถกเถียงการศึกษาสาขาวิชาเป็นจุดจบในตัวมันเองและเป็นเสมือนวิถีการให้ "มุมมอง" ต่อปัญหาในปัจจุบันp 52 เรื่องเล่าซึ่งเป็นสิ่งธรรมดาในวัฒนธรรมใดวัฒนธรรมหนึ่ง แต่ไม่มีการสนับสนุนจากแหล่งข้อมูลภายนอก (เช่น ตำนานเกี่ยวกับกษัตริย์อาเธอร์) มักจัดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมมากกว่า "การสอบสวนอย่างไม่นำพา" ที่จำเป็นตามสาขาประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ในอดีตก่อนมีบันทึกลายลักษณ์อักษรเรียกว่า ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในบรรดานักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล เฮโรโดตัส ถูกพิจารณาว่าเป็น "บิดาแห่งประวัติศาสตร์" เขาร่วมกับธูซิดดิดีส0 นักประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ก่อตั้งรากฐานของการศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ อิทธิพลของพวกเขา ร่วมกับแบบแผนทางประวัติศาสตร์อื่นในส่วนอื่นของโลก ได้ก่อให้เกิดการตีความธรรมชาติของประวัติศาสตร์ไปต่าง ๆ นานา ซึ่งได้วิวัฒนามาเป็นเวลาหลายศตวรรษและยังมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ในปัจจุบัน การศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีหลายสาขา รวมทั้งสาขาที่มุ่งศึกษาภูมิภาคหนึ่งโดยเฉพาะ และสาขาที่มุ่งศึกษาองค์ประกอบเฉพาะหัวข้อหรือใจความของการสอบสวนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์มักสอนเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษาขั้นประถมและมัธยม และการศึกษาวิชาการประวัติศาสตร์เป็นสาขาหลักในระดับอุดมศึกษ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและประวัติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อานาโตเลีย

ประวัติศาสตร์อานาโตเลียกล่าวถึงดินแดนที่เรียกว่าอานาโตเลียหรือเอเชียไมเนอร์ ซึ่งเป็นดินแดนทางตะวันตกของทวีปเอเชีย ในทางภูมิศาสตร์หมายถึงดินแดนส่วนใหญ่ของประเทศตุรกีในปัจจุบัน จากทะเลอีเจียนซึ่งเป็นขอบเขตทางตะวันตกจนถึงภูเขาชายแดนประเทศอาร์มีเนียทางตะวันออก และเทือกเขาทะเลดำทางเหนือจนถึงเทือกเขาเทารัสทางใต้ โดยสภาพทางภูมิศาสตร์ อานาโตเลียเป็นเสมือนสะพานที่เชื่อมระหว่างยุโรปและเอเชียตั้งแต่ยุคดึกดำบรรพ์ ดินแดนแห่งนี้จึงเป็นเส้นทางสำหรับการเดินทางไปมาระหว่างยุโรปและเอเชีย ตลอดระยะเวลากว่า 4 ถึง 5,000 ปีที่ผ่านมา มีชนหลายเผ่าพันธุ์เดินทางเข้ามายังอานาโตเลียและได้ตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนของตนบนดินแดนแห่งนี้ อาณาจักรของชนเหล่านี้ได้พัฒนาเจริญรุ่งเรืองและในที่สุดก็ต้องล่มสลายไปตามกาลเวลา ความเก่าแก่และหลากหลายของอารยธรรมที่เคยเจริญรุ่งเรืองบนผืนแผ่นดินแห่งนี้เป็น 1 ใน 3 สิ่งที่ชาวตุรกีมีความภาคภูมิใจเป็นพิเศษสำหรับดินแดนอันเป็นประเทศตนในปัจจุบัน ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่ราบสูงอานาโตเลียเคยเป็นที่อาศัยของมนุษย์มาตั้งแต่ยุคหิน ยุคประวัติศาสตร์ของอานาโตเลียเริ่มต้นขึ้นในยุคโลหะ ประมาณ 3,000 - 1,200 ก่อนคริสตกาล หากมองย้อนหลังไปในยุคดังกล่าวกลับมาจนถึงยุคปัจจุบันจะพบว่าอานาโตเลียมีลักษณะพิเศษที่ไม่เหมือนดินแดนอื่นใดในโลกคือ เป็นดินแดนที่มีอารยธรรมที่เก่าแก่และหลากหลายของชนหลายกลุ่มซึ่งได้ผลัดเปลี่ยนกันเข้ามาครอบครองดินแดนแห่งนี้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและประวัติศาสตร์อานาโตเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาพุทธ

นาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่สำคัญคือเถรวาทและมหายาน นิกายมหายานได้แพร่หลายไปทั่วเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก เมื่อศาสนาพุทธในอินเดียเสื่อมลง พุทธศาสนามหายานในเอเชียกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เสื่อมตามไปด้วย ยังคงเหลือในจีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม ส่วนนิกายเถรวาทได้เฟื่องฟูขึ้นอีกครั้งในศรีลังกา และแพร่หลายไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พุทธศาสนาได้แพร่หลายไปยังโลกตะวันตกตั้งแต่ครั้งโบราณ แต่ชาวตะวันตกหันมาสนใจพุทธศาสนามากขึ้นในยุคจักรวรรดินิยมและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและประวัติศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาคริสต์

ระวิหารศักดิ์สิทธิ์ของศาสนายูดาห์ เป็นจุดเริ่มต้นของศาสนาคริสต์และเป็นศาสนสถานที่สำคัญในกลุ่มศาสนาอับราฮัม ซึ่งตั้งอยู่บนเขาพระวิหาร (Temple Mount) ในกรุงเยรูซาเลม (ภาพถ่ายจากฝั่งตะวันออกเฉียงใต้) ปี ค.ศ.600 ศาสนาคริสต์เกิดขึ้นบริเวณดินแดนเลแวนต์ ซึ่งปัจจุบันคือประเทศอิสราเอลและปาเลสไตน์ ในช่วงกลางคริสศตวรรษที่ 1 ศาสนาคริสต์ได้เริ่มเผยแผ่ครั้งแรกจากกรุงเยรูซาเลม ตลอดจนดินแดนตะวันออกกลาง เช่น ประเทศซีเรีย อัสซีเรีย เมโสโปเตเมีย ฟินิเชีย อานาโตเลีย ประเทศจอร์แดน และประเทศอียิปต์ ในช่วงคริสศตวรรษที่ 4 ศาสนาคริสต์ได้รับเลือกให้เป็นศาสนาประจำชาติโดยราชวงศ์อาร์เมเนียในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและประวัติศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซ

กรีซ (Greece; Ελλάδα, Elládha เอลาฑา หรือ Ελλάς, Ellás) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเฮลเลนิก (Hellenic Republic; Ελληνική Δημοκρατία, Ellinikí Dhimokratía) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป ตอนใต้สุดของคาบสมุทรบอลข่าน มีพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศบัลแกเรีย มาซิโดเนีย และแอลเบเนีย มีพรมแดนทางตะวันออกติดกับประเทศตุรกี อยู่ติดทะเลอีเจียนทางด้านตะวันออก ติดทะเลไอโอเนียนและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านตะวันตกและใต้ กรีซนับว่าเป็นแหล่งอารยธรรมตะวันตกอันยิ่งใหญ่ และมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ซึ่งกรีซได้แผ่อิทธิพลไปยัง 3 ทวีป ชาวกรีกเรียกประเทศตัวเองว่า Hellas ซึ่งภาษากรีกในปัจจุบันออกเสียง ว่า Ellas โดยในการพูดทั่วไปจะใช้คำว่า Ellada และมักจะเรียกตัวเองว่า Hellenes แม้กระทั่งในภาษาอังกฤษ ซึ่งคำภาษาอังกฤษ "Greece" มาจากชื่อละตินว่า Graecia หมายถึงพื้นที่ทางเหนือของกรีซในปัจจุบัน ซึ่งมีกลุ่มคนที่เรียกว่า Graikos อาศัยอยู.

ใหม่!!: ภาษากรีกและประเทศกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์

รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.

ใหม่!!: ภาษากรีกและประเทศอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปรตุเกส

ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ. 1671 โปรตุเกส (Portugal ปุรตุกาล) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโปรตุเกส (República Portuguesa) เป็นสาธารณรัฐซึ่งมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรไอบีเรียทางตอนใต้ของทวีปยุโรป และถือว่าเป็นประเทศที่อยู่ทางทิศตะวันตกมากที่สุดในบรรดาประเทศในทวีปยุโรปทั้งหลาย (ยกเว้นหมู่เกาะบริเตนใหญ่และหมู่เกาะใกล้เคียง) โปรตุเกสมีพรมแดนติดกับประเทศสเปนในทางทิศเหนือและทิศตะวันออก และอยู่ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกในทางทิศตะวันตกและทิศใต้ นอกจากนี้ โปรตุเกสยังประกอบไปด้วยอาณาเขตหมู่เกาะอยู่หลายหมู่เกาะด้วยกันในมหาสมุทรแอตแลนติก อาทิเช่น อะโซร์ส (Azores หรือ Açores) และเกาะมาเดราและโปร์ตูซันตู (รวมถึงหมู่เกาะซาเวจด้วย).

ใหม่!!: ภาษากรีกและประเทศโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไซปรัส

ซปรัส (Cyprus; Κύπρος คีโปรส; Kıbrıs) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐไซปรัส (Republic of Cyprus; Κυπριακή Δημοκρατία; Kıbrıs Cumhuriyeti) เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางตะวันออก อยู่ทางใต้ของประเทศตุรกี 44 ไมล์ อยู่ทางตะวันตกของชายฝั่งประเทศซีเรียประมาณ 64 ไมล์ และห่างจากเกาะโรดส์ และเกาะคาร์ปาทอส ทางตะวันออกเฉียงใต้ของกรีซ 240 ไมล์ ไซปรัสเป็นจุดหมายหนึ่งในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่นักท่องเที่ยวนิยมไปมากที่สุด โดยมีจำนวนนักท่องเที่ยวประมาณ 2.4 ล้านคนต่อปี ไซปรัสได้รับเอกราชจากการเป็นอาณานิคมจากสหราชอาณาจักร เมื่อปี 1960 และเป็นประเทศสมาชิกในเครือจักรภพในปี 1961.

ใหม่!!: ภาษากรีกและประเทศไซปรัส · ดูเพิ่มเติม »

ปรากฏการณ์บูบา/กิกี

ณคิดว่ารูปซ้ายหรือรูปขวามีชื่อว่า "บูบา" และรูปไหนชื่อว่า "กิกี" รูปนี้ใช้สำหรับทดลองว่า การจับคู่เสียง ๆ หนึ่งกับรูป ๆ หนึ่ง อาจจะไม่ใช่โดยความบังเอิญ นักศึกษามหาวิทยาลัยชาวอเมริกันและผู้พูดภาษาทมิฬในประเทศอินเดีย เรียกรูปซ้ายว่า '''กิกี''' และรูปขวาว่า '''บูบา''' ปรากฏการณ์บูบา/กิกี (bouba/kiki effect) เป็นการจับคู่เสียงพูดกับรูปร่างที่เห็นทางตาอย่างไม่บังเอิญ โวลฟ์แกง โคฮ์เรอร์ ผู้เป็นนักจิตวิทยาชาวเยอรมัน-อเมริกัน สังเกตพบปรากฏการณ์นี้เป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและปรากฏการณ์บูบา/กิกี · ดูเพิ่มเติม »

ปลาพีค็อกแบส

ปลาพีค็อกแบส (Peacock bass, Eyetail cichlids) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) โดยชื่อสามัญที่ว่า "Peacock bass" ที่หมายถึง "ปลากะพงนกยูง" นั้นมาจากลักษณะของลวดลายตามลำตัวและโคนครีบหางที่เป็นจุดสีทึบขนาดใหญ่คล้ายกับรำแพนหางของนกยูง โดยเฉพาะโคนครีบหางทั้ง 2 ข้าง ใช้ชื่อสกุลว่า Cichla (/ซิค-คลา/) ซึ่งมาจากภาษากรีก (Kichle) หมายถึง "ปลาทะเลที่มีฟันแหลมและสีสวยแถบทะเลเขตร้อน" มีลักษณะลำตัวทั่วไป มีส่วนหัวขนาดใหญ่ ริมฝีปากหนา ลำตัวยาว พื้นลำตัวเป็นสีเขียวอมส้ม เป็นปลาที่ดวงตาขนาดใหญ่ และสายตาดี มีพละกำลังมากมาย เป็นปลากินเนื้อที่มีขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด อาจยาวได้ถึง 30 นิ้ว จัดเป็นปลากินเนื้อน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดจำพวกหนึ่งที่พบได้ในทวีปอเมริกาใต้ ขณะที่ยังเป็นลูกปลาวัยอ่อนอยู่ จะมีสีอ่อนกว่าปลาที่เต็มวัย และมีแถบสีดำขนานกับลำตัวของตั้งแต่แก้มไปจนถึงหาง เมื่อโต แถบดังกล่าวจะหายไป กระจายพันธุ์ในแม่น้ำสายหลักต่าง ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ เช่น แม่น้ำโอรีโนโก และแม่น้ำอเมซอน เป็นต้น เดิมได้มีการจำแนกออกเป็นชนิดต่าง ๆ ได้ 5 ชนิด โดยใช้เกณฑ์พิจารณาจากลวดลายและโครงสร้างของร่างกาย ได้แก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาพีค็อกแบส · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระโทงดาบ

ปลากระโทงดาบ หรือ ปลากระโทงแทงดาบ (Swordfish, Broadbill swordfish) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Xiphiidae จัดเป็นเพียงชนิดเดียวและสกุลเดียวเท่านั้น ที่อยู่ในวงศ์นี้ มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลากระโทงร่ม (Istiophoridae) ต่างกันที่จะงอยปากที่ยื่นยาวออกไปมีลักษณะแบนลง เมื่อโตเต็มวัยไม่มีเกล็ดหุ้มตัว ไม่พบครีบท้อง ในปากไม่มีฟัน (มีฟันแต่เฉพาะยามเป็นปลาวัยอ่อน ซึ่งฟันมีความกริบเหมือนมีดโกน และจะหลุดออกเมื่อโตขึ้น) บริเวณด้านข้างคอด หางมีสันนูนเพียงข้างละสันเดียว มีขนาดตัวยาวได้ถึง 4.5 เมตร พบกระจายพันธุ์ไปในมหาสมุทรเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก สามารถที่จะดำน้ำได้ถึง 550 เมตร กินปลาขนาดเล็กทั่วไป สามารถว่ายน้ำได้เร็วถึง 50 ไมล์/ชั่วโมง จัดเป็นปลาที่ดุร้ายก้าวร้าวชนิดหนึ่ง มีรายงานโจมตีปลาฉลามหรือเต่าทะเล โดยพบชิ้นส่วนของจะงอยปากติดกับสิ่งที่แทง รวมถึงแม้แต่เรือดำน้ำขนาดเล็กเพื่อการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ด้วย ก็เคยถูกปลากระโทงดาบโจมตี จนตัวปลาติดกับเรือจนตาย และเมื่อขึ้นสู่ผิวน้ำ ลูกเรือก็ได้กินปลาตัวนั้นเป็นอาหารSuper Fish: fasted predator in the sea, สารคดีทางแอนิมอลพนาเน็ต.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลากระโทงดาบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนหางปีก

ปลากระเบนหางปีก (Fintail stingrays) เป็นสกุลของปลากระเบนจำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) ใช้ชื่อว่า Dasyatis (/ดา-ซิ-อา-ทิส/) ปลาในสกุลนี้ มีรูปร่างโดยรวมคล้ายกับปลาในสกุล Himantura แต่ปลาในสกุลนี้จะมีลำตัวรูปทรงออกไปทางห้าเหลี่ยมมากกว่า จะงอยปากไม่ยื่นแหลมเท่า มีส่วนของตาที่ปูนโปดกว่า และหางมีความยาวน้อยกว่า และอาจมีริ้วหนังบาง ๆ ในช่วงตอนปลายของหางด้วย นอกจากนี้แล้วยังมีอยู่ชนิดหนึ่ง คือ Neotrygon kuhlii ที่เป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Neotrygon ก็ถูกจัดให้อยู่ในสกุลนี้เช่นกัน เนื่องจากสกุลนี้ถือเป็นสกุลต้นแบบของปลาในวงศ์ Dasyatidae โดยคำว่า Dasyatis นั้นมาจากภาษากรีกคำว่า "dasys" หมายถึง "หยาบ" หรือ "ฟัน" และ "batus" หมายถึง "ปลากระเบน".

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลากระเบนหางปีก · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงเขียว

ปลากะพงเขียว (Blue-gray snapper, Green jobfish) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงแดง (Lutjanidae) มีรูปร่างยาวเรียว ลำตัวหนาและด้านข้างแบน หัวโต จะงอยปากยาวปลายมน นัยน์ตาโตและอยู่ใกล้ช่องเปิดเหงือก ปากกว้างและเฉียงขึ้นเล็กน้อย มีฟันเป็นเขี้ยวที่แหลมคมท่อนหางยาวเรียว มีเกล็ดขนาดเล็กที่หัวและลำตัว ครีบหลังยาว ส่วนของก้านครีบแข็งและอ่อนติดเป็นแผ่นเดียวกัน ครีบหางเว้าเป็นแฉกกว้าง ปลายแฉกเรียวแหลม พื้นลำตัวมีสีเขียวปนน้ำเงิน ส่วนท้องเป็นสีขาวปนเทาจาง ๆ จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Aprion (มาจากภาษากรีกคำว่า "Aprion" หมายถึง "ปราศจาก" กับคำว่า "prion" หมายถึง "เลื่อย") มีความยาวประมาณ 60-80 เซนติเมตร ใหญ่ที่สุดพบยาวถึง 112 เซนติเมตร น้ำหนัก 15.4 กิโลกรัม เป็นปลาที่แพร่กระจายพันธุ์ในเขตอินโด-แปซิฟิก ตั้งแต่เกาะฮาวาย, แอฟริกาตะวันออก, ญี่ปุ่น จนถึงตอนเหนือของออสเตรเลีย ในน่านน้ำไทยพบมากที่ทะเลอันดามัน มักพบในหน้าดิน บริเวณเกาะ, แนวปะการัง ในระดับความลึกไม่เกิน 100 เมตร เป็นปลาเศรษฐกิจ ที่มีรสชาติดี มีความสำคัญในการทำประมง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลากะพงเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์

ปลาการ์ หรือ ปลาการ์ไพค์ (Gar, Garpike) เป็นปลาน้ำจืดกระดูกแข็งที่มีก้านครีบวงศ์หนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ Lepisosteidae (/เล็พ-พิ-โส-สตี-ได-ดี้/) และอยู่ในอันดับ Lepisosteiformes (/เล็พ-พิ-โส-สตี-ได-ฟอร์-เมส/) ปลาการ์มีรูปร่างคล้ายกับปลากระทุงเหว หรือปลาเข็ม ที่อยู่ในอันดับ Beloniformes คือ มีรูปร่างเรียวยาว มีลักษณะเด่นคือ มีจะงอยปากที่แหลมยาวยื่นออกมาคล้ายเข็มเห็นได้ชัดเจน ซึ่งภาษาอังกฤษเก่าคำว่า "Gar" หมายถึง "หอก" ขณะที่ชื่อสกุลในทางวิทยาศาสตร์คำว่า Lepisosteus มาจากภาษากรีกคำว่า lepis หมายถึง "เกล็ด" หรือหมายถึง "กระดูก" และ Atractosteus ดัดแปลงมาจากภาษากรีกคำว่า atraktos หมายถึง "ธนู" ทั้งนี้เนื่องจากปลาการ์มีเกล็ดแบบกานอยด์ซึ่งเรียงตัวกันเป็นรูปสามเหลี่ียมแบบเพชร มีความหนา่และแข็งแรงห่อหุ้มลำตัวเสมือนเกราะ โดยมีลักษณะเช่นนี้มา่ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์แล้ว โดยปลาการ์ถือกำเนิดขึ้นมาตั้งแต่ปลายยุคครีเตเชียส โดยพบเป็นซากฟอสซิลตามทวีปต่าง ๆ ทั่วโลก รวมถึงในภาคอีสานของประเทศไทยด้วย ที่มีการค้นพบเมื่อไม่นานมานี้ ปลาการ์ในปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 2 สกุล เป็นปลาน้ำจืดทั้งหมด ในขณะที่บางชนิดอาจพบได้ในแหล่งน้ำกร่อยหรือตามชายฝั่งบ้าง พบกระจายพันธุ์ฺเฉพาะทวีปอเมริกาเหนือ, อเมริกากลาง และแคริบเบียน มีรูปร่างเรียวยาวเหมือนแท่งดินสอ มีจะงอยปากยื่นแหลมที่ภายในมีฟันซี่เล็ก ๆ แหลมคมอยู่เป็นจำนวนมาก ใช้สำหรับล่าเหยื่อและกินอาหาร มีเส้นข้างลำตัวที่ไวต่อความรู้สึก ใช้เป็นประสาทในการสัมผัสและนำทาง ปลายกระดูกสันหลังข้อสุดท้ายยกเชิดขึ้น และโค้งไปตามขอบบนของหางจนถึงปลายครีบหาง ทำให้มีครีบหางกลมมนเป็นรูปพัด มีรูจมูกอยู่ที่ปลายจะงอยปาก นอกจากนี้แล้วยังมีถุงลมที่ทำหน้าที่เสมือนปอด จึงสามารถดำรงชีวิตอยู่ในแหล่งน้ำที่ีมีปริมาณออกซิเจนต่ำได้ โดยการขึ้นมาฮุบอากาศบนผิวน้ำ ปลาการ์ทั้งหมดวางไข่ในน้ำจืด มีรายงานระบุว่าไข่ของปลาวงศ์นี้มีพิษ โดยพฤติกรรมจะอาศัยรวมฝูงกันอยู่ระดับในผิวน้ำในฤดูร้อน และจะดำดิ่งลงสู่เบื้องล่างในฤดูหนาว อาหารส่วนใหญ่จะมักจะเป็น นกน้ำ เช่น นกเป็ดน้ำ และ ปู ซึ่งง่ายต่อการล่า ในหลายพื้นที่นิยมตกกันเป็นเกมกีฬาและนำชิ้นส่วนต่าง ๆ เช่น เกล็ดมาทำเป็นเครื่องประดับตกแต่งบ้าน รวมถึงเนื้อด้วยในบางชนิดรับประทานเป็นอาหาร มีขนาดใหญ่ที่สุดได้ถึง 10-14 ฟุต ในปลาอัลลิเกเตอร์ ซึ่งมีรายงานว่าทำร้ายมนุษย์ได้ด้วย และนับเป็นปลาน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดชนิดหนึ่งของโลก มีการเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามหรือแสดงตามพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ รวมถึงปลาอัลลิเกเตอร์ ซึ่งในหลายพื้นที่ได้กลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมในพื้นที่นั้น ๆ ด้วย เนื่องจากเป็นปลากินเนื้อขนาดใหญ่ ที่ส่งผลต่อการสูญพันธุ์ของปลาและสัตว์น้ำพื้นเมืองได้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาการ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลามอลลี่

ปลามอลลี่ หรือ ปลาสอด (Livebearer, Molly) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ในอันดับปลาออกลูกเป็นตัว (Cyprinodontiformes) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Poecilia ในวงศ์ปลาสอด (Poeciliidae) เป็นสกุลของปลาในวงศ์นี้ ที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี ในแง่ของการเป็นปลาสวยงามที่เลี้ยงกันอย่างแพร่หลาย มีลักษณะเด่น คือ เป็นปลาที่ว่ายหากินเป็นฝูง บริเวณผิวน้ำ กินแมลงขนาดเล็ก, ไรแดง, ลูกน้ำ รวมทั้งตะไคร่น้ำหรือสาหร่ายเป็นอาหาร มีความแตกต่างระหว่างเพศสูง กล่าวคือ ตัวผู้จะมีขนาดเล็กกว่ามาก แต่มีสีสันรวมทั้งครีบต่าง ๆ สวยงามกว่า ขณะที่ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่า แต่ครีบต่าง ๆ สั้นและสีไม่สวยเท่า เป็นปลาที่กระจายพันธุ์ในเขตร้อนของทวีปอเมริกา พบได้ตั้งแต่ตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา, อเมริกากลาง, แคริบเบียน จนถึงอเมริกาใต้ เป็นปลาที่พบได้ทั้งน้ำจืด, น้ำกร่อย รวมถึงในทะเล หลายชนิดมีครีบหลังที่สูงเหมือนใบเรือ มีขนาดที่หลากหลายตั้งแต่ 4-5 เซนติเมตร จนถึงใหญ่เต็มที่ได้ถึง 20 เซนติเมตร และมีสีสันต่าง ๆ หลากหลายมาก ทั้งสีขาว, สีเหลือง, สีส้ม, สีดำ หรือลายจุด อาศัยอยู่ในอุณหภูมิของน้ำประมาณ 25-28 องศาเซลเซียส (77-82 องศาฟาเรนไฮต์) โดยที่ชื่อสกุลนั้นมาจากภาษากรีกคำว่า ποικίλος หมายถึง "สีสันที่หลากหลาย".

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลามอลลี่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลามาเบิลแคทฟิช

ปลามาเบิลแคทฟิช (Leopard catfish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากดอเมริกาใต้ (Pimelodidae) นับเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นในสกุล Perrunichthys โดยที่ชื่อวิทยาศาสตร์นั้นมาจากภาษาสเปนคำว่า "perruno" หมายถึง "สุนัข" และ "ichthys" เป็นภาษากรีก หมายถึง "ปลา" มีลักษณะเด่น คือ มีสีพื้นเป็นสีน้ำตาลเข้ม มีสีขาวสลับดำตลอดทั้งตัว ครีบกระโดงหลังเป็นแผ่นยกสูง หนวดคู่หน้าจะยาวกว่าปลาในวงศ์เดียวกันหลายชนิด คือ ยาวจนเลยครีบหาง ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 80 เซนติเมตร จัดเป็นปลาขนาดกลางค่อนไปทางใหญ่ในวงศ์นี้ พบกระจายพันธุ์ในประเทศโคลัมเบีย, เวเนซุเอลา และทะเลสาบมาราไกโบ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลามาเบิลแคทฟิช · ดูเพิ่มเติม »

ปลาม่อน

ปลาม่อน หรือ ปลามอน หรือ ปลาม่ำ เป็นปลาน้ำจืดในสกุล Scaphiodonichthys ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะที่สำคัญ คือ ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยวที่ขอบจักเป็นฟันเลื่อย และมีก้านครีบแขนง 7-12 ก้าน ครีบท้องมีก้านครีบแขนง 8 ก้าน ปากล่างบางคล้ายเล็บมือมนุษย์ จะงอยปากทู่ ปากเล็ก มุมปากอยู่ด้านหน้านัยน์ตา โดยคำว่า Scaphiodonichthys (/สะ-แค-ฟิ-โอ-ดอน-ทิค-ทีส/) เป็นภาษากรีก skaphe (σκάφος) หมายถึง "เรือ" odous (οδούς) หมายถึง "ฟัน" และ ichthys (Ιχθύς) หมายถึง "ปลา" จำแนกออกได้เป็น 3 ชนิด พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่และจีนตอนล่าง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาม่อน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาราฟิโอดอน

ปลาราฟิโอดอน ​เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งอยู่ในวงศ์ปลาฟันสุนัข (Cynodontidae) ในอันดับปลาคาราซิน (Characiformes) มีรูปร่างภายนอกเหมือนปลาฝักพร้า (Macrochirichthys macrochirus) มาก ซึ่งเป็นปลาคนละวงศ์ และคนละอันดับ และเป็นปลาที่พบกันคนละทวีปด้วย ซึ่งเป็นผลของการวิวัฒนาการเข้าหากัน เว้นแต่ปลาราฟิโอดอนจะมีครีบไขมัน ซึ่งปลาฝักพร้าไม่มี แต่มีพฤติกรรมที่คล้ายคลึงกัน มีลักษณะลำตัวยาวและแบนข้างมาก ท้องเป็นสันแคบ ตาโต ปากกว้างเฉียงขึ้นด้านบน ลำตัวสีเงินแวววาว ครีบใส ครีบอกใหญ่และยาวแหลม ครีบท้องและครีบหลังเล็ก แต่ครีบก้นมีฐานครีบยาว ครีบหางเล็กและไม่แยกเป็นสองแฉก มีครีบไขมัน ภายในปากจะเห็นฟันเป็นซี่ ๆ แหลมคมจำนวนมาก เป็นปลาเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Rhaphiodon (โดย Rhaphiodon มาจากภาษากรีกคำว่า rhaphis (ραφής) หมายถึง "เข็ม", odous (οδούς) หมายถึง "ฟัน" และ vulpinus เป็นภาษาละตินหมายถึง "หมาจิ้งจอก") มีพฤติกรรมนิยมอยู่รวมเป็นฝูง ออกล่าเหยื่อเป็นปลาขนาดเล็กบริเวณผิวน้ำ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 70 เซนติเมตร พบในแม่น้ำอเมซอนและลำน้ำสาขา ในเปรู, ปารากวัย, อุรุกวัย และกายอานา มีชื่อเรียกกันในท้องถิ่นว่า เบียอาร่า (Biara) ใช้เป็นปลาบริโภคในท้องถิ่นและตกเป็นเกมกีฬา นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามราคาแพง โดยถูกนำเข้ามาจำหน่ายพร้อมกับปลาสคอมบิรอยด์ (Hydrolycus scomberoides) ซึ่งพฤติกรรมในตู้เลี้ยงพบว่า มีนิสัยขี้ตกใจมาก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาราฟิโอดอน · ดูเพิ่มเติม »

ปลารีดฟิช

ปลารีดฟิช หรือ ปลาโรปฟิช หรือ ปลางู (Reedfish, Ropefish, Snakefish) เป็นปลาน้ำจืดกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Erpetoichthys calabaricus อยู่ในวงศ์ปลาไบเคอร์ (Polypteridae) ปลารีดฟิชจัดเป็นปลาไบเคอร์เพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Erpetoichthys มีรูปร่างที่เรียวยาวคล้ายเชือกหรืองูมากกว่าปลาไบเคอร์ชนิดอื่น ๆ โดยไม่มีครีบท้อง ส่วนหัวมีขนาดเล็ก ครีบหูมีจุดสีดำที่ฐานครีบ ครีบหลังมีสีน้ำตาลจนถึงสีเขียวมะกอก ลำตัวสีเขียวมะกอก ขณะที่ส่วนท้องเป็นสีเหลืองอมส้ม มีขนาดความเต็มที่ประมาณ 37 เซนติเมตร และพบได้ยาวที่สุดถึง 90 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำนิ่งและน้ำกร่อยในแอฟริกาตะวันตก แถบสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก, แองโกลา, ไนจีเรีย, แคเมอรูน, อิเควทอเรียล กินี และเบนิน อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่มีสภาพเป็นกรดเล็กน้อย (ค่า pH ต่ำกว่า 7 เล็กน้อย) และมีพืชพรรณไม้น้ำขึ้นรกครึ้ม หากินในเวลากลางคืน เช่น ปลาไบเคอร์ชนิดอื่น ๆ ปลารีดฟิชนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งในปัจจุบันยังไม่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ ซึ่งชื่อสกุลของปลารีดฟิช คือ Erpetoichthys นั้นดัดแปลงมาจากภาษากรีกคำว่า erpeton ที่หมายถึง "สิ่งที่คลานได้" และ ichthys ที่หมายถึง "ปลา".

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลารีดฟิช · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสอดหางดาบ

ปลาสอดหางดาบ (Swordtail) สกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในอันดับปลาออกลูกเป็นตัว (Cyprinodontiformes) ในวงศ์ปลาสอด (Poeciliidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Xiphophorus จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Poeciliinae นับเป็นปลาสกุลหนึ่งเช่นเดียวกับสกุล Poecilia ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยชนิดที่นิยมได้แก่ ปลาสอดหางดาบเขียว (X. hellerii), ปลาพลาตี้ (X. maculatus) และปลาวาเรียตัส (X. variatus) เป็นต้น โดยที่ชื่อสกุลนั้นมาจากภาษากรีกคำว่า ξίφος (ดาบ, มีดสั้น) และ φόρος (ผู้แบก, ผู้ถือ) หมายถึง "ลักษณะของหางตัวผู้ที่มีโกโนโพเดียม" มีขนาดตั้งแต่ 2.5-14 เซนติเมตร เป็นปลาที่กระจายพันธุ์ตั้งแต่เม็กซิโก, กัวเตมาลา และเบลิซ เช่นเดียวกับปลาสกุล Poecilia หรือสกุลอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน คือ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และเพาะขยายพันธุ์จนมีสีสันและครีบต่าง ๆ ที่หลากหลายสวยงามกว่าปลาดั้งเดิมในธรรมชาต.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาสอดหางดาบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสิงโต

ำหรับปลาสิงโตจำพวกอื่น ดูที่: ปลาย่าดุก และปลาคางคก ปลาสิงโต (Lionfishes, Turkeyfishes, Firefishes, Butterfly-cods) เป็นสกุลของปลาน้ำเค็มทะเลสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาแมงป่อง (Scorpaenidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Pterois (/เท-โร-อิส/; มาจากภาษากรีกคำว่า "πτερον" (pteron) หมายถึง "ปีก" หรือ "ครีบ").

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาสิงโต · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอคิวปิโด

ปลาหมอคิวปิโด หรือ ปลาหมอคิวปิด (Greenstreaked eartheater, Cupid cichlid) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Biotodoma cupido จัดอยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีลักษณะแบนข้าง ส่วนหัวโค้งมน ปลายปากแหลมเล็กน้อย ดวงตาใหญ่มีเส้นสีดำพาดผ่านในแนวตั้ง ปากมีขนาดเล็กอยู่ในตำแหน่งกลางของหน้า บริเวณแก้มมีเส้นสีเขียวสะท้อนแสง ซึ่งเมื่อปลาโตขึ้นจะเพิ่มขึ้นด้วย ลำตัวเป็นสีเหลืองน้ำผึ้งฉาบด้วยสีฟ้าเขียว ครีบอกเรียวยาวที่ก้านครีบแรกเป็นสีเหลือบเขียวฟ้าเหมือนลายที่บริเวณหน้า ขอบครีบหลังมีสีฟ้าอมเขียว ครีบก้นมีขนาดใหญ่เป็นสีชมพูอ่อน ขอบบนล่างของครีบเป็นก้านครีบแข็งใหญ่สีเหลือบฟ้าขาว ที่ลำตัวเหนือเส้นข้างลำตัวมีจุดสีดำขนาดใหญ่เห็นชัดเจน มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 14 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำที่มีกระแสน้ำไม่แรงนัก พื้นท้องน้ำมีเศษซากใบไม้และอินทรียวัตถุทับถมกัน ทำให้มีสภาพน้ำเป็นกรดอ่อน ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ แถบประเทศเปรูจนถึงชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกของประเทศบราซิล เช่น แม่น้ำอเมซอน, โอริโนโค และกายอานา ซึ่งปลาในแต่ละแหล่งน้ำอาจมีความแตกต่างกันบ้างเล็ก ๆ น้อย ๆ ในลักษณะและสีสัน มีพฤติกรรมการหากินโดยกินสัตว์น้ำขนาดเล็กและแพลงก์ตอนตามพื้นน้ำ พฤติกรรรมเมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ ปลาเพศเมียจะมีขนาดและครีบต่าง ๆ ใหญ่กว่าเพศผู้ โดยปลาทั้งคู่จะขุดหลุมตื้น ๆ เพื่อวางไข่ และมีพฤติกรรมขับไล่ปลาหรือสัตว์อื่นที่ผ่านเข้ามาใกล้ ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 3 วัน เมื่อฟักเป็นตัวแล้ว ปลาเพศเมียจะนำลูกไปเลี้ยงไว้ในหลุมที่ขุดไว้ ส่วนเพศผู้จะทำหน้าที่เสมือนยามรักษาความปลอดภัยภายนอก เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม นับได้ว่าเป็นปลาหมอสีชนิดหนึ่งที่มีความสวยงามและไม่ดุร้าย และจะยิ่งเพิ่มความสวยงามของสีสันขึ้นเมื่อต้องกับแสงแดด อีกทั้งสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในตู้เลี้ยง แต่สำหรับในประเทศไทย เป็นปลาที่ค่อนข้างหายากเนื่องจากมีการนำเข้ามาจำหน่ายเพียงไม่กี่ครั้งเท่านั้น ซึ่งในชื่อวิทยาศาสตร์นั้น คำว่า Biotos มาจากภาษากรีกหมายถึง "ชีวิต" ผสมกับคำว่า domos หมายถึง "ม้า" และคำว่า cupio มาจากภาษาละตินซึ่งหมายถึง "Cupidus" หรือคิวปิด ซึ่งเป็นกามเทพ ในความหมายซึ่งผู้อนุกรมวิธาน (โยฮานน์ ยาค็อบ เฮ็กเคล) ต้องการสื่อความหมายว่า ตกหลุมรักปลาชนิดนี้ตั้งแต่แรก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาหมอคิวปิโด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอเฮโรส

ปลาหมอเฮโรส (Severum, Banded cichlid) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) ในวงศ์ย่อย Cichlasomatinae ใช้ชื่อสกุลว่า Heros (/เฮ-โรส/) ซึ่งมาจากภาษากรีก (ἥρως) หมายถึง "วีรบุรุษ" หรือ "ฮีโร่" ในภาษาอังกฤษ ตั้งชื่อสกุลโดย โยฮานน์ ยาค็อบ แฮ็คเคล นักสัตววิทยาชาวออสเตรีย ปลาหมอสีในสกุลนี้ มีรูปร่างโดยรวม คือ กลมรี ลำตัวแบนข้างมาก หน้าผากลาดโค้งลงมากถึงปาก ปากมีขนาดเล็ก ภายในปากมีฟันเรียงรายอยู่มากมาย ในตัวเต็มวัยหน้าผากจะมีลักษณะโหนกนูนเล็กน้อย ดวงตามีขนาดใหญ่อยู่ด้านข้างของส่วนหน้า หากมองด้านตรงจะเห็นดวงตาปูดออกมาเล็กน้อย มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 10-12 นิ้ว แพร่กระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ เช่น แม่น้ำโอรีโนโก, แม่น้ำอเมซอน ในแหล่งน้ำสภาพที่นิ่ง ลึก และมีวัสดุต่าง ๆ ให้หลบซ่อนตัว เช่น ตอไม้หรือโขดหิน เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มีการเพาะขยายพันธุ์ต่าง ๆ มากมาย จนได้สีที่สวยกว่าปลาที่มีอยู่ดั้งเดิมในธรรมชาต.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาหมอเฮโรส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอเท็กซัส (สกุล)

ปลาหมอเท็กซัส (Texas cichlid) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดกระดูกแข็งสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Herichthys (มาจากภาษากรีกคำว่า "eri" หมายถึง "มาก" และคำว่า "ichthys" หมายถึง "ปลา") อยู่ในวงศ์ Cichlasomatinae ในวงศ์ใหญ่ Cichlidae หรือปลาหมอสี มีลักษณะโดยรวม มีพื้นลำตัวสีเขียว ตามตัวมีจุดกลมเล็ก ๆ สีคล้ายไข่มุกกระจายอยู่ทั่วตัว เมื่อโตเต็มที่โดยเฉพาะตัวผู้ส่วนหัวจะมีโหนกเนื้อนูนขึ้นมา มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 10-12 นิ้ว เป็นปลาที่มีอุปนิสัยดุร้ายก้าวร้าว กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ กระจายพันธุ์ตั้งแต่ทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา เช่น รัฐเท็กซัสและฟลอริดา จนถึงอเมริกากลาง เช่น เม็กซิโก เป็นปลาสกุลที่ได้รับความนิยมในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมักจะนำมาผสมข้ามสายพันธุ์กับปลาชนิดอื่นในสกุลเดียวกัน หรือแม้แต่ต่างสกุลกัน จนกลายมาเป็นปลาสายพันธุ์ใหม่ที่มีความสวยกว่าสายพันธุ์ดั้งเดิมในธรรมชาติ คือ ปลาหมอเท็กซัสแดง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาหมอเท็กซัส (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมูกระโดงสูง

ปลาหมูกระโดงสูง (Chinese sucker, Chinese loach, Chinese high fin sucker, Chinese high fin banded shark; 胭脂魚; พินอิน: yānzhiyú) ปลาน้ำจืดกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมูกระโดงสูง (Catostomidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Myxocyprinus (มาจากภาษากรีก "myxos" หมายถึง "น้ำมูกหรือเสมหะ" และภาษาละติน "cyprinus" หมายถึง ปลาตะเพียน) มีพื้นลำตัวสีขาวอมชมพู มีแถบสีดำหนา 3 เส้นเป็นแนวตั้ง มีจุดเด่น คือ มีครีบหลังที่ปลายแหลมสูงและมีขนาดใหญ่ ในปลาที่มีขนาดเล็กกว่า 4 นิ้วจะมีสีสันสดใสและลำตัวทรงสั้นมีครีบหลังใหญ่มองดูคล้ายใบเรือ แต่เมื่อมีขนาดใหญ่ขึ้นสีขาวบนลำตัวจะเริ่มหายไป สีจะซีดจาง ขนาดของครีบหลังจะมีขนาดเล็กลงและความยาวลำตัวจะออกไปทางทรงยาวมากกว่าทรงสูง มีความยาวเมื่อโตเต็มที่ได้ถึง 90 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์เฉพาะในแม่น้ำแยงซีเกียง ในประเทศจีนเท่านั้น มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง ปลาหมูกระโดงสูง เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ด้วยเป็นปลาที่มีความสวย ซ้ำยังมีอุปนิสัยเรียบร้อย ไม่ดุร้ายก้าวร้าวเลย และสามารถทำความสะอาดตู้ที่ใช้เลี้ยงได้เป็นอย่างดี ด้วยเป็นปลาที่หากินกับพื้นท้องน้ำ แต่เป็นปลาที่มีอัตราการเจริญเติบโตได้ช้ามาก เพียงแค่ 1–2 นิ้วต่อปีเท่านั้น เป็นปลาที่ยังไม่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ ต้องรวบรวมพันธุ์ปลาจากแหล่งน้ำธรรมชาติเท่านั้น การจำแนกเพศ สามารถดูได้ที่เพศผู้ในฤดูผสมพันธุ์จะมีตุ่มขาว ๆ คล้ายสิวบริเวณส่วนหัวและโคนครีบอก เช่นเดียวกับปลาหลายชนิดในวงศ์ Cyprinidae.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาหมูกระโดงสูง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหัวงอน

ปลาหัวงอน หรือ ปลาหัวตะกั่ว (Panchax) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดและน้ำกร่อยสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Aplocheilus (/แอ็พ-โล-โคล-อัส/; มาจากภาษากรีก "Aploe" หมายถึง "เดี่ยว" และ "cheilos" หมายถึง "ริมฝีปาก") จัดอยู่ในวงศ์ปลาคิลลี่ (Aplocheilidae) มีลักษณะสำคัญคือ ปากยืดหดได้ มีฟันที่กระดูกเพดานปากชิ้นกลาง ฐานของครีบอกอยู่ต่ำกว่าระดับกึ่งกลางลำตัว ครีบหางมนกลม เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วในทุกแหล่งน้ำอย่างกว้างขวางในอนุทวีปอินเดียจนถึงเอเชียอาคเนย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคซุนดา มีขนาดทั่วไปไม่เกิน 10 เซนติเมตร ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าและสีสันสวยงามและหลากหลายกว่าตัวเมีย เป็นปลาที่ออกลูกเป็นไข่ โดยจะวางไข่ไว้กับไม้น้ำ ไข่จะฟักเป็นตัวใช้เวลาประมาณ 12-14 วัน การที่มีถิ่นการแพร่ขยายพันธุ์อย่างกว้างขวางเช่นนี้ มีการสันนิษฐานจากนักวิทยาศาสตร์ว่า มิได้เกิดจากธรรมชาติ แต่เป็นด้วยมนุษย์ซึ่งได้เลี้ยงปลาสกุลนี้เป็นปลาสวยงามอยู่แล้ว อีกทั้งไข่ยังมีคุณลักษณะพิเศษ คือ ทนร้อน และทนแห้งได้เป็นอย่างดีเช่นเดียวกับปลาคิลลี่ฟิช (สามารถส่งไปในซองจดหมายได้ด้วย) จึงประมาณกันว่าการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางนั้นเกิดจากการ่มีไข่ปลาติดไปกับการขนส่งต้นข้าว หรือพืชน้ำต่าง ๆ แต่ตัวผู้มีอุปนิสัยก้าวร้าว มักชอบกัดกันเองคล้ายกับปลากัดหรือปลาเข็ม ซึ่งเป็นปลาต่างวงศ์กัน ซึ่งคนไทยในสมัยโบราณมักจะจับมากัดกันเพื่อการพนัน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาหัวงอน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหูช้าง

ปลาหูช้าง หรือ ปลาค้างคาว (Batfishes) เป็นสกุลของปลาทะเลในสกุล Platax จัดอยู่ในวงศ์ Ephippidae หรือวงศ์ปลาหูช้าง คำว่า Platax มาจากคำว่า "Platys" ซึ่งเป็นภาษากรีก มีความหมายว่า "แบน" หมายถึงรูปร่างที่แบนข้างโดยทั่วไปของปลาสกุลนี้ โดยมีชื่อสามัญที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า "ปลาค้างคาว" อันเนื่องจากรูปร่างที่แลดูคล้ายค้างคาวมาก โดยเฉพาะเมื่อยามเป็นปลาวัยอ่อน ปลาหูช้าง กระจายพันธุ์อยู่ตามแนวปะการังและซากเรือจมหรือเศษวัสดุต่าง ๆ ในท้องทะเล พบกระจายพันธุ์ในเขตอินโด-แปซิฟิก, ทะเลแดง จนถึงภาคตะวันออกของออสเตรเลีย, ทางเหนือของเกาะริวกิว และพบได้ในมหาสมุทรแอตแลนติก และทะเลแคริบเบียน ปลาหูช้าง ขยายพันธุ์ด้วยการออกไข่แบบปล่อยลอยตามน้ำ เมื่อฟักเป็นตัวอ่อน จะใช้ชีวิตล่องลอยแบบแพลงก์ตอน จนเจริญเติบโตขึ้นมาอีกระดับลงสู่พื้น โดยมากจะอาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลในเขตที่เป็นรอยต่อระหว่างน้ำจืดและน้ำเค็ม มีรูปร่างลักษณะคล้ายค้างคาวหรือใบไม้สีน้ำตาลแก่มาก บางชนิดเข้ามาอยู่ในแนวปะการัง มีครีบหลังและครีบท้องยาวมาก ลูกปลาหูช้างมักอยู่ตามพื้นด้านนอกแนวปะการังตอนกลางวัน กลางคืนถึงเข้ามาในแนวปะการัง อยู่ตามชายขอบแนวในที่ลึก อยู่นิ่ง ๆ ตามพื้นเพื่อหลบผู้ล่าตอนกลางคืน เนื่องจากเป็นปลาที่หากินในเวลากลางวัน ลูกปลาหูช้างที่มีลักษณะรูปร่างคล้ายค้างคาว เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามและเลี้ยงเพื่อแสดงตามพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ และนิยมบริโภคกันในท้องถิ่น ทำให้ในปัจจุบัน ปลาหูช้างพบได้น้อยลง แบ่งออกได้เป็น 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาหูช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาออสการ์ (สกุล)

ปลาออสการ์ เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) ในวงศ์ย่อยปลาออสการ์ (Astronotinae) โดยใช้ชื่อสกุลว่า Astronotus (/แอส-โตร-โน-ตัส/) ซึ่งมาจากภาษากรีกคำว่า astra.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาออสการ์ (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจิ้งจก

ปลาจิ้งจก (Gecko fish, Lizard fish) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์ย่อย Balitorinae ในวงศ์ใหญ่ Balitoridae ใช้ชื่อสกุลว่า Homaloptera (/โฮ-มา-ล็อพ-เทอ-รา/) มาจากภาษากรีกคำว่า "Homalos" หมายถึง "แบน" กับคำว่า "pteron" หมายถึง "ปีก, ครีบ" มีลักษณะสำคัญ คือ มีเกล็ดเล็กสามารถมองด้วยตาเปล่าเห็น อาศัยอยู่ตามลำธารบนภูเขาที่มีกระแสน้ำเชี่ยว ลำตัวเรียวยาว ใต้หัวและลำตัวตอนหน้าแบนราบ จะงอยปากกลมมน นัยน์ตาอยู่สูง จมูกมีข้างละ 2 คู่ จมูกแต่ละคู่มีแผ่นเนื้อเยื่อคั่น ปากโค้งเป็นรูปวงเดือน มุมปากแคบ ริมฝีปากหนา ขากรรไกรหนาและมีขอบแข็ง หน้าจะงอยปากมีหนวด 2 คู่ และที่มุมปาก 1 คู่ รวมเป็น 3 คู่ ครีบหลังสั้นอยู่ตรงข้ามกับครีบท้อง ครีบอกและครีบท้องอยู่ในแนวเดียวกัน ครีบอกมีก้านครีบเดี่ยว 2-5 ก้าน และก้านครีบแขนง 8-12 ก้าน ครีบท้องมีก้านครีบ 8-12 ก้าน ครีบหางเว้าลึก มีเส้นข้างลำตัวปรากฏให้เห็น ช่องเหงือกแคบและอยู่หน้าครีบอก สามารถแบ่งออกเป็นชนิดต่าง ๆ ได้ดังนี้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาจิ้งจก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาที่มีครีบเป็นพู่

ปลาที่มีครีบเป็นพู่ หรือ ปลาครีบเป็นพู่ (Lobe-finned fishes) เป็นปลาที่อยู่ในชั้นใหญ่ Sarcopterygii (มาจากภาษากรีกคำว่า σαρξ (sarx), "เนื้อ" และ πτερυξ (pteryx), "ครีบ") หรือในบางครั้งอาจใช้ชื่อว่า Crossopterygii (แปลว่า "Fringe-finned fish", มาจากภาษากรีก κροσσός krossos, "ชายขอบ") เป็นปลาที่มีลักษณะแตกต่างจากปลาในชั้นอื่น ๆ คือ มีเกล็ดเป็นแบบ Cosmoid มีลักษณะเฉพาะ คือ ครีบที่บริเวณหน้าอกวิวัฒนาการจากครีบธรรมดา ๆ มาเป็นเสมือนอวัยวะที่ใช้เคลื่อนไหวได้เหมือนการเดินในน้ำ โดยลักษณะของครีบจะเป็นพู่เนื้อหรือเนื้อเยื่อ มีความแข็งแรงมาก โดยมีแกนกระดูก จึงเป็นเสมือนรอยต่อของการวิวัฒนาการของปลาซึ่งเป็นสัตว์น้ำอาศัยอยู่ในน้ำได้อย่างเดียว ขึ้นมาอยู่บนบกกลายเป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำก่อนจะวิวัฒนาการเป็นสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์ในชั้นอื่น ๆ ต่อไป ปลาที่มีครีบเป็นพู่ ถือกำเนิดมาในยุคซิลูเรียนตอนปลาย (418 ล้านปีก่อน) ในทะเลและค่อยคืบคลานสู่แหล่งน้ำจืดที่มีลักษณะเป็นหนองหรือคลองบึง สันนิษฐานว่าการที่พัฒนาเช่นนี้ คงเป็นเพราะต้องการหนีจากปลาที่เป็นปลากินเนื้อขนาดใหญ่ที่ครองพื้นที่ทะเลในขณะนั้น เช่น ดังเคิลออสเตียส เป็นต้น ปัจจุบัน ปลาในชั้นนี้ได้สูญพันธุ์หมดแล้ว คงเหลือไว้เพียง 2 จำพวกเท่านั้น คือ ปลาซีลาแคนท์ ที่ครั้งหนึ่งเคยเชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว กับปลาปอด ที่กลายมาเป็นปลาน้ำจืดอย่างถาวร และได้มีพัฒนาถุงลมที่ใช้ในการว่ายน้ำและทรงตัวเหมือนปลาทั่วไป กลายเป็นอวัยวะที่ใช้ในการหายใจคล้ายกับปอดของสัตว์บก สามารถแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้เป็นอย่างดี จึงทำให้อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่คุณภาพน้ำแย่ มีปริมาณออกซิเจนต่ำได้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาที่มีครีบเป็นพู่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาท่องเที่ยว

ปลาท่องเที่ยว เป็นสกุลของปลาทะเลจำพวกปลาตีน ในสกุล Parapocryptes พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย โดยคำว่า Parapocrytes มาจากภาษากรีกคำว่า παρά (para) แปลว่า "ใกล้", από (apo) แปลว่า "ระยะทาง" และ kρυπτος (kryptos) แปลว่า "ซ่อน" ขณะที่ชื่อสามัญในประเทศไทย "ปลาท่องเที่ยว" เป็นชื่อในภาษาถิ่นของจังหวัดสงขลา ที่มาจากพฤติกรรมของปลาสกุลนี้ที่ไม่มักไม่ค่อยอยู่ประจำที.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาท่องเที่ยว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดัง

ปลาดัง ชื่อสกุลของปลากระดูกแข็งในอันดับปลาหนังจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Hemisilurus (/เฮม-อิ-ซิ-ลู-รัส/) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับปลาในสกุล Ceratoglanis ซึ่งเคยถูกจัดให้อยู่ในสกุลเดียวกันมาก่อน แต่ทว่าปลาในสกุลปลาดังนั้น จะมีความลาดที่ส่วนหลังหลังจากหัวสูงกว่า หนวดมีขนาดยาวกว่าและมีพฤติกรรมกระดิกหนวดเพื่อช่วยในการหาอาหารได้เร็วน้อยกว่าปลาสกุล Ceratoglanis มีความยาวตั้งแต่ 50–80 เซนติเมตร โดยที่คำว่า Hemisilurus นั้นมาจากภาษากรีก ที่หมายถึง "ครึ่ง" (ημι) ของ "ปลาเนื้ออ่อน" (silurus) พบทั้งหมด 3 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาดัง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดุก

ปลาดุก (Walking catfishes) เป็นสกุลของปลาหนังน้ำจืดในสกุล Clarias (/คลา-เรียส/) ในวงศ์ Clariidae โดยคำว่า Clarias มาจากภาษากรีกคำว่า chlaros หมายถึง "มีชีวิต" มีความหมายถึง การที่ปลาสกุลนี้สามารถใช้ชีวิตอยู่ได้บนบกหรือสภาพที่ขาดน้ำ มีการแพร่กระจายพันธุ์ในน้ำจืดและน้ำกร่อยตามแหล่งน้ำของทวีปเอเชียและแอฟริกา เป็นปลาไม่มีเกล็ด ลำตัวยาว มีหัวที่แบนและแข็ง มีหนวดยาวแปดนิ้ว มีครีบหลังและครีบก้นยาวเกินครึ่งของความยาวลำตัว จุดเริ่มต้นของครีบหลังอยู่ล้ำหน้าจุดเริ่มต้นของครีบท้อง ครีบหลังไม่มีเงี่ยงแข็ง ไม่มีครีบไขมัน ครีบหางมนกลม ครีบทั้งหมดเป็นอิสระจากกัน สามารถหายใจและครีบคลานบนบกได้เมื่อถึงฤดูแล้ง เป็นปลาวางไข่ เป็นปลากินเนื้อโดยเฉพาะเมื่อตัวโตเต็มที่ชอบกินปลาอื่นที่ตัวเล็กกว่าเป็นอาหาร รวมถึงกินซากพืชและซากสัตว์อีกด้วย เป็นปลาที่รู้จักกันดีในแง่ของการเป็นปลาเศรษฐกิจ ที่นิยมบริโภคกันโดยเฉพาะในทวีปเอเชี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาดุก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดุกทะเลลาย

ปลาดุกทะเลลาย หรือ ปลาดุกทะเลแถบ หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า ปลาดุกทะเล (Striped eel catfish) เป็นปลาหนังชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plotosus lineatus (มาจากภาษากรีก Plotos หมายถึง "ว่ายน้ำ" และ lineatus หมายถึง "ลายแถบ") อยู่ในวงศ์ปลาดุกทะเล (Plotosidae) มีรูปร่างเรียวยาวด้านข้างแบน ส่วนหัวแบนลงมีหนวด คู่ครีบหลังและครีบหูมีก้านครีบแข็งเป็นเงี่ยง มีลักษณะเป็นฟันเลื่อย ไม่มีครีบไขมัน ส่วนหัวแบนยาวเรียวแหลมครีบหลังอันที่สอง ครีบก้นและครีบหางติดต่อกัน นอกจากนี้ยังมีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจอยู่ที่รูก้น ด้านหลังลำตัวมีสำดำปนน้ำตาล ด้านท้องมีสีขาว ปลาขนาดเล็กจะมีลายแถบสีขาวปนเหลือง 3 แถบพาดไปตามยาวลำตัว เมื่อโตขึ้นแถบเหล่านี้จะเลือนหายไปกลายเป็นสีน้ำตาลอ่อนแทน โดยที่ปลาดุกทะเลชนิดนี้ ตามเงี่ยงแข็งในแต่ละครีบนั้นมีพิษร้ายแรงมาก ถึงขนาดมีรายงานแทงมนุษย์จนถึงขั้นเสียชีวิตมาแล้ว มีความยาวเต็มที่ประมาณ 60 เซนติเมตร แต่ขนาดที่พบทั่วไปคือ 30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปตั้งแต่ทะเลแดง, ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก, ซามัว, ทะเลญี่ปุ่น, เกาหลีใต้, ออสเตรเลีย และพบในทะเลสาบน้ำจืดของทวีปแอฟริกา เช่น ทะเลสาบมาลาวี และมาดากัสการ์ด้วย ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รวมถึงในปากแม่น้ำเจ้าพระยา ปลาวัยอ่อนจะอาศัยอยู่รวมเป็นฝูงในทะเลใกล้ชายฝั่ง ในแนวปะการังหรือตามกอสาหร่าย เป็นปลาที่หากินในเวลากลางคืน โดยมักจะขุดรูอยู่ในดินหรือเลนใกล้ชายฝั่ง เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม และนิยมนำมาบริโภคกันโดยปรุงสุด แต่เนื้อมีกลิ่นคาวจึงมักจะนำไปปรุงประเภทรสจัดเช่น ผัดฉ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาดุกทะเลลาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาดุกไฟฟ้า

ปลาดุกไฟฟ้า (Electric catfish) เป็นสกุลปลาหนังน้ำจืดในวงศ์ปลาดุกไฟฟ้า (Malapteruridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Malapterurus (/มา-แลป-เทอ-รู-รัส/) โดยมาจากภาษากรีกคำว่า μαλακός (malakos) หมายถึง "อ่อนนุ่ม", πτερων (pteron) หมายถึง "ครีบ" และ ουρά (oura) หมายถึง "หาง" โดยมีความหมายถึง ครีบไขมันที่แลดูโดดเด่น เนื่องจากปลาในสกุลนี้ไม่มีครีบหลัง โดยรวมมีรูปร่างกลมยาวอวบอ้วนทรงกระบอกคล้ายไส้กรอก ตามีขนาดเล็ก ริมปากหนาและรูจมูกกลมและมีความห่างจากกันพอสมควร ช่องเหงือกแคบและบีบตัว มีหนวดสามคู่ ไม่มีครีบหลัง มีครีบไขมันขนาดใหญ่อยู่ค่อนไปทางส่วนท้ายของลำตัวติดกับครีบหาง ครีบทุกครีบปลายครีบมนกลม ถุงลมแบ่งเป็นสองห้องยาว มีลำตัวทั่วไปสีน้ำตาลหรือเทา และมีลายจุดหรือกระสีคล้ำกระจายอยู่บนหลังและด้านข้างลำตัว ใต้ท้องเป็นสีขาวไม่มีลาย คอดหางมีลายแถบสีคล้ำสลับขาว และครีบหางมีลายสีขาวคล้ายรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยวอยู่กลางครีบ เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำจืดขนาดใหญ่ เช่น แม่น้ำไนล์, แม่น้ำคองโก, แม่น้ำแซมเบซี, แม่น้ำไนเจอร์ และแม่น้ำหลายสาย ในทวีปแอฟริกา รวมถึงทะเลสาบต่าง ๆ เช่น ทะเลสาบแทนกันยีกา หรือทะเลสาบชาด มีอวัยวะที่ปล่อยกระแสไฟฟ้าจากกล้ามเนื้อด้านข้างลำตัว ซึ่งสามารถปล่อยได้มากถึง 350 โวลต์ ในขนาดลำตัว 50 เซนติเมตร (19 นิ้ว) โดยชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ยาวได้ถึง 122 เซนติเมตร (48 นิ้ว) และน้ำหนัก 20 กิโลกรัม (44 ปอนด์) อาศัยอยู่ในน้ำขุ่นและมีวัสดุต่าง ๆ เช่น ตอไม้หรือโพรงหินสำหรับหลบซ่อนตัว โดยใช้ไฟฟ้าในการป้องกันตัวและช็อตเหยื่อสำหรับเป็นอาหาร เป็นปลาที่เคลื่อนไหวได้เชื่องช้า เมื่อช็อตเหยื่อจนสลบแล้วจึงค่อยกลืนกิน มีการจับคู่ผสมพันธุ์ด้วยการขุดโพรงยาวถึง 3 เมตร (10 ฟุต) ที่ริมตลิ่งในระดับความลึกประมาณ 1-3 เมตร (3.3-9.8 ฟุต) เป็นปลาที่มนุษย์ใช้รับประทานเป็นอาหารมาตั้งแต่อดีต ตั้งแต่ยุคอียิปต์โบราณ และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาดุกไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามพยาบาล

ปลาฉลามพยาบาล หรือ ปลาฉลามขี้เซา (nurse shark, sleepy shark) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ginglymostoma cirratum อยู่ในวงศ์ Ginglymostomatidae เป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Ginglymostoma โดยที่ชื่อวิทยาศาสตร์นั้นคำว่า Ginglymostoma หรือ Ginglymostomatidae มาจากภาษากรีกคำว่า γίγγλυμος (ginglymos) หมายถึง "บานพับ" หรือ "สายยู" และ στόμα (stoma) หมายถึง "ปาก" และคำว่า cirratum มาจากภาษากรีก หมายถึง "ขด" หรือ "ว่ายน้ำ" จัดเป็นปลาฉลามในอันดับ Orectolobiformes หรือปลาฉลามหน้าดินขนาดใหญ่ มีลักษณะคล้ายกับปลาฉลามพยาบาลสีน้ำตาล (Nebrius ferrugineus) ที่พบได้ในทวีปเอเชียและแอฟริกา ซึ่งในอดีตได้สร้างความสับสนให้แก่แวดวงวิชาการมาแล้ว โดยปลาฉลามพยาบาลจะพบได้ตามแถบหมู่เกาะแคริบเบียน, แถบชายฝั่งของรัฐฟลอริดาตอนใต้และฟลอริดาคียส์, ชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกและแปซิฟิกของสหรัฐอเมริกา, ทะเลคอร์เตสไปจนถึงชายฝั่งเปรูในทวีปอเมริกาใต้ มีขากรรไกรที่แข็งแรง ในปากมีฟันที่แบนและงุ้มเข้าภายใน ใช้สำหรับงับอาหารซึ่งได้แก่ ปลาขนาดเล็กกว่าตามหน้าดินและสัตว์มีกระดองและมอลลัสคาต่าง ๆ รวมถึงหอยเม่นให้อยู่และกัดให้แตก โดยใช้อวัยวะที่คล้ายหนวดเป็นเครื่องนำทางและเป็นประสาทสัมผัส จะใช้วิธีการกินด้วยการดูดเข้าปาก มีครีบหางที่ยาวถึงร้อยละ 25 ของความยาวลำตัว ลำตัวเป็นสีเหลืองน้ำตาลจนถึงสีน้ำตาลเข้ม ขณะที่ยังเป็นปลาวัยอ่อนจะมีจุดเข้มเล็ก ๆ กระจายอยู่ทั่ว ขณะกินอาหาร เป็นปลาที่อาศัยและหากินตามพื้นน้ำในความลึกไม่เกิน 70 เมตร บางครั้งพบได้ใกล้ชายฝั่งหรือป่าชายเลน เนื่องจากเข้ามาหาอาหารกิน ใช้เวลาหากินในเวลากลางคืน และนอนหลับตามโพรงถ้ำหรือกองหินในเวลากลางวัน เป็นปลาที่มักจะอยู่นิ่ง ๆ ซึ่งบางครั้งอาจพบรวมตัวกันได้นับสิบตัวVacation Nightmares, "Dangerous Encounters".

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาฉลามพยาบาล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉนากจะงอยปากแคบ

ปลาฉนากจะงอยปากแคบ (Knifetooth sawfish, Pointed sawfish) ปลากระดูกอ่อนชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาฉนาก (Pristidae) จัดเป็นปลาฉนากเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Anoxypristis โดยมาจากภาษากรีก oxy (οξυ) หมายถึง "คม", pristis (πρίστης) หมายถึง "เลื่อย" และ custidata มาจากภาษาละตินคำว่า cuspidatus หมายถึง "จุด" มีรูปร่างเหมือนปลาฉนากทั่วไป แต่มีรูปร่างเพรียวกว่า ส่วนหัวแคบกว่า สีลำตัวเป็นสีน้ำตาลหรือสีเทา จะงอยปากแคบกว่าปลาฉนากจะงอยปากกว้าง (Pristis microdon) และมีจำนวนซี่ฟันมากกว่า คือ มีจำนวน 23-35 คู่ ขนาดโตเต็มที่ราว 4 เมตร เป็นปลาฉนากอีกชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดได้ พบตามชายฝั่งของทะเลอินโด-แปซิฟิก, ทะเลแดง, อ่าวเปอร์เซีย, ปาปัวนิวกินี, ออสเตรเลียทางตอนเหนือ, ญี่ปุ่นตอนใต้ รวมถึงปากแม่น้ำขนาดใหญ่ในประเทศไทยด้วย ปลาฉนากจะงอยปากแคบ จัดเป็นปลาที่ใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตตามบัญชีของสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN).

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาฉนากจะงอยปากแคบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซักเกอร์ไฮฟิน

ปลาซักเกอร์ไฮฟิน (Sailfin catfish, Janitor fish) เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่งในอันดับปลาหนัง ในวงศ์ปลาซักเกอร์ (Loricariidae) ซึ่งถือว่าได้เป็นวงศ์ใหญ่ ใช้ชื่อสกุลว่า Pterygoplichthys (/เทอ-รี-โก-พลิค-ธีส/) โดยมาจากภาษากรีก คำว่า πτέρυγ- (pteryg-) หมายถึง "ปีก", (hoplon) - อาวุธ และ ἰχθύς (ichthys) หมายถึง "ปลา" มีลำตัวสั้น ท่อนหางค่อนข้างยาว หัวและลำตัวปกคลุมด้วยเกล็ดที่เปลี่ยนเป็นแผ่นกระดูก ลำตัวแต่ละข้างมีเกล็ดเป็นสันแข็งสี่หรือห้าแถว พาดยาวตามลำตัว ท่อนหางค่อนข้างกลม จะงอยปากยาวและปลายทู่ ปากอยู่ใต้จะงอยปาก มีฟันเล็กละเอียดเป็นซี่โค้งเรียงเป็นแถวที่ขากรรไกรบนและล่างแห่งละหนึ่งแถว ช่องเหงือกแคบมาก ครีบหลังสูงมีก้านครีบแขนง 12-14 แถว ก้านครีบเดี่ยวของครีบหลังค่อนข้างใหญ่และยืดหยุ่นได้ ครีบก้นสั้น ครีบท้องมีก้านครีบแขนงหกก้าน ครีบอกมีก้านครีบเดี่ยวเป็นเงี่ยงแข็งหนึ่งก้าน ครีบไขมันเล็กมีเงี่ยงแข็งอยู่ด้านหน้าหนึ่งก้าน พบกระจายพันธุ์อยู่ในทวีปอเมริกาใต้ ในระบบแม่น้ำสายใหญ่ ๆ เช่น แอมะซอน, โอรีโนโก, เซาฟรังซีสกู, มักดาเลนา, ปารานา มีขนาดใหญ่สุดราว 2 ฟุต แต่ขนาดโดยเฉลี่ยคือหนึ่งฟุต เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น โดยเฉพาะปลาตัวเมียที่มีไข่เต็มท้อง และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เพื่อทำความสะอาดตู้เลี้ยง แต่ก็กลายมาเป็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในเรื่องชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในหลายพื้นที.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาซักเกอร์ไฮฟิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซันฟิช

ปลาซันฟิช (common sunfish, eared sunfish) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กถึงกลางสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงปากกว้าง (Centrarchidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Lepomis (/เลป-โพ-มิส/) เป็นปลาที่มีขนาดกลาง มีขนาดทั่วไปประมาณ 20 เซนติเมตร มีจุดเด่น คือ มีลำตัวแบนข้างไม่มาก ข้อหางเรียวยาว ใช้สำหรับในการว่ายน้ำและเปลี่ยนทิศทางด้วยความรวดเร็ว ตัวผู้จะเป็นฝ่ายดูแลไข่จนกระทั่งฟักเป็นตัว พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแหล่งน้ำตื้น ๆ ของหลายพื้นที่ในทวีปอเมริกาเหนือ โดยที่คำว่า Lepomis นั้นมาจากภาษากรีกคำว่า επίς หมายถึง "เกล็ด" และ πώμα หมายถึง "ปกปิด" หมายถึง แผ่นปิดเหงือก อันหมายถึง แผ่นปิดเหงือกที่ลดรูปลง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาซันฟิช · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซันฟิชหูยาว

ปลาซันฟิชหูยาว (Sunfish, Long-eared sunfish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงปากกว้าง (Centrarchidae) มีรูปร่างและลักษณะคล้ายกับปลาหมอสี (Cichlidae) ซึ่งเป็นปลาคนละวงศ์กัน โดยที่ชื่อวิทยาศาสตร์นั้น คำว่า Lepomis มาจากภาษากรีก หมายถึง "แผ่นเหงือกที่ลดรูปลงมา" และคำว่า megalotis หมายถึง "หูขนาดใหญ่" ซึ่งหมายถึงแผ่นปิดเหงือกที่ยื่นออกมา และมีจุดสีดำแต้มอยู่ มีลักษณะลำตัวแบนข้างไม่มาก ลำตัวมีสีออกน้ำตาลอมเหลือง มีจุดสีน้ำตาลอมแดงกระจายเป็นลวดลายอยู่ทั่วตัว บริเวณแก้ม จุดดังกล่าวจะเชื่อมต่อกันดูเหมือนลายเส้น ครีบต่าง ๆ มีลวดลายสีแดงกระจายอยู่ ข้อหางยาว มีความยาวเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำตื้น เช่น ลำธาร หรือตลิ่งอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ หรือแม่น้ำ ของภาคตะวันออกของเทือกเขาร็อกกี้ จากชายฝั่งรัฐเวอร์จิเนียจรดรัฐฟลอริดา, ทางทิศตะวันตกของรัฐเท็กซัส จนถึงทางตอนเหนือของเม็กซิโก โดยมักจะอาศัยหากินโดยว่ายลัดเลาะไปตามกอพืชน้ำ หรือวัสดุใต้น้ำต่าง ๆ ในที่ ๆ ท้องน้ำเป็นหินกรวดและหินหลาย ๆ ขนาดคละเคล้ากันไป กินอาหารได้หลากหลาย ทั้ง กุ้ง, สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง, หอย หรือตัวอ่อนของแมลง เป็นต้น การแยกเพศสามารถทำได้จาก ปลาตัวผู้จะมีสีสดสวยและขนาดตัวใหญ่กว่า โดยเฉพาะในฤดูผสมพันธุ์ มีขึ้นระหว่างเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน ซึ่งเป็นช่วงที่อุณหภูมิของน้ำอุ่นขึ้น ปลาตัวเมียจะเลือกตัวผู้จากขนาด และจุดสีดำบริเวณแผ่นปิดเหงือก โดยปลาตัวเมียจะใช้เวลาและความพิถีพิถันในการเลือก ขณะที่ปลาตัวผู้จะเป็นฝ่ายขุดหลุมสร้างรัง ขนาดกว้างประมาณ 6-12 นิ้วในบริเวณน้ำตื้น ปลาตัวผู้จะเกี้ยวพาราสีโดยการว่ายน้ำตีคู่พร้อมทำตัวสั่น ๆ ขณะที่ปลาตัวเมียปล่อยไข่ ปลาตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อเข้าผสมทันที จากนั้นเมื่อไข่ได้รับการปฏิสนธิหมดแล้ว ปลาตัวผู้จะไล่ปลาตัวเมียออกไป และดูแลไข่จนกระทั่งฟักเป็นตัว จนกว่าลูกปลาจะเริ่มหากินเองได้ จึงจะแยกทางไป ซึ่งการวางไข่ครั้งหนึ่งจะมีปริมาณราว 1,000-100,000 ฟอง โดยลูกปลาจะเจริญเติบโตไวมากในช่วงขวบปีแรก จากนั้นจะค่อย ๆ ลดลง เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุ 1 ปี มีอายุขัยโดยเฉลี่ย 5-8 ปี พบมากที่สุดถึง 11 ปี ปลาซันฟิชหูยาว เป็นปลาที่นิยมตกกันเป็นเกมกีฬา และนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ปัจจุบัน ได้มีการนำไปปล่อยในแหล่งน้ำธรรมชาติของหลายประเทศ ที่ไม่ใช่ต้นกำเนิด เช่น ญี่ปุ่น, เยอรมนี, หลายประเทศในทวีปยุโรป, แอฟริกาใต้ และเอเชี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาซันฟิชหูยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซาร์ดีนทะเลสาบ

ปลาซาร์ดีนทะเลสาบ หรือ ปลาซาร์ดีนทะเลสาบมาลาวี (lake sardine, Lake Malawi sardine; ชื่อพื้นเมือง: อูซีปา, usipa) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง พบในทวีปแอฟริกา ปลาซาร์ดีนทะเลสาบมีรูปร่างคล้ายกับปลาซาร์ดีนแต่ไม่ใช่ปลาซาร์ดีน หากแต่เป็นปลาในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) โดยเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Engraulicypris ปลาซาร์ดีนทะเลสาบมีความยาวประมาณ 13 เซนติเมตร อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง เป็นปลาที่พบได้เฉพาะทางตอนเหนือของทะเลสาบมาลาวีซึ่งเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศมาลาวี, โมซัมบิก และแทนซาเนีย รวมถึงแม่น้ำชีเร (Shire) เท่านั้น เป็นปลาที่กินแพลงก์ตอนสัตว์ รวมถึงตัวอ่อนของแมลงจำพวกริ้น (ที่รวมตัววางไข่เป็นจำนวนนับหลายล้านตัวจนเป็นปรากฏการณ์เหมือนหมู่เมฆหรือพายุลอยเหนือผิวน้ำในทะเลสาบ) เป็นอาหาร ปลาซาร์ดีนทะเลสาบเป็นปลาเศรษฐกิจสำคัญของทะเลสาบมาลาวี เป็นแหล่งโปรตีนสำหรับประชากรถึง 20 ล้านคนรอบ ๆ ทะเลสาบ ชาวประมงท้องถิ่นจะรวมตัวกันจับด้วยเรือโกลนในคืนเดือนมืด ด้วยการใช้ไฟจากตะเกียงเป็นตัวล่อ แบ่งระหว่างเรือใหญ่ 2 ลำ แผ่อวนออกไปเป็นวงกลม เรือที่อยู่ตรงกลางจะจุดตะเกียงเพื่อดึงดูดปลาขึ้นสู่ผิวน้ำ จากนั้นจึงสาวอวนขึ้นมา ปริมาณการจับ จับได้ครั้งละ 2–3 กิโลกรัม แต่สามารถจับได้มากกว่า 10 รอบก่อนรุ่งสาง นิยมนำไปแปรรูปเป็นปลาตากแห้งซึ่งสามารถเก็บไว้นานเป็นสัปดาห์หรือเป็นเดือน เนื่องจากความร้อนของอุณหภูมิในพื้นที่ทำให้ปลาไม่สด และก่อนจะกลับถึงฝั่ง ชาวประมงท้องถิ่นก็นิยมย่างปลาซาร์ดีนทะเลสาบเป็นอาหารเช้าอีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาซาร์ดีนทะเลสาบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแอฟริกันไทเกอร์

ปลาแอฟริกันไทเกอร์ (African tigerfishes) เป็นสกุลของปลาน้ำจืด 5 ชนิดที่อยู่ในวงศ์ปลาเตตร้าแอฟริกัน (Alestiidae) ในอันดับปลาคาราซิน ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hydrocynus (/ไฮ-โดร-ไซ-นัส/) โดยมาจากภาษากรีก คำว่า "hydro" (ὕδωρ) หมายถึง "น้ำ" บวกกับคำว่า "kyon" (κύων) ที่หมายถึง "สุนัข" เป็นปลากินเนื้อทั้งหมด มีรูปร่างโดยรวมคือ ลำตัวเพรียวยาวเหมือนตอร์ปิโด เกล็ดมีขนาดใหญ่ มีสีเงินแวววาว และที่ชิ้นเกล็ดจะมีจุดสีเข้ม ทำให้เห็นเป็นลายพาดตามยาวไปตามแนวข้างลำตัวเหนือเส้นข้างลำตัว ทำให้มองดูคล้ายลายของเสือลายพาดกลอน อันเป็นที่มาของชื่อ นอกจากแถบดังกล่าวแล้วส่วนที่ไม่ใช่แถบจะมีสีออกสีเงิน, สีขาว และสีเทา ขณะที่บางตัวอาจมีเหลือบสีฟ้า, สีเขียว, สีส้ม หรือสีเหลืองอ่อนผสมอยู่ด้วย ปลาในสกุลนี้จะมีลักษณะเช่นเดียวกันนี้ทั้งหมด ครีบหลังจะอยู่ในระดับเดียวกับ ครีบท้องอาจจะอยู่ข้างหน้าเล็กน้อย ภายในปากมีฟันหนึ่งชุดที่มองเห็นได้อย่างชัดเจนและเป็นจุดเด่น ซึ่งฟันแต่ละซี่ตั้งอยู่ในเบ้า ระหว่างฟันซี่อื่น ๆ บนขากรรไกร และจะแลเห็นได้ตลอดเวลาแม้แต่เมื่อปิดปากสนิท ขากรรไกรมีความแข็งแรงและทรงพลังมาก อีกทั้งสามารถยืดขยายได้กว้างเพราะมีจุดยึดกับมุมปากอยู่ถึงสองจุด ตาจะถูกคลุมโดยเปลือกตาเกือบทั้งหมด ครีบหางเว้าลึกเป็นสองแฉก พบในลุ่มแม่น้ำคองโก ซึ่งเป็นแม่น้ำที่ไหลเชี่ยวมากในทวีปแอฟริกาตอนกลาง เป็นปลาล่าเหยื่อที่ล่าได้อย่างรวดเร็ว ดุดัน ไม่แพ้ปลาปิรันยาในลุ่มแม่น้ำอเมซอน ในทวีปอเมริกาใต้ แต่ไม่นิยมล่ารวมเป็นฝูง เป็นปลาที่กินพวกเดียวกันเองเป็นอาหารและกัดทำร้ายจระเข้ได้ รวมถึงเคยมีรายงานว่าทำร้ายมนุษย์ได้อีกด้วย โดยที่ชาวพื้นเมืองแอฟริกาได้เรียกปลาสกุลนี้ในภาษาลิงกาลาว่า เอ็มเบ็งกะ (Mbenga) หรือ อิงเกวส (Ndweshi) และมีความเชื่อว่าการที่มันล่าและทำร้ายมนุษย์เพราะมีวิญญาณที่ชั่วร้ายสิงสถิตอยู่ มีทั้งหมด 5 ชนิด โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ H. goliath ที่มีความยาวที่สุดได้ถึง 6 ฟุต และมีน้ำหนักถึง 100 ปอน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาแอฟริกันไทเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแซลมอนแปซิฟิก

ปลาแซลมอนแปซิฟิก (Pacific salmon) เป็นสกุลของปลาเศรษฐกิจสกุลหนึ่ง จำพวกปลาแซลมอน ใช้ชื่อสกุลว่า Oncorhynchus จัดอยู่ในวงศ์ Salmonidae อันดับ Salmoniformes โดยที่คำว่า Oncorhynchus มาจากภาษากรีกคำว่า nkos หมายถึง "ตะขอ" และ rynchos หมายถึง "จมูก" ซึ่งมาจากการที่ตัวผู้ในฤดูผสมพันธุ์จะเปลี่ยนสีตัวเองให้เข้ม และมีส่วนปลายปาก (จมูก) งองุ้มเป็นดั้งขอ เป็นปลาแซลมอนที่กระจายพันธุ์อยู่ในตอนเหนือของแคลิฟอร์เนียตลอดแนวชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรอาร์กติก และมหาสมุทรแอตแลนติก พบได้ตั้งแต่อาร์กติก, อลาสกา, ทะเลเบริง, สหรัฐอเมริกา, เม็กซิโก จนถึงญี่ปุ่น เป็นปลาที่กินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง แต่เป็นปลาที่ต้องการแหล่งน้ำที่สะอาด มีปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำสูง น้ำมีอุณหภูมิเย็นและไหลแรงซึ่งมักพบตามปากแม่น้ำต่าง ๆ ขณะที่ปลาเมื่ออยู่ในทะเลหรือมหาสมุทรก็มักจะว่ายตามผิวน้ำ และเช่นเดียวกับปลาแซลมอนสกุลและชนิดอื่น ๆ ที่เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์วางไข่ จะว่ายกลับไปผสมพันธุ์และวางไข่ในแหล่งน้ำจืด อันเป็นถิ่นกำเนิดดั้งเดิม แม้จะไกลแค่ไหนก็ตาม โดยแต่ละชนิดจะมีระยะเวลาการวางไข่และเติบโตต่างกัน บางชนิดลูกปลาอาจใช้เวลา 5-7 เดือน ขณะที่บางชนิดอาจต้องใช้เวลานานถึง 1 ปี ในการอาศัยในแหล่งน้ำจืด จึงจะว่ายกลับไปยังทะเล และใช้ระยะเวลาการเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยประมาณ 2-4 ปี แต่ทั้งหมดก็ต้องอาศัยการวางไข่ในแหล่งน้ำที่สะอาดเหมือนกัน เป็นปลาแซลมอนที่นิยมบริโภคกันเป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีอยู่ด้วยกัน 5 ชนิด ที่เป็นชนิดที่สำคัญ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาแซลมอนแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาใบไม้กายอานา

ปลาใบไม้กายอานา (Guyana leaf-fish) หรือ ปลาใบไม้โชมบวร์ค (Schomburgk's leaf-fish) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาใบไม้อเมริกาใต้ (Polycentridae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุลนี้ (Polycentrus มาจากคำว่า poly.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาใบไม้กายอานา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโนรีเทวรูป

ปลาโนรีเทวรูป หรือ ปลาผีเสื้อเทวรูป (Moorish idol) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Zanclus cornutus จัดอยู่ในวงศ์ Zanclidae (มาจากภาษากรีกคำว่า zagkios หมายถึง ทแยง) และถือเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์นี้ และสกุล Zanclus ปลาโนรีเทวรูป มีลักษณะคล้ายคลึงกับปลาในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) มาก โดยเฉพาะกับปลาโนรี (Heniochus spp.) ซึ่งในอดีตเคยถูกจัดให้อยู่ในวงศ์เดียวกัน แต่ปัจจุบันได้มีการแยกออกมา แต่ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันเป็นผลมาจากการวิวัฒนาการที่มีมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งปลาโนรีเทวรูปมีความใกล้เคียงกับปลาการ์ตูน (Amphiprioninae) หรือปลาสินสมุทร (Pomacanthidae) มากกว่า มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาโนรีครีบยาว (H. acuminatus) และปลาโนรีเกล็ด (H. diphreutes) มาก แต่มีลำตัวทางด้านท้ายเป็นสีเหลืองนวล จะงอยปากแหลมยาวกว่า ครีบหางมีสีดำ และสีครีบหางจะคล้ำและมีรอยคล้ายเขม่าที่บริเวณครีบหลัง ลักษณะเกล็ดแลดูเรียบเป็นมันเงา มีความยาวเต็มที่ประมาณ 22 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแถบอินโด-แปซิฟิก ในน่านน้ำไทยจะได้พบในด้านทะเลอันดามัน ในต่างประเทศ พบได้กว้างขวางมาก ตั้งแต่ มหาสมุทรอินเดีย, อ่าวแคลิฟอร์เนีย, อเมริกาใต้, ฮาวาย, ทะเลญี่ปุ่น, ไมโครนีเซีย, แอฟริกา หากินอยู่ตามแนวปะการังเช่นเดียวกับปลาผีเสื้อ และสามารถหากินได้ลึกถึงหน้าดินในความลึกถึง 182 เมตร ซ้ำยังมีพฤติกรรมออกหากินในเวลากลางวันเช่นเดียวกัน แต่เป็นปลาที่มักอาศัยอยู่ตามลำพังหรือไม่ก็เป็นคู่หรือเป็นฝูงเล็ก ๆ โดยกินฟองน้ำเป็นอาหารหลัก และสัตว์น้ำทั่วไปขนาดเล็ก ปลาวัยอ่อนมีขนาดค่อนข้างใหญ่ แต่ลำตัวโปร่งใส ใช้ชีวิตคล้ายกับแพลงก์ตอนคือ จะถูกกระแสน้ำพัดพาลอยไปไกลจากถิ่นกำเนิด จึงทำให้การแพร่กระจายพันธุ์เป็นไปอย่างกว้างขวาง นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามเช่นเดียวกับปลาผีเสื้อหรือปลาโนรี และสามารถเลี้ยงรวมกันได้ ซึ่งในวัฒนธรรมร่วมสมัย ปลาโนรีเทวรูปได้ถูกสร้างเป็นตัวละครตัวหนึ่งในภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง Finding Nemo ของวอลต์ ดีสนีย์ ออกฉายในปี ค.ศ. 2003 โดยเป็นหัวหน้าฝูงปลาชื่อ กิลด์ (ให้เสียงพากย์โดย วิลเลม ดาโฟ) ในตู้กระจกภายในคลินิกทันตแพทย์ ปลาโนรีเทวรูป ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก ได้แก่ "ปลาผีเสื้อหนัง" หรือ "ปลาโนรีหนัง".

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาโนรีเทวรูป · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไม่มีขากรรไกร

ปลาไม่มีขากรรไกร (Jawless fish) เป็นปลาที่อยู่ในชั้นใหญ่ Agnatha (กรีก: ไม่มีขากรรไกร) เป็นปลาในชั้นหนึ่ง ที่แตกต่างไปจากปลากระดูกแข็ง หรือ ปลากระดูกอ่อน ซึ่งเป็นปลาส่วนใหญ่ที่พบได้ทั่วไปและเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี โดยปลาในชั้นนี้จะไม่มีกรามหรือขากรรไกร แต่จะมีปากแบบวงกลมและมีฟันแหลมคมจำนวนมากอยู่รอบ ๆ ใช้สำหรับดูดเลือดและเนื้อเยื่อของปลาชนิดอื่นกินเป็นอาหาร มีลำตัวยาวเหมือนปลาไหล มีโครงสร้างของกระดูกเป็นกระดูกอ่อน พบได้ทั้งน้ำจืดและทะเล บรรพบุรุษของปลาไม่มีขากรรไกร วิวัฒนาการมาจากปลาในชั้นออสตราโคเดิร์มซึ่งสูญพันธ์ไปแล้ว ฟอสซิลที่ถูกค้นพบครั้งล่าสุด พบว่า มีอายุกว่า 500 ล้านปีมาแล้ว และฟอสซิลที่ถูกค้นพบนั้นมีความสลับซับซ้อนมาก จึงเป็นที่น่าคาดการได้ว่า ออสตราโคเดิร์ม เก่าแก่มาก และน่าจะสูญพันธุ์ไปหมดแล้ว ปลาไม่มีขากรรไกร สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ Petromyzontida และ Myxini ซึ่งในปัจจุบัน กลุ่ม Petromyzontida มีเหลืออยู่เพียงประเภทเดียว คือ ปลาแลมป์เพรย์ ส่วน Myxini ก็เหลือเพียงประเภทเดียวเช่นกัน คือ แฮคฟ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาไม่มีขากรรไกร · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลกัลเปอร์

ปลาไหลกัลเปอร์ (Gulper, Gulper eel) เป็นวงศ์และสกุลของปลาทะเลน้ำลึกวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Saccopharyngidae (มาจากภาษาละติน "saccus" หมายถึง "ถุง" และภาษากรีก φάρυγξ, หมายถึง "คอหอย") ปลาไหลกัลเปอร์ เป็นปลาที่มีลำตัวเรียวยาวคล้ายปลาไหล ลำตัวไม่มีเกล็ด มีลักษณะเด่น คือ มีปากกว้างใหญ่ มีส่วนหัวที่ใหญ่กว่า 1 ใน 4 ของลำตัว ภายในปากมีฟันที่แหลมคมเต็มไปหมด มีหางยาวและไวต่อความรู้สึก ดวงตามีขนาดเล็ก มีลำตัวทั่วไปสีดำ และยาวได้เต็มที่ประมาณ 2 เมตร (6.5 ฟุต) พบได้ในระดับความลึก 1,800 เมตร (6,000 ฟุต) เป็นปลาที่เหมือนกับปลาใต้ทะเลลึกทั่วไป คือ กินอาหารได้หลากหลายชนิดไม่เลือก เนื่องจากเป็นสถานที่ ๆ อาหารหายาก ซึ่งด้วยปากที่กว้างใหญ่เช่นนี้ทำให้สามารถกินอาหารที่มีขนาดใหญ่กว่าตัวได้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาไหลกัลเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเขือ

ปลาเขือ หรือ ปลาบู่เขือ (Worm goby, Eel goby) เป็นปลากระดูกแข็งสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Taenioides (มาจากภาษาละตินคำว่า "taenia" หมายถึง "ริ้ว" หรือ "ลาย" และภาษากรีก (οιδες) "oides" หมายถึง "คล้ายกับ") มีรูปร่างทั่วไป ลำตัวยาวเรียวยาวคล้ายงูหรือปลาไหล แบนข้าง และเป็นสีชมพูโดยตลอด ตามีขนาดเล็กมาก อาศัยอยู่ในรูบริเวณปากแม่น้ำที่มีพื้นเป็นเลน เป็นปลาที่สามารถรับประทานได้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปลาเขือ · ดูเพิ่มเติม »

ปัญจตันตระ

หน้าจากหนังสือกาลิกา วา ดิมนา ภาคภาษาอาหรับอายุราว พ.ศ. 1753 แสดงรูปของราชาแห่งกากับที่ปรึกษา หน้าจากหนังสือ''Kelileh o Demneh'' อายุราว พ.ศ. 1972 จากเฮรัต ซึ่งเป็นปัญจตันตระที่แปลเป็นภาษาเปอร์เซีย โดยแปลมาจากฉบับภาษาอาหรับ ''Kalila wa Dimna'' อีกต่อหนึ่ง แสดงเรื่องตอนที่สุนัขจิ้งจอกชักนำสิงโตเข้าสู่สงคราม รูปสลักเกี่ยวกับปัญจตันตระที่วิหารเมนดุต ชวากลาง อินโดนีเซีย ปัญจตันตระ (Pancatantra; ภาษาสันสกฤต: पञ्चतन्त्र) เป็นนิทานโบราณของอินเดีย คาดว่ามีต้นกำเนิดที่แคชเมียร์เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษากรีกและปัญจตันตระ · ดูเพิ่มเติม »

ปูลม

ระวังสับสนกับ ปูทหาร ปูลม หรือ ปูผี (Ghost crab) เป็นปูทะเลขนาดเล็กในสกุล Ocypode อยู่ในวงศ์ Ocypodidae อันเป็นวงศ์เดียวกันกับปูก้ามดาบด้วย ปูลมมักถูกจำสับสนกับปูทหาร ซึ่งอยู่ในสกุล Mictyris ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกัน แต่ปูลมจะมีลำตัวที่ใหญ่กว่ามาก และมีกระดองเป็นรูปสี่เหลี่ยม ไม่เหมือนปูทหารที่เป็นวงกลม และมีก้านตายาว ซ้ำยังมีพฤติกรรมการหากินที่ต่างกันออกไป กล่าวคือ ปูลมจะไม่ปั้นทรายเป็นก้อนเหมือนปูทหาร แต่จะใช้ก้ามคีบอาหารจำพวกซากพืช ซากสัตว์ และอินทรีย์สารต่าง ๆ เข้าปาก และมักจะทำรูอยู่ในป่าชายเลนที่เป็นเลนมากกว่า แต่ก็มีพบบ้างที่บริเวณหาดทราย ปูลมได้ชื่อว่าในภาษาไทยเนื่องจากเป็นปูที่วิ่งได้เร็วมาก และส่วนชื่อปูผีในภาษาอังกฤษ มาจากพฤติกรรมการหากินที่มักหากินในเวลากลางคืนมากกว่ากลางวัน ขณะที่ชื่อวิทยาศาสตร์มาจากภาษากรีกคำว่า ocy หมายถึง "เร็ว" และคำว่า ποδός หมายถึง "เท้า" รวมความแล้วหมายถึงสัตว์ที่วิ่งเร็ว ปูลมพบทั้งหมด 28 ชนิด โดยชนิดที่พบได้ในประเทศไทยได้แก่ ปูลมใหญ่ (Ocypode ceratophthalmus) และปูลมเล็ก (O. macrocera) ซึ่งมีพฤติกรรมหากินในเวลากลางวันด้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและปูลม · ดูเพิ่มเติม »

ป้อมปืนนาวาโรน

ป้อมปืนนาวาโรน (The Guns of Navarone) เป็นภาพยนตร์สงครามที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและป้อมปืนนาวาโรน · ดูเพิ่มเติม »

นกอัลบาทรอสคิ้วดำ

นกอัลบาทรอสคิ้วดำ (Black-browed albatross; หรือ melanophris) เป็นนกทะเลขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จำพวกนกอัลบาทรอส (Diomedeidae) นกอัลบาทรอสคิ้วดำ เป็นนกอัลบาทรอสขนาดกลาง มีส่วนหัวที่ใหญ่กว่าลูกเบสบอลเล็กน้อย มีคิ้วสีดำที่โดดเด่นคาดเหนือดวงตาสีดำขลับ จะงอยปากยาวประมาณ 10 เซนติเมตร มีโทนสีไล่กันจากโคนสีเหลืองนวลเป็นสีชมพูอ่อนและชมพูเข้มตอนปลาย นกในช่วงวัยรุ่นจะมีจะงอยปากสีเข้ม นกขนาดโตเต็มที่มีความยาวลำตัว 80–95 เซนติเมตร (31–37 นิ้ว) ความกว้างปีก 200–240 เซนติเมตร (79–94 นิ้ว) น้ำหนักโดยเฉลี่ย 2.9–4.7 กิโลกรัม (6.4–10 นิ้ว) และมีอายุขัยได้มากกว่า 70 ปี นกอัลบาทรอสคิ้วดำ กระจายพันธุ์อยู่ในซีกโลกใต้ ทั้งมหาสมุทรแอตแลนติก และแปซิฟิก โดยเฉพาะในหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ และอาจพบได้ถึงเกาะแคมป์เบลล์ ในนิวซีแลนด์ นกวัยรุ่นจะกลับเข้าหาฝั่งเป็นครั้งแรกหลังจากใช้ชีวิตอยู่ในทะเลนาน 4-5 ปี เพื่อหาคู่ โดยจะอวดท่วงท่าลีลา รำแพนหาง และส่งเสียงขันคู หรือโก่งคอเข้าหาคู่และเอียงจะงอยปากแนบกัน เพื่อแสดงความพร้อมในการผสมพันธุ์ การหาคู่มักใช้เวลานานราว 2 ปี นกที่เข้าคู่กันได้ดีและนั่งอยู่ด้วยกันเป็นเวลานาน เพื่อทำความรู้จักและเข้าคู่กัน เพราะการเลี้ยงลูกต้องอาศัยทั้งตัวผู้และตัวเมีย โดยทำรังบนหน้าผาชายฝั่ง นกอัลบาทรอสคิ้วดำ จำนวน 399,000 คู่ หรือ 2 ใน 3 ของนกอัลบาทรอสคิ้วดำทั่วโลกจะบินมาวางไข่ที่หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ แต่จำนวนของนกลดลงอย่างน่าใจหาย เนื่องจากการประมงเบ็ดราวและอวนลากในมหาสมุทรของซีกโลกใต้ จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและนกอัลบาทรอสคิ้วดำ · ดูเพิ่มเติม »

นกนางแอ่นแม่น้ำ

นกนางแอ่นแม่น้ำ หรือ นกนางแอ่นเทียม (river martins) เป็นสกุลนกนางแอ่นในวงศ์ย่อย Pseudochelidoninae ที่อยู่ในวงศ์นกนางแอ่น (Hirundinidae) ประกอบไปด้วย 2 สปีชีส์คือ นกนางแอ่นแม่น้ำแอฟริกา (Pseudochelidon eurystomina) ที่พบในสาธารณรัฐคองโกและประเทศกาบอง และนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร (Pseudochelidon sirintarae) ที่พบในประเทศไทยเพียงแห่งเดียวในโลก เป็นนกนางแอ่นขนาดกลาง มีขนส่วนใหญ่เป็นสีดำ บินจับแมลงกินเป็นอาหาร พวกมันดูเหมือนจะใช้ชีวิตอยู่บนพื้นมากกว่านกนางแอ่นชนิดอื่น อาจเดินมากกว่าเกาะคอน และนกนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธรอาจหากินในเวลากลางคืน นกนางแอ่นแม่น้ำแอฟริกาทำรังบนตลิ่งทรายริมแม่น้ำโดยการขุดโพรงลงไป ส่วนแหล่งผสมพันธุ์วางไข่ของนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธรยังไม่ทราบ เมื่อมีการค้นพบนกนางแอ่นแม่น้ำแอฟริกาครั้งแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 19 กุสทัฟ ฮาร์ทเลาบ์ (Gustav Hartlaub) คิดว่ามันเป็นนกตะขาบและผู้แต่งหลังจากนั้นก็จัดวางมันอยู่ในวงศ์ของตนเองหรืออยู่ในวงศ์นกแอ่นพง จากการศึกษาทางกายวิภาคพบว่ามันเป็นญาติใกล้ชิดกับนกในวงศ์นกนางแอ่น แต่มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างคือมีขาและเท้าแข็งแรงและมีปากอวบ สิ่งเหล่านี้แสดงว่าควรแยกมันออกเป็นวงศ์ย่อยต่างหาก นกนางแอ่นแม่น้ำทั้งสองชนิดจัดอยู่ในสกุลเดียวกันคือสกุล Pseudochelidon เพราะทั้งสองมีโครงสร้างที่คล้ายกัน แต่ บรูก เสนอว่านกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธรควรแยกออกเป็นสกุล Eurochelidon นกนางแอ่นแม่น้ำแอฟริกามีการกระจายพันธุ์ในวงแคบในหลายพื้นที่แต่สถานะภาพที่แท้จริงยังไม่มีการตรวจสอบข้อเท็จจริง ส่วนนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธรค้นพบในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและนกนางแอ่นแม่น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

นกนางแอ่นแม่น้ำแอฟริกา

นกนางแอ่นแม่น้ำแอฟริกา หรือ นกนางแอ่นเทียมคองโก (African River Martin) เป็นนกจับคอนหนึ่งในสองชนิดของวงศ์ย่อยนกนางแอ่นแม่น้ำในวงศ์นกนางแอ่น (Hirundinidae) เป็นนกขนาดกลาง มีขนสีดำ ตาสีแดง ปากอวบกว้างสีส้ม-แดง หางเหลี่ยม โครงสร้างต่างจากนกนางแอ่นชนิดอื่นคือ มีเท้าและขาแข็งแรง มีการเสนอให้แยกนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธรที่พบในเอเชียที่เป็นนกสกุลเดียวกันออกเป็นอีกวงศ์ย่อย มีการกระจายพันธุ์ตามแม่น้ำคองโกและสาขารวมถึงแม่น้ำอูบองชี (Ubangi) ด้วย มันทำรังในโพรงบนตลิ่งทราย มีการกระจายพันธุ์ในวงจำกัดแม้จะถูกจับไปเป็นอาหารโดยคนในพื้นที่ มันเป็นนกอพยพ ในฤดูหนาวจะอพยพไปที่ราบชายฝั่งทางใต้ของประเทศกาบองและสาธารณรัฐคองโก แต่นกหลายตัวก็ยังคงผสมพันธุ์วางไข่ในเขตหนาวเย็น นกนางแอ่นชนิดนี้บินจับแมลงกินเป็นอาหาร และเดินบนพื้นมากกว่าจะเกาะคอน สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติจัดสถานะการอนุรักษ์เป็นยังไม่มีข้อมูล (DD) เพราะไม่มีข้อมูลของจำนวนประชากร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและนกนางแอ่นแม่น้ำแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

นกแก้วคาคาโป

นกแก้วคาคาโป (เมารี: kākāpō) เป็นภาษามาวรี มีความหมายว่า "นกแก้วกลางคืน" เป็นนกที่อยู่ในวงศ์ Strigopidae มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Strigops habroptilus นกแก้วคาคาโป บ้างก็เรียกว่า "นกแก้วฮูก" ซึ่งเป็นนกแก้วที่บินไม่ได้ที่พบในนิวซีแลนด์เท่านั้น ถือเป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของวิวัฒนาการบนเกาะโดดเดี่ยว ทำให้มีรูปลักษณ์พิเศษ โดยบรรพบุรุษร่วมของนกแก้วคาคาโปและนกในสกุล Nestor ในวงศ์ใหญ่เดียวกัน คือ วงศ์ Strigopoidea ได้แยกไปอยู่ต่างหากจากนกแก้วชนิดอื่น ๆ หลังจากนิวซีแลนด์แยกตัวออกจากทวีปกอนด์วานา เมื่อประมาณ 82 ล้านปีก่อน จากนั้นอีก 12 ล้านปีต่อมาหรือประมาณ 70 ล้านปีก่อน นกแก้วคาคาโปจึงแยกออกจากนกสกุล Nestor ชัดเจน จากสภาพแวดล้อมที่ไม่มีสัตว์นักล่าบนเกาะนิวซีแลนด์ ทำให้นกแก้วคาคาโปมีวิวัฒนาการเป็นนกแก้วชนิดเดียวในโลกที่บินไม่ได้ และยังครองสถิติอีกหลายอย่าง คือเป็นนกแก้วที่มีน้ำหนักมากที่สุดในโลก มีขนาดตัวระหว่าง 59-64 เซนติเมตร และหนักถึง 4 กิโลกรัม นอกจากนี้ยังเชื่อกันว่ามันเป็นนกแก้วที่มีอายุยืนที่สุดด้วย โดยมีสถิติพบอายุยืนที่สุดถึง 100 ปี อีกทั้งเป็นนกแก้วชนิดเดียวในโลกที่หากินตอนกลางคืน และมีระบบการผสมพันธุ์ที่ตัวผู้จะอยู่ในอาณาเขตหรือรังของตัวเองและส่งเสียงเรียกตัวเมีย ซึ่งมีเสียงร้องคล้ายเสียงกบและจะร้องติดต่อกันนานถึง 3 เดือน วันละ 8 ชั่วโมง และเสียงร้องจะได้ยินไปไกลถึง 5 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและนกแก้วคาคาโป · ดูเพิ่มเติม »

นกแสก (สกุล)

นกแสก (Barn-owl, Masked owl) เป็นสกุลของนกล่าเหยื่อกลุ่มหนึ่งในหากินในเวลากลางคืน ใช้ชื่อสกุลว่า Tyto (มาจากภาษากรีกคำว่า τυτο หมายถึง "นกเค้าแมว") ในวงศ์ย่อย Tytoninae ในวงศ์ใหญ่ Tytonidae เป็นสกุลที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุดของวงศ์นี้ มักมีขนสีเข้มด้านหลังมากกว่าด้านหน้า โดยจะเป็นสีส้มและสีน้ำตาล ขนด้านหน้าสีซีดกว่าจากด้านหลังและมีจุดด่างดำซึ่งจะแตกต่างกันออกไปตามแต่ละชนิด มีลักษณะเด่น คือ มีใบหน้าที่เรียบแบนรูปหัวใจ และไม่มีกระจุกขนที่เหนือตาเหมือนใบหูเหมือนนกเค้าแมวจำพวกอื่น ๆ อีกทั้งยังมีรูปร่างที่ใหญ่กว่าด้วย เป็นนกเค้าแมวที่มีการวิวัฒนาการและปรับตัวให้อาศัยอยู่ได้ในหลากหลายภูมิประเทศ ทั้งในป่าและชุมชนเมือง พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วทุกมุมโลก ยกเว้นบริเวณขั้วโลก ในบางพื้นที่ เช่น บนเกาะมีบางชนิดที่สูญพันธุ์ไปแล้ว และชนิดที่พบในบางพื้นที่ เช่น เมดิเตอร์เรเนียนและแคริบเบียนจะมีขนาดใหญ่กว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและนกแสก (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

นกเลิฟเบิร์ด

นกเลิฟเบิร์ด (Lovebird) เป็นสกุลของนกปากขอ หรือนกแก้วขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Agapornis (มาจากภาษากรีกคำว่า αγάπη หมายถึง "รัก" และคำว่า όρνις หมายถึง "นก") นกเลิฟเบิร์ดเป็นนกปากขอขนาดเล็ก ที่มีสีสันสดใส มีความยาวเต็มที่ประมาณ 5-6 นิ้ว โดยมีถิ่นกำเนิดในทวีปอัฟริกาฝั่งตะวันออก และเกาะมาดากัสการ์ซึ่งเป็นแถบที่อบอุ่นถึงค่อนข้างร้อน มีอายุขัยประมาณ 10-15 ปี นกเลิฟเบิร์ดมีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง เมื่อถึงวัยเจริญพันธุ์และเลือกคู่ได้แล้วจะอยู่กับคู่ของตัวเองไปตราบจนตาย อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ นกเลิฟเบิร์ดก็เหมือนกับนกในอันดับนี้ส่วนใหญ่ ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง ประวัติของการเลี้ยงนกเลิฟเบิร์ด ในสมัยแรกเริ่มคือช่วงปี ค.ศ. 1840 นกเลิฟเบิร์ดถูกเรียกว่า "Little parrot" (นกแก้วเล็ก) ตามประวัติกล่าวว่าชาวแอฟริกันเป็นผู้นำเข้าไปแพร่หลายในทวีปยุโรป และด้วยเอกลักษณ์ของนกสกุลนี้ก็คือ ชอบอยู่เป็นคู่ และจะดูแลกันและกันเป็นอย่างดี จึงได้รับการเรียกขานว่านกเลิฟเบิร์ดในที่สุด ต่อมา นกเลิฟเบิร์ดก็แพร่ขยายไปในสหรัฐอเมริกาในศตวรรษที่ 60 เมื่อมีการได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก จึงเกิดการเพาะขยายพันธุ์อย่างกว้างขวางจนเกิดการกลายพันธุ์ เป็นสายพันธุ์ใหม่ ๆ ขึ้นมา จนในช่วงศตวรรษที่ 80 การเลี้ยงนกเลิฟเบิร์ดมีจุดมุ่งหมายก็เพื่อให้ได้สีสันใหม่ ๆ ที่สวยงามขึ้น และเป็นการพัฒนาสายพันธุ์ รวมทั้งมีการผสมกับนกสายพันธุ์อื่น ๆ อีกด้วยจนปัจจุบันนกเลิฟเบิร์ด ได้กลายเป็นสัตว์เลี้ยงที่มนุษย์รู้จักและคุ้นเคยเป็นอย่างดี แผนผังการจำแนกชน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและนกเลิฟเบิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร

นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร หรือ นกนางแอ่นตาพอง (White-eyed River-Martin, ชื่อวิทยาศาสตร์: Pseudochelidon sirintarae หรือ Eurochelidon sirintarae) เป็นนกจับคอนหนึ่งในสองชนิดของสกุลนกนางแอ่นแม่น้ำในวงศ์นกนางแอ่น พบบริเวณบึงบอระเพ็ดในช่วงฤดูหนาวเพียงแห่งเดียวในโลก แต่อาจสูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร · ดูเพิ่มเติม »

นกเขียวก้านตอง

นกเขียวก้านตอง (Leafbird) เป็นชื่อของสกุลและวงศ์ ของนกขนาดเล็กประเภทหนึ่งในตระกูลนกเกาะคอน มีถิ่นที่อยู่ในอินเดียและเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นนก 1 ใน 2 วงศ์ซึ่งเป็นนกเฉพาะถิ่นของเขตนิเวศวิทยาอินโดมาลายัน โดยอีกวงศ์หนึ่งคือนกแว่นตาขาว เดิมสกุลนกเขียวก้านตอง อยู่ในวงศ์นกเขียวคราม ร่วมกับสกุลนกแว่นตาขาว แต่ภายหลังได้แยกวงศ์ออกมาทั้งสองสกุล ตั้งเป็นวงศ์ใหม่คือ วงศ์นกเขียวก้านตอง และวงศ์นกแว่นตาขาว นกเขียวก้านตองมีลักษณะคล้ายนกในวงศ์นกปรอดซึ่งเป็นวงศ์ใกล้เคียงกัน หากแต่มีสีสันสดใสกว่า นอกจากนี้ นกเขียวก้านตองเป็นนกที่มีลักษณะแตกต่างระหว่างเพศ โดยที่ตัวผู้จะมีสีสันสดใสกว่า และ/หรือ มีสีสันมากกว่า นกเขียวก้านตองวางไข่ 2-3 ฟองต่อครั้ง ในรังบนคาคบต้นไม้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและนกเขียวก้านตอง · ดูเพิ่มเติม »

นอสตราเดมัส

นอสตราเดมัส ไทยมักเรียก นอสตราดามุส (Nostradamus) ชื่อจริงว่า มีแชล เดอ นอสทร์ดาม (Michel de Nostredame; เกิด 14 หรือ 21 ธันวาคม 1503 แล้วแต่แหล่งข้อมูล;Most eyewitnesses to his original epitaph (including his son Caesar and historian Honoré Bouche) indicate 21 December, but a few (including his secretary Chavigny) suggest 14th. The inscription on his present tombstone evidently follows Chavigny. No conclusive explanation for the discrepancy has so far been discovered. See Guinard, Patrice, ตาย 2 กรกฎาคม 1566) เป็นชาวฝรั่งเศสซึ่งเป็นเภสัชกร (apothecary) และหมอดูที่มีชื่อเสียง เพราะเผยแพร่ชุดคำทำนายซึ่งเลื่องชื่อที่สุดในโลกหลายชุด โดยเฉพาะ เลพรอเฟซี (Les Propheties) ที่พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี 1555 เมื่อเผยแพร่หนังสือชุดดังกล่าวแล้ว นอสตราเดมัสก็ได้รับความสนใจจากสำนักพิมพ์ใหญ่หลายแห่ง พร้อมกิตติศัพท์ว่า สามารถทำนายทายทักเหตุการณ์สำคัญหลายเรื่องในโลก แหล่งข้อมูลทางวิชาการส่วนใหญ่ถือกันว่า การอ้างว่า เหตุการณ์ในโลกสัมพันธ์กับโคลงทำนายของนอสตราเดมัสนั้น เป็นผลมาจากการตีความหรือแปลความที่ผิดพลาด ซึ่งบางครั้งปรากฏว่า ตั้งใจให้ผิดพลาด มิฉะนั้น ก็เป็นเรื่องมโนสาเร่ถึงขนาดที่ไม่อาจถือเอาโคลงเหล่านั้นเป็นพยานหลักฐานว่า นอสตราเดมัสมีอำนาจพยากรณ์อย่างแท้จริง อย่างไรก็ดี นักวิจารณ์จำนวนหนึ่งก็ประสบความสำเร็จในการตีความอย่างเสรีโดยใช้วิธี "พลิกแพลง" ถ้อยคำในโคลงเพื่อระบุเหตุการณ์อันเห็นได้ชัดว่า ใกล้จะมาถึงอยู่แล้ว เช่น ในปี 1867 หลุยส์-มีแชล เลอ เปอเลอตีเย (Louis-Michel le Peletier) ใช้กลวิธีดังกล่าวทำนายล่วงหน้า 3 ปีว่าจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 จะทรงมีชัยหรือปราชัยในสงครามฝรั่งเศส–ปรัสเซีย แม้เลอ เปอเลอตีเย จะยอมรับว่า ตนไม่สามารถบอกได้จริงว่า จะทรงมีชัยหรือปราชัย และเหตุการณ์จะเกิดขึ้นเมื่อใดก็ตาม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและนอสตราเดมัส · ดูเพิ่มเติม »

นักบินอวกาศ

รูซ แมคแคนด์เลส 2 นักบินอวกาศชาวอเมริกัน ขณะทำงานอยู่นอกกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ เมื่อ พ.ศ. 2527 (ภาพจากองค์การนาซา) นักบินอวกาศ คือ บุคคลที่เดินทางไปกับยานอวกาศ ไม่ว่าจะไปในฐานะใด และไม่ว่าจะไปด้วยยานอวกาศแบบไหน ทั้งที่โคจรรอบโลก (ในระยะสูงจากพื้นราว 80-100 กิโลเมตรขึ้นไป) หรือที่เดินทางออกไปยังตำแหน่งอื่นใดนอกวงโคจรของโลก คำว่า นักบินอวกาศ ในภาษาไทย นั้น ตรงกับคำศัพท์ในภาษาอังกฤษ ว่าแอสโตรนอท (astronaut) ซึ่งมีความหมายอย่างที่กล่าวมา เป็นที่น่าสังเกตว่า คำว่า นักบินอวกาศ ไม่ได้มีความหมายเฉพาะผู้ที่เป็นนักบิน (pilot) เท่านั้น แต่มีความหมายอย่างที่อาจเข้าใจได้ง่ายๆ ว่า ลูกเรืออวกาศ นั่นเอง อย่างไรก็ตาม ในภาษาไทยยังมีคำศัพท์อีกคำ ที่มีความหมายเช่นนี้ นั่นคือ มนุษย์อวกาศ คำว่า แอสโตรนอท ในภาษาอังกฤษนั้น มีที่มาจากคำศัพท์ในภาษากรีก สองคำ คือ astro หมายถึงดวงดาว และ nautes ซึ่งหมายถึง กะลาสี ปัจจุบันมีนักบินอวกาศหลายชาติ จึงมีการสร้างคำสำหรับเรียกนักบินอวกาศของแต่ละชาติต่างๆ กัน เช่น นักบินในโครงการอวกาศของรัสเซีย เรียกว่า คอสโมนอท (cosmonaut) อันเป็นการสร้างคำจากคำศัพท์จากภาษากรีกเช่นกัน โดยใช้คำว่า kosmo ที่หมายถึง อวกาศ และคำว่า nautes ที่หมายถึง กะลาสี ส่วนในยุโรป มีการสร้างศัพท์ขึ้นใหม่ ว่า สเปชันนอท (spationaut) เป็นคำประสม ระหว่าง space ในภาษาละติน (อวกาศ) และ nautes ในภาษากรีก (กะลาสี) โดยมีความหมายว่านักบินอวกาศ หรือมนุษย์อวกาศ นั่นเอง นอกจากนี้ยังมีคำว่า ไทโคนอท (Taikonaut) เป็นคำศัพท์ที่คิดขึ้นใหม่ เมื่อ เดือนพฤษภาคม ปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและนักบินอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญอันดรูว์

อันดรูว์อัครทูต (Ανδρέας อันเดฺรอัส; Andrew แอนดฺรูว) ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญอันดรูว์ เป็นนักบุญและมรณสักขีในคริสต์ศาสนา เกิดเมื่อราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 1 ที่เมืองเบ็ธไซดาบนฝั่งทะเลกาลิลี และเสียชีวิตโดยการถูกตรึงกางเขนบนกางเขนรูป “X” เมื่อราวกลางหรือปลายคริสต์ศตวรรษที่ 1 ที่เมืองเพ็ทราส์ ในประเทศกรีซปัจจุบัน นักบุญอันดรูว์ เป็นหนึ่งในอัครทูตสิบสององค์ของพระเยซู ในคริสตจักรออร์ทอดอกซ์ เรียกนักบุญอันดรูว์ว่า “Protocletos” หรือ “ผู้ถูกเรียกคนแรก” ชื่อ “แอนดรูว” มาจากภาษากรีกที่แปลว่า “เกียรติ” เช่นเดียวกับชื่อภาษากรีกอื่น ๆ เป็นชื่อที่ชาวยิวใช้กันทั่วไปในระหว่างร้อยถึงสองร้อยปีก่อนคริสต์ศตวรรษ เท่าที่ทราบนักบุญอันดรูว์ไม่มีชื่อบ่งเป็นภาษาฮิบรูและภาษาอราเมอิก ตามพันธสัญญาใหม่นักบุญแอนดรูว์เป็นลูกของโยนาห์หรือยอห์น (มัทธิว; ยอห์น) เกิดที่เมืองเบ็ธไซดาบนฝั่งทะเลกาลิลี(ยอห์น) และเป็นน้องชายของซีโมนเปโตร เปโตรและอันดรูว์เดิมเป็นชาวประมงฉะนั้นเมื่อพระเยซูเรียกตัวมาเป็นอัครทูตโดยกล่าวว่าเจ้าจงเป็น “ชาวประมงหามนุษย์” (ภาษากรีก: ἁλιείς ἀνθρώπων “halieis anthropon”)Metzger & Coogan (1993) Oxford Companion to the Bible, p 27.

ใหม่!!: ภาษากรีกและนักบุญอันดรูว์ · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญจอร์จ

นักบุญจอร์จ (St.) เกิดเมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและนักบุญจอร์จ · ดูเพิ่มเติม »

นักเรียน

นักเรียนขณะเข้าร่วมประชุมภายในหอประชุม นักเรียน ผู้เรียน นิสิต หรือ นักศึกษา ในความหมายโดยรวมคือผู้ที่เข้าเรียนในสถานศึกษา โดยแบ่งเป็น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและนักเรียน · ดูเพิ่มเติม »

นิรุกติศาสตร์

นิรุกติศาสตร์ เป็นศัพท์บัญญัติ จากคำว่า philology ในภาษาอังกฤษ นิยามที่ตรงที่สุดของคำนี้ ก็คือ การเรียนรู้ถึงภูมิหลัง และการใช้ในปัจจุบัน ของการสื่อสารของมนุษย์ ไม่ว่าด้วยวิธีการพูดหรือการเขียน แม้ว่าคุณลักษณะทั่วไปของภาษาที่ถูกศึกษา จะมีความสำคัญมากกว่าที่มา หรืออายุ แต่การศึกษาเรื่องที่มาและอายุของคำก็มีความสำคัญเช่นกัน คำว่า ฟิโลโลจี (philology) ในภาษาอังกฤษ มาจากคำศัพท์ภาษากรีก ฟิลอส (Φιλος) ความรักอย่างพี่น้อง และ โลกอส (λογος) สนใจ หมายถึง ความรักในคำศัพท์ การศึกษาเชิงนิรุกติศาสตร์ คือการทำความเข้าใจถึง ที่มาของภาษา และมักใช้ในการศึกษาภาษา หรือคัมภีร์โบราณ คำนี้ มักจะใช้สับสนกับคำว่า ศัพทมูลวิทยา (etymology) ซึ่งเป็นการศึกษาที่มาของคำศัพท์ หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ หมวดหมู่:การเขียน หมวดหมู่:นิรุกติศาสตร์.

ใหม่!!: ภาษากรีกและนิรุกติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

นิวตรอน

นิวตรอน (neutron) เป็น อนุภาคย่อยของอะตอม ตัวหนึ่ง มีสัญญลักษณ์ n หรือ n0 ที่ไม่มี ประจุไฟฟ้า และมีมวลใหญ่กว่ามวลของ โปรตอน เล็กน้อย โปรตอนและนิวตรอนแต่ละตัวมีมวลประมาณหนึ่งหน่วย มวลอะตอม โปรตอนและนิวตรอนประกอบกันขึ้นเป็น นิวเคลียส ของหนึ่งอะตอม และทั้งสองตัวนี้รวมกันเรียกว่า นิวคลีออน คุณสมบัติของพวกมันถูกอธิบายอยู่ใน ฟิสิกส์นิวเคลียร์ นิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอนจำนวน Z ตัว โดยที่ Z จะเรียกว่า เลขอะตอม และนิวตรอนจำนวน N ตัว โดยที่ N คือ เลขนิวตรอน เลขอะตอมใช้กำหนดคุณสมบัติทางเคมีของอะตอม และเลขนิวตรอนใช้กำหนด ไอโซโทป หรือ นิวไคลด์ คำว่าไอโซโทปและนิวไคลด์มักจะถูกใช้เป็นคำพ้อง แต่พวกมันหมายถึงคุณสมบัติทางเคมีและทางนิวเคลียร์ตามลำดับ เลขมวล ของอะตอมใช้สัญลักษณ์ A จะเท่ากับ Z+N ยกตัวอย่างเช่น คาร์บอนมีเลขอะตอมเท่ากับ 6 และคาร์บอน-12 ที่เป็นไอโซโทปที่พบอย่างมากมายของมันมี 6 นิวตรอนขณะคาร์บอน-13 ที่เป็นไอโซโทปที่หายากของมันมี 7 นิวตรอน องค์ประกอบบางอย่างจะเกิดขึ้นเองในธรรมชาติโดยมีไอโซโทปที่เสถียรเพียงหนึ่งตัว เช่นฟลูออรีน (ดู นิวไคลด์ที่เสถียร) องค์ประกอบอื่น ๆ จะเกิดขึ้นโดยมีไอโซโทปที่เสถียรเป็นจำนวนมาก เช่นดีบุกที่มีสิบไอโซโทปที่เสถียร แม้ว่านิวตรอนจะไม่ได้เป็นองค์ประกอบทางเคมี มันจะรวมอยู่ใน ตารางของนิวไคลด์ ภายในนิวเคลียส โปรตอนและนิวตรอนจะยึดเหนี่ยวอยู่ด้วยกันด้วย แรงนิวเคลียร์ และนิวตรอนเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับความมั่นคงของนิวเคลียส นิวตรอนถูกผลิตขึ้นแบบทำสำเนาในปฏิกิริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น และ นิวเคลียร์ฟิชชัน พวกมันเป็นผู้สนับสนุนหลักใน การสังเคราะห์นิวเคลียส ขององค์ประกอบทางเคมีภายในดวงดาวผ่านกระบวนการฟิวชัน, ฟิชชั่นและ การจับยึดนิวตรอน นิวตรอนเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการผลิตพลังงานนิวเคลียร์ ในทศวรรษหลังจากที่นิวตรอนที่ถูกค้นพบในปี 1932 นิวตรอนถูกนำมาใช้เพื่อให้เกิดการกลายพันธ์ของนิวเคลียส (nuclear transmutation) ในหลายประเภท ด้วยการค้นพบของ นิวเคลียร์ฟิชชัน ในปี 1938 ทุกคนก็ตระหนักได้อย่างรวดเร็วว่า ถ้าการฟิชชันสามารถผลิตนิวตรอนขึ้นมาได้ นิวตรอนแต่ละตัวเหล่านี้อาจก่อให้เกิดฟิชชันต่อไปได้อีกในกระบวนการต่อเนื่องที่เรียกว่า ปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ เหตุการณ์และการค้นพบเหล่านี้นำไปสู่​​เครื่องปฏิกรณ์ที่ยั่งยืนด้วยตนเองเป็นครั้งแรก (Chicago Pile-1, 1942) และอาวุธนิวเคลียร์ครั้งแรก (ทรินิตี้ 1945) นิวตรอนอิสระหรือนิวตรอนอิสระใด ๆ ของนิวเคลียสเป็นรูปแบบหนึ่งของ การแผ่รังสีจากการแตกตัวเป็นไอออน ดังนั้นมันจึงเป็นอันตรายต่อชีวภาพโดยขึ้นอยู่กับปริมาณที่รับ สนาม "พื้นหลังนิวตรอน" ขนาดเล็กในธรรมชาติของนิวตรอนอิสระจะมีอยู่บนโลก ซึ่งเกิดจากมิวออนรังสีคอสมิก และจากกัมมันตภาพรังสีตามธรรมชาติขององค์ประกอบที่ทำฟิชชันได้ตามธรรมชาติในเปลือกโลก แหล่งที่ผลิตนิวตรอนโดยเฉพาะเช่นเครื่องกำเนิดนิวตรอน, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์เพื่อการวิจัยและแหล่งผลิตนิวตรอนแบบสปอลเลชัน (Spallation Source) ที่ผลิตนิวตรอนอิสระสำหรับการใช้งานในการฉายรังสีและในการทดลองการกระเจิงนิวตรอน คำว่า "นิวตรอน" มาจากภาษากรีก neutral ที่แปลว่า เป็นกลาง เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด เป็นผู้ตั้งทฤษฎีการมีอยู่ของนิวตรอนเมื่อปี ค.ศ. 1920 โดยเขาพบว่าอะตอมของธาตุทุกชนิด เลขมวลจะมีค่าใกล้เคียงกับ 2 เท่าของเลขอะตอมเสมอ จึงสันนิษฐานได้ว่ามีอนุภาคอีกชนิดหนึ่งที่ยังไม่ถูกค้น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและนิวตรอน · ดูเพิ่มเติม »

นิวต์หางใบพาย

นิวต์หางใบพาย หรือ ซาลาแมนเดอร์หางใบพาย (Alpine newt) เป็นซาลาแมนเดอร์ในกลุ่มของนิวต์ หรือซาลาแมนเดอร์ขนาดเล็ก ในสกุล Triturus (มาจาก ไทรทัน บุตรชายของโพไซดอน เทพเจ้าแห่งมหาสมุทรตามเทพปกรณัมกรีก และภาษากรีกคำว่า ura หมายถึง "หาง") ลักษณะเด่นของนิวต์หางใบพาย คือ มีส่วนหางที่แผ่แบนเหมือนใบพายหรือครีบปลา มีช่วงชีวิตยาวนานอยู่ในน้ำมากกว่านิวต์สกุลอื่น ๆ โดยที่ขณะเป็นตัวอ่อนหรือตัวเต็มวัย ลักษณะหางที่เป็นใบพายก็ยังคงลักษณะเดิมไม่เปลี่ยนแปลง มีขนาดลำตัวประมาณ 9-12 เซนติเมตร ในชนิดที่มีขนาดใหญ่อาจยาวได้ถึง 16 เซนติเมตร ในบางชนิดมีแผ่นหนังที่ดูคล้ายหงอนหรือครีบหลังที่สันหลังของลำตัวไปถึงส่วนหางด้วยซึ่งดูเป็นจุดเด่น ลำตัวมักมีสีน้ำตาลหรือสีเทาเข้ม มีลายประหรือจุดสีสันต่าง ๆ แตกต่างออกไปตามและชนิด และยิ่งจะมีความเด่นชัดขึ้นโดยเฉพาะในช่วงฤดูผสมพันธุ์ มีการขยายพันธุ์และวางไข่เหมือนกับนิวต์สกุลอื่น วางไข่ครั้งละ 100-200 ฟอง หรือในชนิดที่มีจำนวนมากอาจได้ถึง 300-400 ฟอง พบกระจายพันธุ์ในป่า หรือลำห้วย หรือทะเลสาบในแถบเทือกเขาในระดับความสูงต่าง ๆ กันในทวีปยุโรป จนถึงบางส่วนของรัสเซีย และภูมิภาคตะวันออกกลางTriturus ทั้ง 5, คอลัมน์ Aqua Survey โดย สุริศา ซอมาดี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและนิวต์หางใบพาย · ดูเพิ่มเติม »

นิวโรพิล

นิวโรพิล (Neuropil, Neuropile) เป็นส่วนไหนในระบบประสาทก็ได้ที่ประกอบด้วยแอกซอนซึ่งไม่หุ้มปลอกไมอีลิน, เดนไดรต์, และส่วนยื่นของเซลล์เกลียโดยมาก กลายเป็นบริเวณที่หนาแน่นไปด้วยไซแนปส์โดยมีตัวเซลล์ค่อนข้างน้อย เขตที่หนาแน่นไปด้วยนิวโรพิลมากที่สุดก็คือสมอง แม้จะไม่ใช่นิวโรพิลเพียงอย่างเดียว แต่ก็ยังมีส่วนนิวโรพิลที่ใหญ่สุดและมีไซแนปส์หนาแน่นที่สุดในร่างกาย ยกตัวอย่างเช่น ทั้งคอร์เทกซ์ใหม่และป่องรับกลิ่นต่างก็มีนิวโรพิล เนื้อขาวซึ่งเป็นแอกซอนและเซลล์เกลียโดยมาก โดยทั่วไปจะไม่จัดเป็นส่วนของนิวโรพิล thumb คำภาษาอังกฤษว่า Neuropil มาจากคำภาษากรีก คือ neuro ที่แปลว่า "เอ็น ประสาท" และ pilos ที่แปลว่า ผ้าขนสัตว์ โดยเริ่มใช้ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: ภาษากรีกและนิวโรพิล · ดูเพิ่มเติม »

นิทานคติสอนใจ

การกลับมาของลูก จากภาพ “The return of the prodigal son” โดย แรมบรังด์ นิทานคติสอนใจ (Parable) หมายถึงวรรณกรรมหรือโคลงกลอนสั้นๆ ที่แฝงคำสอนหรือบทเรียนทางจริยธรรม หรือทางศาสนา “นิทานคติสอนใจ” ต่างจาก “นิทานอุทาหรณ์” (Fable) ตรงที่นิทานเฟเบิลจะใช้สัตว์ ต้นไม้ สิ่งของ หรือธรรมชาติเป็นองค์ประกอบของเรื่อง ขณะที่องค์ประกอบของ “ตำนานแฝงคำสอน” จะเป็นมนุษย์ นักวิชาการทางพันธสัญญาใหม่จะใช้คำว่า “นิทานคติสอนใจ” เฉพาะนิทานคติสอนใจที่เกี่ยวกับพระเยซูเท่านั้นJohn P. Meier, “A Marginal Jew”, volume II, Doubleday, 1994.

ใหม่!!: ภาษากรีกและนิทานคติสอนใจ · ดูเพิ่มเติม »

นีโครโนมิคอน

นีโครโนมิคอนจำลอง นีโครโนมิคอน (อักษรละติน: Necronomicon)เป็นตำราเวทย์สมมุติที่ปรากฏในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลูของเอช. พี. เลิฟคราฟท์และถูกหยิบยืมไปอ้างถึงโดยนักประพันธ์อื่นๆ โดยปรากฏครั้งแรกในเรื่องสั้น The Hound ซึ่งได้รับการตีพิมพ์ในปีพ.ศ. 2467 แต่หนึ่งปีก่อนหน้านั้น เลิฟคราฟท์ก็ได้อ้างคำพูดของตัวละคร อับดุล อัลฮาเซรด ซึ่งเป็นผู้แต่งนีโครโนมิคอนไว้แล้วในเรื่อง The Nameless City เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้นั้นมีเรื่องราวของเกรทโอลด์วันและพิธีกรรมที่ใช้อัญเชิญอยู่ด้วย นักประพันธ์คนอื่นๆ เช่นออกัสต์ เดอเลธและคลาก แอชตัน สมิทได้ยืมเอานีโครโนมิคอนไปอ้างถึงในงานเขียนของตนเอง โดยได้รับการสนับสนุนจากเลิฟคราฟท์ซึ่งคิดว่าการยกมาใช้ร่วมกันนี้จะทำให้บรรยากาศของเรื่องสมจริงยิ่งขึ้น ทำให้มีผู้อ่านจำนวนมากเข้าใจผิดว่าหนังสือเล่มนี้มีจริง มีการสั่งซื้อหรือขอนีโครโนมิคอนผ่านทางผู้ขายหนังสือและบรรณารักษ์เป็นจำนวนมาก บางครั้งก็มีการแกล้งใส่ชื่อนีโครโนมิคอนไว้ในรายการหนังสือหายาก และเคยมีนักศึกษาแอบใส่บัตรของนีโครโนมิคอนไว้ในบัตรห้องสมุดของมหาวิทยาลัยเยล หลังจากที่เลิฟคราฟท์เสียชีวิตไปแล้ว สำนักพิมพ์ต่างๆก็ได้ตีพิมพ์หนังสือโดยใช้ชื่อว่านีโครโนมิคอนเป็นจำนวนมาก หนังสือรวมงานศิลป์เล่มแรกของเอช อาร์ กีเกอร์ก็ใช้ชื่อว่านีโครโนมิคอน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและนีโครโนมิคอน · ดูเพิ่มเติม »

น้ำตาล

องน้ำตาลดิบ (ไม่ขัดและไม่ฟอกขาว) น้ำตาล เป็นชื่อเรียกทั่วไปของคาร์โบไฮเดรตชนิดละลายน้ำ โซ่สั้น และมีรสหวาน ส่วนใหญ่ใช้ประกอบอาหาร น้ำตาลเป็นคาร์โบไฮเดรตที่ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน มีน้ำตาลหลายชนิดเกิดมาจากที่มาหลายแหล่ง น้ำตาลอย่างง่ายเรียกว่าโมโนแซ็กคาไรด์และหมายรวมถึงกลูโคส (หรือ เด็กซ์โตรส) ฟรุกโตส และกาแลกโตส น้ำตาลโต๊ะหรือน้ำตาลเม็ดที่ใช้เป็นอาหารคือซูโครส เป็นไดแซ็กคาไรด์ชนิดหนึ่ง (ในร่างกาย ซูโครสจะรวมตัวกับน้ำแล้วกลายเป็นฟรุกโตสและกลูโคส) ไดแซ็กคาไรด์ชนิดอื่นยังรวมถึงมอลโตส และแลกโตสด้วย โซ่ของน้ำตาลที่ยาวกว่าเรียกว่า โอลิโกแซ็กคาไรด์ สสารอื่น ๆ ที่แตกต่างกันเชิงเคมีอาจมีรสหวาน แต่ไม่ได้จัดว่าเป็นน้ำตาล บางชนิดถูกใช้เป็นสารทดแทนน้ำตาลที่มีแคลอรีต่ำ เรียกว่าเป็น วัตถุให้ความหวานทดแทนน้ำตาล (artificial sweeteners) น้ำตาลพบได้ทั่วไปในเนื้อเยื่อของพืช แต่มีเพียงอ้อย และชูการ์บีตเท่านั้นที่พบน้ำตาลในปริมาณความเข้มข้นเพียงพอที่จะสกัดออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ อ้อยหมายรวมถึงหญ้ายักษ์หลายสายพันธุ์ในสกุล Saccharum ที่ปลูกกันในเขตร้อนอย่างเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่สมัยโบราณ การขยายการผลิตเกิดขึ้นในคริสศตวรรษที่ 18 พร้อมกับการสร้างไร่น้ำตาลในเวสต์อินดีส และอเมริกา เป็นครั้งแรกที่คนทั่วไปได้ใช้น้ำตาลเป็นสิ่งที่ให้ความหวานแทนน้ำผึ้ง ชูการ์บีต โตเป็นพืชมีรากในที่ที่มีอากาศเย็นกว่าและเป็นแหล่งที่มาส่วนใหญ่ของน้ำตาลในศตวรรษที่ 19 หลังจากมีวิธีสกัดน้ำตาลเกิดขึ้นหลายวิธี การผลิตและการค้าน้ำตาลเปลี่ยนแปลงไปตามวิถีชีวิตของมนุษย์ มีอิทธิพลต่อการก่อตั้งอาณานิคม การมีอยู่ของทาส การเปลี่ยนผ่านไปสู่สัญญาแรงงาน การย้ายถิ่นฐาน สงครามระหว่างชาติที่ครอบครองน้ำตาลในศตวรรษที่ 19 การรวมชนชาติและโครงสร้างทางการเมืองของโลกใหม่ โลกผลิตน้ำตาลประมาณ 168 ล้านตันในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

แบกแดด

แผนที่แสดงที่ตั้งแบกแดดในอิรัก แบกแดด ประเทศอิรัก แบกแดด (Baghdad, Bagdad; بغداد‎ บัฆดาด; بەغدا) เป็นเมืองหลวงของประเทศอิรัก มีประชากรในเขตนครประมาณ 7,000,000 คน เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในอิรักการประมาณการจำนวนประชากรทั้งหมดแต่ละชิ้นนั้นแตกต่างอย่างสำคัญ Encyclopædia Britannica ระบุจำนวนในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและแบกแดด · ดูเพิ่มเติม »

แบริออน

แบริออน (Baryon) เป็นตระกูลหนึ่งของอนุภาคย่อยของอะตอมแบบผสมที่เกิดจากควาร์ก 3 ตัว (ซึ่งแตกต่างจาก มีซอน ซึ่งประกอบด้วยควาร์ก 1 ตัวและปฏิควาร์ก 1 ตัว) พวกแบริออนและมีซอนต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของตระกูลอนุภาคที่เรียกว่า แฮดรอน ซึ่งเป็นตระกูลอนุภาคที่เกิดจากควาร์ก คำว่า แบริออน มาจากภาษากรีกโบราณว่า βαρύς (แบรีส) มีความหมายว่า "หนัก" เนื่องจากเมื่อครั้งที่ตั้งชื่อนี้นั้น พวกอนุภาคมูลฐานที่รู้จักกันแล้วส่วนใหญ่มีมวลน้อยกว่าพวกแบริออน เนื่องจากแบริออนประกอบด้วยควาร์ก มันจึงประสพกับอันตรกิริยาอย่างเข้ม ในขณะที่พวกเลปตอน ซึ่งไม่มีส่วนประกอบของควาร์ก ไม่ต้องประสพ พวกแบริออนที่คุ้นเคยมากที่สุดคือ โปรตอน และ นิวตรอน ซึ่งประกอบขึ้นเป็นมวลส่วนใหญ่ของสสารที่มองเห็นได้ในจักรวาล ขณะที่อิเล็กตรอน (ส่วนประกอบหลักอีกอย่างหนึ่งของอะตอม) เป็นเลปตอน แบริออนแต่ละตัวจะมีคู่ปฏิยานุภาคที่เรียกว่า ปฏิแบริออน ซึ่งควาร์กจะถูกแทนที่ด้วยคู่ตรงข้ามของมันคือ ปฏิควาร์ก ตัวอย่างเช่น โปรตอนประกอบด้วย 2 อัพควาร์ก และ 1 ดาวน์ควาร์ก คู่ปฏิยานุภาคของมันคือ ปฏิโปรตอน ประกอบด้วย 2 อัพปฏิควาร์ก และ 1 ดาวน์ปฏิควาร์ก จนถึงเร็ว ๆ นี้ ยังคิดกันว่ามีการทดลองบางอย่างที่สามารถแสดงถึงการมีอยู่ของ เพนตาควาร์ก หรือแบริออนประหลาดที่ประกอบด้วยควาร์ก 4 ตัวกับแอนติควาร์ก 1 ตัว ชุมชนนักฟิสิกส์อนุภาคทั้งหมดไม่เคยมองการมีอยู่ของอนุภาคในลักษณะนี้มาก่อนจนกระทั่ง..

ใหม่!!: ภาษากรีกและแบริออน · ดูเพิ่มเติม »

แบไรต์

แบไรต์ (Barite) เป็นชื่อแร่ที่มาจากภาษากรีก ซึ่งแปลว่า “หนัก” เนื่องจากเป็นแร่ที่มีความถ่วงจำเพาะสูง รูปผลึกระบบออร์โทรอมบิก ผลึกมักเป็นแผ่นหนา ยาวขนานไปกับฐานของผลึกหรือรูปแท่งเหลี่ยมๆ หรือพบเป็นผลึกเกิดร่วมเป็นกลุ่มเหมือนดอกกุหลาบเรียก “Crested Barite” หรือ “Barite Roses” อาจพบเป็นแผ่นบางซ้อนกันค่อนข้างหนา หรือเป็นมวลเมล็ด หรือแบเนื้อด้านเหมือนดิน มีแนวแตกรียบเด่นสมบูรณ์แข็ง 3-3.5..

ใหม่!!: ภาษากรีกและแบไรต์ · ดูเพิ่มเติม »

แพริโดเลีย

รูปถ่ายจากดาวเทียมของที่ราบสูงไซโดเนียบนดาวอังคาร ซึ่งบางครั้งเรียกว่า "Face on Mars (ใบหน้าบนดาวอังคาร)" ส่วนรูปที่ถ่ายมาจากมุมอื่น ๆ จะไม่สามารถเห็นภาพลวงตานี้ แพริโดเลีย หรือ แพไรโดเลีย (Pareidolia) เป็นปรากฏการณ์ทางจิต ที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้สิ่งเร้าเช่นภาพหรือเสียงที่ไม่ชัดเจนและไม่มีรูปแบบ (คือบังเอิญ สุ่ม) ว่ามีความหมายมีความสำคัญ เป็นการรับรู้แบบหนึ่งของ apophenia ซึ่งเป็นการเห็นรูปแบบหรือความสัมพันธ์กันในข้อมูลสุ่มที่ไม่มีความหมาย ตัวอย่างที่สามัญอย่างหนึ่งคือการเห็นรูปสัตว์หรือใบหน้าในก้อนเมฆ ชายบนดวงจันทร์ กระต่ายบนดวงจันทร์ และการได้ยินข้อความที่ซ่อนไว้บนแผ่นเสียงไวนิลที่เล่นย้อนทาง คำว่า Pareidolia มาจากคำในภาษากรีกว่า para- (παρά, แปลว่า "ข้าง ๆ, ไปเป็นหน้ากระดาน, แทนที่") ซึ่งในที่นี้หมายถึงอะไรที่บกพร่อง ผิดพลาด หรือเกิดขึ้นแทนที่ และคำนามว่า eidōlon (εἴδωλον แปลว่า "ภาพ, รูปร่าง, สัณฐาน") ซึ่งมีความหมายเป็นส่วนย่อยของคำว่า eidos.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแพริโดเลีย · ดูเพิ่มเติม »

แพร์ซโพลิส (หนังสือการ์ตูน)

แพร์ซโพลิส (Persepolis) เป็นหนังสือการ์ตูนอัตชีวประวัติภาษาฝรั่งเศสของมาร์จอเน่ ซาทราพิ ซึ่งบรรยายชีวิตของผู้เขียนในวัยเด็กซึ่งอาศัยอยู่ในอิหร่านช่วงที่มีการปฏิวัติอิสลามและล้มล้างระบบกษัตริย์ ชื่อหนังสือการ์ตูนแพร์ซโพลิสมาจากชื่อเมืองโบราณในประเทศอิหร่าน แพร์ซโพลิสเป็นการ์ตูนขาว-ดำตลอดทั้งหมด ต้นฉบับภาษาฝรั่งเศสแบ่งการ์ตูนออกเป็นสี่เล่ม แต่ในฉบับภาษาอื่น ๆ เช่น ฉบับภาษาอังกฤษและฉบับภาษาไทย แบ่งออกเป็นสองเล่ม ฉบับภาษาไทยแปลโดย ณัฐพัดชา และจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์กำมะหยี่ ซึ่งออกวางจำหน่ายครั้งแรกเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2551 แพร์ซโพลิสถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนและได้รับรางวัล Jury Prize ในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ครั้งที่ 60 แต่ถูกถอดจากโปรแกรมของเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติกรุงเทพฯตามคำร้องขอของสถานทูตอิหร่านประจำประเทศไท.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแพร์ซโพลิส (หนังสือการ์ตูน) · ดูเพิ่มเติม »

แพลงก์ตอน

แพลงก์ตอน แพลงก์ตอน (plankton) มาจากคำว่า πλανκτος ("planktos") ในภาษากรีกแปลว่า wanderer หรือผู้ท่องเที่ยวไปโดยไร้จุดหมาย คือสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตว์ที่ล่องลอยไปตามกระแสน้ำ ไม่สามารถว่ายน้ำไปยังทิศทางที่ต้องการอย่างอิสร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแพลงก์ตอน · ดูเพิ่มเติม »

แพลงก์ตอนพืช

แพลงก์ตอนพืชชนิดและรูปร่างต่าง ๆ ส่วนใหญ่มีขนาดเล็กไม่ถึงมิลลิเมตร ไดอะตอม สิ่งมีชีวิตหลักกลุ่มหนึ่งในแพลงก์ตอนพืช แพลงก์ตอนพืช หรือ ไฟโทแพลงก์ตอน (Phytoplankton) มีรากศัพท์จากภาษากรีกว่า φυτόν (ฟิตอน) หมายถึง "พืช" และ πλαγκτός (พลังค์ตอส) หมายถึง "ผู้เดินทาง" หรือ "ผู้เร่ร่อน" คือแพลงก์ตอนที่สามารถสังเคราะห์แสงและสร้างอาหารเองได้ สิ่งมีชีวิตกลุ่มหลักของแพลงก์ตอนพืชประกอบด้วย ไดอะตอม สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีทอง ไดโนแฟลกเจลเลต และไซยาโนแบคทีเรีย (สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน) ถือเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความสำคัญอย่างมากต่อระบบนิเวศ เนื่องจากเป็นผู้ผลิตปฐมภูมิของห่วงโซ่และสายใยอาหาร พบได้ทั้งในระบบนิเวศน้ำจืด ระบบนิเวศน้ำเค็ม ตลอดจนในระบบนิเวศน้ำกร่อย แพลงก์ตอนพืชส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งมีชีวิตจำพวกสาหร่าย ทั้งที่เป็นโพรแคริโอตและยูแคริโอต โดยในแหล่งน้ำจืดจะพบสาหร่ายสีเขียว โดยเฉพาะในอันดับเดสมิด เป็นกลุ่มหลัก ส่วนในแหล่งน้ำเค็มอย่างทะเลและทะเลสาบ พบว่าแพลงก์ตอนพืชกลุ่มหลักคือกลุ่มไดอะตอมและไดโนแฟลกเจลเลต ในทางชีววิทยา แพลงก์ตอนพืชบางสปีชี่ส์จัดอยู่ในอาณาจักรพืช เช่น สาหร่ายสีเขียว บางชนิดอยู่ในอาณาจักรโพรทิสตา เช่น ไดอะตอม สาหร่ายสีทอง บางชนิดอยู่ในกลุ่มเฮเทอโรคอนท์ ซึ่งไม่ได้จัดอันดับไว้ (จำพวกไดโนแฟลกเจลเลต) และบางชนิดถูกจัดอยู่ในอาณาจักรยูแบคทีเรีย เช่น ไซยาโนแบคทีเรีย แพลงก์ตอนพืชยังเป็นอาหารของแพลงก์ตอนสัตว์และสัตว์หลายชนิดที่อาศัยอยู่ตามพื้นน้ำหรือท้องทะเล สัตว์บางชนิดมีอวัยวะคล้ายตาข่ายเพื่อดักจับแพลงก์ตอนพืชโดยเฉพาะ เช่น กุ้งเคย ห่วงโซ่อาหารหนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันมากที่สุดคือ แพลงก์ตอนพืช → กุ้งเคย → วาฬ มนุษย์นำแพลงก์ตอนพืชมาใช้ประโยชน์ในหลายทาง แพลงก์ตอนบางชนิดมีคุณค่าทางอาหารสูง จึงถูกนำไปใช้เป็นอาหารเสริมหรือเป็นส่วนประกอบของอาหารเสริม บางชนิดถูกนำไปใช้เป็นอาหารให้แก่สัตว์น้ำวัยอ่อนที่ต้องการเพาะพันธุ์ แพลงก์ตอนพืชที่มีปริมาณมากและเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในแหล่งน้ำใด ๆ อาจเป็นสาเหตุให้เกิดปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ ทำให้น้ำเปลี่ยนสีเป็นสีเขียว แดง น้ำตาล หรือเหลือง ขึ้นอยู่กับชนิดของแพลงก์ตอนพืช เช่น ไดโนแฟลกเจลเลตอย่าง Noctiluca scintillans ทำให้น้ำเป็นสีเขียว Ceratium furca ทำให้น้ำเป็นสีน้ำตาล เป็นต้น แพลงก์ตอนพืชปริมาณมากอาจเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้น เนื่องจากทำให้น้ำขาดออกซิเจนหรือลดลงอย่างมาก หรือทำให้เกิดภาวะสะสมของสารพิษที่มาจากตัวแพลงก์ตอน แพลงก์ตอนพืชมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการผลิตออกซิเจน นักชีววิทยาคาดการณ์ว่าปริมาณออกซิเจนถึงร้อยละ 50–80 ในชั้นบรรยากาศโลกผลิตขึ้นจากแพลงก์ตอนพืช ปัจจุบันแพลงก์ตอนพืชมีจำนวนลดลงอย่างมาก ซึ่งปัจจัยสำคัญคือน้ำทะเลมีอุณหภูมิสูงขึ้น ตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษากรีกและแพลงก์ตอนพืช · ดูเพิ่มเติม »

แพนแกรม

แพนแกรม (อังกฤษ: pangram, กรีก: pan gramma หมายถึง ทุกตัวอักษร) คือ ข้อความซึ่งใช้ตัวอักษรทุกตัวในภาษานั้นๆ แพนแกรมที่น่าสนใจที่สุดมักจะเป็นแพนแกรมที่สั้นที่สุด เพราะการสร้างข้อความให้มีตัวอักษรครบทุกตัวโดยใช้ตัวอักษรซ้ำกันน้อยที่สุดเป็นสิ่งท้าทาย แพนแกรมทั่วๆ ไปมักจะมีจำนวนตัวอักษรมากกว่าจำนวนตัวอักษรทั้งหมดในภาษานั้นๆ เล็กน้อย แต่มักจะแฝงความรู้ อารมณ์ขัน หรือความแปลก ให้มีค่าควรแก่การจดจำ ในปัจจุบัน แพนแกรม มักจะนำมาใช้ในการแสดงรูปแบบของตัวพิมพ์อักษร (ฟอนต์) แพนแกรมในภาษาอังกฤษที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางที่สุดคือ "The quick brown fox jumps over a lazy dog" หรือ "The quick brown fox jumped over the lazy dogs" ซึ่งมักจะถูกนำไปเป็นประโยคทดสอบพนักงานพิมพ์ดีดอยู่บ่อยๆ เพราะใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษครบทุกตัว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแพนแกรม · ดูเพิ่มเติม »

แกรไฟต์

แกรไฟต์ (graphite) เป็นอัญรูปหนึ่งของธาตุคาร์บอน ชื่อสามัญเรียกว่า พลัมเบโก (plumbago) หรือแร่ดินสอดำ มีลักษณะเป็นของแข็ง มีรูปผลึกเป็นแผ่นบาง ๆ ทึบแสง อ่อนนุ่ม สีเทาเข้มถึงดำ เนื้ออ่อน เป็นตัวนำความร้อนและไฟฟ้าได้ดี มักใช้ทำไส้ดินสอดำ เบ้าหลอมโลหะ น้ำมันหล่อลื่นบางชนิด ไส้ถ่านไฟฉาย ไส้ไฟอาร์ก ใช้เป็นตัวลดความเร็ว ช่วยควบคุมจำนวนอนุภาคนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ถูกนำมาใช้เมื่อ 4 พันปีก่อนคริสตกาล ในงานทาสีตกแต่งเครื่องเซรามิกในทางตะวันออกเฉียงใต้ของยุโรป ได้มีการค้นพบแหล่งสะสมตัวของแร่แกรไฟต์ขนาดใหญ่มากที่รัฐคัมเบรีย ประเทศอังกฤษ แร่ที่พบมีลักษณะบริสุทธิ์ ไม่แข็ง แตกหักง่าย และมีรูปแบบการสะสมตัวอัดแน่นกัน แกรไฟต์เป็นชื่อที่ตั้งโดย Abraham Gottlob Werner ในปี ค.ศ. 1789 โดยมาจากภาษากรีกว่า γραφειν หมายถึง "เพื่อวาด/เขียน" ซึ่งตั้งตามการใช้แกรไฟต์ในดินสอ แร่แกรไฟต์เป็นการจัดเรียงตัวรูปแบบหนึ่งของคาร์บอน ในภาษากรีกแปลว่า ใช้ขีดเขียนวาดภาพ มีคุณสมบัติเป็นตัวนำไฟฟ้าหรือกึ่งตัวนำไฟฟ้า แกรไฟต์มีการจัดเรียงตัวแบบเสถียรที่สภาวะมาตรฐาน แต่บางครั้งแร่แกรไฟต์เกิดจากถ่านหินเมื่อมีความร้อน ความดันสูงขึ้นระดับหนึ่งซึ่งพบอยู่บนแอนทราไซท์ (Anthracite) และเมตา-แอนทราไซท์ (Meta-anthracite) ซึ่งโดยปกติแล้ว มักไม่นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงเพราะติดไฟยาก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแกรไฟต์ · ดูเพิ่มเติม »

แกนประสาทนำออก

แกนประสาท หรือ แอกซอน หรือ ใยประสาท (axon มาจากภาษากรีกคำว่า ἄξων คือ áxōn แปลว่า แกน) เป็นเส้นใยเรียวยาวที่ยื่นออกจากเซลล์ประสาทหรือนิวรอน และปกติจะส่งกระแสประสาทหรือคำสั่งออกจากตัวเซลล์เพื่อสื่อสารกับเซลล์อื่น ๆ หน้าที่ของมันก็เพื่อส่งข้อมูลไปยังนิวรอน กล้ามเนื้อ และต่อมต่าง ๆ ในเซลล์ประสาทรับความรู้สึกบางอย่างซึ่งมีรูปร่างเป็น pseudounipolar neuron (เซลล์ประสาทขั้วเดียวเทียม) เช่นที่รับความรู้สึกสัมผัสและอุณหภูมิ กระแสประสาทจะวิ่งไปตามแอกซอนจากส่วนปลายเข้าไปยังตัวเซลล์ แล้วก็จะวิ่งออกจากตัวเซลล์ไปยังไขสันหลังตามสาขาอีกสาขาของแอกซอนเดียวกัน ความผิดปกติของแอกซอนอาจเป็นเหตุให้เกิดความผิดปกติทางประสาทซึ่งมีผลต่อทั้งเซลล์ประสาทในส่วนนอกและส่วนกลาง ใยประสาทสามารถจัดเป็นสามหมวดคือ ใยประสาทกลุ่มเอเด็ลตา (A delta) กลุ่มบี (B) และกลุ่มซี (C) โดยกลุ่มเอและบีจะมีปลอกไมอีลินในขณะที่กลุ่มซีจะไร้ปลอก แอกซอนเป็นส่วนยื่นที่ประกอบด้วยโพรโทพลาสซึมอย่างหนึ่งในสองอย่างที่ยื่นออกจากตัวเซลล์ประสาท ส่วนยื่นอีกอย่างเรียกว่า ใยประสาทนำเข้า/เดนไดรต์ (dendrite) แอกซอนจะต่างจากเดนไดรต์หลายอย่าง รวมทั้งรูปร่าง (เดนไดรต์มักจะเรียวลงเทียบกับแอกซอนที่จะคงขนาด) ความยาว (เดนไดรต์มักจะจำกัดอยู่ในปริภูมิเล็ก ๆ รอบ ๆ ตัวเซลล์ ในขณะที่แอกซอนอาจยาวกว่ามาก) และหน้าที่ (เดนไดรต์เป็นส่วนรับสัญญาณในขณะที่แอกซอนจะเป็นส่วนส่งสัญญาณ) แต่ลักษณะที่ว่านี้ทั้งหมดล้วนแต่มีข้อยกเว้น แอกซอนจะหุ้มด้วยเยื่อที่เรียกว่า axolemma ไซโทพลาซึมของแอกซอนมีชื่อโดยเฉพาะว่าแอกโซพลาซึม (axoplasm) ส่วนสุดของแอกซอนที่แตกเป็นสาขา ๆ เรียกว่า telodendron/telodendria ส่วนสุดของ telodendron ซึ่งป่องเรียกว่าปลายแอกซอน (axon terminal) ซึ่งเชื่อมกับ dendron หรือตัวเซลล์ของนิวรอนอีกตัวหนึ่ง จุดเชื่อที่ว่านี้เรียกว่าจุดประสานประสาท/ไซแนปส์ นิวรอนบางอย่างไม่มีแอกซอนและจะส่งสัญญาณผ่านเดนไดรต์ ไม่มีนิวรอนใด ๆ ที่มีแอกซอนมากกว่าหนึ่งอัน แต่ในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเช่นแมลงและปลิง แอกซอนบางครั้งจะมีส่วนต่าง ๆ ที่ทำงานแทบเป็นอิสระต่อกันและกัน แอกซอนโดยมากจะแตกสาขา และในบางกรณีจะมีสาขาจำนวนมหาศาล แอกซอนจะเชื่อมกับเซลล์อื่น ๆ โดยปกติกับนิวรอนอื่น ๆ แต่บางครั้งก็เชื่อมกับกล้ามเนื้อหรือเซลล์ต่อม ผ่านจุดต่อที่เรียกว่า จุดประสานประสาท/ไซแนปส์ ที่ไซแนปส์ เยื่อหุ้มเซลล์ของแอกซอนจะเข้าไปเกือบชิดกับเยื่อหุ้มของเซลล์เป้าหมาย และโครงสร้างพิเศษระดับโมเลกุลจะเป็นตัวส่งสัญญาณไฟฟ้าหรือเคมี-ไฟฟ้าข้ามช่อง ยังมีไซแนปส์ในระหว่างอื่น ๆ ของแอกซอนซึ่งไม่ใช่ส่วนปลาย โดยเรียกว่า en passant synapse หรือ in passing synapse ไซแนปส์อื่น ๆ จะอยู่ที่ปลายสาขาต่าง ๆ ของแอกซอน แอกซอนหนึ่งใยพร้อมกับสาขาทั้งหมดรวม ๆ กัน อาจเชื่อมกับส่วนต่าง ๆ ในสมองและมีจุดเชื่อมคือไซแนปส์เป็นพัน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแกนประสาทนำออก · ดูเพิ่มเติม »

แก้วกาญจนา

แก้วกาญจนา หรือ เขียวหมื่นปี หรือ อโกลนีมา (Aglaonema) เป็นสกุลของพืชไม้ประดับที่มีความสวยงามที่ใบ ได้ชื่อว่าเป็นราชาแห่งไม้ประดับ เป็นลำดับพืชที่มีมากกว่า 40 ชนิด ปัจจุบันมีการปรับปรุงพันธ์เพื่อให้สีสรรสวยงามนิยมเพาะเลี้ยงเพื่อความสวยงาม และจัดเป็นไม้มงคล ชื่อภาษาอังกฤษ มีรากศัพท์จากภาษากรีก คำว่า aglos แปลว่า แสงสว่าง หรือความสดใส คำว่า nema แปลว่า thread คือเส้นใยบาง ๆ หรือเกลียว มีการตั้งชื่อสายพันธุ์ภาษาไทยที่สื่อความหมายทางโชคลาภ เช่น กวักมหามงคล บัลลังก์ทับทิม บัลลังก์ทอง หยกกาญจน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแก้วกาญจนา · ดูเพิ่มเติม »

แมลงสาบ

แมลงสาบ (Cockroachs) เป็นแมลงที่อยู่ในอันดับ Blattodea หรือ Blattaria จัดเป็นแมลงที่มีวงจรชีวิตไม่สมบูรณ์ คือ ไม่เป็นตัวหนอนและดักแด้ ปัจจุบันเป็นแมลงที่พบกระจายไปแล้วทั่วโลก โดยติดไปกับยานพาหนะต่าง ๆ พบได้ถึงขนาดบนเครื่องบินโดยสาร ถือเป็นสัตว์ที่เป็นพาหะนำโร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแมลงสาบ · ดูเพิ่มเติม »

แมสติก

งแมสติก ต้นพิสตาชีโอป่า (''Pistacia lentiscus'') แมสติก (mastic) หรือ มาตะกี่ เป็นยางไม้ที่ได้จากต้นพิสตาชีโอป่า ซึ่งเป็นไม้พุ่มถึงยืนต้นขนาดเล็ก ใบประกอบแบบขนนกคู่รูปไข่ เรียงสลับกัน ดอกออกตรงซอกใบ เป็นช่อสีแดง ดอกตัวผู้และดอกตัวเมียอยู่ต่างต้นกัน ผลรูปไข่กลับ มีเนื้อ ข้างในมีเมล็ดเดียว เมื่อสุกสีแดงปนส้ม พบมากในแถบบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน เมื่อลำต้นของพืชชนิดนี้แตกออกจะมียางไหลออกมา เมื่อแห้งจะมีสีเหลืองอ่อนหรือเหลืองอมเขียว โปร่งใสมันวาว และเปร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแมสติก · ดูเพิ่มเติม »

แมงมุมน้ำ

แมงมุมน้ำ หรือ แมงมุมระฆังดำน้ำ (Diving bell spider, Water spider) เป็นแมงมุมชนิดหนึ่ง เป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Argyroneta โดยมาจากภาษากรีกคำว่า "Argyros" (ἄργυρος) แปลว่า "เงิน" และ "neta" หรือคำประดิษฐ์ใหม่ (บางทีอาจจะมาจาก νητής) มาจากคำกริยา "นีโอ" (νέω) "ปั่น" หรือ "กรอ" โดยหมายถึง "เครื่องปั่นเงิน" แมงมุมน้ำ เป็นแมงมุมที่แตกต่างจากแมงมุมชนิดอื่น ๆ อย่างสิ้นเชิง เพราะสามารถอาศัยอยู่ในน้ำได้ โดยอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำตื้น ๆ เช่น หนอง, บึง หายใจโดยอาศัยโพรงอากาศที่สร้างไว้ใต้น้ำ โดยมีสาหร่ายหรือพืชน้ำสำหรับโพรงอากาศนั้นเกาะติดอยู่ มีขนที่มีลักษณะพิเศษที่นอกจากกันน้ำได้เหมือนแมงมุมชนิดอื่น ๆ แล้ว ยังสามารถกักอากาศได้มากกว่า ซึ่งเป็นหลักการเดียวกับระฆังดำน้ำ เมื่อขึ้นมายังผิวน้ำ และใช้ส่วนที่เป็นท้องขึ้นมาสัมผัสกับอากาศ ขนเหล่านี้จะดูดซับอากาศไว้ และก็จะดำน้ำลงไปยังที่ ๆ จะสร้างโพรงอากาศนั้นแล้วเติมอากาศที่นำมา รอบแล้วรอบเล่าจนกว่าจะพอที่จะเข้าไปอาศัยอยู่ข้างในได้ โดยในแต่ละรอบจะอยู่ใต้น้ำได้ประมาณ 40 นาที แต่มีงานวิจัยจากนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันและออสเตรเลีย ระบุว่า แมงมุมน้ำสามารถที่จะอาศัยอยู่ใต้น้ำอย่างต่อเนื่องได้นานสุดถึง 24 ชั่วโมง แมงมุมน้ำ พบกระจายพันธุ์ในทวีปยุโรป เช่น เกาะอังกฤษ จนถึงทางตอนเหนือของเอเชียและเอเชียตะวันออก เช่น คาบสมุทรเกาหลี, เกาะญี่ปุ่น โดยล่าเหยื่อซึ่งได้แก่แมลงและสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ กินเป็นอาาหร เช่น ลูกปลา, ลูกอ๊อด, ลูกกุ้ง, ตัวอ่อนแมลงน้ำ เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแมงมุมน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำดานูบ

แม่น้ำดานูบ (Danube River) เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในสหภาพยุโรป และยาวเป็นอันดับสองของทวีปยุโรป (รองจากแม่น้ำวอลกา) มีต้นกำเนิดที่แถบป่าดำ (Black Forest; Schwarzwald) ในประเทศเยอรมนี เกิดจากแม่น้ำเล็กๆ สองสาย คือ Brigach และ Breg ซึ่งไหลมารวมกันเป็นแม่น้ำดานูบที่เมือง Donaueschingen แม่น้ำดานูบไหลจากป่าดำไปทางทิศตะวันออกผ่านเมืองหลวงและเมืองสำคัญๆ ของประเทศต่างๆ ในยุโรปตะวันตกและยุโรปตะวันออก ก่อนที่จะไหลผ่านดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำดานูบ (Danube Delta) และแยกลงสู่ทะเลดำที่ประเทศโรมาเนียและยูเครน มีความยาวประมาณ 2,845 กม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแม่น้ำดานูบ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำไนล์

แผนที่แสดงเส้นทางการไหลของแม่น้ำไนล์ แม่น้ำไนล์ ในบริเวณอียิปต์ แม่น้ำไนล์ และ กรุงไคโรด้านหลัง แม่น้ำไนล์ (النيل อันนีล; Nile) เป็นแม่น้ำใน ทวีปแอฟริกา เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในโลก โดยถูกค้นพบแหล่งต้นน้ำใหม่ที่ทำให้มีความยาวกว่าเดิมเมื่อไม่นานมานี้ โดยแม่น้ำไนล์มีความยาวทั้งสิ้น 6,695 กิโลเมตร^~^.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแม่น้ำไนล์ · ดูเพิ่มเติม »

แรด

แรด เป็นสัตว์อยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กีบคี่ ในวงศ์ Rhinocerotidae แรดถือว่าเป็นสัตว์ขนาดใหญ่ อาจเรียกได้ว่าเป็นสัตว์บกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดรองจากช้างก็ว่าได้ เพราะแรดอาจมีขนาดยาวได้ถึง 3.6-5 เมตร ความสูงของไหล่ 1.6-2 เมตร น้ำหนัก 2.3-3.6 ตัน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแรด · ดูเพิ่มเติม »

แรดชวา

แรดชวา หรือ ระมาด หรือ แรดซุนดา (Javan Rhinoceros) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ในอันดับสัตว์กีบคี่ในวงศ์แรด อยู่ในสกุลเดียวกันกับแรดอินเดีย เป็นหนึ่งในห้าชนิดของแรดที่ยังเหลืออยู่ ลำตัวยาว 3.1–3.2 ม.สูง 1.4–1.7 ม.มีขนาดใกล้เคียงกับแรดดำ เหนือจมูกมีนอสั้น ๆ หนึ่งนอมีขนาดเล็กกว่าแรดทุกชนิด จึงได้อีกชื่อว่า แรดนอเดียว แรดชวาเป็นแรดเอเชียที่มีการกระจายพันธุ์กว้างที่สุดตั้งแต่เกาะในอินโดนีเซีย ตลอดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อินเดีย และจีน ปัจจุบันแรดชวาถูกคุกคามจนอยู่ในขั้นวิกฤติ มีเพียงสองแห่งเท่านั้นที่ยังมีประชากรหลงเหลืออยู่ในป่า ไม่มีแรดชวาจัดแสดงในสวนสัตว์ แรดชวาอาจเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ที่พบได้ยากที่สุดในโลก มีประชากรแรดน้อยกว่า 40-50 ตัวในอุทยานแห่งชาติอูจุงกูลนบนเกาะชวาในประเทศอินโดนีเซีย และประชากรจำนวนเล็กน้อย (ประเมินเมื่อปี พ.ศ. 2550) ไม่เกิน 8 ตัวในอุทยานแห่งชาติก๊าตเตียนในประเทศเวียดนาม แต่ในปัจจุบันมีการยืนยันว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว การลดลงของแรดชวาเกิดจากการล่าเอานอซึ่งเป็นสิ่งมีค่าในการแพทย์แผนจีนซึ่งมีราคาถึง $30,000 ต่อกก.ในตลาดมืด การสูญเสียถิ่นอาศัยโดยเฉพาะผลของสงครามอย่างสงครามเวียดนาม มีส่วนในการลดลงและขัดขวางการฟื้นฟูของจำนวนประชากร แม้พื้นที่ถิ่นอาศัยที่เหลือจะได้รับการปกป้องแต่แรดชวายังคงเสี่ยงต่อการถูกล่า โรคภัยไข้เจ็บ และการสูญเสียความหลากหลายทางพันธุกรรมซึ่งจะนำไปสู่การผสมพันธุ์ในสายเลือดเดียวกัน แรดชวามีอายุประมาณ 30-45 ปีในธรรมชาติ อาศัยอยู่ในป่าดินชื้น ป่าหญ้าชื้นแฉะ และลุ่มน้ำขนาดใหญ่ แรดชวาเป็นสัตว์สันโดษมักอยู่ลำพังเพียงตัวเดียว ยกเว้นช่วงจับคู่ผสมพันธุ์และเลี้ยงดูลูกอ่อน บางครั้งจะรวมฝูงกันเมื่อลงแช่ปลักโคลนหรือลงกินโป่ง มีอาหารหลักเป็น ใบไม้อ่อน ยอดไม้ ตาไม้ และผลไม้สุกที่ร่วงหล่นตามพื้นดิน นอกจากมนุษย์แล้วแรดชวาไม่มีศัตรูอื่นอีก แรดชวาจะหลีกเลี่ยงมนุษย์แต่จะโจมตีเมื่อรู้สึกถูกคุกคาม เป็นการยากที่นักวิทยาศาสตร์และนักอนุรักษ์จะศึกษาในแรดชวาโดยตรงเพราะพบยากมากและเป็นอันตรายต่อสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ชนิดจากการรบกวน นักวิจัยอาศัยเพียงกับดักกล้องและตัวอย่างมูลเพื่อประเมินสุขภาพและพฤติกรรม ดังนั้นจึงมีการศึกษาในแรดชวาน้อยกว่าในแรดทุกชน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแรดชวา · ดูเพิ่มเติม »

แรดขาว

แรดขาว (White rhinoceros, White rhino, Square-lipped rhinoceros) เป็นแรดชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ceratotherium simum จัดว่าเป็นสัตว์บกที่ใหญ่ที่สุดในโลกรองลงมาจากช้าง เพราะแรดขาวสามารถที่จะมีความยาวลำตัวได้ถึง 3.6-5 เมตร ความสูงของไหล่ 1.6-2 เมตร น้ำหนัก 2.3-3.6 ตัน มีผิวสีน้ำตาลอมเทาหรือเหลือง จนได้ชื่อว่า "แรดขาว" มีนอ 2 นอ ความยาวของนอที่ใหญ่ที่สุดอาจยาวได้ถึง 1.5 เมตร ริมฝีปากบนของแรดขาวจะเป็นรูปสี่เหลี่ยมไม่มีติ่งยื่นแหลมออกมาเหมือนแรดชนิดอื่น ๆ ทั้งนี้เพราะแรดขาวชอบที่จะกินหญ้าหรือพืชที่อยู่ตามพื้นดินหรือพุ่มไม้เตี้ย ๆ มากกว่าใบไม้ มีหูที่ยาวและปลายแหลม หน้าผากลาดและมน หัวไหล่นูนเป็นก้อน ผิวหนังเป็นตุ่มนูนเล็กน้อย ตามลำตัวไม่มีขน ยกเว้นที่ปลายหูและหาง กีบเท้ามีทั้งหมด 3 กีบ แรดขาวมีการกระจายพันธุ์บริเวณทวีปแอฟริกาตอนใต้ พบตั้งแต่ซูลูแลนด์ ถึงอุทยานแห่งชาติครูเกอร์ในแอฟริกาใต้ และยังพบได้ใน ซูดานตอนใต้, ยูกันดา และบริเวณใกล้ ๆ คองโก มีทั้งหมด 2 ชนิดย่อย คือ แรดขาวเหนือ (C. s. simum) และแรดขาวใต้ (C. s. cottoni) แรดขาวมักอยู่เป็นครอบครัวเล็ก ๆ ประกอบด้วยสมาชิกประมาณ 3-4 ในพื้นที่มีมีอาหารอุดมสมบูรณ์อาจพบอยู่หลายครอบครัวหากินอยู่ด้วยกัน บางครั้งอาจพบมากถึง 18 ตัว โดยมีตัวผู้คุมฝูงตัวเดียว นอกนั้นเป็นตัวเมียและลูก แรดขาวมีการกระจายถิ่นหากินกว้าง โดยใช้กองอุจจาระและปัสสาวะเป็นการบอกอาณาเขตของมัน ตัวเมียที่มีลูกจะยอมให้ตัวผู้เข้าใกล้เฉพาะตอนที่เป็นสัดเท่านั้น หลังจากผสมพันธุ์แล้ว ตัวเมียจะต่อสู้ไล่ตัวผู้ไปทันที ในฤดูร้อนชอบหลบร้อนตามร่มไม้หรือแช่ปลัก บางครั้งอาจแช่ปลักทั้งคืนเพื่อบรรเทาความร้อนและกำจัดแมลง ในฤดูหนาวจะนอนอาบทรายแทนการแช่ปลัก แรดขาวโตเต็มที่พร้อมจะผสมพันธุ์ได้เมื่ออายุ 7-10 ปี ฤดูผสมพันธุ์ ในช่วงเดือนกรกฎาคม-กันยายน ระยะการตั้งท้องนานประมาณ 18 เดือน มีอายุประมาณ 40-50 ปี ลูกแรดขาวจะอยู่ร่วมกับแม่จนอายุประมาณ 3-5 ปี โดยแรดตัวเมียจะออกลูกเพียงครั้งละตัว ในอดีตแรดขาวจะถูกล่าอย่าหนักเพื่อเอานอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคล่าอาณานิคม จนทำให้ประชากรของแรดขาวเกือบสูญพันธุ์ แต่ปัจจุบันได้มีกฎหมายคุ้มครองแรดขาวและห้ามการล่าและค้าขายนอแรดอย่างเด็ดขาด รวมถึงแรดชนิดอื่น ๆ ด้วย ทำให้ประชากรของแรดขาวมีเพิ่มมากขึ้นจากการอนุรักษ์ แต่กระนั้นก็คงมีการลักลอบอยู่เป็นร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแรดขาว · ดูเพิ่มเติม »

แร็กคูน

แร็กคูน (raccoon, common raccoon) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Procyon lotor อยู่ในวงศ์แร็กคูน (Procyonidae) มีความยาวลำตัวราว 2 ฟุต มีหางเป็นพวงมีแถบสีดำคาดเป็นปล้อง ๆ ยาวราว 10 นิ้ว ขนตามลำตัวสีน้ำตาลปนเทา ใบหน้าสีขาวมีแถบสีดำคาดจากตาไปเป็นแถบตลอดแก้ม แลดูคล้ายเหมือนโจรสวมหน้ากาก เป็นสัตว์ที่กระจายพันธุ์ไปทั่วในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกากลางในหลายพื้นที่ ทั้งในป่า หรือแม้แต่ชุมชนของมนุษย์ เป็นสัตว์ที่สามารถปรับตัวได้เป็นอย่างดี กินอาหารได้หลากหลายประเภททั้งเนื้อสัตว์และพืช อีกทั้งยังชอบที่จะอยู่ใกล้พื้นที่ชุ่มน้ำด้วยการจับสัตว์น้ำกินเป็นอาหาร เช่น กบ, ปลา, กุ้ง และปู หรือเต่าขนาดเล็กเป็นอาหาร รวมทั้งนกหรือแมลงปีกแข็งขนาดเล็กกินเป็นอาหารได้ด้วย แต่ไม่สามารถที่จะว่ายน้ำได้ จะใช้วิธีการจับในน้ำตื้น ๆ ที่ขาหยั่งถึงแทน ในช่วงฤดูแล้งที่อาหารขนาดแคลนก็จะกินลูกไม้, ผลไม้ และดอกข้าวโพด เป็นอาหาร หรืออาจจะบุกเข้าไปในบ้านเรือนของมนุษย์ ขุดคุ้ยหาขยะหรือเศษอาหาร หรือแม้กระทั่งเปิดตู้เย็นหากิน แร็กคูน เป็นสัตว์ที่ใช้เท้าหน้าได้อย่างคล่องแคล่วเหมือนมือสำหรับหยิบจับอาหาร ซึ่งสามารถกระทำได้ถึงขนาดคลายปมเชือก และยังเป็นสัตว์ที่มีพฤติกรรมพิเศษ คือ ก่อนจะกินอาหาร มักจะนำไปล้างน้ำเสียก่อน จนมีความเชื่อว่าเป็นสัตว์รักสะอาด แต่ความจริงแล้ว เป็นพฤติกรรมที่จะนวดอาหารให้นิ่มซะก่อน ก่อนที่จะกิน แร็กคูน เป็นสัตว์ที่ปีนต้นไม้เก่ง ทำรังอยู่บนยอดไม้และใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนต้นไม้ ในเวลากลางวันจะนอนขดอยู่ตามพงไม้ หรือซอกหิน หรือนอนผึ่งแดดอยู่ในรัง ในตอนกลางคืนจะออกหากิน โดยใช้เส้นทางเดิม และมักจะใช้เส้นทางที่เป็นพื้นแข็ง เพื่อไม่ให้เกิดรอยเท้า ตัวเมียออกลูกครั้งละ 4-6 ตัว ในโพรงไม้ ในช่วงฤดูหนาวที่หิมะตกและอาหารขาดแคลน แร็กคูนจะใช้เวลาช่วงนี้ในการจำศีลตลอดฤดูกาล แร็กคูน เป็นสัตว์ที่มีความน่ารัก จึงมีผู้นำมาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง อีกทั้งขนและหนังมีความหนานุ่มและสีสวย จึงมีการล่าเพื่อทำเป็นเสื้อขนสัตว์ด้วย ปัจจุบันกลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในทวีปยุโรป โดยเฉพาะในภูมิภาคยุโรปกลาง โดยแร็กคูนถูกนำเข้าไปในเยอรมนีครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและแร็กคูน · ดูเพิ่มเติม »

แวนเจลิส

อีแวนเจลอส โอดิซซีซ์ พาพาธานาซโซ (Evangelos Odysseas Papathanassiou กรีก: Ευάγγελος Οδυσσέας Παπαθανασίου) (เกิด 29 มีนาคม ค.ศ. 1943 -) นักดนตรีและนักแต่งเพลงชาวกรีก มีผลงานในแนวดนตรีอีเลกโทรนิก นิวเอจ โพรเกรสซีฟร็อก แอมเบียนต์ โดยใช้ชื่อในการแสดงว่า แวนเจลิส (Vangelis กร่อนมาจากชื่อ Evangelos; อ่านว่า /vænˈgɛlɨs/) ผลงานของแวนเจลิสที่มีชื่อเสียง คือดนตรีประกอบภาพยนตร์เรื่อง Chariots of Fire (ชื่อไทย: เกียรติยศแห่งชัยชนะ) ในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและแวนเจลิส · ดูเพิ่มเติม »

แอล. แอล. ซาเมนฮอฟ

แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ, 2451 แอล.แอล.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแอล. แอล. ซาเมนฮอฟ · ดูเพิ่มเติม »

แอนทิโลป

วาดของส่วนหัวและเขาของแอนทิโลปหลายชนิด แอนทิโลป (antelope) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกหนึ่ง มีหลายชนิด ในหลายสกุล ในอันดับสัตว์กีบคู่ ในวงศ์วัวและควาย (Bovidae) โดยทั่วไปแล้วแอนทิโลปจะมีลักษณะคล้ายกับกวางซึ่งเป็นสัตว์กีบคู่เหมือนกัน แต่อยู่ในวงศ์กวาง (Cervidae) และคำนิยามในพจนานุกรมก็มักจะระบุเช่นนั้นว่า แอนทิโลปเป็นสัตว์จำพวกเนื้อและกวางชนิดที่มีเขาเป็นเกลียว หรือบางทีก็แปลว่า ละมั่ง แต่ที่จริงแล้วแอนทิโลปมิใช่กวาง แม้จะมีรูปร่างภายนอกคล้ายคลึงกันก็ตาม แต่แอนทิโลปเป็นสัตว์ที่มีความใกล้เคียงกับวัวหรือควาย, แพะ หรือแกะ เนื่องจากจัดอยู่ในวงศ์เดียวกัน ซึ่งลักษณะสำคัญของสัตว์ในวงศ์นี้ คือ เขามีลักษณะโค้งเป็นเกลียว แต่ข้างในกลวง และมีถุงน้ำดี แอนทิโลปกระจายพันธุ์ไปในแอฟริกาและยูเรเชีย แต่ไม่พบในประเทศไทย โดยสัตว์ที่อาจเรียกได้ว่าเป็นแอนทิโลปได้ในประเทศไทย ได้แก่ เลียงผา และกวางผา ซึ่งเป็นสัตว์ที่อยู่ตามภูเขาสูง พบเห็นตัวได้ยาก คำว่า แอนทิโลป ปรากฏครั้งแรกในภาษาอังกฤษเมื่อปี ค.ศ. 1417 โดยได้รับมาจากภาษาฝรั่งเศสเก่า หรืออาจจะมาจากภาษากรีกคำว่า "anthos" ซึ่งหมายถึง "ดอกไม้" และ "ops" ที่หมายถึง "ตา" อาจหมายถึง "ตาสวย" หรือแปลได้ว่า "สัตว์ที่มีขนตาสวย" แต่ในระยะต่อมาในเชิงศัพทมูลวิทยาคำว่า "talopus" และ "calopus" มาจากภาษาละตินในปี ค.ศ. 1607 ใช้เป็นครั้งแรกเพื่อเรียกสัตว์จำพวกกวาง แอนทิโลปมีประมาณ 90 ชนิด ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกา มี 30 สกุล กระจายไปในวงศ์ย่อยต่าง ๆ เช่น Alcelaphinae, Antilopinae, Hippotraginae, Reduncinae, Cephalophinae, Bovinae รวมถึงอิมพาลา บางครั้งก็ถูกเรียกว่าแอนทิโลปบ้างเหมือนกัน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแอนทิโลป · ดูเพิ่มเติม »

แอนดรอยด์

หุ่นแอนดรอยด์รูปร่างผู้หญิงในชื่อว่า แอกทรอยด์ DER ผลิตจากประเทศญี่ปุ่น แอนดรอยด์ (android) คือ หุ่นยนต์ที่สร้างขึ้นมาเลียนแบบมนุษย์ โดยปกติแล้วทั้งทางด้านกายภาพและพฤติกรรม คำนี้ผันมาจากคำกรีก andr- หมายถึง "มนุษย์, เพศชาย" และปัจจัยเสริมท้าย -eides ซึ่งเคยมีความหมายว่า "ในสปีชีส์ของ, เหมือนกับ" (จากคำว่า eidos หมายถึง "สปีชีส์") คำว่า "ดรอยด์" ซึ่งหมายถึงหุ่นยนต์ในเรื่อง สตาร์ วอร์ส ก็ผันมาจากความหมายนี้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแอนดรอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนเดรียส เวซาเลียส

แอนเดรียส เวซาเลียส แอนเดรียส เวซาเลียส (Andreas Vesalius) (บรัสเซลส์, 31 ธันวาคม ค.ศ. 1514 - ซาคินธอส, 15 ตุลาคม ค.ศ. 1564) นักกายวิภาคศาสตร์ แพทย์ และผู้เขียนหนังสือที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อการศึกษากายวิภาคศาสตร์มนุษย์ชื่อ “โครงสร้างของร่างกายมนุษย์” (De humani corporis fabrica) เวซาเลียสถือว่าเป็นบิดาผู้ก่อตั้งกายวิภาคศาสตร์มนุษย์สมัยใหม่ เวซาเลียส (Vesalius) เป็นชื่อภาษาละตินของ อันเดรอัส ฟาน เวเซล (Andreas van Wesel) บางครั้งอาจเรียกชื่อของเขาว่า Andreas Vesal.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแอนเดรียส เวซาเลียส · ดูเพิ่มเติม »

แอแนกซิมินีส

แอแนกซิมินีส แอแนกซิมินีสแห่งไมลีตัส (Anaximenes of Miletus) เป็นนักปรัชญาชาวกรีก เกิดที่เมืองไมลีตัสเมื่อก่อนพุทธศักราช 45 ปี และเสียชีวิตเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษากรีกและแอแนกซิมินีส · ดูเพิ่มเติม »

แอโรเพลนเจลลี

แอโรเพลนเจลลี เป็นยี่ห้อเยลลีในออสเตรเลียซึ่งคิดค้นโดยเบิร์ท แอปเปิลรอธ (Bert Appleroth) ในปี พ.ศ. 2548 บริษัทเทรเดอร์ส จำกัด ของแอปเปิลรอธที่เริ่มจากการประกอบธุรกิจหลังบ้าน และต่อมากลายเป็นหนึ่งในธุรกิจครอบครัวผู้ผลิตอาหารรายใหญ่รายหนึ่งของออสเตรเลีย ได้ขายธุรกิจให้กับแม็คคอมิค ฟูดส์ ออสเตรเลีย (McCormick Foods Australia) บริษัทในเครือแม็คคอมิคแอนด์คัมพานี (McCormick & Company) ของสหรัฐอเมริกา แอโรเพลนเจลลีเป็นผู้นำทางการตลาดในธุรกิจเยลลี่ของประเทศออสเตรเลีย โดยมียอดขายมากกว่า 18 ล้านห่อต่อปี มีรสแรสเบอร์รีเป็นรสชาติที่ขายดีที่สุด แอโรเพลนเจลลีได้ออกโฆษณาที่ประสบความสำเร็จ และมีเพลงโฆษณาที่ได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมชาวออสเตรเลีย เพลงโฆษณาดังกล่าวเป็นหนึ่งในเพลงโฆษณาที่ออกอากาศยาวนานที่สุดในออมเตรเลีย โดยเฉพาะในทศวรรษที่ 1940 ซึ่งมีการเล่นเพลงโฆษณาผ่านสื่อวิทยุมากกว่า 100 ครั้งต่อวัน เพลงโฆษณาดังกล่าวได้รับการบันทึกไว้ยังหอภาพยนตร์และเสียงของออสเตรเลีย ในหมวดหมู่เสียงแห่งออสเตรเลีย ในปี พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแอโรเพลนเจลลี · ดูเพิ่มเติม »

แอโครเทียรีและดิเคเลีย

แอโครเทียรีและดิเคเลีย (Akrotiri and Dhekelia) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร แอโครเทียรีและดิเคเลียเป็นพื้นที่ฐานอำนาจอธิปไตยตั้งอยู่บนเกาะไซปรัส ซึ่งบริหารจัดการโดยกองทัพสหราชอาณาจักร หน่วยงานที่มีหน้าที่ดูแลที่นี่คือกระทรวงกลาโหม ดินแดนนี้มีพื้นที่ทั้งหมด 254 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 7,500 คน ดินแดนนี้เป็นดินแดนที่มีข้อพิพาทกับประเทศไซปรัสต้องการที่จะปกครองดินแดนนี้แทนสหราชอาณาจักร อาณาเขตของดินแดนครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 3% ของเกาะไซปรัส ดินแดนนี้มีพื้นที่สองส่วนแยกกัน คือแอโครเทียรีมีพื้นที่ 123 ตารางกิโลเมตร และดิเคเลียมีพื้นที่ 131 ตารางกิโลเมตร แอโครเทียรีตั้งอยู่ทางใต้ของเกาะไซปรัส ส่วนดิเคเลียตั้งอยู่ทางตะวันออก ซึ่งอยู่ในเขตของไซปรัสเหนือ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแอโครเทียรีและดิเคเลีย · ดูเพิ่มเติม »

แฮโลเจน

แฮโลเจน (halogens) คือ อนุกรมเคมีของกลุ่มธาตุในหมู่ 7 ของตารางธาตุ ซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแฮโลเจน · ดูเพิ่มเติม »

แถบดาวเคราะห์น้อย

กราฟิกแสดงอาณาเขตของแถบดาวเคราะห์น้อย แถบดาวเคราะห์น้อย (Asteroid belt) เป็นบริเวณในระบบสุริยะที่อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี ประกอบไปด้วยวัตถุรูปร่างไม่แน่นอนจำนวนมาก เรียกว่าดาวเคราะห์น้อย (asteroid หรือ minor planet) บางครั้งก็เรียกแถบดาวเคราะห์น้อยว่า "แถบหลัก" เพื่อแยกแยะมันออกจากดาวเคราะห์น้อยกลุ่มอื่น ๆ ที่มีอยู่ในระบบสุริยะ เช่น แถบไคเปอร์ มวลกว่าครึ่งหนึ่งของแถบดาวเคราะห์น้อยอยู่ในดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่ที่สุด 4 ดวง ได้แก่ ซีรีส, เวสตา, พัลลัส และไฮเจีย ทั้งสี่ดวงนี้มีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยมากกว่า 400 กิโลเมตร สำหรับซีรีสซึ่งถือเป็นดาวเคราะห์แคระเพียงดวงเดียวในแถบดาวเคราะห์น้อย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 950 กิโลเมตรKrasinsky, G. A.; Pitjeva, E. V.; Vasilyev, M. V.; Yagudina, E. I. (July 2002).

ใหม่!!: ภาษากรีกและแถบดาวเคราะห์น้อย · ดูเพิ่มเติม »

แทนิส

แผนที่อียิปต์ล่าง left แทนิส (/ tænɪs /; คอปติก: ϫⲁⲛⲓ / ϫⲁⲁⲛⲉ;กรีกโบราณ: Τάνις;อียิปต์โบราณ: ḏˁn.t / ɟuʕnat / หรือ / c'uʕnat /;อาหรับ: صانالحجر Ṣān al-Ḥagar) เป็นเมืองโบราณในทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของลุ่มแม่น้ำไนล์ของอียิปต์ มันตั้งอยู่บนดอนปากแม่น้ำของแม่น้ำไนล.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแทนิส · ดูเพิ่มเติม »

แท็กซี่

รถแท็กซี่ในซานฟรานซิสโก แท็กซี่ เป็นการโดยสารสาธารณะประเภทหนึ่งสำหรับผู้โดยสารคนเดียว หรือกลุ่มเล็ก ๆ รถแท็กซี่เป็นยานพาหนะไว้สำหรับว่าจ้างโดยผู้ขับจะส่งผู้โดยสารระหว่างที่หนึ่งไปยังที่หนึ่งตามที่ผู้โดยสารอยากจะไป แท็กซี่ เป็นคำย่อมาจาก แท็กซี่ แค็บ คิดค้นโดยแฮร์รี่ เอ็น อัลเลน นักธุรกิจชาวนิวยอร์กที่นำเข้ารถแท็กซี่มาจากฝรั่งเศส โดยย่อมาจากคำว่า แท็กซี่มิเตอร์ แค็บ อีกที ส่วนคำว่า cab มาจากคำว่า cabriolet คือรถม้าลากจูง และคำว่า taxi เป็นรากศัพท์ภาษาละตินในยุคกลาง ซึ่งมาจาก คำว่า taxa ที่หมายถึง ภาษีหรือการคิดเงิน และคำว่า meter มาจากภาษากรีกคำว่า metron แปลว่า วัดระยะทาง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแท็กซี่ · ดูเพิ่มเติม »

แคลดิสติกส์

แคลดิสติกส์ (Cladistics จากคำกรีก κλάδος, klados, แปลว่า สาขา) เป็นวิธีการจัดหมวดหมู่ทางชีวภาพ ที่จัดสิ่งมีชีวิตตามลักษณะที่มีร่วมกันซึ่งสามารถสาวไปยังบรรพบุรุษร่วมกันล่าสุด (most recent common ancestor) โดยที่บรรพบุรุษก่อนหน้านั้นไม่มี ดังนั้น สมาชิกของกลุ่มจึงสมมุติว่ามีประวัติร่วมกันและมองว่าเป็นญาติที่ใกล้ชิด เทคนิคและการตั้งชื่อของแคลดิสติกส์ยังได้ประยุต์ใช้ในศาสตร์อื่น ๆ อีกด้วย เช่น วิวัฒนาการของวัฒนธรรมมนุษ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแคลดิสติกส์ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นกาลิเซีย

กาลิเซีย (กาลิเซียและGalicia) เป็นภูมิภาคหนึ่งของประเทศสเปนที่มีฐานะเป็นแคว้นปกครองตนเองตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของคาบสมุทรไอบีเรีย มีพรมแดนร่วมกับประเทศโปรตุเกสทางทิศใต้ และมีพรมแดนร่วมกับแคว้นคาสตีล-เลออนและแคว้นอัสตูเรียสทางทิศตะวันออก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแคว้นกาลิเซีย · ดูเพิ่มเติม »

แคปพาโดเชีย

แคปพาโดเชีย (Καππαδοκία กัปปาโดเกีย; Cappadocia) แผลงมาจากคำในภาษากรีก “Καππαδοκία” (Kappadokía) คือภูมิภาคตอนกลางของประเทศตุรกีที่ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดเนฟชีร์ “แคปพาโดเชีย” เป็นชื่อที่ปรากฏตลอดมาในประวัติศาสตร์ของคริสต์ศาสนาและเป็นชื่อที่ใช้โดยทั่วไปที่หมายถึงบริเวณที่เป็นที่น่าสนใจแก่นักท่องเที่ยว ในบริบทของภูมิภาคอันมีความน่าตื่นตาตื่นใจทางธรรมชาติ โดยเฉพาะภูมิสัณฐานที่มีลักษณะเป็นแท่งๆ คล้ายหอปล่องไฟ หรือ เห็ด (ปล่องไฟธรรมชาติ (fairy chimney)) และประวัติความเป็นมาทางประวัติศาสตร์อันเป็นเอกลักษณ์ของภูมิภาคอานาโตเลีย ในสมัยของเฮโรโดทัส กลุ่มชาติพันธุ์แคปพาโดเชียกล่าวว่าเป็นผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในภูมิภาคตั้งแต่ภูเขาทอรัสไปจนถึงบริเวณยูซีน (ทะเลดำ) ฉะนั้นแคปพาโดเชียในกรณีนี้จึงมีบริเวณทางตอนใต้จรดเทือกเขาทอรัส ที่เป็นพรมแดนธรรมชาติที่แยกจากซิลิเคีย, ทางตะวันออกโดยแม่น้ำยูเฟรทีสตอนเหนือและ ที่ราบสูงอาร์มีเนีย, ทางตอนเหนือโดยภูมิภาคพอนทัส และทางตะวันตกโดยภูมิภาคไลเคาเนีย และ กาเลเชียตะวันออกVan Dam, R. Kingdon of Snow: Roman rule and Greek culture in Cappadocia. Philadelphia: University of Pennsylvania Press, 2002, p.13.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแคปพาโดเชีย · ดูเพิ่มเติม »

แคเธอรินแห่งอะเล็กซานเดรีย

นักบุญแคเธอรินแห่งอะเล็กซานเดรีย (ภาษาอังกฤษ: St. Catherine of Alexandria หรือ St. Catherine of the Wheel หรือ The Great Martyr Saint Catherine; ภาษากรีก: ἡ Ἁγία Αἰκατερίνη ἡ Μεγαλομάρτυς) เป็นนักบุญเป็นมรณสักขีในศาสนาคริสต์ ศาสนจักรออร์ทอดอกซ์ถือกันว่านักบุญแคเธอรินเป็นมรณสักขีคนสำคัญ และทางศาสนจักรโรมันคาทอลิกนับนักบุญแคเธอรินเป็นหนึ่งในนักบุญผู้ช่วยศักดิ์สิทธิ์สิบสี่องค์ นักบุญแคเธอรินเป็นนักบุญองค์หนึ่งที่มาปรากฏตัวต่อนักบุญโยนออฟอาร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแคเธอรินแห่งอะเล็กซานเดรีย · ดูเพิ่มเติม »

แซฟไฟร์

แซฟไฟร์ (Sapphire) เป็นพลอยตระกูลคอรันดัม มีหลายสี แต่โดยทั่วไปมักหมายถึงเฉพาะที่มีสีน้ำเงิน ในประเทศไทย เดิมเรียกว่า นิลกาฬ (นิลก็ยังหมายถึงพลอยอีกชนิดหนึ่ง) แต่ปัจจุบันนิยมเรียกว่า ไพลิน ตามชื่อของแหล่งกำเนิดจากเหมืองพลอย ในจังหวัดไพลิน ประเทศกัมพูชา ที่ในช่วงหนึ่งมีการนำเข้ามาในประเทศไทยเป็นจำนวนมาก แซฟไฟร์จัดเป็นแร่ในประเภท (Species) คอรันดัม (Corundum) เช่นเดียวกับทับทิม (Ruby) ซึ่งพลอยคอรันดัมนี้เป็นพลอยที่มีความแข็งรองลงมาจากเพชร จึงทำให้แซฟไฟร์ เหมาะอย่างยิ่งที่จะนำไปทำเครื่องประดับ ชาวเปอร์เซียโบราณเชื่อกันว่าแซฟไฟร์ คือ "หินที่มาจากฟ้า" เนื่องจากพวกเขาเชื่อว่าโลก ตั้งอยู่บน แซฟไฟร์ ขนาดมหึมา จึงทำให้สะท้อนแสงแดด ออกไปสู่ท้องฟ้ามีสีน้ำเงิน ตามตำนานกล่าวว่า แซฟไฟร์เป็นพลอยของกษัตริย์ที่ใช้สวมใส่เพื่อป้องกันภัยอันตราย ทำให้เชื่อกันว่าผู้ที่สวมใสแซฟไฟร์จะมีชีวิตที่สดใส มีพลังในการดำรงชีวิต และแซฟไฟร์นี้สามารถปกป้องอันตรายแก่ผู้ที่สวมใส่ได้อีกด้วย นอกจากนี้ยังถือเอาแซฟไฟร์นี้เป็นสัญลักษณ์ของความจริงใจ และมั่นคงอีกด้วย ปัจจุบันหากพูดถึงแซฟไฟร์ คำเดียวจะหมายถึง Blue Sapphire หรือ ไพลิน มาจากภาษาเปอร์เชีย "Saffir" หรือจากภาษากรีก "Sappheiros" แปลว่า สีน้ำเงิน หรือจากภาษาสันสกฤต "ศนิปฺริย" (ศน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแซฟไฟร์ · ดูเพิ่มเติม »

แซนโทฟิลล์

รงสร้างทางเคมีของคริปโทแซนทิน สีของไข่แดงมาจากลูทีนและซีอาแซนทิน แซนโทฟิลล์ (xanthophyll) เดิมเรียก ฟิลโลแซนทิน (phylloxanthin) เป็นรงควัตถุสีเหลืองที่พบในธรรมชาติ เป็นหนึ่งในสารกลุ่มแคโรทีนอยด์ มีสูตรเคมีคือ C40H56O2 คำว่า "แซนโทฟิลล์" มาจากคำในภาษากรีก ξανθός (xanthos แปลว่า "เหลือง") และ φύλλον (phyllon แปลว่า "ใบไม้") เนื่องจากพบเป็นแถบสีเหลืองบนแผ่นทดสอบที่ผ่านกระบวนการโครมาโทกราฟี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและแซนโทฟิลล์ · ดูเพิ่มเติม »

โฟโต้สเกป

ฟโต้สเกป (PhotoScape) เป็นโปรแกรมตัดต่อกราฟิกส์ พัฒนาโดย MOOII Tech,ประเทศเกาหลีใต้ แนวคิดพื้นฐานของโฟโต้สเกป คือ 'ง่ายและสนุก' เพื่อที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขภาพที่ถ่ายจากกล้องดิจิทัลของพวกเขาหรือแม้กระทั่งโทรศัพท์มือถือ โฟโต้สเกป มีผู้ใช้อินเตอร์เฟซง่ายที่ดำเนินการปรับปรุงภาพร่วมกันรวมทั้ง การปรับสี,ตัด,การปรับขนาด,การพิมพ์ และการภาพเคลื่อนไหวในไฟล์ GIF โฟโต้สเกป ทำงานได้เฉพาะในระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และไม่สามารถใช้ได้ในระบบ Mac หรือLinux ได้ ภาษาเริ่มต้นของมันเป็นภาษาอังกฤษและภาษาเกาหลี พร้อมด้วยแพ็กเกจภาษาเพิ่มเติมสามารถดาวน์โหลดได้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและโฟโต้สเกป · ดูเพิ่มเติม »

โมโนทรีม

มโนทรีม หรือ โมโนทรีมาทา (Monotremata) เป็นอันดับในการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์อันดับหนึ่ง อยู่ในชั้น Mammalia หรือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และอยู่ในชั้นย่อยโมโนทรีม (บางครั้งเรียกชั้นย่อยนี้ว่า Prototheria) สัตว์ในอันดับโมโนทรีมภาษาอังกฤษเรียกว่าโมโนทรีม (monotreme) มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก mono (หนึ่ง) + trema (รู) เนื่องจากสัตว์ในอันดับนี้มีช่องขับถ่ายและช่องสืบพันธุ์เป็นช่องเดียวกัน โมโนทรีมเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพียงอันดับเดียวที่ออกลูกเป็นไข่ แทนที่จะออกลูกเป็นตัวเหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและโมโนทรีม · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค

ันน์ เซบาสเตียน บาค, ปี พ.ศ. 2291 วาดโดย อีลิอาส ก็อตลอบ เฮาส์มันน์ (Elias Gottlob Haussmann) โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค (Johann Sebastian Bach) เป็นคีตกวีและนักออร์แกนชาวเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2228 (ค.ศ. 1685) ในครอบครัวนักดนตรี ที่เมืองไอเซนัค บาคแต่งเพลงไว้มากมายโดยดั้งเดิมเป็นเพลงสำหรับใช้ในโบสถ์ เช่น "แพชชั่น" บาคถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2293 ที่เมืองไลพ์ซิก บาคเป็นนักประพันธ์ดนตรีสมัยบาโรค เขาสร้างดนตรีของเขาจนกลายเป็นเอกลักษณ์ของยุคสมัย บาคมีอิทธิพลอย่างสูงและยืนยาวต่อการพัฒนาดนตรีตะวันตก แม้แต่นักประพันธ์เพลงผู้ยิ่งใหญ่เช่น โมซาร์ท และเบโธเฟน ยังยอมรับบาคในฐานะปรมาจารย์ งานของบาคโดดเด่นในทุกแง่มุม ด้วยความพิถีพิถันของบทเพลงที่เต็มไปด้วย ท่วงทำนอง เสียงประสาน หรือ เทคนิคการสอดประสานกันของท่วงทำนองต่าง ๆ รูปแบบที่สมบูรณ์แบบ เทคนิคที่ฝึกฝนมาเป็นอย่างดี การศึกษาค้นคว้า แรงบันดาลใจอันเต็มเปี่ยม รวมทั้งปริมาณของบทเพลงที่แต่ง ทำให้งานของบาคหลุดจากวงจรทั่วไปของงานสร้างสรรค์ที่ปกติแล้วจะเริ่มต้น เจริญเติบโตถึงขีดสุด แล้วเสื่อมสลาย นั่นคือไม่ว่าจะเป็นเพลงที่บาคได้ประพันธ์ไว้ตั้งแต่วัยเยาว์ หรือเพลงที่ประพันธ์ในช่วงหลังของชีวิตนั้นจะมีคุณภาพทัดเทียมกัน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและโยฮันน์ เซบาสเตียน บาค · ดูเพิ่มเติม »

โรม

ลอสเซียม สัญลักษณ์ที่สำคัญของโรม โรม (Rome; Roma) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของแคว้นลัตซีโยและประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ในเขตตัวเมืองมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคน ถ้ารวมเมืองโดยรอบจะมีประมาณ 4.3 ล้านคน โดยมีจำนวนประชากรใกล้เคียงกับมิลานและเนเปิลส์ นอกจากนี้ โรมยังเป็นที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นดินแดนที่ประทับของพระสันตะปาปาแห่งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอีกด้วย หลังสิ้นสุดยุคกลาง โรมได้อยู่ภายใต้การปกครองของพระสันตะปาปา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ผู้ซึ่งสร้างสรรค์ให้โรมกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีเช่นเดียวกับฟลอเรนซ์ ซึ่งในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แบบที่เห็นในปัจจุบัน และมีเกลันเจโลได้วาดภาพปูนเปียกประดับภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ศิลปินและสถาปนิกที่มีชื่อเสียงอย่างบรามันเต แบร์นินี และราฟาเอล ซึ่งพำนักอยู่ในโรมเป็นครั้งคราว ได้มีส่วนช่วยสรางสรรค์สถาปัตยกรรมแบบสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแบบบารอกในโรมด้วยเช่นกัน ใน พ.ศ. 2550 โรมเป็นเมืองที่มีผู้มาเยือนมากเป็นอันดับที่ 11 ของโลก มากเป็นอันดับสามในสหภาพยุโรป และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในอิตาลี ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ใจกลางเมืองได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ อนุสรณ์สถานและพิพิธภัณฑ์อย่างพิพิธภัณฑ์วาติกันและโคลอสเซียมยังจัดอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวเยี่ยมชมมากที่สุด 50 อันดับแรกของโลก (พิพิธภัณฑ์วาติกันมีนักท่องเที่ยว 4.2 ล้านคนต่อปี และโคลอสเซียมมี 4 ล้านคนต่อปี).

ใหม่!!: ภาษากรีกและโรม · ดูเพิ่มเติม »

โรคกลัวที่ชุมชน

รคกลัวที่ชุมชน หรือ อาการกลัวที่โล่ง (Agoraphobia) เป็นโรควิตกกังวลชนิดหนึ่งซึ่งเกิดจากความกลัวที่จะเกิดอาการตื่นตระหนก (panic attack) ในสถานที่ที่หนีออกไปลำบากหรือไม่มีคนช่วยเหลือ ผู้ป่วยจากโรคกลัวที่ชุมชนจึงมักหลีกเลี่ยงสถานที่สาธารณะหรือสถานที่ที่ไม่คุ้นเคย ในผู้ป่วยที่อาการรุนแรงอาจหมกตัวอยู่ในบ้านและไม่กล้าออกจากสถานที่ที่คิดว่าปลอดภั.

ใหม่!!: ภาษากรีกและโรคกลัวที่ชุมชน · ดูเพิ่มเติม »

โรคระบาด

ในทางวิทยาการระบาด โรคระบาด (epidemic; มาจากรากศัพท์ภาษากรีก epi-.

ใหม่!!: ภาษากรีกและโรคระบาด · ดูเพิ่มเติม »

โรคระบาดทั่ว

รคระบาดทั่ว (อังกฤษ: pandemic; มาจากรากศัพท์ภาษากรีก παν pan ทั้งหมด + δήμος demos ประชาชน) เป็นการระบาดของโรคติดเชื้อที่แพร่กระจายในประชากรมนุษย์ในบริเวณกว้าง (เช่น กระจายไปทั่วทวีป) หรือทั่วโลก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและโรคระบาดทั่ว · ดูเพิ่มเติม »

โรคริดสีดวงทวาร

รคริดสีดวงทวาร (hemorrhoids (อังกฤษอเมริกัน) หรือ haemorrhoids (อังกฤษบริติช) หรือ piles) เป็นโครงสร้างหลอดเลือดในช่องทวารหนัก ในสภาพปกติจะมีลักษณะเป็นนวมและช่วยในการกลั้นอุจจาระ เมื่อบวมหรืออักเสบจะมีพยาธิสภาพเป็น หัวริดสีดวง อาการของโรคริดสีดวงทวารขึ้นอยู่กับชนิดที่เป็น แบบภายในมักจะเลือดออกเป็นสีแดงสดโดยไม่เจ็บเมื่อถ่ายอุจจาระ ขณะที่แบบภายนอกบ่อยครั้งจะเจ็บและบวมที่บริเวณทวารหนัก และถ้าเลือดออกก็จะสีคล้ำกว่า อาการบ่อยครั้งจะดีขึ้นหลังจาก 2-3 วัน แต่แบบภายนอกอาจจะเหลือติ่งหนัง (acrochordon) แม้หลังจากอาการหายแล้ว แม้ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดของโรคริดสีดวงทวาร แต่ก็เชื่อว่าปัจจัยที่เพิ่มแรงดันในท้องหลายอย่างมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งท้องผูก ท้องร่วง และนั่งถ่ายเป็นเวลานาน ริดสีดวงทวารยังสามัญกว่าในช่วงตั้งครรภ์ด้วย การวินิจฉัยจะเริ่มที่การตรวจดูที่บริเวณ หลายคนเรียกอาการทุกอย่างที่เกิดรอบบริเวณทวารหนัก-ไส้ตรงอย่างผิด ๆ ว่า "โรคริดสีดวงทวาร" แต่ก็ควรตัดสาเหตุร้ายแรงของอาการให้แน่นอนก่อน การส่องกล้องแบบ Colonoscopy หรือ sigmoidoscopy บางครั้งสมควรใช้เพื่อยืนยันการวินิจฉัยและกันเหตุที่ร้ายแรงกว่า บ่อยครั้ง อาการไม่จำเป็นต้องรักษา การรักษาเริ่มต้นจะเป็นการเพิ่มการรับประทานใยอาหาร, ดื่มน้ำให้มาก ๆ, ทานยา NSAID เพื่อลดเจ็บ, และพักผ่อน ยาที่เป็นครีมอาจใช้ทาที่บริเวณ แต่ประสิทธิผลของยาเช่นนี้ไม่มีหลักฐานที่ดี อาจทำหัตถการเล็กน้อยได้จำนวนหนึ่งหากอาการรุนแรงหรือไม่ดีขึ้นด้วยการรักษาแบบอนุรักษ์ โดยการผ่าตัดจะสงวนไว้สำหรับโรคที่ไม่ดีขึ้น ประชากรประมาณ 50%-66% จะมีปัญหาริดสีดวงทวารอย่างน้อยหนึ่งครั้งในชีวิต ชายและหญิงพบบ่อยพอ ๆ กัน คนอายุ 45-65 ปีจะมีปัญหามากที่สุด เป็นปัญหาสำหรับคนมั่งมีมากกว่า และปกติจะหายได้ดี การกล่าวถึงโรคนี้เป็นครั้งแรกที่รู้มาจากบันทึกในกระดาษปาปิรัสของชาวอิยิปต์ช่วง 1700 ปีก่อน..

ใหม่!!: ภาษากรีกและโรคริดสีดวงทวาร · ดูเพิ่มเติม »

โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

รคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (chronic obstructive pulmonary disease, COPD, chronic obstructive lung disease, COLD, chronic obstructive airway disease, COAD) เป็นโรคปอดอุดกั้นที่มีลักษณะเฉพาะคือความบกพร่องอย่างเรื้อรังในการไหลผ่านของอากาศของระบบทางเดินหายใจ --> และมักจะแย่ลงเมื่อเวลาผ่านไป --> อาการที่พบบ่อยได้แก่ เหนื่อย ไอ และ มีเสมหะ ผู้ป่วยหลอดลมอักเสบเรื้อรังส่วนใหญ่จะมี COPD ด้วย สาเหตุพบบ่อยที่สุดของ COPD คือการสูบบุหรี่ สาเหตุอื่นๆ ที่มีบทบาทบ้างแต่น้อยกว่าการสูบบุหรี่ได้แก่ มลพิษทางอากาศ และ พันธุกรรม เป็นต้น สาเหตุของมลพิษทางอากาศที่พบบ่อยในประเทศที่กำลังพัฒนาอีกอย่างหนึ่งได้แก่ อากาศเสียจากการทำอาหารหรือควันไฟ การสัมผัสสิ่งระคายเคืองเหล่านี้ต่อเนื่องกันเป็นเวลานานจะกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาการอักเสบขึ้นในเนื้อปอด ทำให้หลอดลมฝอยตีบลงและการแตกตัวของเนื้อเยื้อปอด เรียกว่า ถุงลมโป่งพอง อังกฤษ:emphysema การวินิจฉัยนั้นใช้พื้นฐานของความสามารถในการไหลผ่านของอากาศด้วยการตรวจวัดโดย การทดสอบการทำงานของปอด โดยมีความแตกต่างจากโรคหอบหืด คือ การลดลงของปริมาณอากาศที่ไหลผ่านด้วยการให้ยานั้นไม่ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ COPD สามารถป้องกันได้โดยการลดปัจจัยเสี่ยงของสาเหตุของโรคที่ทราบ ซึ่งรวมถึงการลดปริมาณการสูบบุหรี่และการปรับปรุงคุณภาพของอากาศทั้งภายในและภายนอก การรักษา COPD ได้แก่: การเลิกสูบบุหรี่ การฉีดวัคซีน การฟื้นฟูสภาพ และการพ่นสูดยาขยายหลอดลมบ่อยๆ และการใช้ยาสเตียรอยด์ บางคนอาจได้รับประโยชน์จากการบำบัดด้วยออกซิเจนระยะยาวหรือการปลูกถ่ายปอด ในกลุ่มผู้ที่มีการทรุดลงอย่างเฉียบพลันช่วงหนึ่ง การเพิ่มยาที่ใช้รักษาและการเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาลอาจเป็นสิ่งจำเป็น ในทั่วโลกมีผู้ที่ป่วยด้วย COPD จำนวน 329 ล้านคนหรือเกือบ 5% ของจำนวนประชากร ในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง · ดูเพิ่มเติม »

โรคใคร่เด็ก

รคใคร่เด็ก หรือ ความใคร่เด็ก (Pedophilia, paedophilia) เป็นความผิดปกติทางจิตที่ผู้ใหญ่หรือวัยรุ่นตอนปลายมีความต้องการทางเพศเป็นหลักหรืออย่างจำกัดเฉพาะ ต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพัน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและโรคใคร่เด็ก · ดูเพิ่มเติม »

โรคโปลิโอ

รคโปลิโอ (poliomyelitis, polio, infantile paralysis) เป็นโรคติดเชื้อไวรัสเฉียบพลันซึ่งติดต่อจากคนสู่คนทางอุจจาระ-ปาก ชื่อนี้มาจากภาษากรีกว่า (πολιός) หมายถึง สีเทา, (µυελός) หมายถึงไขสันหลัง และคำอุปสรรค -itis หมายถึงการอักเสบ การติดเชื้อโปลิโอกว่า 90% จะไม่ทำให้เกิดอาการใด ๆ โดยผู้ติดเชื้ออาจมีอาการได้หลายอย่างหากได้รับไวรัสเข้ากระแสเลือด ผู้ป่วย 1% จะมีการติดเชื้อไวรัสเข้าสู่ระบบประสาทกลาง ทำให้เซลล์ประสาทสั่งการถูกทำลาย ทำให้เกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรงและอัมพาตอ่อนเปียก ผู้ป่วยอาจมีอาการอ่อนแรงได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับเส้นประสาทที่ถูกทำลาย รูปแบบที่พบบ่อยที่สุดคือโปลิโอไขสันหลัง ซึ่งทำให้มีอาการอ่อนแรงแบบไม่สมมาตรมักเป็นที่ขา โปลิโอก้านสมองส่วนท้ายทำให้เกิดการอัมพาตของกล้ามเนื้อที่เลี้ยงโดยเส้นประสาทสมอง โปลิโอไขสันหลังและก้านสมองส่วนท้ายจะทำให้มีอาการร่วมกันทั้งการอัมพาตก้านสมองส่วนท้ายและไขสันหลัง โรคโปลิโอค้นพบครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษากรีกและโรคโปลิโอ · ดูเพิ่มเติม »

โลก (ดาวเคราะห์)

ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.

ใหม่!!: ภาษากรีกและโลก (ดาวเคราะห์) · ดูเพิ่มเติม »

โสม

ม (Ginseng) เป็นพืชในสกุล Panax ในวงศ์ Araliaceae โตได้ในบริเวณซีกโลกเหนือ ในทวีปเอเชีย และทวีปอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและโสม · ดูเพิ่มเติม »

โสตศอนาสิกวิทยา

ตศอนาสิกวิทยา เป็นแขนงหนึ่งของวิชาแพทยศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวินิจฉัยและรักษาความผิดปกติของหู, จมูก, กล่องเสียงหรือช่องคอ, ศีรษะและคอ ในบางครั้งอาจเรียกย่อได้ว่า อีเอ็นที (ENT; ear, nose and throat: หู จมูก และคอ) จากรากศัพท์ภาษาบาลีสันสกฤตแปลได้ว่า การศึกษาหู คอ และจมูก รากศัพท์ของ "Otolaryngology" มาจากภาษากรีก ωτολαρυγγολογία (oto.

ใหม่!!: ภาษากรีกและโสตศอนาสิกวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โหนกท้ายทอย

หนกท้ายทอย (inion) เป็นส่วนยื่นนูนเด่นของกระดูกท้ายทอย (occipital bone) ซึ่งอยู่ที่ส่วนหลังด้านล่างของกะโหลกศีรษะ จุดนี้เป็นจุดเกาะของเอ็นหลังคอ (nuchal ligament) และกล้ามเนื้อทราพีเซียส (trapezius muscle) ในบางครั้งเราอาจใช้คำว่า ปุ่มนอกของท้ายทอย (external occipital protuberance) และโหนกท้ายทอยมีความหมายเดียวกัน แต่จริงๆ แล้วโหนกท้ายทอยเป็นจุดยอดสุดของปุ่มนอกของท้ายทอ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและโหนกท้ายทอย · ดูเพิ่มเติม »

โอริคัลคุม

โอริคัลคุม (อังกฤษ: Orichalcum) หรือ โอริคัลคอส เป็นคำศัพท์ภาษาละตินมาจากภาษากรีก ορείχαλκος (โอริคัลคอส) ซึ่งแปลว่าทองเหลือง สาเหตุที่โอริคัลคุมหรือทองเหลืองกลายเป็นชื่อโลหะในตำนาน อันเนื่องจากวิทยาการในยุดสำริด ทองเหลืองถือเป็นโลหะที่แข็งแกร่งที่สุดในขณะนั้นและข้อความบันทึกในเอกสารต่าง ๆ ถูกเขียนด้วยภาษากรีกและภาษาลาติน เมื่อเวลาผ่านไปชื่อของโอริคัลคุมจึงถูกจดจำในความหมายของโลหะชนิดหนึ่งที่มีความแข็งแกร่งมาก ในเกมดราก้อนเควสต์ แร่โอริคัลคุม (หนังสือบางเล่มเขียนทับศัพท์จากภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า โอริฮารูกอน เป็นแร่ที่ใช้ทำอาวุธของกลุ่มพระเอกปรากฏในช่วงท้ายเกม อาวุธที่ทำจากแร่นี้มีสีทองหรือสีเหลือง ใน เกมดราก้อนเควสต์ 3 ดาบที่ใช้ปราบหัวหน้าใหญ่โซม่า เป็นดาบที่ทำจากโอริคัลคุม หมวดหมู่:แร่ธาตุในจินตนาการ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและโอริคัลคุม · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมเปีย (ประเทศกรีซ)

อลิมเปีย (กรีก: Ὀλυμπία;; Olymbía) เป็นเมืองโบราณบนคาบสมุทรเพโลพอนนีส และแหล่งกำเนิดของกีฬาโอลิมปิกโบราณ ซึ่งเคยจัดขึ้นทุก ๆ 4 ปี ตั้งแต่ 800 ปีก่อนคริสตกาล จนถึงคริสตศตวรรษที่ 4.

ใหม่!!: ภาษากรีกและโอลิมเปีย (ประเทศกรีซ) · ดูเพิ่มเติม »

โทมัส ยัง

ทมัส ยัง โทมัส ยัง (Thomas Young; 14 มิถุนายน พ.ศ. 2316 – 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2372) เป็นนักวิทยาศาสตร์และแพทย์ ชาวอังกฤษ มีความเฉลียวฉลาดถึงขนาดที่พูดได้กว่า 12 ภาษา เมื่ออายุได้ 14 ปี ผลงานที่เด่นที่สุดของเขาในด้านวัสดุศาสตร์ก็คือ มอดุลัสของยัง นอกจากนี้เขาได้ช่วยเขียนหนังสือสารานุกรม เอ็นไซโคลพีเดีย บริตเตนิกา (Encyclopedia Britannica) ในหลาย ๆ บทความ และยังศึกษาอักษรอียิปต์โบราณเช่นเดียวกับชอง-ฟรองซัว ชองโปลิยง นักภาษาศาสตร์ชาวฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและโทมัส ยัง · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์

อรมนี สมัยปี พ.ศ. 2501 โทรทัศน์ เป็นระบบโทรคมนาคมสำหรับการกระจายและรับภาพเคลื่อนไหวและเสียงระยะไกล คำนี้ยังหมายถึงรายการโทรทัศน์และการแพร่ภาพอีกด้วย คำว่าโทรทัศน์ในภาษาไทย มีที่มาจากคำในภาษาอังกฤษ คือ television ซึ่งเป็นคำผสมจากคำกรีก tele- ("ระยะไกล" — โทร-) และ -vision ที่มาจากภาษาละติน visio ("การมองเห็น" — ทัศน์) มักเรียกย่อเป็น TV (ทีวี) เครื่องรับโทรทัศนขาว-ดำเครื่องแรกของโลก สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1925 โดยเป็นผลงานการประดิษฐ์ของจอห์น โลจี เบร์ด ชาวสกอตแลน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและโทรทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

โคอาลา

อาลา (koala) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีกระเป๋าหน้าท้อง จำพวกพอสซัม (ไม่ใช่หมี) ตัวเมียจะมีกระเป๋าหน้าท้อง สำหรับให้ลูกอ่อนอาศัยอยู่ จากการที่มีลักษณะรูปร่างหน้าตาคล้ายสัตว์ในตระกูลหมี ทำให้ส่วนใหญ่นิยมว่า "หมีโคอาลา" หรือ "หมีต้นไม้" โคอาลา นับเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง เนื่องจากพบหลักฐานเป็นฟอสซิลอายุนานกว่า 20 ล้านปีมาแล้ว ในออสเตรเลียตอนใต้ เป็นโคอาลาขนาดยักษ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและโคอาลา · ดูเพิ่มเติม »

โปรตอน

| magnetic_moment.

ใหม่!!: ภาษากรีกและโปรตอน · ดูเพิ่มเติม »

ไบรโอโลยี

ลิเวอร์เวิร์ตสกุล ''Marchantia'' ไบรโอโลยี (bryology; มาจากคำในภาษากรีก bryon แปลว่า มอสส์หรือลิเวอร์เวิร์ตและ logos แปลว่า การศึกษา) เป็นหนึ่งในสาขาของวิชาพฤกษศาสตร์ โดยเป็นการศึกษาพืชไม่มีท่อลำเลียงหรือไบรโอไฟต์ อันได้แก่มอสส์ ฮอร์นเวิร์ตและลิเวอร์เวิร์ต สาขานี้มักเกี่ยวข้องกับวิทยาไลเคน เนื่องจากสิ่งมีชีวิตทั้งสองชนิดมีลักษณะและวิถีชีวิตเฉพาะนิเวศคล้ายคลึงกัน แต่ไบรโอไฟต์และไลเคนไม่ได้อยู่ในอาณาจักรเดียวกัน การศึกษาไบรโอไฟต์เริ่มในช่วงศตวรรษที่ 18 โดยโยฮันน์ ยาคอบ ดิลเลเนียส นักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมันได้ตีพิมพ์ผลงานการสืบพันธุ์ของเฟิร์นและมอสส์ ต่อมาในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและไบรโอโลยี · ดูเพิ่มเติม »

ไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนล

China Radio International (CRI), (ก่อนหน้านี้เรียกว่า Radio Beijing และชื่อแรกก่อตั้งคือ Radio Peking) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 3 ธันวาคม..

ใหม่!!: ภาษากรีกและไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนล · ดูเพิ่มเติม »

ไพโรโซม

รโซม (Pyrosomes) เป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง เป็นสัตว์น้ำที่อยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง และไฟลัมย่อยยูโรคอร์ดาตา จัดอยู่ในสกุล Pyrosoma นอกจากนี้แล้วยังมีชื่อสามัญเรียกว่า "แตงกวาดองทะเล" (Sea pickles) ไพโรโซม เป็นสัตว์ที่มีลำตัวโปร่งใส ลำตัวยาวเหมือนกรวยขนาดยาว สามารถเรืองแสงเป็นสีฟ้าหรือเขียวได้ เป็นสัตว์ที่หายาก แต่เป็นสัตว์ที่ไม่มีกะโหลกหรือขากรรไกรหรือกล้ามเนื้อ จึงไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ด้วยตนเอง แต่จะล่องลอยไปตามกระแสน้ำ ไพโรโซมเกิดขึ้นจากการรวมตัวกันของสัตว์ขนาดเล็กลักษณะเหมือนแมงกะพรุนคือ "ซูอิก" (Zooid) จำนวนนับพันตัวรวมตัวกันอยู่ โดยเฉลี่ยแล้วจะมีความยาวประมาณ 30 เซนติเมตร หรือ 60 เซนติเมตร หรือแม้แต่มีความยาวแค่ไม่กี่เซนติเมตร แต่ก็มีการพบตัวที่มีความยาวถึง 30 หรือ 35 เมตร ขนาดเทียบเท่ากับวาฬขนาดใหญ่เลยทีเดียว ไพโรโซม กินสาหร่ายขนาดเล็กที่ไม่สามารถมองได้ด้วยตาเปล่าเป็นอาหาร รวมถึงแพลงก์ตอน เป็นสัตว์ที่ไม่มีอันตรายต่อมนุษย์ แต่ทว่าสร้างความรำคาญให้แก่อุตสาหกรรมประมง โดยเฉพาะการประมงในสหรัฐอเมริกา เนื่องจากสามารถเกาะคลุมอุปกรณ์ประมงได้ ทำให้ไม่สามารถจับปลาได้ หากมีเป็นจำนวนมาก อาจต้องทำให้เรือประมงบางลำต้องย้ายที่ประมงหนี โดยบริเวณชายฝั่งของแคลิฟอร์เนียไม่เคยมีรายงานการพบไพโรโซมมาก่อนเลย จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและไพโรโซม · ดูเพิ่มเติม »

ไกอา

กอา พระแม่ธรณีในเทพปกรณัมของกรีก ไกอา หรือ เกอา (Gaia; จากภาษากรีกโบราณ: Γαîα; ภาษากรีกปัจจุบัน: Γῆ; หมายความว่า พื้นดิน หรือพื้นโลก) หรือ จีอา (Gaea) เป็นเทพีองค์แรกของโลกตามตำนานของชาวกรีก ร่างกายของนางคือพื้นพิภพ นามในภาษาละตินของนางคือ เทอร์รา (Terra).

ใหม่!!: ภาษากรีกและไกอา · ดูเพิ่มเติม »

ไมโล (เครื่องดื่ม)

มโล (Milo) ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มช็อกโกแลตมอลต์ของบริษัทเนสท์เล่ จำกัด มีเอกลักษณ์ตรงที่มีบรรจุภัณฑ์สีเขียว ได้รับการพัฒนาสูตรขึ้นโดยทอมัส เมย์น ซึ่งทำการวิจัยคิดค้นสูตรอย่างหนักในโรงงานแห่งหนึ่งในเมืองสมิททาวน์ รัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย ในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและไมโล (เครื่องดื่ม) · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครแรปเตอร์

มโครแรปเตอร์ (Microraptor; ศัพทมูลวิทยา: ภาษากรีก, μίκρος, mīkros: "เล็ก"; ภาษาละติน, raptor: "ผู้ที่คว้าที่หนึ่ง") เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์โดรมีโอซอร์ (Dromaeosauridae) เช่นเดียวกับเวโลซีแรปเตอร์ ไมโครแรปเตอร์ มีรูปร่างคล้ายไดโนเสาร์ผสมนกมีขนปกคลุมลำตัวเหมือนนก ขนาดลำตัวเท่า ๆ กับนกพิราบ มีปีกทั้งหมด 4 ปีก (ขาหน้า 2 ปีก และขาหลัง 2 ปีก) มีขนหางที่เรียวยาว และเชื่อว่าดำรงชีวิตและหากินบนต้นไม้เป็นหลัก รวมถึงทำรังบนต้นไม้ และมีหลักฐานว่าจับนกในยุคก่อนประวัติศาสตร์กินเป็นอาหาร จากการพบซากในส่วนที่เป็นกระเพาะ ไมโครแรปเตอร์ ไม่สามารถบินได้ แต่จะใช้ปีกและขนร่อนไปมาเหมือนสัตว์ในยุคปัจจุบันหลายชนิดเช่น กระรอกบิน หรือบ่างChatterjee, S., and Templin, R.J. (2007).

ใหม่!!: ภาษากรีกและไมโครแรปเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล ดูคาคิส

มเคิล สแตนลีย์ ดูคาคิส (Michael Stanley Dukakis,, กรีก: Μιχαήλ Δουκάκης) เกิดวันที่ 3 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ภาษากรีกและไมเคิล ดูคาคิส · ดูเพิ่มเติม »

ไรโบโซม

หน่วยย่อยของไรโบโซมชิ้นเล็ก 30s หน่วยย่อยของไรโบโซมชิ้นใหญ่50s ไรโบโซม (Ribosome มาจาก ribonucleic acid และคำใน"ภาษากรีก: soma (หมายถึงร่างกาย)") เป็นออร์แกแนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้มเซลล์ มีขนาดเล็กที่สุดและมีมากสุดประกอบด้วยโปรตีน และ rRNA มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 20 nm (200 อังสตรอม) และประกอบด้วย ribosomal RNA 65% และ ไรโบโซมอล โปรตีน35% (หรือ ไรโบนิวคลีโอโปรตีน หรือ RNP)เป็นสารเชิงซ้อนของ RNA และ โปรตีน ที่พบใน เซลล์ทุกชนิด ไรโบโซมจาก แบคทีเรีย, อาร์เคีย และ ยูคาริโอตมีโครงสร้างและ RNA ที่แตกต่างกัน ไรโบโซมในไมโตคอนเดรียของเซลล์ยูคาริโอตมีลักษณะคล้ายกับไรโบโซมของแบคทีเรีย ซึ่งเป็นการบอกถึงวิวัฒนาการของออร์แกแนลล์ชนิดนี้ ในแบคทีเรียมี 2 หน่วยย่อย คือ ขนาด 30S และ 50S ซึ่งจะรวมกันเป็นไรโบโซมขนาด 70S ส่วนในยูคาริโอต มี 2 หน่วยย่อย คือ ขนาด 40S และ 60S ซึ่งจะรวมกันเป็นไรโบโซมขนาด 80S หน้าที่คือเป็นแหล่งที่เกิดการอ่านรหัสจากยีนในนิวเคลียส ซึ่งถูกส่งออกจากนิวเคลียสในรูป mRNA มาสร้างเป็นโปรตีน การทำงานของไรโบโซมในการแสดงออกของยีนไปสู่การสร้างโปรตีนเรียกทรานสเลชัน ไรโบโซมยังทำหน้าที่ในการต่อกรดอะมิโนเดี่ยวให้เป็นพอลิเพปไทด์ โดยต้องมีการจับกับ mRNA และอ่านข้อมูลจาก mRNA เพื่อกำหนดลำดับของกรดอะมิโนให้ถูกต้อง การนำโมเลกุลของกรดอะมิโนเข้ามาเป็นการทำงานของ tRNA ซึ่งจับอยู่กับโมเลกุลของกรดอะมิโนอยู่ก่อนแล้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและไรโบโซม · ดูเพิ่มเติม »

ไอพอดชัฟเฟิล

อพอดชัฟเฟิล (iPod shuffle) เป็นเครื่องเล่นดนตรีแบบพกพาในสายการผลิตไอพอด ผลิตโดยบริษัทแอปเปิล โดยเปิดตัวในงาน Macworld ในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2548 และวางจำหน่ายในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ด้วยสโลแกนที่ว่า "Life is random" (ชีวิตคือการสุ่ม) ไอพอดชัฟเฟิลเป็นของที่ระลึกแก่ทีมงานที่ร่วมกันสร้างเรือวีนัส โดยไอพอดชัฟเฟิลนี้สลักชื่อเรือวีนัสที่หลังตัวเครื่องพร้อมกับการ์ดขอบคุณที่ระบุข้อความว่า "Thank you for your hard work and craftsmanship".

ใหม่!!: ภาษากรีกและไอพอดชัฟเฟิล · ดูเพิ่มเติม »

ไอยคุปต์

ำหรับเทพที่เกี่ยวข้องกับอียิปต์โบราณ ดูที่ ตำนานเทพเจ้าแห่งไอยคุปต์ ไอยคุปต์ เป็นคำศัพท์ที่คนไทยใช้เรียก อียิปต์สมัยโบราณ มีความหมายรวมถึง ชนชาติ ภาษา และวัฒนธรรม กล่าวโดยย่อคือ ใช้ทั้งในฐานะของคำนามและคุณศัพท์ ส่วนอียิปต์หลังยุคฟาโรห์ นิยมใช้คำว่า "อียิปต์" ตามปกต.

ใหม่!!: ภาษากรีกและไอยคุปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอออน

แผนภาพประจุอิเล็กตรอนของไนเตรตไอออน ไอออน คือ อะตอม หรือกลุ่มอะตอม ที่มีประจุสุทธิทางไฟฟ้าเป็นบวก หรือเป็นไอออนที่มีประจุลบ gaaจะมีอิเล็กตรอนในชั้นอิเล็กตรอน (electron shell) มากกว่าที่มันมีโปรตอนในนิวเคลียส เราเรียกไอออนชนิดนี้ว่า แอนไอออน (anion) เพราะมันถูกดูดเข้าหาขั้วแอโนด (anode) ส่วนไอออนที่มีประจุบวก จะมีอิเล็กตรอนน้อยกว่าโปรตอน เราเรียกว่า แคทไอออน (cation) เพราะมันถูกดูดเข้าหาขั้วแคโทด (cathode) กระบวนการแปลงเป็นไอออน และสภาพของการถูกทำให้เป็นไอออน เรียกว่า การแตกตัวเป็นไอออน (ionization) ส่วนกระบวนการจับตัวระหว่างไอออนและอิเล็กตรอนเข้าด้วยกัน จนเกิดเป็นอะตอมที่ดุลประจุแล้วมีความเป็นกลางทางไฟฟ้า เรียกว่า recombination แอนไอออนแบบโพลีอะตอมิก ซึ่งมีออกซิเจนประกอบอยู่ บางครั้งก็เรียกว่า "ออกซีแอนไอออน" (oxyanion) ไอออนแบบอะตอมเดียวและหลายอะตอม จะเขียนระบุด้วยเครื่องหมายประจุรวมทางไฟฟ้า และจำนวนอิเล็กตรอนที่สูญไปหรือได้รับมา (หากมีมากกว่า 1 อะตอม) ตัวอย่างเช่น H+, SO32- กลุ่มไอออนที่ไม่แตกตัวในน้ำ หรือแม้แต่ก๊าซ ที่มีส่วนของอนุภาคที่มีประจุ จะเรียกว่า พลาสมา (plasma) ซึ่งถือเป็น สถานะที่ 4 ของสสาร เพราะคุณสมบัติของมันนั้น แตกต่างไปจากของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและไอออน · ดูเพิ่มเติม »

ไฮยีน่า

ีนา (hyena; มาจากคำภาษากรีกโบราณว่า ὕαινα ออกเสียงว่า /ฮือไอนา/ หรือ /ฮือแอนา/) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กินเนื้อวงศ์หนึ่ง โดยใช้ชื่อวงศ์ว่า Hyaenidae ไฮยีนา มีลักษณะและรูปร่างโดยรวมคล้ายกับสุนัขหรือหมาป่า ซึ่งเป็นสัตว์กินเนื้อที่อยู่ในวงศ์ Canidae แต่ไฮยีนาก็ไม่ใช่สุนัข หากแต่เป็นสัตว์ที่อยู่ในวงศ์ของตนเองต่างหาก โดยอยู่ในอันดับย่อย Feliformia ซึ่งใกล้เคียงกับแมวและเสือ (Felidae) มากกว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและไฮยีน่า · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรโปนิกส์

รโปนิกส์ (Hydroponics) เป็นการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน นับเป็นวิธีการใหม่ในการปลูกพืช โดยเฉพาะการปลูกผักและพืชที่ใช้เป็นอาหาร เนื่องจากประหยัดพื้นที่ และไม่ปนเปื้อนกับสารเคมีต่างๆ ในดิน ทำให้ได้พืชผักที่สะอาดเป็นอาหาร ปัจจุบันนี้ในเทคนิคการปลูกพืชแบบไร้ดินหลายแบบด้วยกัน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและไฮโดรโปนิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรเจน

รเจน (Hydrogen; hydrogenium ไฮโดรเจเนียม) เป็นธาตุเคมีที่มีเลขอะตอม 1 สัญลักษณ์ธาตุคือ H มีน้ำหนักอะตอมเฉลี่ย 1.00794 u (1.007825 u สำหรับไฮโดรเจน-1) ไฮโดรเจนเป็นธาตุที่เบาที่สุดและพบมากที่สุดในเอกภพ ซึ่งคิดเป็นมวลธาตุเคมีประมาณร้อยละ 75 ของเอกภพ ดาวฤกษ์ในลำดับหลักส่วนใหญ่ประกอบด้วยไฮโดรเจนในสถานะพลาสมา ธาตุไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหาได้ค่อนข้างยากบนโลก ไอโซโทปที่พบมากที่สุดของไฮโดรเจน คือ โปรเทียม (ชื่อพบใช้น้อย สัญลักษณ์ 1H) ซึ่งมีโปรตอนหนึ่งตัวแต่ไม่มีนิวตรอน ในสารประกอบไอออนิก โปรเทียมสามารถรับประจุลบ (แอนไอออนซึ่งมีชื่อว่า ไฮไดรด์ และเขียนสัญลักษณ์ได้เป็น H-) หรือกลายเป็นสปีซีประจุบวก H+ ก็ได้ แคตไอออนหลังนี้เสมือนว่ามีเพียงโปรตอนหนึ่งตัวเท่านั้น แต่ในความเป็นจริง แคตไอออนไฮโดรเจนในสารประกอบไอออนิกเกิดขึ้นเป็นสปีซีที่ซับซ้อนกว่าเสมอ ไฮโดรเจนเกิดเป็นสารประกอบกับธาตุส่วนใหญ่และพบในน้ำและสารประกอบอินทรีย์ส่วนมาก ไฮโดรเจนเป็นส่วนสำคัญในการศึกษาเคมีกรด-เบส โดยมีหลายปฏิกิริยาแลกเปลี่ยนโปรตอนระหว่างโมเลกุลละลายได้ เพราะเป็นอะตอมที่เรียบง่ายที่สุดเท่าที่ทราบ อะตอมไฮโดรเจนจึงได้ใช้ในทางทฤษฎี ตัวอย่างเช่น เนื่องจากเป็นอะตอมที่เป็นกลางทางไฟฟ้าเพียงชนิดเดียวที่มีผลเฉลยเชิงวิเคราะห์ของสมการชเรอดิงเงอร์ การศึกษาการพลังงานและพันธะของอะตอมไฮโดรเจนได้มีบทบาทสำคัญในการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัม มีการสังเคราะห์แก๊สไฮโดรเจนขึ้นเป็นครั้งแรกในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 โดยการผสมโลหะกับกรดแก่ ระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษากรีกและไฮโดรเจน · ดูเพิ่มเติม »

ไฮเมเลีย (ดาวบริวาร)

มเลีย ภาพถ่ายโดยPerrine ไฮเมเลีย (Himalia; ออกเสียง: /haɪmeɪliə/ หรือ /hɪmɑːliə/ ในภาษากรีก: Ιμαλíα) เป็นดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มดาวบริวารผิดปกติของดาวพฤหัสบดี และเป็นดาวบริวารที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 6 ของดาวพฤหัสบดีทั้งหมด ถูกค้นพบโดย Charles Dillon Perrine ที่หอดูดาวเลีย เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 1904 และตั้งชื่อตาม ผีสางเทวดา Himalia ที่เจาะสามบุตรของ Zeus (เทียบเท่ากรีกของดาวพฤหัสบดี).

ใหม่!!: ภาษากรีกและไฮเมเลีย (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

ไฮเปอร์ไดมอนด์

ปอร์ไดมอนด์ (hyperdiamond) หรือ แอกกริเกตทิดไดมอนด์นาโนรอดส์ (Aggregated Diamond Nanorods) หรือ เอดีเอ็นอาร์เอส (ADNRs) เป็นสสารที่ความแข็ง ความแข็งตึง และความหนาแน่นที่สุดในโลก โดยแข็งกว่าเพชรหลายเท่า มีลักษณะคล้ายกับยางมะตอยหรือพุดดิงสีดำระยิบระยับมากกว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและไฮเปอร์ไดมอนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่ตง

ผ่ตง เป็นไผ่สกุลหนึ่งในวงศ์หญ้า (Poaceae) ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกว่า "δένδρον" (déndron) แปลว่า "ต้นไม้" และ "κάλαμος" แปลว่า "พืชจำพวกกกหรืออ้อย" รวมหมายถึง "อ้อยที่เป็นกอคล้ายต้นไม้" จึงสื่อถึงลักษณะของไผ่สกุลนี้ที่มีขนาดใหญ่และนิยมปลูกเพื่อการบริโภคหน่อ ไผ่สกุลนี้มีประมาณ 50 ชนิด ในจำนวนนี้พบในไทย 4 ชนิด กระจายพันธุ์ในเขตร้อนและกึ่งร้อนของทวีปเอเชีย โดยเฉพาะในเขตอินเดีย จีน อินโดนีเซีย พม่า ไทย มาเลเซีย และฟิลิปปิน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและไผ่ตง · ดูเพิ่มเติม »

ไทม์สแควร์

ูนย์กลางเศรษฐกิจ และความบันเทิงของโลก ไทม์สแควร์ (Times Square) เป็นจุดตัดสำคัญของถนนใน แมนฮัตตัน นครนิวยอร์ก โดยเป็นจุดตัดของถนนบรอดเวย์ กับ ถนนเซเวนท์ เอเวนิว อีกทั้งยังเป็นจุดที่อยู่ระหว่าง ถนนเวสต์ โฟตี เซเคอนด์ สตรีท กับ ถนนเวสต์ โฟตี เซเวนท์ สตรีท ซึ่งไทม์สแควร์ทอดตัวยาวอยู่บนพื้นที่ในบล็อกระหว่างถนนซิกท์ เอเวนิว กับ ถนนเอกท์ เอเวนิว ในความยาวแนวตะวันออก - ตะวันตก และอยู่บนพื้นที่ระหว่างถนนเวสต์ โฟตีท์ สตรีท กับ ถนนเวสต์ ฟิฟท์ตี เทิร์ด สตรีท ในแนวเหนือ - ใต้ โดยไทมสแควร์เองได้กลายเป็นจุดสำคัญจุดหนึ่งบนฝั่งตะวันตกของย่านธุรกิจการค้าในเขตมิดทาวน์ แมนฮัตตัน เดิมทีในอดีตไทม์สแควร์มีชื่อว่า ลองแกร์ สแควร์ โดยภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น ไทม์สแควร์ ภายหลังจากที่ได้มีการก่อสร้างตึกไทม์ (ปัจจุบัน:ตึกวันไทม์สแควร์) แล้วเสร็จ ซึ่งเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของหนังสือพิมพ์ เดอะนิวยอร์กไทมส์ ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1904 ไทม์สแควร์ได้กลายสถานะเป็นสถานที่ที่สำคัญของโลกและได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของนครนิวยอร์ก ซึ่งเป็นผลมาจากที่ไทม์สแควร์เป็นสถานที่ที่ดูทันสมัย ล้ำยุค เพราะมีจอโฆษณาขนาดใหญ่มากมายติดอยู่ตามบริเวณโดยรอบ นอกจากนี้ไทม์สแควร์ ยังเป็นจุดปลายสุดทางฝั่งตะวันออกของ ลินคอล์น ไฮเวย์ หรือ ทางหลวงลินคอล์น อันเป็นทางหลวงสายแรกที่ตัดผ่านสหรัฐอเมริกา บริเวณโดยรอ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและไทม์สแควร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทร์ (ประเทศเลบานอน)

ทร์ (Tyre) หรือ ศูร (صور; ฟินิเชีย: צור,; צוֹר, Tzor; ฮีบรูไทบีเรียส,; แอกแคด: 𒋗𒊒,; กรีก:, Týros; Sur; Tyrus) เป็นเมืองในเขตผู้ว่าการใต้ ทางตอนใต้ของประเทศเลบานอน มีประชากรราว 117,000 คน ในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและไทร์ (ประเทศเลบานอน) · ดูเพิ่มเติม »

ไทลาซีน

ทลาซีน (Thylacine;; มาจากภาษากรีก แปลว่า "มีหัวเหมือนสุนัขและมีกระเป๋าหน้าท้อง") หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ เสือแทสเมเนีย หรือ หมาป่าแทสมาเนีย (Tasmanian tiger, Tasmanian wolf) เนื่องจากมีลายทางที่หลังคล้ายเสือ และลักษณะคล้ายหมาป่าหรือสุนัข มีฟันแหลมคม และสามารถยืนด้วยสองขาหลังได้เหมือนจิงโจ้ ในอดีตไทลาซีนเคยเป็นสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้องประเภทกินเนื้อที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีถิ่นฐานอยู่ในออสเตรเลีย รัฐแทสเมเนีย และนิวกินี ไทลาซีนสูญพันธุ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยมีบันทึกไว้ว่า ไทลาซีนตัวสุดท้ายที่สวนสัตว์โฮบาร์ต ชื่อ "เบนจามิน" ได้ตายลงเมื่อวันที่ 7 กันยายน ค.ศ. 1936 เนื่องจากถูกละเลย ขาดการดูแลรักษา และถูกประกาศสถานะสูญพันธุ์โดย IUCN ในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและไทลาซีน · ดูเพิ่มเติม »

ไทแรนโนซอรัส

กะโหลกของ ไทแรนโนซอรัส นั้นมีขนาดใหญ่ที่สุด ในบรรดา ไดโนเสาร์กินเนื้อทั้งหมด ซึ่งความใหญ่ของกะโหลกวัดกันที่ความกว้าง หลังมีการค้นพบญาติร่วมวงศ์ตระกูลของทีเร็กซ์ ว่ามีขนปกคลุม ทำให้นักวิทยาศาตร์ ได้สันนิฐานว่า ทีเร็กซ์และญาติของมัน น่าจะมีขนปกคลุมตามตัว ไทแรนโนซอรัส หรือ ไทรันโนซอรัส (แปลว่า กิ้งก่าทรราชย์ มาจากภาษากรีก) เป็นสกุลหนึ่งของไดโนเสาร์ประเภทเทอโรพอด ชนิดเดียวที่เป็นที่รู้จักในสกุลนี้คือ ไทแรนโนซอรัส เรกซ์ (rex แปลว่า ราชา มาจากภาษาละติน) หรือเรียกอย่างย่อว่า ที.

ใหม่!!: ภาษากรีกและไทแรนโนซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ไข้รากสาดใหญ่

้รากสาดใหญ่ หรือ ไข้ไทฟัส เป็นกลุ่มของโรคติดเชื้อที่เกิดจากแบคทีเรีย โดยมีแมลงปรสิต (louse) เป็นพาหะ ชื่อโรคไทฟัสมาจากรากศัพท์ภาษากรีก typhos แปลว่าขี้เกียจหรือขุ่นมัว ซึ่งอธิบายสภาวะจิตใจของผู้ป่วยด้วยโรคนี้ เชื้อแบคทีเรียก่อโรคนี้คือเชื้อกลุ่มริกเก็ตเซีย (Rickettsia) ซึ่งเป็นปรสิตที่จำเป็นต้องอยู่ในเซลล์โฮสต์ตลอดเวลา ไม่มีวงชีพอิสระ เชื้อริกเก็ตเซียเป็นเชื้อที่ระบาดอยู่ในสัตว์พวกหนู และแพร่กระจายเข้าสู่มนุษย์โดยเห็บ เหา หมัด โลน หรือไร พาหะเหล่านี้จะเจริญได้ดีภายใต้ภาวะสุขลักษณะไม่ดีเช่นในเรือนจำ ค่ายผู้ลี้ภัย ในหมู่คนไร้บ้าน และในสนามรบช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในประเทศที่พัฒนาแล้วโรคไข้รากสาดใหญ่มักติดต่อผ่านทางหมัด ส่วนในเขตร้อนโรคนี้มักเข้าใจผิดว่าเป็นโรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อริกเก็ตเซียนอกจากจะมีไข้รากสาดใหญ่ประเภทต่างๆ ที่จะกล่าวถึงแล้วนั้น ยังมีโรคไข้พุพองเทือกเขาร็อกกี (Rocky Mountain spotted fever) และโรคไข้พุพอง (spotted fevers) ที่ระบาดในประเทศโคลอมเบียและบราซิล.

ใหม่!!: ภาษากรีกและไข้รากสาดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ไดโนเสาร์

นเสาร์ (dinosaur) เป็นชื่อเรียกโดยรวมของสัตว์ดึกดำบรรพ์ในอันดับใหญ่ Dinosauria ซึ่งเคยครองระบบนิเวศบนพื้นพิภพ ในมหายุคมีโซโซอิก เป็นเวลานานถึง 165 ล้านปี ก่อนจะสูญพันธุ์ ไปเมื่อ 65 ล้านปีที่แล้ว คนส่วนใหญ่เข้าใจว่าไดโนเสาร์เป็นสัตว์เลื้อยคลาน แต่อันที่จริงไดโนเสาร์เป็นสัตว์ในอันดับหนึ่งที่มีลักษณะก้ำกึ่งระหว่างสัตว์เลื้อยคลานและนก คำว่า ไดโนเสาร์ ในภาษาอังกฤษ dinosaur ถูกตั้งขึ้นโดย เซอร์ ริชาร์ด โอเวน นักบรรพชีวินวิทยา ชาวอังกฤษ ซึ่งเป็นการผสมของคำในภาษากรีกสองคำ คือคำว่า deinos (δεινός) (ใหญ่จนน่าสะพรึงกลัว) และคำว่า sauros (σαύρα) (สัตว์เลื้อยคลาน) หลายคนเข้าใจผิดว่า ไดโนเสาร์ คือสัตว์ที่อาศัยอยู่ในมหายุคมีโซโซอิกทั้งหมด แต่จริง ๆ แล้ว ไดโนเสาร์ คือสัตว์ชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่บนพื้นดินเท่านั้น สัตว์บกบางชนิดที่คล้ายไดโนเสาร์ สัตว์น้ำและสัตว์ปีกที่มีลักษณะคล้ายไดโนเสาร์ ไม่ถือว่าเป็นไดโนเสาร์ เป็นเพียงสัตว์ชนิดที่อาศัยอยู่ในยุคเดียวกับไดโนเสาร์เท่านั้น แม้ว่าไดโนเสาร์จะสูญพันธุ์ไปนานหลายล้านปีแล้ว แต่คำว่าไดโนเสาร์ก็ยังเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย ทั้งนี้อาจเป็นเพราะไดโนเสาร์นั้นนับว่าเป็นสัตว์ชนิดหนึ่ง ที่เต็มไปด้วยปริศนาและความน่าอัศจรรย์เป็นอันมากนั่นเอง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและไดโนเสาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไซเรน

ำหรับสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำจำพวกซาลาแมนเดอร์ ดูที่ ไซเรน จอห์น วิลเลี่ยม วาเตอร์เฮาส์ ไซเรน (Siren; กรีก: Σειρήν, Σειρῆνες) เป็นปีศาจในเทพปกรณัมกรีก โดยปรากฏบทบาทอย่างยิ่งจากตำนานเรื่องเจสันและเรืออาร์โกและโอดิสซีย์ ไซเรน มีลักษณะของสัตว์ผสม 3 อย่าง คือ คล้ายนางเงือก มีขาเป็นครีบปลา มีปีกและเสียงเหมือนนก แต่บ้างก็ว่า ไซเรน เป็นมนุษย์ครึ่งนกเหมือนกินร กินรี ในวรรณคดีไทย จากบทประพันธ์ตอนหนึ่ง ระบุว่า ไซเรน มีเสียงอันไพเราะ รูปร่างที่งดงามรองจากเงือกเล็กน้อย มีความสามารถในการสะกดจิตให้ผู้อื่น ทำตามในสิ่งที่ตนเองต้องการ เสียงของไซเรนไพเราะเพราะพริ้งจนทำให้คนที่เดินเรือผ่านมายังบริเวณใกล้เคียงที่ไซเรนอาศัยอยู่หลงทางเข้ามาตามเสียงเพลงของไซเรน ผู้ที่ทนฟังเสียงของนางไซเรนได้โดยไม่เสียสติจะได้รับปัญญาในการรู้จุดอ่อนของตน ในลุ่มแม่น้ำไรน์ในประเทศเยอรมนี มีอุบัติเหตุทางเรือเกิดขึ้นบ่อย ๆ เชื่อว่าเกิดจากไซเรน ที่เรียกว่า "ผู้หญิงแห่งแม่น้ำไรน์" ซึ่งปรากฏอยู่ในคติชนนิยมและวรรณกรรมต่าง ๆ ไซเรน ได้ถูกอ้างอิงถึงในวัฒนธรรมร่วมสมัยมากมาย เช่น เป็นตัวละครหนึ่งในการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง เซนต์เซย่า ที่ชื่อ ไซเรน โซเรนต.

ใหม่!!: ภาษากรีกและไซเรน · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ

้าหญิงเฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ (พระนามเต็ม: เฟรเดอริกา หลุยส์ ไธรา วิกตอเรีย โอลกา ซิซิลี อิสซาเบล คริสตินา; กรีก: Φρειδερίκη,18 เมษายน พ.ศ. 2460 - 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524) เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีพอลที่ 1 แห่งกรีซ พระนางจึงมีพระยศเป็นสมเด็จพระราชินีเฟรเดอริกาแห่งกรีซ (กรีก: Βασίλισσα Φρειδερίκη των Ελλήνων).

ใหม่!!: ภาษากรีกและเฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

เพกาซัส

รูปสลักนูนต่ำ เบลเลโรฟอนปราบไคเมร่า ด้วยการขี่เพกาซัส เพกาซัส (Pegasus; กรีก: Πήγασος; เปกาซอส หมายถึง "แข็งแรง") เป็นสัตว์ในเทพปกรณัมกรีก เป็นม้าเพศผู้รูปร่างกำยำพ่วงพีสีขาวบริสุทธิ์ และมีปีกอันกว้างสง่างามเหมือนนกพิราบ เพกาซัสเกิดมาจากนางกอร์กอน เมดูซ่า ซึ่งถูกวีรบุรุษเพอร์ซิอุสฟันคอ ในขณะที่เลือดจากลำคอพุ่งกระเซ็นนั้น เพกาซัสก็กระโจนออกมาจากลำคอของนาง เพกาซัสเป็นพี่ของคริสซาออร์ ซึ่งก็เกิดมาหลังจากนั้น ไม่มีใครสามารถปราบเพกาซัสได้เลย ตอนที่เพกาซัสเกิดมาใหม่ ๆ และออกวิ่งอย่างคึกคะนองนั้น น้ำที่กระเซ็นจากรอยเท้าที่เพกาซัสวิ่งก่อให้เกิดน้ำพุสวยงามที่เหล่ากวีและศิลปินชื่นชมกันนักหนา คือ น้ำพุฮิปโปครีนี ที่เป็นที่รู้จักในวรรณคดีกรีกโบราณ ว่ากันว่า หากใครได้ดื่มน้ำพุนี้แล้ว โอกาสที่จะเป็นกวีเอกอยู่แค่เอื้อม นอกจากนี้แล้วเพกาซัสยังทำหน้าที่คอยเก็บสายฟ้าให้ซุส เพกาซัสโดนปราบโดยเด็กหนุ่มรูปงามชาวเมืองโครินทร์ คือ เบลเลอโรฟอน เบลเลอโรฟอนเป็นโอรสของกษัตริย์เมืองโครินท์ คือ กลอคุส ซึ่งต่อมาเบลเลอโรฟอนได้ขี่เพกาซัสปราบสัตว์ประหลาดร้ายไคเมร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเพกาซัส · ดูเพิ่มเติม »

เพลโต

"แนวคิดหลักทางปรัชญาของยุโรป ล้วนแต่เป็นเชิงอรรถของเพลโต" -- อัลเฟรด นอร์ท ไวท์เฮด, Process and Reality, ค.ศ. 1929 เพลโต (ในภาษากรีก: Πλάτων Plátōn, Plato.) (427 - 347 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นนักปรัชญาชาวกรีกโบราณที่มีอิทธิพลอย่างสูงต่อแนวคิดตะวันตก เขาเป็นลูกศิษย์ของโสกราตีส เป็นอาจารย์ของอริสโตเติล เป็นนักเขียน และเป็นผู้ก่อตั้งอาคาเดมีซึ่งเป็นสำนักวิชาในกรุงเอเธนส์ เพลโตใช้เวลาส่วนใหญ่สอนอยู่ที่อาคาเดมี แต่เขาก็ได้เขียนเกี่ยวกับปัญหาทางปรัชญาไว้เป็นจำนวนมาก โลกปัจจุบันรู้จักเขาผ่านทางงานเขียนที่หลงเหลืออยู่ ที่ถูกนำขึ้นมาแปลและจัดพิมพ์เป็นในช่วงการเคลื่อนไหวด้านมนุษยนิยม งานเขียนของเพลโตนั้นส่วนมากแล้วเป็นบทสนทนา คำคม และจดหมาย ผลงานที่เป็นที่รู้จักของเพลโตนั้นหลงเหลืออยู่ทั้งหมด อย่างไรก็ตามชุดรวมงานแปลปัจจุบันของเพลโตมักมีบางบทสนทนาที่นักวิชาการจัดว่าน่าสงสัย หรือคิดว่ายังขาดหลักฐานที่จะยอมรับว่าเป็นของแท้ได้ ในบทสนทนาของเพลโลนั้น บ่อยครั้งที่มีโสกราตีสเป็นตัวละครหลัก ซึ่งเป็นสิ่งที่สร้างความสับสนว่าความเห็นส่วนใดเป็นของโสกราตีส และส่วนใดเป็นของเพลโต.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเพลโต · ดูเพิ่มเติม »

เพอริสโตม

แผนภาพแสดงตำแหน่งเพอริสโตมใน Sarracenia เพอริสโตม ได้มาจากภาษากรีก peri ที่หมายถึง 'โอบล้อม' หรือ 'เกี่ยวกับ' และ stoma ที่หมายถึง 'ปาก' มันถูกใช้ในการพรรณาแบ่งแยกทางโครงสร้างของพืชและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอย่างสัตว์จำพวกหอย หมวดหมู่:กายวิภาคศาสตร์ของพืช หมวดหมู่:พฤกษศาสตร์.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเพอริสโตม · ดูเพิ่มเติม »

เพปไทด์

ปไทด์ เพปไทด์ (peptide มาจากภาษากรีก πεπτίδια) คือสายพอลิเมอร์ของกรดอะมิโนที่มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเพปไทด์ ปลายด้านที่มีหมู่อะมิโนเป็นอิสระเรียกว่าปลายเอ็น (N-terminal) ส่วนปลายที่มีหมู่คาร์บอกซิลเป็นอิสระเรียกว่าปลายซี (C-terminal) การเรียกชื่อเพปไทด์จะเรียกตามลำดับกรดอะมิโนจากปลายเอ็นไปหาปลายซี เพปไทด์ขนาดเล็กหลายชนิดมีความสำคัญในสิ่งมีชีวิต เช่น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเพปไทด์ · ดูเพิ่มเติม »

เพนเทียม

นเทียม (Pentium) เป็นเครื่องหมายการค้าและแบรนด์ของผลิตภัณฑ์ไมโครโพรเซสเซอร์ x86 หลายตัวจากบริษัทอินเทล เพนเทียมเปิดตัวครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยใช้สถาปัตยกรรม P5 และมีการพัฒนาต่อเนื่องโดยชิปตัวใหม่ที่ออกมาจะใช้ชื่อรหัสตามหลังคำว่าเพนเทียมเช่น เพนเทียมโปร หรือ เพนเทียมดูอัล-คอร์ จนกระทั่งในปี 2553 ทางอินเทลได้เปลี่ยนระบบการเรียกชื่อชิปในตระกูลเพนเทียมทั้งใหม่หมดให้ใช้เพียงแค่คำว่า "เพนเทียม" โดยไม่มีคำใดต่อท้าย แม้ว่าเพนเทียมถูกออกแบบมาให้เป็นรุ่นที่ 5 ที่ใช้สถาปัตยกรรม P5 ชิปที่พัฒนาต่อมาได้มีการนำสถาปัตยกรรมตัวใหม่ที่นำมาพัฒนามาใช้ภายใต้ชื่อตระกูลเพนเทียม เช่น P6, เน็ตเบิรสต์, คอร์, เนเฮเลม และล่าสุดคือสถาปัตยกรรมแซนดีบริดจ์ ในปี 2541 เพนเทียมได้ถูกจัดให้เป็นซีพียูสำหรับตลาดบนของทางอินเทลเมื่อบริษัทได้เปิดตัวแบรนด์เซเลรอน เพื่อใช้สำหรับคอมพิวเตอร์ราคาประหยัด ที่ประสิทธิภาพลดลงมา จนกระทั่งในปี 2549 อินเทลได้เปิดตัวตระกูลคอร์ โดยออกมาในชื่อ อินเทล คอร์ 2 ทำให้สถานะทางการตลาดของเพนเทียมอยู่ในระดับกลาง รองจากตระกูลคอร์แต่อยู่สูงกว่าตระกูลเซเลรอน โดยในปัจจุบันชื่อเพนเทียมเป็นชิปที่อยู่ในราคากลางโดยอยู่ระหว่างอินเทลคอร์และอินเทลเซเลรอน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเพนเทียม · ดูเพิ่มเติม »

เกรฟแอกเซนต์

กรฟแอกเซนต์ (grave accent) เรียกย่อว่า เกรฟ (grave) เป็นเครื่องหมายเสริมสัทอักษรชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นขีดเล็ก ๆ เฉียงลงขวาอยู่เหนืออักษร (`) ใช้เขียนกำกับอักษรละตินเพื่อใช้ในภาษาต่าง ๆ อาทิ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี ภาษาดัตช์ ภาษาโปรตุเกส ภาษานอร์เวย์ ภาษาเวียดนาม ฯลฯ กำกับอักษรกรีกในภาษากรีก (ใช้จนถึง ค.ศ. 1982) หรือใช้กำกับอักษรอื่น ๆ ด้วยจุดประสงค์ที่แตกต่างกันไป ทั้งการเปลี่ยนระดับเสียง การแปรเสียง การเน้นเสียง หรือการแยกแยะคำ เป็นต้น คำว่า grave มาจากภาษาละติน gravis แปลว่า หนัก ในภาษาอังกฤษมีการอ่านว่า กราฟ เพิ่มเข้ามาเพื่อให้แตกต่างจากคำว่า grave เกรฟ ที่แปลว่า ร้ายแรง หรือหลุมศพ ซึ่งเลียนแบบมาจากภาษาฝรั่งเศส accent grave อักซอง กราฟ แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์มีแป้นเกรฟอยู่บริเวณมุมบนซ้ายของผัง บางภูมิภาคใช้ร่วมกับแป้นตาย (dead key) เพื่อประสมกับอักษร บางภูมิภาคใช้เพื่อสลับภาษาป้อนเข้า (คนไทยเรียก "ปุ่มตัวหนอน" ซึ่งเป็นปุ่มเดียวกับทิลเดอ) วงการโปรแกรมเมอร์เรียกเครื่องหมายนี้ว่า แบ็กโควต (back quote) หรือแบ็กทิก (backtick) ในยูนิโคดมีทั้งรูปแบบเดี่ยว (U+0060 `) และตัวผสาน (U+0300 ◌̀).

ใหม่!!: ภาษากรีกและเกรฟแอกเซนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เกเลน

วาดเกเลนในศตวรรษที่ 18 โดยเกออร์ก เพาล์ บัสช์ เกเลน (Galen; Γαληνός, Galēnos; Claudius Galenus; ค.ศ. 129 - ประมาณ ค.ศ. 200 หรือ 216) แห่งเพอร์กามอน เป็นแพทย์ชาวกรีกซึ่งมีอิทธิพลต่อวิทยาศาสตร์การแพทย์ของตะวันตกมาเป็นเวลานานกว่าพันปี ชื่อหน้า "Claudius" ซึ่งไม่ได้ระบุเอาไว้ในเอกสารภาษากรีก ปรากฏอยู่ในเอกสารในยุคฟื้นฟูศิลปวิท.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเกเลน · ดูเพิ่มเติม »

เภสัชเวท

ัชเวท (Pharmacognosy) เป็นศาสตร์ทางเภสัชศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับยาอันมีที่มาจากแหล่งธรรมชาติ เภสัชเวทสมาคมแห่งสหรัฐอเมริกาได้ให้คำจำกัดความของเภสัชเวทไว้ว่า "เป็นการศึกษาลักษณะทางกายภาพ, เคมี, ชีวเคมี และคุณสมบัติทางชีวภาพของยา, สารที่นำมาใช้เป็นยาที่มีที่มาจากธรรมชาติ และการวิจัยค้นพบยาใหม่จากแหล่งธรรมชาติ" สมุนไพรที่นำมาใช้เป็นยาได้ภายหลังผ่านกระบวนการทางเภสัชกรรมเราเรียกว่า "เครื่องยา" โดยมีการจัดจำแนกตามคุณสมบัติของเครื่องยาตามวิธีการของศาสตร์ต่างๆ อาทิ เภสัชวิทยา, กลุ่มสารเคมี, การเรียงลำดับตามตัวอักษรละตินและภาษาอังกฤษ เป็นต้น เภสัชเวทเป็นหนึ่งในศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดศาสตร์หนึ่งของทางการแพทย์ และนับเป็นต้นกำเนิดของวิชาเภสัชศาสตร์ ในสมัยโบราณมีการใช้ยาจากธรรมชาติในการบำบัดรักษาเสียทั้งสิ้น ก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรมซึ่งนำมาสู่การสังเคราะห์ยาจากสารเคมีทดแทนวิธีการทางธรรมชาติ อย่างไรก็ดี ในปัจจุบันมีความนิยมการใช้ยาสมุนไพรมากขึ้น ทำให้เภสัชเวทเป็นอีกศาสตร์หนึ่งที่ได้รับการส่งเสริมในปัจจุบัน เภสัชเวทยังครอบคลุมไปถึงการประยุกต์ใช้ทางการแพทย์เช่น ไฟเบอร์, ยาง ในการศัลยกรรมรักษา และการใช้เพื่อควบคุมภูมิคุ้มกันในร่างกาย รวมถึงการใช้เป็นสารปรุงแต่งทางเภสัชกรรม, เครื่องสำอาง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเภสัชเวท · ดูเพิ่มเติม »

เมกะ

มกะ (Mega, สัญลักษณ์ M) เป็นคำนำหน้าหน่วยที่ใช้ในระบบเมตริก ที่เรียกกันว่า คำอุปสรรคเอสไอ แสดงถึงค่าหนึ่งล้าน (106 หรือ 1000000) คำดังกล่าวเริ่มใช้อย่างเป็นทางการในระบบเอสไอตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและเมกะ · ดูเพิ่มเติม »

เมกะลาเนีย

มกะลาเนีย (Megalania; ชื่อวิทยาศาสตร์: Varanus priscus) เป็นสัตว์เลื้อยคลานกินเนื้อขนาดใหญ่ในวงศ์เดียวและสกุลเดียวกับเหี้ยในปัจจุบัน ซึ่งเมกะลาเนียได้สูญพันธุ์ไปแล้ว แต่ทว่า เมกะลาเนีย นั้นมีขนาดใหญ่ได้มากถึง 5.5 เมตร และหนักได้ถึง 600 กิโลกรัม ซึ่งเท่ากับว่าใหญ่กว่ามังกรโคโมโด สัตว์ในวงศ์เหี้ยขนาดใหญ่ที่สุดที่ยังสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันนี้ถึง 2 เท่า เมกะลาเนีย อาศัยอยู่บริเวณที่เป็นทวีปออสเตรเลียในปัจจุบัน และได้สูญพันธุ์ไปเมื่อ 45,000-50,000 ปีก่อน ในปลายยุคเพลสโตซีน หรือ ยุคสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมยุคน้ำแข็ง เชื่อว่าเมกะลาเนีย มีพฤติกรรมและมีพิษในน้ำลายเช่นเดียวกับมังกรโคโมโดในปัจจุบัน และเชื่อว่าเมกะลาเนียยังเป็นสัตว์นักล่าที่น่ากลัวมากอีกด้วย เนื่องจากมีกรามที่ใหญ่และฟันที่แหลมคมมากในปากและอาหารโปร่ดเมกะลาเนียคือ ไดโปรโตดอนสึงมันยังมีคู่แข่งอย่า สิงโตมาซูเพียล หรือ สิงโตมีกระเป๋าหน้าท้อง อีกด้วย สำหรับคำว่าเมกะลาเนียนั้นตั้งโดย เซอร์ริชาร์ด โอเวน นักบรรพชีวินวิทยาชาวอังกฤษ ซึ่งเป็นผู้ที่ศึกษามัน และตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ให้แก่มันด้วย โดยมาจากภาษากรีก ที่มีความหมายว่า "ผู้เดินทางที่ยิ่งใหญ่ในอดีต".

ใหม่!!: ภาษากรีกและเมกะลาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เมทา

มทา (meta) “Meta-” เป็นคำอุปสรรค (Prefix) ที่มาจากภาษากรีก หมายถึง “About” ในภาษาไทยที่ใช้กันคือ อภิ มีความหมายคือ "ยิ่ง" "ใหญ่" "ทับ" เพื่อบ่งบอกหรือขยายความหมายของคำที่ตามมา เช่นคำที่เราคุ้นเคยในภาษาบาลี สันสกฤต อภิธมฺม หรือ อภิธรรม คือ "ธรรมวิเศษ" ซึ่งบ่งบอกถึงธรรมคำสอนที่มีความยิ่งใหญ่กว่าธรรมหรือคำสอนโดยทั่วไป เมื่อนำมาประกอบกับคำว่า “Data” ซึ่งเป็นคำพหูพจน์ (Plural) ของคำว่า “Datum” ที่มาจากภาษาละติน จึงแปลความหมายตรงตัวได้ว่า ข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลอีกชุดหนึ่ง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเมทา · ดูเพิ่มเติม »

เมแทบอลิซึม

กระบวนการสร้างและสลาย หรือ เมแทบอลิซึม (metabolism) มาจากภาษากรีก μεταβολή ("metabolē") มีความหมายว่า "เปลี่ยนแปลง" เป็นกลุ่มปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในเซลล์สิ่งมีชีวิตเพื่อค้ำจุนชีวิต วัตถุประสงค์หลักสามประการของเมแทบอลิซึม ได้แก่ การเปลี่ยนอาหารและเชื้อเพลิงให้เป็นพลังงานในการดำเนินกระบวนการของเซลล์ การเปลี่ยนอาหารและเชื้อเพลิงเป็นหน่วยย่อยของโปรตีน ลิพิด กรดนิวคลิอิกและคาร์โบไฮเดรตบางชนิด และการขจัดของเสียไนโตรเจน ปฏิกิริยาเหล่านี้มีเอนไซม์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เพื่อให้สิ่งมีชีวิตเติบโตและเจริญพันธุ์ คงไว้ซึ่งโครงสร้างและตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม "เมแทบอลิซึม" ยังสามารถหมายถึง ผลรวมของปฏิกิริยาเคมีทั้งหมดที่เกิดในสิ่งมีชีวิต รวมทั้งการย่อยและการขนส่งสสารเข้าสู่เซลล์และระหว่างเซลล์ กลุ่มปฏิกิริยาเหล่านี้เรียกว่า เมแทบอลิซึมสารอินเทอร์มีเดียต (intermediary หรือ intermediate metabolism) โดยปกติ เมแทบอลิซึมแบ่งได้เป็นสองประเภท คือ แคแทบอลิซึม (catabolism) ที่เป็นการสลายสสารอินทรีย์ ตัวอย่างเช่น การสลายกลูโคสให้เป็นไพรูเวต เพื่อให้ได้พลังงานในการหายใจระดับเซลล์ และแอแนบอลิซึม (anabolism) ที่หมายถึงการสร้างส่วนประกอบของเซลล์ เช่น โปรตีนและกรดนิวคลีอิก ทั้งนี้ การเกิดแคแทบอลิซึมส่วนใหญ่มักมีการปลดปล่อยพลังงานออกมา ส่วนการเกิดแอแนบอลิซึมนั้นจะมีการใช้พลังงานเพื่อเกิดปฏิกิริยา ปฏิกิริยาเคมีของเมแทบอลิซึมถูกจัดอยู่ในวิถีเมแทบอลิซึม (metabolic pathway) ซึ่งสารเคมีชนิดหนึ่งๆ จะถูกเปลี่ยนแปลงหลายขั้นตอนจนกลายเป็นสารชนิดอื่น โดยอาศัยการเข้าทำปฏิกิริยาของใช้เอนไซม์หลายชนิด ทั้งนี้ เอนไซม์ชนิดต่างๆ นั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเกิดเมแทบอลิซึม เพราะเอนไซม์จะเป็นตัวกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาเคมีเหล่านั้น โดยการเข้าจับกับปฏิกิริยาที่เกิดเองได้ (spontaneous process) อยู่แล้วในร่างกาย และหลังการเกิดปฏิกิริยาจะมีปลดปล่อยพลังงานออกมา พลังงานที่เกิดขึ้นนี้จะถูกนำไปใช้ในปฏิกิริยาเคมีอื่นของสิ่งมีชีวิตที่ไม่อาจเกิดขึ้นได้เองหากปราศจากพลังงาน จึงอาจกล่าวได้ว่า เอนไซม์ทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ทำให้ปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ของร่างกายดำเนินไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ เอนไซม์ยังทำหน้าที่ควบคุมวิถีเมแทบอลิซึมในกระบวนการการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในสิ่งแวดล้อมของเซลล์หรือสัญญาณจากเซลล์อื่น ระบบเมแทบอลิซึมของสิ่งมีชีวิตจะเป็นตัวกำหนดว่า สารใดที่มีคุณค่าทางโภชนาการและเป็นพิษสำหรับสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ตัวอย่างเช่น โปรคาริโอตบางชนิดใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์เป็นสารอาหาร ทว่าแก๊สดังกล่าวกลับเป็นสารที่ก่อให้เกิดพิษแก่สัตว์ ทั้งนี้ ความเร็วของเมแทบอลิซึม หรืออัตราเมแทบอลิกนั้น ส่งผลต่อปริมาณอาหารที่สิ่งมีชีวิตต้องการ รวมไปถึงวิธีที่สิ่งมีชีวิตนั้นจะได้อาหารมาด้วย คุณลักษณะที่โดดเด่นของเมแทบอลิซึม คือ ความคล้ายคลึงกันของวิถีเมแทบอลิซึมและส่วนประกอบพื้นฐาน แม้จะในสปีชีส์ที่ต่างกันมากก็ตาม ตัวอย่างเช่น กลุ่มกรดคาร์บอกซิลิกที่ทราบกันดีว่าเป็นสารตัวกลางในวัฏจักรเครปส์นั้นพบได้ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่มีการศึกษาในปัจจุบัน ตั้งแต่สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวอย่างแบคทีเรีย Escherichia coli ไปจนถึงสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ขนาดใหญ่อย่างช้าง ความคล้ายคลึงกันอย่างน่าประหลาดใจของวิถีเมแทบอลิซึมเหล่านี้เป็นไปได้ว่าอาจเป็นผลเนื่องมาจากวิถีเมแทบอลิซึมที่ปรากฏขึ้นในช่วงแรกของประวัติศาสตร์วิวัฒนาการ และสืบมาจนถึงปัจจุบันเพราะประสิทธิผลของกระบวนการนี้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเมแทบอลิซึม · ดูเพิ่มเติม »

เม็ดเลือดแดง

ซลล์เม็ดเลือดแดงในร่างกายมนุษย์ เม็ดเลือดแดง (red blood cell, Erythrocyte: มาจากภาษากรีก โดย erythros แปลว่า "สีแดง" kytos แปลว่า "ส่วนเว้า" และ cyte แปลว่า "เซลล์") มีหน้าที่ในการส่งถ่ายออกซิเจนไปเลี้ยงเซลล์ต่าง ๆ ทั่วร่างกาย เม็ดเลือดแดงมีขนาดประมาณ 6-8 ไมครอน มีลักษณะค่อนข้างกลม เว้าบริเวณกลางคล้ายโดนัท ไม่มีนิวเคลียส มีสีแดง เนื่องจากภายในมีสารฮีโมโกลบิน โดยในกระแสเลือดคนปกติจะพบเม็ดเลือดแดงที่เจริญเติบโตเต็มที่ (Mature red cell) มีเพียงไม่เกิน 2% ที่สามารถพบเม็ดเลือดแดงตัวอ่อน (Reticulocyte) ได้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเม็ดเลือดแดง · ดูเพิ่มเติม »

เยื่ออะแร็กนอยด์

ื่อหุ้มสมองชั้นกลาง หรือ เยื่ออะแร็กนอยด์ (Arachnoid mater) เป็นหนึ่งในชั้นของเยื่อหุ้มสมองและไขสันหลัง อยู่ระหว่างชั้นเยื่อดูรา (dura mater) ที่อยู่ด้านบนและเยื่อเพีย (pia mater) ที่อยู่ด้านล่างลึกลงไป โดยมีช่องว่างระหว่างเยื่อเพียและเยื่ออะแร็กนอยด์เรียกว่า ช่องว่างใต้เยื่ออะแร็กนอยด์ (subarachnoid space) เยื่ออะแร็กนอยด์มีลักษณะบาง คล้ายกับใยแมงมุม ยึดติดกับด้านในของเยื่อดูรา หุ้มรอบสมองและไขสันหลังแต่ไม่ได้แนบไปกับร่องหรือรอยพับของสมอง ข้างใต้เยื่อนี้ลงไปจะมีน้ำหล่อสมองไขสันหลัง (cerebrospinal fluid) อยู่ภายในช่องว่างใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง (subarachnoid space) ซึ่งเต็มไปด้วยเส้นใยละเอียดของเยื่ออะแร็กนอยด์ยื่นลงไปยึดกับเยื่อเพีย ส่วนของเยื่ออะแร็กนอยด์ที่คลุมรอบสมองและไขสันหลังเรียกอย่างเฉพาะเจาะจงว่า arachnoidea encephali และ arachnoidea spinalis ตามลำดับ ในบางครั้งเราอาจเรียกเยื่ออะแร็กนอยด์และเยื่อเพียรวมเป็นโครงสร้างเดียวกัน เรียกว่า "เลปโตเมนิงซ์" (leptomeninges; มาจากรากศัพท์ภาษากรีก Lepto- แปลว่า บาง) และเรียกชั้นเยื่อดูราว่า "แพคีเมนิงซ์" (pachymeninx).

ใหม่!!: ภาษากรีกและเยื่ออะแร็กนอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

เรขาคณิต

รขาคณิต (Geometry; กรีก: γεωμετρία; geo.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเรขาคณิต · ดูเพิ่มเติม »

เลียงผา

ลียงผา หรือ เยียงผา หรือ โครำ (Serows; อีสาน: เยือง) เป็นสกุลของสัตว์กีบคู่สกุลหนึ่ง ในวงศ์ Bovidae วงศ์ย่อย Caprinae คือ วงศ์เดียวกับแพะและแกะ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Capricornis (/แคป/-ปริ-คอร์-นิส/).

ใหม่!!: ภาษากรีกและเลียงผา · ดูเพิ่มเติม »

เวทมนตร์ใน คุณครูจอมเวท เนกิมะ!

ทความนี้อธิบายเวทมนตร์ต่างๆ ที่ปรากฏอยู่ในการ์ตูนเรื่อง คุณครูจอมเวท เนกิมะ!.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเวทมนตร์ใน คุณครูจอมเวท เนกิมะ! · ดูเพิ่มเติม »

เสือชีตาห์

ือชีตาห์ (Cheetah) เป็นเสือเล็กชนิดหนึ่ง เนื่องไม่สามารถส่งเสียงคำรามได้ แต่จากรูปร่างภายนอก ทำให้นิยมเรียกกันว่า เสือชีตาห์ เสือชีตาห์มีที่อยู่อาศัยในทุ่งหญ้าสะวันนา เป็นสัตว์ที่วิ่งได้เร็วมากวิ่งได้เร็วประมาณ 110–120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จัดเป็นสัตว์บกที่วิ่งเร็วที่สุดในโลก เป็นผลมาจากความสามารถในการโค้งงอของกระดูกสันหลังในการเคลื่อนที่และเมื่อพุ่งตัวกระดูกสันหลังจะเหยียดออก ปัจจุบันเสือชีตาห์ลดจำนวนลงในทวีปเอเชียเหลืออยู่แค่ในอิหร่านไม่เกิน 20 ตัว ส่วนในแอฟริกาประมาณการว่าเหลืออยู่ราว 4,000 ตัวเท่านั้น เสือชีตาห์มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Acinonyx jubatus และจัดเป็นสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์เดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Acinonyx ที่ยังสืบเผ่าพันธุ์จนถึงปัจจุบัน เนื่องจากเสือชีตาห์ชนิดอื่น ๆ นั้นได้สูญพันธุ์ไปหมดในยุคน้ำแข็งสุดท้าย จึงทำให้สายพันธุ์กรรมของเสือชีตาห์ทั้งหมดในปัจจุบันใกล้ชิดกันมาก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเสือชีตาห์ · ดูเพิ่มเติม »

เสือลายเมฆ

ือลายเมฆ (Clouded leopard) เสือใหญ่ประเภทหนึ่ง อยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae).

ใหม่!!: ภาษากรีกและเสือลายเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง

ียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง (voiceless velar fricative) เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่น ภาษาเยอรมัน, ภาษาสเปน, ภาษาโปรตุเกส, ภาษารัสเซีย, ภาษาจีนกลาง ฯลฯ แต่ไม่มีเสียงนี้ในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ /x/ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ x เสียงนี้เป็นเสียงหนึ่งในบรรดาเสียงพยัญชนะในภาษาอังกฤษเก่า และยังคงปรากฏในบางภาษาถิ่นของภาษาอังกฤษปัจจุบัน หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่างประเทศของราชบัณฑิตยสถานได้กำหนดให้เขียนทับศัพท์เสียง /x/ ในทุกภาษา (เท่าที่ได้กำหนดหลักเกณฑ์ไว้) ด้วย ค ยกเว้นภาษาอังกฤษให้ใช้ ก เมื่อเป็นตัวสะกด ส่วนภาษาจีนและภาษารัสเซียให้ใช้ ฮ อย่างไรก็ตาม ในการทับศัพท์ภาษารัสเซียนั้น ปัจจุบันนิยมใช้ ค แทนเสียงนี้ แม้แต่ในสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ที่มาจากราชบัณฑิตยสถานเอง ส่วนภาษาสเปน (ซึ่งพบเสียงนี้เป็นตัวสะกดท้ายพยางค์ไม่บ่อยนัก) บางคนนิยมทับศัพท์เสียงนี้ด้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เส้นทแยงมุม

้นทแยงมุมในทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก เส้นทแยงมุม หมายถึงเส้นตรงที่ลากผ่านจุดยอดสองจุดที่ไม่อยู่ติดกันบนรูปหลายเหลี่ยมหรือทรงหลายหน้า หรือในบริบทอื่นจะหมายถึงเส้นตรงที่เฉียงขึ้นหรือเฉียงลง คำว่า diagonal ในภาษาอังกฤษ มีที่มาจากภาษากรีก διαγωνιος (diagonios) ประกอบด้วย dia- แปลว่า "ทะลุหรือข้าม" และ gonia แปลว่า "มุม" จากนั้นจึงมีการยืมไปใช้ไปเป็นภาษาละติน diagonus แปลว่า "เส้นเอียง" ในทางคณิตศาสตร์ คำว่าเส้นทแยงมุมมีการใช้ในเมทริกซ์ แทนกลุ่มของสมาชิกที่อยู่บนเส้นทแยงมุมสมมติของเมทริกซ์ และเพื่อให้ความหมายของเมทริกซ์ทแยงมุม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเส้นทแยงมุม · ดูเพิ่มเติม »

เห็ดเผาะ

ห็ดเผาะ หรือ เห็ดถอบ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Astraeus hygrometricus) เป็นเห็ดราชนิดหนึ่งในวงศ์ Diplocystaceae เมื่ออ่อนและดอกยังไม่เปิดมีลักษณะคล้ายเห็ดราในหมวด Basidiomycota กล่าวคือเป็นลูกกลม เมื่อโตขึ้นดอกเห็ดมีลักษณะเป็นรูปดาวซึ่งเป็นผลมาจากเนื้อเยื่อชันนอกของสปอโรคาร์ปแตกออก เห็ดเผาะเป็นเห็ดชนิดไมคอไรซาที่เติบโตร่วมกับต้นไม้หลายชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในดินร่วนปนทราย เห็ดเผาะมีการกระจายพันธุ์ทั่วโลกในเขตอบอุ่นและเขตร้อน ชื่อสามัญ (hygroscopic earthstar) มาจากมันมีคุณสมบัติไฮโกรสโคปิก (ดูดซับน้ำ) เห็ดจะเปิดดอกวงนอกเผยถุงสปอร์เมื่อมีความชื้นเพิ่มขึ้นและปิดอีกครั้งเมื่อแห้ง ดอกวงนอกจะแตกแบบไม่สม่ำเสมอที่ผิว ขณะที่ถุงสปอร์เป็นสีน้ำตาลอ่อนมีรอยฉีกยาวบริเวณด้านบน เกลบา (gleba) เริ่มแรกมีสีขาวและกลายเป็นสีน้ำตาลและเป็นผงเมื่อสปอร์เจริญเต็มที่ สปอร์มีสีน้ำตาลแดง เกือบกลม มีปุ่มเล็กๆ มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 7.5–11 ไมโครเมตร แม้ว่าจะมีลักษณะภายนอกคล้ายกัน แต่เห็ดเผาะไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเห็ดราในสกุล Geastrum ถึงในอดีตจะมีการจัดอนุกรมวิธานไว้ในสกุลนี้ก็ตาม เห็ดชนิดนี้ได้รับการจัดจำแนกครั้งแรกโดยคร้สติน เฮนดริก เพอร์ซูน (Christiaan Hendrik Persoon) ในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและเห็ดเผาะ · ดูเพิ่มเติม »

เอชทีซี วัน

อชทีซี วัน (HTC One) เป็นสมาร์ตโฟน ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ผลิตโดยเอชทีซี โดยเปิดตัวในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: ภาษากรีกและเอชทีซี วัน · ดูเพิ่มเติม »

เอมิล เคร็บส์

อมิล เคร็บส์ (เกิดในวันที่ 15 พฤศจิกายน 1867 ใน Freiburg, Schlesien เสียชีวิตเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 1930 ในกรุงเบอร์ลิน) – ชาวเยอรมันที่เป็นต้นแบบการเรียนรู้หลายภาษา (พูดได้หลายภาษา) เป็นบุตรชายของช่างไม้ แหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือแห่งหนึ่งได้เปิดเผยว่าเขาเข้าใจ 68 ภาษาในการพูดหรือการเขียนได้ในระดับดี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเอมิล เคร็บส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอรัสมุส

อรัสมุส เมื่อ พ.ศ. 2066 วาดโดยฮันส์ ฮอลไบน์ (ผู้ลูก) เดซีเดริอุส เอรัสมุส โรเตโรดามุส (Desiderius Erasmus Roterodamus) หรือ เดซีเดริอุส เอรัสมุส แห่งรอตเทอร์ดามเอรัสมุส เป็นชื่อเมื่อเขารับศีลล้างบาป โดยตั้งตามนักบุญเอรัสม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเอรัสมุส · ดูเพิ่มเติม »

เอริก ซาตี

ล้อเลียนตนเอง วาดโดยเอริก ซาตี เอริก ซาตี (Erik Satie) เป็นคีตกวี นักเปียโน และนักประพันธ์ชาวฝรั่งเศส ชื่อเดิม เอริก อาลแฟรด เลลี ซาตี (Éric Alfred Leslie Satie) เกิดที่เมืององเฟลอร์ จังหวัดกาลวาโดส วันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2409 (ค.ศ. 1866) เสียชีวิตที่กรุงปารีส วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2468 (ค.ศ. 1925).

ใหม่!!: ภาษากรีกและเอริก ซาตี · ดูเพิ่มเติม »

เอสเอ็มเอฟ

อสเอ็มเอฟ (SMF ย่อมาจาก Simple Machines Forum) เป็นโปรแกรมระบบกระดานสนทนาหรือที่นิยมเรียกกันว่าเว็บบอร์ดบนอินเทอร์เน็ตแบบโอเพนซอร์ส ทำงานด้วยภาษาพีเอชพี ควบคู่กับระบบฐานข้อมูล โดยรับรองการทำงานของฐานข้อมูลหลากหลายชนิด ได้แก่ MySQL, SQLite หรือ PostgreSQL ด้วยความที่ใช้ภาษาพีเอชพีในการพัฒนา รวมถึงการแพร่หลายของระบบฐานข้อมูล MySQL รวมถึงมีตัวช่วยการติดตั้งที่ง่าย (Wizard installer) มีรูปแบบของธีม (Themes) และส่วนเสริมฟังก์ชันการใช้งาน (Modifications) ให้เลือกใช้มากมาย ทำให้ SMF ได้รับความนิยมอย่างแพร่หล.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเอสเอ็มเอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เออร์ก

เอิร์ก เป็นหน่วยของพลังงานและงาน ในระบบหน่วยเซนติเมตร-กรัม-วินาที (CGS) ใช้สัญลักษณ์ย่อว่า "erg" มาจากภาษากรีกว่า ergon ซึ่งหมายถึง งาน เอิร์กหาได้จากปริมาณของงานที่เกิดจากแรงหนึ่งดายน์กระทำต่อระยะทางหนึ่งเซนติเมตร ในหน่วยพื้นฐาน CGS มันมีค่าเท่ากับ 1 กรัม × ตารางเซนติเมตร ต่อตารางวินาที หมวดหมู่:หน่วยพลังงาน หมวดหมู่:หน่วยซีจีเอส.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเออร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เอนโทรปี

การละลายของน้ำแข็งในน้ำ นับเป็นตัวอย่างหนึ่งของการเพิ่มขึ้นของเอนโทรปีของน้ำแข็ง ซึ่งเดิมมีโมเลกุลเรียงอยู่กับที่ มาเป็นโมเลกุลเคลื่อนที่ไปมาภายในแก้ว เอนโทรปี (entropy) มาจากภาษากรีก εν (en) แปลว่าภายใน รวมกับ τρέπω (trepo) แปลว่า ไล่ หนี หรือ หมุน ถือเป็นหัวใจของกฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการทางกายภาพที่เกิดขึ้นเองทางธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีแนวโน้มที่จะทำให้ความแตกต่างของ ไม่ว่าจะเป็น อุณหภูมิ แรงดัน ความหนาแน่น หรือค่าอื่น ๆ ในระบบค่อย ๆ น้อยลงจนกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน ซึ่งต่างจากกฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์ ซึ่งกล่าวถึงการอนุรักษ์พลังงาน เอนโทรปีเป็นจำนวนซึ่งใช้อธิบายระบบอุณหพลศาสตร์ เมื่อมองในระดับโมเลกุล กระบวนการทางกายภาพที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติทำให้โมเลกุลมีการเรียงตัวที่ไม่เป็นระเบียบมากขึ้น สามารถแทนได้ด้วยค่าเอนโทรปีที่เพิ่มขึ้น ในการคำนวณ นิยมใช้สัญลักษณ์ S ซึ่งนิยามจากสมการดิฟเฟอเรนเซียล dS.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเอนโทรปี · ดูเพิ่มเติม »

เอนไซม์

TIM. Factor D enzyme crystal prevents the immune system from inappropriately running out of control. เอนไซม์ (อังกฤษ: enzyme) เป็นโปรตีน 99 เปอร์เซนต์ เป็น ส่วนใหญ่ ที่ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมี เป็นคำในภาษากรีก ένζυμο หรือ énsymo ซึ่งมาจาก én ("ที่" หรือ "ใน") และ simo (":en:leaven" หรือ ":en:yeast") เอนไซม์มีความสำคัญและจำเป็นสำหรับสิ่งมีชีวิต เพราะว่าปฏิกิริยาเคมีส่วนใหญ่ในเซลล์จะเกิดช้ามาก หรือถ้าไม่มีเอนไซม์อาจทำให้ผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยากลายเป็นสารเคมีชนิดอื่น ซึ่งถ้าขาดเอนไซม์ระบบการทำงานของเซลล์จะผิดปกติ (malfunction) เช่น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเอนไซม์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็กโตเจเนซิส

Ectogenesis (มาจากภาษากรีก ecto "ภายนอก" และ เจเนซิส "กำเนิด") คือ การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตในสภาพแวดล้อมเทียม ภายนอกร่างกายอย่างยากที่จะพบเห็นอันเป็นเรื่องปกติธรรมดา, เช่น การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอหรือทารกในครรภ์ (fetus) ภายนอกร่างกายของแม่หรือการเจริญเติบโตของแบคทีเรียภายนอกร่างกายของโฮสต์หรือร่างกายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นเจ้าของหรือเจ้าบ้าน คำว่าเอกโตเจเนซิส นี้ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแด่นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษชื่อ เจ.บี.เอส. แฮลเดน (J.B.S. Haldane) ในปี 1924.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเอ็กโตเจเนซิส · ดูเพิ่มเติม »

เอ็กโซ

อ็กโซ (Exo หรือ EXO) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเอ็กโซ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็น

อ็น หรือ เอ็นยึด (ligament) เป็นคำกว้างๆ หมายถึง กลุ่มหรือมัดเส้นใยเนื้อเยื่อเกี่ยวพันซึ่งเรียงตัวในทิศทางเดียว เห็นได้ชัดและไม่มีกล้ามเนื้อยึดที่ปลาย ทั้งนี้เอ็นมีความหมายถึงโครงสร้างได้ 3 ชนิด โดยทั่วไปเอ็นหมายถึงเนื้อเยื่อเส้นใยที่ยึดระหว่างกระดูก เรียกว่า "เอ็นข้อต่อ" (articular ligament, articular larua) "เอ็นเส้นใย" (fibrous ligaments) หรือ "เอ็นแท้" (true ligaments) นอกจากนี้ เอ็น อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเอ็น · ดูเพิ่มเติม »

เฮราคลีโอโพลิส

ราคลีโอโพลิส แมกนา (กรีก: Μεγάλη Ἡρακλέους πόλις, Megálē Herakléous pólis) หรือ เฮราคลีโอโพลิส (Ἡρακλεόπολις, Herakleópolis) เป็นเมืองหลวงของอาณาจักรอียิปต์โบราณ ซึ่งชื่อเมืองนั้นเป็นภาษาโรมัน ตั้งอยู่ประมาณ 15 กิโลเมตร (9.3 ไมล์) ทางตะวันตกของเมืองเบนิ ซูเอฟของอียิปต์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเฮราคลีโอโพลิส · ดูเพิ่มเติม »

เฮอร์เมทิคา

อร์เมทิคาเป็นวรรณคดีโบราณของอียิปต์ เชื่อกันว่าเขียนขึ้นโดยเทพเจ้าธอธซึ่งเป็นเทพเจ้าที่ชาวอียิปต์โบราณเชื่อว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ไฮโรกลิฟ ชาวกรีกเชื่อว่าเทพเจ้าองค์นี้เป็นองค์เดียวกับเทพเฮอร์มีสของตน จึงเรียกงานเขียนของเทพธอธว่าเฮอร์เมท.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเฮอร์เมทิคา · ดูเพิ่มเติม »

เฮนนิก แบรนด์

นนิก แบรนด์ (ด้านหน้า) ในภาพวาด ''The Alchemist in Search of the Philosopher's Stone'' โดยโจเซฟ ไรต์ เฮนนิก แบรนด์ (Hennig Brand; ประมาณ ค.ศ. 1630 – ประมาณ ค.ศ. 1692 หรือ ค.ศ. 1710) เป็นพ่อค้าและนักเล่นแร่แปรธาตุจากฮัมบูร์ก เยอรมนี เป็นผู้ค้นพบฟอสฟอรัส มีประวัติในวัยเด็กเกี่ยวกับเขาน้อยมาก แต่เมื่อโตขึ้น แบรนด์รับราชการทหารในสงครามสามสิบปี หลังสงคราม เขาทำงานเป็นช่างทำแก้ว ก่อนจะผันตัวมาเป็นนักเล่นแร่แปรธาตุ เพื่อค้นหาศิลานักปราชญ์เช่นเดียวกับคนอื่น ๆ จนถึงปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและเฮนนิก แบรนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮเทโรทรอพ

ทโรทรอพ (Heterotroph เป็นคำสมาสภาษากรีกมาจากคำว่า heterone แปลว่าผู้อื่น และ troph แปลว่าโภชนาการ) คือสิ่งมีชีวิตที่ต้องการอินทรียสารจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เป็นแหล่งคาร์บอนเพื่อใช้ในการเจริญเติบโตและการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ เฮเทโรทรอพ หรือเรียกกันว่าผู้บริโภคในห่วงโซ่อาหาร เป็นสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ซึ่งตรงข้ามกับออโตทรอพที่ต้องการแค่แหล่งพลังงานหรือแหล่งคาร์บอนที่มาจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือไบคาร์บอเนตก็สามารถสร้างอาหารเองได้ โดยไม่ต้องอาศัยสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร สัตว์ทุกชนิดถือว่าเป็นเฮเทโรทรอพ เช่นเดียวกันกับสิ่งมีชีวิตจำพวกเห็ดราหรือฟังไจ รวมถึงแบคทีเรียหลายสายพันธุ์ และยังมีพืชประเภทกาฝากบางชนิดที่กลายไปเป็นเฮเทโรทรอพบางส่วน หรือเฮเทโรทรอพเต็มตัวก็มี แต่ในขณะที่พืชกินเนื้อนำเหยื่อที่เป็นแมลงไปเป็นแหล่งไนโตรเจนของพวกมัน แต่พืชจำพวกนี้ก็ยังถือว่าเป็นออโตทรอพ สิ่งมีชีวิตจำพวกเฮเทโรทรอพนั้นไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ดังที่กล่าวข้างต้น นั่นคือ ความไม่สามารถในการสังเคราะห์อินทรียสารที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลักจากแหล่งอนินทรียสารในสิ่งแวดล้อมได้ (ดังเช่นการที่สัตว์ไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้ ต่างจากพืชที่สามารถทำได้) และจึงต้องอาศัยแหล่งอาหารที่มาจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ทั้งออโตทรอพ และเฮเทโรทรอพ การที่จะกำหนดว่าสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์ใดที่อยู่ในจำพวกเฮเทโรทรอพ สิ่งมีชีวิตสายพันธุ์นั้นจะต้องอาศัยคาร์บอนมาจากอินทรียสารหรือสิ่งชีวิตอื่น แม้ว่าสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์นั้นจะอาศัยไนโตรเจนมาจากอินทรียสารหรือสิ่งมีชีวิตอื่น แต่ยังคงอาศัยคาร์บอนจากอนินทรียสาร ก็ยังถือว่าสายพันธุ์นั้นเป็นออโตทรอพ ถ้าสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์ใดๆ อาศัยคาร์บอนจากอินทรียสารหรือสิ่งมีชีวิตอื่น จะสามารถแบ่งเฮเทโรทรอพย่อยลงมาตามแหล่งพลังงานของแต่ละสายพันธุ์ได้อีก 2 ประเภทคือ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเฮเทโรทรอพ · ดูเพิ่มเติม »

เจ็ดอาณาจักร

อังกฤษแสดงที่ตั้งของแองโกล-แซ็กซอนราวปี ค.ศ. 600 อังกฤษราวปี ค.ศ. 800 แสดงให้เห็นบริเวณเวสเซ็กซ์ทางตะวันตกเฉียงใต้; เมอร์เซียตอนกลาง; นอร์ทธัมเบรียทางตะวันออกเฉียงเหนือ; และ อีสแองเกลีย เอสเซ็กซ์ เค้นท์ และ ซัสเซ็กซ์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เจ็ดอาณาจักร หรือ เครือจักรภพแองโกล-แซ็กซอน (ภาษาอังกฤษ: Heptarchy) Heptarchy (ภาษากรีก: ἑπτά + ἀρχή หรือ “เจ็ด” + “อาณาจักร”) เป็นชื่อที่ใช้เรียกรวมอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนต่างๆ ในบริเวณทางใต้ ตะวันออก และตอนกลางของสหราชอาณาจักรในปลายสมัยโบราณและต้นสมัยยุคกลาง ซึ่งต่อมารวมตัวกันเป็นดินแดนแองเกิล (อังกฤษ) (ในขณะนั้นดินแดนที่รู้จักกันในนาม สกอตแลนด์ และ เวลส์ ยังแยกตัวเป็นแคว้นเล็กแคว้นน้อย) หลักฐานแรกที่กล่าวถึง เครือจักรภพแองโกล-แซ็กซอนเป็นหลักฐานจากคริสต์ศตวรรษที่ 12 ที่บันทึกโดยนักประวัติศาสตร์ชาวอังกฤษ เฮนรี ฮันทิงดัน (Henry of Huntingdon) และเป็นคำที่ใช้กันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 เครือจักรภพแองโกล-แซ็กซอนครอบคลุมระยะเวลาระหว่าง ค.ศ. 500 ถึง ค.ศ. 850 ซึ่งเป็นระยะเวลาตั้งแต่ทหารโรมันถอนตัวจากอังกฤษไปจนกระทั่งถึงรัชสมัยของการรวมอาณาจักรต่างๆ เข้าด้วยกันโดยพระเจ้าเอ็กเบิร์ตแห่งเวสเซ็กซ์ คำว่า “เจ็ดอาณาจักร” หมายถึงราชอาณาจักรเจ็ดราชอาณาจักรซึ่งต่อมารวมตัวกันเป็นราชอาณาจักรอังกฤษ ซึ่งประกอบด้วยราชอาณาจักร: นอร์ทธัมเบรีย, เมอร์เซีย, อีสต์แองเกลีย, เอสเซ็กซ์, เค้นท์, ซัสเซ็กซ์ และ เวสเซ็กซ์ ในช่วงเวลานี้แต่ละอาณาจักรก็รวบรวมแคว้นเล็กแคว้นน้อยให้เป็นอาณาจักรที่มั่นคงขึ้นแต่เหตุการณ์สำคัญที่ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงนั้นยังเป็นที่ถกเถึยงกันอยู่ นอกจากนั้นแต่ละอาณาจักรประมุขบางคนเช่นประมุขของนอร์ทธัมเบรีย เมอร์เซีย และ เวสเซ็กซ์ก็พยายามอ้างสิทธิในดินแดนอื่นของอังกฤษ แม้ว่าจะรวมตัวกันแล้วแต่ในภาษาพูดในหมู่ประชาชนก็ยังมีการกล่าวถึงอาณาจักรต่างๆ เหล่านี้อย่างอิสระต่อกันมาจนถึงรัชสมัยของ พระเจ้าเอ็ดวี และ พระเจ้าเอ็ดการ์ ราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 10 ตามความเป็นจริงแล้วการรวมเจ็ดอาณาจักรเป็นกระบวนการต่อเนื่อง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ไวกิงเข้ามารุกรานปล้นสดมภ์อังกฤษและตั้งถิ่นฐานบริเวณยอร์คซึ่งกลายมาเป็นบริเวณเดนลอว์ซึ่งมีความแข็งแกร่งพอที่จะเป็นอันตรายต่ออาณาจักร์ทางใต้ที่มักจะมีความขัดแย้งกัน อาณาจักรจึงจำเป็นต้องพยายามรวมตัวกันเพื่อต่อต้านศัตรูร่วมกัน ฉะนั้นเมื่อสมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราชทรงต่อต้านชนเดนมาร์กเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 9 ก็ทรงทำในฐานะผู้นำของแองโกล-แซ็กซอน พระเจ้าแผ่นดินแห่งเวสเซ็กซ์องค์ต่อๆ มาโดยเฉพาะสมเด็จพระเจ้าเอเธลสตันแห่งอังกฤษทรงเน้นความสำคัญของความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันจนกระทั่งการแยกเป็นอาณาจักรเล็กอาณาจักรน้อยอย่างที่เป็นมาก่อนหมดความหมายลง เมื่อไม่นานมานี้จากหลักฐานการค้นคว้าพบว่าบางอาณาจักรในเครือจักรภพแองโกล-แซ็กซอนโดยเฉพาะเอสเซ็กซ์ และ ซัสเซ็กซ์ ไม่มีฐานะเท่าเทียมกับอาณาจักรอื่นๆ นอกไปจากนั้นในบรรดาสมาชิกของเครือจักรภพก็มิได้มีเพียงเจ็ดแต่ยังมีอาณาจักรย่อยอีกหลายอาณาจักรที่มีบทบาทสำคัญมากกว่าที่เคยคาดไว้ เช่นอนุอาณาจักรเบอร์นิเซีย (Bernicia) และ อนุอาณาจักรไดรา (Deira) ภายในราชอาณาจักรนอร์ทธัมเบรีย หรือ อาณาจักรลินด์ซีย์ (Lindsey) ในลิงคอล์นเชอร์ และอื่นๆ อีกมาก ฉะนั้นคำว่า “เจ็ดอาณาจักร” จึงเป็นคำที่ไม่เหมาะสมที่จะใช้เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 และนักประวัติศาสตร์บางคนก็ไม่ใช้คำนี้กันแล้วเนื่องด้วยเห็นว่าความหมายของคำไม่ตรงกับความเป็นจริง แต่ก็ยังมีการใช้เพื่อความสะดวกในการบรรยายการก่อตั้งราชอาณาจักรอังกฤษในสมัยนั้น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเจ็ดอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน)

้าพระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) (Κωνσταντίνος Γεράκης, กอนสตันตีโนส เยราจิส; Constantine Phaulkon) เป็นนักผจญภัยชาวกรีก ผู้กลายมาเป็นสมุหนายกในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยา นอกจากภาษากรีกซึ่งเป็นภาษาแม่แล้ว ฟอลคอนยังสามารถพูดภาษาต่าง ๆ มากมาย ได้แก่ ภาษาไทย, ภาษาอังกฤษ, ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาโปรตุเกส และภาษามลายู.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเจ้าพระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงไอรีนแห่งเฮ็สเซินและไรน์

้าหญิงไอรีนแห่งเฮ็สเซินและไรน์ เจ้าหญิงไอรีนแห่งเฮ็สเซินและไรน์ (Princess Irene of Hesse and by Rhine พระนามเต็ม ไอรีน หลุยส์ มาเรีย แอนนา; ประสูติ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2409 สิ้นพระชนม์ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496) เป็นพระธิดาในลำดับที่สามของเจ้าหญิงอลิซแห่งสหราชอาณาจักรและแกรนด์ดยุคลุดวิจที่ 4 แห่งเฮ็สเซินและไรน์ และมีพระอัยกาและอัยยิกาฝ่ายพระชนนีคือ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และ เจ้าชายอัลเบิร์ตแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา ส่วนพระอัยกาและอัยยิกาฝ่ายพระชนกคือ เจ้าชายคาร์ลแห่งเฮ็สเซินและไรน์ และ เจ้าหญิงเอลิซาเบธแห่งปรัสเซีย พระองค์เป็นพระชายาในเจ้าชายไฮน์ริชแห่งปรัสเซีย พระญาติชั้นที่หนึ่ง และนอกจากนี้ก็ทรงเป็นพาหะของโรคเฮโมฟีเลียเช่นเดียวกับพระกนิษฐาคือ เจ้าหญิงอลิกซ์ โดยพระโอรสสองในสามพระองค์ประชวรเป็นโรคเฮโมฟีเลียด้วย เจ้าหญิงอลิกซ์ พระขนิษฐาทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งรัสเซีย โดยทรงเปลี่ยนมาใช้พระนามใหม่ว่า อเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนา พระอัครมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 2 แห่งรัสเซีย และเจ้าชายแอนสท์ ลุดวิจ พระอนุชาทรงเป็นแกรนด์ดยุคครองรัฐแห่งเฮ็สเซินและไรน์ ส่วนเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระภคินีองค์โตได้อภิเษกสมรสกับ เจ้าชายหลุยส์แห่งบัทเทนแบร์ก ซึ่งต่อมาทั้งสองทรงเป็นมาร์ควิสและมาร์ชเนสแห่งมิลฟอร์ดฮาเว็น และเจ้าหญิงเอลิซาเบธ พระภคินีอีกพระองค์หนึ่ง (ซึ่งต่อมาทรงได้รับการยกย่องจากศาสนจักรออร์โธด็อกซ์รัสเซียให้เป็นนักบุญเอลิซาเบธ ผู้เสียสละ) อภิเษกสมรสกับ แกรนด์ดยุคเซอร์เกย์ อเล็กซานโดรวิชแห่งรัสเซี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเจ้าหญิงไอรีนแห่งเฮ็สเซินและไรน์ · ดูเพิ่มเติม »

เทมิสโต

ทมิสโต (Themisto; ออกเสียง: /θɨmɪstoʊ/ จากภาษากรีก: Θεμιστώ) หรือเรียกว่า จูปิเตอร์ XVIII เป็นดาวบริวารขนาดเล็กรูปร่างไม่สมส่วนของดาวพฤหัสบดี ถูกค้นพบในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและเทมิสโต · ดูเพิ่มเติม »

เทวนิยม

หล่าทวยเทพในภาพ ''The Triumph of Civilization'' (ชัยชนะแห่งความศิวิไลซ์) เทวนิยม (Theism) ในความหมายอย่างกว้างหมายถึงความเชื่อว่ามีพระเป็นเจ้าหรือเทพเจ้า ความหมายอย่างแคบคือเชื่อแบบเอกเทวนิยมว่ามีพระเจ้าองค์เดียวและทรงสัมพันธ์กับการดำรงอยู่ของเอกภพ เทวนิยมยังเชื่อว่าพระเจ้าทรงเป็นบุคคล และมีอำนาจปกครองและจัดการโลกและเอกภพ แนวคิดตามแบบแผนนี้อธิบายพระเจ้าในเชิงเอกเทวนิยมซึ่งปรากฏในศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดูในบางสำนัก คำว่า Theism ตามแนวคิดนี้เกิดขึ้นในช่วงการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เพื่อให้ต่างจากคำว่าเทวัสนิยม ที่เชื่อว่ามีพระเจ้าเป็นอุตตรภาวะสูงสุด แต่พระเจ้ามิได้ทรงแทรกแซงโลกตามธรรมชาติ และมนุษย์รู้จักพระองค์ได้ด้วยการใช้เหตุผล ไม่ใช่โดยการวิวรณ์ ส่วนสรรพเทวนิยมเชื่อว่าสรรพสิ่งคือพระเจ้า และพหุเทวนิยมเชื่อว่ามีเทวดาหลายองค์ แต่ละองค์มีอำนาจต่าง ๆ กันไป คำว่า Theism มาจาก theos ในภาษากรีกที่แปลว่า เทพ นักปรัชญาชื่อ Ralph Cudworth ใช้คำนี้เป็นคนแรก ส่วนอเทวนิยมเป็นการปฏิเสธความเชื่อแบบเทวนิยมในความหมายกว้าง คือไม่เชื่อว่ามีพระเจ้าองค์เดียว ถ้าปฏิเสธพระเจ้าในความหมายแคบ จะเรียกว่า เทวัสนิยม สรรพเทวนิยม พหุเทวนิยม ตามแต่ลักษณะของความเชื่อ ถ้าเห็นว่าพระเจ้าหรือเทวดาจะมีอยู่หรือไม่เราก็รู้ไม่ได้เรียกว่าอไญยนิยม ถ้าเชื่อว่ารู้ได้ (ว่ามีหรือไม่มี) ก็ถือว่าเป็นเทวนิยมหรืออเทวนิยม (ตามแต่ลักษณะความเชื่อ) เทวนิยมและอเทวนิยมจึงเป็นยืนยันหรือปฏิเสธการดำรงอยู่ของพระเจ้า แต่อไญยนิยมปฏิเสธการรับรู้ ผู้ที่ไม่มีศาสนาจะไม่เชื่อในเรื่องการมีสิ่งศักดิ์สิทธื์ใด ๆ เลย ศาสนาพุทธอาจจัดว่าเป็นทั้งเทวนิยมและอเทวนิยม นิกายเถรวาทและนิกายเซน เชื่อในกฎธรรมชาติ สร้างสรรพสิ่ง จัดเป็นอเทวนิยม นิกายสุขาวดีและวัชรยาน เชื่อว่ามีพระอาทิพุทธะเป็นผู้สร้างโลกและสรรพสิ่งเฉกเช่นพระเจ้า จึงอาจจัดนิกายเหล่านี้เป็นเทวนิยมได้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเทวนิยม · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลเพนเทคอสต์

ทศกาลเพนเทคอสต์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 420-1 (ราชบัณฑิตยสถาน) หรือ วันเปนเตกอสเต (โรมันคาทอลิก) มาจากคำว่า Πεντηκοστή ในภาษากรีก ซึ่งแปลว่า "(วัน) ที่ 50" เพราะเป็นวันที่ 50 นับจากวันสมโภชปัสคา วงศ์วานอิสราเอลจัดเทศกาลนี้ขึ้นเพื่อเป็นการระลึกถึงการที่พระยาห์เวห์ได้ประทานธรรมบัญญัติแก่โมเสสที่ภูเขาซีนาย ส่วนคริสต์ศาสนิกชนถือวันนี้เป็นการเฉลิมฉลองเหตุการณ์ที่พระวิญญาณบริสุทธิ์ได้ลงมาประทับบนอัครทูตเพื่อเป็นกำลังในการประกาศข่าวดีต่อมวลมนุษย์ คริสตจักรโรมันคาทอลิกจึงถือวันนี้เป็นวันสมโภชพระจิตเจ้า และนับเป็นวันเกิดของคริสตจักรด้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเทศกาลเพนเทคอสต์ · ดูเพิ่มเติม »

เทอโรซอร์

ทอโรซอร์ (Pterosaur; จากภาษากรีก "πτερόσαυρος", "pterosauros", หมายถึง "กิ้งก่ามีปีก") เป็นสัตว์เลื้อยคลานกลุ่มหนึ่ง ที่ชีวิตและอาศัยอยู่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์เช่นเดียวกับไดโนเสาร์ มีลักษณะพิเศษคือ สามารถบินได้ โดยใช้ปีกขนาดใหญ่ที่มีพังผืดเหมือนค้างคาวเป็นอวัยวะสำคัญ ปัจจุบันนี้ได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้วพร้อมกับไดโนเสาร์ เทอโรซอร์ จัดอยู่ในอันดับ Pterosauria โดยมักจะถูกเรียกว่า "ไดโนเสาร์บินได้" แต่ทั้งนี้เทอโรซอร์มิได้จัดว่าเป็นไดโนเสาร์แต่อย่างใด เหมือนกับ เพลสิโอซอร์, โมซาซอร์ หรืออิกทิโอซอรัส ที่พบในทะเลและมหาสมุทร นอกจากนี้แล้วเทอโรซอร์ยังเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่ง คือ เทอโรแดกทิล โดยคำว่าเทอโรแดกทิลนั้นหมายถึงเทอโรซอร์ในระยะหลังที่มีขนาดใหญ่ และไม่มีฟัน และในทางเทคนิคจะหมายถึงเทอโรซอร์ในสกุล เทอโรแดกทิลัส เทอโรซอร์มีชีวิตอยู่ในช่วงมหายุคมีโซโซอิก สืบทอดเผ่าพันธุ์และครองโลกมาอย่างยาวนานถึง 162 ล้านปี ก่อนจะสูญพันธุ์ไปทั้งหมดในช่วงยุคครีเตเชียสตอนปลายเช่นเดียวกับไดโนเสาร์ ปัจจุบัน นักบรรพชีวินวิทยาได้จำแนกความหลากหลายของเทอโรซอร์ออกได้มากกว่า 200 ชนิด มีความแตกต่างหลากหลายกันออกไปในแต่ละชนิดหรือแต่ละวงศ์ เทอโรซอร์ถูกค้นพบครั้งแรกในรูปแบบซากดึกดำบรรพ์ในยุคศตวรรษที่ 19 ซากดึกดำบรรพ์ของเทอโรซอร์พบได้ในทั่วทุกภูมิภาคของโลก เทอโรซอร์ที่เก่าแก่ที่สุดถือกำเนิดในยุคไทรแอสซิกเมื่อ 228 ล้านปีก่อน โดยบรรพบุรุษของเทอโรซอร์นั้นมีรูปร่างเล็กมาก โดยมีขนาดพอ ๆ กับนกกระจอกในยุคปัจจุบัน เช่น พรีออยแดกกิลุส บัฟฟารีนีโอ ที่มีความกว้างของปีกแค่ 0.5 เมตร เชื่อกันว่าอาศัยอยู่ในป่าทึบกินแมลง เช่น แมลงปอ เป็นอาหาร หรือแครีเรมัส เซซาพลาเนนซิส ที่มีความกว้างของปีก 1 เมตร เทอโรซอร์ในยุคแรกจะมีขนาดลำตัวเล็ก บางจำพวกมีหางยาว เช่น ดิมอร์โฟดอน แมโครนิกซ์ ที่มีความกว้างของปีก 1.2 เมตร น้ำหนัก 1.8 กิโลกรัม มีหางยาวที่แข็ง คอสั้น หัวมีขนาดใหญ่ มีฟันแหลมคม และกระดูกกลวงบางส่วน ทั้งนี่้เชื่อว่าเทอโรซอร์วิวัฒนาการมาจากสัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก ๆ ที่กระโดดหรือใช้ชีวิตอยู่บนต้นไม้เป็นหลักด้วยการหากินและหลบหลีกศัตรู เทอโรซอร์ ได้วิวัฒนาการมาเป็นลำดับขั้นตามยุคสมัยไปเรื่อย ๆ เช่น ยุคจูแรสซิก จนกระทั่งถึงยุคครีเตเชียส เทอโรซอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ เคตซัลโคแอตลัส นอร์โทรพี มีความสูงเท่า ๆ กับยีราฟ มีความกว้างของปีก 10.5 เมตร พอ ๆ กับเครื่องบินรบเอฟ-16 น้ำหนักตัวถึง 200 กิโลกรัม เฉพาะส่วนหัวรวมถึงจะงอยปากด้วยก็ยาวถึง 3 เมตรแล้ว จัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่บินได้ขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่โลกเคยมีมา และเชื่อว่าชอบที่จะกินลูกโดโนเสาร์เป็นอาหาร ตามหลักฐานจากการศึกษาซากดึกดำบรรพ์พบว่า เทอโรซอร์ในยุคหลังนั้นมีขนปกคลุมลำตัวบาง ๆ ด้วย จึงเชื่อกันว่าน่าจะเป็นสัตว์เลือดอุ่น ทั้งนี้มีไว้เพื่อเป็นเสมือนฉนวนกักความอบอุ่นให้แก่ร่างกาย เช่น เจโฮลอปเทอรัส ที่พบในจีน ซึ่งมีลักษณะปากกว้างคล้ายกบ เป็นต้น เทอโรซอร์ใช้ลักษณะการบินแบบเดียวกับค้างคาว เมื่ออยู่กับพื้นจะใช้วิธีการทะยานตัวออกไปจากท่ายืนสี่เท้าโดยรยางค์ของร่างกาย มีตีนขนาดเล็กเพื่อช่วยลดแรงต้าน เมื่อบินสามารถปรับเปลี่ยนท่าทางการบินได้เล็กน้อย เช่น การหดกล้ามเนื้อปีก หรือขยับข้อเท้าเข้าและออก การเปลี่ยนมุมกระดูกข้อปีก เป็นต้น เมื่อเทียบกับนกแล้ว เทอโรซอร์ยังมีกล้ามเนื้อสำหรับการบินมากกว่า และมีสัดส่วนของน้ำหนักร่างกายมากกว่า แม้แต่สมองก็ดูเหมือนจะวิวัฒนาการขึ้นมาเพื่อการบิน โดยมีกลีบสมองขยายใหญ่ขึ้นเพื่อประมวลผลข้อมูลประสาทรับความรู้สึกที่ซับซ้อนจากเยื่อปีก เทอโรซอร์มีไหล่ขนาดใหญ่ที่เต็มไปด้วยกล้ามเนื้อ และลักษณะปีกของเทอโรซอร์ประกอบด้วยเยื่อที่ยึดติดกับสีข้างจากไหล่ไล่ลงไปจนถึงข้อเท้าแต่ละข้าง และเหยียดออกโดยนิ้วที่สี่ที่ยืดยาวไปอย่างน่าทึ่งไปตามขอบหน้าของปีก เยื่อปีกร้อยรัดไปด้วยกล้ามเนื้อและเส้นเลือด และเสริมความแข็งแกร่งด้วยพังผืด ลักษณะของเทอโรซอร์นั้นมีความแตกต่างหลากหลายกันมาก บางจำพวกมีหงอนด้วย สันนิษฐานว่ามีไว้สำหรับดึงดูดเพศตรงข้าม โดยว่ามีลักษณะที่แตกต่างหลากหลายกันออกไป เช่น ทูนแพนแดกทิอุส แนวีแกนส์ ซึ่งเป็นเทอโรซอร์ในยุคแรก ๆ และ ทาเลสไซโครมีอุส เซที ที่มีช่วงปีกกว้าง 4 เมตร เชื่อว่ามีหงอนที่มีสีสันที่สดใส จะงอยปากก็มีความหลากหลายแตกต่างออกไปตามแต่ลักษณะการใช้หาอาหาร เช่น บางชนิดมีฟันแหลมคมเต็มปากเห็นได้ชัดเจนใช้สำหรับการจับปลาในน้ำ เช่น แอนเฮงรา พิสเคเตอร์ หรือ ซันแกริปเทอรัส ที่พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน ที่มีจะงอยปากยาวและงอนขึ้นใช้สำหรับสำรวจและช้อนเอาสัตว์ขนาดเล็กที่ไม่มีกระดูกสันหลังหรือครัสเตเชียนกินเป็นอาหาร หรือบางจำพวก หากินโดยการใช้วิธีการยืนในแหล่งน้ำเค็มตื้น ๆ แล้วใช้การกรองกินสัตว์ขนาดเล็ก ๆ จำพวกครัสเตเชียน เหมือนกับวิธีการกินของนกฟลามิงโกในยุคปัจจุบัน หรือบางสกุล เช่น นิกโตซอรัส ซึ่งเป็นเทอโรซอร์ในทะเลลักษณะคล้ายนกอัลบาทรอสที่มีระยะระหว่างปลายปีกสองข้างกว้างเกือบ 3 เมตร มีอัตราส่วนการร่อน หรือระยะทางที่เคลื่อนไปข้างหน้าได้ต่อการลดระดับลงทุกหนึ่งเมตร จัดเป็นนักร่อนชั้นดี และจากการพบลักษณะของซากดึกดำบรรพ์พบว่า เทอโรซอร์บางกลุ่มก็อาศัยอยู่รวมกันเป็นนิคมหรือคอโลนีเหมือนกับนกทะเลหลายชนิดในปัจจุบัน คือ ไคยัวฮารา โครบรัสกิอี โดยพบหลักฐานว่า ตายพร้อมกันถึง 47 ตัว หน้า 26-45, เทอโรซอร์ ปีกพิศวงสุดแสนพิศดาร โดย ริชาร์ด คอนนิฟฟ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเทอโรซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตอัครบิดร

ตอัครบิดรราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 375-6 (Patriarchate) เป็นเขตอำนาจการปกครองของอัครบิดร อัครบิดรในศาสนาคริสต์ ได้แก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเขตอัครบิดร · ดูเพิ่มเติม »

เดวส์เอกส์มาคีนา

วส์เอกส์มาคีนา หรือ เทวดามาโปรด (Deus ex machina,, พหูพจน์: dei ex machina) มาจากสำนวนกรีกว่า ἀπὸ μηχανῆς θεός (อะปอ แมคาแนส เธออส) แปลว่า เทพเจ้าจากเครื่องจักร เป็นกลวิธีการสร้างโครงเรื่องวิธีหนึ่ง ที่ซึ่งปัญหาที่ดูเหมือนว่าจะไม่มีทางแก้นั้น จู่ ๆ ก็คลี่คลายได้ด้วยการแทรกแซงที่คาดหมายไม่ถึง ไม่ว่าเพราะสถานการณ์ใหม่ ตัวละครใหม่ ความสามารถใหม่ หรือวัตถุใหม่ที่ไม่ได้กล่าวถึงมาก่อน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับวิธีการใช้ เดวส์เอกส์มาคีนาสามารถทำให้เรื่องดำเนินต่อไปได้ เมื่อเนื้อเรื่องดำเนินไปถึงบางสถานการณ์ เช่น เมื่อผู้เขียนตกอยู่ในสภาวะ "จนตรอก" หาทางออกไม่ได้ เมื่อผู้เขียนต้องการให้ผู้ชมแปลกใจ เมื่อต้องการให้เรื่องลงเอยด้วยดี หรือแม้กระทั่งการใช้เดวส์เอกส์มาคีนาในฐานะจุดหักมุมเชิงขบขัน เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเดวส์เอกส์มาคีนา · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด ลิฟวิงสโตน

วิด ลิฟวิงสโตน ดร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเดวิด ลิฟวิงสโตน · ดูเพิ่มเติม »

เดอะ ทิน เรด ไลน์ ฝ่านรกยึดเส้นตาย

อะ ทิน เรด ไลน์ ฝ่านรกยึดเส้นตาย ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์เรื่อง The Thin Red Line กำกับโดย เทอร์เรนซ์ มาลิค นำแสดงโดย จิม คาวีเซล, ฌอน เพนน์, เบน แชปลิน, นิค โนลเต้, แดนนี่ ไมฮ็อค, อีเลียส โคเทียส์, วู้ดดี้ ฮาเรลสัน, จอห์น คูแช็ค, จอห์น ซาเวจ, จอห์น ซี. ไรลี่ย์, เอเดรียน โบรดี้, ทิม เบลค เนลสัน, จาเร็ด เลโต, จอห์น ทราโวลต้า, จอร์จ คลูนีย์ ความยาว 170 นาที.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเดอะ ทิน เรด ไลน์ ฝ่านรกยึดเส้นตาย · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องรับคลื่นไหวสะเทือน

รื่องรับคลื่นไหวสะเทือน (geophone) คำว่า "geophone" นี้ มาจากภาษากรีก โดยคำว่า geo หมายถึง โลก ส่วนคำว่า phone หมายถึงเสียง เครื่องรับคลื่นไหวสะเทือนเป็นเครื่องมือที่ใช้ตรวจวัดการเคลื่อนตัวของพื้นผิวโลกแล้วแปลงค่าพลังงานที่เกิดจากการเคลื่อนที่ให้เป็นพลังงานไฟฟ้าซึ่งจะถูกบันทึกโดยตัวตรวจวัด ซึ่งลักษณะการเบี่ยงเบนไปจากเส้นปกติ เราเรียกว่าเป็นการตอบสนองต่อคลื่นไหวสะเทือนและเราสามารถนำค่าการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมาวิเคราะห์เพื่อหาโครงสร้างของโลกได้ ในสมัยก่อน เครื่องรับคลื่นไหวสะเทือนเป็นเครื่องมือง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน และมีส่วนประกอบภายในประกอบด้วยแท่งแม่เหล็กห้อยติดกับสปริง อยู่ระหว่างขดลวด ซึ่งสามารถทำให้แม่เหล็กเกิดการเคลื่อนที่ผ่านขดลวด เพื่อที่จะสร้างสัญญาณไฟฟ้าออกมา โดยปัจจุบัน เครื่องรับคลื่นไหวสะเทือนถูกออกแบบให้อยู่ในรูปแบบเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็ก ซึ่งจะสร้างกระแสไฟฟ้าตอบสนองเมื่อพื้นดินเกิดการเคลื่อนที่ อันเป็นผลมาจากการตอบสนองกลับของกระแสเพื่อที่จะรักษาตำแหน่งของแผ่นซิลิกอนที่อยู่ภายในเครื่องรับคลื่นไหวสะเทือน ผลการตอบสนองของขดลวดแม่เหล็กในเครื่องรับคลื่นไหวสะเทือน เป็นผลมาจากความเร็วที่เปลี่ยนแปลงบนพื้นผิวโลก ในขณะที่อุปกรณ์ในระบบเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็ก จะตอบสนองต่อผลของความเร่งที่เปลี่ยนแปลงบนพื้นผิวโลก โดยระบบการทำงานเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็ก สามารถจับคลื่นรบกวนในระดับที่สูงกว่า 50 เดซิเบล ซึ่งสูงกว่าเครื่องรับคลื่นไหวสะเทือน และสามารถใช้วัดการเคลื่อนที่ขนาดใหญ่ หรือ ประยุกต์ใช้ในงานแผ่นดินไหว Geosource Inc. MD-79—8Hz, 335Ω geophone การตอบสนองต่อความถี่ของเครื่องรับคลื่นไหวสะเทือนจะมีลักษณะเป็นความถี่ของคลื่นประสาน โดยความถี่สูงสุดที่เครื่องรับคลื่นไหวสะเทือนสามารถตรวจวัดได้คือที่ประมาณ 10 เฮิรตซ์ และมีค่าลดทอนประมาณ 0.707 แต่ความถี่ที่น้อยที่สุดที่ เครื่องรับคลื่นไหวสะเทือนสามารถตรวจวัดได้คือที่ความถี่ประมาณ 1 เฮิรตซ์ ซึ่งเป็นความถี่ที่แทบจะไม่สามารถตรวจวัดได้ แต่เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็กสามารถตรวจวัดความถี่ที่น้อยกว่าเครื่องรับคลื่นไหวสะเทือนได้ โดยขึ้นอยู่กับราคาของเครื่องมือที่ใช้ในการวัด โดยถ้ามีราคาสูงมากก็จะตรวจคลื่นรบกวนวัดได้ดี ถึงแม้ว่าคลื่นสั่นสะเทือนจะมีลักษณะการเคลื่อนที่บนผิวโลกแบบสามมิติ แต่เครื่องรับคลื่นไหวสะเทือนนั้นสามารถตรวจจับการเคลื่อนที่ของคลื่นได้เพียงหนึ่งมิติเท่านั้น โดยส่วนมากแล้ว เครื่องรับคลื่นไหวสะเทือนจะสามารถตรวจจับคลื่นในแนวดิ่งได้ดี แต่อย่างไรก็ตามการประยุกต์ใช้เครื่องรับคลื่นไหวสะเทือน มักจะใช้ได้ดีกับคลื่นที่สมบรูณ์ คือ มีการเคลื่อนที่ในสามทิศทาง ในการทำงานของเครื่องมือเครื่องรับคลื่นไหวสะเทือน แท่งแม่เหล็กจะสามารถเคลื่อนที่ไปในขดลวดได้ทั้งสามทิศทาง ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะการแขวนที่มักจะให้แท่งเหล็กสามารถเคลื่อนที่เป็นรูปเชิงตั้งฉาก โดยส่วนใหญ่ เครื่องรับคลื่นไหวสะเทือนถูกใช้ในการศึกษาคลื่นสั่นสะเทือนแบบสะท้อนเพื่อที่จะบันทึกพลังงานของคลื่นที่สะท้อนจากใต้ดินของโลก ในขั้นแรกจะต้องเข้าใจถึงกระบวนการเคลื่อนที่ของคลื่นในแนวดิ่งบริเวณผิวโลก แต่อย่างไรก็ตามไม่จำเป็นเสมอไปที่คลื่นจะเคลื่อนที่ขึ้นมาข้างบน โดยเฉพาะการส่งผ่านของคลื่นในแนวราบ หรือ ground roll ซึ่งมักจะทำให้เกิดการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง ซึ่งมันสามารถรบกวนสัญญาณแบบอ่อนในแนวดิ่งได้ จากการศึกษาแนวการวางตัวขนาดใหญ่แสดงให้เห็นว่าความยาวคลื่นของ ground roll จะทำให้สัญญาณคลื่นหลักถูกลดทอนลง และสัญญาณคลื่นรองจะถูกเสริมขึ้น เครื่องรับคลื่นไหวสะเทือนเป็นเครื่องมือที่มีความอ่อนไหว ซึ่งสามารถตอบสนองต่อการสั่นสะเทือนที่ระยะไกลๆ เพราะพวกสัญญาณขนาดเล็กเหล่านี้จะถูกกลบโดยสัญญาณขนาดใหญ่ที่มีจุดกำเนิดที่ระยะทางไกลๆ มันเป็นเรื่องปกติถึงแม้ว่าการกลบของสัญญาณขนาดเล็กจะมีสาเหตุมาจากสัญญาณขนาดใหญ่แต่ระยะทางของเครื่องรับคลื่นไหวสะเทือน มีความสัมพันธ์กับสัญญาณในแนวการวางตัวขนาดใหญ่ โดยสัญญาณที่ถูกบันทึกโดยเครื่องรับคลื่นไหวสะเทือน บางตำแหน่งสามารถวัดมาจากสัญญาณขนาดเล็ก ซึ่งเกิดมาจากความแตกต่างของสภาพพื้นที่ หรือ การขาดหายไปของข้อมูล เราสามารถเปรียบเทียบได้ว่าสัญญาณขนาดเล็กที่ได้จากการบันทึกในทุกๆแนวการวางตัวของเครื่องรับคลื่นไหวสะเทือน ขึ้นอยู่กับระยะทางและลักษณะของพื้นที่ ความสามารถของเครื่องรับคลื่นไหวสะเทือน ในการสร้างความต่างศักย์ไฟฟ้าอยู่ที่ 30 โวลต์ ซึ่งสามารถใช้ได้ดีกับการตรวจวัดขนาดเล็กๆ และไม่เหมาะสมหากจะนำไปใช้แทนเครื่องตรวจจับคลื่นแผ่นดินไหว เพราะคลื่นที่เกิดจากแผ่นดินไหวมีพลังงานมหาศาล อาจทำให้เครื่องมือเสียหายได้ การประยุกต์ใช้เครื่องรับคลื่นไหวสะเทือน สามารถใช้ได้ดีกับการตรวจวัดระดับพื้นที่ ตัวอย่างเช่น การตรวจวัดภาคพื้นระยะไกล RGS.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเครื่องรับคลื่นไหวสะเทือน · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องหมายเสริมสัทอักษร

รื่องหมายเสริมสัทอักษร เป็นเครื่องหมายที่ใช้กำกับอักษรโรมัน ซึ่งมีอยู่ในแป้นพิมพ์ ซึ่งได้แก่ เกรฟ และดับเบิลเกรฟ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเครื่องหมายเสริมสัทอักษร · ดูเพิ่มเติม »

เคาน์ตีอิเดสซา

น์ตีอิเดสซา (County of Edessa) เป็นหนึ่งในนครรัฐครูเสด (crusader states) ของคริสต์ศตวรรษที่ 12 ที่มีอาณาบริเวณอยู่รอบตัวเมืองอิเดสซา เคาน์ตีอิเดสซาแตกต่างจากนครรัฐครูเสดอื่น ๆ ตรงที่ไม่มีส่วนใดที่ติดทะเลและไกลจากรัฐอื่น ๆ และไม่ใคร่มีความสัมพันธ์อันดีนักกับนครรัฐอันติโอคที่อยู่ติดกัน ครึ่งหนึ่งของเคาน์ตีรวมทั้งเมืองหลวงตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำยูเฟรทีสทีไกลไปทางตะวันออกจากรัฐอื่น ๆ ซึ่งทำให้เป็นจุดอ่อน ทางตะวันตกของแม่น้ำยูเฟรทีสควบคุมจากป้อมเทอร์เบสเซล (Turbessel).

ใหม่!!: ภาษากรีกและเคาน์ตีอิเดสซา · ดูเพิ่มเติม »

เคาน์ตีตริโปลี

อาณาจักรเคานต์แห่งตริโปลี (County of Tripoli) คือนครรัฐครูเสด (crusader states) แห่งสุดท้ายที่ก่อตั้งขึ้นในบริเวณเลแวนต์ (Levant) ที่ตั้งอยู่บริเวณที่ปัจจุบันคือทางตอนเหนือของเลบานอนที่ในปัจจุบันคือเมืองตริโปลี นักรบครูเสดยึดตริโปลีและสร้างอาณาจักรในปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและเคาน์ตีตริโปลี · ดูเพิ่มเติม »

เคแมนแคระกูว์วีเย

แมนแคระกูว์วีเย (Cuvier's dwarf caiman, Cuvier's caiman, Smooth-fronted caiman, Musky caiman) เป็นสัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง จำพวกเคแมน จัดอยู่ในวงศ์แอลลิเกเตอร์ (Alligatoridae) จัดเป็นสัตว์เลื้อยคลานในอันดับจระเข้ที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลกชนิดหนึ่ง มีขนาดยาวเต็มที่ประมาณ 1.4 เมตร (4.6 ฟุต) ในตัวผู้ และ 1.2 เมตร (3.9 ฟุต) ในตัวเมีย น้ำหนักประมาณ 6 ถึง 7 กิโลกรัม (13 ถึง 15 ปอนด์) ถูกค้นพบและบรรยายทางวิทยาศาสตร์โดยฌอร์ฌ กูว์วีเย (Georges Cuvier) นักสัตววิทยาชาวฝรั่งเศส ซึ่งเป็นผู้ค้นพบเป็นบุคคลแรก โดยสถานที่ค้นพบครั้งแรกคือเมืองกาแยนในเฟรนช์เกียนา โดยที่ชื่อวิทยาศาสตร์ คำว่า Paleosuchus มาจากคำภาษากรีกว่า palaios หมายถึง "โบราณ" และ soukhos หมายถึง "จระเข้" เพราะเชื่อว่าเคแมนแคระกูว์วีเยสืบสายพันธุ์มาจากสัตว์ในอันดับจระเข้โบราณอายุนานกว่า 30 ล้านปี และคำว่า palpebrosus มาจากภาษาละติน palpebra หมายถึง "เปลือกตา" และ osus หมายถึง "เต็มไปด้วย" ซึ่งหมายถึงแผ่นกระดูกที่ปรากฏอยู่เหนือเปลือกตา ส่วนหัว เคแมนแคระกูว์วีเย กระจายพันธุ์อยู่ในป่าทึบของลุ่มน้ำแอมะซอนในทวีปอเมริกาใต้ โดยอาศัยในพื้นที่ที่เป็นแม่น้ำและทะเลสาบ การฟักไข่เหมือนกับเคแมนชนิดอื่น ๆ คือ ใช้ความร้อนจากแสงแดดหรือความร้อนจากการเน่าสลายของพรรณพืชที่ใช้ปกคลุมรังเพื่อการฟักเป็นตัว เคแมนแคระกูว์วีเยไม่มีชนิดย่อย กินอาหารได้หลากหลายชนิด ทั้งสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ, ปลา, ปู, นก, กุ้ง, หอย, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก รวมถึงแมลงปีกแข็งและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังด้วย เนื่องจากเป็นสัตว์ขนาดเล็กจึงนิยมเลี้่ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยงด้ว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเคแมนแคระกูว์วีเย · ดูเพิ่มเติม »

เซฟาโลเนีย

ซฟาโลเนีย หรือ เคฟาลลีนีอา (กรีก: Κεφαλονιά or Κεφαλλονιά; Cefalonia; Cephalonia) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของหมู่เกาะไอโอเนียน ตั้งอยู่ในทะเลไอโอเนียน นอกจากฝั่งตะวันตกของประเทศกรีซ มีพื้นที่ 781 ตร.กม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเซฟาโลเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เซรามิก

กระเบื้องเซรามิก เซรามิก (ceramic) เซรามิกมีรากศัพท์มาจากภาษากรีก keramos มีความหมายว่า สิ่งที่ถูกเผา ในอดีตวัสดุเซรามิกที่มีการใช้งานมากที่สุดคือ เซรามิกดั้งเดิม ทำมาจากวัสดุหลักคือดินเหนียว โดยในช่วงแรกเรียกผลิตภัณฑ์ประเภทนี้ว่า ไชน่าแวร์ เพื่อเป็นเกียรติให้กับคนจีนซึ่งเป็นผู้บุกเบิกการผลิตเครื่องปั้นดินเผารุ่นแรก ๆสมบัต.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเซรามิก · ดูเพิ่มเติม »

เซลล์ประสาท

ซลล์ประสาท หรือ นิวรอน (neuron,, หรือ) เป็นเซลล์เร้าได้ด้วยพลัง ของเซลล์อสุจิที่ทำหน้าที่ประมวลและส่งข้อมูลผ่านสัญญาณไฟฟ้าและเคมี โดยส่งผ่านจุดประสานประสาท (synapse) ซึ่งเป็นการเชื่อมต่อโดยเฉพาะกับเซลล์อื่น ๆ นิวรอนอาจเชื่อมกันเป็นโครงข่ายประสาท (neural network) และเป็นองค์ประกอบหลักของสมองกับไขสันหลังในระบบประสาทกลาง (CNS) และของปมประสาท (ganglia) ในระบบประสาทนอกส่วนกลาง (PNS) นิวรอนที่ทำหน้าที่โดยเฉพาะ ๆ รวมทั้ง.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเซลล์ประสาท · ดูเพิ่มเติม »

เซตีเนีย

ซตีเนีย (มอนเตเนโกร / เซอร์เบีย: Цетинѣ / Cetině (archaic), Цетиње / Cetinje (modern), อิตาลี: Cettigne, กรีก: Κετίγνη, Ketígni, Çetince) เป็นเมืองในประเทศมอนเตเนโกร เคยเป็นเมืองหลวงเก่าของแคว้นมอนเตเนโกร จากข้อมูลปี..

ใหม่!!: ภาษากรีกและเซตีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เปาโรติส

ปาโรติส (paurotis palm, Everglades palm) เป็นปาล์มชนิดเดียวในสกุล Acoelorrhaphe มีถิ่นกำเนิดในรัฐฟลอริดาและแคริบเบียน นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ชื่อสกุลของเปาโรติสมาจากภาษากรีก แปลว่า "ไม่มีราฟี" เปาโรติสเป็นปาล์มกอ สูงได้ถึง 8 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 เซนติเมตร มีแผ่นใยคลุมและทางใบแห้งติดแน่น ใบรูปพัด ขอบใบจักเว้าลึกเกือบถึงสะดือ แผ่นใบกางเกือบครึ่งวงกลม กว้าง 80 เซนติเมตร ใต้ใบมีนวลสีขาว ก้านใบยาว 1 เมตร มีหนามที่ขอบก้าน ช่อดอกสมบูรณ์เพศ ออกระหว่างกาบใบ ยาว 1.2 เมตร ผลกลมขนาด 1.2 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีส้ม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเปาโรติส · ดูเพิ่มเติม »

เปาโลอัครทูต

นักบุญเปาโลอัครทูต (St.) หรือนักบุญเปาโลแห่งทาร์ซัส (St.; San Paolo di Tarso) หรือนักบุญเปาโล มาจาก ภาษากรีก “Šaʾul HaTarsi” หมายถึง “เซาโลแห่งทาร์ซัส” มาจาก “Σαουλ” “Saul” หรือ “Σαῦλος” “Saulos” หรือ “Παῦλος” “Paulos” เป็น “อัครทูตถึงชนต่างชาติ” (Apostle to the Gentiles) พร้อมกับนักบุญเปโตรและนักบุญยากอบผู้ชอบธรรม (James the Just), เป็นมิชชันนารีที่สำคัญที่สุดในศาสนาคริสต์ยุคแรก แต่ไม่เคยพบพระเยซูดังเช่นอัครทูตท่านอื่นๆ ไม่มีหลักฐานใดที่กล่าวว่านักบุญเปาโลเคยพบพระองค์ด้วยตนเองก่อนที่จะถูกตรึงกางเขนตามที่กล่าวใน “กิจการของอัครทูต” นักบุญเปาโลมานับถือศาสนาคริสต์ระหว่างที่เดินทางไป ดามัสกัส จากการที่ได้เห็นพระเยซูผู้ฟื้นคืนพระชนม.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเปาโลอัครทูต · ดูเพิ่มเติม »

เปปไทด์

ปปไทด์ เปปไทด์ (peptide มาจากภาษากรีก πεπτίδια) คือสายพอลิเมอร์ของกรดอะมิโนที่มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเปปไทด์ ปลายด้านที่มีหมู่อะมิโนเป็นอิสระเรียกว่าปลายเอ็น (N-terminal) ส่วนปลายที่มีหมู่คาร์บอกซิลเป็นอิสระเรียกว่าปลายซี (C-terminal) การเรียกชื่อเปปไทด์จะเรียกตามลำดับกรดอะมิโนจากปลายเอ็นไปหาปลายซี เปปไทด์ขนาดเล็กหลายชนิดมีความสำคัญในสิ่งมีชีวิต เช่น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเปปไทด์ · ดูเพิ่มเติม »

เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์

ปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ (Peter Paul Rubens,; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2120 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2183) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชที่มีชื่อเสียงในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีผลงานในรูปแบบศิลปะบาโรก.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ · ดูเพิ่มเติม »

เนฟิลีน

นฟิลีน(nepheline) หรืออาจจะเรียกว่า เนฟิไลน์(Nephelite(จากGreek: νέφος, "เมฆ"), เป็นกลุ่มเฟลสปาตอย(feldspathoid): ซิลิกาอลูมินาต่ำกว่าปกติ,สูตรเคมี Na3KAl4Si4O16, ที่เกิดในหินภูเขาไฟและหินอัคนีบาดาลที่มีซิลิกาต่ำและในกลุ่มของพวกเพคมาไทน์(pegmatites) ในบางครั้งอาจพบในไมกาชีส(mica schist)และ หินไนส์(gneiss) ผลึกเนฟิลีนเทาอมขาวมีสีดำแทรกด้วยschorlomite จากภูเขาBou-Agrao ที่ราบสูง Atlas มอรอคโค (ขนาก: 6.0 x 4.4 x 3.8 ลูกบากศ์เซนติเมตร) ผลึกเนฟิลีนเป็นผลึกที่หายากและอยู่ในระบบหกเหลี่ยม(hexagonal system)โดยปกติจะมีรูปแบบสั้น, ปริซึมหกเหลี่ยมไปตามแนวฐานผลึก ความไม่สมมาตรที่เกิดขึ้นอย่างไม่เป็นธรรมชาติที่เห็นได้ชัดเจนคาดว่าหน้าของผลึกเป็นตัวบ่งชี้ แต่อย่างไรก็ตามผลึกเป็นเฮมิมอร์ฟิก(hemimorphic) และ เตตระโรฮีดรัล(tetartohedral), องค์ประกอบเดียวที่สมมาตรคือขั้วแกนฮีแซค (hexad axis) มันยังพบในเนื้อที่แน่นเม็ดเล็กที่รวมตัวกันและสามารถเป็นสีขาว, สีเหลือง, สีเทา, สีเขียวหรือแม้แต่สีแดง (ในลักษณะความหลากหลายของอีโอไลน์ (eleolite)) ความแข็ง 5.5 - 6, และความถ่วงจำเพาะ 2.56-2.66 มันมักจะโปร่งแสงที่มีความเป็นมันเงา ในเนฟิลีนมีดัชนีการหักเหต่ำและมีค่าdouble refractionต่ำมากเกือบจะเหมือนกับควอตซ์(quart)แต่เนื่องจากในเนฟิลีน มีค่า double refraction เป็นลบในขณะที่ควอตซ์มีค่าเป็นบวก ทั้งสองแร่ธาตุจะมีความโดดเด่นภายใต้กล้องจุลทรรศน์ซึ่งสามรถดูได้ง่าย ลักษณะสำคัญที่เป็นตัวกำหนดสามารถละลายได้ง่ายในกรดไฮโดรคลอริกจะละลายออกมาเป็นวุ้นซิลิกา (ซึ่งอาจใช้การย้อมสีซึ่งดูได้ง่าย) และใช้กรดเกลือได้เหมือนกัน ด้วยเหตุนี้ผลึกที่ชัดเจนของเนฟิลีนจะเป็นกลุ่มก้อนเมื่อแช่หรือจุ่มในกรด แม้ว่าโซเดียมและโพแทสเซียมมักปรากฏในธรรมชาติจะเกิดมีเนฟิลีนในอัตราส่วนอะตอมประมาณ (3:1), ผลึกมีองค์ประกอบ NaAlSiO4; ถ้าโพแทสเซียมมาเกี่ยวข้อจะมีสูตรเคมี KAISiO4, ซึ่งเป็นแร่คาลิโอไทน์(kaliophilite), จึงมีการ ให้สูตรของ orthosilicate, (Na,K)AlSiO4, แทนองค์ประกอบที่แท้จริงของเนฟิลีน(nepheline) แร่เป็นหนึ่งในความสำคัญโดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงไปในผลิตภัณฑ์และห้องปฏิบัติการต่างๆ สามารถเปลียนผลิตภัณฑ์ของเนฟิลีน(nepheline)ที่เตรียมไว้ด้วย ในธรรมชาติบ่อยครั้งที่จะมีการถูกเปลี่ยนแปลงไปเป็นซีโอไลน์(zeolite)(โดยเฉพาะ natrolite),โซดาไลน์(sodalite),เกาลิน(kaolin) หรือมัสโคไวน์ที่มีเนื้อแน่น(compact muscovite), Gieseckite และ liebenerite จะเป็นพวก pseudomorphs สองประเภทของเนฟิลีนมีการจำแนกโดยมีความแตกต่างในลักษณะภายนอกของทั้งสองเภทประและในลักษณะของการเกิดการเป็นคล้ายกับความสัมพันธ์หลายอย่างของซานิดีน(sanidine) และ ออโทเคส(orthoclase) ตามลำดับ ลักษณะเนฟิลีนที่วาวแก้วมีรูปแบบขนาดเล็ก ไม่มีสี ผลึกโปร่งใสและมีเม็ดที่มีความวาวคล้ายแก้ว มันเป็นลักษณะของหินภูเขาไฟที่ภเต็มไปด้วยพวกอัลคาไลน์(alkali) เช่น ฟิโนคลิส(phonolite),เนฟิลีนบะซอล(nepheline basalt),ลูไซบะซอล(basalt leucite) ฯลฯ และยังคงมีของสายของหินเช่นทินกัวไลน์(tinguaite) ผลึกที่ดีที่สุดเกิดกับไมกา(mica),ซานิดีน(sanidine), โกเมน ฯลฯ ในแอ่งของสายผลึกเรียงรายของปล่อยบล็อกมาใน Monte Somma, Vesuvius ในประเภทอื่นๆของเนฟิลีน หรือที่เรียกกันว่าอีเลโอไลน์(elaeolite) เกิดขึ้นมีขนาดใหญ่มีผลึกหยาบหรือบ่อยครั้งมักจะเป็นเนื้อไม่สม่ำเสมอซึ่งมีความเงามันและมีสีขาวขุ่นหรือโปร่งแสงที่มากที่สุด มีสีแดง, สีเขียว, สีน้ำตาลอ่อนหรือสีเทา เป็นรูปแบบองค์ประกอบที่สำคัญของหินอัคนีบาดาลที่มีอัลคาไลน์สูง ของชุดเนฟิลีนไซยิไนส์(syenite nepheline) ซึ่งถูกเปลี่ยนสภาพในทางตอนใต้ของนอร์เวย์ สีและความเป็นมันเงาของอีเลโอไลน์(elaeolite) (ชื่อที่กำหนดโดย MH Klaproth ในปี1809, จากคำภาษากรีกสำหรับน้ำมันและหิน; ภาษาเยอรมันใช้ชื่อว่า Fettstein) เพราะว่าจากมีอยู่จำนวนมากล้อมรอบของแร่ธาตุอื่น ๆ ที่อาจเป็นออไจน์(augite) หรือHornblend(ฮอร์นเบลนด์) บางครั้งพวกแร่เหล่านี้ก่อให้เกิดการแวบวับคลายลักษณะตาของแมวตาและไพฑูรย์และอีเลโอไลน์(elaeolite) เมื่อมีสีเขียวหรือสีแดงที่เข้มและการแสดงของแถบแสงที่ต่างกัน ในบางครั้งเป็นถูกตัดทำเป็นพื้นผิวนูนของอัญมณีและหินสี.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเนฟิลีน · ดูเพิ่มเติม »

เนื้อเยื่อใต้หนัง

นื้อเยื่อใต้หนัง (subcutaneous tissue, มาจากsubcutaneous "ใต้ผิวหนัง") หรือเรียกเนื้อใต้หนัง (subcutis), ชั้นใต้หนัง (hypodermis, hypoderm มาจากภาษากรีก แปลว่า "ใต้ผิวหนัง") หรือแผ่นพังผืดตื้น (superficial fascia) เป็นชั้นล่างสุดของระบบผิวหนังในสัตว์มีกระดูกสันหลัง ประเภทของเซลล์ที่พบในชั้นใต้หนัง คือ เซลล์สร้างเส้นใย (fibroblast) เซลล์ไขมัน และแมโครฟาจ ชั้นใต้หนังพัฒนามาจากเมโซเดิร์ม แต่ไม่ได้พัฒนามาจากบริเวณเดอร์มาโตม (dermatome) ของเมโซเดิร์มเหมือนกับหนังแท้ ในสัตว์ขาปล้อง ชั้นใต้หนังเป็นเซลล์ชั้นหนังกำพร้าที่หลั่งผิวนอกเคลือบไคติน คำนี้ยังหมายถึง ชั้นเซลล์ที่อยู่ใต้ epidermis ของพืช ชั้นใต้หนังมีหน้าที่เก็บสะสมไขมันเป็นหลัก ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดโปร่งบางและกลีบย่อยไขมัน พบหลอดเลือดและเส้นประสาทขนาดใหญ่กว่าที่พบในหนังแท้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเนื้อเยื่อใต้หนัง · ดูเพิ่มเติม »

เนเฟช

นเฟช (נֶפֶש) เป็นคำที่ปรากฏในคัมภีร์ฮีบรูของศาสนายูดาห์ หมายถึง "ชีวิต" ซึ่งมีอยู่ทั้งในมนุษย์และสัตว์ ซึ่งจะสิ้นสุดลงเมื่อผู้นั้นตาย เนเฟชตามความเข้าใจของศาสนายูดาห์และพยานพระยะโฮวาจึงไม่ใช่วิญญาณอมตะ ศาสนาคริสต์ได้พัฒนาความเชื่อนี้ต่อมาว่าเนเฟชหรือ "พซีเค" ในภาษากรีกเป็นวิญญาณอมตะ จะดำรงอยู่ต่อไปแม้ว่าร่างกายจะแตกสลายไปแล้วก็ตาม นิกายโปรเตสแตนต์ฝ่ายลัทธิคาลวินเชื่อว่าวิญญาณเป็นอมตะ และยังมีความรู้สึกอยู่ตลอดแม้ตายไปแล้ว แต่ฝ่ายลูเทอแรนว่าวิญญาณเป็นมตะ จะหลับใหลไปจนกว่าบรรดาผู้ตายจะคืนชีพ นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์เชื่อว่าวิญญาณจะไปอยู่ที่แดนผู้ตาย ส่วนนิกายโรมันคาทอลิกเชื่อว่าผู้ที่ยังไม่ได้รับการชำระให้บริสุทธิ์จะต้องไปอยู่ในแดนชำระก่อน เมื่อบริสุทธิ์แล้วจึงขึ้นสวรรค์ต่อไป ตั้งแต่สังคายนาลาเตรันครั้งที่ห้า คริสตจักรโรมันคาทอลิกถือว่าผู้ไม่เชื่อว่าวิญญาณเป็นอมตะเป็นพวกนอกรีต.

ใหม่!!: ภาษากรีกและเนเฟช · ดูเพิ่มเติม »

Chironex fleckeri

Chironex fleckeri (/ไค-โร-เน็ก-เฟลค-เคอ-ไร/) เป็นแมงกะพรุนจำพวกแมงกะพรุนกล่องที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คำว่า Chironex มีรากศัพท์จากคำว่า "chiro" (Χέρι) ในภาษากรีก แปลว่า "มือ" กับคำว่า "nex" ภาษาละตินแปลว่า "ความตาย" เมื่อโตเต็มที่ จะมีหนวดมากถึง 60 เส้นซึ่งยืดได้ไกลถึง 3 เมตร มีเมดูซ่าขนาดเท่าลูกบาสเก็ตบอล มีดวงตาทั้งหมด 24 ดวงอยู่รอบ ๆ และมีดวงตาหลัก 2 ดวงอยู่ในดวงแต่ละคู่ ที่มีลักษณะคล้ายกับดวงตามนุษย์ คือ มีทั้งเลนส์ตา, ม่านตา และตาดำ ซึ่งทำให้เห็นภาพได้ดี และสามารถมองภาพในแบบตีลังกาได้ และมองได้รอบทิศ 360 องศา และนับเป็นระบบการมองเห็นที่ดีมากเมื่อเทียบกับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกอื่น ๆ ซึ่งปัจจุบันก็ยังไม่ทราบข้อมูลที่แน่ชัดถึงการทำงานของตา ในส่วนของหนวดที่ยาวเมื่อสัมผัสกับสิ่งมีชีวิตอื่น กระเปาะเล็ก ๆ หลายล้านอันซึ่งกระจายอยู่เต็มพื้นผิวของหนวดแต่ละเส้นจะแตกตัวออกแล้วปล่อยเหล็กในออกมาใส่เหยื่อ จากนั้นเหล็กในก็จะทำหน้าที่ฉีดสารพิษเข้าไปในร่างกายของเหยื่อ ด้วยแรงที่มากถึง 1.5 ล้านแรงโน้มถ่วง หากเหยื่อเป็นมนุษย์ พิษจะออกฤทธิ์รุนแรงทำให้เกิดอาการเจ็บปวด และหัวใจหยุดทำงานและคร่าชีวิตเหยื่อได้ภายในเวลาไม่กี่นาที ปกติ แมงกะพรุนกล่องชนิดนี้อาศัยอยู่ในทะเลทางแถบตอนเหนือของออสเตรเลีย โดยอาศัยอยู่ในน้ำตื้นรวมถึงป่าโกงกาง และหลีกเลี่ยงการอาศัยอยู่ในน้ำลึก เช่น เกรตแบร์ริเออร์รีฟเชื่อว่าเข้าไปเพื่อหาอาหารซึ่งเป็นปลา แต่บางครั้งก็อาจถูกกระแสน้ำซัดขึ้นไปในแม่น้ำถ้าระดับน้ำลดต่ำและกระแสน้ำไหลช้า แต่จากการศึกษาพบว่า Chironex fleckeri ไม่สามารถที่จะแยกแยะวัตถุที่เป็นสีขาวได้ แต่จะแยกแยะได้ในวัตถุที่เป็นสีดำหรือสีแดง Chironex fleckeri นับเป็นแมงกะพรุนที่มีพิษที่มีอันตรายที่สุดในโลกและมีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีพิษร้ายแรงกว่าแมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกสหลายเท่า และมีขนาดใหญ่กว่า C. yamaguchii ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกันหลายเท่า และถึงแม้จะตายแล้วก็ยังคงมีพิษอยู่ Chironex fleckeri จะขยายพันธุ์ในช่วงฤดูหนาว และจะเจริญเติบโตเต็มที่ในช่วงฤดูร้อน ซึ่งเป็นฤดูกาลถัดมา กินปลาเป็นอาหาร ด้วยการแทงเหล็กในให้ปลาเป็นอัมพาต โดยกินปลามากถึงน้ำหนักตัวเองถึง 4 เท่า และเหมือนกับแมงกะพรุนกล่องทั่วไป คือ สามารถว่ายน้ำได้ไม่ใช่ล่องลอยไปตามกระแสน้ำเหมือนแมงกะพรุนจำพวกอื่น ซึ่งมีความเร็วเทียบเท่ากับการว่ายน้ำของมนุษย์ มีการศึกษาพบว่าวัน ๆ หนึ่ง แม้จะว่ายน้ำไกล แต่จะเป็นเส้นทางที่ไม่เป็นเส้นตรง และจะนอนหลับพักผ่อนบนพื้นทะเลในเขตน้ำตื้นในเวลากลางคืน ป้ายเตือนอันตรายจากแมงกะพรุนกล่องในออสเตรเลีย ปัจจุบัน หลายพื้นที่ของออสเตรเลีย มีตาข่ายและป้ายเตือนนักท่องเที่ยวที่ลงเล่นน้ำให้ระวัง แต่กระนั้นก็ยังมีบางส่วนที่หลุดรอดตาข่ายนั้นเข้ามาทำอันตรายได้ รวมถึงแมงกะพรุนอิรุคันจิ ซึ่งเป็นแมงกะพรุนกล่องเช่นเดียวกัน แต่มีขนาดเล็กกว่ามากด้วยTV with Teeth - KILLER JELLYFISH, สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต ทางทรูวิชั่นส์: อาทิตย์ที่ 23 มิถุนายน 2556.

ใหม่!!: ภาษากรีกและChironex fleckeri · ดูเพิ่มเติม »

ISO 3166-2:CY

ISO 3166-2:CY เป็นรหัสมาตรฐาน ISO ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ ISO 3166-2 ใช้อธิบายถึงตำ​แหน่ง​ส่วน​การปกครองต่างๆ หรือ​เขตการปกครองอิสระในประเทศไซปรั.

ใหม่!!: ภาษากรีกและISO 3166-2:CY · ดูเพิ่มเติม »

National Coming Out Day

thumb National Coming Out Day ตรงกับวันที่ 11 ตุลาคม ของทุกปี เพื่อปลุกสำนึกให้กับสังคมตระหนักถึงการดำรงอยู่ของเกย์ เลสเบี้ยน ไบเซ็กชวล และคนข้ามเพศ เพื่อให้ชาวผู้มีความหลากหลายทางเพศ แสดงออกถึงความภาคภูมิใจในเพศสถานะของตน โดยการประดับแต่งการสีรุ้ง สัญลักษณ์สามเหลี่ยมสีชมพูหรือตัวอักษร λ (แลมบ์ดา) ในภาษากรีก โดยก่อตั้งขึ้นโดย ดร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและNational Coming Out Day · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes × trichocarpa

Nepenthes × trichocarpa (มาจากภาษากรีก: trikho- "ขน, เส้นด้าย", และ -carpus "ผล"), หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Dainty Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: ภาษากรีกและNepenthes × trichocarpa · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes gymnamphora

Nepenthes gymnamphora (มาจากภาษากรีก: gymnos.

ใหม่!!: ภาษากรีกและNepenthes gymnamphora · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes platychila

Nepenthes platychila (มาจากภาษากรีก: platus "แบนราบ", cheilos "กลีบปาก") เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของภูเขาฮอส (Hose) รัฐซาราวะก์ตอนกลาง มีเพอริสโตมเรียบลื่น หม้อบนทรงกรว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและNepenthes platychila · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes stenophylla

Nepenthes stenophylla หรือ Narrow-Leaved Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ใหม่!!: ภาษากรีกและNepenthes stenophylla · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes xiphioides

Nepenthes xiphioides (จากภาษากรีก/ภาษาละติน: xiphos.

ใหม่!!: ภาษากรีกและNepenthes xiphioides · ดูเพิ่มเติม »

Neurotmesis

Neurotmesis (ในภาษากรีก คำว่า tmesis หมายถึง "ตัด") เป็นอาการหนึ่งในระบบจำแนกความบาดเจ็บต่อเส้นประสาทนอกส่วนกลาง Seddon classification โดยเป็นอาการซึ่งหนักที่สุด เพราะทั้งใยประสาทและปลอกหุ้มจะขาดโดยสิ้นเชิง และถึงแม้อาจฟื้นสภาพได้บางส่วน แต่ก็ไม่สามารถหายสนิทกลับไปเหมือนเดิมได้.

ใหม่!!: ภาษากรีกและNeurotmesis · ดูเพิ่มเติม »

Ѳ

Fita (Ѳ, ѳ) เป็นอักษรซีริลลิกยุคเก่าตัวหนึ่ง มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ทีตา อักษรนี้ใช้เขียนชื่อเฉพาะที่ทับศัพท์มาจากภาษากรีกเป็นหลัก และตั้งแต่ภาษารัสเซียออกเสียงตัวอักษรนี้เป็น // แทนที่จะเป็น // เหมือนภาษากรีก เช่น คำว่า Theodore ก็อ่านเป็น Fyodor จึงมีการใช้ Ef (Ф, ф) แทนอักษร Fita ใน พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) และสำหรับกลุ่มภาษาสลาวิกอื่นๆ ซึ่งออกเสียงอักษรนี้เป็น // ก็เปลี่ยนไปใช้ Te (Т, т) ด้วยเช่นกัน ยกตัวอย่างภาษาบัลแกเรียจะอ่านคำว่า Theodore เป็น Teodor หรือ Todor เป็นต้น อักษรนี้จึงไม่มีที่ใช้ไปโดยปริยาย อักษร Fita มีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 9 และอย่าสับสนกับอักษร Oe (Ө, ө) ที่มีลักษณะคล้ายกัน (มีใช้ในภาษาคาซัค ภาษาตูวา และภาษามองโกเลีย) และบางครั้งขีดตรงกลางก็ถูกเขียนให้เป็นหยัก เป็นคลื่น หรือขีดให้เกินวงกลมออกมา ดังที่ปรากฏในฟอนต์บางตัว เพื่อให้เกิดความแตกต่างกับอักษรดังกล่าว.

ใหม่!!: ภาษากรีกและѲ · ดูเพิ่มเติม »

Pachydermata

Pachydermata (มาจากภาษากรีกสองคำ คือ "παχύς" (หนา) และ "δερμα" (หนัง) รวมจึงหมายถึง "หนังหนา") เป็นอันดับหนึ่งของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่ปัจจุบันไม่ใช้แล้ว อธิบายโดย กอตต์ลีบ สตอร์, จอร์จส์ คูวิเยร์ และอื่น ๆ ซึ่งเคยได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายในอดีต แต่เนื่องจากอันดับดังกล่าวเป็นการรวบรวมสัตว์จากหลายสายพันธุ์ จึงไม่ได้รับการยอมรับอีกต่อไป แต่มันยังถือว่ามีความสำคัญในประวัติศาสตร์การจำแนกประเภทสิ่งมีชีวิตอยู่ สัตว์ในอันดับนี้ประกอบด้วยช้าง ฮิปโปโปเตมัส แรด สมเสร็จ ม้า และหมูป่า Pachydermata ของคูเวียร์นั้นประกอบด้วยสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมสามวงศ์ ซึ่งเขาเรียกว่า Proboscidiana, Pachydermata Ordinaria และ Solipedes ซึ่งทั้งหมดเป็นสัตว์กินพืช ปัจจุบัน วงศ์เหล่านี้ถูกจำแนกออกเป็น Proboscidea ซึ่งประกอบด้วยช้างที่ยังไม่สูญพันธุ์อยู่สามสปีชีส์เท่านั้น, Perissodactyla หรือสัตว์มีกีบเท้านิ้วแปลก รวมไปถึงม้า สมเสร็จ และแรด, Suina ประกอบด้วยสุกรและเพคคารี และ Hyracoidea หรือไฮแรกซ์ คูเวียร์เองเคยนิยาม Pachydermata ไว้ว่า "สัตว์ที่มีกีบเท้า แต่ไม่ใช่สัตว์เคี้ยวเอื้อง" ขณะที่สตอร์อธิบายว่า "สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่มีกีบเท้าและมีนิ้วมากกว่าสองนิ้ว" คูเวียร์ได้เพิ่มม้าเข้าไปในอันดับนี้ด้วย ถึงแม้ว่าอดีตอันดับ Pachydermata มักจะถูกอธิบายว่าเป็นการจัดสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่ไม่เกี่ยวข้องกันเข้าด้วยกัน แต่นักสัตววิทยาที่มีชื่อเสียงหลายคนยอมรับการจัดอันดับนี้ รวมทั้งชาร์ลส์ ดาร์วิน โดยเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่มีกีบเท้าโดยไม่นับรวมสัตว์มีกีบเท้าอื่น ๆ และลักษณะทางกายวิภาคได้สนับสนุนความใกล้เคียงของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม "Pachyderm" กับสัตว์ประเภทเดียวกัน และสัตว์มีกีบเท้าอื่น.

ใหม่!!: ภาษากรีกและPachydermata · ดูเพิ่มเติม »

Parashorea

Parashorea เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Dipterocarpaceae คำว่าParashorea มาจากภาษากรีก (para.

ใหม่!!: ภาษากรีกและParashorea · ดูเพิ่มเติม »

Ph (ทวิอักษร)

Ph หรือ ph เป็นทวิอักษรที่พบได้ในภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน และภาษาอื่นโดยส่วนใหญ่ใช้แทนเสียง ฟ ซึ่งมีเสียง โดยคำศัพท์ในภาษาอังกฤษที่มีอักษร ph ส่วนใหญ่เป็นคำศัพท์ที่มาจากภาษากรีก ในการถอดจากอักษรไทยเป็นอักษรโรมัน กำหนดให้ ph ใช้แทนอักษร พ ภ ผ ซึ่งมีเสียง ในขณะที่การทับศัพท์จากภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นมาเป็นภาษาไทย กำหนดให้ ph แทนด้วยอักษร ฟ.

ใหม่!!: ภาษากรีกและPh (ทวิอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

Saccharomyces cerevisiae

Saccharomyces cerevisiae เป็นสปีชีส์ของยีสต์ที่ใช้ทำขนมปังและเบเกอรี่อื่นๆ ช่วยให้ขึ้นฟู และใช้เป็นสิ่งมีชีวิตแม่แบบสำหรับการศึกษาเซลล์ของยูคาริโอต"Saccharomyces" มาจากภาษากรีกที่ถูกทำให้เป็นละตินหมายถึงราในน้ำตาล (sugar mold) saccharo- หมายถึงน้ำตาล และmyces หมายถึงรา Cerevisiae มาจากภาษาละตินหมายถึงเกี่ยวกับเบียร.

ใหม่!!: ภาษากรีกและSaccharomyces cerevisiae · ดูเพิ่มเติม »

1

1 (หนึ่ง) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพที่แทนจำนวนนั้น หนึ่งแทนสิ่งสิ่งเดียว หน่วยในการนับหรือการวัด ตัวอย่างเช่น ส่วนของเส้นตรงของ "ความยาวหนึ่งหน่วย" คือส่วนของเส้นตรงของความยาวเท่ากับ 1.

ใหม่!!: ภาษากรีกและ1 · ดูเพิ่มเติม »

10

10 (สิบ) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 9 และอยู่ก่อนหน้า 11.

ใหม่!!: ภาษากรีกและ10 · ดูเพิ่มเติม »

11

11 (สิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 10 (สิบ) และอยู่ก่อนหน้า 12 (สิบสอง) นับเป็นจำนวนแรกที่ไม่สามารถใช้นิ้วมือนับได้ตามปกติ การใช้นิ้วมือระบุจำนวนสิบเอ็ด จึงนิยมกำมือข้างหนึ่งแทนจำนวน 10 แล้วยกนิ้วมืออีกข้างหนึ่งหนึ่ง แทนจำนวน 1 นอกจากนี้แล้ว 11 ยังเป็นจำนวนแรกที่ใช้คำว่า "เอ็ด" แทนคำว่า "หนึ่ง" (จำนวนถัดไปคือ 21, 31, 41,...).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ11 · ดูเพิ่มเติม »

12

12 (สิบสอง) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 11 (สิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 13 (สิบสาม).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ12 · ดูเพิ่มเติม »

13

13 (สิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 12 (สิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 14 (สิบสี่).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ13 · ดูเพิ่มเติม »

14

14 (สิบสี่) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 13 (สิบสาม) และอยู่ก่อนหน้า 15 (สิบห้า).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ14 · ดูเพิ่มเติม »

15

15 (สิบห้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 14 (สิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 16 (สิบหก).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ15 · ดูเพิ่มเติม »

16

16 (สิบหก) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 15 (สิบห้า) และอยู่ก่อนหน้า 17 (สิบเจ็ด).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ16 · ดูเพิ่มเติม »

17

17 (สิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 16 (สิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 18 (สิบแปด).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ17 · ดูเพิ่มเติม »

18

18 (สิบแปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 17 (สิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 19 (สิบเก้า).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ18 · ดูเพิ่มเติม »

19

19 (สิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 18 (สิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 20 (ยี่สิบ).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ19 · ดูเพิ่มเติม »

2

2 (สอง) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 1 (หนึ่ง) และอยู่ก่อนหน้า 3 (สาม).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ2 · ดูเพิ่มเติม »

20

วภาคพ 20 (ยี่สิบ) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 19 (สิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 21 (ยี่สิบเอ็ด).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ20 · ดูเพิ่มเติม »

21

21 (ยี่สิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 20 (ยี่สิบ) และอยู่ก่อนหน้า 22 (ยี่สิบสอง).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ21 · ดูเพิ่มเติม »

22

22 (ยี่สิบสอง) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 21 (ยี่สิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 23 (ยี่สิบสาม).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ22 · ดูเพิ่มเติม »

23

23 (ยี่สิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 22 (ยี่สิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 24 (ยี่สิบสี่).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ23 · ดูเพิ่มเติม »

24

24 (ยี่สิบสี่) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 23 (ยี่สิบสาม) และอยู่ก่อนหน้า 25 (ยี่สิบห้า).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ24 · ดูเพิ่มเติม »

25

25 (ยี่สิบห้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 24 (ยี่สิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 26 (ยี่สิบหก).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ25 · ดูเพิ่มเติม »

26

26 (ยี่สิบหก) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 25 (ยี่สิบห้า) และอยู่ก่อนหน้า 27 (ยี่สิบเจ็ด).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ26 · ดูเพิ่มเติม »

27

27 (ยี่สิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 26 (ยี่สิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 28 (ยี่สิบแปด).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ27 · ดูเพิ่มเติม »

28

28 (ยี่สิบแปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 27 (ยี่สิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 29 (ยี่สิบเก้า).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ28 · ดูเพิ่มเติม »

29

29 (ยี่สิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 28 (ยี่สิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 30 (สามสิบ).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ29 · ดูเพิ่มเติม »

3

3 (สาม) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 2 (สอง) และอยู่ก่อนหน้า 4 (สี่).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ3 · ดูเพิ่มเติม »

30

30 (สามสิบ) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 29 (ยี่สิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 31 (สามสิบเอ็ด).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ30 · ดูเพิ่มเติม »

31

31 (สามสิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 30 (สามสิบ) และอยู่ก่อนหน้า 32 (สามสิบสอง) หรืออยู่ระหว่าง 30 (สามสิบ) และ 32 (สามสิบสอง).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ31 · ดูเพิ่มเติม »

32

32 (สามสิบสอง) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 31 (สามสิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 33 (สามสิบสาม).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ32 · ดูเพิ่มเติม »

33

33 (สามสิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 32 (สามสิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 34 (สามสิบสี่).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ33 · ดูเพิ่มเติม »

34

34 (สามสิบสี่) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 33 (สามสิบสาม) และอยู่ก่อนหน้า 35 (สามสิบห้า).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ34 · ดูเพิ่มเติม »

35

35 (สามสิบห้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 34 (สามสิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 36 (สามสิบหก).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ35 · ดูเพิ่มเติม »

36

36 (สามสิบหก) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 35 (สามสิบห้า) และอยู่ก่อนหน้า 37 (สามสิบเจ็ด).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ36 · ดูเพิ่มเติม »

37

37 (สามสิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 36 (สามสิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 38 (สามสิบแปด).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ37 · ดูเพิ่มเติม »

38

38 (สามสิบแปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 37 (สามสิบเจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 39 (สามสิบเก้า).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ38 · ดูเพิ่มเติม »

39

39 (สามสิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 38 (สามสิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 40 (สี่สิบ).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ39 · ดูเพิ่มเติม »

4

4 (สี่) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 3 (สาม) และอยู่ก่อนหน้า 5 (ห้า).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ4 · ดูเพิ่มเติม »

5

5 (ห้า) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 4 (สี่) และอยู่ก่อนหน้า 6 (หก).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ5 · ดูเพิ่มเติม »

6

6 (หก) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 5 (ห้า) และอยู่ก่อนหน้า 7 (เจ็ด).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ6 · ดูเพิ่มเติม »

7

7 (เจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 6 (หก) และอยู่ก่อนหน้า 8 (แปด).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ7 · ดูเพิ่มเติม »

8

8 (แปด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 7 (เจ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 9 (เก้า).

ใหม่!!: ภาษากรีกและ8 · ดูเพิ่มเติม »

9

9 (เก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 8 และอยู่ก่อนหน้า 10.

ใหม่!!: ภาษากรีกและ9 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Greek languageรากศัพท์กรีก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »